๑๕ มาตรา ๘๓ (๒) “ต้องไม่ปฏิบัติราชการอันเป็นการกระทำการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน เว้นแต่ ผูบ้ ังคับบญั ชาเหนอื ขึน้ ไปเปน็ ผ้สู ั่งให้กระทำ หรอื ได้รับอนญุ าตเป็นพิเศษชัว่ ครง้ั คราว” วินัยตอ่ ผู้ร่วมงาน มาตรา 82 (7) “ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี และต้องช่วยเหลือกันในการปฏิบัติราชการ ระหว่างขา้ ราชการด้วยกัน และผู้ร่วมปฏิบตั ริ าชการ” มาตรา 83 (7) “ต้องไม่กระทำการอย่างใด ที่เป็นการกลั่นแกล้งกดขี่ หรือข่มเหงกันในการปฏิบัติ ราชการ” มาตรา 83 (8) “ตอ้ งไมก่ ระทำการอนั เป็นการล่วงละเมิด หรอื คุกคามทางเพศตามทีก่ ำหนดในกฎ ก.พ.” วนิ ัยในการปฏบิ ัตริ าชการ มาตรา 82 (1) “ตอ้ งปฏบิ ัติหนา้ ทีร่ าชการด้วยความซ่ือสตั ยส์ จุ ริตและเที่ยงธรรม” มาตรา 82 (๒) “ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบของทางราชการ มตคิ ณะรฐั มนตรี นโยบายของรฐั บาล และปฏบิ ตั ิตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ” มาตรา 82 (3) “ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เกิดผลดี หรือความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความตั้งใจ อุตสาหะเอาใจใสแ่ ละรกั ษาประโยชนข์ องทางราชการ” มาตรา 82 (5) “ตอ้ งอุทิศเวลาของตนให้แกร่ าชการ จะละทิง้ หรอื ทอดทิ้งหนา้ ท่ีราชการมไิ ด”้ มาตรา 82 (6) “ตอ้ งรกั ษาความลบั ของทางราชการ” มาตรา 83 (3) “ต้องไม่อาศัย หรือยอมให้ผู้อื่นอาศัย ตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน หาประโยชน์ให้แก่ ตนเองหรือผู้อนื่ ” มาตรา 83 (4) “ต้องไม่ประมาทเลนิ เลอ่ ในหน้าท่ีราชการ” มาตรา 83 (5) “ต้องไม่กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการหาผลประโยชน์อันอาจทำให้เสีย ความเทีย่ งธรรม หรือเสอื่ มเสียเกียรตศิ ักดิ์ของตำแหนง่ หนา้ ท่ีราชการของตน” มาตรา 83 (6) “ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงาน คล้ายคลึงกนั นั้นในห้างหนุ้ ส่วน หรือบรษิ ัท” มาตรา 82 (9) “ต้องวางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าที่ราชการและในการปฏิบัติการอื่น ท่ีเกีย่ วข้องกบั ประชาชน กบั จะต้องปฏิบตั ิตามระเบียบของทางราชการวา่ ดว้ ยมารยาททางการเมืองของข้าราชการด้วย” มาตรา 8๕ (๑) “ต้องไม่ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหาย อยา่ งรา้ ยแรงแกผ่ ้หู นึ่งผูใ้ ด หรือปฏิบัตหิ รอื ละเว้นการปฏบิ ัตหิ น้าที่ราชการโดยทุจริต” มาตรา 8๕ (๒) “ต้องไม่ละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรเป็นเหตุให้เสียหายแก่ ราชการ อย่างร้ายแรง” มาตรา 8๕ (๓) “ต้องไม่ละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกันในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่า สิบหา้ วนั โดยไมม่ ีเหตอุ นั สมควร หรือโดยมพี ฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไมป่ ฏิบัตติ ามระเบยี บของทางราชการ”
๑๖ วินยั ส่วนบคุ คล มาตรา 82 (๑๐) “ตอ้ งรักษาชอื่ เสยี งของตน และรักษาเกียรตศิ ักดข์ิ องตำแหน่งหนา้ ท่รี าชการของตนมิให้ เส่ือมเสยี ” มาตรา 8๕ (๔) “ตอ้ งไม่กระทำการอันได้ช่ือว่าเปน็ ผปู้ ระพฤตชิ วั่ อยา่ งรา้ ยแรง” มาตรา 8๕ (๖) “ต้องไม่กระทำผิดอาญาจนได้รับโทษจำคกุ หรือโทษทีห่ นักกว่าโทษจำคุกโดยคำพิพากษา ถึงที่สุดให้จำคุกหรือให้รับโทษที่หนักกว่าโทษจำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือ ความผดิ ลหโุ ทษ” มติ ครม. / ก.พ. เกีย่ วกบั การดำเนนิ การทางวนิ ยั แนวทางการลงโทษ กรณขี า้ ราชการทจุ ริตต่อหน้าทร่ี าชการ ข้าราชการทจุ ริตต่อหนา้ ท่ี ควรลงโทษไล่ออก สถานเดียว การนำเงนิ ที่ทุจรติ ไปแลว้ มาคืนหรือมีเหตุอันควรปราณีอื่นใด ไมเ่ ป็นเหตลุ ดหย่อนโทษลงเป็นปลดออก จากราชการ (มติ ครม.ปี ๒๕๓๖) แนวทางการลงโทษ กรณีข้าราชการละทิ้งหน้าที่ราชการ ข้าราชการละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราว เดียวกันเป็นเวลาเกินกว่า ๑๕ วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร และไม่กลับมาปฏิบัติราชการอีกเลย ควรลงโทษไล่ ออกสถานเดียว เหตุอันควรปราณอี น่ื ใดไมเ่ ป็นเหตลุ ดหยอ่ นโทษลงเปน็ ปลดออกจากราชการ (มติ ครม.ปี ๒๕๓๖) แนวทางการลงโทษ กรณีขา้ ราชการเบิกค่าเช่าบ้านเท็จข้าราชการเบิกค่าเช่าบ้านอันเปน็ เท็จ โดยมีเจตนา ใช้สิทธิเบิกไม่ถูกต้องขัดกับพระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการ ให้ถือว่าเป็นการทุจริตมีความผิดวินัยอย่าง ร้ายแรง ใหส้ ว่ นราชการพิจารณาลงโทษไล่ออก ซง่ึ จะไมม่ สี ทิ ธิไดร้ ับบำเหนจ็ บำนาญ (มติ ครม.ปี ๒๕๔๑) แนวทางการลงโทษ กรณีข้าราชการเบกิ เงินค่าเบ้ียเล้ียงพาหนะเดินทาง และเงินอื่นในทำนองเดียวกันอัน เป็นเท็จ ข้าราชการเบิกเงินค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะเดินทางและเงินอื่นในทำนองเดียวกันอันเป็นเท็จ โดยเจตนา ทจุ ริตฉ้อโกงเงนิ ของทางราชการอยา่ งแนช่ ดั เป็นความผิดวนิ ยั อย่างรา้ ยแรงฐานประพฤตชิ ว่ั อยา่ งร้ายแรง ที่จะต้อง ลงโทษทางวินัยอยา่ งร้ายแรงตามควรแกก่ รณี (มติ ก.พ. ปี ๒๕๓๖) แนวทางการลงโทษ กรณีข้าราชการเล่นการพนันและเสพสุรา การพนันประเภทที่กฎหมายห้ามขาด ถ้า ขา้ ราชการผู้ใดเล่น ควรวางโทษถึงปลดออก หรอื ไลอ่ อกจากราชการ การพนันประเภทท่กี ฎหมายบญั ญตั วิ ่าจะเล่นได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากทางการ (๑) เล่นโดยไม่ได้รับอนุญาต ถ้าผู้เล่นนั้นมีหน้าที่ปราบปรามโดยตรง หรือเป็นครู หรือเป็น เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม หรือเจ้าพนักงานอื่นใด ซึ่งมีข้อห้ามของหน่วยงานวางไว้เป็นพิเศษ ควรวางโทษถึง ปลดออก หรอื ไลอ่ อกจากราชการถา้ เปน็ ข้าราชการอนื่ ให้พจิ ารณาลงโทษตามควรแกก่ รณี (๒) เล่นโดยได้รับอนุญาตแล้ว ถ้าผู้เล่นนั้นมีหน้าที่ปราบปรามโดยตรง หรือเป็นครู หรือเป็ น เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม หรือเจ้าพนักงานอื่นใด ซึ่งมีข้อห้ามของหน่วยงานวางไว้เป็นพิเศษ อาจพิจารณาวาง โทษถึงปลดออก หรอื ไล่ออกจากราชการ ก็ได้ แต่ถา้ เปน็ ข้าราชการอื่นจะเป็นความผิดก็ต่อเม่ือ ผู้นัน้ หมกมนุ่ ตอ่ การพนันเป็นเหตุให้เส่ือมเสียแก่ ราชการ และใหพ้ จิ ารณาลงโทษตามควรแกก่ รณี
๑๗ เสพสุรา ข้าราชการผู้ใดเสพสุรามึนเมาจนไม่สามารถครองสติได้ ซึ่งอาจทำใหเ้ สียเกยี รติศักด์ิของตำแหนง่ หน้าที่ราชการ ให้พิจารณาลงโทษตามควรแก่กรณี ข้าราชการผู้ใดเสพหรือเมาสุราในกรณีต่อไปนี้ อาจถูกลงโทษ สถานหนักถงึ ใหอ้ อก ปลดออก หรอื ไล่ออกจากราชการ เช่น (๑) เสพสรุ าในขณะปฏบิ ัตหิ น้าทร่ี าชการ (๒) เมาสรุ าเสยี ราชการ (๓) เมาสรุ าในทชี่ มุ ชนจนเกิดเรอื่ งเสยี หาย หรือเสยี เกยี รตศิ กั ด์ิของตำแหน่งหนา้ ที่ราชการ (มติ ครม.ปี ๒๔๙๖) พ.ร.บ.ระเบียบขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๙๐ เมื่อมีการกล่าวหาหรือกรณีเป็นที่สงสัยว่า ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำผิดวินัย ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ต้องรายงานให้ผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ทราบโดยเร็ว และให้ ผบู้ ังคบั บญั ชาซ่ึงมีอำนาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ดำเนนิ การตามพระราชบัญญัตินโ้ี ดยเร็วดว้ ยความยุติธรรม และ โดยปราศจากอคติ มาตรา ๙๑ เมื่อได้รับรายงานตามมาตรา ๙๐ หรือความดังกล่าวปรากฏต่อผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอำนาจสั่ง บรรจุตามมาตรา ๕๗ ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ รีบดำเนินการหรือสั่งให้ดำเนินการ สืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องต้นว่ากรณีมีมูล ที่ควรกล่าวหาว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัยหรอื ไม่ ถ้าเห็นว่ากรณีไม่มีมูลที่ ควรกลา่ วหาว่ากระทำผิดวินัยก็ให้ยุติเรอื่ งได้ ในกรณีที่เห็นว่ามีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำผิดวินัยโดยมีพยานหลักฐาน เบ้ืองต้นอยู่แลว้ ใหด้ ำเนินการทางวนิ ัยต่อไปตามมาตรา ๙๒ หรอื มาตรา ๙๓ แล้วแต่กรณี มาตรา ๙๒ ในกรณีที่ผลการสบื สวนหรือพิจารณาตามมามาตรา ๙๑ ปรากฏว่ากรณีมีมูล ถ้าความผิดนั้น มิใชค่ วามผิดวินัยอย่างรา้ ยแรง และได้แจ้งขอ้ กลา่ วหาและสรุปพยานหลักฐานใหผ้ ถู้ ูกกล่าวหาทราบ พร้อมทง้ั รับฟัง คำชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหาแลว้ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมอี ำนาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาไดก้ ระทำ ผดิ ตามข้อกล่าวหา ให้ผู้บงั คับบญั ชาส่งั ลงโทษตามควรแก่กรณโี ดยไมต่ ้ังคณะกรรมการสอบสวนกไ็ ด้ มาตรา ๙๓ ในกรณที ีผ่ ลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมามาตรา ๙๑ ปรากฏวา่ กรณีมีมลู อันเป็นความผิด วินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ในการสอบสวนต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ พร้อมรับฟังคำชี้แ จงของผู้ถูก กล่าวหา เมื่อคณะกรรมการสอบสวนดำเนินการการเสร็จ ให้รายงานผลการสอบสวนและความเห็นต่อ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นว่าผู้ถูก กล่าวหาไม่ได้กระทำผิดตามข้อกล่าวหา ให้สั่งยุติเรื่อง แต่ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำผิดตามข้อกล่าวหา ใหด้ ำเนนิ การตอ่ ไปตามมาตรา ๙๖ หรอื มาตรา ๙๗ แล้วแตก่ รณี การอทุ ธรณ์คำส่ังลงโทษทางวินัยของข้าราชการ ยืน่ อทุ ธรณ์ตอ่ ก.พ.ค. ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันทราบหรอื ถือว่าทราบคำสงั่
๑๘ กิจกรรมกลุ่มสัมพนั ธ์ โดยนายสมหวัง ชัยเจริญคุณาภรณ์ และคณะ “ การพัฒนาตนเองเพ่ือพัฒนาสมั พนั ธภาพในการปฏิบัติงาน การทำงานเป็นทมี การทำงานร่วมกับผู้อืน่ เพ่ือให้เกิดความคนุ้ เคยและมีปฏสิ ัมพนั ธ์ที่ดรี ะหวา่ งกัน” กิจกรรมพบั กระดาษ โดยกำหนดให้พบั คร่ึงกระดาษ A4 บางคนพบั แนวตง้ั บางคนพับแนวนอน ความคิด ที่แตกต่างกัน ไม่มีถูก ไม่มีผิด โดยแต่ละคนมีวัตถุประสงค์ที่ต่างกัน เช่น คนพับแนวตั้งคิดว่าจะได้ความยาว ที่มากกว่าการพับแนวนอน เพราะคำสั่งไม่ได้กำหนดวัตถุประสงค์ นั้นแสดงให้เห็นว่าการทำงาน เราต้องกำหนด เป้าหมาย แม้การดำเนินการจะต่างกัน แต่สามารถดำเนินการตามเป้าหมายให้สำเร็จได้ และกระดาษใบเดิม นำมาสรา้ งกิจกรรมเกมสอบถามขอ้ มูลของเพ่อื น ๆ ทำความรูจ้ ักกนั เพ่มิ มาขึ้นในกิจกรรมน้ี กิจกรรมกล่าวคำทักทายประกอบท่า เป็นการล้อมวงและหันหน้าเข้าหาคู่เพื่อน ทำท่าทักทายใน ภาษาต่าง ๆ ประกอบเพลง กิจกรรมนี้นอกจากสร้างเสียงหัวเราะแล้ว ยังเป็นการได้ทำความรู้จักเพื่อน ๆ ขา้ ราชการใหมอ่ ีกด้วย กิจกรรมเชือก 1 เส้นประคองบอลสู่เส้นชัย โดยแต่ละกลุ่มจะได้เชือกที่ต่างต้องถือปลายอีกข้าง ประคองบอลส่งต่อกลุ่มจนถึงเส้นชัย กจิ กรรมนีฝ้ ึกสมาธิ การวางแผน และทีส่ ำคญั ต้องมีความสามัคคี เพื่อนำบอล ไปยงั เป้าหมาย
๑๙ ยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด : กรรณิกา วงศ์ขตั ิย์ สำนักยทุ ธศาสตร์ แนวทางการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด ยุทธศาสตรช์ าติด้านความมัน่ คง แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเดน็ ความม่นั คง แผนย่อยท่ี 2 การป้องกนั และแก้ไขปัญหาที่มผี ลกระทบตอ่ ความมั่นคง สว่ นที่ 2.1 การรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจกั รและการพฒั นาประเทศ แนวทางที่ 1 การป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด “ปรบั สภาพแวดลอ้ ม พร้อมแกไ้ ขปัญหา” ตน้ น้ำ 1. สร้างความรว่ มมือระหว่างประเทศเพื่อกดดันและยุติบทบาทแหล่งผลติ ภายนอกประเทศ 2. การสกดั ก้นั การนำเขา้ ส่งออกยาเสพติดท้ังทางบก ทางเรอื และทางอากาศ 3. การปราบปรามกลมุ่ การคา้ ยาเสพตดิ 4. การเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของหมบู่ า้ น/ชุมชนตามแนวชายแดน กลางน้ำ 5. การปอ้ งกันยาเสพตดิ ในแตล่ ะกล่มุ เป้าหมายอยา่ งเหมาะสมเป็นรูปธรรม 6. การปรบั สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสม
๒๐ ปลายน้ำ 7. การดูแลผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดให้เข้าถึงการบำบัดรักษา และการลดอันตรายหรือผลกระทบ จากยาเสพติด แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ พ.ศ. 2565 5 มาตรการ / 9 แนวทาง/ 20 แผนงาน/ 57 โครงการสำคญั 1. มาตรการความร่วมมือระหวา่ งประเทศ - แนวทางความร่วมมือระหวา่ งประเทศ 2. มาตรการการปราบปรามและการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย - แนวทางการสกัดกั้นยาเสพตดิ - แนวทางการปราบปรามกลุม่ การคา้ ยาเสพตดิ 3. มาตรการการป้องกนั ยาเสพติด - แนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชนตามแนวชายแดนและการพัฒนา ทางเลอื ก - แนวทางการปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ในแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมายอยา่ งเหมาะสมเป็นรปู ธรรม - แนวทางการเสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นร่วมของครอบครวั และชุมชน 4. มาตรการการบำบัดรกั ษายาเสพตดิ - แนวทางการดูแลผู้ติดยาเสพติดให้เข้าถึงการบำบัดรักษา และการฟื้นฟูสภาพทางสังคม เพื่อลดผลกระทบจากยาเสพตดิ 5. มาตรการการบริหารจัดการอยา่ งบรู ณาการ - แนวทางกจิ การพิเศษ - แนวทางการบริหารจัดการอยา่ งบูรณาการ กรอบคดิ แผนปฏิบตั ิการด้านการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ พ.ศ. 2565 การประชมุ สมัชชาสหประชาชาติสมยั พิเศษว่าดว้ ยปญั หายาเสพตดิ โลก (UNGASS 2016) 1. ยาเสพตดิ และสขุ ภาพ 2. ยาเสพติดและอาชญากรรม 3. ยาเสพตดิ และสิทธิมนุษยชน 4. ยาเสพติดและความทา้ ทายใหม่ๆ 5. การพฒั นาทางเลือก ประมวลกฎหมายยาเสพตดิ 1. นโยบายและแผนระดับชาติวา่ ด้วยการปอ้ งกันปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ 2. นโยบายตัวยาเสพตดิ การใชป้ ระโยชนท์ างการแพทยแ์ ละเศรษฐกิจ 3. กรอบการมองผเู้ สพในมติ ิของสาธารณสุขและสขุ ภาพใหโ้ อกาส ชว่ ยเหลือ และสงเคราะห์
๒๑ 4. นโยบายทางอาญา การลงโทษผู้กระทำผิดที่ได้สัดส่วนและเหมาะสมกับความร้ายแรงของ การกระทำความผดิ : นายทุน แรงงาน เหยื่อ 5. ดำเนินการต่อเครือข่ายการค้ายาเสพติดที่สำคัญ แยกคดีทรัพย์สินไม่ผูกกับผลคดีอาญา ให้ริบทรพั ย์ตามมูลคา่ มาตรการความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ : กรอบการดำเนนิ งานสำคัญ การสกัดกั้นยาเสพติด การปราบปรามผู้ค้ายาเสพติดและเครือข่ายการค้ายาเสพติดในประเทศและ อาชญากรรมข้ามชาติ และมาตรการริบทรัพย์สิน ดำเนินการต่อพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน ที่เอื้อต่อการค้าและ แพร่ระบาดยาเสพตดิ เสริมสร้างความร่วมมอื เชิงนโยบายในอนุภมู ิภาคลุ่มแม่น้ำโขงและความรว่ มมือระหว่างประเทศทัง้ ในและ นอกภมู ิภาค เพ่อื สกดั ก้ันสารตงั้ ต้นและเคมีภัณฑ์ไม่ให้เข้าสู่แหลง่ ผลิตยาเสพติด แสวงหาความร่วมมือกับต่างประเทศในการเพิ่มทกั ษะการเรียนรู้ และการใช้เคร่ืองมือเทคโนโลยีสมยั ใหม่ โดยใช้วิทยาลัยป้องกันและปราบปรามยาเสพติดระหว่างประเทศเปน็ ศนู ย์การฝกึ อบรม พัฒนาระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างประเทศเพื่อประโยชน์ ในการวิเคราะห์สถานการณ์ และกำหนดนโยบายทา่ ทีการดำเนินความร่วมมอื ระหว่างประเทศ มาตรการความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ : แนวทางการดำเนนิ งาน มาตรการปราบปรามและบงั คับใชก้ ฎหมาย : แนวทางการดำเนนิ งานการสกดั ก้นั ยาเสพติด 1. แลกเปลี่ยนข้อมลู ขา่ วสารกับหนว่ ยงานในพื้นท่ี 2. ติดตามเครือข่ายการค้ายาเสพติดตามแนวชายแดนทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ และรูปแบบการค้า การลำเลยี งยาเสพติด 3. วิเคราะหข์ า่ วสารยาเสพตดิ เพอื่ แจ้งหน่วยความม่นั คง
๒๒ 4. กำหนดเป้าหมายเพ่อื ดำเนินการสืบสวน ขยายผลเครอื ขา่ ยทมี่ ีความเคลื่อนไหวตามแนวชายแดน 5. ประสานขอความร่วมมอื หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้องทั้ง ทางบก ทางนำ้ ทางอากาศใหม้ ีการเฝ้าระวัง 6. กำกับ ตดิ ตาม และรายงานผลการปฏิบตั ิ 7. การประชุมคณะอนุกรรมการสกดั กนั้ มาตรการปราบปรามและบังคบั ใช้กฎหมาย : แนวทางการดำเนนิ งานตอ่ พนื้ ทที่ มี่ ปี ัญหายาเสพตดิ มาตรการป้องกันยาเสพติด : กรอบการดำเนินงานสำคญั สร้างภูมิคุ้มกันในเด็กและเยาวชนแต่ละช่วงวัยอย่างเหมาะสม โดยเน้นการพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอนและเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตรที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย เพื่อป้องกันการเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหา ยาเสพตดิ ทั้งการใช้ยาเสพติดและการตกเป็นเหยื่อในการค้ายาเสพตดิ สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในกลุ่มแรงงาน ทั้งในและนอกระบบ โดยเน้นการสร้างความร่วมมือภาคีที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างการรับรู้ไม่ให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดทั้งการใช้และค้า รวมถึงส่งเสริมสถาน ประกอบการเพ่อื ให้โอกาสแกแ่ รงงานได้เข้าส่กู ารบำบัด และให้โอกาสผู้ผ่านการบำบัด เข้าทำงาน เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของครอบครัว โดยเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของครอบครัว โดยส่งเสริมให้ หน่วยงาน/องค์กร ด้านการพัฒนาครอบครัว ในพื้นที่ได้มีองค์ความรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาทักษะแก่ บตุ รหลาน ครอบครัวในพน้ื ท่ี เพอ่ื การปอ้ งกนั ปญั หายาเสพติด เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของหมู่บ้านชุมชน ในการเฝ้าระวัง ค้นหา ให้โอกาส ดูแลและช่วยเหลือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดในหมู่บ้านชุมชน รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาคุณภาพชีวิต เพอื่ การป้องกันปัญหายาเสพติดในหมู่บา้ นชมุ ชน
๒๓ มาตรการป้องกันยาเสพติด : แนวทางการดำเนินงาน มาตรการบำบดั รักษา : กรอบการดำเนนิ งานสำคัญ 1. นำผตู้ ดิ ยาเสพติดเขา้ รับการบำบดั รักษาโดยความสมัครใจเปน็ แนวทางหลัก 2. พฒั นาระบบการจดั การกบั ผ้เู สพเปน็ รายบุคคล มาตรการบำบัดรักษายาเสพตดิ : แนวทางการดำเนินงาน
๒๔ มาตรการบริหารจัดการ : กรอบการดำเนินงานสำคญั - การบริหารจัดการเชิงนวัตกรรม โดยการควบคุมและใช้ประโยชน์จากพืชเสพติดและการขยายนโยบาย ทางเลือกใหม่ในการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ - การสร้างการรับร้เู กีย่ วกับประมวลกฎหมายยาเสพติด - การกำหนดแนวทางการดำเนนิ งานรองรบั ประมวลกฎหมายยาเสพตดิ มาตรการบริหารจัดการ : แนวทางการดำเนนิ งาน มาตรการบริหารจัดการอยา่ งบรู ณาการ : 18 โครงการสำคัญ 1. โครงการอำนวยการขับเคล่อื นการควบคมุ พืชเสพตดิ 2. โครงการพฒั นาและวิจัยพืชเสพตดิ ทางการแพทย์ 3. โครงการขับเคลื่อนนโยบายทางเลือกรูปแบบใหม่ 4. โครงการขับเคลอ่ื นใหค้ ำปรกึ ษาดา้ นจิตสงั คมในระบบศาล 5. โครงการสกดั กระท่อมเปน็ สารทดแทนเพ่ือบำบดั รักษาฯ 6. โครงการขบั เคลือ่ นตามแผนฯแดนภาคเหนือแบบเบด็ เสรจ็ ฯ 7. โครงการร้อยใจรักษ์ พ.ศ. 2562 – 2580 8. โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตฯ ในศนู ยพ์ ฒั นาโครงการหลวงเลอตอ 9. โครงการบูรณาการแผนงานและงบประมาณฯ 10. โครงการกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดำเนินงาน 11. โครงการประชาสัมพนั ธ์สร้างการรับรปู้ ระมวลกฎหมายฯ 12. โครงการวิจยั พฒั นางานวิชาการสนับสนุนการแกไ้ ขปญั หาฯ 13. โครงการอำนวยการและพฒั นาระบบข้อมูลฯ
๒๕ 14. โครงการพัฒนางานตรวจพิสจู น์ยาเสพติด 15. โครงการพฒั นากฎหมาย/ระเบียบฯ 16. โครงการพฒั นาบุคลากรดา้ นยาเสพตดิ 17. โครงการพฒั นาศนู ย์เรียนรูด้ า้ นยาเสพตดิ ระหว่างประเทศ 18. โครงการอำนวยการและบรหิ ารจดั การ ผลสัมฤทธิท์ ค่ี าดว่าจะได้รบั ในปี 2565 ปญั หายาเสพติดได้รบั การแก้ไขจนไม่สง่ ผลกระทบต่อการบริหารและพฒั นาประเทศ ตวั ชวี้ ดั : ระดับความสำเรจ็ ของการแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ดีข้ึนอยา่ งน้อย รอ้ ยละ 50 1. การปราบปรามและบังคับใช้กฎหมาย การสกดั กั้น ยาเสพตดิ นำเข้าส่งออกยาเสพติดเปรียบเทียบกับ ปริมาณยาเสพตดิ ท่จี บั กมุ ทั้งประเทศ 2. ปัญหาการเขา้ ไปเกีย่ วขอ้ งกบั ยาเสพติด ร้อยละของผูท้ ไี่ มเ่ ข้าไปเกย่ี วข้องกบั ยาเสพติด 3. การควบคุมปญั หายาเสพติด การเพิ่มขน้ึ ของหมูบ่ ้านชมุ ชนท่ไี ม่มีปญั หายาเสพตดิ 4. การมีสว่ นร่วมของประชาชน การเพ่ิมข้นึ ของหม่บู า้ นกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ 5. ความพงึ พอใจของประชาชน ความพงึ พอใจของประชาชนท่มี ตี ่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด
๒๖ กฎหมายยาเสพติดท่ีสำคัญ : นางสาวศริ ิพร ไชยสรู ยกานต์ และนางสาวกรชุดา พร้อมมลู ส่วนพัฒนาและวิจัย กฎหมาย กองกฏหมาย ประมวลกฎหมายยาเสพติด กรอบความคิด แบงกลุมบุคคลที่เขาไปยุงเกี่ยวกับยาเสพติดเพื่อกําหนดวิธีการแกไข ปญหาทีเ่ หมาะสม กลุมที่ 1 “เหยื่อ” ไดแก ผูเสพทั่วไปที่อาจถูกชักจูง ลอลวงใหเขามายุงเกี่ยวกับยาเสพติดมาตรการที่จะใช ดําเนินการกับคนกลุมนี้จะเนนท่ีมาตรการบําบัดรักษา มาตรการอื่นแทนการลงโทษจําคุก และ การติดตามดูแล ชวยเหลือ การสรางภมู ิคุมกนั โดยมีการดงึ ภาคประชาสังคมใหเขามารวมดแู ลชวยเหลือบุคคลกลุมน้ี กลุมที่ 2 “แรงงาน” ไดแก ผูรับจางขนยาเสพติดและนักคารายยอย บุคคลกลุมนี้มีความเกี่ยวของกับยาเสพติด ในฐานะที่เปนผูจําหนาย ผูลําเลียงยาเสพติด บุคคลกลุมนี้แมวาจะไดรับผลประโยชนจากการคายาเสพติด แตก็ เพียงเล็กนอยเมื่อเทียบกับนักคารายใหญ มาตรการที่สําคัญที่ใชกับบุคคลกลุมนี้ จึงเนนไปที่การใชเครื่องมือทาง กฎหมายตางๆ เพื่อขยายผลไปยังกลุมนักคารายใหญ เพื่อใหไดตัวการใหญที่อยูเบื้องหลังมาดําเนินคดี รวมถึง การปรับปรงุ อัตราโทษของบคุ คลกลุมนี้ใหมีความเหมาะสม กลุมที่ 3 “นักคารายใหญ” ไดแก กลุมนายทุนที่อยูเบื้องหลังการลักลอบคายาเสพติด เปนกลุมที่ไดรับ ผลประโยชนตัวจริง จากการลักลอบคายาเสพติด จึงเปนกลุมบุคคลที่กฎหมายฉบับนี้มุงนําตัวมาดําเนินคดีและ ลงโทษ มาตรการที่ใชกับคนกลุมนี้คือมาตรการลงโทษทางอาญาท่ีเดด็ ขาดและรุนแรง มาตรการสบคบ มาตรการ ริบทรพั ยสนิ และการริบทรัพยสนิ ตามมลู คา เปนตน กรอบแนวคดิ ท่สี ําคญั ของรางประมวลกฎหมายยาเสพติด 1. กําหนดนโยบายหรือแผนระดับชาติวาดวยการปองกัน ปราบปรามแกไขปญหายาเสพติด การจัดโครง สรางและกลไกในการบริหารจัดการปญหา 2. กาํ หนดนโยบายตวั ยาเสพติด การนําไปใชประโยชนทางการแพทยและเศรษฐกิจอยางเหมาะสม 3. มองปญหาผูเสพหรือผูติดยาเสพติดในมิติของปญหาดานสาธารณสุขและสุขภาพมากขึ้น มิใชถือวา เปนปญหาทางอาชญากรรมอยางเดยี ว 4. วางกรอบการลงโทษผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดที่ได สัดสวนและความเหมาะสมกับ ความรายแรงของการกระทาํ ความผิด 5. มุงเนนตอการทาํ ลายโครงสรางหรือเครือขายการคายาเสพติดท่ีสําคัญ พชื กระทอม ผลของการถอดพชื กระทอมออกจากยาเสพติดใหโทษ ในประเภท ๕ - ยกเลกิ ความผดิ และโทษเกย่ี วกับพชื กระทอม ไมถกู ควบคมุ ตามกฎหมายวาดวยยาเสพติด - กระทรวงสาธารณสุข ออกประกาศฯ ยกเลิกระบพุ ชื กระทอมจากยาเสพติดใหโทษในประเภท ๕ (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ระบุชื่อยาเสพติดใหโทษในประเภท ๕ (ฉบบั ที่ ๒)) - ประชาชน นําเขา - สงออก จําหนาย ครอบครอง และบรโิ ภคพชื กระทอมได - การนาํ ใบกระทอมมาแปรรูปเปนสนิ คาหรือผลิตภัณฑตองขออนุญาตตามกฎหมายวาดวยผลติ ภณั ฑนัน้ ๆ - การควบคมุ และกาํ กับดูแลพืชกระทอม กําหนดในรางพระราชบัญญัติพืชกระทอม
๒๗ สาระสําคัญของรางพระราชบัญญตั ิพชื กระทอม ๑. การใชใบกระทอมเปนวัตถุดิบหรือสวนประกอบในผลิตภัณฑสมุนไพร ยา อาหาร เครื่องสําอาง หรือ ผลิตภัณฑใด ที่มีกฎหมายบัญญัติไวเปนการเฉพาะ รวมถึงการนําเขา สงออก ขาย และโฆษณา ใหเปนไปตาม กฎหมายวาดวยการนั้น เวนแต กรณีที่บัญญัติไวในหมวด ๖ การบริโภคใบกระทอมและการปองกันการใช้ ใบกระทอมในทางทีผ่ ิด ๒. ใหสํานกั งาน ป.ป.ส. สงเสริมพชื กระทอมใหเปนพืชเศรษฐกิจและการใชตามวถิ ีชุมชน 2.๑ สนับสนุนการเพาะปลูกเพอื่ ใชตามวิถีชุมชนและพฒั นาเปนพืชเศรษฐกิจ 2.2 สงเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะปลูก การพัฒนาพันธุ การผลิต การจัดการและการตลาด 2.3 ใหความรู และจดั ทําคาํ แนะนํา คูมอื หนังสือวิชาการ หรอื เอกสารอื่นใด เพอ่ื เผยแพรความรู และพัฒนาศักยภาพผูประกอบการในการใชประโยชนจากพืชกระทอม ๓. การเพาะหรือปลูกพืชกระทอม สามารถกระทําได โดยไมตองขอรับอนุญาต ไมจํากัดจํานวนหรือ ปริมาณ ๔. การนําเขาหรือสงออกใบกระทอม ตองไดรับใบอนุญาตจากเลขาธิการ ป.ป.ส. หรือผูที่เลขาธิการ ป.ป.ส. มอบหมาย ๕. ผูขออนญุ าตนาํ เขา หรือสงออก ตองมคี ุณสมบตั ิและไมมลี ักษณะตองหาม (อายุใบอนุญาต ๕ ป) ๖. ผูรับใบอนุญาตฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามที่ กม. กําหนด ใหผูอนุญาตมีอํานาจสั่งพักใชหรือเพิกถอน ใบอนญุ าตได้ ๗. การอทุ ธรณคาํ ส่ัง ๘. หามขายใบกระทอม นํ้าตมใบกระทอม หรืออาหารตามกฎหมายวาดวยอาหารที่มีใบกระทอม เปนวัตถุดิบ หรือสวนประกอบ แกผู้ที่มีอายุต่ำกวา ๑๘ ป สตรีมีครรภ และสตรีใหนมบุตร เวนแตเปนอาหารท่ี รมว.ยธ. ประกาศกําหนด ๙. หามขายใบกระทอมหรือน้ำต้มใบกระทอม ในสถานที่หรอื โดยวิธกี าร ดงั น้ี ๑. ขายในสถานศกึ ษาตามกฎหมายวาดวยการศกึ ษาแหงชาติ ๒. ขายในหอพกั ตามกฎหมายวาดวยหอพัก ๓. ขายในสวนสาธารณะ สวนสัตว และสวนสนกุ ๔. ขายโดยใชเครอื่ งขาย ๑๐. หามโฆษณาหรือทาํ การสอ่ื สารการตลาด ๑๑. หามบรโิ ภคใบกระทอมหรือน้ำตมใบกระทอม ทีป่ รงุ หรือผสมกบั ยาเสพติดใหโทษ วัตถุออกฤทธิ์ หรือ วตั ถุอนั ตราย (๔X๑๐๐) ๑๒. หามจงู ใจ ชกั นํา ยยุ งสงเสรมิ ใชอบุ ายหลอกลวง ขูเขญ็ ๑๓. ใหมีพนกั งานเจาหนาที่ ๑๔. กําหนดบทลงโทษผูฝาฝนหรือไมปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย
๒๘ ๑๕. ความผิดที่มีโทษปรบั สถานเดยี ว หรือเปนความผดิ ทีม่ ีโทษจําคุกไมเกิน ๑ ป เลขาธิการ ป.ป.ส. หรือ ผูซึ่ง เลขาธิการ ป.ป.ส. มอบหมาย มีอํานาจเปรียบเทียบ ๑๖. บทเฉพาะกาล กัญชา
๒๙ การพัฒนาตนเองในการปฏิบัติราชการ : นายศิริสุข ยืนหาญ สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด การพัฒนากรอบทักษะ (Skillsets) ตามแนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ พ.ศ. 2563 - 2565 ของสำนักงาน กพ. (มติครม. เม่อื วันท่ี 28 ตลุ าคม 2563) 5 ทกั ษะด้านภาวะผนู้ ำ Leadership Skillset การยึดม่นั ในมาตรฐานจริยธรรมและความเปน็ มืออาชพี ทักษะดจิ ิทัล ทกั ษะการส่อื สารโนม้ นา้ ว ทักษะการคดิ อยา่ งเป็นระบบและสรา้ งสรรค์ ทกั ษะดา้ นภาษาตา่ งประเทศ 5 ทกั ษะเชงิ ยุทธศาสตร์Strategic Skillset ตอบสนองต่อบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งมิติการทำงานและการใช้ชีวิตนำไปสู่การสร้าง นวตั กรรมและการเปลีย่ นแปลงในภาครฐั การกำหนดวสิ ยั ทศั นแ์ ละกลยทุ ธ์ การพฒั นาตนเองและผู้อื่นและสร้างการมีสว่ นร่วม การสร้างและสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการทำงานบูรณาการและความรว่ มมืออย่างเต็มท่ี การผลักดนั ให้เกดิ นวตั กรรมและการเปล่ยี นแปลง การผลักดันให้เกิดการปฏิบตั แิ ละผลสมั ฤทธ์ิ ทกั ษะด้านภาวะผู้นำ (Leadership Skillset) ตามกรอบทกั ษะในการพฒั นานักบริหารระดับสงู ช่วยใหบ้ คุ ลากรบรหิ ารจัดการงานของตนเองได้ตามบทบาทหน้าที่ เตรียมความพร้อมตนเองในการเตบิ โต ตามเส้นทางอาชีพ การยดึ ม่ันในมาตรฐานจรยิ ธรรมและความเปน็ มอื อาชพี เป็นแบบอย่างยึดถือมาตรฐานจริยธรรมและความเป็นมืออาชีพ เป็นแบบอย่างในการทำงาน ท่ีเคารพ ไม่ลว่ งละเมิด ไม่เลือกปฏบิ ัติ เปน็ กลาง ไม่ฝกั ใฝฝ่ ่ายใด ทกั ษะดา้ นดิจิทลั กำหนดกระบวนงานหลักขององค์กรดิจิทัลที่ควรจะเป็น ส่งเสริมและผลักดันให้บุคลากรปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรมและรูปแบบการทำงาน ปฏบิ ัติตาม กม./กรอบธรรมาภบิ าล/หลักปฏบิ ัตทิ ่ดี ีด้านดจิ ิทัล ใช้เคร่ืองมือดิจิทัล เพอื่ การทำงาน ทกั ษะการสื่อสารโนม้ น้าว สื่อสารกับผู้คนได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกระดับ ใช้รูปแบบการสื่อสารและบริหารจัดการข้อมูลที่มี ความละเอียดอ่อน วิเคราะห์และทำความเข้าใจกับสารหรือข้อมูลจากหลายแหล่ง ระบุกลยุทธ์การสื่อสารที่ เหมาะสมเพ่อื ส่ือสารกบั ผ้คู นทแ่ี ตกตา่ งหลากหลาย
๓๐ ทกั ษะการคดิ อยา่ งเป็นระบบและสรา้ งสรรค์ การคิดค้นหาแนวทางใหม่เพื่อใช้การการทำงานหรือพัฒนาแนวทางที่มีอยู่เดิมให้เป็นรูปแบบใหม่ อาจใช้ วธี กี ารคิดนอกกรอบและการใช้ทรพั ยากรอย่างสร้างสรรค์ ทักษะด้านกาษาตา่ งประเทศ ทักษะเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Skillset) ตามกรอบทักษะในการพัฒนานักบริหารระดับสูง หลักสูตร นักบริหารตอบสนองต่อบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วทั้งมิติการทำงานและการใช้ชีวิตนำไปสู่การสร้าง นวัตกรรมและการเปล่ียนแปลงในภาครฐั การกำหนดวิสยั ทศั นแ์ ละกลยทุ ธ์ คาดการณ์ผลกระทบระยะยาวของทิศทางประเทศ/โลก นัยยะทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมท่ีมีต่อองค์กรและภารกจิ งาน กำหนดแผนกลยทุ ธท์ ีส่ อดคลอ้ งกับทิศทางและภารกิจเร่งด่วน/สำคัญ ขององคก์ ร สรา้ งการมีส่วนรว่ ม การพฒั นาตนเองและผอู้ น่ื และสรา้ งการมีส่วนรว่ ม การพัฒนาศกั ยภาพและพฒั นาผลการปฎิบตั ิงานของตนองและผอู้ ่นื ด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม การสร้างและส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การทำงานบรู ณาการและความร่วมมืออย่างเตม็ ท่ี สร้างและรักษาเครือข่ายการทำงาน แสวงหาโอกาสในการสร้างพันธมิตรเชิงกลยุทธ์กับภาคส่วนต่าง ๆ ใหค้ วามสำคญั กบั การเขา้ ใจมมุ มองของผู้อ่นื ตระหนักถึงการมีสว่ นร่วมและบทบาทของผูอ้ น่ื ผลักดันให้เกิดนวตั กรรมและการเปล่ียนแปลง แสวงหา/ส่งเสริม/ยอมรับแนวคิดริเริ่ม การปรับปรุง และความเสี่ยงที่รับได้แสวงหาโอกาสใน การสร้างนวัตกรรมและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลง กำหนดกลยุทธ์ในการบริหารจัดการความเสี่ยง กระตุ้นให้เกิด สภาพแวดล้อมที่เปิดกว้าง เรียนรู้จากความผิดพลาดและความล้มเหลว สร้างการมีส่วนร่วม แสดงความยืดหยุ่น ทางความคดิ การผลกั ดันใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั ิและผลสัมฤทธ์ิ เน้นการทำงานที่มีประชาชน/ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง สร้าง/สนับสนุนทางเลือกในการตัดสินใจ กำหนดกลยทุ ธ์ไปใชใ้ นการบริหารจดั การคน/งาน/ระบบ กำกบั ดูแล ให้มีการวางแผน/ตรวจสอบการใช้งบประมาณ
๓๑ หลกั สตู รประจำของสำนักงาน ป.ป.ส.
๓๒ การเขียนหนังสือราชการ : นางสาวสุพิชฌาย์ กลิ่นหอม ส่วนระเบียบกลาง สํานักกฎหมายและระเบียบกลาง สํานกั งานปลัดสํานักนายกรฐั มนตรี ระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรวี ่าด้วยงานสารบรรณ มีด้วยกัน ๔ ฉบบั ดังนี้ ๑. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนพิเศษ 99 ง วันที่ 23 กันยายน 2548 ประกาศปรับปรงุ ระเบียบ สำนกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506 ๒. เปลี่ยนชื่อเป็น ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และระเบียบสำนัก นายกรฐั มนตรวี ่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2548 3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐ แก้ไขเพิ่มเติมระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ เพื่อระบุตําแหน่ง ประเภทตําแหน่ง และระดับตําแหน่ง ของข้าราชการพลเรอื น และพนักงานส่วนท้องถน่ิ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 เป็นระเบียบที่ใช้เป็นแนวทาง ในการดำเนินงาน ด้านเอกสารของทางราชการ ที่เรียกกันว่า \"งานสารบรรณ\" คือ งานที่เกี่ยวกับการบริหารงาน เอกสาร เริ่มตั้งแต่ การจดั ทาํ การรบั การส่ง การเก็บรกั ษา การยมื และการทาํ ลายเอกสาร ๔. ระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔ ใหใ้ ชค้ วามต่อไปนี้แทน “ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร หรือหนังสือ ผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยรวมถึงการรับส่งโดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ของส่วน ราชการหรือท่ีส่วนราชการจัดใหแ้ ก่เจ้าหนา้ ท่ี และระบบสอ่ื สารทางอเิ ล็กทรอนิกส์อ่นื ใดตามท่ีหวั หน้าส่วน ราชการ กำหนดดว้ ย” ใหเ้ พม่ิ บทนยิ ามคำว่า “หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส”์ ระหว่างบทนิยามคำว่า “ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนกิ ส”์ และคำว่า “ส่วนราชการ” ในข้อ ๖ แห่งระเบียบ สำนกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ “หนังสืออิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า หนังสือราชการที่จัดทำและได้รับ ส่ง หรือเก็บรักษาด้วย ระบบ สารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์” “ในกรณีที่บันทึกจัดทำในระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยการพิมพ์ข้อความ ในไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบสื่อสารอื่นใดที่มีการยืนยันตัวตน จะพิมพ์ชื่อผู้บันทึกแทนการลงลายมือชื่อก็ได้ และ จะไมล่ งวนั เดอื น ปีท่บี ันทึกก็ได้หากระบบมกี ารบันทึกวนั เดือน ปี ไว้อยู่แลว้ ” “สื่อกลางบันทึกข้อมูลตำมวรรคหน่ึง หมายความว่า สื่อใด ๆ ที่อาจใช้บันทึกข้อมูลได้ด้วย อุปกรณ์ทาง อิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอดท้ังพ้ืนที่ที่ส่วนราชการใช้ในกำรจัดเก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วย เช่น บริการคลาวด์ (cloud computing)” ภาคผนวก ทา้ ยระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และท่ีแก้ไขเพมิ่ เติม ภาคผนวก ๑ การกำหนดเลข เช่น หนังสือออก ที่ ยธ. รหัส พยญั ชนะ เลขที่หนงั สือผสู้ ่ง ภาคผนวก ๒ คำข้ึนต้น สรรพนาม คำลงทา้ ยในหนงั สือราชการ และคำที่ใช้ในการจ่าหน้าซอง เช่น นายกรฐั มนตรี, อยั การสงู สดุ ลงท้าย กราบเรียน
๓๓ ภาคผนวก ๓ การลงชื่อและตำแหน่ง ภาคผนวก ๔ หนงั สือราชการภาษาองั กฤษ ภาคผนวก ๕ การกำหนดเลขหนังสือออก และการออกหนังสือราชการของส่วนราชการที่ประจำใน ต่างประเทศ ภาคผนวก ๖ หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ หนังสือราชการ ด้วยระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ภาคผนวก ๗ หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ คำอธบิ าย ภาคผนวกท้ายระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และ ทแี่ ก้ไขเพมิ่ เตมิ คำอธบิ าย ๑ ความหมายของงานสารบรรณ คำอธิบาย ๒ วิธีการบันทึก คำอธิบาย ๓ การร่างหนงั สอื คำอธบิ าย ๔ การเขียนและการพมิ พ์ คำอธบิ าย ๕ การกำหนดตัวเลขสำหรับใช้เป็นหวั ขอ้ คำอธิบาย ๖ การทำสำเนา โดยสำเนาคู่ฉบบั เกิดพร้อมต้นฉบับ คำอธิบาย ๗ การเสนอหนังสือ เสนอตามลำดับช้ันบังคับบัญชา เว้นแต่มีกฎหมายให้ข้ามลำดับชั้นบังคับ บญั ชาได้ คำอธิบาย ๘ การจ่าหน้าซอง คำอธิบาย ๙ การควบคมุ และเร่งรัดงานสารบรรณ คำอธิบาย ๑๐ รายงานการประชมุ สำหรับเนื้อหาการบรรยายประกอบด้วย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และฉบบั แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ พรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ โดยมสี าระสำคญั ดงั น การใช้บังคับของระเบียบ ซ่ึงระเบียบน้ีใช้บังคับแก่ส่วนราชการ กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถ่ิน หมายรวมถึงคณะกรรมการ คือ คณะบุคคลที่ถูกแต่งตั้งขึ้นทำเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เกิดจากระเบียบ เกิดจากคำสั่ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ หากส่วนราชการใดมคี วามจำเป็นทจี่ ะต้องปฏิบตั งิ านสารบรรณนอกเหนอื ไปจากที่ได้กำหนด ไว้ในระเบียบน้ี ให้ส่วนราชการขอทำความตกลงกับผู้รกั ษาการตามระเบยี บน้ี ซ่งึ ก็คือ ปลดั สำนักนายกรฐั มนตรี การใช้บงั คับของระเบยี บ ในกรณีท่กี ฎหมายระเบยี บว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ หรือ ข้อมูล ข่าวสาร และสิ่งอื่นใดบรรดาที่ถือว่าเป็นความลับของทางราชการ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับ ของทาง ราชการ ข้อมูลข่าวสารลับ หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ (มาตรา ๑๔ ลับมาก หมายความถึง ข้อมูลข่าวสารลับซ่ึงหากเปิดเผยทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนจะก่อให้เกิด ความเสียหายแก่ประโยชน์ แห่งรัฐอย่างร้ายแรง มาตรา ๑๕ ลับ หมายความถึง ขอ้ มลู ข่าวสารลับซึ่งหากเปิดเผย ทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนจะ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์แห่งรัฐ) ที่มีคำสั่งไม่ให้เปิดเผยและ อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแล ของหน่วยงานของรฐั ไม่วา่ จะเป็นเรื่องทเ่ี ก่ียวกบั การดำเนินงานของรฐั หรือทเี่ กยี่ วกับเอกชน ซ่ึงมีการกำหนดให้มี
๓๔ ชั้นความลับเป็น ช้ันลับ ช้ันลับมาก หรือช้ันลับทสี่ ุด ตามระเบยี บนี้ โดยคำนึงถงึ การปฏบิ ตั ิหนา้ ทข่ี องหน่วยงานของ รฐั และประโยชน์แห่งรฐั ประกอบกนั เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิด เปน็ ข้อยกเวน้ ไม่ได้ดทู ีส่ าระ แต่ดทู ่ีข้อมูลครอบครอง สิทธิทีไ่ ดร้ บั รู้ข้อมูลข่าวสารเป็นหลัก ข้อมูลข่าวสาร ที่ไม่ตอ้ งเปิดเผย เช่นข้อมูลข่าวสารของราชการท่ีอาจก่อให้เกิด ความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ จะเปิดเผยมิได้ ในมาตรา 15 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะ อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปน้ี หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ โดยคำนึงถึงการ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ตามกฎหมาย ของหน่วยงานของรัฐประโยชนส์ าธารณะ และประโยชนข์ องเอกชนท่ีเก่ยี วข้องประกอบ กัน ๑. การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือ ความมัน่ คงในทางเศรษฐกจิ หรือการคลงั ของประเทศ ๒. การเปิดเผยจะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพหรือไม่อาจสำเร็จตามวัตถุประสงคไ์ ด้ ไม่ วา่ จะเกีย่ วกับการฟ้องคดี การป้องกันการปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ หรือ การรูแ้ หล่งทม่ี า ของข้อมูล ข้าวสารหรือไมก่ ็ตาม ๓. ความเห็นหรือคำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องหน่ึงเรื่องใด แต่ทั้งน้ี ไม่รวมถึง รายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นำมาใช้ในการทำความเห็น หรือคำแนะนำภายใน ดังกล่าว ๔. การเปิดเผยจะก่อใหเ้ กิดอันตรายต่อชีวติ หรอื ความปลอดภยั ของบุคคลหนึ่งบคุ คลใด ๕. รายงานการแพทย์หรือขอ้ มลู ข่าวสารส่วนบุคคลซ่ึงการเปิดเผยจะเปน็ การรกุ ล้ำสิทธสิ ่วนบุคคลโดย ไม่สมควร ๖. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผยหรือข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มาโดยไม่ ประสงคใ์ ห้ทางราชการนำไปเปิดเผยต่อผ้อู ื่น ๗. กรณอี ืน่ ตามทีก่ ำหนดในพระราชกฤษฎกี า คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ แต่ต้องระบุไว้ด้วย ว่าที่เปิดเผย ไมไ่ ด้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใดและเพราะเหตใุ ด และใหถ้ ือว่าการมีคำส่ังเปิด เผยข้อมูล ขา่ วสารของราชการ เป็นดุลพินิจโดยเฉพาะของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามลำดับสายการบังคับบัญชา แต่ผู้ขออาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ วินิจฉยั การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ตามท่ีกำหนดในพระราชบัญญตั ิน้ี ทกุ ห้าปีเป็นอย่างน้อย ใหน้ ายกรัฐมนตรีจัดให้มี การทบทวนการปฏิบัตกิ ารตามระเบียบนี้และพจิ ารณาแก้ไข เพ่ิมเตมิ ระเบียบนี้ให้เหมาะสม ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ รักษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 และท่แี ก้ไขเพิม่ เตมิ มชี ้ันความลบั ดงั นี้
๓๕ หนงั สอื ราชการ คือ เอกสารท่เี ป็นหลกั ฐานในราชการ ไดแ้ ก่ ๑. หนังสอื ทไ่ี ปมาระหว่างสว่ นราชการ ๒. หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใด ซี่งมิใช่ส่วนงานราชการ หรือที่มีไปถึง บุคคลภายนอก ๓. หนงั สอื ที่หน่วยงานอ่นื ใดซง่ึ มิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมาถงึ ส่วนราชการ ๔. เอกสารทท่ี างราชการจัดทำขนึ้ เพอ่ื เป็นหลักฐานในราชการ ๕. เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึน้ ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบงั คบั ๖. ข้อมูลขา่ วสารหรือหนังสอื ทไ่ี ดร้ ับจากระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชนิดและแบบของหนังสอื ราชการ ๑. หนังสือภายนอก (แบบท่ี ๑) ๒. หนงั สือภายใน (แบบที่ ๒) ๓. หนงั สือประทับตรา (แบบท่ี ๓) ๔. หนงั สือสง่ั การ คำสงั่ (แบบที่ ๔) ระเบียบ (แบบที่ ๕) ขอ้ บงั คบั (แบบที่ ๖) ๕. หนังสือประชาสมั พันธ์ ประกาศ (แบบที่ ๗) แถลงการณ์ (แบบท่ี ๘) ข่าว (แบบที่ ๙) ๖. หนงั สือทเี่ จ้าหน้าท่จี ดั ทำข้ึน หรือรบั ไว้เป็นหลักฐานในราชการ หนังสอื รบั รอง (แบบท่ี ๑๐) รายงานการประชมุ (แบบที่ ๑๑) บันทึก หนังสอื อ่ืน
๓๖ ๑. หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี หรือติดต่อระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมี ถึงหนว่ ยงานอื่นใดท่ีมใิ ช่สว่ นราชการ หรอื ท่มี ถี ึงบคุ คลภายนอก ใหใ้ ช้กระดาษตราครุฑ ชน้ั ความเรว็ สีของตัวอักษรจะใช้สีแดงเทา่ นัน้ แบ่งเปน็ ๓ ประเภท คอื ๑. ด่วนท่สี ดุ ให้เจ้าหน้าทปี่ ฏิบัตทิ นั ทีที่ไดร้ ับหนังสอื นั้น ๒. ด่วนมาก ใหเ้ จา้ หนา้ ทปี่ ฏบิ ัติโดยเรว็ ๓. ดว่ น ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ปี ฏิบัตเิ รว็ กว่าปกติ เท่าท่ีจะทำได้ การออกเลขหนังสือของหน่วยงาน ข้อสังเกต สำหรับสำนักงาน ป.ป.ส. เลขที่ออกหนังสือของหน่วยงาน ถ้าหัวหน้าส่วนราชการหรือปฏิบัติ ราชการแทน เป็นผู้ลงนาม ต้องออกเลขหนังสือในนามของสำนักงาน แต่ถ้าผู้อำนวยการกอง/สำนักเป็นผู้ลงนาม ไม่ได้ลงนามในฐานะปฏิบัติราชการแทน หรือรักษาราชการแทน ต้องออกเลขภายในกอง/สำนักนั้ น ๆ หากถ้า ผู้อำนวยการกอง/สำนักเป็นผลู้ งนามในฐานะปฏิบัตริ าชการแทน หรอื รักษาราชการแทนจะต้องออกเลขหนังสือใน นามสำนักงาน ป.ป.ส. ซึ่งที่ผ่านมาผู้อำนวยการกอง/สำนัก ลงนามแม้จะลงนามในฐานะปฏิบัติราชการแทน หรือ รักษาราชการแทน จะออกเลขหนังสือของกอง/สำนักนั้น ๆ โดยเป็นการออกเลขหนังสือไม่ได้คำนึงถึงผู้ลงนามใน ฐานะใด แตอ่ อกเลขภายในกอง/สำนัก เลขทห่ี นงั สือออกของราชการสว่ นกลาง
๓๗ เลขทหี่ นังสือออกของราชการสว่ นภมู ิภาค เลขท่หี นังสอื ออกของคณะกรรมการ การกําหนดเลขที่หนังสือออกของคณะกรรมการ ให้ลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจ้าของเรื่อง ในกรณีทค่ี ณะกรรมการประสงคจ์ ะกําหนดรหสั ตัวพยัญชนะเพมิ่ ขึ้น ใหก้ ําหนดไดไ้ มเ่ กินสี่ตวั โดยใหอ้ ยู่ในวงเล็บต่อ จากรหัสตัวพยญั ชนะของเจ้าของเรื่องและรหัสตัวพยัญชนะดังกล่าวจะต้องไม่ซำ้ กับรหัสตวั พยัญชนะทก่ี ําหนดไว้ใน ภาคผนวก ๑ แล้วตอ่ ด้วยเลขประจําของเจา้ ของเรอ่ื ง
๓๘ หนงั สือเวยี น หนังสือเวยี น คอื หนังสอื ทีม่ ถี ึงผรู้ ับเป็นจํานวนมาก ตัง้ แต่ 2 ผู้รับ โดยมใี จความอย่างเดยี วกัน ให้เพิ่มรหัสตัวพยัญชนะ ว หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง ซึ่งกําหนดเป็นเลขที่หนังสือเวียน โดยเฉพาะ เร่ิม ตั้งแต่เลข ๑ เรียงเป็นลําดับไปจนถึงสิ้นปีปฏิทิน หรือใช้เลขที่ของหนังสือทั่วไป ตามแบบหนังสือภายนอก อย่าง หนงึ่ อยา่ งใด เมือ่ ผรู้ บั ไดร้ บั หนังสอื เวยี นแลว้ เหน็ ว่าเรือ่ งน้นั จะต้องให้หนว่ ยงานหรอื บคุ คลในบังคบั บญั ชาในระดับต่าง ๆ ไดร้ ับทราบดว้ ย กใ็ หม้ ีหนา้ ท่จี ดั ทาํ สําเนา หรือจัดสง่ ให้หน่วยงาน หรอื บคุ คลเหลา่ น้นั โดยเร็ว สว่ นราชการเจา้ ของหนงั สอื ให้ลงชื่อส่วนราชการ สถานที่ราชการ หรือคณะกรรมการ ซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือนั้น สามารถใช้ได้ทั้ง 3 รูปแบบ โดยเว้น 1 คานเคาะ ซึ่งปกติให้ลงทีต่ ั้งไว้ด้วย ในกรณีของ ปปส.ภาค การใช้ที่ตั้งต้องขอทำข้อตกลง หรือ อาจทำบันทกึ ไวว้ ่าใหต้ อบกลับที่อยู่ใด
๓๙ เรอ่ื ง - ใหล้ งเรอ่ื งย่อท่เี ป็นใจความใหส้ ้นั ท่สี ดุ ของหนังสือฉบับนัน้ - ในกรณหี นงั สอื ตอ่ เนอื่ ง ใหล้ งเรื่องเดมิ หลกั การเขยี นชือ่ เร่อื งท่ีดี - ย่อให้สน้ั ทสี่ ุด เช่น เรือ่ ง การลงโทษข้าราชการพลเรือนทก่ี ระทาํ ผดิ วนิ ัยขา้ ราชการ พลเรอื นฐานทุจรติ ต่อหน้าที่ ยอ่ เป็น เรื่อง การลงโทษข้าราชการพลเรอื น - ควรเขียนให้เป็นประโยค หรือวลี พอใหร้ ู้ใจความว่าเป็นเร่ืองอะไร โดยถ้าข้นึ ต้นด้วยกริยา จะทำให้เกิด ความชดั เจนมากข้ึน เช่น เรอื่ ง ขออนมุ ตั ิ เรอ่ื ง ขออนุญาต (อนมุ ตั ิ แปลว่าใหอ้ ำนาจกระทำการตามระเบยี บกำหนด ไว้ ตัวอย่าง ขออนุมตั ิเดินทางไปราชการ สว่ นอนญุ าต แปลว่า ยินยอม ยอมให้ ตวั อยา่ ง ขออนญุ าตลาป่วย) - แยกความแตกตา่ งจากเรอ่ื งอ่ืน ตัวอย่าง เรอื่ ง แจ้งมตคิ ณะรัฐมนตรี ให้ตั้งชอื่ เป็นมติในเรอ่ื งนัน้ ๆ - เกบ็ ค้นอ้างอิงไดง้ ่าย ตัวอย่าง เรอื่ ง ขอเชญิ ประชุม ให้ใส่รายละเอยี ด หรือครง้ั ท่/ี ปี พ.ศ. เพ่ือสืบคน้ ได้งา่ ย - การใชช้ ่อื เรอื่ งเดมิ อาจทำให้ผูร้ ับเกิดความสับสน นิยมใชก้ ับผ้รู บั หนังสอื แล้วตอบกลบั โดยการทำใหก้ รยิ าเปน็ คำนาม - ต้องไม่ใชช้ ่อื เรือ่ งที่ไม่พึงประสงค์ ตวั อย่าง เรอื่ ง การไมอ่ นุมตั ิเลื่อนเงินเดือนนอกเหนือโควตาปกติเปน็ กรณีพเิ ศษ เปน็ เรอื่ ง การขออนุมัติเล่ือน เงินเดอื นนอกเหนอื โควตาปกติเป็นกรณีพิเศษ - ช่อื เร่ืองต้องตรงประเดน็ และสอดคลอ้ งกับสว่ นสรปุ ความ เรอ่ื ง ขอเชญิ วิทยากรบรรยาย เรยี น ปลัดสํานักนายกรฐั มนตรี หมายความถงึ ขอเชิญวทิ ยากรบรรยายโดยอาจไม่ใช่ปลัดสาํ นักนายกรฐั มนตรี “จัก” แสดงเจตจำนงค์ ส่วน “จะ” คำช่วยกริยาบอกอนาคต เลือกใช้ตามวัฒนธรรมองค์กร เช่น จัก ขอบคณุ เปน็ อยา่ งยิง่ - อาจใช้คำนามเปน็ ช่ือเร่ืองได้ กรณที มี่ คี วามหมายกวา้ งและเปน็ กลาง คำขึ้นต้นและคำลงท้าย ให้ใช้คำขึ้นต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือ แล้วลงตำแหน่งของผู้ที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีมีถึงตัวบุคคลไม่เกี่ยวกับตำแหน่งหน้าที่ และให้ใช้คำลงท้ายตามฐานะของผู้รับหนังสือ ซึ่งคำข้ึนตน้ และคำลงทา้ ยจะต้องสอดคล้องกนั เช่น คำขน้ึ ตน้ กราบเรยี น นายกรฐั มนตรี เรียน ทา่ นรองนายกรัฐมนตรี (.............................................) เรยี น ปลัดสาํ นักนายกรฐั มนตรีผ่าน รองปลดั สํานกั นายกรัฐมนตรี (............................)
๔๐ ในวงเลบ็ เม่ือตำแหน่งน้ันมีหลายคนดำรงตำแหนง่ ให้วงเลบ็ ชอื่ คำลงท้าย ขอแสดงความนบั ถอื อยา่ งยงิ่ อา้ งถงึ (ถ้ามี) ใหอ้ ้างถึงหนังสอื ทเ่ี คยมตี ดิ ตอ่ กันเฉพาะหนังสือทส่ี ่วนราชการผรู้ ับหนงั สือได้รบั มาก่อนแล้ว จะ จากส่วนราชการใดก็ตาม โดยใหล้ งชอ่ื ส่วนราชการเจา้ ของหนังสือและเลขท่หี นังสือ วนั ที่ เดอื น ปีพุทธศกั ราช ของ หนังสือนั้น โดยให้อ้างถึงหนังสือฉบับสุดท้ายที่ติดต่อกันเพียงฉบับเดียว เว้นแต่มีเรื่องอื่นที่เป็นสาระสำคัญต้อง นำมาพจิ ารณา จึงอา้ งถงึ หนังสือฉบับอ่นื ๆ ท่เี ก่ยี วกบั เรอื่ งนั้นโดยเฉพาะใหท้ ราบด้วย อา้ งถึง หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรที ี่ นร ๐๑๐๖/ว ๑๑๓๓ ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ อ้างถึง หนังสอื สาํ นกั นายกรฐั มนตรีลบั ดว่ นทสี่ ดุ ที่ นร ๐๑๐๖/๑๑๓๔ ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕5 อ้างถึง หนงั สือ ท่ี นร ๐๑๐๖/ว ๑๑๓๓ ไมอ่ ้างถงึ สถานท่ี สำนักงาน แตอ่ า้ งถึงส่วนราชการ อ้างถึง หนงั สือศาลากลางจงั หวัดนนทบุรที ่ี นบ ............... ลงวนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕
๔๑ อ้างถงึ หนังสอื สาํ นกั งานเทศบาลตําบลไทรมา้ ท่ี นบ ........... ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ สง่ิ ท่ีส่งมาดว้ ย (ถ้ามี) ๑. ใหล้ งชอื่ สง่ิ ของ เอกสาร หรอื บรรณสารทสี่ ง่ ไปพรอ้ มกบั หนงั สอื นั้น ๒. กรณีท่ไี ม่สามารถสง่ ไปในซองเดยี วกนั ได้ ให้แจ้งด้วยวา่ ส่งไปโดยทางใด กรณี รับหนังสือแล้วคนส่งทำไม่ถูกต้อง 1. ให้คนส่งทำให้ถูกต้องก่อนค่อยลงรับหนังสือ 2.ลงรับหนังสือ แล้วใสห่ มายเหตไุ ว้ ใหผ้ ู้ส่งทำการแกไ้ ข ในสว่ นตำแหน่งของจำนวน (แผน่ ฉบบั ชดุ ) ระเบียบไมไ่ ดร้ ะบวุ ่าต้องใส่ในตำแหนง่ ใด ข้อความในหนังสือ ประกอบด้วย ๑. ใหล้ งสาระสำคัญของเร่อื งให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย ๒. หากมคี วามประสงค์หลายประการ ใหแ้ ยกเปน็ ขอ้ ๆ การลงชือ่ และตำแหนง่ ผู้ลงช่ือไดม้ ี 3 กลมุ่ 1. หัวหนา้ ส่วนราชการระดบั กรมขึน้ ไป หรอื ผวู้ า่ ราชการจังหวดั เปน็ ผู้ลงช่อื ในหนงั สือทกุ กรณี 2. การลงชื่อแทน ผู้ลงชื่อแทนจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับมอบหมาย หรือมอบอํานาจ ให้ปฏิบัติหน้าที่แทน รักษาราชการแทน รักษาการแทน ปฏิบัติราชการแทนรักษาการในตําแหน่ง หรือทําการแทน ตามที่มี กฎหมายกาํ หนด 3. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป หรือผู้ว่าราชการจังหวัด จะกําหนดให้ผู้ดํารงตําแหน่งใด ลง ชื่อในหนังสือได้เฉพาะหนังสือที่อยู่ในหน้าที่ของผู้ดํารงตําแหน่งนั้น หรือของส่วนราชการ ซ่ึงอยู่ในบังคับ บัญชาของผู้ดํารงตําแหน่งนั้น และหนังสือดังกล่าวไม่ก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์กับส่วนราชการระดับกรมหรือ จังหวัด ต่างจากกลุ่มท่ี 1 และ 2 ที่ก่อใหเ้ กิดนติ ิสัมพันธ์ การลงชือ่ และตําแหนง่ 1. ลงช่ือ ใหล้ งลายมอื ช่ือเจา้ ของหนังสอื และใหพ้ มิ พช์ อื่ เตม็ ของเจา้ ของลายมือช่ือไว้ใต้ลายมือชอื่ 2. ตำแหน่ง ให้ลงตำแหน่งของเจ้าของหนังสอื การลงช่ือแทน ให้ใชค้ ำวา่ นาย นาง นางสาว หน้าชื่อเต็ม ใต้ลายมือชื่อ (คำลงทา้ ย) (นางสาว................................................) ตำแหนง่ ยกเวน้ กรณดี ังตอ่ ไปน้ี 1. กรณีที่เจ้าของลายมือชื่อเป็นสตรีที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้ใช้ คำนำนามตามกฎหมายว่าด้วยการใช้คำนำนามสตรี เช่น สตรีทั่วไปซึ่งมีสามีที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชย์
๔๒ อิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษขึ้นไป หรือที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นทุติย- จุลจอมเกล้า ตติยจุลจอมเกล้า และจตุตถจุลจอมเกล้า ให้ใช้คำนำนามว่าท่านผู้หญิง หรือคุณหญิง แล้วแต่กรณี หนา้ ชอื่ เตม็ ใตล้ ายมอื ชอ่ื (คำลงท้าย) (คณุ หญงิ ...............................................) ตำแหนง่ 2. กรณีที่เจ้าของลายมือชื่อมีบรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์ ให้พิมพ์คำเต็มของบรรดาศักด์ิ หรือฐานนั ดรศักด์ิ ไวใ้ ตล้ ายมือชอ่ื (คำลงท้าย) (หม่อมเจา้ ...............................................) ตำแหน่ง 3. กรณีที่เจ้าของลายมีชื่อมียศต้องใช้ยศประกอบชื่อ ให้พิมพ์คำเต็มของยศไว้หน้าลายมือช่ือ และพิมพ์ชือ่ เตม็ ไว้ใตล้ ายมือชื่อ (คำลงทา้ ย) พลเอก (.................................................) ตำแหน่ง 4. กรณีท่ีมีกฎหมาย หรอื ระเบียบกำหนดใหใ้ ช้ตำแหน่งทางวิชาการเป็นคำนำหน้านามให้ถือ ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย หรอื ระเบยี บว่าดว้ ยการน้นั การใชต้ ำแหนง่ ทางวชิ าการเป็นคำนำหนา้ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการใช้ตำแหน่งทางวิชาการเป็นคำนำหน้านาม พ.ศ. ๒๕๓๖ ตำแหน่งทางวิชาการ หมายความว่า ตำแหน่งศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ หรือผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ซ่ึงได้รับคำแต่งตัง้ ตามกฎหมายว่าดว้ ยสถาบันอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเปน็ ตำแหน่งทางวชิ าการ ตำแหน่ง วชิ าการพเิ ศษ ตำแหนง่ ทางวชิ าการเกยี รตคิ ุณ หรอื ท่ีเรียกอย่างอื่นในลกั ษณะเดียวกนั
๔๓ (คำลงท้าย) (ศาสตราจารย์.................................................) ตำแหนง่ กรณีท่ผี ดู้ ำรงตำแหนง่ ทางวชิ าการมีสิทธใิ ช้คำนำหนา้ นามอย่างอื่นดว้ ย ให้เรียงตามลำดบั กอ่ นหลงั ดังน้ี 1) ตำแหนง่ ทางวิชาการ 2) ยศ 3) บรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ หรือคำนำหน้านามสตรีที่ได้รับพระราชทานเครื่องราช- อสิ ริยาภรณ์และมีสิทธใิ ชค้ ำนำหนา้ นามตามกฎหมาย ระเบียบ หรือ ประกาศของทางราชการ การเรยี กขานในงาน สารบรรณ “ศาสตราจารย์ พลเอก หม่อมเจ้า” การลงชื่อและตำแหนง่ แบบท่ี ๑ การลงชื่อและตำแหนง่ แบบท่ี ๒ (คำลงทา้ ย) (คำลงท้าย) พลเอก ศาสตราจารย์ พลเอก (ศาสตราจารย์ หม่อมเจา้ ..........................) (หม่อมเจา้ .........................) ตำแหนง่ ตำแหนง่ ข้อสังเกต กรณีเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ใช้อำนาจตามมาตรา ๑๔ (๗) มีหนังสือสอบถาม หรือให้ส่งบัญชี เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา มาตรา ๑๒ วรรค ๒ เจ้าพนักงานตำแหน่งใดหรือระดับใดจะมีอำนาจหน้าที่ ตามที่ได้กำหนดตามวรรค์หนึ่งทั้งหมด หรือต้องได้รับการแต่งตั้งมอบหมายอำนาจหน้าที่จากเลขาธิการ ป.ป.ส. จะต้องออกเลขหนังสอื และระบหุ น่วยงานของเจ้าพนกั งาน ป.ป.ส. นัน้ สังกัด สว่ นราชการเจ้าของเรือ่ ง ๑. ใหล้ งช่ือสว่ นราชการเจ้าของเรอ่ื ง หรอื หน่วยงานท่ีออกหนงั สือ ๒. สำหรับหนงั สอื ของคณะกรรมการให้ลงชอ่ื สว่ นราชการเจ้าของเรือ่ งวา่ “ฝา่ ยเลขานกุ าร” ข้อสังเกต กรณีทม่ี ีไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ ให้ใสไ่ ปรษณีย์อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ส่ี ่วนราชการกำหนดให้ โทร. โทรสาร โทร. ให้ลงหมายเลขโทรศัพท์ของส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือ หน่วยงานที่ออกหนังสือ และหมายเลข ภายในต้สู าขา (ถ้ามี) ไวด้ ้วย เชน่ โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๔๕๕๔ โทรสาร ใหพ้ มิ พห์ มายเลขโทรสารต่อจากหมายเลขโทรศัพท์
๔๔ ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ สำเนาส่ง (ถ้ามี) ใช้ในกรณีที่ผู้ส่งจัดทำสำเนาส่งไปให้ส่วนราชการ หรือบุคคลอื่นทราบ และประสงค์จะให้ผู้ รับทราบวา่ ไดม้ ีสำเนาส่งไปให้ผใู้ ดแลว้ โดยให้พิมพ์ช่ือเต็ม หรือช่อื ยอ่ ของสว่ นราชการ หรอื ช่ือบุคคลท่ีส่งสำเนาไป ให้ เพ่ือให้เป็นทเ่ี ขา้ ใจระหว่างผูส้ ่งและผู้รบั ถา้ หากมีรายชอื่ ท่ีสง่ จำนวนมาก ใหพ้ มิ พว์ า่ ส่งไปตามรายชือ่ ทีแ่ นบ และ แนบรายชอ่ื ท่สี ่งไปดว้ ย ๒. หนังสือภายใน คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีการน้อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือที่ติดต่อ ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรอื ตดิ ต่อต่างหนว่ ยงานในจังหวดั เดยี วกนั และใชเ้ ปน็ กระดาษบนั ทกึ ข้อความ ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ โดยมีรายละเอียดพอสมควร พร้อมท้ัง หมายเลขโทรศัพท์ (ถ้าม)ี ในสว่ นของยศ ใหพ้ ิมพค์ ำเตม็ ส่วนราชการที่ออกหนงั สอื ส่วนราชการเจา้ ของเรือ่ ง ระดบั กรมขน้ึ ไป ให้ลงชอื่ ทง้ั ระดับกรมและกอง ระดับต่ำกวา่ กรมลงมา ให้ลงชือ่ เพียงระดบั กอง หรือสว่ นราชการเจ้าของเรอื่ ง ในกรณีที่กระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดใด ประสงค์จะกำหนดแบบการเขียนโดยเฉพาะเพื่อใช้ตาม เหมาะสมกใ็ ห้กระทำได้ ๓. หนังสือประทับตรา เป็นหนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้ หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนระดับกรมขึ้นไปเป็นผู้รับผิดชอบชื่ อย่อ กำกับตรา และใชก้ ระดาษตราครุฑ ซง่ึ ใหใ้ ช้ได้ทัง้ ระหวา่ งสว่ นราชการกับสว่ นราชการ และระหว่างสว่ นราชการกับ บคุ คลภายนอก เฉพาะกรณีท่ีไมใ่ ช่เรื่องสำคัญ ไดแ้ ก่ ๑. การขอรายละเอียดเพมิ่ เติม ๒. การส่งสำเนาหนังสือ สิง่ ของ เอกสาร หรือบรรณสาร ๓. การตอบรบั ทราบทไ่ี มเ่ กย่ี วกบั ราชการสำคัญ หรือการเงิน
๔๕ ๔. การแจ้งผลงานทไ่ี ด้ดำเนนิ การไปแล้วใหส้ ว่ นราชการท่เี กยี่ วข้องทราบ ๕. การเตือนเรื่องทค่ี ้าง ๖. เรอ่ื งซึ่งหวั หนา้ สว่ นราชการระดับกรมขึน้ ไปกำหนดโดยทำเป็นคำสั่งให้ใชห้ นังสือประทบั ตรา ตราชอ่ื สว่ นราชการ ๔. หนงั สือสง่ั การ ใหใ้ ช้ตามแบบท่ีกำหนดไว้ในระเบยี บนี้ เวน้ แต่จะมีกฎหมายกำหนดแบบไวโ้ ดยเฉพาะ มี ๓ ชนิด ได้แก่ ๑) คำสั่ง คือ บรรดาข้อความท่ผี บู้ ังคับบญั ชาส่ังการใหผ้ ู้ปฏิบตั ิโดยชอบด้วยกฎหมาย ใชก้ ระดาษตราครุฑ ๒) ระเบียบ คือ บรรดาข้อความที่มีผู้มีอำนาจหน้าท่ีวางไว้ โดยจะอาศัยอำนาจของกฎหมายหรือไม่ก็ได้เพ่ือ ถอื เปน็ หลกั ปฏบิ ัติงานเปน็ การประจำ ใช้กระดาษตราครฑุ ๓) ข้อบังคับ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้ข้ออาศัยอำนาจของกฎหมาย ท่บี ญั ญตั ใิ ห้กระทำได้ ใช้กระดาษตราครุฑ ๕. หนังสือประชาสัมพันธ์ ให้ใช้ตามแบบที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ เว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดแบบไว้ โดยเฉพาะ มี ๓ ชนดิ ไดแ้ ก่ ๑) ประกาศ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบ หรือแนะแนวทางปฏิบัติ ใช้กระดาษตราครฑุ ๒) แถลงการณ์ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการของทางราชการ หรือเหตกุ ารณ์ หรอื กรณใี ด ๆ ใหท้ ราบโดยชัดเจนท่วั กนั ใชก้ ระดาษตราครุฑ
๔๖ ๓) ข่าว คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ทราบ ข่าวเป็นหนังสือชนิดเดียว ท่ี สามารถมรี ูปแบบแตกตา่ งไปจากแบบท่ีกำหนดได้ แต่ต้องมหี ัวข้อขา่ วตามระเบียบกำหนด ๖. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ คือ หนังสือที่ทางราชการทำขึ้นนอกเหนือจากท่ี กล่าวมาแลว้ ขา้ งต้น หรือหนงั สอื ทห่ี นว่ ยงานอื่นใดซ่ึงมใิ ช่สว่ นราชการ หรอื บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการและ สว่ นราชการรับไวเ้ ป็นหลกั ฐานของทางราชการ มี ๔ ชนดิ 1) หนังสือรับรอง หนังสือที่ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่บุคคล นิติบุคคล หรือหน่วยงาน เพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดให้ปรากฏแก่บุคคลโดยทั่วไปไม่จำเพาะเจาะจง ใช้กระดาษตราครุฑจัดทำตาม แบบที่ 10 ทา้ ยระเบยี บ 2) รายงานการประชุม การบันทกึ ความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ และมติของที่ประชุมไว้ เปน็ หลกั ฐาน ถือเปน็ หนังสือราชการ เป็นหนงั สอื ที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไวเ้ ปน็ หลักฐานในราชการ การจดรายงานการประชุม ทำได้ 3 วธิ ี 1. จดละเอยี ดทุกคําพูดของกรรมการ หรอื ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ ทุกคน พรอ้ มดว้ ยมติ ๒. จดย่อคําพูดที่เป็นประเด็นสําคัญของกรรมการหรือผู้เข้าร่วมประชุม อันเป็นเหตุผลนําไปสู่มติของท่ี ประชมุ พร้อมด้วยมติ 3. จดแต่เหตผุ ลกับมติของท่ีประชุม 3) บนั ทึก
๔๗ 4) หนังสืออื่น คือ หนังสือหรือเอกสารอื่นใดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นหลักฐานใน ราชการ ซงึ่ รวมถึงภาพถา่ ย ฟลิ ม์ แถบบนั ทึกเสยี ง แถบบนั ทึกภาพ และส่อื กลางบันทึกข้อมูลด้วย หรือหนังสือของ บุคคลภายนอกที่ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ และเจ้าหน้าที่ได้รับเข้าทะเบียนรับหนังสือของทางราชการโดยมีรูปแบบตามที่ กระทรวง ทบวง กรม จะกำหนดขึ้นใช้ตามความเหมาะสม เว้นแต่มีแบบตามกฎหมายเฉพาะเรื่องให้ทำตามแบบ เชน่ โฉนด แผนที่ แบบ แผนผงั สัญญา หลกั ฐานการสบื สวนและสอบสวน และคำรอ้ ง เป็นตน้ สำหรบั สอ่ื กลางบันทึก ข้อมูลดังกล่าว หมายความถึง สื่อใด ๆ ที่อาจใช้บันทึกข้อมูลได้ด้วยอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น แผ่นบันทึก ขอ้ มูล เทปแมเ่ หลก็ จานแมเ่ หลก็ แผน่ ซดี ี-อ่านอยา่ งเดียว หรอื แผน่ ดจิ ทิ ลั อเนกประสงค์ เปน็ ต้น การพิมพ์หนังสอื ราชการ การพมิ พห์ นงั สอื ราชการท่ีต้องใช้กระดาษตราครุฑ ถา้ มีข้อความมากกวา่ ๑ หนา้ หนา้ ตอ่ ไปให้ใช้กระดาษ ไม่ต้องมีตราครุฑ แต่ให้มีคุณภาพเช่นเดียวหรือใกล้เคียงกับแผ่นแรก ซึ่งการพิมพ์หนังสือที่มีหลายหน้า ต้องพิมพ์ เลขหน้า โดยให้พิมพ์ตัวเลขหน้ากระดาษไว้ระหว่างเครื่องหมายยัติภังค์ ( - ) ที่กึ่งกลางด้านบนของกระดาษ และ ควรจะตอ้ งมีข้อความของหนังสือเหลือไปพิมพ์ในหน้าสดุ ท้ายอยา่ งน้อย ๒ บรรทดั ก่อนทจ่ี ะพมิ พค์ ำลงท้าย และใน กรณีหากคำสุดทา้ ยของบรรทัดมหี ลายพยางค์ ไมส่ ามารถพิมพ์จบคำในบรรทัดเดียวกันได้ให้ใช้เคร่ืองหมายยัติภังค์ ( - ) ระหว่างพยางค์ ทั้งนี้ การพิมพ์หนังสือที่มีความสำคัญ และมีจำนวนหน้าหลายหน้า ให้พิม คำต่อเนื่อง ของ ข้อความทจ่ี ะยกไปพิมพ์หนา้ ใหม่ไว้ด้านล่างทางมุมขวาของหน้าน้นั ๆ แลว้ ตามด้วย … (จดุ 3 จุด) โดยปกติให้มีให้ เว้นระยะห่างจากบรรทดั สุดท้าย ๓ ระยะบรรทัดพมิ พ์ การเว้นวรรค - การเวน้ วรรคโดยทัว่ ไปเวน้ ๒ จงั หวะเคาะ - การเวน้ วรรคระหว่างหัวข้อเรื่องกบั เรอ่ื ง ใหเ้ ว้น ๒ จงั หวะเคาะ - การเว้นวรรคในเนื้อหา โดยหากเรื่องที่พิมพ์มีเนื้อหาเดียวกัน ให้เว้น ๑ จังหวะเคาะ และหากเร่อื งที่พมิ พ์มีเน้ือหาตา่ งกนั ให้เว้น ๒ จงั หวะเคาะ ตัวอย่าง ด้วยสำนกั งาน ป.ป.ส. ดว้ ย ป.ป.ส. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ (สำนกั งาน ป.ป.ส.) ที่ นร ๐๑๐๖/๑๒๓๔ ท่ี นร ๐๑๐๖/ว ๑๒๓๔ การพิมพ์หนังสอื ราชการภาษาไทยด้วยโปรแกรมการพมิ พ์ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ หนงั สอื สาํ นักนายกรัฐมนตรีท่ี นร ๐๑๐๖/ว ๒๐๑๙ ลงวนั ท่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ เรอ่ื ง คาํ อธิบายการ พมิ พห์ นังสือราชการภาษาไทยดว้ ยโปรแกรมการพิมพ์ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์และตัวอยา่ งการพิมพ์ สำเนา คือ เอกสารที่จัดทำขึ้นเหมือนกับต้นฉบับไม่ว่าจะทำจากต้นฉบับ สำเนาคู่ฉบับ หรือจากสำเนา อีกช้ันหนึ่ง โดยแบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท คือ 1) สำเนาคู่ฉบับ เป็นสำเนาที่จัดทำพร้อมกับต้นฉบับ และเหมือนต้นฉบับ โดยผู้ลงลายมือชื่อในต้นฉบับ จะลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อย่อไว้ และให้ผู้ร่าง ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อย่อไว้ที่ข้างท้าย
๔๘ ขอบล่างด้านขวาของหนังสือ หนังสือที่จัดทำขึ้นโดยปกติให้มีสำเนาคู่ฉบับเก็บไว้ที่ต้นเรื่อง ๑ ฉบับ และใหม้ สี ำเนาเกบ็ ไว้ท่หี น่วยงานสารบรรณกลาง ๑ ฉบับ 2) สำเนา เป็นสำเนาที่ส่วนราชการหรือเจ้าหน้าที่จัดทำขึ้น อาจทำขึ้นด้วยการถ่าย คัด อัดสำเนา หรอื ดว้ ยวธิ กี ารอื่นใด โดยจะตอ้ งมีการรบั รอง การสง่ สำเนาไปให้ส่วนราชการอน่ื ทราบ
๔๙ สรปุ ผลการประเมนิ โครงการโครงการฝกึ อบรม หลกั สตู ร ปฐมนเิ ทศและการพฒั นาศักยภาพข้าราชการใหม่ สำนกั งาน ป.ป.ส. ระหว่างวนั พฤหสั บดที ี่ 18 - วนั ศกุ รท์ ่ี 19 พฤศจิกายน 2564 ณ สำนกั งาน ป.ป.ส. ๑. วตั ถุประสงค์โครงการ 1.๑ เพื่อให้ข้าราชการบรรจุใหม่ มีความรู้ ความเข้าใจในเบื้องต้นถึงบทบาทภารกิจของสำนกั งาน ป.ป.ส. ใน ภาพรวม และนำไปใชป้ ระโยชน์ในการปฏบิ ัตงิ าน ๑.๒ เพอื่ ปลกู ฝงั ปรัชญาการเป็นขา้ ราชการทด่ี ี มีความรู้ ความสามารถ มจี ิตสำนกึ ในการปฏิบตั งิ านราชการ มี สมรรถนะและจรรยาบรรณทเ่ี หมาะสมในการปฏิบัตงิ านราชการ ๑.๓ เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของข้าราชการยุคใหม่ที่มีคุณธรรม ศรัทธาต่อการรับราชการ มุ่งเน้นในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์สุขส่วนรวม มีทัศนคติที่ดีต่อการให้บริการ มีการทำงานเป็นทีม และสามารถ ผลักดันให้ภารกิจที่ไดร้ ับมอบหมายประสบผลสมั ฤทธ์ิอย่างมปี ระสิทธิภาพ ๑.๔ เพอ่ื สร้างความคุ้นเคยซ่ึงกันและกนั มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทง้ั สร้างเครือข่ายข้าราชการ รุ่นใหม่ใน การปฏบิ ัตงิ านอย่างบรู ณาการ ๒. หวั ข้อวิชาในหลกั สตู ร จำนวน 15 ชว่ั โมง รายละเอยี ดดังนี้ 2.1 หลักการทำงานของขา้ ราชการสำนกั งาน ป.ป.ส. จำนวน 1 ช่วั โมง 2.2 การทดลองปฏิบัตหิ นา้ ทรี่ าชการ สิทธปิ ระโยชน์และสวัสดกิ าร จำนวน ๒ ชวั่ โมง 2.3 วสิ ยั ทศั น์ โครงสร้างอำนาจหน้าท่แี ละวฒั นธรรมของสำนักงาน ป.ป.ส. จำนวน 1.5 ชวั่ โมง 2.๔ จรยิ ธรรม วินัย และระเบียบการปฏิบัตริ าชการ จำนวน 1.5 ชั่วโมง 2.๕ การพัฒนาตนเองเพ่อื พัฒนาสัมพันธภาพในการปฏิบตั งิ านในองค์กร จำนวน ๓ ช่วั โมง 2.๖ ยุทธศาสตร์และแผนการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพติด จำนวน ๑ ชว่ั โมง 2.๗ กฎหมายยาเสพตดิ ที่สำคัญ จำนวน ๑ ชัว่ โมง 2.๘ การพัฒนาตนเองในการปฏบิ ตั ริ าชการ จำนวน ๑ ชัว่ โมง 2.๙ การเขียนหนงั สอื ราชการ จำนวน ๓ ชั่วโมง ๔. งบประมาณที่ใช้ในการจดั ฝกึ อบรม งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการฝึกอบรม จำนวน 153,720 บาท (หนึ่งแสนห้าหมื่นสามพันเจ็ดร้อย ยี่สิบบาทถ้วน) 5. วิทยากร ประกอบดว้ ย วิทยากรภายใน สำนกั งาน ป.ป.ส. และวทิ ยากรภายนอก สำนกั งาน ป.ป.ส. ดงั น้ี วทิ ยากรภายใน 1. วชิ า หลักการทำงานของข้าราชการสำนักงาน ป.ป.ส. โดย นายวชิ ัย ไชยมงคล เลขาธิการ ป.ป.ส. 2. วชิ า การทดลองปฏิบตั หิ นา้ ท่รี าชการ สิทธิประโยชน์และสวัสดิการ โดย ส่วนพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงาน เลขานุการกรม 3. วิชา วิสัยทัศน์ โครงสร้างอำนาจหน้าที่และวัฒนธรรมของสำนักงาน ป.ป.ส โดย นางปะภาสี คัยนันท์ ผอู้ ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร และนางสาวนันทวัน อังอตชิ าติ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
๗๖ ๔. วิชา จริยธรรม วนิ ัย และระเบียบการปฏิบตั ริ าชการ โดย นายศราวธุ สิงห์โนนตาด นติ ิกรชำนาญการพิเศษ สำนกั งานเลขานกุ ารกรม 5. วิชา ยุทธศาสตร์และแผนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดย นางสาวกรรณิกา วงศ์ขัติย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ สำนักยทุ ธศาสตร์ 6. วชิ า กฎหมายยาเสพติดทส่ี ำคัญ โดย นางสาวศริ พิ ร ไชยสูรยกานต์ นติ ิกรชำนาญการพิเศษ กองกฎหมาย 7. วิชา การพัฒนาตนเองในการปฏิบัติราชการ โดยนายศิริสุข ยืนหาญ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาบุคลากร ดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ วิทยากรภายนอก 1. วชิ า การพฒั นาตนเองเพื่อพัฒนาสมั พันธภาพในการปฏบิ ตั ิงานในองค์กร โดย นายสมหวัง ชัยเจริญคุณาภรณ์ และคณะ 2. การเขียนหนงั สือราชการ โดย นางสาวสพุ ชิ ฌาย์ กลิ่นหอม นิตกิ รชำนาญการ สำนกั งานปลัดสำนกั นายกรัฐมนตรี 6. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 6.1 เกณฑ์ประเมินผล ⬧ เกณฑใ์ นการแปลความหมายค่าเฉลยี่ เลขคณิต กรณี Rating Scale ๕ ระดบั ช่วงคะแนน ความหมาย ๑.๐๐ - ๑.๘๐ นอ้ ยทีส่ ดุ ๑.๘๑ - ๒.๖๐ ๒.๖๑ - ๓.๔๐ นอ้ ย ๓.๔๑ - ๔.๒๐ ปานกลาง ๔.๒๑ - ๕.๐๐ มาก มากทส่ี ุด 6.๒ จำนวนผู้ตอบแบบประเมนิ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 41 คน มีผู้ตอบแบบประเมินโครงการฯ จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 85 สามารถสรุปตามหัวข้อการประเมินได้ ดงั น้ี ประเมนิ ...
๕๑ ประเมนิ การเรยี นรู้ ความเข้าใจต่อเน้ือหาวิชา กอ่ นและหลงั การฝึกอบรม 1) ผูเ้ ข้าร่วมโครงการฯ ไดร้ ับความรคู้ วามเข้าใจเน้ือหาการฝึกอบรมหลกั สตู ร หลักสตู ร ปฐมนเิ ทศและการพัฒนา ศักยภาพข้าราชการใหม่ สำนกั งาน ป.ป.ส. มากนอ้ ยเพยี งใด (โดยการเปรยี บเทยี บ ก่อนและหลังการฝึกอบรม) แสดงความรู้ความเขา้ ใจตอ่ เนอื้ หากอ่ นและหลงั การฝกึ อบรม ที่ ความรู้ เข้าใจต่อเนื้อหาวชิ า ก่อน การฝึกอบรม หลงั การฝึกอบรม จำนวน คดิ เปน็ จำนวน คิดเปน็ 1 มีความรู้ความเขา้ ใจเนื้อหาระดับมากทีส่ ุด (คน) รอ้ ยละ (คน) ร้อยละ 2 มีความรู้ความเข้าใจเนอ้ื หาระดับมาก 3 มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเนอ้ื หาระดับปานกลาง 12 34.3 21 60 4 มีความรูค้ วามเขา้ ใจเนื้อหาระดับน้อย 5 มีความรูค้ วามเข้าใจเนื้อหาระดบั น้อยท่ีสุด 4 11.4 12 34.3 14 40 00 2 5.7 00 3 8.6 2 5.7 จากตารางที่ ๑ สรุปได้ว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเนื้อหาเพิ่มขึ้น โดยก่อนเข้ารับ การฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจเนื้อหาระดับปานกลาง จากจำนวน 14 คน (ร้อยละ 40) หลังเสร็จสิ้น การฝึกอบรม มคี วามรูค้ วามเข้าใจเนอื้ หาระดบั มากท่สี ดุ เพิ่มขึน้ เปน็ จำนวน 21 คน (รอ้ ยละ 60) 2) หลังเข้าร่วมฝกึ อบรมครง้ั น้แี ลว้ คาดว่าจะนำความร้ทู ่ีไดร้ บั ไปใช้ประโยชนใ์ นการทำงานไดเ้ พยี งใด แสดงการนำความรทู้ ่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ในการทำงาน ที่ นำความรู้ไปปรบั ใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน จำนวน คิดเป็น (คน) ร้อยละ 1 มีความรคู้ วามเขา้ ใจไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานมากทสี่ ุด 71.4 2 มคี วามรู้ความเข้าใจไปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ัติงานมาก 25 3 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจไปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านปานกลาง 20 4 มีความรู้ความเขา้ ใจไปปรบั ใชใ้ นการปฏิบัตงิ านนอ้ ย 7 5 มีความรูค้ วามเขา้ ใจไปปรบั ใช้ในการปฏบิ ตั ิงานน้อยทส่ี ุด 2.9 1 0 0 5.7 2 จากตาราง สรุปไดว้ ่า ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม จำนวน 25 คน (ร้อยละ 71.4) และผู้เขา้ รับการฝึกอบรม จำนวน 7 คน (รอ้ ยละ 20) สามารถนำความร้ทู ไี่ ด้รับไปปรับใช้ประโยชน์ในการทำงานและมากท่สี ดุ ตามลำดับ ๓) ระยะเวลา...
๗๖ 3) ระยะเวลาในการจัดฝกึ อบรม (จำนวน 2 วนั ) มคี วามเหมาะสมหรือไม่ แผนภูมวิ งกลม แสดงความเหมาะสมของระยะเวลาการจัดฝึกอบรม จากแผนภูมวิ งกลม ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่ จำนวน 26 คน (ร้อยละ 74.3) มีความเหน็ วา่ ระยะเวลา ในการจัดฝึกอบรม (จำนวน 2 วัน) มีความเหมาะสม ส่วนจำนวน 9 คน (ร้อยละ 25.7) มีความเห็นว่า ไม่เหมาะสม เนื่องจาก เนื้อหาวิชาเยอะเกินไป ทำให้วิทยากรบรรยายไม่ทันตามเวลาที่กำหนดไว้ และควรปรับระยะเวลาจัด ฝกึ อบรมจาก 2 วนั เปน็ 3 วัน 4) เพื่อประโยชน์ในการจัดฝึกอบรมในครั้งต่อไป โปรดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจในเรื่อง ตอ่ ไปน้ี ตาราง แสดงประเมินความพึงพอใจในการจดั ฝกึ อบรม รายการ จำนวน ระดับความ คิดเป็นร้อยละ (คน) พึงพอใจ 1. รปู แบบการฝกึ อบรม 2. เอกสารประกอบท่ีใชใ้ นการฝึกอบรม 18 5 43.90 3. อปุ กรณเ์ ครอื่ งมือในหอ้ งบรรยาย 4. การลงทะเบยี นหลกั สตู ร 16 5 39.02 5. ความชดั เจนในการช้ีแจงหลักสูตร/กระบวนการฝึกอบรม 6. การบรกิ ารและการอำนวยความสะดวกระหวา่ งการฝึกอบรม 20 5 46.34 7. อาหารและเคร่ืองดมื่ 18 5 43.90 19 5 46.51 21 5 51.21 21 5 51.21 จากตารางแสดงให้เห็นว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจในการฝึกอบรม ในคะแนนระดับ 5 ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็น เรื่องรูปแบบการฝึกอบรม (จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 43.90) เอกสารที่ใช้ในการอบรม (จำนวน 16 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 39.02) อุปกรณ์เคร่ืองมือในห้องบรรยาย (จำนวน 20 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 46.34) การลงทะเบียนหลักสูตร(จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 43.90) ความชัดเจนในการชี้แจงหลักสูตร/กระบวนการ ฝึกอบรม(จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 46.51) การบริการและการอำนวยความสะดวกระหว่างการฝึกอบรม (จำนวน 21 คน คดิ เป็นร้อยละ 52.21) และเร่ืองอาหารและเครอ่ื งดมื่ (จำนวน 21 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 51.21) ๕) สิง่ ทีท่ ่าน...
๕๓ 5) ส่งิ ท่ีท่านประทับใจในการจัดหลักสูตรฝึกอบรมในครั้งน้ี ตารางแสดง ส่งิ ท่ีผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมประทบั ใจในภาพรวมการจดั หลกั สตู รในคร้ังน้ี หวั ข้อ รายละเอยี ด 1. เนอื้ หาวชิ า 1. เหมาะสมกับข้าราชการใหม่/ได้รับความรูเ้ พ่ิมขึน้ 2. วทิ ยากร 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจบทบาท ภารกจิ อำนาจหนา้ ที่ของสำนักงาน ป.ป.ส. มากข้นึ 3. รปู แบบ/กจิ กรรม 3. สามารถคน้ หาเอกสารบรรยายได้อย่างทันทว่ งที ๔. ผู้บริหาร/ 1. วิทยากรมคี วามรู้ ผู้จัดโครงการ ๑. ประทบั ใจทุกกจิ กรรม 5. อาหารและเครอ่ื งด่ืม 2. ไดร้ จู้ กั เพ่ือนใหม่และการทำกิจกรรมการทำงานรว่ มกันเปน็ ทีม 1. ผู้บรหิ ารให้ความสำคัญกับขา้ ราชการใหม่ 2. พธิ เี ปดิ โดยมผี บู้ ริหารเขา้ รว่ ม 3. องคก์ รใส่ใจกับขา้ ราชการใหม่เปน็ อยา่ งดี 4. เจา้ หนา้ ทน่ี ่ารกั เป็นกันเอง ดแู ลผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมเป็นอย่างดี เปน็ ท่ีปรึกษา และใหค้ ำแนะนำได้เป็นอย่างดี 1. อาหารอร่อย 6) สงิ่ ท่คี วรปรับปรงุ ในการจดั ฝกึ อบรมคร้ังนี้ ตารางแสดง สิ่งทผี่ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมตอ้ งการให้ปรับปรุงในการจัดหลกั สตู รในคร้ังน้ี หวั ข้อ รายละเอียด 1. ระยะเวลา 1. ระยะเวลาน้อยเกินไป ควรเพมิ่ ระยะเวลาเป็น 3 วัน 2. เนือ้ หาวิชา 1. อยากให้มีกิจกรรมกลุ่มปฏิสัมพนั ธม์ ากกว่านี้ 3. วทิ ยากร ๑. วิทยากรบางท่านจัดสรรเวลาไม่พอดี และพูดนอกประเด็นจากหวั ขอ้ วชิ า 2. วิทยากรบางท่านเรง่ การบรรยายเพ่ือใหท้ ันเวลา 7) โปรดแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมอื่น ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดอบรมให้มี ประสทิ ธิภาพมากขน้ึ 1. ภาพรวมการจดั ฝึกอบรมดมี าก ๆ แต่อาหารชว่ งรับประทานกลางวัน รสชาตไิ ม่ควรเผด็ มาก 2. ระยะเวลาความสัมพันธก์ ับเนอื้ หาและเวลา 3. เพิม่ ระยะเวลาการอบรมเป็น 3 วัน
๗๖ ภาพกจิ กรรม
๕๕
โครงการฝึกอบรม หลักสูตรปฐมนิเทศและการพัฒนาศักยภาพข้าราชการใหม่ สำนักงาน ป.ป.ส. ONCB ส่วนพัฒนาบุคลากรด้านบริหาร สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม
1ตอนท่ี ตวั อยา่ ง 1.33 แบบติดตามผลหลังการอบรม
สว่ นที่ 1 สำหรบั ผู้ผ่านการฝกึ อบรม แบบรายงานการตดิ ตามประเมินผลการฝึกอบรม หลักสตู ร นกั บรหิ ารงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดระดับต้น รุน่ ท่ี 14 ระหว่างวนั พธุ ท่ี ๑๔ กรกฎาคม - วันพฤหัสบดีที่ 7 ตุลาคม 2564 ณ สำนกั งาน ป.ป.ส. พนื้ ท่ีศึกษาดูงานภาคใตแ้ ละภาคเหนอื /การอบรมออนไลน์ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ********************************** 1. ท่านได้รับประโยชน์และสามารถนำความรู้/ทักษะ ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปปรับใช้ใน การปฏิบัติงานอย่างไร ต่อตนเอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ต่อหน่วยงาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. โปรดยกตัวอย่างงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ท่านได้นำความรู้จากการเข้าร่วมอบรมมาใช้ และผลทเ่ี กิดข้นึ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ท่านประสงค์ให้ผู้บังคับบัญชาสนับสนุนเร่ืองใดเพ่ือส่งเสริมให้สามารถนำความรู้และ ทกั ษะที่ไดร้ บั ไปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านใหส้ มั ฤทธผ์ิ ล ..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................. 4. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงช่อื )............................................................ (ผู้เขา้ รับการอบรม) (.........................................................) ตำแหน่ง ............................................................
สว่ นที่ ๒ สำหรบั ผู้บังคับบญั ชำ แบบรำยงำนกำรติดตำมประเมนิ ผลกำรฝกึ อบรม หลักสูตร นักบริหำรงำนป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติดระดับต้น รนุ่ ท่ี 14 ระหว่ำงวนั พุธท่ี ๑๔ กรกฎำคม - วนั พฤหัสบดีที่ 7 ตุลำคม 2564 ณ สำนักงำน ป.ป.ส. พนื้ ทศ่ี ึกษำดูงำนภำคใต้และภำคเหนอื /กำรอบรมออนไลน์ผ่ำนส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ กำรนำควำมรูห้ ลงั กำรฝึกอบรมไปใชอ้ ยำ่ งเปน็ รปู ธรรม คำช้แี จง ตามทผ่ี ู้ใตบ้ งั คับบัญชาของท่านไดเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมโครงการ/หลักสูตร ดังกลา่ วขา้ งตน้ สถาบันพฒั นาบุคลากร ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สานักงาน ป.ป.ส. มีความประสงค์ติดตามผล/การนาความรู้ท่ีได้รับจาก การฝึกอบรมไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม เพอ่ื เปน็ ประโยชน์และเป็นข้อมูลนาเข้าในการพัฒนาและปรับปรุง การจดั โครงการ/หลักสตู รต่อไป ระดับประโยชน์/กำรนำไปใช้ ประเดน็ มำกทสี่ ุด มำก ปำนกลำง นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ุด (๑) (๕) (๔) (๓) (๒) ๑. ผใู้ ต้บังคบั บญั ชามีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการทางาน ๒. ผู้ใต้บังคับบัญชามีการถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคลากรใน หน่วยงาน ๓. ผู้ใต้บังคับบัญชามีการให้คาแนะนา/ให้คาปรึกษาหากมีปัญหา เกยี่ วกบั เรอื่ งทฝี่ ึกอบรม ๔. ผู้ใตบ้ ังคับบัญชามีความสามารถในการพัฒนางานท่ีรับผดิ ชอบ ๕. ผู้ใต้บังคับบัญชามีการนาผลการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้กับ การปฏบิ ตั ิงานจรงิ ๖. ผใู้ ต้บังคบั บญั ชาของทา่ นสามารถนาความรูท้ ไี่ ดร้ บั ไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน ได้ ไมไ่ ด้ เพราะ ๗. หลังจากเข้ารบั การฝึกอบรม ความรทู้ ี่ได้รบั สามารถช่วยทาให้ผู้ใต้บงั คบั บญั ชาปฏิบตั ิงานดีข้นึ หรอื ไม่ ดขี ้ึน ไม่ดขี น้ึ เพราะ ๘. โปรดยกตัวอยา่ ง งาน/โครงการ ทผ่ี ู้ใตบ้ ังคับบญั ชาไดน้ าความรไู้ ปถา่ ยทอด หรือนาไปใชแ้ ละผลท่เี กดิ ขึน้ ๙. ผลทีเ่ กดิ ขน้ึ กบั หน่วยงาน หลังจากนาความรู้ทไ่ี ดร้ บั ไปปรับใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน ๑๐. ท่านตอ้ งการสง่ เสริมใหผ้ เู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม พัฒนาองค์ความรู้ เพิม่ เตมิ ในดา้ นใด ลงชื่อ (ผบู้ ังคับบัญชา) ()
2ตอนท่ี ข้ันตอน/วธิ ีการ 2.01 การลงทะเบยี นการประชมุ
สว่ นวิเคราะหแ์ ละพฒั นาระบบสารสนเทศ 1 ศูนย์เทคโนโ ระบบลงทะเบียนด้วย QR CODE ONCB
1 โลยีสารสนเทศ E
เร่ือง สารบ ประวตั 1. การเรยี กใช้งาน 2. เมนูหน้าแรก 3. เมนูรายการกิจกรรม 4. แบบฟอร์มตอบรับการเข้ารว่ มกิจกรรม 5. เมนูรายชือ่ ผตู้ อบรับ 6. เมนรู ายชือ่ ผู้ลงทะเบยี น 7. การตรวจสอบรายชอ่ื ผ้ลู งทะเบยี น 8. เมนูดาวนโ์ หลดโปรแกรมสาหรับอุปกรณพ์ กพา 9. โปรแกรมบนอปุ กรณพ์ กพา เวอรช์ ่นั วนั ทีแ่ ก้ไข ร 1 29 พ.ค. 63 สร้างคมู่ ือการใช้งานระบบลงทะเบยี นดว้ ย Q 2 8 ก.ค. 63 เพิม่ ขั้นตอนการนาเขา้ รายช่อื ผู้ตอบรบั 3 17 ส.ค. 63 เพ่ิมเมนรู ายการประชุมของตนเอง,แก้ไขชอ่ื 4 22 เม.ย. 64 ปรบั ปรุงเพิม่ ขอ้ มลู แผนงานงบประมาณ เพ่มิ ONCB
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 552
Pages: