Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

Published by tassanapol.khem, 2021-09-15 07:40:21

Description: พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์ 6101104005

Search

Read the Text Version

๑๘๗ องค์ความรทู้ ี่ ๕ พบวา่ การมีเปา้ หมายพัฒนาท่ีชัดเจน “ปัญหาที่อยากแก้ และความดที ่ี ยากทำ” ทั้งดา้ นนามธรรมเชงิ คุณธรรมทฤษฎีน้ัน จะลงไปสู่พื้นท่ีที่จะใช้ในการไปแก้ไข การบริหาร จดั อุปสรรค ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดมอย่ใู นองค์ของภาคีเครอื ขา่ ย ในทกุ ๆ ระดับ ซ่ึงในระดบั อำเภอ ของ จังหวัดพิจิตรน้ัน ได้มีการรับหลักการ รับนโยบายนี้ไปบริหารจัดการ และมีวัด มีโรงเรียน มี โรงพยาบาลเปน็ โมเดลท่ปี ระความสำเร็จในการใชค้ ุณธรรมบริหารจัดการองค์กร และคุณธรรมองคก์ ร นน้ั ยอ่ มเปน็ ตัวสรา้ งพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ กำหนดรปู แบบออกมาเป็นรูปธรรมตามแผนงานและ โครงการไดง้ า่ ย การสร้างตัวช้ีวดั กจ็ ะเหน็ เด่นชัดขึ้น บง่ ชี้ในแต่ละด้านว่า ไดค้ ุณคา่ คุณประโยชน์ดา้ น ใดบ้าง และสอดคลอ้ งกบั หลกั นโยบาย หลกั ยทุ ธศาสตร์ประจำจังหวดั หรือองคก์ รน้นั ๆ ทนี่ ำไปใช้ได้ ดี องค์ความรู้ที่ ๖ พบวา่ วางแผนขับเคลื่อนและบรรจุเป็นยทุ ธศาสตร์แบบบูรณาการทุก ภาคส่วนการระดมความคิดเพ่ือการวางแผนการสร้างแผนงาน ทางกระทรวงวัฒนธรรม และจังหวัด พจิ ิตร ไดม้ ีการประสานความร่วมมือกบั องค์กรภาคีเครอื ข่าย จัดใหม้ ีการนำหลักคณุ ธรรม หลกั ทฤษฎี การบริหารจัดการ เช่น หลัก SWOT หลัก PDCA เริ่มจากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล ปรึกษาหารือ การวางแผน การวิเคราะห์แผนงานในแต่ละขัน้ ตอน การใช้ตัวชี้วัด และมองภาพรวมของแผนงาน ท่ี จะต้องสรา้ งโครงการตา่ ง ๆ ให้สอดคล้องกับพื้นที่นั้น องค์กรน้ัน ๆ ที่ต้องนำหลกั คณุ ธรรมต่าง ๆ ไป ใช้ หรือให้ภาคีเครือข่าย สามารถคิดค้น ศึกษาเอาประเด็นองค์คุณธรรมต่าง ๆ ตามท่ีต้องการ และ สอดคล้องกับการดำเนินงานบริหารจัดการ เพ่ือสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ ประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการให้ถูกต้องดีงาม ต้องเป็นที่ยอมรับแล้วจะเป็นประโยชน์อย่างมากกับการขับเคล่ือน โครงการคุณธรรมต่าง ๆ ลงพื้นทเ่ี พ่ือจะนำไปเป็นเคร่ืองมือในการพฒั นา ลงมอื ปฏิบัตไิ ด้จริง เปน็ ท่ี ยอมรบั ของคนในองคก์ รน้ัน ๆ ได้ดี ยอ่ มทำให้ภารกิจทก่ี ำหนดไว้ในแผนงานมีกระบวนการขับเคลือ่ น ไปอยา่ งราบรืน่ มีผลลพั ธท์ ี่เปน็ รูปธรรม องคค์ วามรู้ท่ี ๗ พบว่า การที่จะสร้างรปู แบบน้นั ต้องให้ทุกองค์กร ทุกคนทเี่ กี่ยวข้องได้มี สว่ นร่วม ได้รับความยกย่อง ได้รับการเชิดชู ได้ถกู ประกาศเกียรติคุณ รับรางวัลระดับประเทศ ได้ถูก ประกาศเป็นองค์กรตน้ แบบ เป็นปัจจยั สำคัญที่จะทำใหเ้ กิดพลังใจ เกดิ พลังร่วมท่ีจะต้องอนุรกั ษ์องค์ ความรู้ท่ีใช้ไปแล้วเกิดประโยชน์จนเปน็ ที่ยอมรับนับถอื เป็นเครื่องมือท่ีผลิตมาใชแ้ ล้วมปี ระสิทธิภาพ ซงึ่ การยกยอ่ ง เชิดชู บุคคลตน้ แบบ ชุมชนต้นแบบ องคก์ รต้นแบบ อำเภอคณุ ธรรมตน้ แบบ เป็นสักขี พยานในการสร้างรูปแบบพัฒนาที่เป็นรูปธรรม เพื่อใหเ้ กิดการชว่ ยกนั คิด ช่วยกนั พัฒนา สรา้ งรปู แบบ พัฒนาการบรหิ ารจดั การองคก์ รของตนเองโดยใหม้ ีความสอดคล้องกันกบั ยุทธศาสตรร์ ะดบั ชาติ ระดบั จงั หวดั เพอื่ เปน็ กลไกสำคญั ทใ่ี หก้ ารทำงานประสานสอดคลอ้ งกนั โดยกระบวนการแบบมีสว่ นร่วมจะ มีงบประมาณสนบั สนุน รูปแบบ แผนงาน เปา้ หมาย ปัญหาท่ีอยากแก้ ความดที อ่ี ยากทำ กส็ ำเรจ็ เป็น ผลทีน่ ่าประทบั ใจทกุ ฝ่าย

๑๘๘ องค์ความรู้ท่ี ๘ พบว่า ผลสำเร็จของการเข้าถึงเป้าหมายในทุก ๆ มิติน้ัน ด้วยเน่ืองด้วย ผู้นำการพัฒนาองค์กรด้วยคุณธรรมเป็นต้นแบบที่อ่ืน ๆ ได้น้ัน ต้องเป็นผู้ที่กล้าหาญ อดทน ใช้ สติปญั ญาเตม็ ท่ี เตม็ ความสามารถ ถือว่าผทู้ ีม่ คี วามสำเร็จอนั งดงามนน้ั ได้มปี จั จยั เชิงบวกคือ กล้าท่ีใช้ ภูมิปัญญา นำหน้าวชิ าการ กล้าฝึกฝนพัฒนาองค์คุณธรรมนำมาส่กู ารใช้งานใหเ้ ป็นผลสำเร็จอันเปน็ ท่ี ยอม ๆ รบั ของทุก ๆ ฝ่าย เพราะนั้นหมายถึงกระบวนการต่าง ๆ ได้ถกู พัฒนา กล่ันกรองมาจากผู้มี ความรู้ ผา่ นงานวิจยั มากมาย จนมาถงึ เปน็ แผนพัฒนา เป็นแม่บทแหง่ ชาติ สง่ ผลให้บคุ คล หรือองคก์ ร ภาคีเครอื ผู้สนใจ ผู้มสี ่วนร่วมได้ สร้างมิติใหม่คอื คณุ ธรรมกบั ระบบบริหาร โดยกล้าฝืนปจั จัยด้านลบ เชิงวิพากษ์วิจารณ์ อดทนมุ่งม่ันที่จะพัฒนาจนบรรลุความสำเร็จที่ยอมรับกันระดับประเทศ เม่ือ กระบวนการเปน็ ไปในรปู แบบองคก์ รทถี่ กู พฒั นาขึ้นมาเป็นตน้ แบบได้ เป็นเพราะมีปจั จัยส่ิงแวดล้อม หลายอย่างอย่างเช่นกัน ซึง่ เชื่อมโยงในหลายภาคส่วน ท่สี ่งผลให้เกดิ การพัฒนาองค์กรระดับต่าง ๆ ภาคีเครือข่าย จนถึงจังหวัดคุณธรรม ก็ให้เกิดเป็นแหล่งเรยี นรู้ มีองค์ความรู้เชิงวิชาการ มีวิทยากร ผ้เู ช่ียวชาญ มีวทิ ยากรที่มีศักยภาพใหก้ ารสร้างโครงงานต่าง ๆ มาเป็นตน้ ความรู้ เพื่อเตรยี มถ่ายทอด ต่อไปสผู่ ู้นำคนใหม่มาทำหน้าที่แทน สร้างเหตุปัจจัยในการพัฒนาเพ่ือให้ทันต่อเหต์การณ์ ในหน้าที่ น้ันตอ้ งสนองตามนโยบายแผนงานทเี่ ปน็ ระบบคณุ ธรรมองคก์ รเดิม เพ่ือที่จะพฒั นาตอ่ ยอดกันไปเร่ือย ๆ และถอื ว่าเปล่ยี นแปลงท้ังบคุ คลและกาลเวลา สร้างความยัง่ ยนื ได้ เพราะสรรพสงิ่ ล้วนเปลยี่ นแปลง เสมอ แต่เม่อื ใช้องค์ปญั ญา ความรู้แลว้ ก็สามารถต่อยอดพัฒนาความรูน้ น้ั ไปใช้ใหถ้ ึงเป้าหมายทีต่ ้งั ไว้ ไดส้ ำเรจ็ องค์ความรู้ท่ี ๙ พบว่า การสรา้ งองค์กรเครือข่าย และขยายผลน้ันคืออะไร ตอบวา่ การ ทีส่ ังคมมนุษย์ไดม้ ีระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ แตกต่างไปจากเดิมเสมอ เพราะองคค์ วามรู้ องคค์ วามรู้ นัน้ ไม่ได้ตาย หรือสญู หาย เพราะได้มกี ารศึกษาเรียนรู้ ถ่ายทอดวิชากันไว้ รุ่นต่อรุน่ ยุคต่อยุค ถือไว้ว่า หลักการนี้ มีผลเป็นท่ียอมรบั จริง บริษัทผลติ รถหนึ่งที่มีรายได้มากมาย มีบริษัทลูกหลายท่ี ขยายไป หลายประเทศก็สามารถล่มสลายได้ ตามกฎของธรรมชาติ แต่องค์ความรู้การผลิตรถถูกถ่ายทอด หรอื ถกู โอนถา่ ยเปล่ียนผู้เปน็ เจ้าของ การผลติ รถย่อมเกิดไดใ้ หมฉ่ ันนัน้ ผวู้ ิจัยไดส้ ังเคราะห์ความรู้จาก ผู้ทรงคุณวุฒิ เห็นว่า องค์กรคุณธรรม ย่อมเปลี่ยนแปลงได้ คือเกิดขึ้นในยุคหน่ึง และหายไปชั่ว ระยะเวลา แต่ก็จะกลับมาใหมไ่ ด้เมอ่ื ปัจจยั พร้อม ดังน้ัน เห็นควรเป็นอยา่ งยิ่งกับแผนแม่บทส่งเสริม พฒั นาคุณธรรมแหง่ ชาติ ต้องให้มีองคก์ รเครือข่าย เพราะความรู้ย่อมสูญหายไปจากองค์กรหนงึ่ แต่ กลับยังคงอยู่ได้ในอกี องค์กรหน่ึง เพราะมีการถา่ ยทอดองค์ความรู้ไว้ ปัจจัยหลักคือต้องสร้างองค์กร เครือข่าย และวิธีการขยายผลในการพัฒนาองค์กรคุณธรรม องค์กรตน้ แบบต่อไว้ เพ่ือไม่ใหพ้ ืชพันธุ์ แหง่ คณุ ธรรมความดนี น้ั สญู หายจากสงั คมไทย

๑๘๙ องค์ความรู้ท่ี ๑๐ พบว่า กระบวนการส่งเสริม และพัฒนาจังหวัดคุณธรรมนั้น ได้มี วิวัฒนาการ พัฒนาตอ่ ยอด สบื สานเจตนารมณ์มาตามลำดับโดยนำหลักแผนแม่บทแหง่ ชาติมาบรู ณา การปรบั ใช้ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมในจงั หวัดพจิ ติ ร โดยบรรจุเข้าสู่ยุทธศาสตรข์ องจงั หวัด ซ่ึง ได้มกี ารพัฒนาคณุ ธรรมในการบรหิ ารจัดการองค์กรอยา่ งตอ่ เน่ือง ทำให้เกิดพลงั ขับเคลือ่ นใหก้ ับสังคม เยาชนในท้องถ่ิน เป็นตน้ แบบแหง่ ความดงี าม สร้างสรรค์พัฒนาเชิงจติ วิญญาณให้เกิดการอนุรักษก์ ับ การพฒั นาไปควบคูก่ ัน และใหม้ ีผลการพฒั นาให้เปน็ รปู แบบ ตน้ แบบ ทย่ี ่ังยนื ตอ่ เนื่อง ๕.๒.๔ สรุปองค์ความรทู้ ี่ได้รบั จากการวิจัย การศกึ ษาวิจัยไดค้ น้ พบว่า องค์ความรู้ทมี่ ีปัจจัยอันจะนำไปความสำเรจ็ มคี ณุ คา่ และทรง อทิ ธิพลต่อการเป็นต้นแบบ เป็นหลักการสำคัญน้ัน ผู้วจิ ัยได้พบปัจจัยเด่น ๆ ท่ีมีผลจริงต่อการเป็น ต้นแบบ ดงั เช่นการมีผู้นำเปน็ ปัจจัยสำคัญย่ิง ท่ีจะเกิดพลงั อำนาจ กำลงั ใจ ในการเปลีย่ นแปลงสงั คม เชิงรุก เพ่ือจะพัฒนาระบบการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบได้ เน่ืองด้วยภาครัฐ ซึ่งเป็น องค์กรบริหารกิจการของรฐั นั้น ต้องมีผู้นำที่ดำรงตำแหน่งเปน็ ผู้ผลักดันโครงการส่งเสริมคุณธรรมท่ี เป็นแผนแม่บทในการบริหารประเทศให้มปี ระสิทธิภาพ สว่ นการบรหิ ารกิจการองค์กรระดับจังหวัด นนั้ ต้องสนองรับนโยบาย หรอื มีแผนงานสอดคล้องร่วมกัน ท่ีจะเช่ือมประสารโครงการต่าง ๆ ของ ภาครฐั ใหส้ ำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์หลักนั้น ได้พบประเดน็ องค์ความรู้ ๔ ดา้ นดงั นี้ ๑ ด้านการมีผนู้ ำในการเปล่ียนแปลงพฒั นาองค์กรคณุ ธรรม การมีผู้นำได้ทำให้ การศึกษาแผนการพัฒนาจังหวัดคุณธรรมของจังหวัด ได้พบการ สอดคลอ้ งกับภาวะผนู้ ำในภาคสว่ นต่าง ๆ ท่ีจะโยงใยไปส่เู ป้าหมาย มกี ารเซ็นต์MOU ระหว่างอยู่งาน ภาครัฐ กับ หน่วยงานยอ่ ย ๆ ต่าง ๆมากมาย เพ่ือเป็นการยนื ยันว่าจะดำเนินการพัฒนาร่วมกันเป็น หลกั ฐาน รวมท้ังภาครฐั มนี โยบาย แบบแผนแล้วยังมีการระดมความคดิ เชงิ วชิ าการมาก่อน เพื่อให้เปน็ ทฤษฎีท่ีจะนำไปสู่ภาคปฏิบัติการได้ผล ด้วยเหตุผลว่า การได้เร่ิมเปล่ียนแปลงอย่างเป็นรูปแบบ เนื่องจากภาวะผู้นำท่ีมีความปรารถนาอันดีงามต่อสังคม เป็นเหตุให้การสร้างองค์กรคุณธรรมได้ เกิดขึ้น และประสานงานได้ทุกภาคส่วนไม่ว่า ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม ตา่ ง จนกระท่ังเดินทางไปสู่จังหวัดคุณธรรมตอ่ มาได้มผี ลทำให้ ผู้นำสามารถเชอ่ื มโยงประสานองคก์ ร คุณธรรมให้สอดคล้องลงตวั กับงานเอกสารงานวิชาการจังหวดั คุณธรรมของแผนแม่บทท่ีได้แสดงไว้ อย่างชัดเจน จะปรากฏเป็นรูปแบบอยกู่ ระบวนการแปรรูปในสู่พื้นท่ีจริงได้ ต้องอาศัยการขับเคล่ือน ด้วยผู้นำองค์กรในระดับต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นปัจจัยหลักสำคัญที่สุด และเป็นตัวช้ีวัดเด่นชัด โดยจะเห็น ภาพลกั ษณ์ต่าง ๆ ปรารกฎขนึ้ ลว้ นแล้วแตม่ ีรากฐานความสำเร็จมาจากภาวะผนู้ ำคุณธรรมทัง้ ส้ิน

๑๙๐ ๒ ด้านการสรา้ งความน่าเชอ่ื ถือ เป็นที่ยอมรบั การสร้างความนา่ เชื่อถอื ถือว่าปัจจัยหลักท่ีสำคญั คือ ทำให้บุคคลท่ไี ปเปน็ ผู้นำในทอ้ งถ่ิน น้ันมีภาวะผู้นำที่ทรงคุณธรรม มีความตั้งใจ พอใจท่ีรับผิดชอบในการสร้างคน สร้างสรรค์พ้ืนที่นั้น โดยไม่คำนึงถึงลาภสักการะ ผลประโยชน์หรือเปล่า เพราะมันคอื งานเสียสละ เป็นหลัก ซึ่งเหมือน การเป็นพระโพธิสตั ว์ในคตทิ างพระพทุ ธศาสนา การที่จะไปบริหารจดั การด้วยคุณธรรมล้วน ๆ โดย ไมม่ ีวิธี ไม่มีอุบายที่จะทำ ไปแบบเพยี ว ๆ หรอื พูดไม่เปน็ บอกไมถ่ ูก รับสนองนโยบายมาแลว้ จะต้ังใจ ทำกไ็ ม่ใช่เรือ่ งงา่ ย ๆ ที่จะสำเร็จ หรือกว่าจะสำเร็จอาศัยเวลามากมาย เปลี่ยนตำแหน่ง ยา้ ยสถานทไี่ ป ก่อน ก็ยากที่ก่อให้เป็นรูปแบบคุณธรรมให้เห็นผลสัมฤทธิ์ได้และได้ช่ือสร้างความน่าเช่ือได้สำเร็จ ดังนั้นการสร้างความน่าเชื่อถือ ถือว่าเป็นหลักการสำคัญอันหน่ึงที่จะส่งให้องค์กรต่าง ๆ ให้ความ ไวว้ างใจ ปรารถนา สนใจที่จะมาศึกษาเรียนรู้ ว่าการพัฒนาองค์กรคุณธรรม มีส่วนทำใหก้ ารทำงาน การพัฒนาในด้านต่าง ๆ น้ันมีประสิทธิภาพมากขึ้นได้ สามารถให้สมาชิก บุคคลในองค์มีได้รับ ประโยชน์สุขแท้จรงิ พร้อมท้ังจะส่งผลใหส้ ังคม ชุมชนต่าง ๆ ท่ีรายลอ้ มอย่นู ้ันไดร้ ับประโยชน์ คุณค่า อันเกดิ การงานการพัฒนาน้ัน ๆ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สว่ นใหญ่ได้รบั ผลและคุณค่าอันมหาศาล สง่ ผลให้ประเทศได้ขบั เคล่ือนพฒั นาสอดคล้องกบั แผนนโยบายแห่งชาติ ๓ ด้านการพัฒนาคุณธรรมต่าง ๆ ที่ใชใ้ นโครงการ คณุ ธรรมท่ีถกู นำมาประยกุ ต์ใช้ ได้เกิดการตกผลึกทางความคดิ ระเบิดจากด้านในของภมู ิ ปัญญาของบุคลากรในองค์กร การตกลงของภาคีเครือขา่ ย มกี ารทดลองใช้มากอ่ นแล้วทจี่ ะจดั สรรได้ เป็นต้นแบบ ดังน้ัน คุณธรรมต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนจึงอาศัยปัจจัยการสร้างองค์คุณธรรม เป็นการนำเอา หลักการคุณธรรมต่าง ๆ มาใชง้ าน อาทิ เช่น เมตตา เสียสละ ความซื่อสัตย์ ความรกั ส่วนรวม ใจเย็น ความรอบคอบ จิตอาสา คุณธรรมเหล่าน้ี เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการองคก์ รคุณธรรมซ่ึงแผน แม่บทนั้นมีอยู่แล้ว พิจิตรจังหวัดคณุ ธรรมน้ัน ใชห้ ลัก “มีน้ำใจ รบั ผดิ ชอบ จิตอาสา” ภายใต้การนำ ดว้ ยหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งซ่งึ ผู้ทตี่ ้องการศึกษาเรยี นรู้ สามารถสบื ค้นจากหนงั สอื “พิจิตร จังหวดั คุณธรรม” เป็นเอกสารหลักฐานในช้ันต้น ซ่ึงในโดยการต่อไป คงมกี ารศึกษาวจิ ัยผลสำเร็จใน ดา้ นอนื่ ๆอีก เชือ่ มน่ั ได้ว่า องค์กรคุณธรรมต้นแบบ มอี ัตลักษณโ์ ด่ดเด่น เป็นประโยชน์ตอ่ สงั คมชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ หนว่ ยงานทุกภาคสว่ นในระยะยาว การพัฒนาคุณธรรมต่าง ๆ ท่ีจะนำไปใชใ้ นโครงการ ก็ต้อง ดบู ริบทนนั้ ของพ้ืนที่นั้น องคก์ รนั้นรองรับโดยต้องผา่ นการประชมุ ระดมความคิดติดสินใจ นำไปปรับ ประยุกต์ได้ตามความเหมาะกับบริบทขององค์กร ชุมชน สังคมพ้ืนท่ีแต่ละแห่งทั้งแผนแม่บทก็ให้ องค์กรต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมกันพัฒนาหลักคุณธรรมข้ึนมาใช้ได้เอง โดยแผนแม่บทมีแต่เพียงหลัก คุณธรรมกลางไว้เท่านั้น ถือว่าเป็นองค์ความรู้ท่ีเปิดกว้าง สามารถที่ผลิตขึ้นมาใช้ได้เอง และนำ

๑๙๑ ตน้ แบบคุณธรรมมาบูรณาการปรับได้ตามตอ้ งการ โดยมตี ้องตรวจสอบวดั ผล ประเมนิ แลว้ ว่าจะสรา้ ง ให้เกิดคุณค่า สรา้ งคณุ ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างครบถ้วน เปน็ ทย่ี อมรับของทุกภาคส่วน ๔ ดา้ นผลสำเรจ็ ของการบรหิ ารจัดการคุณธรรมตน้ แบบ ผลงานความสำเร็จยอ่ มเป็นรางวลั ที่ทรงคุณค่า เป็นทชี่ ื่นชอบยินดีปรีดากันทุกฝ่าย ทุก คนยอมรับ แต่การทีจ่ ะไดม้ าซ่ึงความสำเร็จของผลงาน ยอ่ มมีอุปสรรคนานปั ประการ แตบ่ ุคคลผ้มู ีภูมิ ปัญญาย่อมแสวงหาการพัฒนาองค์กรให้ประสบความสำเร็จได้จงได้ เป็นความมุ่งมั่นท่ีปัญญาชน ทั้งหลาย ตา่ งยอมรับนับถอื ในพลังตง้ั ใจอันดีงาม ด้านผลงานความเสร็จ จังหวดั คุณธรรม ถอื เปน็ เกยี ติ ยศช่ือเสียงของจังหวัดพิจิตร ซ่ึงจะมีภาคีเครือข่ายของระดับอำเภอภายในจังหวัดพิจิตรเป็นผู้มีส่วน ร่วมฐานะที่มีโรงพยาบาลคุณธรรม โรงเรียนคุณธรรมต้นแบบ ซึ่งไดค้ วามเมตตาจากทา่ นศาสตราจารย์ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี เป็นผู้เริ่มสร้างต้นแบบโดยมีผู้บริหารระดับประเทศมาร่วมทำ MOU กบั ภาคเี ครอื ขา่ ยโครงการต้นแบบโดยนำโรงพยาบาลโรงเรียน นำร่องผลิตต้นแบบ นำคุณธรรม ต่าง ๆ ท่ีมีการศึกษาวิจัย ประมวลผล ระดมความคิดกันมาแล้ว สร้างกลยุทธ วิธกี าร แผนงาน เขา้ สู่ กระบวนการทีเ่ ป็นรูปธรรม ดังเชน่ เร่มิ การสรา้ งวสิ ัยทศั น์ มมุ มอง สร้างแรงจูงใจ เพือ่ ให้เหน็ ผลลัพธท์ ี่ น้อมเอาแนวคิดตามพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ ๙ซ่ึงจะเห็นได้ว่า โรงพยาบาล และโรงเรียน จนถึงมอบแนวนโยบายให้กับท้องถ่ิน และชุมชนเครือข่ายนำไปปรับใช้ และส่งรายงานผลการนำไปใชส้ ู่สว่ นกลางเพ่ือสรุปประมวล ปรับปรงุ เก็บเปน็ ฐานข้อมูลเพอื่ จัดสร้าง รปู แบบไว้เป็นองค์ความรู้ ซง่ึ จะสามารถถา่ ยทอดตอ่ ไปได้ เมื่อม่ันใจในการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ ได้ ในฐานะภาคีเครือข่าย ต้องมพี ลังร่วมเพ่ืองานส่วนรวม เพอ่ื พฒั นาองคก์ รท่ีเราบรหิ ารจัดการให้มี คณุ ภาพ ประสิทธิภาพมากข้ึน โดยมุ่งหวังพัฒนาคุณธรรมแนวประยุกต์ใช้ ให้สอดคล้องกับท้องถ่ิน ชมุ ชน องค์กรของตนเอง และเป็นการสร้างทัศนคติที่มีต่อองค์กรต้นแบบ ก็มองว่าต้องอาศัยคนผู้ที่ สงั คมยอมรับนับถือ เป็นผลักดัน ประสานงาน ให้เกิดขึ้นจึงจะมีผลสำเร็จ จะผลิตองค์กรต้นแบบก็ ไม่ใช่เร่ืองง่าย อย่างที่กล่าวแล้ว ไม่ว่าจะเป็นวัดต้นแบบ โรงเรียนต้นแบบ โรงพยาบาลต้นแบบ โรงพักต้นแบบ โรงงานต้นแบบ เป็นต้น การใช้คุณธรรมในการบริหารจัดการ ต้องมีองค์ความรู้ วัตถุประสงค์ มีทฤษฎี ยุทธศาสตร์ แผนงานท่ีจะทำด้วยยุทธวิธใี ด บุคลากรในการขับเคล่ือนเป็นส่ิง สำคัญ ซ่ึงปัจจัยหลักสำคญั ผู้นำในองค์กรน้ันต้องเหน็ ดว้ ย จึงจะนำพาการสร้างองคต์ ้นแบบให้บรรลุ วตั ถปุ ระสงคเ์ ป้าหมายไดเ้ ป็นท่ชี ่ืนชอบและยอมรับของสงั คม ดังน้ันผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารจัดการจังหวัดคุณธรรมต้นแบบของจังหวัด พจิ ติ รน้ัน ต้นแบบทเ่ี ปน็ โครงสร้างแผนแมบ่ ทได้ไปสูบ่ ริหารของการบริหารจดั การดว้ ยคุณธรรม ได้ ใชห้ ลักวิเคราะห์พ้ืนท่ีหรือองค์กรทจ่ี ะนำการบรหิ ารจัดการด้วยคุณธรรม ด้วย SWOT analysis ว่ามี จุดแข็งจดุ อ่อน อนั เปน็ ปัจจยั ภายใน และปัจจยั ภายนอก โดยมองอุปสรรคปัญหาอนั เปน็ เรือ่ งปกติและ

๑๙๒ โอกาสท่จี ะเป็นการพัฒนาไปส่เู ปา้ ประสงคท์ ่ีตอ้ งการให้สำเรจ็ ซงึ่ ในองค์กรภาคีเครอื ขา่ ยแต่ละพนื้ ทน่ี ้ัน มเี จตนามุ่งมัน่ ปณิธานความตัง้ ใจอันม่ันคงของผู้นำองคก์ รในระดับ ของจังหวดั พิจติ รได้มีทีจ่ ะสนอง นโยบายของภาครฐั ซึ่งเป็นแผนงานการบรหิ ารระดบั ประเทศโดยยึดเอาคุณธรรมนำการบรหิ ารจดั การ ดว้ ยยุทธศาสตรแ์ ผนแม่บท โดยมีหลักการบริหารจัดการPDCA ตามแนวทฤษฎีร่วมกนั เช่น มีน้ำใจ รับผิดชอบ จติ อาสาภายใต้การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงมีการประชุมวางแผนงานไว้แล้ว โดยอิงอาศัยปัจจัยสำคญั คือผู้นำในแต่ละระดับไดม้ ีการประชุม ตกลง มีมติร่วมกัน ได้มีการแบ่งปัน รับรู้ เข้าใจรว่ มกัน ประสานสามัคคีรวมพลังมงุ่ ไปสู่เป้าหมายที่เปน็ ประโยชน์สงู สุดของชุมชนม สังคม สว่ นรวม ในองค์กรในภาคส่วนต่าง ๆ รวมกันเป็นเครือข่าย ทำให้เกิดผลของการพัฒนาองค์กรด้วย คุณธรรม สอดคล้องกับแผนแม่บท และได้สนองนโยบายหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และเป็นยอมรับว่า เปน็ ต้นแบบท่ีสามารถนำไปขยายผลในพ้ืนที่ต่าง ๆ ของประเทศได้จริง เพราะการลงมือปฏิบัติท้ังในทางวิชาการและการทำบนพื้นท่ีจริงของจังหวัดพิจิตรน้ัน ได้ประสบ ผลสำเรจ็ อันงดงาม เป็นท่ียอมรบั ในระดับประเทศ ๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ ๕.๓.๑ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ๑. ภาครัฐควรให้ความสำคัญเชิงจรยิ ธรรมท้ังระบบ ท้ังในส่วนองค์ภาครัฐ เอกชน และ ภาคประชาชนเต็มพ้ืนที่ มีการให้ความรู้ทุกช่องทาง ยกย่องบุคคล องค์กร เพ่ือเป็นแบบอย่าง เพื่อ สร้างแรงบันดาลใจ ให้เห็นว่า บุคคลหรือองค์กร สามารถนำหลักธรรมไปใช้ได้จริง ทำให้ประสบ ความสขุ ประสบความสำเร็จให้หลากหลายรูปแบบ ต่อเนือ่ งจนเปน็ พลังนำพาสังคมให้ดำเนินตาม ๒. มกี ารกำหนดนโยบายทอ้ งถิ่นและชุมชนที่มสี ักยภาพในการนำเสนอองค์ความรรุ้ ะดับ จังหวัดในแตล่ ะจงั หวดั ทุกภมู ภิ าคทั่วประเทศ เพอ่ื ใหร้ ับภาครัฐ มาจัดเป็นโครงการ นโยบาย วางแผน ให้สอดรับกับพื้นที่และภูมิภาคของตน ให้ครอบคลุมทุกอำเภอ ทุกตำบล ทุกหมู่บ้าน ทุกหน่วยงาน ทุกองคก์ ร เต็มพ้นื ที่ เพ่อื สรา้ งคนดีให้แผน่ ดิน ๓. คณะสงฆ์ทั่วสังฆมณฑลทุกจังหวัดได้มีโอกาสได้นำเสนอและกำหนดแผนนโยบาย รว่ มกบั ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรท้องถิ่นท้องที่ มีการปรึกษา วางแผน กำหนดนโยบาย ในสำนวน ท่ีว่า “โลกก็ไมช่ ำ้ ธรรมก็ไมเ่ สีย” ปรับประยุกต์แนวทาง ให้สอดคล้องทั้งคดีโลกทั้งคดธี รรม นำเสนอ หลักธรรมใหร้ ว่ มยุครว่ มสมยั ให้ประชาชนเข้าถงึ หลักธรรม ได้ง่ายขึ้น อย่างเป็นรูปแบบเดียวกนั อย่าง ต่อเน่อื งทกุ วัด ๔. รัฐควรสร้างนโยบายเชิงสัญลักษณ์เฉพาะภูมิภาค ในแต่ละจังหวัดท่ีได้ประสบ ความสำเรจ็ ในการบริหารจัดการจังหวดั คุณธรรม รวมทัง้ มีรางวลั แกก่ ลุ่มและบคุ คลตน้ แบบ

๑๙๓ ๕.๓.๑ ข้อเสนอแนะเชิงปฏบิ ัติการ ๑. การนำมติ ิทางวัฒนธรรมมาสร้างความเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา บูรณาการทำงานกับ ทกุ ภาคสว่ น ทุกพื้นที่ ดว้ ยกลไกพลัง “บวร” และ “ประชารัฐ” สร้างอตั ลกั ษณท์ ม่ี ีความโดดเดน่ ๒. สง่ เสริมคนในชุมชน/องคก์ รปฏิบัติตามหลกั ธรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ๓. ส่งเสริมคนในชุมชน/องค์กรน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ ดำเนนิ ชีวติ และ ๔. คนในชุมชน/องค์กรธำรงรักษาไว้ซึ่งวิถีวัฒนธรรมไทยท่ีดีงาม โดยชุมชน องคก์ ร อำเภอ จังหวัด ๕.๓.๒ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการทำวิจยั ตอ่ ไป ๑. ศกึ ษาวิถีชีวิตผู้นำท่ใี ชค้ ุณธรรมจรยิ ธรรมต้นแบบในระดบั จงั หวัดและอำเภอ ท่ีประสบ ความสำเร็จในการบริหารจัดการการทำงาน การบรหิ ารชีวิตและอทุ ิศตนทำงานเพอ่ื สงั คม ๒. ศึกษาการสร้างงานระดับชุมชน ที่นำองค์ความรู้คุณธรรมต้นแบบ มาทำธุรกิจเพ่ือ ชุมชนและเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ทอดถอดความรู้ที่ประสบความสำเรจ็ เป็นทย่ี อมรับระดับจังหวัด ๓. ศึกษาวธิ ีการทำงาน แบบภูมิปัญญาท้องถน่ิ ซึ่งเปน็ ต้นแบบของสังคมและระดบั ประเทศ ในการแก้ไขปญั หา และพฒั นาการรว่ มสมยั ๔. ศกึ ษาการสรา้ งแนวคิดรว่ มสมยั ของอนุรกั ษ์วฒั นธรรมประเพณอี งคค์ วามรทู้ ้องถิ่น ซึ่ง เป็นความรู้ระดับชุมชนต่อการพัฒนาตนเองและสรา้ งการยอมรับของสงั คม

๑๙๔ บรรณานุกรม ๑. ภาษาไทย ก. ข้อมลู ปฐมภมู ิ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๙. ข. ขอ้ มูลทตุ ยิ ภูมิ (๑)หนังสอื : กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. คู่มือการประเมิน องค์กร ชุมชน อำเภอ และจังหวัด คุณธรรม ภายใตแ้ ผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑. พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔ กรงุ เทพมหานคร : กรมการศาสนา, ๒๕๕๙. พยนต์ อัศวพิชยนต์ และคณะ. พิจิตรจังหวัดคุณธรรม. พิมพ์ท่ี วัลภาการพิมพ์, พ.ศ.๒๕๖๑ ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถานพ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร : นานมบี ุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, ๒๕๔๖. พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจฬุ าลง กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๙. พระราชญาณวสิ ฐิ (เสรมิ ชยั ชยมงฺคโล). การบริหารวัด. นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ์, ๒๕๔๘. ธงชยั วงศ์ชยั สวุ รรณ. วทิ ยาการบรหิ าร. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพธ์ รรมศาสตร์, ๒๕๔๐). พีรสิทธ์ิ คำนวณศิลป์ และศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ. การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการองค์การ บริหารส่วนตำบลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น : โรงพิมพ์พระธรรมขันต์, ๒๕๔๖. จฑุ า เทยี นไทย. การจัดการมุมมองนกั บรหิ าร. กรุงเทพมหานคร : แมคกรอฮิล, ๒๕๔๘. อุทัย เลาหวิเชียร. รัฐประศาสนศาสตร์ : ลักษณะวิชาและมิติต่างๆ. สำนักพิมพ์เสมาธรรม ม.ป.ท., ๒๕๕๖ สทุ ิน นพเกตุ. สิทธิมนุษยชนศึกษา ยุทธศาสตรส์ ู่การสร้างวัฒนธรรม วิถีชีวิตสิทธิมนุษยชนและ สจุ รติ ชน. กรงุ เทพมหานคร : คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ, ๒๕๔๙. อานุภาพ อทิ ธิบันลือ. ปั้นดาวให้เป็นดาวรุง่ . กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์, ๒๕๓๑. ธนจรส พนู สทิ ธ์ิ. การจดั การองคก์ ารและการบริหาร. กรงุ เทพมหานคร : สหธรรมิก, ๒๕๔๑. ประยุทธ์ เจริญสวัสด์ิ, การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร : กรมพลศึกษา กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๖๐.

๑๙๕ บรรณานุกรม (ต่อ) พทิ ยาบวรวฒั นา. การบรหิ ารเชิงบรู ณาการ. นนทบุรี : สำนักงานข้าราชการพลเรอื น. ๒๕๕๖. ภาวดิ า ธาราศรสี ุทธิ. การบริหารโรงเรยี นประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ๒๕๕๗.. วิบูลย์ โตวณะบุตร. หลักและทฤษฎกี ารบรหิ ารการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำ แหง, ๒๕๖๒. มัลลกิ า ต้นสอน. การจดั การยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร : เอก็ ซเปอรเ์ นท็ จำกัด, ๒๕๔๔. วัชรี บูรณสิงห์. การบริหารหลักสูตร. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๖๓. ฉลอง มาปรีดา ผ.ศ.. คณุ ธรรมสำหรับผู้บริหาร. กรงุ เทพมหานคร : โอ. เอส. พร้นิ ติ้ง เฮ้าส์, ๒๕๕๗. ธีรวุฒิ บุญยโสภณ และวีระพงษ์. องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร :อักษรปริทรรศน์, ๒๕๖๐. นภัทร์ แก้วนาค. เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณ ภาพ (Qualitative Data Analysis Technic). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๔. บรรจบ เนียมมณี. หลักการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวโิ รฒ, ๒๕๖๓. บญุ ทนั ดอกไธสง. การจดั องคก์ าร,. พมิ พ์คร้ังที่ ๔. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณ์ราช วิทยาลัย, ๒๕๕๗. วริ ัช วิรัชนิภาวรรณ. การบรหิ ารจัดการและการบรหิ ารการพฒั นาขององค์กรตามรฐั ธรรมนญู และ หนว่ ยงานของรฐั . กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พมิ พน์ ิติธรรม, ๒๕๕๘. ชาญชัย เจนครองธรรม. หลักและทฤษฎีการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สยามรัตนฟิล์ม, ๒๕๔๕. วัชราภรณ์ สุริยาภิวัฒน์. วิจัยธุรกิจยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๘.

๑๙๖ บรรณานุกรม (ต่อ) (๒)ดษุ ฎนี พิ นธ์/วทิ ยานพิ นธ์/สารนิพนธ์: กรรณิกา เจิมเทียนชัย. “การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์กรของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข”. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหาร การศึกษา. บัณฑติ วทิ ยาลัย : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๖๑. บญุ ศรี พานะจิตต์ และศรีนวล ลภั กิตโร. “ความสำเรจ็ ในการปฏิบัติภารกิจของวัด : ศึกษาเฉพาะ กรณีวัดชลประทานรังสฤษฎ์, อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี”. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๕. ปรุตม์ บุญศรีตัน. “รูปแบบการตคี วามคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร ดุษฎีบัณฑิต. บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๐. นครนิ ทร์ แก้วโชติรุ่ง. “รูปแบบและหลักการของการปกครองในพระไตรปิฎก”. วิทยานิพนธ์พุทธ ศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖. ดวงกมล ทองคณารักษ์. “รูปแบบโครงการปฏิบัติธรรมท่ีเหมาะสมสำหรับชาวต่างประเทศใน ประเทศไทย”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๒. จินตนา ศักด์ิภู่อรา่ ม. “การนำเสนอรปู แบบการบริหารโรงเรยี นในกำกับ ของรฐั สำหรับประเทศไทย”. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎบี ัณฑิต. คณะครศุ าสตร์ : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๔๕. ทิพยรัตน์ สีเพชรเหลือง. “รูปแบบและกลยุทธ์การจัดต้ังมหาวิทยาลัยบรรษัทในประเทศไทย”. วทิ ยานิพนธค์ รุศาสตรดุษฎีบณั ฑิต. (คณะครุศาสตร์ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๔๕. พระมหาสุทนิ สุทิโน. “การบริหารจัดการเครอื ข่ายเชิงพุทธของกลุ่มโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรมแผนก สามัญศกึ ษากล่มุ ๑”. ปริญญาพทุ ธศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. บณั ฑิตวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๖. แม่ชีเณรัชฌา ศักด์ิศิริสัมพันธ์. “พุทธวิธีบริหารเพ่ือการพัฒนาสำนักปฏิบัติธรรม”. ปริญญาพุทธ ศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร.์ บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหา จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๖. กนกวรรณ โกมลทิ ธิพงศ.์ “การบริหารกจิ การของคณะสงฆ์จีนนิกายในประเทศไทย”. ปริญญาพทุ ธ ศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา. บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ า ลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๐.

๑๙๗ บรรณานุกรม (ต่อ) บุญส่ง หาญพานิช. “การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาไทย”. วทิ ยานิพนธค์ รศุ าสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาอดุ มศกึ ษา. คณะครุศาสตร์ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๖. พิชิต เพ็งสุวรรณ. “การพฒั นารูปแบบการบริหารจดั การอาชวี อนามัยและความปลอดภัยในสถาบัน อาชีวศึกษา”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรอุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและ พฒั นาหลกั สตู ร. บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ๒๕๕๒. พิชญาภา ยืนยาว. “รูปแบบการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลในสภาบนั อุดมศกึ ษา”. ปริญญาปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๒. พูลสุข หิงคานนท์. “การพัฒนารูปแบบการจัดองค์การของวิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุข”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๔๐. รุ่งนภา จิตรโรจนรักษ์. “การพัฒนารูปแบบการบริหารของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สำหรับประเทศไทย”. วทิ ยานิพนธค์ รุศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา. คณะครุศาสตร์ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๔๘. สมาน อัศวภูมิ. “การพัฒนารูปแบบการบริหารการประถมศกึ ษาระดับจังหวัด. วิทยานิพนธ์ศึกษา ศาสตรมหาบณั ฑิต”. สาขาวิชาบรหิ ารการศกึ ษา : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ,๒๕๓๗. (๓) รายงานวิจยั : คูณ โทขันธ์ และเทพพร มังธานี. “รูปแบบการจัดการศึกษาและเผยแผ่ศาสนธรรมของวัดใน พระพทุ ธศาสนา : กรณศี ึกษา วดั มหาพุทธาราม อำเภอเมือง จังหวัดศรสี ะเกษ”. รายงาน การวจิ ยั . กรุงเทพมหานคร : สำนักงานเลขาธกิ ารการศกึ ษา, ๒๕๔๖. ฉันทนา กล่อมจิต. “รูปแบบการจัดการศึกษาและเผยแผ่ศาสนธรรมของวัดในพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษา วัดป่าบ้านค้อ อำเภอเมืองผิง จังหวัดอุดรธานี”. รายงานการวิจัย. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั งานเลขาธกิ ารการศึกษา. ๒๕๔๖. พรเพญ็ อยู่บำรุง. “งานวิจัยเร่ืองการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเทศบาลตำบลในเขต จงั หวัดสมทุ รสาคร”. วทิ ยาลัยการปกครองทอ้ งถิ่น : มหาวิทยาลัยของแก่น. ๒๕๕๑.

๑๙๘ บรรณานุกรม (ต่อ) (๔) บทความ: พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.๒๕๔๕. มาตรา ๖. หน้าที่ ๕. เอกสารวิชาการ บางมูลนากโมเดล. การพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมจังหวัดพิจิตร. ๒๕๖๐. สิทธิศักด์ิ แก้วทา ทีปพิพัฒน์ สันตะวัน. แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของ นักเรียน ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดพิจิตร . วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครสวรรค.์ ปที ี่ ๗ ฉบบั ที่ ๒๐ กนั ยายน - ธนั วาคม , ๒๕๕๕. (๕)สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์: เอกสารชุดความรู้การขับเคลือ่ นจังหวัดคุณธรรมนำร่อง (พิจติ ร บุรรี ัมย์ ราชบุรี พัทลุง). [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า : http://www.moralcenter.or.th [๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓] ปกครองจังหวัดพิจิตร. พิจิตรจังหวัดคุณธรรม. (พิจิตร : วัลยาการพิมพ์,๒๕๖๑). [ออนไลน์]. แห ล่ งที่ ม า : http://www.phichit.go.th/phichit/doc/๒ ๕ ๖ ๑ /๖ ๑ ๑ ๒ ๑ ๒ .pdf [๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓] ๒. ภาษาอังกฤษ 1. Secondary Sources Silverman, D.’ Doing Qualitative Research : A Practical Handbook. London, Sange. 2200. Creswell, J. W. Qualitative inquiry and research design : Choosing among five Traditions, 2200. Patton,M. Qualitative Evaluation and Research Methods. Newbury Park, California. Sage, 1990. Strauss, A. and J. Corbin. Basics of Qualitative Research : Grounded Theory Procedures and Techniques. Newbury Park. California Sage, 1999. Joungtrakul, J, Industrial Democracy and Best Practice in Thailand : A Stakeholder Study. Perth, Australia, Thesis Presented for the Degree of Doctor of Business Administration, 1999

๑๙๙ บรรณานุกรม (ต่อ) Certo, Samuetl C.. Modern Management (๘th ed). New Jersey : Prentice-Hill, 2000. Schemerhorn, John R. Jr.. Management ๕th ed. USA : John Wiley & Sons, 1999 Bateman. Thomas S. & Scott A. Snell. Management : Building Competitive Advan tage ๔thed. Boston : Lrwin McGraw-Hill, 1999. Carter V. Good. Dictionary of Education. New York : McGraw-Hill Book Company, 1973. Bardo, John W., and Hartman, John J. Urban Soclogoy : A Systematic Introduction. U.S.A. : F.E.Peacock publishers Inc, 1982. Simon A Herbert. Public Administration. New York : Alfrcod A Kuopf, 1966. Campbell F Roald. Introduction to Educational Administration. Boston : Allyn and Bacon, 1999. Don Hellriegel. Management 3rd ed. Addison : Wesley Publishing Company.lmc.1, 1982. Chapman. Supervisor Survival Kit. 2nd ed. California : Science Research Associates lnc., 1995.

ภาคผนวก

๒๐๑ ภาคผนวก ก ผูท้ รงคณุ วฒุ ติ รวจเครอ่ื งมือวิจัย

๒๐๒ ภาคผนวก ข ผูท้ รงคณุ วฒุ ิให้สมั ภาษณเ์ ชงิ ลึก

๒๐๓

๒๐๔

๒๐๕

๒๐๖

๒๐๗

๒๐๘ ภาคผนวก ค ผู้ทรงคณุ วุฒิสนทนากลุม่ เฉพาะ ๑. พระครวู ิโชติสิกขกจิ , ดร. รองผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆพ์ ิจิตร ๒. พระครูพจิ ติ รวรเวท, ดร. ประธานหลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยสงฆพ์ จิ ติ ร ๓. พระมหาสุเมฆ สมาหิโต, ดร. รกั ษาการผ้อู ำนวยการสำนกั งานวชิ าการ วทิ ยาลัยสงฆ์พิจติ ร ๔. พระครูอุทยั กิจจารักษ,์ ดร. ประธานหลักสตู รการจัดการเชงิ พทุ ธ วทิ นาลยั สงฆ์พิจติ ร ๕. พระครูวทิ รู นคราภริ ักษ์ อาจารยป์ ระจำหลักสตู รการจัดการเชิงพุทธ วิทยาลยั สงฆ์พจิ ิตร ๖. พระปลัดระพิน พุทธฺ ิสาโร, ผศ. ดร. อาจารย์ประจำหลักสูตรบัณฑติ ศึกษา ๗. พระมหากฤษฎา กติ ตฺ ิโสภโณ, ผศ ดร. อาจารย์ประจำหลักสูตรบณั ฑิตศึกษา ๘. วา่ ท่ี รต. ดร.นพวรรณ์ ไชยชนะ อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยสงฆ์พิจติ ร ๙. นางจันทนา กองกนั ภยั อาจารยพ์ ิเศษ วิทยาลยั สงฆพ์ ิจติ ร ๑๐.ดร.สุภัทรชัย สสี ะใบ อาจารยป์ ระจำหลักสูตรบัณฑติ ศกึ ษา

๒๐๙

๒๑๐

๒๑๑

๒๑๒ ภาคผนวก ง ผู้ทรงคุณวุฒิสอบดษุ ฎพี ิจารณ์ ๑. พระเมธีธรรมจารย.์ รศ. ดร. ๒. พระปลัดระพิน พุทฺธสิ าโร, ผศ. ดร. ๓. รศ. ดร.สรุ พล สรุ ยิ พรหม ๔. ผศ. ดร.อุทยั สตมิ ่นั ๕. ผศ. ดร.ประเสริฐ ธลิ าว

๒๑๓

๒๑๔ ช่ือ ฉายา/นามสกลุ ประวัติผู้วิจัย วัน เดอื น ปเี กิด ภมู ิลำเนาที่เกิด : พระครพู ิสทุ ธปิ ญั ญาภวิ ฒั น์ (นพณชั กิตฺติปญฺโญ/คล้ายผง้ึ ) การศกึ ษา : วนั ท่ี ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๗ : ๒๖ หมู่ที่ ๓ ตำบลท่าบวั อำเภอโพะทะเล จงั หวดั พจิ ิตร ๖๖๑๐๗ ประสบการณก์ ารทำงาน : พ.ศ. ๒๕๓๐ นกั ธรรมเอก (น.ธ.เอก) ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๓๘ เปรียญธรรม ๓ ประโยค (ป.ธ.๓) ตำแหน่งทางวิชาการ (ถา้ มี) พ.ศ. ๒๕๔๗ พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) (ปรัชญา) อปุ สมบท สงั กัด มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตำแหนง่ พ.ศ. 25๕๒ รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) นโยบาย ปีที่เขา้ ศกึ ษา สาธารณะมหาวิทยาลัยนเรศวร ปที ี่สำเร็จการศกึ ษา : เจ้าคณะตำบลท่าบัว ที่อยู่ปัจจบุ ัน : การสร้างเสริมศักยภาพเลขานุการเจ้าคณะตำบล ตีพิมพ์ในวรสาร วิจยวชิ าการ ปที ี่ ๔ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๖๔) : แนวทางป้องกันความขดั แย้งวธิ ีพุทธ ตีพิมพ์ในวรสารวิจยวิชาการ ปี ที่ ๔ ฉบับท่ี ๓ (ตลุ าคม-ธันวาคม ๒๕๖๔) : พระพุทธศาสนาในกลุ่มประเทศลุ่มแม่น้ำโขง ไทย ลาว เมียนมา กัมพู ชา เวียดน าม ตีพิ ม พ์ ใน นิ ตยสารพุ ท ธจักร ฉบั บ ท่ี ๓ (พฤษภาคม-มถิ นุ ายน ๒๕๖๕) : รปู แบบการบริหารจัดการจงั หวัดคุณธรรมตันแบบของจังหวดั พิจิตร ตีพมิ พ์ในวรสาร มจร สงั คมปรทิ รรณ์ ปีที่ ๑๑ ฉบบั ท่ี ๑ ประจำเดอื น มกราคม-กุมภาพนั ธ์ :- : วันท่ี ๒๘ เดอื น มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๘ : วดั หลวง ตำบลทา่ บวั อำแภอโพทะเล จังหวดั พิจิตร ๖๖๑๓๐ : เจา้ คณะตำบลท่าบัว : ๒๐ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๖๑ : ๑๑ กันยายน ๒๕๖๔ วดั หลวง ตำบลท่าบัว อำแภอโพทะเล จังหวัดพจิ ติ ร ๖๖๑๓๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook