Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

Published by tassanapol.khem, 2021-09-15 07:40:21

Description: พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

Search

Read the Text Version

รูปแบบการบรหิ ารจดั การจังหวัดคุณธรรมตน้ แบบของจังหวัดพจิ ิตร THE MANAGEMENT MODEL OF PROTOTYPE ETHICAL PROVINCE OF PHICHIT PROVINCE พระครพู ิสทุ ธปิ ญั ญาภิวัฒน์ (นพณัช คลา้ ยผึ้ง) ดุษฎนี ิพนธน์ ีเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษา ตามหลักสูตรปรญิ ญาพทุ ธศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาการจัดการเชิงพทุ ธ บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

รปู แบบการบริหารจัดการจังหวัดคณุ ธรรมตน้ แบบของจังหวัดพิจิตร พระครพู สิ ุทธปิ ัญญาภิวัฒน์ (นพณชั คล้ายผ้ึง) ดษุ ฎีนพิ นธน์ ีเ้ ป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษา ตามหลกั สูตรปริญญาพุทธศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การเชงิ พุทธ บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ (ลิขสทิ ธเิ์ ป็นของมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั )

The Management Model Of Prototype Ethical Province Of Pichit Province Phrakhru Phisutthipanyaphiwat (Nonpanat Khlaiphueng) A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of Doctor of Philosophy (Buddhist Mangemant) Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University C.E. 2021 (Copyright by Mahachulalongkornrajavidyalaya University)



ก ชือ่ ดุษฎนี ิพนธ์ : รูปแบบการบรหิ ารจัดการจงั หวัดคุณธรรมต้นแบบของจงั หวดั พจิ ิตร ผู้วิจยั : พระครพู สิ ุทธปิ ัญญาภิวัฒน์ (นพณัช คล้ายผงึ้ ) ปรญิ ญา : พทุ ธศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ (การจัดการเชงิ พุทธ) คณะกรรมการควบคมุ ดุษฎีนิพนธ์ : พระปลัดระพิน พทุ ฺธิสาโร, รศ. ดร., พธ.บ. (การสอนสงั คมศกึ ษา), ศศ.ม. (ประวัติศาสตรเ์ อเซีย), พธ.ด. (พระพทุ ธศาสนา) : พระอุดมสิทธินายก, ผศ. ดร., ป.ธ. ๙, น.บ. (นิตศิ าสตร)์ พธ.บ. (การจัดการเชิงพทุ ธ), พธ.ม. (การจดั การเชงิ พทุ ธ), พธ.ด. (การจัดการเชิงพทุ ธ) วนั สำเรจ็ การศกึ ษา : ๑๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๔ บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ คอื ๑ เพ่ือศึกษาวิเคราะห์สภาพทั่วไปในการบริหารจัดการ จังหวัดคุณธรรมต้นแบบของจังหวัดพิจิตร ๒ เพ่ือศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจังหวัด คณุ ธรรมต้นแบบของจังหวัดพจิ ติ ร ๓ เพื่อนำเสนอรปู แบบการบริหารจัดการจังหวัดคณุ ธรรมต้นแบบ ของจังหวัดพิจิตรเปน็ การวิจัยเชงิ คุณภาพ เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ จากผู้ใหข้ ้อมูลสำคัญจำนวน ๓๓ รูปหรือคน และสนทนากลุ่มเฉพาะ เพ่ือทำการวิเคราะห์ข้อมูลและสังเคราะห์ข้อมูลในการ รวบรวมองคค์ วามรู้ สรา้ งเป็นโมเดลเพอ่ื การศกึ ษาเรียนรตู้ น้ แบบคุณธรรมของจังหวดั พิจติ ผลการวจิ ยั พบวา่ ๑.สภาพท่ัวไปในการบรหิ ารจัดการจงั หวัดคุณธรรมตน้ แบบของจังหวดั พิจิตรบนพ้นื ที่ ๓ แห่งน้นั ได้ทำการศึกษาวิเคราะห์ บริบทต่าง ๆ ของพน้ื ท่ี บุคคล แบบองคร์ วม ด้วยหลักของ SWOT Analysis จะพบวา่ มีจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน และโอกาสของพ้ืนทแี่ ต่ละแหง่ ทีต่ อ้ งการพัฒนาปรับปรุง เป็นเง่ือนไขให้เกิดการนำคุณธรรมไปพัฒนาในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น โรงเรียนเป็นสถานท่ีให้การศึกษา อบรมเพื่อสร้างคนที่เก่งและดี ก็ต้องฝ่าฝันอุปสรรค พร้อมกับได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐและ เอกชน โรงพยาบาลเนน้ การบรหิ ารจดั การทใี่ ส่ใจในหนา้ ที่เพอื่ รักษาคนปว่ ย พรอ้ มตอ้ งมภี าพลกั ษณ์ท่ี ดงี าม ภาพรวมมจี ดุ แขง็ มากกวา่ จดุ อ่อน และอยูใ่ นระดบั คุณภาพนา่ ช่ืนชม ๒.การบริหารจดั การจงั หวัดคุณธรรม โดยทำการศกึ ษาดว้ ยหลักการ PDCA cycle มาเป็น วิธีการบริหารจัดการ ซ่ึงเป็นต้นแบบของจังหวัดพิจิตรพบว่า ได้ใช้หลักการPDCA คือการบริหาร จัดการตามแผนแม่บทของจังหวัดคุณธรรม เริ่มท่ีการวางแผนการทำงานท่ีรอบครอบวิเคราะห์สภาพ พื้นที่กำหนดแผนงานตามพื้นที่ให้ประชาชนและภาครัฐมีส่วนร่วมในการวางแผน กระบวนการ ดำเนินงานอย่างเคร่งคัด รอบครอบ รวดเร็ว เหมาะสมและกระทำอย่างต่อเน่ืองกระบวนการ

ข ดำเนินงานน้ันจะต้องมีการแบ่งงานกันทำด้วยความสามัคคี การติดตามและประเมนิ ผลตามแผนงาน ต้องคำนึงถึงวัตถุประสงคท์ ี่กำหนดการติดตามและประเมินผลต้องมีมาตรการในการปรับปรุงแก้ไข ตามสถานการณ์ นำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุงโดยเน้นการปฏิบตั งิ านได้จรงิ โดยให้สอดคล้องกับพืน้ ที่ จริงและบรบิ ทของสังคมนน้ั ๆ ๓. รูปแบบการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบของจังหวัดพิจิตร ได้รับการ ยกระดับเป็นจงั หวัดคณุ ธรรมต้นแบบ และนำร่อง ไดพ้ บเง่ือนไขท่ีทำให้การจัดการจังหวัดคุณธรรม ประสบผลสำเร็จ ๔ ประการ คอื ๑. ศกั ยภาพของผูน้ ำเปน็ ส่วนสำคัญในการรา้ งองคก์ รคุณธรรมตน้ แบบได้ ๒ ภาพลกั ษณ์ความนำเชื่อถอื เป็นปจั จยั ใหเ้ กิดการยอมรบั ๓. องค์คณุ ธรรมความรจู้ ะเกิดข้ึนได้ขัดเจน เมื่อลงมือปฏิบัติงาน ๔. สัมฤทธ์ิผล หรือความสำเร็จท่ีได้ คือการบริหารจัดการองค์กรคุณธรรมต้นแบบ ผลการวิจัยแสดงใหเ้ หน็ ว่า การบรหิ ารจัดการดว้ ยวงจร PDCA มีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกับข้นั ตอน การพัฒนาองค์กรคณุ ธรรม ทุกประเภท และระบบคุณธรรมน้ัน สามารถใช้เปน็ หลังขับเคลื่อนให้เกิด การพัฒนาปรับเปล่ียนการบริหารจัดการในองค์กรในเชิงสร้างสรรค์ได้ จากมูลเชิงประจักษ์ในการ ปฏิบัตติ ามชั้นตอน ๑๐ประการของการพัฒนาจังหวัดคุณธรรม ซ่ึงทำให้ พิจิตรเป็นจังหวัดคุณธรรม ตน้ แบบ ที่ได้รบั การยกย่อง ยอมรับในระดับประเทศ อีกทั้งยงั ส่งเสริมการพัฒนาสงั คมและเศรษฐกิจ ระดับประเทศไดอ้ ย่างมั่นคงยง่ั ยนื

ค Dissertation Title : The Management Model Of Prototype Ethical Province Of Phichit Province Researcher : PhrakhruPhisutthipanyaphiwat (Nonpanat Khlaiphueng) Degree : Doctor of Philosophy (Buddhist Management) Dissertation Supervisory Committee : Phrapalad Raphin Bhudtisaro, Asst. Prof. Dr., B.A. (Social Teaching), M.A. (Asian History), Ph.D. (Buddhist Studies) : Phra Udomsithinayok, Asst. Prof. Dr., Pail IX , LL.B. (Bachelor of Laws Program), B.A. (Buddhist Management), M.A. (Buddhist Management), Ph.D. (Buddhist Management) Date of Graduation : September 11, 2021 Abstract Objectives of this research were: 1. To analytically study general conditions of management model of prototype ethical province provincial of Phichit Province, .2. To study factors affecting the management of prototype ethical province of Pichit Province and 3.To propose the management model of prototype ethical province of Phichit Province conducted by the qualitative method, data were collected from 33 key informants and participants in focus group discussion and analyzed data by content descriptive interpretation and used the findings to create a model of prototype ethical province of Pichit Province. Findings were as follows: 1. General conditions of the management model of prototype ethical province of Pichit Province in 3 areas by holistically analyzing areas and people by SWOT analysis were found that there were more strengths than weaknesses and opportunities of the areas to be developed with condition to develop ethics in various forms School is educational place faced with problems and obstacles to train people to be smart and good and get support from government and private

ง sectors. Hospital emphasized care taking of patients must have good image. By overall, there were more strengths and weaknesses and were with admirable quality. 2. Prototype ethical Province Management by PDCA cycle principle as a management method. which was a model of Phichit Province was found that the application of PDCA principle wass the management according to the master plan of the prototype ethical province, starting with a comprehensive work plan, analyzing the condition of the area, setting up a plan according to the area for the people and the government sector to participate in planning The operation process was concise, comprehensive, fast, appropriate and continuous. The operation process must be divided into work in unity. monitoring and evaluation according to the set objectives. Monitoring and evaluation must have measurement to improve the situations by real practice in line with real locality and social contexts of the areas. 3. The management model of prototype ethical province of Pichit Province had been promoted to Modeled Ethical Province and set as the pilot role model for other provinces The conditions for success were found with 4 components. They were: 1. Leader’s competency was the key success factor for prototype ethical province 2. Image and trust were the factors of acceptance 3. Ethical body of knowledge became clear by practice 4. Achievement and success gained were the management of the prototype ethical organization. The research findings indicated that management by PDCA circle principle was consistent with every step of ethical organization development. Ethical system could be used as driving mechanism to creatively create changes in organization management. The empirical data indicated that practice along 10 steps of the modeled ethical province development made Pichit Province the Modeled Ethical Province with honor and respect at national level as well as the promotion of social and economic development at national level sustainably.

จ กิตติกรรมประกาศ ดุษฎีนิพนธ์ฉบับน้ีสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยความเมตตาของคณะกรรมการควบคุม ดุษฎีนิพนธ์ ประกอบด้วย พระปลัดระพิน พุทฺธิสโร ประธานกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ พระอุดมสิทธินายก,ผศ.ดร. กรรมการควบคุมดุษฎนี ิพนธ์พระครูปริยัตกิ ิตติธำรง, รศ.ดร. คณบดคี ณะ สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระมหากฤษดา กิตฺติโสภโณ,ผศ.ดร. พระมหาสุนันท์ สุนนฺโท, รวมท้ังขออนุโมทนาขอบคุณ รศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม รองอธิการบดีฝ่าย กจิ การท่ัวไป ผู้อำนวยการหลกั สตู รบณั ฑติ ศกึ ษา ภาควชิ ารฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย รวมทั้งคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ให้ความเมตตาประสิทธิ์ประสาทวิชาการจัดทำดุษฎีนิพนธ์ ตลอดจนเทคนิควิธีการในส่วนต่าง ๆ ให้นิสิตเกิดความรู้ความเข้าใจ พร้อมท้ังดูแลเอาใจใส่ ชี้แนะ แนวทางเพือ่ แกไ้ ขข้อบกพร่องจงึ ทำใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณพระราชสิทธิเวที,รศ.ดร.เจ้าคณะจังหวัดพิจิตรและผู้อำนายการ วิทยาลัยสงฆพ์ ิจิตร ผผู้ ลักดันและสนับสนุนให้ได้เข้ารบั การศึกษาพร้อมทั้งสหธรรมมิกนิสติ หลักสูตร พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ รุ่นที่ ๘ ทุกรูปท่ีมอบกำลังใจรวมท้ังให้ คำปรึกษาแก่ผู้วจิ ยั ตลอดมามาโดยตลอด ขอกราบขอบพระคณุ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิฝา่ ยบรรพชิตและขออนุโมทนาผทู้ รงคุณวฒุ ิฝา่ ยคฤหัสถ์ ที่เมตตาตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ ให้ถูกต้องตามขั้นตอน ท้ังด้านภาษา เน้ือหาสาระสำคัญดว้ ยการ ใหค้ ำปรึกษา แนะนำ แกไ้ ข ปรับปรุงให้มีความถกู ต้อง รวมถึงผเู้ ช่ยี วชาญทุกรปู หรือคนท่ีใหข้ ้อมูลอัน เปน็ ประโยชนแ์ ก่การทำดุษฎนี ิพนธ์จนสำเร็จด้วยดี ขอขอบคุณบุคลากรฝา่ ยบรรพชติ ทุกรูป เช่น พระมหาบญุ นภสั ร์ ถิรปุญโย ดร.ป.ธ.๙ และ อนุโมทนาบุญ น.ส.สุรินทร์ คล้ายผึ้งและพี่ทุกคน และขออนุโมทนาบุคลากรฝ่ายคฤหัสถ์คณะ สังคมศาสตร์ทุกท่านท่ีให้ความอนุเคราะห์ด้วยกัลยาณมิตรในการอำนวยความสะดวกการติดต่อ ประสานงาน การเรยี นการสอน การจัดกจิ กรรม การประชมุ สัมมนาวิชาการ สุดท้ายสารัตถะประโยชน์ใดอันเกิดจากดุษฎีนิพนธ์น้ี ขอมอบเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ขอผลานิสงส์ครั้งน้ีจงบังเกิดมีแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณธนสารสมบัติธรรมสารสมบัติ และมอบบูชาเป็นกตเวทิตาคุณแก่ บิดา มารดา ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ ญาติสนิทมิตรสหายท้ังหลายรวมท้ังพุทธศาสนิกชนชาววัดนครชุม และผู้มี คณุ ูปการทุกทา่ นมา ณ โอกาสน้ี พระครูพสิ ทุ ธปิ ัญญาภิวฒั น์ ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๔

สารบัญ ฉ เรอ่ื ง หน้า บทคดั ย่อภาษาไทย ก บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ค กิตติกรรมประกาศ จ สารบญั ฉ สารบญั ตาราง ซ สารบญั ภาพ ฌ คำอธิบายสญั ลักษณแ์ ละคำยอ่ ญ บทที่ ๑ บทนำ ๑ ๑ ๑.๑ ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา ๔ ๑.๒ คำถามการวิจัย ๕ ๑.๓ วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ๕ ๑.๔ ขอบเขตการวจิ ยั ๖ ๑.๕ นิยามศัพทเ์ ฉพาะท่ใี ชใ้ นการวิจยั ๗ ๑.๖ ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ ๘ บทท่ี ๒ แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ๘ ๒.๑ แนวคิด ทฤษฎีเกย่ี วกบั รปู แบบ ๑๒ ๒.๒ แนวคดิ ทฤษฎีเก่ียวกับการบรหิ ารจดั การ ๕๒ ๒.๓ ข้อมูลบริบทเร่ืองท่ีวิจยั ๕๔ ๒.๔ งานวิจยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ๗๐ ๒.๕ กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ๗๑ บทที่ ๓ วธิ ีดำเนินการวจิ ยั ๗๑ ๓.๑ รปู แบบการวจิ ยั ๗๑ ๓.๑.๑ ผู้ให้ข้อมลู สำคญั ๗๒ (๑) ผใู้ ห้ข้อมลู สำคญั สำหรบั การสำภาษณเ์ ชงิ ลึก ๗๔ (๒) ผทู้ รงคณุ วุฒสิ ำหรบั การสนทนากลุ่มเฉพาะ ๗๔ ๓.๑.๒ เครื่องมอื ที่ใช้ในการวิจยั ๗๕ ๓.๑.๓ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

ช สารบัญ (ตอ่ ) หน้า ๗๖ เรอ่ื ง ๓.๑.๔ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ๘๐ ๘๐ บทที่ ๔ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ๑๐๑ ๔.๑ สภาพท่ัวไปในการบรหิ ารจัดการจังหวดั คณุ ธรรมจังหวดั พิจติ ร ๑๑๑ ๔.๒ ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อการบริหารจดั การจงั หวดั คณุ ธรรมตน้ แบบจงั หวัดพจิ ติ ร ๑๔๒ ๔.๓ รปู แบบการบริหารจดั การจงั หวดั คุณธรรมตน้ แบบของจังหวัดพจิ ิตร ๑๔๙ ๔.๔ ผลการสนทนากลุ่มเฉพาะ ๑๔๙ ๔.๕ องคค์ วามรู้ ๑๖๔ ๔.๕.๑ องคค์ วามร้ทู ไ่ี ด้รบั จากการวจิ ยั ๔.๕.๒ องคค์ วามรทู้ ่ีไดส้ งั เคราะหจ์ ากการวจิ ยั ๑๖๘ ๑๖๘ บทท่ี ๕ สรุป การอภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ๑๘๐ ๕.๑ สรปุ ผลการวิจัย ๑๙๒ ๕.๒ อภปิ รายผลการวิจัย ๕.๓ ข้อเสนอแนะ ๑๙๓ บรรณานุกรม ๒๐๐ ๒๐๑ ภาคผนวก ๒๐๑ ภาคผนวก ก ผ้ทู รงคุณวุฒิตรวจเครื่องมือวิจยั ๒๐๘ ภาคผนวก ข ผทู้ รงคณุ วฒุ ิใหส้ ัมภาษณ์เชิงลกึ ๒๑๒ ภาคผนวก ค ผู้ทรงคณุ วุฒิสนทนากล่มุ เฉพาะ ภาคผนวก ง ผู้ทรงคณุ วฒุ ิสอบดษุ ฎีพิจารณ์ ๒๑๔ ประวัตผิ ้วู จิ ยั

สารบญั ตาราง ซ ตารางที่ หน้า ๑๑ ๒.๑ แนวคดิ เกี่ยวกับรปู แบบ ๑๘ ๒.๒ แสดงความหมายของการบริหาร ๓๑ ๒.๓ แสดงแนวคิดเก่ยี วกบั การบรหิ ารจดั การ ๓๙ ๒.๔ แสดงกระบวนการบริหาร ๔๖ ๒.๕ การประเมินจงั หวดั คุณธรรม ๖๑ ๒.๖ สาระสำคัญของงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั รปู แบบ ๖๒ ๒.๗ งานวจิ ัยเกยี่ วกบั การบรหิ ารจัดการ ๖๘ ๒.๘ สรปุ งานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้องกับการบรหิ ารจดั การ ๗๗ ๓.๑ เกณฑ์ความน่าเชอื่ ถือ

ฌ สารบญั ภาพ ภาพท่ี หนา้ ๔.๑ สรุปผังโมเดล การศึกษาด้วย SWOTANALYSIS ปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก วดั ทา่ หลว ๘๘ ๔.๒ สรปุ ผงั โมเดล การศกึ ษาด้วยSWOTANALYSIS ปจั จยั ภายในและปจั จัยภายนอกโรงเรียน บางมลู นากภมู วิ ิทยาคม ๙๔ ๔.๓ สรุปผังโมเดล การศึกษาด้วย SWOTANALYSIS ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก โรงพยาบางมลู นาก ๑๐๐ ๔.๔ สรปุ ผงั โมเดล ทฤษฎี PDCA การบรหิ ารจดั การด้วยคุณธรรมจังหวดั พิจติ ร ๑๑๐ ๔.๕ สรปุ ผงั โมเดล รปู แบบประกาศขอ้ ตกลงกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยส่งเสรมิ คุณธรรม ๑๑๕ ๔.๖ สรปุ ผงั โมเดล รูปแบบคุณธรรมเปา้ หมายและจัดทำแผนจังหวัดคณุ ธรรม ๑๑๘ ๔.๗ สรปุ ผงั โมเดล รปู แบบตง้ั คณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคีเครือข่าย ๑๒๐ ๔.๘ สรปุ ผงั โมเดล รปู แบบการถ่ายทอดภารกจิ สง่ เสรมิ คุณธรรมส่รู ะดบั อำเภอ ๑๒๓ ๔.๙ สรปุ ผงั โมเดล รูปแบบดำเนนิ งานตามเปา้ หมาย ๑๒๖ ๔.๑๐ สรุปผังโมเดล รูปแบบวางแผนขับเคลื่อนและบรรจุเป็นยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ ทุกภาคส่วน ๑๒๘ ๔.๑๑ สรปุ ผงั โมเดล รปู แบบการยกย่อง เชดิ ชู บคุ คล ชุมชน องคก์ ร อำเภอคณุ ธรรม ๑๓๑ ๔.๑๒ สรุปผังโมเดล รูปแบบความสำเร็จจังหวัดคุณธรรมในทุกมิติ และการขับเคล่ือน ๔ คุณธรรม ๑๓๔ ๔.๑๓ สรุปผังโมเดล รูปแบบการเพ่ิมประเด็นคุณธรรมในมิติศาสนา ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๑๓๗ ๔.๑๔ สรุปผังโมเดล รูปแบบองค์ความรู้ การพัฒนาคุณธรรม ภาคีเครือข่าย วิทยากร แหล่งเรียนรู้อนื่ ๆ ๑๔๐ ๔.๑๕ ผงั โมเดลแบบจังหวดั คุณธรรมต้นแบบ ๑๔๑ ๔.๑๖ องค์ความร้จู ากการวจิ ยั ๑๔๙ ๔.๑๗ องค์ความรู้จากการวิจยั ๑๕๔ ๔.๑๘ องค์ความรูท้ ่ไี ดจ้ ากการสงั เคราะห์การวจิ ัย ๑๖๔

ญ คำอธิบายสญั ลักษณแ์ ละคำย่อ อักษรย่อในดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ฉบบั นี้ ใช้อ้างอิงจากพระไตรปิฎกภาษา บาลี/พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบบั ฉบับมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๑. คำอธบิ ายคำยอ่ ในภาษาไทย ก. คำย่อช่อื คมั ภีรพ์ ระไตรปฎิ ก พระวินัยปิฎก คำย่อ = วินัยปฎิ ก ช่ือคมั ภีร์ ภาษา วิ.มหา. (ไทย) = วินยั ปิฎก มหาวิภงั ค์ (ภาษาไทย) วิ.ม. (ไทย) = วนิ ยั ปฎิ ก มหาวรรค (ภาษาไทย) ว.ิ จ.ู (ไทย) = วนิ ยั ปิฎก จูฬวรรค (ภาษาไทย) วิ.ป. (ไทย) ปรวิ ารวรรค (ภาษาไทย) พระสตุ ตันตปิฎก คำยอ่ = สุตตนั ตปฎิ ก ชื่อคัมภีร์ ภาษา ท.ี ส.ี (ไทย) = สุตตันตปิฎก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค (ภาษาไทย) ที.ม. (ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก ทีฆนกิ าย มหาวรรค (ภาษาไทย) ที.ปา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ทีฆนกิ าย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย) ม.มู. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ (ภาษาไทย) ม.ม. (ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก มัชฌมิ นกิ าย มชั ฌมิ ปณั ณาสก์ (ภาษาไทย) ม.อ.ุ (ไทย) มัชฌิมนกิ าย อปุ รปิ ณั ณาสก์ (ภาษาไทย)

บทที่ ๑ บทนำ ๑.๑ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ๑.๑.๑ ความเป็นมา จังหวัดคุณธรรมตามแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔) เปน็ แนวคดิ ทถี่ ูกขับเคลื่อนรณรงค์ให้สอดคลอ้ งกับแผนยุทธศาสตร์พฒั นาชาติ ๒๐ ปี กระตุ้น ใหเ้ กดิ การรณรงค์และขบั เคลอ่ื นคุณธรรมสชู่ มุ ชนและสังคมในภาพกวา้ ง และมีจงั หวัดต่าง ๆ เข้ารว่ ม โดยมเี ป้าหมายเพื่อแกไ้ ขปญั หาจรยิ ธรรม ความบกพร่องทางศลี ธรรมโดยขับเคล่ือนคณุ ธรรมสูจ่ ังหวัด พิจิตรจึงเป็นจังหวัดคุณธรรมนำร่อง๑ ซึ่งเป็นการพัฒนาต้นแบบด้วยรูปแบบการเพิ่มคนดีเครือข่าย ดี องค์กรดี ชุมชนดี ให้กลับบ้านเมือง เน้น ททท. ทำทันที ด้วยความร่วมมือร่วมใจของคนใน สงั คม โดยการผสมผสานกระบวนการทำแผนของส่วนราชการ โดยมีเป้าหมายระยะยาว คอื คนพจิ ิตร มีความสขุ บนพ้ืนฐานแห่งความดี และมเี ป้าหมายระยะส้ันคือ จังหวัดพิจิตร ตอ้ งมีเครือขา่ ยคณุ ธรรม ครอบคลุมทุกพ้ืนที่และทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง ปัจจุบันจังหวัดพิจิตรได้ขยายเครือข่ายคุณธรรม จาก ๑๑ เครือข่ายเป็น ๑๓ เครือข่าย ครอบคุมเกือบทุกภาคสว่ น ทัง้ ภาครัฐ ภาคประชาชน เอกชน ท่ีรับแนวทางและนโยบายดังกล่าวมาสู่การขับเคลื่อนจังหวัดคุณธรรม๒ ในการขับเคล่ือนจังหวัด คุณธรรมจึงมีการขบั เคลื่อนทั้งในส่วนของทำให้เกิดเครือข่ายภายใต้แนวทางโรงเรียน๓ สาธารณสุข เกษตร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักส่ือสารมวลชน ผู้สูงอายุ องค์กรชุมชน เครือข่ายผู้พิการ ๑ เอกสารชุดความรู้การขับเคลื่อนจังหวัดคุณธรรมนำร่อง (พิจิตร บุรีรัมย์ ราชบุรี พัทลุง), [ออนไลน์], แหลง่ ท่มี า : http://www.moralcenter.or.th (๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๓) ๒ ป ก ค ร อ ง จั ง ห วั ด พิ จิ ต ร . พิ จิ ต ร จั ง ห วั ด คุ ณ ธ ร ร ม . [อ อ น ไ ล น์ ], แ ห ล่ ง ที่ ม า :. http://www.phichit.go.th/phichit/doc/๒๕๖๑/๖๑๑๒๑๒.pdf (พจิ ิตร : วลั ยาการพิมพ์, ๒๕๖๑) ๓ สิทธิศักด์ิ แก้วทา ทีปพิพัฒน์ สันตะวัน, แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของ นกั เรียน ในโรงเรยี นมธั ยมศึกษา จังหวัดพิจติ ร.วารสารวิชาการบัณฑิตศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ปที ่ี ๗ ฉบับท่ี ๒๐กนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๕๕ : ๔๙-๖๒.

๒ เครือข่ายด้านศลิ ปวฒั นธรรม เครอื ขา่ ยอำเภอ และเครอื ข่ายส่วนราชการ ภายใต้แนวคิด \"คณุ ธรรม\" และจากผลการดำเนินการขับเคล่ือนในช่วงที่ผ่านมา ทำให้เห็นแนวทางในภาพกว้างระดับจังหวัด และการย่อยลงไปสกู่ ารปฏิบัติทงั้ ท่สี ่งผลเป็นความสำเร็จในเชิงปฏิบัติ และอาจยังตอ้ งเสริมและเพ่ิม เพื่อให้เกิดความเปน็ คุณธรรมในองค์รวมด้วยเช่นกนั จากแนวทางการขับเคลอ่ื น คุณธรรมของจังหวัด พจิ ิตร ซง่ึ ได้เนน้ การส่งเสริมและพัฒนาองค์กรชุมชนอำเภอ และจังหวัดคุณธรรมภายใต้แผนแม่บท สง่ เสริมคุณธรรมแห่งชาติฉบับที่ ๑ พ.ศ.๒๕๕๙ ถงึ พ.ศ. ๒๕๖๔๔ ภายใต้คณะอนุกรรมการส่งเสริม คณุ ธรรมจังหวัดโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเปน็ ประธาน และมหี นว่ ยงานองค์กรภาคีเครือข่าย ร่วมเป็น คณะกรรมการ เพ่ือขบั เคล่ือน การทำงานจังหวดั คุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรม ๑.๑.๒ ความสำคญั ของปัญหา สงั คมไทยในอนาคตมีแนวโน้มที่อาจนำไปส่สู ังคมที่ล่มสลายเนื่องจากปัจจุบันมีปัญหาที่ เกิดกบั เดก็ และเยาวชนไทยในการท่ีตอ้ งเรง่ แกไ้ ขและกระทบกบั เดก็ จำนวนมากโดยจำแนกปญั หาเด็ก และเยาวชนไทยเป็น ๒ กลุ่มได้แก่ปัญหาท่เี กิดจากความยากจนและดอ้ ยโอกาสท้ังท่ีมีมาแต่กำเนิด หรือ ผลสืบเน่ืองมาจากครอบครวั หรอื ถูกกระทำจากบุคคลหรอื สังคม และปัญหาทเี่ กดิ จากพฤติกรรม เบย่ี งเบน เช่น การมเี พศสัมพันธ์ การติดเหลา้ บหุ รี่ ยาเสพติด ทะเลาะววิ าท การฆ่าตัวตาย เล่นการ พนนั ติดเกม อนิ เทอร์เนต็ การเข้าถงึ สื่อลามกอนาจารหรือสอ่ื ทแ่ี สดงความรุนแรง และการขับรถเร็ว เป็นต้น ปัญหาดังกล่าวมาเกิดจากการขาดคุณธรรม จริยธรรม ซ่ึงไม่มีใครปฏิเสธว่าคุณธรรม จรยิ ธรรม คือสิ่งที่ทำให้เกิดภูมิคุ้มกันในตัวของคนทุกคนเป็นวัคซีนท่ีจะเพิ่มความเข้มแข็งให้กับคน โดยสร้างคนให้มีคุณภาพ การสอนคุณธรรม จริยธรรม เป็นส่ิงท่ีถูกละเลยมานานโรงเรียนจึงเป็น สว่ นสำคญั ท่ีจะทำให้นักเรียนนำเง่ือนไขดา้ นคุณธรรม จริยธรรมไปปฏิบัติ ซ่ึงแนวทางในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมให้แกน่ ักเรยี น เป็นสง่ิ ที่ผ้บู ริหาร ครู ผู้ปกครอง นักเรียนและผูม้ สี ่วนร่วมเกย่ี วขอ้ ง ตอ้ งร่วมมือร่วมใจช่วยกันดำเนินการพัฒนาท้ังระบบในโรงเรยี นต้องอาศยั เทคนิคและวิธีการจดั การ เรียนการสอน ที่จะให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ กระตือรือร้นในกิจกรรมการดำเนินงาน การเน้นเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม และนำลงสู่การปฏิบัติ โดยในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรา ๖ กำหนดความมุ่งหมายในการจดั การศึกษาให้เปน็ ไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษยส์ มบรู ณ์ทั้งรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต๕ สามารถอยู่ ๔ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, คู่มือการประเมิน องค์กร ชุมชน อำเภอ และจังหวัด คุณธรรม ภายใต้แผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑, (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๔), (กรุงเทพมหานคร : กรมการศาสนา, ๒๕๕๙), หนา้ ๑ ๕ พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ พ.ศ.๒๕๔๕, มาตรา ๖, หน้าท่ี ๕.

๓ ร่วมกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมกี าร สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในสถานศึกษาต่างๆ ว่าการจะประสบความสำเร็จ ในการสร้างคนให้มีความรู้ คู่คุณธรรมจะต้องอาศยั ความจริงจังในการประพฤตปิ ฏิบตั กิ ารร่วมมือร่วม แรงกนั ทุกฝา่ ยใน สถานศกึ ษา สถาบันครอบครวั หรือองค์กรตา่ งๆ และสังคมหรือสังคมโดยส่วนรวม ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) และโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม จ.พิจิตร ดำเนนิ การจดั ทำโครงการพัฒนาโรงเรียนตน้ แบบด้านคณุ ธรรม จริยธรรม หรอื “บางมลู นาก โมเดล”๖ เพื่อปลูกจิตสำนึกให้แก่บุคลากรครูและบุคลากรทางการศึกษา พร้อมทั้งปลูกฝังจิตสำนึกด้าน จริยธรรมให้แก่เยาวชน เนื่องจากก่อนหน้าน้ี โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคมมีความไม่พร้อมทาง การศึกษาหลายอย่าง นักเรียนเกเร มีปัญหาทางสังคมมากมาย ต่อมาทำให้ผู้ตรวจการแผ่นดิน และภาคีเครือข่าย ได้เข้าไปดำเนินการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักเรียนและบุคลากรครู เพื่อเปน็ โรงเรยี นต้นแบบ โดยมีการเข้าไปฝึกอบรมครู ผปู้ กครอง แม่ค้า และผู้ที่เก่ียวขอ้ ง เพ่ือสร้าง จิตสำนึกคุณธรรมจริยธรรมสอดคล้องกับ อัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ ซ่ือสัตย์ รบั ผิดชอบ พอเพียง ทำให้ผลการเรียนนักเรียนดีข้ึนปัจจุบันโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม ได้พัฒนาเป็น แหล่งเรยี นรู้ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีโรงเรียนและหน่วยงานต่างๆ เข้าไปศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสำนกั งาน โครงการ กองทุนการศกึ ษาและมูลนิธยิ ุวสถิรคณุ ได้นำ “บางมูลนาก โมเดล” ไปประยกุ ต์ใช้พัฒนา โรงเรียนในโครงการมากกว่า ๑๐๐ โรงเรียน และ ได้รับการยกย่องจากกรมการศาสนา กระทรวง วัฒนธรรม เป็น ๑ ใน ๖ สถานศึกษาต้นแบบส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ในการประชุมเสวนาการ ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๙ ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ เพื่อแลกเปลยี่ นเรียนรขู้ องสถานศึกษาคุณธรรมท่ีมีหลากหลายรูปแบบ เป็นท่ีน่ายินดีที่มี ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ นักเรียน นักศกึ ษา เข้าร่วมกว่า ๘๐ แห่งทั่วประเทศ พิจิตรจงั หวัดคณุ ธรรมเปนแนวทางทเี่ รมิ่ การดำเนนิ การจาก ทานผวู าราชการจังหวัดไดทำ งานรวมกับเครือขายภาครัฐ ภาคเอกชน ส่ือ และประชาสังคม ท้ังหมด ๑๓ เครือขาย ซึ่งมีการ ขับเคล่ือนจาก “ปญหาท่ีอยากแก ความดีท่ีอยากทำ” ตามแนวทางของศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทย เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ที่ไดพัฒนาโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคมจนเปนตนแบบ โรงเรียนคุณธรรม โดยมีหลักคุณธรรม หรืออัตลักษณรวมของจังหวัดพิจิตร คือ มีน้ำใจ รับผิดชอบ จิตอาสา เปนพ้ืนฐานรวมกัน๗ กิจกรรมท่ีเกดิ ขึน้ จึงเปนการคดิ วางแผน และทำกันเองในแตละเครือ ขาย จาก “ปญหาทอี่ ยากแก ความดีที่อยากทำ” แลวมารอยเรียง ช่ืนชม แชร เชียร ชวย เช่อื มทุกๆ ๒๕๖๐. ๖ เอกสารวิชาการ บางมูลนากโมเดล, การพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมจังหวัดพิจิตร, มิถุนายน พ.ศ. ๗ พยนต์ อัศวพิชยนต์ และคณะ, พจิ ติ รจังหวัดคุณธรรม, พมิ พท์ ่ี วลั ภาการพมิ พ์, พ.ศ.๒๕๖๑.

๔ เครือขาย ใหกวางขวางออกไป เพื่อเปนการแลกเปลี่ยน และเรียนรูในการพัฒนารวมกนั เคารพกัน ใหเกยี รตกิ ัน เริ่มตนทต่ี นเอง และทำทนั ที ซ่ึงผมคดิ วาแนวทางนค้ี อื แนวทาง ทจ่ี ะทำใหเกดิ การพฒั นา ในสงั คมไดอยางย่ังยืน การศึกษาจงั หวัดคณุ ธรรมตน้ แบบ เพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ เชิงคณุ ธรรมให้เหน็ ประจักษจ์ ริง ว่านำมาพัฒนาระบบการบริหารจัดการทีม่ ีประสิทธิภาพเยี่ยม อันเป็นยอมรับได้ของตนเองและสงั คม ซึ่งตอ่ ไประบบวิวัฒนาการของมนุษยม์ ีความเปลย่ี นแปลงไปตามกลไกของสภาพแวดล้อมเชงิ เศรษฐกิจ และสงั คมอยา่ งแนน่ อน จึงต้องมีการพฒั นาดา้ นความรู้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมนำการบริหารซึ่งเปน็ ทโี่ หย หาตอ้ งการของสงั คมยคุ ปจั จุบันวา่ มีรูปแบบ หลักการ วธิ ีการ เทคนิค อนั เป็นต้นแบบ เป็นท่ียอมรับ วา่ ดี น่าช่นื ชม ของกลุ่มคน ชุมชน สังคมระดับจังหวัด ซงึ่ ต้องมกี ารเฟน้ หา บุคคล สังคม นำมากรอง คัดแยก วิเคราะห์เอาหลักการ แนวคิด ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลทางการพัฒนาด้านการบริหารจัดการ ดว้ ยคุณธรรมท่ีมีทรงประสิทธิภาพความสำเร็จในส่วนนั้น ๆ จนเปน็ ที่สนใจและยอมรับ เพื่อนำเอา องคค์ วามรู้นจ้ี ะมผี ลต่อการพัฒนาสงั คมประเทศชาตสิ บื ตอ่ ไป จากการศึกษาสภาพการดำเนินงานการบริหารจัดการจังหวดั คณุ ธรรม ไดแ้ ก่วัดท่าหลวง โรงเรียนบางมลู นากภูมิวิทยาคม โรงพยาบาลบางมูลนาก ดังกล่าวผู้ศกึ ษาจึงมีความสนใจท่จี ะศึกษา เรื่อง รูปแบบการบริหารจัดการจงั หวดั คณุ ธรรมต้นแบบของคณะสงฆจ์ งั หวดั พจิ ิตร เพอื่ ท่ีจะไดท้ ราบ ถึงการดำเนินงานและผลท่ีได้ไปใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานด้านคุณธรรม จริยธรรมของ หน่วยงานอ่ืนๆ สามารถนำไปวางแผนพัฒนาคุณภาพด้านคุณธรรม จริยธรรมเครือข่าย บ้านวัด ชุมชน องค์การบรหิ ารส่วนตำบล เพ่ือพฒั นาอย่างต่อเนื่องต่อไป ๑.๒ คำถามการวจิ ัย ๑.๒.๑ สภาพท่ัวไปในการบริหารจัดการจงั หวัดคุณธรรมต้นแบบ ของจังหวัดพิจิตรเป็น อย่างไร ๑.๒.๒ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบ ของจังหวัดพิจิตรมี อะไรบ้าง ๑.๒.๓ รูปแบบการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบของคณะสงฆ์จังหวัดพิจิตร ควร เปน็ อย่างไร

๕ ๑.๓ วตั ถุประสงค์ของการวิจัย ๑.๓.๑ เพ่ือศึกษาวิเคราะหส์ ภาพท่ัวไปในการบรหิ ารจดั การจงั หวัดคณุ ธรรมต้นแบบของ จังหวัดพจิ ิตร ๑.๓.๒ เพอ่ื ศึกษาปัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ การบริหารจดั การจังหวดั คุณธรรมตน้ แบบของจังหวัด พจิ ิตร ๑.๓.๓ เพอื่ นำเสนอรปู แบบการบริหารจัดการจงั หวัดคณุ ธรรมต้นแบบของจังหวดั พิจติ ร ๑.๔ ขอบเขตการวจิ ัย ๑.๔.๑ ขอบเขตดา้ นเน้อื หา การวิจัยเรื่องนี้ ผู้วิจัยออกแบบกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการศึกษาวิเคราะห์ เอกสารปฐมภูมิ ทุติยภมู แิ ละเอกสารอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง (Content Analysis Description) และแบบ สมั ภาษณผ์ ูท้ รงคณุ วฒุ ิ (In-Depth Interview) “รูปแบบการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบของจังหวัดพิจิตร” ผู้วิจัยกำหนด การวจิ ยั ในคร้ังนเี้ น้ือหาทใี่ ช้ ไดแ้ ก่ ๑) สภาพสภาพทว่ั ไปในการบริหารจดั การจงั หวดั คุณธรรมต้นแบบของจังหวดั พิจิตร ด้วย SWOT Analysis S = Strength : จุดแข็ง, W = Weakness : จุดอ่อน, O = Opportunity : โอกาส T = Threat : อุปสรรค ๒) ปจั จยั ทส่ี ่งผลต่อการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมตน้ แบบ ของจังหวดั พิจิตรซงึ่ มี ๔ องค์ประกอบ คือ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต และเง่ือนไขความสำเร็จ ด้วยกระบวนการ ตรวจสอบด้วยทฤษฎีการบริหาร PDCA P = Plan : วางแผน, D = Do : ปฏิบัติตามแผน, C = Check : ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิตามแผน, A = Act : ปรบั ปรุงแก้ไข ๑.๔.๒ ขอบเขตดา้ นประชากร และผูใ้ ห้ขอ้ มลู สำคัญ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้แบ่งประชากรและผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ได้แก่ พระสังฆาธิการในจังหวัดพิจิตร, เจ้าหน้าท่ีด้านงานประกันคุณภาพของโรงพยาบาล, และเจา้ หน้าท่ีด้านงานประกันคุณภาพของโรงเรียนในจังหวัดพิจติ ร

๖ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ผู้วิจัยทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth Interview) ผใู้ หข้ ้อมูลสำคัญจำนวน ๓๐ รปู /คน ประกอบดว้ ย ๑. กลุ ม่ พระสังฆาธิการระดับเจา้ คณะจังหวัด เจ้าคณะอำเภอ จำนวน ๑๐ รูป ๒. กลุ่มผโรงพยาบาล จำนวน ๑๐ ท่าน ๒. กลมุ่ โรงเรียน จำนวน ๑๐ ทา่ น ๑.๔.๓ ขอบเขตดา้ นพืน้ ท่ี ในการวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตของการศึกษาด้านพ้ืนท่ีไว้ คือ วัดท่าหลวง โรงเรียนบางมูลนากภมู ิวิทยาคม และโรงพยาบาลบางมูลนาก ๑.๔.๔ ขอบเขตด้านระยะเวลา การวิจัยคร้ังน้ีใช้เวลาต้ังแต่เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ รวม ๑๑ เดือน ๑.๕ นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย รูปแบบ หมายถึง สิ่งที่สร้าง หรือพัฒนาข้ึน แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบสำคัญๆ ของ เรอ่ื งใหเ้ ขา้ ใจง่ายข้นึ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดา เนนิ งานตอ่ ไป การบริหารจัดการ หมายถึงกิจกรรมของการบริหารท่ีสำคัญ ๔ อย่าง คือ การวางแผน การจัดองค์การ การส่งั การ และการควบคุม จังหวัดคุณธรรม หมายถึง จังหวัดท่ีมีกระบวนการสนับสนุนใหทุกภาคสวนขับเคล่ือน คุณธรรม เชนเดียวกันกับการขับเคล่ือนอำเภอคุณธรรมแตของจังหวัดจะมีการขับเคลื่อนลักษณะ ภาพรวมของทุกอำเภอและทุกภาคสวนในจงั หวดั พจิ ติ ร การขับเคล่อื นจงั หวดั องค์กรคุณธรรม หมายถึง องค์กรหรือหน่วยงานที่ผู้นำและสมาชิกขององค์กรแสดง เจตจำนงและมุ่งม่ันดำเนินการส่งเสริมคุณธรรมในองค์กร โดยมีการบริหารจัดการองค์กรตามหลัก คุณธรรม ธรรมาภบิ าล และมีสว่ นร่วมรณรงคส์ ่งเสริมคณุ ธรรมใหก้ ับประชาชน ชุมชน หรือเครือข่าย ขององค์กรคุณธรรม องค์กรต้นแบบ หมายถึง มกี ระบวนการพัฒนาบุคคลากรในองคก์ รทุกภาคส่วนไปพร้อม ๆ กัน เน้นด้านคณุ ธรรมเชิงประจักษไ์ ด้รับผลจริงดว้ ยคณุ ธรรม จนเกิดผลสัมฤทธต์ิ ง้ั แตร่ ะดบั โรงเรยี น โรงพยาบาลและวดั

๗ หลักการบรหิ ารจัดการองคก์ ร PDCA หมายถึง กระบวนการบริหารจดั การยุคคลาสสิก ท่ยี ังคงถูกนำมาใช้กับการบริหารองค์กรในยุคปจั จุบนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ซ่ึงหลกั การนม้ี ีการใสใ่ จ ทุกรายละเอียดในองค์กร ตลอดจนทุกกระบวนการทำงานต้ังแต่ต้นจนจบ รวมถึงการบริหาร ทรพั ยากรบุคคลอย่างมีคณุ ภาพเพ่ือให้เกิดความราบรนื่ ในการทำงาน ๑.๖ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ ๑.๗.๑ ไดท้ ราบถึงสภาพท่ัวไปในการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบ ของจังหวัด พิจิตร ๑.๗.๒ ได้ทราบปจั จัยท่ีส่งผลตอ่ การบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบ ของจังหวัด พจิ ิตร ๑.๗.๓ ได้รูปแบบการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมตน้ แบบของจังหวัดพิจติ ร ๑.๗.๔ ได้นำองค์ความท่ีได้รับจากงานวิจยั การบรหิ ารจัดการจงั หวดั คุณธรรมต้นแบบของ จงั หวัดพิจติ รไปในเป็นแบบใหจ้ ังหวัดอนื่ ๆ

บทที่ ๒ แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง บทนี้ผ้วู ิจัยไดท้ ำการศกึ ษา “รูปแบบการบริหารจัดการจงั หวัดคณุ ธรรมต้นแบบจังหวัด พิจิตร” โดยค้นคว้าแนวคิดทฤษฎีด้านการบริหารจัดการท้ังในพระไตรปิฎกและแนวคิดทฤษฎีการ บริหารจัดการโลกยุคปัจจบุ ันที่เก่ียวขอ้ งกับการวิจยั เพ่ือเป็นแนวทางการศกึ ษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ องค์ความรู้ นำไปเป็นเคร่ืองมือค้นหาองค์ความรู้ รูปแบบท่ีจะนำมาสร้างองคค์ วามรู้ใหม่ คอื ๒.๑ แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับรปู แบบ ๒.๒ แนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจดั การ ๒.๓ บรบิ ทพนื้ ที่ทำการวิจัย ๒.๔ งานวิจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ๒.๕ กรอบแนวคดิ การวิจัย ๒.๑ แนวคดิ ทฤษฎเี ก่ยี วกับรูปแบบ พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถานพ.ศ. ๒๕๔๒ให้ความหมายของ “รูปแบบ”ไวว้ า่ รูปท่ี กำหนดข้ึนเปน็ หลักหรอื เป็นแนวซง่ึ เป็นท่ียอมรับ เช่น รูปแบบรอ้ ยกรอง; (ศลิ ปะ) สิง่ ท่ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ เป็นเชน่ นั้นๆ อย่างรูปคน รูปบา้ น รูปปลา รูปใบไม้ เชน่ รูปแบบผู้หญงิ รูปแบบเป็ด รูปแบบวดั ๑ พจนานุกรมการศึกษา(Dictionary of Education) ซึ่ง คาร์เตอร์ วี. กู๊ด (Carter V. Good) เป็นบรรณาธิการให้ความหมายของรูปแบบหมายถึงแบบอย่างของส่ิงใดส่ิงหนึ่งเพื่อเป็น แนวทางในการสร้างหรือทำซ้ำเป็นตัวอย่างเพ่ือการเลียนแบบเป็นแผนภูมิหรือรูปสามมิติซึ่งเป็น ตัวแทนของสิ่งใดส่งิ หนึ่งหรอื หลกั การหรือแนวคิดเป็นชุดของปจั จยั หรือตัวแปรที่มคี วามสัมพันธ์ซงึ่ กัน ๑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร : นานมบี ุค๊ ส์พับลิเคช่นั ส,์ ๒๕๔๖), หน้า ๙๖๕.

๙ และกันซ่ึงรวมกันเป็นตัวประกอบและเป็นสัญลักษณ์ทางระบบสังคมตามความหมายดังกล่าวอาจ กลา่ วไดว้ า่ รูปแบบคือแบบจำลองของสิ่งท่เี ป็น๒ แบบจำลองหรือรูปแบบหมายถึงสิ่งที่แสดงโครงสร้างทางความคิดองค์ประกอบและ ความสัมพันธ์ขององคป์ ระกอบต่างๆทส่ี ำคัญของเรอื่ งทศ่ี ึกษา ซ่งึ รูปแบบสามารถจำแนกออกไดเ้ ปน็ ๕ รปู แบบ คือ ๑. รูปแบบคล้าย (Analogue models) คือ เป็นรูปแบบท่ีมีความสัมพันธ์กับระบบ กายภาพ มักเป็นรูปแบบท่ีใช้ในวิทยาศาสตร์กายภาพ เป็นรูปแบบที่นำไปใช้อุปมากับสิ่งอื่นได้ เช่น รูปแบบแบบจำลองระบบสุรยิ ะ กบั ระบบสุรยิ ะท่ีเกดิ ข้ึนจรงิ ธนาคารจำลอง กบั ระบบธนาคารที่ เปน็ จรงิ แบบจำลองการผลิต กับการผลิตจรงิ เป็นตน้ ๒. รูป แบ บที่ อธิบ ายความหมายห รือให้ความหมาย (Semantic models) คือ เป็นรูปแบบที่ใช้ภาษาในการบรรยายลักษณะของรูปแบบ รูปแบบชนิดนี้จะใช้วิธีการอุปมาในการ พจิ ารณาด้วยภาษามากกว่าทีจ่ ะใชว้ ธิ อี ปุ มาในการพิจารณาดว้ ยโครงสรา้ งกายภาพ ๓. รูปแบบท่ีมลี ักษณะเป็นแผนภูมิ แบบแผน หรอื โครงการ (Schematic modes) ๔. รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical models) คือ เป็นรูปแบบที่กำหนด ความสัมพนั ธ์ขององค์ประกอบในรูปสมการหรือฟงั กช์ ันทางคณติ ศาสตร์ ๕. รูปแบบเชิงเหตุผล (Causal models) คือ เป็นรปู แบบท่ีมีโครงสร้างเป็นสมการเชิง เส้น ท่ีประกอบดว้ ยตัวแปรสมั พนั ธก์ ันเป็นเหตุและผล มกี ารทดสอบสมมุติฐานผลของรปู แบบ๓ แบบจำลองหรือรูปแบบจะเป็นแบบจุลของอย่างง่ายหรือย่อส่วน (Simplified Form) ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ท่ีผู้เสนอได้ศึกษาและพัฒนาข้ึนมาเพื่อแสดงหรืออธิบายปรากฏการณ์ให้ เขา้ ใจง่ายขึ้นหรือในบางกรณอี าจจะใช้ประโยชนใ์ นการทำนายปรากฏการณท์ จี่ ะเกิดข้นึ ๔ รูปแบบเป็น ส่งิ ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพ่ือบรรยายคุณลักษณะที่สำคัญของปรากฏการณ์อย่างใดอยา่ งหนึ่งเพ่ือให้ งา่ ยต่อความทำความเขา้ ใจรูปแบบจงึ มิใช่การบรรยายหรอื อธบิ ายปรากฏการณ์อย่างละเอยี ดทุกแง่มมุ ๒ Carter V. Good, Dictionary of Education, (New York : McGraw-Hill Book Company, 1973), p. 370. ๓ พูลสุข หิงคานนท์, “การพัฒนารูปแบบการจัดองค์การของวิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุข”, วิทยานิพนธค์ รศุ าสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา, (บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๔๐), หนา้ ๕๐. ๔ สมาน อัศวภูมิ, “การพัฒนารปู แบบการบริหารการประถมศึกษาระดับจังหวัด, วทิ ยานิพนธ์ศึกษา ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าบริหารการศึกษา, (บัณฑติ วิทยาลยั : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ,๒๕๓๗),หน้า ๑๓.

๑๐ เพราะการกระทำเช่นน้ันจะทำให้รูปแบบนั้นด้อยลงไปส่วนการท่ีระบุว่ารูปแบบใดๆจะต้อง ประกอบด้วยรายละเอียดมากน้อยเพียงใดจึงเหมาะสมกับรูปแบบนั้นๆควรมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ไมไ่ ด้มีการกำหนดตายตวั ท้ังน้ีขนึ้ อยู่กับปรากฏการณแ์ ตล่ ะอย่างและวัตถุประสงคข์ องผู้สร้างรูปแบบ นน้ั ว่าตอ้ งการจะอธิบายปรากฏการณน์ น้ั อยา่ งไร๕ รูปแบบ เป็นนามธรรมของของจริงหรือภาพจำลองของสถานการณอ์ ย่างใดอย่างหน่ึงซ่ึง อาจจะมีตั้งแต่แบบจำลองอย่างง่ายไปจนถึงแบบจำลองที่มีความซับซ้อนมากๆมีท้ังแบบจำลองเชิง กายภาพ (Physical model) เช่นแบบจำลองอะตอมแบบจำลองเครอื่ งบนิ เปน็ ต้นและแบบจำลองเชิง คุณลักษณะ (Qualitative model) ที่ใช้อธิบายสภาพการณ์หรือปรากฏการณ์ด้วยภาษาหรือ สญั ลักษณ์ตา่ งๆ๖ คำจำกัดความของ “รปู แบบ” วา่ เป็นภาพจำลองอย่างงา่ ยหรือยอ่ ส่วนของปรากฏการณ์ ต่างๆ ทผ่ี ูเ้ สนอรูปแบบดงั กล่าวได้ศึกษาและพัฒนาข้ึนมาเพ่ือแสดงหรอื อธิบายปรากฏการณ์ให้เขา้ ใจ งา่ ยข้ึน และควรแสดงความสมั พันธ์ของตัวแปรหรือปัจจัยต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกันด้วย ตลอดจนอาจใช้ เปน็ แนวทางในการดำเนินการอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ต่อไป๗ หรือกล่าวอกี นยั หนึ่งแบบจำลองอย่างง่ายหรือ ยอ่ ส่วนของปรากฏการณ์ตา่ งๆ ท่ีผู้เสนอไดศ้ ึกษาและพัฒนาข้ึนเพื่อแสดงหรืออธิบายปรากฏการณใ์ ห้ เข้าใจง่ายขึ้นหรอื อาจใช้ประโยชนใ์ นการทำนายปรากฏการณ์ที่จะเกดิ ขึ้นตลอดจนอาจใช้เปน็ แนวทาง ในการดำเนนิ การอย่างใดอย่างหนงึ่ ตอ่ ไป๘ สรุปได้ว่ารูปแบบ หรือโครงสร้างที่พัฒนาขึ้นจากแนวคิดทฤษฎีที่ได้ศึกษามาของผู้สร้าง เองเพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบหรือตัวแปรต่างๆ โดยใช้ส่ือท่ีทำให้เข้าใจได้ง่าย และกระชับถูกต้องและสามารถตรวจสอบเปรียบเทียบกับปรากฏการณ์จริงได้ โดยใช้บุคคลและ ทรัพยากรอื่นๆ ที่มี ตลอดจนถงึ การรวบรวมและจดั สรรทรพั ยากรต่างๆ รวมท้งั กระบวนการออกแบบ และรักษาสภาพแวดลอ้ ม ซ่ึงร่วมกันกำหนดแนวทางในการใชท้ รัพยากรทง้ั หลายอย่างพลิกแพลงตาม ๕ Bardo, John W., and Hartman, John J, Urban Soclogoy : A Systematic Introduction, (U.S.A. : F.E.Peacock publishers,Inc, 1982), pp. 70-71. ๖ Tosi, Henry L. and Carroll, Stephen J., Management, 2nd edition, (New York: John Wiley & sons, 1982), p. 163. ๗ อุทุมพร จามรมาน, “โมเดล”, วารสารวชิ าการ ๑,๓, (มนี าคม ๒๕๔๑), หนา้ ๒๒-๒๖. ๘ กรรณิกา เจิมเทียนชัย, “การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์กรของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข”, วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, (บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๓๘), หนา้ ๕๑.

๑๑ สถานการณ์ เพอื่ ให้บรรลถุ งึ เปา้ หมายที่ผสู้ รา้ งกำหนดไว้และเปน็ ที่ยอมรับกันโดยท่ัวไปสามารถสรุปได้ ตามตารางที่ ๒.๑ ดงั ต่อไปน้ี ตารางที่ ๒.๑ แนวคดิ เก่ียวกับรูปแบบ แนวคดิ หลัก นกั วิชาการหรอื นักวิจัย รูปแบบ คือ แบบอย่างเพื่อการเลียนแบบ เป็น แผนภูมหิ รือรูปสามมิตซิ ่ึงเปน็ ตัวแทนของสง่ิ ใดสง่ิ Carter V. Good, หน่ึงหรอื หลักการหรือแนวคดิ (๑๙๗๓, p. ๓๗๐) รูปแบบคือส่ิงท่ีแสดงโครงสร้างทางความคิด องคป์ ระกอบและความสมั พันธข์ ององคป์ ระกอบ พลู สุข หิงคานนท์, ต่างๆทส่ี ำคญั ของเรื่องท่ศี กึ ษา (๒๕๔๐, หนา้ ๕๐) รูปแบบ คือ ย่อส่วนของปรากฏการณ์ต่างๆ ท่ีผู้เสนอได้ศกึ ษาและพฒั นาขึ้นมาเพ่ือแสดงหรือ สมาน อัศวภูมิ, อธิบายปรากฏการณใ์ ห้เข้าใจง่ายข้นึ (๒๕๓๗, หนา้ ๑๓) รูปแบบ คือ เป็นนามธรรมของของจริงหรือ ภาพจำลองของสถานการณ์อย่างใดอยา่ งหน่ึงซึ่ง Tosi and Carroll, อาจจะมีต้ังแต่แบบจำลองอย่างง่ายไปจนถึง (๑๙๘๒, p. ๑๖๓) แบบจำลองที่มีความซับซ้อนมากๆ รูปแบบ คือ เป็นภาพจำลองอย่างง่ายหรือ อุทุมพร จามรมาน, ยอ่ ส่วนของปรากฏการณ์ต่างๆ ที่ผ้เู สนอรูปแบบ (๒๕๔๑, หน้า ๒๒-๒๖) ดงั กล่าวได้ศึกษาและพฒั นาขนึ้ มาเพอื่ แสดงหรือ อธิบายปรากฏการณใ์ ห้เขา้ ใจง่ายขน้ึ กรรณิกา เจิมเทียนชัย, รูปแบบ คือ แบบจำลองอย่างง่ายหรือย่อสว่ น (๒๕๓๘, หนา้ ๕๑) ของปรากฏการณ์ต่างๆ ท่ีพัฒนาขึ้นเพื่อแสดง หรืออธิบายปรากฏการณ์ให้เข้าใจง่ายข้ึนหรือ อาจใช้ประโยชน์ในการทำนายปรากฏการณท์ ีจ่ ะ เกิดข้ึน

๑๒ ๒.๒ แนวคดิ ทฤษฎีเก่ยี วกับการบริหารจดั การ ๒.๒.๑ ความหมายของการบรหิ ารจดั การ จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยเก่ียวขอ้ งกับความหมายของการบริหารจัดการของ นกั วิชาการหลากหลายทา่ น ซง่ึ สามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี การบริหาร หมายถึง การทำงานให้สำเร็จโดยอาศัยผู้อ่ืน เม่ือว่าตามคำนิยามนี้ การบริหารในพระพทุ ธศาสนาเริ่มมีข้ึนเป็นรูปธรรม สองเดอื นนับจากวนั ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้น่ันคือ วนั อาสาฬหบชู า เมื่อพระพทุ ธเจ้าทรงแสดงธรรมเทศนาเป็นครั้งแรกแกพ่ ระปัญจวัคคยี ์ ซงึ่ ทำให้เกิด พระสังฆรัตนะข้ึน เมื่อมีพระสังฆรตั นะเป็นสมาชกิ ใหม่เกดิ ขนึ้ ในพระพุทธศาสนาอยา่ งน้ี พระพทุ ธเจ้า ก็ต้องบริหารคณะสงฆ์๙ การปกครอง การดูแลรักษาหมู่คณะ และการดำเนินงานหรือการจัดการ กิจกรรมต่างๆ ของหมู่คณะหรือองค์การต่างๆ ได้สำเร็จลุล่วงตามนโยบาย และวัตถุประสงค์ของ องค์การนั้นๆ ดว้ ยดมี ีประสิทธิภาพ๑๐ การบริหารจัดการท่ีเป็นคมู่ ือในการบริหารจัดการภายใต้ความ ซับซ้อนของระบบข้อมูลข่าวสาร ได้ชี้ประเด็นสำคัญในการบริหารจัดการให้ประสบความสำเร็จไว้ ๗ ด้าน ได้แก่ (๑) การใช้เทคนิควิธีท่ีมีขอบเขตครอบคลุมวัตถุประสงค์ มีกลยุทธ์และมีคุณภาพ (๒) การบริหารจัดการในลักษณะเป็นกระบวนการแกป้ ัญหา (๓) การมคี ณะผู้บริหารท่มี ีศักยภาพใน การตัดสินใจสงู (๔) การมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการของผู้บริหารทุกคน (๕) การนำผลจากการ ตดั สินใจมาใช้ประโยชนไ์ ด้อย่างรวดเร็ว (๖) การมรี ะบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการทเ่ี หมาะสม และ (๗) การบริหารจดั การใหค้ วามเหมาะสมกบั แต่ละสถานการณ์๑๑ ศกั ยภาพทางการบรหิ ารจัดการ ซ่งึ แบง่ ออกเป็น ๒ ด้าน ได้แก่ ๑. ศกั ยภาพของระบบสนับสนุนการบริหารจัดการ และศักยภาพในการบริหารจัดการ ของผู้บริหาร โดยที่ศักยภาพของระบบสนับสนุนการบริหารจัดการประเมินได้จากความเข้มแขง็ ของ ๘ องค์ประกอบทางการบริหาร ซ่ึงได้แก่ (๑) การวางแผน (๒) การฝึกอบรม (๓) การนิเทศงาน (๔) การบริหารงานบุคคล (๕) ความพร้อมของชุมชน (๖) การบริหารวัสดุครุภัณฑ์ (๗) การบริหาร ระบบสารสนเทศ และ (๘) การเตรียมความพร้อมของชุมชน ๙ พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตโฺ ต), พุทธวธิ ีบรหิ าร, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลง กรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๙), หน้า ๓. ๑๐ พระราชญาณวิสฐิ (เสริมชยั ชยมงฺคโล), การบรหิ ารวดั , (นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ์, ๒๕๔๘), หนา้ ๒๖. ๑๑ ธงชัย วงศ์ชัยสุวรรณ, วิทยาการบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐), หนา้ ๒๔.

๑๓ ๒. ศกั ยภาพของผู้บรหิ าร ประเมินไดจ้ ากความสามารถของผูบ้ ริหารใน ๖ ดา้ น ซ่ึงไดแ้ ก่ (๑) ความสามารถในการจัดหาและระดมทรพั ยากรเข้าสกู่ ารบริหารจัดการ (๒) ความสามารถในการ ควบคมุ พฤติกรรมของสมาชิกให้อยู่ในกรอบ (๓) ความสามารถในการจัดสรร และแบ่งปันทรัพยากร (๔) ความสามารถในการบริหารจัดการขวัญ และกำลังใจ (๕) ความสามารถในการบริหารจัดการที่ ตอบสนองความต้องการของประชาชน และ (๖) ความสามารถในการบริหารจดั การพฒั นาที่เบด็ เสรจ็ ครบวงจร๑๒ การเสริมพลัง/อำนาจในการตัดสินใจ (Empowerment) การรื้อปรับระบบ (Reengineering) การบริหารงานเชิงคุณภาพเบ็ดเสร็จ/โดยรวม (Total Quality Management) และการปรับลดขนาดองค์การ (Downsizing) โดยผู้บริหารจะต้องทำหน้าที่การจัดองค์การ (Organizing) การจัดคน เข้าท ำงาน (Staffing) การวางแผน (Planning) และการควบคุ ม (Controlling)๑๓ กระบวนการอย่างหนึ่งท่ีมีคนตงั้ แต่สองคนข้ึนไป ร่วมกระทำกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงให้ บรรลุเป้าหมายที่กำหนด การบริหารเป็นกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนในส่วนต่างๆ ของระบบสังคม เช่น มีการ บริหารในกิจกรรมการเกษตร การสาธารณสุข การศึกษา การทหาร การพาณิชย์ การยุติภาพ การอุตสาหกรรม ฯลฯ นอกจากน้ีการบริหารก็เป็นกระบวนการอย่างหน่ึงด้วย ซึ่งหมายความว่า มีข้ันตอนต่างๆ ในการบริหารเรียกว่า “กระบวนการการบริหาร” อันท่ีจริงกระบวนการบริหารเป็น แนวความคิดที่ได้มีการพัฒนาต้ังแต่อดีตซ่ึงรู้จักกันในอักษรย่อว่า “POSDCORB” อักษรยอ่ ดังกล่าว สามารถขยายความได้ ดังน้ี (๑) การวางแผน (Planning) (๒) การจัดการองค์การ (Organizing) (๓) การจัดการบุคคล (Staffing) (๔ ) การอำนวยการ (Directing) (๕ ) การป ระสานงาน (Coordinating) (๖) การรายงาน (Reporting) และ (๗) การงบประมาณ (Budgeting) ในปัจจุบัน เน่ืองจากมีการพัฒนาความรู้ทางพฤติกรรมศาสตร์กระบวนการบริหาร จึงได้เปลี่ยนจาก “POSDCORB” มาเป็น “POLE” ซึ่งก็คือ (๑) การวางแผน (Planning) (๒) การจัดการองค์การ (Organizing) (๓) การเป็นผู้นำ (Leading) และ(๔) การประเมินผล (Evaluating) นักวิชาการ ยงั ได้ ให้ความหมายของการบรหิ ารและกระบวนการของการบรหิ าร การบริหารเป็นคำกลางๆ ซ่ึงอาจใชก้ ับ การบริหารทั้งในภาครฐั และภาคเอกชน การบรหิ ารภาครัฐนิยมเรียกกนั ว่า “การบริหารรัฐกจิ ” ส่วน การบริหารภาคเอกชนเรียกกันวา่ “การบริหารธุรกิจ” ดังนน้ั การบรหิ ารรัฐกจิ ก็คือ การบริหารภาครฐั ซ่ึงหมายถึง การบริหารซึ่งมีสาระ ดังน้ี ๑๒ พรี สิทธ์ิ คำนวณศิลป์ และศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ, การพัฒนาศักยภาพการบรหิ ารจัดการองค์การ บรหิ ารสว่ นตำบลในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ, (ขอนแกน่ : โรงพิมพ์พระธรรมขนั ต์, ๒๕๔๖), หนา้ ๖๑. ๑๓ จุฑา เทยี นไทย, การจดั การมมุ มองนกั บริหาร, (กรงุ เทพมหานคร : แมคกรอฮลิ , ๒๕๔๘), หนา้ ๔.

๑๔ ๑. ครอบคลมุ ถงึ กจิ กรรมของฝา่ ยบริหารในภาครัฐ ๒. หมายรวมถึงการกำหนดนโยบาย และการนำนโยบายไปปฏบิ ัตขิ องหนว่ ยงานภาครัฐ ๓. ครอบคลุมถึงปัญหาเกี่ยวกับการพฤติกรรมของคน และความร่วมมือของคนใน กจิ กรรมใดกิจกรรมหนึ่งของภาครฐั ซึ่งการบริหารรัฐกิจ หมายถึง กิจกรรม นอกจากนี้การบริหารรัฐ กิจในทางการศึกษายังมีอีกคำหนึ่งที่พบเห็นกันเสมอ คือ คำว่า “รัฐประศาสนศาสตร์” ซ่ึงมีความ หมายถึงวิชาที่เกี่ยวกับการบริหารรัฐกิจ รัฐประศาสนศาสตร์จึงมีความหมายถึงลักษณะวิชา (Discipline) นิยมเขียนว่า “Public Administration”๑๔ การเสริมสร้างสงั คมไทยไปสู่สงั คมทป่ี ลอด จากการละเมดิ สทิ ธิมนุษยชน และศักดิศ์ รีความเป็นมนษุ ย์ ตลอดจนเปน็ สังคมท่ีวฒั นธรรมและวถิ ชี วี ติ สิทธิมนุษยชน และสุจรติ ชนแล้วน้นั สง่ิ สำคัญอกี ประการหนง่ึ คือ กระบวนการในการไปถึงเปา้ หมาย ซ่งึ ต้องอาศัยการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักและความสำนึกในการเข้ามามี สว่ นร่วมในการพัฒนา และการยกระดบั สงั คมไทยของประชาชนและภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง ซ่งึ ตอ้ งมกี าร ทุ่มเทท้ังแรงกายและแรงใจอยา่ งจรงิ จังและตอ่ เนื่อง แมจ้ ะมีข้อจำกัดในดา้ นต่างๆ เช่น งบประมาณ บุคลากรแตห่ ากว่าเราไดม้ องข้ามหรือกา้ วผ่าน และมีความเช่ือวา่ สง่ิ ดงี ามท่ีไดก้ ระทำต่อสังคมไทยน้ัน จะนำมาซ่ึงการร่วมแรงร่วมใจของทุกๆ คนในสังคมไทยก็จะเป็นแรงบันดาลใจ และกระบวนทัศน์ที่ ปราศจากส่ิงใดมาฉุดร้งั ในอุดมการณ์ในการสรา้ งสรรค์สิ่งดีงามให้เกิดขึ้นในสังคม๑๕ กระบวนการที่ ผู้จัดการใช้ศิลปะและกลยุทธ์ต่างๆ ดำเนินกิจกรรมตามขั้นตอน โดยอาศัยความร่วมแรง ร่วมใจของ สมาชิกในองคก์ าร โดยตระหนักถงึ ความสามารถ ความถนัดและความมุง่ หวงั ด้านความเจริญก้าวหน้า ในการปฏิบัติงานของสมาชิกในองค์การควบคไู่ ปด้วย องคก์ ารจะสัมฤทธ์ผิ ลตามเป้าหมายที่กำหนด๑๖ การดำเนินงานตามลำดับข้ันประกอบด้วยการวางแผน การจัดองค์การ การอำนวยการ และการ ควบคุม เพ่ือให้บรรลุตามวตั ถุประสงค์โดยอาศัยคนและทรัพยากรอ่ืน๑๗ ภาระหน้าที่ของบุคคลใดๆ ท่ีปฏิบัตติ นเป็นผู้บรหิ ารทจ่ี ะตอ้ งเข้ามาทำหน้าทจี่ ดั ระเบยี บ และดำรงไวซ้ ่ึงสภาพภายใน (ทงั้ ท่เี ป็นคน ๑๔ อุทัย เลาหวิเชียร, รัฐประศาสนศาสตร์ : ลักษณะวิชาและมิติต่างๆ, (สำนักพิมพ์เสมาธรรม, ม.ป.ท.), หน้า ๑๔. ๑๕ สทุ ิน นพเกตุ, สิทธมิ นุษยชนศกึ ษา ยุทธศาสตร์สู่การสร้างวฒั นธรรม วิถีชวี ิตสิทธิมนุษยชนและ สุจริตชน, (กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ, ๒๕๔๙), หน้า ๕๑. ๑๖ อานุภาพ อิทธิบันลือ, ป้ันดาวใหเ้ ปน็ ดาวร่งุ , (กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๑), หนา้ ๗. ๑๗ ธนจรส พูนสิทธ์ิ, การจัดการองค์การและการบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : สหธรรมิก, ๒๕๔๑), หน้า ๒๐.

๑๕ วัสดุ เงินทุน ฯลฯ) ของกลุ่มหรือหนว่ ยงาน เพื่อให้กลมุ่ ดงั กล่าวสามารถทำงานจนบรรลุวตั ถุประสงค์ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ๑๘ การบริหารเป็นเรอ่ื งของการนำเอากฎหมายและนโยบายต่างๆไปปฏิบัติใหเ้ กิดผลซึ่งเป็น หน้าทขี่ องข้าราชการที่จะทำงานด้วยความเต็มใจด้วยความเที่ยงธรรมและอย่างมีประสิทธิภาพตาม หลักเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้๑๙ ศาสตร์ที่ต้องใช้ศิลป์และเทคนิคอย่างสูงเพ่ือการวินิจฉัยตัดสินใจใน กระบวนการวางแผน และการควบคุมการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพต่องานน้ัน๒๐ การจัดการ หรือการควบคุมกิจการต่างๆ ของรัฐ เช่น การบริหารการเงินของมูลนิธิ การบริหารกิจการภาษี การบริหารกิจการแพทย์ การบริหารท่ีดินรกร้างวา่ งเปล่า การบริหารการกอ่ สร้าง การบรหิ ารกิจการ อุตสาหกรรม และอืน่ ๆ ท่ีเปน็ งานที่เรียกกนั ในปัจจุบันวา่ รฐั ประศาสนศาสตร์๒๑ การกำหนดแนวทาง หรือนโยบายการส่ังการการอำนวยการการสนับสนนุ และการตรวจสอบใหผ้ ู้ปฏิบตั ิสามารถดำเนนิ งาน ให้ไดต้ ามเปา้ หมายที่ตอ้ งการ๒๒ กระบวนการทางสังคมซ่ึงพิจารณาได้เป็น ๓ ทาง คือ๒๓ ๑. ทางโครงสร้าง เป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับบัญชา ตามลำดบั ขัน้ ตอนของสายบังคับบญั ชา ๒. ทางหน้าที่ เป็นข้ันตอนของหน่วยงานท่ีระบุหน้าท่ี บทบาท ความรบั ผิดชอบ และ เครือ่ งอำนวยความสะดวกต่างๆ เพื่อใหส้ ำเรจ็ ตามเป้าหมาย ๓. ทางการปฏิบัติ เปน็ กระบวนการบริหารดำเนนิ การในสถานการณ์ท่บี ุคคลตอ่ บคุ คล กำลังมปี ฏสิ ัมพนั ธห์ รอื รว่ มทำปฏิกริ ยิ าเกีย่ วข้องซ่ึงกันและกนั ๑๘ ประยุทธ์ เจริญสวัสดิ์, การบริหารงานบุคคล, (กรุงเทพมหานคร : กรมพลศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ, ๒๕๔๐), หน้า ๓. ๑๙ พิทยาบวรวัฒนา, การบรหิ ารเชิงบูรณาการ, (นนทบุรี : สานักงานข้าราชการพลเรือน, ๒๕๔๖), หน้า๒. ๒๐ ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, การบริหารโรงเรียนประถมศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย รามคำแหง, ๒๕๓๗), หนา้ ๙. ๒๑ วบิ ูลย์ โตวณะบุตร, หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา, (กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลยั ราม คำ แหง, ๒๕๔๒), หน้า ๑. ๒๒ มัลลิกาต้นสอน, การจดั การยคุ ใหม่, (กรงุ เทพมหานคร : เอก็ ซเปอรเ์ น็ทจำกัด, ๒๕๔๔), หน้า๑๐. ๒๓ วชั รี บูรณสิงห์, การบรหิ ารหลกั สูตร, พิมพค์ รงั้ ที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๓), หน้า ๙.

๑๖ การปกครอง รักษาดูแล และการดำเนินอาศยั ปจั จัยตา่ งๆ อันได้แก่ คน เงนิ วัตถุส่ิงของที่ เป็นอปุ กรณ์ในการปฏิบัติงาน ส่วนผู้บริหาร คือ การที่ทำใหค้ นตั้งแต่ ๒ คนข้ึนไป มาร่วมกันทำงาน และให้งานสำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ และเนื่องจากผู้บริหารเป็นท่ีเพ่งมอง เป็นแบบอย่างของผู้ใต้บังคับบัญชา ตลอดจนบุคคลทั่วไป๒๔ การบริหารหรือการจัดการ คอื กระบวนการอย่างหนง่ึ ภายในองค์การ ซ่ึงมีลำดับการทำงานเปน็ ข้นั ตอน มีกลุ่มบุคคลเปน็ กลไกล สำคัญในการบริหารงาน มีเงินทุน เครื่องจักร และวัสดุครุภัณฑ์ต่างๆ เป็นองค์ประกอบด้วย๒๕ กิจกรรมต่างๆ ท่ีบคุ คลตั้งแต่สองคนขึ้นไปมาทำงานร่วมมอื กันดำเนนิ การให้บรรลุเป้าหมายอย่างใด อยา่ งหนึ่งหรือหลายๆ อย่างร่วมกัน โดยประกอบไปดว้ ยส่วนต่างๆ ดังนี้๒๖ บคุ คลตงั้ แต่ ๒ คนข้นึ ไป ๑. ต้องมกี ารกระทำอย่างใดอย่างหนงึ่ ร่วมกนั ๒. ต้องมีเปา้ หมายหรอื วัตถุประสงค์ในการกระทำร่วมกันเดน่ ชัด ๓. วัตถปุ ระสงค์น้ันๆ ตอ้ งตรงกันในหมู่บคุ คลผู้รว่ มกระทำการ การจัดการทรัพยากรทมี่ ีอยูใ่ ห้มีประสิทธิภาพมากที่สดุ เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของ บคุ คล องคก์ าร หรอื ประเทศ หรอื การจัดการเพ่ือผลกำไรของทกุ คนในองค์การ๒๗ การบริหารจัดการ (Management Administration) เป็นการบริหารการพัฒ นา (Development Administration) แม้กระทั่งการบริหารการบริการ (Service Administration) แต่ละคำมีความหมายคล้ายคลึงหรือใกล้เคียงกัน ที่เหน็ ไดอ้ ยา่ งชัดเจนมีอยา่ งน้อย ๓ สว่ น คอื ๒๘ ๑. ล้วนเป็นแนวทางหรือวธิ ีการบรหิ ารงานภาครัฐที่หน่วยงานของรัฐ และ/หรือเจ้าหน้า ทข่ี องรัฐนำมาใช้ในการปฏบิ ตั ริ าชการ เพื่อชว่ ยเพิ่มประสทิ ธิภาพในการบริหารราชการ ๒๔ ฉลอง มาปรีดา ผ.ศ., คุณธรรมสำหรับผู้บริหาร, (กรุงเทพมหานคร : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, ๒๕๓๗), หนา้ ๗-๘. ๒๕ ธีรวุฒิ บุญยโสภณ และวีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์, องค์การและการจัดการ, (กรุงเทพมหานคร : อักษรปรทิ รรศน์, ๒๕๓๔), หนา้ ๑๒. ๒๖ บรรจบ เนียมมณี, หลักการบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นครนิ ทรวิโรฒ, ๒๕๒๓), หนา้ ๒๖๑. ๒๗ บุญทัน ดอกไธสง, การจัดองค์การ, พิมพ์คร้งั ที่ ๔, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ ราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๗), หน้า ๑. ๒๘ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, การบริหารจัดการและการบริหารการพัฒนาขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ และหน่วยงานของรัฐ, (กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพ์นติ ธิ รรม, ๒๕๔๘), หน้า ๕.

๑๗ ๒. มกี ระบวนการบริหารงานที่ประกอบด้วย ๓ ข้ันตอน คือการคิด (Thinking) หรอื การ วางแผน (Planning) การดำเนนิ งาน (Acting) และการประเมินผล (Evaluating) ๓) มีจุดหมายปลายทาง คือการพัฒนาประเทศไปในทศิ ทางที่ทำให้ประชาชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีข้ึนรวมทั้งประเทศชาติมีความเจริญก้าวหน้าและม่ันคงเพิ่มขึ้น สำหรับส่วนท่ีแตกต่างกัน คือ แต่ละคำมีจุดเน้นต่างกัน กล่าวคือการบริหารจัดการเน้นเร่ืองการนำแนวคิดการจัดการของ ภาคเอกชนเข้ามาใช้ในการบริหารราชการเช่น การมุ่งหวังผลกำไร การแข่งขัน ความรวดเร็ว การตลาด การประชา สมั พันธ์การจูงใจด้วยค่าตอบแทน การลดขั้นตอน และการลดพธิ ีการ เปน็ ต้น ในขณะที่การบริหารการพัฒนาให้ความสำคัญเร่ืองการบริหาร รวมท้ังการพัฒนานโยบายแผนงาน โครงการ (Policy, Plan, Program, Project) หรอื กจิ กรรมของหนว่ ยงานของรัฐส่วนการบริหารการ บริการเนน้ เรื่องการอำนวยความสะดวก และการใหบ้ ริการแก่ประชาชนกจิ กรรมท่ีบุคคลต้งั แต่ ๒ คน ข้ึนไปร่วมมือกันดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างร่วมกัน๒๙ เป็นศิลปะในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับบุคคลอ่ืน๓๐ ซึ่งศิลปะในการทำงานให้บรรลุ เป้าหมายร่วมกับผู้อนื่ ๓๑ โดยเป็นการขับเคลื่อนงานภายในองค์กรให้เดินไปข้างหน้า โดยอาศัยผู้อื่น ด้วยการเป็นผูน้ ำการแนะแนว และการกระตนุ้ ความเพียรของผู้อนื่ เพ่ือสเู่ ป้าหมายขององค์กร และยัง รวมไปถึงการใหก้ ำลังใจการส่อื สาร การวางแผน และการจัดการ๓๒ สรุปได้ว่า การบริหาร หมายถึงการท่ีคนต้ังแต่ ๒ คนขึ้นไปร่วมกันตั้งวัตถุประสงค์และ มาร่วมกันทำกิจกรรมขององค์การหรือหน่วยงาน ด้วยความสามารถ ด้วยศาสตร์ ด้วยศิลป์ ด้วยกลยุทธ์ และด้วยการบริหารงานท่ีดี โดยนำเอาทรัพยากรมาพัฒนาและใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ สว่ นรวม เพื่อใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ ท่ีกำหนดไว้อย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลและเป็นท่ีพอใจ ของคนทุกฝ่ายจากแนวคิดของนักวชิ าการสามารถสรุปเปน็ ตารางแสดงความหมายของการบรหิ ารได้ ดังนี้ ๒๙ Simon A Herbert, Public Administration, (New York : Alfrcod A Kuopf, 1966), p. 3. ๓๐ Campbell F Roald, Introduction to Educational Administration, (Boston : Allyn and Bacon, 1997), p. 6. ๓๑ Don Hellriegel, Management, 3rd ed, ( Addison : Wesley Publishing Company.lmc.,1982), p. 6. ๓๒ Chapman, Supervisor Survival Kit, 2nd ed, (California : Science Research Associates lnc., 1995), p. 3.

๑๘ ตารางที่ ๒.๒ แสดงความหมายของการบริหาร ความหมายของการบรหิ าร นักวชิ าการ/แหลง่ ที่มา การทำงานให้สำเรจ็ โดยอาศัยผู้อื่น การบรหิ าร ในพระพุทธศาสนาเรมิ่ มีขึ้นเป็นรปู ธรรมสอง พระธรรมโกศาจารย์ (ประยรู ธมฺมจิตโฺ ต) เดือนนับจากวนั ท่พี ระพุทธเจ้าตรสั รนู้ ่นั คอื วนั อาสาฬห บชู า เมอ่ื พระพทุ ธเจ้าทรงแสดงธรรม พระราชญาณวสิ ิฐ (เสรมิ ชยั ชยมงคฺ โล) เทศนาเป็นคร้ังแรกแกพ่ ระปญั จวคั คยี ์ ซ่ึงทำให้ ธงชยั วงศ์ชยั สุวรรณ เกิดพระสงั ฆรัตนะข้นึ เมอ่ื มพี ระสงั ฆรัตนะเปน็ สมาชกิ ใหมเ่ กิดขึ้นในพระพุทธศาสนาอย่างน้ี พระพุทธเจา้ กต็ อ้ งบรหิ ารคณะสงฆ์ การปกครอง การดูแล และการดำเนินงานหรือ การจดั การกจิ กรรมของหมู่คณะ ไดส้ ำเรจ็ ลลุ ่วง ตามนโยบายและวัตถปุ ระสงค์ขององค์การน้ันๆ ด้วยดมี ปี ระสทิ ธิภาพ ประเดน็ สำคัญในการบรหิ ารจดั การใหป้ ระสบ ความสำเรจ็ ไว้ ๗ ด้าน คอื ๑) การใชเ้ ทคนคิ วธิ ที ่ี มีขอบเขตครอบคลมุ วตั ถปุ ระสงค์ ๒) การ บรหิ ารจดั การในลกั ษณะเป็นกระบวนการ แกป้ ัญหา ๓) การมีคณะผบู้ ริหารที่มศี กั ยภาพใน การตัดสนิ ใจสงู ๔) การมสี ่วนร่วมในการบริหาร จัดการของผบู้ รหิ ารทุกคน ๕) การนำผลจาก การตัดสินใจมาใชป้ ระโยชน์ ๖) มรี ะบบ สารสนเทศเพ่อื การบริหารจัดการที่เหมาะสม ๗) การบริหารจดั การให้ความเหมาะสมกับ สถานการณ์

๑๙ ตารางที่ ๒.๒ แสดงความหมายของการบริหาร (ต่อ) นักวิชาการ/แหลง่ ทมี่ า ความหมายของการบริหาร พี รสิ ท ธิ์ คำน วณ ศิ ลป์ แล ะศุ ภวัฒ น าก ร ศกั ยภาพของการบรหิ ารจดั การแบง่ ได้ คอื วงศธ์ นวสุ ๑) ศกั ยภาพของระบบสนบั สนนุ การบรหิ าร จดั การ ๒) ศักยภาพของผบู้ รหิ าร ประเมินได้ จากความสามารถของผบู้ ริหาร จุฑา เทยี นไทย การบรหิ าร คือ ๑) Empowerment ๒) Reengineering ๓) Total Quality Management ๔) Downsizing ๕) Organizing ๖) Staffing ๗) Planning ๘) Controlling อทุ ัย เลาหวิเชียร การบริหาร คือ กระบวนการอย่างหนึ่งที่มีคน ต้ังแต่สองคนขึ้นไป ร่วมกระทำกิจกรรมใด กจิ กรรมหน่ึงใหบ้ รรลเุ ป้าหมายท่ีกำหนด สุทิน นพเกตุ กระบวนการในการไปถึงเป้าหมายซึง่ ตอ้ งอาศัย การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั และ ความสำนึกในการเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา และการยกระดับสังคมไทยของประชาชน อานภุ าพ อทิ ธิบันลอื กระบวนการทผ่ี ู้จดั การใชศ้ ิลปะและ กลยุทธ์ต่างๆ ดำเนินกิจกรรมตามข้ันตอน โดย อาศัยความร่วมแรง ร่วมใจ ของสมาชิกใน องค์การ

๒๐ ตารางที่ ๒.๒ แสดงความหมายของการบริหาร (ตอ่ ) นกั วิชาการ/แหล่งที่มา ความหมายของการบริหาร ธนจรส พูนสิทธ์ิ การดำเนินงานตามลำดบั ขั้นประกอบดว้ ยการ วางแผน การจัดองคก์ าร การอำนวยการ และ การควบคมุ เพ่อื ใหบ้ รรลุตามวตั ถปุ ระสงคโ์ ดย อาศยั คนและทรพั ยากรอ่ืน ประยทุ ธ์ เจริญสวัสดิ์ ภาระหน้าที่ของบุคคลใดๆ ทปี่ ฏิบตั ติ นเปน็ ผู้บริหารทจี่ ะต้องเข้ามาทำหนา้ ท่ีจัดระเบียบ และดำรงไวซ้ ง่ึ สภาพภายใน (ท้งั ทเี่ ป็นคน วัสดุ เงนิ ทุน ฯลฯ) ของกลุ่มหรอื หนว่ ยงาน เพื่อให้ กลมุ่ ดงั กล่าวสามารถทำงานจนบรรลุ วตั ถปุ ระสงค์ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาวดิ า ธาราศรีสทุ ธิ ศาสตรท์ ี่ต้องใชศ้ ิลป์และเทคนิค อยา่ งสงู เพอื่ การวินจิ ฉัยตัดสินใจใน กระบวนการวางแผน และการควบคมุ การ ปฏิบตั ิงานใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพตอ่ งานนัน้ พิทยา บวรวัฒนา การบรหิ ารเป็นเร่ืองของการนำเอากฎหมายและ นโยบายต่างๆไปปฏิบัติใหเ้ กิดผลซ่งึ เปน็ หน้าท่ี ของข้าราชการทจ่ี ะทำงานดว้ ยความเต็มใจดว้ ย ความเทีย่ งธรรม และอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพตาม หลักเกณฑท์ กี่ ำหนดไว้ วบิ ลู ย์ โตวณะบตุ ร การจัดการหรอื การควบคมุ กจิ การตา่ งๆ ของรฐั เชน่ การบรหิ ารการเงินของมูลนธิ ิ การบริหาร กิจการภาษี การบรหิ ารกิจการแพทย์ การ บรหิ ารทีด่ นิ รกรา้ งว่างเปล่า การบรหิ ารการ ก่อสรา้ ง การบรหิ ารกิจการอุตสาหกรรม และ อนื่ ๆ ท่ีเปน็ งานทเี่ รียกกันในปจั จบุ นั ว่า รฐั ประศาสนศาสตร์

๒๑ ตารางที่ ๒.๒ แสดงความหมายของการบริหาร (ต่อ) นักวิชาการ/แหลง่ ท่ีมา ความหมายของการบริหาร มัลลิกา ต้นสอน การกำหนดแนวทางหรือนโยบายการสัง่ การการ อำนวยการการสนบั สนุนและการตรวจสอบ วชั รี บูรณสิงห์ กระบวนการทางสงั คม ซึ่งพจิ ารณาไดเ้ ป็น ๓ ทาง คอื ๑) ทางโครงสรา้ ง ๒) ทางหน้าที่ ๓) ทางการปฏิบตั ิ ฉลอง มาปรีดา การที่ทำให้คนต้ังแต่ ๒ คนขึ้นไปมาร่วมกนั ทำงาน และใหง้ านสำเรจ็ ลลุ ่วงตามวัตถปุ ระสงค์ ท่กี ำหนดไว้ ธีรวุฒิ บญุ ยโสภณ และวรี ะพงษ์ เฉลิมจริ ะรัตน์ กระบวนการอยา่ งหน่ึงภายในองคก์ ารซงึ่ มลี ำดับ การทำงานเป็นขัน้ ตอน มีกลมุ่ บุคคลเปน็ กลไกล สำคัญในการบรหิ ารงาน บรรจบ เนียมมณี กิจกรรมต่างๆทบ่ี ุคคลตงั้ แต่สองคนขึ้นไปมา ทำงานรว่ มมือกันดำเนนิ การใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย อย่างใดอยา่ งหนง่ึ หรอื หลายๆ อย่างรว่ มกัน บญุ ทนั ดอกไธสง การจดั การทรัพยากรท่มี อี ย่ใู ห้มปี ระสทิ ธิภาพ มากทส่ี ดุ เพ่ือตอบสนองความต้องการของ บคุ คล องค์การ วริ ัช วริ ชั นภิ าวรรณ การบรหิ ารจดั การเป็นการพฒั นาระบบการ บรหิ าร แมก้ ระทงั่ การบรหิ ารการบรกิ ารแต่ละ คำมีความหมายคล้ายคลงึ Campbell F Roald ศลิ ปะในการทำงานให้บรรลุเปา้ หมายร่วมกบั บุคคลอื่นคอื ศลิ ปะในการทำให้สงิ่ ต่างๆ ไดร้ บั การกระทำจนเปน็ ผลสำเรจ็ กล่าวคือ ผบู้ รหิ าร ไม่ใชเ่ ป็นผปู้ ฏิบัติ แต่เป็นผใู้ ช้ศลิ ปะทำใหผ้ ู้ ปฏิบัติทำงานจนสำเรจ็ ตามจดุ มุ่งหมายที่ ผู้บริหารตัดสินใจเลือกแล้ว

๒๒ ตารางท่ี ๒.๒ แสดงความหมายของการบริหาร (ตอ่ ) นักวชิ าการ/แหล่งท่ีมา ความหมายของการบริหาร Don Hellriegel ศิลปะในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับ ผู้อื่นคอื กระบวนการทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื เพอ่ื ให้ เกิ ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ต า ม เป้ า ห ม า ย อ ย่ าง มี ประสิทธิภาพ Chapman ก า ร ขั บ เค ล่ื อ น ง า น ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร ใ ห้ เดิ น ไป ขา้ งหนา้ โดยอาศยั ผ้อู นื่ ด้วยการเป็นผนู้ ำการแนะ แนว และการกระตุ้นความเพียรของผู้อ่ืนเพ่ือสู่ เปา้ หมายขององค์กร ๒.๒.๑ แนวคิดเกยี่ วกบั การบรหิ ารจัดการ ๑. แนวคดิ เกย่ี วกบั การบริหารจดั การ สำหรับการบริหารจัดการน้ัน ผู้วิจัยได้ศึกษาถึงความหมายของการบริหารจัดการตาม แนวคิดของนกั วชิ าการ ดงั น้ี คำวา่ การจัดการหรือที่บางคนเรียกว่า การบริหาร ซ่งึ ไดแ้ ยกประเดน็ สำคญั โดยสรุปได้ ๓ ประเดน็ ดังน้ี ประเด็นที่หนึ่ง ได้กล่าวว่า การบริหารจัดการเป็นศิลปะของการใช้บุคคลอนื่ ทำงานให้ องค์การ จากความหมายน้ี เมื่อพิจารณาแล้วเป็นการมองว่าสมาชิกในองค์การเป็นเช่นวัตถุสิ่งของที่ จะต้องปฏิบัติกจิ กรรมต่างๆ ตามท่ีกำหนด แต่ในความเป็นจริงสมาชิกในองคก์ ารเป็นมนุษย์ทีม่ ีความ ต้องการ มีความมงุ่ หวงั ในความเจริญก้าวหนา้ ในการปฏบิ ัติงานจำเป็นที่องค์การควรตอบสนองตอ่ ส่ิง เหล่าน้ัน ท้ังนี้เพื่อองค์การประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด จึงเห็นควรปรับปรุงคำว่า การจัดการ ใหม่วา่ การจัดการเป็นศิลปะของการใช้บคุ คลอื่นทำงานให้แก่องค์กร โดยการตอบสนอง ความต้องการ และจดั โอกาสใหเ้ ขาเหลา่ น้ันเจรญิ ก้าวหนา้ ในการทำงาน ประเด็นที่สอง ได้กล่าวว่า การจัดการเป็นกระบวนการ ท่ีกล่าวว่าการจัดการเป็น กระบวนการนี้ มีความสมั พันธ์กบั การกำหนดจุดมุ่งหมายขององค์การ และแปรเปลีย่ นจุดมงุ่ หมายนั้น สู่การปฏิบัติจริง ซึ่งความหมายนี้ผู้จัดการ จะทำให้การดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ขององค์การไปสู่ เป้าหมายท่ีกำหนด โดยผ่านกระบวนการท่ี เป็นระบบ (Systematic) มีการประสานงาน (Coordinated) และความรว่ มมือร่วมใจจากทรัพยากรมนุษยข์ ัน้ ตอนและกระบวนการตา่ งๆ ทีจ่ ะทำ

๒๓ ให้องค์การประสบความสำเร็จตามจุดมุ่งหมาย จะมีชื่อตา่ งๆ กันล้วนแตม่ ีความหมายแตกต่างกนั ไป เช่น Henri Fayol ได้แสดงทัศนะว่า การจัดการเป็นกระบวนการท่ีประกอบด้วย ๕ ข้ันตอน ได้แก่ การวางแผนงาน การจดั องค์การ การจดั บคุ คลเข้าทำงานการส่ังการ และการควบคมุ ประเด็นท่ีสาม ได้กล่าวว่า การจัดการ คอื กลุ่มของผู้จัดการ ในความหมายน้ี องค์การ เป็นบุคคลที่ทำหน้าท่ีบริหาร คือ การจัดการกิจกรรมต่างๆ ในองค์การ เป็นผู้ดำเนินการตัดสินใจ กำหนดเป้าหมายขององค์การ และประสานงานให้สมาชิกในองค์การ ดำเนินไปในทิศทางท่ีเป็น เป้าหมายรว่ มกัน คำว่ากลมุ่ ของผจู้ ัดการน้ันบง่ บอกวา่ มีผู้จดั การหลายคนรวมกัน ท้งั นี้เพราะองคก์ าร ตา่ งๆ จะมีระดับการบริหารหลายระดับ อาทิ การจัดการระดับสูง การจัดการระดับกลาง และการ จัดการระดับล่าง ซ่ึงในแต่ละระดับที่กล่าวมา จะมบี ุคคลสวมบทบาทเป็นผู้จัดการ จึงทำใหเ้ ป็นคณะ ผู้จดั การหรือคณะผู้บรหิ ารทีด่ ำเนินกิจกรรมต่างๆ ในองค์การ๓๓ สรุปได้ว่า แนวคิดของการบริหารจัดการ หมายถึง กระบวนการในการดำเนินงานให้มี ระบบ ระเบียบ ขนั้ ตอน และวิธีการ เพื่อให้การดำเนนิ งานน้ันๆ เป็นไปอยา่ งถูกตอ้ งตามหลักเกณฑท์ ี่ องค์กรต้ังไว้ ซึ่งการบรหิ ารจัดการที่ดีน้ันมักจะเกิดจากประสบการณ์ทั้งของบุคลากร และผู้บริหาร จดั การเองทจี่ ะต้องเอ้ืออำนวยตอ่ กัน โดยส่วนใหญ่จะมีการบริหารจดั การและมีสายการบังคับบัญชา เหตผุ ลเพราะจะทำใหก้ ารดำเนินงานเป็นไปอย่างราบร่ืน ๒. แนวคดิ การบรหิ ารแบบด้ังเดมิ แน วคิ ดการบ ริห ารจัดการแบ บ ดั้งเดิม (Classical Management Approach) เป็นทัศนะการบริหารโดยมุ่งท่ีประสิทธิภาพขององค์การ ซ่ึงจะเพ่ิมความสำเร็จ เซอร์โต (Certo)๓๔ หรือเป็นทฤษฎกี ารบรหิ ารจดั การท่มี ุ่งท่ีองคก์ าร โดยสว่ นรวมตลอดจนวธิ ีการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผล หลกั สำคัญของแนวคิดน้ีมี ๒ ประเด็น คอื ๑. มุ่งประสิทธภิ าพ (Efficiency) หมายถงึ ความสามารถในการผลติ ผลลัพธ์ท่ีตอ้ งการ ดว้ ยการใช้ตน้ ทุนสำหรับทรพั ยากรตำ่ สดุ ๒. มุ่งประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถงึ ความสามารถขององค์การในการสร้าง ให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์หรือจุดมงุ่ หมายท่กี ำหนดไว้ ซ่ึงในบางครงั้ ไม่ได้คำนึงถึงปริมาณของทรพั ยากรที่ ๓๓ พรเพ็ญ อยู่บำรุง, “งานวิจัยเร่ืองการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเทศบาลตำบลใน เขตจังหวัดสมุทรสาคร”, (วิทยาลยั การปกครองทอ้ งถ่ิน : มหาวิทยาลัยของแกน่ , ๒๕๕๑), หน้า ๓๕. ๓๔ Certo, Samuetl C., Modern Management, (๘ th ed), (New Jersey : Prentice-Hill, ๒๐๐๐), p.๕๕๐.

๒๔ ใช้ในกระบวนการบรหิ ารจัดการ ซ่ึงแนวคดิ แบบดั้งเดมิ นี้จะประกอบไปด้วยการบริหารในแบบต่างๆ ดงั นี้ ๒.๑ การบริหารจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) เป็นทัศนะ การจัดการ ซ่ึงจะเก่ียวข้องกับการพัฒนาความรู้ (ศาสตร์) โดยใช้หลักเหตุผลทางวิทยาศาสตร์เพ่ือ ปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการทำงานของบุคลากร ความเชี่ยวชาญในการทำงาน และการผลิตจำนวน มาก ซึ่งประกอบด้วย (๑) กฎของการเค ล่ือนไหวและเครื่องมือการทำงานท่ีมีมาตรฐาน (๒) การคัดเลือกและการฝึกอบรมแรงงานอย่างระมัดระวัง และ (๓) การให้การสนับสนุนการบังคับ บญั ชาแรงงานท่ีเหมาะสม๓๕ การบริหารจัดการแบบวิทยาศาสตร์ถอื ว่า เป็นการบรหิ ารจัดการแบบ ดัง้ เดมิ (Classical Management) ผทู้ ีเ่ ก่ียวข้องกับแนวคดิ น้ี ไดแ้ ก่ เฟรคเดอร์รคิ , เฮนรี่, และลิเลยี น (Frederick W.Taylor Henry Ganntt Frank and Lillian Gibreth& Harrington Emerson) ๒.๒ การบริหารจัดการแบบระบบราชการ (Bureaucracy) เปน็ รปู แบบองคก์ ารท่ีใช้ หลักเหตุผล (logic) และประสิทธิภาพ (Efficient) โดยยึดอำนาจหน้าที่ตามกฎระเบียบ (order) ตรรก วิทยา (เหตุผล) และอำนาจหน้าท่ีตามกฎหมาย (legitimate authority) หรือเป็นรูปแบบ องคก์ ารในอุดมคติ ซง่ึ กำหนดโดยนักสงั คมวิทยาชาวเยอรมนั ชอื่ แม็กเวปเปอร์ (Max Weber)๓๖ ๒.๓ การบ ริหารจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Management Approach) เป็นทัศนะการบริหารท่ีมุ่งที่การเพิ่มความสำเร็จในองค์การ โดยมุ่งท่ีบุคคลภายใน องค์การ๓๗ หรือเป็นทัศนะความเป็นผู้นำ ซ่ึงระบุถึงสิ่งดีที่ผู้นำควรทำและส่ิงท่ีผู้นำควรเล่ียง๓๘ หรอื เปน็ แนวคิดดา้ นการบริหารจดั การ ซงึ่ มุ่งท่ลี กั ษณะและผลกระทบของแต่ละบคุ คล และพฤตกิ รรม กลุ่มในองคก์ าร ๒ .๔ ก า ร บ ริห า ร จั ด ก าร เชิ ง ป ริ ม า ณ (The Quantitative Management Approach) เป็นแนวคิดการบริหารจัดการซึ่งนำเทคนิคทางคณิตศาสตร์ เคร่ืองมือสถิติ และข้อมูล เพ่ือช่วยในการแก้ปัญหาการบริหารจัดการ การศึกษาเรื่องนี้มีความเช่ือเก่ียวกับการบริหารจัดการ แบบวทิ ยาศาสตร์ในการวัด และการใชส้ ตู รคณิตศาสตรเ์ พื่อการแก้ปญั หาต่างๆ ตัวอย่างเชน่ ผบู้ รหิ าร ฝา่ ยอตุ สาหกรรมใชเ้ ทคนิคในการบริหารจัดการเพ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพในการผลติ การพัฒนาตลาดใน ๓๕ Schemerhorn, John R. Jr., Management, (๕th ed), (USA : John Wiley & Sons, 1999), p.8. ๓๖ ibid, p. 1. ๓๗ ibid,p.550. ๓๘ Bateman. Thomas S. & Scott A. Snell, Management : Building Competitive Advan tage, (4th ed), (Boston : Lrwin McGraw-Hill, 1999), p. 1.

๒๕ อตุ สาหกรรมตา่ งๆ เชน่ อตุ สาหกรรมเหลก็ การทอผ้า การคา้ ปลีก การขนส่ง การดแู ลรักษาสุขภาพ ฯลฯ ๒.๕ องคก์ ารแห่งการเรยี นรู้ (learning Organization) องคก์ ารซึง่ ปฏิบตั กิ ารอย่างดี ในการริเร่ิมสร้างสรรค์ (Creating) การได้มาหรือครอบครอง (Acquiring) และการถ่ายทอด (Transferring) ความรูแ้ ละการปรบั พฤติกรรมเพอื่ ตอบสนองตอ่ ความรู้ใหมๆ่ (New Knowledge)๓๙ องค์การการเรียนรู้จะเน้นการแก้ไขปัญหาอย่างเปน็ ระบบ การทดลองแนวความคิดใหม่ๆ การเรียนรู้ จากประสบการณ์ และข้อมลู ในอดีตการเรียนรู้จากประสบการณ์ของคนอื่น และการโอนถา่ ยความรู้ อย่างรวดเร็วผ่านองค์การผู้บริหาร จึงต้องพยายามสร้างองค์การการเรียนรู้ สร้างสภาพแวดล้อมท่ี ส่งเสริมการเรียนรู้ และสนับสนุนการแลกเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสารระหว่างสมาชิกท้ังหลายขององค์การ ดังน้ัน ปัจจัยที่สำคัญสำหรับองค์การการเรียนรู้มี ๕ ประการ คือ (๑) การคิดอย่างเป็นระบบ (Systems Thinking) (๒) การมีวิสัยทัศนร์ ว่ มกนั (Shared Vision) (๓) ความทา้ ทายของโมเดลระดบั ความสามารถของสมอง (Challenging of Mental Models) ในการแก้ปัญหา (๔) การเรียนรู้เป็น จริง (Team learning) และ (๕) ความเช่ียวชาญส่วนตัว (Personal Mastery) อย่างไรกต็ ามผ้บู ริหาร ในยุคปัจจุบันได้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของปัจจัยต่างๆ อย่างต่ำ ๔ ประการคือ (๑) การเปน็ โลกไร้พรมแดนหรอื โลกาภิวัตน์ (Globalization) (๒) การขยายตวั เพ่ิมขน้ึ ของผหู้ ญิงทเ่ี ข้า มาเป็นผู้บริหาร (๓) ความจำเป็นของการรักษาทักษะให้มีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา และ (๔) ความสามารถในการปรับตัวท่ีเกดิ การเคลื่อนไหวระหว่างงานกับองค์การ ทำใหผ้ ู้บริหารของ ทุกองค์การจำเป็นต้องมีการปรับเปล่ียนอย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีกำลังเกิดข้ึน ดังน้ันการศึกษาและการแสวงหาความรเู้ ก่ียวกับการบริหารจดั การของผบู้ รหิ าร และการเพมิ่ ทักษะใน การปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การตา่ งๆ จงึ มคี วามสำคัญเพม่ิ มากขึ้น๔๐ สรปุ ได้วา่ แนวคิดการบริหารแบบดงั้ เดิมหมายถงึ การบริหารที่มององค์การโดยภาพรวม เป็นการสรา้ งองค์การให้ทันสมัยอยู่เสมอ และความทันสมัยก็มักจะควบคู่ไปด้วยประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผลเปน็ การบริหารท่ีคอยรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงท่ีกำลังเกิดในยุคปัจจุบันได้อย่างดี เย่ียม ทฤษฎียุคนี้ประกอบด้วยแนวคิดการบริหารองค์การ ๒ รูปแบบได้แก่การบริหารเชิงวิทยา ศาสตร์และระบบการบรหิ ารจัดการ ซึ่งการบรหิ ารเชิงวทิ ยาศาสตร์จะมุ่งเน้นงานและผลของงานเป็น สำคัญสว่ นระบบการบริหารจัดการจะมุง่ เน้นสิ่งทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับโครงสร้างการบริการทั้งหมดท่สี ง่ ผลต่อ ๓๙ Ibid, p. 554. ๔๐ ชาญชยั เจนครองธรรม, หลกั และทฤษฎีการบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพส์ ยามรตั นฟิล์ม, ๒๕๔๕), หนา้ ๓๙๕-๔๑๔.

๒๖ งานเป็นแนวคิดที่เกิดข้ึนเป็นคร้ังแรกทางการบริหารในยุคด้ังเดิมสมัยการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพและเพิ่มผลผลติ ในการทำงาน โดยหลักการพื้นฐานประกอบดว้ ยการคน้ หาวธิ ีท่ีดี ที่สุดในการทำงาน (One best way) ในการทำงานให้สำเร็จลุล่วงตามวิธีการและกระบวนการที่ดี ท่สี ุดที่เรียกว่าทฤษฎกี ารจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) การศึกษาการบรหิ าร ในแง่ของการจัดการ ได้เร่ิมต้นเม่ือต้นศตวรรษท่ี ๒๐เช่นกัน โดยกลุ่มบุคคลซ่ึงต่อมามีการเรียกว่า “กระบวนการจดั การแบบวิทยาศาสตร์” หรือ “Scientific Management” ๓. แนวคิดและวิวัฒนาการของการบริหาร การบริหารไดพ้ ฒั นามาในสองสายควบคู่กนั มาในอดตี การบริหารรฐั กจิ หรอื รัฐประศาสน ศาสตร์มีววิ ัฒนาการมาก่อนการบริหารในสายธุรกิจ การบริหารรัฐกิจมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยการ ปกครองของจีน อินเดีย กรีก อียิปต์โบราณ แต่นักวิชาการสมัยใหม่แบ่งวิวัฒนาการของทฤษฎีการ บริหารรัฐกิจออกเปน็ ๓ ระยะ ระยะเรมิ่ ต้น (๑๘๘๗-๑๙๔๕)โดยเร่ิมจากการจัดพิมพ์บทความทางวิชาการที่เปน็ ระบบ ของวูดโรวลิ สัน (Woodrow Wilson) ช่ือ The Study of Public Administration ออกเผยแพร่และ ยงั ยกย่องให้วิลสัน เป็นบิดาของวิชารัฐประศาสนศาสตร์อีกด้วย โดยบทความดังกล่าวมีสาระสำคัญ สรุปว่า ๑. การบรหิ ารรัฐกิจควรแยกออกจากการเมือง ๒. ข้าราชการประจำพึงดำเนินงานด้วยความรอบคอบ โดยยึดถือความต้องการของ ประชาชนเปน็ หลกั ๓. พยายามส่งเสริมให้ประชาชน และข้าราชการได้มีความรู้เกี่ยวกับการบริหาร เพอ่ื ประโยชน์ในการควบคุมการบริหารของรฐั ๔. การบริหารรัฐกจิ เป็นศิลปะอย่างหนึ่ง ซึ่งบรรดาข้าราชการพึงแสวงหา ท้ังนี้เพื่อให้ บรรลเุ ปา้ หมายสำคัญของการบริหารรฐั กิจ คือประโยชนส์ ุขของประชาชน ระยะกลาง (๑๙๔๕-๑๙๖๘) เป็นยุคที่เน้นการศึกษาเรื่องมนุษยสัมพันธ์ขบวนการ และ หน้าที่ของการจดั การองค์การอรปู นยั และกรณีสิ่งแวดล้อมในการบริหารราชการเป็นยุคทนี่ กั วิชาการ ทางบรหิ าร ๕ คน คอื เบอร์นาร์ด, ไซมอน, โรเบริต, ดีไวท์ และนอรต์ นั (Chester Barnard, Herbert Simon, Robert Dahl, Dwight Waldo and Norton Long) ได้เสนอทฤษฎีและแนวความคิดที่ท้า ทายและวิจารณ์ทฤษฎีการบริหารรัฐกิจอย่างมากมายกว้างขวาง เช่น ทฤษฎีของการจัดการธุรกิจ ทฤษฎรี ฐั ศาสตร์ เปน็ ตน้ ระยะปัจจุบัน(๑๙๖๘–ปัจจุบัน)เริ่มข้ึนเมื่อได้มีการประชุมสัมมนาทางรัฐประศาสน ศาสตร์ที่มิน โนบรคู (Minnobrook) เดือนกนั ยายน ๑๙๖๘ โดยนักรัฐประศาสนศาสตร์กลุม่ น้ีเรียก

๒๗ ตัวเองว่า New Public Administration หรือรัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ เป็นการพัฒนา ทฤษฎีการบริหารรัฐกิจในสายของรฐั กิจในสายของรัฐศาสตร์ โดยมีสาระสำคัญ ๔ ประการ คอื ๑. สนใจเร่ืองท่ีสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของสังคม ๒. สนใจคา่ นยิ ม น่นั คอื นกั บริหารไมค่ วรเป็นกลางทางการเมือง ๓. สนใจความเสมอภาคทางสังคม นกั บริหารตอ้ งเห็นใจผทู้ ่ีเสยี เปรยี บในสังคม ๔. สนใจเรอ่ื งการเปลี่ยนแปลง นักบรหิ ารต้องเป็นผรู้ ิเริ่มในการเปลีย่ นแปลง ให้ความ เสมอภาคทางสังคมประสบผลสำเร็จ นอกจากนี้ ในยุคปัจจุบันนักวิชาการทางการบริหารยังมุ่งสนใจเรื่องพฤติกรรมศาสตร์ ประยกุ ตม์ ากขึ้น เน้นการนำความรู้ทางพฤติกรรมศาสตรไ์ ปประยุกต์ใชใ้ นการบรหิ ารงาน และเนน้ การ พฒั นาองคก์ ารเพื่อตอบสนองความตอ้ งการของสังคม วิวฒั นาการการจดั การอาจแบง่ ออกได้เป็น ๔ ระยะ ดังน้ี ระยะท่ีหน่ึง การจัดการตามแบบนี้ บางคร้ังเรยี กวา่ Classic Schoolหมายถงึ การจดั การ ท่มี รี ะบบโดยศึกษาหาเหตุผล เพอ่ื หาวิธีการทดี่ ีท่สี ุดจากการทำงานน้ัน วิธีการสำคัญเบื้องตน้ ของการ จัดการแบบวทิ ยาศาสตร์ คือ (๑) พัฒนาหลักการทำงานให้ดขี ้ึน (Develop Principles of Work)(๒) กำหนดมาตรฐานในการทำงาน (Standard of Work) และ (๓) กำหนดเคร่ืองมือในการควบคุมงาน (Control of Work) นักทฤษฎีท่สี ำคัญในยุคนี้ไดแ้ ก่ เฟรดดีริค เทลเลอร์ (Frederick W. Taylor) ซึง่ ผลงานที่ มีช่ือเสียงท่ีสุดของเทเลอร์ คือ “The Principles of Scientific Management” (การจัดการแบบ วทิ ยาศาสตร)์ หลักสำคัญของการจัดการตามทฤษฎีของเทอร์ คือ ๑. พฒั นาระบบการทำงานเป็นแบบวิทยาศาสตร์ ๒. เลือกคนงานโดยอาศยั วิธีการวิทยาศาสตร์ ๓. ให้การอบรมการจัดการแบบวิทยาศาสตรแ์ ก่คนงาน ๔. จัดให้มีการประสานสัมพันธ์อย่างดีระหว่างคนงานกับฝ่ายจัดการ Henri Fayol (๑ ) ก ารวางแ ผ น (to Plan) (๒ ) ก ารจั ด อ งค์ ก าร (to Organize) (๓ ) ก ารบั งคั บ บั ญ ชา (to Command) (๔) การประสานงาน (to Coordinate) และ (๕) การควบคุม (to Control) นอกจากน้ี เฟโยลยงั ได้เสนอรูปแบบการบรหิ ารในลกั ษณะของลำดับหน้าที่ตา่ งๆ แบง่ การดำเนนิ ธุรกิจ เป็นกิจกรรมด้านต่างๆ เช่น ด้านเทคนิค ด้านพาณิชย์ ด้านการเงิน ด้านความม่ันคง ด้านการบัญชี และด้านการบริหาร เปน็ ตน้ เฟโยลไดก้ ำหนดหลักการบรหิ าร ๑๔ ประการได้แก่ (๑) การแบ่งงานกัน ทำ (๒) อำนาจหนา้ ที่ในการทำงาน (๓) ระเบียบวินัย (๔) เอกภาพในการบังคบั บัญชา (๕) เอกภาพใน การส่ังการ (๖) ประโยชนส์ ่วนบุคคลเป็นรองประโยชน์ขององค์กร (๗) การใหผ้ ลประโยชน์ตอบแทน

๒๘ (๘) การรวมอำนาจ (๙) สายการบงั คับบัญชา (๑๐) ระเบยี บขอ้ บงั คับและคำสั่ง (๑๑) ความเสมอภาค (๑๒) ความม่ันคงในการทำงาน (๑๓) ความคิดริเร่ิม และ (๑๔) ความสามัคคี Henry L. Gantt เป็น เพ่ือนร่วมงานกับ Taylor ในยุคเริ่มต้นต่อมาได้เสนอแนวความคิดทางการบริหารของตนเองเป็นผู้ ริเริ่มใช้ระบบแผนภูมิสำหรบั การจัดทำตารางเวลาของการผลติ ซ่ึงปัจจุบนั ยังใชอ้ ยู่ เรียก “Gantt’s Chart” และได้เสนอต่อการบริการด้านต่างๆ เช่น (๑) คนเป็นปัจจัยสำคัญของการบริหารซึ่งต้อง สนใจกระตุ้นใหร้ หู้ น้าท่ีของแต่ละคน (๒) การฝึกอบรมเป็นหน้าท่คี วามรับผิดชอบของฝ่ายจัดการ (๓) การกำหนดภาระหน้าท่ีการงานเป็นส่ิงสำคัญที่ตอ้ งจัดทำ (๔) ต้องจัดความสมดุลของอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ และ (๕) แผนงานและการควบคุมต้องจัดให้เหมาะสมกับวิธกี ารและผลงานท่ี หวังจะไดร้ ับ การบริหาร จะมีประสิทธิภาพได้เม่ือมีการแบ่งงานตามความถนัดและความเหมาะสม โดยได้กล่าวถึงกระบวนการบริหารอันมีช่ือเสียง คือ POSDCORB ไว้ในหนังสือ “Paper on the Sciences of Administration” ซง่ึ กระบวนการดังกลา่ วประกอบด้วย P = Planning คอื การวางแผน O = Organizing คือ การจดั องค์การ S = Staffing คอื การสรรหาคนเข้าทำงาน D = Directing คือ การอำนวยการ Co = Co-ordination คอื การประสานงานของคนและหน่วยงานตา่ งๆ R = Reporting คอื การรายงานผลการปฏิบัติงาน B = Budgeting คอื การจัดทำงบประมาณของหน่วยงาน รูปแบบการบริหารแบบราชการ (Bureaucracy) ว่าวิธีท่ีดีทสี่ ุดโดยมีหลกั การดงั น้ี ๑. การบริหารยดึ หลักการจัดสายการบังคับบัญชา ๒. ยดึ หลกั การแบ่งสายงานตามความชำนาญ ๓. กำหนดกฎเกณฑใ์ นการทำงานท่แี นน่ อนเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร ๔. การไมค่ ำนึงถึงตวั บคุ คล ๕. ยดึ หลักความมีเหตุผลในการบรรจุแต่งตงั้ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน ๖. ยึดหลักความรู้ความสามารถในการเลือกคนเข้าทำงาน และกำหนดเงินเดือนและ สนบั สนุนใหท้ ำงานเป็นอาชพี ระยะท่ีสอง การจัดการตามแนวมนุษยสัมพันธ์ (Human Relation Approach) การ จัดการตามแนวมนุษยสัมพันธ์ ได้รับความสนใจมากในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ ซึ่งเป็นช่วง เศรษฐกิจตกต่ำ การจัดการตามแนวน้ีได้มุ่งพิจารณาในเร่ืองความสำคัญของบุคคลในฐานะเป็น องค์ประกอบของการบริหาร พิจารณาบุคคลในลักษณะที่เคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลง คือ เป็นพลวัต

๒๙ (Dynamic) แทนการพจิ ารณาในลกั ษณะเป็นเพยี งองคป์ ระกอบทางกายภาพ (Physical) ขององคก์ าร ผลการศกึ ษาด้านนท้ี ี่มีชอ่ื เสียงทีส่ ดุ คอื การทดลองท่ีเรยี กวา่ “Hawthorne Experiment”โดย Elton Mayo และคณะ ณ บริษทั Westem Electric Company ท่เี มืองชคิ าโก สหรัฐอเมรกิ า ระยะท่ีสามการจัดการตามแนวทฤษฎีองค์การสมัยใหม่ (Modern Organization Theory) การจัดการตามแนวน้ีบางทีเรียกว่า การจัดองค์การตามแนวโครงสร้าง เกิดขึ้นเพื่อขจัด ช่องว่างระหว่างการจัดการตามแนววิทยาศาสตร์เน้นวิธีการหน้าที่การงานและผลผลิตเป็นสำคัญ เนน้ การศึกษาองค์การตามรูปแบบ (Formal Organization) กับการจัดการตามแนวมนุษยสมั พันธ์ที่ เน้นการศึกษาองค์การอรูปนัย (Informal Organization)การศึกษาโดยประสานทั้งสองเข้าด้วยกัน โดย AmitaiElzioiเรียกวา่ Structuralist Approachโดยมีแนวคิดว่า แม้ว่าการจัดองค์การเป็นเร่ือง ยงุ่ ยากสับสน แตก่ ส็ ามารถแกไ้ ขได้ ไม่ควรแกป้ ญั หาโดยวิธตี ดั สิ่งใดสิ่งหนง่ึ ออกไป ความยุ่งยากเหล่านี้ ไดแ้ ก่ ความขัดแย้งของความต้องการขององค์การกับปัจเจกชน ระหวา่ งวนิ ัยกบั ความมอี ิสระ ระหว่าง ความสัมพันธ์ที่เป็นทางการกับไม่เป็นทางการ และระหวา่ งคนงานกับระเบยี บวิธีการจดั การ เป็นต้น การศึกษาตามแนวการจัดการแบบโครงสร้างน้ี ได้พิจารณาถึงระบบพฤติกรรมในการทำงาน และ องคก์ ารแบบราชการ (Bureaucracy) ตามข้อเสนอของเวปเปอร์ นอกจากน้ียงั ได้เน้นถงึ การศกึ ษาใน ด้านการวินิจฉัยส่ังการ โดยนำความรู้ทางคณิตศาสตร์เชิงปริมาณ (Quantitative) เพ่ือช่วยให้การ ตัดสินใจเป็นไปอยา่ งสมเหตุสมผล และมีหลักเกณฑ์มากขนึ้ ในสภาวการณ์ต่างๆ กัน ระยะที่ส่ี การจัดการตามแนวพัฒนาการบริหาร (Administration Development) แม้ว่าการศึกษาตามแนวการจัดการแผนใหม่จะพยายามแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องของทฤษฎีเก่าๆ แล้วก็ตาม แต่ทฤษฎีการบรหิ ารก็ยังไม่สามารถนำไปใช้ได้ในท้องถิ่นต่างๆ ได้ จึงเกิดแนวการศึกษา ใหม่ที่เรียกว่า “การจัดการตามแนวพัฒนาการบริหาร” ข้ึนเพื่อให้สามารถนำไปตอบสนองความ ต้องการการพัฒนาในประเทศด้อยพัฒนาต่างๆ ท่ีมีปัญหาความด้อยทางการบริหาร โดยได้เสนอ ทฤษฎกี ารบริหารใหม่ๆ ขึ้น ท่ีมุ่งเนน้ ใหเ้ กิดการสร้างสรรค์หรือการดัดแปลง และแก้ไขเพื่อกอ่ ให้เกิด สิ่งใหม่ๆ ข้ึนซ่ึงจะมีผลต่อการพัฒนาประเทศ การศึกษาตามแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ตามแนว พฒั นาการบริหารนี้มักเนน้ เรอื่ งการปรบั ปรุงหรือปฏิรูประบบบรหิ ารที่มีอยู่ใหก้ า้ วหน้า และเหมาะสม ต่อการเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ฉะนนั้ การศึกษาการบรหิ ารตามแนวนีจ้ ึงเพ่งเลง็ ถึงสภาพของสงั คมท่ี กำลังเปลี่ยนไป รวมทั้งอทิ ธิพลและข้อจำกัดต่างๆ ท่ีมีผลกระทบต่อการบริหารท่ีจะเป็นส่วนช่วยให้ เกิดการเปล่ียนแปลง และเมื่อสังคมเกิดการเปล่ยี นแปลงไป การบรหิ ารนั้นก็ต้องปรับปรงุ กลไกให้รับ กับงานเก่าและงานใหมด่ ้วยสิง่ เหล่านี้ชว่ ยให้เกดิ กระบวนการพฒั นาบริหารขึ้นเป็นแนวความคิดและ ทฤษฎที ่ีสำคัญย่ิงในระบบการบรหิ ารที่เป็นอยู่ในปจั จุบันนี้

๓๐ สรุปได้ว่า แนวความคิดและวิวัฒนาการของการบริหาร หมายถึง ลำดับข้ันของการ ปรบั ปรุงเปล่ียนแปลง ระบบแนวคดิ และทฤษฎใี ห้เข้ากับยุคสมัย ใกล้เคียงกบั การปฏิบัติงานจริงมาก ทส่ี ดุ เพ่ือให้เกิดความถกู ตอ้ งเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ีและสภาพองค์การ ในสมัยปจั จบุ ันในสมัยกอน การบังคับบัญชาถือเอาความคิดของหัวหนางาน หลักการบริหารเปนไปโดยปราศจากเหตุผล แตใช หลักความรุนแรง เครงครัด ผูใตบังคับบัญชาตองปฏิบัติตามคําสั่งของหัวหนางานอยางเครงครัด โดยไมคํานึงถงึ ความคิดเปนสวนตัวของแตละบุคคล จากการใชหลกั การของแนวความคดิ แบบเกานจ้ี ะ เปนวาทกุ อยางขึ้นอยูกับอํานาจสายการบังคบั บญั ชาจะมาจากเบอ้ื งบนเสมอ โดยนายจางเปนผูออก คาํ ส่ังแตเพียงผเู ดยี ว ผูใตบงั คับบญั ชาไมมีสิทธแ์ิ สดงความคดิ เปนใด ๆ การตดั สนิ ใจอยูทสี่ วนกลางไมมี การกระจายอํานาจผูบังคับบญั ชา สมัยเกามักจะคิดวาการจงู ใจใหบุคคลทํางานนั้นขน้ึ อยูกับพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ คือ เงินเพียงอยางเดยี ว จึงไมไดใหความสนใจในเรื่องสวสั ดิการ และความปลอดภยั ใน การดําเนินงานแตอยางใด ปจจุบันทัศนะของนายจางท่ีมตี อลูกจางเปล่ยี นแปลงไปจากเดิม นายจาง มองลูกจางในแงดีใหความสาํ คัญตอลูกจางและมคี วามไววางใจผูใตบังคับบญั ชา นอกจากนี้ยังนําเอา ทฤษฎีเกี่ยวกบั การจูงใจมาใชประโยชนในหลักการเกี่ยวกับแนวความคดิ แบบใหม่ ถือวาบคุ คลมคี วาม รับผิดชอบ มคี วามคิดรเิ ร่มิ มีความตองการและเตม็ ใจจะทํางานรวมกนั มีความรับผิดชอบตองานทีไ่ ด รับมอบหมาย เปดโอกาสใหคนทํางานอยางมีประสิทธิภาพ โดยใชระบบการควบคุมตนเองการจูงใจ คนใหทํางานไมไดใชเงินเปนปจจยั สําคัญแตเพยี งอยางเดียว ตองมีสงิ่ จูงใจทีไ่ มใชตัวเงนิ เก่ียวของดวย ซงึ่ วิวัฒนาการทางการบรหิ ารนี้ เปนพื้นฐานของการบรหิ ารจดั การทีเ่ กีย่ วของสัมพันธกับการใชภาวะผู นําของผูบรหิ ารโดยเฉพาะ จากแนวคิดของนกั วิชาการสามารถสรุปเป็นตารางแสดงแนวคิดเกี่ยวกับ การบริหารจัดการไดด้ ังนี้

๓๑ ตารางที่ ๒.๓ แสดงแนวคิดเก่ียวกับการบรหิ ารจัดการ นกั วิชาการ/แหลง่ ที่มา แนวคิดเกยี่ วกบั การบรหิ ารจัดการ พรเพญ็ อยบู่ ำรุง การจัดการหรอื การบริหาร แบ่งได้ ๓ ประเด็น คือ ๑) การบริหารจัดการเป็นศิลปะของการใช้ บุคคลอ่ืนทำงานให้องค์การ ๒) การจัดการเป็น กระบวนการความสัมพันธ์กับการกำหนดจุดมุ่ง หมายขององค์การ และแปรเปลี่ยนจุดมุ่งหมาย นนั้ สกู่ ารปฏิบตั ิจรงิ ๓) กลุ่มของผู้จัดการในความ หมายนี้ องคก์ ารเป็นบคุ คลท่ีทำหน้าที่บริหาร คือ การจดั การกจิ กรรมต่างๆ ในองค์การ Certo, Samuetl C. การบริหารจัดการแบบด้ังเดิม (Classical Schemerhorn, John R. Jr. Management Approach) เป็ น ทั ศ น ะ ก า ร Bateman. Thomas S. & Scott A. Snell บริหารโดยมุ่งท่ีประสิทธิภาพขององค์การ ซ่ึงจะ ชาญชยั เจนครองธรรม เพิ่มความสำเร็จ ก า ร บ ริห า รจั ด ก าร แ บ บ วิท ย าศ า ส ต ร์ (Scientific Management) เป็ น ทั ศ น ะ ก า ร จัดการ ซ่ึงจะเก่ียวข้องกับการพัฒนาความรู้ (ศาสตร์) โดยใชห้ ลักเหตุผลทางวิทยาศาสตร์เพื่อ ปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการทำงานของบุคลากร ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เชิ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ (Behavioral Management Approach) เป็ น ทศั นะความเป็นผู้นำ ซง่ึ ระบุถึงส่ิงดีที่ผนู้ ำควรทำ และส่ิงท่ีผู้นำควรเลย่ี ง การศึกษาและการแสวงหาความรู้เก่ียวกับการ บริหารจัดการของผู้บริหาร และการเพิ่มทักษะใน การปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การต่างๆ มี ความสำคัญมาก

๓๒ ๒.๒.๒ แนวคิดทฤษฎีเกย่ี วกบั การบริหารจัดการที่ใชศ้ ึกษาวิเคราะห์ในงานวจิ ัย การบริหารจัดการได้นั้น ต้องมีผู้นำ หรือผู้สั่งการ ดุจกายเป็นท่ีต้ังของใจที่จะบริหาร จัดการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หลักสูตรหรือวิธีการท่ีจะทำการบริหารจัดการองค์กร กลุ่ม ชมุ ชน บรษิ ัท ธุรกิจการงานต่าง ๆ ให้มีผลสัมฤทธิ์สำเรจ็ ตามเป้าหมายท่ีต้องการน้ัน ยอ่ มต้องมีหลัก คิด หลักวิชาการ หลักทฤษฎีที่น่าเช่ือถือ เป็นท่ียอมรับของคนท้ังหลาย ผู้วิจัยจึงนำหลักทฤษฎีที่ เหมาะสมกับงานวิจัยในคร้ังน้ี ๒ ทฤษฎีด้วยกัน คือ SWOT, PDCA ซ่ึงจะเป็นทฤษฎีที่จะนำไป วิเคราะห์ สงั เคราะห์องค์ความรู้ของงานวิจยั คร้งั น้ี ต่อไป ๑ ทฤษฎี SWOT SWOT คือ ช่ือของทฤษฎีหน่ึงทางด้านการตลาด ท่ีใช้สำหรับวิเคราะห์สภาพโดยทั่วไป ขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นในด้านจุดแข็ง จุดอ่อน สำหรับการวางแผนการดำเนินงานต่างๆ อย่างมี ประสิทธิภาพในอนาคตโดยทฤษฎี SWOT ไม่ใช่เป็นเพียงคำ คำเดียว หากแต่มันคือตัวย่อของคำ หลายคำ นำมาผสมรวมกันเป็น ๑ ทฤษฎี ซ่ึงความจริงแล้วมันย่อมากจากคำท่ีมีความหมาย ๔ คำ ดงั ต่อไปนี้ ๑. Strengths (S) :จุดแขง็ จุดเด่น ขององค์กร ๒. Weaknesses (W) :จดุ ออ่ น ขอ้ เสียเปรียบขององคก์ ร ๓. Opportunities (O) :โอกาสในการดำเนินงานตามแผนงาน ๔. Threats (T) :อุปสรรคทีอ่ าจเป็นปัจจัยทีส่ ำคัญต่อการดำเนินงาน ๔๑ ประเดน็ ท่ีสำคัญของการวเิ คราะหอ์ งค์กรดว้ ย SWOT ในการวิเคราะหอ์ งค์กรด้วย SWOT จะถูกแบ่งเปน็ สภาพแวดล้อมขององค์กร ๒ ดา้ น คือ ภาพการณ์ภายในองคก์ ร และ สภาพการณ์ภายนอกขององคก์ ร หรอื อาจแบ่งตามลำดับสภาพการณ์ ไดด้ ังนี้ สภาพการณ์ภายในองค์กร (ปจั จยั ภายใน) ได้แก่ จดุ แขง็ จดุ อ่อนขององค์กร (Strengths) และ จดุ ออ่ น หรือ ข้อเสียเปรยี บขององคก์ ร (Weakesses) สภาพการณ์ภายนอกขององค์กร (ปัจจัยภายนอก) ได้แก่ โอกาสในการดำเนินงาน (Opportuniities) และ อุปสรรคท่ีอาจเป็นปจั จยั ท่ีสำคญั ต่อการดำเนินงาน (Threats) ข้อดขี องการวิเคราะหอ์ งค์กรดว้ ย SWOT ๔๑ แววตา กลีบจำปา, SWOT ANALYSIS, [ออนไลน]์ , แหลง่ ท่ีมา : https://pubhtml5.com/ ohyk/wmol/basic [ ๑ กนั ยายน ๒๕๖๓]

๓๓ ในการวิเคราะหอ์ งค์กรดว้ ย SWOT ถือเป็นหวั ใจสำคญั ข้นั แรกของการวางแผนดำเนินงาน เลยก็ว่าได้ เนอื่ งจากในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่างๆ ในทฤษฎีน้ี จะทำให้เรามองเห็นทงั้ ภาพรวม ข้อดีข้อเสยี ตา่ งๆ ขององค์กร ตลอดจนไปถึงเขา้ ไปและทราบถงึ โอกาสและอปุ สรรคในการดำเนินงาน ตามแผนงาน อกี ด้วย ทำใหใ้ นการกำหนดเปา้ หมาย และ วิธกี ารดำ เนนิ งาน เปน็ ไปได้อย่างเหมาะสม ที่สดุ ๑. ป ระวัติ/แนวคิด SWOT ผู้คิดค้น SWOT เทคนิคน้ี อัลเบิร์ตฮัมฟรี (Albert Humphrey) ได้ชื่อว่าเป็นผู้เร่ิมแนวคิดนี้โดยนำเทคนิคนี้มาแสดงในงานสัมมนาที่ มหาวิทยาลัย สแตนฟอร์ด สำหรับหลักการสำคัญของ SWOT ก็คือการวิเคราะห์ โดยการสำรวจจากภาพ เหตุการณ์ ๒ ดา้ น คอื สภาพการณ์ภายในและสภาพการณ์ภายนอก ดังนั้นการวิเคราะห์ SWOTจึง เรียกได้ว่าเป็นการวิเคราะห์สภาพการณ์ (situation analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน เพ่ือให้รตู้ นเอง (รู้เรา) รู้จักสภาพแวดลอ้ ม (ร้เู ขา) ชดั เจน และวิเคราะหโ์ อกาส-อปุ สรรค การวิเคราะห์ ปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์กร ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารขององค์กรทราบถึงการ เปล่ียนแปลงต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนภายนอกองค์กร ทั้งสิ่งท่ีได้เกิดขึ้นแล้วและแนวโนม้ การเปล่ียนแปลงใน อนาคต รวมท้ังผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงเหล่าน้ีท่ีมีต่อองค์กรธุรกิจ และจดุ แข็ง จุดอ่อน และ ความสามารถด้านต่าง ๆ ท่ีองค์กรมีอยู่ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการกำหนด วิสยั ทศั น์ การกำหนดกลยทุ ธ์และการดำเนนิ ตามกลยุทธข์ ององคก์ รระดับองค์กรทีเ่ หมาะสมต่อไป ๒. องค์ประกอบของSWOT S มาจาก Strengths หมายถึง จุดเด่นหรือจุดแข็งหรือข้อได้เปรียบเป็นข้อดีท่ีเกิดจาก สภาพแวดล้อมภายในบริษัท เช่น จุดแข็งด้านการเงิน จุดแข็งด้านการผลิต จุดแข็งด้านทรัพยากร บคุ คล บรษิ ัทจะต้องใชป้ ระโยชน์จากจดุ แข็งในการกำหนดกลยทุ ธก์ ารตลาด W มาจาก Weaknesses หมายถึง จุดด้อยหรือจุดอ่อนหรือข้อเสียเปรียบ ท่ีเกิดจาก สภาพแวดล้อมภายในต่างๆ ของบริษทั ซงึ่ บริษัทจะต้องหาวิธีในการแก้ปัญหานน้ั สถานการณภ์ ายใน องคก์ รท่ีเป็น O มาจากOpportunities หมายถงึ โอกาส การทส่ี ภาพแวดลอ้ มภายนอกของบรษิ ทั เออื้ ประโยชน์หรือส่งเสรมิ การดำเนินงานขององค์กร โอกาสแตกต่างจากจดุ แข็งตรงทโ่ี อกาสนั้นเปน็ ผลมา จากสภาพแวดล้อมภายนอก แต่จุดแข็งนั้นเป็นผลมาจากสภาพแวดล้อมภายในนักการตลาดที่ดี จะต้องเสาะแสวงหาโอกาสอยู่เสมอและใช้ประโยชน์จากโอกาสนั้นเช่น การเมือง การปกครอง กฎหมาย ราคานำ้ มัน คา่ เงินบาท คแู่ ขง่ เป็นตน้ T มาจาก Threats หมายถึง อุปสรรค ข้อจำกัด ซ่ึงเกิด จากสภาพแวดล้อมภายนอก บางครั้งการจำแนกโอกาสและอุปสรรคเป็นส่ิงทท่ี ำได้ยาก เพราะทั้งสองสิง่ นีส้ ามารถเปลี่ยนแปลงไป

๓๔ ซึ่งการเปล่ียนแปลงอาจทำให้สถานการณ์ทเ่ี คยเป็นโอกาสกลบั กลายเปน็ อุปสรรคได้ เช่น ค่าเงินบาท คู่แขง่ เปน็ ตน้ เครื่องมือน้ีใชเ้ พือ่ อะไร SWOT เป็นเคร่ืองมือในการประเมินสถานการณ์ สำหรับองค์กร หรือโครงการ ซ่ึงช่วยผู้บริหารกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายในโอกาสและ อุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก สำหรับกำหนดแผนงานโครงการจะใช้เป็นแนวทางในการ กำหนดวิสัยทัศนแ์ ละการกำหนดกลยทุ ธ์เพื่อให้อตุ สาหกรรมพฒั นาไปในทางทีเ่ หมาะสม ๔. ขอ้ ดีและข้อเสยี ของ SWOT ขอ้ ดี : ๑. ใช้ประเมินสภาวะแวดล้อมและสถานภาพขององคก์ รโดยเน้นศกั ยภาพและความพร้อม ท่ีองค์กรมีอยู่และพยายามหลีกเล่ียงภัยคุกคามหรือความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมภายนอกรวมทั้ง แก้ไขจดุ อ่อนขององคก์ รด้วยเนื่องจากปัจจยั เหล่าน้มี ีโอกาสท่จี ะกอ่ ให้เกิดประโยชน์ได้เพม่ิ มากขน้ึ ๒. นำไปใช้ปรับปรุงแนวคิดและแนวปฏิบัติของการจัดทำแผนงานหรือโครงการของ หนว่ ยงานให้มีโอกาสสร้างความสำเรจ็ มากขึ้น ๓. ทำให้ทราบถึงกลยุทธ์ในการปรับปรุงการทำงานความก้าวหน้าและขีดจำกัดด้าน บคุ ลากร งบประมาณ และระบบงานเปน็ การป้องกนั การแทรกแซงการทำงานจากปัจจยั ภายนอกได้ มากขนึ้ ขอ้ เสีย: การวเิ คราะห์ SWOT ขององค์กรมีขอ้ ที่ควรคำนึง ๔ ประการ (Boseman et al., ๑๙๘๖) คอื ๑. องค์กรต้องกำหนดก่อนว่า องค์กรต้องการที่จะทำอะไร ๒. การวิเคราะห์โอกาสและอปุ สรรคต้องกระทำในชว่ งเวลาขณะนัน้ ๓. องค์กรต้องกำหนดปัจจัยหลัก (key success factors) ที่เก่ียวกับการดำเนินงานให้ ถูกต้อง ๔. องค์กรต้องประเมินความสามารถของตนใหถ้ ูกต้อง ขั้นตอน วิธีการดำเนินการทำ SWOT Analysis การวเิ คราะห์ SWOT จะครอบคลุมขอบเขตของปจั จยั ท่ีกวา้ งด้วยการระบุจดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาสและอปุ สรรคขององคก์ ร ทำให้มีขอ้ มูล ในการกำหนดทิศทางหรือเป้าหมายท่ีจะถูกสร้างขึน้ มา บนจดุ แข็งขององคก์ ร และแสวงหาประโยชน์จากโอกาสทางสภาพแวดลอ้ ม และสามารถ กำหนดกล ยุทธ์ท่ีมุ่งเอาชนะอุปสรรคทางสภาพแวดล้อมหรอื ลดจุดอ่อนขององคก์ รให้มีน้อยทสี่ ุดได้ ภายใตก้ าร

๓๕ วเิ คราะห์ SWOT น้ัน จะต้องวิเคราะห์ทั้งสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก องค์กร โดยมีข้ันตอน ดังน้ี ๑. การประเมินสภาพแวดล้อมภายในองค์กรการประเมินสภาพแวดล้อมภายในองค์กร จะเกี่ยวกับการวิเคราะหแ์ ละพจิ ารณาทรัพยากรและความสามารถภายในองค์กร ทุก ๆ ด้าน เพ่ือท่ีจะ ระบุจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์กรแหล่งท่ีมาเบื้องต้นของข้อมูลเพื่อการประเมิน สภาพแวดล้อม ภายใน คือระบบข้อมูลเพ่ือ การบรหิ ารท่ีครอบคลมุ ทกุ ด้าน ทั้งในด้านโครงสร้าง ระบบ ระเบยี บ วิธี ปฎิบัติงาน บรรยากาศในการทำงานและทรัพยากรในการบริหาร (คน เงิน วัสดุ การจัดการ) รวมถึง การพจิ ารณาผลการดำเนนิ งานทผี่ า่ นมาขององคก์ รเพื่อทจ่ี ะเข้าใจสถานการณ์และผลกลยทุ ธ์ก่อนหน้า น้ดี ว้ ย จดุ แขง็ ขององค์กร (S-Strengths) เป็นการวิเคราะห์ปัจจัยภายในจากมุมมองของผู้ท่ีอยู่ ภายในองค์กรนน้ั เองว่า ปัจจัยใดภายในองคก์ รท่ีเปน็ ข้อไดเ้ ปรียบหรือจุดเด่นขององค์กรท่อี งค์กรควร นำมาใชใ้ นการพัฒนาองคก์ รได้ และควรดำรงไว้เพอ่ื การ เสรมิ สร้างความเข็มแข็งขององคก์ ร จดุ ออ่ นขององค์กร (W-Weanesses) เป็นการวเิ คราะห์ ปจั จยั ภายในจากมมุ มองของผ้ทู ่ี อยู่ภายในจากมุมมอง ของผู้ที่อยู่ภายในองค์กรน้ัน ๆ เองว่าปัจจัยภายในองค์กรท่ีเป็นจุดด้อย ข้อเสยี เปรียบขององค์กรท่ีควรปรับปรุงใหด้ ีขน้ึ หรือขจดั ให้หมดไป อันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ องคก์ ร ๒. การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอกภายใต้การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก องค์กรน้ัน สามารถค้นหาโอกาสและอุปสรรคทางการดำเนินงานขององค์กรท่ีได้รับผลกระทบจาก สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจทั้งในและระหว่างประเทศที่เก่ียวกับการดำเนินงานขององค์กร เช่น อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นโยบาย การเงิน การงบประมาณ สภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น ระดับการศึกษาและอัตรารู้หนังสือของประชาชน การตั้งถิ่นฐานและการอพยพของประชาชน ลักษณะชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม ความเช่ือและวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมทาง การเมือง เช่น พระราชบัญญตั ิ พระราชกฤษฎีกา มติคณะรฐั มนตรี และสภาพแวดลอ้ มทางเทคโนโลยี หมายถึงกรรมวิธีใหม่ๆและพัฒนาการทางด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ ผลติ และใหบ้ ริการ โอกาสทางสภาพแวดล้อม (O-Opportunities) เป็นการวิเคราะห์ว่าปัจจัยภายนอก องค์กร ปจั จัยใดทีส่ ามารถส่งผลต่อประโยชน์ ท้ังทางตรงและทางออ้ มตอ่ การดำเนนิ การขององค์กรใน ระดบั มหาภาค และองค์กรสามารถฉกฉวยขอ้ ดเี หล่านี้มาเสริมสร้างให้ หน่วยงานเขม็ แข็งข้ึนได้ อุปสรรคทางสภาพแวดล้อม (T-Threats) เป็นการวิเคราะห์ว่าปัจจัยภายนอกองค์กร ปจั จัยใดที่สามารถสง่ ผลต่อในระดับมหภาคในทางทีจ่ ะกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม ซึง่ องค์กรจำต้องหลีกเลี่ยง หรือปรับสภาพองค์กรให้มี ความแข็งแกร่งพร้อมที่จะเผชิญแรงกระทบ ดังกล่าวได้

๓๖ ๓. ระบสุ ถานการณ์จากการประเมนิ สภาพแวดลอ้ ม เม่ือไดข้ ้อมูลเกยี่ วกบั จุดแขง็ -จุดอ่อน โอกาส-อุปสรรค จากการวเิ คราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกด้วยการประเมินสภาพ แวดลอ้ ม ภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกแล้ว ให้นำจุดแข็ง-จุดอ่อนภายในมาเปรียบเทียบกับ โอกาส- อุปสรรค จากภายนอกเพื่อดูวา่ องค์กร กำลังเผชญิ สถานการณ์เช่นใดและภายใต้สถานการณ์ เช่นนั้น องค์กรควรจะทำอย่างไร โดยท่ัวไป ในการวิเคราะห์ SWOT ดังกล่าวนี้ องค์กร จะอยู่ในสถานการณ์ ๔ รูปแบบดังน้ี สถานการณ์ที่ ๑ (จุดแข็ง-โอกาส) สถานการณ์นี้เป็นสถานการณ์ที่พ่ึงปรารถนาท่ีสุด เน่ืองจากองค์กรค่อนข้างจะมีหลายอย่าง ดังนั้น ผู้บริหารขององค์กรควรกำหนดกลยุทธ์ในเชิงรุก (aggressive - stratagy) เพ่ือดึงเอาจดุ แข็งท่ีมีอยู่มาเสริมสรา้ งและปรับใชแ้ ละฉกฉวยโอกาสต่าง ๆ ที่เปดิ มาหาประโยชน์อยา่ งเต็มท่ี สถานการณ์ท่ี ๒ (จุดอ่อน-ภัยอุปสรรค) สถานการณ์นี้เป็นสถานการณ์ที่เลวร้ายท่ีสุด เน่ืองจากองค์กรกำลังเผชิญอยู่กับอุปสรรคจากภายนอกและมีปัญหาจุดอ่อนภายในหลายประการ ดังนั้น ทางเลือกท่ีดีท่ีสุดคอื กลยุทธ์ การต้งั รับหรอื ป้องกันตวั (defensive strategy) เพ่อื พยายามลด หรอื หลบหลกี ภยั อปุ สรรค ตา่ ง ๆ ทค่ี าดว่าจะเกิดขึน้ ตลอดจนหามาตรการทีจ่ ะทำใหอ้ งคก์ รเกดิ ความ สูญเสยี ท่ีน้อยทสี่ ดุ สถานการณ์ที่ ๓ (จุดอ่อน-โอกาส) สถานการณ์องค์กรมีโอกาสเป็นข้อได้เปรียบด้านการ แข่งขันอยู่หลายประการ แต่ติดขัดอยู่ตรงท่ีมีปัญหาอุปสรรคที่เป็นจุดอ่อนอยู่ หลายอย่างเช่นกัน ดงั นน้ั ทางออกคอื กลยทุ ธ์การพลิกตัว (turnaround-oriented strategy) เพื่อจัดหรือแก้ไขจุดอ่อน ภายในตา่ ง ๆ ให้ พร้อมที่จะฉกฉวยโอกาสต่าง ๆ ทีเ่ ปดิ ให้ สถานการณ์ที่ ๔ (จุดแข็ง-อุปสรรค) สถานการณ์นี้เกิดข้ึนจากการท่ีสภาพแวดล้อมไม่ เอือ้ อำนวยต่อการดำเนินงาน แตต่ ัวองคก์ รมีข้อไดเ้ ปรียบที่เปน็ จุดแข็งหลายประการ ดังนนั้ แทนท่จี ะ รอจนกระทั่งสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป ก็สามารถท่ีจะเลือกกลยุทธ์การแตกตัว หรือขยาย ขอบข่ายกจิ การ (diversification strategy) เพื่อใช้ประโยชนจ์ ากจดุ แขง็ ที่มสี ร้างโอกาสในระยะยาว ด้านอืน่ ๆ แทน ๒ หลกั การ ทฤษฎี PDCA PDCA คือวงจรหรือแนวคิดการบริหารงานคุณภาพประเภทหนึ่งที่ถูกคิดค้นโดย วอล์ท เตอร์ ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) PDCA โดยที่ PDCA น้ันเป็นตัวย่อของศัพท์ภาษาอังกฤษท่ี ประกอบไปด้วย P (Plan) คือการวางแผน D (Do) คอื การลงมอื ปฏิบตั ิ C (Check) คอื การตรวจสอบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook