Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

Published by tassanapol.khem, 2021-09-15 07:40:21

Description: พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

Search

Read the Text Version

๘๗ ด้านปัจจัยภายในอีกตัวที่สำคัญ คือ ด้านจุดอ่อน Weaknesses ข้อด้อยหรือจุดอ่อนน้ัน วัดท่าหลวง จากการท่ีไดท้ ำการศึกษาวิจยั น้ัน พบ ๔ ประเด็นเนื้อหาสาระ คือ ๑.ผู้นำ ผ้ปู กครอง ยัง แนวคิดไมค่ ่อยไปในทิศทางเดยี วกนั ๒.บุคลากร ในงานขององค์กรคณะสงฆบ์ างส่วนยังไม่เพยี งพอ ๓. ศักยภาพบุคลากร ยังไม่สมบูรณ์ตามแบบคณะสงฆ์ต้องการ๔. พระภิกษุสามเณรรุ่นใหม่ ยังพัฒนา ศกั ยภาพด้านต่าง ๆจากการวิจัยข้อมูลเชงิ ลึกดงั กลา่ ว พบจุดอ่อนอันท่ีเป็นผลกระทบต่อองค์กร และ ตอ้ งการการพัฒนา ปรับปรงุ แก้ไขในโอกาสตอ่ ไป เพื่อให้การรกั ษาพระพทุ ธศาสนาและสงั คมตน้ แบบ ด้านปัจจัยภายนอก ท่ีช่องทางหรอื โอกาสก้าวหน้าเจรญิ เติบโต ของวัดท่าหลวงน้ัน คือ ดา้ นโอกาส Opportunities อันเป็นปัจจัยเชงิ บวกท่ีจะสามารถจัดสร้าง พัฒนาโครงการต่าง ๆ ไดใ้ น อนาคต การศกึ ษาวิจัยพบ ๗ ประเด็นเน้ือหาสาระ คอื ๑.อยู่กลางชุมชนเมือง สามารถเข้าถึงทุกมิติ ของสังคมเมือง ๒. มีสถานที่ และอุปกรณ์เทคโนโลยีพร้อม ๓. เป็นศูนย์อำนาจของคณะสงฆ์ระดับ ผู้บริหารจังหวัดพิจิตร ๔. เป็นศูนย์ประชุมของคณะสงฆ์จังหวัดพิจิตร๕. เป็นสถานที่มีแหล่งทุน สนบั สนนุ ๖.เป็นสถานสงเคราะห์ ชว่ ยเหลือคราประสบภยั พิบตั ิด้านต่าง ๆ ของจงั หวดั ๗. สามารถ จดั กิจกรรม โครงการต่าง ๆ ได้ดี จากการวิจัยข้อมูลเชิงลึกน้นั พบว่าปัจจัยภายนอกดา้ นโอกาสของ วัดท่าหลวง ซ่ึงต้องการช่องทางการพัฒนานั้น ถือว่ามีความเป็นไปได้สูง เพราะเหตุปัจจัยเกื้อกูล จำนวนมาก มีผลกระทบตอ่ การพัฒนาเพิม่ ศักยภาพ ประสทิ ธภิ าพอย่างแนน่ อน ดา้ นปจั จัยภายนอก ซ่ึงเป็นประเดน็ ด้านปัญหาอุปสรรค Threats ท่ีสำคัญของของวัดท่า หลวงนั้น การศึกษาวิจัยพบ ๔ ประเด็นเนื้อหา คือ ๑.การจราจร หนาแน่น ถนนคับแคบ๒. ความ หลากหลายบุคคลท่ีมแี นวคดิ แตกต่างกัน ๓. มพี นื้ ท่ใี ชส้ อยไมเ่ พียงพอกบั กิจกรรมภายในวัดและนอก วัด ๔. มีการแย่งชิงพ้ืนที่ความคิด แนวร่วมเชิงสังคมการเมืองจากการศึกษาวิจยั ข้อมูลแล้ว ปัญหา อุปสรรคของวัดท่าหลวงนั้น กย็ ังคงมีอยู่ ซ่ึงกเ็ ปน็ ประเด็นทำให้ภารกิจการงานตา่ ง ๆ ที่ถูกจัดขึน้ ยอ่ ม มีปัจจัยเชงิ ลบ ยังต้องรอการแก้ไขปรบั ปรงุ กนั ตอ่ ไป สรปุ วา่ เม่ือมองโดยภาพรวม การศึกษาด้วย SWOTAnalysis พบปัจจัยภายในท่ีสำคัญ เชิงบวกนั้นมากกว่า ปัจจัยภายในเชิงลบ เป็นข้อได้เปรียบขององคก์ ร เม่ือดูปัจจัยภายนอกน้ัน ก็มี ปัจจยั เชงิ บวกมากวา่ ปจั จัยภายนอกเชิงลยอีกเชน่ กัน ทำใหว้ ดั ทา่ หลวงซึ่งเป็นพนื้ ที่สำคัญ ดา้ นองค์กร ทางพระพุทธศาสนา อันเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณนั้น เป็นศูนย์รวมใจแห่งคุณธรรม เป็นแหล่ง วัฒนธรรมประเพณีสำคัญ เม่ือจะนำการพัฒนาบริหารจัดการด้วยคุณธรรม ย่อมเป็นต้นแบบของ สงั คมจังหวัดไดอ้ ยา่ งมีผลลัพธ์อันเป็นยอมรับทั่วไป เพื่อจะนำไปวางแผนพัฒนาเป็นองค์กรคุณธรรม ต้นแบบต่อไป

๘๘ แผนภาพที่ ๔.๑ สรปุ ผงั โมเดล การศึกษาด้วย SWOTAnalysis ปัจจยั ภายใน และปจั จัย ภายนอก วดั ทา่ หลวง

๘๙ ๔.๑.๑ โรงเรียนบางมลู นากภูมิวทิ ยาคม โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม เป็นโรงเรียนประจำอำเภอขอจังหวัดพิจิตร ผวู้ ิจัยได้ให้ ทฤษฎี SWOT ศึกษาวิเคราะห์ พ้ืนท่ีโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม เพ่ือจะได้ทราบข้อมูลที่ชดั เจน เปน็ หลักการว่า การที่โรงเรียนแห่งน้ีได้เป็นต้นแบบคุณธรรมนั้น มีพ้ืนฐานจากสิ่งท่ีใดบ้าง เพราะข้อ แตกต่างดังจะมีรายละเอียดของข้อมูลนั้น ผู้วิจัยได้ทำการค้นคว้าจากข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์ ประมวลผล ทำการสังเคราะหเ์ ป็นประเด็นองค์ความรู้ เพอ่ื ประกอบการวิจัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงจะได้ แสดงข้อมูลองค์ความรู้ดังต่อไปนี้ ด้านจุดแขง็ (S) มีดังน้ีคอื ๑. โรงเรียนบางมูลนากภูมิวทยาคม เป็นโรงเรียนที่สอนอยู่ในระดับมัธยมศึกษามี ประชากรนกั เรยี นระดับ ๑๐๐๐ คนขน้ึ เป็นโรงเรียนประจำอำเภอบางมูลนาก ที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอ เป็นศูนย์กลางของการผลิตนักเรยี น เพ่ือให้เกิดความรู้ เกิดศักยภาพในการพัฒนาตนเอง และพร้อมท่ี จะไปสสู่ งั คมของการประกอบสัมมาชีพ หรือศกึ ษาต่อในระดับอดุ มศกึ ษา๒๕ ๒.โรงเรยี นบางมลู นากภมู ิวทิ ยาคม เปน็ โรงเรียนต้นแบบ ๓. โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคมนั้น เป็นโรงเรียนต้นแบบ ในหลายโครงงานของ จงั หวัดพิจิตร มีทรัพยากรด้านครูอาจารย์ท่ีสามารถรับผิดชอบการบริการองค์ความรู้ให้กับนักเรียน จนไดร้ ับรางวัล การประกาศเกียรติคุณ หลากหลายอยา่ ง ซึ่งเปน็ ท่ีรจู้ ักในระดับจังหวัด เป็นที่ยอมรับ ของผู้บริหารในระดับสงู โรงเรียนเป็นสถานที่ผลิตบุคลากรสคู่ วามเปน็ ผู้บรหิ ารในระดับประเทศ๒๖ ๔.โรงเรียนเป็นสถานที่ผลิตนักเรียน ให้เกิดความรู้ อุดมการณ์ เชิงสร้างสรรค์พัฒนา มี ศักยภาพด้านสติปัญญาสามารถพัฒนาตนเองต่อได้ จนสามารถจบการศึกษาในระดับก็มี เป็น ผบู้ ริหารระดบั ประเทศก็มี เป็นทีม่ ชี อื่ เสียงของบุคคลดีเดน่ ในสังคม ว่าได้รบั การศึกษามาจากโรงเรียน บางมูลนากภูมิวิทยาคม ถือว่าเป็นโรงเรียนเป็นสถานท่ีผลิตบุคลากรสู่ความเป็นผู้บริหารใน ระดับประเทศ ๒๗ ๒๕ สัมภาษณ์ ผูใ้ ห้ข้อมูลสำคญั อนั ดบั ท่ี ๒๐ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๒๖ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคญั อันดับท่ี ๒๔ เมื่อวนั ท่ี ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๒๗ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมลู สำคญั อนั ดับท่ี ๑๑ เม่ือวันที่ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๙๐ ดา้ นจุดออ่ น (W) มดี งั นี้คอื ๑.ด้านบุคลากรของโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม บางส่วนมีการถ่ายโอนจาก สถานศึกษา ไปสู่สถานศกึ ษาอีกแห่ง และการโยกย้ายบุคลากรบ้าง เป็นเหตุให้บุคลากรประจำขาด การต่อเน่ืองในหนา้ ที่ พร้อมกันบุคลากรมาใหม่ ก็ยังต้องพฒั นาศักยภาพ เพื่อรองรับการเปล่ียนผ่าน รวมถึงการปรับเปลยี่ นโครงสร้างการบริหารจดั การ ต่าง ๆ ทเ่ี กิดข้ึนเพื่อเปน็ ปจั จยั แหง่ การพัฒนาเพ่ือ เติมเต็มดา้ นคณุ ภาพ๒๘ ๒.ด้านปัจจัยเชิงอำนาจ ความเกรงใจ ในการท่ีมีภาคประชากรผู้ใหญ่ท่ีต้องการให้บุตร หลานของตนเขา้ เรยี นต่อในสถานศึกษาแห่งน้ี ฝากเข้าเรียน ซึ่งก็เป็นปัจจัยแห่งจุดอ่อนที่สำคัญใน ยอมรับ เชงิ พฤตกิ รรมของนักเรียนท่ีมผี ลต่อการเรียนการสอน เพราะฝากเข้ามาเรียน ทำใหเ้ กิดความ ยากลำบากใจของครผู สู้ อนดว้ ยเช่นเดียวกัน รวมไปถึงผู้บริหารในภาคส่วนต่าง ๆ ของโรงเรียนด้วย๒๙ ๓. ด้านพฤติกรรมของนักเรียน ที่มีปัจจัยต่าง ๆ กัน ได้มีพฤติกรรมหลากหลายต่อ ครผู ู้สอน และต่อสถาบันการศึกษาท่ที ำให้ชือ่ เสียงไม่ดีเกดิ ขึ้น ก็มีผลต่อภาพลกั ษณ์ของโรงเรยี น เป็น ปัจจัยต่อความรู้สึกของนักเรียนทั้งโรงเรียน ต่อครูอาจารย์ผู้สอน จึงต้องถือว่า การสร้างสรรค์ พฒั นาการเรียนการสอนในโรงเรยี นระดบั มัธยมน้ัน ต้องเสย่ี งต่อปัจจัยหลายดา้ นเช่นกัน ตอ้ งมคี วาม รอบคอบระมัดวังมากในฝ่ายปกครอง เพราะจะสะท้อนไปสู่ความรู้สึกของผู้ปกครองนักเรียน ทุก ๆ คนด้วย๓๐ ด้านโอกาส (O) มดี งั นคี้ อื ๑.โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม เป็นสถานศึกษาที่ภาคประชาชน ไกล ใกล้ ในความ สนใจท่จี ะส่งลูกหลานเขา้ มาเรียน เพราะทราบถึงคุณภาพของประชากรนักเรยี น ท่ีจบไปแล้วนั้น ได้ เปน็ ผ้มู ีช่ือเสียงทางสังคม เป็นผู้บริหารระดับประเทศ ซึ่งเปิดทำการเรียนการสอนมาเป็นระยะเวลา ยาวนาน๓๑ ๒.โรงเรียนประจำเภอ ซึ่งยุคปัจจุบนั มีกำลงั ประชากรมากข้ึน ประชากรเกิดใหม่ รวมถึง ประชากรที่ย้ายถ่ินฐานเข้ามาทำมาหากินอยู่ในบริเวณใกล้เคียง มีความต้องการให้ลูกหลานเรียน ๒๘ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มลู สำคญั อันดับที่ ๒๔ เม่ือวนั ที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๒๙ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญอนั ดบั ที่ ๒๖ เมือ่ วันท่ี ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๓๐ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมลู สำคญั อนั ดบั ที่ ๒๐ เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๓๑ สมั ภาษณ์ ผ้ใู ห้ขอ้ มลู สำคัญอันดับที่ ๑๖ เมื่อวนั ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๙๑ โรงเรยี นนี้ ก็อาศยั กำลังสนับสนุนจากภาครัฐบาล จึงมีอาคารสถานที่ ไว้ศึกษาเล่าเรียน แต่ต้องสร้าง ใหน้ กั เรียนมีคณุ ภาพ ตามเป้าหมายของจังหวัดพิจิตร ตามเกณฑ์มาตรฐาน๓๒ ๓.ตามนโยบายของภาครัฐ โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม สามารถสร้างนักเรียน และ จัดกจิ กรรมโครงการต่าง ๆ เพอื่ เสรมิ สร้างศกั ยภาพใหก้ บั นักเรยี น แตด่ ว้ ยปจั จัยต่าง ๆ สภาพสงั คมท่ี เปล่ียนแปลงไป ตามโลกสมัยปัจจุบันก็มีปัญหาเชิงสังคมบ้าง โรงเรียนก็ยังสามารถเป็นศูนย์การ เรียนรูเ้ ชิงคุณธรรมได้๓๓ ดา้ นปัญหาและอุปสรรค (T) มดี งั นี้คอื ๑.โรงเรียนบาลมูลนากภูมิวิทยาคม ในลักษณะภูมิประเทศต้ังอยู่ในย่านชุมชน มีตลาด ร้านค้า มีประชากรสัญจรไปมา ก็อย่ทู ่ามกลางความหนาแน่น มีตลาด มีรา้ นคา้ มีสถานท่ีพลุกพลา่ น ดว้ ยผู้คน กต็ อ้ งประสบปญั หาอุปสรรคหลายด้าน โดยเฉพาะกบั ตัวนักเรียนเอง ซ่งึ ต้องเดนิ ทางจากที่ อยเู่ ขา้ สูป่ ระตโู รงเรียน๓๔ ๒.ปัจจัยเชิงผู้คนท่ีมาก ซ่ึงไม่สามารถไปบังคับ หรือส่ังการได้ เป็นเหตุให้ภายนอกรั้ว โรงเรยี น อาจารย์ฝ่ายปกครองควบคมุ ดแู ลนักเรยี นไดย้ าก และเปน็ เหตุให้เกิดปัญหาทะเลาะเบาะแว้ง กนั ปญั หายาเสพติด ซง่ึ ก็เปน็ ปัญหาพน้ื ฐานเชงิ สงั คมมีปัจจัยต่อเดก็ นกั เรียนเชิงลบ๓๕ ๓.ปัจจัยการเพิ่มข้นึ ของประชากรเดก็ นักเรยี น ก็เรือ่ งอาคาร สถานที่ ห้องเรียน อุปกรณ์ อ่ืน ๆ ที่มเี พ่ือการให้ใช้สอยของนักเรียนนั้น บางทีไม่พร่ังพร้อมเทา่ ที่ควร ดว้ ยจำนวนนักเรยี นมเี ยอะ มาก เปน็ อุปสรรคปัญหาที่ต้องรอการแกไ้ ขปรับปรุงกันต่อไป๓๖ ผลจากการศึกษาวิเคราะห์ด้วย SWOT Analysis แล้วในพ้ืนที่เปา้ หมาย คอื โรงเรยี นบาง มูลนากภูมิวทิ ยาคมการสัมภาษณ์ผทู้ รงคุณวุฒิ ตามหลักทฤษฎี SWOT น้นั ใน ๔ ดา้ น พบว่า ด้าน จุดแขง็ Strengths ของโรงเรยี นบางมลู นากภูมิวิทยาคมน้ัน ซ่งึ เป็นเหตุปจั จยั ภายใน ขององค์กรที่มีศักยภาพ มีความสามารถ เป็นจดุ เด่น จุดแข็งดา้ นต่าง ๆ น้ัน มี ๓ ประเดน็ สาระด้วยกนั คือ ๑.เปน็ โรงเรียนมัธยมศกึ ษาประจำอำเภอ มนี ักเรียนจำนวนมาก ๒.เปน็ โรงเรียนตน้ แบบ ในหลาย โครงงานของจังหวัดพิจิตร๓.โรงเรียนเป็นสถานที่ผลิตนักเรียน ให้เกิดความรู้ อุดมการณ์ เชิง สร้างสรรค์พัฒนา จุดเด่นทั้ง ๓ ประการน้ี เป็นปัจจัยภายในองค์กรของโรงเรียนบางมูลนากภูมิ ๓๒ สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมูลสำคัญอันดับท่ี ๒๖ เมือ่ วนั ท่ี ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๓๓ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมูลสำคัญอนั ดบั ท่ี ๒๔ เม่อื วนั ที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๓๔ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคญั อนั ดับที่ ๑๑ เม่ือวนั ท่ี ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๓๕ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคญั อนั ดับท่ี ๒๕ เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๓๖ สมั ภาษณ์ ผูใ้ ห้ขอ้ มลู สำคญั อันดบั ท่ี ๒๖ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.

๙๒ วิทยาคม สิ่งสำคัญเป็นสถานศึกษาที่เป็นต้นแบบด้านคุณธรรม เป็นที่รู้จักได้รับการยอมรับ ได้ถูก ประเมินผลงานมามากแลว้ มีศกั ยภาพในการพัฒนาองค์กรด้วยตวั เองสงู มาก ดา้ นปัจจัยภายในอีกตัวท่ีสำคัญ คือ ด้านจุดอ่อน Weaknesses ข้อด้อยหรือจุดอ่อนนั้น โรงเรียนบางมลู นากภูมิวทิ ยาคม จากการท่ีได้ทำการศึกษาวิจัยน้ัน พบ ๓ ประเด็นเนื้อหาสาระ คือ ๑.ดา้ นบุคลากรมีการถ่ายโอนโยกยา้ ย การบริหารจัดการไมต่ ่อเน่ือง ๒.ปจั จัยเชิงอำนาจในการฝาก ลูกหลาน เข้าโรงเรียนยงั มีอยู่ ๓.ด้านนักเรียนมพี ฤติกรรม ที่ไม่พงึ ประสงค์จากการวิจยั ข้อมูลเชงิ ลึก นนั้ พบว่าปัจจัยภายใน ซึง่ เปน็ จดุ อ่อนของโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยานั้น ยงั ตอ้ งการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงยังพบอยู่ เห็นอยู่ ก็ถือว่าข้อมูลน้ีตรงไปตรงมา เพื่อประโยชน์ในการวางแผนงาน แก้ไข พัฒนาตอ่ มีผลกระทบต่อการพัฒนาเพม่ิ ศักยภาพขีดความสามารถขององคก์ ร ด้านปัจจัยภายนอก ทีช่ ่องทางหรือโอกาสก้าวหน้าเจรญิ เติบโต ของโรงเรียนบางมูลนาก ภูมิวิทยาคมน้ัน คือด้านโอกาส Opportunities อันเป็นปัจจัยเชิงบวกท่ีจะสามารถจัดสร้าง พัฒนา โครงการต่าง ๆ ได้ในอนาคต การศึกษาวิจัยพบ ๓ ประเด็นเนื้อหาสาระ คือ ๑.เป็นสถานศึกษาที่ ได้รบั การยอมรับจากภาคประชาชนทั่วไป ๒. เป็นโรงเรยี นทม่ี มี าตรฐานได้รับการสนบั สนุนจากภาครฐั ๓.เป็นโรงเรียนที่สามารถเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้เชิงคุณธรรมของจังหวัด จากการวจิ ัยข้อมูลเชิงลึกน้ัน พบวา่ ปัจจยั ภายนอกด้านโอกาสหรือช่องทางของโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม ซ่งึ ต้องการช่องทาง การพัฒนาโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ หรือขององค์กรเอง ก็ถือว่ามีความเป็นไปได้สูง เพราะเหตุ ปจั จัยเก้อื กูล มผี ลกระทบต่อการพฒั นาเพ่ิมศักยภาพ เพราะเป็นสถานท่ีศนู ย์การเรยี นรเู้ ชิงคุณธรรม ของจงั หวัดพจิ ติ รอยู่แลว้ ด้านปัจจัยภายนอก ซ่ึงเป็นประเด็นด้านปัญหาอุปสรรค Threats ท่ีสำคัญของของ โรงเรยี นบางมลู นากภมู วิ ิทยาคมนัน้ การศึกษาวิจัยพบ ๓ ประเดน็ เนอื้ หา คอื ๑.ตง้ั อยใู่ นย่านชุมชน มี ตลาดร้านค้า มีประชากรสัญจรไปมา ก็อยู่ท่ามกลางความหนาแน่น๒. ปัญหายาเสพติด ซึ่งก็เป็น ปญั หาพื้นฐานเชงิ สังคมมผี ลกระทบตอ่ เด็กนกั เรยี น๓. เร่ืองอาคาร สถานที่ หอ้ งเรยี น อุปกรณ์อนื่ ๆ ที่ มีเพ่ือการให้ใช้สอยของนักเรียนนั้น บางทีไม่พรั่งพร้อมเท่าท่ีควร จากการศึกษาวิจัยข้อมูลแล้ว ปญั หาอุปสรรคของโรงเรียนบางมูลนากภูมิวทิ ยาคมนั้น ยังตอ้ งรอการแก้ไข ก็เปน็ ปัญหาที่ต้องพัฒนา ระบบสังคมเชิงรวมด้วย ก็เป็นปัจจัยท่ียากลำบากตอ่ การแก้ไข เพราะเป็นปัจจัยภายนอกองค์กรของ โรงเรยี น ก็ต้องปกปอ้ งองค์กร มิใชเ่ สื่อมเสียด้วยวิธีการตา่ ง ๆ ท่ีอิงอาศยั กันรว่ มมอื กันหลายฝ่าย สรุปว่า เมื่อมองโดยภาพรวม การศึกษาด้วย SWOTAnalysis พบปัจจัยภายในที่สำคัญ เชิงบวกน้ันเท่ากันกับปัจจัยภายในเชิงลบ ก็ถือว่าเป็นปัจจัยให้องค์กรพัฒนาศักยภาพได้ ไม่ได้แบก รับภาระหนักมาก เม่ือดูปัจจัยภายนอกนั้น ก็มีปัจจัยเชิงบวกและปัจจยั ภายนอกเชิงลบ ก็พอ ๆ กัน ดังนั้น โรงเรียนบางมลู นากภมู วิ ิทยาคม ซ่งึ เป็นพ้นื ที่สถานศึกษา ที่มีความสำคัญในดา้ นผลติ ประชากร ให้มีวิชาความรู้ มีความสามารถ การดำรงชีพในสังคม ในการประกอบสัมมาชีพ อยู่ร่วมกันอย่างมี

๙๓ ความผาสุก ปรองดอง สมานสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจกัน อิงอาศัยกันอย่างมิตรไมตรี ส่ิงนี้เร่ิมต้นที่ โรงเรียนท้ังนั้น จึงต้องอาศัยการพัฒนาบริหารจัดการด้วยคุณธรรม และท่ีน่ายกย่อง สามารถเป็น ศูนย์การรู้เชิงคุณธรรมยอ่ มเป็นต้นแบบของสังคม อย่างมีผลลัพธ์อันเป็นยอมรับทั่วไป พร้อมกันน้ัน การศึกษาวิเคราะห์ด้วย SWOT Analysis ก็จะสามารถนำไปวางแผนพัฒนาเป็นองค์กรคุณธรรม ตน้ แบบต่อไปได้

๙๔ แผนภาพที่ ๔.๒ สรปุ ผังโมเดล การศึกษาด้วยSWOTAnalysis ปจั จยั ภายในและปัจจัย ภายนอกโรงเรียนบางมลู นากภมู วิ ิทยาคม

๙๕ ๔.๑.๓ โรงพยาบาลบางมูลนาก โรงพยาบาลบางมูลนาก เป็นโรงพยาบาลประจำอำเภอบางมูลนากของจังหวัดพิจิตร ผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎี SWOT ศึกษาวิเคราะห์จากข้อมูลของโรงพยาบาลบางมูลนาก ซ่ึงจะเป็นช้ีให้ ประเด็นจุดเด่น จุดดอ้ ย โอกาส อุปสรรคปัญหา ซ่ึงเกิดข้ึนในพื้นท่ีที่ทำการศึกษาวิจัย ท่ีได้จากการ สัมภาษณ์ ประมวลผล ทำการสังเคราะห์เป็นประเด็นองค์ความรู้ เพื่อประกอบการวิจัยจาก ผทู้ รงคุณวุฒิ ซ่ึงจะได้แสดงขอ้ มูลองค์ความรู้ดงั ต่อไปนี้ ดา้ นจดุ แข็ง (S) มดี งั น้คี ือ ๑. โรงพยาบาลบางมูลนาก เป็นโรงพยาบาลระดับอำเภอได้มีส่วนช่วยบริการ เยี่ยวยา รักษาพยาบาลใหก้ บั ภาคประชากรในอำเภอ และในจังหวดั ใกลเ้ คยี งทเี่ ข้ามารับบรกิ าร ซ่ึงผู้รับบรกิ าร ไดย้ ินกิตติศัพท์ช่ือเสียง และเคยเข้ามารบั บริการเกิดความประทบั ใจ ด้วยนำ้ ใจไมตรีของเจ้าหน้าทท่ี ุก ๆ คน เป็นความภมู ใิ จทช่ี าวอำเภอบางมูลนากท่ีไดร้ ่วมกนั สร้างโรงพยาบาลแหง่ นี้มาตงั้ แต่เร่ิมต้น๓๗ ๒.ทางโรงพยาบาลบางมูลนากนั้น มเี จ้าหน้าที่ระดับผู้บริหารเข้มแข็ง เปน็ พลังขบั เคลอ่ื น โรงพยาบาลบางมูลนากใหไ้ ปส่คู วามเป็นมาตราฐานในการบรกิ าร เปน็ ผูน้ ำในการบริหารจดั การ เพ่ือ นำความเป็นเลิศของโรงพยาบาลระดับอำเภอ ยังได้ขับเคล่ือนให้บุคลากรพัฒนาศักยภาพขีด ความสามารถในหน้าที่การงานอย่างมุ่งมั่นต้ังใจ แล้วจะมีการเปล่ียนแปลงผู้บริหารก็ยังสืบทอด เจตนารมณ์อันดงี ามนไี้ วส้ ง่ ต่อไปสบู่ คุ ลากรของโรงพยาบาลด้วย๓๘ ๓.โรงพยาบาลบางมูลนากนัน้ ได้มกี ารพฒั นาศักยภาพในด้านต่าง ๆ ของโรงพยาบาลเพ่ือ การให้บริการแก่ประชาชน โดยพลักดันให้มีกิจกรรมต่างในการพัฒนาบุคลากร จัดบริเวณอาคาร สถานที่ให้รม่ ร่ืนย์ จัดตั้งจุดบรกิ ารให้ความสะดวกให้การเข้ารับบริการของประชาชน สอบถามความ ตอ้ งการ เพื่อให้ผู้ท่ีเข้ามารับบริการได้รับการเอาใจใส่ ถือว่าเป็นภาระหน้าที่ของเข้าหน้าท่ีบุคลากร ของโรงพยาบาล ซ่ึงเป็นสถานท่ใี หบ้ ริการประชาชนทั่วไป๓๙ ดา้ นจุดออ่ น (W) มีดงั นคี้ อื ๑. ด้านบุคลากรของทางโรงพยาบาลนั้น ยังถือว่าไม่เพียงพอแก่การให้บริการแก่ ประชาชน จึงต้องเป็นประเด็นหลักท่ีต้องจัดหาบุคลากรเพ่ิม พร้อมกับมีปัจจัยภายในองค์กรด้าน ๓๗ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญอนั ดับที่ ๑๗ เม่อื วนั ท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๓๘ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มูลสำคญั อนั ดับท่ี ๒๓ เม่อื วนั ที่ ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๓๙ สัมภาษณ์ ผูใ้ ห้ข้อมลู สำคญั อนั ดบั ที่ ๒๐ เม่อื วันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๙๖ บุคลากรที่ต้องพัฒนาสร้างความรักในอาชีพบริการ การให้บริการด้วยเป็นหน้าที่ และความ รับผิดชอบ๔๐ ๒ .ค่าใช้จ่ายในโรงพยาบาลน้ัน ยังถือว่าสูงมาก ด้วยการให้บริการที่ต้องอาศัยบุคลากร ประกอบกับสถานท่ีน้ัน บางจุดการการเอาใจใส่ น้ำ ไฟ เมื่อไม่ได้มีการใช้ แต่ไม่ได้ปิด มีความ ส้ินเปลอื งโดยไมไ่ ดร้ ับประโยชน์ จำตอ้ งปรับปรุงแก้ไขปญั หาค่าใช้จ่ายอีกหลายด้าน๔๑ ๓. เจ้าหน้าที่บุคลากรของโรงพยาบาล บางส่วนต้องการพัฒนาศักยภาพ ก็มีการเปล่ียน ถ่าย เข้ารับการอบรม เข้าศึกษาต่อ เพ่ือให้รู้เข้าใจ ประเด็นปัญหาอุปสรรคที่ต้องพบเจอ พร้อมท้ัง วิธีการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้สอดคล้องกัน โดยท่ีต้องการพัฒนาบุคลากรขององค์กรอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ทันยคุ สมัย จึงมกี ิจกรรมการพฒั นาด้านต่าง ๆ มากมายซ่ึงบุคลากรเจ้าหนา้ ทตี่ ้องให้ความรว่ ม ถือ ไม่ไดร้ ับความสะดวกสบายเท่าท่ีอยากจะได๔้ ๒ ด้านโอกาส (O) มดี งั น้ีคอื ๑. ปัจจุบันการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลบางมูลนาก ฟังเสียงจากภาคประชาชน ทัว่ ไปทีเ่ ข้ามารับบริการการรักษาพยาบาลด้านต่าง ๆ ก็ยอมรบั ว่าได้รับการดูแล รกั ษาพยาบาลเป็น อย่างดี รวมถึงเกิดความเช่ือมั่นในการให้บรกิ าร การรักษาพยาบาล โดยฐานะหมอ และคนไข้ ได้มี การใส่ใจ ใหก้ ำลงั ใจแก่กัน๔๓ ๒. โรงพยาบาลน้ันอยู่ใกล้แหง่ ชุมชน ไมไ่ ด้อยใู่ นสถานทแ่ี ออดั ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ ดี เหมาะแก่การรักษาพยาบาลในด้านสภาพพื้นทแี่ ละสง่ิ แวดล้อมถือว่า อย่ใู นชัยภูมทิ ่ีเหมาะสม ไม่มี มลพิษภาวะทางอากาศ ไม่อยทู่ ่ามกลางความหนาแน่นของประชากร การเดินทางไปมาสะดวกอยู่ติด ริมถนนหลวง ระหวา่ งอำเภอ เพ่อื การจรากรท่ีรวดเรว็ ๔๔ ๓. โรงพยาบาลบางมลู นาก ยังได้รับโอกาสอันดีจากผใู้ หญ่ใจดี ที่ท่านเป็นคนบางมูลนาก เจรญิ เติบโตในหน้าที่การรงานแล้ว ท่านหวังความเจรญิ รุ่งเรืองให้กับประชาชนคนบางมูลนาก ได้มี โรงพยาบาลประจำอำเภอที่มีมาตราฐานในการดแู ลคนไข้ ผ้ปู ่วย ได้ลงมาช่วยจัดสรรโครงการตา่ ง ๆ ท่ี จะเอื้อประโยน์ใหก้ บั โรงพยาบาล๔๕ ๔๐ สัมภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมลู สำคัญอนั ดับที่ ๒๓ เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๔๑ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ อ้ มลู สำคัญอันดบั ท่ี ๒๖ เม่ือวนั ท่ี ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๔๒ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญอนั ดบั ที่ ๑๗ เมอื่ วนั ที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๔๓ สัมภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มลู สำคัญอนั ดับที่ ๒๓ เมอื่ วนั ท่ี ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๔๔ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญอันดับท่ี ๑๑ เม่ือวันท่ี ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๔๕ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมลู สำคัญอนั ดบั ที่ ๒๓ เมอื่ วันท่ี ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๙๗ ด้านปัญหาและอปุ สรรค (T) มีดังนค้ี อื ๑. ด้านการให้การบริการ บคุ ลากรของโรงพยาบาลบางครงั้ กต็ ้องรับกระทบอารมณ์ไม่ดี ของคนไข้ที่เข้ามารับบรกิ าร ท้ังด้านพฤติกรรมทางกาย ทางวาจาที่มีท่าท่ีไมเ่ หมาะสม คงเป็นปัจจัย จากตัวคนไข้ ญาติคนไขเ้ อง กต็ อ้ งยอมรบั ว่าเป็นประเดน็ ปญั หากบั การบริหารจดั การด้านบคุ ลากรทมี่ ี ผลกระทบ แต่ไมไ่ ด้เสียหายมากนัก๔๖ ๒. ด้านการให้บริการ และรบั บริการ บางทีการสื่อสารบางอย่างไม่สามารถสือ่ ให้ตรงกัน เพราะผู้ฟังสนใจเทคโนโลยีมากเกินไป ลืมฟังประเดน็ ท่ีเจ้าหน้าที่ หรือแพทย์ผู้ให้การรักษา แนะนำ บอกวิธีปฏิบัติ โดยเฉพาะกับญาติของผู้ป่วยท่ีไม่ได้ป่วย แต่ต้องมาเป็นผู้ดูแลคนไข้ บางทีต้องหาคน เชื่อมโยงปรับความเข้าใจก็เป็นอุปสรรคปัญหาท่ีมีอยู่เสมอ อาจจะเพราะเทคโนโลยีเปลี่ยน วฒั นธรรม๔๗ ๓. ความเหล่ือมลำ้ เชงิ สงั คม ก็มีผคู้ นท่ีเขา้ มารบั บริการทุกระดบั ผู้ท่มี รี ายได้นอ้ ย หรือผ้ทู ่ี ต้องพ่ึงพารัฐอย่างเดียว ในคราวที่มาพร้อม ๆ กัน บุคลากรที่จะให้บริการไม่พอ ก็จะมีอาการ กระสบั กระสา่ ย มีเสียงรอ้ งโวยวาย จากอาการเจ็บปวด ตัดพอ้ ตอ่ วา่ เจ้าหนา้ ท่ีที่ให้บริการอยู่ก็มีอยู่ ซ่ึง เป็นประเดน็ ท่ีตอ้ งหาทางชว่ ยเหลอื กัน๔๘ ผลจากการศกึ ษาวเิ คราะห์ด้วย SWOT Analysis แล้วในพืน้ ท่ีเปา้ หมาย คือโรงพยาบาล บางมลู นาก การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ตามหลกั ทฤษฎี SWOT น้นั ใน ๔ ดา้ น พบว่า ด้าน จดุ แข็ง Strengths ของโรงพยาบาลบางมลู นาก ซ่ึงเป็นจุดเด่นประเดน็ สำคญั น้ัน ถอื วา่ เป็นเหตุปัจจยั ภายในขององคก์ รที่มีศักยภาพ มีความสามารถ เปน็ จุดเดน่ จดุ แขง็ ด้านต่าง ๆ นั้น มี ๓ ประเด็นสาระด้วยกันคือ ๑.เปน็ โรงพยาบาลประจำอำเภอบางมูลนาก ที่ประชาชนทั่วไป ได้เข้ามา ใช้บริการให้การยอมรับ ประทับใจ ในน้ำใจไมตรีของเจ้าหน้าที่ ๒.เป็นโรงพยาบาลท่ีมีเจ้าหน้าที่ ระดบั ผู้บริหารเข้มแขง็ ๓.เป็นโรงพยาบาลทีม่ ีการพฒั นาศกั ยภาพในด้านตา่ ง ๆ ของโรงพยาบาลเพ่ือ การให้บริการแก่ประชาชน จุดเด่นทั้ง ๓ ประการนี้ เปน็ ปัจจัยภายในองค์กรของโรงพยาบาลบางมูล นาก ซ่ึงทางโรงพยาบาลเน้นการบริการให้กับคนไข้ ผู้ปว่ ย และญาติของผปู้ ่วยให้ความเช่ือม่ันไว้วางใจ ด้านคณุ ธรรม เป็นท่รี ู้จกั ได้รับการยอมรับ พร้อมกันนั้น ก็มีการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีศักยภาพ ในการพัฒนาองคก์ รดว้ ยตัวเอง ๔๖สัมภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มูลสำคญั อนั ดับที่ ๑๗ เมอื่ วันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๔๗สัมภาษณ์ ผ้ใู หข้ อ้ มูลสำคญั อันดบั ท่ี ๒๐ เมือ่ วนั ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๔๘สมั ภาษณ์ ผูใ้ ห้ข้อมลู สำคัญอนั ดับท่ี ๒๑ เม่ือวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๙๘ ด้านปัจจัยภายใน ตัวท่ีสำคัญ คือ ด้านจุดอ่อน Weaknesses ข้อด้อยหรือจุดอ่อนน้ัน โรงพยาบาลบางมูลนาก จากการท่ีไดท้ ำการศึกษาวิจัยน้ัน พบ ๓ ประเด็นเนอ้ื หาสาระ คือ ๑.ด้าน บคุ ลากรของทางโรงพยาบาลน้ัน ยังถือวา่ ไม่เพียงพอแก่การให้บรกิ ารแก่ประชาชน ๒.ค่าใช้จ่ายใน โรงพยาบาลน้ัน ยังถือว่าสูงมาก ด้วยการให้บริการท่ีต้องอาศัยบุคลากร ๓.เจ้าหน้าที่บุคลากรของ โรงพยาบาล บางส่วนต้องการพัฒนาศักยภาพ ก็มีการเปล่ียนถ่าย เข้ารับการอบรม เข้าศึกษาต่อ เพ่อื ใหร้ เู้ ขา้ ใจ จากการวิจัยขอ้ มูลเชงิ ลกึ นั้น พบว่าปจั จัยภายใน ซ่ึงเปน็ จดุ อ่อนของโรงพยาบาลนนั้ ยัง ต้องการพัฒนา แกไ้ ข ปรบั ปรงุ ยังพบอยู่ เห็นอยู่ ก็ถอื ว่าข้อมูลน้ีตรงไปตรงมา เพื่อประโยชน์ในการ วางแผนงาน แกไ้ ขพฒั นาตอ่ มผี ลกระทบตอ่ การพัฒนาเพม่ิ ศักยภาพขดี ความสามารถขององคก์ ร ดา้ นปัจจัยภายนอก ที่ช่องทางหรือโอกาสก้าวหน้าเจริญเติบโต ของโรงพยาบาลบางมูล นากนั้น คือดา้ นโอกาส Opportunities อนั เป็นปัจจัยเชิงบวกทจ่ี ะสามารถจัดสร้าง พัฒนาโครงการ ต่าง ๆ ได้ในอนาคต การศึกษาวิจัยพบ ๓ ประเด็นเน้ือหาสาระ คือ ๑.เป็นสถานที่ที่บุคคลทั่วไปให้ การยอมรับ เชื่อม่ันในการรักษาดูแล๒.โรงพยาบาลนัน้ อยู่ใกล้แหง่ ชุมชน ไมไ่ ด้อยู่ในสถานทแ่ี ออัด ทำ ใหเ้ กดิ สภาพแวดลอ้ มที่ดี ๓.โรงพยาบาลบางมูลนาก ยงั ไดร้ ับโอกาสอันดีจากผู้ใหญใ่ จดี ที่ท่านเปน็ คน บางมูลนากเจริญเติบโตในหนา้ ที่การรงานแลว้ ท่านหวังความเจรญิ ร่งุ เรืองให้กับประชาชนคนบางมูล นาก จากการวิจยั ข้อมูลเชงิ ลึกนั้น พบว่าปจั จัยภายนอกด้านโอกาสหรือช่องทางของโรงพยาบาลบาง มูลนาก ซึ่งตอ้ งการช่องทางการพัฒนาโครงการตา่ ง ๆ ของภาครัฐ หรือขององคก์ รเอง ก็ถือว่ามคี วาม เป็นไปได้สูง เพราะเหตุปัจจัยเก้ือกูล มีผลกระทบต่อการพัฒนาเพิ่มศักยภาพ เพราะเป็นสถานท่ี ให้บริการด้านการดูแล ตรวจรักษาสุขภาพร่างกาย รักษาคนไข้ ซ่ึงต้องได้รับความเช่ือมั่นจาก ผ้รู บั บริการอย่างสงู ด้านปัจจัยภายนอก ซ่ึงเป็นประเด็นด้านปัญหาอุปสรรค Threats ท่ีสำคัญของของโรง พยาลบางมลู นากนั้น การศกึ ษาวิจัยพบ ๓ ประเด็นเนอื้ หา คือ ๑.ดา้ นการให้การบริการ บคุ ลากรของ โรงพยาบาลบางครั้งก็ต้องรบั กระทบอารมณ์ไม่ดีของคนไข้ทเี่ ขา้ มารับบริการ ทงั้ ด้านพฤติกรรมทาง กาย ทางวาจาท่ีมีท่าท่ีไม่เหมาะสม๒.ด้านการให้บรกิ าร และรับบริการ บางทีการสื่อสารบางอย่างไม่ สามารถส่อื ใหต้ รงกนั ๓.ความเหล่ือมลำ้ เชิงสงั คม ก็มผี คู้ นที่เขา้ มารบั บริการทกุ ระดับ ผู้ที่มรี ายไดน้ ้อย หรือผู้ที่ต้องพ่ึงพารัฐอย่างเดียว ในคราวท่ีมาพร้อม ๆ กัน บุคลากรที่จะให้บริการไม่พอ จากการ ศกึ ษาวิจัยข้อมูลแลว้ ปัญหาอุปสรรคของโรงพยาบาลนัน้ ยังตอ้ งรอการแก้ไข ปรบั ปรงุ ปจั จัยภายนอก ซ่ึงก็ยากแก่การดูแลพัฒนา ระบบการบ่มเพาะอุปนิสัยจิตใจคนสังคมเชิงรวมด้วยไม่เท่ากัน ก็เป็น ปัจจัยทีย่ ากลำบากต่อการแก้ไข เพราะเป็นปัจจัยภายนอกองค์กรของโรงพยาบาล ก็มีการประสาน ความร่วมมือจากองค์กรภายนอกรว่ มกันต้องงอาศัยกันร่วมมือกันหลากฝ่าย เพื่อใหเ้ กดิ เป็นองค์รว่ ม เพ่ือการพฒั นาต่อไปในอนาคต

๙๙ สรปุ วา่ เมื่อมองโดยภาพรวม การศึกษาด้วย SWOTAnalysis พบปัจจัยภายในที่สำคัญ เชิงบวกนั้นเท่ากันกับปัจจัยภายในเชิงลบ ก็ถือว่าเป็นปัจจัยให้องค์กรพัฒนาศักยภาพได้ ไม่ได้แบก รบั ภาระหนักมาก เมื่อดูปัจจัยภายนอกนั้น ก็มีปัจจัยเชงิ บวกและปัจจยั ภายนอกเชิงลบ ก็พอ ๆ กัน ดงั นน้ั โรงพยาบาลบางมูลนาก ซ่ึงเป็นพื้นที่สถานศึกษา ท่ีมีความสำคัญในการให้บริการตรวจรกั ษา คนไข้ ดแู ลผูป้ ่วย ผู้ท่ปี ระสบอบุ ัติเหตุ ตอ้ งการเยย่ี วยารักษาดูแลชีวิตอย่างธรรมดา และแบบเร่งดว่ น เพราะเสี่ยงต่อชีวติ ดงั น้ันบคุ ลากรเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของโรงพยาบาลต้องพร้อม ๒๔ ชั่วโมง แต่ ดว้ ยศักยภาพขององค์กรก็สามารถพัฒนาองค์รวม โดยอาศัยการพัฒนาบริหารจัดการด้วยคณุ ธรรม และทน่ี ่ายกย่อง คอื สามารถให้บริการแบบมิตรภาพ แบบญาติพี่นอ้ งกบั ประชาชนทวั่ ไปเป็นทยี่ อมรับ ใกล้ไกล ก็เข้ามารบั บริการกันด้วยน้ำใจกันตลอด ดังนั้นการศึกษาวเิ คราะหด์ ้วย SWOT Analysis ก็ จะสามารถนำไปวางแผนพัฒนาเปน็ องคก์ รคณุ ธรรมตน้ แบบได้

๑๐๐ แผนภาพท่ี ๔.๓ สรปุ ผงั โมเดล การศึกษาดว้ ย SWOTAnalysis ปจั จยั ภายในและปจั จัย ภายนอกโรงพยาบางมลู นาก

๑๐๑ ๔.๒ ปจั จยั ท่ีสง่ ผลต่อการบรหิ ารจัดการจงั หวดั คุณธรรมต้นแบบจังหวดั พิจิตร การบรหิ ารจัดการท่ีจะมีผลสำฤทธิ์ท่ียอดเยย่ี ม ได้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์เปา้ หมายท่ีตอ้ งการ ก็ต้องอาศัยเคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพ อันได้แก่องค์ความรู้ท่ีทรงอิทธิพล ซ่ึงผู้วิจัยได้ทำการศึกษา ทฤษฎที ่ที รงคณุ คา่ อันเหมาะสมกับการวางแผนพฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบต้ังแต่ต้นจนจบกระบวนการ จงึ ใช้ทฤษฎี PDCA ในการวิเคราะห์การบริหารจัดการ ปจั จัยท่ีมีผลต่อการบริหารของจังหวัดคุณธรรม ต้นแบบของจังหวดั พิจิตร ซ่ึงจะเห็นกระบวนการต่าง ๆ ทเี่ ป็นวงจรการบรหิ ารงานคณุ ภาพใช้ในการ ควบคุมและพัฒนากระบวนการหรือผลิตภัณฑ์อย่างต่อเน่ืองPDCA ทั้งสี่ขั้นตอนเป็นกระบวนการที่ สามารถทำซ้ำได้ เพ่ือให้องค์กรสามารถบริหารความเปลี่ยนแปลงได้อย่างประสบความสำเร็จ ซ่ึง ผู้วิจยั จะไดใ้ หท้ ฤษฎี PDCA หรอื วงจร Deming Cycle มาทำการศกึ ษาวิเคราะห์ประมวลองค์ความรู้ ในพ้ืนทีเ่ ปา้ หมาย เพ่อื แสดงปัจจัยที่มผี ลตอ่ การบรหิ ารจดั การจังหวดั คณุ ธรรม ตามวงจรหรอื ปจั จยั ท้ัง ๔ ตวั ดงั นคี้ ือ ตัวท่ี ๑ คอื เร่ืองของ Plan การวางแผน ซ่ึงการการวางแผน หมายถึงการต้งั เปา้ หมายจาก ปัญหาหรือโอกาสต่างๆ และสร้างแผนการทำงานหรือกระบวนการเพ่ือทำให้เป้าหมายนี้ประสบ ความสำเร็จ ตัวท่ี ๒ คือเร่ือง Do ปฏิบัติการลงมือดำเนินการ หมายถึงข้ันปฏิบัติงานตามระเบียบ วิธกี าร ยุทธวิธตี ่าง ๆ ในทกุ ๆ กระบวนการทีเ่ ป็นภาคปฏิบตั ทิ ้ังมวล เชน่ นการลงมือทำและเกบ็ ข้อมูล เพื่อหาจุดอ่อนหรือจุดที่สามารถพัฒนามากข้ึนได้ รวมถึงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่าง ๆด้วยจนถึง สนิ้ สดุ โครงการนั้น ๆ ตวั ท่ี ๓ เรื่องของ Check การตรวจสอบ หมายถงึ ข้ันตอนการตรวจสอบ เป็นข้ันตอนหา ช่องทางและวิธีพัฒนากระบวนการต่างๆให้เร็วข้ึนหรือมีประสิทธิภาพมากข้ึน รวมถึงการจัดลำดับ ความสำคญั ของโอกาสและอุปสรรคต่าง ๆ ในกระบวนการในระหว่างกการวางแผน การลงมือทำตาม โครงการจริง จนถึงประเมินผลงานจบโครงงานท้งั หมด ตัวที่ ๔ เรื่องของ Action การดำเนินการปรับปรุงแก้ไข หมายถึงการดำเนินการเพ่ือ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้กระบวนการขั้นตอนต่างๆ ให้มีผลดีขึ้น เร็วขึ้น พัฒนาดีกว่าเดิม เพ่ือเก็บรวม ความรู้ข้อดี ข้อด้อย จุดเด่น อุปสรรคปัญหาที่ตอ้ งจัดการไม่ให้มใี นการทำงานคร้ังต่อไป เพ่ือเร่ิมต้น วงจรทำงานทุกกระบวนการใหม่อกี ครั้ง โดยตวั ปัจจัยทั้ง ๔ นจี้ ะเป็นองค์ความรู้ที่เกดิ ขน้ึ ไดจ้ ากการสัมภาษณ์ผทู้ รงคุณวฒุ ิท่ีมสี ่วน เก่ียวข้อง ในกระบวนการบรหิ ารจัดการจงั หวัดคุณธรรมต้นแบบดว้ ย

๑๐๒ ๔.๒.๑ ปัจจยั แห่งความสำเร็จตัวที่ ๑ คือ P Plan การวางแผน การวางนโยบาย วางยทุ ธศาสตร์ ด้านการบริการจดั การจงั หวัดคณุ ธรรมของจังหวัดพจิ ิตร นนั้ ไดเ้ รม่ิ จากนายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ไดเ้ รม่ิ ต้นที่ โรงเรยี นบางมูลนากภูมวิ ิทยาคม เม่ือ พ.ศ.๒๕๕๓ และโรงพยาบาลบางมลู นากเม่ือ พ.ศ.๒๕๕๖ ไดเ้ ป็นยุทธศาสตร์ของระดับจงั หวัดพิจิตร มีการวางแผนประชุมเครือข่ายและองค์กรร่วม มาประชุมกันวางแผน และทำ MOU ประกาศ เจตนารมณอ์ ย่างชัดเจน๔๙ ผมู้ ีบรหิ ารระดบั จังหวดั มีท่านผู้ว่าฯ วรี ะศกั ดิ์ วิจติ รแ์ สงศรี ได้แสดงนโยบาย มีแผนงาน ตามหลักยุทธศาสตร์ชาติ มีการประชุมปรึกษาหารือ เพ่ือนำไปสู่การวางหลัก นโยบายท่ีจะบรหิ าร จัดการให้เกิดมีจังหวัดคุณธรรม จังหวัดคุณธรรมต้นแบบ โดยมีจังหวดั พิจิตรเป็นโมเดลแรก เพื่อจะ สรา้ งเปน็ ต้นแบบให้เห็นถงึ ความสำคัญดา้ นคณุ ธรรมตามแผนยุทธศาสตรข์ องแผน่ แม่บทแหง่ ชาติ๕๐ พิจิตรจังหวัดคุณธรรม ได้มีการวางแผนกันต่อเน่ืองยาวนาน และพร้อมกับลงมือ ปฏิบัติการ สรปุ ประเมินวางแล้วนำกลับเข้ามาวิเคราะห์หาช่องทางพัฒนาการ ต้ังแตท่ ่านผู้ว่า สุรชัย ขันอาสา ท่านผู้ว่าฯ ฉัตรพร ราษฎร์ดุษฎี โดยร่วมวางแผนงานกันกับ ภาครัฐ เอกชน สื่อ และ ประชาสงั คม ท้ังหมด ๑๓ เครือข่าย ซ่ึงขับเคลอื่ นจากประเด็น “ปัญหาทอ่ี ยากแก้ ความดที ี่อยากทำ” เปน็ พื้นฐานของงานด้านวางแผน๕๑ พิจติ รเปน็ จงั หวดั คณุ ธรรมได้จากการร่วมกันวางแผน สื่อสาร โดยการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ รว่ มกนั ในการทำงาน เคารพกัน ใหเ้ กียรตกิ ัน โดยเร่มิ ต้นทตี่ นเอง และทำทนั ที ซ่งึ ได้สร้างอัตลักษ์ของ จงั หวัดพิจิตร คือ มีนำ้ ใจ รับผิดชอบ จติ อาสา เป็นพ้ืนฐาน เพ่ือใหก้ ารนำหลกั คุณธรรมมาพัฒนาการ บริหารจัดการ๕๒ จังหวัดพิจิตร มีวัดท่าหลวง เป็นวดั ประจำจังหวัดได้เข้าเป็นผู้มีส่วนร่วมในการวางแผน พัฒนาจงั หวัดคุณธรรม โดยคณะทำงานภาคีเครือข่ายภายในจงั หวัดนำหลักการ หรอื หลกั ทางศาสนา มาปรับประยกุ ต์เปน็ หลักคณุ ธรรม เพอ่ื จะส่งเสริม สร้างสรรคพ์ ัฒนาให้สอดคลอ้ งกบั พนื้ ท่ี ผทู้ ี่ทรงภูมิ ปัญญาท้องถ่ิน อันไดแ้ ก่วัดท่าหลวง เพราะมีเจ้าคณะจังหวัดและพระมหาเถระภูมมิ ีความชำนาญท้ัง ๔๙ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ขอ้ มลู สำคัญอนั ดบั ที่ ๓ เมอ่ื วนั ที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๕๐ สมั ภาษณ์ ผ้ใู หข้ ้อมลู สำคัญอนั ดบั ที่ ๑๖ เม่ือวันท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๕๑ สัมภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มลู สำคญั อันดบั ที่ ๑๘ เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๕๒ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มูลสำคัญอนั ดับท่ี ๑๙ เมอื่ วนั ที่ ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๐๓ ทางโลกและทางธรรม พร้อมท้ังทีมงานพระวิทยากร พระธรรมวิทยากรในการจัดกจิ กรรมร่วมกันกับ ชมุ ชน ทอ้ งถิน่ และหลายองค์กรในจังหวดั พิจิตร๕๓ การวางนโยบายจังหวดั คณุ ธรรม กลายเป็นยุทธศาสตร์ของจังหวัดพิจติ รแล้ว ทางจงั หวัด กต็ ้องจดั สรรงบประมาณ จัดบคุ ลากร เพือ่ ทำงาน ประสานงาน ภาคีเครอื ขา่ ยต่าง ๆ เพ่ือให้แผนงาน ขององค์กรที่เข้ารว่ มเป็นภาคเี ครืองได้รับงบประมาณท่ถี กู ตอ้ ง และเพื่อใหผ้ ลงานตามโครงการน้ัน ได้ สอดคล้องกบั แผนยทุ ธศาสตรข์ องจังหวัดเพอ่ื ให้เกดิ ผลสำฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างชดั เจน๕๔ สรุปได้ว่า การวางแผนงานที่ได้ ข้อสรุป ข้อตกลง ท่ีชัดเจน เกิดความเข้าใจกันทุกภาค ส่วนแลว้ ถอื วา่ มชี ัยไปกว่าครึ่ง ด้วยการนำแผนงานท่ดี เี ยี่ยมน้ัน ไปถ่ายทอดสู่องคก์ ร ภาคีเครอื ข่ายเพื่อ การประชุมวางแผนให้สอดรับกับภารกิจงานต่าง ๆ ท่ีต้องนำคุณธรรมไปใช้ โดยให้คุณธรรมน้ัน เกดิ ข้ึนตามความต้องการของพน้ื ท่ี หรือตามเปา้ หมายของกิจกรรม โครงการทถี่ ูกกำหนดขน้ึ ตรงกับ เปา้ หมายทต่ี ้องการขององค์กรนัน้ ๆ อย่างเตม็ ที เพื่อการทำงานนั้นจะได้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพที่ดี งามเป็นที่ยอมรบั ของทุกภาคส่วน ๔.๒.๒ ปัจจยั แห่งความสำเรจ็ ตัวท่ี ๒ คือ D Do ปฏบิ ตั กิ าร ลงมอื ดำเนนิ งาน วัดท่าหลวง พระอารามหลวง วัดท่าหลวง พระอารามหลวง เป็นองค์กรเครือข่ายสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด พิจิตร ดังนั้น คณะสงฆ์จึงต้องมสี ่วนเขา้ รว่ มดำเนินการตามแผนคณุ ธรรมจังหวดั พิจติ ร ภาคคณะสงฆ์ ให้บรรลตุ ามเป้าหมายและเปน็ รูปธรรมตามแผนแม่บทส่งเสริมคณุ ธรรมแห่งชาติ๕๕ พระราชสทิ ธิเวที ดร. เจ้าคณะจังหวดั พิจิตร รกั ษาการเจา้ อาวาสวดั ทา่ หลวง พระ อารามหลวง จังหวัดพิจิตร จึงกำหนดนโยบาย ส่งเสริม สนับสนุน “ชุมชนคุณธรรม” ในวัดพ้ืนท่ี จังหวัดพิจิตร เพื่อเปน็ มาตรฐาน แนวทาง และกรอบในการปฏบิ ัติกิจกรรมต่างๆ ของคณะสงฆจ์ ังหวัด พิจติ ร ซ่ึงจะสอดคล้องและเป็นไปตามนโยบายของมหาเถรสมาคม และเพ่อื ให้คณะสงฆ์ไดม้ ีสว่ นรว่ ม ขบั เคลื่อนแผนคณุ ธรรมจังหวดั พิจิตร๕๖ โครงการรณรงค์ให้คนไทยมีคุณธรรม “พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา” โดยสอดแทรก คุณธรรมเขา้ กับกิจกรรมต่างๆ ของคณะสงฆ์ อาทิ การแสดงพระธรรมเทศนา การบรรยาย การอบรม ๕๓ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคญั อันดบั ท่ี ๑ เม่อื วันท่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๕๔ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มูลสำคัญอันดับที่ ๒๕ เมื่อวันท่ี ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๕๕ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคญั อนั ดบั ที่ ๒ เมือ่ วนั ท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๕๖ สัมภาษณ์ ผ้ใู หข้ ้อมลู สำคัญอันดบั ท่ี ๔ เม่อื วนั ที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๐๔ พระธรรมวิทยากร การอบรมพัฒนาคุณธรรมสำหรับเยาวชนและประชาชน การเผยแพร่ ประชาสัมพันธใ์ นมิตติ า่ งๆ เป็นตน้ ๕๗ วัดท่าหลวงเข้าร่วมประชุม ภาคีเครือข่าย ส่วนราชการ องค์กร หน่วยงาน วางแผน กำหนดและประกาศเจตนารมณ์ การขับเคลื่อนจังหวัดคุณธรรม รวบรวมผลงานเดน่ จากสมาชิกภาคี เครือข่ายเพื่อเตรียมนำเสนอในสมัชชาคุณธรรม จังหวัดพิจิตร “สืบสาน รักษา ต่อยอด พ่อของ แผ่นดิน”๕๘ ปจั จุบันการดำเนินงานคุณธรรม ขับเคล่ือนจังหวัดคุณธรรม จังหวัดพิจิตร วัดท่าหลวง พระอารามหลวง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตรเช่นโครงการอบรมถวายความรู้นักธรรม- บาลีกับพระภิกษุสามเณร โครงการอบรมพระธรรมวิทยากร โครงการอบรมพระบัณฑิตเผยแผ่ โครงการแกนนำเยาวชนจิตอาสา โครงการสงเคราะห์สงฆอ์ าพาธและผู้ยากไร้๕๙ ฯลฯ โรงเรียนบางมูลนากภมู ิวทิ ยาคม การเตรียมความพร้อม ครู เครือขา่ ยผู้ปกครองจิตอาสา โดยใช้ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาครู ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะท่จี ำเปน็ ในการดำเนินงานเสริมสร่างคุณธรรมจรยิ ธรรม เพือ่ ให้ ครูเป็นแบบด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นกลไกในการขับเคลอ่ื นโดยใช้หลักสูตรความรจู้ ากศูนย์ คณุ ธรรม (องค์การมหาชน) ไดแ้ กห่ ลกั สตู ร Managing SR School หลกั สตู รผู้นำเยาวชนจติ อาสา๖๐ สร้างหลักสูตรส่งเสริมคุณธรรมความดี หลกั สูตรโครงงานคุณธรรม การพัฒนาการคิดเชิง ระบบ การพัฒนาการคิดเชงิ ระบบ การศึกษาดูงาน/การะแลกเปล่ียนเรยี นรู้ การสัมมนาเพ่อื ประเมิน คนเอง และส่อื สารเชงิ ลกึ รวมท้ังสรา้ งพลงั รว่ ม และการพาผู้เกี่ยวขอ้ งในการดำเนนิ งานไปศกึ ษาดูงาน ณ โรงเรยี นต้นแบบด้านคณุ ธรรมจริยธรรม การส่ือสารเชงิ ลึกภายในองค์กร และการเสริมสร้างความ เข้าใจแกคณะครแู ละนักเรียนท้ังแบบกล่มุ ย่อยและรายบคุ คล๖๑ โครงการเตรยี มคน เตรยี มความพร้อมของครแู ละผทู้ ี่เก่ียวขอ้ งหลังจากนัน้ จะเขา้ สูข่ ั้นตอน การเตรียมงานโดยสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ นที่เกย่ี วข้อง ร่วมกนั กำหนดอัตลักษณ์ หรอื ตัว ๕๗ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมลู สำคัญอันดบั ที่ ๑๘ เมื่อวนั ที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๕๘ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ขอ้ มลู สำคัญอนั ดบั ท่ี ๑ เม่ือวนั ที่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๕๙ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคัญอนั ดบั ที่ ๔ เม่ือวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๖๐ สัมภาษณ์ ผูใ้ ห้ข้อมลู สำคัญอันดับที่ ๒๔ เมอื่ วนั ที่ ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๖๑ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคัญอันดับท่ี ๒๐ เมอื่ วนั ที่ ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๐๕ บง่ ชีค้ วามสำเร็จ การพัฒนาครู นักเรยี นและสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนกำหนดยทุ ธศาสตร์ และ กิจกรรมเพ่อื บรรลุสูเ่ ปา้ หมาย เรยี กว่า “ยุทธศาสตร์ ๓-๖-๓”๖๒ โครงการสร้างอัตลักษณ์ครูและผู้บรหิ าร คือการไม่เบียดเบียนเวลาราชการ ไม่แสวงหา ผลประโยชน์จากนักเรียนและโรงเรียน ตรงต่อเวลา รับผิดชอบในหน้าท่ี มีจิตอาสา และประหยัด ทรัพยากรของโรงเรยี นโครงการสรา้ งอัตลกั ษณข์ องนักเรยี นคือการปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บของโรงเรยี น ไม่เกีย่ วขอ้ งกับอบายมขุ ดำรงชวี ติ อย่างพอเพยี ง มีจติ อาสา และจิตสำนกึ สาธารณะและโครงการสรา้ ง สภาพแวดล้อมโรงเรียน สะอาดร่มรื่น สวยงาม และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน๖๓ การจัดโครงสร้างการทำงานร่วมกันตั้งแต่ระดับผู้บริหารโรงเรียน ฝ่ายกิจการนักเรียน หัวหน้าระดับ ครูประจำชั้น และครูทุกคนในโรงเรียน คณะกรรมการนักเรียน คณะกรรมการ สถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครองจิตอาสา เพ่ือเป็นกลไกในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมใน โรงเรียน โดยทุกภาคสว่ นมีสว่ นร่วม๖๔ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนซ่ึงในการ เสรมิ สร้างคุณธรรมจริยธรรมตามบางมลู นากโมเดลน้ันมีการสรา้ งเครือข่ายผู้ปกครองจิตอาสาเข้ารว่ ม การทำกิจกรรมเช่น การให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงาน การศึกษาดูงาน ผู้ปกครองมายืนรบั นักเรียนเข้าโรงเรียนในตอนเช้า มารับไหวเ้ ด็กนักเรียน “ยิ้ม ไหว้ ทักทาย” เป็นการเรียนรู้เร่ืองมารยาทไทย การแสดงความอ่อนโยน อ่อนน้อมถ่อมตน หลังจากน้ัน เครือข่ายผู้ปกครองจิตอาสาจะเดินตรวจความเรียบร้อยภายในโรงเรียน รวมท้ังการประชุมสรุป บทเรียนร่วมกับคณะกรรมการการศึกษาและทีมงานครูในโรงเรียน เป็นกำลังในการเสริมสร้าง คณุ ธรรมในโรงเรยี นและในครอบครัวเพื่อให้เกดิ ความตอ่ เนอื่ ง๖๕ การบูรณาการงานโครงการกับภารกิจหลักและงานประจำ โดยการบูรณาการกับ กระบวนการเรียนการสอน ๘กลุ่มสาระ การปรับปรงุ งานวินัยนักเรียนท้ังทางตรงและทางอ้อม งาน ประกันคุณภาพกิจกรรมพิเศษของโรงเรียน และการพัฒนาหลักสูตรโครงงานคุณธรรม คือ การ สง่ เสรมิ ให้นักเรียนแตล่ ะระดับช้ันมีการจัดทำ โครงงานคุณธรรม งานวินัยนักเรียน และกิจกรรมจิต อาสา โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ตัวเองอย่างเป็นวิทยาศาสตร์เพ่อื การสืบค้นปญั หา สาเหตุ และหา แนวทางในการแก้ไข ทั้งในรูปปัญหาท่ีอยากแก้ไขพัฒนาปรับปรุง และความดีที่อยากทำ โดยเปิด ๖๒ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคัญอนั ดบั ท่ี ๒๖ เมอื่ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๖๓ สมั ภาษณ์ ผ้ใู ห้ขอ้ มลู สำคัญอนั ดับท่ี ๑๘ เม่ือวันท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๖๔ สมั ภาษณ์ ผ้ใู ห้ข้อมลู สำคัญอันดบั ท่ี ๒๔ เม่ือวันที่ ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๖๕ สัมภาษณ์ ผูใ้ หข้ ้อมูลสำคญั อันดบั ท่ี ๑๑ เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๐๖ โอกาสให้นักเรียนมีการจัดทำโครงงานคุณธรรมในทุกระดับชั้น อย่างหลากหลายและสร้างสรรค์ เรียนรู้การทำความดีอย่างมีความสขุ โครงงานคุณธรรมของบางมลู นากโมเดล มจี ำนวนมากถึง ๑๐๘ โครงงาน๖๖ฯลฯ โรงพยาบาลบางมลู นาก การแต่งตั้งคณะกรรมการโรงพยาบาลคุณธรรม แบ่งเป็นทีมทีมกรรมการที่ปรึกษา โดย เชิญผู้แทนศูนย์คุณธรรม และพระภิกษุ และทีมดำเนินงาน ได้แก่กรรมการบริหารโรงพยาบาล ได้ มอบหมายและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์คุณธรรม ในหลายโครงการ และ หลายกจิ กรรม๖๗ ทางโรงพยาบาลบางมูลนาก ได้นำหลักการคุณธรรมมาเพ่ือดำเนินการเพาะเมล็ดพันธ์ุ ความดี ได้แก่การไดป้ ระชุมเพ่ือค้นหาอัตลักษณ์ ององคก์ ร โดยใช้เทคนิคสุนทรียสนทนาต้ังคำถามว่า “ท่านใชห้ ลกั ธรรมหรอื คณุ ธรรมข้อใดในการทำงานการดำเนินชีวิตทำให้เจรญิ กา้ วหน้ามาเปน็ หวั หน้า กลุ่มงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจอย่างทุกวันน้ี” สรุปได้ว่าจะใช้หลักธรรม “เมตตา เสียสละ รับผิดชอบ”๖๘ ดำเนินกิจกรรม เช่น “ปัญหาที่อยากแก้” ส่วนใหญ่จะเป็นแผนงาน โครงการในงาน ประจำของหน่วยงาน“ความดีที่อยากทำ”จะเป็นโครงงานอะไรก็ได้ จะเป็นรายบุคคล รายกลุ่มใน หน่วยงาน นอกหน่วยงาน แต่ท่ีสำคัญคือ ทุกโครงการต้องตอบ ๒ คำถาม คือ ทำโครงงานน้ีแล้วมี ความสขุ อย่างไร และใช้คุณธรรมอะไรโครงงานถงึ สำเรจ็ ๖๙ การประกาศและปฏิญาณในส่ิงที่ได้จัดทำร่วมกัน ในการขับเคล่อื นองค์กรคุณธรรม โดย ทุกฝ่ายเข้าร่วม รวมถึงการจดั “ตลาดนัดความดี” ซึ่งเป็นเวทีที่ช่ืนชม แลกเปลี่ยน เรียนรู้ เชื่อมโยง ให้เห็นถึงโครงงานคณุ ธรรมท่ีแต่ละฝา่ ยได้รว่ มมอื ดำเนิน รวมถึงการมีกิจกรรมเพอ่ื ใหภ้ าคประชาชน และองค์กรตา่ ง ๆ มสี ว่ นรว่ มกับกิจกรรมของโรงพยาบาล๗๐ฯลฯ สรุปว่า ปัจจัยที่จะเกิดเป็นรูปร่าง รูปธรรมท่ีชัดเจน ปรากฏแก่สายตาสาธารณะชนได้ก็ ต้องด้วยปัจจัย คือการลงมือปฏิบัติงานจริง เพราะการทำงานจริง ย่อมมีผลงาน เน้ืองาน สง่ิ ที่เป็น ภารกจิ ผูกพันมกี ารปฏิบัติหน้าทอ่ี ยา่ งเตม็ กำลงั เต็มความสามารถ ระดมทุน ระดมแรงงานทั้งมวล ทั้ง ๖๖ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มลู สำคญั อันดบั ที่ ๒๐ เมอ่ื วนั ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๖๗ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมูลสำคัญอันดบั ที่ ๑๙ เมื่อวันท่ี ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๖๘ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคัญอนั ดบั ที่ ๑๘ เมื่อวนั ที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๖๙ สัมภาษณ์ ผ้ใู ห้ข้อมลู สำคญั อนั ดับที่ ๑๗ เมือ่ วนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๗๐ สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมูลสำคญั อนั ดับที่ ๒๓ เมอื่ วนั ที่ ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๐๗ ผู้บริหารทีมงาน ผู้ช่วยเหลือ ผู้ร่วมงานจริง ย่อมเข้าสู่กระบวนการปฏิบัติหน้าที่ เป็นทั้งผู้จัดการ ผู้ร่วมงาน ผู้มาสังเกตการณ์ ส่ิงเหล่านั้น มีเกิดมีได้เพราะการปฏิบัติจริง จะเห็นความจริงท่ีเป็นผล ประจักษ์ ได้รับความชื่นใจ ยินดี เม่ือประสบผลสำเร็จในขณะทำงาน ดังน้ันรูปร่างหน้าท่ี ที่เป็น ปัจจุบันธรรม ตรงน้ีย่อมบ่งชีไ้ ด้ถึงผลสำฤทธ์ิของงาน และข้อบกพร่องของงาน ในขณะลงมือกระทำ งานนน้ั ๆ เฉพาะยิ่งงานนัน้ เป็นงานใหญ่ หรอื งานเฉพาะกลมุ่ ก็ตาม กจ็ ะส่งผลให้เกดิ ความสำเรจ็ ตาม เหตุปัจจยั ท่ไี ดว้ างแผนไว้ดว้ ย ศักยภาพ ปจั จัยสิ่งแวดล้อมในของดำเนนิ งานด้วย องค์ประกอบรว่ มอีก หลายอย่างกย็ ่อมเปน็ ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ และความล้มเหลวเช่นกัน แต่การทำงานดว้ ยการบรหิ าร จัดการคุณธรรมนั้น การวางแผนมาเป็นอย่างดี พลังงานที่ถูกถ่ายทอดองค์ความรู้ การศึกษา วิเคราะห์งานท่ีจะสร้างข้ึน องค์ประกอบแห่งความสำเร็จนั้นมีหลายด้าน ดังน้ัน การท่ีจะประสบ ความสำเรจ็ นั้น เป็นเปา้ หมายอยู่แลว้ แต่จะให้ผลที่ปรากฏนัน้ ชัดเจน ตน่ื ตา ตืน่ ใจ จนเปน็ คลายสงสัย ไดร้ บั การยอมรับว่าดีงาม และมีประโยชน์มากมายมหาศาลนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือรว่ มแรงรว่ มใจ ของทกุ ๆ ภาคสว่ น ๔.๒.๓ ปัจจัยแห่งความสำเร็จตวั ที่ ๓ คอื C Check การตรวจสอบ ประเมนิ ผลงาน การตรวจสอบประเมินผลงาน ติดตามงานของโครงการต่าง ๆ นน้ั เป็นการดำเนนิ การถึง พฤติกรรมท่ีบอกถึงความสำเร็จของโครงการน้ัน ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเท่าใด ได้รับความพึง พอใจของประชาชน ผู้รว่ มงานมากน้อยเท่าไหร่ รวมถงึ เกบ็ รวบรวมผลงานนั้นไว้๗๑ ระบบการนิเทศ กำกับ ติดตามงานอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพ่ือให้รู้ถงึ ความคืบหน้า ของการ ดำเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ด้านคุณธรรมตามแผนงานท่ีวางไว้น้ัน ประสบความสำเร็จถงึ ระดับไหน ในช่วง ระยะเวลาท่ีไดก้ ำหนดไว้ในแผนงาน เปน็ ตวั บ่งช้ถี ึงกระบวนการการตรวจสอบประเมินผล๗๒ การรายงานผลงาน ของโครงการต่าง ๆ ท่ีได้ดำเนินการไปแล้ว ว่ามีผลลัพธ์อย่างไรบ้าง ในแต่ละโครงการ มีความสำเร็จอยู่ในระดับใด มีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง ต้องการความช่วยเหลือ หรือต้องการคำช้ีแนะเพื่อแก้ไขแผนงาน โครงการที่กำลังทำอยเู่ ป็นไปในทิศทางที่ตรงกับเป้าหมาย หลัก และเปา้ หมายรอง สอดคล้องกบั แผนงานท่วี างไวเ้ ปน็ อย่างดี๗๓ การสรุปผลงาน เพ่ือรับความคิดเหน็ ของผูร้ ว่ มงาน ผู้ท่รี ่วมกิจกรรม และจากมุมมองของผู้ สังเกตุการณ์ก็เป็นประเด็นเนื้อหาสาระสำคัญท่ีจะสร้างองค์ความรู้ท่ีในขณะลงมือปฏิบัติงานนั้น ๗๑ สัมภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมูลสำคญั อนั ดบั ท่ี ๑๑ เมอ่ื วันที่ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๗๒ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคัญอนั ดับท่ี ๑๒ เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๗๓ สัมภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มลู สำคญั อนั ดบั ท่ี ๒๑ เมอื่ วนั ที่ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๐๘ อาจจะมองไม่ออก หรือมองข้ามไป ด้วยวิธีการดังกล่าว ย่อมจะได้แนวคิดสร้างสรรค์ มุมมองในมิติ ใหม่ เพ่ือการพัฒนาโครงการการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพย่ิงขน้ึ ในอนาคต๗๔ การสรุปรายงานผลงาน สู่ส่วนกลาง ถือว่าเปน็ การรวมองค์ความรู้ขอ้ มูลในวิถีปฏิบัติงาน จริง เก็บไว้เป็นฐานข้อมูล เป็นหลักฐาน พยานเคร่ืองบ่งช้ีถึงความสำเร็จตามเกณฑ์มาตรฐานที่ สอดคลอ้ งกบั แผนแม่บทท่ีได้มตี ัวชี้วัดไว้ และทางหน่วยงานผูร้ ับผิดชอบจะนำไปประเมนิ ผลสำเร็จอีก ครั้ง เพ่ือมีการมอบรางวัล หรือสะท้อนผลการปฏิบัติงานมาเป็นการยกย่อง เชิดชู ชมเชย วิธีการ ปฏิบัติงานจริงว่า สามารถเปน็ ต้นแบบได้ เป็นสงิ่ ทที่ ำได้ยอดเย่ียม๗๕ ดังน้ัน การสรุปงาน ตรวจสอบงาน ประเมินผลงาน รายงานนั้น ถือว่าเป็นข้ันตอนวิธี ปฏิบัติตามกระบวนการพัฒนาอยู่แล้ว แต่จะทรงประสิทธิภาพย่ิงขึ้น ดีขั้นกว่าเดิมน้ัน ต้องมีการ ประเมินผล หลากหลายวธิ ี บางครงั้ ไม่ใช่ประเมลิ งานเฉพาะแบบสอบถามเทา่ น้นั แตต่ ้องถามถงึ ความ ยินดี พอใจในการปฏิบัติงาน ในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการน้ี มีแนวคิด มีอะไรท่ีจะต้องการ เสนอแนะบา้ ง ขั้นตอนตา่ ง ๆ ที่ได้กล่าวมา จะได้นำไปพฒั นาตอ่ ยอด ปรบั ปรงุ กนั ตอ่ ไป ๔.๒.๔ ปัจจัยแห่งความสำเร็จตัวท่ี ๔ คือ AAction การดำเนินการปรับปรุงแก้ไข พัฒนาต่อไป ปัจจัยแห่งความสำเร็จตัวสุดท้าย โดยนำเอาการรายงาน ข้อมูล การสรุปงานแต่ละ โครงการ ของการบริหารจัดการพัฒนาด้วยคณุ ธรรม มาเข้าสู่การ ตรวจสอบ คิด วิเคราะห์ แยกแยะ ด้วยหลักการวิธีในทฤษฎีต่าง ๆ เมื่อประเมินผลสำเร็จว่า อยู่ในระดับ ดี ดีเย่ียม หรือต้องปรับปรุง แก้ไข หรอื นำไปเปน็ ต้นแบบ แม่พิมพง์ านโครงการอืน่ ๆ ได๗้ ๖ การที่ได้ผลสรุปงาน ทำให้ผู้บรหิ ารที่รบั ผิดชอบงาน ได้มีผลงานปรากฏเพอ่ื เปน็ หลักฐาน ว่า การพัฒนาดา้ นการบริหารจดั การเชิงคุณธรรม ในรูปแบบวิธีการต่าง ๆ ในองคก์ ร ภาคีเครือข่าย ชุมชุน สังคมทอ้ งถิน่ ท่ีได้รับการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ไปแล้ว เมอ่ื นำไปใชจ้ รงิ มผี ลปรากฏอยา่ งไร สิ่งท่ี เป็นความสำคัญมากสำหรบั ผูท้ รี่ ับผดิ ชอบทต่ี อ้ งรับรู้ รับทราบ๗๗ การจะทำเอาความสำเร็จที่ถกู ส่งมาจากโครงการ ด้านคุณธรรม ท่ที างหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ท่ี ได้ทำ MOU ไปนั้น เพราะงบประมาณที่ได้รับน้ัน จะมีการประเมินผลงาน กับเน้ืองานท่ีได้ลงมือ ปฏิบัติการ ดำเนินการไปน้ัน ไดล้ งไปสู่พื้นทีเ่ ป้าหมาย จดั ทำแผน จัดการทำโครงการ ไดส้ อดคล้องกับ ๗๔ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคญั อนั ดับท่ี ๒๓ เมอ่ื วนั ที่ ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๗๕ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มูลสำคญั อนั ดับที่ ๑๖ เมอ่ื วนั ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๗๖ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมูลสำคญั อนั ดบั ที่ ๒๖ เมือ่ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๗๗ สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคัญอนั ดับที่ ๑๗ เมื่อวันท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๐๙ สิ่งที่ได้รับมอบหมายหรือไม่ จึงเป็นส่ิงจำเป็น เพราะทำได้ถูกต้อง สอดคล้อง ย่อมเป็นการถูกต้อง งดงาม และทำใหผ้ ูร้ ับผดิ ชอบได้ผลงานไปตามลำดับขั้น๗๘ ความจริงได้ปรากฏ งานเป็นตัววัดค่าของคน เม่ือการทำงาน ปฏิบัติงานนั้น ย่อมอาศัย พลังงานมากมาย เม่ือถ่ายทอดพลังคุณธรรมความดี เพ่ือให้เกิดประโยชน์ในด้านต่าง ๆ แล้วย่อม จะต้องได้รับผลสะท้อน แต่ผลสะท้อนประจักษ์นิยม คือการรายงานผลงาน ที่ได้เกิดขึ้น พร้อมทั้ง เอกสาร ภาพถ่าย ลายเซ็น เพื่อให้เป็นความพัฒนาเปลี่ยนแปลง เกิดการพัฒนาในรูปแบบใหม่ ๆ เพ่อื ให้ต้นแบบตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม๗๙ สรุปวา่ ปจั จยั ตัวท่ี ๔ เรื่องของ Action เมอ่ื ไดร้ ับรผู้ ลงานของโครงการต่าง ๆ แล้ว ไมใ่ ช่ แค่การรับรู้เป็นเอกสาร แม้แต่ในเวลาการปฏิบัติงานจริง ๆ ก็จะสามารถปรับแผนงาน ปรับวิธีการ บริหารจัดการได้ทันที มิใช่รอรายงานผลเท่านัน้ นีเ้ ปน็ วิธกี ารการดำเนนิ การปรับปรงุ แก้ไข พัฒนา แบบทันท่วงที จนถึงขนาดแก้ไขปัญหา ใหญ่ท่ีต้องพบในช่วงต่าง ๆ ของการทำงาน เริ่มต้นต้ังแต่ วางแผน ขณะปฏิบัติงาน การสรปุ รายงานผล เพ่อื เริ่มต้นวงจรทำงานทุกกระบวนการ ในวธิ ีนั้น ๆ ได้ เพ่ือเป็นตรวจสอบ ประเมินผล แก้ไข พัฒนาไปในตัวเอง เพ่ือพัฒนาการบริหารจัดการให้มี ประสทิ ธิภาพ ไดค้ ณุ ภาพ ตรงกับการบริหารจดั การแบบคณุ ธรรม ตอ้ งพร้อมในทกุ ๆ ขั้นตอน ๗๘ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคญั อนั ดับท่ี ๒๔ เม่อื วันท่ี ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๗๙ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมลู สำคัญอันดบั ที่ ๑๙ เมื่อวนั ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๑๐ แผนภาพท่ี ๔. ๔ สรุปผงั โมเดล ทฤษฎี PDCA การบรหิ ารจดั การดว้ ยคณุ ธรรม จงั หวัดพจิ ติ ร

๑๑๑ ๔.๓ รปู แบบการบริหารจดั การจงั หวัดคณุ ธรรมต้นแบบของจงั หวดั พจิ ิตร การส่งเสริมรูปแบบพัมนาการบริหารจังหวัดคุณธรรมน้ัน จังหวัดพิจิตรได้มีการเริ่มการ สง่ เสริมพัฒนาตามยุทธวิธีของแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๔ จากการ ศกึ ษาวิจัยในการใช้คุณธรรมไปพัฒนาการบริหารจัดการ ได้พบองค์ความรจู้ ากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ทรงคุณวุฒิ มีประเด็นองค์ความรู้ แนวคิด ที่สอดคล้องกับกัน ซึ่งจะได้เรียงลำดับเน้ือหาไปตาม ตัวชว้ี ดั ของแผนแมบ่ ท ซ่ึงได้มีการจัดเครื่องมอื ช้ีได้ไว้ ๑๐ ประเด็น ๓ ระดับ คอื การประเมินระดบั ท่ี ๑ จงั หวัดคุณธรรม ๑.ประกาศขอ้ ตกลงกับภาคีเครือข่ายส่งเสรมิ คุณธรรม ๒.คุณธรรมเปา้ หมายและจดั ทำแผนจังหวดั คณุ ธรรม ๓.ตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคเี ครอื ขา่ ย ๔.การถ่ายทอดภารกจิ สง่ เสริมคุณธรรมสรู่ ะดับอำเภอ การประเมินระดับที่ ๒ จังหวดั คณุ ธรรม ๕.ดำเนนิ งานตามเป้าหมาย “ปัญหาท่ีอยากแกแ้ ละความดีทอี่ ยากทำ” ๖.วางแผนขับเคลื่อนและบรรจเุ ปน็ ยทุ ธศาสตรแ์ บบบูรณาการทุกภาคส่วน ๗.มีการยกย่อง เชิดชู บคุ คล ชุมชน องคก์ ร อำเภอคุณธรรม การประเมนิ ระดับท่ี ๓ จงั หวัดคุณธรรมต้นแบบ ๘.ผลสำเรจ็ จังหวดั คณุ ธรรมในทุกมิตแิ ละการขับเคลอื่ น ๔ คณุ ธรรม ๙.การเพม่ิ ประเด็นคุณธรรมในมิติศาสนา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและอน่ื ๆ ๑๐.องค์ความรู้ การพฒั นาคุณธรรม ภาคีเครือขา่ ย วิทยากร แหลง่ เรยี นรู้อื่น ๆ กระบวนการส่งเสริม รูปแบบการพัฒนาคุณธรรม ที่เป็นปัจจัยแห่งการพัฒนาคุณธรรม จนก้าวสู่ความเป็นต้นแบบต้องผ่านการประเมินโดยตัวชี้วัด ๑๐ ประการ แต่การวิจัยคร้ังนี้ ต้องหา เหตุผล ปัจจัยท่ีเก้ือกูลมีผลกระทบต่อความเป็นจังหวัดคุณธรรมต้นแบบซึ่งได้จากการสัมภาษณ์ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ แล้วนำองค์ความรูม้ าทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรปุ ปัจจัยที่สอดคล้อง เขา้ กันได้ และ สนบั สนุน สง่ เสรมิ ต่อการพฒั นาคณุ ธรรมดังจะไดแ้ สดงตอ่ ไป

๑๑๒ ๔.๓.๑ รูปแบบประกาศข้อตกลงกับภาคีเครอื ขา่ ยส่งเสริมคุณธรรม การสร้าง การพัฒนาองคก์ รคุณธรรมทีจ่ ะเกดิ ความเปลยี่ นแปลงไปตามเป้าหมายท่ีสังคม ตอ้ งการนั้น ต้องมีจุดเริ่มต้นท่ใี ห้หน่วยงานราชการสว่ นรบั ผดิ ชอบหลกั ประสานงานกับองคก์ รในพน้ื ท่ี จริง โดยเฉพาะเร่ืองการวางแผนร่วมกัน สร้างความเข้าใจ ให้มีองค์ความรู้ แนวคิดท่ีสอดคล้องกับ แผนงานนโยบายหลักของแผนแม่บทเพ่ือให้มีการสร้างความมอื เกิดพลังเห็นความสำคัญโดยเฉพาะ หัวหนา้ ประธาน ผนู้ ำทีม่ ีวิสัยทัศนม์ งุ่ มั่นทจี่ ะพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมโดยภาพรวมให้เปน็ ประโยชน์ แก่คนหมู่มากนั้น ไม่ใช่เรื่องท่ีจะเป็นไปได้ง่าย ๆ ต้องมีกำลัง อำนาจ สติปัญญา ความสามารถท่ี เพยี งพอ เป็นท่เี คารพรกั นับถือ ของสงั คม ของคนในสงั คมนัน้ ๆ ซ่ึงผู้วจิ ัยไดน้ ำเอาประเด็นความรู้ท่ีได้ จากการสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ ท่ตี อ้ งมีการประกาศข้อตกลงกบั ภาคเี ครือข่ายไวด้ งั นี้ ๑.การที่มีความต้ังใจจริง เพื่อจะสร้างความดีงามประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับหมู่คณะ หรือ ประชาชนในภาพรวมก็ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือ ร่วมแรงร่วมใจกัน เหมอื นคล้องต้องกัน ไมใ่ ช่ดว้ ยกการ บังคับ หรือส่ังให้ปฏิบัติการแต่อย่างเดียว คือการสร้างสรรด้วยสติปัญญาตามทฤษฎีทาง พระพทุ ธศาสนา ทพี่ ระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าตรัสไว้คือ วโส อสิ รฺ ยิ ํโลเก อำนาจเปน็ ใหญ่ในโลก๘๐ ๒.เมื่อเป็นเช่นน้จี ะเหน็ องคค์ วามรนู้ ี้แล้ว ถือว่าการเปล่ียนแปลงต้องเกิดจากผู้มอี ำนาจ ผู้ ท่ีสังคมยอมรบั นบั ถือ สรา้ งภาวะผู้นำดำเนินการเร่ิมต้นเพ่ือความเปลี่ยนในด้านบวก สร้างนวัตกรรม ด้านคุณภาพ นำไปสู่ภาคปฏิบัติการท่ียังให้เกิดประโยน์สขุ กับภาคสังคมส่วนรวม ประชาชนจะได้รับ ประโยชน์กันเต็มที หน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐที่จะสนองนโยบายในการพลักดันการพัฒนาทุกรูป แบบอยา่ งต่อเนื่อง๘๑ ๓. ยุคปัจจบุ ันผู้นำผู้บริหารระดับประเทศ มีการกำหนดเปา้ หมายในการพัฒนาคุณธรรม มแี ผนการดำเนินการพัฒนาองค์กรต่าง ๆ โดยให้มีผู้นำแต่ละองค์กรช่วยรับผิดชอบ แต่ตัวประสาน เป็นแม่ทพั ย่อยในองค์กรน้ัน เพ่ือใหเ้ กิดกิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนากนั อยา่ งต่อเน่ือง มีการเปลยี่ นแปลง เชิงพฤติกรรม ซึง่ ผลให้คนในองค์กรนนั้ ๆ ยอมรับใหค้ วามเช่ือถือ๘๒ ๔. จังหวัดพิจิตรได้มีการประกาศเจตนารมณ์ อย่างแน่วแน่เพ่ือที่จะให้คุณธรรมในการ บริหารจัดการ จึงทำการประชุมวางแผนจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับการสร้างผู้นำภาคีเครือข่าย ๘๐ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญอนั ดับท่ี ๑ เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๘๑ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมลู สำคญั อนั ดบั ที่ ๒๕ เม่อื วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๘๒ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมูลสำคญั อันดบั ท่ี ๑๑ เม่ือวันท่ี ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๑๓ ภาวะผู้นำขององค์กรต่าง ๆ มีผลต่อการพัฒนาองค์กรคุณธรรมซ่ึงได้สอดคล้องกับผู้นำทางคณะสงฆ์ จงั หวดั พิจิตรระดับเจ้าคณะ ท่านให้ความคิดเหน็ ไวว้ ่า การสง่ เสริมสรา้ งผูน้ ำ๘๓ ๕.การทำให้เกิดการขับเคล่ือนองค์กรคุณธรรมต้นแบบต้องอาศัยผู้นำ เหมือนฝูงโคท่ีมี หัวหน้านำไป ในราโชวาทชาดก ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้นำ ถ้าเม่ือโคทั้งหลาย ว่ายข้ามแม่น้ำไป โค หวั หนา้ ฝงู วา่ ยคด เม่ือโคผู้นำ ฝูงว่ายคดอยา่ งน้ี โคท้ังหมดกย็ ่อมว่ายคดไปตามกนั ในมนษุ ยท์ ้ังหลายก็ เหมือนกัน ผู้ใด ได้รับสมมติแต่งตั้งให้เป็นใหญ่ ถ้าผู้นั้น ประพฤติไม่เป็นธรรม ประชาชนนอกน้ีก็ ประพฤติไม่เป็นธรรมโดยแท้ ถ้าพระราชาผู้เป็นใหญ่ไม่ตั้งอยู่ในธรรม รัฐก็ย่อมอยู่ไม่เป็นสุข ท่ัวกัน พรอ้ มกนั คล้ายคลงึ กันหัวหน้าไปทางไหน ลูกน้องไปทางนั้น ตามกนั ไปเป็นกลุ่ม เรอื่ งนี้พิสจู นไ์ ด้ตาม หลักของธรรมชาติของสตั ว์โลก มด ปลวก ก็มนี างพญา เป็นผู้นำ คณะสงฆ์ไทย มีสมเด็จพระสังฆราช เจ้า เปน็ ประมขุ สงฆ์๘๔ ๖.ชุมชนระดับหน่วยย่อย เช่นวัดวาอารามต่าง ๆ สำนักสงฆ์ สำนักปฏิบัติ ท่ีพักสงฆ์ อัน เป็นสถานที่อบรมจติ ใจการจดั งานบุญ งานศพ การจดั งานต่าง ๆ ท่ตี ้องอาศยั ศนู ยร์ วมชมุ ชน ดังนน้ั ถ้า มีผู้นำท่ีดี กลา้ เสียสละ กล้านำ กล้าทำ กลา้ คดิ กลา้ พูด แต่ไม่จำเปน็ ต้องมีความสามารถรอบด้าน แต่ มีส่วนที่ถนดั ชำนาญ เช่ยี วชาญดา้ นนน้ั ๆ มาช่วยกนั ดูแลกัน สงเคราะหก์ นั ๘๕ ๗.การได้มีภาวะผูน้ ำ อนั จะนำไปสู่หนทาง หรือกระแสแห่งการพัฒนาได้ในอนาคต ทงั้ นี้ เกิดจากต้องมีต้นแบบ หรือต้นธาตุ ท่ีจะเป็นเมล็ดพันธ์ุเพื่อเพาะขยายการช่วยเหลือเก้ือกูล ต่อยอด พฒั นา ชมุ ชน สงั คม หนว่ ยงานนัน้ ๆ ให้มีคุณธรรม และขยายผลสร้างความสุขกนั ๘๖ ๘.การสร้างภาคชุมชน ร่วมถึงภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีต้องอิงอาศัยร่วมกันให้ได้ยินได้ฟัง โดย อาศัยสื่อยุค ปัจจุบัน สื่ออินเตอร์เนท เฟสบุค ส่ือยูทูป สื่อวีดีทัศน์ท่ีผลิตแนวสร้างสรรค์ เป็นแรง กระตุ้นปลุกเร้า ให้สังคมระดับจังหวัดเหน็ พอ้ งต้องกันว่า คณุ ธรรม จริยธรรม มีคณุ ค่ามีประโยชน์๘๗ ๙.ภาครัฐบาลเน้นย้ำ รณรงค์ ส่งเสริม หลักการธรรมาภิบาล เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาติ ซ่ึงมีรปู แบบให้ไว้ โดยใหค้ ณะสงฆ์ในฐานะองค์กรผู้นำทางคุณธรรม ปฏิบัติธรรม อันเป็นท่ีเคารพรักศรัทธาของภาคประชาชนของจังหวัดพิจิตรอยู่แล้ว ได้นำพาปฏิบัติ หรือเทศนา ช้ีแจง แสดงเหตผุ ล คณุ และโทษของการมีคุณธรรมจริยธรรมในการบรหิ ารจดั การชีวติ หนา้ ทก่ี ารงาน ๘๓ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคัญอนั ดบั ที่ ๑๖ เมื่อวนั ที่ ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๘๔ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมูลสำคัญอนั ดับท่ี ๑ เม่ือวนั ท่ี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๘๕ สมั ภาษณ์ ผูใ้ ห้ข้อมูลสำคัญอันดบั ที่ ๑๒ เม่ือวันท่ี ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๘๖ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมูลสำคัญอนั ดบั ท่ี ๓ เมื่อวันท่ี ๒ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๘๗ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมลู สำคัญอันดบั ท่ี ๔ เมอ่ื วันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๑๔ การปฏบิ ตั ิงาน การประกอบกิจการตา่ ง ๆ ซึ่งเม่ือชีแ้ จงแสดงบอ่ ย ๆ ทำให้เกดิ ความเขา้ ใจรว่ มกัน เห็น ความดี ความงามอนั เกิดจากคุณธรรม๘๘ ๑๐. สร้างค่านยิ มด้านคณุ ธรรมใหเ้ กิดข้นึ กับสังคมกลุ่มย่อย ชุมชน ท้องถิ่น เรียกว่า จาก ระดับรากหญ้าจุลภาค จนถึงมหัพภาค ต้องนำเอาทฤษฎีสมัยใหม่มาบูรณาการประยุกต์ วิเคราะห์ ช้ีแจง เหตุผล เชื่อมโยงองค์ความรู้ ในรูปแบบต่าง ให้เห็นประโยชน์ท่ีจะเกิดข้ึน เป็นตัวปลูกฝัง คณุ ธรรมในจิตใจ ยอ่ มมผี ลต่อประชาชน และเยาวชน คนรุ่นใหม่แน่นอน เพราะค่านิยม แรงจงู ใจ ตัว เรา้ ตัวสรา้ งคณุ ธรรม และเห็นภาพปรากฎอย่างชดั เจน๘๙ ดงั นน้ั สรุปได้ว่า การประกาศเจตนารมณ์ ทำข้อตกลงนน้ั เปน็ การส่งเสรมิ ภาพลักษณ์ของ หนว่ ยงานภาคราชการในการรับผิดชอบ ส่งตอ่ ให้องค์กรต่าง ๆ เชน่ คณะสงฆ์ท่ีมผี ู้นำ สร้างประโยชน์ สร้างคุณธรรมให้ภาคประชาชน โรงเรยี น โรงพยาบาล ดังการศึกษาวิจัยประเด็นตวั ช้ีนี้ จะได้เหน็ การ สง่ เสริม ส่วนภาคราชการ ส่วนท้องถ่ิน ส่วนภาคธุรกิจ ฝ่ายศาสนา และทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วน ร่วมในการพัฒนาความดีงามในรูแบบต่าง ๆ โดยมีหลักสำคัญที่ต้องประสานร่วมกันอันจะเกิด คณุ ประโยชน์ดังนคี้ ือ ๑.การมีส่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน ๒.การให้โอกาสสมัครใจเพื่อเข้ารว่ ม ๓.การช่ืนชมยนิ ดีเคารพให้เกยี รติ ซ่งึ กนั และกนั ๔.เริ่มที่ตนเองแสวงจดุ ร่วมสงวนจดุ ต่าง จังหวัดพิจิตร โดยมีสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร เป็นผู้รวบผลข้อมูลและประเมิน ผลลัพธ์สรุปขององค์กรคุณธรรม จังหวัดพิจิตรนนั้ ได้เป็นจังหวัดคณุ ธรรมตน้ แบบได้ ก็เพราะวา่ ไดม้ ี ผ้นู ำระดับประเทศท่านเมตตาเฉพาะพื้นท่นี ้ีกอ่ น จึงมกี ารประสานกับทางกระทรวงวัฒนธรรม ทำให้ เกิดเป็นปัจจัยที่ให้ภาพลักษณ์ของทางจังหวัดพิจิตรได้เป็นองค์กรต้นแบบ พร้อมกับการเกิดเป็น สถานทศ่ี ึกษาเรียนรู้ สถานทศ่ี ึกษาดูงาน และกระจายองค์ความรู้กับภาคีเครือข่ายได้ รวมกับปัจจัย ภายในจังหวัดคือผู้นำองค์กรภาคีต่าง ๆ เช่น วัด โรงเรียน โรงพยาบาล ชุมชน หมู่บ้าน องค์การ บรหิ ารสว่ นตำบล เทศบาล โดยเฉพาะผู้นำในองค์กรนั้นเหน็ ความสำคญั ให้ความร่วมมือ ประสานงาน กัน ร่วมโครงการ สนองนโยบายจังหวัดพิจิตร ตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด ผลิตผลจึงเป็นท่ี ประจกั ษ์ยอมรับในระดบั ประเทศได้ ๘๘ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคัญอนั ดบั ท่ี ๑ เม่ือวนั ที่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๘๙ สมั ภาษณ์ ผูใ้ หข้ ้อมลู สำคญั อันดับท่ี ๒๕ เม่ือวนั ท่ี ๓๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๑๕ แผนภาพที่ ๔. ๕ สรุปผังโมเดล รปู แบบประกาศขอ้ ตกลง กับภาคีเครอื ข่ายสง่ เสรมิ คณุ ธรรม

๑๑๖ ๔.๓.๒ รูปแบบคณุ ธรรมเปา้ หมายและจดั ทำแผนจงั หวดั คณุ ธรรม คุณธรรมเป้าหมายท่สี ำคญั รวมถงึ การจัดทำแผนจังหวัดคุณธรรมนั้น ทางจงั หวดั พจิ ิตรได้ มีการประชุม สัมมนา ระดมความคิด ศึกษาวิเคราะหด์ ้วยหลกั การทฤษฎีตา่ ง ๆ มี การทำ SWOT ใน พืน้ ที่การปฏิบัติงาน องค์กรท่ีเป็นต้นแบบให้กบั ชุมชนและภาคเครือข่าย ดงั จะเห็นได้จากผวู้ ิจัยจะ นำเอาประเด็นเนื้อหาที่ได้จากการสมั ภาษณ์ที่สอดคล้องกับประเด็นตัวช้ีวัดข้อท่ี ๒ น้ี เพ่ือจะเห็นถึง คณุ ธรรมเปา้ หมาย และการจัดทำแผนคุณธรรมในพืน้ ทกี่ ารบรหิ ารจดั การด้วยคุณธรรม ดงั จะแสดงให้ เหน็ ดงั น้ี ๑.การได้ตรวจสอบความพื้นท่ีจริงนั้น มีประเด็นสำคัญคือ “รู้ปัญหา รู้สาเหตุ รู้ความ ตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน ๆ ว่ามีความตอ้ งการสง่ิ ใดบ้าง” เมื่อจะไปนำไปส่งเสริมกิจการในพ้ืนท่แี ลว้ จะมี ผลทด่ี ี ประสิทธิภาพท่ีได้จะไม่ขัดแข้งและเปน็ ประโยชน์ไดจ้ ริง ๆ มฉิ ะนั้นแล้ว จะไม่ทราบเลยว่า คน หมู่บ้านน้ี ตอ้ งการสิ่งใดบ้าง คนในหมู่บ้านนขี้ าดการพฒั นาจดุ ใด ตรงไหน๙๐ ๒.แตล่ ะพนื้ ทีม่ วี ัฒนธรรม ประเพณี ความเชอื่ เป็นของทอ้ งถิ่น ในแตล่ ะองคก์ รของพืน้ ทก่ี ็ เช่นเดียวกัน ปัญหาทอ่ี ยากแกไ้ ข ส่งิ ท่ีต้องการให้ภาครัฐได้ชว่ ยเหลอื ความปรารถนาท่ีจะสร้างที่จะ ทำให้แก่สังคมชุมชนตรงน้ัน เป็นอย่างไร ก็ต้องอาศัยการหาสาเหตุ หรือการทำ SWOT ประเมิน ตรวจสอบ พื้นทจี่ ริง ๆ เสยี กอ่ นทจ่ี ะลงมือปฏิบตั กิ ารสง่ิ ใดตอ้ งใช้ปัญญาความรอบรู้๙๑ ๓.ภาคพื้นท่ีจริงแบบวิถีชีวิต จึงได้สะท้อนองค์ความรู้ไว้แบบวัดท่ัวไปว่า การบริหาร จดั การ กท็ ำไปตามประเพณีวัฒนธรรม ของเกา่ โบราณท่านสร้างไวด้ ีแล้ว ต้องรักษา สบื ทอด ตอ่ ยอด เชื่อมโยงกันไว้ จากรุ่นเก่า สู่รุ่นใหม่ โดยไม่ให้วิถีที่ดีงามขาดหายไป ของเก่า ๆ สถานท่ีโบราณ วฒั นธรรมประเพณีอนั ดงี าม ตอ้ งอาศัยการรว่ มแรงร่วมใจจากคณะสงฆใ์ นอำเภอ ช่วยเกอ้ื กูลกนั ไป ที่ มกี ารเกิดข้ึนใหม่กร็ วมกลมุ่ เป็นสมาชิกใหม่ เอาจารีตประเพณที ี่เคยทำรว่ มกันมารกั ษาสืบทอดกนั ไว้๙๒ ๔.คุณธรรมดี วิถีดี ๆ ส่ิงใหม่ๆ โครงการใหม่ ๆ ท่ีดีงาม สร้างสรรค์ก็เอามาประยุกต์ใช้ กนั ๙๓ โดยไม่ละท้งิ ของเดิม ของเก่า เหมือนตกแตง่ เพิ่มเติมสีสนั ให้งดงามสดใส โดยไม่ใหบ้ ุคลากรรุ่น หลังละท้งิ หน้าท่ีกัน ละทิง้ ประเพณีเก่าโบราณ ซ่ึงเปน็ รากฐานของชุมชนเดิม วัฒนธรรมท่รี กั ษากนั มา ยาวนาน๙๔ ๙๐ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญอนั ดับที่ ๒๗ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๙๑ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญอนั ดับท่ี ๑๘ เม่ือวันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๙๒ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคัญอันดับท่ี ๒๐ เมอ่ื วนั ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๙๓ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคญั อันดับท่ี ๒๖ เมื่อวนั ที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๙๔ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคญั อนั ดบั ที่ ๒๒ เม่ือวนั ที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๑๗ ๕.คุณธรรมท่ีมอี ยู่แล้ว สังคมดงี ามอยแู่ ลว้ มาจัดสรรเปดิ เผย ชวนเชิญใหอ้ งคก์ รอนื่ ๆ เช่น วัฒนธรรมจงั หวัด สำนักงานพุทธศาสนาประจำจังหวัด องค์การปกครองทิ้งถิ่น ได้รว่ มใจกันพัฒนา สืบสานประเพณีวัฒนธรรม ซึ่งได้จัดทำ ได้ทำกันมายาวนา ทุก ๆ ครง้ั ที่มีการประชุม ปรึกษาหารือ ถอื เป็นเร่อื งปกติในการบรหิ ารจัดการ๙๕ ๖.การให้โอกาสของผู้หลักผู้ใหญ่ที่ทำมาก่อน นำเสนอ แล้วคนรุ่นใหม่ รุ่นหลังได้เสริม เพ่ิมเติม ไม่ให้ขาดช่วงหรอื เกดิ ช่องว่าง เพราะรนุ่ เกา่ จากไป เรียกว่าภูมิปัญญาชุมชน ทำให้เกิดการ อนรุ กั ษภ์ ูมปิ ัญญาพ้ืนบา้ น วิธีการแกไ้ ขปญั หาคราวกิ ฤตของชมุ ชน กม็ รี ุ่นใหมม่ ารกั ษาสืบทอดกันต่อ๙๖ ๗.การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ผู้นำชุมชนน้ันต้องการท่ีจะใหป้ ัญหาทุกอย่างได้รับการแก้ไข พัฒนา ปัญหาที่อยากแก้ไข ความดีที่อยากทำ มมี ากมาย แต่ก็ต้องบอกประชาชน ประชุมประชาชน ในพน้ื ทว่ี า่ อะไรสำคัญทส่ี ุด รองลงมาคอื อะไร บางทีปัญหาเลก็ ๆ แก้ยากกม็ ี ปัญหาใหญแ่ ก้ง่ายก็มี จิตสำนึกของคนในชุมชน คงมคี วามแตกต่างกนั หลากหลาย๙๗ ๘.การส่งเสริมจดั ให้มีการระดมความคิดเห็นก็เห็นด้วย แต่ถ้ามหี นว่ ยงาน นักวิจยั มาชว่ ย คิดประเมินผลให้ก็จะดี ความต้ังใจดี ท่ีจะทำดี แต่คนในชุมชนไม่เห็นด้วย คนท่ีจะทำดี มุ่งทำเพื่อ สว่ นรวมก็หมดกำลังใจ แต่ถ้ามีการร่วมมือค้นหาความจริง ปัญหาท่ีจริง เพื่อแก้ปัญหาถูกจุดถือว่า สำคญั ความดที ีจ่ ะช่วยกนั สร้าง ก็ต้องลงมือร่วมกันทำ มิฉะนั้นจะได้ผลสำฤทธ์แิ บบไม่ยั่งยนื ๙๘ สรปุ ได้ว่า การได้ตรวจสอบพ้ืนท่ีจริง ทำให้เกิดการเข้าใจร่วมกัน การเข้าใจตรงกัน ถึง สภาพเป็นจริงของพ้ืนทที่ ่ีจะมกี ารพัฒนาการบริหารจดั การดว้ ยระบบคุณธรรม พรอ้ มกบั ได้รบั รูป้ ัญหา รบั ทราบความเป็นมาของสาเหตุ พร้อมกับปัจจัยท่ีเปน็ บริบทขององค์กร ชุมชน สังคมในที่นน้ั ทำให้ รู้จักวัฒนธรรมองค์กร ประเพณี ทัศนคติขององค์กรที่มายาวนาน เพื่อจะได้บูรณาการปรับระบบ กระบวนการบรหิ ารจดั ได้สอดคลอ้ งกัน เติมส่วนขาด และร่วมกันพฒั นาจดุ พกพร่อง เป็นการร่วมกัน พัฒนา สืบสาน วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น อนุรักษ์ภูมิปัญญาองค์กร แล้วไปต่อยอดภูมิปัญญาอัน งดงามให้มกี ารเผยแพรอ่ อกไปสสู่ าธารณชน คนรนุ่ ต่อไป อันสอดคลอ้ งกับแผนแมข่ องของการสง่ เสริม พฒั นาองคค์ ุณธรรมอยา่ งยง่ิ ๙๕ สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคญั อันดับท่ี ๘ เมื่อวันที่ ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๙๖ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคญั อันดับท่ี ๗ เม่อื วนั ท่ี ๘ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๙๗ สัมภาษณ์ ผใู้ หข้ อ้ มูลสำคัญอนั ดับที่ ๒๘ เม่อื วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๙๘ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญอนั ดบั ท่ี ๒๗ เมอื่ วนั ท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.

๑๑๘ แผนภาพที่ ๔.๖ สรุปผังโมเดล รปู แบบคณุ ธรรมเป้าหมายและจดั ทำแผนจงั หวดั คุณธรรม ๔.๓.๓ รูปแบบต้งั คณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคีเครือข่าย การตง้ั คณะกรรมการ คณะทำงานเพื่อเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายนั้น ทางจังหวดั พิจิตรได้มี การประสานงานกับองค์กรต่าง ๆ ในระดับอำเภอ ระดับตำบล หมู่บ้าน และภาคีเครือข่ายอ่ืน ๆ ซึ่ง เป็นองคก์ รเอกชน และภาคประชาชนผสู้ นใจทวั่ ไป ผ้วู จิ ยั ได้ทำการศึกษาตามระบบบรหิ ารจัดการของ แผนแม่บท ได้นำหลักการ ๓ ประสาน มาเป็นแนวทางศึกษาวิจัย คือ อันดับท่ี ๑ บ้าน ได้แกห่ มบู่ ้าน เทศบาล อันดับที่ ๒ ได้แก่ วัด เจ้าคณะผู้ปกครอง ระดับอำเภอ อันดับท่ี ๓ ได้แก่ โรงเรียน โรงพยาบาล ตามหลักของ “บวร” ซ่ึงแนวทางขับเคลื่อนขององค์กรคุณธรรมระดับจังหวัด โดยได้ ศึกษาวิจัยจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิเชิงลึกได้ให้องค์ความรู้ เก่ียวกับประเด็นการต้ัง คณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคเี ครอื ข่ายน้ี ไดด้ ังนีค้ ือ

๑๑๙ ๑.การได้ให้สว่ นรวม เปน็ คุณคา่ เหน็ ประโยชน์ ต้องเชอื่ มโยงหลายฝ่ายมาช่วยกนั แบ่งปัน กนั จะได้ใชห้ ลัก ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันรับประโยชน์ จะให้เกิดการพัฒนาท่ีย่ังยืนได้๙๙ การ ทำงานท่ีสำคัญนั้น ต้องประสานสิบทิศ ผูกมิตรกับทุกฝ่ายงานจึงจะราบรื่น ยุคปัจจุบันคือ ระบบ บรู ณาการ เติมเต็มใหก้ ันและกันได้ เพราะถ้าทำอยู่องค์กรเดียว ไม่รวมทุกระบบ ทุกฝ่าย จะขัดแย้ง กันในภายหลงั ได๑้ ๐๐ ๒. ส่ิงท่ีอยากเห็น คือจังหวัดคุณธรรม ซ่ึงจะให้มีท้ังตวั อย่างวัด ตัวอย่างตำบล ตัวอย่าง ระดับอำเภอ จนไปถึงระดับจังหวดั ซ่ึงจังหวัดพิจิตรโรงเรียนตัวอย่างคุณธรรม จัดกิจกรรมดี เร่ิมมี ปรากฎมากเห็นตามข่าวหนงั สือพิมพ์ส่ือสารทีวี ถ้าให้ชุมชนของเรามบี ้าง ซึ่งก็เหน็ อยหู่ ลายที่ที่เป็น ตัวอยา่ งได๑้ ๐๑ ๓. ความดี สงิ่ ดี ๆ ต้องรว่ มกันรักษา ต้องรวมคน รวมใจช่วยกนั แลว้ ตอ้ งรักษาไว้ ไวโ้ ชว์ ไว้ แสดงให้กับคนบ้านอื่นเขามาศกึ ษาดงู านกัน จะไดม้ ีชอ่ื เสียงคนพูดถงึ ส่ิงอ่ืน ๆ ก็จะตามมาเช่น ตามวดั มพี ระเถระทรงคณุ ด้านต่าง ๆ กช็ น่ื ชมท่านพระเถราจารย์มที รงภมู ิธรรม เปน็ ที่นา่ เลื่อมใส ชาวบา้ นชนื่ ใจ วัดเป็นท่ีพึ่งของชุมชน สงั คมดี ถ้ามแี ลว้ ต้องชว่ ยกนั ดแู ล อย่าให้เสยี หาย ส่งเสริมไวล้ ูกศิษย์ ไม่นาน คนรุน่ เกา่ จากไป ก็ไดม้ ีคนทำงานสืบสานวถิ ีบ้าน วถิ ีวดั ชุมชน สงั คมของอำเภอเรากันต่อไป๑๐๒ ๔.หน่วยงานราชการ ระดบั จังหวดั มีการมอบหมายงาน พร้อมตั้งคณะกรรมการ ทำการ ประกาศหน่วยงานผู้รบั ผดิ ชอบ ประกาศตัง้ คณะกรรมการในแตล่ ะฝา่ ย ในการที่ตอ้ งกำกบั ดแู ล ในการ วางแผน ในการสรุปผลงานในแต่ละช่วง มีการให้ชุดทำงานประเมินผล เพื่อวางแผนต่อ ให้ใช้หลัก ทฤษฎี PACA เมื่อใหร้ ะบบการใช้องคค์ ุณธรรมน้นั มีการปรับ มีการเช่ือมโยงกบั กลุ่มคนทำงาน ในแต่ ละฝ่าย๑๐๓ สรุปได้ว่า การต้ังคณะกรรมการ คณะทำงานเพื่อเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายการเช่ือมโยง หลาย ๆ องคก์ รนน้ั ทำให้เกิดความม่นั ใจ ของผูป้ ฏบิ ตั งิ าน มกี ารแบง่ หนา้ ท่ีชัดเจน ไมค่ ลมุ เครอื และ ทุก ๆ คนสามารถรู้หน้าที่ รู้วิธีการปฏิบัติงานของตนเอง เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการการขับเคลื่อน การส่งเสริมคณุ ธรรมในการนำไปใช้พฒั นาองค์กรของตนเอง เกิดการมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ ทำให้เกิด กล้าคิด กลา้ ทำ กลา้ นำ เปน็ ตน้ แบบให้กบั คนรุ่นตอ่ ไป ไดม้ แี นวคดิ ริเรมิ่ สบื สาน มีปณธิ านในการกลา้ ขบั เคลอ่ื นองค์กรคุณธรรม ท่ีจะสามารถนำไปปรบั ประยุกต์ใช้ในการบรหิ ารจดั การองคก์ รของตนเอง ๙๙ สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคญั อันดบั ที่ ๑๗ เมอื่ วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๐๐ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคญั อันดบั ท่ี ๑๖ เมือ่ วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๐๑ สัมภาษณ์ ผ้ใู ห้ขอ้ มลู สำคัญอันดับที่ ๑ เม่อื วนั ท่ี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๑๐๒ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคญั อนั ดับที่ ๙ เมอื่ วนั ที่ ๑๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๐๓ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคัญอนั ดับที่ ๑๘ เม่อื วันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๒๐ ได้ ยิ่งให้คนอ่ืน เช่นนักเรียนในโรงเรียน แสดงความคิดเห็นร่วมกัน ในการดูแลโรงเรียน สร้าง ภาพลกั ษณใ์ ห้กบั โรงเรียน เปน็ การรักสถาบนั การศึกษาของตนเอง คนในชมุ ชนเกิดรักถ่ินเกดิ บา้ นเกิด ก็จะให้มผี ลตอ่ เนื่องเปน็ การพัฒนาทยี่ ัง่ ยืน ม่นั คงในอนาคตได้ แผนภาพที่ ๔.๗ สรุปผังโมเดล รปู แบบตง้ั คณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคีเครือข่าย ๔.๓.๔ รูปแบบการถ่ายทอดภารกิจส่งเสรมิ คุณธรรมสูร่ ะดบั อำเภอ การขับเคล่ือนต้องอาศัยกลไกหลักโดยนโยบายระดับประเทศ มีกระทรวงวัฒนธรรม กรมการศาสนาเปน็ ตวั ขับเคลอ่ื นประสานงานในยังระดับจงั หวัดเพ่ือให้ความสำคัญเจ้าของพ้ืนท่ี ซงึ่ จะ มีการเชิญชวนทุก ๆ องค์กร ชุมชุน ตำบล อำเภอมาปรึกษาหารือร่วมกัน เป็นการถ่ายทอดภารกิจ ส่งเสริมคุณธรรม ว่าจะทำอย่างไร มีอะไรเป็นตัวชี้วัด ในระดับต่าง ๆ เม่ือเกิดการประชุม วางแผน สรา้ งความเขา้ ใจ ในภาพใหญ่ ภาพรวมแล้ว ทำใหก้ ารขบั เคล่ือนองค์กรคุณธรรม ในระดับตา่ ง ๆ เช่น ระดบั ส่งเสริม ระดับคุณธรรมตน้ แบบ เป็นต้น เพ่ือสร้างความเข้าใจร่วมกันเป็นอันดับแรก เปน็ การ ขับเคล่ือนภารกิจส่งเสริมคุณธรรมในทุกระดับ โดยเฉพาะระดับอำเภออันเป็นภาคีเครือข่ายสำคัญ ผู้วิจัยได้นำประเด็นที่ไปสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิเชิงลึก ท่านได้ให้เสนอตัวองค์ความรู้ ภายใต้แนวคิด ของผูน้ ำภายในจังหวดั พิจติ รไดว้ ่า ๑.การขับเคลื่อนคุณธรรมในระดับจังหวัด ย่อมต้องอาศัยผู้นำ ผู้ตามท่ีพร้อมใจกัน ดุจ ประเพณีแข่งเรือเมืองพิจติ ร ท่ีเป็นตัวบ่งช้ี ปรากฎการณ์ทางประเพณีวัฒนธรรม มีผู้ให้สัญญาณ มี

๑๒๑ ฝพี ายที่ต้องขับเคล่ือนไปในทิศทางเดยี วกัน และต้องพร้อม ๆ กันด้วยจังหวะลีลา ที่สง่างาม ปรากฏ กับสายตาผ้คู นนบั หม่นื นับแสนท่ีมาชม คุณธรรม ตวั สามัคคพี ร้อมเพรยี ง๑๐๔ ๒.ภารกิจสำคัญคอื หลกั ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ท่ีพระพุทธเจา้ ทรงตรสั สอนไว้ ใหเ้ รา คนรุน่ หลงั ได้นำมาใช้ ยง่ิ เราส่งเสริมพูดถึงตัวคุณธรรม ย่อมสรา้ งต้นแบบไดจ้ ากวัฒนธรรมประเพณีที่ เรามี เพยี งเราช้ใี ห้คนรุ่นหลังได้เห็นอยา่ งชดั เจน แจม่ แจ้ง จะเกิดอาการยอมรับร่วมกัน เป็นหน้าตา ศกั ด์ิศรอี ันงดงามของเมอื งพิจิตร เมอื่ จะทำส่ิงใด ก็ย่อมจะเกิดผลสำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์เปา้ หมายที่ ต้องการ๑๐๕ ๓.การพฒั นาจังหวัดคณุ ธรรม ขอนำเสนอเรอ่ื งกฎของธรรมชาติ ของเดมิ ภูมิปัญญาเดิม ที่บ่อน้ำ สระน้ำในสมัยโบราณมีทวั่ ไป โคก หนอง นา มีต้นไม้ท่ัวไป มีแหล่งอาหารทั่วไป แต่ถึงยุค ปจั จุบันบางที่เปน็ ท้องนา เอาเป็นโรงงานอุตสาหกรรม น่าคิด อันน้ีมองแบบกวา้ ง ๆ เพื่อใหเ้ ป็นการ พัฒนาบริหารจดั การแบบย่ังยืน๑๐๖ ๔.การคิดแทนคุณต่อแผนดิน ส่งเสริมคุณธรรมเพื่ออนาคตต่อไป เปรียบเหมือนคลอง สมยั กอ่ นมตี ้นไม้ริมคลองเยอะมาก ตน้ ไม้ ตน้ ไมก้ ินได้ มผี ลใหน้ กกนิ มีบอ่ หนอง คลอง บึง พอถึงอีก ยุค ถนนตัดผ่าถมพื้นท่ีเดิม สายน้ำเปลี่ยนในฤดูน้ำหลาก ปัญหาเกิด อันนำเสนอปัญหาที่น่าจะ แก้ไข๑๐๗ ๕.ในระดับการบริหารจัดการระดับจังหวัด การถ่ายทอดความคดิ เกิดจากระดมความคิด ของนักคิด นักวิจารณเ์ พอื่ การพฒั นามาคุยกนั เพ่ือให้เป็นถึงความแตกต่างแต่ละยุค ไม่ได้มองเพียง แค่หมู่บ้านเดียว โรงเรียนเดียว โรงพยาบาลเดียว เป็นต้น เพราะพ้ืนท่ีมีหลายหลาก ไม่เหมือนกัน เหตุปจั จัยต่าง ๆ ไม่เหมอื นกนั ๑๐๘ ๖.ตัวหลักคุณธรรมน้ัน ต้องส่งเสริมด้านสติปัญญา เพื่อไว้รองรับปัญหาที่ไม่ได้เกิด ณ ขณะนี้ แตจ่ ะมีในอนาคต ดังฝันของพระเจ้าปเสนทิโกศล ๑๖ ประการ เพื่อสรา้ งพลังงานด้านจิตใจ อันเปน็ ภารกิจหลกั สำคัญท่ีตอ้ งถูกสง่ ต่อไปสู่หน่วยงาน ซงึ่ มีบุคลากรที่จะทำการศึกษาตอ่ ยอด เพราะ ปัญหา ภารกจิ ในแต่ละชว่ งเวลามีการเปลย่ี นแปลง๑๐๙ ๑๐๔ สมั ภาษณ์ ผ้ใู หข้ อ้ มูลสำคัญอนั ดับท่ี ๒๖ เม่ือวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๑๐๕ สมั ภาษณ์ ผ้ใู หข้ อ้ มูลสำคัญอนั ดบั ที่ ๔ เมอ่ื วนั ที่ ๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๐๖ สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคัญอนั ดบั ที่ ๒๗ เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๑๐๗ สมั ภาษณ์ ผูใ้ หข้ ้อมลู สำคัญอันดับที่ ๒๑ เมือ่ วันท่ี ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๐๘ สัมภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มูลสำคญั อนั ดับท่ี ๒๘ เมือ่ วันท่ี ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๑๐๙ สัมภาษณ์ ผ้ใู หข้ ้อมลู สำคญั อนั ดบั ท่ี ๒ เมอื่ วันท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๒๒ ๗.การมองภารกิจ ท่ีมีความรับผิดชอบ คือองค์ความรู้ท่ีต้องมอบให้รุ่นต่อไป มองแบบ ระดมความคิด วิเคราะห์ ตัวอย่างเดียว หรือโมเดลท่ีใชก้ ันในปัจจุบัน อาจจะดีขณะน้ันก็ได้ เหมือน โทรศัพท์ เพราะเวลาเปล่ยี นไป รุน่ ใหม่มา มีออฟชั่นเพมิ่ เตมิ ดึงคนไปเสียตงั คซ์ อื้ ใหม่ ของเก่ายังไมไ่ ด้ พงั แตป่ ระชาชนใหค้ วามสำคญ็ เปน็ แรงจูงใจ ปลกุ ใจให้อยากได้กัน คุณธรรมก็ต้องทำแบบน้ันบ้าง เพอื่ จงู ใจกัน๑๑๐ ๘.การปลุกใจกนั ให้เหน็ ว่าคุณธรรมน้นั เปน็ ระบบออโต้เปลีย่ นแปลงตัวเองได้ ปรบั เปลย่ี น ไปตามยคุ สมยั ได้ แก้ปัญหาโดยนำคุณธรรมเปน็ ระบบจดั การ เชื่อมโยงเปน็ กลไก ปฏิจจสมปุ บาท เห็น แก่นแท้ แก้ปัญหาได้ไมม่ ีที่สนิ้ สดุ เพราะปัญหาท่ีอยากแก้ รออยู่ข้างหนา้ เสมอ ภารกจิ หลักคือรักษา ภมู ปิ ญั ญาไวส้ ่งตอ่ ใหแ้ ก่กัน๑๑๑ สรุปได้ว่า การถ่ายทอดภารกิจส่งเสริมคุณธรรมสู่ระดับอำเภอการพัฒนากลไกในการ ขับเคล่ือนบริหารจัดการองค์กรคุณธรรม เป็นสร้างความเป็นต้นแบบคุณธรรมนั้น เป็นการพัฒนา แบบองค์รวม โดยมีตัวจักรสำคัญระดับจังหวัดโดยมีสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตรในฐานะ เลขานุการคณะอนุกรรมส่งเสริมคณุ ธรรมระดับจงั หวัดมหี นา้ ท่ีเป็นแกนกลาง ทำงานประสานงานกับ หน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน ทุกชุมชนทุกพ้ืนที่ภายในจังหวัด โดยประสานความร่วมมือ ขบั เคล่ือนองค์ชุมชน ระดับตำบล อำเภอ และภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคส่วน เปิดเวที ณ วัด ชุมชนท้อง นน้ั ๆ ให้มกี ารพูดคุย เน้นความดีที่อยากทำ ปัญหาทีอ่ ยากแก้ เพ่อื ให้เกิดการระเบิดจากข้างใน ตาม ความต้องการของพืน้ ทจ่ี รงิ เพ่ือประโยชน์ของคนในชุมชน องค์กร ทอ้ งถิ่นน้นั ๆ โดยยดึ ฐานแมบ่ ทใน การสง่ เสริมพฒั นาคุณธรรมแห่งชาติเปน็ หลกั ๑๑๐ สัมภาษณ์ ผ้ใู หข้ ้อมลู สำคัญอันดับท่ี ๑๒ เม่ือวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๑๑ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมลู สำคญั อันดับท่ี ๑๓ เมือ่ วนั ท่ี ๗ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๒๓ แผนภาพท่ี ๔.๘ สรปุ ผงั โมเดล รูปแบบการถา่ ยทอดภารกจิ สง่ เสริมคุณธรรมสรู่ ะดับอำเภอ ๔.๓.๕ รูปแบบดำเนินงานตามเปา้ หมาย “ปญั หาที่อยากแก้และความดีที่อยากทำ” การดำเนินการตามการมีเป้าหมาย “ปัญหาทอี่ ยากแก้และความดีท่ีอยากทำ”เป็นหลักที่ ชดั เจนของวัตถุประสงค์ท่ีแน่นอน กท็ ำให้กิจกรรมที่ได้ทำหรอื สร้างข้ึนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ตอบ โจทย์สนองนโยบายของแผนแมบ่ ทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาตไิ ดต้ ามต้องการน้ัน ผู้วิจัยได้ศึกษาวิจัย องค์ความรู้ด้านเป้าหมายระดับจังหวัด ที่จะค้นหาองค์ความรู้ท่ีเป็นต้นแบบ ต้นเหตุของการบริหาร จัดการองค์กรคุณธรรม ตามแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ แยกได้ ๒ ประเด็น คือประเด็น เป้าหมาย อันดับแรก คือด้านพ้ืนที่ เป็นองค์กร ชุมชน ตำบล อำเภอ จังหวัด กลุ่มวิสาหกิจ ร้านค้า โรงงาน โรงเรียน โรงพยาบาล เป็นต้น เป้าหมายอันดับที่สอง คือ คณุ ธรรมเป้าหมาย ปัญหาที่อยาก แก้ ความดีท่ีอยากทำ คุณธรรม ๔ ประการ พอเพียง วินัย สุจรติ จิตอาสา คุณธรรมจังหวัดพิจิตร คือ มีน้ำใจ รบั ผิดชอบ จิตอาสา ภายใตก้ ารนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นต้น

๑๒๔ การดำเนินงานเปา้ หมายของภาครัฐที่มแี ผนแมบ่ ทในการขบั เคล่ือนองคก์ รคณุ ธรรม สร้าง คณุ ธรรมต้นแบบนัน้ มีเป้าหมายชัดเจน ผู้วิจัยจึงได้ศกึ ษาวิจัยองค์ความรจู้ ากความคดิ เห็นของผูท้ รง วุฒิต่าง ๆ ภายในจงั หวัดพจิ ติ รได้ดังนีว้ ่า ๑.วางแผนงานตามท่ีมีวัตถุประสงค์ตั้งไว้แล้ว รู้กลุ่มเป้าหมายชัดเจน ประเด็นตัว คุณธรรมท่ีจะนำมาใช้ตอ้ งหาแบบใด ก็ไม่ใชเ่ รอ่ื งยากเทา่ ไหร่ แต่จะใหป้ ระสบความสำเร็จมากน้อยก็ คงขึน้ อยกู่ ับบริบทหลายอย่างเช่นกัน ก็รายงานกลบั ไปตามเหตุปจั จัยแลว้ ผู้นำ ผู้บงั คับบัญชาทุก ๆ ระดับก็ต้องเห็นอกเห็นใจผู้ที่ปฏบิ ัติหน้าทใี่ นชุมชม ท้องถิ่นน้ัน ๆ ด้วย เพราะถ้ามที ำเอาเสร็จเอาแค่ ภาพถา่ ย ลายเซน็ ๑๑๒ ๒.แบบของพระสงฆ์บา้ นนอกทว่ั ไป ทจ่ี ะมปี ระเดน็ ขดั แยง้ นอกกรอบ นอกแบบน้นั ไมค่ อ่ ย มีอยู่แล้ว แต่ก็รับสนองนโยบายของภาครัฐที่ไม่ขัดแย้งกับพระธรรมวินัย ยิ่งการนำเอาหลักธรรม คุณธรรมในทางพระพุทธศาสนาไปใช้ในการพัฒนาการบริหารจัดการ แก้ไขปัญหายิ่งอนุโมทนา ร่วมกนั ๑๑๓ ๓. การแก้ไขปัญหาได้ดี ถือว่าเป็นประสิทธิภาพของงานด้วยเช่นกัน ก็ตามภูมิประเทศ ทอ้ งถิ่นท้องที่ จะให้สวยงาม ภาพสวย เป็นระเบียบเสยี เวลาจัดสรร เพราะการบริหารจัดการทตี่ ้องใช้ องค์ความร้บู ุคคลากรท่เี ก่ง ๆ นั้นกห็ ายาก เงนิ ทุนที่จะนำไปปรับปรุงอาคาร สถานทก่ี ห็ ายาก แต่ใน กลมุ่ ท้องถ่ินท้องท่วี ดั วาอารามทอี่ ยู่ในภูมิประเทศ๑๑๔ ๔. วฒั นธรรมพ้ืนถ่ินดีงามย่งิ ง่ายก็การจัดการทำองค์ความรู้ ระดมภมู ปิ ัญหาท้องถ่นิ มาใช้ แก้ไขปัญหาชวี ิต มาเช่ือมโยงกนั รวมถึงภาวะผ้นู ำในขณะน้ันดว้ ย ย่ิงถ้ามผี นู้ ำระดบั ประเทศท่านดำริ คดิ ทำดว้ ยระบบคุณธรรม เช่ือมั่นได้ว่า เป้าหมายท่ีตง้ั ไว้สำเร็จ แต่ปัจจยั แบบจะให้ม่ันคง ก็แล้วแต่ ผนู้ ำในท้องถิ่น ทอ้ งถ่ินน้ันเป็นอย่างไร จะสืบทอดตอ่ ยอดให้ผลปรากฎงดงามดงั โครงการ นโยบายที่ วางไวเ้ ดมิ หรอื ไม่ กต็ ้องรอเวลาเป็นเครอื่ งพิสจู น์๑๑๕ ๕. มองหาตัวต้นแบบท่ีทางโรงเรียนต้นแบบ มีโรงพยาบาลต้นแบบมีการบริหารจัดการ องค์กรอย่างเป็นระบบ สร้างขับเคล่ือนตามแผนงาน มีการวางยุทธศาสตร์ ยุทธวิธีจัดการ แก้ไข ปญั หา โดยนำหลักการ “ปัญหาที่อยากแก้ และความดีที่ยากทำ” มาเป็นแนวคิด ถือว่าเป็นปลุกจิต สร้างแนวคิด ระดมคนทมี่ ีอดุ มการณ์ ทำเพ่อื ประเทศชาติและสังคมใหม้ ีกำลงั ใจ๑๑๖ ๑๑๒ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคญั อนั ดบั ที่ ๑๙ เม่อื วันท่ี ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๑๓ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ อ้ มลู สำคัญอนั ดบั ท่ี ๑๕ เม่ือวนั ที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๑๔ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญอนั ดับที่ ๑๒ เม่อื วันท่ี ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๑๕ สมั ภาษณ์ ผ้ใู ห้ขอ้ มลู สำคญั อนั ดับที่ ๑๖ เม่ือวนั ท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๑๖ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคัญอนั ดบั ที่ ๒๓ เมอ่ื วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๒๕ ๖.หลักการกลยุทธ์ในการพัฒนา สรา้ งเครอื ข่าย รวมถงึ มกี ารประเมนิ ผล ตดิ ตาม รายงาน ผลเพื่อสรุปเป็นระยะเวลา มีกลุ่มเป้าหมายชัดเจน ถือว่าประเด็นองค์กรคุณธรรมนี้ สามารถนำเอา หลักทาพระพทุ ธศาสนา หลกั ปรัชญา หลักทฤษฎี หลักเศรษฐกิจทฤษฎีใหม่ ระบบบูรณาการเข้ามา เสริม เพื่อขบั เคลือ่ นให้ไดผ้ ลที่คาดหวังไว้ไดส้ ำเรจ็ ตามตอ้ งการ๑๑๗ ๗. การทำงานแบบเอาหลกั คณุ ธรรม ซง่ึ หมายถึง หลักธรรม หลักปรชั ญามาเปน็ เป้าหมาย ด้านคุณธรรม ส่ือ หรือองค์กรท่ียังไม่เข้าใจมีอยู่ จึงต้องมีการสัมมนา สร้างความเข้าใจร่วมโดย วิทยากรท่ีมีความเชี่ยวชาญ และต้นแบบที่ทำได้สำเร็จเป็นโมเดลตัวอย่าง เพื่อให้ภาคีเคร่ืองข่าย มองเห็นภาพด้วย วา่ “ปัญหาที่อยากแก้ และความดีที่ยากทำ” อันเป็นคียห์ ลักซึ่งได้มีปรับประยุกต์ ศพั ท์ให้ในแนวใหม่๑๑๘ สรุปได้ว่า การมีเปา้ หมายพัฒนาท่ีชัดเจน “ปัญหาทอ่ี ยากแก้ และความดีท่ียากทำ” ท้ัง ด้านนามธรรมเชิงคุณธรรมทฤษฎีนั้น จะลงไปสู่พื้นท่ีที่จะใช้ในการไปแก้ไข การบริหารจัดอุปสรรค ปัญหาตา่ ง ๆ ท่ีเกิดมอย่ใู นองคข์ องภาคเี ครอื ข่าย ในทุก ๆ ระดับ ซง่ึ ในระดบั อำเภอ ของจงั หวดั พิจติ ร นนั้ ไดม้ ีการรับหลักการ รบั นโยบายนี้ไปบรหิ ารจดั การ และมีวัด มีโรงเรยี น มีโรงพยาบาลเป็นโมเดล ที่ประความสำเร็จในการใช้คณุ ธรรมบริหารจัดการองค์กร และคณุ ธรรมองค์กรนนั้ ยอ่ มเป็นตัวสร้าง พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ได้ กำหนดรูปแบบออกมาเป็นรูปธรรมตามแผนงานและโครงการได้งา่ ย การ สร้างตัวช้ีวัดก็จะเห็นเด่นชัดข้ึน บ่งชี้ในแต่ละด้านว่า ได้คุณค่า คุณประโยชน์ด้านใดบ้าง และ สอดคลอ้ งกับหลกั นโยบาย หลกั ยทุ ธศาสตรป์ ระจำจงั หวดั หรอื องค์กรน้นั ๆ ท่นี ำไปใช้ไดด้ ี ๑๑๗ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมูลสำคญั อันดบั ที่ ๑๑ เม่อื วันที่ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๑๘ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคญั อันดับที่ ๑๗ เม่อื วันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๒๖ แผนภาพที่ ๔.๙ สรปุ ผังโมเดล รูปแบบดำเนนิ งานตามเปา้ หมาย ๔.๓.๖ รูปแบบวางแผนขับเคลื่อนและบรรจุเป็นยุทธศาสตร์แบบบูรณาการทุกภาค สว่ น การวางแผน เพื่อการขับเคล่ือน ทางจังหวัดพิจิตรน้ันได้บรรจุแผนการส่งเสริมจังหวัด คุณธรรม จังหวัดคุณธรรมต้นแบไว้เป็นแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด เพื่อให้เกิดการนำคุณธรรมมา บูรณาการให้เป็นพลังขับเคลื่อนไปสู่องค์กรทุกภาคส่วน ถือว่าเป็นหัวใจสำคัญ เพราะการดำเนนิ งาน ตามแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแหง่ ชาตกิ ำหนดให้มีการดำเนินการแบบร่วมคิด ร่วมทำจงั หวดั พจิ ิตร ได้รว่ มมือกับทางกระทรวงวัฒนธรรม ได้ประสานไปยังจังหวัดต่าง ๆ จัดประชุมวางแผน โดยยึดหลัก นำเอาหลักธรรมคำสนทางศาสนาท่ีชุมชนนัน้ ยึดม่ัน เคารพนับถืออยู่แล้ว คุณธรรมท่ีเป็นไปโดยสากล ให้เกิดประโยชน์ร่วมกนั คุณธรรมที่ก่อให้เกิดความเอื้ออาทรต่อเพ่ือนมนุษย์ด้วยกัน นำเอาหลักคิด ตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง วัฒนธรรมท้องถน่ิ สถานทเ่ี คารพศรัทธา เพื่อรักษาวัฒนธรรม สืบสานส่ิงที่ ดงี ามในทอ้ งถ่ินนั้นไวด้ ้วย พรอ้ มกับการวางแผนแก้ปญั หา สร้างองค์ความรู้ข้ึน เพ่ือใหว้ ิถีชีวติ ในสังคม น้ัน ๆ ท้องถิ่นนนั้ มีการพัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง ดังผู้วิจัยไดท้ ำการสัมภาษณ์เชิงลกึ จากผูท้ รงคณุ วุฒิได้ให้ แนวคดิ ไวว้ ่า

๑๒๗ ๑. การวางแผนรูปแบบคณุ ธรรมจริยธรรม ตอ้ งมนี โยบาย มีโครงการ แผนยุทธศาสตร์ ท่ี ชัดเจน เพ่ือจะให้เกิดความมุ่งม่ันตั้งใจ ของผู้สนองงาน เป็นคำส่ังท่ีมีหลักฐาน เพราะการบริหาร จัดการในรปู แบบใดจะต้องมีกรอบ ไม่เช่นน้ันจะไม่รทู้ ิศทางว่าจะทำอยา่ งไร เม่ือมีกรอบก็จะง่ายใน การบรหิ ารจดั การรู้แบบวา่ จะต้องใชว้ ิธบี ริหารจดั การแบบไหน ยิง่ มีต้นแบบอยู่แลว้ ย่ิงดใี หญ่ กจ็ ะทำ เดินงานจดั ประชุม๑๑๙ ๒.การวางแผนบริหารจัดการองค์กรคุณธรรม ต้องให้ความสำคัญกับชุมชนรากหญ้า หมู่บ้าน วัดพน้ื ที่ ถา้ เราได้รบั นโยบายสงิ่ ใดท่ีดีมา ก็ปฏบิ ัติตามนัน้ เพราะเปน็ ส่ิงท่ีดอี ยู่แลว้ แตเ่ ราจะ ให้ทุกหมู่บ้าน ทุกชุมชน ทุกคนดีเหมือนกันหมดคงยาก แต่ก็ให้เปลี่ยนแปลงไปตามกลไกของ บา้ นเมือง และสงั คมสว่ นรวม๑๒๐ ๓.ทางคณะสงฆ์มีแผนงาน โครงการที่สรา้ งขน้ึ ไว้สอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาคุณธรรมของน โยบาลรัฐ กต็ ้องให้บอกมา เรายินดีทำตามความสามารถ เพราะปกตพิ ระภิกษุสงฆส์ ามเณร ต้องเอา พระธรรมวินัยเป็นหลักบริหารจัดการอยู่ก่อนแล้ว ไม่เคยเปลี่ยนแปลงส่ิงใด แต่เป็นแผนงานแบบ ประยุกตใ์ ช้ตามกาล คอื ตามยคุ สมยั ๑๒๑ ๔.พระสงฆ์ต้องเป็นแบบ คือเป็บแบบของบุคคล สังคม ที่มีทฤษฎีต้นแบบ คือเราเอา ทฤษฎีทางโลก ๆ มาจับ ปรับวิธีการ หลักการ ให้สอดคล้องกับของเรื่องพระธรรมวินัย ความ เปล่ียนแปลงตามวถิ ีท่ีเรามีวฒั นธรรมประเพณี ได้ทำการวิจัยค้นควา้ แล้วตอบโจทยต์ ัวเอง ถ้ามองอีก ที เช่น พระภกิ ษุสามเณร มีปัญหาเรื่องพฤติกรรมต่าง ๆ กใ็ ช่ในสมัยพุทธกาล สองพันกว่าปีที่ผ่าน ไม่เคยมี แต่ต้องมาดกู ันวา่ คร้งั พระพุทธเจ้ามกี ารบริหารจดั การอย่างไร ทางบา้ นเมือง ต้องส่งเสริม สนับสนุน ใหม้ ีพระไตรปิฎกเป็นแบบแผนของการพัฒนาคณุ ธรรม๑๒๒ ๕. การท่ีบุคคล องคก์ ร แตล่ ะทอ้ งถ่ินมีถนดั เชย่ี วชาญ เร่อื งราวต่าง ๆ หน้าทท่ี ี่เคยทำ งาน ประจำในแตล่ ะบริษัทของกล่มุ องค์กร ไม่ได้เท่าเทยี มกัน แต่เอาองคค์ ณุ ธรรมที่มคี ุณค่า เสมอภาค มา ประยกุ ต์ใช้ก็สามารถสร้างความเท่าเทียมกนั ในเชิงคุณธรรม เราทำกันได้ ดังน้ันบอกได้ว่า เอาแค่ พอสมดุล จดั ให้โลกไม่เสีย ธรรมไมช่ ้ำ ถือว่าเปน็ การพัฒนาแบบคุณธรรม ๑๒๓ สรุปได้ว่า วางแผนขับเคล่ือนและบรรจุเป็นยุทธศาสตร์แบบบูรณาการทุกภาคส่วนการ ระดมความคิดเพอ่ื การวางแผนการสร้างแผนงาน ทางกระทรวงวฒั นธรรม และจังหวัดพจิ ติ ร ไดม้ กี าร ๑๑๙ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคญั อนั ดับท่ี ๑ เม่อื วนั ที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๑๒๐ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมลู สำคญั อนั ดบั ท่ี ๑๖ เม่ือวนั ท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๒๑ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคญั อนั ดับที่ ๔ เมื่อวนั ท่ี ๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๒๒ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคญั อันดบั ท่ี ๒ เม่ือวันท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๒๓ สมั ภาษณ์ ผูใ้ หข้ อ้ มลู สำคัญอันดบั ท่ี ๑๓ เม่อื วันที่ ๗ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๒๘ ประสานความร่วมมือกับองค์กรภาคีเครือข่าย จัดให้มีการนำหลักคุณธรรม หลักทฤษฎีการบริหาร จัดการ เช่น หลกั SWOT หลัก PDCA เร่มิ จากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล ปรกึ ษาหารอื การวางแผน การวิเคราะห์แผนงานในแต่ละขั้นตอน การใช้ตัวช้ีวัด และมองภาพรวมของแผนงาน ที่จะต้องสร้าง โครงการต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับพ้ืนท่ีน้ัน องค์กรน้ัน ๆ ท่ีต้องนำหลักคุณธรรมต่าง ๆ ไปใช้ หรือให้ ภาคเี ครือข่าย สามารถคดิ ค้น ศึกษาเอาประเด็นองคค์ ุณธรรมตา่ ง ๆ ตามทต่ี ้องการ และสอดคล้องกับ การดำเนินงานบรหิ ารจัดการ เพื่อสรา้ งสรรค์ให้เกิดประโยชน์ ประสิทธภิ าพในการบริหารจัดการให้ ถูกต้องดงี าม ต้องเปน็ ที่ยอมรับแลว้ จะเปน็ ประโยชน์อยา่ งมากกบั การขับเคลื่อนโครงการคณุ ธรรมต่าง ๆ ลงพืน้ ท่เี พ่อื จะนำไปเป็นเครื่องมือในการพัฒนา ลงมือปฏบิ ตั ิได้จรงิ เปน็ ที่ยอมรับของคนในองค์กร น้ัน ๆ ได้ดี ย่อมทำให้ภารกิจท่ีกำหนดไว้ในแผนงานมีกระบวนการขับเคล่ือนไปอย่างราบร่ืน มี ผลลพั ธท์ เ่ี ป็นรูปธรรม แผนภาพท่ี ๔.๑๐ สรุปผังโมเดลรปู แบบวางแผนขับเคลื่อนและบรรจุเปน็ ยทุ ธศาสตร์ แบบบรู ณาการทุกภาคสว่ น

๑๒๙ ๔.๓.๗ รปู แบบการยกย่อง เชิดชู บคุ คล ชมุ ชน องคก์ ร อำเภอคุณธรรม การยกย่อง เชดิ ชู บุคคล ชุมชน องค์กร อำเภอคุณธรรมจนสู่ความเป็นจังหวัดคุณธรรม ตน้ แบบนั้น จังหวดั พิจิตรได้มีการสร้างรปู แบบ ก็คือการนำเอาองคค์ วามร้ทู ่ีมอี ยู่ มาบรู ณาการปรบั ใช้ ในเหมาะสมกบั องคก์ รน้ัน ๆ ทั้งระบบบรหิ ารจัดการ เช่น นำหลักทฤษฎี SWOT มาวิเคราะห์ประเดน็ ต่าง ๆ ในบริบทขององค์กรนั้น ๆ ว่ามีจุดดีจุดเด่น จุดแข็ง ข้อเสีย และโอกาสช่องทางการพัฒนา เป็นไปอย่างไร นำหลักทฤษฎีบริหารจัดการมาบริหาร PDCA นำระบบการให้แผนแม่บทส่งเสริม และพัฒนาคุณธรรมแห่งชาติมาศึกษาจนเข้าใจ แล้วมาประยุกต์น้ัน ส่ิงท่ีเกิดข้ึนก็จะออกมาเป็น รปู ธรรมได้ ผ้วู ิจยั ได้นำความคิดของผทู้ รงคุณวฒุ ิทีส่ อดคล้องในประเดน็ น้ี มาแสดงไวด้ ังน้ีว่า ๑.การบรหิ ารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบ ต้องสร้างคนก่อน ทำการยกย่อง เชิดชผู ู้ที่ ทำคุณูปการต่องงานการทางพระพทุ ธศาสนา ใหร้ างวัลแกผ่ ้ทู ่ีส่งเสรมิ สนบั สนนุ ในการสร้างพระภกิ ษุ สามเณรใหศ้ กึ ษานกั ธรรม บาลี อนั เป็นหลกั การองค์ความรใู้ นพระไตรปฎิ ก สบื ทอดตอ่ ยอดไว้๑๒๔ ๒.การให้กำลังใจ ด้วยการประกาศเกียรติคุณ อนุโมทนาเชื่อชมยินดี ต่อบุคคลผู้สร้าง ประโยชน์เพ่ือจะให้เหล่านี้เจริญเติบต่อในการผลิตบุคคลต้นแบบต่อ ได้สร้างคนเหล่านี้ ใหเ้ ป็นผู้นำ คณะสงฆต์ ่อไปในอนาคต แลว้ ต่อใหศ้ กึ ษาต่อทางมหาวิทยาลยั สงฆ์ หรือทางโลกต่อไป๑๒๕ ๓. พระปริยัติธรรม รากเหง้าแห่งคุณธรรมน้ัน เป็นต้นธาตุ ต้นแบบของกองกำลังพล ประชากรพระสงฆใ์ หพ้ อเพียงต่อปฏิบัตหิ นร้ าท่ี การทำงาน ทำหน้าทตี่ า่ ง ๆ แลว้ จะไดพ้ ัฒนตนเองไปสู่ ความเป็นผู้นำผู้บริหารสำคัญ ๆ ในอนาคตท่ีต้องทำหน้าที่ผู้นำ ในการใช้คุณธรรมแห่งการบริหาร จดั การในภาคส่วนตา่ ง ๆ ของการบริหารกิจการงานคณะสงฆ์๑๒๖ ๔.ทางคณะสงฆ์ได้มีการยกย่องเชิดชู ประกาศแต่งต้ังบุคคลผู้ทรงคณุ ทั้งความดี และผู้ท่ี ม่ันคงในพระธรรมวินัยไวใ้ นระดบั แห่งฐานะผู้บริหารในระดับต่าง ๆ เช่น ผู้ชว่ ยเจ้าอาวาส เจ้าอาวาส เจ้าคณะตำบล เจ้าคณะอำเภอ เจ้าคณะจังหวัดต่อไป เพราะบุคลากรเหล่าน้ีจะมีความรู้ในรูปแบบ เดยี วกัน เรียกว่า ตน้ แบบดี ๑๒๗ ๕.โรงเรียนน้ัน ถือว่าจะต้องเป็นแม่พิมพ์ท่ีดีต่อไปในอนาคต ซ่ึงได้รับสนองนโยบายของ คณะสงฆ์ส่วนกลางได้ดี และจะได้ขับเคล่ือนช่วยเหลือประสานงานกับบ้าน ชุมชน โรงเรียน โรงพยาบาล สังคม หน่วยงานราชการต่าง ๆ เพ่ือช่วยกันพัฒนาภาพรวมชุมชนย่อย ๆ ไปสู่ระดับ ๑๒๔ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มูลสำคญั อันดับท่ี ๗ เม่ือวนั ท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๒๕ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญอนั ดับท่ี ๑๙ เม่ือวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๒๖ สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมูลสำคัญอนั ดับท่ี ๕ เม่ือวนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๒๗ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคญั อันดบั ที่ ๘ เมื่อวนั ท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๓๐ จังหวัดเพื่อเป็นต้นแบบ เป็นท่ียอมรับของท่ีอืน่ ๆ โดยส่ิงทีป่ รารกฏเป็นหลักฐานคือ รางวัลเกียรติยศ ตา่ ง ๆ ท่ีได้รบั การเปน็ ตน้ แบบในเชงิ สงั คม มีอัตลักษณเ์ ดน่ เปน็ ทีย่ อมดรบั ๑๒๘ ๖.การบริหารจัดการที่เช่ือมโยงกับส่วนงานราชการกับคณะสงฆ์ที่ประสาน สร้างความ เข้าใจ ร่วมมอื กันได้ จนเปน็ ท่ียอมรับกัน ได้มีการมอบโลหร์ างวัลผู้ทำคุณประโยชน์ ในการขับเคลือ่ น องค์กรคุณธรรมจากภาครฐั ถือว่าเป็นความยอดเย่ียม๑๒๙ ๗.งานในสว่ นของภาคราชการที่ระบบ แบบแผน ระเบียบงานสารบรรณทก่ี ระชับชัดเจน วัดผลใหเ้ ห็นชัดเจน ยิ่งระบบจังหวัดคุณธรรมนั้น จะต้องมกี ารวัดผล ประเมนิ ผล รายงานตลอด จึง ต้องมีส่วนงานต่าง ๆ ทง้ั ภาครัฐ เอกชน วัด บ้าน ชุมชน โรงเรยี น โรงพยาบาล ทหาร ตำรวจ ร่วมกัน และประชุมยกย่อง มอบรางวัลในดา้ นผลงาน ดา้ นสร้างนวตกรรมใหม่ สร้างผลงานดเี ดน่ จดั กิจกรรม นิทัศน์การโชว์ผลงาน ถือว่าเปน็ การประกาศศักยภาพตนเอง๑๓๐ ๘.ด้านองค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นภาคส่วนท่ี จะตอ้ งบริหารจัดการร่วมกนั จึงทำให้ผลการบริหารจัดการเชิงคุณธรรม จริยธรรม เห็นเด่นชัด การ สร้างเครือขา่ ย การสร้างองคก์ รเข้มแข็ง การทำงานร่วมกัน ท่ีมีงานวชิ าการปรากฏเป็นรูปธรรม ท้ัง การประชาสมั พันธ์ทีส่ รา้ งความรู้ ความเข้าใจรว่ มกัน เป็นตัวเชอื่ มประสานองค์กรตา่ ง ๆ ให้เกดิ ความ ร่วมมือประสานงานทำให้เกิดโครงการคุณธรรมต้นแบบ ถูกต้ังเป็นศูนยเ์ รียนร้ตู ้นแบบ เป็นสถานท่ี ศกึ ษาเรยี นรโู้ ครงการฯ จากหน่วยงานราชการระดบั จงั หวดั พิจติ ร๑๓๑ ๙.ผู้นำขององค์การต่าง ๆ เป็นผู้นำยุทธวิธีต่าง ๆ มาประสานพัฒนาไปร่วมกัน ๑๓๒ทาง สำนักงานวฒั ธรรมจังหวัดพิจิตร ได้จัดกิจกรรม ประกาศเกียรติคุณ ทุก ๆ ปี เพื่อเป็นขวัญกำลังใจ ให้กับบุคคลผู้เป็นผูน้ ำ และองค์กรภาคีเครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ท่ีไดร้ ับยกยอ่ ง๑๓๓ สรุปได้ว่า การที่จะสร้างรูปแบบน้ัน ต้องให้ทุกองค์กร ทุกคนท่ีเก่ียวข้องได้มีส่วนร่วม ได้รบั ความยกย่อง ได้รับการเชิดชู ไดถ้ ูกประกาศเกียรติคุณ รับรางวัลระดับประเทศ ได้ถูกประกาศ เปน็ องค์กรต้นแบบ เปน็ ปจั จยั สำคัญทจี่ ะทำให้เกดิ พลังใจ เกิดพลงั รว่ มทีจ่ ะต้องอนุรกั ษ์องค์ความรูท้ ี่ ใช้ไปแล้วเกดิ ประโยชนจ์ นเป็นท่ียอมรบั นบั ถือ เป็นเคร่ืองมือทีผ่ ลติ มาใชแ้ ล้วมปี ระสิทธิภาพซึง่ การยก ย่อง เชิดชู บุคคลต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ องค์กรตน้ แบบ อำเภอคุณธรรมต้นแบบ เป็นสักขีพยานใน ๑๒๘ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญอันดบั ที่ ๓ เม่อื วันท่ี ๒ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๒๙ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญอันดับท่ี ๑๓ เมื่อวนั ท่ี ๗ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๓๐ สัมภาษณ์ ผูใ้ หข้ ้อมลู สำคัญอันดับที่ ๑๘ เมื่อวนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๓๑ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคญั อนั ดับท่ี ๒๑ เมือ่ วันที่ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๓๒ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มูลสำคัญอนั ดบั ที่ ๔ เมื่อวันท่ี ๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๓๓ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญอันดับที่ ๑๘ เมือ่ วันท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๓๑ การสร้างรูปแบบพัฒนาท่ีเป็นรูปธรรม เพื่อให้เกิดการช่วยกันคิด ช่วยกันพัฒนา สร้างรูปแบบ พัฒนาการบรหิ ารจดั การองค์กรของตนเองโดยใหม้ ีความสอดคล้องกันกบั ยทุ ธศาสตรร์ ะดับชาติ ระดบั จงั หวัด เพื่อเป็นกลไกสำคญั ทีใ่ หก้ ารทำงานประสานสอดคล้องกนั โดยกระบวนการแบบมีส่วนร่วมจะ มีงบประมาณสนบั สนนุ รปู แบบ แผนงาน เปา้ หมาย ปญั หาที่อยากแก้ ความดที ่อี ยากทำ ก็สำเรจ็ เป็น ผลทีน่ ่าประทับใจทุกฝ่าย แผนภาพท่ี ๔.๑๑ สรุปผงั โมเดลรปู แบบการยกยอ่ ง เชดิ ชู บคุ คล ชมุ ชน องคก์ ร อำเภอคณุ ธรรม

๑๓๒ ๔.๓.๘ รูปแบบความสำเรจ็ จังหวดั คณุ ธรรมในทุกมติ ิและการขบั เคลอื่ น ๔ คณุ ธรรม การวัดผลสำเร็จของจังหวัดคุณธรรมในทุก ๆ มิติ ต้องก็มีกระบวนการตัวชี้วัด จังหวัด พิจิตรได้เป็นผู้มาตัวน้ีวัดทั้งหมดมา โดยการใช้เป็นค่ามาตรฐานการวัดผลสำเร็จทุก ๆ ย่อมมีผลต่อ เกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์อันเป็นท่ีน่าพึงพอใจทุกภาคส่วน ถือว่าการทำงาน นั้นได้บรรลุ วัตถุประสงค์ คอื เป็นจังหวดั คณุ ธรรมตน้ แบบ ที่บรรลุถึงเปา้ หมายได้ตามความต้องการได้ และแสดง ให้เห็นถงึ การส่งเสรมิ คุณธรรมแห่งชาตไิ ด้บรรลุเป้าหมายถึง คือการนำเอาหลักคุณธรรมไปใช้ในการ บริหารจัดการองค์กรต่าง ๆ ให้เกิดการพลักดันขับเครื่องจากภาครัฐสู่สงั คมทุก ๆ ภาคส่วน ให้เกิด การมีส่วนร่วม การทำงานทุก ๆ อย่างโดยหลักธรรมชาติของมนุษย์แล้ว ย่อมต้องการเห็นความ เปล่ยี นแปลงเสมอ ซ่ึงอาจจะถูกเรียกว่า ความก้าวหน้า การเปลี่ยมโฉม เวอรช์ ั่นใหม่ เพราะบุคคลที่ วยั วุฒิ เปน็ ผู้นำ ผู้เช่ียวชาญไดร้ บั การยกย่องจากสงั คมความเปน็ อยขู่ องเรา ผลที่เกิดขึ้นแล้วเราจะเก็บ ไวเ้ ป็นผลงาน ผลด้านลบเราจะทำไปปรับปรุงแก้ไขใหม่ ทำให้เร็วขึ้น ทำให้ดีขึ้นไปกวา่ เดมิ เป็นการ พฒั นาที่ม่นั คง และย่ังยืนตอ่ ไปได้เสมอ ผวู้ ิจยั จึงประมวลเอาเฉพาะแนวคิดของผทู้ รงคุณวุฒิจากการ สมั ภาษณ์เชงิ ลกึ ท่ีไดใ้ หแ้ นวคิดองคค์ วามรู้ไวเ้ ฉพาะสอดคล้องกบั ประเดน็ นีด้ ังตอ่ ไปน้ี ๑. ปัจจัยสำเร็จของการพัฒนาทม่ี ่ันคงและย่งั ยนื ขององค์กรคุณธรรม แนน่ อนตอ้ งกล่าวถงึ ภาวะผนู้ ำ หัวหน้า ที่กล้าคิด กล้านำ กล้านำเสนอและกล้าพัฒนาองค์กรของตนเอง จะเกิดพลังงาน ประสานงานทกุ สารทิศทีส่ ามารถเช่ือมโยงหาปจั จยั มาเก้อื กูลต่อการพัฒนาองค์กรคุณธรรม๑๓๔ ๒. ส่วนตัวคุณธรรมเอง ไม่ได้เป็นประเด็นสำคัญ เพราะตัวคุณธรรมน้ัน เม่ือผู้นำกล้า เสียสละ กลา้ ก้าวนำหน้า พรอ้ มที่เผชิญทกุ ๆ ปัญหาและหาทางแกไ้ ข เป็นก้าวสำคญั คือกา้ วแรกที่จะ คิด เป็นปัจจัยบวก เร่ิมต้น การแสวงหาแนวร่วมเป็นหลักการต่อมา เพ่ือจะมาช่วยสนับสนุนการ พัฒนาบริหารจัดการด้วยระบบคุณธรรม ซ่ึงมีมากหมายเอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาต้ังก็ ได๑้ ๓๕ ๓. การนำเอาหลักจริยธรรมสากล หลักธรรมาภิบาล หลักทฤษฎีใหม่ หลักเศรษฐกิจ พอเพียง หลกั สังคหวัตถุ หลักพรหมวหิ าร หลักอทิ ธิบาทซ่ึงลว้ นแล้วแตจ่ ะเชอ่ื มโยง นำมาแปรรูปเป็น โครงการ เป็นกจิ กรรม เปน็ กลยุทธ์ เป็นยทุ ธวิธีที่เหมาะสม๑๓๖ ๔. ด้านความเช่ียวชาญถนัดกับผู้บริหารเอง หรอื กับผู้ที่มีสว่ นร่วมขององค์กรตนเอง ซึ่ง เป็นปัจจัยบวก หรือเป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จ เป็นต้นแบบองค์กรคุณธรรม ที่ให้หลักการคุณธรรมมา ๑๓๔ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคญั อันดับที่ ๑๙ เม่ือวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๓๕ สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมูลสำคัญอนั ดบั ที่ ๑ เมื่อวนั ท่ี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. ๑๓๖ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มูลสำคัญอันดับท่ี ๑๒ เม่ือวนั ท่ี ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๓๓ ประยกุ ตป์ รับให้และคิดค้นหาคุณธรรมด้านความสำเรจ็ อน่ื ๆ ขององค์กรคณุ ธรรมต้นแบบในรปู แบบท่ี ต้องการได๑้ ๓๗ ๕. สร้างปัจจัยด้านบวก ด้านดีน้ัน ซึ่งมียุทธวิธอี ันมากมาย เป็นองคค์ วามรทู้ ่ีต้องถูกสรา้ ง ขน้ึ แล้วนำมาประยุกต์ให้เหมาะสำหรับทุก ๆ ความสำเร็จที่ต้องกล้าเข้าไปแก้ไข กล้าเข้าไปพัฒนา ปรับปรุง ยอมรับสว่ นต่างซ่งึ แนน่ อนมีแผนการรองรับเพอ่ื จะพฒั นาในตรงอ่อนน้ันใหส้ ำเร็จ๑๓๘ ๖. การกล้ากา้ วข้ามอุปสรรคปัญหาเพ่ือดำเนินไปสู่ความสำเร็จให้จงได้น้ัน เป็นการนำ องค์คุณธรรมที่ได้ศึกษามาไปสร้างสรรพัฒนาบริหารจัดการด้วยระบบคุณธรรมให้ได้ โดยส่วนมาก ปญั หากับบุคคลในองคก์ รเปน็ ตัวสำคัญที่สุด และบุคคลกบั องค์กรต้องร่วมกัน๑๓๙ ๗. สร้างทัศนคติแนวคิด ให้สอดคล้องกัน ต้องโน้มน้าว ต้องหาวธิ ีการจัดการ ถือว่าเป็น ปจั จัยความสำเร็จ เป็นองค์ปัญญาหลักท่ีต้องศึกษาใหด้ ี เพ่ือให้สูญเสียทรพั ยากรอันมีคณุ ค่า ต้องมผี ู้ สืบทอด ตอ่ ยอดกันต่อไป๑๔๐ ๘. ผู้นำในทุก ๆ องคก์ รท่ีมีวสิ ัยทัศน์ยาวไกล ตอ้ งเป็นปัจจัยสำคญั มาก ที่จะมีอิทธพิ ลต่อ บุคคลในองค์กรน้ัน กลุ่มคน ชุมชม ทุก ๆ ระดับในการนำเององค์คุณธรรมความรู้ ท่ีถูกแปรรูปให้ เหมาะกบั การนำไปใช้ใน สถานทีน่ น้ั มีผลกระทบตอ่ การพฒั นาองค์กรคุณธรรม และสร้างความสำเร็จ อันงดงามได๑้ ๔๑ สรปุ ได้ว่า ผลสำเรจ็ ของการเข้าถงึ เป้าหมายในทุก ๆ มติ ินนั้ ด้วยเนื่องดว้ ยผู้นำการพัฒนา องค์กรด้วยคุณธรรมเป็นตน้ แบบท่ีอื่น ๆ ได้น้ัน ต้องเปน็ ผู้ทก่ี ล้าหาญ อดทน ใช้สติปัญญาเต็มที่ เต็ม ความสามารถ ถือว่าผู้ที่มีความสำเร็จอันงดงามน้นั ได้มปี จั จัยเชิงบวกคือ กล้าทใี่ ช้ภมู ิปัญญา นำหน้า วิชาการ กล้าฝกึ ฝนพัฒนาองค์คุณธรรมนำมาส่กู ารใช้งานให้เป็นผลสำเรจ็ อันเปน็ ท่ียอม ๆ รับของทุก ๆ ฝ่าย เพราะน้นั หมายถึงกระบวนการต่าง ๆ ได้ถูกพัฒนา กลนั่ กรองมาจากผ้มู ีความรู้ ผ่านงานวจิ ัย มากมาย จนมาถึงเปน็ แผนพฒั นา เป็นแม่บทแห่งชาติ สง่ ผลให้บุคคล หรอื องคก์ ร ภาคีเครือผสู้ นใจ ผู้ มสี ่วนร่วมได้ สรา้ งมิติใหม่คือคุณธรรมกบั ระบบบริหาร โดยกล้าฝืนปัจจัยด้านลบเชิงวิพากษ์วิจารณ์ อดทนมุ่งม่ันที่จะพัฒนาจนบรรลุความสำเร็จท่ียอมรับกันระดับประเทศ เม่ือกระบวนการเป็นไปใน รูปแบบองค์กรท่ีถูกพัฒนาขึ้นมาเป็นต้นแบบได้ เป็นเพราะมีปัจจัยสิ่งแวดล้อม หลายอย่างอย่าง เช่นกัน ซึ่งเชื่อมโยงในหลายภาคส่วน ท่ีส่งผลให้เกิดการพัฒนาองค์กรระดับต่าง ๆ ภาคีเครือข่าย ๑๓๗ สัมภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมูลสำคัญอันดบั ที่ ๒๐ เม่อื วนั ที่ ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๓๘ สัมภาษณ์ ผูใ้ หข้ ้อมูลสำคญั อันดับท่ี ๒๔ เมอื่ วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๓๙ สัมภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมลู สำคญั อนั ดับที่ ๒๓ เมอ่ื วันท่ี ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๔๐ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ขอ้ มูลสำคัญอนั ดับท่ี ๑๖ เม่ือวันท่ี ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๔๑ สัมภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคัญอันดบั ท่ี ๒๑ เมื่อวันท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๓๔ จนถึงจังหวัดคณุ ธรรม ก็ให้เกิดเป็นแหล่งเรียนรู้ มีองค์ความรู้เชิงวิชาการ มีวิทยากรผู้เช่ียวชาญ มี วิทยากรที่มีศักยภาพให้การสร้างโครงงานต่าง ๆ มาเป็นต้นความรู้ เพ่ือเตรียมถ่ายทอดต่อไปสู่ผู้นำ คนใหม่มาทำหน้าทแี่ ทน สร้างเหตุปจั จัยในการพฒั นาเพ่อื ให้ทันตอ่ เหต์การณ์ ในหน้าที่นั้นตอ้ งสนอง ตามนโยบายแผนงานทีเ่ ป็นระบบคุณธรรมองค์กรเดมิ เพือ่ ท่ีจะพฒั นาตอ่ ยอดกันไปเรอ่ื ย ๆ และถอื ว่า เปลี่ยนแปลงทัง้ บคุ คลและกาลเวลา สร้างความยง่ั ยนื ได้ เพราะสรรพสง่ิ ลว้ นเปลยี่ นแปลงเสมอ แตเ่ ม่ือ ใช้องค์ปญั ญา ความรแู้ ล้ว กส็ ามารถต่อยอดพฒั นาความรู้นั้นไปใช้ใหถ้ ึงเป้าหมายทต่ี ง้ั ไว้ได้สำเร็จ แผนภาพท่ี ๔.๑๒ สรปุ ผงั โมเดล รูปแบบความสำเรจ็ จงั หวดั คณุ ธรรมในทุกมิติ และการขบั เคล่อื น ๔ คณุ ธรรม

๑๓๕ ๔.๓.๙ รปู แบบการเพ่ิมประเดน็ คณุ ธรรมในมิติศาสนา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ อ่ืน ๆ การเพิ่มประเด็นคุณธรรมในมิติศาสนา ปรัชญาเศรษฐกิจเพียง องค์ความรู้ การพัฒนา คุณธรรม ภาคเี ครอื ข่าย วิทยากร แหลง่ เรียนรูอ้ น่ื ๆ และด้านอืน่ ๆ เช่น การคดิ ทำงานแบบมีส่วนรว่ ม ช่วยกันคิด ช่วยกนั ทำ ประสานทุกภาคส่วน ให้สังคมได้ตืน่ ตัว เห็นความสำคัญวา่ ปัญหาที่อยากแก้ ความดีท่ียากทำนั้น ยังมอี งคค์ ุณธรรมอนื่ ที่ซ่อนตัวอยู่ หรืออยู่ในมิติศาสนาจะนำมาถอดองค์ความรู้ แล้วนำมาประยกุ ตบ์ ูรณาการปรบั ใชก้ ับการพฒั นาองค์ความรูด้ ้านคุณธรรม ซ่ึงจะมีความหลากหลาก เพราะในแต่ละพื้นท่ีอาจจะมีองค์ความรู้ในด้านต่าง ๆ ท่ีสามารถนำมาพัฒนาต่อยอดใช้ได้ ต้องไป ดำเนินการศกึ ษาวิจัย คน้ ควา้ ในพ้ืนที่จริงก่อน และยังคงนำหลักวิชาการแผนแม่บทไปปรับใช้ร่วมกัน ก็จะเป็นการเพิ่มพหุมิติทางองค์ความรู้ ท่ีจะมาเป็นองค์คุณธรรม นำไปให้ใช้ในการบริหารจัดการ องค์กร เพ่ือให้สังคม ชุมชน และองค์กรอ่ืน ๆ ทุกระดับได้รับผลแห่งนวัตกรรมคุณธรรมอย่าง แพรห่ ลาย ผู้วิจยั ไดแ้ นวคิดเหน็ ของผู้ทรงคณุ วฒุ ิท่ีนำเสนอไว้ว่า ๑.การสร้างเครอื ข่าย คณะสงฆเ์ อง ในตำบล ในอำเภอเดียวกนั กต็ ้องร้จู ักกัน ชว่ ยเหลือกัน ก่อน เป็นคุณธรรมต้น ๆ พืน้ ๆ ฐานของเรา ตอ้ งประชมุ กัน ตอ้ งสัมมนากนั เอาปัญหาท่ีมีมานำเสนอ เพ่ือให้ได้รับคำชี้จากผู้บังคับบัญชา จากเพ่ือนสหธรรมิกด้วยกัน หรือเป็นปัจจัยให้ส่วนอ่ืน ๆ ท่ีเขา อยากชว่ ยแก้ไข ไดช้ ่วยเหลอื กัน๑๔๒ ๒.ความเป็นสังคมย่อมต้องทำให้ทุก ๆ เม่ือจะหาทางออกจากปัญหา ต้องพ่ึงพากัน ช่วยกนั ไดเ้ พ่อื น ได้มีเครือขา่ ย ไดส้ ังคมชมุ ชนท่ีคุน้ เคยเพ่ิมขึน้ ถือวา่ เป็นกลยทุ ธการบรหิ ารจัดการที่ ยอดเยย่ี มพรอ้ มกบั บังเกิดการเปน็ ผมู้ จี ิตอาสา ขออาสาช่วยจัดทำ ทำให้เกดิ พลังร่วมคิดช่วยส่วนรวม เป็นจิตสาธารณะ สร้างความน้ำใจ การเสียสละให้เกิดขึ้น เป็นการเพ่ิมองค์คุณธรรม โดยบังเกิดขึ้น เองตามธรรมชาติของสงั คม๑๔๓ ๓.ความสำคัญเม่ือองค์กรต้นแบบเกิดข้ึน ภาคีเครือข่ายก็จะมีส่วนได้ผลประโยชน์ด้วย การให้การช่วยเหลือสนับสนุน ซ่ึงในฐานะเป็นปัจจัยให้เกิดความสำเร็จ ปัจจัยบวกเหล่าน้ันจะ เชื่อมโยงกันได้นานเพยี งไร ข้นึ กบั ผลิตผลมมี าก ชอ่ื เสียงสำคัญ การรักษามาตรฐานคุณภาพใช้ดีงาม คงที่เป็นปจั จยั สำคัญในทางพระพทุ ธศาสนา จงึ หลกั ธรรมด้านการรกั ษาความดที ่ีได้สร้างไว้แล้ว อนุ รักขนาปธาน แค่รักษามาตรฐานความดงี าม๑๔๔ ๑๔๒ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคัญอันดบั ที่ ๑๓ เม่ือวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๔๓ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญอันดับที่ ๓ เม่ือวนั ท่ี ๒ ธันวาคม ๒๕๖๓. ๑๔๔ สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคัญอนั ดับท่ี ๑๕ เมือ่ วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๓๖ ๔.ความมีคุณธรรมที่ใช้การบริหารจัดการเป็นเรื่องยากท่ีสุดเช่นเดียวกันกับ ปัญหาของ ทอ้ งถิ่น ชุมชน องค์กรหน่วยงานที่จะมกี ารปรบั ปรงุ พฒั นาในเจรญิ กา้ วหน้า ข้อเสยี ตดั ไดแ้ ล้ว ปญั หา แก้ได้แล้ว ส่ิงทีอ่ ยากพฒั นาทำได้แล้ว สดุ ท้ายรักษาต้นแบบไว้ให้นานน้ันยากยงิ่ กต็ ้องมคี ณุ ธรรมดา้ น การรกั ษาต้นแบบทพ่ี ฒั นาไว้ดแี ล้วเพือ่ ความั่นคงต่อไป๑๔๕ ๕.องค์กรคุณธรรมตน้ แบบเกิดขึ้นไดจ้ ริง ก็เช่ือมั่นวา่ ในชุมชนสังคมนน้ั มีผลิตแล้วเรื่อง จะขายผลผลิตใหไ้ ดก้ ำไร ก็ตอ้ งมตี อ่ เมื่อผลิตผลด้านคุณธรรมเกดิ แลว้ ได้ตน้ แบบคณุ ธรรมแล้ว ก็จะ เปน็ ความดคี วามงามผลประโยชน์ของท้องถ่ินน้ันทข่ี ยายขายความรู้๑๔๖ ๖.การให้โอกาสองค์กร ภาคีเครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ได้มาศกึ ษาดูงาน มีการประชาสมั พนั ธ์เผยแผ่ งานระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เป็นศูนย์การเรียนรู้ เป็นแหล่งศึกษาดูงาน เป็น ตน้ แบบคุณธรรม เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ต้นแบบน้นั การแสดงผลงานปรากฏ เอกสารวิชาการ สอื่ สารอินเตอร์ เนท มีเดีย วีดที ศั น์เพ่ือแสดงผลผลิตได้เองมานำเสนอผลงาน๑๔๗ ๗.การแสดงความสำเร็จที่บังเกิดผลสำเร็จ ให้ปรากฎต่อสังคมทุกรูปแบบ ย่อมการ ประเมินผล การวัดผล ก็เป็นเร่อื งปกติธรรมดา การปลูกพืช การผลิตอาหาร ปัจจุบันต้องมีสถาบัน องค์กรหน่วยงานรับผิดชอบในการตรวจตราการันตีว่า ผา่ นการรับรอง คงดุจเดียวกันกับงานองค์กร คณุ ธรรมตน้ แบบ๑๔๘ สรปุ ว่า การสร้างองค์กรเครือข่าย และขยายผลนั้นคืออะไร ตอบวา่ การที่สงั คมมนษุ ย์ไดม้ ี ระบบเทคโนโลยีสมยั ใหม่ แตกตา่ งไปจากเดิมเสมอ เพราะองคค์ วามรู้ องค์ความรู้น้ันไม่ได้ตาย หรือ สญู หาย เพราะได้มีการศึกษาเรียนรู้ ถ่ายทอดวิชากันไว้ รุ่นต่อรุ่น ยุคต่อยคุ ถือไว้ว่าหลักการน้ี มีผล เปน็ ที่ยอมรับจริง บริษัทผลิตรถหนึ่งท่ีมีรายไดม้ ากมาย มบี ริษัทลูกหลายท่ี ขยายไปหลายประเทศก็ สามารถล่มสลายได้ ตามกฎของธรรมชาติ แต่องค์ความรู้การผลิตรถถูกถ่ายทอด หรือถูกโอนถ่าย เปลี่ยนผู้เป็นเจ้าของ การผลิตรถย่อมเกิดได้ใหม่ฉันน้ัน ผู้วิจัยได้สังเคราะห์ความรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิ เห็นว่า องคก์ รคุณธรรม ยอ่ มเปล่ียนแปลงได้ คือเกดิ ขนึ้ ในยุคหน่ึง และหายไปชั่วระยะเวลา แต่ก็จะ กลับมาใหม่ได้เมื่อปัจจัยพร้อม ดังนั้น เห็นควรเป็นอย่างยิ่งกับแผนแม่บทส่งเสริมพัฒนาคุณธรรม แหง่ ชาติ ตอ้ งใหม้ ีองค์กรเครอื ข่าย เพราะความรู้ย่อมสูญหายไปจากองค์กรหนงึ่ แต่กลับยังคงอยไู่ ดใ้ น อีกองค์กรหน่ึง เพราะมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ไว้ ปัจจัยหลักคือต้องสร้างองค์กรเครือข่าย และ ๑๔๕ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมลู สำคัญอนั ดับท่ี ๒๕ เม่อื วนั ที่ ๓๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๔๖ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญอนั ดบั ท่ี ๒๖ เมื่อวนั ท่ี ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๑๔๗ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคัญอนั ดบั ที่ ๒๔ เมอื่ วนั ท่ี ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๔๘ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ ้อมูลสำคัญอนั ดบั ที่ ๑๕ เมือ่ วันท่ี ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook