Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดฝึกอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

คู่มือการจัดฝึกอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

Published by manasanant, 2022-07-05 08:44:06

Description: คู่มือการจัดฝึกอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

Search

Read the Text Version

2ตอนที่ ขัน้ ตอน/วธิ ีการ 2.03 การ Upload ไฟล์เอกสารข้นึ Google Drive

เริ่มต้นใช้งาน Google drive โปรแกรมการจัดการเอกสารออนไลน์ของทาง Google หรือพื้นที่เก็บข้อมูลระบบคลาวด์ หลักการ ทำงานจะคล้ายกับโปรแกรมเอกสาร ผู้ใช้สามารถเข้าถึงเอกสารแบบออนไลน์ได้ โดยผ่านการใช้บนเว็บ เบราว์เซอร์ต่าง ๆ เช่น Inter Explorer, Chrome, Firefox และ Safari ซึ่งจะทำให้การใช้งานของ เอกสารมีความสะดวกมากขึ้น สามารถใช้งานหรือแก้ไขข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา 1. เข้าบัญชี 2. ลากเมาส์ไปคลิ๊ก ที่จุด drive.google.com (ตามลูกศรชี้) 3. จะปรากฎ 4. จะปรากฎในพื้นที่ ดังภาพ ลากเมาส์ google drive ไปคลิ๊กที่ Drive และให้คลิ๊ก เครื่องหมาย + 5. จะปรากฎดังภาพ แหลระือใหอ้ัพกดโหอัพลดโ หโฟลลดเไดฟอรล์์ (กรณีมีหลายไฟล์ในโพลเดอร์์เดียว (โหลดไฟล์จากไฟล์ที่เก็บไว้) 6. เมื่ออัพโหลดไฟล์ 7. ไฟล์ที่อัพโหลด เสร็จจะปรากฎ อยู่ใน google ดังภาพ drive แล้ว เสร็จสิ้นสำหรับการวางไฟล์บน google drive

การสร้าง QR- Code QR Code คือ สัญลักษณ์สี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่อยู่รวมกันในกรอบสี่เหลี่ยมเดียวกัน มี ลักษณะเป็นภาพ 2 มิติ โดยมีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูล รูปภาพ หรือชื่อ URL ของ เว็บไซต์ต่างๆ ที่อยู่บนแพลตฟอร์มออนไลน์ 1. เมื่อวางไฟล์บน google drive แล้ว ก็คลิ๊กขวา และกดรับลิ้งค์ 2. ให้กด คัดลอก ลิ้งค์ และกด เสร็จสิ้น 3. นำลิ้งค์ที่คัดลอกไปแปะ ไว้ที่เวปไซต์ สำหรับการสร้าง QR - Code ฟรี (ในที่นี้จะใช้ที่เวปไซต์ QRCode Monkey-.com 4. การสร้าง QR-code สามารถใส่ภาพ ใส่สีใน QR-code ได้ตามที่ต้องการ และกดสร้าง QR-code และกดดาวโหลด ก็จะได้ QR-Code สำหรับการเผยแพร่ข้อมูลที่ต้องการ

2ตอนที่ ขัน้ ตอน/วธิ ีการ 2.04 การจดั ทาแบบประเมินผลใน Google Form

วิธีการใช้งาน GOOGLE FORMS 1. Login เข้าสู่ระบบ Google Account 2. เลือกเมนู Drive เลือก + ใหม่/เพิ่มเติม เลือก/Google ฟอร์ม 3. เมื่อเลือก เพ่ิมเติมแล้ว ก็จะได้ google ฟอร์ม สำหรับการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ 4. พิมพ์ชื่อเรื่องที่ต้องการสอบถาม โดยสามารถเพิ่มเติมรายละเอียดได้จากกล่องเครื่องมือทางขวามือ เช่น ใส่ภาพถ่าย เพิ่มวีดีโอ โดยสามารถนำเมาส์ไปคลิ๊กที่ปุ่มนั้น ๆ ได้ หรือ สามารถปรับแต่งธีม แบบสอบถามได้ โดยเอาเมาส์คลิ๊กที่ปุ่มตัดแต่งธีม เพื่อปรับแต่งส่วนหัวของฟอร์ม /สีธีม/สีพื้นหลัง/ รูปแบบตัวอักษร

4. พิมพ์คำถามที่ต้องการสอบถาม 5. เริ่มสร้างคำถาม 5.1 กรณีให้เลือกลำดับให้ใช้เครื่องมือ \"สเกลเชิงเส้น\" 5.2 กรณีมีคำตอบให้เลือกให้ใช้เครื่องมือ \"หลายตัวเลือก\"

5.3 กรณีต้องการให้ตอบความคิดเห็นสั้น ๆ ให้ใช้เครื่องมือ \"คำตอบสั้น ๆ\" 5.4 กรณีถามหลายคำถามใน 1 ข้อ และต้องการทราบลำดับความพอใจ ให้ใช้เครื่องมือ \"ตารางกริดหลายตัวเลือก ๆ\" 5.4 กรณีต้องการคำตอบที่เป็นข้อ ๆ ให้ใช้เครื่องมือ \"ย่อหน้า\"

6. หลังจากสร้างคำถามเสร็จแล้ว ให้ใช้เมาส์คลิ๊กที่คำว่า \"ส่ง\" มุมขวาบน 7. แล้วจะปรากฎหน้าต่างให้เลือก หลังจากนั้นคลิ๊กที่ ด URL ให้สั้นลง แล้วคลิ๊ก คัดลอก) 8. นำ Link ที่ได้จากการคัดลอกส่งไปยังกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการสอบถาม พร้อมทั้งกำหนด ระยะเวลาสำหรับการทำแบบสอบถาม

9. เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการตอบแบบสอบถามสามารถไปดาวน์โหลดข้อมูลเพื่อสรุปแบบสอบ ถามไดั (ทั้งนี้สามารถดูข้อมูลได้ตลอดเวลาว่ากลุ่มเป้าหมายทำแบบสอบถามไปกี่คน) 10. สามารถ copy ข้อมูล หรือ ดาวน์โหลดข้อมูลแบบสอบถามได้ เพื่อนำมาประมวล วิเคราะห์ และสรุปแบบสอบถาม โดยการคลิ๊กที่เครื่องหมายบวกมุมขวาบน 11. ข้อมูลดิบที่ได้จากการดาวน์โหลด เพื่อนำมาประมวล วิเคราะห์ และสรุปแบบสอบถาม ต่อไป ***เสร็จสิ้นสำหรับการสร้างแบบสอบถามและการดาวน์โหลดแบบสอบถาม***

3ตอนท่ี ระเบียบ/คาสั่งทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 3.01 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าดว้ ยคา่ ใช้จา่ ย ในการฝึกอบรม การจัดงานและการประชุม ระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๑๗ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานุเบกษา ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยคาใชจา ยในการฝกอบรม การจดั งาน และการประชมุ ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑเกี่ยวกับการเบิกจายคาใชจาย ในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชมุ ระหวางประเทศ ใหเหมาะสมยิ่งขึน้ อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา ๒๑ (๒) แหงพระราชบญั ญัตวิ ิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ กระทรวงการคลังโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรจี ึงกําหนดระเบยี บไวดงั ตอ ไปน้ี ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจายในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙” ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใชบงั คับตัง้ แตว ันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน ตน ไป ขอ ๓ ใหยกเลิก (๑) ระเบียบกระทรวงการคลงั วา ดว ยคา ใชจายในการประชุมระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ (๒) ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจ ายในการฝกอบรมของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๔๕ บรรดาหลักเกณฑ หรือแนวปฏิบัติใดที่มกี ําหนดไวแ ลวในระเบียบน้ี ใหใชร ะเบียบนแ้ี ทน ขอ ๔ ในระเบยี บนี้ “สว นราชการ” หมายความวา สํานกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการที่เรียกช่ือ อยา งอื่นท่ีมีฐานะเปน หรือเทียบเทา กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการที่เรยี กช่อื อยา งอื่น ซึ่งไมมฐี านะ เปน กรมแตมีหัวหนา สวนราชการซง่ึ มฐี านะเปน อธิบดี “บคุ ลากรของรัฐ” หมายความวา ขาราชการทุกประเภท รวมทั้งพนักงาน ลูกจางของสวนราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรือหนวยงานอืน่ ของรฐั “เจาหนาท่ี” หมายความวา บุคลากรของรัฐท่ีไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานตามระเบียบน้ี และใหห มายความรวมถงึ บุคคลอืน่ ทีไ่ ดร ับแตง ตง้ั ใหป ฏบิ ตั งิ านและเจา หนา ที่รักษาความปลอดภยั ดวย “เจาหนาที่ปฏิบัติงานลักษณะพิเศษ” หมายความวา บุคคลซ่ึงมิไดเปนบุคลากรของรัฐ และไดรบั แตง ตงั้ จากหัวหนา สว นราชการผูจัดการประชุมระหวางประเทศใหปฏิบัติงานในการประชุม

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๑๘ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ราชกิจจานเุ บกษา ระหวา งประเทศ อาทิเชน พนกั งานพมิ พด ดี พนักงานบนั ทึกขอมลู พนักงานแปล ลา มและผจู ดบันทึก สรปุ ประเดน็ ในการประชุมระหวา งประเทศ เปน ตน “การฝกอบรม” หมายความวา การอบรม การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝกศึกษา การดูงาน การฝกงาน หรือทเ่ี รียกชือ่ อยางอืน่ ทงั้ ในประเทศและตางประเทศ โดยมโี ครงการหรือหลักสูตรและชวงเวลาจัดที่แนนอน ท่ีมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาบุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยไมมีการรับปริญญา หรอื ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ “การฝกอบรมระดับตน” หมายความวา การฝกอบรมท่ีผูเขารับการฝกอบรมเกินกึ่งหน่ึง เปน บคุ ลากรของรฐั ซึ่งเปนขาราชการระดับ ๑ ถึงระดับ ๒ หรือมีระดับตําแหนงเทียบเทาขาราชการ ระดบั ๑ ถึงระดับ ๒ “การฝกอบรมระดับกลาง” หมายความวา การฝกอบรมที่ผูเขารับการฝกอบรมเกินก่ึงหนึ่ง เปน บคุ ลากรของรัฐซึง่ เปนขาราชการระดับ ๓ ถึงระดับ ๘ หรือมีระดับตําแหนงเทียบเทาขาราชการ ระดับ ๓ ถึงระดบั ๘ “การฝกอบรมระดับสูง” หมายความวา การฝกอบรมท่ีผูเขารับการฝกอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เปนบคุ ลากรของรัฐซึ่งเปนขาราชการต้ังแตระดับ ๙ ข้ึนไป หรือมีระดับตําแหนงเทียบเทาขาราชการ ตัง้ แตระดบั ๙ ข้นึ ไป “การฝก อบรมบคุ คลภายนอก” หมายความวา การฝก อบรมท่ีผเู ขารับการฝกอบรมเกินก่ึงหน่ึง มิใชบคุ ลากรของรฐั “ผูเขา รบั การฝก อบรม” หมายความรวมถงึ บุคลากรของรฐั หรือบุคคลซ่ึงมิใชบุคลากรของรัฐ ทเ่ี ขารับการฝกอบรมตามโครงการหรือหลักสตู รการฝกอบรม “การประชุมระหวางประเทศ” หมายความวา การประชุมหรือสัมมนาระหวางประเทศ ที่สว นราชการหรอื หนวยงานของรฐั รัฐบาลตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศจัด หรือจัดรวมกัน ในประเทศไทยโดยมีผแู ทนจากสองประเทศข้ึนไปเขา รว มประชมุ หรือสัมมนา “การดูงาน” หมายความวา การเพิ่มพูนความรูหรือประสบการณดวยการสังเกตการณ ซึ่งกําหนดไวในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรม หรือกําหนดไวในแผนการจัดการประชุม ระหวางประเทศ ใหมีการดูงาน กอ น ระหวา ง หรอื หลังการฝกอบรมหรือการประชุมระหวางประเทศ

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๑๙ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานุเบกษา และหมายความรวมถงึ โครงการหรือหลกั สูตรการฝกอบรมเฉพาะการดูงานภายในประเทศที่หนวยงาน ของรัฐจดั ขนึ้ “ผูแ ทน” หมายความวา ผูแทนประเทศไทยและที่ปรึกษาของผแู ทนดังกลาวซึ่งไดรับความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรี หรือไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีเจาสังกัด ประธานรัฐสภา หัวหนาสวนราชการ เจา ของงบประมาณหรือผูท่ีไดรับมอบหมายตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการของขาราชการ แตล ะประเภท แลวแตก รณี “ผูเขารวมประชุม” หมายความวา ผูแทน และผูแทนของตางประเทศท่ีเขารวมการประชุม ระหวา งประเทศ ขอ ๕ ใหป ลดั กระทรวงการคลังรักษาการตามระเบียบน้ี หมวด ๑ บททั่วไป ขอ ๖ การเบิกจายคาใชจายในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหวางประเทศ ใหเ ปน ไปตามระเบยี บนี้ ขอ ๗ การเบิกจา ยคา ใชจายในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหวางประเทศ นอกเหนือจากที่กําหนดไวในระเบียบนี้ หรือท่ีกําหนดไวแลวแตไมสามารถปฏิบัติไดตามระเบียบนี้ ใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณ โดยคํานึงถึงความจําเปน เหมาะสม และประหยดั ภายในวงเงนิ งบประมาณทีไ่ ดร ับ โดยยึดถือประโยชนของทางราชการเปนหลัก หมวด ๒ คา ใชจา ยในการฝก อบรม ขอ ๘ โครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมท่ีสวนราชการเปนผูจัด หรือจัดรวมกับ หนวยงานอื่นตองไดรับอนุมัติจากหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณ เพื่อเบิกจายคาใชจาย ตามระเบยี บน้ี ขอ ๙ การจัดการฝก อบรมและการเขา รับการฝกอบรมใหส ว นราชการพจิ ารณาอนุมัติเฉพาะ ผูที่ปฏิบัติหนาที่ท่ีเกี่ยวของหรือเปนประโยชนตอสวนราชการนั้นตามจํานวนท่ีเห็นสมควรและให พิจารณาในดา นการเงินกอ นดว ย

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๐ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานุเบกษา ขอ ๑๐ การฝก อบรมบคุ คลภายนอกใหจดั ไดเฉพาะการฝกอบรมในประเทศเทานนั้ ขอ ๑๑ บคุ คลทจี่ ะเบกิ จายคาใชจ ายในการฝกอบรมตามระเบียบน้ี ไดแ ก (๑) ประธานในพิธีเปด หรือพิธปี ด การฝกอบรม แขกผมู เี กยี รติ และผตู ิดตาม (๒) เจา หนา ที่ (๓) วิทยากร (๔) ผูเ ขา รับการฝก อบรม (๕) ผูสงั เกตการณ คาใชจายตามวรรคหนึ่งใหสวนราชการผูจัดการฝกอบรมเปนผูเบิกจาย แตถาจะเบิกจายจาก สวนราชการตนสังกัด ใหทําไดเมื่อสวนราชการผูจัดการฝกอบรมรองขอและสวนราชการตนสังกัด ตกลงยนิ ยอม ขอ ๑๒ การเทียบตําแหนงของบุคคลตามขอ ๑๑ (๑) (๒) (๓) และ (๕) ที่มิไดเปน บุคลากรของรฐั เพ่ือเบกิ จายคา ใชจายตามระเบียบนี้ ใหส วนราชการผจู ดั การฝกอบรมเทียบตาํ แหนงได ดังน้ี (๑) บคุ คลทีเ่ คยเปนบุคลากรของรัฐมาแลว ใหเทียบตามระดับตําแหนงหรือชั้นยศคร้ังสุดทาย กอนออกจากราชการหรอื ออกจากงาน แลวแตกรณี (๒) บุคคลทกี่ ระทรวงการคลงั ไดเ ทยี บระดบั ตาํ แหนงไวแ ลว (๓) วิทยากรในการฝกอบรมระดับตนและระดับกลาง ใหเทียบเทาขาราชการระดับ ๘ ในการฝก อบรมระดับสูงใหเ ทียบเทา ขา ราชการระดบั ๑๐ เวนแตวิทยากรท่ีเปนบุคคลตาม (๑) ท่ีมีช้ันยศ สูงกวา ใหใ ชช ั้นยศทสี่ ูงกวานั้นได (๔) นอกจาก (๑) (๒) หรือ (๓) ใหห ัวหนา สว นราชการเจาของงบประมาณพิจารณาเทียบ ตําแหนงตามความเหมาะสม โดยถือหลักการเทียบตําแหนงของกระทรวงการคลังตาม (๒) เปน เกณฑในการพจิ ารณา ขอ ๑๓ การเทียบตําแหนงของบุคคลตามขอ ๑๑ (๔) ที่มิไดเปนบุคลากรของรัฐ เพื่อเบกิ จา ยคา ใชจ ายตามระเบยี บนี้ ใหสว นราชการผูจดั การฝก อบรมเทียบตําแหนงไดดงั น้ี (๑) ผูเขารับการฝกอบรมในการฝกอบรมระดับตน ใหเทียบเทาขาราชการต้ังแตระดับ ๑ ถึงระดบั ๒ (๒) ผเู ขา รบั การฝก อบรมในการฝกอบรมระดับกลาง ใหเทียบเทาขาราชการตั้งแตระดับ ๓ ถึงระดับ ๘

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๑ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานุเบกษา (๓) ผูเขา รับการฝก อบรมในการฝกอบรมระดับสงู ใหเ ทียบเทา ขาราชการตงั้ แตระดบั ๙ ข้ึนไป ขอ ๑๔ การเบกิ จา ยคาพาหนะเดินทางไปกลับระหวา งสถานที่อยู ทพี่ กั หรอื ทป่ี ฏบิ ตั ริ าชการ ไปยังสถานท่ีจัดฝกอบรมของบุคคลตามขอ ๑๑ ใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการผูจัดการ ฝกอบรมหรอื ตนสงั กัด ขอ ๑๕ ใหสวนราชการผูจัดการฝกอบรมใชดุลพินิจเบิกจายคาใชจายในการจัดฝกอบรม ไดเทาท่ีจายจริง โดยคํานึงถึงความจําเปน เหมาะสม และประหยัด เพ่ือประโยชนของทางราชการ ยกเวน คา สมนาคุณวิทยากร คา อาหาร คาเชา ทพ่ี กั และคาพาหนะ ใหเบิกจายตามหลักเกณฑและอัตรา ตามท่กี าํ หนดไวใ นระเบยี บน้ี ขอ ๑๖ การจายคาสมนาคุณวิทยากรใหเ ปนไปตามหลักเกณฑและอัตรา ดงั น้ี (๑) หลกั เกณฑก ารจายคา สมนาคณุ วิทยากร (ก) ช่ัวโมงการฝกอบรมที่มีลักษณะเปนการบรรยาย ใหจายคาสมนาคุณวิทยากรได ไมเกิน ๑ คน (ข) ช่ัวโมงการฝกอบรมท่ีมีลกั ษณะเปนการอภิปรายหรือสัมมนาเปนคณะ ใหจายคาสมนาคุณ วทิ ยากรไดไมเกิน ๕ คน โดยรวมถงึ ผดู ําเนินการอภปิ รายหรือสมั มนาทีท่ ําหนาทีเ่ ชน เดยี วกบั วทิ ยากรดว ย (ค) ชวั่ โมงการฝกอบรมที่มีลักษณะเปนการแบงกลุมฝกภาคปฏิบัติ แบงกลุมอภิปราย หรือสัมมนา หรือแบงกลุมทํากิจกรรม ซึ่งไดกําหนดไวในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรม และจาํ เปน ตอ งมวี ิทยากรประจาํ กลุม ใหจ ายคาสมนาคุณวิทยากรไดไ มเ กนิ กลมุ ละ ๒ คน (ง) ชว่ั โมงการฝกอบรมใดมีวิทยากรเกนิ กวา จํานวนทกี่ าํ หนดไวต าม (ก) (ข) หรอื (ค) ใหเ ฉลีย่ จายคาสมนาคณุ วทิ ยากรไมเ กนิ ภายในจาํ นวนเงนิ ที่จา ยไดตามหลักเกณฑ (จ) เพื่อประโยชนในการเบิกจายคาสมนาคุณวิทยากร การนับช่ัวโมงการฝกอบรม ใหนบั ตามเวลาทีก่ าํ หนดในตารางการฝกอบรม โดยไมตองหักเวลาที่พักรับประทานอาหารวางและเครื่องด่ืม แตละช่ัวโมงการฝกอบรมตองมีกําหนดเวลาการฝกอบรมไมนอยกวาหาสิบนาที กรณีกําหนดเวลา การฝก อบรมไมถึงหา สิบนาทแี ตไ มน อ ยกวา ย่ีสิบหานาทใี หเบิกจายคา สมนาคณุ วทิ ยากรไดก ่ึงหนึง่ (๒) อตั ราคาสมนาคณุ วทิ ยากร (ก) วทิ ยากรทีเ่ ปนบุคลากรของรัฐ ใหไดรับคาสมนาคุณวิทยากรสําหรับการฝกอบรม ระดับตน การฝกอบรมระดับกลาง และการฝกอบรมบุคคลภายนอก ไมเกินช่ัวโมงละ ๖๐๐ บาท และสําหรับการฝกอบรมระดบั สูงไมเ กินชัว่ โมงละ ๘๐๐ บาท

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๒๒ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานเุ บกษา (ข) วิทยากรที่มิใชบ ุคคลตาม (ก) ใหไดรบั คาสมนาคณุ วิทยากร ในการฝก อบรมระดบั ตน การฝกอบรมระดบั กลาง และการฝก อบรมบคุ คลภายนอก ไมเกนิ ชวั่ โมงละ ๑,๒๐๐ บาท และสําหรับ การฝกอบรมระดับสงู ไมเ กินช่วั โมงละ ๑,๖๐๐ บาท (ค) กรณที จี่ าํ เปน ตองใชว ิทยากรท่ีมีความรู ความสามารถและประสบการณเปนพิเศษ เพ่ือประโยชนในการฝกอบรมตามโครงการหรือหลักสูตรท่ีกําหนด จะใหวิทยากรไดรับคาสมนาคุณ วทิ ยากรสูงกวาอัตราท่ีกําหนดตาม (ก) หรือ (ข) ก็ได โดยใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ เจา ของงบประมาณ (ง) การฝก อบรมท่สี ว นราชการเปน ผูจัดหรือจัดรวมกับหนวยงานอื่น ถาวิทยากรไดรับ คาสมนาคุณวทิ ยากรจากหนวยงานอืน่ แลว ใหสว นราชการผูจ ดั การฝก อบรมงดเบกิ คาสมนาคณุ วิทยากร จากทางราชการ (จ) กรณีวิทยากรสังกัดสวนราชการผูจัดการฝกอบรม ใหอยูในดุลพินิจของหัวหนา สว นราชการผูจ ัดการฝกอบรม ทีจ่ ะพจิ ารณาจายคาสมนาคุณวิทยากรไดตามความจําเปน และในอัตรา ทเ่ี หมาะสม แตตอ งไมเกินอตั ราตาม (ก) ขอ ๑๗ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมท่ีมีการจัดอาหารใหแกบุคคลตามขอ ๑๑ ใหสวนราชการผูจัดการฝกอบรมเบิกคาอาหารไดเทาที่จายจริงแตไมเกินอัตราตามบัญชีหมายเลข ๑ ทา ยระเบยี บน้ี ขอ ๑๘ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมท่ีมีการจัดที่พักและออกคาเชาท่ีพักใหแก บคุ คลตามขอ ๑๑ ใหส วนราชการผูจัดการฝกอบรมเบิกจายคาเชาท่ีพักไดเทาที่จายจริงแตไมเกินอัตรา คา เชา ท่ีพกั ตามบัญชหี มายเลข ๒ และบัญชหี มายเลข ๓ ทายระเบยี บน้ี และตามหลักเกณฑด งั นี้ (๑) การจัดท่ีพักใหแกผูเขารับการฝกอบรมสําหรับการฝกอบรมระดับตน การฝกอบรม ระดับกลาง และการฝกอบรมบุคคลภายนอก ใหพักรวมกันต้ังแตสองคนขึ้นไปโดยใหพักหองพักคู เวน แตเปน กรณีท่ีไมเ หมาะสมหรือมีเหตจุ ําเปน ไมอ าจพักรวมกับผูอ่ืนได หัวหนาสวนราชการผูจัดการ ฝกอบรมอาจจดั ใหพกั หอ งพักคนเดยี วได (๒) การจัดท่พี ักใหแ กผ ูสังเกตการณหรือเจาหนาที่ซึ่งมีระดับตําแหนงหรือชั้นยศ ไมสูงกวา ขาราชการระดับ ๘ หรือเทียบเทา ใหพักรวมกันตัง้ แตส องคนขึ้นไปโดยใหพักหองพักคู เวนแตเปนกรณี ท่ีไมเหมาะสมหรือมีเหตุจําเปนไมอาจพักรวมกับผูอ่ืนได หัวหนาสวนราชการผูจัดการฝกอบรม

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๒๓ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานเุ บกษา อาจจัดใหพักหองพักคนเดียวได สวนผูสังเกตการณหรือเจาหนาที่ซึ่งมีระดับตําแหนงหรือชั้นยศ ตัง้ แตข า ราชการระดับ ๙ หรอื เทยี บเทาขึ้นไป จะจัดใหพ กั หอ งพักคนเดยี วกไ็ ด ขอ ๑๙ กรณีสวนราชการผูจัดการฝกอบรม จัดยานพาหนะในการฝกอบรม และออกคา พาหนะสาํ หรบั บคุ คลตามขอ ๑๑ ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ ดงั น้ี (๑) กรณีใชยานพาหนะของสว นราชการผูจ ัดฝก อบรม หรือกรณยี มื ยานพาหนะจากสวนราชการ หรือหนว ยงานอืน่ ใหเ บิกคา นํ้ามันเชื้อเพลงิ ไดเ ทา ทีจ่ ายจรงิ (๒) กรณีใชยานพาหนะประจําทางหรือเชาเหมายานพาหนะใหจัดยานพาหนะโดยอนุโลม ตามสิทธิของขาราชการตามพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ โดยใหเบิกจายได เทา ทีจ่ ายจรงิ ตามความจําเปน และประหยัด ดงั นี้ (ก) การฝกอบรมระดับตนหรอื การฝกอบรมบุคคลภายนอกใหจัดยานพาหนะตามสิทธิ ของขาราชการระดับ ๕ หรือเทียบเทา สําหรับการฝกอบรมระดับกลางใหจัดยานพาหนะตามสิทธิ ของขา ราชการระดบั ๖ หรือเทียบเทา (ข) การฝกอบรมระดับสงู ใหจ ัดยานพาหนะตามสทิ ธิของขา ราชการระดับ ๑๐ หรอื เทยี บเทา เวนแตกรณีเดินทางโดยเครื่องบินใหใชช้ันธุรกิจ กรณีที่ไมสามารถเดินทางโดยช้ันธุรกิจใหเดินทาง โดยชัน้ หนง่ึ ขอ ๒๐ กรณีสวนราชการผูจัดการฝกอบรมไมจัดอาหาร ที่พัก หรือยานพาหนะทั้งหมด หรอื จัดใหบางสว น ใหสวนราชการผจู ัดการฝกอบรมเบกิ จา ยคา ใชจายทั้งหมดหรือสวนท่ีขาดใหแกบุคคล ตามขอ ๑๑ แตถ า บคุ คลตามขอ ๑๑ (๔) และ (๕) เปน บุคลากรของรัฐใหเบิกจายจากตนสังกัด ท้ังน้ี ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการท่ีกาํ หนดไวในพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ การคํานวณเวลาเพ่ือเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางใหนับตั้งแตเวลาท่ีเดินทางออกจากสถานท่ีอยู หรอื สถานทีป่ ฏิบตั ริ าชการตามปกติจนกลบั ถงึ สถานที่อยูหรอื สถานทป่ี ฏิบตั ริ าชการตามปกติ แลวแตกรณี แลวนําจํานวนวันทั้งหมดมาคูณกับอัตราเบี้ยเล้ียงเดินทางเหมาจายตอวัน เพื่อเปนคาเบี้ยเล้ียงเดินทาง ในกรณีที่ผูจดั การฝกอบรมจดั อาหารบางมอ้ื ในระหวา งการฝกอบรม ใหหักเบย้ี เลีย้ งเดนิ ทางทค่ี าํ นวณได ในอัตรามอ้ื ละ ๑ ใน ๓ ของอตั ราเบ้ยี เลย้ี งเดินทางเหมาจา ยตอวนั การคํานวณเวลาตามวรรคสองใหนับยี่สิบส่ีช่ัวโมงเปนหนึ่งวัน ถาไมถึงยี่สิบส่ีช่ัวโมง หรือเกินย่ีสิบสี่ชั่วโมงและสวนที่ไมถึงยี่สิบสี่ช่ัวโมงหรือเกินยี่สิบส่ีชั่วโมงนั้นมากกวาสิบสองชั่วโมง ใหถอื เปน หน่ึงวนั

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๒๔ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานเุ บกษา ขอ ๒๑ กรณเี ปนการจดั ฝก อบรมบุคคลภายนอก ถา สวนราชการผจู ดั การฝกอบรมไมจัดอาหาร ทีพ่ กั หรอื ยานพาหนะ ทัง้ หมดหรอื จดั ใหบางสว น ใหส ว นราชการผูจ ัดการฝก อบรม เบิกจายคาใชจาย ใหแกผเู ขา รับการฝก อบรมทีเ่ ปนบคุ ลากรของรฐั ตามหลักเกณฑท ีก่ าํ หนดไวใ นขอ ๒๐ และใหส ว นราชการ ผูจัดการฝกอบรมเบิกจายคาใชจายท้ังหมดหรือสวนที่ขาดใหแกผูเขารับการฝกอบรมท่ีมิไดเปนบุคลากร ของรฐั ตามหลกั เกณฑ ดังนี้ (๑) คาเบยี้ เล้ยี ง (ก) การฝก อบรมทไี่ มจดั อาหารท้งั ๓ มื้อ ใหเบกิ จายคาเบยี้ เล้ียงไดไมเ กนิ คนละ ๑๒๐ บาท ตอวัน (ข) การฝก อบรมทจี่ ัดอาหารให ๒ ม้ือ ใหเบิกจายคาเบ้ียเล้ียงไดไมเกินคนละ ๔๐ บาท ตอ วนั (ค) การฝก อบรมที่จดั อาหารให ๑ ม้อื ใหเ บกิ จายคาเบยี้ เล้ยี งไดไมเ กินคนละ ๘๐ บาท ตอวัน (๒) คาเชาที่พกั ใหเ บกิ จา ยในลกั ษณะเหมาจา ยไมเ กินคนละ ๕๐๐ บาท ตอวัน (๓) คา พาหนะเดนิ ทางยกเวน คา โดยสารเคร่ืองบิน ใหอยูใ นดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ ผจู ัดการฝก อบรมที่จะพิจารณาใหเบิกจายตามที่จายจริง หรอื ใหเ บกิ ในลกั ษณะเหมาจา ยตามความจําเปน และเหมาะสม การเบกิ จายคา ใชจายตามขอนใี้ หใ ชแบบใบสาํ คญั รบั เงินทา ยระเบียบนี้ ขอ ๒๒ การเบิกคา เครือ่ งแตงตัวในการเดนิ ทางไปฝก อบรมในตางประเทศ ใหเบิกจายไดเฉพาะ ผเู ขา รับการฝก อบรมท่ีเปน บคุ ลากรของรัฐ หรอื เจาหนาที่ ตามบญั ชหี มายเลข ๔ ทา ยระเบยี บน้ี ขอ ๒๓ คา ใชจ ายเปน คาลงทะเบียน คาธรรมเนียม หรือคาใชจายทํานองเดียวกันที่เรียกช่ือ อยางอื่นสําหรับผูเขารับการฝกอบรม ใหเบิกจายเทาที่จายจริงในอัตราที่สวนราชการหรือหนวยงาน ผจู ัดการฝกอบรมเรียกเก็บ ขอ ๒๔ กรณีคา ใชจ า ยตามขอ ๒๓ ไดรวมคาอาหาร คาเชาท่ีพัก หรือคาพาหนะของผูเขารับ การฝกอบรมไวท้ังหมด หรือสวนราชการหรือหนวยงานผูจัดการฝกอบรมไดออกคาใชจายเก่ียวกับ คา อาหาร คา เชาท่ีพัก หรอื คา พาหนะทั้งหมดใหแกผเู ขา รบั การฝกอบรมหรอื ผูสังเกตการณ ใหผูเขารับ การฝกอบรมหรอื ผูสงั เกตการณงดเบิกจา ยคา ใชจายดงั กลา ว

เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๙๘ ง หนา ๒๕ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ราชกิจจานุเบกษา กรณีคาใชจ า ยตามขอ ๒๓ ไมรวมคาอาหาร คาเชาท่ีพัก หรือคาพาหนะ หรือรวมไวบางสวน หรอื สว นราชการหรือหนวยงานผูจดั การฝกอบรมไมอ อกคาอาหาร คาเชาท่ีพัก หรือคาพาหนะท้ังหมด หรือออกใหบางสวน ใหผูเขารับการฝกอบรมหรือผูสังเกตการณเบิกจายคาใชจายท้ังหมดหรือ เฉพาะสวนทข่ี าดหรอื สวนท่มี ไิ ดออกใหต ามหลักเกณฑท ี่กาํ หนดไวใ นขอ ๒๐ ขอ ๒๕ โครงการหรือหลักสูตรการฝกอบรมที่สวนราชการผูจัดการฝกอบรมไดรับ ความชวยเหลอื คาใชจา ยท้ังหมดจากหนว ยงานภายในประเทศหรือตางประเทศ ใหงดเบิกจายคาใชจาย สวนกรณีทีส่ ว นราชการผูจ ัดการฝก อบรมไดร ับความชวยเหลือคาใชจายบางสวน ใหเบิกจายคาใชจายสมทบ ในสวนท่ีไมไ ดรับความชวยเหลอื ตามหลกั เกณฑแ ละอัตราท่ีกาํ หนดไวในระเบยี บน้ี กรณีท่ีบุคลากรของรัฐไดรับอนุมัติใหเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศโดยไดรับ ความชวยเหลือคาใชจายในการเดินทางไปฝกอบรมทั้งหมด ใหงดเบิกจายคาใชจาย สวนกรณีไดรับ ความชวยเหลือคาใชจายในการเดินทางไปฝกอบรมบางสวน ใหเบิกจายคาใชจายสมทบในสวนท่ี ไมไดรับความชวยเหลือไดตามพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ แตตองไมเกิน วงเงินทไ่ี ดร บั ความชวยเหลอื ภายใตเ งอ่ื นไข ดงั น้ี (๑) กรณีไดรับความชวยเหลือคาโดยสารเคร่ืองบินไป-กลับแลว แมจะตํ่ากวาสิทธิท่ีไดรับ กใ็ หงดเบิกจายคา โดยสารเครื่องบิน สว นกรณไี ดรับความชวยเหลือคาโดยสารเครื่องบินเพียงเที่ยวเดียว ใหเบิกจายคาโดยสารเคร่ืองบินอีกหน่ึงเท่ียวในช้ันเดียวกับที่ไดรับความชวยเหลือแตตองไมสูงกวา สทิ ธิทพ่ี งึ ไดรบั (๒) กรณีมีการจัดที่พักให ใหงดเบิกจายคาเชาที่พัก ถาไดรับความชวยเหลือคาเชาท่ีพัก ต่ํากวา สทิ ธทิ ี่พงึ ไดร ับ ใหเบิกจายคาเชา ทพี่ กั สมทบเฉพาะสว นที่ขาดตามท่ีจา ยจรงิ แตเ มอ่ื รวมกับคาเชา ท่พี กั ทไ่ี ดร ับความชวยเหลือแลวจะตองไมเกนิ สิทธิที่พงึ ไดรบั (๓) กรณไี ดร บั ความชวยเหลอื คา เบ้ยี เลย้ี งเดินทางต่ํากวาสิทธิท่ีพึงไดรับ ใหเบิกจายคาเบ้ียเล้ียง เดนิ ทางสมทบเฉพาะสวนที่ขาด สวนกรณีมีการจัดอาหารในระหวางการฝกอบรมการเบิกจายคาเบ้ียเลี้ยง เดินทางใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑทก่ี ําหนดไวใ นขอ ๒๐ (๔) กรณีมิไดรับความชวยเหลือคาเครื่องแตงตัว ใหเบิกจายไดตามบัญชีหมายเลข ๔ ทายระเบยี บนี้ ถา ไดร ับความชว ยเหลือคาเคร่ืองแตงตัวต่ํากวาสิทธิที่พึงไดรับ ใหเบิกจายคาเคร่ืองแตงตัว สมทบเฉพาะสวนทข่ี าด

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๖ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานเุ บกษา การเบิกจายคาใชจายตามวรรคสอง ใหจัดทํารายละเอียดคาใชจายตามแบบรายละเอียด คาใชจายกรณีไดรับความชวยเหลือทายระเบียบน้ี พรอมแนบสําเนาหนังสือของสวนราชการ หรือหนวยงานที่ใหความชวยเหลือเพื่อเปนหลักฐานประกอบการเบิกจาย และกรณีหนวยงานที่ให ความชวยเหลือไมไดระบุวงเงินใหความชวยเหลือไว ใหคํานวณเงินคาใชจายท่ีไดรับความชวยเหลือ โดยอิงอตั ราคาใชจ ายตามระเบียบนี้ ขอ ๒๖ กรณีสวนราชการผูจัดการฝกอบรมประสงคจะจางจัดฝกอบรมในโครงการ หรือหลักสูตรการฝกอบรมไมวาท้ังหมดหรือบางสวน ใหดําเนินการไดตามหลักเกณฑและอัตรา คาใชจายตามระเบียบนี้ และถาใชเครื่องบินโดยสารเปนยานพาหนะในการเดินทางไปฝกอบรมใน ตางประเทศ ใหปฏิบตั ติ ามมตคิ ณะรัฐมนตรแี ละหนังสือกระทรวงการคลังทกี่ ําหนดในเรอ่ื งดงั กลา วดวย การเบกิ จายคาใชจายตามวรรคหนึ่ง ใหใชใ บเสรจ็ รับเงนิ ของผรู บั จางเปน หลกั ฐานการเบกิ จาย ขอ ๒๗ ใหมีการประเมินผลการฝกอบรม และรายงานตอหัวหนาสวนราชการผูจัดการ ฝก อบรมภายใน ๖๐ วนั นับแตส น้ิ สดุ การฝก อบรม สําหรับผูเขารับการฝกอบรมหรือผูสังเกตการณที่เขารับการฝกอบรมท่ีสวนราชการ หรอื หนว ยงานอนื่ เปน ผจู ดั การฝกอบรม ใหจัดทํารายงานผลการเขา รบั การฝกอบรมเสนอหัวหนาสวนราชการ ตน สังกัดภายใน ๖๐ วนั นบั ตัง้ แตว ันเดินทางกลับถงึ สถานทป่ี ฏิบัติราชการ หมวด ๓ คา ใชจา ยในการจัดงาน ขอ ๒๘ การจัดงานตามแผนงานโครงการตามภารกิจปกติหรือตามนโยบายของทางราชการ เชน การจัดงานวันคลายวันสถาปนาของสวนราชการ การจัดงานนิทรรศการ การจัดงานแถลงขาว การจัดการประกวดหรือแขงขัน หรือการจัดกิจกรรมตาง ๆ เปนตน ใหหัวหนาสวนราชการเจาของ งบประมาณพจิ ารณาอนุมัตกิ ารเบกิ จายคาใชจายไดเทาท่จี ายจรงิ ตามความจําเปน เหมาะสม และประหยัด ขอ ๒๙ กรณีสวนราชการประสงคจะจางดําเนินการตามขอ ๒๘ ก็ใหดําเนินการได โดยอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณ โดยใหใชใบเสร็จรับเงินของผูรับจาง ในการจดั งานเปนหลกั ฐานการเบิกจา ย

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๗ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานุเบกษา หมวด ๔ คา ใชจ า ยในการประชุมระหวางประเทศ ขอ ๓๐ บคุ คลทจี่ ะเบกิ จายคาใชจ ายในการประชมุ ระหวา งประเทศ ตามระเบยี บน้ี ไดแ ก (๑) ประธานในพิธเี ปด หรอื พธิ ีปดการประชุม แขกผูมีเกียรติ และผตู ิดตาม (๒) เจา หนา ที่ (๓) เจาหนา ทีป่ ฏบิ ัติงานลกั ษณะพเิ ศษ (๔) วทิ ยากร (๕) ผเู ขา รวมประชุม ขอ ๓๑ คาใชจายกอน ระหวาง และหลังการจัดประชุมระหวางประเทศ ใหเบิกจายได เทาทจ่ี า ยจริงตามความจาํ เปน เหมาะสมและประหยัด ยกเวนคาสมนาคุณวทิ ยากร เงนิ รางวัลของเจาหนาที่ คาอาหาร คา เชา ท่ีพัก และคาพาหนะ ใหเบิกจายตามหลักเกณฑและอัตราทีก่ ําหนดไวในระเบียบนี้ ขอ ๓๒ การประชุมระหวางประเทศท่ีมีการจัดอาหาร ท่ีพัก หรือยานพาหนะใหแกบุคคล ตามขอ ๓๐ ใหสว นราชการผูจัดการประชุมระหวางประเทศเบิกจายคาอาหาร คาเชาท่ีพัก หรือคาพาหนะได ดังน้ี (๑) การประชุมระหวางประเทศท่ีกําหนดผูเขารวมประชุมเปนบุคคลระดับรัฐมนตรีหรือ สมาชิกรัฐสภาข้ึนไป ใหเบิกจายคาใชจายไดเทาท่ีจายจริงโดยใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ เจาของงบประมาณ (๒) การประชุมระหวางประเทศนอกจาก (๑) ใหเบิกจายคาใชจายไดเทาท่ีจายจริง ไมเกิน อตั รา ดังนี้ (ก) คาอาหารและเครื่องด่ืม กรณีจัดครบทุกม้ือไมเกินคนละ ๑,๒๐๐ บาทตอวัน กรณจี ัดไมค รบทกุ ม้ือไมเ กินคนละ ๘๐๐ บาทตอวัน (ข) คาเชาท่ีพกั ไมเกินคนละ ๒,๐๐๐ บาทตอวนั (ค) คาพาหนะใหเ บิกจายไดเทาที่จายจริงตามความจําเปนและเหมาะสม โดยใหอยูใน ดุลพินจิ ของหวั หนาสวนราชการเจา ของงบประมาณ

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๘ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๓๓ การจายคา สมนาคณุ วทิ ยากรใหเปน ไปตามหลักเกณฑขอ ๑๖ สวนอัตราคาสมนาคุณ วิทยากรใหเบิกจายตามความจําเปนและเหมาะสม โดยใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ เจาของงบประมาณ ขอ ๓๔ เจา หนาท่ซี ง่ึ ปฏิบัติงานในการประชุมระหวา งประเทศใหไดรบั เงินรางวลั เฉพาะวันที่ ปฏบิ ัติงานคนละไมเ กนิ ๒๐๐ บาทตอวนั ขอ ๓๕ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานลักษณะพิเศษใหเบิกจายคาตอบแทนเฉพาะวันที่ปฏิบัติงาน ตามหลกั เกณฑแ ละอัตราท่ีหวั หนา สว นราชการเจา ของงบประมาณกาํ หนด ขอ ๓๖ คาใชจายที่เปนคาลงทะเบียน คาธรรมเนียม หรือคาใชจายทํานองเดียวกัน ทเ่ี รยี กชอื่ อยา งอ่ืนสําหรับผูเขา รว มประชมุ ใหเ บกิ จายเทาทจ่ี า ยจรงิ ในอัตราทีผ่ ูจัดการประชุมระหวางประเทศ เรียกเก็บ ขอ ๓๗ กรณีคาใชจายตามขอ ๓๖ ไดรวมคาอาหาร คาเชาที่พัก หรือคาพาหนะ ของผูเขารวมประชุมไวทั้งหมด หรือสวนราชการหรือหนวยงานผูจัดการประชุมไดออกคาใชจาย เก่ียวกับคาอาหาร คาเชาท่ีพัก หรือคาพาหนะท้ังหมดใหแกผูเขารวมประชุม ใหผูเขารวมประชุม งดเบิกจา ยคาใชจาย กรณีคาใชจายตามขอ ๓๖ ไมร วมคาอาหาร คา เชา ท่ีพัก หรอื คาพาหนะ หรือรวมไวบางสวน หรือสว นราชการหรือหนวยงานผูจัดการประชุมไมออกคาอาหาร คาเชาท่ีพัก หรือคาพาหนะท้ังหมด หรือออกใหบ างสวน ใหผ ูเขารว มประชุมเบิกจา ยคาใชจายทั้งหมดหรือเฉพาะสวนที่ขาด หรือสวนที่มิได ออกใหจ ากสวนราชการตนสังกัดไดตามขอ ๓๒ ขอ ๓๘ กรณีสวนราชการผูจัดการประชุมระหวางประเทศไดรับความชวยเหลือ คาใชจาย จากสวนราชการหรือหนว ยงานในประเทศหรือตางประเทศ ใหเบิกจายคาใชจายสมทบเฉพาะในสวน ท่ขี าดไดตามระเบยี บนี้ ขอ ๓๙ กรณีสวนราชการประสงคจะจางจัดการประชุมระหวางประเทศก็ใหดําเนินการได โดยใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณ และใหใชใบเสร็จของผูรับจาง จดั การประชมุ ระหวา งประเทศเปน หลักฐานการเบิกจาย

เลม ๑๒๓ ตอนพเิ ศษ ๙๘ ง หนา ๒๙ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานุเบกษา บทเฉพาะกาล ขอ ๔๐ กรณีสวนราชการเบิกจายคาใชจายในการฝกอบรม การจัดงาน และการประชุม ระหวา งประเทศตามระเบยี บหรือหลกั เกณฑท่ีใชบังคับอยูในวันที่ระเบียบนี้ใชบังคับ หรือตามท่ีไดรับ อนุมัติจากกระทรวงการคลังกอนวันที่ระเบียบนี้ใชบังคับ ใหดําเนินการตอไปตามระเบียบหรือ หลกั เกณฑหรอื ตามท่ีไดร ับอนุมัตจิ ากกระทรวงการคลงั ตอไปจนแลวเสรจ็ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ทนง พิทยะ รัฐมนตรวี าการกระทรวงการคลัง

อัตราคา อาหารใ (บาท : ว การฝก อบรมในสถานทข่ี องสว นราชการ รัฐวิสาห หรอื หนวยงานอนื่ ของรฐั ระดบั การฝก อบรม ในประเทศ จดั ครบทกุ มอื้ จัดไมครบทุกมื้อ ในตา งประ ๑ . การฝกอบรมระดับต น ไมเ กิน ๕๐๐ ไมเกิน ๓๐๐ ไมเ กิน ๒, การฝ กอบรมระดับกลาง แ ล ะ ก า ร ฝ ก อ บ ร ม บคุ คลภายนอก ๒.การฝก อบรมระดับสงู ไมเ กนิ ๗๐๐ ไมเ กิน ๕๐๐ ไมเ กนิ ๒,

บัญชีหมายเลข ๑ ในการฝก อบรม วนั : คน) หกจิ การฝกอบรมในสถานทขี่ องเอกชน ะเทศ ,๕๐๐ ในประเทศ ในตางประเทศ จดั ครบทกุ มอื้ จดั ไมค รบทกุ มอ้ื ไมเกิน ๘๐๐ ไมเ กนิ ๖๐๐ ไมเ กนิ ๒,๕๐๐ ,๕๐๐ ไมเ กนิ ๑,๐๐๐ ไมเ กนิ ๗๐๐ ไมเ กิน ๒,๕๐๐

บญั ชีหมายเลข ๒ อัตราคา เชาทพ่ี ักในการฝกอบรมในประเทศ (บาท : วนั : คน) ระดับการฝก อบรม คา เชา หอ งพกั คนเดยี ว คา เชา หอ งพกั คู ไมเกนิ ๑,๒๐๐ ไมเ กิน ๗๕๐ ๑. การฝก อบรมระดับตน การฝก อบรมระดบั กลางและ ไมเ กนิ ๒,๐๐๐ ไมเ กิน ๑,๑๐๐ การฝกอบรมบคุ คลภายนอก ๒. การฝกอบรมระดบั สงู หมายเหตุ : คา เชา หอ งพักคนเดียว หมายความวา คา ใชจ า ยในการเชา หอ งพักหนง่ึ หองทส่ี ถานทีพ่ กั แรมเรียกเก็บ กรณที ่ีผูเชา เขาพกั เพยี งคนเดียว คาเชา หองพกั คู หมายความวา คา ใชจ า ยในการเชา หอ งพกั ทสี่ ถานทพ่ี กั แรมเรียกเกบ็ กรณที ่ีผูเชาเขา พกั รวมกนั ตงั้ แตส องคนขน้ึ ไป

อตั ราคาเชา ท่พี กั ในการฝ (บาท : ว ประเภท ก. ระดบั การฝก อบรม คาเชา หอ งพกั คาเชา หอ งพกั คู คนเดยี ว ๑. การฝก อบรมระดับตน และ การฝก อบรมระดบั กลาง ไมเกิน ๖,๐๐๐ ไมเ กนิ ๔,๒๐๐ ๒. การฝกอบรมระดบั สูง ไมเ กนิ ๘,๐๐๐ ไมเ กิน ๕,๖๐๐ หมายเหตุ : (๑) คาเชาหองพักคนเดยี ว หมายความวา คา ใชจ ายในการเชาห (๒) คาเชา หองพักคู หมายความวา คาใชจ ายในการเชา หองพ (๓) ประเภท ก. ประเภท ข. และ ประเภท ค. หมายถงึ ปร

บญั ชีหมายเลข ๓ ฝกอบรมในตางประเทศ วัน : คน) ประเภท ข. ประเภท ค. คาเชา หอ งพกั คาเชาหองพกั คู คา เชา หอ งพกั คาเชาหองพกั คู คนเดียว คนเดียว ไมเ กนิ ๔,๐๐๐ ไมเกนิ ๒,๘๐๐ ไมเกิน ๒,๔๐๐ ไมเ กิน ๑,๗๐๐ ไมเกนิ ๕,๖๐๐ ไมเกิน ๓,๙๐๐ ไมเ กิน ๓,๖๐๐ ไมเ กนิ ๒,๕๐๐ หองพกั หน่ึงหอ งทสี่ ถานที่พักแรมเรียกเก็บกรณที ่ีผูเชา เขาพกั เพยี งคนเดียว พกั ทส่ี ถานท่พี ักแรมเรยี กเกบ็ กรณที ผี่ เู ชาเขา พกั รวมกนั ต้งั แตสองคนขน้ึ ไป ระเทศ รัฐ เมอื ง ตามบญั ชีแนบทายบญั ชนี ี้

บญั ชีหมายเลข ๔ คา เครื่องแตงตวั ในการเดินทางไปฝกอบรม ในตา งประเทศ __________________________ ๑. รายช่อื ประเทศทไ่ี มส ามารถเบกิ จายคาเครอ่ื งแตง ตวั ในการเดนิ ทางไปฝกอบรมในตา งประเทศ (๑) สหภาพพมา (๒) เนการาบรูไนดารสุ ซาลาม (๓) สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี (๔) ราชอาณาจกั รกัมพชู า (๕) สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว (๖) มาเลเซยี (๗) สาธารณรัฐฟล ิปปน ส (๘) สาธารณรฐั สิงคโปร (๙) สาธารณรฐั สังคมนิยมประชาธปิ ไตยศรลี ังกา (๑๐) สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม (๑๑) สาธารณรัฐหมูเกาะฟจิ (๑๒) ปาปว นวิ กนิ ี (๑๓) รัฐเอกราชซามวั (๑๔) สาธารณรัฐประชาธิปไตยตมิ อร- เลสเต ๒. ขาราชการระดบั ๕ หรอื ตําแหนง ทเี่ ทียบเทา ลงมา ใหเ บิกจา ยคาเครอ่ื งแตง ตวั เหมาจายไดคนละ ๗,๕๐๐ บาท ขา ราชการะดับ ๖ หรือตําแหนง ทเ่ี ทยี บเทา ข้ึนไป ใหเบิกจา ยคาเครอื่ งแตงตัวเหมาจา ยไดค นละ ๙,๐๐๐ บาท ๓. ผูที่เคยไดรับคาเครื่องแตงตัวในการเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศมาแลว หรือเคยไดรับ คาเครอ่ื งแตง ตัวจากสวนราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรอื หนวยงานอืน่ ของรฐั ตามกฎหมายหรือระเบยี บอน่ื ใดไมว า จะเบกิ จา ยจาก เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ หรอื เคยไดรับความชวยเหลอื จากหนวยงานใด ๆ ทัง้ ในประเทศและตางประเทศ ถาตองเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศ ใหม สี ิทธิเบกิ คาเครอื่ งแตง ตวั ไดอีกเม่ือการเดนิ ทางคร้ังใหมมีระยะหาง จากการเดินทางไปตางประเทศครั้งสุดทายที่ไดรับคาเคร่ืองแตงตัวเกิน ๒ ป นับแตวันท่ีเดินทางออก จากประเทศไทย หรอื มรี ะยะเวลาเกินกวา ๒ ป นับแตวันที่เดินทางกลับถึงประเทศไทยสําหรับผูที่รับราชการ ประจําในตางประเทศ

3ตอนท่ี ระเบยี บ/คาสงั่ ท่เี กย่ี วขอ้ ง 3.02 ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยค่าใช้จา่ ย ในการฝึกอบรม การจัดงานและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552





























3ตอนท่ี ระเบยี บ/คาสงั่ ท่เี กย่ี วขอ้ ง 3.03 ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยค่าใช้จา่ ย ในการฝึกอบรม การจัดงานและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555

เลม่ ๑๒๙ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง หน้า ๑ ๑๗ กนั ยายน ๒๕๕๕ ราชกิจจานุเบกษา ระเบยี บกระทรวงการคลัง วา่ ด้วยค่าใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยท่เี ปน็ การสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหวา่ งประเทศ ใหเ้ หมาะสมยง่ิ ขน้ึ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑ (๒) แห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ กระทรวงการคลังโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรีจงึ กาํ หนดระเบยี บไว้ ดังต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชมุ ระหวา่ งประเทศ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕” ขอ้ ๒ ระเบียบน้ีใหใ้ ช้บังคับต้ังแต่วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นตน้ ไป ข้อ ๓ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นวรรคสองของข้อ ๖ แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย คา่ ใช้จ่ายในการฝกึ อบรม การจัดงาน และการประชมุ ระหวา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ “การเบิกจ่ายเงินและหลักฐานการจ่ายซ่ึงมิได้กําหนดไว้ในระเบียบน้ี ให้ถือปฏิบัติตามท่ี กระทรวงการคลงั กาํ หนด” ขอ้ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจดั งาน และการประชุมระหวา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และให้ใช้ความต่อไปนแ้ี ทน “ข้อ ๗ ในกรณที ่มี ปี ญั หาเกยี่ วกบั การปฏบิ ัตติ ามระเบียบน้ี ใหป้ ลัดกระทรวงการคลังเป็นผวู้ ินจิ ฉัย การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ นอกเหนือจากที่กําหนดไว้ในระเบียบนี้ หรือกําหนดไว้แล้วแต่ไม่สามารถปฏิบัติได้ ให้หัวหน้าส่วนราชการ ขอทาํ ความตกลงกับกระทรวงการคลงั ” ข้อ ๕ ใหย้ กเลกิ ความในหมวด ๒ คา่ ใช้จ่ายในการฝกึ อบรม ขอ้ ๘ ถงึ ข้อ ๒๗ แห่งระเบียบ กระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยค่าใชจ้ า่ ยในการฝกึ อบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และให้ใช้ความต่อไปน้แี ทน “หมวด ๒ ค่าใชจ้ า่ ยในการฝกึ อบรม สว่ นที่ ๑ คา่ ใช้จ่ายของสว่ นราชการทจี่ ดั การฝกึ อบรม ข้อ ๘ โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่ส่วนราชการจัดหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอ่ืน ต้องได้รบั อนุมตั จิ ากหัวหน้าสว่ นราชการ เพื่อเบกิ จา่ ยคา่ ใช้จ่ายตามระเบียบน้ี

เลม่ ๑๒๙ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง หน้า ๒ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๕ ราชกจิ จานุเบกษา ใหส้ ่วนราชการท่จี ัดการฝึกอบรมเบกิ จ่ายคา่ ใช้จ่ายในการฝกึ อบรมได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ค่าใช้จ่ายเก่ยี วกับการใช้และการตกแต่งสถานทฝ่ี กึ อบรม (๒) ค่าใชจ้ า่ ยในพธิ เี ปดิ - ปดิ การฝึกอบรม (๓) คา่ วัสดุ เคร่อื งเขียนและอุปกรณ์ (๔) ค่าประกาศนียบัตร (๕) คา่ ถ่ายเอกสาร ค่าพมิ พ์เอกสารและสิ่งพมิ พ์ (๖) คา่ หนงั สอื สําหรับผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม (๗) คา่ ใช้จา่ ยในการตดิ ต่อสื่อสาร (๘) คา่ เช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝกึ อบรม (๙) คา่ อาหารว่างและเครื่องดืม่ (๑๐) คา่ กระเปา๋ หรอื สิ่งทใ่ี ช้บรรจเุ อกสารสาํ หรบั ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม (๑๑) ค่าของสมนาคณุ ในการดูงาน (๑๒) คา่ สมนาคณุ วทิ ยากร (๑๓) คา่ อาหาร (๑๔) คา่ เชา่ ท่ีพัก (๑๕) คา่ ยานพาหนะ ค่าใช้จ่ายตาม (๑) ถึง (๙) ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจําเป็น เหมาะสม และประหยัด คา่ ใช้จา่ ยตาม (๑๐) ใหเ้ บกิ จ่ายไดเ้ ท่าท่จี า่ ยจริง ไมเ่ กนิ อัตราใบละ ๓๐๐ บาท ค่าใช้จ่ายตาม (๑๑) ใหเ้ บกิ จา่ ยไดเ้ ท่าท่จี ่ายจรงิ แหง่ ละไมเ่ กนิ ๑,๕๐๐ บาท ค่าใช้จ่ายตาม (๑๒) ถึง (๑๕) ให้เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราตามท่ีกําหนดไว้ใน ระเบยี บน้ี ข้อ ๙ การฝกึ อบรมบุคคลภายนอกให้จัดได้เฉพาะการฝกึ อบรมในประเทศเทา่ นัน้ ขอ้ ๑๐ บุคคลทีจ่ ะเบิกจา่ ยค่าใช้จา่ ยในการฝึกอบรมตามระเบียบนี้ ไดแ้ ก่ (๑) ประธานในพธิ ีเปิดหรอื พิธปี ิดการฝึกอบรม แขกผมู้ เี กียรติ และผ้ตู ิดตาม (๒) เจา้ หนา้ ที่ (๓) วทิ ยากร (๔) ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรม (๕) ผสู้ ังเกตการณ์ ค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่งให้ส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรมเป็นผู้เบิกจ่าย แต่ถ้าจะเบิกจ่ายจาก สว่ นราชการตน้ สังกัดให้ทาํ ไดเ้ ม่ือสว่ นราชการท่จี ัดการฝึกอบรมร้องขอและสว่ นราชการต้นสังกัดตกลงยินยอม

เลม่ ๑๒๙ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง หน้า ๓ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๕ ราชกจิ จานุเบกษา ขอ้ ๑๑ การเทียบตําแหน่งของบุคคลตามข้อ ๑๐ (๑) (๒) (๓) และ (๕) ที่มิได้เป็น บคุ ลากรของรัฐ เพ่อื เบกิ จา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายตามระเบียบน้ี ใหส้ ่วนราชการที่จัดการฝึกอบรมเทียบตําแหน่งได้ ดงั น้ี (๑) บุคคลที่เคยเป็นบุคลากรของรัฐมาแล้วให้เทียบตามระดับตําแหน่งหรือชั้นยศครั้งสุดท้าย กอ่ นออกจากราชการหรอื ออกจากงาน แลว้ แต่กรณี (๒) บุคคลที่กระทรวงการคลังไดเ้ ทียบระดบั ตาํ แหน่งไวแ้ ลว้ (๓) วิทยากรในการฝกึ อบรมข้าราชการประเภท ก ให้เทียบเท่าข้าราชการตําแหน่งประเภท บริหารระดับสูง สําหรับวิทยากรในการฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข และวิทยากรในการฝึกอบรม บุคคลภายนอกให้เทยี บเทา่ ข้าราชการตาํ แหน่งประเภทอาํ นวยการระดับตน้ (๔) นอกจาก (๑) (๒) หรอื (๓) ให้หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณพิจารณาเทียบ ตําแหน่งตามความเหมาะสม โดยถือหลกั การเทยี บตําแหน่งของกระทรวงการคลังตาม (๒) เป็นเกณฑ์ ในการพจิ ารณา ข้อ ๑๒ การเทียบตําแหน่งของบุคคลตามข้อ ๑๐ (๔) ที่มิได้เป็นบุคลากรของรัฐ เพอ่ื เบกิ จ่ายคา่ ใชจ้ ่ายตามระเบยี บน้ี ให้สว่ นราชการทจ่ี ดั การฝกึ อบรมเทียบตําแหน่งได้ ดังน้ี (๑) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการฝึกอบรมข้าราชการประเภท ก ให้เทียบได้ไม่เกินสิทธิ ของขา้ ราชการตาํ แหนง่ ประเภทบรหิ ารระดับสงู (๒) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข ให้เทียบได้ไม่เกินสิทธิ ของขา้ ราชการตาํ แหนง่ ประเภทอํานวยการระดับตน้ ข้อ ๑๓ การเบิกจ่ายค่าพาหนะเดินทางไป - กลับระหว่างสถานท่ีอยู่ ท่ีพัก หรือท่ีปฏิบัติราชการ ไปยังสถานที่จัดฝึกอบรมของบุคคลตามข้อ ๑๐ ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการท่ีจัด การฝกึ อบรมหรอื ส่วนราชการตน้ สงั กัด ข้อ ๑๔ การจ่ายค่าสมนาคณุ วทิ ยากรให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละอัตรา ดงั นี้ (๑) หลกั เกณฑ์การจา่ ยคา่ สมนาคุณวทิ ยากร (ก) ชั่วโมงการฝกึ อบรมที่มีลกั ษณะเป็นการบรรยาย ใหจ้ า่ ยคา่ สมนาคุณวทิ ยากรได้ไม่เกิน ๑ คน (ข) ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการอภิปรายหรือสัมมนาเป็นคณะ ให้จ่าย ค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกิน ๕ คน โดยรวมถึงผู้ดําเนินการอภิปรายหรือสัมมนาที่ทําหน้าท่ี เช่นเดยี วกบั วิทยากรดว้ ย (ค) ชั่วโมงการฝึกอบรมท่ีมีลักษณะเป็นการแบ่งกลุ่มฝึกภาคปฏิบัติ แบ่งกลุ่มอภิปราย หรือสัมมนา หรือแบ่งกลุ่มทํากิจกรรม ซึ่งได้กําหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม และจาํ เป็นตอ้ งมวี ทิ ยากรประจาํ กลุม่ ให้จ่ายคา่ สมนาคณุ วทิ ยากรไดไ้ ม่เกินกลุม่ ละ ๒ คน

เล่ม ๑๒๙ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง หน้า ๔ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๕ ราชกจิ จานเุ บกษา (ง) ชั่วโมงการฝึกอบรมใดมีวิทยากรเกินกว่าจํานวนท่ีกําหนดไว้ตาม (ก) (ข) หรือ (ค) ให้เฉลี่ยจา่ ยค่าสมนาคุณวิทยากรไมเ่ กนิ ภายในจํานวนเงนิ ทจี่ ่ายได้ตามหลกั เกณฑ์ (จ) การนับชั่วโมงการฝึกอบรมใหน้ บั ตามเวลาท่ีกําหนดในตารางการฝึกอบรม โดยไม่ต้อง หักเวลาท่ีพักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม แต่ละชั่วโมงการฝึกอบรมต้องมีกําหนดเวลา การฝึกอบรมไม่น้อยกว่าห้าสิบนาที กรณีกําหนดเวลาการฝึกอบรมไม่ถึงห้าสิบนาที แต่ไม่น้อยกว่า ย่สี บิ ห้านาที ให้จ่ายค่าสมนาคณุ วิทยากรไดก้ ึง่ หน่ึง (๒) อัตราคา่ สมนาคุณวิทยากร (ก) วิทยากรท่ีเป็นบุคลากรของรัฐไม่ว่าจะสังกัดส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรมหรือ ไมก่ ต็ าม ใหไ้ ด้รบั คา่ สมนาคณุ สําหรบั การฝกึ อบรมข้าราชการประเภท ก ไม่เกินชั่วโมงละ ๘๐๐ บาท สว่ นการฝกึ อบรมขา้ ราชการประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ให้ได้รับค่าสมนาคุณไม่เกิน ชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท (ข) วิทยากรท่ีมิใช่บุคคลตาม (ก) ให้ได้รับค่าสมนาคุณสําหรับการฝึกอบรมข้าราชการ ประเภท ก ไม่เกินช่ัวโมงละ ๑,๖๐๐ บาท ส่วนการฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข และ การฝึกอบรมบุคคลภายนอก ใหไ้ ดร้ บั คา่ สมนาคุณไม่เกินช่ัวโมงละ ๑,๒๐๐ บาท (ค) กรณที จี่ ําเป็นตอ้ งใช้วทิ ยากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เป็นพิเศษ เพ่ือประโยชน์ในการฝึกอบรมตามโครงการหรือหลักสูตรที่กําหนด จะให้วิทยากรได้รับค่าสมนาคุณ สูงกว่าอัตราท่ีกําหนดตาม (ก) หรือ (ข) ก็ได้ โดยให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของ งบประมาณ (ง) การฝึกอบรมท่ีส่วนราชการจัดหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอ่ืน ถ้าวิทยากรได้รับ ค่าสมนาคณุ จากหนว่ ยงานอนื่ แลว้ ให้ส่วนราชการที่จัดการฝกึ อบรมงดเบิกค่าสมนาคุณจากส่วนราชการ ท่จี ดั การฝึกอบรม เวน้ แต่จะทาํ ความตกลงกับกระทรวงการคลงั เป็นอยา่ งอื่น (๓) การจ่ายคา่ สมนาคณุ วิทยากรให้ใช้แบบใบสําคัญรับเงินสําหรับวิทยากรเอกสารหมายเลข ๑ ทา้ ยระเบียบนี้ เป็นหลักฐานการจา่ ย ขอ้ ๑๕ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่มีการจัดอาหารให้แก่บุคคลตามข้อ ๑๐ ใหส้ ว่ นราชการท่ีจัดการฝึกอบรมเบิกจ่ายค่าอาหารได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินอัตราค่าอาหารตามบัญชี หมายเลข ๑ ท้ายระเบียบน้ี ข้อ ๑๖ ในโครงการหรอื หลักสูตรการฝึกอบรมท่มี กี ารจัดที่พกั หรือออกค่าเช่าที่พักให้แก่บุคคล ตามข้อ ๑๐ ให้ส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรมเบิกจ่ายค่าเช่าท่ีพักได้เท่าท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกินอัตรา คา่ เช่าทพี่ ักตามบญั ชหี มายเลข ๒ และบัญชีหมายเลข ๓ ทา้ ยระเบียบน้ี และตามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี (๑) การจัดท่ีพักให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สาํ หรับการฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข และการฝึกอบรมบคุ คลภายนอก ให้พักรวมกันต้ังแต่สองคนขึ้นไปโดยให้พักห้องพักคู่ เว้นแต่เป็นกรณี ท่ีไม่เหมาะสมหรือมเี หตจุ าํ เปน็ ไม่อาจพักรวมกบั ผู้อ่ืนได้ หวั หน้าส่วนราชการท่ีจัดการฝึกอบรมอาจจัดให้ พักห้องพักคนเดียวได้

เล่ม ๑๒๙ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง หนา้ ๕ ๑๗ กนั ยายน ๒๕๕๕ ราชกิจจานเุ บกษา (๒) การจัดท่ีพักให้แก่ผู้สังเกตการณ์หรือเจ้าหน้าที่ตําแหน่งประเภทอํานวยการระดับต้น ตําแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ ระดับชํานาญการพิเศษ และตําแหน่ง ประเภททัว่ ไประดับปฏบิ ัตงิ าน ระดบั ชํานาญงาน ระดบั อาวโุ ส ใหพ้ ักรวมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไปโดยให้ พักห้องพักคู่ เว้นแต่เป็นกรณีท่ีไม่เหมาะสมหรือมีเหตุจําเป็นไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ หัวหน้าส่วนราชการ ที่จัดการฝึกอบรมอาจจัดให้พักห้องพักคนเดียวได้ ส่วนผู้สังเกตการณ์หรือเจ้าหน้าท่ีตําแหน่งประเภท บริหารระดับตน้ ระดบั สงู หรอื ตาํ แหน่งท่เี ทียบเท่าตําแหน่งประเภทอาํ นวยการระดบั สูง ตําแหน่งประเภท วิชาการระดับเชี่ยวชาญ ระดับทรงคุณวุฒิ และตําแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ จะจัดให้ พกั ห้องพกั คนเดยี วกไ็ ด้ (๓) การจัดท่พี ักให้แกป่ ระธานในพิธเี ปิดหรอื พธิ ีปิดการฝึกอบรม แขกผ้มู ีเกยี รติ และผู้ติดตาม หรอื วทิ ยากร ให้พักหอ้ งพกั คนเดยี วหรือพกั หอ้ งพกั คกู่ ็ได้ และเบิกจา่ ยคา่ เชา่ ที่พักไดเ้ ท่าทีจ่ ่ายจริง ข้อ ๑๗ การจัดการฝกึ อบรมทส่ี ว่ นราชการท่ีจัดการฝึกอบรมจัดยานพาหนะให้หรือรับผิดชอบ คา่ ยานพาหนะสาํ หรับบคุ คลตามขอ้ ๑๐ ใหส้ ว่ นราชการดําเนนิ การตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี (๑) กรณใี ช้ยานพาหนะของส่วนราชการท่ีจดั การฝึกอบรม หรือกรณยี มื ยานพาหนะจากส่วนราชการ หรอื หนว่ ยงานอ่ืน ใหเ้ บกิ จา่ ยคา่ เช้อื เพลงิ ได้เทา่ ทีจ่ า่ ยจรงิ (๒) กรณีใช้ยานพาหนะประจําทางหรือเช่าเหมายานพาหนะ ให้จัดยานพาหนะตามระดับ ของการฝึกอบรมตามสิทธิของข้าราชการตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ โดยอนโุ ลม ดงั นี้ (ก) การฝึกอบรมข้าราชการประเภท ก ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิของข้าราชการ ตําแหน่งประเภทบริหารระดับสูง เว้นแต่กรณีเดินทางโดยเคร่ืองบินให้ใช้ช้ันธุรกิจ แต่ถ้าไม่สามารถ เดินทางโดยช้ันธรุ กิจไดใ้ หเ้ ดนิ ทางโดยชน้ั หน่งึ (ข) การฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข ให้จัดยานพาหนะตามสิทธิของข้าราชการ ตาํ แหน่งประเภททวั่ ไประดบั ชํานาญงาน (ค) การฝึกอบรมบุคคลภายนอกให้จัดยานพาหนะตามสิทธิของข้าราชการตําแหน่ง ประเภทท่ัวไประดับปฏบิ ตั ิงาน ทง้ั น้ี ใหเ้ บกิ จ่ายค่าพาหนะได้เท่าท่ีจา่ ยจรงิ ตามความจําเปน็ เหมาะสม และประหยัด (๓) กรณีวิทยากรมีถิ่นที่อยู่ในท้องที่เดียวกับสถานที่จัดการฝึกอบรม ส่วนราชการที่จัด การฝึกอบรมจะเบิกจ่ายเงินค่าพาหนะรับจ้างไป - กลับ ให้แก่วิทยากรแทนการจัดรถรับส่งวิทยากรได้ โดยให้ใช้แบบใบสําคัญรับเงนิ สาํ หรบั วทิ ยากรเอกสารหมายเลข ๑ ทา้ ยระเบียบน้ี เป็นหลกั ฐานการจา่ ย ขอ้ ๑๘ การจัดการฝึกอบรมที่ส่วนราชการท่ีจัดการฝึกอบรมไม่จัดอาหาร ที่พัก หรือยานพาหนะ ทัง้ หมดหรอื จัดใหบ้ างส่วน ใหส้ ่วนราชการทจี่ ัดการฝึกอบรมเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายทั้งหมด หรอื ส่วนทขี่ าดให้แก่บุคคลตามข้อ ๑๐ แต่ถ้าบุคคลตามข้อ ๑๐ (๔) หรือ (๕) เป็นบุคลากรของรัฐ ให้เบิกจ่ายจากต้นสังกัด ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกําหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ ยกเว้น