Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอนแบบโยนิโสมนสิการ

การสอนแบบโยนิโสมนสิการ

Description: ๑. อุบายมนสิการ เป็น การคิดหรือพิจารณาโดยอุบาย
๒. ปถมนสิการ เป็น การคิดถูกทาง ต่อเนื่องเป็นลำดับ
๓. การณมนสิการ เป็น การคิดอย่างมีเหตุผล
๔. อุปปาทกมนสิการ การคิดการพิจารณาให้เกิดกุศลธรรม

Keywords: โยนิโสมนสิการ

Search

Read the Text Version

การสอน แ บ บ โ ย นิ โ ส ม น สิ ก า ร

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั Mahachulalongkornrajavidyalaya University หลักสูตรพทุ ธศาสตรบัณฑติ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา รหัสวิชา ๒๐๙ ๓๐๖ หมวดวชิ าเฉพาะสาขา การสอนแบบโยนโิ สมนสกิ าร Teaching Reasoned Attention ทพิ ย์ ขนั แก้ว วิทยาลยั สงฆ์บรุ รี ัมย์ วดั พระพุทธบาทเขากระโดง ตาบลเสม็ด อาเภอเมอื ง จังหวัดบุรีรัมย์ ๒๕๕๘

การสอนแบบโยนโิ สมนสิการ Teaching Reasoned Attention นายทพิ ย์ ขันแก้ว : ป.ธ.๙., กศ.ม.(การบริหารการศึกษา) ทปี่ รึกษา พระราชปรยิ ัตกิ วี ผทู้ รงคุณวฒุ ิประจาวิยาลัยสงฆ์บุรีรมั ย์ พระสุนทรธรรมเมธี ผทู้ รงคุณวุฒิประจาวิยาลยั สงฆบ์ รุ ีรัมย์ พระศรีปรยิ ัติธาดา ผอู้ านวยการวทิ ยาลัยสงฆ์บรุ รี มั ย์ พระมหาบญุ ถ่ิน ปญุ ญฺ สริ ิ รองผ้อู านวยการฝ่ายบรหิ าร พระครศู รปี ัญญาวิกรม รองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจทางตน้ ฉบับ ผศ.ดร.สรเชต วรคามวชิ ยั ผศ.ดร.ทววศี ักด์ิ ทองทพิ ย์ บรรณาธิการ นายทิพย์ ขันแก้ว กองบรรณาธกิ าร รองผู้อานวยการฝ่ายวชิ าการ หัวหนา้ สาขาวิชารัฐศาสตร์ พระครศู รีปัญญาวกิ รม ผอู้ านวยการหลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑติ พระครูปริยตั ิปัญญาโสภณ ผอู้ านวยการสานักวิชาการ พระครวู นิ ัยธรอานาจ พลปญฺโญ นายรังสิทธิ วิหกเหิน ปที พ่ี มิ พ์ ๒๕๕๘ จานวนพิมพ์ ๑๐๐ เลม่ จัดพมิ พ์โดย วทิ ยาลยั สงฆบ์ ุรรี มย์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั I SBN ……………………………………………………………….



คำปรำรภ การสอนแบบโยนิโสมนสิการ ถือเป็นมรดกทางธรรมท่ีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทาน ให้เปน็ แนวทางในการสง่ั สอนเพือ่ ใหม้ นษุ ย์เกดิ การพัฒนารอบด้าน มีความรู้ คู่คุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม ซ่ึง สอดคล้องกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีโครงการจัดทาและพัฒนาหลักสูตร เพ่ือการเรียนรู้ พระพทุ ธศาสนาของมหาวทิ ยาลยั ซึง่ มวี ตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนาเนื้อหารายวิชาให้เป็นท่ียอมรับและใช้ร่วมกันได้ พัฒนารูปแบบของหนังสือ และตาราให้มีเอกลักษณ์ร่วมกัน สวยงาม คงทน น่าสนใจต่อการศึกษาค้นคว้า มี เน้ือหาสาระไปพัฒนาสื่อการศึกษาและเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ทั้งสื่อส่ิงพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ระบบคลัง ข้อสอบ พัฒนาบุคลากรและผลงานด้านวิชาการของมหาวิทยาลัยให้แพร่หลาย และเป็นเวทีเสนอผลงานทาง วิชาการของคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย หนงั สอื การสอนแบบโยนิโสมนสิการเล่มนี้ มเี นอ้ื หาสาระ ๘ บท มุ่งหมายใหศ้ กึ ษาหลักและวิธีการสอน แบบโยนโิ สมนสกิ าร การออกแบบการสอน การจดั กระบวนการสอน การเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรม เพ่ือพัฒนาความคดิ การกาหนดแผนการสอน การใชส้ ื่อและเทคโนโลยี การประเมินผลการเรียนรู้ ขออนุโมทนาขอบคุณอาจารย์ทิพย์ ขันแก้ว อาจารย์ประจารายวิชา ที่ได้เสียสละเวลาพัฒนาเนื้อหา รายวิชาเล่มนี้ให้เกิดข้ึน อันจะเป็นประโยชน์สมบัติของวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์สืบไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ เล่มนี้คงอานวยประโยชน์เชิงวิชาการด้านพุทธศาสตร์และครุศาสตร์แก่คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และ ประชาชนผู้สนใจท่วั ไป (พระศรปี ริยัตธิ าดา) ผูอ้ านวยวทิ ยาลยั สงฆ์บุรรี ัมย์

คำนำ หนังสือการสอนแบบโยนโิ สมนสกิ าร (Teaching Reasoned Attention) รหัส ๒๐๙ ๓๐๖ หลักสูตร พุทธศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา เกิดจากแรงบันดาลใจในฐานะผู้เขียน เป็นผู้รับผิดชอบในการบรรยายถวายความรู้แด่นิสิตชั้นปีท่ี ๓ เห็นว่ายังขาดหนังสือและตาราเกี่ยวกับด้านนี้ สร้างความยุ่งยากและเกดิ ความไม่สะดวกในการศึกษาคน้ คว้าของผเู้ รียน จงึ มีความคิดอยากเขียนหนังสือด้านนี้ และเห็นวา่ มีความสาคัญตอ่ นสิ ิตที่เรยี นในชัน้ ปที ่ี ๓ สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา คณะครุศาสตร์ เป็น อย่างยิ่ง จึงได้รวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องจากตารางานวิจัย วารสารวิชาการและเว็ปไซต์ต่างๆ เพ่ือให้นิสิต นักศึกษาและผู้ที่สนใจได้ศึกษาประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีเรียน โดยได้นาแนวสังเขปรายวิชามา ศกึ ษาคน้ คว้าและจัดรวบรวมเนอื้ หาสาระใหส้ อดคล้อง กราบขอขอบคุณพระเดชพระคุณพระศรปี ริยัตธิ าดา ผูอ้ านวยการวิทยาลัยสงฆ์บุรรี ัมย์ ทเี่ มตตาเปดิ โอกาสในการศกึ ษาจัดทาเนื้อหารายวชิ าน้ี เพอ่ื เปน็ ประโยชนแ์ กน่ ิสิต นกั ศึกษาและผู้ท่ีสนใจ ศึกษาค้นควา้ ใช้ เป็นตาราประกอบการเรียนการสอน มไิ ดห้ วังผลกาไรทางการค้าแต่อย่างไร หวังเป็นเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือประกอบการเรียนรู้ ช่ือ “การสอนแบบโยนิโสมนสิการ”เล่มนี้ จะ อานวยประโยชน์แก่นิสิต นักศึกษา ผู้ที่สนใจ และคณาจารย์ หากท่านผู้อ่านพบเห็นข้อบกพร่องหรือมีคา ชแ้ี นะเพ่อื การปรับปรุงให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ขอน้อมยินดีรับฟังความคิดเห็นและจะนาไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนา เอกสารเล่มนใี้ ห้มคี วามสมบรู ณ์ และมีคณุ คา่ ทางการศกึ ษาตอ่ ไป ทพิ ย์ ขนั แกว้ ๒ กรกฎำคม ๒๕๕๘

บท สารบัญ หนา้ คานา ก สารบัญ ข บทที่ ๑ หลักการสอน หลักการเรยี นรู้และวธิ ีสอน ๑ ๑.๑ ความนา ๒ ๑.๒ กระบวนการเรยี นรู้ ๒ ๑.๓ ระเบยี บวิธีการ ๖ ๑.๔ จดุ มุง่ หมายของการศึกษาและจดุ มุ่งหมายของบทเรยี น ๘ ๑.๕ ครู อาจารยห์ รอื ผู้สอน ๑๖ สรุปทา้ ยบท ๑๘ คาถามทา้ ยบท ๑๙ เอกสารอา้ งอิงประจาบท ๒๐ บทที่ ๒ ศึกษาหลกั และวิธีการสอนแบบโยนโิ สมนสกิ าร ๒๑ ๒.๑ ความนา ๒๒ ๒.๒ หลักการและความหมายของโยนโิ สมนสกิ าร ๒๒ ๒.๓ ความสาคญั ของโยนิโสมนสิการ ๒๕ ๒.๔ วิเคราะหร์ ูปแบบการสอนแบบโยนิโสมนสิการ ๒๗ ๒.๕ รปู แบบและวธิ กี ารสอนแบบโยนโิ สมนสิการ ๓๔ สรุปท้ายบท ๓๗ คาถามท้ายบท ๓๘ เอกสารอา้ งองิ ประจาบท ๓๙ บทท่ี ๓ การออกแบบการสอน ๔๐ ๓.๑ ความนา ๔๑ ๓.๒ ความหมายการออกแบบการสอน ๔๑ ๓.๓ ความเป็นมาของการออกแบบการเรยี นการสอน ๔๔ ๓.๔ หลักการและขนั้ ตอนการออกแบบการสอน ๔๗ ๓.๕ การออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ ๕๒ ๓.๗ ขน้ั ตอนในการจดั การเรียนรเู้ พอื่ ให้ผู้เรยี นเกดิ การบูรณาการ ๕๔ ๓.๘ ประโยชน์ของการออกแบบการสอน ๕๗

บท สารบญั หน้า สรปุ ท้ายบท ๕๘ คาถามท้ายบท ๖๐ เอกสารอา้ งองิ ประจาบท ๖๑ บทท่ี ๔ กระบวนการจัดการสอน ๖๒ ๔.๑ ความนา ๖๓ ๔.๒ ความหมายของกระบวนการเรียนรู้ ๖๓ ๔.๓ องคป์ ระกอบของกระบวนการเรยี นรู้ ๖๕ ๔.๔ เป้าหมายของกระบวนการเรียนรู้ ๖๗ ๔.๕ เทคนคิ การจดั กิจกรรมสง่ เสริมผู้เรยี น ๗๘ ๔.๖ ดา้ นการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู ๘๑ สรุปท้ายบท ๘๗ คาถามท้ายบท ๘๙ เอกสารอา้ งอิงประจาบท ๙๐ บทท่ี ๕ การจัดกิจกรรมเพือ่ พฒั นาความคดิ ๙๑ ๕.๑ ความนา ๙๒ ๕.๒ ธรรมชาติ ความหมายและความสาคญั ของความคดิ ๙๒ ๕.๓ ประเภทของความคดิ ๙๗ ๕.๔ ลกั ษณะต่างๆของความคิด ๙๘ ๕.๕ การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางความคิด ๑๐๒ ๕.๖ กิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิด ๑๐๕ สรปุ ท้ายบท ๑๐๙ คาถามทา้ ยบท ๑๑๐ เอกสารอ้างอิงประจาบท ๑๑๑ บทที่ ๖ การกาหนดแผนการสอน ๑๑๒ ๖.๑ ความนา ๑๑๓ ๖.๒ ความหมายของแผนการสอน ๑๑๓ ๖.๓ ความสาคัญของแผนการสอน ๑๑๕ ๖.๔ รปู แบบแผนการสอน ๑๑๖ ๖.๕ ลกั ษณะของแผนการสอนที่ดี ๑๒๙

สรปุ ท้ายบท สารบญั ๑๓๒ บท หนา้ คาถามทา้ ยบท เอกสารอ้างองิ ประจาบท ๑๓๓ ๑๓๔ บทที่ ๗ การใชส้ ่ือและเทคโนโลยกี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๗.๑ ความนา ๑๓๕ ๗.๒ ความหมาย ๑๓๖ ๗.๓ ความสาคญั ๑๓๖ ๗.๔ ประเภท ๑๔๑ ๗.๕ การใช้ ๑๔๖ ๗.๖ การประยุกต์ ๑๔๙ สรปุ ท้ายบท ๑๕๒ คาถามทา้ ยบท ๑๕๕ เอกสารอา้ งอิงประจาบท ๑๕๗ ๑๕๘ บทที่ ๘ การประเมินการเรียนการสอน ๘.๑ ความนา ๑๖๐ ๘.๒ แนวคดิ และหลกั การของประเมินการเรียนการสอน ๑๖๑ ๘.๓ วธิ ีการประเมินการเรียนการสอน ๑๖๑ ๘.๔ ขอบเขตของการประเมินการเรียนการสอน ๑๖๒ ๘.๕ เกณฑ์ในการประเมิน ๑๖๔ สรปุ ท้ายบท ๑๗๐ คาถามท้ายบท ๑๗๖ เอกสารอ้างอิงประจาบท ๑๗๘ ๑๗๙ บรรณานุกรม ๑๘๐

๑ บทที่ ๑ หลักการสอน หลกั การเรยี นรแู้ ละวธิ สี อน วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนร้ปู ระจาบท เมื่อไดศ้ ึกษาเนือ้ หาในบทน้แี ล้ว ผู้เรยี นสามารถ ๑. อธบิ ายกระบวนการเรียนรู้ได้ ๒. บอกจุดมุ่งหมายการศึกษาและบทเรยี นได้ ๓. จาแนกครู อาจารย์หรือผสู้ อนได้ ๔. อธบิ ายระเบยี บวิธกี ารได้ ขอบขา่ ยเน้อื หา  กระบวนการเรยี นรู้  บอกจดุ มุง่ หมายการศึกษาและบทเรยี น  จาแนกครู อาจารย์หรือผู้สอน  ระเบยี บวิธีการ

๒ ๑.๑ ความนา การสอน เป็นงานหลักของครู ซ่ึงปัจจุบันถือว่าครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง ที่บุคคลในวิชาชีพนี้ ต้องได้รับ การศึกษาอบรมมาโดยเฉพาะเพ่ือให้มีความเช่ียวชาญในการปฏิบัติหน้าที่ สามารถเลือกศึกษา อบรมมา โดยเฉพาะ เพื่อให้มีความเช่ียวชาญในการปฏิบัติหน้าท่ี สามารถเลือกวิธีปฏิบัติงานท่ีเหมาะสม เพ่ือช่วยให้ นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติ ดังที่ระบุไว้ในจุดประสงค์การสอน ครูต้องมีการฝึกฝนด้านการ สอนอยู่ เสมอเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการทางานเช่นเดียวกับวิชาชีพชั้นสูงอื่นๆ และต้องมีมาตรฐานของ วิชาชีพ การท่ีครูสามารถปฏิบัติงานการสอนได้ดีขึ้นอยู่กับความสามารถในการผสมผสานศาสตร์ว่าด้วยการ สอนกับศลิ ปะของการสอนเขา้ ดว้ ยกนั เพื่อใหเ้ กดิ ประสิทธิผลของการสอนสงู สดุ ๑.๒ กระบวนการเรยี นรู้ การเรยี นรู้เปน็ กระบวนการผสมผสานและต่อเนอื่ งทเ่ี กิดขึ้นภายในตัวเอกัตบุคคลซึ่งช่วยให้เขาประสบ กบั จุดมุ่งหมายเฉพาะ ตอบสนองความตอ้ งการและความสนใจของเขา และจัดการกบั กระบวนการดารงชีวิต ในทางมโนทัศน์ กระบวนการเรยี นรเู้ กยี่ วข้องกับห้าขั้นตอน คือ ๑. กระบวนการคลาย (Unfreezing) เอกัตบุคคลพร้อมท่ีจะพิจารณาการเปลี่ยนแปลงในความรู้ ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรม ๒. การคาดคะเนปัญหา (Problem diagnosis) พลังสนับสนุนความต้องการสาหรับการเปลี่ยนแปลง และพลังที่ตอ่ ตา้ นความตอ้ งการการเปล่ยี นแปลงถกู ระบุและนาเสนอ ๓. การตั้งเปูาหมาย (Goal setting) การเปลี่ยนแปลงท่ีพ่ึงประสงค์ในการเรียนรู้ ทักษะ เจตคติ และ พฤติกรรมถูกระบไุ วอ้ ยา่ งจาเพาะ ๔. พฤติกรรมใหม่ (New behavior) เอกัตบุคคลเรียนรู้และปฏิบัติความรู้ ทักษะ เจตคติ และ พฤติกรรมใหม่ๆ ท่พี ่ึงประสงค์ ๕. การทดลองและการเปล่ียนแปลงให้เข้ารูป (Refreezing) ได้มีการพบการเรียนรู้ใหม่เพื่อประโยชน์ และผสมกลมกลนื เขา้ ไปยงั โครงสร้างของเอกัตบุคคลในความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และพฤตกิ รรม ๑.๒.๑ คุณลกั ษณะของการเรียนรู้ ๑. การเรยี นรู้คือการพัฒนา (Learning is developmental) ในขณะท่ีเป็นเอกัตบุคคลเจริญงอกงาม และพัฒนา เขาได้รบั ความรู้ ความเคยชิน และทักษะชนิดต่างๆ ซึ่งอาจจาเป็นต่อการปรับตัวของเขาในระหว่าง ขัน้ ตอนตา่ งๆ ของการพฒั นา ส่ิงเหลา่ นี้ข้นึ อยกู่ ับสมรรถนะ ระดบั วฒุ ิภาวะ และประสบการณ์เดิมของเขา ๒. การเรยี นร้เู ปน็ การปฏสิ ัมพนั ธ์ (Learning is interactive) ผู้เรียนจะเรียนรู้เม่ือเขามีปฏิสัมพันธ์กับ ส่ิงเร้าของสิ่งแวดล้อม ปฏิสัมพันธ์ดังกล่าวอาจอาจอยู่ในรูปของการสื่อความหมายทางคาพูด การรับรู้การ ปฏิบัติท่ไี มเ่ ท่าเทียมกนั การแปลความซา้ ในมโนทศั น์เกา่ และอุปนิสัยการเรียนซา้

๓ ๓. การเรียนรู้เป็นมูลฐาน (Learning is basic) การเรียนรู้โดยพ้ืนฐานแล้วเป็นความสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง ท่ีเกิดขึ้นระหว่างการตอบสนอง เพราะความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงเร้ากับการตอบสนองมีอยู่ การเรียนรู้โดย พ้ืนฐานแล้วเป็นการกอ่ รูปของความสมั พันธร์ ะหว่างสิง่ เรา้ กับการตอบสนอง และความสัมพันธ์ดังกล่าวสามารถ ทาให้เข้มแข็งโดยการฝึกหดั อยา่ งสมา่ เสมอ เมอ่ื ความสมั พนั ธไ์ ด้ถกู สรา้ งขนึ้ แล้ว มันกจ็ ะกลายเปน็ ความเคยชิน การเรียนรู้เป็นแกนของกระบวนการเรียนการสอน อย่างไรก็ตาม ส่ิงที่นักเรียนเรียนรู้ขึ้นอยู่กับการ กระทาของครู ครูในฐานะผูอ้ านวยความสะดวกในการเรียนรู้ ๑. ให้สภาวะของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล ๒. คน้ หาเพือ่ สนองความตอ้ งการและความสนใจของผเู้ รยี น ๓. ช่วยสร้างสภาวะสาหรับความเปิดเผย ความนับถือ ความไว้วางใจ การยอมรับ การเผชิญหน้า และการประเมินตนเอง ๔. เนน้ ในความเปน็ พเิ ศษและสทิ ธขิ องเอกัตบุคคล ๕. ค้นหาผลสะท้อนกลับที่จะปรับปรุงประสิทธิผลของเขา ในฐานะผู้อานวยความสะดวกของ กระบวนการเรียนรู้ พ้ืนฐานของความสาเร็จของครูในฐานะผู้อานวยความสะดวกของการเรียนรู้คือ ความเข้าใจใน หลักการทางจิตวิทยาบางอย่างที่ย้าความสาคัญของความสัมพันธ์ระหว่างแนวการสอนกับผลการเรียนของ ผู้เรียน โดยทั่วไปนักจติ วทิ ยาเหน็ ด้วยในหลกั การต่อไปน้ีท่ชี ว่ ยการเรียนรใู้ นหอ้ งเรียน ๑.๒.๒ หลักการเรยี นรู้ ๑. ผู้เรียนต้องรู้เปูาหมายอย่างชัดเจน (The learner must clearly perceive goal) การสอนท่ีมี ประสิทธิผลเกิดขน้ึ เมอ่ื การส่ือความหมายสูงสดุ เกิดขึ้นระหวา่ งครูกับนกั เรยี นเกย่ี วกับเปูาหมายและจุดมุ่งหมาย ของการสอน ผู้เรียนพร้อมท่ีจะเข้าใจ และทาให้เกิดมโนทัศน์และแนวความคิดขึ้นภายใน ซึ่งความสัมพันธ์กับ ความต้องการและปัญหาของเขา ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะการเรียนรู้เป็นกระบวนการท่ีต้องอาศัยการสารวจ แนวความคดิ ที่สัมพนั ธก์ ับตวั ตน ๒. ผเู้ รียนต้องมีความพร้อมทางจติ และทางกาย (The learner must be psychologically ready) หลักการดังกล่าวสอดคล้องกับกฎความพร้อม (law of readiness) เอด็ วาร์ด แอล ธอร์นไดค์ เป็นนักจิตวทิ ยา และนักศึกษาทมี่ ชี ื่อเสยี งชาวอเมรกิ นั กฎความพร้อมระบุว่า พรอ้ มทจ่ี ะตอบสนองหรือกระทา การไดร้ บั ตอบสนองทาให้ไดร้ ับความพอใจ และจะไมพ่ อใจถา้ หากถูกกดี กนั กฎดังกล่าวสัมพันธก์ ับกฎของผล และเปน็ สาเหตขุ องลักษณะการจงู ใจของการเรียนรู้ สิ่งดังกล่าวแสดงว่าครูอาจจะคอยความพร้อมหรือยอมรับระดับความพร้อมในปัจจุบันของ ผู้เรียน และพอใจกบั อตั ราการเรียนรู้ของผู้ท่เี รยี นช้าในการนาเสนอประสบการณ์การเรียนรใู้ หม่ ตัวอย่าง คือ การค้นพบว่า นอกเหนือจากเง่ือนไขบังคับอื่นแล้ว เด็กจะต้องมีอายุสมอง หกปีคร่ึง เพ่ือช่วยให้เขาสามารถรบั มอื กบั บทเรียนปกตใิ นโรงเรียน ถา้ เขาไม่มีวุฒภิ าวะตามเงอ่ื นไขเสียก่อน ประสบการณ์ในความพยายามในการเรียนก็จะเป็นการคับข้องใจ เป็นที่ยอมรับกันในปัจจุบันว่า เด็ก จะต้องไม่ถูกบังคับให้อ่านเลขคณิตเกินระดับของตนเอง หรือกิจกรรมทางสังคม เด็กท่ีถูกบังคับให้อ่านก่อนที่ เขาจะพร้อม อาจได้รับทักษะการอ่านบางอย่าง แต่ไม่จาเป็นต้องพัฒนาความต้องการในการอ่าน เขาอาจ ถึงกับพัฒนาเจตคติที่จะอ่านก็ต่อเม่ือเขาถูกบังคับกฎของความพร้องระบุว่า การเรียนรู้จะแข็งแกร่งข้ึนเมื่อ ผลลัพธ์ออกมาเป็นทน่ี า่ พอใจ แต่จะอ่อนลงถ้านาไปสู่ความไม่พอใจ ดังนั้นครูจึงควรให้ประสบการณ์เรียนรู้ท่ี ทาให้ผู้เรยี นถูกใจและพอใจเพื่อว่าเขาจะได้เรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง

๔ ๓. ผเู้ รียนต้องถูกใจให้เรยี นรู้ (The learner must be motivated to lean) ทว่ี ่าผู้เรียนต้องถูกจูงใจ ให้เรยี นรู้เปน็ หลกั การเบอื้ งต้นในกระบวนการสอน อยา่ งไรกต็ าม ผู้เรียนทุกคนในห้องเรียนเป็นบุคคลท่ีมีความ แตกต่างจากคนอ่ืน พื้นเพเดิมทางประสบการณ์ของผู้เรียนจะแตกต่างกันไป เขาจะมีมโนทัศน์บางอย่าง เกี่ยวกับตัวเอง เก่ียวกับคนอ่ืนและเก่ียวทุกองค์ประกอบในสถานการณ์การเรียนรู้ ทาไมนักเรียนบางคนจึงมี ความสนใจมากกว่านักเรียนคนอ่ืนๆ ในสถานการณ์การเรียนรู้ท้ังหมดยกตัวอย่างเช่น ศักด์ิอาจจะประสบ ความสาเร็จในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์มากกว่าวิชาสังคมศึกษา สมศรีอาจจะสนใจภาษาอังกฤษแต่ไม่สนใจ วิทยาศาสตร์ ปัญหาดังกล่าวเก่ียวข้องกับการจูงใจที่ครูต้องเข้าใจภายในโครงสร้างของพื้นเพเดิมทาง ประสบการณแ์ ละบคุ ลิกภาพของนักเรียนแต่ละคน ตลอดจนภายในสถานการณ์ที่การเรียนรู้เกิดข้ึน การจูงใจ มีสองชนิดที่ครูอาจใช้ในการจูงใจนักเรียนให้เรียนรู้ นั่งคือการจูงใจภายนอกกับการจูงใจภายใน การจูงใจ ภายนอกมาในรูปของรางวัลและการลงโทษ เช่น คะแนน (สูงหรือต่า) รางวัลที่เป็นตัว เช่น เงิน การยกย่อง การให้เหรียญ การขาดคุณสมบตั ิในการเขา้ ร่วมในกจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร เป็นต้น การจูงใจภายในหมายถึงการ สร้างความต้องการในการเรียนวิชาเพราะมีคุณค่าท่ีจะรู้ หลักการบางอย่างอยู่ในใจผู้เรียนซ่ึงมีความสาคัญสา หลับครูดังน้ี ๓.๑ การจงู ใจภายในมคี ่ากวา่ การจงู ใจภายนอก ๓.๒ การต้งั เปาู หมายเปน็ ลกั ษณะการจูงใจในการเรียนร้ทู ่ีสาคญั ๓.๓ ประสบการณท์ ีป่ ระสบความสาเรจ็ เปน็ ตัวจูงใจทีม่ ีความสาคญั ๓.๔ ผลสะทอ้ นกลับเก่ยี วกับการก้าวหน้าของนกั เรยี นทมี่ ีการจูงใจท่ีมปี ระสิทธผิ ล ๓.๕ การพิจารณาความสนใจของผู้เรียนมีความสาคัญในการเรียนรู้ในชน้ั เรียน ๓.๖ การให้รางวลั เปน็ การจูงใจที่ดกี ว่าการลงโทษสาหรับการเรยี นรู้ ๓.๗ อปุ กรณ์ทีม่ คี วามหมายและกจิ กรรมการเรียนสามารถใหเ้ ปน็ ตวั จูงใจทด่ี ี ๓.๘ โดยท่ัวไป ความสาเร็จจะเพมิ่ ระดับของความพอใจและผลสมั ฤทธิ์ของนักเรยี น ๓.๙ ความคาดหวงั ของครตู ่อผลการเรียนของนักเรยี นมอี ิทธิพลต่อผลฤทธิข์ องนักเรียน ๔. ผูเ้ รียนตอ้ งกระฉับกระเฉงไมใ่ ชเ่ ฉ่อื ยชาสาหรับการเรียนร้สู ูงสุด (The learner must be active not positive for maximum learning) การเรียนรจู้ ะเกิดขึ้นน้อยมากถ้าหากปราศจากการเกยี่ วขอ้ งของ บุคคล ในส่วนของผ้เู รียนกระบวนการการเรียนรถู้ ูกควบคุมโดยผ้เู รยี น ไมใ่ ช่ครู การเปล่ียนแปลงในการรบั รู้ และพฤติกรรมการบังคับใดๆ ทนี่ ามาใช้กับเอกตั บุคคล การเรียนรู้ไมใ่ ชเ่ ป็นเพยี งหนา้ ท่ีที่ครูทาพูดหรือให้กบั ผ้เู รยี น ที่สาคัญ การเรยี นรู้จะเกีย่ วข้องกบั บางส่งิ บางอย่างในโลกพิเศษของผเู้ รียน การเรียนรู้พร้อมทีจ่ ะเกิดขน้ึ เมอื่ ครูทาหนา้ ทเ่ี ป็นกระบวนการอานวยความสะดวกท่ีชว่ ยผเู้ รยี นให้สารวจและค้นพบโลกรอบๆ ตวั เขา การ เรยี นรู้โดยการกระทาจงึ มีความสาคญั ๕. ผู้เรียนต้องฝึกฝนในส่ิงท่ีเขาเรียนรู้ซ้าๆ เพื่อจะได้จา (The learner must repeat of practice what he has learned in order to remember) กฎการฝึกหัดของธอร์นไดค์ระบุว่า การทาซ้าๆ ในคาตอบ อย่างสม่าเสมอทาให้ความสัมพันธ์ของของมันกับส่ิงเร้าย่ิงแข็งแกร่งขึ้นและการไม่ใช่จะทาให้อ่อนแอลง การ ฝึกหัดทางการศึกษา เช่น แบบฝึกหัด การทบทวน และการสอบคือตัวอย่างของหลักการน้ีอย่างไรก็ตาม การ ทาซ้าอย่างเดียวก็ไม่ใช่การเรียนรู้ทั้งหมด ผู้เรียนต้องเข้าใจบทกวี รู้เหตุผลของสูตรในวิชาพีชคณิต หรือเคมี ก่อนทีเ่ ขาจะจามนั ความถีข่ องการทาซ้ายังคงมีความสาคัญในการให้ไดม้ าซ่ึงทักษะและการประกนั ถึงความจา ๖. ผู้เรียนต้องเอาส่วนต่างๆของกิจกรรมการเรียนรวมเข้าด้วยกันและมองในฐานะส่ิงที่มีความหมาย ท้ังหมด (The learner must put together parts of a task and perceive it as a meaningful whole) นี่คือการขยายหลักการที่กาหนดโดยจิตวิทยาเกสตัลท์ (Gestalt school of psychology) หลักการเน้นมโน

๕ ทัศน์ท่ีว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการค้นหาและเข้าใจ ความสัมพันธ์และการจัดระเบียบ และการค้นหา ความสาคญั ในประสบการณ์ความรสู้ กึ ท่ีถูกกระตุ้นโดยสถานการณ์จากภายนอก การเรียนรู้ถูกแปลเป็นการจัด ระเบียบหรือการจัดระเบียบซ้าในระบบการรับรู้ของวิชา สู่รูปแบบท่ีมีความหมาย มีการเน้นความรู้และการ หยั่งเห็นในการรบั รคู้ วามหมายใหมใ่ นสถานการณ์ การจดั ระเบยี บการรับรู้ดงั กลา่ วถกู หมายถึงในฐานะการหยั่ง เห็น สิ่งดังกล่าวสามารถอธิบายได้ดีท่ีสุดในการแก้ในการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะมาถึงการแก้ปัญหาเม่ือเขาได้ ตระหนกั ถึงความความสมั พันธ์ทีส่ าคัญท่เี กี่ยวข้องกับปัญหา ๗. ผู้เรยี นจะต้องเหน็ ความสาคัญ ความหมาย และการประยุกตใ์ ชท้ ี่จะทาใหเ้ ขา้ ใจประสบการณ์ (The learner see the significance, meanings, implications, and applications that will make a given experience understandable) สิ่งท่ีมีความสาคัญต่อประสบการณ์การศึกษาได้แก่ พื้นเพเดิมและ ประสบการณเ์ ดมิ ของผเู้ รยี น นอกเสยี จากว่ามีประสบการณ์ใหม่ๆ ถกู สรา้ งขึ้นบนประสบการณ์ในอดีต มิฉะนั้น แล้ว ความต่อเน่ืองก็จะขาดไป และปริมาณกับประสิทธิผลของการเรียนรู้ก็จะลดลง ขบวนการเข้าใจเป็นสิ่ง สาคัญที่สุด สาหรับประสบการณ์ในอดีตมีความสาคัญในความหมายของประสบการณ์ใหม่ สิ่งที่เป็น ประสบการณ์จะได้รับกิจกรรมที่ตามมาหรือปรับเปลี่ยน หรือทาให้พฤติกรรมแข็งแกล่งขึ้นประสบการณ์ โครงสร้างโรงเรียน (School structure) ควรสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งหมดของผู้เรียนเพื่อว่าการต่อเน่ืองของ การศกึ ษาและกจิ กรรมนอกโรงเรยี นจะถูกธารงไว้ ๘. ผู้เรียนต้องถูกเตรียมพร้อมที่จะตอบสนอง (The learner must be prepared to respond) มี บางคร้ังที่เอกัตบุคคลมีความพร้อมมากกว่า และดีกว่าในกานร่วมกิจกรรมอย่างมีประสิทธิผล มีองค์ประกอบ จานวนหนึ่งท่ีมีอิทธิพลดังกล่าว หนึ่งในองค์ประกอบเหล่าน้ี ได้แก่ ความพร้อมที่สัมพันธ์กับวุฒิภาวะ บางครั้ง การเผชิญหน้ากับสถานการณ์ท่ีผู้เรียนเรียนรู้โดยอัตโนมัติ และเกิดข้ึนเอง หรือผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการ ใชท้ กั ษะทากิจกรรมโดยไมต่ อ้ งใช้ความพยายามมากนัก สถานการณ์เหล่าน้ีอาจยกความดีให้กับความพร้อมใน ส่วนของผู้เรียน ความพร้องจะแตกต่างกันไปตามกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีต่างกันและเอกัตบุคคลแต่ละคน ถ้า ปราศจากความพร้อม ครูและผู้เรียนต้องออกแลงมาก และความพยามดังกล่าวอาจได้ผลน้องหรือไม่มีการ เรียนรเู้ ลยในส่วนของผูเ้ รียน ๙. กระบวนการของการแก้ไขปัญหาและการเรียนรู้มีลักษณะเฉพาะสูงและมีความจาเพาะ (The process of problem solving and learning are highly unique and specific) เอกัตบุคคลแต่ละคนมี แบบลกั ษณะเฉพาะในการเรียนรู้และการแก้ปัญหาของ ตนเอง ในขณะที่เอกัตบุคลมีความตระหนักมากข้ึนใน วิธีเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาของเขา และได้เปิดสู่แม่แบบของตัวเลือกที่ใช้โดยเอกัตบุคคลอ่ืน เขาสามารถ ปรบั ปรุงและปรบั แบบการเรยี นร้สู ว่ นตวั ของเขาเพื่อให้มปี ระสิทธผิ ลย่งิ ขน้ึ ๑.๒.๓ สภาพทเ่ี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ สิ่งท่ีมีความสาคัญเท่าเทียมกันเพื่อประกันถึงความสาเร็จของครูในฐานะผู้จัดการสถานการณ์ใน ห้องเรยี นกค็ อื ความตระหนกั ของเขาต่อสภาพทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้ ครูมีบทบาทที่สาคัญในการกาหนดชนิดของ บรรยากาศทางจิตวิทยาท่ีจะเกิดขึ้นในห้องเรียน การศึกษาแสดงให้เห็นว่า บรรยากาศท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียนมี ผลต่อการเรียนรขู้ องนกั เรยี นเปน็ อยา่ งมาก ครูยังมีหน้าท่ีรับผิดชอบในการจัดต้ังส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ไ ด้มากท่ีสุด หน้าท่ีรับผิดชอบดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการให้ความสนใจต่อสภาพทางกายภาพ เช่น แสงสว่าง การถ่ายเท อากาศและลกั ษณะของห้อง นอกจากนี้ มันยังเก่ียวข้องกับการนาออกไปปฏิบัติในการจัดสภาพบางอย่างท่ีทา ใหเ้ ออื้ ต่อการเรยี นรดู้ งั นี้

๖ ๑. การเรียนรู้จะเกิดข้ึนในบรรยากาศท่ีสนับสนุนผู้เรียนให้กระฉับกระเฉง เป็นกระบวนการเรียนรู้ ก้าวหน้าเมื่อมีการครอบงาและการพูดจากครูน้อยลง การฟังผู้เรียนและสนับสนุนเขาให้มองครูในฐานะ ทรัพยากรบุคคลและเป็นผู้ช่วยเหลือการสารวจอย่างกระฉับกระเฉง ในแนวความคิด ผู้เรียนไม่ใช่ภาชนะ รองรับท่ีครูจะเทค่านิยมและคาตอบลงไป เขาจะเรียนรู้ได้ดีกว่าเมื่อเขารู้ว่าเขาเป็นส่วนหน่ึงของส่ิงท่ีกาลัง เกิดข้ึนเม่อื เขาเขา้ รว่ มด้วยตัวของเขาเอง ๒. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นในบรรยากาศที่ส่งเสริมและเอ้ือต่อการค้นพบของส่วนบุคคลของความหมาย ของแนวคิดส่วนบคุ ล การเรียนร้เู กิดขึ้นเม่ือจุดมุ่งหมายของครูเปล่ียนให้เหมาะสม ทาให้ง่ายขึ้น และสนับสนุน การค้นพบของเอกัตบุคคลต่อจุดมุ่งหมายส่วนบุคคล และความหมายส่วนตัวในสถานการณ์ การกกระทาเพ่ือ ชว่ ยเหลอื เอกัตบุคคลเพื่อเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของเขาต้องอาศัยการพัฒนา เปูาหมายสาหรับเอกัตบุคคลใน การสารวจและสร้างพฤตกิ รรมภายในข้นึ ซง่ึ เปน็ ประโยชนแ์ ละนา่ พอใจ ๓. การเรียนรู้จะเกิดข้ึนในบรรยากาศที่สามารถอภิปรายปัญหาที่แตกต่างกันได้แต่ไม่จาเป็นต้อง ยอมรับ ถา้ ตอ้ งการยอ้ มรบั ในความแตกต่างระหว่างบุคคลก็ต้องอดทนต่อความเห็นทต่ี า่ งกัน ๔. การเรียนรู้จะเกิดขน้ึ ในบรรยากาศท่ยี อมรบั สิทธใิ นการทาผดิ พลาดของเอกัตบุคคล ความเจริญงอก งามและการเปล่ียนแปลงจะเกิดข้นึ เม่อื ความผิดพลาดได้รับการยอมรับในฐานะเป็นธรรมชาติของกระบวนการ เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ต้องการความท้าทายในประสบการณ์ใหม่ๆ และท่ีแตกต่างจากเดิม เพื่อให้เอกัต บคุ คลไดเ้ รยี นรู้เขาตอ้ งการโอกาสในการสารวจสถานการณใ์ หม่ๆ และแนวคิดที่ไม่ถูกตาหนิเม่ือทาผิดพราด ซึ่ง ถือเป็นส่วนสาคญั ของกจิ กรรมการเรยี นรู้ ๕. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นในบรรยากาศที่การประเมิลผลเป็นกระบวนการของความร่วมมือ เนื่องจาก การเรียนรู้เป็นกระบวนการส่วนบุคคล เอกัตบุคคลต้องการโอกาสเพ่ือสร้างเกณฑ์เพื่อวัดความก้างหน้าของ ตวั เอง การประเมินตวั เองและการประเมินโดยกลมุ่ เพอ่ื นทาให้เอกตั บคุ คลสามารถตัดสินได้ว่าเขาได้เรียนรู้และ เจรญิ งอกงามมากนอ้ ยแค่ไหน ความหยั่งเหน็ ใหม่ๆ ค่อยๆ พัฒนาในฐานะท่ีเขามองตัวเขาว่าจริงๆ แล้วเขาเป็น อะไร เพื่อให้การเรียนรู้เกิดขึ้น เอกัตบุคคลในกลุ่มต้องมองตัวเองอย่างถ่ีถ้วนและเป็นจริง ส่ิงดังกล่าวสามารถ ทาไดด้ ที สี่ ดุ โดยผา่ นการประเมินดว้ ยตวั เองและด้วยกลมุ่ ๖. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นในบรรยากาศท่ีเอกัตบุคคลมีความรู้สึกว่าเขาได้รับการนับถือและการยอมรับ การแสดงออกอย่างจริงใจในการดูแลในส่วนของครู และบรรยากาศทางอารมณ์ที่อบอุ่น จะสร้างบรรยากาศ แห่งความปลอดภัยท่ีเอกัตบุคคลสามารถคิด สารวจความคิดเห็นและเผชิญหน้ากับคนอ่ืนอย่างจริงใจโดย ปราศจากการคกุ คามใดๆ การเผชญิ หน้าและความแตกตา่ งในความคดิ เห็นกลายเป็นพลงั สร้างสรรค์ในกลุ่มเมื่อ เอกัตบุคคลมีประสบการณ์ว่าเขาได้รับการนับถือ การยอมรับบุคคลหมายถึง การให้เขายึดถือคุณค่าของเขา ต่อไปและเป็นตัวของเขา เม่ือเอกัตบุคคลไม่ต้องปกปูองตัวเองและคุณค่าของเขาแล้ว เขาก็มีอิสระในการคิด และมองดตู วั เองและคุณค่าของตัวเขาเองแลว้ เปลย่ี นแปลงอย่างอสิ ระเม่ือจาเปน็ ๑.๓ ระเบยี บวิธีการ โรงเรียนถูกตาหนิในหลายสิ่งหลายอย่าง เช่น วัยรุ่นเพ่ิมการติดยาเสพติด และของมึนเมามากขึ้น ปัญหาวัยรุ่น โสเพณีเด็ก การเส่ือมโทรมของศีลธรรมในสังคม กระทรวงศึกษาธิการจึงได้เน้นเร่ืองการสอน คา่ นยิ ม ในกระบวนการศึกษา องค์ประกอบที่สาคัญที่สุด ๓ ประการ คือ เด็ก ครู และเน้ือหาวิชา ถ้าเอาสิ่ง หนงึ่ สง่ิ ใดออกไป ก็จะไม่มีการศึกษาเด็กที่จะได้รับการศึกษาคือองค์ประกอบท่ีสาคัญที่สุด ครูมีความจาเป็นใน

๗ การชี้แนะเด็กในกระบวนการศึกษา ถ้าปราศจากครู เด็ก อาจเรียนสิ่งท่ีผิดหรือเรียนไม่ถูกต้อง เขาจะต้องให้ ไดม้ าซึ่งความรู้ และข้อมลู โดยผา่ นเน้อื หาวิชา ครพู จิ ารณาเน้อื หาวชิ าและตัดสนิ ใจว่าจะสอนอะไรให้แดก็ การถ่ายทอดวิชาเนือ้ หาจากครูไปยงั เดก็ ทาโดยผา่ นทางระเบียบวิธี (method) โดยระเบียบวิธีเด็กจะ ถูกดชี้นาว่าจะเรียนวิชาเน้ือหาวิชาตรงไหนและจะพัฒนาเจตคติอย่างไร โดยผ่านระเบียบวิธีการเช่นเดียวกัน เดก็ จะได้รบั การเรียนรู้ อุปนสิ ยั การเชื่อมโยง การทอ่ งจา และทักษะ ๑.๓.๑ ความสาคญั ของระเบียบวิธกี าร ครูใหม่ท่ีพบกับช้ันเรียนที่นักเรียนส่ีสิบหรือห้าสิบคนเป็นคร้ังแรกในชีวิตของเขามักจะสับสนว่าทา อะไร เขาตอ้ งทาสิ่งตา่ งๆ ในทนั ทที นั ใด เชน่ ควบคุมองคป์ ระกอบประจาวนั ควบคุมสง่ิ แวดล้อม โน้มน้าวความ สนใจในช้นั เรยี น รักษาวินัยในขณะสอน ซึ่งสง่ิ ตา่ งๆเหล่านี้ เป็นเพียงสิ่งเล็กน้อยที่ครูใหม่ต้องทา เขาอาจรอบรู้ เน้ือหาวชิ า แตป่ ญั หาของเขาก็คอื ทาอยา่ งไรเดก็ จึงเรยี นรู้ ครูใหม่มักทาวิธีลองผิดลองถูก ครูใหม่ดูเหมือนว่าจะ ไมม่ ีทิศทางที่ชัดเจนท่ีไม่มีระเบยี บแบบแผนท่ีแนน่ อนในการสอนชั้นเรียน กรกระทาโดยลองผิดลองถูกเป็นการ เสียเวลาและค่าใชจ้ ่ายหลายๆ ดา้ น ครจู งึ ต้องทาตามวธิ ถี ้าหากเขาคาดหวังจะไดผ้ ลลัพธท์ พ่ี ึงประสบ ๑.๓.๒ ความหมายของระเบียบวธิ ี ระเบียบวิธีคืออะไร คาว่าระเบียบวิธีตรงกับภาษาอังกฤษว่า method ซึ่งมาจากภาษากรีก methodos เกิดจากคาสองคาคือ meta(after = ภายหลัง) และ hodos (way = แนวทาง) พจนานุกรมให้ ความหมายว่า เป็นวิธีของระเบียบแบบแผน (a mode of procedure) โดยเฉพาะเป็นวิธีที่เป็นระเบียบและ เป็นระบบ แนวทางโดยทาบางส่ิงบางอย่างโดยเฉพาะท่ีสอดคล้องกับแผนท่ีแน่นอน แนวทางที่จัดตั้งในการทา สงิ่ ใดๆ หรอื วิถีทาง หรือลักษณะทีเ่ สนอหรือสอนบางส่งิ บางอย่าง ถ้านามาใช้กับการสอน ระเบียบวิธีคือชุดของการกระทาที่ สัมพันธุ์กันและก้าวหน้า ที่กระทาโดยครู และนักเรยี น เพื่อทาใหจ้ ดุ มุ่งหมายเฉพาะของบทเรยี นสาเร็จ ผลมนั จะเก่ยี วข้องกับแนวทางท่ีครูสื่อความหมาย วิชาไปยังนักเรยี น และมนั จะเกย่ี วขอ้ งกับข้ันตอนปกติเพื่อให้เกิดการรอบรู้ ในอดีต การให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงและรายระเอียดก็คือการเน้นดังน้ันระเบียบวิธีจึงมักเก่ียวข้องเป็น ส่วนใหญ่กับงานในการบอกเนอื้ หาวิชาในการสอนชั้นเรียน ระเบียบวิธีหมายถึงการทางานปกติที่เป็นลาดับเพื่อ ทาให้ประสบกับผลสาเร็จในผลลัพธ์บางอย่าง ระเบียบวิธีความหมายกว้างกว่าในทุกวันนี้ เพราะเปูาหมาย ทางการศกึ ษาไดเ้ ปลยี่ นไปแล้ว และการเนน้ ในผลลพั ธ์ทางการศกึ ษาก็ไดเ้ ปลยี่ นไปเชน่ เดยี วกัน ผลลัพธ์ทางการ ศึกษา เช่น อุปนิสัย ทกั ษะ เจตคติ และความซาบซ้งึ คอื สิ่งท่เี น้นกนั ในปจั จบุ ันการศึกษาไม่ใช้เพียงการให้ได้มา ซึ่งเป็นองค์ความรู้ (body of knowledge) แต่เพียงผู้เดียว แต่ยังเป็นการพัฒนาเจตคติ อารมณ์และ บคุ ลกิ ภาพการปรับปรุงตัวท่เี หมาะสมทพี่ งึ่ ประสงค์ ปัจจุบัน ระเบียบวิธีรวมทุกส่ิงทุกอย่างท่ีครูกระทาหรือละเว้นการกระทาซ่ึงเป็นสาเหตุทาให้เกิดการ เปลยี่ นแปลงในพฤตกิ รรมของนักเรียน การแสดงออกทางใบหนา้ ทีก่ รณุ าและลักษณะที่เป็นมิตรจะสนับสนุนให้ นักเรียนท่ีข้ีอายได้เขาร่วมการอภิปราย บุคลิกภาพที่อบอุ่น และเสียงที่ดีของครูอาจกดดันให้เด็กรักวิชาดนตรี คุณสมบัติเหล่าน้ีของครูก่อรูปส่วนหนึ่งของระเบียบวินัยของครู สิ่งท่ีครูละเว้นการกระทา ถ้าหากมีอิทธิพลต่อ บคุ ลิกภาพก็เป็นสว่ นหน่งึ ของระเบียบวิธขี องเขาเชน่ เดียวกัน ๑.๓.๓ ความสัมพันธ์ระหว่างระเบยี บวิธีการสอนกบั ระเบียบวธิ กี ารเรยี น

๘ ด้วยมโนทัศน์กว้างๆ ของระเบียบวิธีในใจ แล้วมันสาพันธ์กับระเบียบวิธีการสอนอย่างไร? การสอน และการเรียนรู้เป็นเพียงสองด้านด้านของเหรียญอันเดียวกัน ระเบียบวิธีการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตามที่ นักจิตวทิ ยาได้บอกใหเ้ ราทราบว่า การเรียนรมู้ หี ลายวธิ ี ระเบียบวธิ กี ารสอนจึงมหี ลายๆ วธิ ีด้วย ในระเบียบวิธีใดๆ ข้ันตอนที่แน่นอนบางขั้นตอนมีความจาเป็นในฐานะเป็นตัวชี้นาผู้เรียน ด้ังนั้น ระเบยี บวธิ จี ึงควรดาเนนิ การตามกฎทางจติ วทิ ยา ระเบยี บวิธีจะดีเมื่อมนั ทาให้เด็กอยากเรียนรู้ ๑.๓.๔ หน้าท่ขี องระเบยี บวิธี ระเบียบวิธีเป็นสะพานระหว่างเด็กกับเน้ือหาวิชา สะพานน้ีช่วยให้เด็กไปยังอีด้านหนึ่ง ระเบียบวิธีทา ให้การเรียนรู้ง่ายมากขึ้น ระเบียบวิธียังเชื่อมต่อเด็กกับสังคม จากการใช้ระเบียบวิธีในห้องเรียนทาให้ บุคลิกภาพของเด็กเปิดเผยออกมาและเขาเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม เจตคติ คุณลักษณะและ อารมณ์ท่ีพ่ึงประสงค์ต่อสังคมก็พัฒนาและเด็กก็จะได้เรียนรู้การยับยั้งและการควบคุมตัวเอง เช่น การทางาน เป็นกลุ่ม เด็กจะเรียนรู้การให้ความร่วมมือกับคนอื่น การแบ่งเด็กออกเป็นคณะกรรมการทาให้เด็กมีโอกาส พัฒนาความสนใจของตัวเอง ในช่วงเวลาการมีส่วนร่วมของเด็กนักเรียนเป็นผู้รู้จักรับและให้ ระเบียบการสอน แบบนิรนยั สอนใหเ้ ดก็ คิดอย่างมเี หตุผล สอนใหเ้ ดก็ เลื่อนการตดั สนิ ใจจนกวา่ จะมกี ารพสิ จู น์ ๑.๓.๕ องค์ประกอบท่ีกาหนดระเบียบวธิ ี จากการเปล่ียนแปลงของการกาหนดเปูาหมายทางการศึกษา การเลือกระบบวิธีได้กลายมาเป็นเรื่อง สาคัญ ครจู ะตัดสินใจเลอื กใชร้ ะเบียบอย่างไร? องคป์ ระกอบต่อไปน้ีสามารถช่วยครใู หต้ ดั สนิ ๑. จุดมุ่งหมายของการศึกษาและจุดมุ่งหมายของบทเรียน ๒. ธรรมชาติของเนื้อหาวิชาหรอื บทเรียน ๓. ธรรมชาติของผเู้ รียน ๔. เครือ่ งมือในโรงเรียนและเครอื่ งอานวยความสะดวก ๕. ครู ๑.๔ จุดมุ่งหมายของการศึกษาและจดุ มุ่งหมายของบทเรยี น จุดม่งุ หมายของการศกึ ษา คือ การฝึกอบรมประชาชนเพื่อการดารงชีวิตกแบบประชาธิปไตยแล้วละก็ ระเบียบวิธีถาม-ตอบแบบเก่าควรจะถูกยกเลิกไป ในทานองเดียวกันรูปแบบการอภิปรายก็ควรถูกยกเลิกด้วย เชน่ กนั ถ้าจดุ มุ่งหมายของบทเรยี นคือการทาใหก้ ารตอบสนองบางอยา่ งเกิดข้ึนโดยอัตโนมัติ ระเบียบวิธีฝึกหัด จะมีความเหมาะสมมากท่ีสุด ถ้าครูต้องการกระตุ้นความรู้สึกและเจตคติบางอย่าง บทเรียนความซาบซึ้งจะ เหมาะที่สุด ถา้ หากการฝึกฝนการคิดอย่างมีเหตผุ ลคอื สิ่งที่ครตู อ้ งการระเบยี บวิธีแก้ไขปัญหาควรถูกนามาใช้ วิชาและบทเรียนชนดิ ต่างๆ ตอ้ งอาศัยระเบยี บวธิ ีตา่ งๆ เช่น วิชาคณติ ศาสตร์ย่อมมีระเบียบการสอนต่างไปจาก วิชาวรรณคดีไทย บทเรียนการสะกดคาอาจจะต้องใช้การฝึกหัด ในขณะบทเรียนทางวิชาคณิตศาสตร์ต้องใช้ วธิ ีการทดลอง

๙ ๑.๔.๑ ธรรมชาตขิ องผู้เรียน จติ นิยมไดช้ ี้แจงเก่ียวกับบทบาทของครูผู้ที่ทาหน้าที่ในการสอน ครูไม่เพียงแต่ทาหน้าที่ท่ีจะจัดผู้เรียน ให้อยู่ในระดบั แต่ละชั้น ด้วยการสังเกตพฤติกรรมจากภายนอกเท่านั้น แต่จะต้องมีความเข้าใจในส่วนลึกถึงตัว เด็กท่ีเป็นแหล่งรวมและส่ิงสาคัญของหลายๆส่ิง กล่าวคือเราไม่ควรจากัดการทาความเข้าใจธรรมชาติของ ผู้เรียนในอยู่ภายในขอบเขตของประสาทสัมผัสเท่าน้ัน สิ่งท่ีเรียกว่ามนุษย์ซึ่งเป็นผู้เรียนนั้น ชาวจิตนิยมคิดว่า เราจะพบสองสิ่ง สงิ่ แรกคอื ภาพของมนุษย์ในแง่ที่เป็นสสาร สิ่งท่ีสองคือภาพของมนุษย์ในแง่ที่เป็นบางสิ่งที่พ้น ไปจากความเป็นกอ้ นสสาร หากเรานามาเปรียบเทียบระหว่างมนุษย์กับก้อนหิน ภาพหนึ่งมนุษย์ไม่แตกต่างไป จากก้อนหินสักเท่าไร คือ สามารถจับต้องสัมผัสได้ แต่ในส่วนลึกของมนุษย์มีส่วนประกอบท่ีมากกว่าก้อนหิน ตรงท่สี ามารถคดิ แสดงพฤติกรรม มีอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด เบ้ืองหลังของพฤติการณ์ท่ีแสดงออกนี้จิตนิยมใช้ คาวา่ “สาระ” อนั เป็นนามธรรมในตัวเราใชส้ าหรบั ทาสงิ่ ตา่ งๆ หรือแสดงพฤติกรรมไปตามการชักนาของสาระ อันเล้นลับภายในตัวเรา จติ นยิ มใช้เรยี กสง่ิ น้ี คือ จติ จะเหน็ ไดจ้ ากแนวคิดอภิปรัชญาของจิตนิยม สิ่งนี้เป็นแก่น หรือศนู ย์กลางของชวี ิต เป็นผู้บงการให้ร่างกายแสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมา และส่ิงน้ีเองที่ทาหน้าท่ีเป็นผู้คิด มอี ารมณ์ความรสู้ กึ ภายในตวั มนษุ ย์ ฉะนน้ั เราจงึ ไมส่ ามารถมองผเู้ รยี นแต่ร่างกายที่ปราศจากจิตได้ พระพุทธเจ้าได้ทรงนาจิตวิทยาการศึกษามาใช้ในการแสดงธรรม อบรมส่ังสอนอยู่เสมอ เม่ือเทียบกับ หัวข้อความรู้พ้ืนฐานของจิตวิทยาการศึกษาแล้ว พระพุทธองค์ได้ทรงใช้ความรู้ตามหลักการน้ีในการสอน เช่นเดียวกัน แต่มิได้ประมวลไว้เป็นหลักฐาน จะมีวิธีการสอดแทรกอยู่ในข้ันตอนของการสอนเกือบทุกวิธี ดงั นั้นจิตวิทยาการศึกษาตามแนวพทุ ธศาสตรจ์ งึ กล่าวถึงเรื่องใหญๆ่ เพยี ง ๒ เร่ืองคอื ๑ ๑.ธรรมชาติของผู้เรียน ตามหลักของพุทธศาสตร์ได้กล่าวไว้ว่า ผู้เรียนหรือคนเราน้ันย่อมประกอบ ดว้ ยขันธ์ ๕ (คือ รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ) ส่วนปญั หาพนื้ ฐานของผู้เรียนกค็ อื ผู้เรียนนั้นมีอกุศล มูล (โลภะ โทสะ และโมหะ) อยู่มาก ถ้าผู้เรียนไม่เข้าใจวิธีที่จะลดหรือละอกุศลมูลลงได้บ้างแล้ว ก็จะเป็น อันตรายต่อตัวเองและสังคมด้วย นอกจากนี้พระพุทธองค์ยังได้ทรงให้คานึงถึงจริต (คุณภาพทางจิตใจหรือ แนวโน้มทางจิตใจ) ของผู้เรียนด้วย ซึ่งผู้สอนควรหาวิธีการสอนให้เหมาะสมกับจริตของผู้เรียนท้ัง ๖ ประการ คือ ๑.๑ ราคจริต มคี วามโน้มเอยี งในทางรกั ใคร่ ๑.๒ โทสจริต มีความโน้มเอยี งในทางโกรธเคอื ง ๑.๓ โมหจรติ มคี วามโน้มเอยี งในทางลมุ่ หลง ๑.๔ วติ กจริต มคี วามโน้มเอียงในทางคิดมาก ๑.๕ สทั ธาจรติ มคี วามโนม้ เอยี งในทางเชื่อง่าย ๑.๖ พุทธจริต มีความโนม้ เอียงในทางปญั ญา ๒. ธรรมชาติของการเรียนรู้ โดยท่ัวไปตามหลักจิตวิทยาการศึกษา ผู้สอนจะต้องทราบว่า ผู้เรียนน้ัน เรยี นรสู้ ่ิงตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งไรและโดยวธิ ีใดบ้าง เพ่ือที่จะได้ดาเนนิ การสอนตามแนวทางของการเรียนรู้เหล่านั้น ซ่ึง จะมีผลช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจ เกิดความรู้ได้ง่ายขึ้น ทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะและศักยภาพท่ีพึงประสงค์อีกด้วย นอกจานยี้ งั ทาให้เกิดความสนใจ ตงั้ ใจทจ่ี ะศึกษาหาความรู้ใหมๆ่ ต่อไปอีก เรื่องธรรมชาติของการเรียนรู้ในทางพุทธศาสตร์ ก็ได้กล่าวถึงลักษณะของการเรียนรู้ไว้หลายประการ เช่น การเรียนรู้ท่ีเกิดจากการคิด (จินตามยปัญญา) การเรียนรู้ที่เกิดจากการกระทากรรมฐานหรือภาวนา เป็น ๑ สาโรช บวั ศรี, ปรัชญาการศกึ ษาตามแนวพุทธศาสตร์, ศกึ ษาศาสตรต์ ามแนวพุทธศาสตร์ (วารสารรวมเล่ม), (กรงุ เทพมหานคร : สานกั พมิ พ์ กราฟิค อาร์ต, ๒๕๒๖),

๑๐ ต้น ในที่น้ีจะกล่าวถึงการเรียนรู้ในระบบขันธ์ ๕ (เบญจขันธ์) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติที่เกิดข้ึน โดย อาศัยปฏิสัมพันธ์ระหว่างรูปธรรมกับนามธรรม สรุปความแล้วก็คือ จิตของมนุษย์ถูกครอบงาด้วยความไม่รู้ (อวิชชา) ทาให้หลงผิดยึดมั่นในขันธ์ ๕ ว่าเป็นตัวของตัวเอง จนเป็นผลให้จิตวิญญาณ ต้องติดหมุนเวียนอยู่ใน สภาพของการเวียน เกิด แก่ เจ็บ ตาย ซ่ึงเป็นทุกข์ เมื่อใดที่จิตสามารถสลัดหลุดออกจากการครอบงาของ อวิชชาได้ จิตกจ็ ะเปน็ ไทแก่ตัวเอง จิตของมนุษย์จะพ้นจากการครอบงาของอวิชชาได้ด้วยการเจริญสติปัญญา ด้วยวิธีการแห่งวิปัสสนา กรรมฐาน คือเร่ิมต้นด้วยการรักษาศีล เพื่อให้กาย วาจา เป็นปกติ อยู่ในสายแห่งการทาความดี และฝึกสมาธิ ด้วยวิธีสมถกรรมฐาน เพื่อให้จิตใจสงบจากความฟุูงซ่าน อันเน่ืองมาจากความโลภ ความโกรธ และความหลง จากน้นั จึงเจรญิ ปญั ญาดว้ ยวธิ วี ิปสั สนากรรมฐาน ท่มี ุง่ พัฒนาสติ สติสัมปชัญญะและปัญญาในการกาหนดรู้สภาวธรรมท่ีปรากฏทาง ตา หู จมูก ล้ิน กาย และใจใน ปจั จบุ นั (กาหนดรู้ปัจจุบันธรรม) ก็เพื่อจะให้เห็นสภาวธรรมตามความเป็นจริง ทั้งรูปธรรมและนามธรรม ซึ่งมี ลกั ษณะร่วมกันอยู่ ๓ ประการ ที่เป็นความจริงตลอดทุกกาลและเทศะ คือลักษณะอนิจจัง ลักษณะทุกขัง และ ลักษณะอนตั ตา เมื่อใดท่ีรู้ซ้ึง รู้แจ้ง เห็นจริงในลักษณะร่วมกัน ๓ ประการน้ีอย่างสมบูรณ์ เม่ือนั้นจิตของมนุษย์ก็จะ เปลย่ี นไปด้วยความรแู้ จง้ เห็นจริง และจติ ในสภาวะเช่นนี้ คอื จติ ท่ีหลุดพ้นจากการครอบงาด้วยศัตรูของจิต ซึ่ง ได้แก่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง และหลุดพ้นจากวัฏสงั ขารโดยสิน้ เชงิ ผทู้ ่หี ลุดพ้นแล้วนี้ ถือได้ว่าเป็นผู้ท่ี สาเร็จการศึกษาในมหาวทิ ยาลัยชีวิตอยา่ งแทจ้ รงิ ไม่จาเป็นต้องศึกษาหาความรู้อีกต่อไป ซ่ึงในทางพุทธศาสตร์ เรยี กวา่ “อเสขบุคคล” ๑.๔.๒ คุณลกั ษณะผูเ้ รียน ๑. ความสาคญั ของคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่แี ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กลา่ วไวใ้ น มาตราที่ ๒๓, ๒๔ และ๒๖ เก่ียวกบั การจดั การศกึ ษาสรปุ ได้ว่า ตอ้ งเนน้ ความสาคญั ทั้งความรู้ และคณุ ธรรม การจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ้องบูรณาการความร้ดู า้ นตา่ ง ๆ เชน่ ความรเู้ กี่ยวกับตนเอง ทักษะ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรมภูมิปญั ญาไทย ทกั ษะในการประกอบอาชพี และ การดารงชีวติ อยา่ งมคี วามสขุ โดยต้องผสมผสานสาระความรูเ้ หลา่ นัน้ ให้ได้สดั ส่วนสมดุลกนั รวมท้ังปลูกฝัง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคไ์ วใ้ นทกุ วชิ า และใหส้ ถานศึกษาจดั การ ประเมนิ ผเู้ รยี น โดยพิจารณาพฒั นาการของผเู้ รียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วม กิจกรรมและการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรยี นการสอน ตามความเหมาะสมในแตล่ ะระดบั และ รูปแบบการศึกษา (สานักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๕: ๑๓-๑๕) ดงั น้ัน กระทรวงศกึ ษาธิการจงึ มนี โยบายปฏิรูป การศกึ ษาโดยยดึ คุณธรรมนาความรู้มงุ่ มัน่ ขยายโอกาสทางการศึกษา ให้เยาวชนได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพ อย่างกว้างขวางและทว่ั ถึง โดยคานึง ถึงการพัฒนาผเู้ รียนอยา่ งรอบดา้ น ครอบคลมุ ทั้งดา้ นพฤตกิ รรม จติ ใจ และปญั ญา นอกเหนือจากการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกจากนย้ี ังได้สง่ เสริม และสร้าง ความตระหนักให้ผู้เรยี น มจี ิตสานกึ ในคุณคา่ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความสมานฉนั ท์ สนั ตวิ ธิ ี และวิถี ประชาธปิ ไตย ๒. ความหมายของคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

๑๑ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ หมายถึง ลักษณะทตี่ ้องการให้เกดิ ขึ้นกบั ผู้เรียน อนั เป็น คุณลักษณะทสี่ งั คมต้องการในดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานกึ สามารถอยู่รว่ มกับผอู้ ืน่ ในสังคมได้ อยา่ งมีความสขุ ท้งั ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก (กลุ่มสง่ เสรมิ การเรียนการสอนและประเมินผล สานกั วชิ าการและมาตร ฐานการศึกษา, ๒๕๔๘: ๒) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ไว้ ๘ ประการ ไดแ้ ก่ รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต มวี ินยั ใฝเุ รยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมน่ั ในการทางาน รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ๒ ๓.หลักธรรมที่ส่งเสรมิ คณุ ลักษณะของผูเ้ รยี น คาว่า “อกาลโิ ก” (อะกาลโิ ก) หลักธรรมของพระพุทธองค์น้นั เป็นภาษาบาลี ซง่ึ มีความหมาย วา่ ไม่จากัดด้วยกาล ไม่ขึ้นกับกาลเวลา สาหรับการใหผ้ ลแห่งการปฏบิ ตั ิตามหลักธรรมของพระพุทธองค์ ด้วย ความเปน็ อกาลโิ กเชน่ น้ี อาจแปลความหมายได้หลายมิติข้ึนกับสถานะของผู้ฟังนั้นๆวา่ มีพื้นฐานพอจะรองรับได้ มากแคไ่ หน ธรรมะหนึง่ ขอ้ อาจสง่ ผลการเขา้ ใจรู้ซง้ึ แกน่ ธรรมของผู้ฟังแตกต่างกันไป ตามพืน้ ฐานของผู้ฟงั แต่ ละบคุ คล เพื่อให้ผ้เู รียนไดเ้ ข้าใจถงึ คุณลักษณะตามแนวพุทธและสามารถประยุกตใ์ ชใ้ นกระบวนการเรยี นอย่าง ถูกต้องเหมาะสม ดังนี้ ๑) ขนั ติ-โสรจั จะ : ความอดทนและความเสงย่ี มเจียมตัว เปน็ เครอื่ งส่งเสริมบุคลิกลักษณะทาให้เป็นคนมีเหตผุ ล หนกั แน่น มั่นคง สภุ าพเรียบร้อย น่า นบั ถอื ผู้มคี ุณธรรม คือ ขันติและโสรัจจะ ประจาใจย่อมเป็นคนที่มีนา้ ใจงาม น้าใจดี มกี ิริยาวาจาสภุ าพ สงบ เสงยี่ ม ไม่ก่อการทะเลาะววิ าทกบั ใครๆ ย่อมเปน็ คนทีน่ ่ารักน่านับถือ จึงเป็นธรรมที่สง่ เสริมคนให้มคี วามอดทน ขันติ ความอดทน หมายถงึ การรกั ษาปกตภิ าพของตนไวไ้ ด้ ในเมอื่ ถกู กระทบด้วยสงิ่ อันไม่ พึงปรารถนา ขันตมิ ี ๒ ประเภท คือ๓ ๑. ขันติ ความอดทนต่อการดาเนินชวี ิตทวั่ ๆไป เช่น อดทนต่อความหิว ความกระหาย ความ เหนือ่ ย ความหนาว ความร้อน ความเจ็บปุวย ความโกรธ ฯลฯ สรปุ ไดเ้ ปน็ ๓ ประเด็น คอื ๑.๑ อดทนต่อความลาบากตรากตรา ในการทางานทาการโดยสจุ รติ ไมว่ ่าจะค้าขาย หรือทาเกษตรกรรม ยอ่ มมีความลาบาก ไมส่ บายเหมอื นการหากนิ ทุจรติ ผ้มู สี มั มาชพี จงึ ต้องมีความอดทน ไม่ แสดงอาการของความขลาดไมส่ ูง้ าน ไมส่ ู้ความลาบากตรากตรา ๑.๒ อดทนต่อทุกขเวทนา คอื เม่ือเจบ็ ปวุ ยก็ไม่แสดงอาการทรุ นทรุ ายจนเกนิ เหตุ ๑.๓ อดทนตอ่ อานาจกเิ ลส คือเมื่อเกดิ กิเลสใดๆ ไดแ้ ก่ ความโลภ คือ อยากไดไ้ ม่มี ส้นิ สุด ความโกรธ หรอื ความหลงในลาภ ยศ สรรเสรญิ สขุ กต็ อ้ งมีขนั ติ อดทนและเพยี รพยายามกาจดั กิเลส นั้นออกไปเสยี จากตน ๒.อธิวาสนขันติ ความอดทนต่อการลว่ งเกินของคนอืน่ เฉพาะอย่างย่ิงคนที่ตา่ กว่าเรา กล่าวคือ อดทนต่อความเจ็บใจ คอื ทนต่อความกระทบกระแทกแดกดนั ของคนอ่นื ความจรงิ แล้ว ความอดทน เป็นลักษณะความเข้มแข็งของจติ ใจ การพยายามทาความดแี ละถอนตัวออกจากความช่ัว คอื อดทนต่อฝุายทีไ่ ม่ ดี เพ่อื ยืนหยดั อย่ใู นทางที่ดีใหไ้ ด้ มิไดห้ มายความว่า ใครตกอยู่ในสภาพเช่นไร แลว้ ก็จะทนอย่ใู นสภาพเดิมนัน้ เสมอไป เช่น เป็นคนยากจน แลว้ ก็ทนอยใู่ นความยากจน ไม่พยายามขวนขวายหาทรัพย์ หรอื คนทเ่ี กยี จครา้ น งานการไมท่ า แม้จะถูกคนอน่ื สบั โขกกอ็ ดทนเป็นคนดื่มเหล้า เป็นคนสบู บุหรี่ แม้รัฐบาลจะเชญิ ชวน บงั คับให้ ๒ สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา, การประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๔๔, (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งคก์ ารรับสง่ สนิ คา้ และพสั ดุภณั ฑ์ (รสพ.), ๒๕๔๘). ๓ ไสว มาลาทอง: คู่มือการศึกษาจริยธรรม, ๒๕๔๒.๒๒-๒๘)

๑๒ เลิกดื่ม เลกิ สบู อย่างไรก็อดทนด่มื อดทนสบู อยู่ เป็นสาวโคโยต้ี ดีดด้ินย่ัวกามารมณ์ ถูกสังคมประนาม อย่างไรกย็ ังคงเตน้ อยู่ อย่างนี้ไมใ่ ชข่ นั ติ ไม่ใชค่ วามอดทน แตเ่ ปน็ ลกั ษณะของความตายด้าน หรอื หนา้ ดา้ นเท่า นัน้ เอง ความอดทน (ขนั ติ) เปน็ หลกั ธรรมทจ่ี าเป็นสาหรบั คราวทต่ี อ้ งเผชญิ กับเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ท่จี ะทาใหจ้ ิตใจ เราหนั เหไปจากทางที่ดี ดังนน้ั จึงควรบาเพญ็ ขันติใน ๔ สถาน คือ ๒.๑ อดทนตอ่ ความลาบาก หมายความวา่ คนทางานมากๆ แล้วไดร้ ับความเหนด็ เหนอื่ ย หิวกระหาย หรอื ถูกแดด ลม ฝน กระทบเกินสบาย คนทไ่ี มม่ ีขนั ตเิ มื่อเผชิญกบั ความลาบากตรากตรา มักจะทอดทิง้ การงานเสีย เป็นคนมอื เท้าบาง ทาอะไรทิ้งๆขว้างๆ แตผ่ มู้ ีขันติ ย่อมอดทนตอ่ สิ่งเหล่านี้ กัดฟัน ทนทางานของตนใหส้ าเรจ็ ๒.๒ อดทนตอ่ ทุกขเวทนา คือ การรับรู้อารมณว์ า่ เปน็ ทกุ ข์ ซึ่งเกิดมาจากการเจบ็ ไข้ ไดป้ ุวย ไม่สบายด้วยโรคภยั นานัปการทเ่ี กิดขึ้นกบั ร่างกายตน คนที่ขาดขันติ เมอ่ื ถงึ คราวเจบ็ ไข้ได้ปวุ ย ไมส่ บาย ข้ึนมา มักจะแสดงมารยาทอันไม่สมควรออกมาให้ปรากฏ เช่น ร้องครวญคราง กระบิดกระบวน เป็นคนเจา้ มายา เปน็ คนเจา้ อารมณ์มีอาการโมโห โทโสงา่ ย บางคนอ้างความเจบ็ ปุวยเพื่อจักกระทาความชัว่ ต่างๆก็มี แต่ สาหรับผู้มขี นั ติ ย่อมรู้จักอดทน อดกลัน้ ไมป่ ลอ่ ยตัว ปล่อยใจใหเ้ สยี หรือตกไปในทางชว่ั ต่างๆใหค้ นอ่ืนหลงเช่ือ หรือเข้าใจผิด ๒.๓ อดทนต่อความเจ็บใจ เปน็ ขนั ติประเภทอธิวาสนขันติ คอื อดทนต่อการล่วงเกิน ของคนอนื่ เฉพาะอยา่ งยิ่งคนท่ีต่ากวา่ เรา เมื่อถูกผู้อ่นื กระทาการล่วงเกินใหเ้ ป็นที่ขดั ใจ เช่น ถกู ดา่ ว่า หรือ สบ ประมาท หมนิ่ ประมาท บคุ คลผขู้ าดอธิวาสนขนั ติ ย่อมขาดสตเิ ดือดดาลแลว้ ทาร้ายตอบดว้ ยการกระทาอันแรง เกนิ เหตทุ ่ีควรจะเป็น เช่นวา่ เหนบ็ แนมด้วยวาจาหยาบคาย หรอื ก่อความทะเลาะววิ าท ตีรันฟันแทงกัน สรา้ ง เวรกรรมไม่สนิ้ สดุ เป็นทางนามาซ่ึงความหายนะแก่ตวั เองและครอบครวั ตลอดจนเพ่ือนฝงู แต่สาหรบั ผู้มขี นั ติ ย่อมรู้จักอดทน สอนใจตวั เอง รทู้ ไี่ ปทม่ี าของสาเหตนุ ั้นๆ คือ หาวิธกี ารแกไ้ ขด้วยสนั ติให้เรียบร้อยเปน็ ผลดีดว้ ย ความสงบตอ่ ไป ๒.๔ อดทนต่ออานาจกเิ ลส หมายความว่า อดทนต่ออารมณ์ข้างฝุายเพลดิ เพลนิ อนั เปน็ ไปตามอานาจกิเลสพาไป เชน่ ความสนุก การเท่ียวเตร่ ความโกรธ การไดผ้ ลประโยชนใ์ นทางที่ไมค่ วรเปน็ ต้น ความจรงิ แล้วอารมณ์ท่ีน่ารกั ใคร่ น่าพอใจ ดูไปก็ไม่นา่ จะตอ้ งใช้ความอดทน ไม่ทาให้เราลาบาก แต่ที่ต้อง ใชค้ วามอดทน เพราะอาจจะทาใหเ้ ราเสียหายได้ ทงั้ นี้เพราะคนทข่ี าดขันติ มักจะทากรรมอนั น่าบัดสตี า่ งๆ ตามอานาจกิเลส หรอื ตามความอยากในส่งิ ท่ีตนรัก เช่น รับสินบน ผดิ ลูกเมียชาวบา้ น เหน็ เงินตาโต ทารา้ ย รังแกกัน ด่ืมเหล้า สบู บุหรี่ เหอ่ ยศ เมาอานาจ ขโี้ อ่ โอ้อวด เปน็ ต้น การอดทนต่ออานาจกิเลสนี้ กล่าวโดยสรปุ ก็คือ การอดทนต่ออานาจความอยากนัน่ เอง บุคคลผูม้ ีขันติจะไดร้ ับคณุ ประโยชน์ หลายประการ คอื ทางานไดผ้ ลดี บาเพ็ญตนเป็นหลักแห่งบรวิ ารชน ไม่มี การทะเลาะวิวาทบาดหมาง ไม่ทาผิดเพราะเหน็ แก่ความอยาก ถา้ บคุ คลขาดขันติแลว้ ก็จะประสบโทษหลาย ประการ คือ ทางานค่งั ค้าง จบั จด เสียความไว้วางใจของผอู้ ืน่ เตม็ ไปดว้ ยศัตรู หรืออาจกลายเปน็ อาชญากร เปน็ ตน้ โสรจั จะ ความสงบเสงี่ยม คือ เม่ือมีความอดทนแลว้ ก็ต้องพยายามสงบใจ ทาใจให้เย็นลง ด้วยอบุ ายอนั ชอบ เม่ือใจสงบแลว้ กิริยาวาจาที่แสดงออกมาก็จะสงบเสง่ยี มเหมือนไม่มอี ะไรเกิดขนึ้ เมอ่ื เป็น เช่นนีค้ วามงามทุกสว่ นของตนทเ่ี คยมีอยู่ก็จะไม่เสื่อม จะคงงามอยู่และคงชนะใจของคนอน่ื ได้เป็นอย่างดี ดงั คา กลอนสุภาษิตทวี่ า่ คนจะงามตอ้ งงามใจใช่ใบหน้า คนจะสวยสวยกริยาใชต่ าหวาน คนจะแกแ่ ก่ความร้ใู ช่อย่นู าน คนจะรวยรวยศลี ทานใช่บา้ นโต

๑๓ ธรรมะ คอื ความมีขนั ตแิ ละโสรจั จะนี้ นบั ว่าเป็นหลักธรรมสาคญั ทีจ่ ะเปน็ แนวทางในการดารงชีวิต ประจาวันของทกุ คน ความอดทนและความสงบเสง่ยี มหากมปี ระจาอยู่ในจิตใจของผ้ใู ด ผนู้ ั้นยอ่ มจะเปน็ คนท่ีมี ความสขุ มีจิตใจหนักแนน่ ยอ่ มจะเปน็ ทนี่ ิยมยกย่องนบั ถือของคนท่วั ไป เพราะธรรมะ ๒ ประการนจี้ ะทาใหผ้ ู้ ปฏบิ ัตเิ ปน็ คนงดงามท้งั กาย วาจา และ จิตใจ จะประกอบกิจการสงิ่ ใด ย่อมสามารถประสบผลสาเรจ็ ได้สม ความมุง่ มาดปรารถนา และสามารถเอาชนะอปุ สรรคต่างๆไปได้ดว้ ยจติ ใจที่ม่ันคง ย่อมชนะความรา้ ยได้ดว้ ยดี ผ้เู รยี นทด่ี นี นั้ ต้องมคี ุณลักษณะคือความอดทนและอดกลนั้ อดทนรบั ฟังในส่ิงท่ตี นไม่ปรารถนาจะได้ ยินหรือได้ฟัง คุณธรรมข้อน้ีเป็นพ้นื ฐานของการความเจริญก้าวหนา้ ต่อไป ๒) ทิฏฐธมั มกิ ัตถประโยชน์ เป็นหลักธรรมท่ีสง่ เสริมใหฆ้ ราวาสปฏบิ ตั ิเพือ่ ยังประโยชน์ใหเ้ กดิ มขี ึ้นในปัจจุบนั เพ่ือใหม้ ี ฐานะท่ีจะดารงชีพอยโู่ ดยไม่ขัดสน ประกอบดว้ ย ๑. อุฏฐานสัมปทา (อ)ุ การถึงพร้อมด้วยความขยันหม่นั เพียร ในการปฏิบัติหนา้ ท่กี ารงาน และการประกอบอาชีพทีส่ จุ ริต ไมผ่ ิดศลี ธรรม อาชีพท่ีถือว่าผิดศีลธรรมได้แก่อาชีพที่ทาแลว้ ทาลายชวี ติ ผอู้ น่ื ส่งเสริมผ้อู ่นื ให้หมกมุ่นในกาม ส่งเสรมิ ผูอ้ น่ื ให้ล่มุ หลงในอบายมขุ เช่น การขายเหล้า ขายบหุ รี่ ขายหวย ขายลอ๊ ตเตอร่ี เชียรเ์ บยี ร์ โคโยตี้ เปน็ ต้น ๒. อารกั ขสัมปทา (อา) การถึงพร้อมด้วยการรักษา คือ รู้จกั คมุ้ ครอง เกบ็ รกั ษาโภคทรพั ย์ และผลงานท่ตี นไดท้ าไว้ด้วยความขยันหมนั่ เพียรโดยชอบธรรมโดยสมั มาชพี ดว้ ยกาลังงานของตนไมใ่ ห้เป็น อันตรายหรอื เสื่อม ๓. กลั ยาณมิตตตา (กะ) การคบหาคนดีเปน็ มติ ร คือร้จู ักเสวนาคบหาคน ไม่คบไม่เอาอย่างผู้ ทีช่ ักจงู ไปในทางเสื่อมเสีย เลือกเสวนาศึกษาเยี่ยงอย่างท่านผรู้ ู้ ผทู้ รงคุณ ผู้มีความสามารถ ผู้นา่ เคารพนับถือ และมีคุณสมบัตเิ กอ้ื กูลแก่อาชีพการงาน ๔. สมชวี ิตา (สะ) การเลี้ยงชวี ิตแตพ่ อดี คอื รู้จักกาหนดรายไดแ้ ละรายจา่ ย เปน็ อยู่พอดีสม รายได้ มิให้ฝดื เคืองหรือฟุมเฟอื ย ให้มรี ายได้เหนือรายจ่าย มีประหยัดเกบ็ ไว้สาหรับบั้นปลายของชวี ิต จะได้ไม่ ลาบาก และพึงเขา้ ใจ ระลกึ ไว้เสมอวา่ การทีเ่ พียรพยายามแสวงหา รกั ษา และ ครอบครองโภคทรัพย์ไวน้ ัน้ ก็ เพอ่ื จะใชใ้ ห้เป็นประโยชนท์ งั้ แกต่ นและคนอืน่ ถ้าไม่ใช้ทรัพยส์ มบัตใิ หเ้ กดิ คุณประโยชน์แล้ว การหาและการมี ทรัพยส์ มบัติก็ปราศจากคุณค่า หาความหมายใดๆมไิ ด้ ดังน้นั เมอ่ื มที รัพยห์ รือหาทรพั ย์มาไดแ้ ลว้ พึงปฏบิ ัติต่อ ทรพั ย์ ตามหลกั โภคาทิยะ ( พระธรรมปิฎก,ป.อ.ปยุตฺโต:ธรรมนญู ชีวิต,๒๕๔๑.๓๙ ) ได้แก่๔ ๔.๑ ใชเ้ ลี้ยงตวั มารดา บิดา บตุ ร ภรรยา และคนในปกครองทง้ั หลายใหเ้ ป็นสุข ๔.๒ บารุงมติ รสหาย และผรู้ ่วมกจิ การงานใหเ้ ป็นสขุ ๔.๓ ใช้ปกปูองรักษาสวัสดิภาพ ทาตนให้มั่นคงปลอดจากภัยอันตราย ได้แก่ซื้อหา ปจั จัย เพ่ือการยังชพี คือ ท่อี ยู่อาศยั เคร่อื งนุ่งหม่ ยารกั ษาโรค ยานพาหนะ เป็นตน้ ๔.๔ ทาพลี คือ การสละเพื่อบารุงและบูชา ๕ อย่าง คือ ๔.๔.๑ ญาตพิ ลี การสงเคราะห์ญาติ ๔.๔.๒ อตถิ ิพลี การต้อนรับแขก ๔.๔.๓ ปพุ พเปตพลี การทาบุญหรือสกั การะอุทิศผู้ล่วงลับ ๔.๔.๔ ราชพลี การบารงุ ราชการดว้ ยการเสียภาษีอากร เป็นต้น ๔ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตโฺ ต), ธรรมนูญชีวิต, (กรุงเทพ ฯ : กองทุนอริยมรรค,๒๕๔๑).

๑๔ ๔.๔.๕ เทวตาพลี ถวายเทวดา คือ การทาบญุ อุทศิ สิง่ ที่เคารพบูชาตาม ความเช่อื ถือ ๔.๕ อุปถัมภ์บารุงพระสงฆ์ และเหล่าบรรพชิตผู้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ ผู้ไม่ ประมาทมัวเมาในไสยศาสตร์ พิธีกรรม ลัทธิอ่ืนที่ไม่ใช่หลักธรรมคาสอนในพุทธศาสนา หรือ ล่อลวงให้หลงไป ในอบายภมู ิ คณุ ลักษณะนี้ ไดก้ ล่าวไวช้ ัดเจนแลว้ ผู้เรยี นท่ีหวงั ความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาสาระวิชาท่ีเรียนน้ันต้อง มีความความขยันม่ันเพียร เพียรพยายามทบทวนเนื้อหาสาระที่เรียนบ่อยท้ังในและนอกห้องเรียน คบหา สมาคมกับผใู้ ฝุเรียนรู้ และที่สาคัญคอื การดารงตนใหเ้ หมาะสมกบั ฐานะทีเ่ ปน็ อยู่ ๓) อิทธิบาท ๔ บาทฐานแห่งความสาเร็จ คุณธรรมเคร่ืองให้ลุถึงความสาเร็จตามท่ีตนประสงค์ผู้หวัง ความสาเร็จในสง่ิ ใด ตอ้ งทาตนใหส้ มบูรณ์ ดว้ ยสง่ิ ทเ่ี รียกวา่ อิทธิบาท ซึง่ จาแนกไว้เปน็ ๔ ประกอบด้วย ๑. ฉันทะ คือความพอใจ ในฐานะเปน็ สิ่งท่ี ตนถือวา่ ดที ี่สุด ทมี่ นุษย์เรา ควรจะได้ ข้อนี้ เป็นกาลังใจ อนั แรก ทีท่ าให้เกิด คุณธรรม ขอ้ ต่อไป ทุกข้อ ๒. วิริยะ คือความพากเพียร หมายถงึ การการะทาทีต่ ิดตอ่ ไมข่ าดตอน เป็นระยะ ยาว จนประสบ ความสาเร็จ คาน้ี มีความหมายของ ความกลา้ หาญ เจอื อยดู่ ้วย สว่ นหนงึ่ ๓. จติ ตะ หมายถึงความไม่ทอดทงิ้ ส่ิงน้นั ไปจากความร้สู กึ ของตวั ทาสิ่งซ่ึงเป็น วตั ถปุ ระสงค์ น้นั ใหเ้ ดน่ ชัด อย่ใู นใจเสมอ คาน้ี รวมความหมาย ของคาวา่ สมาธิ อยูด่ ้วยอยา่ งเต็มท่ี ๔. วิมังสา หมายถงึ ความสอดส่องใน เหตแุ ละผล แห่งความสาเร็จ เกย่ี วกบั เร่อื ง น้ันๆ ให้ลึกซ้ึงยง่ิ ๆ ขึ้นไปตลอดเวลา คาน้ี รวมความหมาย ของคาวา่ ปญั ญา ไว้อยา่ งเตม็ ที่ สาหรบั คณุ ธรรมข้อนี้ เป็นคุณลกั ษณะของผู้เรยี นท่ผี ูส้ อนพงึ ประสงคอ์ ยากให้มีในผู้เรยี น เพราะคุณ ธรรมเหล่านย้ี ่อมทาใหผ้ ู้เรียนสามารถบรรลคุ วามสาเรจ็ ถึงฝงั่ แห่งความรู้ได้ ๔) วุฑฒธิ รรม ๔ ธรรมท่นี าความมาซึง่ ความเจริญก้าวหน้า ธรรมสาหรับความเจริญก้าวหน้าในหน้าท่ีการ งาน ผูเ้ รยี นต้องยดึ ถือปฏิบตั ิตามหลักเสรมิ สรา้ งปญั ญาด้วยการปฏบิ ัติตามหลักธรรมคณุ ธรรมเหล่านี้ ๑. สัปปุรสิ สงั เสวะ คบหาสตั บุรุษ คอื คบหา เขา้ หา ไตถ่ าม สนทนากบั คนเกง่ นักวชิ าการ คนทมี่ ีคุณธรรม หรอื ผ้รู ู้ ด้วยความใฝุใจใคร่รู้ ๒. สัทธมั มัสสวนะ ฟังคาสอนคาแนะนาของสัตบุรุษท่ีคบหา ดว้ ยความเคารพต้ังใจ แสวงหา ความรู้ ทั้งจากตัวบุคคลโดยตรงและจากหนังสือ หรอื ส่ือมวลชน ค้นควา้ ให้เข้าถงึ ความรู้ท่แี ทจ้ ริง ๓. โยนโิ สมนสิการ ทาไว้ในใจโดยแยบคาย คอื ไตร่ตรองพจิ ารณาคาสอนน้ันใหด้ ี โดยแยกแยะ ใหเ้ หน็ สภาวะและสบื สาวให้เหน็ เหตุผล เกิดขึน้ ได้อย่างไร ทาไมจึงเป็นอย่างนัน้ สง่ ผลกระทบต่ออะไรบ้าง มี ข้อดี ข้อเสีย มีคุณโทษอย่างไร ๔. ธัมมานธุ ัมมปฏบิ ัติ ประพฤติธรรมสมควรแกธ่ รรมที่ได้ไตรต่ รองแลว้ คอื ประพฤตปิ ฏบิ ัติ ตามคาสอนคาแนะนาของสตั บรุ ษุ นั้น โดยปฏบิ ตั ิใหส้ อดคล้องกบั จุดหมายใหญป่ ฏบิ ตั ิธรรมอยา่ งรเู้ ปูาหมาย คุณธรรมเหล่านี้ ผเู้ รยี นทดี่ ตี ้องพยายามปฏิบตั ิใหค้ รบทุกขัน้ ตอน หากข้ามขน้ั ใดขั้นหนง่ึ ผลก็อาจไม่ ตรงตามท่ีคาดการณเ์ อาไว้ ผลสาฤทธิ์ ๕) คารวะ ๗ ความเคารพ ผู้เรยี นในฐานะผสู้ บื ทอดความรู้ความเข้าใจจากผู้สอน จาต้องมีคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์ คอื วิชชา (ความร)ู้ และจรณะ (ความประพฤติ) มีความมั่นใจ ยึดหลักแห่งคารวะ ซ่ึงเป็นบรรทัดฐาน

๑๕ ทางสังคม ด้วยเหตุว่ามนุษย์น้ันเป็นสัตว์ของสังคมต้องอาศัยกันและกัน ต้องให้ความเกรงใจความเคารพ ตามลาดับชั้น เชน่ คาสุภาษติ ไทยท่วี า่ น้าพ่งึ เรือ เสอื พ่งึ ปุา ดงั นี้ ๑.มคี วามเคารพ ความยาเกรงในศาสดา (ครูอาจารย์ หรือ ผบู้ ริหาร)๕ ๒.มีความเคารพ ความยาเกรงในธรรม (หลักการและเหตผุ ล) ๓.มคี วามเคารพ ความยาเกรงในสงฆ์ (หมู่คณะ หรือ ประชาธปิ ไตย) ๔.มีความเคารพ ความยาเกรงในสกิ ขา (การศึกษาและ กฎระเบียบวนิ ัย) ๕.มีความเคารพ ความยาเกรงในในกันและกนั (ตัวเองและผอู้ ื่น) ๖.อปั ปมาทคารวตา ความเคารพในไม่ประมาท (ความมสี ติ) ๗.ปฏิสนั ถารคารวตา ความเคารพในการตอ้ นรับ (การดูแลและเอาใจใส่) คณุ ลักษณะทง้ั ๗ ประการน้ี ย่อมเปน็ ไปเพ่ือความเส่ือมแหง่ ผูเ้ รียน ย่อมเปน็ เหตนุ าความซ่งึ ความเจรญิ ก้าวหนา้ ในการศึกษาเลา่ เรยี น ๖) กลั ยาณมิตร มิตรผู้หวังความเจริญต่อมิตร กัลยาณมิตร คือ มิตรแท้ เพ่ือนแท้ เพื่อนตาย เพ่ือนท่ีคอย ช่วยเหลือเพื่อนอย่างจริงใจโดยไม่หวังส่ิงใดตอบแทน เป็นมิตรท่ีหวังดี มีสิ่งดี ๆ ให้ กันด้วยความจริงใจ คณุ สมบตั ขิ องกลั ยาณมติ ร ๗ ประการ๖ ๑. ปโิ ย น่ารัก หมายความวา่ ผ้เู รียนต้องมีบุคลิกท่ดี ูน่ารัก สภุ าพ มคี วามเอาใจใสต่ อ่ การ เรียนเป็นอยา่ งดี สรา้ งความรู้สึกสนทิ สนมเป็นกนั เอง ชวนใหผ้ ู้สอนอยากใหค้ าปรึกษา คาแนะนาสนทนาด้วย ความเปน็ กันเอง ไม่ก่อใหเ้ กิดความรูส้ ึกเกรงกลวั รจู้ ักใชว้ าจาท่สี ุภาพอ่อนหวาน ๒. ครุ นา่ เคารพ หมายความว่า บคุ ลกิ ของผูเ้ รยี นจะต้องดูนา่ เคารพ เล่ือมใสศรัทธา มีคาพูด ทหี่ นกั แนน่ เอาจรงิ เอาจงั ยดึ หลกั การและเหตผุ ลเป็นสาคัญ มคี วามประพฤตสิ มควรแก่ฐานะตามกาลและเทศะ ๓. ภาวนีโย น่าเจรญิ ใจ หรอื น่ายกย่อง มีความรู้และภูมปิ ัญญาแทจ้ รงิ ท้ังเปน็ ผู้ผ่านการ ฝึกอบรมและปรบั ปรงุ ตนมาเปน็ อย่างดี ทาใหผ้ ้สู อนระลึกและเอย่ อา้ งด้วยซาบซ้ึงภาคภมู ิใจ ๔. วัตตา จ รู้จักพูดใหไ้ ด้ผล รู้จักชแี้ จงให้เขา้ ใจ รู้ว่าเม่ือไรควรพดู อะไรอย่างไร คอยฟัง คาแนะนาวา่ กล่าวตักเตือน เปน็ ผ้ฟู ังที่ดี ๕. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคา คอื พร้อมทจ่ี ะรับฟังคาแนะนา พรา่ สอน จากครูอาจารย์ดว้ ย ความเคารพ ทนต่อการวพิ ากษว์ ิจารณ์ ๖. คมภฺ ีรัญจะ กะถงั กตั ตา แถลงเร่ืองลา้ ลึกได้ สามารถอธบิ ายเรอ่ื งยุง่ ยากซับซ้อน ให้เข้าใจ สามารถถา่ ยทอดสงิ่ ที่เรียนมาได้อย่างลึกซ้ึง ได้ถูกต้อง ๗. โน จฏั ฐาเน นโิ ยชเย ไมช่ กั นาในอะฐานะ คือ ไม่ตงั้ ตนในทางที่เป็นทางแห่งความเส่ือเสีย ไมเ่ หลวไหล คณุ ลกั ษณะทง้ั ๗ ประการน้ี เปน็ คณุ ธรรมอกี หมวดหนึ่งสาหรับผทู้ ห่ี วังความเจริญตอ้ งนามาพิจารณา แลว้ นาไปสูก่ ารปฏิบัติในชวี ติ ประจาวัน ๕ พระมหาสุพฒั น์ กลฺยายธมฺโม (ศรชี มชื่น), พระพุทธเจา้ : บทบาทและหนา้ ทใี่ นฐานะพระบรมครู,วทิ ยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย,(๒๕๔๕ หน้า ๖๖-๖๗). ๖ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม, (กรงุ เทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลัย,๒๕๔๓).

๑๖ ๑.๕ ครู อาจารยห์ รอื ผูส้ อน พระพุทธศาสนาถือว่าสรรพสิ่งและสรรพชีวิตเป็นศูนย์กลาง (All Beings Centred) ไม่ใช่มนุษย์เป็น ศูนย์กลาง (Human Beings Centred ) ดังท่ีเข้าใจกันแต่เดิมอีกแล้ว ซึ่งทาให้สรรพสิ่งและสรรพชีวิตอื่น ๆ ขาดคุณค่าในตัวเอง ถ้ามองอย่างเป็นองค์รวมให้ความสาคัญแก่สรรพส่ิงและสรรพชีวิตอย่างเสมอภาคกัน เป็น องคาพยพของกันและกัน ย่อมทาให้สรรพสิ่งและสรรพชีวิตประสบกับภาวะที่เป็นสุขตามสถานะของตน แต่ก็ ต้องยอมรับว่ามนุษย์เป็นตัวจักรที่สาคัญอยู่นั่นเองดังนั้นจึงมีหลักเกี่ยวกับมนุษย์ในลักษณะกว้าง ๓ ลักษณะ คือ ๑. หลักที่มีลักษณะเป็นการให้ความแจ่มแจ้งเก่ียวกับความเป็นจริงของชีวิต ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีจัดอยู่ใน ประเภทอภปิ รชั ญา ๒.หลักที่มีลักษณะเป็นประทีปส่องทางแนะแนวชีวิตว่าควรจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้รับความสุขตาม สมควรแก่การปฏบิ ัติ คาสอนเชน่ นี้อยใู่ นขอบข่ายของวิชาจริยศาสตร์ ๓.หลักทเ่ี กี่ยวกบั การพฒั นาอบรมจิตโดยเฉพาะเป็นคาสอนท่ีมิได้เน้นธรรมชาติ หรือ โครงสร้างของจิต อย่างอภปิ รัชญา สาหรบั คานี้มีความหมาย ในทนี่ ี้ขอแยกเปน็ ๒ คา คอื “คร”ู และ “ผ้สู อน” ตามนยั แลว้ ก็คือ ครูผสู้ อนนั่นเอง คาว่า “ครู” มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลี คือ “ครุ – คุรุ” และในภาษาสันสกฤต คือ “คุรุ” ใน ความหมายที่เป็นคานาม แปลว่า ผู้ส่ังสอนศิษย์หรือผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ ส่วนความหมายท่ีเป็นคา วิเศษณ์ในภาษาบาลี แปลว่า หนัก สูง ส่วนในภาษาสันสกฤต แปลว่า ใหญ่ หรือ หนัก คือ มีบุญคุณอยู่ เหนือศรี ษะคนทกุ คน ครู หมายความถึง “ผู้รับภาระอันหนัก คือ การอบรมส่ังสอนศิษย์, ผู้ควรเคารพหรือผู้เป็นท่ีพึ่งของ ศษิ ย์” คร๗ู คือ บคุ ลากรวชิ าชีพซึง่ ทาหน้าท่ีหลกั ทางด้านการเรยี นการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน ดว้ ยวธิ กี ารต่างๆในสถานศกึ ษาของรฐั และเอกชน คร๘ู คอื ผสู้ ่ังสอน ผูถ้ ่ายทอดความรใู้ ห้แกศ่ ิษย์ มนี ักการศึกษาไทยได้ใหค้ วามหมายคาวา่ “คร”ู ไว้หลาย ๆ ท่านและแตกต่างกนั เช่น ยนต์ ชมุ่ จติ กล่าวไว้ในหนงั สือ Dictionary of Education ครู หรือ Teacher ดังน้ี ครู คือ บุคคลที่ทางราชการจ้างไว้ เพื่อทาหน้าที่ให้คาแนะนาหรืออานวยในการจัดการเรียนการ สอนและจัดประสบการณ์การเรียนสาหรับนักเรียนหรือนักศึกษาในสถานศึกษา ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือ เอกชนท่วั ไป ๗ สมหวัง พิธิยานุวัฒน์, งานวจิ ัย เร่ือง การยกยอ่ งครผู ูม้ ีผลงานดีเดน่ , ศูนยว์ ิจัยปฏิบตั กิ ารเพ่ือพัฒนาการศกึ ษา และทรพั ยากรมนุษย,์ (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๒), หนา้ ๒๐. ๘ ธรี ศักดิ์ อคั รบวร, ความเปน็ คร,ู (ภเู กต็ : โรงพมิ พว์ เิ ศษพรน้ิ ติ้ง, ๒๕๔๐), หนา้ ๓๒.

๑๗ ครู คือ บุคคลที่มีประสบการณ์หรือมีการศึกษามาก ดีเลิศเป็นพิเศษหรือมีทั้งประสบการณ์และ การศึกษาดีเป็นพิเศษในสาขาใดสาขาหนึ่งที่สามารถช่วยให้บุคคลอื่น ๆ เกิดประสบการณ์ มีความเจริญงอก งามและมพี ฒั นาการกา้ วหนา้ ได้ ครู คอื บคุ คลทส่ี าเรจ็ หลกั สูตรวชิ าชีพจากสถาบนั ทมี่ ีการเรยี นหลักสูตรครแู ละการรบั การฝึกอบรมที่ ได้รับการรับรองอย่างถูกต้องเป็นทางการ โดยมีการมอบวุฒิบัตรและประกาศนียบัตรทางการสอนซ่ึงมีการ ระบไุ วอ้ ย่างชัดเจนให้บคุ คลนน้ั ๆ ครู คือ บุคคลทอ่ี บรมส่ังสอนใหผ้ ้อู ืน่ มคี วามเจรญิ ทางปัญญาสามารถประกอบอาชพี ได้ ครู หมายถงึ บคุ คลท่ีอบรมสั่งสอน ถา่ ยทอดวิชาความรู้ให้แกศ่ ิษย์เปน็ ผ้ทู ีม่ ีความหนกั แน่นควรแก่ การเคารพบชู าของศิษย์ และ ครู หมายถึง ผู้ประกอบวิชาชพี อยา่ งหน่งึ และทาหนา้ ทส่ี อนคนและมักจะใชก้ ับผทู้ ่ีสอนต่ากวา่ ระดบั มหาวทิ ยาลัยและสถาบันอดุ มศกึ ษา ธีรศกั ด์ิ อคั รบวร ได้แยกความหมาย คาวา่ ครู หรือ Teachers’ ตามตัวอักษรของคาใน ภาษาองั กฤษมี ๘ คา สามารถแยกไดด้ งั นี้ T = Teaching and Training การส่ังสอนและการฝกึ ฝนอบรม E = Ethics instruction การอบรมคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม A = Action Research การคน้ ควา้ วจิ ยั หรือการแสวงหา ความรู้ใหม่ ๆ C = Cultural Heritage การถา่ ยทอดวัฒนธรรม H = Human Relationships การสร้างมนษุ ย์สัมพนั ธ์ E = Extra jobs การปฏิบัติหนา้ ท่ีพเิ ศษตา่ ง ๆ R = Reporting and Counseling การรายงานผลและการ แนะแนว S = Student Activities การจัดกจิ กรรมนกั เรียน จากงานวิจัยของอาจารย์สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ เร่ือง “การยกย่องครูผู้มีผลงานดีเด่น ปี ๒๕๔๒” อ้างในพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ ได้กาหนดนิยามคาวา่ ”คร”ู ไว้ดังนี้ ครู หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซ่ึงทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการ เรยี นรขู้ องผูเ้ รียนด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ในสถานศกึ ษาของภาครัฐและเอกชน ครู คือ ผู้ถ่ายทอดศิลปวิทยาให้แก่ศิษย์ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน การดาเนินชีวิตได้ รวมทั้งการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมอันดีงามแก่ศิษย์ ให้เป็นคนท่ีมีความประพฤติ ปฏบิ ตั ิทด่ี ีงามกอ่ ประโยชน์ใหก้ บั ตนเองและสังคม นอกจากน้ันยังมีผู้สอนอีกกลุ่มหน่ึง คือ ผู้สอนที่ทาการสอนในวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหรือระดับ อุดมศึกษาจะมี ๓ ระดับ คือ อาจารย์ (อ.), และผู้ท่ีได้รับตาแหน่งทางวิชาการได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ช่ือ ย่อ ผศ. (Assistant Professor ), รองศาสตราจารย์ ช่ือย่อ รศ. (Associate Professor ) และศาสตราจารย์ ชอื่ ยอ่ ศ. (Professor) ตามลาดับ การได้รับตาแหน่งทางวิชาการเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของ สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยมีบทบาทสาคัญต่อการศึกษา คือ ผู้สอนหรือผู้บรรยายผู้ชี้แนะ ใน ฐานะทเ่ี ปน็ ผ้ใู หซ้ ่ึงความร้วู ชิ าการตา่ ง ๆ ส่วนมนตรี จฬุ าวฒั นาฑล กลา่ ววา่ ครู เปน็ บคุ ลากรซึ่งทาหนา้ ท่หี ลักในดา้ นการเรยี นการสอนและ สง่ เสริมการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียนในสถานศึกษาระดับต่ากวา่ ปริญญาตรีหรอื การศึกษาข้ันพ้นื ฐานปัจจุบนั ประเทศ ไทยมีครปู ระมาณ ๖ แสนคน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑ ของประชากรซ่งึ เปน็ ไปในสัดสว่ นเดยี วกนั ของโลกทมี่ ีครู ประมาณ ๖๐ ล้านคน

๑๘ โดยหลัก ๆ ท่ัวไปในความหมายของครูเป็นที่เข้าใจของคนไทย คือ การ เป็นครูโดยอาชีพ มีอาชีพ สอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน นอกจากนี้พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ หมวด ๓ มาตรา ๑๕ (๓)๙ กาหนดให้มีการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยเป็น การศึกษาท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจาก บุคคลประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อหรือแหล่งความรู้อื่น ๆ เพราะฉะนั้นครู ในบทบาทของ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ยอ่ มแตกต่างออกไปจากครูในระบบและนอกระบบโรงเรียน บทบาทความหมายของครู จงึ แตกตา่ งตามการจดั การศกึ ษาในหลักสูตรต่าง ๆ ทั้งระยะส้ันและระยะยาว สรปุ ความหมายของผู้สอนและครู คอื การเป็นครเู ปน็ อาจารยแ์ ละการเป็นผแู้ นะนาเป็นผ้ใู หค้ วามรู้ ใหก้ ับเยาวชนกลุ่มบคุ คลตา่ งๆในสังคม โดยมกี ระบวนการจัดการที่สอดคล้องกบั หลกั สตู รทางการศึกษาในแต่ ละระดบั และนาไปส่กู ารจดั การศกึ ษาในระดับข้ันพนื้ ฐานจนถึงระดับอุดมศึกษาของชาติ ครูและผู้สอนจึงมี ความแตกต่างกนั ไป สรปุ ท้ายบท พระพุทธศาสนามีเหตุผลทเ่ี ชือ่ วา่ ผู้เรียนซึ่งเปน็ มนุษยม์ ีศักยภาพทีฝ่ ึกฝนโดยถือวา่ เปน็ ธรรมชาตขิ อง ผู้เรยี น ซ่งึ เปน็ การเปลีย่ นท่าทใี หมท่ ่ีจะให้ผเู้ รียนเป็นผู้กาหนดวถิ ีชีวติ ดว้ ยตนเอง คาว่า “ศักยภาพ” น้ี โดยนัย แล้วหมายถึงการฝึกฝน พัฒนา หากเปรยี บเทียบระหว่างมนุษย์กบั สตั ว์เดรจั ฉานนัน้ มนษุ ยม์ ขี ้อเสียเปรียบ สัตว์เดรจั ฉานเกิดมาก็อาศัยสัญชาตญาณ ส่วนมนุษย์นั้นอาศยั สัญชาตญาณน้อยมาก แตส่ ัญชาตญาณนี้ก็เป็น สงิ่ ท่จี ะต้องควบคุมไม่ใหแ้ สดงออกมาเกนิ เลยขอบเขต เพื่อปูองกันไมใ่ ห้เบยี ดเบียนผู้อนื่ จากตรงนี้ มนุษยจ์ ะมี ลักษณะพิเศษกว่าสตั ว์ตรงทส่ี ามารถฝึกฝนพฒั นาได้ เพราะสัตว์เองฝึกไดร้ ะดบั หนง่ึ หากเปรยี บเทยี บระหวา่ ง มนุษย์ดว้ ยกนั การฝกึ ฝนพัฒนาตนอยู่เสมอจึงไดช้ ื่อว่าเป็นผู้ประเสริฐ หากไมฝ่ ึกฝน คอื เป็นไปตามกระแสความ ต้องการตา่ งๆ ย่อมตกเปน็ ทาสของความอยากน้นั ๆไป ย่อมไม่เรียกวา่ เปน็ ผ้ปู ระเสริฐได้ เม่อื ธรรมชาตขิ องผ้เู รียนคือเป็นการฝึกฝนพฒั นาน้ันพระพุทธศาสนาจงึ ได้มีขน้ั ตอนการฝกึ ฝนเบ้อื งต้น ดว้ ยการการาบปราบพยศ ธรรมดาของมนษุ ย์หรือสัตว์ เม่อื ถูกจบั มาฝึกฝนใหพ้ ัฒนาไปในทางทดี่ ี ย่อมีความ กระวนกระวาย ลาบากใจ บางครัง้ จะแสดงอาการขดั ขนื หรอื พยศ พระพทุ ธศาสนาจึงใช้การสารวมระวังสิ่ง แปลกปลอมจากภายนอกและภายใน โดยการใช้สติพิจารณาส่ิงตางๆให้เห็นตามความเปน็ จริง โดยโยนโิ ส มนสกิ าร ในขน้ั ตอ่ มา เป็นการฝกึ ฝนปรบั ปรุงแก้ไขข้อบกพรอ่ งของตนเองอยเู่ สมอ ด้วยการต้ังตนอย่ใู นความไม่ ประมาท ๙ ฝาุ ยวิชาการ สานกั พมิ พ์สตู รไพศาล,พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๑-๒ พ.ศ.๒๕๔๒-๒๕๔๔ ปรบั ปรุง ๒๕๔๖-๒๕๔๘), (กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์สตู รไพศาล, ๒๕๔๘), หนา้ ๑๐-๑๑.

๑๙ คาถามทา้ ยบท ๑.จงใหค้ วามหมายของคาศัพท์ ต่อไปน้ี คือ “ครู” และ “ผสู้ อน” ฯ ๒.ตาแหนง่ ผสู้ อนในมหาวิทยาลัยแบง่ เปน็ ก่รี ะดบั อะไรบ้าง ฯ ๓.พระพุทธเจา้ ไดท้ รงกาหนด “ผู้สอน” ตามลกั ษณะของแต่ละบคุ คล จงอธบิ าย ฯ ๔.อาจารย์ คือผสู้ อน ในทางพระพุทธศาสนาไดจ้ าแนกอาจารยอ์ อกเป็นกล่มุ อะไรบ้าง ฯ ๕.“คร”ู ตามพัฒนาการของโลกปจั จุบนั แบง่ ออกเปน็ กปี่ ระเภท ฯ ๖.ธรี ศกั ดิ์ อคั รบวร ได้แยกความหมาย คาวา่ ครู หรือ Teachers ไว้อย่างไรฯ ๗.คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผ้เู รียนและผู้สอนตามแนวพุทธศาสตร์ จงอธิบายฯ ๘.คนจะประสบความสาเรจ็ ตามความตั้งใจ ตอ้ งมีคณุ ลักษณะตามแนวพุทธอยา่ งไรฯ

๒๐

๒๑ เอกสารอ้างอิงประจาบท ดร.ชาญชัย อาจินสมาจาร, หลักการสอนท่ัวไป, พมิ พค์ รั้งท่ี ๑, กรงุ เทพ : อมรการพิมพ์, ๒๕๔๗. ธรี ศกั ดิ์ อัครบวร, ความเปน็ ครู, ภูเกต็ : โรงพิมพ์วเิ ศษพริ้นต้งิ , ๒๕๔๐. ฝุายวชิ าการ สานกั พมิ พส์ ูตรไพศาล,พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ ๑-๒ พ.ศ.๒๕๔๒-๒๕๔๔ ปรบั ปรุง ๒๕๔๖-๒๕๔๘), กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์สตู รไพศาล, ๒๕๔๘. พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยตุ ฺโต), ธรรมนูญชวี ิต, กรุงเทพ ฯ : กองทุนอรยิ มรรค, ๒๕๔๑. . พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, กรงุ เทพ ฯ : มหาจฬุ าลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๔๓. พระมหาสพุ ัฒน์ กลยฺ ายธมฺโม (ศรชี มชื่น), พระพุทธเจา้ : บทบาทและหนา้ ทีใ่ นฐานะพระบรมคร,ู วทิ ยานิพนธ์ พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต, มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๕. สมหวัง พธิ ยิ านวุ ัฒน์, งานวิจยั เรือ่ ง การยกย่องครูผู้มีผลงานดีเด่น, ศนู ย์วจิ ัยปฏิบตั ิการเพื่อพัฒนา การศกึ ษาและทรัพยากรมนษุ ย์, กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๒. สาโรช บัวศรี, ปรชั ญาการศกึ ษาตามแนวพุทธศาสตร์, ศึกษาศาสตรต์ ามแนวพุทธศาสตร์ (วารสารรวมเลม่ ), กรงุ เทพมหานคร : สานกั พมิ พ์ กราฟิค อาร์ต, ๒๕๒๖. สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา, การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔,กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การรับส่งสนิ ค้าและพัสดุภัณฑ์ (รสพ.),๒๕๔๘. ไสว มาลาทอง : คู่มอื การศกึ ษาจรยิ ธรรม, ๒๕๔๒.๒๒-๒๘.

๒๒ บทที่ ๒ หลกั และวิธกี ารสอนแบบโยนโิ สมนสิการ วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ประจาบท เมอ่ื ไดศ้ กึ ษาเนือ้ หาในบทน้ีแล้ว ผเู้ รยี นสามารถ ๑. อธิบายหลักการและความหมายของโยนิโสมนสิการได้ ๒. บอกความสาคัญของโยนโิ สมนสกิ ารได้ ๓. บอกจุดมุ่งหมายของการสอนแบบโยนิโสมนสิการได้ ๔. วิเคราะหร์ ูปแบบการสอนแบบโยนโิ สมนสกิ ารได้ ๕. สรปุ รูปแบบและวธิ ีการสอนแบบโยนโิ สมนสกิ ารได้ ขอบข่ายเน้ือหา  หลกั การและความหมายของโยนิโสมนสกิ าร  ความสาคัญของโยนโิ สมนสิการ  จดุ มงุ่ หมายของการสอนแบบโยนโิ สมนสิการ  วเิ คราะหร์ ูปแบบการสอนแบบโยนิโสมนสิการ  รปู แบบและวธิ กี ารสอนแบบโยนิโสมนสกิ าร

๒๓ ๒.๑ ความนา คนเรานี้จะมีความสุขอย่างแท้จริง ก็ต้องดาเนินชีวิตให้ถูกต้อง คือจะต้องปฏิบัติถูกต้องต่อชีวิตของ ตนเอง และต่อสภาพแวดล้อมท้ังทางสังคมทางธรรมชาติและทางวัตถุโดยทั่วไปรวมท้ังเทคโนโลยีคนท่ีรู้จัก ดาเนินชีวิตได้ถูกต้อง ย่อมมีชีวิตที่ดีงาม และมีความสุขที่แท้จริง ซ่ึงหมายถึงการมีความสุขท่ีเอื้อต้อการเกิดมี ความสุขของผู้อื่นด้วยอย่างไรก็ตามการดาเนินชีวิตอย่างถูกต้องหรือการปฏิบัติถูกต้องต่อส่ิงท้ังหลายอย่างท่ี กลา่ วมานี้เป็นการพูดแบบรวมความ ซึ่งถ้าจะให้มองเห็นชัดเจน จะต้องแบ่งซอยออกไปเป็นการปฏิบัติถูกต้อง ในกิจกรรมใส่วนย่อยต่างๆของการดาเนินชีวิตน้ันมากมายหลายแง่หลายด้านดังน้ัน เพื่อเสริมความเข้าใจใน เรื่องนี้ จึงควรกล่าวถึงการปฏิบัติถูกต้องในแง่ด้านท้ังหลาย ซ่ึงเป็นส่วนย่อยที่ประกอบกันข้ึนเป็นการดาเนิน ชีวิตที่ถูกต้องนั้น หรือกระจายความหมายของการดาเนินชีวิตท่ีถูกต้องนั้นออกไปให้เห็นการปฏิบัติถูกต้องแต่ ละแง่แต่ละดา้ นทเ่ี ปน็ ส่วนย่อยของการดาเนินชีวิตที่ถูกต้องน้ันการดาเนินชีวิตนั้นมองในแง่หน่ึงก็คือการดิ้นรน ต่อสู้เพ่ือให้อยู่รอดหรือการนาชีวิตไปให้ลวงพ้นสิ่งบีบคั้นติดขัดคับข้องเพื่อให้เป็นอยู่ได้ด้วยดีการดาเนินชีวิตท่ี มองในแง่น้ีพูดอย่างส้ันๆก็คือการแก้ปัญหาหรือการดับทุกข์ผู้ท่ีแก้ปัญหาได้ถูกต้อง ลวงพ้นปัญหาไปได้ด้วยดีก็ ย่อมเป็นผปู้ ระสบความสาเร็จในการดาเนินชวี ติ เปน็ อย่อู ย่างไร้ทุกข์โดยนัยนก้ี ารดาเนินชีวิตอย่างถูกต้องได้ผลดี กค็ ือ การรูจ้ กั แก้ปญั หา หรอื เรยี กง่ายๆ ว่าแก้ปัญหาเป็น โยนโิ สมนสกิ าร เป็นกระบวนการทสี่ าคัญท่นี าไปสกู่ ระบวนการทางปญั ญาโยนโิ สมนสิการ ที่เป็นปัจจัย สู่ปัญญาในการดาเนินชีวิตระดับบุคคลท่ัวไปเท่านั้นคือระดับสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบความเข้าใจที่ถูกต้อง) ซ่ึงมีผู้ให้ความหมายเกี่ยวกับโยนิโสมนสิการพระธรรมปิฎก๑๐ได้ให้ความหมายของโยนิโสมนสิการว่าโยนิโส มนสิการแปลว่าการทาในใจโดยแยบคายหรือคิดถูกวิธีแปลง่ายๆว่าความรู้จักคิดหรือคิดเป็นหมายถึงการคิด อย่างมีระเบียบหรือคิดตามแนวทางของปัญญาคือการรู้จักมองรู้จักพิจารณาส่ิงทั้งหลายตามสภาวะเช่นตามที่ ส่ิงนั้นๆมันเป็นของมันโดยวิธีคิดหาเหตุปัจจัยสืบค้นถึงต้นเค้าสืบสาวให้ตลอดสายแยกแยะส่ิงน้ันๆออกให้เห็น ตามสภาวะและตามความสัมพนั ธส์ ืบทอดแหง่ เหตุปัจจัย โดยไม่เอาความรู้สึกด้วยตัณหาอุปทานของตนเองเข้า จับหรือเคลอื บคลุมทาให้เกิดความดงี ามและแก้ปญั หาได้ขอ้ น้ีเป็นองค์ประกอบผ่านภายในหรือปัจจัยภายในตัว บุคคลและอาจเรยี กตามองคธ์ รรมทีใ่ ชง้ านวา่ “วิธีการแห่งปญั ญา” การเรียนการสอนทีเ่ นน้ การพฒั นาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ซึ่งใน หลักการของวิธีดาเนินชีวิตแบบประชาธิปไตย เรียกว่า ปัญญาธรรม นอกจากนั้นการสอนแบบน้ียังเน้นการ เรยี นร้ทู เ่ี ร่ิมต้นจากการแสวงหานาไปสูก่ ารคน้ พบหลกั เกณฑ์ตา่ งๆทเ่ี ป็นวทิ ยาศาสตร์และสรุปลงด้วยการนาเอา หลักเกณฑ์ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ จรงิ ในรูปแบบของประยกุ ต์วิทยาศาสตร์อีกดว้ ย ๒.๒ หลกั การและความหมายของโยนโิ สมนสกิ าร ๒.๒.๑ หลักการของโยนโิ สมนสิการ ๑๐ พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม, พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑๖, (กรุงเทพฯ : มหา จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย,๒๕๔๖) หน้า ๕๗-๕๘.

๒๔ ในสมัยพุทธกาลสมเด็จพระสัมมาสัมมาพุทธเจ้าทรงได้เผยแผ่พระธรรมคาส่ังสอนที่ พระองค์ได้ตรัสรู้ แก่ประชาชนทุกหมู่เหล่า วิธีการเผยแพร่ของพระองค์นั้นสามารถใช้อย่างได้ผลจนเป็นที่เคารพเลื่อมใสศรัทธา ของพุทธศาสนิกชนในสมัยนั้นตราบจนถึงปัจจุบัน พระองค์ทาอย่างไรจึงสามารถสั่งสอนให้คนท่ีไม่รู้หลักธรรม ของพระองค์ให้เล่ือมใสศรัทธาจนได้รับสมญานามว่าเป็นพระบรมศาสดาของโลกได้มีนักการศึกษาหลายท่าน พยายามศกึ ษาคน้ คว้าวิธกี ารสอนของพระพุทธองคซ์ งึ่ พอสรปุ ได้ดงั น้ี ๑. ตั้งจดุ มุ่งหมายในการสอนไว้ ๓ ประการคอื ๑.๑ ทรงสั่งสอนให้รจู้ ริงเหน็ จรงิ ในสงิ่ ทคี่ วรรู้ควรเหน็ ๑.๒ ทรงแสดงธรรมอย่างมีเหตุผล ให้ผฟู้ งั ตรองและเห็นไดด้ ้วยตนเอง ๑.๓ ทรงแสดงธรรมทม่ี ีคุณเป็นอัศจรรย์ นั่นคือผู้ฟังสามารถปฏิบัติตามแล้วได้ผลตามสมควร แกก่ าลังการปฏิบัตินัน้ ๒. ในดา้ นเนือ้ หาพระองค์ทรงเลอื กธรรมะทจ่ี ะสอนใหเ้ หมาะสมกบั บุคคล ๓. ในดา้ นวธิ ีการสอน ๓.๑ ทรงพิจารณาจนรู้จกั จรติ ภมู ิปญั ญาและภมู หิ ลังของผ้เู รียน ๓.๒ ทรงระมัดระวังการใชภ้ าษาพดู ให้ผ้ฟู งั เขา้ ใจงา่ ย ๓.๓ ทรงจดั ลาดบั ขนั้ ตอนการสอนคอื - เสนอหลักการ - ซักไซ้ไลเ่ ลยี งใหเ้ ห็นประจักษ์ด้วยตนเอง - สรปุ ใจความสาคัญ ๓.๔ ทรงทานามธรรมใหเ้ ห็นรูปธรรมดว้ ยวธิ ีการดงั ตอ่ ไปนี้ - อปุ มาอุปไมย - ให้นิทานประกอบ - ให้เหตุการณป์ จั จุบัน - ใหอ้ ุปกรณข์ องจริงประกอบการสอน - สอนจากส่งิ ทีร่ ู้แลว้ ไปยังส่งิ ทีไ่ มร่ ู้ - สอนจากสงิ่ ทเ่ี ห็นได้ง่ายไปสสู่ ่ิงท่ีเห็นได้ยาก ๓.๕ ทรงสอนโดยทรงวางพระองคใ์ ห้เปน็ แบบอยา่ ง ปัจจุบันได้มีนักการศึกษาหลายท่านได้พยายามนาหลักการสอนตามแนวพุทธวิถีมาประยุกต์ให้กับการจัด การศกึ ษาเชน่ สาโรช บัวศรี๑๑ ได้ประยุกต์แนวการสอนตามพุทธวิธีเป็นวิธีการเรียนการสอนแบบอริยสัจซ่ึงต่อมาได้ กลายเป็นการสอนแบบสืบสวนสอบสวนแบบค้นพบหรอื วธิ ีสอนแบบแกป้ ัญหาซึง่ มีขน้ั ตอนการสอนดงั นี้ ข้ันท่ี ๑ “สน” คือข้ันของการให้สังกัปแนวหน้าซึ่งก็ได้แก่การเตรียมความพร้อมทางการเรียนให้กับ ผเู้ รยี นโดยการดึงเอาความรแู้ ละประสบการณ์เดิมของผู้เรียนท่ีเกี่ยวข้องกับส่ิงท่ีจะสอนให้มาสัมพันธ์กันรวมท้ัง การปพู ้นื ความรใู้ หม่ทจ่ี าเป็นสาหรบั การเรียนรูเ้ น้อื หาสาระใหมใ่ หก้ บั ผู้เรยี นและการจงู ใจให้พรอ้ มทีจ่ ะเรียน ขั้นที่ ๒ “ส” คอื ขนั้ ของการใหส้ งั เกตสถานการณท์ ี่เปน็ ปญั หาข้องจิตในชน้ั นี้จะสร้างสถานการณ์ท่ีเป็น ปัญหาข้องจิตขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนได้สังเกตและวิเคราะห์องค์ประกอบและธรรมชาติของปัญหาอย่างละเอียดการ เรียนรู้ท่ีสาคัญในชั้นน้ีก็คือการเรียนรู้สังกัปลักษณะร่วมของสถานการณ์(ความหมายสรุปรวม) ของ ๑๑สาโรช บัวศร,ี จรยิ ธรรมศกึ ษา,กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา,๒๕๒๖.

๒๕ องค์ประกอบต่างๆในสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหาข้องจิตเมื่อเทียบกับอริยสัจ ๔ ข้ัน สังเกตจนเกิดปัญหาข้องจิต ใกล้เคียงกับทกุ ข์ ขั้นท่ี ๓ “อ” คือขั้นของการอธบิ ายปญั หาข้องจิตโดยอาศัยความสามารถในการหาเหตุผลมาอธิบายถึง สาเหตขุ องปญั หาข้องจิตสว่ นมากการอธิบายมักจะอยู่ในรูปของความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผลแบบฟังช่ัน ใน ข้ันนี้เป็นจุดเร่ิมต้นของความสามารถในการสร้างทฤษฏีข้ันมาสาหรับอธิบายปรา กฏการณ์ต่างๆการเรียนรู้ที่ สาคัญในข้ันน้ีคือการเรียนรู้หลักว่าเม่ือผลปรากฏออกมาในรูปของปัญหาอย่างน้ีอะไรควรจะเป็นเหตุหรือ สาเหตุของการเกิดผลอนั น้นั เมอ่ื เทยี บกับอริยสจั ๔ขน้ั อธิบายปัญหาข้องจติ ใกลเ้ คยี งกับขน้ั สมุทยั ข้นั ที่ ๔ “ท” คอื ข้ันของการทานายผลเมอื่ เราแปรเหตเุ ป็นขัน้ ของการต้ังสมมติฐานเพ่ือจะทดสอบดูว่า คาอธิบายในขนั้ ท๓่ี นั้นถูกต้องมากน้อยเพียงใดนอกจากนั้นยังเป็นการคาดคะแนนของสาเหตุต่างๆท้ังน้ีเพื่อฝึก ให้ผู้เรียนได้คิดอย่างรอบคอบแบบคิดหน้าคิดหลังเสียก่อนแล้วจึงลงมือปฏิบัติการเรียนท่ีสาคัญในขั้นน้ีคือการ เรียนรู้วิธีแก้ปัญหาโดยนาเอาหลักการที่เรียนรู้ในขั้นท่ี๓ มาใช้เมื่อเทียบกับอริยสัจ๔ข้ันทานายผลเม่ือแปรเหตุ ใกล้เคียงกับขั้นนโิ รธ ข้นั ที่ ๕ “ค” คอื ขัน้ ของการควบคมุ และสรา้ งสรรคท์ ้ังสิ่งแวดล้อมภายนอกและสิ่งแวดล้อมภายในเป็น ขั้นของการนาผลการแก้ปัญหามาปฏิบัติใช้ในชีวิตจริงเพ่ือให้เกิดความควบคุมส่ิงแวดล้อมภายใน (ทางด้าน จิตใจ) ขั้นนี้ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ฉะนั้นการเรียนท่ีสาคัญในขั้นนี้คือการเรียนรู้วิธี สร้างสรรค์เม่ือเทียบกับอริยสัจ๔ข้ันควบคุมและสร้างสรรค์สิงแวดล้อมใกล้กลับข้ันมรรคโดยสรุปการเรียนการ สอนดงั กลา่ วกค็ ือการสอนการเรียนท่ีเน้นการพฒั นาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาด้วยวิธีทางวิทาศาสตร์ซ่ึง ในหลักการของวิธีดาเนินชีวิตแบบประชาธิปไตยเรียกว่าปัญญาธรรมนอกจากน้ันการสอนแบบนี้ยังเน้นการ เรยี นรทู้ ่ีเรม่ิ ต้นจากการแสวงหานาไปสกู่ ารคน้ พบหลกั เกณฑต์ ่างๆทีเ่ ปน็ วิทยาศาสตร์และสรุปลงด้วยการนาเอา หลกั เกณฑไ์ ปใช้ประโยชน์ในชวี ติ จริงในรูปแบบของประยุกตว์ ิทยาศาสตร์อกี ดว้ ย สุมน อมรวิวัฒน์๑๒ ได้ประยุกต์แนวการสอนตามพุทธวิธีมาจัดเป็นวิธีการสอนแบบไตรสิกขาและการ สอนแบบสร้างศรัทธาและโยนิโยมนสิการการสอนแบบไตรสิกขาคือการฝึกอบรมควบคุมกายวาจา (อธิศีล สกิ ขา) การฝึกหัดและอบรมจิตใจ (อธิจิตสิกขา) การฝึกอบรมเพื่อความรู้ระดับสูง (อธิปัญญาสิกขา) ซึ่งการจัด การศึกษาตามนัยแห่งพุทธศาสนาเป็นการแสวงหาหลักและความรู้เพ่ือนามาเป็นพ้ืนฐานในการฝึกหัดอบรม ตนเองทางกายวาจาใจจนสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างสุขการสอนแ บบสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการคือ วธิ กี ารสอนทีม่ งุ เน้นให้ครูเป็นกัลยาณมิตรของศิษย์จัดปัจจัยภายนอกท่ีเหน่ียวโน้มส่งเสริมจูงใจและปลุกเร้าให้ เกิดความเชื่อถือในตัวครูผู้สอนในสาระท่ีเรียนและวิธีการเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนโดยเน้นการฝึก ใช้ความคิดที่ถูกวิธีมีระบบระเบียบวิธีการสอนแบบน้ีสุมนอมรวิวัฒน์ได้คิดค้นข้ึนเมื่อ ปี๕๒๒๖ ต่อมาใน ปี ๒๕๒๗ วรรณา สุติวิจติ ร๑๓ ได้นาหลักการสอนดังกล่าวไปทดลองสอนจริยศึกษาแก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่๓ โดยมีอาจารย์สุมนอมรวิวัฒน์เป็นผู้ควบคุมการวิจัยปรากฏว่าวิธีการสอนที่คิดค้นขึ้นนั้นสามารถนามา ประยกุ ต์ใช้สอนได้เป็นอย่างดี การจัดการเรียนการสอนในกิจกรรมศึกษาที่เก่ียวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ เพ่ือพัฒนาสติปัญญา ตามนัยแห่งพุทธธรรมน้ันพุทธธรรมเป็นแนวเหตุผลทางธรรมชาติ นามาแสดงเพ่ือประโยชน์ในการดารงชีวิต ๑๒สมุ นอมรวิวฒั น,์ การสอนโดยสรา้ งศรทั ธาและโยนิโสมนสกิ าร, (กรงุ เทพฯ, โครงการตารา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย,๒๕๓๐). ๑๓วรรณา สตุ ิวิจติ ร,การทดลองสอนจรยิ ศึกษาโดยการสรา้ งศรทั ธาแกน่ ักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓, วิทยานพิ นธ์ ค.ม. (กรุงเทพฯ: บณั ฑิตวทิ ยาลัยจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๗).

๒๖ หลักพุทธธรรมมุ่งผลสาเร็จ คือความสุขสะอาดสว่างสงบและอิสระที่สามารถมองเห็นได้โดยสัมพันธ์กับ องค์ประกอบต่างๆ เช่นสภาพชีวิตเหตุและปัจจัยเป็นต้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้เรียน เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากการเรียนรู้ซ่ึงต้องใช้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมภายในตัวผู้เรียน คือร่างกาย อารมณ์และสติปัญญาสภาพแวดล้อมภายในมีความละเอียดอ่อนที่ต้องอาศัยความสุขจากการเรียน ความสงบ ความตง้ั ใจ ร่างกายสมบรู ณเ์ ห็นคุณคา่ สนใจใฝรุ ดู้ ว้ ยความรสู้ ึกทเี่ ปน็ อสิ ระ ๒.๒.๒ ความหมายของโยนโิ สมนสิการ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ไดใ้ ห้ความหมายโยนโิ สมนสิการไวว้ ่าการพิจารณาโดยแยบคาย นิช สุธารัตน์๑๔ ได้กล่าวถึงโยนิโสมนสิการไว้ว่า เป็นการคิดท่ีอยู่ในกระบวนการพัฒนาปัญหาของ มนุษย์ตามหลักทางพระพุทธศาสนาเป็นความคิดอยู่ในระดับที่เหนือความเช่ือหรือศรัทธาเน่ืองจากผู้คิดได้ใช้ ความคิดของตนเองอย่างเป็นอิสระคิดอย่างมีระบบคิดอย่างวิเคราะห์เป็นวิธีการสาคัญสาหรับการสร้างปัญญา ท่ีบริสุทธิ์เป็นอิสระทาให้บุคคลเข้าใจโลกเข้าใจชีวิตตามสภาพความเป็นจริงที่แท้จริงและสามารถแก้ปัญหา ตา่ งๆไดก้ ่อให้เกิดประโยชน์ทั้งแกต่ นเองแกส่ งั คมและก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด นวพร ถึงประเสริฐ๑๕ ได้สรุปความหมายของโยนิโสมนสิการไว้ว่า เป็นการคิดอย่างมีเหตุผลคิดอย่าง แยบคายพิจารณาไตรต่ รองใหร้ อบคอบเพื่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเองและผูอ้ ่นื พระพรหมคณุ าภรณ์๑๖ ใหค้ วามหมายของโยนโิ สมนสกิ ารวา่ โดยรูปศัพท์โยนิโสมนสิการประกอบด้วย โยนิโสกับมนสิการ โยนิโส มาจาก โยนิ ซ่ึงแปลว่าเหตุต้นเค้าแหล่งเกิดปัญญาอุบายวิธีทาง ส่วนมนสิการ แปลวา่ การทาในใจ การคิดคานึงนึกถึง ใส่ใจพิจารณา เม่ือรวมกันเข้าเป็นโยนิโสมนสิการและได้อธิบายการคิด แบบโยนโิ สมนสกิ ารไวว้ า่ เป็นการคิดอย่างถกู วธิ ีคิดอย่างมรี ะเบียบคิดวิเคราะห์อยา่ งลกึ ซ้ึงเป็นข้ันตอนสาคัญใน การสร้างปญั ญาทบ่ี ริสุทธิเ์ ป็นอิสระทาใหท้ กุ คนชว่ ยตนเองไดแ้ ละนาไปสู่จดุ หมายของพทุ ธธรรมอยา่ งแท้จรงิ ลักขณา สริวัฒน์๑๗ ได้ให้ความหมายของโยนิโสมนสิการไว้ว่า การแสดงออกซ่ึงความคิดเห็นที่ถูกต้อง อันเป็นกระบวนการพิจารณาตรงกับจุดหมายปลายทางโดยไม่วกวนไม่ย้อนกลับและเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิด ปญั ญา จากความหมายดงั กลา่ วขา้ งต้น ผวู้ ิจัยสรปุ ได้ว่า โยนิโสมนสิการหมายถึงการคิดพิจารณาโดยแยบคาย คิดอย่างถูกวิธีคิดอย่างเป็นระเบียบตามข้ันตอนคิดที่ถูกต้องตรงตามความจริงการคิดท่ีอาศัยวิธีการอัน สอดคล้องกับเรื่องท่ีศึกษารู้จักพิจารณาวิเคราะห์แยกแยะส่ิงต้องๆให้ละเอียดลออหรือ ไม่ด่วนสรุปเกินข้อมูลท่ี ได้รบั มารู้จกั พิจารณารจู้ กั คิดวิเคราะหซ์ ่ึงจะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สร้างสรรค์ในสิง่ ทด่ี ีท้งั ต่อตนเองและสังคม ๒.๓ ความสาคัญของโยนโิ สมนสกิ าร ๑๔วนชิ สธุ ารตั น,์ ความคิดและความคดิ สรา้ งสรรค์, (กรุงเทพฯ, สวุ รี ิยาสาส์น, ๒๕๔๗), หนา้ ๑๓๘. ๑๕นวพร ถึงประเสริฐ, “ผลการใชร้ ูปแบบการเรยี นการสอน โดยสร้างศรทั ธาและโยนโิ สมนสกิ ารในรายวิชา พระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่๒โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัยกาฬสินธ”์ุ ,วทิ ยานพิ นธค์ .ม., มหาวทิ ยาลยั ราชถฏั สกลนคร, (๒๕๔๘). ๑๖พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต),การดูแลสุขภาวะองค์รวมแนวพทุ ธ, พิมพ์ครั่งท่ี ๑๐ กรงเทพฯ,โรงพมิ พ์ ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหงประเทศไทย,๒๕๔๙ ๑๗ลกั ขณา สริวัฒน์,จติ วทิ ยาเบื้องตน้ ,กรุเทพ:โอเดยี นสโตร์,๒๕๔๙ หน้า ๑๘๒.

๒๗ นกั ศึกษาพระสงฆท์ ่านผ้รู ้ทู า่ นผศู้ กึ ษาพระพุทธศาสนาท่านเหล้าน้ไี ดม้ องเห็นคณุ ค่าของโยนิโสมนสิการ ทเ่ี ปน็ วธิ ีการคิดทางพระพทุ ธศาสนาดงั ท่ีท่านไดเ้ สนอแนวคิดไว้ตอ้ งๆดงั นี้ กติ ติพัฒน ตระกลู สขุ ๑๘ ไดก้ ลา่ วถงึ ความสาคัญของโยนิโสมนสกิ ารว่า การจะพัฒนากระบวนการเรียน การสอนอะไรสกั อย่างขนึ้ มาใหมน่ ักการศกึ ษามกั มองไปทป่ี ระเทศทีพ่ ัฒนาแล้วซึ่งการมองประเทศเหล่านั้นมอง ในลกั ษณะศกึ ษาขอ้ ดีขอ้ เสียเพื่อจะนามาปรบั ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อสังคมไทยมิใช้มองเพ่ือเอาแบบอย่างแท้จริง แลว้ สังคมไทยมีหลักพุทธศาสนาทก่ี ลา่ วถึงการร้จู กั คิดรจู้ กั พิจารณาท่เี รียกว่า “โยนิโสมนสิการ” คือการสอนให้ รู้จักคิดเป็นคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลคิดในทางที่จะเข้าถึงความจริงทั้งหลายคิดในทางที่จะทาให้รู้จักใช้ส่ิง ทั้งหลายให้เป็นประโยชน์แต่เป็นที่นาสังเกตว่าการเรียนการสอนให้นักเรียนในสังคมไทยไม่ค่อยส่งเสริมโยนิโส มนสิการเทา่ ที่ควร พระพรหมคุณาภรณ์๑๙ ได้กล่าวถึงโยนโิ สมนสกิ ารว่าเมอื่ ใดที่เดก็ มีโยนโิ สมนสิการอย่างแท้จริงแล้วเด็ก จะสามารถเอาประโยชน์ได้จากทุกสิ่งทุกอย่างแม้แต่จากสิ่งที่เลวท่ีสุด เพราะโยนิโสมนสิการไม่ว่าจะมีวิธีคิด แบบใดก็ตามแต่ก็มีสาระสาคัญสองอย่างคือ ๑) สามารถมองและคิดพิจารณาให้เข้าถึงความจริงของส่ิงน้ัน ๒) สามารถเฟูนประโยชน์จากส่ิงน้ันๆได้ไม่ว่ามันจะเลวร้ายแค่ไหนก็เรียนรู้เอามาใช้ได้จะต้องทาสองอย่างที่ว่าน้ี พร้อมกันถ้าใช้หลักนี้จะพัฒนาเด็กได้ผลหลายอย่างฉะนั้นโยนิโสมนสิการจึงเป็นองค์หลักของการศึกษาที่ จะต้องเน้นกันอยตู่ ลอดเวลา สุคนธ์ สินธพานนท์๒๐ และคนอื่นๆได้กล่าวถึงความสาคัญของโยนิโสมนสิการไว้ว่าเป็นวิธีคิดท่ีมี จุดมุ่งหมายท่ีจะสกัดหรือกาจัดอวิชชา (ความไม่รู้) และบรรเทาตัณหา (ความอยากโดยตรง)กล่าวคือผู้รู้จักคิด แบบโยนิโสมนสิการย่อมจะมีความรู้ความเข้าใจในส่ิงต่างๆตามความเป็นจริงเป็นผู้ที่คิดเป็นคิดอย่างเป็นเหตุ เป็นผลซ่ึงจะเป็นทางทเี่ ขา้ ถงึ ความจริงทง้ั หลายทาใหร้ ู้จกั ใช้สิ่งท้งั หลายให้เป็นประโยชน์ ถา้ บุคคลทุกคนคิดเป็น ก็ย่อมคิดในส่ิงที่ถูกต้องไม่ปล่อยใจให้หลงใหลเพลิดเพลินในวัฒนธรรมจากภายนอกที่หล่ังไหลเข้ามาซ่ึงใน สภาพการณ์ปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีในทุกด้านตลอดทั้งเป็นยุคข้อมูลข่าวสารความเจริญทางด้านวัตถุ เป็นส่ิงเร้ายั่วยุให้บุคคลหล่ังไหลไปกับความยั่วยวนต่างๆ ท่ีผ่านเข้ามาถ้าบุคคลคิดเป็นก็ย่อมเกิดปัญญาไม่ ปล่อยใจให้เพลดิ เพลินหลงใหลในความสาเร็จต่างๆ ในโลกสมมติกับเห็นคุณคาและโทษของมันมีปัญญาในการ สลัดส่ิงไม่ดอี อกไปอกี ทง้ั รจู้ ักคดิ ทจ่ี ะดารงชีวิตให้ต้งั อยู่ในทศิ ทางทเ่ี หมาะสม สง่ ผลต่อความสุขสงบของชีวิตและถ้าทุกคนในสังคมยึดถือแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการก็ย่อมส่งผลต่อ ความสงบสุขความเป็นระเบียบเรยี บร้อยของสังคมตลอดไป จากแนวคิดเกี่ยวกับความสาคัญของโยนิโสมนสิการ จะพบว่าโยนิโสมนสิการมีความสาคัญเน่ืองจาก การสอนคิดแบบโยนโิ สมนสกิ ารวธิ คี ิดชนดิ หนึ่ง หรือเทคนิคอย่างหนึ่งที่จะทาให้เกิดการคิดเช่นเดียวกันกับการ คิดอย่างมีวิจารณญาณทาให้เกิดความเข้าใจในสิ่งต่างๆ ได้ง่ายและฉับไว รู้เท่าทันต่อประสบการณ์ต่อ วัฒนธรรมต่อสิ่งท่ีถ่ายทอดหล่ังไหลเข้ามาไม่ว่าจากอดีตของตนหรือจากที่อ่านภายนอกก็ตามแล้วพิจารณา หาทางทาให้เกดิ ประโยชน์ทง้ั ต่อตนเองและสังคม ๑๘กติ ติพฒั น ตระกลู สุข, ข้อสงั เกตทห่ี น้าสนใจเกี่ยวกบั Constructivism โยนโิ สมนสกิ าร ,วารสารคณติ ศาสตร,์ (๒๕๔๒), หนา้ ๔๘๕-๔๘๗,หนา้ ๒๑-๒๕. ๑๙พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต),การดแู ลสขู ภาวะองค์รวมแนวพทุ ธ, พมิ พ์คร้ังท๑ี่ ๐, (กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,๒๕๔๙). ๒๐สคุ นธ์ สนิ ธพานนท,์ การวดั ผลการศึกษา กาฬสนิ ธ์ุ,ประสานการพิทพ์,(๒๕๕๑).

๒๘ โยนิโสมนสกิ ารถอื เปน็ หลกั ทีส่ าคญั มากเป็นตัวนาเข้าสมู่ รรคหรือแนวทางที่ถูกต้องซึ่งคู่กับกัลยาณมิตร พระพุทธเจ้าตรัสว่ากัลยาณมิตรเป็นองค์ประกอบภายนอกแต่โยนิโสมนสิการเป็นองค์ประกอบภายในและอยู่ ในความคิดของเรา คนท่ีขาดโยนิโสมนสิการเม่ือพบเห็นอะไรจะไม่รู้จักคิดมองแต่เพียงชอบใจและไม่ชอบใจหรือไม่รู้จัก สร้างสรรค์แก้ไขปรับปรุงชีวิตของตนเองก็ไม่พัฒนาและสังคมประเทศชาติก็ไม่พัฒนาไปด้วยแต่คนท่ีมีโยนิโส มนสิการจะพิจารณาด้วยปัญญาเมื่อพบเห็นอะไรแปลกใหม่ก็รู้จักคิดค้นว่าส่ิงนั้นทาข้ึนมาได้อย่างไรนาไปสู่ การ รู้จักทารู้จักสร้างสรรค์ทาได้และทาเป็นเม่ือพบปัญหาก็คิดค้นหาเหตุปัจจัยทาให้แก้ปัญหาได้จากคิดเป็นก็ นาไปส่ทู าเปน็ และแกป้ ัญหาเปน็ ชวี ติ ของตนก็พัฒนาและชว่ ยพฒั นาสังคมและประเทศชาติไปในทางท่ีถูกต้อง ๒.๔ วิเคราะห์รูปแบบการสอนแบบโยนโิ สมนสิการ ลักษณะของการคดิ แบบโยนิโสมนสิการ ลักขณา สรวิ ัฒน์๒๑ ไดก้ ล่าวถงึ ลกั ษณะของการคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ ารไวด้ งั นี้ ๑. โยนิโสมนสิการเป็นองค์ประกอบภายใน มีความเกี่ยวข้องกับการฝึกใช้ความคิดให้รู้จักคิด อย่างถกู วิธคี ิดอยา่ งมีระเบียบคิดวิเคราะห์ไม่มองเห็นส่ิงต่างๆอย่างตื้นๆผิวเผินเป็นขั้นตอนสาคัญของการสร้าง ปญั ญาทาใจให้บรสิ ทุ ธ์ิและเป็นอิสระทาให้ทุกคนช่วยตนเองได้นาไปสู่ความเป็นอิสระไร้ทุกข์พร้อมด้วยสันติสุข ซ่งึ เป็นจดุ หมายสูงสดุ ของพระพุทธศาสนา ๒. โยนิโสมนสกิ ารไมใ่ ช้ตัวปญั ญาแต่เป็นปัจจัยทกี่ ่อใหเ้ กิดปัญญาโดยมีเปูาหมายสูงสุดคือการ ดบั ทุกข์ องคป์ ระกอบโยนิโสมนสกิ าร ๑. อุบายมนสิการ คอื การคิดอย่างเข้าถึงความจรงิ ดว้ ยการคิดพจิ ารณาโดยอบุ ายคือคิด อย่างมีวิธีถกู วิธีเข้าถงึ ความจรงิ เป็นแนวเดยี วกันหรือสอดคลอ้ งกันกบั สัจจะทาให้รู้ถึงสภาวะลักษณะและสามัญ ลักษณ์ของส่งิ ต่างๆ ๒. ปถมนสิการ คอื การคิดอยา่ งมลี าดับขนั้ ตอนไมส่ บั สนเป็นการคิดหรือพิจารณาเปน็ ทาง ทถี่ ูกต้องเน่ืองเปน็ ลาดับขั้นตอนมีระเบยี บตามแนวเหตุผลไม่ยุ้งไม่สบั สนไม่วกวนไม่กระโดดไปมาเป็นความคิดท่ี ตอ่ เป็นเร่อื งเปน็ ราวและสามารถไหลไปสูแ่ นวทางที่ถูกต้องไดต้ ลอด ๓. กรณมนสกิ าร คอื การคดิ อย่างมเี หตผุ ลเป็นการคิดพจิ ารณาไปตามเหตุค้นหาเหตุคิดสืบค้น ถึงความสัมพนั ธส์ บื ทอดหรอื สบื เนือ่ งกันในเหตุคดิ สืบสาวหาเหตุคดิ สบื หาต้นเหตุหรือแหล่งที่มาของเร่ือง ๔. อุปปาทมนสกิ าร คอื การคิดให้เกิดผลเป็นการคิดให้เกิดผลทพี่ งึ ประสงค์เล็งถึงการคดิ อย่างมีเปูาหมายการคิดพิจารณาท่ีทาให้เกิดกุศลธรรมเช่นปลุกเร้าให้เกิดความเพียรการรู้จักคิดในทางท่ีทาให้ หายหวาดกลัวให้หายโกรธการพิจารณาที่ทาให้มีสติหรือทาให้จิตใจเข้มแข็งมั่นคง ๔ กลไกการทางานของ โยนิโสมนสิการในกระบวนการคิดเมื่อบุคคลรับรู้ส่ิงใดก็ตามความคิดก็จะพุ่งเข้าสู่ความชอบหรือไม่ชอบทันที นน่ั ก็คือส่ิงปรงุ แตง่ เนื่องจากบุคคลมปี ระสบการณ์มาก่อนโดยเรียกส่งิ ปรุงแตง่ น้ันวา่ อวิชชาในตอนน้ีเองที่โยนิโส มนสิการจะเข้าไปสกัดก้ันความคิดน้ันแล้วเป็นตัวนาเอากระบวนการคิดบริสุทธ์ิท่ีจะพิจารณาตามสภาวะตาม ๒๑ลักขณา สริวฒั น์,จิตวทิ ยาเบ้ืองตน้ , (กรเุ ทพ:โอเดยี นสโตร์,๒๕๔๙), หน้า๑๘๒.

๒๙ เหตุปัจจัยเป็นลาดับไม่สับสนมีเหตุผลและเกิดผลได้ทาให้คนเป็นนายแห่งความคิดไม่ใช้ทาสของความคิดไม้ใช้ ทาสของความคิดเอาความคดิ มาใช้แก้ปญั หาได้ ๓. ในการดาเนินชีวิตสติเป็นองค์ธรรมท่ีจาเป็นต้องใช้ในการทางานทุกอย่าง โยนิโสมนสิการ เป็นส่งิ หลอ่ เล้ยี งสติท่ียังไมเ่ กิดให้ไดเ้ กิดชว่ ยให้สตทิ ่ีเกิดแลว้ ต่อเนื่องต่อไป ๔. คนปกติสามารถใช้โยนิโสมนสิการง่ายๆได้โดยการพยายามควบคุมการแสดงความคิดให้ อยู่ในแนวทางทด่ี งี ามตามทางท่ีเคยได้รับการอบรมส่งั สอนนัน้ ถูกต้องดงี ามมีประโยชนก์ ย็ ่ิงมีความม่ันใจและเกิด ศรทั ธาข้ึนเองเกิดการประสานกันระหว่างปัจจัยภายนอกกับปัจจัยภายในกลายเป็นความหมายของตนเองเป็น ทีพ่ งึ แหง่ ตนได้ดังนั้นในการสอนเพอ่ื สร้างศรทั ธาจะต้องมคี วามพยายามให้เด็กได้รับรู้ผลและเกิดความตระหนัก ในผลของการกระทาความดงี ามตอ้ งเรา้ ใจเพื่อให้เกิดการเสริมแรงภายใน ๕. กล่าวโดยสรุปแล้วกลไกลการทางานของโยนิโสมนสิการและความสัมพันธ์ระหว่าง ปรโต โฆษะ กบั โยนิโสมนสิการ มดี ังนี้ ๕.๑ โยนิโสมนสกิ ารจะทางาน ๒ ขั้นตอนคอื รับรอู้ ารมณ์หรือประสบการณจ์ ากภายนอก การรับรู้ด้วยโยนิโสมนสิการจะเป็นการรับรู้อย่างถูกต้องมีกาคิดค้นพิจารณาอารมณ์หรือเร่ืองราวท่ีเก็บเข้ามา เปน็ การพจิ ารณาข้อมูลดว้ ยสตซิ ่ึงจะนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนินชีวิตและในการทางานกิจกรรมต่อๆไป ๕.๒ กลั ยาณมติ ร (ปรโตโฆสะทีด่ ี) และโยนิโสมนสิการเป็นจุดเชอ่ื มต่อระหว่างบคุ คลกบั โลก หรือสภาพแวดล้อมภายนอก โดยกัลยาณมิตรจะคอยเชื่อมให้บุคคลติดต่อกับโลกทางสังคมอย่างถูกต้องและ โยนโิ สมนสิการเช่ือมตอ่ บคุ คลกบั โลกทางจติ ใจของตนเองอย่างถูกต้อง พระพรหมคุณาภรณ์๒๒ ได้กลา่ วถงึ ลักษณะการคดิ แบบโยนโิ สมนสิการไว้ดงั นี้ ๑. อบุ ายมนสกิ าร แปลวา่ คดิ หรอื พิจารณาโดยอบุ ายคอื คดิ อยา่ งมีวิธีหรือคิดถูกวิธีที่จะเข้าถึงความจริง สอดคล้องเข้าแนวกับสจั จะทาให้หยั่งร้สู ภาวะลักษณะและสามญั ลักษณะของสิง่ ทั้งหลาย ๒. ปถมนสิการแปลว่า คดิ เป็นทางหรือคดิ ถูกทางคือคิดได้ต่อเน่ืองเป็นลาดับมีข้ันตอนแล่นไปเป็นแถว เป็นแนวหมายถงึ ความคดิ เป็นระเบยี บตามแนวเหตผุ ลเปน็ ตน้ ๓. การณมนสิการแปลว่า คิดตามเหตุคิดต้นเหตุคิดตามเหตุผลหรือคิดอย่างมีเหตุผลหมายถึงการคิด สบื ค้นตามแนวความสัมพนั ธ์สบื ทอดกันแหง่ เหตุปจั จัยพจิ ารณาสบื สาวหาเหตุให้เข้าใจต้นเค้าหรือแหล่งที่มาซึ่ง สง่ ผลต่อเนอ่ื งมาตามลาดบั ๔. อุปปาทมนสิการแปลว่า คิดให้เกิดผลคือใช้ความคิดให้เกิดผลท่ีพึงประสงค์เล็งถึงการคิดอย่างมี เปูาหมายหมายถึงการคิดพิจารณาที่ทาให้เกิดกุศลธรรม เช่นปลุกเร้าให้เกิดความเพียรการรู้จักคิดในทางท่ีทา ใหห้ ายหวาดกลวั ให้หายโกรธการพิจารณาท่ที าใหม้ ีสติหรอื ทาใหจ้ ิตใจเขม้ แขง็ มนั่ คง กล่าวโดยสรุปลักษณะทั้ง ๔ ข้อได้ว่าเป็นการคิดถูกวิธีคิดมีระเบียบคิดมีเหตุผลคิดเร้ากุศลถ้าแปล ลักษณะเดน่ ของความคิดแบบน้ีจึงแปลได้ว่าความคิดถูกวิธีความรู้จักคิดการคิดเป็นการคิดตรงตามสภาวะและ เหตุปจั จยั การคิดสืบค้นถึงตน้ เคา้ เปน็ ต้นถา้ แปลตามคา แปลสืบๆกนั มาวา่ การทาใจโดยแยบคาย พระธรรมปิฏก๒๓ ได้ประมวลวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการไว้เป็น ๑๐ วิธีด้วยกันพร้อมทั้งอธิบาย รายละเอียดในหนังสือพุทธธรรมซึ่งสามารถสรุปมาเสนอเพื่อให้เห็นหลักการคิดก่อนท่ีจะน ามาประยุกต์ใช้ใน ระบบการเรียนการสอนปัจจุบนั มรี ายละเอียดดงั ต่อไปนี้ ๒๒พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต), การดแู ลสูขภาวะองค์รวมแนวพทุ ธ, พิมพค์ ร้ังท่ี ๑๐, (กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,๒๕๔๙). ๒๓พระธรรมปิฎก ป.อ. ปยตโฺ ต,วิธีคดิ ตามหลกั พุทธธรรม, (กรุงเทพฯ: สยาม,๒๕๔๒).

๓๐ ๑. วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย คือพิจารณาปรากฏการณ์ท่ีเป็นผลให้รู้จักสภาวะตามที่มันเป็นจริง หรอื พจิ ารณาปญั หาคน้ หาหนทางแก้ไขด้วยการสืบสาวหาเหตุและปัจจัยต่างๆที่สัมพันธ์ส่งผลสืบทอดกันมาจะ เรียกว่า วิธีคิดแบบอิทัปปัจจยตา หรือวิธีคิดตาม หลักปฏิจจสมุปบาท ก็ได้ในทางปฏิบัติอาจแยกวิธีคิดนี้ได้ ๒ อยา่ งคอื ๑.๑ คดิ แบบปัจจยั สมั พันธ์ คอื เมือ่ เหตกุ ารณ์หรอื เร่ืองที่พิจารณาอย่างหนึ่งอย่างใดก็มองหย่ัง ยอ้ นและสืบสาวชักโยงออกไปถึงปจั จยั ตา่ งๆทง้ั หลายทีเ่ ขา้ มาสมั พนั ธ์นนั้ ก่อใหเ้ กิดผลหรือปรากฏการณ์นั้นๆข้ึน เช่นที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนบ่อยๆให้พระสาวกพิจารณาว่า “เม่ือสิ่งน้ันมี ส่ิงน้ีจึงมี เพราะส่ิงนั้นเกิดขึ้นสิ่งน้ีจึง เกดิ ขน้ึ ฯลฯ” ๑.๒ คดิ แบบสอบสวนหรือตงั้ คาถาม คือเมอ่ื ประสบพบเห็นสิ่งใดๆทีค่ วรพิจารณาก็คอยตง้ั คาถามแก่ตนว่าทาไมเพราะอะไรเช่นที่พระพุทธเจ้าทรงต้ังปัญหาถามพระองค์เองก่อนตรัสรู้ว่าตัณหาเกิดข้ึน เพราะอะไรเป็นปัจจยั ให้เกดิ ตัณหาเปน็ ต้นหรือคดิ สบื สาวหาสาเหตุจติ ใจต่อไป ๒. วิธีคิดแบบแยกแยะองค์ประกอบ หรือกระจายเนื้อหาเป็นวิธีคิดสาคัญอีกแบบหนึ่งที่มุ่งเพื่อเข้าใจ สิ่งต่างๆตามสภาวะของมันตามธรรมดาสิ่งทั้งหลายก็ดีปรากฏการณ์ต่างๆก็ดีเรื่องราวต่างๆ ท่ีอุบัติข้ึนก็ดีเกิด จากส่วนปะกอบย่อยๆ มารวมกันเข้าเมื่อแยกแยะกระจายออกไปให้เห็นองค์ประกอบย่อยต่างๆ ได้แล้วจึงจะ รู้จักส่ิงน้ันเร่ืองราวนั้นๆ ได้ถูกต้องแท้จริงจึงจับจุดที่เป็นปัญหาได้และจึงจะแก้ปัญหาได้ตัวอย่างของการคิด แบบน้ีเช่นท่ีพระพทุ ธศาสนาแยกแยะชีวติ ออกเป็นสว่ นประกอบย่อยต่างๆเช่นเปน็ ขนั ธ์ ๕ เปน็ ตน้ ๓. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์ หรือวิธีคิดแบบรู้เท่าทันธรรมดา คือมองเหตุการณ์สถานการณ์ความ เป็นไปของสิ่งท้ังหลายอย่างรู้เข้าใจธรรมดาของมัน ซ่ึงจะต้องเป็นไปอย่างนั้นในฐานะที่มันเป็นสิ่งซึ่งเกิดจาก เหตปุ ัจจัยตา่ งๆ ปรงุ แตง่ ข้ึน จงึ จะตอ้ งเป็นไปตามเหตุปัจจัยเหล่าน้ันกล่าวคือการท่ีมันเกิดขึ้นแล้วจะต้องดับไป ไมเ่ ทย่ี ง ไม่คงท่ี ไมค่ งอยู่ตลอดไป มภี าวะท่ถี ูกปจั จัยต่างๆ ท่ขี ดั แย้งบีบคั้นได้ไมม่ ีอยู่และไม่สามารถดารงอยู่โดย ไตรลักษณ์วธิ คี ดิ แบบนที้ ีถ่ กู ตอ้ งดาเนินไปให้ครบ ๒ ข้ันตอนคอื ๓.๑ ขัน้ รเู้ ท่าทนั และยอมรับความจริง เปน็ ขน้ั วางใจวางทา่ ทีต่อสงิ่ ท้งั หลายโดยสอดคล้องกบั ความเป็นจริงของธรรมชาติ เปน็ ท่าทแี ห่งปัญญา เช่นเมอื่ ประสบการณท์ ไี่ ม่ปรารถนาข้ึนตั้งขึ้นสานึกขึ้นในเวลา น้นั ว่าเราจะมองตามความเป็นจริง ไม่มองดว้ ยตามความอยากของเราที่อยากให้เป็นหรืออยากไม่ให้เป็น รู้ว่าสิ่ง นั้นเปน็ อย่างนัน้ ตามเหตปุ จั จยั ของมันเปล้อื งตัวอสิ ระได้ไมเ่ อาตวั ไปให้ถูกกดถูกบบี ๓.๒ ขั้นแก้ไขและทาการไปตามเหตุปัจจยั เปน็ ข้ันปฏบิ ตั ติ อ่ ส่งิ ท้งั หลายโดยสอดคลอ้ งกบั ความเป็นจริงของธรรมชาติเป็นทาทีแห่งปัญญา คือรู้ว่าสิ่งท้ังหลายจะเป็นอย่างไรก็ย่อมเป็นไปตามเหตุปัจจัย ไม่ใช่ช้นิ ตอ่ ความอยากตามปรารถนาของเราหรือใครๆ เมื่อเราต้องการให้มันเป็นอย่างนั้นก็ต้องทาที่เหตุปัจจัย ใหไ้ ด้เปน็ อยา่ งนั้นมันก็ตอ้ งเป็นอย่างน้ันถ้าเหตุปัจจัยไม่พร้อมที่จะให้เป็นมันก็ไม่เป็นแล้วก็รู้และแก้ไขกันท่ีเหตุ ปัจจัยนั้นแหละไม่ใช่แก้ด้วยความอยากเมื่อปฏิบัติได้อย่างน้ีก็ดารงตนอยู่เป็นอิสระอยู่อย่างอิสระทาการได้ดี ท่สี ุดพร้อมท้งั ไม่มคี วามทุกข์ ๔. วิธีคิดแบบอริยสัจจ์ หรือวิธีคิดแบบแก้ปัญหา เรียกตามโวหารทางธรรมได้ว่าวิธีแห่งความดับทุกข์ เพราะสามารถขยายให้ครอบคลุมวธิ คี ิดแบบอื่นๆ ไดท้ ัง้ หมดทง้ั น้ีอาจจัดวางเปน็ ๔ ขน้ั ตอนได้ดังนี้ ๔.๑ ขน้ั ทุกข์ คือสภาพปัญหาความคับข้อง ติดขัดกดกันบีบคั้นบกพร่องท่ีเกิดแก่ชีวิตหรือคน ท่ีได้ประสบให้กาหนดรู้จักแจกแจงแถลงปัญหาทาความเข้าใจและขอบเขตของปัญหาให้เข้าใจชัดเจนว่าเป็น อะไรคืออะไรเป็นท่ีตรงไหนเหมือนแพทย์ตรวจดูอาการของโรคดูความผิดปกติของร่างกายวินิจฉัยให้รู้ว่าเป็น อะไรทีต่ รงไหนรู้เข้าใจโรคและร่างกายเฉพาะอยา่ งย่ิงส่วนซ่งึ เป็นทตี่ ง้ั ของโรคให้ชดั เจน

๓๑ ๔.๒ ขนั้ สมทุ ัย คือเหตเุ กิดแหง่ ทุกข์ไดแ้ ก่เหตุปจั จยั ต่างๆที่เขา้ สัมพนั ธข์ ัดแยง้ ส่งผลสืบทอดกัน มาจนปรากฏเป็นสภาพบบี ค้นั กดดนั คับข้องติดขัดอึดอัดบกพร่องในรูปต่างๆกันไปขั้นน้ีเป็นข้ันสืบสวนเหตุแห่ง ทกุ ขท์ จ่ี ะพึงละ คือวเิ คราะหค์ น้ หามูลเหตหุ รือต้นตอของปญั หาซ่ึงจะแก้ไขกาจัดหรือทาให้หมดส้ินไปตามาปกติ ข้ันนี้ตรงกับวิธีคิดแบบท่ี ๑ คือวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัยน่ันเองเหมือนแพทย์ค้นหาสมมติฐานของโรคหา สาเหตุของโรคซ่งึ จะนาไปสู่การรกั ษาทถ่ี ูกต้องตรงจุดมิใชร่ กั ษาแตเ่ พียงอาการ ๔.๓ ข้ันนโิ รธ คือความดับทุกข์ความพ้นทุกข์ภาวะไร้ทุกข์ภาวะพ้นปัญหาหมดหรือปราศจาก ปัญหาซึ่งมุ่งหมายว่าคืออะไรเป็นไปได้จริงหรือไม่อย่างไรมีความชัดเจนเกี่ยวกับเปูาหมายและหลักการท่ัวไป หรือตัวกระบวนการของการแก้ปัญหาก่อนท่ีจะวางรายละเอียดและกลวิธีปลีกย่อยในขั้นดาเนินการเหมือน แพทย์รูว้ ่าโรคนน้ั ๆ รกั ษาได้มองเหน็ กระบวนการของโรคชดั เจนว่าจะหายไปได้อยา่ งไร ๔.๔ ขัน้ มรรค คือทางดบั ทุกขข์ อ้ ปฏบิ ัตใิ หถ้ ึงความดบั ทกุ ข์หรือวิธีแก้ไขปัญหาได้แก่วิธีการดับ ทุกข์ ที่จะต้องปฏิบัติคือเมื่อมีความชัดเจนเก่ียวกับเปูาหมายและหลักการท่ัวไปแล้วก็กาหนดวางวิธีการ แผนการและรายการที่จะต้องทาในการที่จะแก้ไขการจัดสาเหตุของปัญหาให้สาเร็จโดยสอดคล้องกับเปูาหมาย และหลกั การทั่วไปน้ันเพื่อเตรยี มแก้ไขปัญหาต่อไป ๕. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ หรือคิดตามหลักการและความมุ่งหมาย เป็นวิธีคิดในระดับ ปฏิบัติการหรือลงมือทาคือการที่จะกระทาการต่างๆ โดยรู้และเข้าใจถึงหลักการและความมุ่งหมายของเรื่อง นั้นๆจะดาเนนิ ไปเพื่อจดุ หมายอะไร เพ่ือให้เป็นการปฏิบัติที่ได้ผลตามความมุ่งหมายนั้นไม่กลายเป็นการปฏิบัติ ที่คลาดเคล่ือนเลื่อนลอยงมงายเช่น เมื่อจะลงมือทางานอะไรนั้นก็ตรวจสอบตนเองให้ชัดเจนว่าเข้าใจหลักการ และความมุ่งหมายของงานน้ันดแี ล้วหรือไมโ่ ดยอาจคอยตั้งคาถามว่าอนั นี้เพื่ออะไรๆเปน็ ต้น ๖. วธิ คี ดิ แบบคณุ โทษและทางออก คือมองใหค้ รบท้งั ข้อดีข้อเสียและทางแก้ไขหาทางออกให้หลุดรอด ปลอดพ้นจากข้อบกพร้องต่างๆ เป็นวิธีมองส่ิงท้ังหลายตามความเป็นจริงอีกแบบหนึ่งเน้นการศึกษาและ ยอมรบั ความจริงตามทสี่ ่งิ นัน้ ๆเปน็ อยู่ทกุ แง่ทุกมุมเพ่ือใหร้ ้แู ละเขา้ ใจถูกต้องตามความเป็นจริงท้ังด้านดีด้านเสีย จุดอ่อนจุดแข็งศัพท์ทางธรรมเรียกว่าวิธีคิดโดยรู้ อัสสาทะอาทีนวะ และ นิสสรณะ วิธีคิดแบบน้ีพระพุทธเจ้า ทรงเนน้ มาก เพราะคนทง้ั หลายมักจะตนื่ ตามกันและเอนเอียงง่าย พอจับได้อะไรดีก็มองเห็นแต่ดีไปหมดพอจับ ได้ว่าอะไรไม่ดีก็เห็นแต่เสียไปหมด ทาให้พลาดทั้งความรู้จริงและการปฏิบัติท่ีถูกต้องอันท่ีจริงนั้นปกติของสิ่ง ท้ังหลาย ย่อมมีทั้งส่วนดีส่วนเสียจุดอ่อนจุดแข็งเป็นต้น อาจดีมากหากอยู่ในกรณีแวดล้อมอย่างหน่ึงหรือ อาจจะดีน้อยหากได้อยู่ในกรณีแวดล้อมหรือเงื่อนไขอีกอย่างหน่ึงเมื่อได้ตระหนักและยอมรับถึงข้อดีข้อเสีย จุดอ่อนจุดแขง็ แลว้ เรากจ็ ะไดร้ ะมัดระวงั ปิดกั้นทางเสียหรือหาสงิ่ ชดเชยทดแทนให้ประโยชน์ทีไ่ ดส้ มบรู ณต์ ่อไป ๗. วธิ คี ิดแบบรู้คุณค่าแท้-คุณค่าเทียม หรือการพิจารณาเก่ียวกับปฏิเสวนา คือการใช้สอยหรือบริโภค เป็นวิธีคิดแบบสกัดหรือบรรเทาตัณหาตัดทางไม่ให้กิเลสเข้ามาครอบงาจิตใจแล้วชักจูงพฤติกรรมต่อไปวิธีคิด แบบน้ีใช้มากในชีวิตประจาวัน เพราะเก่ียวข้องกับการบริโภคใช้สอยปัจจัยสี่ และวัสดุอุปกรณ์อานวยความ สะดวกต่างๆทางเทคโนโลยีมีหลกั การโดยย่อวา่ คนเราเข้าไปเก่ียวขอ้ งกบั ส่ิงตา่ งๆเพราะเรามีความต้องการส่ิงใด ก็สามารถสนองความต้องการของเราได้ ส่ิงน้ันก็มีประโยชน์มีคุณคาแก่เรา คุณคานี้จาแนกได้เป็น ๒ ประเภท ตามชนดิ ของความต้องการคอื ๗.๑ คุณค่าแท้ หมายถึง ความหมายคุณค่าหรือประโยชน์ของสิ่งท่ีสนองความต้องการของ ชีวิตโดยตรง มนุษย์นามาใช้ในการแก้ปัญหาของตนเพื่อประโยชน์สุขทั้งของตนเองและผู้อื่น คุณค่าน้ีอาศัย ปัญญาเป็นเครื่องตีค่าหรือวัดราคา จะเรียกว่าคุณค่าท่ีสนองปัญญาก็ได้ เช่นอาหารมีคุณค่าเป็นประโยชน์ สาหรับหลอ่ เลยี้ งร่างกายใหด้ ารงชีวิตอยู่ ตอ่ ไปได้มีสขุ ภาพดีมกี าลงั เก้อื กลู แก่การปฏิบัติหน้าท่เี ปน็ ตน้

๓๒ ๗.๒ คุณค่าพอกเสริมหรือคุณค่าเทียม หมายถึง ความหมายคุณค่าหรือประโยชน์ของส่ิงที่ มนุษย์ใหแ้ กส่ งิ่ นั้น เพอื่ ปรนเปรอ การเสพเสวยเวทนา เพื่อเสริมความมั่งคั่งยิ่งใหญ่ของตัวตนท่ียึดถือไว้ คุณค่า น้ีอาศัยตัณหาเป็นเคร่ืองตีค่าหรือวัดราคาจะเรียกว่าคุณค่าที่สนองตัณหาก็ได้ เช่น อาหารมีคุณค่าอยู่ท่ีความ เอรด็ อร่อยเสรมิ ความสนกุ สนาน หรือความโก้หรูหราของรถยนต์ มีราคาความสวยงามเป็นเคร่ืองแสดงหรือวัด ฐานะเป็นต้น วิธีคิดแบบน้ีมุ่งให้เข้าใจและเลือกเสพคุณค่าแท้ท่ีเป็นประโยชน์ต่อชีวิตอย่างแท้จริง เพ่ือ ประโยชน์สุขท้ังแก่ตนเองและผู้อ่ืนคุณค่าแท้นี้นอกจากจะเป็นประโยชน์แก่ชีวิตอย่างแท้จริงแล้ว ยังเก้ือกูลต่อ ความเจรญิ งอกงามของกศุ ลธรรมเช่นความมีสติทาใหพ้ น้ จากความเปน็ ทาสของวตั ถุเปน็ ตน้ ๘. วิธีคดิ แบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม เรียกงา่ ยๆว่าวิธคี ดิ แบบเร้ากศุ ล หรือคิดแบบกุศลภาวนา เป็นวิธี คิดในแนวสกัดกั้นหรือบรรเทาและขัดเกลาตัณหาส่งเสริมความเจริญงอกงามแห่งกุศลธรรมและสร้างเสริม สมั มาทฏิ ฐทิ ่ีเปน็ โลกยี ะ หลักการทั่วไปของวิธีคิดน้ีมีอยู่ว่า ประสบการณ์คือส่ิงท่ีได้ประสบหรือได้รับรู้อย่างเดียวกับบุคคลที่ ประสบหรอื รับรู้ตา่ งกันอาจมองเห็นและนึกปรงุ แต่งไปคนละอย่าง สุดแต่โครงสร้างแนวทางความเคยชินท่ีเป็น เคร่ืองปรุงของจิตคือสังขารท่ีผู้นั้นได้สั่งสมไว้หรือก็คือสุดแต่การทาใจในขณะน้ันๆคนหนึ่งมองแล้วคิดปรุงแต่ง ไปในทางดีงาม แต่อีกคนหน่ึงมองแล้วคิดปรุงแต่งไปในทางที่ไม่ดีไม่งาม เป็นโทษเป็นอกุศลรวมถึงเรื่องของ เวลา คราวหนง่ึ คิดดคี ราวหนง่ึ คดิ ร้ายการทาใจท่ชี ว่ ยตัง้ ตน้ และชักนาความคิดให้เป็นไปในทางท่ีดีงาม และเป็น ประโยชน์เรียกวา่ วธิ คี ดิ แบบอบุ ายปลุกเร้าคุณธรรม วิธีคิดในแบบน้ีมีความสาคัญในแง่ที่ทาให้เกิดความคิดและ การกระทาที่ดีงามเป็นประโยชน์ในขณะน้ันๆ และช่วยแก้ไขนิสัยความเคยชินร้ายๆของจิตท่ีได้สั่งสมไว้แต่เดิม พร้อมกบั สร้างนิสยั ความเคยชินใหม่ท่ีดีงามใหแ้ กจ่ ติ ไปในเวลาเดียวกนั นอกจากหลักการข้างต้นแลว้ ควรย้าถึงองค์ประกอบสาคัญที่คอยพยุงความคิดให้อยู่ในโยนิโสมนสิการ อันได้แก่สตซิ ึ่งช่วยยับยง้ั ความคิดท่หี ลงลอยไปเป็น อโยนโิ สมนสิการ อนงึ่ โยนโิ สมนสิการแบบต่างๆ สรุปไดเ้ ป็น ๒ คอื โยนิโสมนสิการเพื่อความรู้ตามสภาวะซึ่งมีลักษณะท่ี แนน่ อนเป็นอยา่ งเดียวและโยนิโสมนสกิ ารเพื่อเสรมิ สร้างกุศลธรรมซ่ึงมีลักษณะผูกผันไปได้หลากหลายน้ันมีจุด แยกอยู่ท่ีขณะตั้งต้นความคิดและสติอาจมีบทบาทสาคัญในการเลือกทางแยกที่จุดตั้งระหว่า งโยนิโสมนสิการ แบบตา่ งๆนีเ้ ช่นเดยี วกบั ทสี่ ติสามารถเลอื กระหวา่ งโยนโิ สมนสิการ กบั อโยนิโสมนสิการ ๙. วิธคี ิดแบบเป็นอยใู่ นขณะปจั จุบัน คือ วธิ ีคดิ แบบมปี ัจจุบนั ธรรมดาเป็นอารมณ์ความจริงวิธีคิดแบบ ที่๙นี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของวิธีคิดแบบอื่นๆท่ีแยกแสดงออกมาเป็นอีกข้อหน่ึงต่างหากนั้นเป็นเพราะมีแง่ท่ีควร ทาความเขา้ ใจเปน็ พิเศษและเปน็ วธิ ีคดิ ทม่ี ีความสาคัญโดยลาพงั ตวั ของมนั เอง ข้อที่จะต้องทาความเข้าใจเป็นพิเศษน้ันคือการที่ผู้เข้าใจผิดเก่ียวกับความหมายของการเป็นอยู่ใน ปัจจุบันโดยเข้าใจไปว่าพุทธ ศาส นาสอนให้คิดถึงสิ่งท่ีอยู่เฉพาะหน้ ากาลังเป็นไปในปัจจุบันเท่านั้นไม่คิด พจิ ารณาเกยี่ วกับอดตี หรอื อนาคตตลอดจนไม่คิดเตรยี มการวางแผนเพ่ือกาลภายหนา้ ลักษณะความคิดชนิดท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันเป็นการคิดที่อยู่ในแนวทางของความรู้หรือคิดด้วยอานาจ ปญั ญาเป็นการคิดทสี่ ามารถรวมเอาเร่ืองที่เป็นอย่ใู นขณะนเี้ ร่ืองทลี่ ้วงผา่ นมาแลว้ และเรอื่ งของกาลภายหน้าเข้า ในการเป็นอยู่ในปัจจบุ ันเช่นการคิดพิจารณาเก่ียวกับเรื่องในอดีตถือเป็นการคิดที่นามาใช้ในบทเรียนก่อให้เกิด ความไมป่ ระมาทระมดั ระวงั ปูองกนั ภัยในอนาคตเป็นตน้ คาว่าปัจจุบันในทางธรรมมิใช่เพ่งที่เหตุการณ์ที่กาลังเกิดข้ึน แต่หมายถึงสิ่งที่เก่ียวช่องในขณะนั้นๆ เป็นสาคัญดังน้ันสิ่งท่ีตามความหมายของคนทั่วไปไม่ว่าจะเป็นอดีตหรืออนาคตก็อาจกลายเป็นปัจจุบันตาม ความหมายของนามธรรมได้สรุปง่ายๆว่าความเป็นปัจจุบันกาหนดเอาท่ีความเก่ียวข้องต้องรู้ต้องทาเป็นสาคัญ สิง่ ที่เป็นปัจจบุ นั คลมุ ถงึ เรอ่ื งราวทง้ั หลายท่เี ช่ือมโยงตอ่ กนั มา

๓๓ วิธีคิดแบบน้ีมุ่งท่ีจะช่วยแบ่งแยกความคิดถึงอดีตและอนาคตตามแนวทางของตัณหาที่เพ้อฝันเลื่อน ลอยผลาญเวลาและคุณภาพของจิตใจให้สูญเปล่าการคิดท่ีถูกวิธีจะช่วยให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติในทาง ปัจจบุ ันใหถ้ ูกต้องได้ผลดียง่ิ ขน้ึ เป็นการสนับสนนุ ใหม้ กี ารตระเตรียมและวางแผนในกจิ การลว่ งหน้า ๑๐. วิธีคิดแบบวิภัชชวาท คาว่าวิ ภัชชวาท แปลว่า การพูดแยกแยะจาแนกแจกแจงแถลงความแบบ วเิ คราะหเ์ ปน็ การมองและแสดงความจริงโดยแยกแยะออกให้เห็นแต่ละแง่แตล่ ะด้านให้ครบทุกด้านไม่ใช้จับเอา บางแง่ข้ึนมาวินิจฉัยตีคลุมลงไปอย่างนั้นหมด ความจริงวิภัชชวาท ไม่ใช้วิธีคิดโดยตรงแต่เป็นวิธีพูดเป็นกรรม ใกล้เคียงกันที่สุดก่อนจะพูดก็ต้องคิดก่อนมีความหมายลึกซ้ึงเล็งไปถึงระบบความคิดทั้งหมดมีความหมาย ครอบคลมุ วิธีคิดทไ่ี ด้กล่าวมาแล้วขา้ งตน้ หลายๆอยา่ ง วิธีคิดแบบน้ีทาให้ความคิดและการวินิจฉัยเรื่องราวต่างๆ ชัดเจนตรงไปตรงมาตามความเป็นจริงเท่า ความจรงิ พอดกี ับความจริงเพ่อื ให้เข้าใจความหมายของวิภัชชวาทชัดเจนย่ิงขึ้นขอจาแนกวิธีคิดแบบวิภัชชวาท ออกไปในลักษณะต่างๆดังนี้ ๑๐.๑ จาแนกโดยแงด่ า้ นของความจรงิ แบง่ ได้ ๒ อยา่ งคือ ๑๐.๑.๑ จาแนกตามแง่ด้านตา่ งๆตามทีเ่ ปน็ อยูจ่ ริงของส่ิงนั้นๆคือของความจริงให้ ตรงตามทเี่ ปน็ อยู่ ในแงน่ นั้ ดา้ นนั้นไมใช้จับเอาความจริงเพยี งแงห่ นึง่ มาตีคลมุ เป็นอย่างน้นั ไปหมด ๑๐.๑.๒ จาแนกโดยมองหรือแสดงความจริงของสงิ่ นนั้ ๆให้ครบทุกแง่ทุกด้านคือไม่ มองแคบๆไม่ติดอยู่กับส่วนเดียวแง่เดียวของส่ิงน้ันแต่มองให้หลายแง่หลายด้านเช่นคนๆหน่ึงอาจจะดีในแง่นั้น แตไ่ ม่ดีในแง่นี้การคิดจาแนกในแงน่ เ้ี ป็นสว่ นเสริมกันกับข้อแรกให้ได้ผลสมบูรณ์และมีผลรวมไปถึงการเข้าใจใน ภาวะที่องค์ประกอบต่างๆมารวมกันโดยครบถ้วนจึงเกิดข้ึนเป็นสิ่งนั้นๆเป็นการเห็นท่ีกว้างไปถึงลักษณะด้าน ต่างๆและองคป์ ระกอบต่างๆของมนั ๑๐.๒ จาแนกโดยส่วนประกอบคอื วเิ คราะหแ์ ยกแยะให้รู้วา่ สิ่งน้ันเกดิ ขนึ้ จากองค์ประกอบ ย่อยๆตา่ งๆมาชุมนมุ กนั เข้าไม่คิดอยูภ่ ายนอกหรอื ถูกลวง โดยภาพรวมของส่ิงน้ันๆเช่นการแยกแยะคนออกเป็น นามและรปู เปน็ ขันธ์ ๕ แบ่งซอยออกจนเหน็ ภาวะท่ไี ม่เป็นอัตตา ๑๐.๓ จาแนกโดยลาดับขณะคือแยกแยะวเิ คราะหป์ รากฏการณ์ตามลาดับแหง่ เหตุปัจจัย ให้ มองเหน็ ตวั เหตุปัจจยั ทีแ่ ท้จรงิ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในแต่ละขณะ เป็นวิธีที่ใช้มากในฝุายอภิธรรมตัวอย่างเช่น โจรปล้นบ้าน และฆ่าเจ้าทรัพย์ตาย หากคิดจาแนกโดยลาดับขณะแล้วจะเห็นว่า โจรโลภอยากได้ทรัพย์แต่เจ้าทรัพย์เป็น อปุ สรรคต่อการใชท้ รัพย์นนั้ ความโลภทรัพย์จึงเปน็ เหตใุ หโ้ จรมโี ทสะตอ่ เจา้ ทรัพย์ โจรจึงฆ่าเจ้าทรัพย์ ตัวเหตุท่ี แท้ของการฆ่าคือโทสะไม่ใช้โลภะ โลภะเป็นเพียงเหตุให้ลักทรัพย์และเป็นปัจจัยให้โทสะเกิดเท่าน้ันในภาษา สามัญจะพดู วา่ โจรฆา่ คนเพราะความโลภ แตถ่ ้าพจิ ารณาตามขบวนธรรมที่เป็นไปตามลาดับขณะความโลภเป็น เพยี งตวั การเรมิ่ ตน้ ในเรอื่ งนัน้ เทา่ นัน้ ๑๐.๔ จาแนกโดยความสมั พันธ์แห่งเหตปุ จั จัยคือสืบสาวหาเหตปุ จั จัยต่างๆ ท่สี ัมพนั ธ์สืบทอด กันมาของสิ่งหรอื ปรากฏการณ์ตา่ งๆทาให้มองเหน็ ความจริงทีส่ ่ิงท้ังหลายไม่ได้ตั้งอยู่ลอยๆ แต่เกิดขึ้นโดยอาศัย เหตุแหง่ ปัจจัยการคดิ จาแนกในแงน่ ตี้ รงกบั วธิ ีคิดแบบท่ี ๑ คือ วิธีคิดแบบสืบสาวหาเหตุปัจจัย ตามแนวคิดน้ีพระพุทธเจ้า จึงทรงแสดงธรรมอย่างที่เรียกว่าอิทัปปัจจยตา หรือปฏิจจสมุปบาท เรียก อกี อยา่ งหนึ่งวา่ มชั ฌนธรรมเทศนา หรือวีคิดแบบมัชเณนธรรม การจาแนกโดยสมั พันธแ์ หง่ เหตุปจั จัย นอกจากช่วยไมใ่ ห้เผลอมองสิง่ ต่างๆอย่างโดดเดย่ี วขาดลอยแล้ว ยงั ครอบคลมุ ไปถึงการทจ่ี ะให้รจู้ กั กบั เหตุปัจจัยไดต้ รงกบผลของมันความขดั สนทีม่ กั เกิดขึ้นแก่คนท่ัวไปอย่าง ๓ อย่างคอื ๑๐.๔.๑ การนาเอาเรื่องราวอืน่ ๆนอกกรณีมาปะปนสบั สนกบั เหตปุ จั จยั เฉพาะกรณี

๓๔ วิธีคิดแบบน้ีช่วยให้แยกเอาเรื่องราวหรือปัจจัยอ่ืนๆท่ีไม่เก่ียวข้องออกไปจากเหตุปัจจัยที่แท้จริงรวมถึงการจับ ผลใหต้ รงกับเหตุด้วย ๑๐.๔.๒ ความไมต่ ระหนกั ถึงภาวะทปี่ รากฏการณ์ หรอื ผลท่คี ลา้ ยกันซงึ่ อาจเกิดจาก เหตุปัจจัยท่ีต่างกันหรืออย่างเดียวกันเช่นการได้ทรัพย์มาอาจเกิดจากขยันทาการงานจากการทาให้ผู้ให้ทรัพย์ พอใจหรือจากการลักขโมยก็ไดเ้ ปน็ ตน้ ๑๐.๔.๓ การไม่ตระหนักถึงเหตุปัจจัยส่วนพิเศษนอกเหนอื จากเหตุปจั จัยที่ เหมอื นกนั คอื คนมักมองเฉพาะแต่เหตุปัจจัยบางอย่างที่ตนม่ันหมายว่าจะให้เกิดผลอย่างนั้นๆครั้งต่างบุคคลทา เหตุปัจจัยบางอย่างที่ตนม่ันหมายว่าจะให้เกิดผลอย่างน้ันๆคร้ังต่างบุคคลทาเหตุปัจจัยอย่างเดียวกันแล้วคน หน่งึ ได้รับผลท่ตี ้องการ อีกคนหนงึ่ ไมไ่ ดร้ บั ผลนนั้ ก็เหน็ วา่ เหตปุ จั จยั น้นั ไมไ่ ด้ผลจรงิ ๑๐.๕ จาแนกโดยเง่ือนไขคือมองโดยพิจารณาเง่ือนไขประกอบด้วย เช่น ถ้าถามว่าบุคคลนี้ ควรคบหรือไมถ่ ้าพระภกิ ษเุ ปน็ ผูต้ อบกอ็ าจกล่าวว่าถา้ คบแล้วอกศุ ลธรรมเจริญกุศลธรรมเส่ือมก็ไม่ควรคบแต่ถ้า คบแล้ว อกุศลเส่อื มกุศลธรรมเจรญิ กค็ วรคบการตอบวิภชั ชวาทจะวินิจฉยั โดยพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ คอื ๑๐.๕.๑ ความโน้มเอียงความพรอ้ มนสิ ัยความเคยชินตา่ งๆซง่ึ เดก็ ไดส้ ง่ั สมไวโ้ ดยการ อบรมเลีย้ งดแู ละอทิ ธิพลทางวฒั นธรรมเป็นตน้ เท่าท่ีอยูใ่ นขณะน้ัน (พูดด้วยภาษาทางธรรมว่าสังขารที่เป็นกุศล และอกุศลคือแนวความคิดปรุงแต่งท่ีได้สะสมจนกลายเป็นความเคยชินเอาไว้) อาจเรียกง่ายๆว่าพื้นของเด็กที่ จะแลน่ ไป ๑๐.๕.๒ โยนโิ สมนสิการคือเดก็ รู้จกั ใชโ้ ยนโิ สมนสกิ ารโดยปกติหรือไม่และแคไ่ หน เพียงไร ๑๐.๕.๓ กัลยาณมิตรคือบุคคลหรืออุปกรณ์ท่ีจะช่วยชี้แนะแนวทางความคิดความ เข้าใจอย่างถูกต้องต่อสิ่งที่พบเห็นหรือท่ีจะชักนาให้เด็กเกิดโยนิโสมนสิการอย่างได้ผลหรือไม่ไม่ว่าจะเป็น กลั ยาณมติ รในครอบครวั ในส่อื มวลชนน้นั ๆหรือทวั่ ๆไปในสงั คมก็ตาม ๑๐.๕.๔ ประสบการณ์คือส่ิงที่ปล่อยให้แพร่หรือให้เด็กพบเห็นนั้นมีลักษณะหรือ คุณสมบตั ิท่เี รา้ หรือยัว่ ยเุ ป็นต้นรนุ แรงมากนอ้ ยถงึ ระดบั ใดทง้ั ๔ ขอ้ นเ้ี ป็นตวั แปรได้ทั้งนั้นแต่ในกรณีนี้ยกเอาข้อ ๔ ขึ้นตั้งเป็นตัวยืนคาตอบจะเป็นไปได้โดยสัดส่วนซ่ึงตอบได้เอง เช่น ถ้าเด็กมีโยนิโสมนสิการดีจริงๆกากับอยู่ หรือพ้ืนด้านแนวความคิดปรุงแต่งที่เป็นกุศลซ่ึงได้สั่งสมอบรมกันไว้โดยครอบครัวหรือวัฒนธรรมมีมากและ เข้มแข็งจริงๆแม้ว่าส่ิงอันหวังได้แต่ถ้าพ้ืนความโน้มเอียงทางความคิดกุศลก็ไม่ได้สั่งสอนอบรมกันไว้โยนิโ ส มนสิการกไ็ มเ่ คยฝึกกันไวแ้ ลว้ ยังไมจ่ ัดเตรียมให้มีกลั ยาณมิตรไว้ด้วยการปลอ่ ยนั้นก็มีความหมายเท่ากันเป็นการ สรา้ งเสรมิ สนบั สนนุ ปญั หาและเปน็ การตงั้ ใจทาลายเด็กโดยใช้ยาพิษเบอ่ื เสยี น่ันเอง ๑๐.๖ วภิ ชั ชวาทในฐานะวธิ ตี อบปญั หาอยา่ งหนึง่ วิภชั ชวาทปรากฏอยู่บ่อยๆในรปู ของการ ตอบปัญหาและท่านจัดเป็นวิธีตอบปัญหาอย่างหนึ่งในบรรดาวิธีตอบปัญหา ๔อย่างมีช่ือเฉพาะเรียกว่าวิภัช ชวาทพยากรณ์ซ่ึงก็คือการนาเอาวิภัชชวาทไปใช่ในการตอบปัญหาหรือตอบปัญหาตามแบบวิภัชชวาทนั่นเอง เพื่อความเขา้ ใจชดั เจนในเร่ืองน้ถี งึ ทราบวีตอบปญั หา (ปญั หาพยากรณ์) ๔ อยา่ งคอื ๑) เอกงั สพยากรณ์การตอบอยา่ งเดยี วเดด็ ขาด ๒) วภิ ัชชพยากรณ์การแยกแยะตอบ ๓) ปฏปิ จฉาพยากรณก์ ารตอบโดยย้อนถาม ๔) ฐปนะการยงั้ หรอื หยดุ พบั ปญั หาเสยี ไม่ตอบ วิธีตอบ ๔ อย่างน้ีแบ่งตามลักษณะของปัญหาดังน้ันปัญหาจึงแบ่งได้เป็น ๔ ประเภทตรงกับวิธีตอบ เหน็ ลาน้นั จะยกตวั อยา่ งปญั หาตามทแ่ี สดงไวใ้ นคมั ภรี ร์ ุน่ หลงั มาแสดงประกอบความเข้าใจดังนี้

๓๕ ๑) เอกงั สพยากรณยี ปัญหา ปัญหาที่ควรแยกแยะหรือจาแนกตอบ เช่น ถามว่าส่ิงที่ไม่เที่ยงได้แก่จักษุ ใชไ่ หมพงึ ตอบได้ทเี ดียวแนน่ อนลงไปว่าใช่ ๒) วภิ ชั ชพยากรณยี ปัญหา ปัญหาทค่ี วรแยกแยะหรือจาแนกตอบ เชน่ ถามว่าส่งิ ท่ีไมเ่ ที่ยง ได้แก่ จักษุ ใชไ่ หมพึงแยกแยะตอบวา่ ไม่เฉพาะจักษุเท่านน้ั แม้ โสตะ ฆานะ เป็นต้นกไ็ มเ่ ทย่ี ง ๓) ปฏิปุจฉาพยากรณียปัญหา ปัญหาท่ีไม่ควรตอบโดยย้อนถาม เช่น ถามว่าจักษุฉันใด โสตะก็ฉัน น้นั โสตะฉันใดจกั ษกุ ฉ็ นั นนั้ ใช่ไหมพึงยอ้ นถามวา่ มุ่งความหมายแง่ใดถามใดหมายถึงแง่ใช้ดูหรือเห็นก็ไม่ใช้แต่ถ้า ม่งุ ความหมายแงว่ า่ ไมเ่ ท่ยี งกใ็ ช่ ๔) ฐปนียปัญหา ปัญหาท่ีพึงยับยั้งหรือพับเสียไม่ควรตอบ เช่น ถามว่าชีวะกับสรีระคือสิ่งเดียวกันใช่ ไหมพงึ ยบั ยัง้ ไม่ตอ้ งตอบ จากแนวคิดเกี่ยวกับวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการข้างต้นพอสรุปได้ว่า วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการมีวิธีคิด อยู่ ๑๐ วิธีคือ ๑) วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย ๒) วิธีคิดแบบแยกแยะองค์ประกอบ ๓) วิธีคิดแบบสามัญ ลักษณ์ ๔) วธิ ีคิดแบบอริยสจั จ์ ๕) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ ๖) วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก ๗) วิธีคิด แบบคณุ คาแทค้ ณุ คาเทียม ๘) วิธคี ดิ แบบอุบายปลกุ เร้าคุณธรรม ๙) วิธีคิดแบบเป็นอยู่ในขณะปัจจุบัน ๑๐) วิธี คิดแบบวิภชั ชวาท ๒.๕ รปู แบบและวธิ ีการสอนแบบโยนิโสมนสกิ าร สุมน อมรววิ ัฒน์๒๔ ทิศนา แขมมณ๒ี ๕ ไดเ้ สนอการสอนตามรปู แบบสร้างศรทั ธาและโยนิโสมนสิการ ไว้ ดังน้ี ๑. ขั้นนา-ขั้นเสริมสร้างศรัทธาตัวอย่างเทคนิคที่สามารถนามาใช้ได้ในข้ันตอนนี้ เช่น การจัดสภาพ บรรยากาศในชั้นเรยี นใหม้ ีลักษณะ ดังน้ี ๑.๑ จดั บรรยากาศในชัน้ เรยี นเพ่ือสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ๑.๑.๑ ตอ้ งมีความสงบ ๑.๑.๒ พยายามจัดให้นกั เรียนไดใ้ กล้ชดิ กับธรรมชาติ โดยเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นได้สัมผัสกับ ส่ิงแวดลอ้ มทเ่ี ป็นธรรมชาติ มีการใชแ้ หล่งวิทยาการในชมุ ชน ใหน้ ักเรยี นไดร้ ับประสบการณ์ตรง ๑.๑.๓ จัดสภาพในชั้นเรียนใหม้ คี วามแปลกใหมไ่ ม่จาเจ เช่น จดั การเรียนเปน็ กลุม่ บ้าง มีการ เปลีย่ นกลมุ่ เปลย่ี นที่นัง่ ๑.๑.๔ จดั บรเิ วณหอ้ งเรยี นและโรงเรียนให้สะอาดมีระเบียบและเรยี บง่ายอยเู่ สมอ ๑.๑.๕ สรา้ งบรรยากาศ สร้างความสนใจ ตั้งใจเรยี นเปน็ พ้ืนฐานให้นักเรียน เป็นบรรยากาศท่ี ชวนให้สบายใจ ไม่มีการข่มขู่บังคับ ห้ามพูด ห้ามแสดงความคิดเห็น ห้ามลุกจากท่ีน่ังแต่เน้นการสารวมกาย วาจา ใจ ฝกึ แผเ่ มตตา ฝกึ สมาธิอยา่ งงา่ ย ฝกึ ให้นักเรียนมสี ติอยูเ่ สมอ ใหร้ ตู้ ัวว่ากาลังทาอะไร พดู อะไร คดิ อะไร ๑.๒ สรา้ งสัมพนั ธภาพท่ดี ีระหว่างครูกบั ศิษย์ครูตอ้ งปฏิบตั ติ ัวเปน็ กัลยาณมติ รของศิษย์ คอื ๒๔ สุมน อมรววิ ฒั น์,กระบวนการเรยี นร้จู ากแหล่งเรยี นรู้ในชมุ ชนและธรรมชาต,ิ (กรงุ เทพมหานคร : สานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาต,ิ ๒๕๔๔). ๒๕ ทศิ นา แขมมณี, ศาสตรก์ ารสอน : องค์ความรู้เพ่ือการจดั การกระบวนการเรียนรู้ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ, พมิ พ์คร้งั ท่ี ๕, (กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย,๒๕๕๕).

๓๖ ต้องมีบุคลิกภาพสารวม นาเช่ือถือ ศรัทธา สง่า สะอาด แจ่มใส และมีความเช่ือมั่นในตัวเอง ต้องมีความรู้ มี คุณธรรม มีความเมตตา เอ้ืออาทร ทาให้ศิษย์มีความรู้สึกสบายใจที่จะเข้ามาหาและปรึกษา ครูส่ังสอนศิษย์ ด้วยความรกั และเปน็ ทีพ่ ึง่ ของศิษย์ได้อย่างแท้จริง ความเป็นกัลยาณมิตรของครู จะเป็นส่ิงกระตุ้นให้ศิษย์เกิด ฉันทะ และวริ ยิ ะ ในการฝึกหัดอบรมตนเอง ๑.๓ ครเู สนอสิง่ เรา้ และแรงจงู ใจใช้วธิ ตี รวจสอบความคิดและความสามารถของนกั เรยี นก่อน สอนแล้วแสดงผลการตรวจสอบให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างรวดเร็วที่สุด เพ่ือเป็นการเสริมแรงเร้าให้เกิดความ มานะ พากเพียร ฝกึ หดั อบรมตน ใช้สอ่ื สอน และกิจกรรมทีน่ าสนใจ ๒. ขนั้ สอน ๒.๑ ครเู สนอปัญหาทเี่ ปน็ สาระสาคญั ของบทเรยี นตวั อยา่ งเทคนคิ ที่สามารถนามาใชไ้ ด้ใน ขั้นตอนนี้ เชน่ ใช้วิธนี าเสนอท่หี ลากหลายและทา้ ทายความคดิ ๒.๒ ครแู นะแหล่งข้อมลู ความรู้ตวั อยา่ งเทคนคิ ท่ีสามารถนามาใช้ในขัน้ ตอนน้ี เช่น เตรยี ม รวบรวมข้อมลู เกยี่ วกับแหล่งงความรู้อย่างกว้างขวาง ๒.๓ ให้นกั เรยี นฝึกการรวบรวมขอ้ มูลตัวอยา่ งเทคนิคทสี่ ามารถนามาใชไ้ ด้ในข้นั ตอนน้ี เชน่ ฝกึ การทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ โดยใชท้ ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะทางสงั คม ๒.๔ ครูจดั กจิ กรรมเร้าใหน้ ักเรียนเกิดความคิดวธิ ีตา่ ง ๆตัวอยา่ งเทคนคิ ทส่ี ามารถนามาใช้ได้ ในขน้ั ตอนนี้ เช่น ใชค้ าถามอยา่ งเหมาะสมเพ่ือเร้าใหเ้ กิดความคิดแบบใดแบบหนึ่งต่อไปนี้ เช่น - คิดแบบสืบสาวเหตปุ จั จัย - คดิ แบบแยกแยะองคป์ ระกอบ - คดิ แบบสามัญลกั ษณ์ - คิดแบบอรรถธรรมสมั พนั ธ์ - คดิ แบบคณุ โทษและทางออก - คิดแบบคณุ คาแท้ คณุ คาเทียม - คดิ แบบอุบายปลุกเร้าคณุ ธรรม - คิดแบบเป็นอยู่ในปจั จุบนั - คดิ แบบวภิ ชั ชวาท ๒.๕ ให้นกั เรียนฝึกการสรุปประเด็นของขอ้ มลู เพื่อหาทางเลือกวิธแี กป้ ัญหาตัวอย่างเทคนิคที่ สามารถนามาใช้ได้ในขัน้ ตอนน้ี เชน่ ให้นักเรียนฝึกกระบวนการทางานเป็นกลุ่มให้แลกเปล่ียนความคิดเห็นกับ เปรียบเทยี บ ประเมินทางเลือก ๒.๖ ให้นกั เรยี นเลอื กและตัดสนิ ใจตัวอย่างเทคนิคที่สามารถนามาใช้ไดใ้ นขนั้ ตอนน้ี เช่น การ ลงมตริ ่วมกันภายในกลุ่ม ฝึกความเปน็ ประชาธิปไตยบนพน้ื ฐานของการคิดอย่างมีเหตุมผี ลปราศจากอคติ ๒.๗ ให้นกั เรียนฝึกปฏิบัตเิ พอ่ื พสิ จู น์ผลการเลือกตวั อย่างเทคนคิ ท่สี ามารถนามาใชใ้ นขนั้ ตอน น้ี เชน่ ฝึกปฏบิ ตั ิงานตามแผนและการบันทึกผลข้อมูลอย่างเป็นระบบระเบียบเป็นการทางานนอกและในเวลา เรียนโดยครูคอยสังเกตและให้คาแนะนา ๓. ขนั้ สรปุ ๓.๑ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสังเกตวธิ ีปฏบิ ัติ ตรวจสอบปรบั ปรุงแก้ไขการปฏิบตั ิตัวอย่าง เทคนิคท่ีสามารถนามาใชไ้ ดใ้ นข้นั ตอนน้ี เช่น ใชก้ ารอภิปราย ระดมสมอง และการใหผ้ ลยอ้ นกลับจากครู ๓.๒ ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสอบถามขอ้ สงสยั ตวั อยา่ งเทคนิคท่สี ามารถนามาใช้ ในขนั้ ตอนี้ เช่น ให้โอกาสตรวจสอบคาตอบ โดยการคิดย้อนกลบั ไปกลับมา

๓๗ ๓.๓ ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปบทเรียนตัวอย่างเทคนิคที่สามารถนามาใช้ได้ในขนั้ ตอนนี้ เช่น ใช้การอภิปรายกลมุ่ ชว่ ยกนั สรุปสาระสาคญั ๓.๔ ครูวดั และประเมนิ ผลการเรียนการสอนตวั อย่างเทคนิคทส่ี ามารถนามาใชไ้ ด้ในข้ันตอนนี้ เชน่ การวดั ผลดว้ ยการประเมินความคิดรวบยอดของนกั เรยี นเก่ียวกบั สง่ิ ท่เี รียน การสอนตามรูปแบบสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ หมายถึง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่เี น้นทักษะการคดิ และการเสนอสถานการณ์ โดยไดจ้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๓ ขน้ั ตอน คอื ๑) ขนั้ นา ๒) ขนั้ สอน และ ๓) ขัน้ สรุป สอนเพ่อื ให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิด โดยได้จัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบ่งออกเป็น ๓ ข้ันตอน ได้แก่ ๑) ขั้นนา ๒) ข้ันการเรียนการสอน และ ๓) ขั้นสรุป ซ่ึงลักษณะของ กจิ กรรมการเรยี นรู้ในแตล่ ะข้ันของวธิ สี อนตามรูปแบบสรา้ งศรัทธาและโยนโิ สมนสกิ ารมลี กั ษณะดงั นี้ คือ ๑. ขน้ั นา ๑.๑ สร้างความสัมพนั ธท์ ีด่ รี ะหวา่ งผูส้ อนกับผู้เรียน ครสู ร้างความเป็นกัลยาณมติ รต่อ นักเรียน และกาหนดให้นักเรียนนั่งสมาธิเพื่อความสงบของจิตใจ พร้อมท่ีจะเรียนรู้ โดยให้นักเรียนน่ังสมาธิ ประมาณ ๓-๕ นาที ๑.๒ ครเู สนอสิ่งเร้าและแรงจงู ใจ เช่น เสนอกรณปี ญั หาหรอื กรณตี วั อยา่ งสอื่ การสอน เป็นต้น ๒. ขน้ั สอน ๒.๑ ครูแบง่ นกั เรยี นออกเป็นกล่มุ กลุ่มละ ๗-๘ คน พร้อมทง้ั มอบหมายงาน ๒.๒ นักเรยี นรวบรวมขอ้ มูล ข้อเทจ็ จรงิ ความรูแ้ ละหลักการ ๒.๓ จัดกิจกรรมกระต่นุ ฝกึ ให้นักเรียนคิด โดยใหน้ ักเรียนเลือกใช้วธิ คี ิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร ทั้ง ๑๐วิธี คือ ๑)วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย ๒)วิธีคิดแบบแยกแยะองค์ประกอบ ๓)วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์ ๔)วิธีคิดแบบอริยสัจจ์ ๕)วธิ ีคดิ แบบอรรถธรรมสัมพันธ์ ๖)วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก ๗)วิธีคิดแบบคุณคา แท้คุณคาเทียม ๘)วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม ๙)วิธีคิดแบบเป็นอยู่ในขณะปัจจุบัน ๑๐)วิธีคิดแบบ วภิ ชั ชวาท ในการตอบปัญหาในใบงานของแต่ละกลมุ่ ๒.๔ ผูเ้ รยี นแตล่ ะกลุ่มช่วยกันสรปุ ความคดิ พรอ้ มนาเสนอผลการอภิปราย ๓. ขนั้ สรปุ ๓.๑ ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปบทเรยี น ๓.๒ ครูเสนอแนะหรืออธิบายเพ่ิมเติม เนอ้ื หาสาระส่งิ ทไี่ ดเ้ รียนมาเพ่ือนาสงิ่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ไป ปฏบิ ตั ิได้จรงิ ในชวี ติ ประจาวนั กระทรวงศึกษาธิการ๒๖ ได้นาเสนอหลักการสอนให้คิดเป็นแนวทางพุทธวิถีมาใช้โดยให้สอดคล้องกับ วิธีการสมัยปัจจุบันซ่ึงมีหลายวิธี เช่น การสอนสมรรถภาพตามรูปแบบของกานเย่ (Gagne) วิธีการทาง วิทยาศาสตร์ วิธีการทางความคิดรวบยอด (Conceptual learning) วิธีการสอนแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry method) วิธีการพัฒนาการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม (Moral Reasoning) วิธีการทาความกระจ่างใน คานิยม (Value Clarification) วิธีการปรับพฤติกรรม (Behavior Modification) พร้อมกันนี้ได้นาเสนอ รปู แบบการสอนให้คิดตามแบบพทุ ธวธิ ีประยคุ ซึง่ เป็นการสอนเพื่อเผชิญสถานการณ์โดยพิจารณารูปแบบแผน ยุทธศาสตร์ กระบวนการสอนสามารถจัดข้ึนได้ภายในช้ันเรียนและจัดเป็นกิจกรรมเสริมประสบการณ์ของ นักเรียน กระบวนการสอนแบบน้ีเน้นการจัดกิจกรรมท่ีเร้าความสนใจของนักเรียน เน้นการมีส่วนร่วม การฝึก ปฏบิ ตั เิ นน้ การนาไปใช้ในชีวิตจริง ครูต้องจัดบรรยากาศ ส่ือการเรียนการสอน วิธีการสอนวิธีการและกิจกรรม ๒๖ กระทรงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๓๐,หนา้ ๒๐๘-๒๓๓.

๓๘ ต่างๆ ท่ีให้นักเรียนได้เห็นได้คิดได้ปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้สามารถเผชิญกับสถานการณ์และแก้ไขปัญหา ได้ กระบวนการสอนดงั กลา่ วนีม้ ี ๓ ขั้นตอน คือ ๑. การรวบรวมข่าวสาร ข้อมูล ข้อเท็จจริง ความรู้และหลักการพระพุทธเจ้าให้วิธีการที่บุคคลจะ สามารถรวบรวมข่าวสารสาระความรู้ได้ดีต้องประกอบด้วย พหูสูต ๕ คือ ฟังมาก จาได้ใช้อยู่เสมอจนชานาญ ใส่ใจนึกคิดพิจารณาจนเจนใจ มีปัญหาประจักษ์แจ้งมีความเข้าใจลึกซ้ึง สืบสวนถึงแหล่งท่ีมาในการให้และรับ ขา่ วสาร มีการพิสจู นก์ ลั่นกรองขา่ วสารน้นั ให้เกิดประโยชนม์ ีคุณคา่ ต่อการตัดสินใจและปฏบิ ตั ิ ๒. การประเมินคาหาคุณคาแท้คณุ คาเทียม ข้ันนเ้ี ป็นการนาข่าวสารความรู้ที่ได้มาจัดสรุปประเด็นข่าว ไว้อยา่ งระเบยี บแล้วประเมินคาว่าประเด็นไหนถูกต้องดีงามเหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุดแท้จริง ประเด็น ใดบกพร้องผิดพลาด ช่ัวร้ายไม่ถูกไม่ควร การให้การศึกษาจึงเน้นความสามารถที่บุคคลจะประเมินคาของ วิธกี ารและสิ่งตา่ งๆอย่างมจี ริยธรรม ๓. การเลือกและการตดั สินใจ เป็นวธิ คี ดิ แบบแยบคายวิธีหน่ึง วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก (อัสสา ทะ-อาทนี วะ-นิสสรณะนะ) และบุคคลจะต้องรจู้ กั พิจารณาสถานการณ์ต่างๆ ทงั้ ในดา้ นดี ด้านร้ายรู้จุดมุ่งหมาย ของการปฏิบัติและสามารถเลือกทางออกที่ให้บรรลุจุดมุ่งหมายน้ันได้ การเลือกและการตัดสินใจหลังจากที่ได้ ประเมินคา ข้อมูลต่างๆ ไว้หลายๆทาง แล้วนั้นนับว่าเป็นข้ันตอนที่สาคัญมากกว่ากระบวนการเผชิญ สถานการณ์ และการแก้ปัญหา เพราะถ้าเลือกและตดั สินใจผิดพลาดหรือมีความลังเลไม่กล้าตัดสินใจบุคคลนั้น ย่อมไม่สามารถแกป้ ญั หาได้และอาจหลกี หนไี ปจากสถานการณ์น้ันๆ กล่าวคือไม่สามารถจะดับทุกข์ได้แม้ว่าจะ รทู้ างแหง่ การดับทกุ ข์ สรุปทา้ ยบท พระธรรมปิฎกกล่าวสรุปว่า วิธีคิดท่ีเป็นแบบโยนิโสมนสิการทั้ง ๑๐ วิธีนี้ มีข้ันตอนการทางานที่แบ่ง ออกได้เป็นสองช่วง คือช่วงรับรู้อารมณ์ หรือประสบการณ์จากภายนอกและช่วงคิดค้น พิจารณาอารมณ์หรือ เรื่องราวท่เี กบ็ เข้ามาภายในแล้ว วิธีคิดท้ัง ๑๐ วิธีนี้ ต่างก็อาศัยกันและกัน รับกันและสัมพันธ์กัน ดังนั้นวิธีการ ศึกษา เผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหาชีวิต จึงต้องบูรณาการความคิดเหล่านี้ รู้จักเลือกรูปแบบวิธีคิดมาผสม กลมกลืนกนั เพื่อนาไปสู่การสร้างแนวปฏิบัตอิ ยา่ งถูกต้องตรงกบั ความจรงิ ในทางสายกลาง อนง่ึ เม่ือพูดเชิงวิชาการในแง่การทาหน้าท่ี พระธรรมปิฏก สรุปว่า วิธีโยนิโสมนสิการทั้งหมดสามารถ สรุปได้เปน็ ๒ ประเภทใหญ่ คือ (๑) โยนิโสมนสิการแบบปลุกปัญญา มุ่งให้เกิดความรู้แจ้งตามสภาวะ เน้นท่ีการขจัดอวิชชา เป็นฝุาย วิปัสสนา มีลักษณะเป็นการส่องสว่าง ทาลายความมืด หรือชาระล้างสิ่งสกปรก ให้ผลไม่จากัดกาล หรือ เด็ดขาด นาไปส่โู ลกตุ รสมั มาทิฎฐิ (๒) โยนิโสมนสิการแบบสร้างเสรมิ คณุ ภาพจิต ม่งุ ปลกุ เรา้ กศุ ลธรรม เนน้ ทีก่ ารสกัดหรือข่มตัณหา เป็น ฝุายสมถะ มีลักษณะเป็นการเสรมิ สรา้ งพลงั หรือปรมิ าณฝุายดีขนึ้ มากดขม่ ทับหรือบังฝุายช่ัวไว้ ให้ผลข้ึนแก่การ ชวั่ คราวหรือเปน็ เครือ่ งตระเตรยี มหนนุ เสริมความพรอ้ มและ สร้างนสิ ยั ท่ีนาไปสู่โลกียส์ ัมมาทฎิ ฐิ ศาสตราจารย์ ดร.ธารง บัวศรี๒๗ วิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการเป็นวิธีคิดท่ีมีประโยชน์มาก เพราะ สามารถนามาใชใ้ นชีวติ ประจาวันไดท้ กุ เวลา และจะเป็นเร่อื งทเี่ ร้าให้เกดิ กศุ ลธรรม เชน่ ความรู้สึกเมตตากรุณา ๒๗ ธารง บัวศรี. ทฤษฎหี ลกั สูตร : การออกแบบหลกั สตู รและพัฒนา. กรุงเทพฯ :ธนรชั ,๒๕๔๒.

๓๙ และความเสียสละเป็นต้น อันจะเป็นผลดีแก่ความเจริญงอกงามของตน ผู้ใดก็ตามเมื่อเข้าใจหลักการนี้แล้ว อาจใช้โยนโิ สมนสกิ ารแกไ้ ด้ แม้แต่ทศั นคติและจติ นิสัยไมด่ ีทส่ี ร้างมาเป็นเวลานานจนชนิ

๔๐ คาถามท้ายบท ๑.อธบิ ายความหมายของโยนโิ สมนสกิ ารมาพอเขา้ ใจฯ ๒.หลกั การโยนิโสมวี า่ อย่างไร อะไรบา้ ง ฯ ๓.บอกจดุ มงุ่ หมายของการสอนแบบโยนิโสมนสกิ ารฯ ๔.จุดมุ่งหมายของโยนิโสมนสิการ ท่ี ทา่ น ป.อ.ปยุตฺโต ไดก้ ล่าวไว้ วา่ อยา่ งไร ฯ ๕.ให้อธิบายรปู แบบการสอนแบบโยนิโสมนสกิ ารมาดู ฯ ๖.การคิดแบบโยนโิ สมนสิการมีเทา่ ไร อะไรบ้าง ฯ ๗.โยนิโสมีองค์ประกอบ ๔ ส่วน คอื ฯ ๘.โยนโิ สมนสกิ ารนอกจากการประยุกต์ใชใ่ นการศกึ ษาแลว้ ยงั ประยกุ ต์ใช่ในด้านอนื่ ๆ ได้หรอื ไม่ อธบิ าย ฯ ๙.พระพรหมคุณาภรณ์ ได้กลา่ วถงึ ลกั ษณะการคดิ แบบโยนโิ สมนสิการไว้ว่าอย่างไร ฯ ๑๐.ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั ของตนเองสามารถทจี่ ะนาหลกั โยนโิ สมนสิการมาประยุกต์ ใช้ได้หรือไม่ อยา่ งไร ฯ

๔๑ เอกสารอ้างองิ ประจาบท กิตตพิ ัฒน ตระกลู สขุ , ข้อสงั เกตท่หี นา้ สนใจเกยี่ วกับ Constructivism โยนโิ สมนสิการ , วารสารคณติ ศาสตร์, ๒๕๔๒. ทิศนา แขมมณ,ี ศาสตร์การสอน : องค์ความรเู้ พ่ือการจัดการกระบวนการเรียนรู้ทีม่ ีประสิทธภิ าพ, พมิ พ์ครั้งที่ ๕, กรงุ เทพฯ : สานักพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๕๕. ธารง บัวศรี, ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบหลกั สูตรและพัฒนา, กรงุ เทพฯ : ธนรชั , ๒๕๔๒. นวพร ถึงประเสริฐ, “ผลการใชร้ ูปแบบการเรยี นการสอน โดยสรา้ งศรทั ธาและโยนโิ สมนสิการในรายวิชา พระพุทธศาสนาของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัยกาฬสนิ ธุ์”, วิทยานพิ นธค์ .ม, มหาวทิ ยาลัยราชถฏั สกลนคร, ๒๕๔๘. พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตฺโต),พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้งที่ ๑๖, กรงุ เทพฯ : มหา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๖. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต),การดูแลสุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ, พิมพ์คร่ังท่ี ๑๐, กรงเทพฯ : โรง พมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๔๙. ลักขณา สริวฒั น์, จิตวิทยาเบ้ืองต้น, กรุเทพ:โอเดยี นสโตร,์ ๒๕๔๙. วนิช สธุ ารัตน์, ความคิดและความคดิ สรา้ งสรรค์, กรงุ เทพฯ: สุวรี ยิ าสาส์น, ๒๕๔๗หนา้ ๑๓๘. วรรณา สตุ ิวิจติ ร, การทดลองสอนจริยศกึ ษาโดยการสร้างศรทั ธาแกน่ ักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓, วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๒๗. สาโรชบวั ศรี,จริยธรรมศกึ ษา,กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พค์ ุรสุ ภา, ๒๕๒๖. สคุ นธ์ สนิ ธพานนท์, การวัดผลการศกึ ษา, กาฬสินธ์ุ, ประสานการพิมพ,์ ๒๕๕๑. สมุ น อมรววิ ัฒน,์ กระบวนการเรยี นรู้จากแหลง่ เรยี นร้ใู นชุมชนและธรรมชาติ, กรงุ เทพมหานคร : สานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๔. สุมนอมรวิวัฒน์, การสอนโดยสรา้ งศรทั ธาและโยนิโสมนสกิ าร, กรงุ เทพฯ, โครงการตารา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ,๒๕๓๐.