Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

Published by tassanapol.khem, 2021-09-15 07:40:21

Description: พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

Search

Read the Text Version

๑๓๗ วิธีการขยายผลในการพัฒนาองค์กรคุณธรรม องค์กรต้นแบบต่อไว้ เพ่ือไม่ให้พืชพันธุ์แห่งคุณธรรม ความดีน้ันสูญหายจากสังคมไทย แผนภาพที่ ๔.๑๓ สรุปผังโมเดล รูปแบบการเพมิ่ ประเด็นคณุ ธรรมในมติ ศิ าสนา ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๑๓๘ ๔.๓.๑๐ รปู แบบองคค์ วามรู้ การพัฒนาคุณธรรม ภาคเี ครือข่าย วทิ ยากร แหลง่ เรยี นรู้ อ่ืน ๆ การนำเอาองคค์ วามร้ดู ้านการพฒั นาคณุ ธรรมต้นแบบนำเสนอต่อสังคม โดยแสดงใหเ้ ห็น องคค์ วามรู้ การพัฒนาคุณธรรม แกภ่ าคีเครอื ข่าย แกว่ ิทยากร กระจายไปยังแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ด้วย การประเมินผลน้นั เปน็ หลักการสะท้อนความจริงท่ีปรากฏอยูใ่ ห้เห็นประจักษ์ รับรรู้ ่วมกนั เพ่ือให้เห็น ความจริง เห็นผลงานที่ได้สิ้นสุดแล้วว่า มีผลเป็นอย่างไรบ้าง ท้ังได้คะแนนสูง และพอใช้ได้ จะเป็น ตวั ช้ีวดั ประกอบการวางแผน พัฒนาการบริหารจดั การองค์กรคุณธรรมกันต่อไปในอนาคต แม้ผลนั้น จะเป็นอยา่ งไร ก็ขอใหก้ ารประเมินสิ่งท่ีเป็นจริง เปน็ กระจกสะท้อนสิง่ ท่ีเกดิ ขึ้นตามที่เป็นอยเู่ ท่าน้ัน จะให้เกดิ เหตุการณ์สมเหตุสมผล เพ่อื จะไดน้ ำเสนอที่ประชมุ ในการปรบั เปลย่ี นพฒั นาตอ่ ไป เปน็ การ ตรวจสอบข้อมูลจริง เพื่อจะทราบความเป็นจริง เพราะจะมีผลต่อการพัฒนาคุณธรรม และพัฒนา องค์กรคุณธรรมต่อไป ผู้วจิ ัย จึงไดน้ ำเสนอความเห็นของผู้ทรงคณุ วฒุ ิทไ่ี ดจ้ ากการสมั ภาษณ์ เพ่อื เป็น แนวประเมนิ ของผมู้ สี ่วนร่วมของการพัฒนาองค์กรต้นแบบไวว้ ่า ๑. การขับเคลอ่ื นจังหวัดคุณธรรม มีความคาดหวัง เรื่องการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน แบบองค์รวม ให้ประชาชนทุกภาคส่วนมีโอกาสนำเสนอส่ิงที่บกพร่อง ปัญหา ความทุกข์ร้อน สิ่งท่ี อยากแกไ้ ข ความดที ่อี ยากทำ โดยให้ทุกฝ่ายได้รับรู้ร่วมกนั ๑๔๙ ๒. การสร้างจิตสำนึกในการรับผิดชอบสังคมร่วมกัน โดยเช่ือมโยงกับองค์กรภาครัฐทุก ระดับ ขับเคล่ือนจากหน่วยงาน สู่ชมุ ชนท้องถิ่น หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ สรู่ ะดับจังหวดั ไปด้วยกันให้ เกิดการพัฒนาแบบองค์รวม ด้วยองค์กรคุณธรรม เพื่อให้ประเทศชาติพัฒนาได้อย่างม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยนื ๑๕๐ ๓. จำต้องมีการวัดผล ประเมินผล มกี ารสร้างเครอื ข่าย มกี ารติดตามผลทกุ ระยะ ซ่งึ จะ มีการโครงการ มีกิจกรรมตามลำดบั ของแผนงานการสร้างองค์กรคณุ ธรรม เพื่อให้เป็นต้นแบบ เป็น จุดเริ่มต้นของวิธกี ารใหค้ ุณธรรมสร้างระบบบริหารจดั การ ท่ีจะมีการเกิดจาก “การระเบิดจากข้าง ใน”๑๕๑ ๔. เป็นการกระทำแบบไม่ได้เร่งรัด เปน็ ไปต่อเนื่อง โดยอิงอาศัยปัจจัยเครือข่ายอินเตอร์ เนท พหุมิติ สร้างองคก์ รแบบเชงิ รกุ ปลกู ฝังเชงิ ใหก้ ำลงั ใจ รางวลั และชี้ใหเ้ ห็นเหตุผลทท่ี รงคณุ ค่าของ ๑๔๙ สมั ภาษณ์ ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคญั อนั ดับที่ ๒๒ เมอ่ื วันท่ี ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๕๐ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคญั อันดบั ท่ี ๒๑ เมือ่ วนั ท่ี ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๕๑ สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคญั อนั ดับท่ี ๑๖ เมื่อวนั ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๓๙ การบริหารแบบคณุ ธรรมที่มีผลต่อการพัฒนาแบบยั่งยืน ซึ่งจะเป็นผลงานระดับจงั หวัดทผ่ี ลักดนั ให้ เกดิ ตามแผนแม่บทของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ๑๕๒ ๕. การขับเคล่ือนเบ้ืองต้น จนถึงความเป็นต้นแบบของประเทศทางจังหวัดพิจิตร ได้ ประสานหน่วยงาน องค์กร ชุมชน ระดับหมู่บ้าน ระดับตำบล ระดับอำเภอ รวมถึงเครือข่ายภาค ธุรกิจ เครือข่ายจิตอาสา เครือข่ายสาธารณกุศลต่าง ๆ ให้เข้าร่วมสร้างการพัฒนา ส่งเสริม การใช้ หลักการบรหิ ารจัดการดว้ ยคณุ ธรรม ยังผลใหส้ ามารถเป็นองคก์ รต้นแบบ ใน ๑๓ เครอื ข่าย๑๕๓ ๖. จังหวัดพิจิตรที่ได้วางแนวคิดไว้ โดยมีคณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมฝ่าย วิชาการ คณะกรรมฝ่ายประสานงาน คณะกรรมฝ่ายติดตามประเมนิ ผล หลัก ๆ ก็จะช่วย สนับสนุน แก้ไขปัญหาเปน็ พี่เล้ยี งให้องคก์ รต้นแบบเพื่อการจัดตั้งศูนย์เรยี นรู้ ทีมวิทยากร พี่เล้ียง ท่จี ะสามารถ เป็นฐานองค์ความรู้ สถานท่ศี กึ ษาดูงาน ของจังหวัดพจิ ิตร ตามแผนงานท่ีได้วางไว้๑๕๔ สรุปได้ว่า กระบวนการส่งเสริม และพัฒนาจังหวัดคุณธรรมนั้น ได้มีวิวัฒนาการมา ตามลำดับโดยนำหลักแผนแม่บทแห่งชาติมาบูรณาการปรับใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใน จงั หวัดพิจติ ร โดยบรรจุเขา้ สยู่ ุทธศาสตร์ของจังหวัด ซ่ึงได้มกี ารพัฒนาคุณธรรมในการบรหิ ารจัดการ องคก์ รอย่างต่อเนือ่ ง และให้มีผลการพฒั นาในรูปแบบ ต้นแบบ ทย่ี งั่ ยนื ตอ่ เนือ่ ง ๑๕๒ สัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมลู สำคัญอันดับท่ี ๑๘ เม่ือวนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓. ๑๕๓ สมั ภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญอนั ดับที่ ๒๖ เมอ่ื วันที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. ๑๕๔ สมั ภาษณ์ ผใู้ หข้ อ้ มูลสำคัญอันดบั ที่ ๑๖ เมื่อวนั ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๔๐ แผนภาพท่ี ๔.๑๔ สรุปผงั โมเดล รูปแบบองคค์ วามรู้ การพฒั นาคณุ ธรรม ภาคเี ครือข่าย วทิ ยากร แหลง่ เรียนรู้อื่น ๆ ดังน้ัน ผ้วู จิ ัยได้ศึกษานโยบายและยุทธศาสตรข์ องจงั หวัดไดม้ ีรูปแบบรวมทง้ั หลกั การตา่ ง ๆ ที่ได้นำไปใช้ในรูปแบบของการส่งเสริมการพัฒนาการบริหารจังหวัดคุณธรรมตามแผนแม่บท ส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๔) ผู้วิจัยได้ศึกษางานวิชาการพบว่าประเด็น เชื่อมโยงต่อเนื่องกันโดยสรุปได้๑๐ ข้อ ตามแนวทางท่ีจะตอบโจทย์ของวัตถุประสงค์การศึกษาวิจัย ดังนี้ คอื ๑. การสรา้ งกลุ่มผู้นำเพอ่ื การเปลี่ยนแปลง ๒. การตรวจสอบความตอ้ งการของพืน้ ที่ ๓. การเช่ือมโยงประสานองคก์ ร ๔. การพัฒนากลไกลขบั เคลื่อน ๕. การมีเป้าหมายพัฒนาทช่ี ดั เจน ๖. การระดมความคิดเพ่อื การวางแผน

๑๔๑ ๗. การสร้างรูปแบบพฒั นาทีเ่ ป็นรปู ธรรม ๘. การพัฒนาท่ีมน่ั คงและย่งั ยืน ๙. การสร้างองค์กรเครือข่ายและขยายผล ๑๐.การสรุปประเมนิ ผลสำเร็จนำเสนอตอ่ สงั คม เพื่อจะไดน้ ำเอาองค์ความรู้ที่ไดจ้ ากการสมั ภาษณ์มาศึกษาวิเคราะห์ สงั เคราะห์เป็นองค์ ความรู้ให้เหน็ ความเปน็ รปู แบบในการพัฒนาของจงั หวัดพจิ ิตร ซึ่งผู้มวี จิ ัยจะไดป้ ระมวลผลสังเคราะห์ เอาองค์วามรู้ด้านต่าง ๆ ท่ีมีผลสอดคล้องกับแผนแม่บทท่ีมีผลตรงกับประเด็นการศึกษาวิจัย ด้าน รูปแบบการพัฒนาจังหวัดคุณธรรมเพื่อให้เป็นภาพชัดเจน ท่ีจะนำไปเป็นองค์ความรู้ในการพัฒนา ตน้ แบบคณุ ธรรม แผนภาพท่ี ๔.๑๕ ผังโมเดลแบบจงั หวัดคุณธรรมตน้ แบบ

๑๔๒ ดังน้ันการประมวลองค์ความรู้ที่ใช้สำเร็จมาแล้วนั้น เป็นตัวตอบวัตถุประสงค์ความ ต้องการของการพัฒนาองคก์ รคุณธรรมที่หลายภาคสว่ นร่วมกันระดมสรรพกำลัง ความคิด เร่ียวแรง บคุ คล ทรพั ยากรเท่าท่มี อี ยู่เพอ่ื สรปุ ภาพรวมท้งั หมด ไวเ้ ปน็ เอกสารหลกั ฐานที่ปรากฏเฉพาะความจรงิ เทีย่ งตรง ข้อมลู ท่ีแมน่ ยำ เพ่อื เป็นหลักฐานยืนยนั ว่า การวางแผน โครงการตา่ ง ๆ เพื่อสนองนโยบาย คุณธรรมเพ่ือการบริหารจัดการองค์กรคุณธรรมน้ันได้ผลสำฤทธิ์อยู่ในระดับใด และส่ิงท่ีจะนำไป พัฒนาต่อยอดต่อ ๆ ไปนั้นมีอะไรบ้าง รวมถึงบริบท สภาพสิ่งแวดล้อมท้ังวัตถุ หลักฐาน พยาน กจิ กรรมโครงการ ปัจจัยสนับสนุน ปัจจัยแวดล้อม รวมให้ได้ทั้งหมด แล้วประมวลผลสำเสนอแบบ ครอบถว้ น แบบสรปุ ย่อ เปน็ ส่ิงที่เกบ็ รวบรวมองค์ความรู้ตา่ ง ๆ ทีไ่ ด้ผา่ นกจิ กรรมขององค์กรนนั้ มาจรงิ ประสบความสำเร็จแลว้ บันทึกถ่ายทอดต่อไปสู่สงั คม ๔.๔ ผลการสนทนากลุม่ เฉพาะ องค์ความรู้ที่ก่อให้เกิดพลังแนวคิดริเริ่มซ่ึงการระเบิดจากข้างใน ท่ีปรารถนาดีงามต่อ ตนเอง และสงั คม มีโอกาสจะมุ่งม่ันพัฒนาศกั ยภาพเฉพาะตน รวมพลงั สร้างสรรค์ โดยเป็นวิธกี ารคิด ภมู ปิ ญั ญาเฉพาะคนเฉพาะกลุ่มองค์กรนัน้ ท่จี ะพัฒนา ขบั เคลือ่ นชมุ ชน องค์กรของตนเอง ให้มคี วาม เจรญิ รงุ่ เรอื นก้าวหนา้ ควบคู่กับการพัฒนาตามยทุ ธศาสตรร์ ะดบั จงั หวัด และร่วมกันเสนอความคดิ เห็น ประสานความร่วมมือได้ทุก ๆ องค์กรที่มีอุดมการณ์เดียวกัน สามารถเจริญเติบโตได้ด้วยตนเอง ผู้วิจัยได้องค์ความ รู้จากการสัมภาษณ์ ผู้ทรงคุณ วุฒิ ภายในจังห วัดพิจิตรเพื่ อเป็นนำมาสังเคราะห์ เช่ือมโยงในมุมมองของบุคลากร ผู้นำในพ้ืนทซ่ี ง่ึ ทา่ นได้แสดงทัศนะไว้ว่า การท่ีได้นำเอาความคิด หรือความต้องการที่จะพัฒนาองค์กรในท้องถ่ิน โดยเร่ิมตน้ จาก ปญั หาที่เราอยากแก้ไขกัน คือ กิเลสหรือปัญหา ท่ีจะขจัดให้หมดไป แล้วพัฒนาหรือสร้างความดีที่ อยากทำ ก็คงไม่พ้น ทาน ศีล ภาวนา ซ่ึงแยกย่อยออกเป็นคุณธรรมจรยิ ธรรมได้หลากหลาย แล้วแตว่ ่า จะนำไปสังเคราะห์ แยกแยะ แยกสว่ นทำอะไร ขา้ วท่ปี ลูกในนาเมืองพิจติ ร ยงั ไปทำประโยชนไ์ ด้หลาย หลาย ไม่ใช่เฉพาะเป็นอาหาร คอื ข้าวสวยหงุ ใส่จานเทา่ น้นั ตอ้ งนึกถงึ การแปรรปู ซึง่ กระบวนการผลิต เราทำกันได้เอง๑๕๕ การท่ีเราแบ่งการการแปรรปู เปน็ สามารถน้ำไปผลิตเปน็ นำ้ มนั หงุ ต้ม ทอดอาหารได้ ผลิต อาหารสัตว์ได้ นำไปผลิตป๋ยุ ได้ นำไปผลติ แกส๊ ได้ และอกี มากมาย ฯลฯ จากข้าวอย่างเดียว แตข่ ยาย ความแล้ว จะเห็นอันชัด ๆ ว่า ปญั หาทอี่ ยากแก้ คงมไี ม่เหมือนกัน เพราะความต้องการไม่เหมือนกัน ด้วยเหตุน้ีเอง ยาที่รักษาได้ทุกโรค คือยาอะไร ธรรมโอสถตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ทุกข์ คือ ๑๕๕ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวฒุ ิลำดบั ท่ี ๕ เม่ือวนั ที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔

๑๔๓ ปญั หาท่ีอยากแก้ ต้องถามว่า เกิดจากอะไร ก็สมุทัย เป้าหมายท่ีต้องการคืออะไร ก็คือไม่ต้องทุกข์ ต้องมีปญั หาอกี ตอ่ ไป สน้ิ สุดกนั ทปี ัญหา ใหด้ ับทกุ ข์ดบั ปัญหาไม่ต้องมีอกี ตอ่ ไป ยาท่ชี ดุ ท่ใี ห้ คือ มรรค หนทางดับทุกข์ มรรคมอี งค์ ๘ ประการ นี้ยาชุดใหญ่๑๕๖ ปัจจุบนั นกั ศึกษา นักวิชาการ ได้สร้างองค์ความรูต้ า่ ง ๆ เทคโนโลยตี า่ ง ๆ ขึ้นมานนั้ กเ็ พื่อ ประโยชน์แก่การใช้สอย ในการดำรงชวี ิต ของมนุษยเ์ ราท้ังหลาย โดยที่สุดความร้ตู ่าง ๆ ท่ีมีนั้นย่อม ต้องสามารถนำมาแก้ไขปญั หาชีวิตของตนเอง ครอบครวั สังคมทีเ่ ปน็ ปัญหากนั อยู่ในขณะน้ี๑๕๗ คงเป็นอันว่า องค์กรคณุ ธรรมต้นแบบ คงเป็นแบบเดียวกนั นี้ คือ ต้องการผลติ ยาชุดใหญ่ ซึ่งผลิตได้เอง และใช้เองในองค์กร เพอ่ื ให้พน้ ปัญหา ตามท่ีได้ระดมสรรพกำลังทำการบริหารจัดการ กนั ก็ต้องนำเอาหลักอริยสัจมาเป็นวิเคราะห์ นำไปใช้ในการพัฒนาได้ หรือนำไปใช้ควบคู่กับทฤษฎี วชิ าการอืน่ ๆ ได้ เพ่อื จะบูรณาการปรับใช้กันกับหัวข้อคุณธรรมชุดอื่น ที่จะมผี ลตอ่ การทำให้ องค์กร คณุ ธรรมที่ตอ้ งการใหเ้ ปน็ รปู แบบ๑๕๘ สรุปไดว้ ่า การเกิดองคค์ วามรู้ภายใน ซึ่งระเบดิ จากข้างในกล่มุ คน ผู้นำ สมาชิกในองคจ์ ะ สามารถพัฒนาองค์กรคุณธรรมท่มี ีคณุ ภาพเป็นอตั ลกั ษณข์ ององค์กร ชุมชน ท้องถิ่นนน้ั เพราะเปน็ ส่ิง ท่เี กิดข้นึ ได้ดว้ ยตนเอง สามารถเก็บเมลด็ พันธ์ุแห่งความรู้นั้น พรอ้ มกับการแพจเก็ตเพอื่ การเผยแพร่ ถา่ ยตอ่ ให้ภาคีเครอื ขา่ ยได้ดว้ ย การท่ีทุกคน ทุกฝ่ายได้ลงมือปฏิบัติพร้อม ๆ กัน หรือทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องมาประชุม ตกลงร่วมกนั ประสานความรว่ มมือ ระดมความคิด นำเสนอ ร่างแผนงาน เพื่อใหเ้ กิดรวมพลังฐานภาคี เครือข่ายที่มีความสามารถหลากหลายรวมตัว เสริม เติม แต่ง คุณธรรมจริยธรรมที่บกพร่องให้เกิด สมบูรณ์เป็นการบูรณาการร่วมกัน ทำให้องค์กรคุณธรรมขับเคลื่อนไปสู่ความเป็นองค์กรต้นแบบได้ สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์จงั หวดั นโยบายแห่งชาติได้ ผวู้ ิจยั ได้ทำการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะหเ์ อา แนวคิดทีท่ ำแบบองค์รวมจากผูท้ รงคุณวฒุ ทิ ่ีนำเสนอไว้วา่ องค์กรคุณธรรมนั้น ในฐานะเป็นส่วนหน่ึงของสังคมแบบหน่วยย่อย ท่ีมีหน้าท่ีในการ รบั ผิดชอบภาระงานที่ต่างกนั วัด รับผดิ ชอบดูแลประเพณีวฒั นธรรม สืบสารประเพณี งานบญุ เปน็ ที่ พึง่ ทางจิตวญิ ญาณของภาคประชาชนเกดิ แก่เจบ็ ตาย ให้กำลังใจประชาชน ศนู ยร์ วมใจคน๑๕๙ ๑๕๖ สนทนาเฉพราะกล่มุ ผทู้ รงคณะวุฒิลำดบั ท่ี ๑๒ เมือ่ วนั ที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๕๗ สนทนาเฉพราะกลมุ่ ผทู้ รงคณะวุฒิลำดับที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๕๘ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวฒุ ลิ ำดบั ที่ ๓ เมอ่ื วันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๕๙ สนทนาเฉพราะกลมุ่ ผทู้ รงคณะวุฒิลำดับที่ ๗ เม่ือวนั ที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔

๑๔๔ ด้านโรงเรยี นก็รับผิดชอบหนา้ ทสี่ รา้ งองค์ความรูด้ ้านอักษร วชิ าการ ฝึกฝนพัฒนาเยาวชน ของชาติ เพื่อมีสัมมาชีพ การสื่อสารเบอ้ื งต้น จนไปถึงสูงสดุ ของสาขาวิชาแต่ละแขนง แตล่ ะศาสตร์ โรงพยาบาลดแู ลรกั ษาผปู้ ่วย เฝ้าระวังโรคภยั อาการเจ็บป่วยที่เกดิ ข้นึ กับภาคประชาชน๑๖๐ โรงพัก รับผิดชอบเกีย่ วกับการละเมดิ ชีวิต ทรัพย์สิน คดคี วามต่าง ๆ ซึ่งแตล่ ะองค์กรนั้น มีหน้าท่ีรับผิดชอบต่างกัน ด้านเจ็บป่วย โรคภัยต่าง ๆ จากอุบัตเิ หตุ การจากประมาท จากฤดูหนาว ร้อน จากพฤติกรรม จากกรรมพันธ์ุ ที่ให้ป่วยในจุดต่าง ๆจนถึง ป้องกันไม่ให้โรคร้ายต่าง ๆเกิดข้ึน เป็นหน้าท่ขี องสาธารณสขุ สาธารณสขุ ก็มบี ุคลากร คอื มนุษย์มีเลือดเน้อื มีจิตใจ กต็ ้องอาศัยองคก์ ร อนื่ เหมือนกนั แต่งานรบั ผิดชอบเฉพาะทางเทา่ นั้น ทเ่ี ราต้องรบั ผิดชอบโดย ต้องทำใหด้ ี เพื่อร่วมกับ องคก์ รภาคสว่ นตา่ ง ๆ ท่ตี ้องอิงอาศัยกัน๑๖๑ สรุปวา่ องคก์ รคณุ ธรรมที่ใช้ระบบองค์กร ผสมผสานแนวคิดรว่ มกันและสามารถผลักดัน จนไปบรรลุวัตถุประสงค์ได้ ถอื ว่าเป็นเรื่องที่สุดยอด เพราะการทำงานแบบองค์เป็นแนวคิดที่ก่อเกิด ความสมคั รสมานสามคั คี ปรองดองสมานฉนั ท์สอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ การทีน่ ำเอาหลกั การทำงาน โดยยืนอยู่บนพื้นฐานทำตามหลักความจริง เปน็ จดุ เริ่มต้นได้ ให้ความสำคัญกับองค์กรเล็ก ๆ ระดับหน่วยย่อย ซึ่งจะเป็นภาพรวมในหน่วยงานใหญ่ท่ีมั่นคงและ แข็งแกรง่ เหตเุ พราะไดท้ ำการหาความจริง ไมไ่ ด้เพยี งแต่ต้ังสมมตฐิ านไว้เท่านัน้ แตเ่ อาความจริงทีม่ ี อยู่ คือศักยภาพ ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถของสมาชิก บุคคลในองค์กรนั้น และทรัพยากร ดา้ นต่าง ๆขององค์กรน้ันมาทำการประเมิน ประมวลผลก่อน เพื่อท่ีเข้าใจ เข้าถึง พฒั นาองค์กรของ ตนเอง และในฐานะผู้นำต้องเข้าใจท้องถ่ิน ท้องท่ี องค์กรนั้นมีธรรมชาติความเป็นอยู่ วัฒนธรรม แนวคดิ พฤติกรรมอยา่ งไร ทำให้ผนู้ ำได้นำไปสู่ทท่ี ิศทส่ี อดคลอ้ งกัน วัตถปุ ระสงค์เปา้ หมายที่ตั้งไว้ จะ ไดเ้ ป็นท่ียอมรบั เข้าใจกันอยา่ งถกู ตอ้ ง ไมค่ ลาดเคลื่อน ผู้วิจยั จึงเห็นเหตุปจั จัยสำคัญได้สงั เคราะหอ์ งค์ ความรู้จากการสมั ภาษณ์ผทู้ รงคุณวฒุ ไิ ด้ดังน้ี ๑๖๐ สนทนาเฉพราะกล่มุ ผทู้ รงคณะวุฒิลำดับท่ี ๓ เมอ่ื วันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๖๑ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวฒุ ลิ ำดบั ที่ ๘ เมอื่ วันท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔

๑๔๕ ด้านองค์คุณธรรม องค์ความรู้ท่ีเป็นรูปแบบรูปสำเร็จมาแล้ว ก็ขึ้นอยู่แผนงานนำองค์ คุณธรรมหลักการใดบ้าง ท่ีจะมาใช้ ตรงนี้ไม่ยาก แต่การจะขยายความรู้ให้กลุ่มงาน กลุ่มประชากร ทวั่ ไปเห็นชอบดว้ ย เหน็ ว่าเปน็ สง่ิ สำคัญเรื่องจดั กิจกรรมรว่ มกนั ตรงนี้ถือวา่ เห็นตัวแปรสำคัญด้วย๑๖๒ การคำนึงถึงพ้ืนท่ีประชาชน วัดนั้น ต้ังอยู่ในชัยภูมิมีประวัติความเป็นมาอย่างไร ประชาชน หน่วยงานน้ัน มีความพร้อม ไม่พร้อม หนาแน่น เบาบาง การสัญจรไปมา ฐานะความ เปน็ อยู่ ตอ้ งการพิจารณารายละเอยี ดกัน เพราะโครงการคุณธรรมที่จะสรา้ งเป็นต้นแบบใช้แลว้ จะให้ เศรษฐกิจและสังคมในท้องถิ่นพื้นท่ีตรงนั้นดีงาม ต้องอาศัยการปรับใช้ การบูรณาการ ถ้าจัดเอาแค่ ภาพลักษณส์ ามารถทำได้ เมือ่ หน่วยงานเก่ียวข้องมารวมกัน๑๖๓ ภาคประชาชน หน่วยงานพื้นท่ีก็กลับเข้ารูปแบบเดิม จะต้องมีการรณรงค์ส่งเสรมิ หรือ ตอ้ งสนับสนุนให้โครงการนัน้ ดำเนินไปไดก้ ่อนสักระยะ พรอ้ มหาพี่เลี้ยงช่วยเหลือกันหน่อย มิฉะนั้น เหมอื นปลกู ต้นไม้แล้วไม่ได้รดน้ำตอ่ เน่ือง กจ็ ะเห่ียวเฉาในระยะเวลาต่อมา ตอนมีน้ำเลยี้ งกส็ ดชน่ื ใจ พอขาดน้ำเลีย้ งขาดใจ เฉาเฉียวไม่บรรลุเป้าหมายในระยะยาวตามทตี่ อ้ งการ๑๖๔ สรุปว่า เมอ่ื มกี ารศกึ ษาความเป็นจริงของชุมชน องค์กรนั้น อย่างละเอยี ดถถี่ ว้ นแล้ว ย่อม เกิดต้นทุนคือหยัง่ รู้สภาพปัญหา อปุ สรรค จุดเด่น จดุ เดน่ ของพนื้ ท่ี ท่จี ะเขา้ ไปนำเอาหลกั ธรรมคณุ นำ การพัฒนาศักยภาพชุมชนท้องถิ่น ซ่ึงเป็นองค์กรระดับย่อย แต่มิใช่เฉพาะระดับย่อยเท่าน้ัน โดย ภาพรวม ระดับอำเภอ ระดับจงั หวัด เพื่อเป็นฐานข้อมลู ตน้ ทุน ภมู ปิ ญั ญาศักยภาพที่มีอยู่ โดยที่ไมต่ ้อง ยึดตำราวชิ าการมากไป เปน็ การเรยี นรู้พ้ืนฐานความเปน็ จรงิ แลว้ นำไปใชป้ ระโยชน์ การมสี ่วนร่วม เป็นการบริหารจัดการระบบคณุ ธรรม ที่มุ่งให้องคก์ รเครือข่าย ผมู้ ีส่วนได้ เสยี ขององคก์ รน้ัน เปน็ พลังขบั เคล่ือนพัฒนา มีโอกาส มีบาทและร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาจงั หวัด คุณธรรมร่วมกันในทุกข้ันตอน ตั้งแต่เร่ิมต้น วิเคราะห์ปัญหา กำหนดเป้าย ดำเนินงาน ติดตาม ประเมินผล บันทึกรายงาน และให้สอบคล้องกับทิศทางเป้าหมายยุทธศาสตร์ของการพัฒนาชาติ ผวู้ ิจยั ไดส้ งเคราะหแ์ นวคดิ ที่ไดจ้ ากการสัมภาษณ์ ทม่ี คี วามคดิ เห็นในลกั ษณะนี้ ดังนี้ ๑๖๒ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวฒุ ิลำดับท่ี ๖ เม่อื วันท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๖๓สนทนาเฉพราะกลุม่ ผทู้ รงคณะวฒุ ลิ ำดับที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๖๔ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวุฒลิ ำดบั ท่ี ๕ เมอื่ วันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔

๑๔๖ จังหวัดคุณธรรมต้นแบบ เป็นการขับเคลื่อนลกั ษณะการบรหิ ารดว้ ยระบบคุณธรรมอนั เปน็ ภาพลักษณ์ ท่มี ีการรวมเอาหน่วยงานราชการ ระดับอำเภอ และทุกภาคสว่ นของจงั หวัดพิจิตร เข้ามา มสี ่วนเกี่ยวข้องกัน ในเชิงนโยบาย ซึ่งเป็นฐานรองรับงานการบริหารราชการแผ่นดนิ โดยองค์รวมของ หลักธรรมาภบิ าล๑๖๕ เม่ือองค์กรทุกภาคส่วนร่วมใจสร้างความดี อยากทำดี สร้างความสมานสามัคคีเพื่อให้ สังคมบ้านเมืองของเราเกิดความสงบร่มเย็น การมีส่วนร่วมเป็นเป้าหมายหลักท่ีจะให้เกิดการ สอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ๑๖๖ จังหวดั พิจิตรได้มีผู้นำระดับประเทศมาเป็นผู้ให้หลักการ นโยบาย วางแผนงานหลักให้ เป็นโครงการหลกั ในการพัฒนาสงั คมจังหวดั พจิ ติ รให้มคี วามเป็นเอกภาพ มีอตั ลักษณ์ ภาพลกั ษณเ์ ป็น ท่นี ่านับถือของส่วนรวมระดับประเทศ๑๖๗ การสืบสานวัฒนธรรมให้คงอยู่ ก็เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดแบบคุณธรรม ในส่วน ของสำนักงานพระพุทธศาสนาได้มีส่วนขับเคล่ือนรูปแบบของงานวัดวาอารามต่าง ๆ ที่รวมเอา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถน่ิ ไว้ดว้ ยกนั การทค่ี ณะสงฆ์ได้มสี ่วนร่วมและพัฒนาสังคม ชุมชนนั้น ให้เกิดโครงการสร้างงาน สร้างกิจกรรมตามที่เป็นนโยบายของรัฐบาล อาศัยวัดซึ่งมีเจ้า อาวาส ในท้องถ่นิ น้ัน ประสานงานถึงเจ้าคณะทุกระดับ ให้ท่านได้มาเปน็ ประธานขบั เคล่ือนด้วยแบบ มสี ่วนรว่ ม๑๖๘ สรุปว่า การมีส่วนร่วมเป็นคุณสมบัติส่วนหนึ่งของการเป็นภาคีเครือข่ายร่วมกันในการ จัดตั้ง องค์กรคณุ ธรรมต้นแบบของจังหวัดพิจติ รร่วมกัน งานวฒั นธรรม ประเพณี โดยหลักแล้วจะมี วัดเป็นศูนย์กลางในการดำเนินงาน เช่ือมกับหน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน และภาคประชาชน ศรทั ธาของวดั น้นั ๆ เป็นตวั สนบั สนุน การมสี ่วนร่วมของทุก ๆ อย่าง ก็จะเป็นปัจจยั ส่งเสริมการสร้าง งานทำงานดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ยดงี าม ๑๖๕ สนทนาเฉพราะกลมุ่ ผทู้ รงคณะวฒุ ิลำดบั ที่ ๑ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๖๖ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวุฒลิ ำดบั ท่ี ๓ เมื่อวนั ท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๖๗ สนทนาเฉพราะกลมุ่ ผทู้ รงคณะวุฒิลำดับที่ ๑ เมื่อวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๖๘ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวุฒิลำดับที่ ๙ เม่ือวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔

๑๔๗ หลักการของความพอดี ท่ีจะสรา้ งให้เกดิ ข้ึนใจจิตใจของบุคคล ชุมชน องคก์ ร สังคม โดย แผนแมบ่ ทประสงค์ใหม้ ีการเกดิ จากข้างใน ระเบิดจากข้างใน ของสมาชกิ ในแต่ละองค์กร และให้มีการ ขับเคลอ่ื นให้สอดคล้องกบั ทิศทางและเป้าหมายยทุ ธศาสตร์การพัฒนาของชาติ๑๖๙ ความม่งุ หวังความเป็นกลางในระบบบรหิ ารจัดการ คือความพอดี ตรงกันพอดี เรียกได้ว่า หาทรพั ยากร หาคุณธรรมที่จะเอามาเป็นหลักในการบริหารจัดการสร้างองค์กรคุณธรรมต้นแบบได้ พอดี ผูว้ จิ ัยได้ศึกษาประมวลองคค์ วามรู้จากการสมั ภาษณ์ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ได้หลักคุณธรรมกลางของแผน แมบ่ ทซึ่งกลา่ วไว้ ๔ ประเด็นคอื ๑. พอเพียง ๒. วินยั ๓. สจุ รติ ๔. จติ อาสา๑๗๐ คณุ ธรรมหลัก ๔ ประการนี้ ไดต้ รงกับแนวคิดผู้ทรงคุณหลาย ๆ ท่านในเขตจังหวัดพิจติ ร ซง่ึ ท่านไดก้ ลา่ วไว้พอดี ดงั ได้แสดงดังตอ่ ไปนี้ การค้นหาสรรหา กท็ ำกนั พอประมาณ ไม่ให้ทุ่มเทงบประมาณทรัพยากรสร้างภาพ สรา้ ง โครงการเฉพาะด้านการประชาชาสัมพนั ธ์ หรือด้านใดด้านหน่ีงเท่าน้ัน กต็ ้องช่วยกันทำตามอัตภาพ ในชุมชนในฐานการเร่ิมต้น เปน็ การน้อมนำเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้๑๗๑ การระดมภูมิธรรมภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ มาช่วยกัน นำทรพั ยากรในทอ้ งถนิ่ บุคลากรในชุมชน มารว่ มกนั ความร้บู างอย่างมีเหตุผลดีงาม แต่ไม่ได้หมายความวา่ จะต้องเกดิ ประโยชนถ์ ูกจังหวะพอดี ไปท้ังหมด สภาพชุมชนสงั คม และสง่ิ แวดล้อมมีความเปลี่ยนแปลเสมอ๑๗๒ การเลอื กฐานท่มี ั่นขององค์กรเป็นหลัก คอื การเรมิ่ มีวินยั ต่อองค์กรของตนเอง สังคมของ ตนเอง รวมถึงสรา้ งภมู ิคุ้มกันให้องค์กรตนเอง ไม่ให้สง่ิ เร้า สง่ิ ปลุกใจจากภายนอกมีความฟุ้งเฟ้อเห่อ เหิม ทะเยอทะยานไปตามกระแส อยู่อย่างพอเพียง มีวินัยให้กับตนเอง สร้างความรับผิดชอบให้กับ สงั คมของตนเอง เปน็ เกราะป้องกันเบ้ือง เป็นภูมคิ มุ้ กันภัยมิใหว้ ัฒนธรรมอ่ืน ๆ มาครอบงำได้๑๗๓ ๑๖๙ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวฒุ ิลำดับที่ ๒ เมอ่ื วนั ที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๗๐ สนทนาเฉพราะกลมุ่ ผทู้ รงคณะวุฒลิ ำดบั ท่ี ๗ เม่อื วนั ท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๗๑ สนทนาเฉพราะกลุม่ ผทู้ รงคณะวฒุ ิลำดับที่ ๘ เมื่อวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๗๒ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวุฒิลำดบั ที่ ๖ เมื่อวนั ท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๗๓ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวุฒิลำดับท่ี ๙ เม่ือวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔

๑๔๘ การทำงานทุก ๆ อยา่ ง ต้องมีความสจุ ริตรอบครอบ ซ่ือสตั ยต์ อ่ องคก์ รของตนยืนหยัดเพ่ือ จะรักษาหน้าท่ีของตนที่ได้รับผิดชอบ อยู่ในกรอบศีลธรรมอันดีงาม กล้าปฏิเสธสินจ้างรางวัลแม้ เล็กนอ้ ยอันจะก่อใหเ้ กิดการทจุ ริตคดโค้งอนั ใหญ่หลวงอันเป็นเหตุใหล้ ะเมดิ กฎหมาย ละเมดิ จริยธรรม คณุ ธรรมอันดีงามของสงั คม ซึ่งหมายความว่าจติ ใจของคณุ ในองค์กร ไดม้ ภี ูมคิ ุ้มกนั ๑๗๔ หลักประกนั อันม่ังคงที่จะคงมั่นอยู่บนพื้นฐานความดีท่ีสากล การกล้าหาญ เด็ดเดียวใน การสรา้ งความดีร่วมกัน ในทุก ๆ มิติ ถอื ว่าเป็น จิตอาสา ดังนัน้ จติ อาสาในยุคปจั จุบนั มนษุ ยใ์ นสงั คม เริ่มตระหนัก ให้ความสำคัญเก่ียวกับสิ่งท่ีทำเพ่ือสาธารณประโยชน์ ทำด้วยใจรัก มิได้มุ่งหวัง ผลประโยชน์ตอบแทน๑๗๕ การชื่นใจยินดี ตอ่ การได้ออกมาช่วยกันสร้าง เช่นทำความดถี วายพ่อหลวง จิตอาสารกั ถิ่น เกิด ซ่ึงปรากฎการณ์เหล่าน้ี ล้วนแล้วกอ่ เกิดมาจากสมาชิกในชุมชน ในองค์กร๑๗๖ คนในสังคม เร่ิม ตระหนกั ยนิ ดีที่จะกระทำบำเพญ็ ความดเี พื่อส่วนรวม๑๗๗ สรุปว่า ความพอดี นั้นได้ถูกจัดสรรมาเพื่อการให้เกิดผลอันมีคุณค่าอันย่ิงใหญ่ไพศาล เพราะไดม้ าเป็นคุณธรรมตัวบ่งชี้ความจริงท่ีเกิดข้ึน ตรงกับเป้าหมายท่ีได้ร่วมกันคิด ร่วมกันสร้างไว้ คุณธรรมแต่ละดา้ น แต่ละมติ ิล้วนยงั ประโยชน์สุขให้เกิดแก่สว่ นรวม มองในภาพรวม มีความงดงาม ยงิ่ ใหญ่อยู่ในตนเอง มีพลังขาวสะอาด บรรจคุ วามอ่ิมใจ ชื่นใจไว้ในตนเอง มีอยู่ในชุมชม สังคม องค์ ใดยอ่ มเปน็ พลงั ผลกั ดนั พลงั ขับเคล่อื นให้ไปสู่เปา้ หมายตรงตามวัตถปุ ระสงคไ์ ดแ้ น่นอน ๑๗๔ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวุฒิลำดบั ที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๗๕ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวุฒิลำดบั ท่ี ๕ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๗๖ สนทนาเฉพราะกล่มุ ผทู้ รงคณะวฒุ ลิ ำดับท่ี ๖ เมื่อวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๗๗ สนทนาเฉพราะกลุ่ม ผทู้ รงคณะวฒุ ลิ ำดบั ที่ ๑ เม่ือวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๔

๑๔๙ ๔.๕ องคค์ วามรู้ จากการศึกษาวิจัยเร่ือง “รูปแบบการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบของจังหวัด พจิ ติ ร” สามารถสรปุ องค์ความรไู้ ดด้ ังน้ี ๔.๕.๑ องค์ความรู้ทไ่ี ด้รับจากการวิจยั แผนภาพที่ ๔.๑๖ องค์ความรจู้ ากการวจิ ยั

๑๕๐ ๑. สภาพทัว่ ไปในการบริหารจดั การจงั หวดั คณุ ธรรมจังหวดั พิจิตร วดั ท่าหลวง พระอารามหลวง ผลจากการศึกษาวิเคราะห์ด้วย SWOT Analysis แล้วในพื้นที่เป้าหมาย คือวัดท่าหลวง จากการสัมภาษณผ์ ู้ทรงคุณวุฒิ ตามหลักทฤษฎี SWOT นัน้ ใน ๔ ดา้ น พบวา่ จุดแข็ง Strengths วัดท่าหลวง พระอาราหลวง มีจุดแข็ง ๑๐ ข้อ คือ ๑. เป็นพระ อารามหลวง ๒.เป็นศูนย์รวมใจของคนจังหวัดพิจิตร ๓.เป็นศูนย์ราชการงานคณะสงฆ์จังหวัดพิจิตร ๔.เปน็ วดั สำคญั ทางประวัติศาสตร์ ๕.เป็นวดั ที่สถิตอยขู่ องผูน้ ำคณะสงฆจ์ ังหวัดหลายระดับชน้ั ๖.เป็น แหล่วรวมวฒั นธรรมประเพณีของเมอื งพิจิตร ๗.เป็นวดั ที่มีทรพั ยากรทางคณะสงฆ์มาก ๘.เป็นวดั ท่ีมี ทนุ ด้านคณุ ธรรมสูงคือมีพระมหาเถระผู้ใหญ่มีช่ือเสียง สมณศกั ดชิ์ ้ันสูง๙.เป็นวัดที่มีพระพุทธรูปศักดิ์ คือหลวงพ่อเพชร ๑๐.เป็นวัดที่มีพระผู้นำที่เข้มแข็งนำสร้างโรงพยาบาล สร้างโรงเรียน สร้าง มหาวทิ ยาลัยสงฆ์ เหล่าน้ีคอื จดุ แข็ง จุดเดน่ ของวัดทา่ หลวงเป็นปจั จัยภายในท่ีเปน็ พลังสำคัญอยา่ ง ย่ิงด้านคณุ ธรรม ชยั ภมู พิ ้ืนที่แล้ว ก็มีช่อื เสียงเป็นที่รู้จักทวั่ ประเทศ ถอื ว่าได้คะแนนเกินร้อย ยอ่ มเป็น ทีย่ อมรบั ของสงั คมทัว่ ไป จดุ อ่อน Weaknesses วัดท่าหลวง ๔ ข้อ คอื ๑.ผู้นำ ผู้ปกครอง ยังแนวคิดไม่ค่อยไปใน ทศิ ทางเดียวกัน๒.บุคลากร ในงานขององค์กรคณะสงฆ์บางสว่ นยังไม่เพียงพอ ๓. ศักยภาพบุคลากร ยงั ไม่สมบูรณ์ตามแบบคณะสงฆ์ต้องการ๔. พระภิกษุสามเณรรุ่นใหม่ ยังพฒั นาศักยภาพด้านต่าง ๆ จากการวิจยั ขอ้ มูลเชิงลึกดังกล่าว พบจุดอ่อนอันท่ีเป็นผลกระทบตอ่ องค์กร และต้องการการพัฒนา ปรบั ปรงุ แกไ้ ขในโอกาสต่อไป เพื่อใหก้ ารรกั ษาพระพุทธศาสนาและสงั คมต้นแบบ โอกาส Opportunities วดั ท่าหลวงพระอารามหลวงมโี อกาส ๗ ข้อคือ คือ ๑.อยู่กลาง ชุมชนเมอื ง สามารถเข้าถึงทุกมติ ิของสังคมเมอื ง ๒. มสี ถานท่ี และอปุ กรณ์เทคโนโลยีพรอ้ ม ๓. เป็น ศนู ย์อำนาจของคณะสงฆ์ระดับผู้บริหารจังหวัดพจิ ิตร ๔. เป็นศูนย์ประชุมของคณะสงฆ์จังหวัดพิจิตร ๕. เปน็ สถานทมี่ ีแหล่งทนุ สนบั สนนุ ๖.เป็นสถานสงเคราะห์ ช่วยเหลอื คราประสบภัยพิบตั ดิ า้ นต่าง ๆ ของจงั หวัด ๗. สามารถจัดกิจกรรม โครงการตา่ ง ๆ ได้ดี จากการวิจยั ข้อมูลเชงิ ลึกนั้น พบว่าปัจจัย ภายนอกด้านโอกาสของวัดท่าหลวง ซ่ึงต้องการช่องทางการพัฒนานั้น ถือว่ามีความเป็นไปได้สูง เพราะเหตุปัจจัยเก้ือกูลจำนวนมาก มีผลกระทบต่อการพัฒนาเพิ่มศักยภาพ ประสิทธิภาพอย่าง แนน่ อน

๑๕๑ ปัญหาอุปสรรค Threats วัดท่าหลวง พระอารามหลวง มีปัญหาอุปสรรค ๔ ข้อ คือ ๑.การจราจร หนาแน่น ถนนคบั แคบ ๒. ความหลากหลายบคุ คลที่มีแนวคดิ แตกต่างกัน ๓. มีพืน้ ทใ่ี ช้ สอยไม่เพียงพอกับกิจกรรมภายในวัดและนอกวัด ๔. มีการแย่งชงิ พื้นทค่ี วามคิด แนวร่วมเชิงสังคม การเมืองจากการศึกษาวิจัยข้อมูลแล้ว ปัญหาอุปสรรคของวัดท่าหลวงน้ัน ก็ยังคงมีอยู่ ซึ่งก็เป็น ประเด็นทำให้ภารกิจการงานต่าง ๆ ที่ถูกจัดขึ้น ย่อมมีปัจจัยเชิงลบ ยังต้องรอการแก้ไขปรับปรุงกัน ต่อไป โรงเรียนบางมลู นากภูมิวทิ ยาคม ผลจากการศกึ ษาวิเคราะห์ดว้ ย SWOT Analysis แลว้ ในพื้นที่เปา้ หมาย คือโรงเรยี นบาง มลู นากภมู วิ ิทยาคมการสมั ภาษณผ์ ้ทู รงคุณวฒุ ิ ตามหลกั ทฤษฎี SWOT นน้ั ใน ๔ ดา้ น พบว่า จดุ แขง็ Strengths ของโรงเรยี นบางมลู นากภมู ิวิทยาคมน้นั ซึ่งเป็นเหตุปัจจยั ภายในของ องคก์ รท่ีมีศกั ยภาพ มคี วามสามารถ เป็นจดุ เด่น จดุ แข็งด้านต่าง ๆ นั้น มี ๓ ประเด็นสาระด้วยกนั คือ ๑.เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอ มีนักเรยี นจำนวนมาก ๒.เป็นโรงเรียนต้นแบบ ในหลาย โครงงานของจังหวัดพิจิตร๓.โรงเรียนเป็นสถานท่ีผลิตนักเรียน ให้เกิดความรู้ อุดมการณ์ เชิง สร้างสรรค์พัฒนา จุดเด่นทั้ง ๓ ประการน้ี เป็นปัจจัยภายในองค์กรของโรงเรียนบางมูลนากภูมิ วิทยาคม ส่ิงสำคัญเป็นสถานศึกษาท่ีเป็นต้นแบบด้านคุณธรรม เป็นที่รู้จักได้รับการยอมรับ ได้ถูก ประเมินผลงานมามากแล้ว มศี ักยภาพในการพัฒนาองค์กรด้วยตัวเองสงู มาก จดุ ออ่ น Weaknesses ขอ้ ดอ้ ยหรอื จุดอ่อนน้ัน โรงเรยี นบางมลู นากภมู ิวิทยาคม จากการ ที่ไดท้ ำการศกึ ษาวิจัยนัน้ พบ ๓ ประเด็นเนื้อหาสาระ คือ ๑.ดา้ นบคุ ลากรมีการถา่ ยโอนโยกยา้ ย การ บริหารจัดการไม่ต่อเนื่อง ๒.ปัจจัยเชิงอำนาจในการฝาก ลูกหลาน เข้าโรงเรียนยังมีอยู่ ๓.ด้าน นกั เรยี นมีพฤติกรรม ทไ่ี ม่พึงประสงคจ์ ากการวิจัยข้อมูลเชงิ ลึกนนั้ พบว่าปัจจยั ภายใน ซึ่งเป็นจดุ อ่อน ของโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยานั้น ยังต้องการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงยังพบอยู่ เห็นอยู่ ก็ถือว่า ขอ้ มูลน้ีตรงไปตรงมา เพื่อประโยชนใ์ นการวางแผนงาน แก้ไขพัฒนาต่อ มีผลกระทบตอ่ การพัฒนา เพิม่ ศักยภาพขีดความสามารถขององค์กร ดา้ นโอกาส Opportunities ของโรงเรียนบางมลู นากภูมิวิทยาคมนั้น อันเป็นปจั จัยเชิง บวกท่ีจะสามารถจัดสร้าง พัฒนาโครงการต่าง ๆ ได้ในอนาคต การศึกษาวิจยั พบ ๓ ประเด็นเน้ือหา สาระ คอื ๑.เป็นสถานศึกษาที่ไดร้ บั การยอมรบั จากภาคประชาชนท่ัวไป ๒. เปน็ โรงเรยี นที่มมี าตรฐาน ได้รับการสนับสนนุ จากภาครัฐ๓.เป็นโรงเรียนท่ีสามารถเป็นศูนย์การเรียนรเู้ ชงิ คุณธรรมของจังหวัด จากการวจิ ัยขอ้ มูลเชงิ ลกึ น้ัน พบว่าปัจจัยภายนอกด้านโอกาสหรอื ช่องทางของโรงเรียนบางมลู นากภมู ิ วิทยาคม ซ่ึงต้องการช่องทางการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ หรือขององค์กรเอง ก็ถือว่ามี

๑๕๒ ความเปน็ ไปได้สูง เพราะเหตปุ ัจจยั เก้ือกูล มีผลกระทบต่อการพฒั นาเพิ่มศักยภาพ เพราะเป็นสถานท่ี ศนู ย์การเรียนรู้เชิงคณุ ธรรมของจังหวัดพจิ ิตรอยแู่ ลว้ ปัญหาอุปสรรค Threats ที่สำคัญของของโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคมนั้น การ ศกึ ษาวิจัยพบ ๓ ประเด็นเนือ้ หา คือ ๑.ตง้ั อยู่ในยา่ นชุมชน มีตลาดร้านค้า มีประชากรสัญจรไปมา ก็ อย่ทู ่ามกลางความหนาแน่น๒. ปัญหายาเสพติด ซง่ึ ก็เป็นปัญหาพื้นฐานเชิงสังคมมีผลกระทบตอ่ เด็ก นักเรียน๓. เรื่องอาคาร สถานท่ี หอ้ งเรยี น อปุ กรณ์อ่ืน ๆ ทีม่ ีเพื่อการให้ใชส้ อยของนกั เรียนนั้น บางที ไม่พร่ังพร้อมเท่าที่ควร จากการศึกษาวิจัยข้อมูลแล้ว ปัญหาอุปสรรคของโรงเรียนบางมูลนากภูมิ วิทยาคมน้ัน ยังต้องรอการแก้ไข ก็เป็นปัญหาที่ต้องพัฒนาระบบสังคมเชิงรวมด้วย ก็เป็นปัจจัยท่ี ยากลำบากตอ่ การแก้ไข เพราะเป็นปัจจยั ภายนอกองค์กรของโรงเรยี น ก็ต้องปกปอ้ งองคก์ ร มใิ ช่เสอื่ ม เสียด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่อิงอาศัยกันร่วมมือกันหลายฝา่ ย โรงพยาบาลบางมูลนาก จุดแข็ง Strengths โรงพยาบาลบางมูลนาก ซ่ึงเป็นจดุ เดน่ ประเด็นสำคัญน้ัน ถือว่าเป็น เหตปุ ัจจยั ภายในขององค์กรท่มี ศี กั ยภาพนน้ั มี ๓ ประเด็นสาระด้วยกนั คือ ๑.เป็นโรงพยาบาลประจำ อำเภอบางมูลนาก ท่ีประชาชนท่ัวไป ได้เข้ามาใช้บริการให้การยอมรับ ประทับใจ ในน้ำใจไมตรีของ เจ้าหน้าที่ ๒.เปน็ โรงพยาบาลทม่ี ีเจา้ หนา้ ท่ีระดับผู้บริหารเข้มแข็ง ๓.เปน็ โรงพยาบาลทม่ี ีการพฒั นา ศกั ยภาพในดา้ นตา่ ง ๆ ของโรงพยาบาลเพื่อการให้บริการแก่ประชาชน จุดเด่นท้ัง ๓ ประการน้ี เป็น ปจั จัยภายในองค์กรของโรงพยาบาลบางมลู นาก ซ่งึ ทางโรงพยาบาลเนน้ การบริการใหก้ บั คนไข้ ผู้ปว่ ย และญาติของผูป้ ่วยใหค้ วามเชื่อมัน่ ไว้วางใจ ด้านคุณธรรม เปน็ ทีร่ ู้จกั ไดร้ ับการยอมรับ พรอ้ มกนั น้ัน ก็ มกี ารพัฒนาทรพั ยากรบคุ คลใหม้ ีศักยภาพ ในการพัฒนาองคก์ รด้วยตวั เอง จุดอ่อน Weaknesses ข้อด้อยหรือจุดอ่อนน้ัน โรงพยาบาลบางมูลนาก จากการท่ีได้ ทำการศึกษาวจิ ัยน้ัน พบ ๓ ประเดน็ เน้ือหาสาระ คือ ๑.ด้านบุคลากรของทางโรงพยาบาลน้ัน ยังถือ วา่ ไม่เพยี งพอแก่การให้บรกิ ารแกป่ ระชาชน ๒.คา่ ใช้จ่ายในโรงพยาบาลน้ัน ยังถือว่าสูงมาก ดว้ ยการ ใหบ้ รกิ ารท่ีตอ้ งอาศัยบุคลากร ๓.เจา้ หน้าท่ีบคุ ลากรของโรงพยาบาล บางส่วนตอ้ งการพัฒนาศักยภาพ ก็มีการเปลย่ี นถา่ ย เข้ารับการอบรม เข้าศกึ ษาต่อ เพ่ือให้รู้เข้าใจ จากการวิจัยข้อมูลเชิงลึกนั้น พบว่า ปจั จัยภายใน ซ่ึงเป็นจุดอ่อนของโรงพยาบาลนั้น ยังตอ้ งการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงยังพบอยู่ เห็นอยู่ กถ็ ือว่าข้อมูลนี้ตรงไปตรงมา เพื่อประโยชน์ในการวางแผนงาน แก้ไขพัฒนาต่อ มีผลกระทบต่อการ พัฒนาเพ่มิ ศกั ยภาพขีดความสามารถขององคก์ ร โอกาส Opportunities โรงพยาบาลบางมูลนากนัน้ อันเป็นปัจจยั เชิงบวกที่จะสามารถ จดั สร้าง พัฒนาโครงการต่าง ๆ ได้ในอนาคต การศึกษาวจิ ัยพบ ๓ ประเด็นเน้ือหาสาระ คือ ๑.เป็น สถานทท่ี ี่บุคคลท่วั ไปให้การยอมรับ เช่ือม่นั ในการรักษาดแู ล๒.โรงพยาบาลนั้นอยใู่ กล้แหง่ ชมุ ชน ไมไ่ ด้

๑๕๓ อยูใ่ นสถานที่แออดั ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมทีด่ ี ๓.โรงพยาบาลบางมูลนาก ยังไดร้ บั โอกาสอนั ดีจาก ผู้ใหญ่ใจดี ที่ท่านเป็นคนบางมูลนากเจริญเติบโตในหน้าที่การรงานแล้ว ท่านหวงั ความเจริญรงุ่ เรือง ให้กับประชาชนคนบางมูลนาก จากการวิจัยข้อมูลเชิงลึกนั้น พบว่าปัจจัยภายนอกด้านโอกาสหรือ ชอ่ งทางของโรงพยาบาลบางมูลนาก ซึ่งต้องการช่องทางการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ หรือ ขององค์กรเอง ก็ถือว่ามีความเป็นไปได้สูง เพราะเหตปุ ัจจัยเกื้อกูล มีผลกระทบต่อการพัฒนาเพ่ิม ศกั ยภาพ เพราะเป็นสถานที่ให้บริการด้านการดูแล ตรวจรักษาสุขภาพร่างกาย รักษาคนไข้ ซึ่งต้อง ไดร้ บั ความเช่ือมัน่ จากผูร้ บั บรกิ ารอยา่ งสงู ปัญหาอุปสรรค Threats โรงพยาลบางมลู นากนั้น การศกึ ษาวิจัยพบ ๓ ประเด็นเน้อื หา คอื ๑.ดา้ นการให้การบริการ บุคลากรของโรงพยาบาลบางคร้ังกต็ ้องรบั กระทบอารมณไ์ ม่ดขี องคนไขท้ ี่ เข้ามารับบริการ ท้ังด้านพฤติกรรมทางกาย ทางวาจาที่มีท่าท่ไี มเ่ หมาะสม๒.ดา้ นการให้บริการ และ รบั บริการ บางทีการสื่อสารบางอยา่ งไม่สามารถส่ือให้ตรงกัน ๓.ความเหลื่อมล้ำเชิงสังคม ก็มีผู้คนท่ี เข้ามารับบริการทกุ ระดบั ผู้ท่ีมรี ายได้น้อย หรือผ้ทู ่ีต้องพึ่งพารัฐอย่างเดียว ในคราวท่ีมาพรอ้ ม ๆ กัน บคุ ลากรท่ีจะให้บริการไม่พอ จากการศกึ ษาวิจัยข้อมูลแล้ว ปัญหาอุปสรรคของโรงพยาบาลน้ัน ยัง ต้องรอการแกไ้ ข ปรับปรงุ ปจั จยั ภายนอก ซึ่งกย็ ากแก่การดแู ลพฒั นา ระบบการบ่มเพาะอุปนสิ ัยจิตใจ คนสังคมเชิงรวมด้วยไม่เท่ากัน ก็เป็นปัจจัยท่ียากลำบากต่อการแก้ไข เพราะเป็นปัจจัยภายนอก องค์กรของโรงพยาบาล ก็มีการประสานความร่วมมือจากองค์กรภายนอกร่วมกันต้องงอาศัยกัน รว่ มมือกันหลากฝา่ ย เพ่ือใหเ้ กิดเป็นองคร์ ว่ มเพอ่ื การพัฒนาตอ่ ไปในอนาคต ๔.๒ ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การบรหิ ารจดั การจงั หวดั คณุ ธรรมต้นแบบจงั หวัดพิจิตร การบริหารจัดการท่ีจะมผี ลสำฤทธิ์ท่ียอดเยย่ี ม ได้บรรลวุ ัตถุประสงค์เป้าหมายที่ต้องการ ก็ต้องอาศัยเคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพ อันได้แก่องค์ความรู้ท่ีทรงอิทธิพล ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการศึกษา ทฤษฎีที่ทรงคุณค่า อนั เหมาะสมกบั การวางแผนพัฒนาอย่างเปน็ ระบบตง้ั แต่ตน้ จนจบกระบวนการ จึง ใชท้ ฤษฎี PDCA

๑๕๔ แผนภาพท่ี ๔. ๑๗ องค์ความรู้จากการวิจยั ๔.๒.๑ ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็ ตวั ที่ ๑ คือ P Plan การวางแผน การวางนโยบาย วางยุทธศาสตร์ ดา้ นการบริการจดั การจงั หวัดคุณธรรมของจังหวดั พจิ ติ ร นนั้ ไดเ้ รม่ิ จากนายแพทย์เกษม วัฒนชยั องคมนตรี ได้เร่ิมต้นท่ี โรงเรยี นบางมูลนากภมู ิวิทยาคม เม่ือ พ.ศ.๒๕๕๓ และโรงพยาบาลบางมูลนากเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๖ ได้เปน็ ยุทธศาสตรข์ องระดับจงั หวดั พิจิตร มีการวางแผนประชุมเครือข่ายและองค์กรร่วม มาประชุมกันวางแผน และทำ MOU ประกาศ เจตนารมณ์อยา่ งชดั เจน ผมู้ ีบริหารระดับจงั หวดั มีทา่ นผวู้ ่าฯ วรี ะศักด์ิ วิจติ รแ์ สงศรี ไดแ้ สดงนโยบาย มีแผนงานตามหลักยทุ ธศาสตรช์ าติ มีการประชุมปรึกษาหารอื เพื่อนำไปส่กู ารวางหลัก นโยบายท่ีจะ บริหารจัดการให้เกิดมีจังหวัดคุณธรรม จังหวัดคุณธรรมต้นแบบ โดยมีจังหวัดพิจิตรเป็นโมเดลแรก เพื่อจะสร้างเป็นต้นแบบให้เห็นถึงความสำคัญด้านคุณธรรมตามแผนยุทธศาสตร์ของแผ่นแม่บท แห่งชาติ พิจิตรจงั หวัดคุณธรรม ไดม้ ีการวางแผนกันต่อเน่ืองยาวนาน และพร้อมกับลงมอื ปฏิบัติการ สรุป ประเมินวางแล้วนำกลับเข้ามาวิเคราะห์หาช่องทางพัฒนาการ ต้ังแต่ท่านผู้ว่า สุรชัย ขันอาสา ท่านผู้ว่าฯ ฉัตรพร ราษฎร์ดุษฎี โดยรว่ มวางแผนงานกันกับ ภาครัฐ เอกชน สื่อ และประชาสังคม ท้ังหมด ๑๓ เครือข่าย ซ่งึ ขับเคลื่อนจากประเด็น “ปัญหาทีอ่ ยากแก้ ความดีท่ีอยากทำ” เป็นพ้ืนฐาน ของงานดา้ นวางแผน

๑๕๕ การวางนโยบายจังหวดั คณุ ธรรม กลายเป็นยุทธศาสตร์ของจังหวัดพจิ ิตรแลว้ ทางจังหวัด กต็ อ้ งจดั สรรงบประมาณ จัดบคุ ลากร เพ่อื ทำงาน ประสานงาน ภาคีเครอื ขา่ ยต่าง ๆ เพื่อใหแ้ ผนงาน ขององคก์ รที่เข้าร่วมเป็นภาคีเครืองได้รับงบประมาณทถ่ี กู ต้อง และเพอ่ื ให้ผลงานตามโครงการน้ัน ได้ สอดคล้องกับแผนยทุ ธศาสตร์ของจังหวดั เพ่ือใหเ้ กิดผลสำฤทธติ์ ามเป้าหมายอย่างชัดเจน๑๗๘ สรุปได้ว่า การวางแผนงานท่ีได้ ข้อสรุป ข้อตกลง ท่ีชัดเจน เกิดความเข้าใจกันทุกภาค สว่ นแล้วถือว่ามีชยั ไปกว่าครง่ึ ด้วยการนำแผนงานทด่ี ีเย่ียมน้นั ไปถ่ายทอดสู่องค์กร ภาคีเครือขา่ ยเพอ่ื การประชุมวางแผนให้สอดรับกับภารกิจงานต่าง ๆ ที่ต้องนำคุณธรรมไปใช้ โดยให้คุณธรรมน้ัน เกิดขึ้นตามความต้องการของพน้ื ท่ี หรอื ตามเปา้ หมายของกิจกรรม โครงการที่ถูกกำหนดข้ึน ตรงกับ เป้าหมายทตี่ ้องการขององค์กรนนั้ ๆ อยา่ งเตม็ ที เพอื่ การทำงานนั้นจะไดม้ ีคุณภาพ ประสิทธภิ าพทีด่ ี งามเป็นท่ียอมรับของทกุ ภาคส่วน D Do ปฏบิ ตั กิ าร ลงมือดำเนินงาน วดั ทา่ หลวง พระอารามหลวง วัดท่าหลวง พระอารามหลวง เป็นองค์กรเครือข่ายสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด พจิ ิตร ดังนน้ั คณะสงฆจ์ ึงต้องมีส่วนเข้าร่วมดำเนนิ การตามแผนคณุ ธรรมจังหวดั พิจิตร ภาคคณะสงฆ์ ใหบ้ รรลุตามเปา้ หมายและเปน็ รปู ธรรมตามแผนแม่บทสง่ เสรมิ คุณธรรมแหง่ ชาติ พระราชสิทธเิ วที ดร. เจ้าคณะจังหวดั พิจติ ร รักษาการเจ้าอาวาสวัดท่าหลวง พระอารามหลวง จังหวัดพิจิตร จึงกำหนด นโยบาย สง่ เสริม สนับสนุน “ชุมชนคุณธรรม” ในวดั พื้นท่ีจงั หวัดพิจติ ร เพ่ือเป็นมาตรฐาน แนวทาง และกรอบในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของคณะสงฆ์จังหวัดพิจิตร ซ่ึงจะสอดคล้องและเป็นไปตาม นโยบายของมหาเถรสมาคม และเพอื่ ใหค้ ณะสงฆไ์ ดม้ ีสว่ นรว่ มขบั เคล่ือนแผนคุณธรรมจังหวดั พจิ ติ ร โครงการรณรงค์ให้คนไทยมีคุณธรรม “พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา” โดยสอดแทรก คณุ ธรรมเขา้ กบั กจิ กรรมตา่ งๆ ของคณะสงฆ์ อาทิ การแสดงพระธรรมเทศนา การบรรยาย การอบรม พระธรรมวิทยากร การอบรมพัฒนาคุณธรรมสำหรับเยาวชนและประชาชน การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ในมิติต่างๆ เป็นต้น ปัจจุบันการดำเนินงานคุณธรรม ขับเคล่ือนจังหวัดคุณธรรม จังหวัดพิจิตร วัดท่าหลวง พระอารามหลวง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวดั พิจิตรเช่นโครงการ อบรมถวายความรู้นักธรรม-บาลีกับพระภิกษุสามเณร โครงการอบรมพระธรรมวิทยากร โครงการ อบรมพระบัณฑิตเผยแผ่ โครงการแกนนำเยาวชนจิตอาสา โครงการสงเคราะห์สงฆ์อาพาธและผู้ ยากไร้ ฯลฯ ๑๗๘สัมภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคัญอันดบั ที่ ๒๕ เม่อื วันท่ี ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๓.

๑๕๖ โรงเรยี นบางมูลนากภมู ิวิทยาคม การเตรียมความพร้อม ครู เครอื ข่ายผู้ปกครองจิตอาสา โดยใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาครู ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ และทักษะท่จี ำเป็นในการดำเนินงานเสรมิ สร่างคุณธรรมจริยธรรม เพ่ือให้ ครูเป็นแบบด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นกลไกในการขับเคลื่อนโดยใช้หลกั สูตรความรู้จากศูนย์ คุณธรรม (องค์การมหาชน) ได้แก่หลักสูตร Managing SR School หลักสูตรผู้นำเยาวชนจิตอาสา สร้างหลักสตู รส่งเสรมิ คุณธรรมความดี หลกั สตู รโครงงานคุณธรรม การพฒั นาการคิดเชิงระบบ การ พัฒนาการคิดเชิงระบบ การศกึ ษาดงู าน/การะแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การสัมมนาเพ่ือประเมินคนเอง และ สื่อสารเชิงลึก รวมท้ังสร้างพลังร่วม และการพาผู้เก่ียวข้องในการดำเนินงานไปศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนต้นแบบด้านคุณธรรมจริยธรรม การส่ือสารเชิงลกึ ภายในองค์กร และการเสริมสร้างความ เขา้ ใจแกคณะครแู ละนกั เรยี นท้ังแบบกลมุ่ ย่อยและรายบุคคล โครงการเตรียมคน เตรียมความพรอ้ มของครแู ละผทู้ ี่เกี่ยวข้องหลงั จากนนั้ จะเข้าสขู่ น้ั ตอน การเตรียมงานโดยสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนทเ่ี กยี่ วข้อง ร่วมกันกำหนดอัตลักษณ์ หรือตัว บง่ ชี้ความสำเร็จ การพัฒนาครู นักเรียนและสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียนกำหนดยุทธศาสตร์ และ กจิ กรรมเพื่อบรรลุสู่เป้าหมาย เรยี กว่า “ยทุ ธศาสตร์ ๓-๖-๓” การบรู ณาการงานโครงการกับภารกิจ หลกั และงานประจำ โดยการบูรณาการกบั กระบวนการเรียนการสอน ๘กลุ่มสาระ การปรบั ปรุงงาน วนิ ัยนกั เรียนท้ังทางตรงและทางออ้ ม งานประกันคุณภาพกิจกรรมพเิ ศษของโรงเรยี น และการพัฒนา หลักสูตรโครงงานคุณธรรม คือ การสง่ เสริมให้นักเรียนแต่ละระดับชัน้ มีการจัดทำ โครงงานคณุ ธรรม งานวนิ ัยนักเรียน และกิจกรรมจติ อาสา โดยใชก้ ระบวนการวเิ คราะห์ตวั เองอยา่ งเป็นวิทยาศาสตร์เพื่อ การสืบค้นปัญหา สาเหตุ และหาแนวทางในการแก้ไข ท้ังในรูปปัญหาที่อยากแก้ไขพัฒนาปรบั ปรุง และความดีที่อยากทำ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนมกี ารจัดทำโครงงานคุณธรรมในทกุ ระดับชั้น อย่าง หลากหลายและสร้างสรรค์ เรยี นรูก้ ารทำความดีอย่างมีความสุข โครงงานคุณธรรมของบางมูลนาก โมเดล มีจำนวนมากถงึ ๑๐๘โครงงาน ฯลฯ โรงพยาบาลบางมลู นาก การแต่งต้ังคณะกรรมการโรงพยาบาลคุณธรรม แบ่งเป็นทีมทีมกรรมการท่ีปรกึ ษา โดย เชิญผู้แทนศูนย์คุณธรรม และพระภิกษุ และทีมดำเนินงาน ได้แก่กรรมการบริหารโรงพยาบาล ได้ มอบหมายและแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบให้ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์คุณธรรม ในหลายโครงการ และ หลายกิจกรรม นำหลักการคณุ ธรรมมาเพื่อดำเนินการเพาะเมลด็ พนั ธ์ุความดี ได้แก่การได้ประชุมเพื่อ คน้ หาอตั ลักษณ์ ององค์กร โดยใช้เทคนิคสุนทรยี สนทนาตั้งคำถามวา่ “ท่านใช้หลักธรรมหรอื คุณธรรม ข้อใดในการทำงานการดำเนินชีวิตทำให้เจริญก้าวหน้ามาเป็นหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้ากลุ่มภารกิจ อย่างทุกวันน”้ี สรุปได้ว่าจะใชห้ ลกั ธรรม “เมตตา เสยี สละ รับผิดชอบ” ดำเนนิ กิจกรรม เชน่ “ปัญหา

๑๕๗ ที่อยากแก้” สว่ นใหญ่จะเปน็ แผนงาน โครงการในงานประจำของหนว่ ยงาน“ความดีท่ีอยากทำ”จะ เป็นโครงงานอะไรก็ได้ จะเป็นรายบุคคล รายกลุ่มในหน่วยงาน นอกหน่วยงาน แต่ที่สำคัญคือ ทุก โครงการต้องตอบ ๒ คำถาม คือ ทำโครงงานนี้แล้วมีความสุขอยา่ งไร และใช้คุณธรรมอะไรโครงงาน ถงึ สำเร็จ การประกาศและปฏิญาณในสิ่งที่ไดจ้ ัดทำร่วมกัน ในการขับเคล่ือนองค์กรคุณธรรม โดยทุก ฝา่ ยเขา้ ร่วม รวมถึงการจัด “ตลาดนัดความดี” ซงึ่ เป็นเวทีที่ชื่นชม แลกเปลี่ยน เรียนรู้ เช่ือมโยง ให้ เห็นถึงโครงงานคุณธรรมที่แต่ละฝ่ายได้ร่วมมือ ดำเนิน รวมถึงการมีกิจกรรมเพ่ือให้ภาคประชาชน และองค์กรต่าง ๆ มีส่วนร่วมกับกิจกรรมของโรงพยาบาล ฯลฯ รูปธรรมท่ีชัดเจน ปรากฏแก่สายตา สาธารณะชนได้ก็ตอ้ งด้วยปัจจัย คือการลงมือปฏิบัตงิ านจรงิ เพราะการทำงานจริง ย่อมมผี ลงาน เนอ้ื งาน สิ่งที่เป็นภารกิจผูกพันมีการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มกำลัง เต็มความสามารถ ระดมทุน ระดม แรงงานท้ังมวล ท้ังผบู้ ริหารทีมงาน ผู้ช่วยเหลือ ผู้ร่วมงานจริง ย่อมเขา้ สู่กระบวนการปฏิบัติหน้าท่ี เป็นท้งั ผู้จดั การ ผรู้ ว่ มงาน ผู้มาสังเกตการณ์ สิง่ เหลา่ น้นั มเี กิดมไี ดเ้ พราะการปฏิบตั จิ ริง จะเหน็ ความ จริงท่ีเปน็ ผลประจกั ษ์ ได้รบั ความชืน่ ใจ ยินดี เมอื่ ประสบผลสำเร็จในขณะทำงาน ดงั นั้นรูปรา่ งหน้าที่ ที่เป็นปัจจุบันธรรม ตรงน้ีย่อมบ่งช้ีได้ถึงผลสำฤทธ์ิของงาน และข้อบกพร่องของงาน ในขณะลงมือ กระทำงานน้ัน ๆ เฉพาะย่ิงงานน้ันเป็นงานใหญ่ หรืองานเฉพาะกลุ่มก็ตาม ก็จะส่งผลให้เกิด ความสำเร็จตามเหตุปัจจัยที่ได้วางแผนไว้ด้วย ศักยภาพ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมในของดำเนินงานด้วย องค์ประกอบร่วมอีกหลายอย่างก็ย่อมเปน็ ปจั จัยแห่งความสำเรจ็ และความล้มเหลวเช่นกัน แต่การ ทำงานด้วยการบริหารจัดการคุณธรรมน้ัน การวางแผนมาเป็นอย่างดี พลังงานที่ถูกถ่ายทอดองค์ ความรู้ การศึกษาวเิ คราะห์งานท่ีจะสร้างขึ้น องค์ประกอบแหง่ ความสำเร็จนัน้ มหี ลายด้าน ดงั นั้น การ ที่จะประสบความสำเร็จนน้ั เป็นเป้าหมายอยู่แลว้ แตจ่ ะให้ผลท่ีปรากฏน้ันชดั เจน ตื่นตา ต่ืนใจ จน เป็นคลายสงสัย ได้รับการยอมรับว่าดีงาม และมีประโยชน์มากมายมหาศาลนั้น ต้องอาศัยความ รว่ มมอื รว่ มแรงร่วมใจของทกุ ๆ ภาคสว่ น C Check การตรวจสอบ ประเมนิ ผลงาน การตรวจสอบประเมินผลงาน ติดตามงานของโครงการต่าง ๆ นน้ั เป็นการดำเนินการถึง พฤติกรรมที่บอกถึงความสำเร็จของโครงการนั้น ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเท่าใด ได้รับความพึง พอใจของประชาชน ผู้ร่วมงานมากน้อยเท่าไหร่ รวมถึงเก็บรวบรวมผลงานน้ันไว้ ระบบการนิเทศ กำกับ ติดตามงานอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้รู้ถึงความคืบหน้า ของการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ด้าน คณุ ธรรมตามแผนงานท่ีวางไว้นั้น ประสบความสำเร็จถึงระดบั ไหน ในช่วงระยะเวลาท่ีได้กำหนดไว้ใน แผนงาน เปน็ ตัวบ่งชถ้ี ึงกระบวนการการตรวจสอบประเมนิ ผล การรายงานผลงาน ของโครงการตา่ ง ๆ ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ว่ามีผลลัพธอ์ ย่างไรบ้าง ในแตล่ ะโครงการ มีความสำเร็จอย่ใู นระดับใด มี ปัญหาอุปสรรคอะไรบา้ ง ต้องการความชว่ ยเหลือ หรือต้องการคำชแ้ี นะเพ่อื แก้ไขแผนงาน โครงการท่ี

๑๕๘ กำลงั ทำอยู่เปน็ ไปในทศิ ทางทีต่ รงกับเปา้ หมายหลัก และเป้าหมายรอง สอดคล้องกบั แผนงานท่วี างไว้ เปน็ อย่างดี การสรุปรายงานผลงาน สู่สว่ นกลาง ถอื ว่าเปน็ การรวมองค์ความรขู้ ้อมูลในวิถีปฏิบัติงาน จริง เก็บไว้เป็นฐานข้อมูล เป็นหลักฐาน พยานเครื่องบ่งชี้ถึงความสำเร็จตามเกณฑ์มาตรฐานท่ี สอดคล้องกับแผนแมบ่ ทที่ไดม้ ตี ัวช้ีวัดไว้ และทางหนว่ ยงานผู้รับผิดชอบจะนำไปประเมินผลสำเรจ็ อีก คร้ัง เพ่ือมีการมอบรางวัล หรือสะท้อนผลการปฏิบัติงานมาเป็นการยกย่อง เชิดชู ชมเชย วิธีการ ปฏบิ ัติงานจริงวา่ สามารถเปน็ ตน้ แบบได้ เป็นสง่ิ ท่ีทำได้ยอดเยย่ี ม๑๗๙ การสรปุ งาน ตรวจสอบงาน ประเมนิ ผลงาน รายงานนั้น ถือวา่ เป็นขั้นตอนวธิ ีปฏบิ ตั ิตาม กระบวนการพัฒนาอยู่แล้ว แต่จะทรงประสิทธิภาพย่ิงขึ้น ดีข้ันกว่าเดิมนั้น ต้องมีการประเมินผล หลากหลายวิธี บางครง้ั ไมใ่ ช่ประเมลิ งานเฉพาะแบบสอบถามเทา่ นนั้ แตต่ ้องถามถึงความยินดี พอใจ ในการปฏิบัติงาน ในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการนี้ มีแนวคิด มีอะไรที่จะต้องการเสนอแนะบ้าง ขนั้ ตอนต่าง ๆ ทไี่ ดก้ ล่าวมา จะไดน้ ำไปพฒั นาต่อยอด ปรบั ปรงุ กนั ต่อไป A Action การดำเนนิ การปรับปรุงแก้ไข พฒั นาต่อไป ปัจจัยแห่งความสำเร็จตัวสุดท้าย โดยนำเอาการรายงาน ข้อมูล การสรุปงานแต่ละ โครงการ ของการบรหิ ารจดั การพฒั นาด้วยคุณธรรม มาเข้าสู่การ ตรวจสอบ คิด วิเคราะห์ แยกแยะ ด้วยหลักการวิธีในทฤษฎีต่าง ๆ เม่ือประเมินผลสำเร็จว่า อยู่ในระดับ ดี ดีเยี่ยม หรือต้องปรับปรุง แก้ไข หรือนำไปเป็นต้นแบบ แม่พิมพ์งานโครงการอ่ืน ๆ ได้ การท่ีได้ผลสรุปงาน ทำให้ผู้บริหารที่ รบั ผิดชอบงาน ไดม้ ีผลงานปรากฏเพือ่ เป็นหลักฐานว่า การพัฒนาด้านการบริหารจัดการเชิงคุณธรรม ในรปู แบบวิธีการต่าง ๆ ในองคก์ ร ภาคเี ครือข่าย ชุมชนุ สงั คมท้องถ่ินทีไ่ ด้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ ไปแล้ว เม่ือนำไปใช้จรงิ มีผลปรากฏอย่างไร สง่ิ ท่เี ป็นความสำคญั มากสำหรับผทู้ ี่รบั ผิดชอบทต่ี อ้ งรบั รู้ รับทราบ การจะทำเอาความสำเร็จที่ถูกส่งมาจากโครงการ ด้านคณุ ธรรม ทท่ี างหน่วยงานต่าง ๆ ที่ได้ ทำ MOU ไปน้ัน เพราะงบประมาณท่ีได้รับนั้น จะมีการประเมินผลงาน กับเน้ืองานที่ได้ลงมือ ปฏิบัติการ ดำเนินการไปนัน้ ไดล้ งไปสู่พ้ืนที่เปา้ หมาย จดั ทำแผน จัดการทำโครงการ ได้สอดคลอ้ งกับ ส่ิงท่ีได้รับมอบหมายหรือไม่ จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพราะทำได้ถูกต้อง สอดคล้อง ย่อมเป็นการถูกต้อง งดงาม และทำให้ผู้รับผิดชอบได้ผลงานไปตามลำดับข้ัน เมื่อได้รับรู้ผลงานของโครงการต่าง ๆ แล้ว ไม่ใช่แค่การรับรู้เป็นเอกสาร แม้แต่ในเวลาการปฏิบัติงานจริง ๆ ก็จะสามารถปรับแผนงาน ปรับ วิธีการบริหารจัดการได้ทันที มิใช่รอรายงานผลเท่านั้น นี้เป็นวิธีการการดำเนินการปรับปรุง แก้ไข พัฒนาแบบทันท่วงที จนถึงขนาดแก้ไขปัญหา ใหญ่ท่ีต้องพบในช่วงต่าง ๆ ของการทำงาน เรมิ่ ตน้ ตั้งแตว่ างแผน ขณะปฏบิ ตั ิงาน การสรปุ รายงานผล เพื่อเร่ิมต้นวงจรทำงานทุกกระบวนการ ใน ๑๗๙สมั ภาษณ์ ผใู้ ห้ข้อมลู สำคญั อนั ดบั ที่ ๑๖ เม่ือวนั ท่ี ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๖๓.

๑๕๙ วธิ ีนนั้ ๆ ได้ เพ่ือเป็นตรวจสอบ ประเมินผล แกไ้ ข พัฒนาไปในตวั เอง เพ่อื พฒั นาการบริหารจดั การให้ มีประสทิ ธิภาพ ไดค้ ณุ ภาพ ตรงกบั การบริหารจดั การแบบคณุ ธรรม ต้องพรอ้ มในทกุ ๆ ข้นั ตอน ๓ รปู แบบการบรหิ ารจดั การจังหวัดคณุ ธรรมต้นแบบของจงั หวัดพจิ ิตร การส่งเสริมรูปแบบพัมนาการบริหารจังหวัดคุณธรรมนั้น จังหวัดพิจิตรได้มีการเรม่ิ การ ส่งเสริมพัฒนาตามยุทธวิธีของแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๔ จากการ ศกึ ษาวจิ ัยในการใช้คณุ ธรรมไปพัฒนาการบริหารจัดการ ได้พบองค์ความรู้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ทรงคุณวุฒิ มีประเด็นองค์ความรู้ แนวคิด ที่สอดคล้องกับกัน ซ่ึงจะได้เรียงลำดับเน้ือหาไปตาม ตัวช้ีวดั ของแผนแมบ่ ท ซ่ึงไดม้ กี ารจดั เครื่องมอื ช้ีได้ไว้ ๑๐ ประเดน็ ๓ ระดับ คอื การประเมินระดับท่ี ๑ จงั หวัดคุณธรรม ๑.ประกาศขอ้ ตกลงกบั ภาคเี ครอื ข่ายสง่ เสรมิ คุณธรรม ๒.คณุ ธรรมเปา้ หมายและจดั ทำแผนจงั หวัดคุณธรรม ๓.ต้ังคณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคเี ครือขา่ ย ๔.การถ่ายทอดภารกจิ สง่ เสรมิ คุณธรรมส่รู ะดับอำเภอ การประเมินระดับที่ ๒ จงั หวดั คุณธรรม ๕.ดำเนินงานตามเป้าหมาย “ปัญหาท่ีอยากแกแ้ ละความดีท่ีอยากทำ” ๖.วางแผนขบั เคล่อื นและบรรจเุ ปน็ ยทุ ธศาสตรแ์ บบบูรณาการทกุ ภาคสว่ น ๗.มีการยกยอ่ ง เชดิ ชู บุคคล ชุมชน องค์กร อำเภอคณุ ธรรม การประเมินระดบั ที่ ๓ จังหวัดคณุ ธรรมต้นแบบ ๘.ผลสำเร็จจังหวัดคุณธรรมในทุกมิตแิ ละการขบั เคลื่อน ๔ คณุ ธรรม ๙.การเพิม่ ประเด็นคณุ ธรรมในมิตศิ าสนา ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและอ่ืน ๆ ๑๐.องคค์ วามรู้ การพัฒนาคุณธรรม ภาคีเครอื ขา่ ย วทิ ยากร แหลง่ เรยี นรู้อนื่ ๆ ๑ รปู แบบประกาศขอ้ ตกลงกบั ภาคีเครือข่ายส่งเสริมคุณธรรม การประกาศเจตนารมณ์ ทำข้อตกลงนั้น เป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ของหน่วยงานภาค ราชการในการรบั ผิดชอบ ส่งตอ่ ให้องค์กรตา่ ง ๆ เชน่ คณะสงฆ์ท่ีมผี นู้ ำ สร้างประโยชน์ สรา้ งคุณธรรม ใหภ้ าคประชาชน โรงเรียน โรงพยาบาล ดังการศึกษาวิจัยประเด็นตวั ชี้นี้ จะไดเ้ หน็ การสง่ เสริม สว่ น ภาคราชการ ส่วนท้องถิ่น ส่วนภาคธุรกิจ ฝ่ายศาสนา และทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาความดีงามในรูแบบต่าง ๆ โดยมีหลักสำคัญท่ีต้องประสานร่วมกันอันจะเกิดคุณประโยชน์ ดังนี้คอื

๑๖๐ ๑.การมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น ๒.การใหโ้ อกาสสมัครใจเพ่อื เข้าร่วม ๓.การช่ืนชมยนิ ดีเคารพให้เกยี รติ ซึ่งกนั และกัน ๔.เริม่ ท่ตี นเองแสวงจุดรว่ มสงวนจุดต่าง จงั หวัดพิจิตร โดยมีสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร เป็นผู้รวบผลข้อมูลและประเมิน ผลลัพธ์สรุปขององคก์ รคณุ ธรรม จังหวดั พิจิตรนนั้ ได้เป็นจังหวดั คุณธรรมต้นแบบได้ กเ็ พราะว่า ได้มี ผนู้ ำระดับประเทศท่านเมตตาเฉพาะพื้นท่ีนี้กอ่ น จึงมีการประสานกับทางกระทรวงวฒั นธรรม ทำให้ เกิดเป็นปัจจัยที่ให้ภาพลักษณ์ของทางจังหวัดพิจิตรได้เป็นองค์กรต้นแบบ พร้อมกับการเกิดเป็น สถานที่ศึกษาเรียนรู้ สถานทศี่ ึกษาดูงาน และกระจายองค์ความรู้กบั ภาคีเครือข่ายได้ รวมกับปัจจัย ภายในจังหวัดคือผู้นำองค์กรภาคีต่าง ๆ เช่น วัด โรงเรียน โรงพยาบาล ชุมชน หมู่บ้าน องค์การ บริหารส่วนตำบล เทศบาล โดยเฉพาะผู้นำในองคก์ รนนั้ เหน็ ความสำคญั ใหค้ วามร่วมมือ ประสานงาน กัน ร่วมโครงการ สนองนโยบายจังหวัดพิจิตร ตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด ผลิตผลจึงเป็นที่ ประจักษ์ยอมรับในระดบั ประเทศได้ ๒ รปู แบบคณุ ธรรมเป้าหมายและจัดทำแผนจังหวัดคณุ ธรรม การไดต้ รวจสอบพน้ื ท่จี รงิ ทำให้เกิดการเขา้ ใจรว่ มกัน การเข้าใจตรงกนั ถงึ สภาพเป็นจริง ของพื้นท่ีท่ีจะมีการพัฒนาการบริหารจัดการด้วยระบบคุณธรรม พร้อมกับได้รับรู้ปัญหา รับทราบ ความเป็นมาของสาเหตุ พร้อมกับปัจจัยที่เป็นบริบทขององค์กร ชุมชน สังคมในท่ีนั้น ทำให้รู้จัก วัฒนธรรมองค์กร ประเพณี ทัศนคติขององค์กรท่ีมายาวนาน เพ่ือจะได้บูรณาการปรับระบบ กระบวนการบริหารจัดได้สอดคลอ้ งกนั เตมิ ส่วนขาด และร่วมกันพฒั นาจดุ พกพร่อง เปน็ การร่วมกัน พัฒนา สืบสาน วัฒนธรรมประเพณีท้องถ่ิน อนุรักษ์ภูมิปัญญาองค์กร แล้วไปต่อยอดภูมิปัญญาอัน งดงามใหม้ กี ารเผยแพรอ่ อกไปสสู่ าธารณชน คนรุ่นตอ่ ไป อันสอดคล้องกับแผนแม่ของของการสง่ เสรมิ พัฒนาองค์คุณธรรมอยา่ งยิ่ง ๓ รปู แบบตง้ั คณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคเี ครือขา่ ย การตั้งคณะกรรมการ คณะทำงานเพ่ือเช่ือมโยงภาคีเครือข่ายการเช่ือมโยงหลาย ๆ องค์กรนั้น ทำให้เกิดความม่ันใจ ของผูป้ ฏบิ ัตงิ าน มกี ารแบ่งหนา้ ท่ีชัดเจน ไมค่ ลมุ เครือ และทกุ ๆ คน สามารถรหู้ น้าที่ รูว้ ธิ กี ารปฏิบัตงิ านของตนเอง เพ่ือให้เกดิ แรงจูงใจในการการขบั เคลอ่ื น การส่งเสริม คุณธรรมในการนำไปใช้พัฒนาองค์กรของตนเอง เกิดการมาแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ทำใหเ้ กิด กลา้ คิด กลา้ ทำ กล้านำ เป็นต้นแบบให้กับคนรุ่นต่อไป ได้มแี นวคิด ริเร่ิม สืบสาน มีปณิธานในการกล้าขับเคล่อื น องค์กรคุณธรรม ที่จะสามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการองค์กรของตนเองได้ ยง่ิ ให้ คนอนื่ เช่นนักเรียนในโรงเรียน แสดงความคิดเห็นร่วมกัน ในการดแู ลโรงเรียน สรา้ งภาพลกั ษณใ์ ห้กับ

๑๖๑ โรงเรียน เป็นการรักสถาบันการศึกษาของตนเอง คนในชุมชนเกิดรักถ่ินเกิดบ้านเกิด ก็จะให้มีผล ต่อเนอ่ื งเปน็ การพัฒนาท่ียง่ั ยืน ม่ันคงในอนาคตได้ ๔ รปู แบบการถ่ายทอดภารกิจส่งเสริมคุณธรรมส่รู ะดับอำเภอ การถ่ายทอดภารกิจส่งเสริมคุณธรรมสู่ระดับอำเภอการพัฒนากลไกในการขับเคลื่อน บริหารจัดการองคก์ รคณุ ธรรม เป็นสร้างความเปน็ ต้นแบบคุณธรรมนน้ั เป็นการพัฒนาแบบองคร์ วม โดยมีตัวจักรสำคัญระดับจังหวัดโดยมีสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตรในฐานะเลขานุการคณะ อนกุ รรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมระดับจังหวัดมีหนา้ ท่เี ป็นแกนกลาง ทำงานประสานงานกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ ทั้งภาครฐั และเอกชน ทุกชมุ ชนทุกพื้นท่ภี ายในจงั หวดั โดยประสานความร่วมมอื ขบั เคลอ่ื นองค์ชมุ ชน ระดับตำบล อำเภอ และภาคีเครอื ข่ายทุกภาคส่วน เปิดเวที ณ วัด ชุมชนท้องนั้น ๆ ให้มีการพูดคุย เนน้ ความดที อี่ ยากทำ ปัญหาที่อยากแก้ เพ่อื ให้เกิดการระเบดิ จากขา้ งใน ตามความตอ้ งการของพื้นท่ี จริง เพื่อประโยชน์ของคนในชุมชน องค์กร ท้องถิ่นน้ัน ๆ โดยยึดฐานแม่บทในการส่งเสริมพัฒนา คณุ ธรรมแห่งชาติเป็นหลัก ๕ รปู แบบดำเนินงานตามเป้าหมาย “ปัญหาท่ีอยากแก้และความดีทีอ่ ยากทำ” การมีเป้าหมายพัฒนาที่ชัดเจน “ปัญหาที่อยากแก้ และความดีท่ียากทำ” ท้ังด้าน นามธรรมเชงิ คณุ ธรรมทฤษฎีน้ัน จะลงไปสูพ่ น้ื ทีท่ ีจ่ ะใช้ในการไปแก้ไข การบรหิ ารจัดอปุ สรรค ปัญหา ต่าง ๆ ที่เกดิ มอยใู่ นองคข์ องภาคีเครือข่าย ในทกุ ๆ ระดบั ซ่งึ ในระดับอำเภอ ของจงั หวัดพิจิตรนนั้ ได้ มกี ารรบั หลักการ รับนโยบายนไี้ ปบรหิ ารจัดการ และมีวดั มโี รงเรยี น มีโรงพยาบาลเป็นโมเดลที่ประ ความสำเร็จในการใช้คุณธรรมบริหารจัดการองค์กร และคุณธรรมองค์กรนั้น ย่อม เป็นตัวสร้าง พฤติกรรมที่พึงประสงคไ์ ด้ กำหนดรูปแบบออกมาเป็นรปู ธรรมตามแผนงานและโครงการได้งา่ ย การ สร้างตัวช้ีวัดก็จะเห็นเด่นชัดข้ึน บ่งช้ีในแต่ละด้านว่า ได้คุณค่า คุณประโยชน์ด้านใดบ้าง และ สอดคล้องกับหลกั นโยบาย หลักยุทธศาสตรป์ ระจำจงั หวัด หรอื องคก์ รนั้น ๆ ท่ีนำไปใชไ้ ดด้ ี ๖ รปู แบบวางแผนขับเคล่ือนและบรรจุเปน็ ยทุ ธศาสตร์แบบบรู ณาการทุกภาค วางแผนขับเคล่ือนและบรรจุเป็นยุทธศาสตร์แบบบูรณาการทุกภาคส่วนการระดม ความคิดเพื่อการวางแผนการสร้างแผนงาน ทางกระทรวงวัฒนธรรม และจังหวัดพิจิตร ได้มีการ ประสานความร่วมมือกับองค์กรภาคีเครือข่าย จัดให้มีการนำหลักคุณธรรม หลักทฤษฎีการบริหาร จดั การ เชน่ หลัก SWOT หลัก PDCA เริม่ จากการศึกษาวเิ คราะหข์ อ้ มูล ปรึกษาหารอื การวางแผน การวิเคราะห์แผนงานในแต่ละขน้ั ตอน การใช้ตัวชี้วัด และมองภาพรวมของแผนงาน ท่ีจะต้องสร้าง โครงการต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับพื้นที่นั้น องค์กรนั้น ๆ ท่ีต้องนำหลักคุณธรรมต่าง ๆ ไปใช้ หรือให้ ภาคีเครือขา่ ย สามารถคดิ ค้น ศกึ ษาเอาประเด็นองค์คุณธรรมตา่ ง ๆ ตามท่ตี ้องการ และสอดคล้องกับ

๑๖๒ การดำเนินงานบรหิ ารจัดการ เพื่อสร้างสรรค์ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ประสิทธภิ าพในการบริหารจดั การให้ ถูกต้องดงี าม ตอ้ งเปน็ ที่ยอมรับแลว้ จะเป็นประโยชนอ์ ย่างมากกับการขับเคลอ่ื นโครงการคุณธรรมต่าง ๆ ลงพ้ืนทเ่ี พื่อจะนำไปเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนา ลงมือปฏิบัตไิ ด้จรงิ เปน็ ท่ียอมรับของคนในองคก์ ร น้ัน ๆ ได้ดี ย่อมทำให้ภารกิจที่กำหนดไว้ในแผนงานมีกระบวนการขับเคล่ือนไปอย่างราบร่ืน มี ผลลัพธ์ท่ีเป็นรปู ธรรม ๗ รปู แบบการยกยอ่ ง เชิดชู บุคคล ชมุ ชน องคก์ ร อำเภอคณุ ธรรม การท่ีจะสร้างรปู แบบนัน้ ต้องให้ทุกองค์กร ทุกคนทเ่ี ก่ียวข้องได้มีสว่ นร่วม ได้รบั ความยก ย่อง ได้รับการเชิดชู ได้ถูกประกาศเกียรติคุณ รับรางวัลระดับประเทศ ได้ถูกประกาศเป็นองค์กร ตน้ แบบ เป็นปัจจยั สำคญั ที่จะทำใหเ้ กิดพลงั ใจ เกิดพลงั รว่ มทจี่ ะตอ้ งอนุรกั ษอ์ งคค์ วามร้ทู ี่ใชไ้ ปแลว้ เกดิ ประโยชน์จนเปน็ ที่ยอมรบั นับถือ เป็นเคร่ืองมือที่ผลิตมาใชแ้ ล้วมีประสิทธิภาพซ่งึ การยกย่อง เชดิ ชู บุคคลต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ องค์กรต้นแบบ อำเภอคุณธรรมต้นแบบ เป็นสักขีพยานในการสร้าง รูปแบบพัฒนาท่ีเป็นรูปธรรม เพื่อให้เกิดการช่วยกันคิด ช่วยกันพัฒนา สร้างรูปแบบ พัฒนาการ บริหารจัดการองค์กรของตนเองโดยให้มคี วามสอดคล้องกันกับยุทธศาสตร์ระดับชาติ ระดับจังหวัด เพื่อเป็นกลไกสำคัญที่ให้การทำงานประสานสอดคล้องกัน โดยกระบวนการแบบมีส่วนร่วมจะมี งบประมาณสนับสนุน รูปแบบ แผนงาน เป้าหมาย ปญั หาทีอ่ ยากแก้ ความดีที่อยากทำ ก็สำเร็จเป็น ผลที่น่าประทับใจทกุ ฝ่าย ๘ รปู แบบความสำเร็จจังหวดั คณุ ธรรมในทุกมติ ิและการขบั เคล่ือน ๔ คุณธรรม ผลสำเร็จของการเข้าถึงเป้าหมายในทุก ๆ มิติน้ัน ด้วยเนื่องด้วยผู้นำการพัฒนาองค์กร ด้วยคุณธรรมเป็นต้นแบบท่ีอื่น ๆ ได้น้ัน ต้องเป็นผู้ท่ีกล้าหาญ อดทน ใช้สติปัญญาเต็มที่ เต็ม ความสามารถ ถือว่าผทู้ ่ีมีความสำเร็จอันงดงามนน้ั ได้มปี ัจจยั เชงิ บวกคือ กล้าท่ใี ช้ภมู ิปญั ญา นำหน้า วิชาการ กล้าฝกึ ฝนพัฒนาองค์คุณธรรมนำมาสกู่ ารใช้งานให้เป็นผลสำเร็จอันเป็นทีย่ อม ๆ รบั ของทุก ๆ ฝ่าย เพราะน้ันหมายถึงกระบวนการต่าง ๆ ได้ถูกพัฒนา กลั่นกรองมาจากผมู้ ีความรู้ ผ่านงานวิจัย มากมาย จนมาถึงเป็นแผนพฒั นา เป็นแม่บทแหง่ ชาติ สง่ ผลให้บคุ คล หรือองค์กร ภาคีเครือผ้สู นใจ ผู้ มสี ่วนร่วมได้ สรา้ งมิติใหม่คือคุณธรรมกับระบบบริหาร โดยกล้าฝนื ปัจจัยด้านลบเชิงวิพากษว์ ิจารณ์ อดทนมุ่งมั่นที่จะพัฒนาจนบรรลุความสำเร็จที่ยอมรับกันระดบั ประเทศ เม่ือกระบวนการเป็นไปใน รูปแบบองค์กรท่ีถูกพัฒนาข้ึนมาเป็นต้นแบบได้ เป็นเพราะมีปัจจัยสิ่งแวดล้อม หลายอย่างอย่าง เช่นกัน ซึ่งเชื่อมโยงในหลายภาคส่วน ท่ีส่งผลให้เกิดการพัฒนาองค์กรระดับต่าง ๆ ภาคีเครือข่าย จนถึงจังหวัดคณุ ธรรม ก็ให้เกิดเป็นแหล่งเรียนรู้ มีองค์ความรู้เชิงวิชาการ มีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ มี วิทยากรท่ีมีศักยภาพให้การสร้างโครงงานต่าง ๆ มาเป็นต้นความรู้ เพื่อเตรียมถ่ายทอดต่อไปสู่ผู้นำ คนใหม่มาทำหน้าท่แี ทน สร้างเหตปุ จั จยั ในการพัฒนาเพื่อใหท้ ันตอ่ เหตก์ ารณ์ ในหน้าที่น้นั ตอ้ งสนอง

๑๖๓ ตามนโยบายแผนงานท่เี ปน็ ระบบคุณธรรมองค์กรเดิม เพื่อท่ีจะพัฒนาตอ่ ยอดกนั ไปเรอื่ ย ๆ และถอื ว่า เปล่ียนแปลงทง้ั บคุ คลและกาลเวลา สร้างความยัง่ ยนื ได้ เพราะสรรพสง่ิ ลว้ นเปลย่ี นแปลงเสมอ แต่เม่ือ ใชอ้ งคป์ ญั ญา ความรแู้ ลว้ ก็สามารถตอ่ ยอดพฒั นาความรูน้ ้นั ไปใชใ้ หถ้ ึงเป้าหมายที่ต้งั ไว้ไดส้ ำเร็จ ๙ รปู แบบการเพมิ่ ประเด็นคณุ ธรรมในมติ ศิ าสนา ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและอ่ืน ๆ การสรา้ งองค์กรเครือขา่ ย และขยายผลนั้นคืออะไร ตอบวา่ การทส่ี ังคมมนุษย์ไดม้ ีระบบ เทคโนโลยีสมัยใหม่ แตกต่างไปจากเดิมเสมอ เพราะองคค์ วามรู้ องค์ความรูน้ นั้ ไม่ได้ตาย หรอื สญู หาย เพราะได้มีการศึกษาเรียนรู้ ถ่ายทอดวิชากันไว้ รุ่นต่อรุ่น ยุคต่อยุค ถือไว้ว่าหลักการน้ี มีผลเป็นท่ี ยอมรบั จริง บริษัทผลิตรถหนง่ึ ทมี่ รี ายได้มากมาย มีบรษิ ัทลูกหลายท่ี ขยายไปหลายประเทศก็สามารถ ล่มสลายได้ ตามกฎของธรรมชาติ แต่องค์ความรกู้ ารผลติ รถถกู ถ่ายทอด หรือถูกโอนถา่ ยเปล่ยี นผเู้ ปน็ เจ้าของ การผลติ รถย่อมเกิดได้ใหม่ฉนั นน้ั ผวู้ จิ ัยได้สังเคราะห์ความรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิ เห็นว่า องค์กร คุณธรรม ย่อมเปล่ียนแปลงได้ คือเกิดขึน้ ในยุคหนึ่ง และหายไปช่ัวระยะเวลา แต่ก็จะกลับมาใหม่ได้ เมื่อปัจจัยพรอ้ ม ดังนนั้ เห็นควรเปน็ อยา่ งยิง่ กับแผนแม่บทส่งเสริมพัฒนาคุณธรรมแหง่ ชาติ ตอ้ งให้มี องค์กรเครือข่าย เพราะความรู้ยอ่ มสูญหายไปจากองค์กรหนึ่ง แต่กลับยังคงอยู่ได้ในอีกองค์กรหน่ึง เพราะมกี ารถา่ ยทอดองคค์ วามรูไ้ ว้ ปจั จัยหลักคอื ต้องสรา้ งองค์กรเครอื ข่าย และวิธีการขยายผลในการ พัฒนาองค์กรคุณธรรม องค์กรต้นแบบต่อไว้ เพื่อไม่ให้พืชพันธุ์แห่งคุณธรรมความดีนั้นสูญหายจาก สังคมไทย ๑๐ รปู แบบองคค์ วามรู้ การพฒั นาคุณธรรม ภาคีเครือข่าย วทิ ยากร แหล่งเรยี รู้ กระบวนการส่งเสรมิ และพัฒนาจงั หวดั คุณธรรมน้ัน ได้มีวิวฒั นาการมาตามลำดับโดยนำ หลักแผนแม่บทแหง่ ชาตมิ าบูรณาการปรับใช้ในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมในจังหวัดพิจิตร โดย บรรจุเข้าสู่ยุทธศาสตร์ของจังหวัด ซึ่งได้มีการพัฒนาคุณธรรมในการบริหารจัดการองค์กรอย่าง ตอ่ เนอื่ ง และให้มผี ลการพฒั นาในรูปแบบ ตน้ แบบ ท่ยี ั่งยนื ต่อเนือ่ ง

๑๖๔ ๔.๕.๒ องคค์ วามรู้ท่ไี ด้สังเคราะห์จากการวจิ ัย จากองค์ความรู้การวจิ ัยเรอ่ื ง “รูปแบบการบริหารจัดการจังหวัดคณุ ธรรมต้นแบบของ คณะสงฆ์จงั หวดั พิจิตร” ผู้วจิ ัยสรปุ องค์ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการสงั เคราะหก์ ารวิจัยได้ดงั นี้ แผนภาพที่ ๔.๑๘ องค์ความรู้ท่ีได้จากการสงั เคราะห์การวิจยั

๑๖๕ ๑ การมผี ู้นำในการเปลี่ยนแปลงพัฒนาองค์กรคณุ ธรรม ผู้นำสามารถเชื่อมโยงประสานองค์กรคุณธรรมให้สอดคล้องลงตัวกับงานเอกสารงาน วิชาการจังหวัดคุณธรรมของแผนแม่บทท่ีได้แสดงไว้อย่างชัดเจน จะปรากฏเป็นรูปแบบอยู่ กระบวนการแปรรปู ในส่พู ้ืนทจ่ี รงิ ได้ ต้องอาศัยการขับเคลื่อนดว้ ยผู้นำองค์กรในระดับตา่ ง ๆ ซ่ึงจะเป็น ปจั จัยหลกั สำคญั ท่สี ดุ และเปน็ ตัวชี้วดั เด่นชัด โดยจะเห็นภาพลักษณต์ า่ ง ๆ ปรารกฎขึ้น ล้วนแลว้ แต่มี รากฐานความสำเร็จมาจากภาวะผู้นำคณุ ธรรมทัง้ ส้นิ ๒. การสร้างความน่าเช่ือถอื เปน็ ทยี่ อมรับ ปัจจัยหลักที่สำคัญคือ บุคคลที่ไปเป็นผู้นำในท้องถิ่นนั้นมีภาวะผู้นำไหม มีความตั้งใจ พอใจท่ีรบั ผิดชอบในการสร้างคน สร้างสรรค์พ้นื ทน่ี ั้น โดยไมค่ ำนึงถงึ ลาภสักการะ ผลประโยชน์หรือ เปล่า เพราะมันคืองานเสียสละ เปน็ หลัก ซ่ึงเหมือนการเปน็ พระโพธิสัตว์ในคตทิ างพระพุทธศาสนา การทจ่ี ะไปบริหารจัดการด้วยคณุ ธรรมล้วน ๆ โดยไม่มวี ธิ ี ไม่มอี ุบายท่ีจะทำ ไปแบบเพียว ๆ หรอื พูด ไม่เป็น บอกไม่ถูก รับสนองนโยบายมาแล้ว จะต้ังใจทำก็ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ ที่จะสำเร็จ หรือกว่าจะ สำเร็จอาศัยเวลามากมาย เปล่ียนตำแหน่ง ย้ายสถานที่ไปก่อน ก็ยากท่ีกอ่ ให้เป็นรูปแบบคุณธรรมให้ เห็นผลสัมฤทธ์ิได้และได้ชื่อสร้างความน่าเช่ือได้สำเร็จ ดังน้ันการสร้างความน่าเช่ือถือ ถือว่าเป็น หลักการสำคัญอนั หนงึ่ ที่จะส่งให้องค์กรต่าง ๆ ใหค้ วามไว้วางใจ ปรารถนา สนใจท่ีจะมาศึกษาเรียนรู้ วา่ การพัฒนาองคก์ รคณุ ธรรม มีสว่ นทำใหก้ ารทำงาน การพฒั นาในดา้ นตา่ ง ๆ นั้นมีประสิทธภิ าพมาก ข้ึนได้ สามารถให้สมาชิก บุคคลในองค์มีได้รับประโยชน์สุขแท้จริง พร้อมท้ังจะสง่ ผลให้สงั คม ชมุ ชน ต่าง ๆ ที่รายล้อมอยู่น้ันได้รับประโยชน์ คุณค่าอันเกิดการงานการพัฒนานั้น ๆ เป็นประโยชน์ต่อ สว่ นรวม ส่วนใหญ่ได้รับผลและคณุ ค่าอันมหาศาล สง่ ผลให้ประเทศได้ขับเคล่ือนพัฒนาสอดคล้องกับ แผนนโยบายแห่งชาติ ๓. การพฒั นาคุณธรรมต่าง ๆ ที่ใช้ในโครงการ สรุปผลได้ว่า การพัฒนาคุณธรรมต่าง ๆ ท่ีจะนำไปใช้ในโครงการ ก็ต้องดูบริบทนั้นของ พนื้ ท่ีนน้ั องค์กรน้ันรองรบั โดยต้องผา่ นการประชุม ระดมความคดิ ตดิ สินใจ นำไปปรับประยุกต์ไดต้ าม ความเหมาะกับบริบทขององค์กร ชุมชน สังคมพ้ืนท่ีแตล่ ะแหง่ ท้ังแผนแมบ่ ทก็ให้องค์กรต่าง ๆ ได้มี สว่ นรว่ มกันพฒั นาหลกั คุณธรรมขึ้นมาใช้ไดเ้ อง โดยแผนแม่บทมีแต่เพียงหลกั คุณธรรมกลางไว้เท่านั้น ถอื ว่าเป็นองค์ความรู้ท่ีเปิดกว้าง สามารถท่ีผลิตขึ้นมาใชไ้ ด้เอง และนำต้นแบบคุณธรรมมาบูรณาการ ปรับได้ตามต้องการ โดยมีต้องตรวจสอบวัดผล ประเมินแล้วว่าจะสร้างให้เกิดคุณค่า สร้าง คณุ ประโยชน์ได้อยา่ งครบถ้วน เปน็ ที่ยอมรบั ของทุกภาคสว่ น

๑๖๖ ๔ ผลสำเรจ็ ของการบริหารจัดการคณุ ธรรมตน้ แบบ การบรรลุเป้าหมายเป็นผลสำเร็จของการบริหารจัดการด้วยองค์กรคุณธรรม สร้างการ ยอมรับ นบั ถือเป็นต้นแบบให้ภาคเี ครือข่าย ได้มาศึกษาเรียนรู้ เป็นท่ีมาของการได้รับคัดเลือก เป็น จังหวดั ต้นแบบ เป็นองคก์ รต้นแบบ ความสำเร็จนี้ กต็ ้องอาศัยศกั ยภาพภายในองคก์ รน้ัน ๆ ท่ีรว่ มมือ รว่ มแรง ร่วมใจกันสร้างสรรพัฒนานำพาองค์กรของตนไปสูก่ ารพฒั นาให้มีประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์ ประเมนิ ผลได้สมบูรณ์ เป็นท่ียอมรับ อธิบายองค์ความรจู้ ากการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั ”POCCCF MODEL” ดงั น้ี P – Planning : การวางแผน การกำหนดแผนปฎิบตั ิการหรอื วิถที างทจี่ ะปฎิบตั ิงานไว้ตง้ั แต่ต้นจนจบ ให้ครอบคลุมทุก กระบวนการ เป็นแนวทางท่ีวางไว้สำหรับการทำงานในอนาคต ซ่ึงการวางแผนนี้จะเกิดข้ึนจากวัสัย ทัศน์บวกกับจินตนาการในการบริหารจัดการท่ีคาดการณ์ล่วงหน้า ซึ่งจะถ่ายทอดออกมาเป็นแผน ปฎิบตั กิ ารการทำงานและเปา้ หมายที่จะตอ้ งบรรลุสคู่ วามสำเรจ็ O – Organizing : การจัดองคก์ ร การกำหนดตำแหนง่ งาน ภาระ หน้าท่ี ความรับผดิ ชอบ ตลอดจนจำนวนคน ใหค้ รอบคลมุ การทำงานครบทกุ กระบวนการ รวมถึงการจัดโครงสรา้ งตำแหน่ง โครงสร้างองค์กร เพอ่ื จัดลำดับการ บริหารและส่ังการด้วย หากองค์กรมีการจัดการองค์กรที่เป็นระบบระเบียบ แบ่งงานชัดเจน ไม่ทับ ซ้อน มีหน้าท่ีครบ มีปริมาณคนพอกับท่ีต้องการ ก็ย่อมทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และโอกาส บรรลุผลสำเร็จที่สูง C – Commanding : การบงั คบั บัญชาส่ังการ การจัดองค์กรตลอดจนจัดโครงสร้างการทำงานนั้นจะทำให้เราเห็นสายบังคับบัญชาท่ี ชัดเจน เห็นลำดับความสำคัญ ตลอดจนอำนาจหน้าท่ีในการส่ังการ เพราะการทำงานหมู่มาก จำเป็นต้องมีผู้บังคับบัญชาเพื่อให้การทำงานดำเนินไปได้อย่างราบรื่น มีคนคอยควบคุม สั่งการ ดู ภาพรวม ตลอดจนสอดส่องปัญหาเพ่อื หาทางแกไ้ ขใหไ้ วที่สุด ขอ้ ดใี นการมอี ำนาจสั่งการอีกอยา่ งก็คือ ช่วยให้เกิดการตัดสินใจอย่างทนั ท่วงที ผู้ที่มีอำนาจการตัดสินใจจะต้องสามารถวิเคราะห์สง่ิ ตา่ งๆ ได้ อย่างรอบคอบ และตัดสินใจได้เฉียบขาด ว่องไว ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการตัดสินใจของตน ด้วย และผู้บังคับบัญชาที่ดียังสามารถท่ีจะสร้างแรงจูงใจในการทำงาน เข้าใจและเอาใจใส่ ผู้ใตบ้ งั คับบัญชา ใหก้ ำลังใจ รวมถึงอยู่ขา้ งๆ ในยามที่เกิดวิกฤติ

๑๖๗ C – Coordination : การประสานงาน หมายถึงภาระหน้าท่ีในการเชื่อมโยงงานตลอดจนการปฎิบัติการทุกอย่างรวมไปถึง กำลังคนท่ีหน่วยใหท้ ำงานเขา้ กันให้ได้ กำกับให้มุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน อำนวยให้เกิดการทำงานท่ี ราบรื่น เพื่อให้เกิดผลสำเร็จตามที่วางไว้ ทุกอย่างหากขาดการประสานงานท่ีดกี ็อาจทำให้เกิดความ ล้มเหลวได้ เม่ือมีการแบ่งโครงสร้างตลอดจนมอบหมายงานให้กับแต่ละส่วนชัดเจนแล้วการ ประสานงานให้เกิดการทำงานท่ีดีท่ีสุดนั้นมีความจำเป็นอย่างย่ิง เพราะแต่ละส่วนต้องทำงานสอด ประสานกนั เพื่อผลสำเร็จเดยี วกันนั่นเอง การประสานงานทดี่ นี น้ั จำเปน็ จะตอ้ งมีในทุกระดับ C – Controlling : การควบคุม การควบคุมในท่ีน้ีหมายถึงการกำกับตลอดจนบรหิ ารจดั การทกุ อย่างใหส้ ำเรจ็ ลุล่วงไปตาม แผนท่ีวางไว้ ประครองการดำเนินงานให้เป็นไปตามกรอบที่กำหนด ทั้งในเรื่องของกรอบเวลา มาตรฐานการปฎิบตั กิ าร ขน้ั ตอนการทำงาน ไปจนถงึ การประสานงานทกุ ฝา่ ยใหเ้ กิดความราบรนื่ การ ควบคุมนี้ยังรวมไปถึงการบริหารท่ีไม่ใช่ทรัพยากรบุคคลอีกด้วย แต่รวมถึงทรัพยากรท่ีเป็นวัตถุดิบ ผลผลติ ทไ่ี ด้ ตลอดจนงบประมาณในการดำเนนิ งานทัง้ หมดด้วย เพอ่ื ให้การทำงานมีประสทิ ธภิ าพที่สุด F – Follow up : การตดิ ตามผล การตดิ ตามผล รายงานผล ประเมนิ ผล การกำหนดวิธกี าร แหลง่ ข้อมูลและความถี่ในการ ติดตามงาน รวมท้งั การกระตุ้นจูลใจให้ผู้อื่นทำงานให้สำเรจ็ ตามเป้าหมายที่กำหนด ตลอดจนการแจ้ง ผลความกา้ วหน้าของานไดอ้ ย่างครบถ้วนถกู ตอ้ ง

บทที่ ๕ สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การศึกษาเรื่อง \"รูปแบบการบริหารจังหวัดคุณธรรมต้นแบบของพิจิตร\"นี้ ผู้วิจัยได้ ตรวจสอบข้อมูลเชิงประจักษ์ตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ(Cualitatve Research) ท่ีได้จากการ สมั ภาษณ์เชิงลึก(in-depth interview) ผู้ท่ีใหข้ ้อมูลสำคัญ(key informants) ได้แก่ พระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคระผู้ปกครองผบู้ ริหารคุณสงฆ์ด้านส่งเสริมคุณธรรมและประสานงานรูปแบบการบริหาร จงั หวดั คุณธรรมต้นแบบของพิจติ รพิจิตร ผู้ทรงคณุ วุฒิด้านวัฒนธรรม ข้าราชการที่เกยี่ วข้องกับการ สอนงานคณะสงฆ์ด้านวัฒนธรรม รวมจำนวนทงั้ ส้ิน ๓๐ รูป/คน ได้ใช้การสนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion) ร่วมกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key informants) อันได้แก่ พระสังฆาธิการผู้ บริหารงานด้านส่งเสริมคุณธรรมและประสานคุณธรรมต้นแบบจังหวัดพิจิตร ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน วัฒนธรรม เพอ่ื พิจารณาการพัฒนาสง่ เสรมิ คุณธรรมต้นแบบของคณะสงฆ์ในจังหวัดพิจิตร ใหม้ ีความ เหมาะสมและมคี วามสอดคล้องกับวตั ถุประสงคข์ องการวิจัย คือ .๑ สภาพท่ัวไปในการบริหารจัดการ จังหวัดคุณธรรมจังหวัดพิจิตร๒ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบจังหวัด พิจติ ร ๓ รูปแบบการบริหารจัดการจงั หวัดคุณธรรมตน้ แบบของจังหวัดพิจิตร ๔ ผลการสนทนากลุ่ม เฉพาะ และ ๕ องค์ความรู้ท่ีได้รับจากการวิจัย (Body of knowledge) ซ่ึงจะมีผลสรุปการวิจัย ดังตอ่ ไปนี้ ๑. สรปุ ผลการวิจยั ๒. อภิปรายผลการวิจยั ๓. ข้อเสนอแนะ ๕.๑ สรุปผลการวิจัย การศึกษาวิจัยการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมในเขตพ้ืนท่ีที่ผวู้ ิจัยได้ใช้ทฤษฎี SWOT มาทำการศึกษาวิเคราะห์ ประมวลองค์ความรู้ในพนื้ ท่ีจะต้องการการศึกษา เพ่อื แสดงให้เห็นถึงองค์ ความรู้พ้ืนฐานในการที่จะเป็นพื้นท่ีบริหารจัดการด้วยคุณธรรมน้ัน มีบริบทต่าง ๆ เข้ามาเชื่อมโยง เก่ยี วข้อง เปน็ เหตใุ หก้ ารบรหิ ารจัดการด้วยองค์ธรรมแล้วจะมีคณุ คา่ สง่ ผลต่อทำการศึกษา๔ ดา้ นดว้ ย SWOT Analysis คือ ด้านจุดแข็ง ด้านจดุ อ่อน ด้านโอกาส และด้านอุปสรรคปญั หา โดยจะไดแ้ สดง ขอ้ มูลในแตล่ ะพนื้ ท่ี คือ

๑๖๙ ๑). วดั ทา่ หลวง พระอารามหลวง ๒). โรงเรียนบางมลู นากภูมวิ ทิ ยาคม ๓). โรงพยาบาลบางมลู นาก แลว้ แสดงองค์ความร้ทู ่ไี ด้ วิเคราะห์ เชื่อมโยง ไปสู่แผนงานตา่ ง ๆ ของการบรหิ ารจัดการ จังหวดั คุณธรรมของจังหวดั พจิ ติ ร ผลจากการศึกษาวิเคราะห์ด้วย SWOT Analysis แล้วในพ้ืนที่เป้าหมาย คือวัดท่าหลวง จากการสมั ภาษณ์ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ตามหลกั ทฤษฎี SWOT นน้ั ใน ๔ ด้าน พบว่า ด้าน จุดแข็ง Strengths ของวัดท่าหลวงน้ัน ซ่ึงเป็นเหตุปัจจัยภายในขององค์กรท่ีมี ศักยภาพ มีความสามารถ เป็นจดุ เด่น จุดแข็งดา้ นต่าง ๆ นนั้ มี ๑๐ ประเดน็ สาระด้วยกัน คอื ๑. เป็น พระอารามหลวง ๒.เป็นศูนย์รวมใจของคนจังหวัดพิจิตร ๓.เป็นศูนย์ราชการงานคณะสงฆ์จังหวัด พจิ ิตร ๔.เป็นวดั สำคญั ทางประวตั ิศาสตร์ ๕.เปน็ วัดทส่ี ถิตอยู่ของผู้นำคณะสงฆ์จังหวัดหลายระดับชั้น ๖.เปน็ แหลว่ รวมวฒั นธรรมประเพณีของเมอื งพิจิตร ๗.เปน็ วัดทมี่ ีทรัพยากรทางคณะสงฆม์ าก ๘.เป็น วัดทม่ี ที นุ ด้านคณุ ธรรมสูงคอื มีพระมหาเถระผู้ใหญ่มีชื่อเสยี ง สมณศักดชิ์ ั้นสงู ๙.เป็นวดั ท่มี ีพระพุทธรูป ศักด์ิ คือหลวงพ่อเพชร ๑๐.เป็นวัดที่มีพระผู้นำที่เข้มแข็งนำสร้างโรงพยาบาล สร้างโรงเรียน สร้าง มหาวทิ ยาลยั สงฆ์ เหล่าน้ีคือ จุดแข็ง จุดเดน่ ของวดั ทา่ หลวงเปน็ ปจั จัยภายในทเ่ี ปน็ พลังสำคัญอย่าง ยง่ิ ด้านคณุ ธรรม ชยั ภูมพิ ื้นท่ีแล้ว ก็มชี อ่ื เสยี งเป็นท่ีรจู้ กั ท่ัวประเทศ ถือวา่ ได้คะแนนเกินร้อย ย่อมเป็น ที่ยอมรับของสงั คมท่วั ไป ดา้ นปัจจัยภายในอีกตัวท่ีสำคัญ คือ ด้านจุดอ่อน Weaknesses ข้อด้อยหรือจุดอ่อนน้ัน วดั ท่าหลวง จากการทไ่ี ดท้ ำการศึกษาวิจยั นน้ั พบ ๔ ประเด็นเน้ือหาสาระ คือ ๑.ผู้นำ ผปู้ กครอง ยัง แนวคดิ ไม่ค่อยไปในทิศทางเดียวกัน๒.บุคลากร ในงานขององค์กรคณะสงฆบ์ างส่วนยังไม่เพยี งพอ ๓. ศักยภาพบุคลากร ยังไม่สมบูรณ์ตามแบบคณะสงฆ์ต้องการ๔. พระภิกษุสามเณรรุ่นใหม่ ยังพัฒนา ศกั ยภาพด้านต่าง ๆจากการวิจัยข้อมลู เชิงลึกดงั กลา่ ว พบจดุ อ่อนอันที่เปน็ ผลกระทบตอ่ องคก์ ร และ ต้องการการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไป เพื่อให้การรักษาพระพทุ ธศาสนาและสงั คมตน้ แบบ ด้านปัจจัยภายนอก ที่ช่องทางหรอื โอกาสก้าวหน้าเจริญเติบโต ของวัดท่าหลวงนั้น คือ ดา้ นโอกาส Opportunities อนั เป็นปัจจัยเชงิ บวกท่ีจะสามารถจัดสรา้ ง พัฒนาโครงการตา่ ง ๆ ไดใ้ น อนาคต การศกึ ษาวิจัยพบ ๗ ประเด็นเน้ือหาสาระ คือ ๑.อยู่กลางชมุ ชนเมือง สามารถเข้าถึงทุกมิติ ของสังคมเมือง ๒. มีสถานท่ี และอุปกรณ์เทคโนโลยีพร้อม ๓. เป็นศูนย์อำนาจของคณะสงฆ์ระดับ ผู้บริหารจังหวัดพิจิตร ๔. เป็นศูนย์ประชุมของคณะสงฆ์จังหวัดพิจิตร๕. เป็นสถานท่ีมีแหล่งทุน สนบั สนนุ ๖.เปน็ สถานสงเคราะห์ ชว่ ยเหลอื คราประสบภยั พบิ ตั ิด้านต่าง ๆ ของจงั หวัด ๗. สามารถ

๑๗๐ จัดกิจกรรม โครงการต่าง ๆ ไดด้ ี จากการวจิ ัยข้อมูลเชิงลึกน้ัน พบวา่ ปัจจัยภายนอกดา้ นโอกาสของ วัดท่าหลวง ซึ่งต้องการช่องทางการพัฒนาน้ัน ถือว่ามีความเป็นไปได้สูง เพราะเหตุปัจจัยเก้ือกูล จำนวนมาก มผี ลกระทบต่อการพัฒนาเพ่ิมศกั ยภาพ ประสทิ ธิภาพอย่างแน่นอน ดา้ นปัจจัยภายนอก ซ่ึงเป็นประเด็นด้านปญั หาอุปสรรค Threats ท่ีสำคญั ของของวัดท่า หลวงน้ัน การศึกษาวิจัยพบ ๔ ประเด็นเน้ือหา คือ ๑.การจราจร หนาแน่น ถนนคับแคบ๒. ความ หลากหลายบคุ คลที่มแี นวคดิ แตกตา่ งกัน ๓. มีพื้นที่ใชส้ อยไมเ่ พียงพอกับกิจกรรมภายในวดั และนอก วัด ๔. มีการแย่งชิงพื้นที่ความคิด แนวร่วมเชิงสังคมการเมืองจากการศึกษาวิจยั ข้อมูลแล้ว ปัญหา อปุ สรรคของวดั ทา่ หลวงนน้ั กย็ ังคงมีอยู่ ซึง่ ก็เปน็ ประเดน็ ทำให้ภารกิจการงานตา่ ง ๆ ที่ถกู จัดขน้ึ ย่อม มปี จั จัยเชงิ ลบ ยงั ตอ้ งรอการแก้ไขปรบั ปรงุ กนั ต่อไป ผู้วิจัยได้พบว่า ปัจจัยบวกคือจุดแข็งพบว่า องค์กรวัดท่าหลวงถือว่าเป็นองค์กรที่มีสักย ภาพในการพัฒนาตนเองไดม้ ากที่สดุ กวา่ ๒ องค์กรดา้ นการพฒั นาองค์กรด้วยคุณธรรมโดยความเป็น ปจั จยั เชงิ สังคมด้านเป็นสถานท่ีสำคัญทางจิตวิญญาณศูนยร์ วมใจของภาคประชาชนทุกหมู่เหล่าของ จงั หวัดพจิ ิตร ท้ังสถานทต่ี งั้ องคก์ รน้ันเปน็ แหลง่ ใจกลางเมืองเป็นศูนย์ราชการงานคณะสงฆ์ทั้งจังหวัด พจิ ิตร ถา้ ได้ใชห้ ลักคุณธรรมของการบริหารจัดการองค์กร เพื่อเป้าหมาย นโยบายท่ียิ่งใหญ่ได้สำเร็จ อย่างแน่นอนด้านปัจจัยภายใน คือจุดอ่อนนั้น เป็นการค้นหาส่ิงท่ีสำคัญท่ีเป็นหัวใจ ซ่ึงมีความบอบ บางแต่ทรงพลงั แห่งสติปัญญา ทำให้เป็นต้นเหตแุ หง่ ขุมพลังอันมหาศาลท่ีจะนำไปพัฒนาและปฏบิ ัติ จริง เพ่ือให้ได้ผลเชิงสังคม เชงิ เศรษฐกิจแบบประจักษต์ ่อองค์กรโดยภาพรวม ซ่ึงจุดอ่อนนั้นคือส่ิงท่ี ทำให้เกิดพลังภายในท่ีเข้มแข็งมาก ๆ จะทำให้องค์กรวัดท่าหลวง จะมีการพัฒนาการบริหารจัด องคก์ รคุณธรรมเน้นให้เกิดศนู ย์รวมความรักความศรัทธา สร้างเปา้ หมายเดียวกัน สร้างความเข้มแข็ง ให้องค์กรได้มากที่สุด โดยมีปัจจัยบวกมาสนับสนุนได้ทุก ๆ รูปแบบ ที่จะเพ่ิมสักยภาพขีด ความสามารถได้อีกอย่างไม่มีขอ้ จำกัดด้านปัจจยั ภายนอกทเี่ ปน็ ปจั จยั บวกทส่ี ำคัญอกี สว่ นหนง่ึ ท่ีทำให้ การบริหารจดั การองคก์ รวัดทา่ หลวง มีความโดดเด่นอยา่ งมาก คือ องค์กรนั้นมีสถานท่ตี ั้งพรั่งพร้อม บรบิ รู ณห์ ลายปัจจัยมาก ซึ่งถอื วา่ เป็นโชคดีมาก และตวั คะแนนเสรมิ สำคญั คือ การมที นุ สนับสนนุ มา จากหลายทีห่ ลายแหล่งได้ เพราะปัจจัยภายนอกที่สำคัญ ด้านปัจจยั ภายที่ไม่สามารถควบคุมได้ของวัด ท่าหลวงท่ีมองเห็นจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการบริหารจัดการนั้น ถือว่าไม่เกินสักยภาพท่ีจะ ปรบั เปลี่ยน หรือหาวธิ ีแกไ้ ขในรูปแบบอน่ื ๆ ได้ ซ่ึงแม้พื้นที่จะอยู่ทา่ มกลางความหนาแนน่ บนพนื้ ท่ที ่ี มีแนวคิดเชิงสังคมด้านต่าง ๆ เป็นพหุวัฒนธรรม ดังน้ันผู้วิจัยเห็นว่า การใช้สักยภาพท้ังหมดท่ีมีอยู่ สามารถที่จะขับเคล่ือนการบริหารจัดการในรูปแบบต่าง ๆ ได้ดี ถือว่าจะเป็นตัวช้ีวัด ประเมินการ บรหิ ารจดั การด้วยองค์คุณธรรมในรูปแบบต่าง ๆได้ จะเป็นเหตุให้การใช้ทฤษฎีการบริหารจัดการน้ัน น่าเชื่อถือ และมปี ระสิทธภิ าพอยา่ งยิง่

๑๗๑ ผลจากการศึกษาวิเคราะห์ดว้ ย SWOT Analysis พ้ืนที่เป้าหมาย คือโรงเรยี นบางมูลนาก ภูมิวิทยาคมการสัมภาษณผ์ ู้ทรงคุณวุฒิ ตามหลักทฤษฎี SWOT นั้นใน ๔ ด้าน พบว่า ดา้ น จุดแข็ง Strengths ของโรงเรยี นบางมลู นากภูมวิ ิทยาคมน้ัน ซ่ึงเป็นเหตปุ ัจจัยภายใน ขององค์กรที่มีศกั ยภาพ มคี วามสามารถ เป็นจดุ เดน่ จุดแข็งด้านตา่ ง ๆ นนั้ มี ๓ ประเดน็ สาระดว้ ยกนั คือ ๑.เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอ มนี กั เรียนจำนวนมาก ๒.เป็นโรงเรียนตน้ แบบ ในหลาย โครงงานของจังหวัดพิจิตร ๓.โรงเรียนเป็นสถานท่ีผลิตนักเรียน ให้เกิดความรู้ อุดมการณ์ เชิง สร้างสรรค์พัฒนา จุดเด่นทั้ง ๓ ประการนี้ เป็นปัจจัยภายในองค์กรของโรงเรียนบางมูลนากภูมิ วิทยาคม สิ่งสำคัญเป็นสถานศึกษาที่เป็นต้นแบบด้านคุณธรรม เป็นที่รู้จักได้รับการยอมรับ ได้ถูก ประเมนิ ผลงานมามากแลว้ มศี กั ยภาพในการพฒั นาองคก์ รด้วยตวั เองสงู มาก ดา้ นปัจจัยภายในอีกตัวที่สำคัญ คือ ด้านจุดอ่อน Weaknesses ข้อด้อยหรือจุดอ่อนน้ัน โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม จากการที่ได้ทำการศึกษาวิจัยนั้น พบ ๓ ประเด็นเนื้อหาสาระ คือ ๑.ดา้ นบุคลากรมีการถ่ายโอนโยกย้าย การบริหารจัดการไมต่ ่อเน่ือง ๒.ปจั จัยเชิงอำนาจในการฝาก ลกู หลาน เข้าโรงเรยี นยังมีอยู่ ๓.ด้านนักเรยี นมีพฤติกรรม ที่ไม่พงึ ประสงค์จากการวิจัยขอ้ มูลเชงิ ลึก นัน้ พบว่าปัจจัยภายใน ซ่ึงเปน็ จดุ อ่อนของโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาน้ัน ยงั ต้องการพัฒนา แกไ้ ข ปรับปรุงยังพบอยู่ เห็นอยู่ ก็ถือว่าข้อมูลนี้ตรงไปตรงมา เพ่ือประโยชน์ในการวางแผนงาน แก้ไข พัฒนาต่อ มีผลกระทบต่อการพฒั นาเพิม่ ศกั ยภาพขดี ความสามารถขององคก์ ร ด้านปัจจัยภายนอก ที่ช่องทางหรอื โอกาสก้าวหน้าเจริญเติบโต ของโรงเรียนบางมูลนาก ภูมิวิทยาคมนั้น คือด้านโอกาส Opportunities อันเป็นปัจจัยเชิงบวกที่จะสามารถจัดสร้าง พัฒนา โครงการต่าง ๆ ได้ในอนาคต การศึกษาวิจัยพบ ๓ ประเด็นเนื้อหาสาระ คือ ๑.เป็นสถานศึกษาที่ ได้รับการยอมรบั จากภาคประชาชนทั่วไป ๒. เป็นโรงเรยี นทม่ี มี าตรฐานได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ๓.เป็นโรงเรียนทสี่ ามารถเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้เชิงคุณธรรมของจังหวัด จากการวจิ ัยข้อมูลเชิงลึกน้ัน พบวา่ ปจั จัยภายนอกด้านโอกาสหรือช่องทางของโรงเรยี นบางมูลนากภูมิวิทยาคม ซง่ึ ตอ้ งการช่องทาง การพัฒนาโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ หรือขององค์กรเอง ก็ถือว่ามีความเป็นไปได้สูง เพราะเหตุ ปจั จัยเกือ้ กลู มีผลกระทบต่อการพฒั นาเพ่มิ ศกั ยภาพ เพราะเป็นสถานท่ีศนู ย์การเรียนรู้เชิงคุณธรรม ของจงั หวดั พจิ ติ รอยูแ่ ลว้ ด้านปัจจัยภายนอก ซ่ึงเป็นประเด็นด้านปัญหาอุปสรรค Threats ท่ีสำคัญของของ โรงเรียนบางมลู นากภูมิวิทยาคมนน้ั การศกึ ษาวจิ ัยพบ ๓ ประเด็นเนอื้ หา คือ ๑.ต้ังอยู่ในยา่ นชมุ ชน มี ตลาดร้านค้า มีประชากรสัญจรไปมา ก็อยู่ท่ามกลางความหนาแน่น๒. ปัญหายาเสพติด ซึ่งก็เป็น

๑๗๒ ปญั หาพื้นฐานเชิงสังคมมผี ลกระทบต่อเดก็ นกั เรยี น๓. เร่อื งอาคาร สถานท่ี ห้องเรียน อุปกรณอ์ ื่น ๆ ท่ี มีเพื่อการให้ใช้สอยของนักเรียนน้ัน บางทีไม่พรั่งพร้อมเท่าท่ีควร จากการศึกษาวิจัยข้อมูลแล้ว ปญั หาอปุ สรรคของโรงเรยี นบางมูลนากภมู ิวิทยาคมนนั้ ยังต้องรอการแก้ไข ก็เป็นปัญหาทต่ี อ้ งพัฒนา ระบบสังคมเชงิ รวมดว้ ย ก็เปน็ ปัจจยั ท่ียากลำบากตอ่ การแก้ไข เพราะเป็นปัจจัยภายนอกองค์กรของ โรงเรยี น กต็ อ้ งปกป้ององคก์ ร มิใชเ่ ส่ือมเสียด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ ทอ่ี ิงอาศัยกนั รว่ มมอื กนั หลายฝ่าย ผู้วิจัยได้พบว่า มองโดยภาพรวม การศึกษาด้วย SWOTAnalysis พบปัจจัยภายในที่ สำคัญเชิงบวกนัน้ เท่ากันกับปัจจัยภายในเชิงลบ ก็ถือว่าเป็นปัจจยั ให้องค์กรพัฒนาศักยภาพได้ ไม่ได้ แบกรับภาระหนักมาก เม่ือดูปัจจัยภายนอกน้นั ก็มีปจั จัยเชงิ บวกและปัจจยั ภายนอกเชิงลบ ก็พอ ๆ กัน ดังน้ัน โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม ซึ่งเป็นพ้ืนที่สถานศึกษา ที่มีความสำคัญในด้านผลิต ประชากรให้มวี ิชาความรู้ มคี วามสามารถ การดำรงชพี ในสังคม ในการประกอบสัมมาชีพ อย่รู ่วมกัน อย่างมคี วามผาสุก ปรองดอง สมานสามคั คี รว่ มแรงร่วมใจกัน องิ อาศยั กันอยา่ งมติ รไมตรี ส่งิ น้ีเรม่ิ ตน้ ที่โรงเรียนทั้งน้ัน จึงต้องอาศัยการพัฒนาบริหารจัดการด้วยคุณธรรม ด้านผลงานวิชาการเอกสาร ส่ือสาร ทางโซเซย่ี ลมิเดยี ถอื ว่าโรงเรยี นบางมูลนากวิทยาคมน้ัน เป็นที่กล่าวขานถึง รวมท้ังเป็นศูนย์ การเรียนรู้ระบบเครือข่าย ที่ให้องค์กรภาคีเครอื ข่ายได้มาศึกษาดูงาน และที่น่ายกยอ่ ง สามารถเป็น ศนู ยก์ ารรเู้ ชิงคุณธรรมยอ่ มเปน็ ต้นแบบของสังคม อยา่ งมีผลลพั ธ์อันเป็นยอมรบั ท่ัวไป ผลจากการศึกษาวิเคราะห์ด้วย SWOT Analysis แลว้ ในพ้นื ท่เี ปา้ หมาย คือโรงพยาบาล บางมูลนาก การสมั ภาษณผ์ ู้ทรงคุณวุฒิ ตามหลักทฤษฎี SWOT นนั้ ใน ๔ ด้าน พบว่า ดา้ น จุดแขง็ Strengths ของโรงพยาบาลบางมลู นาก ซ่งึ เปน็ จดุ เด่นประเดน็ สำคญั น้นั ถือ ว่าเป็นเหตุปจั จยั ภายในขององคก์ รที่มศี ักยภาพ มคี วามสามารถ เปน็ จดุ เดน่ จุดแข็งดา้ นต่าง ๆ น้ัน มี ๓ ประเด็นสาระด้วยกนั คือ ๑.เป็นโรงพยาบาลประจำอำเภอบางมูลนาก ที่ประชาชนทั่วไป ไดเ้ ข้ามา ใช้บริการให้การยอมรับ ประทับใจ ในน้ำใจไมตรีของเจ้าหน้าท่ี ๒.เป็นโรงพยาบาลที่มีเจ้าหน้าท่ี ระดับผู้บรหิ ารเข้มแข็ง ๓.เปน็ โรงพยาบาลทีม่ ีการพัฒนาศักยภาพในดา้ นต่าง ๆ ของโรงพยาบาลเพ่ือ การให้บริการแกป่ ระชาชน จุดเด่นทั้ง ๓ ประการน้ี เปน็ ปัจจัยภายในองค์กรของโรงพยาบาลบางมูล นาก ซ่ึงทางโรงพยาบาลเนน้ การบรกิ ารใหก้ ับคนไข้ ผูป้ ่วย และญาติของผูป้ ่วยให้ความเชื่อมนั่ ไว้วางใจ ด้านคุณธรรม เป็นท่รี ู้จักได้รับการยอมรับ พรอ้ มกันนั้น ก็มีการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลให้มศี ักยภาพ ในการพัฒนาองค์กรดว้ ยตัวเอง ด้านปัจจัยภายใน ตัวที่สำคัญ คือ ด้านจุดอ่อน Weaknesses ข้อด้อยหรือจุดอ่อนนั้น โรงพยาบาลบางมูลนาก จากการที่ได้ทำการศึกษาวิจัยนั้น พบ ๓ ประเด็นเน้อื หาสาระ คือ ๑.ด้าน บคุ ลากรของทางโรงพยาบาลนั้น ยังถือวา่ ไม่เพียงพอแก่การให้บริการแก่ประชาชน ๒.ค่าใช้จ่ายใน โรงพยาบาลนั้น ยังถือว่าสูงมาก ด้วยการให้บริการท่ีต้องอาศัยบุคลากร ๓.เจ้าหน้าที่บุคลากรของ

๑๗๓ โรงพยาบาล บางส่วนต้องการพัฒนาศักยภาพ ก็มีการเปล่ียนถ่าย เข้ารับการอบรม เข้าศึกษาต่อ เพื่อให้รู้เขา้ ใจ จากการวจิ ัยข้อมูลเชิงลึกนน้ั พบว่าปจั จยั ภายใน ซงึ่ เป็นจุดอ่อนของโรงพยาบาลนั้น ยงั ต้องการพัฒนา แก้ไข ปรบั ปรงุ ยงั พบอยู่ เห็นอยู่ ก็ถือว่าข้อมลู นี้ตรงไปตรงมา เพ่ือประโยชน์ในการ วางแผนงาน แก้ไขพัฒนาตอ่ มีผลกระทบต่อการพัฒนาเพม่ิ ศักยภาพขีดความสามารถขององคก์ ร ดา้ นปัจจัยภายนอก ทช่ี ่องทางหรือโอกาสก้าวหน้าเจริญเติบโต ของโรงพยาบาลบางมูล นากน้ัน คอื ดา้ นโอกาส Opportunities อนั เป็นปัจจัยเชิงบวกทีจ่ ะสามารถจัดสร้าง พัฒนาโครงการ ตา่ ง ๆ ได้ในอนาคต การศึกษาวิจัยพบ ๓ ประเด็นเนื้อหาสาระ คือ ๑.เป็นสถานท่ีท่ีบุคคลท่ัวไปให้ การยอมรบั เช่อื มั่นในการรักษาดูแล๒.โรงพยาบาลน้ันอย่ใู กล้แหง่ ชุมชน ไม่ไดอ้ ยู่ในสถานท่ีแออดั ทำ ให้เกดิ สภาพแวดลอ้ มท่ีดี ๓.โรงพยาบาลบางมลู นาก ยังไดร้ ับโอกาสอนั ดีจากผ้ใู หญ่ใจดี ทที่ ่านเป็นคน บางมูลนากเจริญเติบโตในหนา้ ท่กี ารรงานแล้ว ทา่ นหวังความเจรญิ ร่งุ เรืองให้กับประชาชนคนบางมูล นาก จากการวิจัยข้อมูลเชิงลึกน้นั พบว่าปจั จยั ภายนอกดา้ นโอกาสหรือช่องทางของโรงพยาบาลบาง มูลนาก ซ่ึงตอ้ งการช่องทางการพัฒนาโครงการตา่ ง ๆ ของภาครัฐ หรือขององคก์ รเอง ก็ถอื ว่ามีความ เป็นไปได้สูง เพราะเหตุปัจจัยเกื้อกูล มีผลกระทบต่อการพัฒนาเพิ่มศักยภาพ เพราะเป็นสถานที่ ให้บริการด้านการดูแล ตรวจรักษาสุขภาพร่างกาย รักษาคนไข้ ซึ่งต้องได้รับความเชื่อมั่นจาก ผู้รบั บรกิ ารอย่างสูง ด้านปัจจัยภายนอก ซ่ึงเป็นประเด็นด้านปัญหาอุปสรรค Threats ท่ีสำคัญของของโรง พยาลบางมลู นากนน้ั การศึกษาวจิ ัยพบ ๓ ประเดน็ เนอ้ื หา คือ ๑.ด้านการให้การบริการ บคุ ลากรของ โรงพยาบาลบางคร้ังก็ต้องรับกระทบอารมณ์ไม่ดีของคนไข้ท่เี ขา้ มารับบริการ ท้งั ด้านพฤติกรรมทาง กาย ทางวาจาที่มีท่าทีไ่ ม่เหมาะสม๒.ด้านการให้บรกิ าร และรับบรกิ าร บางทีการส่ือสารบางอย่างไม่ สามารถสอื่ ใหต้ รงกนั ๓.ความเหลือ่ มลำ้ เชงิ สงั คม ก็มีผคู้ นทเ่ี ขา้ มารับบริการทุกระดบั ผูท้ ่ีมีรายไดน้ ้อย หรือผู้ท่ีต้องพึ่งพารัฐอย่างเดียว ในคราวท่ีมาพร้อม ๆ กัน บุคลากรที่จะให้บริการไม่พอ จากการ ศกึ ษาวิจัยขอ้ มลู แล้ว ปญั หาอุปสรรคของโรงพยาบาลน้ัน ยงั ต้องรอการแก้ไข ปรบั ปรงุ ปจั จัยภายนอก ซ่ึงก็ยากแก่การดูแลพัฒนา ระบบการบ่มเพาะอุปนิสัยจิตใจคนสังคมเชิงรวมด้วยไม่เท่ากัน ก็เป็น ปัจจัยทยี่ ากลำบากต่อการแก้ไข เพราะเป็นปัจจัยภายนอกองคก์ รของโรงพยาบาล ก็มีการประสาน ความร่วมมอื จากองค์กรภายนอกร่วมกันตอ้ งงอาศัยกันรว่ มมือกันหลากฝ่าย เพ่ือให้เกิดเป็นองค์รว่ ม เพ่อื การพัฒนาตอ่ ไปในอนาคต ผู้วิจัยได้พบว่า เม่ือมองโดยภาพรวม การศึกษาด้วย SWOTAnalysis พบปัจจัยภายในที่ สำคัญเชิงบวกนัน้ เท่ากันกับปัจจัยภายในเชิงลบ ก็ถือว่าเป็นปัจจัยให้องค์กรพัฒนาศักยภาพได้ ไม่ได้ แบกรับภาระหนกั มาก เมื่อดูปัจจัยภายนอกน้นั ก็มีปจั จัยเชิงบวกและปัจจยั ภายนอกเชงิ ลบ ก็พอ ๆ กัน ดังน้ัน โรงพยาบาลบางมูลนาก ซึ่งเป็นพื้นท่ีสถานศึกษา ท่ีมีความสำคัญในการให้บริการตรวจ

๑๗๔ รักษาคนไข้ ดูแลผู้ป่วย ผู้ท่ีประสบอุบัติเหตุ ต้องการเยี่ยวยารักษาดูแลชีวิตอย่างธรรมดา และแบบ เร่งด่วน เพราะเส่ียงต่อชีวิต ดังน้ันบุคลากรเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของโรงพยาบาลต้องพร้อม ๒๔ ชั่วโมง แต่ดว้ ยศักยภาพขององคก์ รก็สามารถพัฒนาองค์รวม โดยอาศัยการพัฒนาบรหิ ารจัดการดว้ ย คณุ ธรรม และที่น่ายกย่อง คือสามารถให้บรกิ ารแบบมิตรภาพ แบบญาตพิ ี่น้องกับประชาชนทั่วไป เป็นที่ยอมรับใกลไ้ กล ก็เข้ามารับบริการกันด้วยนำ้ ใจกนั ตลอด ดังจะเห็นจากผลงานของโรงพยาบาล บางมูงนากน้ัน มีการพัฒนาสักยภาพอย่างต่อเน่ือง จนเป็นที่ยอมรับของประชาชนในพ้ืนท่ีในตัว จงั หวดั พิจติ ร ซึ่งพูดถึงโรงพยาบาลบางมลู นาก ท้ังมแี ผนงาน ระบบการทำงาน ทั้งงานเอกสารวิชาการ เป็นพน้ื ท่ีศกึ ษาเรียนรู้ของเครือข่ายองค์กรภาคี พรอ้ มไปดว้ ยวิทยากร จนเปน็ ทีย่ อมรับในองคก์ รระดบั จงั หวัดพิจิตร ๕.๑.๒ ปจั จยั ทส่ี ่งผลตอ่ การบรหิ ารจัดการจังหวัดคณุ ธรรมต้นแบบจังหวดั พจิ ิตร ผู้ศึกษาวิจัย ได้ค้นพบว่า การบริหารจัดการที่จะมีผลสำฤทธิ์ท่ียอดเย่ียม ได้บรรลุ วัตถุประสงค์เป้าหมายที่ต้องการ ก็ต้องอาศัยเคร่ืองมือท่ีมีประสิทธิภาพ อันได้แก่องค์ความรู้ท่ีทรง อิทธิพล ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการศึกษาทฤษฎีที่ทรงคุณค่า อันเหมาะสมกับการวางแผนพัฒนาอย่างเป็น ระบบตง้ั แต่ต้นจนจบกระบวนการ จงึ ใชท้ ฤษฎี PDCA ในการวิเคราะห์การบรหิ ารจดั การ ปัจจัยที่มีผล ต่อการบริหารของจงั หวดั คุณธรรมตน้ แบบของจงั หวดั พจิ ิตร ซึ่งจะเห็นกระบวนการตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นวงจร การบริหารงานคุณภาพใช้ในการควบคุมและพัฒนากระบวนการหรอื ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง PDCA ท้งั สี่ข้นั ตอนเป็นกระบวนการท่ีสามารถทำซ้ำได้ เพื่อให้องค์กรสามารถบริหารความเปลี่ยนแปลงได้ อย่างประสบความสำเร็จ ดังจะไดแ้ สดงผลสรุปรวมข้อมูลของ ๓ พ้ืนท่ี คือ ๑. วัดท่าหลวง พระอารามหลวง ๒. โรงเรยี นบางมูลนากภูมิวทิ ยาคม ๓. โรงพยาบาลบางมลู นาก โดยตวั ปัจจัยทั้ง ๔ นีจ้ ะเป็นองคค์ วามรทู้ เ่ี กดิ ข้ึนไดจ้ ากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวฒุ ิท่ีมสี ่วน เก่ียวข้อง ในกระบวนการบริหารจดั การจงั หวดั คณุ ธรรมต้นแบบ ผู้วิจัยได้พบว่า Plan การวางแผน ซ่ึงการการวางแผน หมายถึงการต้ังเป้าหมายจาก ปัญหาหรือโอกาสต่างๆ และสร้างแผนการทำงานหรือกระบวนการเพ่ือทำให้เป้าหมายนี้ประสบ ความสำเร็จ การวางแผนงานที่ได้ ข้อสรุป ข้อตกลง ท่ีชัดเจน เกิดความเข้าใจกันทกุ ภาคส่วนแล้วถือ ว่ามชี ัยไปกว่าคร่งึ ด้วยการนำแผนงานทดี่ เี ยี่ยมนั้น ไปถ่ายทอดสู่องคก์ ร ภาคเี ครอื ขา่ ยเพ่ือการประชุม วางแผนใหส้ อดรับกับภารกิจงานต่าง ๆ ทต่ี ้องนำคณุ ธรรมไปใช้ โดยให้คณุ ธรรมนัน้ เกิดขึน้ ตามความ ต้องการของพ้ืนที่ หรือตามเป้าหมายของกิจกรรม โครงการที่ถูกกำหนดข้ึน ตรงกับเป้าหมายท่ี

๑๗๕ ตอ้ งการขององค์กรนั้น ๆ อย่างเต็มที เพ่อื การทำงานนั้นจะได้มีคณุ ภาพ ประสทิ ธิภาพที่ดีงามเป็นที่ ยอมรบั ของทกุ ภาคสว่ น ผู้วจิ ัยไดพ้ บว่าDo คอื การปฏบิ ตั ิการลงมอื ดำเนินการ หมายถึงขั้นปฏิบัตงิ านตามระเบียบ วิธีการ ยทุ ธวธิ ีตา่ ง ๆ ในทุก ๆ กระบวนการทเ่ี ปน็ ภาคปฏิบตั ิทั้งมวล เชน่ นการลงมอื ทำและเกบ็ ข้อมูล เพื่อหาจุดอ่อนหรือจุดที่สามารถพัฒนามากข้ึนได้ รวมถึงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่าง ๆด้วยจนถึง สิ้นสดุ โครงการนน้ั ๆ อันเป็นปัจจัยที่จะเกดิ เปน็ รปู รา่ ง รูปธรรมที่ชดั เจน ปรากฏแก่สายตาสาธารณะ ชนได้ก็ต้องดว้ ยปัจจยั คือการลงมอื ปฏบิ ัติงานจรงิ เพราะการทำงานจรงิ ยอ่ มมผี ลงาน เน้อื งาน สิง่ ท่ี เปน็ ภารกิจผูกพันมีการปฏิบัตหิ น้าท่ีอยา่ งเตม็ กำลงั เตม็ ความสามารถ ระดมทุน ระดมแรงงานทงั้ มวล ทง้ั ผู้บริหารทีมงาน ผู้ช่วยเหลือ ผู้ร่วมงานจริง ย่อมเข้าสู่กระบวนการปฏิบัติหน้าท่ี เป็นท้ังผู้จัดการ ผู้ร่วมงาน ผู้มาสังเกตการณ์ สิ่งเหล่าน้ัน มีเกิดมีได้เพราะการปฏิบัติจริง จะเห็นความจริงท่ีเป็นผล ประจักษ์ ได้รับความชื่นใจ ยินดี เม่ือประสบผลสำเร็จในขณะทำงาน ดังน้ันรูปร่างหน้าท่ี ที่เป็น ปจั จบุ ันธรรม ตรงน้ีย่อมบ่งชไ้ี ด้ถึงผลสำฤทธ์ิของงาน และข้อบกพร่องของงาน ในขณะลงมือกระทำ งานน้นั ๆ เฉพาะยิง่ งานนนั้ เป็นงานใหญ่ หรืองานเฉพาะกลมุ่ กต็ าม ก็จะสง่ ผลให้เกดิ ความสำเร็จตาม เหตุปัจจัยท่ไี ด้วางแผนไว้ดว้ ย ศักยภาพ ปจั จยั สิ่งแวดล้อมในของดำเนนิ งานดว้ ย องคป์ ระกอบร่วมอีก หลายอยา่ งก็ยอ่ มเป็นปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ และความลม้ เหลวเช่นกัน แต่การทำงานด้วยการบริหาร จัดการคุณธรรมน้ัน การวางแผนมาเป็นอย่างดี พลังงานท่ีถูกถ่ายทอดองค์ความรู้ การศึกษา วิเคราะห์งานท่ีจะสร้างข้ึน องค์ประกอบแห่งความสำเร็จนั้นมีหลายด้าน ดังน้ัน การท่ีจะประสบ ความสำเรจ็ นั้น เป็นเปา้ หมายอยแู่ ลว้ แต่จะให้ผลทปี่ รากฏนนั้ ชัดเจน ต่ืนตา ตื่นใจ จนเป็นคลายสงสัย ได้รบั การยอมรับว่าดีงาม และมปี ระโยชน์มากมายมหาศาลน้ัน ตอ้ งอาศยั ความร่วมมือรว่ มแรงรว่ มใจ ของทกุ ๆ ภาคสว่ น ผู้วิจัยได้พบว่าCheck การตรวจสอบ หมายถึงข้ันตอนการตรวจสอบ เป็นขั้นตอนหา ช่องทางและวิธีพัฒนากระบวนการต่างๆให้เร็วขึ้นหรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงการจัดลำดับ ความสำคญั ของโอกาสและอุปสรรคตา่ ง ๆ ในกระบวนการในระหว่างกการวางแผน การลงมือทำตาม โครงการจริง จนถึงประเมนิ ผลงานจบโครงงานทัง้ หมด การสรุปงาน ตรวจสอบงาน ประเมินผลงาน รายงานน้ัน ถือว่าเป็นขั้นตอนวิธีปฏบิ ัติตามกระบวนการพัฒนาอยู่แลว้ แต่จะทรงประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน ดีขน้ั กว่าเดมิ นั้น ต้องมีการประเมินผล หลากหลายวิธี บางครัง้ ไมใ่ ช่ประเมิลงานเฉพาะแบบสอบถาม เท่านั้น แต่ต้องถามถึงความยินดี พอใจในการปฏิบัติงาน ในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการน้ี มี แนวคิด มีอะไรท่ีจะต้องการเสนอแนะบ้าง ขั้นตอนต่าง ๆ ท่ีได้กล่าวมา จะได้นำไปพัฒนาต่อยอด ปรับปรงุ กนั ต่อไป

๑๗๖ ผู้วิจัยได้พบว่าAction การดำเนินการปรับปรุงแก้ไข หมายถึงการดำเนินการเพ่ือ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้กระบวนการขั้นตอนต่างๆ ให้มีผลดีขึ้น เร็วข้ึน พัฒนาดีกว่าเดิม เพื่อเก็บรวม ความรู้ข้อดี ข้อด้อย จุดเด่น อุปสรรคปัญหาที่ตอ้ งจัดการไมใ่ ห้มีในการทำงานครง้ั ต่อไป เพ่ือเร่ิมต้น วงจรทำงานทกุ กระบวนการใหม่อกี ครงั้ เม่ือได้รบั รู้ผลงานของโครงการตา่ ง ๆ แล้ว ไม่ใชแ่ คก่ ารรับรู้ เปน็ เอกสาร แม้แตใ่ นเวลาการปฏิบตั งิ านจรงิ ๆ ก็จะสามารถปรบั แผนงาน ปรับวิธีการบริหารจดั การ ได้ทันที มิใช่รอรายงานผลเท่าน้ัน น้ีเป็นวิธีการการดำเนินการปรับปรุงแกไ้ ข พัฒนาแบบทันท่วงที จนถึงขนาดแก้ไขปัญหา ใหญ่ที่ต้องพบในช่วงต่าง ๆ ของการทำงาน เร่ิมต้นต้ังแต่วางแผน ขณะ ปฏิบัติงาน การสรุปรายงานผล เพื่อเริ่มต้นวงจรทำงานทุกกระบวนการ ในวิธีน้ัน ๆ ได้ เพ่ือเป็น ตรวจสอบ ประเมินผล แก้ไข พัฒนาไปในตัวเอง เพ่อื พัฒนาการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ ได้ คุณภาพ ตรงกบั การบรหิ ารจดั การแบบคุณธรรม ตอ้ งพรอ้ มในทุก ๆ ข้นั ตอน ๕.๑.๓ รปู แบบการบริหารจัดการจงั หวัดคณุ ธรรมต้นแบบของจงั หวัดพิจติ ร การสง่ เสริมรูปแบบพัมนาการบริหารจังหวัดคุณธรรมน้ัน จังหวัดพิจิตรได้มีการเริ่มการ ส่งเสริมพัฒนาตามยุทธวิธีของแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๔ จากการ ศกึ ษาวจิ ัยในการใช้คุณธรรมไปพัฒนาการบริหารจัดการ ได้พบองค์ความรู้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ทรงคุณวุฒิ มีประเด็นองค์ความรู้ แนวคิด ท่ีสอดคล้องกับกัน ซ่ึงจะได้เรียงลำดับเน้ือหาไปตาม ตวั ช้วี ดั ของแผนแม่บท ซ่ึงไดม้ ีการจัดเครื่องมือช้ีไดไ้ ว้ ๑๐ ประเด็น ๓ ระดบั คือ การประเมินระดับที่ ๑ จงั หวัดคณุ ธรรม ๑.ประกาศขอ้ ตกลงกับภาคเี ครือข่ายส่งเสริมคุณธรรม ๒.คณุ ธรรมเป้าหมายและจดั ทำแผนจังหวดั คุณธรรม ๓.ต้ังคณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคเี ครือข่าย ๔.การถ่ายทอดภารกจิ สง่ เสริมคุณธรรมสู่ระดับอำเภอ การประเมินระดบั ที่ ๒ จงั หวัดคุณธรรม ๕.ดำเนนิ งานตามเป้าหมาย “ปัญหาที่อยากแก้และความดที อี่ ยากทำ” ๖.วางแผนขบั เคลือ่ นและบรรจเุ ป็นยุทธศาสตร์แบบบูรณาการทกุ ภาคส่วน ๗.มีการยกย่อง เชิดชู บคุ คล ชมุ ชน องค์กร อำเภอคณุ ธรรม การประเมินระดบั ที่ ๓ จงั หวัดคณุ ธรรมตน้ แบบ ๘.ผลสำเร็จจงั หวดั คณุ ธรรมในทุกมิติและการขับเคล่อื น ๔ คุณธรรม ๙.การเพิม่ ประเดน็ คณุ ธรรมในมติ ศิ าสนา ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและอื่น ๆ ๑๐.องคค์ วามรู้ การพฒั นาคณุ ธรรม ภาคีเครือขา่ ย วทิ ยากร แหลง่ เรียนรอู้ น่ื ๆ

๑๗๗ ๑ รปู แบบประกาศข้อตกลงกบั ภาคีเครือขา่ ยสง่ เสริมคณุ ธรรม จงั หวัดพิจิตร โดยมีสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร เป็นผู้รวบผลข้อมูลและประเมิน ผลลัพธ์สรุปขององค์กรคุณธรรม จังหวดั พิจติ รน้ัน ไดเ้ ป็นจงั หวดั คุณธรรมต้นแบบได้ ก็เพราะวา่ ไดม้ ี ผูน้ ำระดับประเทศท่านเมตตาเฉพาะพ้ืนทีน่ ี้ก่อน จึงมกี ารประสานกับทางกระทรวงวฒั นธรรม ทำให้ เกิดเป็นปัจจัยท่ีให้ภาพลักษณ์ของทางจังหวัดพิจิตรได้เป็นองค์กรต้นแบบ พร้อมกับการเกิดเป็น สถานทีศ่ ึกษาเรียนรู้ สถานทีศ่ ึกษาดูงาน และกระจายองค์ความรู้กบั ภาคีเครือข่ายได้ รวมกับปัจจัย ภายในจังหวัดคือผู้นำองค์กรภาคีต่าง ๆ เช่น วัด โรงเรียน โรงพยาบาล ชุมชน หมู่บ้าน องค์การ บรหิ ารส่วนตำบล เทศบาล โดยเฉพาะผู้นำในองคก์ รนนั้ เหน็ ความสำคญั ให้ความร่วมมือ ประสานงาน กัน ร่วมโครงการ สนองนโยบายจังหวัดพิจิตร ตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด ผลิตผลจึงเป็นที่ ประจักษ์ยอมรับในระดบั ประเทศได้ ๒ รปู แบบคณุ ธรรมเปา้ หมายและจดั ทำแผนจังหวดั คุณธรรม การไดต้ รวจสอบพน้ื ทจี่ รงิ ทำให้เกิดการเข้าใจร่วมกัน การเข้าใจตรงกัน ถงึ สภาพเปน็ จริง ของพื้นท่ีที่จะมีการพัฒนาการบริหารจัดการด้วยระบบคุณธรรม พร้อมกับได้รับรู้ปัญหา รับทราบ ความเป็นมาของสาเหตุ พร้อมกับปัจจัยท่ีเป็นบริบทขององค์กร ชุมชน สังคมในท่ีนั้น ทำให้รู้จัก วัฒนธรรมองค์กร ประเพณี ทัศนคติขององค์กรที่มายาวนาน เพื่อจะได้บูรณาการปรับระบบ กระบวนการบริหารจดั ได้สอดคล้องกัน เตมิ ส่วนขาด และร่วมกันพัฒนาจดุ พกพร่อง เปน็ การร่วมกัน พัฒนา สืบสาน วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น อนุรักษ์ภูมิปัญญาองค์กร แล้วไปต่อยอดภูมิปัญญาอัน งดงามให้มกี ารเผยแพร่ออกไปสสู่ าธารณชน คนรุ่นตอ่ ไป อนั สอดคลอ้ งกับแผนแม่ของของการสง่ เสริม พัฒนาองค์คณุ ธรรมอย่างย่ิง ๓ รปู แบบตง้ั คณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคเี ครือขา่ ย การตั้งคณะกรรมการ คณะทำงานเพ่ือเช่ือมโยงภาคีเครือข่ายการเช่ือมโยงหลาย ๆ องค์กรนนั้ ทำใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจ ของผู้ปฏิบัตงิ าน มีการแบ่งหนา้ ทีช่ ดั เจน ไม่คลมุ เครือ และทุก ๆ คน สามารถรู้หน้าที่ รูว้ ิธกี ารปฏิบตั งิ านของตนเอง เพื่อให้เกิดแรงจงู ใจในการการขับเคลื่อน การส่งเสริม คุณธรรมในการนำไปใชพ้ ัฒนาองค์กรของตนเอง เกิดการมาแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ทำให้เกดิ กล้าคดิ กลา้ ทำ กล้านำ เป็นต้นแบบให้กบั คนรุ่นต่อไป ได้มแี นวคิด ริเริ่ม สบื สาน มีปณิธานในการกล้าขับเคลอ่ื น องค์กรคุณธรรม ท่ีจะสามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการองค์กรของตนเองได้ ย่ิงให้ คนอน่ื เชน่ นกั เรียนในโรงเรียน แสดงความคิดเห็นร่วมกนั ในการดแู ลโรงเรยี น สรา้ งภาพลกั ษณ์ใหก้ ับ โรงเรียน เป็นการรักสถาบันการศึกษาของตนเอง คนในชุมชนเกิดรักถิ่นเกิดบ้านเกิด ก็จะให้มีผล ตอ่ เน่อื งเปน็ การพฒั นาท่ียงั่ ยนื มน่ั คงในอนาคตได้

๑๗๘ ๔ รปู แบบการถ่ายทอดภารกิจส่งเสรมิ คุณธรรมส่รู ะดบั อำเภอ การถ่ายทอดภารกิจส่งเสริมคุณธรรมสู่ระดับอำเภอการพัฒนากลไกในการขับเคล่ือน บรหิ ารจัดการองคก์ รคุณธรรม เปน็ สร้างความเปน็ ต้นแบบคณุ ธรรมน้นั เปน็ การพฒั นาแบบองคร์ วม โดยมีตัวจักรสำคัญระดับจังหวัดโดยมีสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตรในฐานะเลขานุการคณะ อนกุ รรมสง่ เสรมิ คุณธรรมระดับจงั หวัดมีหนา้ ท่ีเป็นแกนกลาง ทำงานประสานงานกบั หน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครฐั และเอกชน ทุกชุมชนทุกพื้นทภ่ี ายในจังหวดั โดยประสานความร่วมมือขบั เคล่ือนองค์ชุมชน ระดับตำบล อำเภอ และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เปิดเวที ณ วัด ชุมชนท้องน้ัน ๆ ให้มีการพูดคุย เน้นความดที ี่อยากทำ ปญั หาท่อี ยากแก้ เพอ่ื ให้เกิดการระเบดิ จากข้างใน ตามความตอ้ งการของพ้นื ท่ี จริง เพื่อประโยชน์ของคนในชุมชน องค์กร ท้องถ่ินน้ัน ๆ โดยยึดฐานแม่บทในการส่งเสริมพัฒนา คณุ ธรรมแห่งชาตเิ ปน็ หลัก ๕ รปู แบบดำเนินงานตามเป้าหมาย “ปญั หาท่ีอยากแกแ้ ละความดีที่อยากทำ” การมีเป้าหมายพัฒนาที่ชัดเจน “ปัญหาที่อยากแก้ และความดีที่ยากทำ” ท้ังด้าน นามธรรมเชิงคุณธรรมทฤษฎีนัน้ จะลงไปสู่พ้นื ทที่ จ่ี ะใชใ้ นการไปแกไ้ ข การบริหารจัดอปุ สรรค ปัญหา ต่าง ๆ ทเ่ี กิดมอยใู่ นองค์ของภาคเี ครือข่าย ในทุก ๆ ระดบั ซง่ึ ในระดับอำเภอ ของจังหวัดพิจติ รนน้ั ได้ มีการรับหลักการ รับนโยบายนไ้ี ปบริหารจัดการ และมีวดั มโี รงเรียน มีโรงพยาบาลเป็นโมเดลที่ประ ความสำเร็จในการใช้คุณธรรมบริหารจัดการองค์กร และคุณธรรมองค์กรนั้น ย่อมเป็นตัวสร้าง พฤติกรรมทพี่ ึงประสงคไ์ ด้ กำหนดรูปแบบออกมาเปน็ รปู ธรรมตามแผนงานและโครงการได้งา่ ย การ สร้างตัวช้ีวัดก็จะเห็นเด่นชัดข้ึน บ่งช้ีในแต่ละด้านว่า ได้คุณค่า คุณประโยชน์ด้านใดบ้าง และ สอดคลอ้ งกับหลักนโยบาย หลักยุทธศาสตร์ประจำจงั หวัด หรือองค์กรน้นั ๆ ที่นำไปใช้ไดด้ ี ๖ รปู แบบวางแผนขับเคลื่อนและบรรจเุ ปน็ ยุทธศาสตร์แบบบรู ณาการทุกภาค วางแผ นขั บเคล่ื อน แ ล ะบ รรจุ เป็ น ยุท ธศ าส ต ร์แบ บ บู รณ าก ารทุ กภ าค ส่วน การ ระด ม ความคิดเพื่อการวางแผนการสร้างแผนงาน ทางกระทรวงวัฒนธรรม และจังหวัดพิจิตร ได้มีการ ประสานความร่วมมือกับองค์กรภาคีเครือข่าย จัดให้มีการนำหลักคุณธรรม หลักทฤษฎีการบริหาร จัดการ เช่น หลกั SWOT หลัก PDCA เริม่ จากการศึกษาวิเคราะหข์ ้อมูล ปรกึ ษาหารอื การวางแผน การวิเคราะห์แผนงานในแต่ละขัน้ ตอน การใช้ตัวชี้วัด และมองภาพรวมของแผนงาน ที่จะต้องสร้าง โครงการต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับพ้ืนท่ีน้ัน องค์กรนั้น ๆ ท่ีต้องนำหลักคุณธรรมต่าง ๆ ไปใช้ หรือให้ ภาคีเครือข่าย สามารถคดิ คน้ ศกึ ษาเอาประเด็นองค์คุณธรรมต่าง ๆ ตามทต่ี อ้ งการ และสอดคลอ้ งกับ การดำเนินงานบริหารจัดการ เพ่ือสร้างสรรค์ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ประสิทธภิ าพในการบริหารจัดการให้ ถูกต้องดงี าม ต้องเป็นทีย่ อมรบั แลว้ จะเป็นประโยชน์อยา่ งมากกบั การขบั เคล่อื นโครงการคณุ ธรรมต่าง ๆ ลงพนื้ ทเ่ี พ่อื จะนำไปเป็นเครื่องมือในการพฒั นา ลงมือปฏิบัติไดจ้ ริง เป็นทีย่ อมรบั ของคนในองค์กร

๑๗๙ น้ัน ๆ ได้ดี ย่อมทำให้ภารกิจท่ีกำหนดไว้ในแผนงานมีกระบวนการขับเคล่ือนไปอย่างราบรื่น มี ผลลัพธ์ท่ีเป็นรปู ธรรม ๗ รปู แบบการยกย่อง เชดิ ชู บุคคล ชมุ ชน องคก์ ร อำเภอคณุ ธรรม การทีจ่ ะสรา้ งรูปแบบน้นั ตอ้ งให้ทกุ องค์กร ทุกคนทีเ่ กย่ี วขอ้ งได้มีส่วนร่วม ไดร้ ับความยก ย่อง ได้รับการเชิดชู ได้ถูกประกาศเกียรติคุณ รับรางวัลระดับประเทศ ได้ถูกประกาศเป็นองค์กร ต้นแบบ เปน็ ปจั จยั สำคัญทจ่ี ะทำให้เกิดพลงั ใจ เกิดพลงั รว่ มทจี่ ะต้องอนุรกั ษ์องค์ความรู้ท่ีใช้ไปแล้วเกดิ ประโยชน์จนเปน็ ท่ียอมรับนับถือ เป็นเครื่องมือที่ผลติ มาใช้แล้วมีประสิทธิภาพซึง่ การยกย่อง เชิดชู บุคคลต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ องค์กรต้นแบบ อำเภอคุณธรรมต้นแบบ เป็นสักขีพยานในการสร้าง รูปแบบพัฒนาที่เป็นรูปธรรม เพ่ือให้เกิดการช่วยกันคิด ช่วยกันพัฒนา สร้างรูปแบบ พัฒนาการ บริหารจดั การองค์กรของตนเองโดยให้มีความสอดคล้องกันกับยุทธศาสตร์ระดับชาติ ระดับจังหวัด เพื่อเป็นกลไกสำคัญที่ให้การทำงานประสานสอดคล้องกัน โดยกระบวนการแบบมีส่วนร่วมจะมี งบประมาณสนับสนนุ รูปแบบ แผนงาน เป้าหมาย ปัญหาท่อี ยากแก้ ความดีที่อยากทำ ก็สำเรจ็ เป็น ผลท่นี า่ ประทบั ใจทกุ ฝ่าย ๘ รูปแบบความสำเร็จจงั หวัดคุณธรรมในทุกมติ ิและการขบั เคล่อื น ๔ คณุ ธรรม ผลสำเร็จของการเข้าถึงเป้าหมายในทุก ๆ มิติน้ัน ด้วยเน่ืองด้วยผู้นำการพัฒนาองค์กร ด้วยคุณธรรมเป็นต้นแบบท่ีอ่ืน ๆ ได้น้ัน ต้องเป็นผู้ที่กล้าหาญ อดทน ใช้สติปัญญาเต็มท่ี เต็ม ความสามารถ ถือว่าผูท้ ี่มีความสำเรจ็ อันงดงามนั้น ได้มีปัจจยั เชงิ บวกคอื กล้าทใ่ี ช้ภมู ิปญั ญา นำหน้า วิชาการ กล้าฝึกฝนพัฒนาองคค์ ุณธรรมนำมาสูก่ ารใช้งานใหเ้ ป็นผลสำเรจ็ อันเปน็ ท่ียอม ๆ รบั ของทุก ๆ ฝ่าย เพราะน้ันหมายถงึ กระบวนการต่าง ๆ ได้ถูกพัฒนา กล่ันกรองมาจากผู้มีความรู้ ผ่านงานวิจัย มากมาย จนมาถึงเป็นแผนพัฒนา เปน็ แม่บทแห่งชาติ สง่ ผลให้บุคคล หรือองค์กร ภาคีเครือผสู้ นใจ ผู้ มีส่วนร่วมได้ สร้างมิติใหม่คอื คุณธรรมกับระบบบริหาร โดยกล้าฝืนปัจจัยด้านลบเชิงวิพากษ์วิจารณ์ อดทนมุ่งมั่นที่จะพัฒนาจนบรรลุความสำเร็จที่ยอมรับกันระดับประเทศ เมื่อกระบวนการเป็นไปใน รูปแบบองค์กรที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็นต้นแบบได้ เป็นเพราะมีปัจจัยส่ิงแวดล้อม หลายอย่างอย่าง เช่นกัน ซ่ึงเชื่อมโยงในหลายภาคส่วน ท่ีส่งผลให้เกิดการพัฒนาองค์กรระดับต่าง ๆ ภาคีเครือข่าย จนถึงจังหวัดคณุ ธรรม ก็ให้เกิดเป็นแหล่งเรียนรู้ มีองค์ความรู้เชิงวิชาการ มีวิทยากรผู้เช่ียวชาญ มี วทิ ยากรท่ีมีศกั ยภาพให้การสร้างโครงงานต่าง ๆ มาเป็นตน้ ความรู้ เพื่อเตรียมถ่ายทอดต่อไปสู่ผู้นำ คนใหม่มาทำหนา้ ที่แทน สรา้ งเหตปุ ัจจัยในการพัฒนาเพ่ือใหท้ ันตอ่ เหต์การณ์ ในหนา้ ที่นั้นต้องสนอง ตามนโยบายแผนงานท่เี ปน็ ระบบคุณธรรมองค์กรเดมิ เพ่ือทีจ่ ะพัฒนาต่อยอดกนั ไปเร่ือย ๆ และถือว่า เปลย่ี นแปลงทัง้ บุคคลและกาลเวลา สร้างความยั่งยืนได้ เพราะสรรพสง่ิ ลว้ นเปลยี่ นแปลงเสมอ แตเ่ ม่ือ ใชอ้ งค์ปัญญา ความร้แู ลว้ ก็สามารถต่อยอดพฒั นาความรู้นนั้ ไปใช้ให้ถงึ เป้าหมายทตี่ ง้ั ไวไ้ ดส้ ำเร็จ

๑๘๐ ๙ รูปแบบการเพมิ่ ประเด็นคณุ ธรรมในมิตศิ าสนา ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและอื่น ๆ การสรา้ งองค์กรเครือขา่ ย และขยายผลนั้นคืออะไร ตอบวา่ การทส่ี ังคมมนุษย์ไดม้ รี ะบบ เทคโนโลยีสมยั ใหม่ แตกต่างไปจากเดิมเสมอ เพราะองค์ความรู้ องคค์ วามร้นู น้ั ไม่ได้ตาย หรอื สูญหาย เพราะได้มีการศึกษาเรียนรู้ ถ่ายทอดวิชากันไว้ รุ่นต่อรุ่น ยุคต่อยุค ถือไว้ว่าหลักการน้ี มีผลเป็นท่ี ยอมรบั จริง บริษัทผลติ รถหน่ึงทมี่ ีรายได้มากมาย มีบรษิ ัทลูกหลายท่ี ขยายไปหลายประเทศกส็ ามารถ ลม่ สลายได้ ตามกฎของธรรมชาติ แตอ่ งคค์ วามรูก้ ารผลติ รถถกู ถ่ายทอด หรอื ถูกโอนถา่ ยเปลีย่ นผเู้ ปน็ เจ้าของ การผลิตรถย่อมเกิดไดใ้ หม่ฉนั น้นั ผูว้ จิ ัยได้สังเคราะหค์ วามรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิ เห็นว่า องค์กร คณุ ธรรม ย่อมเปล่ียนแปลงได้ คือเกิดขน้ึ ในยุคหน่ึง และหายไปชั่วระยะเวลา แต่ก็จะกลบั มาใหมไ่ ด้ เม่ือปัจจยั พร้อม ดังนน้ั เหน็ ควรเป็นอย่างยิ่งกับแผนแม่บทส่งเสริมพัฒนาคุณธรรมแห่งชาติ ต้องใหม้ ี องค์กรเครือข่าย เพราะความรู้ย่อมสูญหายไปจากองคก์ รหน่ึง แต่กลับยังคงอยู่ได้ในอีกองค์กรหน่ึง เพราะมีการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ไว้ ปจั จัยหลกั คอื ตอ้ งสรา้ งองค์กรเครือขา่ ย และวธิ ีการขยายผลในการ พัฒนาองค์กรคุณธรรม องค์กรต้นแบบต่อไว้ เพื่อไม่ให้พืชพันธ์ุแห่งคุณธรรมความดีน้ันสูญหายจาก สงั คมไทย ๑๐ รปู แบบองค์ความรู้ การพฒั นาคณุ ธรรม ภาคีเครือข่าย วิทยากร แหล่งเรียรู้ กระบวนการสง่ เสริม และพัฒนาจังหวัดคุณธรรมน้ัน ได้มีวิวัฒนาการมาตามลำดับโดยนำ หลักแผนแม่บทแห่งชาตมิ าบูรณาการปรับใช้ในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมในจังหวัดพิจิตร โดย บรรจุเข้าสู่ยุทธศาสตร์ของจังหวัด ซึ่งได้มีการพัฒนาคุณธรรมในการบริหารจัดการองค์กรอย่าง ตอ่ เนอื่ ง และใหม้ ผี ลการพัฒนาในรปู แบบ ต้นแบบ ที่ยงั่ ยืนต่อเน่อื ง ๕.๒ อภปิ รายผลการวจิ ยั ๕.๒.๑ สภาพทวั่ ไปในการบริหารจัดการจงั หวดั คณุ ธรรมจังหวดั พิจติ ร การศึกษาวิจัยการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมในเขตพื้นท่ีที่ผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎี SWOT มาทำการศึกษาวิเคราะห์ ประมวลองค์ความร้ใู นพ้นื ท่ีจะต้องการการศึกษา เพอ่ื แสดงให้เห็นถึงองค์ ความรู้พื้นฐานในการที่จะเป็นพ้ืนที่บริหารจัดการด้วยคุณธรรมน้ัน มีบริบทต่าง ๆ เข้ามาเชื่อมโยง เกีย่ วขอ้ ง เปน็ เหตุใหก้ ารบรหิ ารจัดการดว้ ยองคธ์ รรมแล้วจะมีคณุ คา่ สง่ ผลต่อทำการศกึ ษา๔ ดา้ นด้วย SWOT Analysis คือ ด้านจุดแข็ง ด้านจดุ อ่อน ด้านโอกาส และด้านอุปสรรคปัญหา โดยจะไดแ้ สดง ข้อมูลในแต่ละพน้ื ที่ คอื ๑). วัดทา่ หลวง พระอารามหลวง ๒). โรงเรยี นบางมูลนากภูมิวิทยาคม ๓). โรงพยาบาลบางมูลนาก

๑๘๑ แล้วแสดงองค์ความร้ทู ี่ได้ วิเคราะห์ เชอ่ื มโยง ไปสู่แผนงานตา่ ง ๆ ของการบริหารจดั การ จังหวัดคุณธรรมของจังหวดั พิจิตร ผู้วิจัยได้พบว่า ปัจจัยบวกคือจุดแข็งพบว่า องค์กรวัดท่าหลวงถือว่าเป็นองค์กรท่ีมีสักย ภาพในการพัฒนาตนเองได้มากที่สดุ กว่า ๒ องคก์ รด้านการพฒั นาองค์กรด้วยคุณธรรมโดยความเป็น ปจั จยั เชิงสงั คมด้านเป็นสถานที่สำคัญทางจิตวิญญาณศูนย์รวมใจของภาคประชาชนทกุ หมู่เหล่าของ จงั หวัดพจิ ติ ร ทงั้ สถานที่ต้ังองค์กรนั้นเป็นแหล่งใจกลางเมอื งเปน็ ศูนยร์ าชการงานคณะสงฆท์ งั้ จงั หวดั พจิ ิตร ถา้ ได้ใช้หลักคณุ ธรรมของการบริหารจัดการองค์กร เพ่ือเปา้ หมาย นโยบายที่ย่งิ ใหญ่ได้สำเร็จ อย่างแน่นอนด้านปัจจัยภายใน คือจุดอ่อนนั้น เป็นการค้นหาส่ิงที่สำคัญที่เป็นหัวใจ ซึ่งมีความบอบ บางแต่ทรงพลังแห่งสติปัญญา ทำให้เปน็ ต้นเหตุแหง่ ขุมพลังอันมหาศาลท่ีจะนำไปพัฒนาและปฏบิ ัติ จรงิ เพ่ือให้ได้ผลเชิงสังคม เชงิ เศรษฐกิจแบบประจักษ์ต่อองค์กรโดยภาพรวม ซ่ึงจุดออ่ นนั้นคือส่ิงที่ ทำให้เกิดพลังภายในที่เข้มแข็งมาก ๆ จะทำให้องค์กรวัดท่าหลวง จะมีการพัฒนาการบริหารจัด องค์กรคุณธรรมเน้นให้เกดิ ศนู ย์รวมความรักความศรัทธา สรา้ งเปา้ หมายเดยี วกัน สร้างความเข้มแข็ง ให้องค์กรได้มากท่ีสุด โดยมีปัจจัยบวกมาสนับสนุนได้ทุก ๆ รูปแบบ ท่ี จะเพิ่มสักยภาพขีด ความสามารถไดอ้ ีกอยา่ งไม่มีข้อจำกัดด้านปจั จยั ภายนอกทเี่ ป็นปจั จยั บวกทสี่ ำคญั อกี ส่วนหนง่ึ ที่ทำให้ การบริหารจัดการองคก์ รวัดทา่ หลวง มีความโดดเด่นอยา่ งมาก คือ องค์กรน้ันมีสถานทตี่ ้ังพรั่งพรอ้ ม บรบิ รู ณห์ ลายปจั จยั มาก ซึ่งถอื ว่าเปน็ โชคดีมาก และตัวคะแนนเสริมสำคญั คือ การมที นุ สนับสนนุ มา จากหลายทหี่ ลายแหลง่ ได้ เพราะปจั จยั ภายนอกที่สำคัญ ดา้ นปจั จัยภายท่ีไม่สามารถควบคมุ ไดข้ องวัด ท่าหลวงที่มองเห็นจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการบริหารจัดการนั้น ถือว่าไม่เกินสักยภาพท่ีจะ ปรับเปลย่ี น หรือหาวธิ ีแกไ้ ขในรปู แบบอนื่ ๆ ได้ ซ่ึงแม้พื้นทีจ่ ะอยู่ท่ามกลางความหนาแนน่ บนพน้ื ทท่ี ี่ มีแนวคิดเชิงสังคมด้านต่าง ๆ เป็นพหุวัฒนธรรม ดังน้ันผู้วิจัยเห็นว่า การใช้สักยภาพทั้งหมดที่มีอยู่ สามารถที่จะขับเคลื่อนการบริหารจัดการในรูปแบบต่าง ๆ ได้ดี ถือว่าจะเป็นตัวช้ีวัด ประเมินการ บริหารจดั การดว้ ยองค์คุณธรรมในรูปแบบต่าง ๆได้ จะเปน็ เหตุให้การใช้ทฤษฎีการบริหารจัดการนั้น นา่ เช่อื ถือ และมีประสทิ ธิภาพอย่างยง่ิ ผวู้ ิจยั ได้พบวา่ เมือ่ มองโดยภาพรวม การศึกษาดว้ ย SWOTAnalysis ของโรงพยาบาลบาง มูลนาก พบปจั จัยภายในที่สำคัญเชิงบวกนนั้ เท่ากนั กับปจั จยั ภายในเชิงลบ ก็ถอื วา่ เปน็ ปัจจัยใหอ้ งค์กร พฒั นาศักยภาพได้ ไม่ไดแ้ บกรบั ภาระหนักมาก เม่ือดปู ัจจัยภายนอกนน้ั กม็ ปี ัจจัยเชิงบวกและปัจจัย ภายนอกเชงิ ลบ ก็พอ ๆ กัน ดังนั้น โรงพยาบาลบางมูลนาก ซ่งึ เปน็ พืน้ ท่ีสถานศึกษา ที่มีความสำคัญ ในการให้บริการตรวจรกั ษาคนไข้ ดแู ลผูป้ ว่ ย ผทู้ ่ีประสบอบุ ตั เิ หตุ ตอ้ งการเย่ียวยารักษาดแู ลชีวิตอยา่ ง ธรรมดา และแบบเร่งดว่ น เพราะเสีย่ งต่อชวี ติ ดงั นั้นบุคลากรเจ้าหนา้ ทีท่ างการแพทย์ของโรงพยาบาล ต้องพร้อม ๒๔ ช่ัวโมง แต่ด้วยศักยภาพขององค์กรก็สามารถพัฒนาองค์รวม โดยอาศัยการพัฒนา

๑๘๒ บริหารจัดการดว้ ยคุณธรรม และทนี่ ่ายกยอ่ ง คือสามารถใหบ้ ริการแบบมติ รภาพ แบบญาตพิ นี่ ้องกับ ประชาชนท่ัวไปเป็นที่ยอมรับใกล้ไกล ก็เขา้ มารับบริการกันด้วยนำ้ ใจกันตลอด ดงั จะเหน็ จากผลงาน ของโรงพยาบาลบางมงู นากน้ัน มีการพฒั นาสักยภาพอย่างต่อเนื่อง จนเป็นทีย่ อมรับของประชาชนใน พื้นท่ีในตัวจังหวัดพิจิตร ซึ่งพูดถึงโรงพยาบาลบางมูลนาก ทั้งมีแผนงาน ระบบการทำงาน ทั้งงาน เอกสารวิชาการ เป็นพื้นที่ศึกษาเรียนรู้ของเครือข่ายองค์กรภาคี พร้อมไปด้วยวิทยากร จนเป็นท่ี ยอมรับในองค์กรระดับจังหวดั พจิ ิตร สรุปว่า เมื่อมองโดยภาพรวม การศึกษาด้วย SWOTAnalysis โรงพยาบาล พบปัจจัย ภายในท่ีสำคญั เชิงบวกนั้นเท่ากันกับปัจจัยภายในเชิงลบ ก็ถือวา่ เปน็ ปัจจยั ให้องคก์ รพัฒนาศักยภาพ ได้ ไม่ไดแ้ บกรบั ภาระหนักมาก เมอ่ื ดปู จั จัยภายนอกนั้น ก็มปี จั จัยเชิงบวกและปจั จัยภายนอกเชิงลบ ก็พอ ๆ กัน ดังนน้ั โรงพยาบาลบางมลู นาก ซึ่งเป็นพ้ืนที่สถานศึกษา ที่มีความสำคัญในการให้บริการ ตรวจรักษาคนไข้ ดูแลผ้ปู ่วย ผทู้ ่ีประสบอุบัติเหตุ ต้องการเย่ียวยารักษาดแู ลชีวิตอย่างธรรมดา และ แบบเร่งด่วน เพราะเสี่ยงต่อชีวิต ดังน้นั บุคลากรเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของโรงพยาบาลตอ้ งพร้อม ๒๔ ชัว่ โมง แต่ด้วยศักยภาพขององคก์ รก็สามารถพัฒนาองคร์ วม โดยอาศยั การพัฒนาบริหารจัดการ ด้วยคุณธรรม และที่น่ายกย่อง คือสามารถให้บริการแบบมิตรภาพ แบบญาติพี่น้องกับประชาชน ท่ัวไปเป็นท่ียอมรับใกล้ไกล ก็เข้ามารับบริการกันด้วยน้ำใจกันตลอด ดังน้ันการศึกษาวิเคราะห์ด้วย SWOT Analysis กจ็ ะสามารถนำไปวางแผนพัฒนาเปน็ องค์กรคณุ ธรรมต้นแบบได้ ๕.๒.๒ ปจั จยั ที่ส่งผลตอ่ การบริหารจดั การจงั หวัดคณุ ธรรมต้นแบบจังหวดั พิจิตร ผู้ศึกษาวิจัย ได้ค้นพบว่า การบริหารจัดการที่จะมีผลสำฤทธิ์ท่ียอดเยี่ยม ได้บรรลุ วัตถุประสงค์เป้าหมายที่ต้องการ ก็ต้องอาศัยเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ อันได้แก่องค์ความรู้ที่ทรง อิทธิพล ซ่ึงผู้วิจัยได้ทำการศึกษาทฤษฎีที่ทรงคุณค่า อันเหมาะสมกับการวางแผนพัฒนาอย่างเป็น ระบบต้งั แต่ตน้ จนจบกระบวนการ จงึ ใชท้ ฤษฎี PDCA ในการวิเคราะหก์ ารบรหิ ารจัดการ ปัจจัยท่ีมผี ล ต่อการบรหิ ารของจงั หวัดคุณธรรมตน้ แบบของจงั หวดั พจิ ิตร ซ่ึงจะเห็นกระบวนการต่าง ๆ ทเ่ี ป็นวงจร การบริหารงานคุณภาพใช้ในการควบคมุ และพัฒนากระบวนการหรอื ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนอื่ ง PDCA ท้ังสี่ข้ันตอนเป็นกระบวนการท่ีสามารถทำซำ้ ได้ เพ่ือให้องค์กรสามารถบรหิ ารความเปล่ียนแปลงได้ อย่างประสบความสำเร็จ ดังจะไดแ้ สดงผลสรปุ รวมข้อมลู ของ ๓ พ้ืนท่ี คือ ๑. วัดทา่ หลวง พระอารามหลวง ๒. โรงเรียนบางมูลนากภมู ิวทิ ยาคม ๓. โรงพยาบาลบางมลู นาก โดยตัวปัจจยั ทั้ง ๔ นจี้ ะเปน็ องค์ความรู้ที่เกดิ ข้ึนไดจ้ ากการสมั ภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิท่มี ีส่วน เกยี่ วขอ้ ง ในกระบวนการบรหิ ารจดั การจงั หวดั คุณธรรมตน้ แบบ

๑๘๓ ผู้วิจัยได้พบว่า Plan การวางแผน ซึ่งการการวางแผน หมายถึงการต้ังเป้าหมายจาก ปัญหาหรือโอกาสต่างๆ และสร้างแผนการทำงานหรือกระบวนการเพื่อทำให้เป้าหมายน้ีประสบ ความสำเร็จ การวางแผนงานที่ได้ ข้อสรุป ข้อตกลง ที่ชัดเจน เกิดความเข้าใจกันทกุ ภาคส่วนแลว้ ถือ ว่ามีชัยไปกว่าครึง่ ดว้ ยการนำแผนงานทด่ี เี ย่ียมนนั้ ไปถา่ ยทอดสอู่ งค์กร ภาคีเครอื ขา่ ยเพื่อการประชุม วางแผนให้สอดรับกับภารกิจงานต่าง ๆ ท่ตี อ้ งนำคณุ ธรรมไปใช้ โดยให้คุณธรรมนั้น เกิดขึ้นตามความ ต้องการของพ้ืนท่ี หรือตามเป้าหมายของกิจกรรม โครงการที่ถูกกำหนดข้ึน ตรงกับเป้าหมายที่ ต้องการขององค์กรนั้น ๆ อย่างเต็มที เพื่อการทำงานน้ันจะได้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพที่ดีงามเป็นที่ ยอมรับของทกุ ภาคสว่ น ผวู้ ิจัยไดพ้ บว่าDo คือการปฏบิ ตั ิการลงมือดำเนนิ การ หมายถึงข้นั ปฏิบัติงานตามระเบียบ วธิ กี าร ยุทธวิธตี า่ ง ๆ ในทุก ๆ กระบวนการที่เป็นภาคปฏบิ ตั ทิ ั้งมวล เช่นนการลงมอื ทำและเก็บขอ้ มูล เพ่ือหาจุดอ่อนหรือจุดท่ีสามารถพัฒนามากขึ้นได้ รวมถึงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่าง ๆด้วยจนถึง สิน้ สดุ โครงการน้นั ๆ อันเปน็ ปัจจยั ท่จี ะเกิดเป็นรปู รา่ ง รูปธรรมที่ชัดเจน ปรากฏแกส่ ายตาสาธารณะ ชนได้ก็ต้องด้วยปัจจัย คอื การลงมอื ปฏบิ ตั งิ านจรงิ เพราะการทำงานจรงิ ยอ่ มมีผลงาน เนื้องาน สิง่ ที่ เปน็ ภารกจิ ผกู พันมกี ารปฏิบัติหน้าท่ีอยา่ งเตม็ กำลงั เตม็ ความสามารถ ระดมทุน ระดมแรงงานท้งั มวล ทั้งผู้บริหารทีมงาน ผู้ช่วยเหลือ ผู้ร่วมงานจริง ย่อมเข้าสู่กระบวนการปฏิบัติหน้าที่ เป็นทั้งผู้จัดการ ผู้ร่วมงาน ผู้มาสังเกตการณ์ ส่ิงเหล่านั้น มีเกิดมีได้เพราะการปฏิบัติจริง จะเห็นความจริงท่ีเป็นผล ประจักษ์ ได้รับความช่ืนใจ ยินดี เม่ือประสบผลสำเร็จในขณะทำงาน ดังน้ันรูปร่างหน้าท่ี ท่ีเป็น ปจั จุบันธรรม ตรงน้ียอ่ มบ่งชี้ไดถ้ ึงผลสำฤทธ์ิของงาน และข้อบกพร่องของงาน ในขณะลงมอื กระทำ งานน้ัน ๆ เฉพาะย่งิ งานน้ันเป็นงานใหญ่ หรอื งานเฉพาะกลุ่มก็ตาม ก็จะส่งผลให้เกิดความสำเร็จตาม เหตุปจั จยั ทไ่ี ดว้ างแผนไว้ด้วย ศกั ยภาพ ปัจจยั สง่ิ แวดล้อมในของดำเนินงานด้วย องค์ประกอบรว่ มอีก หลายอย่างก็ยอ่ มเปน็ ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ และความล้มเหลวเช่นกนั แตก่ ารทำงานด้วยการบริหาร จัดการคุณธรรมน้ัน การวางแผนมาเป็นอย่างดี พลังงานที่ถูกถ่ายทอดองค์ความรู้ การศึกษา วิเคราะห์งานท่ีจะสร้างขึ้น องค์ประกอบแห่งความสำเร็จนั้นมีหลายด้าน ดังนั้น การท่ีจะประสบ ความสำเร็จนนั้ เปน็ เปา้ หมายอยูแ่ ลว้ แตจ่ ะให้ผลท่ปี รากฏนั้นชัดเจน ตนื่ ตา ต่นื ใจ จนเปน็ คลายสงสัย ไดร้ บั การยอมรับวา่ ดีงาม และมปี ระโยชน์มากมายมหาศาลนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือรว่ มแรงรว่ มใจ ของทุก ๆ ภาคสว่ น ผู้วิจัยได้พบว่าCheck การตรวจสอบ หมายถึงข้ันตอนการตรวจสอบ เป็นขั้นตอนหา ช่องทางและวิธีพัฒนากระบวนการต่างๆให้เร็วข้ึนหรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงการจัดลำดับ ความสำคญั ของโอกาสและอปุ สรรคต่าง ๆ ในกระบวนการในระหว่างกการวางแผน การลงมอื ทำตาม โครงการจริง จนถึงประเมนิ ผลงานจบโครงงานทั้งหมด การสรุปงาน ตรวจสอบงาน ประเมินผลงาน

๑๘๔ รายงานนั้น ถือว่าเป็นข้ันตอนวธิ ีปฏิบัติตามกระบวนการพัฒนาอย่แู ลว้ แต่จะทรงประสทิ ธิภาพยง่ิ ขึ้น ดีขน้ั กวา่ เดิมน้ัน ต้องมีการประเมนิ ผล หลากหลายวิธี บางครัง้ ไมใ่ ชป่ ระเมิลงานเฉพาะแบบสอบถาม เท่าน้ัน แต่ต้องถามถึงความยินดี พอใจในการปฏิบัติงาน ในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการนี้ มี แนวคิด มีอะไรท่ีจะต้องการเสนอแนะบ้าง ขั้นตอนต่าง ๆ ท่ีได้กล่าวมา จะได้นำไปพัฒนาต่อยอด ปรบั ปรุงกนั ตอ่ ไป ผู้วิจัยได้พบว่าAction การดำเนินการปรับปรุงแก้ไข หมายถึงการดำเนินการเพ่ือ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้กระบวนการขั้นตอนต่างๆ ให้มีผลดีข้ึน เร็วข้ึน พัฒนาดีกว่าเดิม เพ่ือเก็บรวม ความรู้ข้อดี ข้อด้อย จุดเด่น อุปสรรคปัญหาท่ีต้องจัดการไม่ให้มใี นการทำงานครั้งต่อไป เพื่อเริ่มต้น วงจรทำงานทุกกระบวนการใหม่อกี ครง้ั เม่ือได้รบั รู้ผลงานของโครงการตา่ ง ๆ แลว้ ไม่ใชแ่ คก่ ารรับรู้ เป็นเอกสาร แม้แต่ในเวลาการปฏิบัตงิ านจรงิ ๆ ก็จะสามารถปรบั แผนงาน ปรบั วธิ ีการบริหารจัดการ ได้ทันที มิใช่รอรายงานผลเท่านั้น นี้เป็นวิธีการการดำเนินการปรับปรุงแกไ้ ข พัฒนาแบบทันท่วงที จนถึงขนาดแก้ไขปัญหา ใหญ่ที่ต้องพบในช่วงต่าง ๆ ของการทำงาน เริ่มต้นต้ังแต่วางแผน ขณะ ปฏิบัติงาน การสรุปรายงานผล เพ่ือเริ่มต้นวงจรทำงานทุกกระบวนการ ในวิธีนั้น ๆ ได้ เพ่ือเป็น ตรวจสอบ ประเมินผล แก้ไข พัฒนาไปในตัวเอง เพอื่ พัฒนาการบริหารจดั การให้มปี ระสิทธิภาพ ได้ คุณภาพ ตรงกับการบริหารจัดการแบบคณุ ธรรม ต้องพร้อมในทุก ๆ ขนั้ ตอน ๕.๒.๓ รูปแบบการบริหารจัดการจังหวดั คุณธรรมต้นแบบของจังหวัดพจิ ิตร ผวู้ จิ ยั ไดพ้ บวา่ การส่งเสรมิ รปู แบบพมั นาการบริหารจงั หวัดคุณธรรมนน้ั จงั หวดั พจิ ติ รไดม้ ี การเร่มิ การส่งเสริมพัฒนาตามยทุ ธวิธีของแผนแม่บทสง่ เสริมคุณธรรมแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๔ จากการศึกษาวิจยั ในการใชค้ ุณธรรมไปพัฒนาการบริหารจัดการ ได้พบองคค์ วามรู้จากการสัมภาษณ์ เชิงลึกผู้ทรงคณุ วุฒิ มีประเด็นองคค์ วามรู้ แนวคดิ ที่สอดคล้องแผนแม่บทส่งเสรมิ คณุ ธรรมแห่งชาติ และสิ่งที่คน้ พบในพ้ืนท่ีการวิจยั โดยนำหลกั การของแม่บทมาเปน็ แบบทำการสังเคราะห์เอาองคค์ วามรู้ ตา่ ง ๆ ทไ่ี ด้จากการศึกษาวจิ ยั มาประเมินผลแล้วทำการสงั เคราะห์เชอื่ มโยงกัน เพอื่ จะแสดงใหเ้ หน็ ถึง สง่ิ ที่ปรากฎตามความเหน็ จริงอันทรงคุณค่า เป็นต้นแบบของการบริหารจัดการดว้ ยคุณธรรม โดยการ รวมเอาองค์ความรู้ท่ีเป็นหลัก ๆ สำคญั ๆ เพื่อเกดิ ความสอดคล้องกัน ซ่ึงจะได้เรยี งลำดับเนื้อหาไป ตาม ตัวชี้วัดของแผนแมบ่ ท ซึง่ ได้มกี ารจดั เครอ่ื งมอื ชไี้ ด้ไว้ ๑๐ ประเดน็ ๓ ระดับ คอื การประเมินระดับท่ี ๑ จังหวดั คุณธรรม ๑. ประกาศข้อตกลงกับภาคเี ครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ คุณธรรม ๒. คุณธรรมเป้าหมายและจดั ทำแผนจงั หวัดคุณธรรม ๓. ต้ังคณะกรรมการและคณะทำงานจากภาคีเครอื ข่าย

๑๘๕ ๔. การถ่ายทอดภารกิจส่งเสริมคุณธรรมสู่ระดับอำเภอการประเมินระดับที่ ๒ จังหวัด คุณธรรม ๕. ดำเนนิ งานตามเป้าหมาย “ปญั หาทอ่ี ยากแกแ้ ละความดที ่ีอยากทำ” ๖. วางแผนขบั เคลื่อนและบรรจเุ ปน็ ยทุ ธศาสตร์แบบบรู ณาการทุกภาคสว่ น ๗. มกี ารยกยอ่ ง เชิดชู บุคคล ชุมชน องคก์ ร อำเภอคุณธรรม การประเมนิ ระดับท่ี ๓ จังหวัดคณุ ธรรมต้นแบบ ๘. ผลสำเร็จจังหวัดคณุ ธรรมในทุกมติ แิ ละการขับเคล่ือน ๔ คุณธรรม ๙. การเพิ่มประเด็นคณุ ธรรมในมติ ิศาสนา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและอืน่ ๆ ๑๐. องคค์ วามรู้ การพฒั นาคุณธรรม ภาคีเครอื ข่าย วทิ ยากร แหล่งเรียนรู้อ่นื ๆ กระบวนการส่งเสริม รูปแบบการพัฒนาคุณธรรม ที่เป็นปัจจัยแห่งการพัฒนาคุณธรรม จนก้าวสู่ความเป็นต้นแบบต้องผ่านการประเมินโดยตัวช้ีวัด ๑๐ ประการ แต่การวิจัยคร้ังนี้ ต้องหา เหตุผล ปัจจัยท่ีเกื้อกูลมีผลกระทบต่อความเป็นจังหวัดคุณธรรมต้นแบบซึ่งได้จากการสัมภาษณ์ ผทู้ รงคุณวุฒิ แล้วนำองค์ความรู้มาทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปปจั จัยท่สี อดคลอ้ ง เขา้ กันได้ และ สนบั สนนุ ส่งเสริมตอ่ การพฒั นาคณุ ธรรมดังจะไดแ้ สดงตอ่ ไป องค์ความรู้ที่ ๑ พบว่า การประกาศเจตนารมณ์ ทำข้อตกลงนั้น เป็นการส่งเสริม ภาพลักษณ์ของหน่วยงานภาคราชการในการรับผิดชอบ ส่งต่อให้องค์กรต่าง ๆ เชน่ คณะสงฆ์ที่มีผู้นำ สร้างประโยชน์ สร้างคุณธรรมให้ภาคประชาชน โรงเรยี น โรงพยาบาล ดงั การศึกษาวิจัยประเด็นตัวชี้ นี้ จะได้เหน็ การส่งเสรมิ สว่ นภาคราชการ ส่วนท้องถ่ิน ส่วนภาคธรุ กจิ ฝา่ ยศาสนา และทุกภาคส่วน ใหเ้ ขา้ มามีสว่ นร่วมในการพัฒนาความดงี ามในรูแบบตา่ ง ๆ โดยมีหลักสำคญั ท่ตี อ้ งประสานรว่ มกนั อัน จะเกดิ คุณประโยชน์ดงั น้คี อื ๑. การมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น ๒. การให้โอกาสสมัครใจเพื่อเขา้ รว่ ม ๓. การชนื่ ชมยินดีเคารพให้เกียรติ ซ่งึ กันและกนั ๔. เริม่ ท่ตี นเองแสวงจดุ รว่ มสงวนจดุ ตา่ ง จังหวัดพิจิตร โดยมีสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร เป็นผู้รวบผลข้อมูลและประเมิน ผลลัพธส์ รุปขององคก์ รคณุ ธรรม จงั หวัดพิจิตรนัน้ ไดเ้ ป็นจงั หวดั คณุ ธรรมตน้ แบบได้ ก็เพราะวา่ ได้มี ผนู้ ำระดับประเทศท่านเมตตาเฉพาะพ้ืนท่นี ้ีกอ่ น จึงมีการประสานกบั ทางกระทรวงวัฒนธรรม ทำให้ เกิดเป็นปัจจัยที่ให้ภาพลักษณ์ของทางจังหวัดพิจิตรได้เป็นองค์กรต้นแบบ พร้อมกับการเกิดเป็น สถานทีศ่ ึกษาเรียนรู้ สถานที่ศึกษาดงู าน และกระจายองค์ความรู้กับภาคีเครอื ข่ายได้ รวมกับปัจจัย ภายในจังหวัดคือผู้นำองค์กรภาคีต่าง ๆ เช่น วัด โรงเรียน โรงพยาบาล ชุมชน หมู่บ้าน องค์การ

๑๘๖ บรหิ ารส่วนตำบล เทศบาล โดยเฉพาะผู้นำในองค์กรนนั้ เหน็ ความสำคญั ใหค้ วามรว่ มมือ ประสานงาน กัน ร่วมโครงการ สนองนโยบายจังหวัดพิจิตร ตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด ผลิตผลจึงเป็นท่ี ประจักษย์ อมรับในระดับประเทศได้ องค์ความรู้ที่ ๒ พบว่า การได้ตรวจสอบพ้ืนท่จี ริง ทำให้เกิดการเขา้ ใจรว่ มกนั การเขา้ ใจ ตรงกัน ถึงสภาพเป็นจริงของพ้ืนทีท่ ่ีจะมกี ารพฒั นาการบรหิ ารจัดการดว้ ยระบบคณุ ธรรม พร้อมกบั ได้ รับรปู้ ญั หา รบั ทราบความเป็นมาของสาเหตุ พร้อมกบั ปัจจยั ท่เี ป็นบริบทขององค์กร ชุมชน สังคมในที่ นนั้ ทำให้รู้จักวฒั นธรรมองคก์ ร ประเพณี ทัศนคติขององคก์ รที่มายาวนาน เพ่ือจะได้บูรณาการปรับ ระบบกระบวนการบรหิ ารจัดได้สอดคล้องกัน เติมส่วนขาด และร่วมกันพัฒนาจุดพกพร่อง เป็นการ ร่วมกันพฒั นา สบื สาน วัฒนธรรมประเพณที ้องถิน่ อนรุ กั ษ์ภูมิปัญญาองค์กร แลว้ ไปตอ่ ยอดภูมปิ ัญญา อันงดงามให้มีการเผยแพร่ออกไปสู่สาธารณชน คนรุ่นต่อไป อันสอดคล้องกับแผนแม่ของของการ ส่งเสริมพัฒนาองค์คณุ ธรรมอย่างย่ิง องค์ความรทู้ ่ี ๓ พบวา่ การตั้งคณะกรรมการ คณะทำงานเพ่ือเช่ือมโยงภาคเี ครือขา่ ยการ เช่ือมโยงหลาย ๆ องค์กรนั้น ทำให้เกิดความมั่นใจ ของผู้ปฏิบัติงาน มีการแบ่งหน้าท่ีชัดเจน ไม่ คลุมเครือ และทุก ๆ คนสามารถรู้หน้าท่ี รู้วิธกี ารปฏิบัติงานของตนเอง เพ่ือให้เกิดแรงจูงใจในการ การขบั เคล่ือน การส่งเสริมคุณธรรมในการนำไปใช้พัฒนาองคก์ รของตนเอง เกิดการมาแลกเปล่ียน เรยี นรู้ ทำใหเ้ กดิ กล้าคดิ กลา้ ทำ กลา้ นำ เปน็ ต้นแบบให้กบั คนรุ่นต่อไป ได้มีแนวคิด ริเริ่ม สืบสาน มี ปณิธานในการกล้าขบั เคลื่อนองค์กรคุณธรรม ท่จี ะสามารถนำไปปรับประยุกตใ์ ชใ้ นการบริหารจัดการ องค์กรของตนเองได้ ยิ่งให้คนอ่ืน เช่นนักเรียนในโรงเรียน แสดงความคิดเห็นร่วมกัน ในการดูแล โรงเรียน สรา้ งภาพลักษณ์ใหก้ ับโรงเรียน เปน็ การรกั สถาบันการศกึ ษาของตนเอง คนในชุมชนเกิดรัก ถ่ินเกดิ บ้านเกิด ก็จะให้มีผลตอ่ เน่ืองเปน็ การพัฒนาที่ย่ังยืน มน่ั คงในอนาคตได้ องค์ความรทู้ ี่ ๔ พบว่า การถ่ายทอดภารกิจส่งเสริมคุณธรรมสู่ระดับอำเภอการพัฒนา กลไกในการขับเคล่ือนบริหารจัดการองค์กรคุณธรรม เป็นสร้างความเป็นตน้ แบบคุณธรรมน้ัน เป็น การพัฒนาแบบองค์รวม โดยมีตัวจักรสำคัญระดับจังหวัดโดยมีสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตรใน ฐานะเลขานุการคณะอนุกรรมส่งเสริมคุณธรรมระดับจังหวัดมีหน้าท่ีเป็นแกนกลาง ทำงาน ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ทกุ ชุมชนทกุ พ้ืนท่ีภายในจังหวดั โดยประสาน ความร่วมมอื ขบั เคล่อื นองคช์ ุมชน ระดบั ตำบล อำเภอ และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เปิดเวที ณ วัด ชุมชนท้องนั้น ๆ ให้มีการพูดคยุ เน้นความดที ่ีอยากทำ ปัญหาท่ีอยากแก้ เพื่อให้เกิดการระเบิดจาก ขา้ งใน ตามความต้องการของพ้ืนที่จริง เพ่ือประโยชน์ของคนในชุมชน องค์กร ท้องถ่นิ น้ัน ๆ โดยยึด ฐานแมบ่ ทในการสง่ เสรมิ พัฒนาคุณธรรมแห่งชาตเิ ป็นหลัก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook