Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดฝึกอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

คู่มือการจัดฝึกอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

Published by manasanant, 2022-07-05 08:44:06

Description: คู่มือการจัดฝึกอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

Search

Read the Text Version

คู่ มื อ การจัดฝึกอบรม เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ส่วนพัฒนาบุคลากรด้านบริหาร สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม

คำนำ การฝึกอบรมเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งทำให้บุคลากรในหน่วยงานได้มีการเพิ่มพูน องค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานของหน่วยงาน เป็นไป ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ดังนั้น การจัดโครงการฝึกอบรมจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาบุคลากร ของหน่วยงานเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้เกิดประสิทธิผล สูงสุดต่อหน่วยงาน โดยผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องมีความเข้าใจกระบวนการฝึกอบรม ราย ละเอียดขั้นตอน และแนวทางการดำเนินการจัดฝึกอบรม ตลอดจนระเบียบการเบิกค่าใช้จ่ายใน การจัดฝึกอบรม เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการฝึกอบรมบรรลุผลตามที่ตั้งไว้ \"คู่มือการจัดฝึกอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด\" ฉบับนี้ จัดทำขึ้น โดยเรียบเรียงขั้นตอนกระบวนการฝึกอบรมตั้งแต่วางแผนการฝึกอบรม เตรียมการก่อนการฝึก อบรม ระหว่างดำเนินการฝึกอบรมและภายหลังการฝึกอบรม รวมทั้งตัวอย่างเอกสารหลักฐาน ประกอบการเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมตามระเบียบการคลังได้กำหนดไว้ ส่วนพัฒนาบุคลากรด้านบริหาร สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด หวังเป็นอย่างยิ่งว่า \"คู่มือการจัดฝึกอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด\" ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรของสำนักงาน ป.ป.ส. ในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการฝึกอบรม ได้ใช้ศึกษาในการปฏิบัติงานในการบริหารโครงการฝึกอบรมได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามแนวทาง ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้บัญญัติไว้ ส่วนพัฒนาบุคลากรด้านบริหาร สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม

บทที่ 1 1. ความเป็นมาและความสำคัญของคู่มือ บทนำ วัตถุประสงค์ ขอบเขต คำนิยาม/คำจำกัดความ หน้าที่ความรับผิดขอบของผู้จัด การฝึกอบรม สารบัญ บทที่ 2 Flow chart ขั้นตอนการฝึกอบรม กระบวนการ วางแผนการฝึกอบรม ฝึกอบรม 2. เตรียมการก่อนการฝึกอบรม ดำเนินการระหว่างการอบรม ภายหลังการฝึกอบรม Work Flow กระบวนการฝึกอบรม ติดตามผลภายหลังการฝึกอบรม ข้อพึงระวัง/แนวทางแก้ไขและพัฒนา ภาคผนวก ตัวอย่าง ขั้นตอน/วิธีการ ระเบียบ/คำสั่งที่เกี่ยวข้อง

ชือ่ หนังสือ : คู่มือ การจัดฝึกอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปีท่ีพิมพ์ : เดือนมิถุนายน 2565 เลขท่ีเอกสารเผยแพร่ : สำนักงาน ป.ป.ส. 1-04-2565 อำนวยการผลิต : ส่วนพัฒนาบุคลากรด้านบริหาร : สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด : สำนักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม ท่ีปรึกษา นายศิริสุข ยืนหาญ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด คณะผู้จัดทำ : นายสุวิชาญ รักษ์รตนากร ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาบุคลากรด้านบริหาร : นางสุภาภร แสนสว่าง นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ : นางสาวขวัญฤทัย สุวรรณ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ : นางสาวกันต์ฤทัย ภาชนะสมบูรณ์ชัย นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ : นางสาวมนัสนันท์ นุ่นเกิด เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

บทท่ี 1 บทนา 1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของค่มู ือ สานกั งาน ป.ป.ส. มีหน้าท่ีและภารกิจเปน็ หนว่ ยงานกลางในการกาหนดนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และบูรณาการในการดาเนินการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของหน่วยงานต่าง ๆ ให้สามารถดาเนนิ การ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของประเทศเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีบุคลากรท่ีปฏิบัติงานด้าน ยาเสพติดเป็นกลไกสาคัญ ดังน้ัน การพัฒนาบุคลากรดังกล่าวให้มีองค์ความรู้ ทักษะ และสมรรถะในการ ปฏิบัติงานสามารถตอบสนองรองรับนโยบายและยุทธศาสตร์การดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ บรรลุผลสาเร็จ ทั้งด้านการป้องกัน การปราบปราม และการบริหารงานดา้ นยาเสพติดอย่างบูรณาการทั้งของ สานักงาน ป.ป.ส. และหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง จึงเป็นภารกิจสาคัญภารกิจหน่ึงของสถาบันพัฒนาบุคลากร ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สพบ.) ในการจัดฝึกอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้าน ยาเสพติด โดยในแต่ละปี สพบ. ต้องดาเนินการพัฒนาบุคลากรโดยการจัดฝึกอบรมหลักสูตรต่างๆ หลาย โครงการ การจัดหลักสูตรฝึกอบรมจึงควรมีข้ันตอนการปฏิบัติงานที่มีแนวทาง วิธีปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน เดยี วกนั โดยเฉพาะในปจั จุบนั การจัดฝึกอบรมไดน้ าเทคโนโลยเี ข้ามาสนับสนุนให้การบรหิ ารจัดการฝึกอบรมได้ สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สพบ.) จึงดาเนินการจัดทาคู่มือการดาเนินโครงการฝึกอบรมขึ้น โดยระบุถึงรายละเอียดของกระบวนการ ฝึกอบรมในขน้ั ตอนต่าง ๆ รวมทั้งเพม่ิ เติมขั้นตอนทไ่ี ด้นาเทคโนโยลเี ขา้ มาใชใ้ นการดาเนินการจดั ฝกึ อบรม อาทิ การลงทะเบียนด้วยระบบ QR Code การประเมินผ่านระบบ Google Form ฯลฯ โดยจัดทาเป็นคู่มือ การปฏิบัติงานเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามเป้าหมายที่ต้ังไว้ และผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจไปในแนวทาง เดียวกัน ทาให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถทางานแทนกันได้หากเจ้าหน้าท่ีบางท่านติดภารกิจ ทาให้ การปฏบิ ัตงิ านเปน็ ไปอยา่ งถูกต้องและรวดเรว็ นอกจากนี้ คมู่ อื ฯ ฉบบั น้ีใชเ้ ปน็ แนวทางสาหรับบุคลากรใหม่ที่มี ภารกิจจัดการฝึกอบรม หรือเม่ือมีการโยกย้ายตาแหน่งงาน รวมท้ังลดข้ันตอนการทางานท่ีซับซ้อน ลดข้อผิดพลาดจากการทางานที่ไมเ่ ปน็ ระบบ ทาให้การพฒั นาบคุ ลากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดาเนนิ การจดั การฝึกอบรม หรือวาง แผนการดาเนินการจัดการฝึกอบรมอย่างเป็นขั้นตอนถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ข้อกาหนด และระเบียบ การฝึกอบรมของทางราชการไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 2 เพื่อเป็นคู่มือให้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบดาเนินการจัดการฝึกอบรมของสานักงาน ป.ป.ส.สามารถ ดาเนินการทีเ่ ป็นมาตรฐานเดียวกัน

2 1.3 ขอบเขต คู่มือการจัดโครงการฝึกอบรมฉบับนี้ จัดทาขึ้นจากการประมวลความรู้และประสบการณ์ในการ ปฏิบัติงานดาเนินการจัดฝึกอบรมของส่วนพัฒนาบุคลากรด้านบริหาร สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด สานักงาน ป.ป.ส. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการจัดฝึกอบรมในภาพรวมของ หน่วยงานในสงั กัดสานักงาน ป.ป.ส. ท้ังนี้ สาหรบั หนว่ ยงานภายนอกสามารถนาไปใช้โดยปรับรายละเอยี ดการ ปฏิบัติงานให้เหมาะสมและสอดคล้องกับหน่วยงานของตนเอง หรือกรณีท่ีมีเงื่อนไขที่แตกต่างออกไป เช่น งบประมาณดาเนินการฝึกอบรมจากหน่วยงานภายนอกหรือองค์กรอื่น ผู้ดาเนินการจัดฝึกอบรมจาเป็นต้องมี การศึกษารายละเอียดเพม่ิ เตมิ ใหร้ อบคอบก่อนดาเนินการฝึกอบรม 1.4 คานิยาม/คาจากัดความ การฝึกอบรม หมายถงึ กระบวนการเสรมิ สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคตทิ ด่ี ีใหแ้ กบ่ คุ ลากร ทั้งภายในและภายนอกองค์กรจนสามารถทาให้เกิดการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีพึงประสงค์ได้ และมี ผลทาใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลยิ่งขน้ึ หลักสูตรฝึกอบรม หมายถึง กรอบแนวทางในการจัดโครงการฝึกอบรม ประกอบด้วย หลักการและ เหตุผลของการมีหลักสูตรน้ี วัตถุประสงค์เป็นเป้าหมายการดาเนินการ กลุ่มเป้าหมาย/คุณสมบัติผู้เข้ารับ การอบรม เนอ้ื หา วชิ า วิธีการฝกึ อบรมและวิธีการเรยี นรู้ ตารางการฝกึ อบรม วธิ ีการประเมนิ ผล โครงการฝึกอบรม หมายถึง กิจกรรมที่ระบุรายละเอียดถึงการปฏิบัติงานอย่างมีขั้นตอนของการ ดาเนินการจัดฝึกอบรม ตลอดจนการใช้ทรัพยากรที่ประสานสอดคล้องกันเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายทีต่ อ้ งการภายในระยะเวลาที่กาหนด วิทยากร หมายถึง ผู้ถ่ายทอดความรู้ที่มีคุณวุฒิ มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และ ชานาญการ พรอ้ มทัง้ ประสบการณ์ อกั ษรย่อ ป.ป.ส. หมายถงึ สานกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ ลปส. หมายถึง เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด สพบ. หมายถงึ สถาบนั พัฒนาบคุ ลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 1.5 หน้าที่ความรับผดิ ชอบของผจู้ ดั การฝกึ อบรม ผูร้ ับผดิ ชอบ บทบาทและหน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบ ผ้อู านวยการโครงการ - ให้คาปรกึ ษา แนะนา การจัดทาหลกั สตู รฝึกอบรม - กากับดูแลการจัดฝึกอบรม ให้ความเห็นชอบและเสนอโครงการฯ ต่อหวั หนา้ หนว่ ยราชการเพือ่ พิจารณาให้ความเหน็ ชอบ

ผ้รู บั ผดิ ชอบ 3 รองผู้อานวยการโครงการ บทบาทและหนา้ ท่คี วามรับผิดชอบ เจ้าหน้าที่โครงการ - ออกแบบโครงการ และกากับ ควบคุม ดูแล การจัดฝึกอบรม และ การบริหารจัดการตลอดหลักสูตร (บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อปุ กรณแ์ ละบรหิ ารจัดการ) - ร่วมออกแบบโครงการ บริหารจัดการโครงการให้เกิดการเรียนรู้ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร - จดั ทาเอกสารขออนมุ ตั แิ ละหนังสือเชญิ - ติดตาม/ประสานงาน อานวยความสะดวกผู้เข้ารับการอบรมและ วทิ ยากร - จัดทาเอกสารประกอบการบรรยาย/ประวตั วิ ิทยากร คากลา่ วเปิด- ปดิ /ประเมินผลการฝกึ อบรม - จัดทาสรุปผลการฝึกอบรมเสนอผู้บริหาร และหน่วยงานท่ี เก่ยี วข้อง

4 บทที่ 2 กระบวนการฝึกอบรม การดาเนินการจัดการฝึกอบรมเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างมีระบบ เพ่ือสร้างหรือเพ่ิมพูน ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และเจตคติท่ีดี นาไปสู่การปฏิบัติท่ีถูกต้อง และบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในองค์กร เป็นกระบวนการท่ีสาคัญท่ีจะทาใหบ้ ุคลากรของหนว่ ยงานสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ ซึ่งผู้รับผิดชอบในการบริหารโครงการ ฝึกอบรมจะตอ้ งดาเนินการใน 4 ขัน้ ตอนหลักของการจัดการฝกึ อบรม ดงั นี้ 1. วางแผนการฝึกอบรม 2. เตรียมการก่อนฝกึ อบรม 3. ระหว่างการฝึกอบรม 4. ภายหลังการฝกึ อบรม

5 Flow Chart ขนั้ ตอนกำรจัดฝกึ อบรม วำงแผนกำรฝึกอบรม ขน้ั ตอนที่ 1 สรำ้ งหลักสูตร สรรหำวทิ ยำกรและสถำนที่ ข้ันตอนที่ 2 เขียนโครงกำร ขั้นตอนท่ี 3 ประมำณกำรคำ่ ใชจ้ ่ำย เตรียมกำรก่อนฝกึ อบรม ขัน้ ตอนท่ี 4 ขออนุมตั โิ ครงกำรและยืมเงินทดรองรำชกำร ข้ันตอนที่ 5 เชญิ ผเู้ ข้ำอบรม รวบรวมรำยชอ่ื ผเู้ ขำ้ รับกำรฝึกอบรม และขออนุมตั ิ เข้ำรว่ มโครงกำร ขน้ั ตอนที่ 6 ประสำนงำนด้ำนกำรฝกึ อบรม ดำเนนิ กำรระหว่ำงกำรฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 7 ดำเนินกำรฝึกอบรม ภำยหลังกำรฝกึ อบรม ขน้ั ตอนท่ี 8 รวบรวมเอกสำร หลกั ฐำน และสรปุ ค่ำใช้จ่ำยส่งหักลำ้ งเงนิ ยมื และบันทึกรำยช่อื ผู้ผำ่ นกำรอบรมลงในระบบข้อมลู ขน้ั ตอนที่ 9 ประเมนิ ผลกำรฝึกอบรม ขน้ั ตอนท่ี 10 สรปุ ผลกำรฝกึ อบรมนำเสนอผู้บรหิ ำร

6 วำงแผนกำรฝึกอบรม ข้ันตอนท่ี 1 สร้ำงหลกั สูตร สรรหำวทิ ยำกร และสถำนที่ 1.1 สรำ้ งหลักสตู ร หลักสูตร เป็นกรอบแนวทำงกำรดำเนินกำรพัฒนำ ควำมรู้ ทักษะ และทัศนคติที่พึงประสงค์ แก่ผู้มีควำมจำเป็นท่ีต้องเข้ำรับกำรอบรมตำมเปำ้ หมำยกำรฝึกอบรมที่กำหนดไว้ ทั้งท่ีเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนำ ควำมสำมำรถพ้ืนฐำนในกำรปฏิบัติงำน หรือสร้ำงเสริมให้สำมำรถปฏิบัติงำนได้/ได้ดีข้ึน กำรสร้ำงหลักสูตร จะตอ้ งดำเนนิ กำรอย่ำงนอ้ ย 3 ข้ันตอนดงั ต่อไปนี้ 1) กำรร่ำงหลักสูตร 2) กำรกลั่นกรองหลักสูตร 3) กำรปรบั /แกไ้ ขหลักสตู ร Flow Chart กระบวนการสร้างหลักสตู ร รำ่ งหลกั สูตร กลั่นกรอง ปรับแกไ้ ข 1) กำรรำ่ งหลกั สูตร กำรร่ำงหลักสูตร เป็นกำรดำเนินกำรเพื่อกำหนดกรอบและรำยละเอียดต่ำง ๆ ของหลักสูตร ฝกึ อบรม หลกั สูตรอำจจำแนกออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื หลักสตู รพื้นฐำนในกำรปฏบิ ัตงิ ำน และหลักสตู ร ท่ีเสริมสร้ำงกำรปฏิบัติงำนให้ดีขึ้น สำหรับหลักสูตรพื้นฐำนในกำรปฏบิ ัติงำน หลักสูตรประเภทนต้ี ้องพิจำรณำ ให้เนื้อหำทสี่ ำคญั และจำเป็นทั้งหมดเข้ำบรรจไุ ว้ในหลักสูตร สว่ นหลกั สูตรสำหรบั เสรมิ สร้ำงกำรปฏบิ ัติงำนให้ดี ข้ึน ต้องคำนึงถึงควำมจำเป็นในกำรจัดฝึกอบรม ต้องทบทวนปัญหำท่ีกำหนดไว้ว่ำเป็นควำมจำเป็นใน กำรฝกึ อบรม สัมภำษณ/์ หำรอื กบั ผู้เชีย่ วชำญ เจำ้ ของควำมตอ้ งกำร วำ่ มีปญั หำอะไร สำเหตุของปัญหำคืออะไร

7 ต้องสร้างเสริมศักยภาพเร่ืองอะไร ให้กับใคร มีจานวนเท่าใด โดยในการกาหนดหลักสูตรการฝึกอบรมจะมี องค์ประกอบสาคัญ 6 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย/คุณสมบัติผู้เข้า รับการอบรม เนือ้ หาวชิ าและวิธีการฝึกอบรม/เรยี นรู้ ตารางการฝึกอบรม วิธกี ารประเมนิ ผล รายละเอียด ดังนี้ - หลักการและเหตุผล เป็นการอธิบายถึงความสาคัญของการที่ต้องมีการพัฒนาศักยภาพ เจ้าหนา้ ที่ใหม้ คี วามรู้ความสามารถในเนอ้ื หาของหลักสูตรนี้ - การกาหนดวัตถุประสงค์ของหลักสูตร เป็นการกาหนดเป้าหมายการดาเนินการฝึกอบรม ว่าต้องการให้ได้ผลการฝึกอบรมอย่างไร ซึ่งต้องสอดคล้องกับความจาเป็นในการฝึกอบรม (Training Need : TN) - การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย/คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมต้องมี คุณสมบัติท่ีเหมาะสม ซ่ึงผู้ร่างหลักสูตรต้องกาหนดคุณสมบัติและจานวนไว้อย่างชัดเจนสอดคล้องกับความ จาเป็นในการฝึกอบรม เนื้อหาและวิธีการในการฝึกอบรม เช่น การสอดคล้องกับความจาเป็นและเนื้อหาไดแ้ ก่ ต้องเป็นบุคคลในตาแหน่ง... ต้องมีประสบการณ์เบ้ืองต้นในด้านน้ีมาไม่ต่ากว่า.....ปี ต้องเคยผ่านหลักสูตร……. มาก่อน สอดคล้องกับวิธีการฝึกอบรม เช่น การบรรยาย การระดมสมอง การฝึกปฏิบัติ ซึ่งต้องมีจานวนผู้รับ การอบรมเหมาะสมกบั วัสดุอปุ กรณ/์ เครอื่ งมอื รวมถงึ วทิ ยากรที่จะควบคมุ ดแู ล เปน็ ตน้ - การกาหนดเนื้อหา และวธิ ีการฝึกอบรม การกาหนดเน้ือหาของหลักสูตร โดยนาเอาวัตถุประสงค์ของหลักสูตรมาพิจารณากาหนด รายละเอยี ด ดังน้ี 1. หวั ขอ้ วชิ า ทส่ี นองตอ่ วัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู รในประเดน็ น้นั ๆ 2. วัตถปุ ระสงค์รายวิชา ซึง่ ต้องกาหนดในลกั ษณะของวัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรมของหวั ข้อวิชานน้ั ๆ 3. ขอบข่ายเนอื้ หาวิชา หมายถงึ ประเดน็ ย่อยของเนอ้ื หาวชิ าท่ีต้องการให้เกิดการเรยี นรูใ้ นวิชานั้น ๆ 4. วิธีการฝึกอบรม/เรียนรู้ ท่ีเหมาะสมจะใช้ในเน้ือหาน้ัน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ท่ีจะทาให้ บรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ องหวั ข้อวชิ า 5. เวลา ท่จี ะใช้ในกระบวนการเรยี นร้/ู อบรมในหวั ข้อวชิ า 6. วิทยากร ซ่ึงก็คือบุคคลที่จะดาเนินการจัดการเรียนรู้ในวิชาน้ี หรือถ้าไม่สามารถระบุช่ือได้ อาจกาหนดเปน็ ชือ่ ของหน่วยงาน/ลกั ษณะหน่วยงานท่ีจะเชิญมาเปน็ วทิ ยากรก็ได้ - การกาหนดตารางการฝึกอบรม เป็นการกาหนดกรอบและลาดับของการฝึกอบรมใน แต่ละวัน เพื่อใช้ในการประสานการดาเนินการและช่วงเวลาดาเนินการทั้งหมดในลักษณะของตารางท่ีกาหนด ลาดับวนั ชว่ งเวลา หัวขอ้ วชิ าของการดาเนินการฝึกอบรม - การกาหนดวิธีการประเมินผลการฝึกอบรม เป็นการกาหนดวิธีการเพื่อตรวจสอบการ เรียนรูข้ องผู้เข้าอบรมว่าสัมฤทธิผลตามวัตถปุ ระสงค์ที่ตงั้ ไว้ของหลักสูตรหรือไม่ ไดแ้ ก่ การกาหนดเงื่อนไขท่ีจะ ทาให้ผู้จัดการอบรมเชื่อได้ว่าการดาเนินการจัดฝึกอบรมบรรลุวัตถุประสงค์การดาเนินการได้เพียงใด เช่น

8 ต้องมีเวลำกำรร่วมกิจกรรมกำรเรียนรู้ไม่น้อยกว่ำร้อยละ ๘๐ มีคะแนนทดสอบหลังเรียนได้ไม่น้อยกว่ำ รอ้ ยละ ๗๕ เปน็ ตน้ 2) กำรกล่นั กรองหลกั สูตร กำรกล่ันกรองหลักสูตร เป็นกำรนำร่ำงหลักสูตรท่ีได้จัดทำขึ้นในข้ันตอนที่ผ่ำนมำ ให้นักวิชำกำร ผู้เชี่ยวชำญทำงด้ำนเน้ือหำ/ผู้ปฏิบัติงำน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงำนเจ้ำของควำมจำเป็น ในกำรฝกึ อบรม (TN) ร่วมพจิ ำรณำให้ข้อเสนอแนะในรำ่ งหลักสูตร เนอ้ื หำ และกระบวนกำร เพื่อเป็นข้อมูลใน กำรปรับปรงุ หลกั สูตรให้สมบรู ณ์กอ่ นนำไปใช้จรงิ 3) กำรปรับแกไ้ ขหลักสูตร กำรปรับแก้ไขหลักสูตร เป็นข้ันตอนของกำรดำเนินกำรนำข้อมูล ควำมคิดเห็น ข้อเสนอแนะ จำกนักวิชำกำร ผู้เชี่ยวชำญทำงด้ำนเนื้อหำ/กำรปฏิบัติงำน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงำนเจ้ำของ ควำมจำเป็นมำทำกำรแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรตำมควำมเหมำะสมเพ่ือให้พร้อมท่ีจะนำไปใช้ในกำรจัด ดำเนินกำรโครงกำรฝึกอบรมตอ่ ไป Work Flow กำรร่ำงหลกั สตู ร กระบวนกำร รำยละเอยี ดของงำน ผู้รบั ผดิ ชอบ/เกี่ยวขอ้ ง หมำยเหตุ ร่ำงหลกั สตู ร กำหนด 6 องค์ประกอบสำคญั - ผูร้ บั ผิดชอบดำเนนิ กำร - หลักกำรและเหตผุ ลเป็น กำรเขียนให้ควำมสำคญั กล่นั กรอง - หลักกำรและเหตผุ ล - หวั หนำ้ หนว่ ยงำนท่ี ในเน้อื หำทจี่ ะฝึกอบรม - วตั ถปุ ระสงค์ ตอ้ งกำรพัฒนำ/เจ้ำของ ปรบั แกไ้ ข - ตำรำงฝกึ อบรมเป็นกำร - กลุ่มเปำ้ หมำย/คณุ สมบตั ิ ควำมต้องกำร กำหนดวนั ในลกั ษณะ ผู้เขำ้ รบั กำรอบรม - นักวิชำกำร วนั ที่ 1 วนั ที่ 2 ... ไมใ่ ช่ วนั ท่ีตำมปฏทิ ิน - เนอื้ หำ/วิชำและวธิ กี ำร - ผู้เชยี่ วชำญด้ำนเนื้อหำ/ ฝึกอบรม/เรยี นรู้ ผูป้ ฏบิ ตั ิงำน - ตำรำงกำรฝึกอบรม - วิธีกำรประเมนิ ผล กล่นั กรองรำ่ งหลักสูตรในด้ำน - หวั หนำ้ หนว่ ยงำนท่ี - วัตถุประสงค์ ต้องกำรพัฒนำ/เจำ้ ของ - เนอ้ื หำ ควำมตอ้ งกำร - วิธกี ำร - นกั วชิ ำกำร - เวลำ - ผ้เู ชยี่ วชำญดำ้ นเนอ้ื หำ/ - วิทยำกร ผูป้ ฏบิ ัติงำน - ตำรำงกำรอบรม นำขอ้ เสนอแนะจำกขนั้ ตอน - ผรู้ บั ผิดชอบดำเนินกำร กำรกล่นั กรองมำแกไ้ ขปรับปรงุ

9 1.2 สรรหาวิทยากร คัดเลือกสรรหาวิทยากรท่ีมีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ความเหมาะสมกับหัวข้อท่ีจะ บรรยาย โดยพิจารณาจากประวัติ ประสบการณ์ในการบรรยายที่ผ่านมา ประสานเชิญวิทยากรอย่างไม่เป็น ทางการ แจ้งรายละเอียดหวั ข้อ ขอบเขตเน้ือหา วัตถุประสงค์ วนั เวลา สถานที่ และกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม ระบจุ านวน อายุ เพศ ระดบั การศึกษา/ตาแหน่ง เพื่อให้วิทยากรได้ออกแบบการนาเสนอได้อยา่ งเหมาะสม 1.3 ติดต่อและสรรหาสถานท่ี ตดิ ต่อประสานจองสถานท่ี ควรพจิ ารณาเลอื กสถานท่ที เ่ี หมาะสมกบั กิจกรรมท่ีกาหนดในหลักสูตร ห้องพัก ห้องอาหาร ห้องฝึกอบรม สถานท่ีทากิจกรรม ตลอดจนสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ จะต้องมีความ พร้อมและควรท่ีจะสารวจสถานท่ีก่อนจัดฝึกอบรม หากสถานท่ีฝึกอบรมอยู่ในต่างจังหวัด ควรศึกษาข้อมูล เพม่ิ เติม ผ่านเว็ปไซต์ของโรงแรม หรอื สถานท่นี ้นั ๆ (ถ้าม)ี หรอื สอบถามจากพนักงานขาย (Sales) ของโรงแรม ท่ีพัก ขน้ั ตอนที่ 2 เขยี นโครงการ 2.1 เป็นการเขียนรายละเอียดของโครงการที่จะดาเนินการจัดฝึกอบรม โดยต้องมีองค์ประกอบ ในการเขยี นโครงการดงั นี้ 2.1.1 ชื่อโครงการ ช่อื โครงการเปน็ ส่ิงสาคญั ในการเขยี นโครงการ ชือ่ โครงการจะเป็นตวั บอกให้เราได้ทราบ ว่าจะทาโครงการประเภทไหน สามารถจงู ใจผูท้ ี่จะเข้าร่วมโครงการได้อย่างมาก ดังน้ัน จึงควรต้ังชื่อโครงการท่ี มีความสร้างสรรค์ ใช้ภาษาที่ทาให้ติดตาคน จาได้ง่าย ส้ัน ๆ กระทัดรัด และต้องสามารถทาให้ผู้อ่านมองเห็น ภาพหรอื คะเนวธิ ีการดาเนินงานของโครงการได้ทนั ที 2.1.2 หนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบ ระบุชื่อกอง/สานัก และหน่วยงาน ที่เป็นผู้รับผิดชอบดาเนินงานโครงการน้ัน ๆ เช่น สถาบันพฒั นาบุคลากรดา้ นการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สานักงาน ป.ป.ส. 2.1.3 หลักการและเหตผุ ล เป็นการเขียนช้ีแจงเหตุผลความจาเป็นที่ต้องจัดทาโครงการข้ึน ควรเขียนโดยทาให้ ผู้อ่านมองเห็นข้อดีและข้อเสียในการทาหรือไม่ทาโครงการนั้น อาจอ้างนโยบาย ข้อกาหนด กฎหมาย ฯลฯ เพ่ือทาให้ เหตุผลมีน้าหนักมากข้ึน การเขียนในหัวข้อนี้ถือเป็นหัวใจสาคัญท่ีจะทาให้เกิดการพิจารณาอนุมัติ หรือไมก่ ไ็ ด้ จงึ ควรพิถพี ิถันดว้ ยการเรียบเรยี งภาษาที่ส่อื สารใหเ้ ขา้ ใจอย่างงา่ ย ๆ และมีความชดั เจน 2.1.4 วตั ถุประสงค์ คือ การกาหนดเป้าหมายปลายทางท่ีต้องการให้เกิดจากการดาเนินโครงการ ควรเขียน ให้ชัดเจน รัดกุม เข้าใจง่าย โดยเขียนให้สอดคล้องกับช่ือโครงการ หลักการและเหตุผล สิ่งที่เกิดข้ึนนั้นจะต้อง วัดผลและปฏบิ ตั ไิ ดใ้ หร้ ะบเุ ปน็ ขอ้ ๆ ไมค่ วรเกิน 3 ข้อ เพราะจะชว่ ยใหผ้ ู้รับผดิ ชอบโครงการสามารถดาเนินงาน ไดส้ าเรจ็ ตามกรอบทีก่ าหนดไว้จริง

10 2.1.5 กลุ่มเป้าหมาย/จานวนของผู้เข้ารับการฝึกอบรม และเจ้าหน้าที่บริหารจัดการ ฝกึ อบรม หมำยถึง คุณสมบัติและจำนวนของกลุ่มเป้ำหมำยท่ีเข้ำรับกำรอบรม รวมทั้งจำนวนของ เจ้ำหนำ้ ท่ีบริหำรจัดกำรฝึกอบรม เพือ่ ควำมสะดวกในกำรคำนวนงบประมำณคำ่ ใชจ้ ่ำย 2.1.6 ระยะเวลาการฝึกอบรม ควรกำหนดช่วงเวลำของกำรปฏิบัติโครงกำรต้ังแต่เริ่มต้นจนส้ินสุดโครงกำรให้ชัดเจน บำงโครงกำรอำจจะปฏิบัติงำนแค่วันเดียว หรือบำงโครงกำรอำจจะใช้เวลำหลำยวันก็ได้แล้วแต่เรำจะกำหนด ท้ังนต้ี ้องระวังด้วยวำ่ เวลำท่ีใชห้ ลำยวนั จะมผี ลกระทบต่องบประมำณทีม่ ีจำกัด 2.1.7 สถานท่ีฝึกอบรม คอื สถำนท่ีทใี่ ชใ้ นกำรปฏบิ ัติงำนตำมโครงกำร ควรระบุให้ชัดเจนและเจำะจงจะไดท้ รำบ ว่ำมีกำรปฏบิ ตั ิงำน ณ ท่ีใด 2.1.8 งบประมาณ เป็นหัวใจสำคัญในกำรขับเคลื่อนโครงกำร ผู้เขียนควรประมำณค่ำใช้จ่ำยท้ังหมดใน กำรดำเนินโครงกำรด้วยตัวเลขงบประมำณท่ีสมเหตุสมผล มีกำรแจกแจงหมวดกำรใช้เงินอย่ำงชัดเจน โดยรำยละเอียดจะระบุอยู่ในประมำณกำรค่ำใช้จำ่ ยในกำรจัดโครงกำร สำหรับในโครงกำรควรระบุ แหล่งที่มำ ของงบประมำณ 2.1.9 หลักสตู รการฝกึ อบรม ประกอบด้วยหัวข้อวิชำ และระยะเวลำในกำรฝึกอบรมแต่ละหัวข้อวิชำที่กำหนดใน ตำรำงฝึกอบรม หำกเป็นหลกั สูตรทใี ช้ระยะเวลำในกำรอบรมเป็นเวลำนำน อำจจะแบ่งหวั ขอ้ วิชำเป็นหมวด ๆ เพือ่ ควำมเป็นระบบ 2.1.10 วทิ ยากร หำกโครงกำรได้กำหนดวิทยำกรเรียบร้อยแล้ว สำมำรถระบุชื่อ นำมสกุล/ตำแหน่งของ วิทยำกรได้เลย ซ่ึงจะช่วยดึงดูดควำมสนใจของผู้เข้ำร่วมกำรอบรมได้ทำงหนึ่ง แต่หำกยังไม่สำมำรถระบุตัว วทิ ยำกรได้ โครงกำรสำมำรถระบุเป็นวิทยำกรจำกหนว่ ยงำนใด หรอื ระบุกว้ำงๆ เป็นวทิ ยำกรภำยใน/ภำยนอก สำนักงำน 2.1.11 เทคนิคที่ใชใ้ นการฝึกอบรม ระบเุ ทคนิค/วธิ ีกำรท่ีใช้ในกำรฝกึ อบรมทั้งมหมด เชน่ กำรบรรยำย กำรอภปิ รำย กำรซักถำม กำรฝกึ ปฏิบตั ิ 2.1.12 เครื่องมือ ส่อื และโสตทัศนูปกรณ์ท่ีใช้ในการอบรม ประกอบดว้ ย วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือ ท่ีใชใ้ นระหว่ำงกำรฝกึ อบรม

11 2.1.13 การประเมนิ ผล ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. วัตถุประสงค์ในการประเมินผล และ 2. เคร่ืองมือท่ีใช้ใน การประเมนิ ผล ได้แก่ แบบประเมินรายวิชา (ประเมินวทิ ยากร) และ แบบประเมินโครงการ ในรปู แบบเอกสาร หรือจัดทาในรปู แบบ Google Form เพอ่ื ให้เกิดความสะดวกและลดภาระในการจดั ทาเอกสาร 2.1.14 การรบั รองผลการฝึกอบรม เป็นข้อกาหนดท่ีทาให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทราบเกณฑ์ในการผ่านการอบรม เช่น เวลา เข้ารับการฝกึ อบรมร้อยละ 80 ของระยะเวลาการฝกึ อบรมท้ังหมด 2.1.15 ผลที่คาดว่าจะได้รบั เป็นการคาดคะเนผลการดาเนินโครงการล่วงหน้า สามารถนาไปใช้ตรวจสอบความสาเร็จ ของโครงการภายหลังจากโครงการเสร็จส้ิน ควรเขียนระบุเป็นข้อ ๆ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เป็นรายข้อ (ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั อาจมีจานวนขอ้ มากกวา่ วตั ถปุ ระสงค์ได)้ 2.1.16 ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ ควรระบุชอื่ หน่วยงานและเบอร์ตดิ ต่อให้ชัดเจน หากมปี ัญหาหรอื มีการตดิ ต่อจากบุคคล/ องคก์ รภายนอกสามารถตดิ ตามและตรวจสอบได้ (ตวั อยา่ งโครงการ ขอบข่ายและตารางฝึกอบรมตามภาคผนวก 1.01) ข้นั ตอนท่ี 3 ประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ย ผู้ดาเนินโครงการต้องประมาณการคา่ ใช้จ่ายในการดาเนินการจัดฝึกอบรม โดยคานึงถึงประเภทของ การฝึกอบรม และแบ่งประเภทค่าใช้จ่ายตามหมวด โดยประมาณการไม่เกินอัตราค่าใช้จ่ายตามระเบียบ กระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยคา่ ใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ และระเบียบท่เี กี่ยวขอ้ ง ดังน้ี ประเภทของการฝึกอบรม - การฝึกอบรมประเภท ก : การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการ ตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ ข้าราชการตาแหน่งประเภทวิชาการระดับ เช่ียวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิ ข้าราชการตาแหน่งประเภทอานวยการระดับสูง ข้าราชการตาแหน่งประเภท บริหารระดบั ตน้ และระดับสูง หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า - การฝึกอบรมประเภท ข : การฝึกอบรมท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินก่ึงหน่ึงเป็นบุคลากรของรัฐ ซ่ึงเป็นข้าราชการตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับปฏิบัติงาน ระดับชานาญงานและระดับอาวุโส ข้าราชการ ตาแหน่งประเภทวิชาการปฏิบัติการ ระดับชานาญการและระดับชานาญการพิเศษ ข้าราชการตาแหน่ง ประเภท อานวยการระดบั ตน้ หรอื ตาแหน่งทีเ่ ทียบเทา่ - การฝกึ อบรมบคุ คลภายนอก : การฝึกอบรมท่ีผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมเกนิ กง่ึ หน่ึงมิใชบ่ ุคลากรของรัฐ (แก้ไขโดยระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่าง ประเทศ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2552)

12 สาหรบั การประมาณคา่ ใช้จา่ ยสามารถแบง่ ตามหมวดได้ ดังน้ี 3.1 หมวดคา่ ตอบแทน ประกอบด้วย - ค่าตอบแทนวิทยากร เจ้าหน้าที่โครงการจะตอ้ งพิจารณาว่าโครงการท่ีจะดาเนินการเป็นการ ฝกึ อบรมประเภทใด เนอื่ งจากอตั ราค่าตอบแทนวิทยากรของแต่ละประเภทไม่เท่ากัน ดังนี้ การฝกึ อบรม ค่าตอบแทนวิทยากร/ชม/คน หมายเหตุ ราชการ เอกชน ประเภท ก 800.- 1600.- อภิปราย/สมั มนา - ประเภท ข และ 600.- 1200.- วิทยากรไม่เกิน 5 คน รวมผดู้ าเนนิ การ บุคคลภายนอก อภปิ ราย แบ่งกลุ่มฝกึ ปฏบิ ัติ - วทิ ยากรไม่เกนิ กลุ่มละ 2 คน ** กรณวี ิทยากรเป็นผู้ทรงคุณวฒุ ิ มปี ระสบการณส์ ูง จาเปน็ ตอ้ งจ่ายค่าตอบแทนสูงกว่าที่กาหนดไว้ในระเบียบฯ ใหโ้ ครงการขออนุมัติจ่ายค่าตอบแทนกรณีพิเศษต่อหัวหน้าส่วนราชการ โดยระบอุ ตั ราค่าตอบแทนวิทยากรต่อ ชั่วโมงให้ชัดเจน พร้อมแนบประวัติและผลงานโดดเด่นของวิทยากรท่านน้ันเพ่ือประกอบการพิจารณาของ ผู้บริหาร 3.2 หมวดคา่ ใชส้ อย ประกอบด้วย - ค่าที่พักผูเ้ ข้าอบรม สามารถตงั้ ประมาณการคา่ พกั ตามประเภทของการฝึกอบรมเชน่ กัน ดงั น้ี คา่ เชา่ ท่ีพกั (ในประเทศ) (บาท : วนั : คน) ประเภทการฝึกอบรม พกั เดย่ี ว พักคู่ ประเภท ก ไมเ่ กนิ 2,400.- ไม่เกิน 1,300.- ประเภท ข ไมเ่ กนิ 1,450.- ไม่เกนิ 900.- บุคคลภายนอก ไม่เกิน 1,200.- ไม่เกนิ 750.- หมายเหตุ : - การฝึกอบรมประเภท ก สามารถพักคูห่ รือพกั เดย่ี วก็ได้ - การฝกึ อบรมประเภท ข และ บุคคลภายนอก ให้พักคู่ ยกเว้นมีเหตจุ าเปน็ ไมอ่ าจพกั รวมกับผ้อู ืน่ สามารถ จดั ให้พกั เดี่ยวได้ ทงั้ นี้ การเบกิ จ่ายค่าที่พกั เด่ียวและคู่ จะต้องไมเ่ กินอตั ราคา่ เชา่ ท่พี ักตามประเภทการฝึกอบรม

13 - ค่าพาหนะเดินทาง สามารถประมาณการค่าพาหนะเดนิ ทางไดโ้ ดยคานงึ ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ 1. ใช้ยานพาหนะของส่วนราชการผู้จัดยืมจากส่วนราชการอ่ืน/หน่วยงานอ่ืน เบิกค่าน้ามัน เทา่ ท่ีจ่ายจริง 2. ใช้ยานพาหนะประจาทาง/เช่าเหมายานพาหนะ ให้จัดยานพาหนะตามประเภทการ ฝกึ อบรมตามสิทธิข้าราชการตามพระราชกฤษฎกี าค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทาง ดังน้ี ประเภทการเดนิ ทาง ระดบั ผู้เข้ารับการอบรม ประเภท ก ตามสทิ ธิข้าราชการประเภทบริหารระดับสูง ประเภท ข ตามสิทธขิ า้ ราชการประเภทท่ัวไประดบั ชานาญงาน บุคคลภายนอก ตามสทิ ธขิ ้าราชการประเภทท่ัวไประดบั ปฏิบตั ิงาน ทั้งน้ี ให้เบิกจ่ายค่าพาหนะได้เท่าท่ีจ่ายจริงตามความจาเป็นเหมาะสมและประหยัด และไม่เกินกว่า สทิ ธิของผู้เขา้ รับการอบรม - คา่ เบี้ยเลยี้ ง ประมาณการโดยคานงึ ถงึ ระดบั ของผู้เข้ารับการอบรม ดังน้ี ระดับผูเ้ ขา้ รับการอบรม อัตรา/วัน ระดบั ผอ.สานัก/ผ้เู ช่ยี วชาญ ขึ้นไป 270.- ระดับชานาญการพิเศษลงมา 240.- - ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ต้องคานึงถึงสถานที่ในการจัดฝึกอบรมว่าจัดอบรมใน สถานท่ีราชการหรือสถานท่เี อกชน ดังนี้ (บาท : วนั : คน) สถานทรี่ าชการ การฝึกอบรม ในประเทศ ต่างประเทศ ครบม้อื ไม่ครบมื้อ ประเภท ก ไมเ่ กิน 850.- ไม่เกนิ 600.- ไม่เกนิ 2,500.- ประเภท ข ไม่เกิน 600.- ไม่เกนิ 400.- ไม่เกิน 2,500.- บคุ คลภายนอก ไมเ่ กิน 500.- ไม่เกนิ 300.- ไม่เกนิ 2,500.- สถานท่ีเอกชน การฝึกอบรม ในประเทศ ต่างประเทศ ประเภท ก ครบม้อื ไมค่ รบมอ้ื ไมเ่ กิน 2,500.- ประเภท ข ไมเ่ กนิ 2,500.- บคุ คลภายนอก ไมเ่ กนิ 1,200.- ไม่เกิน 850.- ไม่เกนิ 2,500.- ไมเ่ กิน 950.- ไมเ่ กิน 700.- ไมเ่ กนิ 800.- ไม่เกนิ 600.-

14 - ค่ำอำหำรว่ำงและเครื่องดื่ม ต้องคำนึงถึงสถำนท่ีในกำรจัดฝึกอบรมว่ำจัดอบรมในสถำนท่ี รำชกำรหรือสถำนทเ่ี อกชน ดังนี้ (บำท : มอ้ื : คน) สถำนที่ อัตรำ รำชกำร 35.- เอกชน 50.- - ค่ำเช่ำห้องประชุม สำมำรถประมำณกำรตำมท่ีจ่ำยจริง เนื่องจำกในระเบียบฝึกอบรม ฯ มิได้กำหนดอัตรำที่แนน่ อน ท้ังนี้ เจ้ำหน้ำทโี่ ครงกำร ฯ ควรพิจำรณำค่ำเช่ำห้องประชุมตำมควำมเหมำะสมของ ขนำดหอ้ งและจำนวนผู้เขำ้ รบั กำรอบรม - คำ่ เชำ่ รถ สำมำรถประมำณกำรตำมทีจ่ ่ำยจรงิ หำกคำ่ ใชจ้ ำ่ ยรำยกำรนี้เกนิ กวำ่ 5,000 บำท ให้หักยอดค่ำเช่ำรถออกจำกยอดเงินยืมทดรองรำชกำร เน่ืองจำกต้องเป็นกำรจัดซ้ือจัดจ้ำงเข้ำระบบ GFMIS (ระบบกำรบรหิ ำรงำนกำรเงนิ กำรคลังภำครัฐด้วยระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส) - ค่ำใช้จ่ำยในกำรติดต่อส่ือสำร (ค่ำเช่ำอินเตอร์เน็ต) สำมำรถประมำณกำรตำมควำม เหมำะสม - ค่ำเช่ำอุปกรณ์ในกำรจัดฝึกอบรม (ค่ำเช่ำชุดเครื่องฉำย LCD) สำมำรถประมำณกำรตำม ท่จี ่ำยจรงิ - ค่ำใช้จ่ำยอื่นๆ ท่ีจำเป็นในกำรจัดฝึกอบรม เช่น ค่ำถ่ำยเอกสำร/ค่ำโทรสำร/ค่ำทำงด่วน สำมำรถประมำณกำรตำมควำมเหมำะสม 3.3 หมวดค่ำวสั ดุ ประกอบด้วย - ค่ำวัสดุ สำมำรถประมำณกำรตำมท่ีจำเป็นต้องใช้จริง โดยคำนึงถึงจำนวนเงินค่ำวัสดุ ในโครงกำร ดังนี้ 1) ยอดเงินไม่ถึง 5,000 บำท เจ้ำหน้ำที่สำมำรถซ้ือวัสดุที่จำเป็นต้องใช้ในกำรอบรม และ จัดทำเอกสำรจดั ซือ้ จดั จ้ำงแนบสำหรับกำรเคลยี ร์เอกสำรค่ำใช้จำ่ ย หมำยเหตุ : กรณีเจ้ำหน้ำท่ีโครงกำรซื้อวัสดุเอง ควรระมัดระวังในกำรออกใบเสร็จ โดยระบุชอื่ ท่อี ยู่ และรำยกำรวสั ดใุ ห้ถกู ตอ้ ง ปรำกฎรำยละเอียดตำมเอกสำรหลักฐำนประกอบกำรเบิกจ่ำย ลำดับที่ 2.10 ค่ำวัสดุฝกึ อบรม หัวขอ้ 2.10.1 2.) ยอดเงินเกิน 5,000 บำท จำนวนเงินค่ำวัสดุนี้จะต้องตัดออกจำกยอดเงินยืมทดรอง รำชกำร เน่อื งจำกตอ้ งเข้ำระบบ GFMIS หมำยเหตุ : กรณีจัดซ้ือวัสดุเข้ำในระบบ GFMIS ผู้รับผิดชอบดำเนินกำรสำมำรถ ดำเนินกำรตำมข้ันตอนกำรจัดซ้ือ ระยะเวลำดำเนินกำร ปรำกฎในรำยละเอียดตำมเอกสำรหลักฐำน ประกอบกำรเบิกจำ่ ย ลำดบั ท่ี 2.10 คำ่ วสั ดฝุ กึ อบรม หัวข้อ 2.10.2 - ค่ำน้ำมันเชื้อเพลิง สำหรับค่ำน้ำมันเช้ือเพลิงของโครงกำรฝึกอบรม จะต้องมีกำรขออนุมัติ รถยนต์รำชกำร จำก ลปส. เพือ่ ใชใ้ นโครงกำร โดยระบปุ ระเภทของรถยนต์ พร้อมหมำยเลขทะเบยี นรถ

15 - ค่าน้ามันเชื้อเพลิง สาหรับค่าน้ามันเชื้อเพลิงของโครงการฝึกอบรม จะต้องมีการขออนุมัติ รถยนต์ราชการ จาก ลปส. เพื่อใช้ในโครงการ โดยระบุวา่ เป็นรถยนตย์ ห่ี ้อใด พร้อมทะเบียนรถ หมายเหตุ : ข้อมูลที่ต้องระบุในใบเสร็จค่าน้ามันเชื้อเพลิง ปรากฎในรายละเอียดตาม เอกสารหลกั ฐานประกอบการเบกิ จา่ ย ลาดับที่ 2.9 คา่ เช่ารถ/ค่าน้ามนั เชื้อเพลงิ หน้า 25-26 ทัง้ น้ี มขี อ้ สังเกต 4 ประการในการประมาณการคา่ ใช้จา่ ย คอื 1. ค่าใช้จ่ายท่ีสามารถเบิกจ่ายในโครงการฝึกอบรมได้ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ฯ ประกอบด้วย 15 รายการ หากนอกเหนือจากนี้ โครงการจะต้องทาหนงั สือทาข้อตกลง ไปยงั กรมบัญชกี ลางเปน็ รายกรณไี ป (ตวั อย่างรายการคา่ ใชจ้ ่ายทเ่ี บิกได้ในโครงการฝึกอบรมตามภาคผนวก 1.02) 2. อัตราค่าใช้จ่ายรายการต่างๆ ที่กาหนดในประมาณการค่าใช้จ่ายต้องเป็นไปตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าดว้ ยคา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรม (ระเบียบฝกึ อบรมฯ ท่เี ก่ียวขอ้ งตามภาคผนวก 3.01-3.06) 3. ควรระบุหมายเหตุ : ขอถวั จ่ายทุกรายการ ไว้ดา้ นทา้ ยของรายการค่าใช้จา่ ยทป่ี ระมาณการไว้ 4. การประมาณการค่าใช้จ่ายในโครงการเพ่ือยืมเงินทดรองราชการควรประมาณการให้พอดี หรอื ใกลเ้ คยี งกบั จานวนเงินที่ต้องจา่ ย ถ้าเหลือเงินคนื เกิน 20 % ต้องช้แี จงเหตผุ ลประกอบการคืนเงิน

16 เตรยี มกำรก่อนฝึกอบรม ขนั้ ตอนที่ 4 ขออนุมตั ิโครงกำรและยมื เงินทดรองรำชกำร กำรขออนุมัติโครงกำรฝึกอบรมและงบประมำณ เป็นกำรดำเนินกำรตำมระเบียบกำรบริหำร รำชกำรเพ่ือขออนุมัติดำเนินกำรต่อ ลปส. โดยกำรทำหนังสือขออนุมัติจัดโครงกำรฝึกอบรมเสนอ ลปส. พจิ ำรณำอนมุ ตั ิ โดยชีแ้ จงถึงวตั ถุประสงค์และกลุ่มเป้ำหมำยของกำรฝึกอบรม ทั้งนี้ อำจขออนุมตั ิยมื เงินทดรอง รำชกำรไปพร้อมกัน โดยต้องแนบรำยละเอียดงบประมำณค่ำใช้จ่ำย สัญญำยืมเงิน และช่ือผู้ทำสัญญำยืมเงิน โครงกำร พร้อมหมำยเลขโทรศัพทต์ ิดต่อ ในกำรเสนอขออนมุ ัติโครงกำรจะตอ้ งแนบตัวโครงกำรฝึกอบรมไปดว้ ย ในกำรขออนุมตั ิดำเนินกำรและยืมเงนิ ทดรองรำชกำร ใหร้ ะบรุ ำยละเอยี ดในกำรขออนุมตั ดิ ังน้ี 4.1 ขออนุมัติดำเนินกำรฝึกอบรม โดยระบุช่ือหลักสูตร/ฝึกอบรมให้กับกลุ่มเป้ำหมำย/ เบิกจ่ำยเงินจำกงบประมำณประจำปี พ.ศ./รหัสงบประมำณ/ระบุจำนวนเงิน/จำนวนคน/จำนวนวันอบรม และสถำนทอี่ บรม 4.2 ขออนุมัติยืมเงินทดรองรำชกำรเพ่ือเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินกำรจัดฝึกอบรมตำมจำนวน เงินประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยท่ีได้ต้ังไว้ หำกโครงกำรมีค่ำใช้จ่ำยที่ต้องนำเข้ำระบบ GFMIS ในกำรยืมเงินทดรอง รำชกำรต้องตัดยอดค่ำใชจ้ ำ่ ยดังกลำ่ วออกก่อน 4.3 ทำสญั ญำยืมเงินทดรองรำชกำร ดังน้ี 1) กรอกรำยละเอยี ดในสญั ญำยมื เงินพร้อมลงลำยมือชอ่ื 2) แนบรำยละเอยี ดประมำณกำรยมื เงิน 3) เอกสำรท่ตี ้องแนบทุกคร้ัง ประกอบดว้ ย - บันทึกขออนุมตั ิโครงกำร - โครงกำร - สญั ญำกำรยมื เงิน จำนวน 2 ชุด หมำยเหตุ : 1. กำรยืมเงนิ ในแตล่ ะครั้ง จะตอ้ งหักลำ้ งเงนิ ยมื ภำยใน 30 วนั นับต้ังแต่วนั ทรี่ บั เงนิ 2. กรณีมีกำรอบรมหลำยรุ่น ให้ยืมเงินทีละรุ่นแล้วส่งคืนให้เสร็จส้ินก่อนที่จะยืมเงินรุ่นต่อไป (ในกรณที ่ผี ้ยู ืมเงนิ เปน็ คน ๆ เดียวกนั ) (ตวั อยำ่ งหนงั สือขออนุมตั ิจดั โครงกำรและยืมเงินทดรองรำชกำรตำมภำคผนวก 1.03) ** กรณีโครงกำรไม่ประสงค์ยืมเงินทดรองรำชกำร เม่ือโครงกำรได้รับกำรอนุมัติให้ดำเนินกำรได้ โครงกำรจะต้องสำรองเงนิ ค่ำใชจ้ ่ำยท่ีเกิดขึน้ ท้ังหมดไปก่อน และทำบันทกึ เสนอ ลปส. เพื่อสง่ เอกสำรค่ำใช้จ่ำย และเบกิ คำ่ ใชจ้ ำ่ ยคืน ภำยหลงั จำกดำเนินโครงกำรเสรจ็ สนิ้ เรียบร้อยแลว้ แตก่ ำรรวบรวมเอกสำร หลกั ฐำนและ สรปุ ค่ำใช้จ่ำยสำมำรถดำเนินกำรเชน่ เดียวกบั กรณยี มื เงินทดรองรำชกำร

17 ขน้ั ตอนที่ 5 การเชิญผ้เู ข้าอบรม รวบรวมรายชื่อผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรม และขออนมุ ตั เิ ข้ารว่ มโครงการ 5.1 เม่ือผู้มีอานาจ (อธิบดี/หัวหน้าส่วนราชการ) อนุมัติให้ดาเนินการจัดฝึกอบรมแล้ว ผู้ดาเนินการจัดฝึกอบรมจะต้องทาบันทึกหรือหนงั สือเชญิ เข้าอบรมไปยังหัวหน้าหนว่ ยงานของกลุ่มเปา้ หมายท่ี จะเข้ารับการอบรม เพื่อให้พิจารณามอบหมายเจ้าหน้าท่ีท่ีมีคุณสมบัติตามท่ีโครงการกาหนดเข้ารับการ ฝึกอบรม แล้วส่งรายชื่อมายังผู้ดาเนินการจัดฝึกอบรมภายในเวลาท่ีกาหนด นอกจากนี้ ควรต้องแจ้ง รายละเอียดเรื่องการเดินทาง ที่พัก และค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ ด้วย และควรระบุการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ราชการจากทีใ่ ดใหช้ ดั เจน 5.2 จัดทา QR Code แบบตอบรับในการเข้ารับการฝึกอบรมผ่านระบบลงทะเบียนการประชุม ด้วย QR Code ในระบบ Intranet ของสานักงาน ป.ป.ส. (ข้ันตอนการลงทะเบียนการประชุมฯ ตาม ภาคผนวก 2.01 และ 2.02) เม่ือได้ QR Code ดังกล่าวแลว้ ใหน้ าไปใส่ในบนั ทกึ หรอื หนังสอื เชิญเข้าอบรม 5.3 ในการส่งหนังสือเชิญเข้าอบรม ควรแนบกาหนดการฝึกอบรม แผนท่ีของสถานที่ฝึกอบรม (กรณีท่ีมกี ารฝึกอบรมหลายรุ่น ควรทาตารางแบง่ รุ่นและระบวุ นั เวลา สถานทจ่ี ดั อบรมให้ชัดเจน) 5.4 เม่ือผู้เข้ารับการอบรม Scan QR Code ตอบรับการฝึกอบรม ตามระยะเวลาท่ีโครงการ กาหนดแล้ว ผู้ดาเนินการจัดฝึกอบรมรวบรวมรายชอื่ ผู้เข้ารับการอบรมจากในระบบ (กรณีหน่วยงานมีหนังสือ ตอบรับและส่งรายช่ือผู้เข้ารับการฝึกอบรมมาเป็นลายลักษณ์อักษร ผู้ดาเนินการจัดฝึกอบรมควรตรวจสอบ ความถกู ต้องของรายช่ือผู้ลงทะเบียนผา่ น QR Code อกี ทางหนึ่ง) (ตวั อยา่ งหนังสอื เชิญเขา้ รบั การอบรมตามผนวก 1.04) 5.5 ก่อนจะถึงวันอบรม จะต้องขออนุมัติผู้เข้ารับการฝึกอบรม วิทยากร และเจ้าหน้าท่ีเข้าร่วม โครงการ ในกรณมี ีการเดนิ ทางไปราชการต่างจังหวัดต้องขออนุมัติเดินทางโดยระบวุ ันในการเดินทางใหช้ ัดเจน ต้งั แต่เริ่มออกจากบ้านพัก/ต้นสังกัด จนถงึ สิน้ สุดโครงการและกลับถึงบ้านพัก/ตน้ สังกัด และกรณหี ากมีการใช้ รถยนต์ของทางราชการเดินทางไปดาเนินการจัดฝึกอบรม ต้องระบุขออนุมัติรายชื่อพนักงานขับรถ หมายเลข ทะเบยี นรถยนต์ด้วย (ตัวอยา่ งหนังสือขออนุมตั เิ ข้าร่วมโครงการตามภาคผนวก 1.05) ข้ันตอนท่ี 6 ประสานงานด้านการฝกึ อบรม การประสานงานด้านการฝึกอบรม เช่น การประสานเชิญวิทยากร/จัดเตรียมสถานท่ี/ โสตทัศนูปกรณ์/อาหาร/อาหารว่างและเคร่ืองเดิม/เอกสารประกอบการฝึกอบรม/จัดทาคากล่าวพิธีเปิดการ ฝกึ อบรม โดยแบง่ ออกได้ ดงั นี้ 6.1 การประสานเชิญวิทยากร เมื่อผู้รับผิดชอบโครงการประสานติดต่อ ทาบทามเชิญวิทยากร อย่างไม่เป็นทางการไว้แล้ว เม่ือวิทยากรตอบรับการเป็นวิทยากรดังกล่าว ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องส่ง หนังสือเชิญวิทยากรไปอย่างเป็นทางการ โดยเสนอให้ผู้บริหารลงนาม ในหนังสือเชิญวิทยากร ต้องระบุ รายละเอยี ดเกย่ี วกับการฝึกอบรมว่าเป็นโครงการฝึกอบรมเรื่องอะไร มวี ัตถปุ ระสงค์อยา่ งไร ผู้เข้ารบั การอบรม เป็นใคร ระดับใด มาจากที่ไหนบ้าง จานวนเท่าใด และระบุวัน เวลา สถานที่ให้ชัดเจน พร้อมแนบกาหนดการ ฝกึ อบรม และแผนทสี่ ถานทฝ่ี กึ อบรมให้แกว่ ทิ ยากรหรือหน่วยงานต้นสังกัดของวิทยากร (ตวั อย่างหนงั สือเชิญ

18 วิทยากรตามภาคผนวก 1.06) หลังจากนั้น ทาการประสานอีกครั้งเพ่ือขอประวัติวิทยากร และเอกสาร ประกอบการฝึกอบรม เพื่อจัดทาเตรียมไว้ล่วงหน้า สาหรับแจกผู้เข้าอบรม หรือในปัจจุบันอาจจะนาไฟล์ เอกสารประกอบการอบรม ข้นึ ไปไว้ใน Google Drive เพอ่ื ให้ผเู้ ข้าอบรมโหลดเก็บไว้ศกึ ษาในภายหลัง รวมทั้ง ขอทราบวัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็นต้องใช้ของวิทยากรเพื่อจะได้จัดเตรียมไว้ และกาหนดวัน รับ-ส่งวิทยากร (ตวั อยา่ งประวตั วิ ทิ ยากรตามภาคผนวก 1.07) 6.2 การเตรียมความพร้อมก่อนการฝกึ อบรม 6.2.1 การจัดเตรยี มสถานที่ - การประสานสถานที่จัดอบรม ต้องประสานกบั เจ้าของสถานที่ก่อนทกุ ครั้งท่ีจะมีการ จัดการฝึกอบรมเพื่อให้มีการจัดเตรียมสถานท่ีสาหรับการฝึกอบรม กรณีท่ีมีการจัดการฝึกอบรมโดยใช้สถานท่ี จากหน่วยงานภายนอก หากเป็นกรณีใช้สถานที่ในการฝึกอบรมภายในหน่วยงาน ผู้จัดการฝึกอบรมจะต้อง ประสานฝ่ายอาคารสถานท่ีเพ่ือให้จัดเตรียมห้องฝึกอบรม ซ่ึงส่วนใหญ่จะจัดในรูปแบบห้องเรียน มีโพเดียมให้ประธานบนเวทีเพ่ือยืนกล่าวในพิธีเปิดการฝึกอบรม หรืออาจจะเป็นโต๊ะและเก้าอี้ในกรณีที่ ประธานกล่าวเปิดและเป็นวิทยากรบรรยายต่อ ซ่ึงต้องใช้ระยะเวลานาน และมีโพเดียมสาหรับผู้อานวยการ โครงการกลา่ วรายงานต่อท่านประธานในพิธีด้านลา่ งเวที - เตรียมสถานทล่ี งทะเบียน สถานทร่ี บั ประทานอาหาร จานวนหอ้ งพัก (กรณีมีการพัก คา้ ง) สาหรบั ผเู้ ขา้ อบรม เจา้ หนา้ ที่ และวิทยากร 6.2.2 การจดั เตรยี มโสตทศั นปู กรณ์ - ติดต้งั /ตรวจสอบคอมพิวเตอร์สาหรบั การบรรยาย - ตรวจสอบติดตั้งเครอื่ งฉาย LCD และจอรบั ภาพ - ตรวจสอบเครอ่ื งขยายเสยี งและไมโครโฟน - ตรวจสอบระบบอนิ เตอร์เนต็ - ตรวจสอบความเยน็ ของเครอ่ื งปรบั อากาศ ความสว่าง โตะ๊ และเกา้ อี้ 6.2.3 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ระหว่างการอบรม วัสดุอุปกรณ์เบ้ืองต้นที่ควรจัดเตรียมให้กับ ผ้เู ข้ารบั การอบรม ประกอบด้วย - สมดุ /กระดาษโน๊ต - ดนิ สอ/ปากกา - วสั ดอุ ปุ กรณ์อ่นื ๆ ทวี่ ทิ ยากรต้องการเพมิ่ เติมเพื่อใชร้ ะหวา่ งการอบรม 6.3 ประสานงานเก่ยี วกับเรื่องอาหาร อาหารวา่ งและเคร่ืองดืม่ โดย - ประสานงานผู้ประกอบการและจัดเตรียมสถานที่สาหรับรบั ประทานอาหารและอาหารวา่ ง และเครื่องด่ืม 6.4 เตรยี มเอกสารประกอบการฝกึ อบรม - ประสานเจ้าหนา้ ทพ่ี สั ดุดาเนินการจัดซอ้ื จดั จ้างตามระเบียบพสั ดุ กรณีจดั ทาเอกสารเปน็ รูปเล่ม

19 - ประสานเจ้าหน้าที่ร้านถ่ายเอกสารเพ่ือนาต้นฉบับไปดาเนินการจัดทาเอกสารสาหรับผู้เข้า รับการฝึกอบรม ซ่ึงในปัจจุบันนิยมนาไฟล์เอกสารต้นฉบับ Upload ข้ึน Google Drive สาหรับให้ผู้เข้าอบรม Download (ขั้นตอนการ Upload เอกสารขนึ้ Google Drive ตามภาคผนวก 2.03) 6.5 จดั ทาคากลา่ วพิธเี ปดิ /ปิดการฝึกอบรม การจัดทาคากล่าวของประธานในพธิ ีและผู้กล่าวรายงาน ในพิธเี ปดิ และปดิ โครงการ สามารถ ดาเนินการได้ ดังนี้ - วิเคราะห์โครงการ/สรุปเน้ือหาของหลักสูตรการฝึกอบรม เพ่ือนามาทาคากล่าวประธาน และคากลา่ วรายงานในพธิ ีเปิดและปิดการฝึกอบรม/ - การทาคากล่าวเปดิ และคากลา่ วรายงานเปิดการฝกึ อบรม ควรเน้นวตั ถุประสงคค์ วามสาคัญ ของโครงการ และผลประโยชน์ท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับและสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ปฏิบตั ิงาน (ตัวอย่างคากล่าวเปดิ และคากล่าวรายงานเปิดตามภาคผนวก 1.08) - การทาคากล่าวปิดและคากล่าวรายงานปิดการฝึกอบรม ควรเน้นความสาคัญของ ผู้เข้ารับการอบรม และความรู้หรือประโยชน์ท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับจะสามารถนาไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานหรือองค์กร (ตัวอย่างคากล่าวปิดและคากล่าวรายงานปิดตามภาคผนวก 1.09) - ทาบันทึกเชิญหัวหน้าส่วนราชการเป็นประธานในพิธีเปิดการฝึกอบรม (ตัวอย่างหนังสือ เชญิ ประธานในพิธีตามภาคผนวก 1.10) 6.6 จดั ทาแบบประเมนิ ผลโครงการฝกึ อบรมสาหรับผู้เข้ารบั การฝึกอบรมใหค้ ะแนนความพึงพอใจ ประกอบดว้ ย 6.6.1 แบบประเมินผลรายวิชา เพื่อสอบถามความพงึ พอใจของผู้เข้ารับการอบรมต่อวิทยากร ในแต่ละหัวข้อ ประกอบด้วย ความรอบรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด เนื้อหาวิชา ส่ือ เทคนิค/วิธีการ ฝึกอบรม ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ ความสามารถในการตอบข้อซักถาม ซงึ่ เมื่อสน้ิ สดุ การฝึกอบรมแล้ว โครงการจะนา ผลการประเมินน้ีมาวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการปรับปรุงวิทยากรและหลักสูตรในครั้งต่อไป (ตัวอย่างแบบ ประเมินผลรายวชิ าตามภาคผนวก 1.11) 6.6.2 แบบประเมินผลหลักสูตร เพ่ือสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมต่อ หลักสูตรและการดาเนินโครงการ ประกอบด้วย ความรู้ความเข้าใจท่ีได้รับในภาพรวม การนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ระยะเวลาการอบรม การบรหิ ารจดั การของโครงการ และข้อคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ เพอ่ื เป็นข้อมูลในการปรบั ปรุงหลกั สูตร (ตัวอย่างแบบประเมินผลหลักสูตรตามภาคผนวก 1.12) ในปัจจุบันโครงการสามารถจัดทาแบบประเมินผลรายวิชา และประเมินผลหลักสูตร ใน Googel Form และส่ง Link ให้ผู้เขา้ อบรมทาการประเมนิ ได้จากโทรศัพทม์ ือถือของแตล่ ะคน ซ่ึงจะสะดวก ในการตอบแบบสอบถามและประหยัดค่าใช้จ่ายในการพิมพ์เอกสารกระดาษ (ขั้นตอนการจัดทาแบบ ประเมนิ ผลใน Google Form ตามภาคผนวก 2.4)

20 ดาเนินการระหวา่ งการอบรม ขน้ั ตอนท่ี 7 ดาเนินการฝึกอบรม 1. การลงทะเบียน เม่ือผู้เข้ารับการอบรมสแกน QR Code และลงทะเบียนเข้าร่วมการ ฝกึ อบรมเรียบรอ้ ยแลว้ จะได้รบั ข้อความแสดงวา่ ลงทะเบียนแล้ว และไดร้ ับ QR Code ตอบกลับทางอีเมล์ที่ใช้ ในการลงทะเบียน เม่ือถึงวันอบรม ผู้เข้ารับการอบรมจะต้องนา CR Code ดังกล่าวมาแสดงต่อเจ้าหน้าท่ีและ สแกนลงทะเบียนเข้ารับการอบรมหน้างานทุกวัน โดยแบ่งการลงทะเบียนเข้าอบรมวันละ 2 ช่วง คือ ช่วงเช้า และช่วงบ่าย ห้วงเวลาในการสแกนลงทะเบียนสามารถดาเนินการได้ตั้งแต่ก่อนเริ่มการอบรมวิชาแรกไปจน หลงั จากอบรมแล้วแต่ต้องไมเ่ กนิ 30 นาที ดงั น้ี ช่วงเช้า เรม่ิ อบรมเวลา 09.00 น. สามารถลงทะเบียนไดก้ ่อน 09.00 น. แตไ่ ม่เกิน 09.30 น. ชว่ งบ่าย เร่ิมอบรมเวลา 13.00 น. สามารถลงทะเบยี นได้กอ่ น 13.00 น. แตไ่ มเ่ กนิ 13.30 น. 2. ปฐมนิเทศ เจ้าหน้าท่ีโครงการต้องช้ีแจงให้ผู้เข้ารับการอบรมทราบเกี่ยวกับโครงการ ฝึกอบรม วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม ตารางการอบรม และกฎ ระเบียบของการฝึกอบรม รายละเอียดการ ดาเนินการและความร่วมมือในช่วงเวลาต่าง ๆ เช่น พิธีการต่าง ๆ การประเมินผล สถานท่ี (ห้องประชุม หอ้ งอาหาร ห้องพัก) การรับประทานอาหารกลางวัน/เย็น อาหารว่างและเครือ่ งดมื่ เป็นตน้ 3. พธิ เี ปดิ การอบรม เปน็ ข้ันตอนทเ่ี ป็นพธิ ีการประกอบดว้ ยการเชิญประธานรับฟงั การกล่าว รายงาน เชิญผู้กล่าวรายงาน เชิญประธานให้โอวาทและเปิดการฝึกอบรม การขอบคุณประธานที่ให้เกียรติมา เปดิ การฝึกอบรม 4. ประสานดาเนินการกับวิทยากร เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ในหลักสูตร ในขั้นตอนนี้ จะตอ้ งมีการเชญิ วิทยากร โดยการแนะนาวิทยากรจากประวัติการทางาน การศกึ ษา แบบย่อ เพ่อื เป็นการสร้าง ความเช่ือมั่นและความน่าเช่ือถือให้แก่วิทยากร การอานวยการในการสอนและการเรียนรู้ในการฝึกอบรม รวมทั้งการประเมินในแต่ละช่วงเวลา และเมื่อเสร็จสิ้นก็ต้องมีการดาเนินการกล่าวของคุณวิทยากรแต่ละท่าน ด้วย 5. พิธีปิดการฝึกอบรมและมอบวุฒิบัตร พิธีการน้ีเป็นช่วงสุดท้ายของการฝึกอบรม ให้จัดเตรียมห้องประชุมเหมือนกับตอนพิธีเปิด ในกรณีที่มีการมอบวุฒิบัตร ต้องมีการเตรียมการล่วงหน้าใน การตรวจสอบรายชื่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ถูกต้อง จัดเตรียมวุฒิบัตร โดยจัดพิมพ์รายช่ือแยกตามสังกัด หน่วยงาน และเรยี งลาดับวฒุ ิบัตรให้ตรงกบั ลาดับรายชื่อผู้เข้าอบรมเพื่อมใิ หเ้ กดิ การสลับวฒุ ิบตั รกัน (ตวั อย่าง วุฒิบัตรตามภาคผนวก 1.13)

21 ภำยหลงั กำรอบรม ขั้นตอนที่ 8 รวบรวมเอกสำร หลักฐำน และสรุปค่ำใช้จ่ำยส่งหักล้ำงเงินยืมทดรองรำชกำร และบันทึก รำยชื่อผ้ผู ่ำนกำรอบรมลงในระบบข้อมูล 8.1 กำรรวบรวมเอกสำร หลกั ฐำน และสรปุ ค่ำใชจ้ ่ำยสง่ หกั ลำ้ งเงินยมื ทดรองรำชกำร หลังจำกเสร็จสน้ิ กำรดำเนินกำรฝึกอบรม เจำ้ หน้ำท่ีโครงกำรจะต้องรวบรวมเอกสำร หลักฐำน ทำงกำรเงินในกำรใช้จ่ำยงบประมำณ และสรุปค่ำใช้จ่ำย โดยจัดทำบันทึกรำยงำน ลปส. สรุปค่ำใช้จ่ำยเพื่อ หักล้ำงเงนิ ยืมทดรองรำชกำร และคืนเงิน (ถ้ำมี) (ตวั อยำ่ งหนงั สือขออนุมตั ิสง่ หลักฐำนค่ำใชจ้ ่ำยและคืนเงินฯ ตำมภำคผนวก 1.14) เอกสำรหลกั ฐำนประกอบกำรเบกิ คำ่ ใช้จำ่ ย ลำดบั กระบวนกำร หลักฐำนประกอบกำรเบกิ จำ่ ย 1 ขออนมุ ตั โิ ครงกำร งบประมำณ และยืมเงนิ บนั ทกึ ขออนุมตั ิโครงกำร ทีผ่ ำ่ นกำรตรวจสอบ ทดรองรำชกำร แลว้ จำกกำรเงิน และมีข้อควำมอนมุ ัตจิ ำก ลปส. โครงกำรฝึกอบรม ประมำณกำรค่ำใชจ้ ่ำย ทไ่ี ด้รับกำรตรวจสอบจำก กำรเงนิ เรยี บรอ้ ยแลว้ ตำรำงกำรอบรม สัญญำยืมเงนิ ทดรองรำชกำร บนั ทึกขออนุมตั เิ ข้ำรว่ มโครงกำร และสำเนำ หนำ้ จอระบบท่ีมลี ำยเซ็น ลปส.อนมุ ตั ิ 2 คำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรฝึกอบรม ได้แก่ 1. ใบสำคัญรับเงินค่ำตอบแทนวิทยำกร 2.1 ค่ำตอบแทนวทิ ยำกร (ตัวอย่ำงใบสำคัญรบั เงินค่ำวิทยำกรตำม ภำคผนวก 1.15) 2. สำเนำหนังสอื เชิญวทิ ยำกรหรือหนังสอื ตอบ รับกำรเปน็ วทิ ยำกร 2.2 คำ่ อำหำร/อำหำรว่ำงและเคร่ืองดมื่ ใบเสรจ็ รับเงิน (กรณีเป็นใบสำคญั รับเงนิ ต้อง แนบ บก. 111 โดยผ้ยู มื เงินทดรองรำชกำรต้อง เป็นผูล้ งนำมรบั รอง) (ตวั อยำ่ งใบสำคัญรบั เงิน ค่ำอำหำร/อำหำรว่ำงและเครอ่ื งดืม่ ตำมภำค ผนวก 1.16 และ 1.17/ ตัวอย่ำงใบรับรอง แทนใบเสรจ็ (บก.111) ตำมภำคผนวก 1.18)

ลำดับ กระบวนกำร 22 2.3 ค่ำเช่ำทพี่ ัก หลกั ฐำนประกอบกำรเบิกจำ่ ย 2.4 ค่ำเชำ่ หอ้ งประชมุ 1. ใบเสร็จรับเงิน ตอ้ งมสี ำระสำคัญ ดงั น้ี - ชอื่ สถำนทีอ่ ยู่ หรือท่ีทำกำรของผู้รับเงนิ 2.5.คำ่ พำหนะเดนิ ทำง - วัน เดอื น ปี ทร่ี บั เงิน - รำยกำรแสดงกำรรบั เงินระบุว่ำเป็นค่ำอะไร - จำนวนเงินท้ังตัวเลข และตัวอักษร - ลำยมือชือ่ ผูร้ ับเงนิ (ตวั อย่ำงใบเสร็จรับเงนิ คำ่ เช่ำทีพ่ ักตำมภำค ผนวก 1.19) 2. Folio ทพ่ี กั ตอ้ งมสี ำระสำคญั ประกอบดว้ ย ชือ่ - นำมสกุลผ้เู ขำ้ พัก/หมำยเลขหอ้ งพัก/รำคำ ห้องพักต่อ1คืน/วนั ท่ีเข้ำพัก-วันที่ออก/จำนวน คนื เขำ้ พัก/ รวมรำคำคำ่ ห้องพกั ท้ังสนิ้ (ตวั อยำ่ ง Folio ทพ่ี ักตำมภำคผนวก 1.20) ใบเสรจ็ รับเงนิ ต้องมสี ำระสำคัญ ดงั น้ี - ช่อื สถำนที่อยู่ หรือทีท่ ำกำรของผรู้ ับเงิน - วนั เดือน ปี ท่ีรบั เงนิ - ระบรุ ำยละเอียดคำ่ เช่ำหอ้ งประชมุ วันที่ เทำ่ ใด จำนวนก่ีห้อง หอ้ งละเท่ำใด - รวมจำนวนเงิน - ลำยมอื ช่อื ผูร้ ับเงิน พร้อมแนบรำยงำนขอเชำ่ ห้องประชุมเพื่อใช้ ในกำรจัดฝกึ อบม (ตวั อย่ำงรำยงำนขอเช่ำห้อง ประชมุ และใบเสร็จรบั เงินตำมภำคผนวก 1.21) - ใบเบิกค่ำใชจ้ ำ่ ยในกำรเดินทำงไปรำชกำร ส่วนที่ 1 และ 2 (ตวั อยำ่ งใบเบกิ ค่ำใช้จ่ำย ในกำรเดนิ ทำง_ค่ำพำหนะตำมภำคผนวก 1.22) - ใบรับรองแทนใบเสรจ็ รับเงนิ ค่ำรถรบั จำ้ ง (บก.111) (ตวั อยำ่ งใบรบั รองแทนใบเสร็จ รบั เงนิ (ค่ำรถรับจ้ำง) ตำมภำคผนวก 1.23)

ลำดับ กระบวนกำร 23 2.6 ค่ำเบ้ียเลี้ยง หลกั ฐำนประกอบกำรเบิกจำ่ ย 2.7 คำ่ หนงั สือ วธิ กี ำรคำนวณเบ้ียเลย้ี ง - ให้นบั เวลำต้งั แตอ่ อกจำกท่ีอยู่/ทีป่ ฏบิ ัติ 2.8 คำ่ ของสมนำคุณที่ศึกษำดงู ำน รำชกำรตำมปกติ จนกลับถึงที่อยู่/ ปฏิบัติ รำชกำรตำมปกติ - 24 ช่ัวโมงคิดเปน็ 1 วัน หรอื เกนิ กว่ำ 12 ชัว่ โมง คดิ เป็น 1 วัน กรณผี ูจ้ ดั โครงกำรจดั เลยี้ งอำหำรบำงมือ้ ให้กบั ผเู้ ขำ้ อบรม ให้หักคำ่ เบย้ี เล้ียง มื้อละ 1 ใน 3 ของอตั รำเบี้ยเลีย้ งเดินทำงเหมำจำ่ ย (ตัวอยำ่ งใบเบิกคำ่ ใช้จ่ำยในกำรเดินทำง_ คำ่ เบ้ียเลย้ี งตำมภำคผนวก 1.24) ใบเสร็จรับเงนิ ต้องมสี ำระสำคัญ ดังนี้ - ชื่อ สถำนที่อยู่ หรือทที่ ำกำรของผู้รบั เงิน - วนั เดือน ปี ท่รี บั เงนิ - ระบุรำยละเอียดชือ่ หนงั สือ จำนวนเล่ม รำคำ ต่อหนว่ ย - รวมจำนวนเงินทั้งหมด - ลำยมือช่อื ผรู้ บั เงนิ พร้อมแนบขออนุมัติเบิกเงนิ ค่ำจัดซ้ือหนังสือเพ่ือ ใช้ในกำรจัดฝึกอบรม (ตัวอย่ำงขออนุมตั ิ เบกิ เงนิ คำ่ จดั ซือ้ หนงั สือพร้อมตัวอย่ำง ใบเสร็จรบั เงินตำมภำคผนวก 1.25) ใบเสรจ็ รับเงนิ ต้องมีสำระสำคัญ ดังนี้ - ชือ่ สถำนทอ่ี ยู่ หรือท่ีทำกำรของผู้รบั เงิน - วนั เดือน ปี ที่รับเงิน - ระบุรำยละเอียดของสมนำคุณทซี่ ื้อ จำนวน และรำคำ - รวมจำนวนเงนิ ทงั้ หมด - ลำยมอื ชอ่ื ผรู้ ับเงิน (กรณรี ำ้ นค้ำไม่มใี บเสร็จรบั เงิน ให้ใชเ้ ปน็ บิลเงิน สด พร้อมแนบนำมบัตรรำ้ นค้ำทีม่ ีระบชุ ื่อร้ำน และที่อยชู่ ดั เจน) พร้อมแนบรำยงำนขอซือ้ ของ

ลำดับ กระบวนกำร 24 2.9 ค่ำกระเป๋ำใสเ่ อกสำร 2.10 คำ่ วสั ดฝุ กึ อบรม หลกั ฐำนประกอบกำรเบกิ จ่ำย สมนำคณุ เพ่อื ใช้ในกำรศกึ ษำดูงำน (ตวั อยำ่ ง รำยงำนขอซื้อของสมนำคณุ พรอ้ มตัวอยำ่ ง ใบเสร็จรบั เงนิ ตำมภำคผนวก 1.26) - ขออนุมัติเบิกเงนิ ค่ำจำ้ งทำกระเปำ๋ ใส่เอกสำร เพื่อใช้ในกำรฝกึ อบรม (ตวั อยำ่ งขออนมุ ตั เิ บกิ ค่ำจำ้ งทำกระเป๋ำ และรำยงำนขอจ้ำงทำ กระเปำ๋ ใสเ่ อกสำรพรอ้ มเอกสำรแนบ ตำมภำคผนวก 1.27) 2.10.1 กรณีเจ้ำหนำ้ ทโ่ี ครงกำรจดั ซือ้ วัสดเุ อง 1) กอ่ นจัดซ้อื วสั ดใุ นโครงกำรทุกครั้ง เจ้ำหนำ้ ที่ โครงกำรจะต้องเขียนเบิกวัสดุตำ่ ง ๆจำกคลงั พัสดุก่อน โดยระบชุ อ่ื โครงกำร ระยะเวลำ โครงกำร เจ้ำของเรอื่ ง และระบุจำนวนวสั ดุที่ ต้องกำรใช้ในโครงกำร (ตัวอย่ำงรำยกำรขอเบิก วัสดุและรำยงำนขอซ้ือวัสดุอุปกรณ์ตำม ภำคผนวก 1.28) พร้อมแนบสำเนำโครงกำร ส่งให้ธุรกำรของกอง/สำนัก จัดทำรำยละเอยี ด เบิกวัสดจุ ำกคลงั พัสดุก่อน หำกรำยงำนวสั ดุท่ี โครงกำรขอเบกิ แตค่ ลงั ไมม่ ีให้เบิก และ จำเป็นตอ้ งใชใ้ นกำรฝึกอบรม ทำงโครงกำร สำมำรถจัดซ้ือเองได้ โดยระบุเหตุผลควำมจำเป็น ทต่ี ้องใชใ้ นกำรฝึกอบรมในรำยงำนกำรขอซื้อ) 2) รำยกำรวสั ดทุ ส่ี ำมำรถซอ้ื ในโครงกำร ฝกึ อบรม เชน่ กระดำษ ปำกกำ ดินสอ ฯลฯ 3) กำรออกใบเสรจ็ เจำ้ หนำ้ ที่โครงกำรควร ระมดั ระวัง ตรวจสอบชื่อสำนักงำน ท่ีอยู่ และ เลขทผ่ี ้เู สยี ภำษี ในใบเสรจ็ ให้ถกู ต้อง ดังนี้

ลำดับ กระบวนกำร 25 2.11 ค่ำนำ้ มนั เช้อื เพลงิ /ค่ำเช่ำรถยนต์ หลกั ฐำนประกอบกำรเบิกจำ่ ย พรอ้ มทัง้ นำใบเสร็จไปแนบรำยงำนขอซ้อื วัสดุ อุปกรณ์ 2.10.2 กรณซี อ้ื วัสดใุ นโครงกำรโดยเข้ำระบบ GFMIS 1) เจ้ำหนำ้ ที่โครงกำรสำมำรถติดตอ่ ส่ังซอ้ื วสั ดุ จำกบรษิ ัทหรือรำ้ นค้ำทีไ่ ด้ลงทะเบียนผคู้ ำ้ กบั กระทรวงกำรคลังแล้ว 2) บรษิ ทั หรอื รำ้ นคำ้ จะตอ้ งจดั ทำใบเสนอรำคำ สนิ ค้ำ เสนอตอ่ หน่วยงำนท่ตี ้องกำรจดั ซือ้ เพ่ือให้ เจำ้ หนำ้ ที่ธรุ กำรของหนว่ ยงำนตรวจสอบรำยกำร สินคำ้ วำ่ สำมำรถเบิกจำกโครงกำรฝกึ อบรมได้ หรอื ไม่ 3) เมอื่ ตรวจสอบควำมถูกต้องแล้ว เจำ้ หน้ำท่ี ธรุ กำรจะลงระบบจดั ซอื้ จดั จำ้ งภำครัฐ และพมิ พ์ เอกสำรออกจำกระบบ 4) รำ้ นคำ้ จดั สง่ สนิ คำ้ ตำมใบเสนอรำคำ เรยี บรอ้ ยแลว้ เจ้ำหน้ำที่ธรุ กำรนำใบส่งสินค้ำมำ จัดทำเอกสำรรำยละเอียดสินคำ้ ท่ีซ้ือ พร้อมใบ ตรวจรับวัสดุ และบันทึกรำยงำนขอซ้ือวัสดุ อปุ กรณ์ เสนอ ลปส. ผ่ำน ผอ.สำนัก/กองตน้ สังกัด เพื่อเบิกจำ่ ยให้กับบริษัทหรือร้ำนค้ำ ซึ่ง ร้ำนคำ้ จะได้รับเงนิ ค่ำสนิ ค้ำภำยหลงั จำกเสรจ็ สนิ้ กำรสง่ มอบสินค้ำแลว้ ประมำณสองสปั ดำห์ (ตวั อยำ่ งรำยงำนขอซอ้ื วสั ดุอปุ กรณ์เพอื่ ใชใ้ น กำรจัดโครงกำรฯ ตำมภำคผนวก 1.28) 1. กำรเบกิ ค่ำนำ้ มันเชื้อเพลงิ กรณใี ช้รถยนต์ รำชกำรในโครงกำร สง่ิ สำคัญท่ตี ้องระบุใน ใบเสรจ็ คอื ช่อื สำนกั งำน ท่อี ยู่ เลขประจำตวั ผู้เสียภำษี ทะเบียนรถ และเลขไมล์ของรถ (ตัวอยำ่ งรำยงำนขอซื้อน้ำมันเช้อื เพลิงเพอ่ื ใช้ ในโครงกำรฝึกอบรมและใบเสรจ็ คำ่ นำ้ มัน เช้อื เพลงิ ตำมภำคผนวก 1.29)

26 ลำดับ กระบวนกำร หลักฐำนกำรเบิกจำ่ ย 2. กรณีเช่ำเหมำยำนพำหนะ ตอ้ งดำเนินกำรตำม ระเบียบพัสดุและรวมคำ่ น้ำมันเชื้อเพลงิ ค่ำผำ่ นทำงพเิ ศษ ไว้ในสญั ญำจ้ำง และจัดทำ บันทกึ ขออนุมัตเิ บิกเงนิ คำ่ จัดจำ้ งเหมำรถยนต์ โดยสำรปรับอำกำศ (ตัวอยำ่ งรำยงำนขอจ้ำง เหมำรถยนต์โดยสำรปรบั อำกำศพรอ้ มเอกสำร แนบตำมภำคผนวก 1.30) 2.12 คำ่ ใชจ้ ำ่ ยอ่ืน ๆ เช่น คำ่ จ้ำงถ่ำยเอกสำร ตอ้ งดำเนินกำรตำมพระรำชบัญญัตกิ ำรจดั ซื้อ ค่ำเชำ่ อนิ เตอรเ์ นต็ ค่ำเช่ำเคร่ืองฉำย LCD จดั จ้ำงและกำรบรหิ ำรพัสดภุ ำครฐั พ.ศ.2560 และระเบยี บกระทรวงกำรคลงั ว่ำด้วยกำรจัดซือ้ จัดจำ้ งและกำรบรหิ ำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 พรอ้ มทง้ั ใบเสร็จของผู้รับจ้ำงเปน็ หลกั ฐำน (พระรำชบัญญตั ิกำรจัดซ้ือจัดจำ้ งและกำร บริหำรพสั ดุภำครัฐ พ.ศ.2560 และระเบยี บ กระทรวงกำรคลงั ว่ำด้วยกำรจัดซ้อื จดั จำ้ งและ กำรบหิ ำรพัสดภุ ำครัฐ พ.ศ. 2560 ตำม ภำคผนวก 3.07-3.08) 8.2 กำรบนั ทกึ รำยชอ่ื ผผู้ ่ำนกำรอบรมในระบบขอ้ มลู เมอ่ื สนิ้ สดุ กำรฝกึ อบรม เจำ้ หนำ้ ท่โี ครงกำรจะต้องจดั ส่งรำยชอ่ื ผ้ผู ำ่ นกำรอบรมใหส้ ว่ นทีม่ หี น้ำท่ีใน กำรลงระบบข้อมูลของกอง/สำนักน้ัน ๆ ปรับปรุงข้อมูลรำยบุคคลผ่ำนระบบ DPIS ให้กับผู้ท่ีผ่ำนกำรฝึกอบรม ให้เป็นปจั จบุ นั ข้ันตอนที่ 9 ประเมินผลกำรฝึกอบรม เจ้ำหน้ำท่ีโครงกำรจะต้องรวบรวมแบบประเมินผลรำยวิชำและประเมินผลหลักสูตรเพื่อทำกำร วิเครำะห์ แปลผล และสรปุ ประมวลผลของโครงกำรฝกึ อบรม ว่ำมีข้อดี ขอ้ เสยี ข้อที่ควรปรับปรงุ ข้อเสนอแนะ อย่ำงไร ผู้เข้ำรับกำรฝึกอบรมมีควำมพึงพอใจมำกน้อยเพียงใด และจัดทำสรุปรำยงำนเพ่ือเป็นข้อมูลใน กำรพัฒนำและปรับปรงุ กำรจัดฝึกอบรมในครงั้ ต่อไป (ตัวอย่ำงสรุปรำยงำนผลกำรประเมินฯ ตำมภำคผนวก 1.31)

27 ขน้ั ตอนที่ 10 รำยงำนผลกำรฝึกอบรมนำเสนอผู้บรหิ ำร เม่ือโครงกำรฝึกอบรมสิ้นสุดลง เจ้ำหน้ำที่โครงกำรจะต้องรำยงำนผลกำรฝึกอบรมนำเสนอ ผู้บริหำร โดยจัดทำบันทึกรำยงำนผลกำรฝึกอบรมโดยสังเขป ต่อ ลปส. โดยมีกำรสรุปสำระสำคัญของ กำรฝึกอบรม ข้อเสนอแนะต่อกำรพัฒนำงำนต่อไป พร้อมแนบรำยงำนผลกำรฝึกอบรมฉบับเต็ม (ตัวอย่ำง สรปุ ผลกำรฝกึ อบรมตำมภำคผนวก 1.32)

28 Work Flow กระบวนการฝึกอบรม กระบวนกำร รำยละเอียดของงำน ผรู้ บั ผดิ ชอบ/เกีย่ วขอ้ ง สรำ้ งหลักสูตร สรรหำ 1. สรำ้ งหลักสูตร - ผรู้ ับผดิ ชอบโครงกำร วิทยำกร และสถำนที่ 1) กำรร่ำงหลกั สตู ร - หัวหน้ำหนว่ ยงำนท่ตี อ้ งกำร 2) กำรกล่ันกรองหลักสูตร พฒั นำ/เจ้ำของควำมตอ้ งกำร 3) กำรปรับ/แก้ไขหลกั สูตร - นักวิชำกำร - ผูเ้ ชย่ี วชำญด้ำนเนือ้ หำ/ 2. สรรหำวิทยำกร ผู้ปฏิบตั งิ ำน 3. ติดต่อและสรรหำสถำนท่ี เขยี นโครงกำร 1. เขยี นโครงกำร - ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงกำร ประมำณกำรคำ่ ใชจ้ ่ำย รำยละเอยี ดตำมองคป์ ระกอบในกำรเขียน โครงกำร - ผรู้ ับผดิ ชอบโครงกำร ไม่อนุมตั ิ 2. ประมำณกำรค่ำใช้จ่ำย โดยคำนงึ ถงึ ประเภท และค่ำใช้จ่ำย **กรณโี ครงกำรไมไ่ ดร้ ับกำรอนมุ ตั ิ ขออนุมตั ิโครงกำร/ ตำมหมวด โดยประมำณกำรไม่เกนิ อัตรำ ยมื เงนิ ทดรอง ค่ำใชจ้ ่ำยตำมระเบยี บกระทรวงกำรคลัง ผู้รับผดิ ชอบโครงกำรจะต้องนำโครงกำรหรอื รำชกำร วำ่ ด้วยคำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรฝึกอบรมฯ ประมำณกำรคำ่ ใชจ้ ่ำยมำปรบั แก้จดุ ที่มี และระเบยี บทเี่ ก่ียวข้อง ข้อผิดพลำดและนำเสนอขออนมุ ตั ใิ หมอ่ กี ครั้ง ขออนุมตั โิ ครงกำร/ ยมื เงินทดรองรำชกำร โดยแนบรำยละเอยี ดงบประมำณ คำ่ ใช้จ่ำย/สญั ญำยืมเงนิ /ชื่อผู้ทำสญั ญำ ยืมเงินโครงกำร อนมุ ัติ เชญิ ผู้เข้ำอบรม รวบรวม ประสำนงำน - ผรู้ ับผดิ ชอบโครงกำร โดยจะต้องทำบันทึกหรอื หนังสือเชิญ - ผรู้ ับผดิ ชอบโครงกำร เชญิ ผ้เู ขำ้ อบรม รวบรวม เข้ำอบรมไปยงั หัวหนำ้ หน่วยงำนของ รำยช่ือผเู้ ขำ้ รบั กำรฝกึ อบรม กล่มุ เป้ำหมำยทจ่ี ะเขำ้ รับกำรอบรม ประสำนงำนดำ้ นกำรฝกึ อบรม และแจ้งรำยละเอยี ดกำรเดินทำง ทพี่ กั ค่ำใชจ้ ำ่ ยอืน่ ๆ ใหช้ ดั เจน ขออนมุ ตั เิ ขำ้ ขออนมุ ัตเิ ขำ้ ร่วมโครงกำร รว่ มโครงกำร ก่อนจะถึงวันอบรม จะต้องขออนมุ ัตผิ เู้ ขำ้ รับกำรฝึกอบรม วทิ ยำกร และเจ้ำหนำ้ ท่ี รำชกำร เข้ำรว่ มโครงกำร

29 กระบวนกำร รำยละเอียดของงำน ผ้รู บั ผดิ ชอบ/เก่ยี วขอ้ ง อนมุ ตั ิ ดำเนินกำรฝึกอบรม - ผรู้ ับผดิ ชอบโครงกำร ดำเนินกำรฝกึ อบรม 1. กำรลงทะเบยี น 2. ปฐมนเิ ทศ - ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงกำร รวบรวมเอกสำร หลกั ฐำนและ 3. พิธีเปิดกำรอบรม สรปุ ค่ำใชจ้ ำ่ ยสง่ หักลำ้ งเงินยมื 4. ประสำนดำเนินกำรกับวิทยำกร และบันทึกรำยชอื่ ผูผ้ ำ่ นอบรม 5. พธิ ปี ดิ กำรฝึกอบรมและมอบวฒุ บิ ัตร รวบรวมเอกสำร หลกั ฐำน และ ลงในระบบขอ้ มูล สรุปคำ่ ใชจ้ ำ่ ยส่งหักล้ำงเงนิ ยมื ทดรอง รำชกำร และบันทกึ รำยช่ือผผู้ ำ่ น ประเมนิ ผลกำรฝกึ อบรม กำรฝึกอบรมลงในระบบขอ้ มลู รำยงำนผลกำรฝกึ อบรม รวบรวมแบบประเมินผลรำยวชิ ำ - ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงกำร และประเมินผลหลักสตู รเพ่อื ทำกำร วเิ ครำะห์ แปลผล และสรุปประมวลผล ของโครงกำรฯ จดั ทำสรปุ รำยงำนเพอ่ื เปน็ ข้อมูลใน - ผู้รับผดิ ชอบโครงกำร กำรพัฒนำและปรบั ปรุงกำรจดั ฝกึ อบรม ในครั้งต่อไป รำยงำนผลกำรฝกึ อบรมนำเสนอผบู้ รหิ ำร - ผ้รู ับผดิ ชอบโครงกำร โดยจดั ทำบนั ทกึ รำยงำนผลกำรฝึกอบรม สรปุ ผลกำรฝกึ อบรม โดยสงั เขป ตอ่ ลปส. โดยมีกำรสรปุ นำเสนอผู้บรหิ ำร สำระสำคญั ของกำรฝกึ อบรม ข้อเสนอแนะต่อกำรพฒั นำงำนต่อไป หมายเหตุ สญั ลกั ษณใ์ นการเขียน Work Flow กระบวนการฝึกอบรม คอื จดุ เร่ิมตน้ และสิ้นสุดกระบวนการ คอื การตดั สินใจ คือ กิจกรรมและการปฏบิ ตั ิ คอื ทศิ ทาง/การเคลื่อนไหว คอื เอกสาร รายงาน ของงาน

30 การตดิ ตามผลภายหลังการฝึกอบรม กำรติดตำมผลกำรฝึกอบรม เป็นขั้นตอนที่มีควำมสำคัญมำกในกระบวนกำรฝึกอบรม ซ่ึงจะให้ คำตอบท่ีสำคัญเก่ียวกับโครงกำรฝึกอบรมและหลักสูตรฝึกอบรมท่ีได้จัดไปแล้วว่ำบรรลุผลตำมวัตถุประสงค์ หรือไม่ เปน็ ประโยชนต์ ่อกำรปฏิบตั ิงำนและต่อหน่วยงำนหรือไม่ อยำ่ งไร ผ้เู ข้ำรบั กำรอบรมมีกำรเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมกำรทำงำนในทำงทดี่ ีข้ึนหรือไม่ อย่ำงไร โดยเฉพำะอยำ่ งย่งิ ผ้เู ข้ำรบั กำรอบรมไดน้ ำเอำควำมรหู้ รือส่ิง ทีไ่ ดร้ บั จำกกำรอบรมไปปรับใชใ้ นกำรปฏิบัติงำน หรือไม่ อย่ำงไร และทำใหท้ รำบวำ่ มีควำมจำเป็นทำงวิชำกำร อื่นท่ียังขำดต่อกำรปฏิบัติงำนด้วยหรือไม่ นอกจำกนั้นยังเป็นข้อมูลย้อนกลับให้กลับผู้บริหำรโครงกำรได้นำ ขอ้ มลู ไปพฒั นำหลักสตู รให้ตรงตำมควำมต้องกำร ของกลุ่มเป้ำหมำยมำกย่งิ ขนึ้ โดยสำมำรถแบ่งประโยชน์ของ กำรตดิ ตำมผลภำยหลังกำรฝกึ อบรมได้ 4 ด้ำน ดังน้ี 1. ประโยชน์ท่ีเกิดแก่องค์กรหรือหน่วยงำนของผู้อบรม ผู้ผ่ำนกำรอบรมได้นำเอำควำมรู้ที่ได้รับไป ปฏบิ ัติงำนไดอ้ ยำ่ งมีประสิทธภิ ำพ และมกี ำรพฒั นำองค์กรในแนวทำงทเ่ี หมำะสม 2. ประโยชน์ท่ีเกิดกับผู้ผ่ำนกำรฝึกอบรม ทำให้ผู้ผ่ำนกำรอบรมได้ทบทวนควำมรู้ควำมสำมำรถ และเสริมสรำ้ งทักษะในกำรปฏบิ ัติงำนของตน 3. ประโยชน์ต่อกำรจัดกำรและกระบวนกำรดำเนินงำน ผู้ดำเนินงำนฝึกอบรมได้ทรำบข้อดี และขอ้ บกพร่องของกำรดำเนินงำนฝกึ อบรม 4. ประโยชน์ต่อผู้บริหำรโครงกำรและหลักสูตร ผู้บริหำรโครงกำรได้นำ มำเป็นข้อมูล ในกำร ปรับปรงุ และพฒั นำโครงกำรหรือหลกั สตู ร เพ่ือใหต้ รงตำมควำมต้องกำรของกลมุ่ เปน็ หมำยให้มำกท่สี ดุ (ตัวอย่ำงแบบตดิ ตำมผลหลงั กำรอบรมตำมภำคผนวก 1.33) ขอ้ พึงระวงั /แนวทำงแก้ไขและกำรพฒั นำ ด้ำนสถำนท่ี ในกำรจัดอบรมแต่ละคร้ัง จะต้องมีกำรติดต่อ/ลงรำยละเอียดในระบบกำรจองห้องประชุม ของ สำนักงำน ป.ป.ส. ซ่ึงบำงคร้ังเมื่อเป็นกำรกำหนดจัดฝึกอบรมที่กระชั้นชิด ทำให้ห้องประชุมท่ีต้องกำร ใชเ้ ป็นห้องอบรมถูกจองใชง้ ำนไปแล้ว แนวทำงกำรแก้ไขและกำรพัฒนำ ในกรณีที่ไม่สำมำรถจองห้องประชุมได้เนื่องจำกมีผู้จองใช้ห้องประชุมไปแล้ว ควรมีกำรติดต่อ สอบถำมผู้ที่จองห้องไว้ เพื่อยืนยันว่ำมีกำรใช้ห้องประชุมนั้นแน่นอนหรือไม่ ก่อนที่จะไปจองใช้ห้องประชุมอ่ืน ๆ หรอื อำจจะเจรจำต่อรองเพ่ือขอแลกห้องประชมุ หรอื อำจจะต้องเปล่ียนไปจัดอบรมทโี่ รงแรมตำมควำมสะดวก ของหน่วยงำนน้ัน ๆ เน่ืองจำกกำรจัดโต๊ะภำยในห้องประชุมมีผลต่อรูปแบบถ่ำยทอดควำมรู้และกำรจัด กิจกรรมของวทิ ยำกร ด้ำนบคุ ลำกร ในบำงคร้ังท่ีมีกำรจัดฝึกอบรมซ้อนกันมำกกว่ำ 1 หลักสูตร ทำให้เจ้ำหน้ำท่ีส่วนที่รับผิดชอบ ในกำรจัดฝึกอบรมมีจำนวนไม่เพียงพอท่ีจะดูแลกำรจัดฝึกอบรม ส่งผลให้จำเป็นต้องขอควำมร่วมมือจำก

31 ส่วนอื่น ๆ เข้ำมำช่วยบริหำรจัดกำรหน้ำงำน อำจส่งผลให้เจ้ำหน้ำที่ท่ำนนั้นไม่สำมำรถตอบข้อซักถำมของ ผเู้ ข้ำรบั กำรอบรมได้กระจำ่ งเทำ่ กบั ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงกำรโดยตรง แนวทำงกำรแกไ้ ขและพฒั นำ ควรมีกำรชี้แจงรำยละเอียดโครงกำรให้กับเจ้ำหน้ำท่ีที่มำช่วยหน้ำงำนให้ทรำบ เพื่อเป็นข้อมูล เบ้ืองต้นสำหรับตอบขอ้ ซกั ถำม ดำ้ นคุณภำพของอำหำรและเครอื่ งดืม่ ในกำรจัดอบรมจะต้องมีกำรสั่งอำหำรกลำงวันและอำหำรว่ำงให้กับผู้เข้ำรับกำรอบรมในทุก ๆ ครั้ง ซ่ึงโดยทั่วไปจะเป็นกำรสั่งอำหำรในลักษณะของบุฟเฟต์ (ทำนแบบ ไม่จำกัดจำนวน) และบ่อยครั้งท่ีผู้เข้ำ อบรมจะร้องเรียนเร่ืองคุณภำพและรสชำติของอำหำร ถึงแม้จะมีผู้ร้องเรียนจำนวนไม่มำกแต่ก็ส่งผลเสีย ต่อกำรจัดหลักสูตรได้ (ข้อร้องเรียนในด้ำนน้ีจะปรำกฏในแบบประเมินภำพรวมด้ำนข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ อยเู่ สมอ) แนวทำงกำรแกไ้ ขและพัฒนำ ควรจัดอำหำรให้มีควำมหลำกหลำยใน 1 ม้ือ เช่น ข้ำว ก๋วยเต๋ียว ฯลฯ หรือกรณีเป็นอำหำรชุด อำจจะต้องสับเปลี่ยนร้ำนท่ีมีช่ือเสียงไม่ให้ซ้ำกันเพื่อเป็นกำรเพ่ิมควำมน่ำสนใจในกำรรับประทำนอำหำรแก่ ผูเ้ ข้ำรับกำรอบรม ดำ้ นกำรประชำสมั พนั ธ์ กำรฝึกอบรมภำยในสำนักงำน ส่วนใหญ่ผู้รับผิดชอบโครงกำรฯจะทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้ำหมำย เข้ำรว่ มอบรมไปยงั กองสำนักตำ่ ง ๆ โดยไม่มีกำรเผยแพรป่ ระชำสัมพันธห์ ลักสูตร แนวทำงกำรแก้ไขและพัฒนำ ควรมีกำรจัดทำ Info Graphic ประชำสัมพันธ์โครงกำรติดไว้ในลิฟต์ของหน่วยงำน หรือทำงเดินภำยในสำนักงำน รวมทั้งอำจจะมีกำรประสำนเจ้ำหน้ำที่ IT เพื่อนำ Info ดังกล่ำวไปข้ึน Website ของหนว่ ยงำน ดำ้ นกำรแจกเอกสำรประกอบกำรบรรยำย ในกำรจัดอบรมจะมีกำรแจกเอกสำรประกอบกำรบรรยำยของวิทยำกร มีผู้เข้ำรับกำรอบรม หลำยทำ่ นไมน่ ำเอกสำรกลบั และทง้ิ ไว้ ทำใหเ้ ปลืองคำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรถ่ำยสำเนำเอกสำร แนวทำงกำรแก้ไขและพฒั นำ ควรปรับกำรแจกสำเนำเอกสำรประกอบกำรบรรยำยในรูปแบบกระดำษ เป็นกำรส่งเอกสำร เป็นไฟล์และวำงไว้ใน Google Drive แทน เพื่อเป็นกำรลดกำรใช้กระดำษ และลดต้นทุนค่ำใช้จ่ำยในกำรผลิต เอกสำรได้เป็นอย่ำงดี ทั้งน้ี หำกผู้เข้ำรับกำรอบรมบำงท่ำนไม่สะดวกรับเอกสำรแบบออนไลน์ก็สำมำรถผลิต เอกสำรจำนวนหน่ึง เพ่ือแจกให้เป็นรำยบุคคลไป โดยพิธีกรจะต้องแนะนำเกี่ยวกับกำรค้นหำเอกสำร ประกอบกำรบรรยำยใน Google Drive ******************************

ภาคผนวก

1ตอนที่ ตวั อยา่ ง 1.01 โครงการ ขอบข่าย และตารางฝกึ อบรม

โครงการฝกึ อบรม หลักสตู ร ปฐมนิเทศและการพฒั นาศกั ยภาพข้าราชการใหม่ สานักงาน ป.ป.ส. ๑. หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ สถาบันพัฒนาบคุ ลากรด้านการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด สานักงาน ป.ป.ส. ๒. หลักการและเหตผุ ล ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๕๙ บัญญัติว่า ผู้ใดได้รับ แต่งต้ังให้ ดารงตาแหน่งตามมาตรา ๕๓ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๕๕ ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและให้ได้รับ การพัฒนา เพ่ือรู้ระเบยี บแบบแผนของทางราชการและการเป็นข้าราชการท่ีดี โดยกาหนดแนวทางให้ส่วนราชการ ดาเนินการ พัฒนาและประเมินผลการพัฒนาข้าราชการพลเรือนสามัญท่ีอยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ด้วย กระบวนการปฐมนิเทศ การเรียนรู้ด้วยตนเอง และการฝึกอบรม/สัมมนาร่วมกัน ให้แล้วเสร็จภายใน ระยะเวลาการ ทดลองปฏิบัตหิ น้าที่ราชการและนาผลการพัฒนามาเป็นข้อมูลประกอบในการประเมินผลเพ่ือผ่าน การทดลอง ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีราชการด้วย การพัฒนาข้าราชการผู้ไดร้ ับการบรรจุเข้ารับข้าราชการ ให้มีความรู้พื้นฐานในการปฏิบตั ิราชการ และมีความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ นับเป็นความจาเป็น การฝึกอบรม/สัมมนาร่วมกัน เป็นกระบวนการ ในการพัฒนาเพื่อปลูกฝังปรัชญาการเป็นข้าราชการที่ดี เสริมสร้างสมรรถนะและทักษะที่จาเป็นสาหรับการ ปฏิบัติงานราชการ ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม การทางานเป็นทีม และพัฒนาเครือข่ายในการทางาน อันเป็น การสร้างสายสัมพนั ธ์ที่ดีแลกเปล่ียนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์และการลงมือ ปฏิบัติจริง ซึ่งจะช่วยให้ผู้ท่ีเข้ามาในระบบราชการคร้ังแรกได้ ปรับตัวให้เข้ากับระบบราชการ การปฏิบัติงานและ การอยู่รว่ มกับผู้อน่ื รวมท้ังเป็นการสร้างขวัญกาลังใจและทัศนคตทิ ี่ดี อนั จะส่งผลให้ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ าน สูงขึ้น สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สานักงาน ป.ป.ส. ในฐานะ หน่วยงานท่ีทาหน้าที่พัฒนาบุคลากรของสานักงาน ป.ป.ส. จึงได้จัดการฝึกอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ หลักสูตร ปฐมนิเทศและการพัฒนาศักยภาพข้าราชการใหม่ สานักงาน ป.ป.ส. ข้ึน สาหรับข้าราชการบรรจุใหม่ท่ีอยู่ ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการขึ้น เพ่ือให้ข้าราชการบรรจุใหม่ฯ มีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์และวิธี ปฏิบัติต่าง ๆ ของระบบราชการ ปลูกฝังทัศนคติท่ีดีให้มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน และสามารถปฏิบัติ ราชการได้อย่างเหมาะสม โดยยึดหลักความซ่ือสัตย์ สุจริต ยุติธรรม ถือประโยชน์ของประเทศชาติ และส่วนรวม เป็นสาคัญ มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทภารกิจของสานักงาน ป.ป.ส. ในภาพรวม สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ใน การปฏิบัตหิ น้าที่เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุดแกป่ ระเทศชาตแิ ละประชาชน ๓. วัตถุประสงค…์

-๒- ๓. วตั ถปุ ระสงค์ ๓.๑ เพอ่ื ให้ข้าราชการบรรจุใหม่ มีความรู้ ความเข้าใจในเบอ้ื งต้นถึงบทบาทภารกจิ ของสานกั งาน ป.ป.ส. ในภาพรวม และนาไปใช้ประโยชนใ์ นการปฏบิ ัตงิ าน ๓.๒ เพื่อปลูกฝังปรัชญาการเป็นข้าราชการท่ีดี มีความรู้ ความสามารถ มีจิตสานึกในการ ปฏบิ ตั ิงานราชการ มีสมรรถนะและจรรยาบรรณที่เหมาะสมในการปฏิบตั งิ านราชการ ๓.๓ เพอ่ื เสรมิ สร้างคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องขา้ ราชการยคุ ใหมท่ ีม่ ีคุณธรรม ศรัทธาต่อการรับ ราชการ มุ่งเนน้ ในการปฏบิ ัติงานเพ่อื ประโยชน์สุขส่วนรวม มที ัศนคติที่ดีต่อการให้บรกิ าร มีการทางานเปน็ ทมี และ สามารถผลกั ดันให้ภารกิจทไี่ ด้รบั มอบหมายประสบผลสัมฤทธิ์อย่างมีประสทิ ธิภาพ ๓.๔ เพ่ือสร้างความคุ้นเคยซึ่งกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทั้งสร้างเครือข่าย ข้าราชการ รุ่นใหมใ่ นการปฏิบัตงิ านอยา่ งบรู ณาการ ๔. คณุ สมบัติและจานวนของผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรม เป็นข้าราชการบรรจุใหม่และข้าราชการท่ีอยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการของส่วน ราชการของสานกั งาน ป.ป.ส. ในสว่ นกลางและส่วนภมู ภิ าค จานวน ๔๓ ราย ดังน้ี ๔.๑ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัติการ จานวน ๑๘ ราย ๔.๒ นกั สบื สวนสอบสวนปฏิบตั กิ าร จานวน ๒๓ ราย ๔.๓ นักวิเทศสัมพนั ธป์ ฏบิ ัติการ จานวน ๒ ราย ๕. ระยะเวลาการฝกึ อบรม ระหว่างวันพฤหสั บดที ่ี 1๘ - วนั ศกุ รท์ ่ี ๑๙ พฤศจิกายน 2564 ๖. สถานท่ีฝึกอบรม ณ หอ้ งประชมุ ชดิ ชัย วรรณสถติ ย์ อาคาร 2 ชนั้ 3 สานักงาน ป.ป.ส. ๗. งบประมาณ งบประมาณในการจัดฝึกอบรมของสถาบันพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ ๘. หวั ขอ้ วชิ าในหลกั สูตร 8.1 หลักการทางานของขา้ ราชการสานักงาน ป.ป.ส. จานวน 1 ชว่ั โมง 8.2 การทดลองปฏบิ ัติหนา้ ทร่ี าชการ สิทธิประโยชนแ์ ละสวสั ดิการ จานวน ๒ ชั่วโมง 8.3 วสิ ัยทศั น์ โครงสรา้ งอานาจหน้าที่และวัฒนธรรมของสานักงาน ป.ป.ส. จานวน 1.5 ชวั่ โมง 8.๔ จรยิ ธรรม วินยั และระเบียบการปฏิบตั ริ าชการ จานวน 1.5 ชัว่ โมง 8.๕ การพัฒนาตนเองเพ่ือพัฒนาสมั พนั ธภาพในการปฏบิ ตั งิ านในองค์กร จานวน ๓ ชวั่ โมง 8.๖ ยุทธศาสตร์และแผนการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ จานวน ๑ ชว่ั โมง 8.๗ กฎหมายยาเสพตดิ ทสี่ าคัญ จานวน ๑ ชว่ั โมง 8.๘ การพัฒนาตนเองในการปฏบิ ัติราชการ จานวน ๑ ชว่ั โมง 8.๙ การเขียนหนงั สอื ราชการ จานวน ๓ ชว่ั โมง ๙. วิทยากร…

-๓- ๙. วิทยากร 9.1 วทิ ยากรภายใน สานักงาน ป.ป.ส. 9.2 วทิ ยากรภายนอก สานกั งาน ป.ป.ส. ๑๐. เทคนคิ ทีใ่ ชใ้ นการฝกึ อบรม ๑๐.๑ การบรรยาย/อภิปราย ๑๐.๒ การแบง่ กลมุ่ /ฝึกปฏบิ ตั ิ ๑๐.๓ การซักถาม ๑๐.๔ เทคนคิ กลุ่มสมั พันธ์ ๑๑. เครือ่ งมือ สือ่ และโสตทศั นปู กรณ์ทีใ่ ช้ในการฝึกอบรม ๑๑.๑ เคร่อื งคอมพวิ เตอร/์ เครือ่ งฉายขา้ มศีรษะ/จอรบั ภาพ ๑๑.2 ระบบแสง เสียง ตลอดระยะเวลาของการฝึกอบรม ๑๑.3 อุปกรณป์ ระกอบการฝึกอบรมตามความตอ้ งการของวทิ ยากร ๑๒. การประเมินผล ๑๒.๑ สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจะทาการประเมินผล การฝกึ อบรม โดยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ี 1) เพอ่ื ประเมินสัมฤทธผ์ิ ลของหลักสตู รการฝึกอบรม 2) เพอื่ ประเมนิ ความเหมาะสมของกระบวนการจดั ฝกึ อบรม ๑๒.๒ เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการประเมินผล 1) แบบประเมินรายวชิ า 2) แบบประเมนิ โครงการ *** ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องเข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของระยะเวลาการ ฝกึ อบรมตลอดหลกั สตู ร จึงจะถือวา่ ผ่านการฝึกอบรม 13. ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั ๑๓.๑ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับรู้ บทบาท ภารกิจ หน้าท่ีของหน่วยงานของสานักงาน ป.ป.ส. ซึ่งจะเปน็ ประโยชนใ์ นการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีตอ่ ไป ๑๓.๒ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนาความรู้เกี่ยวกับ บทบาท หน้าที่ แนวทางการเป็น ข้าราชการทีด่ ี วธิ ีปฏิบตั ติ ่าง ๆ ของระบบราชการไปใช้ในการปฏิบัตงิ านได้อย่างถกู ตอ้ ง ๑๓.๓ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทัศนคติท่ีดีในการให้บริการ มีการทางานเป็นทีม สามารถ ผลักดันให้ ภารกิจที่ได้รับมอบหมายประสบผลสัมฤทธ์ิอย่างมีประสิทธิภาพ มีค่านิยมและปรัชญาการเป็น ขา้ ราชการทีด่ ี รวมทั้งมจี ิตสานึกในการปฏิบัติงาน ๑๓.๔ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีการแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์เก่ียวกับการ ปฏิบัติงานระหวา่ งกัน รวมถงึ ความร่วมมอื และสมั พนั ธภาพเพ่ือการตดิ ตอ่ ประสานงานระหว่างหนว่ ยงานในอนาคต ๑4. ผู้รับผิดชอบ…

-๔- ๑4. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ สถาบนั พัฒนาบุคลากรด้านการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ สานักงาน ป.ป.ส. โทร./โทรสาร ๐ ๒๒๔๕ ๙๔๐๙ ผู้อานวยการโครงการ นายศริ ิสุข ยืนหาญ ผูอ้ านวยการสถาบันดา้ นการพัฒนาบุคลากร ด้านการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ รองผู้อานวยการโครงการ นายสวุ ชิ าญ รักษ์รตนากร ผู้อานวยการสว่ นพัฒนาบุคลากรด้านบรหิ าร เจ้าหนา้ ทโ่ี ครงการ นางสุภาภร แสนสว่าง นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ นางสาวขวญั ฤทัย สุวรรณ นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ นางสาวกนั ตฤ์ ทัย ภาชนสมบรู ณ์ชัย นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบัตกิ าร นางสาวมนัสนันท์ น่นุ เกิด เจา้ หนา้ ท่ีวเิ คราะห์นโยบายและแผน **************************

ขอบขา่ ย

หลักการทางานของขา้ ราชการสานกั งาน ป.ป.ส. วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรับทราบนโยบายจากผู้บริหารระดับสูงของสานักงาน ป.ป.ส. โดยตรง และนาเป็นแนวทางในการยึดถือปฏิบัติ ท้ังในเร่ืองของวัฒนธรรมองค์กร การครองตน ครองคน และครองงาน ตลอดจนเพ่ือเป็นการสร้างขวัญและกาลังใจให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม ส่งเสริมให้เกิดการทางานด้วยความทุ่มเท เสียสละ และอดทน ร่วมกันเป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้บรรลุตาม วตั ถุประสงค์ ขอบขา่ ยเน้ือหา ๑. ประสบการณ์การทางานดา้ นยาเสพตดิ ๒. แนวทางการปฏบิ ตั ิงานของใหม่ ๓. ความคาดหวงั ของท่านเลขาธิการ ป.ป.ส. ตอ่ ขา้ ราชการใหม่ วธิ กี ารฝกึ อบรม บรรยาย ซักถาม ระยะเวลา 1 ช่วั โมง วทิ ยากร เลขาธกิ าร ป.ป.ส.

การทดลองปฏิบตั หิ น้าทร่ี าชการ สทิ ธปิ ระโยชนแ์ ละสวสั ดกิ าร วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมมคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับสิทธิประโยชน์ของขา้ ราชการ ป.ป.ส. ท้ังระหว่าง รับราชการ เกษียณอายุ และเม่ือเสียชีวิต รวมถึงสวัสดิการต่างๆ ของสานักงาน ป.ป.ส. ตลอดจนเพื่อรับทราบ เสน้ ทางความกา้ วหน้าในตาแหนง่ ขอบข่ายเน้ือหา ๑. สิทธิและประโยชนต์ อบแทนระหวา่ งรบั ราชการ - สิทธเิ กีย่ วกบั การลา อาทิ การลาป่วย การลาคลอดบุตร การลากจิ สว่ นตวั การลาไปศกึ ษา ฝกึ อบรม ดงู าน หรือปฏบิ ัติการวจิ ยั การลาติดตามค่สู มรส ฯลฯ - สิทธิและประโยชน์ตอบแทนในการปฏิบัติราชการ อาทิ เงินเดือน เงินเพิ่มพิเศษรายเดือน นอกจาก เงินเดือน เงินค่าเช่าบ้านข้าราชการ เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การช่วยเหลอื บุตร เคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ อายรุ าชการ ทวีคณู การขอพระราชทาน นา้ หลวงอาบศพ/เพลงิ ศพ/หีบเพลงิ /ดนิ ฝังศพ ฯลฯ - สทิ ธิและประโยชน์ตอบแทนในการปฏิบัติราชการพเิ ศษหรือเพ่ิมขึน้ จากปกติ ๒. สิทธิและประโยชนต์ อบแทนเมื่อพน้ จากราชการแล้วรวมท้ังการช่วยเหลือท่ีได้รับเม่ือเสยี ชีวติ ๓. สวสั ดกิ ารของสานกั งาน ป.ป.ส. ๔. เสน้ ทางความกา้ วหนา้ ในตาแหน่ง ๕. อน่ื ๆ เชน่ สหกรณ์ออมทรพั ย์สานกั งาน ป.ป.ส. ,กองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ วธิ กี ารฝกึ อบรม อภิปราย ระยะเวลา 2 ชั่วโมง วทิ ยากร สานกั งานเลขานุการกรม

วิสัยทัศน์ โครงสรา้ งอานาจหน้าทีแ่ ละวฒั นธรรมของสานักงาน ป.ป.ส. วตั ถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทความสาคัญของการจัดต้ัง สานักงาน ก.พ.ร. และกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (กพร.) ของสานักงาน ป.ป.ส. และของกระทรวงยุติธรรม รวมท้ังโครงสร้าง บทบาท หนา้ ท่ี ภารกจิ ของสานกั งาน ป.ป.ส. ในปัจจุบนั และแนวทางการปรบั โครงสร้างในอนาคต ขอบข่ายเน้อื หา ๑. บทบาทความสาคัญของ สานกั งาน ก.พ.ร. และ กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร (กพร.) ๒. พระราชกฤษฎีกาว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบา้ นเมืองทด่ี ี พ.ศ.๒๕๔๖ ๓. โครงสร้าง บทบาท หน้าท่ี และภารกจิ ของสานักงาน ป.ป.ส. ในปจั จบุ นั - สานักงาน ปปส.สว่ นกลาง - สานักงาน ปปส.ภาค ๔. แนวทางการปรบั โครงสร้างของสานักงาน ป.ป.ส. ในอนาคต วิธกี ารฝึกอบรม อภปิ ราย ระยะเวลา 1.5 ชั่วโมง วิทยากร กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร

จรยิ ธรรม วนิ ัย และระเบียบการปฏิบตั ริ าชการ วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้ผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ ของทางราชการ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง การรักษาวินัย เพื่อให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ สามารถดารงตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตามกฎ ระเบียบ และจรรยาบรรณของทางราชการ เป็นที่พึ่งให้กับประชาชน และรักษาไว้ซึ่งศักด์ิศรีและเกียรติภูมิของข้าราชการ และสานักงาน ป.ป.ส. ขอบขา่ ยเนอ้ื หา ๑. วินัยข้าราชการ และความรบั ผดิ ทางละเมดิ ๒. แนวทางการสร้างวินัยของขา้ ราชการสานักงาน ป.ป.ส. ในการปฏบิ ตั ริ าชการ ๓. ตวั อย่างกรณีศกึ ษาเกี่ยวกับวนิ ยั ของขา้ ราชการสานกั งาน ป.ป.ส. ๔. แนวทางการปฏิบัตงิ านของ ศปท. (ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารต่อตา้ นการทจุ รติ ) วิธกี ารฝึกอบรม อภปิ ราย ระยะเวลา 1.5 ชว่ั โมง วิทยากร สานกั งานเลขานุการกรม

การพัฒนาตนเองเพอื่ พฒั นาสัมพนั ธภาพในการปฏิบตั งิ านในองคก์ ร วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมพัฒนาทักษะพ้ืนฐานของตนเอง และพัฒนาทักษะในการติดต่อกับผู้อื่น กล้าคิด กล้าตัดสินใจ กล้าแสดงออก เกิดทักษะในการทางานร่วมกันภายในหน่วยงานท่ามกลางสภาพแวดล้อม ทเี่ ปลยี่ นแปลง และสามารถเพิ่มประสิทธภิ าพการดาเนนิ งานขององค์กรให้เปน็ ไปตามเปา้ หมายที่กาหนด ขอบขา่ ยเนอื้ หา ๑. การพฒั นาทักษะพ้นื ฐานของตนเอง - การรู้จักตนเอง - การเสริมสร้างทศั นคตทิ ่ีเหมาะสม - ทักษะการใช้ความคิด (เชิงวเิ คราะห์ เชิงสร้างสรรค์ อย่างเป็นระบบ ฯลฯ) ๒. การพัฒนาทักษะ/สร้างสัมพนั ธภาพท่ีดีกับเพ่ือนร่วมงาน - ทักษะการตดิ ตอ่ ส่ือสาร (ฟัง พดู การให้ขอ้ มลู ย้อนกลับ) - แนวคดิ /ทกั ษะการทางานร่วมกับบคุ คลอืน่ (มนุษยส์ มั พนั ธ์) วธิ ีการฝกึ อบรม กระบวนการกลุ่ม (Group Process) ระยะเวลา 3 ช่วั โมง วิทยากร อาจารย์สมหวัง ชัยเจริญคณุ าภรณ์ และคณะ

ยทุ ธศาสตร์และแผนการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับยุทธศาสตร์ นโยบายด้านการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ ขอบข่ายเนอ้ื หา ๑. ยทุ ธศาสตรแ์ ละนโยบายดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด ๒. แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด วธิ กี ารฝึกอบรม บรรยาย ระยะเวลา 1 ช่วั โมง วทิ ยากร สานกั ยุทธศาสตร์

กฎหมายยาเสพตดิ ทส่ี าคัญ วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ความเป็นมาของประมวลกฎหมายยาเสพติด สาระสาคญั ของประมวลกฎหมายยาเสพตดิ แนวทางดาเนินงานภายหลังประมวลกฎหมายยาเสพติดมผี ลบงั คบั ใช้ ตลอดจนสามารถนาไปปรับใชใ้ นการปฏบิ ัติงานได้อย่างถูกตอ้ ง ขอบข่ายเน้ือหา ๑. ความเปน็ มาของประมวลกฎหมายยาเสพติด ๒. สาระสาคญั ของประมวลกฎหมายยาเสพตดิ ๓. แนวทางดาเนนิ งานภายหลงั ประมวลกฎหมายยาเสพติดมผี ลบงั คับใช้ วธิ กี ารฝึกอบรม บรรยาย ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง วทิ ยากร กองกฎหมาย

การพฒั นาตนเองในการปฏบิ ัตริ าชการ วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมได้รบั ทราบความรเู้ กี่ยวกบั แนวทางในการทางาน การอยูร่ ว่ มกันในองคก์ ร คุณลกั ษณะของขา้ ราชการไทยในยุค New Normal มกี ารพัฒนาตนเองอยเู่ สมอ เพอื่ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มคี วามรักความผกู พนั กับองคก์ ร รกั ษาชือ่ เสยี งและภาพลกั ษณข์ ององค์กรอย่าใหเ้ กดิ ความเสียหาย ขอบข่ายเนอื้ หา ๑. แนวทางในการทางาน การอยรู่ ว่ มกนั ในองคก์ ร ๒. การดารงตนให้เป็นข้าราชการยุคใหม่ทด่ี ี 3. คณุ ลกั ษณะของขา้ ราชการไทยในยคุ New Normal วิธกี ารฝึกอบรม บรรยาย ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง วิทยากร สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ