Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา

การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา

Description: ความหมาย ความสำคัญและประเภทของสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ การออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ การเลือกใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

Keywords: การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา MEDIA DEVELOPMENTS OF TEACHING BUDDHISM เอกสารประกอบการสอน ร หั ส วิ ช า ๒ ๐ ๙ ๒ ๐ ๓ โดย ทิพย์ ขันแก้ว

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั Mahachulalongkornrajavidyalaya University หลกั สตู รพุทธศาสตรบณั ฑิต เอกสารประกอบการสอนรายวิชา หมวดวชิ าเฉพาะสาขา รหัสวชิ า ๒๐๙ ๒๐๓ การพัฒนาส่ือการสอนพระพุทธศาสนา ) Media Developments of Teaching Buddhism) ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์ ขันแก้ว มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาลัยสงฆ์บรุ ีรมั ย์ วดั พระพทุ ธบาทเขากระโดง ตำบลเสม็ด อำเภอเมอื ง จังหวัดบรุ ีรัมย์

คำนำ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา (Media Developments of Teaching Buddhism) ใน ห ลักสูตรพุ ท ธศ าสต ร์ สาขาวิช าการสอ น พระพุทธศาสนาและจิตวิทยาแนะแนว คณะครุศาสตร์ ได้รวบรวมข้ึน เพื่อให้นิสิต และผู้ที่สนใจ ได้ ศึกษาประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาที่เรียน โดยได้นำแนวสังเขปรายวิชา ความหมาย ความ ส ำคัญ และป ระเภ ท ของสื่อเท ค โน โลยีส ารส น เท ศ การออ กแบ บ น วัต กรรม การ เรียนรู้ การเลือกใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อผลิตส่ือการเรียนรู้และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การผลิต ส่ือการสอน และการเผยแพร่ส่ือการสอนในระบบออนไลน์และออฟไลน์ กราบขอบพระคุณพระเดช พระคุณพระศรีปริยัติธาดา ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ ที่ให้โอกาสในการจัดทำเอกสาร ประกอบการสอนวิชานี้ เพื่อเป็นประโยชน์แก่นิสิตนักศึกษาและผู้ที่สนใจ ได้ศึกษาค้นคว้าใช้เป็น เอกสารประกอบการเรยี น เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ ได้จัดทำและรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆที่เผยแพร่ ทางอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้ขออนุญาตจากเจ้าของบทความ ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ หวังเป็นอย่างยิ่ง จะอำนวยประโยชน์แก่นิสิต ผู้ท่ีสนใจ และคณาจารย์ ท่ีสนใจ หากพบข้อบกพร่องหรือมีคำชี้แนะ เพื่อการปรับปรุงให้สมบูรณ์มากยิ่งข้ึน ยินดีรับฟังความคิดเห็น และจะนำไปปรับปรุงแก้พัฒนา ใหเ้ อกสารมคี วามสมบรู ณ์และมีคณุ คา่ ทางการศกึ ษาต่อไป (ทิพย์ ขันแก้ว) อาจารย์ประจำวทิ ยาลยั สงฆ์บุรรี ัมย์ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒

บท สารบญั หนา้ คำนำ ก สารบญั ข รายละเอียดประจำวิชา ฆ บทที่ ๑ ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑ ๑.๑ ความนำ ๒ ๑.๒ ความหมาย 2 ๑.๓ หลกั การและทฤษฎี 2 1.4 นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 4 1.5 แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา 6 1.6 นวตั กรรมทางดา้ นหลักสูตร 9 1.7 ศูนย์การเรียน (Learning Center) 11 1.8 นวตั กรรมทางการศึกษาต่างๆท่ีกลา่ วถึงกันมากในปจั จุบนั 14 สรปุ ท้ายบท ๑5 คำถามท้ายบท 16 เอกสารอ้างอิงประจำบท 17 บทท่ี ๒ การใช้สอ่ื และเทคโนโลยี 18 ๒.๑ ความนำ ๑9 ๒.๒ ความหมาย ๑7 ๒.๓-ความสำคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ 20 ๒.๔ การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษา 21 ๒.๕ บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศต่อการบรหิ าร 25 จดั การศึกษา สรปุ ท้ายบท 26 คำถามท้ายบท 29 เอกสารอ้างอิงประจำบท 30 บทที่ ๓ นวตั กรรมดา้ นการเรียนการสอน 31 ๓.๑ ความนำ 32 ๓.๒ การออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลับ 32 ๓.๓ รปู แบบการออกแบบการเรียนการสอนพ้นื ฐานจากทฤษฎี 42 การสรา้ งความรู้ สรปุ ทา้ ยบท 44 คำถามท้ายบท 45 เอกสารอา้ งอิงประจำบท ๖6

บท สารบัญ หน้า บทที่ ๔ การใช้โปรแกรมสำเร็จรปู 47 ๔.๑-ความนำ 48 ๔.๒ ความหมายของโปรแกรมสำเรจ็ รูป 48 ๔.๓ ความสำคญั ของโปรแกรมสำเร็จรูป 49 ๔.๔ โครงสร้างของโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 49 ๔.๕ ประเภทของโปรแกรมสำเรจ็ รปู 50 ส๔.๖ ประโยชน์ของโปรแกรมสำเรจ็ รูป 52 ๔.๗ วธิ กี ารจดั หาโปรแกรมสำเรจ็ รูป 53 ๔.๘ การพิจารณาซอฟต์แวรต์ ามหลักการของลิขสทิ ธ์ิ 53 สรุปทา้ ยบท 54 คำถามทา้ ยบท 55 เอกสารอา้ งองิ ประจำบท 56 บทท่ี ๕ ส่อื การเรยี นการสอน 57 ๕.๑ ความนำ 58 ๕.๒ ความหมาย 59 ๕.๓ ความสำคัญ 59 5.4 ประเภทของส่ือการเรยี นการสอน 60 5.5 การเลอื กสอ่ื การเรียนการสอน 61 5.6 เทคนคิ การใช้สอื่ การเรียนการสอน 64 5.7 ลักษณะและแนวทางการใช้ส่อื ประเภทต่างๆ 64 5.8 แนวทางการเก็บรักษาส่ือการเรยี นการสอน 69 5.9 เง่อื นไขเกยี่ วกบั การสรา้ งส่ือการเรยี นการสอน 70 สรปุ ท้ายบท 71 คำถามท้ายบท 72 เอกสารอ้างองิ ประจำบท 73 บทท่ี ๖ การเผยแพรส่ ื่อการสอนในระบบออนไลน์ 74 ๖.๑ ความนำ 75 ๖.๒ ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ 75 ๖.๓ บทเรียนออนไลน์ (E-learning) 76 6.4 ระดับการถา่ ยทอดเนื้อหา 78 6.5 ระดับการนำ e-Learning ไปใช้ 79 6.6 ความหมายของบทเรยี นออนไลน์ e-Learning 80 สรุปท้ายบท 85 คำถามท้ายบท 86 เอกสารอ้างอิงประจำบท 87

บท สารบัญ หน้า บทที่ ๗ การสอนแบบต่างๆ 88 ๗.๑ ความนำ 89 ๗.๒-รูปแบบการเรยี นการสอน 89 ๗.๓-รปู แบบการบูรณาการ 92 ๗.๔-การสอนแบบศูนยก์ ารเรียนรู้ (Teaching Learning Center) 102 ๗.๕ การสอนตามแนวพุทธวธิ ี (Buddhist teaching method) 103 สรปุ ท้ายบท 106 คำถามทา้ ยบท 108 เอกสารอ้างอิงประจำบท ๑09 บทท่ี ๘ การใช้ส่ือและเทคโนโลยกี ารประเมินผลการเรยี นรู้ ๑10 ๘.๑ ความนำ ๑11 ๘.๒ ความหมาย 111 ๘.๓ ความสำคัญ ๑20 ๘.๔-ประเภท ๑26 ๘.๕ การใช้สอ่ื และเทคโนโลยี ๑29 8.6 การประยุกต์ 134 สรปุ ทา้ ยบท ๑36 คำถามทา้ ยบท ๑38 เอกสารอา้ งอิงประจำบท ๑39 บทท่ี 9 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 141 9.๑ ความนำ 142 9.๒ ความหมาย 143 9.๓ จุดมงุ่ หมายการวัดผลการศกึ ษา 144 9.๔ หลักการวดั และประเมินผลการศึกษา 145 ๘.๕ ความสำคัญการวดั และประเมินผล 146 9.๖ เครอ่ื งมือทใ่ี ช้วดั และประเมนิ ผล 150 9.๗ การวดั ดา้ นพุทธิพิสัย 153 9.๘ การวัดดา้ นจิตพสิ ัย 157 9.๙ การวัดด้านทักษะพิสยั 159 9.๑๐ การประเมนิ สภาพจรงิ 161 9.๑๑ ขน้ั ตอนการวดั และประเมนิ ผล 163 9.๑๒ วธิ ีการวดั และตัวอยา่ งเคร่ืองมือ 165 9.๑๓ การใช้ประโยชนจ์ ากผลการประเมนิ 165 สรุปทา้ ยบท 166 คำถามท้ายบท 167 เอกสารอ้างองิ ประจำบท 168

บท สารบัญ หนา้ บรรณานุกรม 169

บทท่ี ๑ ความรทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกบั แนวคดิ ทฤษฎแี ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ วตั ถปุ ระสงค์ o เม่อื ศึกษาบทที่ ๑ จบแล้ว นิสติ สามารถ o อธบิ ายหลกั การและทฤษฎเี กย่ี วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศได้ o อธบิ ายทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคดิ พฤติกรรมศาสตร์ได้ o อธบิ ายนวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษาได้ o อธิบายแนวคิดพน้ื ฐานของนวัตกรรมทางการศึกษาได้ o อธบิ ายนวตั กรรมทางการศกึ ษาทส่ี าคญั ของไทยในปัจจุบนั ได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา o หลักการและทฤษฎีเก่ียวกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ o ทฤษฎีการเรยี นร้ตู ามแนวคดิ พฤตกิ รรมศาสตร์ o นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา o แนวคิดพื้นฐานของนวตั กรรมทางการศึกษา o นวัตกรรมทางการศกึ ษาที่สาคญั ของไทยในปจั จุบนั

การพฒั นาสือ่ การสอนพระพทุ ธศาสนา ๒ 1.1 ความนา การทางานโดยใชเทคโนโลยี เป็นการทางานที่นาความรูทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ เพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลของการทางานนั้นใหเ้ กิดผลดีมากยิ่งข้นึ เมื่อนาเทคโนโลยี มาใชใ้ นวงการศึกษาจึง เรียกกว่า เทคโนโลยีการศึกษา ซ่ึงเทคโนโลยีการศึกษาน้ันมีบทบาทต่อการ เรียนการสอนมาทุกยุคทุกสมัย ต้ังแต่การบรรยายกระดานชนวน แผนโปร่งใส เครื่องฉายต่างๆ จนก้าวมาสูยุคอิเล็กทรอนิกส์ที่เทคโนโลยี คอมพิวเตอร Computer Technology) และการจัดระบบ สารสนเทศ (Management Information System) มีบทบาทอย่างสาคัญในการเรียนการสอนยุคโลกาภิวัตน Globalization) ดังน้ันการที่จะศึกษา องค์ประกอบต่าง ๆ ในเทคโนโลยีการศึกษา จึงจาเป็นจะต้องทราบความหมายของคาต่างๆเหล่าน้ี ให้เข้าใจ อย่างถ่องแทเ้ สียกอ่ น 1.2 ความหมาย1 หลักการ (Principle) ตามความหมายในพจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ หมายถึง สาระสาคญั ทยี่ ึดถือเป็นแนวปฏบิ ตั ิ แนวคิด (Concept) ตามความหมายในพจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถึง ความคิดที่มแี นวทางปฏิบตั ิ ทฤษฎี (Theory) หมายถึง สมมติฐานที่ไดร้ ับการตรวจสอบและทดลองหลายคร้งั หลายหนจนสามารถ อธิบายข้อเทจ็ จริง สามารถคาดคะเนทานายเหตุการณ์ท่วั ๆ ไป ทเ่ี ก่ียวข้องกับปรากฏการณน์ ้ันอยา่ งถูกต้องและ มีเหตผุ ลเปน็ ท่ียอมรบั ของคนทัว่ ไป จงึ เป็นผลให้สมมติฐานกลายเปน็ ทฤษฎี 1.3 หลกั การและทฤษฎี2 วิจิตร ศรีสอ้าน (๒๕๒๔: ๑๐๙) กล่าวว่า ปรัชญาการศึกษา คือ จุดมุ่งหมาย ระบบความเชื่อหรือ แนวความคิดทแ่ี สดงออกมาในรปู ของอุดมการณ์หรือ อุดมคติทานองเดียวกันกับที่ใช้ในความหมายของปรัชญา ชีวิตซึ่งหมายถึง อุดมการณ์ของชีวิต อุดมคติของชีวิต แนวทางดาเนินชีวิต กล่าวโดยสรุปปรัชญาการศึกษาคือ จดุ มงุ่ หมายของการศึกษา ทองปลิว ชมชื่น (๒๕๒๙:๑๒๐) ปรัชญาการศึกษา คือ เทคนิคการคิดท่ีจะแสวงหาคาตอบ และกาหนดแนวทางในการดาเนินงานทางการศึกษาไม่ว่าการศึกษาในระบบโรงเรียนหรือการศึกษา นอกโรงเรียน เร่ิมตั้งแต่การกาหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษา ยุทธศาสตร์ทางการศึกษาและการบริหาร ทางการศึกษาเพ่อื ใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการพฒั นามนุษยแ์ ละสังคมอยา่ งแท้จรงิ กองส่งเสริมวิทยฐานะครู กรมการฝึกหัดครู (๒๕๓๐ : ๒๐) ให้ความหมายว่า ปรัชญาการศึกษาเป็น แนวคิด อดุ มคติ หรืออุดมการณ์ทางการศึกษา ซึ่งได้กล่ันกรองมาแล้วและจะเป็นแนวทางในการจัดการศึกษา ภญิ โญ สาธร (๒๕๒๑: ๘๑) ให้ความหมายของปรัชญาการศึกษาว่า เป็นวิชาที่ว่าด้วยความรู้อัน เกย่ี วกับการศึกษาความรู้อันเก่ียวกับการศึกษาน้ัน หมายถึง วัตถุประสงค์ของการศึกษาเน้ือหา วิชาที่ให้ศึกษา และวธิ กี ารให้ศกึ ษา 1 ความหมายของหลักการ แนวคดิ ทฤษฎี. http://pirun.ku.ac.th/~g5166056/.../definition.doc 2 หลักการและทฤษฎเี กยี่ วกบั เทคโนโลยีการศกึ ษา. http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=3182.0

การพฒั นาส่ือการสอนพระพทุ ธศาสนา ๓ 1.3.1 ทฤษฎกี ารเรยี นรตู้ ามแนวคดิ พฤตกิ รรมศาสตร์ (Behaviorists) สกินเนอร์ (B. F. Skinner) เป็นผู้นาซึ่งได้ทาการศึกษาทดลองกับสัตว์ในเรื่องของพฤติกรรม ท่ีตอบสนองต่อส่ิงเร้า (Stimulus-Response : S-R Theory) โดยถือว่า การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม เมอ่ื ใดท่มี กี ารเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมทสี่ งั เกตเหน็ ได้ ถือว่าเกิดการเรียนรู้ข้ึน ทฤษฎีน้ีจึงมีการกาหนดจุดประสงค์การเรียนการสอนเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีสังเกตเห็นได้ และถอื ว่าพนื้ ฐานของการเรียนรู้ จะมี ๓ ลักษณะ คือ ๑. การเรยี นร้ใู นเรอื่ งทซี่ บั ซอ้ นสามารถจาแนกออกมาเรียนรเู้ ปน็ สว่ นยอ่ ยได้ ๒. ผู้เรยี นเรียนรู้จากการรับรู้และประสบการณ์ ๓. ความรู้คอื การสะสมข้อเทจ็ จริง และทักษะต่างๆ การเรียนรู้ตามแนวคิดน้ีจึงถือว่า การเรียนรู้เป็นการรู้สาระเน้ือหา ข้อเท็จจริง หลักการ และทฤษฎี การเรียนการสอน จึงเน้นเรื่องการใช้ตาราเรียนและมุ่งให้ผู้เรียนจาเนื้อหา และข้อเท็จจริงที่ไม่จาเป็นต้องมี ความต่อเนื่องสมั พนั ธก์ ันตามแนวคิดนี้การเรียนรู้จะมีลักษณะสาคัญ ๔ ประการ คอื ๑.ผเู้ รยี นตอ้ งมีสว่ นร่วมในการเรยี น ๒.ผลปอ้ นกลบั (Feedback) ตอ้ งเกิดขน้ึ ทันที เช่น ครตู ้องบอกว่าตอบถูกหรือผิด ๓.แตล่ ะข้นั ตอนของการเรยี นรูต้ ้องสน้ั ไม่ต่อเน่ืองยืดยาว ๔.การเรียนรู้ (การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม) ต้องมีการให้รางวัล และเสริมแรงทฤษฎีการ เรียนรู้ ตามแนวคิดปญั ญานิยม (Cognitivists) ตามทฤษฎีนี้เชื่อว่า ความจริง (Truth) หรือความรู้มีอยู่จริงในโลกหรือในจักรวาล ถ้าเราพบส่ิงใดสิ่ง หน่ึงหนงึ่ เรากจ็ ะพบไปเรื่อยๆ ทฤษฎนี จ้ี งึ ถือว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการของจิตท่ีต้องมีการรับรู้จากการกระทา มีการแปลความ ตีความ การให้เหตุผลจนเกดิ รสู้ านกึ และสะสมเปน็ ความรู้ในทีส่ ุด หลักการตามแนวคิดนี้คือท่ีมาของการเรยี นการสอนแบบสืบหาความรู้ (Enquiry) ที่ถือว่าผู้เรียนไม่มี ความรู้มาก่อน ผู้เรียนจะเกิดความรู้ได้ต้องดาเนินการสืบหา (Enquire) จนได้ความรู้นั้นจุดเน้นของการจัดการ เรียนการสอนตามแนวคิดของกลุ่มปัญญานิยมน้ี จึงต้องการ “ให้รู้ว่าจะได้รู้อย่างไร” มากกว่าการสอน “ให้รู้ อะไร” ในด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ การเรียนรู้ตามแนวคิดนี้จะให้ผู้เรียนดาเนินการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีบทบาทโดยตรงในการเรยี นรู้ (Active Learning) โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามขน้ั ตอนดงั นี้ ๑. เกดิ ข้อสงสัย คาถาม หรอื เกิดปัญหาทีอ่ ยากรู้คาตอบ ๒. ออกแบบวางแผนท่ีจะสารวจตรวจสอบ ๓. ดาเนินการเก็บข้อมูล ทดลอง สารวจ หาหลักฐานประจักษ์พยาน ๔. วเิ คราะห์ข้อมลู สรา้ งคาอธบิ ายที่สอดคล้องกับขอ้ มูลหรือหลักฐาน ๕. สรปุ เป็นความรู้ ขยายและเผยแพร่ความรู้ไปใชใ้ นสถานการณ์อนื่ ได้ แม้กระบวนการวิทยาศาสตร์ดังกล่าวจะได้รับการยอบรับมาก แต่ในทางปฏิบัติ กระบวนการ บางสว่ นยงั ขาดหายไป เปน็ ตน้ ว่า ขัน้ ตอนแรกส่วนใหญผ่ ู้เรียนไม่ได้เปน็ ผู้ตง้ั ปัญหาเอง ส่วนมากจะมีปัญหาไว้ให้เสร็จเรียบร้อย และในขั้นตอนที่ ๔ และ ๕ ส่วนมากครูผู้สอน หรือหนังสือ เรียนจะอธิบายและสรุปไว้ให้ ผูเ้ รียนจงึ มโี อกาสนอ้ ยทีจ่ ะไดฝ้ ึกปฏบิ ัตสิ ว่ นนี้

การพัฒนาส่อื การสอนพระพุทธศาสนา ๔ 1.4 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา3 การนาเอาเทคโนโลยีทางการศึกษาไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอนน้ัน เรามักจะพบ ว่าเมื่อ สถานการณ์ของการใช้เปลี่ยนแปลงไป เช่น ชั้นเรียนที่ผู้เรียนเปล่ียนไป หรือเวลาท่ีต่างกัน สิ่งเหล่านี้ มีผลต่อ ประสิทธิภาพของวิธีการท่ีผู้สอนนาไปใช้ในการเรียนการสอนทั้งสิ้น ในกรณีท่ีใช้วิธีการนั้นต่อไป ซึ่งนับว่า เป็นการใช้เทคโนโลยี แตใ่ นกรณีท่ปี ระสิทธิภาพลดลง ก็มีความจาเป็นท่ีจะต้องปรับ ปรุงวิธีการน้ัน ๆ หรืออาจ ต้องหาวิธีการใหม่ ๆ มาใช้ สิ่งใหม่ที่นามาใช้หรือวิธีการที่ได้รับนาเอาการปรับปรุงเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพนี้ เรยี กวา่ นวัตกรรม (Innovation) นวตั กรรม = นะวะ (ใหม)่ + อัตตา (ตนเอง) + กรรม (การกระทา) ในการดาเนนิ กิจกรรมด้านต่าง ๆ มักจะเผชิญปัญหาต่าง ๆ มากมายมนุษย์จึงพยายามสร้างนวัตกรรม ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหา เพื่อเปลี่ยนจากสภาพที่เคยเป็นอยู่ไปสู่สภาพที่อยากเป็น นวัตกรรมจึงเข้าไปเก่ียวข้อง กบั วงการต่าง ๆ เช่น นวัตกรรมทางการแพทย์ นวัตกรรมทางการเกษตร นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม นวัตกรรม ทางการบริหาร นวัตกรรมทางการประมง นวัตกรรมทางการส่ือสาร นวัตกรรมทางการศึกษาฯลฯเป็นต้น ลกั ษณะของนวตั กรรมส่ิงที่ตอ้ งจัดว่าเปน็ นวตั กรรมควรประกอบด้วยลกั ษณะดังน้ี ๑. จะตอ้ งเป็นการสร้างสรรคข์ นึ้ ใหม่ (creative) และเปน็ ความคดิ ที่สามารถปฏิบตั ิได้ (Feasible ideas) ๒. จะต้องสามารถนาไปใชไ้ ด้ผลจรงิ จงั (practical application) ๓. มีการแพร่ออกไปส่ชู มุ ชน (diffusion through) 1.4.1 ความหมายของนวตั กรรม4 “นวัตกรรม” หมายถึง ความคดิ การปฏบิ ัติ หรอื สิ่งประดิษฐใ์ หม่ๆ ท่ียงั ไม่เคยมีใชม้ าก่อน หรอื เป็นการ พัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมท่ีมีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดีย่ิงขึ้น เม่ือนานวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้ การทางานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ท้ังยังช่วย ประหยัด เวลาและแรงงานได้ด้วย “นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาส่ิงใหม่ข้ึนมา ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่ แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทาในส่ิงท่ีแตกต่างจากคนอ่ืน โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ท่ีเกิดข้ึนรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสแู่ นวความคิดใหมท่ ่ที าใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาข้ึนมา ในช่วงต้นศตวรรษท่ี ๒๐ โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปท่ีการสร้างสรรค์ การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนาไปสู่การได้มาซ่ึง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพ่ือประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เป็นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถ ในการเรียนรูแ้ ละนาไปปฏบิ ัติให้เกิดผลไดจ้ รงิ อีกดว้ ย (พนั ธ์อุ าจ ชัยรัตน์) 3 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา. http://๖wipapan๓๖.multiply.com/journal/item/๗๗ 4 ความหมายของ นวัตกรรมการศกึ ษาและเทคโนโลยีทางการศึกษา. http://ceit.sut.ac.th/km/wordpress/?p= ๑๓๘

การพัฒนาสอื่ การสอนพระพทุ ธศาสนา ๕ คาว่า “นวัตกรรม” เป็นคาท่ีค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คาน้ีเป็นศัพท์บัญญัติ ของคณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคากริยาว่า innovate แปลว่า ทาใหม่ เปล่ียนแปลงให้เกิดส่ิงใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาว่า “นวกรรม” ต่อมาพบว่าคานี้มีความหมายคลาดเคล่ือน จึงเปลี่ยนมาใช้คาว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กา) หมายถึง การนาส่ิงใหม่ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงเพ่ิมเติมจากวิธีการที่ทาอยู่เดิม เพ่ือให้ใช้ได้ผลดีย่ิงข้ึน ดังนั้นไม่ว่าวงการ หรือกิจการใด ๆ ก็ตาม เม่ือมีการนาเอาความเปล่ียนแปลงใหม่ๆ เข้ามาใช้เพ่ือปรับปรุงงานให้ดีข้ึนกว่าเดิมก็ เรียกได้ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานาเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สาหรับผู้ท่ีกระทา หรือนาความเปล่ียนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่า เป็น “นวตั กร” (Innovator) ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่าเป็นการนาวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นข้ัน ๆ แล้ว เริ่มตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การพัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเป็นไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจึง นาไปปฏิบัติจริง ซง่ึ มคี วามแตกตา่ งไปจากการปฏิบตั เิ ดมิ ที่เคยปฏบิ ัติมา มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทาให้ใหม่ขึ้นอีกคร้ัง(Renewal) ซึ่ง หมายถึง การปรับปรุงส่ิงเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การนั้น ๆ นวตั กรรม ไม่ใชก่ ารขจัดหรอื ล้มลา้ งสิ่งเกา่ ใหห้ มดไป แตเ่ ปน็ การ ปรบั ปรุงเสรมิ แต่งและพฒั นา ไชยยศ เรอื งสุวรรณ (๒๕๒๑ : ๑๔) ไดใ้ หค้ วามหมาย “นวัตกรรม” ไวว้ า่ หมายถึง วธิ ีการปฏบิ ตั ใิ หมๆ่ ที่แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะไดม้ าจากการคดิ คน้ พบวธิ กี ารใหม่ๆ ขนึ้ มาหรือมีการปรบั ปรงุ ของเก่าใหเ้ หมาะสม และส่ิงทั้งหลายเหล่าน้ีได้รบั การทดลอง พัฒนาจนเป็นทเ่ี ชื่อถือได้แล้วว่าได้ ผลดีในทางปฏิบัติ ทาใหร้ ะบบก้าว ไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพขึน้ จรูญ วงศ์สายัณห์ (๒๕๒๐ : ๓๗)ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม”ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษ เอง ความหมายก็ต่างกันเป็น ๒ ระดับโดยทั่วไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใดๆจะเป็นผลสาเร็จ หรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพ่ือจะนาส่ิงใหม่ ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงวิธีการที่ทาอยู่เดิมแล้ว กับอีก ระดับหน่ึงซ่ึงวงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงท่ีมา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบท่ีมี อยู่ต่อกล่มุ คนทเี่ กีย่ วข้อง คาวา่ นวัตกรรม มักจะหมายถงึ ส่ิงทไี่ ด้นาความเปล่ียนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ผลสาเร็จ และแผก่ ว้างออกไป จนกลายเป็นการปฏิบัตอิ ย่างธรรมดาสามญั (บุญเกื้อ ควรหาเวช , ๒๕๔๓) นวตั กรรม แบง่ ออกเปน็ ๓ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ มกี ารประดิษฐค์ ิดคน้ (Innovation) หรือเปน็ การปรงุ แต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมยั ระยะท่ี ๒ พฒั นาการ (Development) มกี ารทดลองในแหล่งทดลองจดั ทาอยู่ในลกั ษณะของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) ระยะที่ ๓ การนาเอาไปปฏิบัตใิ นสถานการณ์ท่วั ไป ซง่ึ จดั ว่าเป็นนวัตกรรมขน้ั สมบรู ณ์ 1.4.2 ความหมายของนวัตกรรมการศกึ ษา “นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึน ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิ ผลสูง กว่าเดมิ เกิดแรงจงู ใจในการเรยี นด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบัน มีการใช้นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซ่ึงมีท้ังนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภท ทีก่ าลงั เผยแพร่ เชน่ การเรยี นการสอนท่ใี ช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่น

การพัฒนาสอ่ื การสอนพระพทุ ธศาสนา ๖ วดิ ีทศั นเ์ ชิงโตต้ อบ (Interactive Video) ส่ือหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่านี้ เปน็ ตน้ “นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ ในรูปของความคิดหรือการกระทา รวมท้ังสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพ่ือมุ่งหวัง ท่ีจะเปล่ียนแปลงส่ิงท่ีมีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทาให้ผู้เรียนสามารถเกิดการ เรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) ส่ือหลายมิติ (Hypermedia) และ อนิ เตอร์เน็ต เหลา่ นี้เป็นตน้ 1.4.3 ความสาคัญของนวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรมมีความสาคัญต่อการศึกษาหลายประการ ท้ังน้ีเนื่องจากในโลกยุค โลกาภิวัตน์ Globalization มีการเปล่ียนแปลงในทกุ ดา้ นอยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างย่ิง ความก้าวหน้าทั้งด้านเทคโนโลยี และสารสนเทศ การศึกษาจึงจาเป็นตอ้ งมกี ารพัฒนาเปลีย่ นแปลงจากระบบการศึกษาที่มีอยู่เดิม เพื่อให้ทันสมัย ต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสงั คมที่เปล่ียนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษา บางอยา่ งท่เี กดิ ข้ึนอย่างมีประสทิ ธิภาพเชน่ เดียวกนั การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นการศึกษาจงึ จาเปน็ ต้องมีการศึกษาเก่ียวกับนวัตกรรมการศึกษาที่จะนามาใช้ เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาในบางเร่ือง เช่น ปัญหาที่เก่ียวเนื่องกับจานวนผู้เรียนที่มากขึ้นการพัฒนา หลักสูตรให้ทันสมยั การผลติ และพฒั นาส่ือใหม่ ๆ ข้นึ มาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิ่มมากข้ึนด้วย ระยะเวลาที่สั้นลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษาก็มีส่วนช่วยให้การใช้ ทรัพยากรการเรยี นรู้เปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เช่น เกดิ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 1.5 แนวคดิ พน้ื ฐานของนวตั กรรมทางการศกึ ษา ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพื้นฐานทางการศึกษา ท่ีเปลี่ยนแปลงไป อันมีผลทาให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่สาคัญๆ พอจะสรุปได้ ๔ ประการ คือ ๑.ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ความ สาคัญ ในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้มุ่งจัด การศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนได้แก่ การจัดระบบห้องเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้างใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้างนวัตกรรม ที่เกิดขึ้นเพื่อสนอง แนวความคดิ พ้ืนฐานน้ี เช่น - การเรยี นแบบไม่แบ่งช้ัน (Non-Graded School) - แบบเรยี นสาเรจ็ รูป (Programmed Text Book) - เครื่องสอน (Teaching Machine) - การสอนเปน็ คณะ (TeamTeaching) - การจัดโรงเรียนในโรงเรยี น (School within School) - เครือ่ งคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction) ๒. ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเช่ือกันว่าเด็กจะเร่ิมเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็น พัฒนาการตามธรรมชาติ แตใ่ นปัจจุบนั การวิจัยทางดา้ นจิตวิทยาการเรียนรู้ ชี้ให้เห็นว่าความพร้อมในการเรียน เป็นสิ่งท่ีสรา้ งขน้ึ ได้ ถ้าหากสามารถจดั บทเรียนให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่เคย

การพฒั นาสือ่ การสอนพระพุทธศาสนา ๗ เช่ือกันว่ายากและไม่เหมาะสมสาหรับเด็กเล็กก็สามารถนามาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมท่ีตอบสนองแนวความคิด พ้นื ฐานน้ีได้แก่ ศูนยก์ ารเรยี น การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวตั กรรมทสี่ นองแนวความคิดพื้นฐานด้านน้ีเช่น -ศูนย์การเรียน (Learning Center) -การจดั โรงเรียนในโรงเรยี น (School within School) - การปรบั ปรุงการสอนสามช้นั (Instructional Development in 3 Phases) ๓. การใช้เวลาเพ่ือการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัย ความสะดวกเป็นเกณฑ์ เชน่ ถอื หน่วยเวลาเป็นชัว่ โมง เทา่ กันทกุ วิชา ทุกวันนอกจากนั้นก็ยังจัดเวลาเรียนเอาไว้ แน่นอนเป็นภาคเรยี น เปน็ ปี ในปัจจบุ นั ไดม้ ีความคดิ ในการจดั เป็นหนว่ ยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของแต่ ละวิชาซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงสั้นๆ แต่สอนบ่อยคร้ัง การเรียนก็ไม่จากัดอยู่แต่เฉพาะ ในโรงเรียนเทา่ นน้ั นวตั กรรมทส่ี นองแนวความคดิ พนื้ ฐานดา้ นน้ี เชน่ - การจัดตารางสอนแบบยืดหยนุ่ (Flexible Scheduling) - มหาวิทยาลัยเปดิ (Open University) - แบบเรยี นสาเร็จรปู (Programmed Text Book) - การเรยี นทางไปรษณีย์ ๔. ประสทิ ธภิ าพในการเรยี น การขยายตวั ทางวิชาการและการเปลีย่ นแปลงของสงั คม ทาให้มีส่ิงต่าง ๆ ทีค่ นจะตอ้ งเรยี นร้เู พมิ่ ข้ึนมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิ ภาพเพียงพอจึงจาเป็นต้อง แสวงหาวิธกี ารใหม่ที่มปี ระสทิ ธภิ าพสงู ข้นึ ทง้ั ในด้านปัจจัยเกี่ยวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก นวัตกรรมใน ดา้ นน้ีทเี่ กดิ ขนึ้ เช่น - มหาวทิ ยาลยั เปดิ - การเรยี นทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์ - การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรยี นสาเร็จรูป - ชดุ การเรยี น 1.5.1 เกณฑใ์ นการพิจารณานวตั กรรม เพื่อทจ่ี ะสามารถแยกแยะได้ว่าวธิ ีการทนี่ ามาใช้ในกระบวนการใด ๆ นน้ั จะเรยี กว่า เทคโนโลยีและ นวัตกรรม ศาสตราจารย์ ดร.ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (๒๕๒๖:๓๗ ไดก้ ล่าวถึง) เกณฑ์ของนวตั กรรมไว้ว่าประกอบดว้ ย ลกั ษณะ ๔ ประการคือ ๑. เป็นวิธีการใหมท่ ้ังหมดหรือเกิดจากการปรับปรงุ เปล่ียนแปลงวิธกี ารเดิม ๒. มกี ารนาเอาระบบ (System) พจิ ารณาองคป์ ระกอบของกระบวนการดาเนินการนน้ั ๆ ๓. มีการวิจัย หรืออย่รู ะหว่างการวิจยั ว่า ทาให้กระบวนการดาเนนิ งานน้ัน ๆ มี ประสิทธิภาพ สูงข้ึนกวา่ เดมิ ๔. ยังไม่เป็นส่วนหน่งึ ของระบบในปัจจบุ ัน กล่าวคอื หากวธิ กี ารนน้ั ๆ ไดร้ บั การนาเอา ไปใช้ อยา่ งกว้างขวางโดยทัว่ ไปแลว้ และวธิ ีการนัน้ มปี ระสทิ ธิภาพกจ็ ะถือวา่ วิธกี ารน้นั ๆ นบั เปน็ เทคโนโลยี 1.5.2 การปฏิเสธนวตั กรรม เมื่อมีผู้ค้นคิดหานวัตกรรมมาใช้ไม่ว่าในวงการใดก็ตาม มักจะได้รับการต่อต้านหรือ การปฏิเสธ ตัวอยา่ งเชน่ การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในยโุ รป ลทั ธกิ ารปกครอง หรือวิธีการสอนใหม่ ๆ เน่ืองมาจากสาเหตุหลาย ประการด้วยกันดังน้ี

การพัฒนาส่ือการสอนพระพุทธศาสนา ๘ ๑. ความเคยชนิ กบั วธิ ีการเดมิ ๆ เนอ่ื งจากบคุ คลมคี วามเคยชินกบั วธิ กี ารเดิมๆ ที่ ตนเองเคยใช้ และพึงพอใจในประสิทธิภาพของวิธีการน้ันๆ บุคคลผู้น้ันก็มักท่ีจะยืนยันในการใช้วิธีการนั้นๆ ต่อไปโดยยาก ท่ีจะเปล่ยี นแปลง ๒. ความไมแ่ นใ่ จในประสทิ ธิภาพของนวตั กรรม แม้บคุ คลผู้นน้ั จะทราบข่าวสารของนวัตกรรม นั้นๆ ในแง่ของประสทิ ธิภาพว่าสามารถนาไปใช้แกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดีก็ตาม การท่ีตนเอง มไิ ด้เป็นผูท้ ดลองใชน้ วตั กรรมนนั้ ๆ กย็ อ่ มทาใหไ้ ม่แน่ใจว่านวัตกรรมนน้ั ๆ มปี ระสทิ ธิภาพจริงหรอื ไม่ ๓.ความรู้ของบุคคลต่อนวัตกรรม เน่ืองจากนวัตกรรมเป็นส่ิงท่ีโดยมากแล้วบุคคลส่วนมาก มีความรู้ไม่เพียงพอแก่การท่ีจะเข้าใจในนวัตกรรมน้ันๆ ทาให้มีความรู้สึกท้อถอยที่จะเข้าใจในนวัตกรรมนั้นๆ ทาให้มีความรู้สึกท้อถอยท่ีจะแสวงหานวัตกรรมมาใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่างหนึ่งของนวัตกรรม ที่นาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ผู้ท่ีมีความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ ไม่พอเพยี งก็จะรูส้ ึกทอ้ ถอยและปฏเิ สธในการที่จะนานวตั กรรมน้ีมาใชใ้ นการเรียนการสอนในช้ันของตน ๔.ข้อจากดั ทางด้านงบประมาณโดยท่ัวไปแล้วนวัตกรรมมักจะต้องนาเอาเทคโนโลยี สมัยใหม่ มาใช้ในการพัฒนานวัตกรรม ดังนั้นค่าใช้จ่ายของนวัตกรรมจึงดูว่ามีราคาแพง ในสภาพเศรษฐกิจโดยท่ัวไป จึงไม่สามารถที่จะรองรับต่อค่าใชจ้ า่ ยของนวัตกรรมน้ัน ๆ แม้จะมองเหน็ วา่ จะช่วยให้การดาเนินการ โดยเฉพาะ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสูงข้ึนจริง ดังน้ันจะเป็นได้ว่าปัญหาด้านงบประมาณเป็นส่วนหน่ึงที่ทาให้เกิด การปฏิเสธนวัตกรรม 1.5.3 การยอมรบั นวตั กรรม ดังกล่าวมาแล้วว่าบุคคลจะปฏิเสธนวัตกรรมเนื่องด้วยสาเหตุหลัก คือ ความเคยชินกับวิธีการเดิมๆ ความไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของนวัตกรรมความรู้ของบุคคลว่านวัตกรรมและข้อจากัดทาง ด้านงบประมาณ ดังน้ันในการท่ีจะกระตุ้นให้บุคคลยอมรับนวัตกรรมนั้นๆ ต้องแก้ไขปัญหาหลักท้ัง ๔ ประการดังที่ได้กล่าว มาแล้ว เอเวอร์เรต เอม็ โรเจอร์ (Everretle M.Rogers อ้างในณรงค์ สมพงษ์, ๒๕๓๐:๖) กลา่ วถึงกระบวน การยอมรับนวตั กรรมว่าแบ่งออกเปน็ ๕ ขนั้ ตอน คือ ๑.ขัน้ ตนื่ ตวั (Awareness)ในข้ันนีเ้ ปน็ ขั้นของการท่ีผรู้ ับไดร้ ับรขู้ า่ วสารเกย่ี วกบั นวัตกรรมน้นั ๆ ๒.ขัน้ สนใจ(Interest)เปน็ ขั้นทผ่ี ้รู บั นวัตกรรมเกดิ ความสนใจวา่ จะสามารถแกไ้ ขปญั หาท่ีกาลงั ประสบอยู่ได้หรือไม่ ก็จะเรมิ่ หาขอ้ มลู ๓.ข้นั ไตรต่ รอง(Evaluation)ผรู้ บั จะนาข้อมูลท่ีไดม้ าพจิ ารณาวา่ จะสามารถนามาใช้แกป้ ัญหา ของตนได้จริงหรือไม่ ๔.ข้ันทดลอง(Trial)เมือ่ พิจารณาไตรต่ รองแล้วมองเห็นว่ามีความเป็นไปไดท้ ่ีจะช่วย แก้ไข ปัญหาของตนได้ ผู้รับก็จะนาเอานวตั กรรมดังกลา่ วมาทดลองใช้ ๕.ข้ันยอมรับ (Adoption) เม่ือทดลองใช้นวัตกรรมดังกล่าว แล้วหากได้ผลเป็นท่ีพอใจ นวัตกรรมดังกล่าวก็จะเป็นที่ยอมรับนามาใช้เป็นการถาวรหรือจนกว่าจะเห็นว่าด้อยประสิทธิ ภาพ หากไม่เกิด ประสิทธิภาพนวัตกรรมดังกล่าวก็จะไม่ได้รับการยอมรับจากบุคคลนั้นอีกต่อไป เมื่อพิจารณากระบวนการ ยอมรับนวัตกรรมของโรเจอร์แลว้ เปรียบเทยี บกับสาเหตุหลัก ๔ ประการของการปฏิเสธนวัตกรรมจะเห็นได้ว่า สาเหตุหลัก ๓ ประการแรก คือ ความเคยชินกับวิธีการเดิม ๆ ความไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของนวัตกรรม และความรู้ของบุคคลต่อนวัตกรรม จะสอดคล้องกับกระบวนการยอมรับนวัตกรรม คือ จะทาอย่างไร จึงจะให้ บุคคลนั้น ๆ มีความรู้ในนวัตกรรม ซึ่งเป็นขั้นต่ืนตัว (Awareness) เกิดความสนใจ (Interest) ศึกษาหาข้อมูล นาเอาข้อมูลมาไตร่ตรอง (Evaluation) แล้วจึงนาเอาไปทดลอง (Trail) ก่อนท่ีจะถึงข้ึนสุดท้ายก็คือข้ันของ การยอมรับ (Adoption) ในส่วนของปัญหาหลักข้อสุดท้ายก็คือข้อจากัดทางด้านงบประมาณนั้น เป็นการสอน

การพฒั นาสอ่ื การสอนพระพทุ ธศาสนา ๙ แบบร่วมมือประสานใจ ท่ีอาศัยกระบวน การเป็นองค์ประกอบหลัก เน้นการสอนแบบร่วมมือประสานใจ (Cooperative Learning) การสอนแบบมุง่ ประสบการณ์ภาษา หรือการเรียนรู้แบบค้นพบ ก็คงจะแก้ไขปัญหา หลักขอ้ สุดทา้ ยได้ นวตั กรรมที่นามาใชท้ ั้งทีผ่ า่ นมาแลว้ และท่จี ะมีในอนาคตมีหลายประเภทขน้ึ อยู่กบั การประยุกต์ ใช้ นวัตกรรมในดา้ นต่างๆ ในทีน่ ้ีจะขอกล่าวคือ นวตั กรรม ๕ ประเภท คือ ๑. นวัตกรรมทางด้านหลกั สตู ร ๒. นวัตกรรมการเรยี นการสอน ๓. นวตั กรรมสอื่ การสอน ๔. นวัตกรรมการประเมนิ ผล ๕. นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ 1.6 นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สตู ร นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้องถ่ินและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมี การเปลี่ยนแปลงอยเู่ สมอเพ่ือให้สอดคลอ้ งกับความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลกนอกจากนี้การพัฒนาหลักสูตรยังมีความจาเป็นท่ีจะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญา ทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดัง กล่าวต้องอาศัยแนวคิด และวิธกี ารใหมๆ่ ท่ีเป็นนวัตกรรมการศกึ ษาเขา้ มาช่วยเหลอื จัดการใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางท่ีต้องการ ๑.หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยาการ ในสาขาต่างๆการศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคมโดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประ โยชน์ จากองค์ ความรใู้ นสาขาตา่ งๆ ใหส้ อดคล้องกบั สภาพสังคมอยา่ งมจี รยิ ธรรม ๒.หลักสูตรรายบุคคลเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพเพ่ือตอบ สนอง แนวความคดิ ในการจดั การศึกษารายบุคคล ซ่ึงจะต้องออกแบบระบบเพื่อรองรับความ ก้าว หน้าของเทคโนโลยี ดา้ นตา่ งๆ ๓.หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจ กรรมและ ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพ่ือนาไปสู่ความสาเร็จ เช่น กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน ประสบการณก์ ารเรียนรูจ้ ากการสบื คน้ ด้วยตนเอง เป็นตน้ ๔.หลกั สูตรทอ้ งถน่ิ เป็นการพัฒนาหลักสูตรท่ีต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้อง ถิ่น เพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั ศลิ ปวัฒนธรรมส่งิ แวดลอ้ มและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละท้องถ่ิน แทนท่ีหลักสูตร ในแบบเดมิ ท่ใี ช้วิธกี ารรวมศูนยก์ ารพฒั นาอยูใ่ นส่วนกลาง 1.6.1 นวตั กรรมการเรยี นการสอน เป็นการใช้วิธรี ะบบในการปรบั ปรงุ และคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ท่ีสามารถตอบ สนองการเรียน รายบุคคลการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนแบบมีส่วนร่วมการเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธี สอนจาเปน็ ตอ้ งอาศัยวธิ กี ารและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เขา้ มาจดั การและสนับสนนุ การเรยี นการสอน ตัวอย่างนวัตกรรมท่ีใช้ในการเรียนการสอนการสอนแบบศูนย์การเรียนการใช้กระบวนการ กลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรู้ร่วมกันและการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การวิจัย ในช้ันเรยี น ฯลฯ

การพฒั นาสอื่ การสอนพระพทุ ธศาสนา ๑๐ 1.6.2 นวตั กรรมส่อื การสอน เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ สอนใหม่ ๆ จานวนมากมาย ท้ังการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวล ชน ตลอดจนสื่อ ที่ใชเ้ พอื่ สนบั สนนุ การฝึกอบรม ผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตวั อย่าง นวัตกรรมสอ่ื การสอน ได้แก่ - คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) - มลั ตมิ ีเดีย (Multimedia) - การประชุมทางไกล (Teleconference) - ชุดการสอน (Instructional Module) - วีดทิ ศั นแ์ บบมีปฏิสมั พนั ธ์ (Interactive Video) 1.6.3 นวตั กรรมทางด้านการประเมินผล เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเคร่ืองมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทาได้อย่าง รวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาสนบั สนนุ การวดั ผล ประเมนิ ผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ ตวั อย่าง นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล ไดแ้ ก่ - การพัฒนาคลังข้อสอบ - การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอนิ เตอร์เนต็ - การใชบ้ ัตรสมาร์ทการด์ ( Smart Card ) เพือ่ การใชบ้ รกิ ารของสถาบนั ศึกษา - การใช้คอมพิวเตอรใ์ นการตัดเกรด - ฯลฯ นวัตกรรมทางด้านการประเมินผลนับเป็นเร่ืองท่ีมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง แต่ก็มีเหมือนบาง สถาบนั การศึกษาเท่านั้นที่สามารถให้บริการได้ เนื่องจากบางสถาบันยังไม่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครือข่าย คอมพิวเตอร์ และขาดบุคลากร ท่ีมีความชานาญด้านการออกแบบระบบและการพัฒนาเครือข่ายซ่ึงต้องอาศัย ระยะเวลาอีกชว่ งหน่ึงทีจ่ ะพฒั นาระบบใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านในสถาบัน 1.6.4 นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การ เป็นการใช้นวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพ่ือการตัดสินใจ ของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกนวัตกรรม การศึกษา ท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเก่ียวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถาน ศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครภุ ัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านต้ี อ้ งการออกระบบท่ีสมบูรณ์มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง นอกจากน้ียังมีความ เกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ท่ีเก่ียวกับการจัด การศึกษา ซ่ึงจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นท่ีดีพอซึ่งผู้บริหารสามารถสืบค้น ขอ้ มูลมาใชง้ านไดท้ นั ทตี ลอด เวลา การใช้นวัตกรรมแตล่ ะด้านอาจมีการผสมผสานที่ซ้อนทับกันในบางเร่ือง ซ่ึง จาเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทาเป็นกลุ่มเพื่อให้ สามารถนามาใช้ร่วมกันไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

การพัฒนาสอ่ื การสอนพระพุทธศาสนา ๑๑ 1.6.5 การใช้นวตั กรรมการศึกษาด้านต่างๆ ในประเทศไทย วิธีระบบ (system approach) สามารถนามาใช้กับการพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งถือได้ว่าเป็น การวางแผนการศึกษาอย่างมีระบบ ควรนาวิธีระบบมาใช้เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองให้มาก โดยจะต้องมีการ วัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นการสอน มกี ารเรียนแบบระบบเปิดคอื เรียนดว้ ยตนเอง (self-learning) การเรยี นแบบอิสระ (independent learning) โดยทางโรงเรียนมศี ูนยก์ ารเรยี นท่มี ีส่ือเพยี บ พร้อมใน การเรียน ซง่ึ ณ ที่นน่ั มสี ื่อการเรยี นหลาย ๆ อย่างพร้อมมูล ให้นกั เรยี นมาหาความรจู้ ากศูนยน์ ้ีไดด้ ีเท่า ๆ กับไป ท่โี รงเรยี นอาจมีการจัดศูนยส์ ื่อในหอพักนักเรียน มุมใดมุมหนึ่งของห้อง สมดุ หรือมมุ ของห้องเรยี นมุมหนง่ึ 1.7 ศนู ยก์ ารเรยี น (Learning Center) ศูนย์การเรียน Learning Center เป็นระบบของการจัดการด้านสถานที่ เคร่ืองมือและส่ือต่างๆ ท่ีได้รับการติดตั้งอย่างเป็นระบบเพื่อการเรียนรู้ ในศูนย์การเรียนควรมีเครื่องมือช่วยการเรียนรู้ท้ังหลาย ของผู้เรียน เรียนสามารถยืมสื่อการศึกษาไปเรียนที่บ้าน เช่นเดียวกับการยืมหนังสือ สาหรับพ่อแม่ที่มี ความพร้อมในการจัดหาฮาร์ดแวร์ไว้ใช้ท่ีบ้านได้ก็ยืมซอฟท์แวร์จากโรงเรียนมาศึกษาเองที่บ้าน คนในบ้านก็มา เรียนรู้ร่วมกนั ได้ ภายในศนู ยก์ ารเรียนอาจมเี ครอื่ งบางอย่างให้ผู้เรียนศึกษาได้ เช่น เครื่องอ่านวัสดุย่อส่วนแบบ กระเป๋าห้ิว (Portable Microform Reader) คอมพิวเตอร์ ที่สามารถสืบค้นข้อมูลได้ มีบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน(CAI) ไว้สาหรับให้ใช้ศึกษาด้วยตนเอง พร้อมท้ังเคร่ืองมือโสตทัศนูปกรณ์พวกเครื่องเสียง เครื่องฉาย สไลด์แบบมจี อในตัว ซึ่งสามารถใช้ศกึ ษาสไลด์ประกอบเสยี ง ฯลฯ ปัจจุบันมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ คือ คอมพิวเตอร์ ทช่ี ว่ ยการเรียนขนาดเล็กที่เรียกว่า พ๊อกเก็ตพีซี (Pocket PC) มีโปรแกรมการเรียนที่ผลิตเป็นแผ่นบันทึกข้อมูล ซึ่งทาด้วยแม่เหล็ก (Magnetic cards) แผ่นเล็ก ๆใส่เข้าไปในช่องได้ง่าย ๆ เด็กก็สามารถเล่นเองได้ และยัง สามารถตอ่ เขา้ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ การพัฒนาเครือข่ายเพื่อใช้ในศูนย์การเรียน จะมีการใช้โปรแกรมช่วย บริหารจัดการศูนย์ ที่เป็น ทรัพยากรการเรียน Learning Resources Center ซ่ึงประกอบไปด้วยห้องสมุด เสมือน Virtual Library ท่ีสามารถเก็บข้อมูลที่เป็นส่ือดิจิตอลมัลติมีเดียทุกประเภท เช่น ไฟล์วิดิโอ ไฟล์เสียง ไฟล์เอกสาร หรือ กราฟิกประเภทต่างๆ ไว้ในเครื่องแม่ข่าย (File Server) ซึ่งผู้เรียนท่ีอยู่ในหรือนอกศูนย์ การเรียนสามารถเข้ามาใช้ Resources ที่มีอยู่ในเคร่ืองแม่ข่ายได้ ซึ่งจะช่วยอานวยความสะดวกกับผู้เรียน ไม่ตอ้ งเดินทางไปคน้ หาสอ่ื ในท่ีต่างๆ ด้วยตนเอง 1.7.1 การเปลยี่ นบทบาทของครู ปัจจุบันครูควรลดบทบาทให้เหลือน้อยท่ีสุด จากการสอนแบบบอกให้จด หรือบรรยายให้ความรู้แก่ ผู้เรียนเป็นผู้อานวยการเรียน (facilitator) เป็นการให้นักเรียนเป็นผู้มีบทบาทในการเรียนให้มากท่ีสุด โดยครู เป็นผู้วางแผนการสอนออกมาเป็นกิจกรรมการเรียน ให้นักเรียนเรียนเป็นกลุ่ม หรือเรียนด้วยตนเอง การพัฒนาการเรยี นการสอนควรยึดหลักตอ่ ไปน้คี ือ ๑.ใชส้ ่ือการสอนอย่างเปน็ ระบบ ๒. ทาการฝึกอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการเป็นครัง้ คราวแก่อาจารยเ์ พอื่ ให้มีการพัฒนาตนเอง ๓. การเรียนโดยใช้สื่อกับกลุ่มใหญ่ กลุ่มเล็ก หรือเรียนแบบตัวต่อตัว โดยใช้ทีวี วิทยุ เทป คาสเซท็ ท์ หรืออาจใชว้ ธิ กี ารอน่ื ๆ ๔. มีชดุ สือ่ ชว่ ยสอนเสรมิ เปน็ บทเรยี นดว้ ยตนเอง เช่นการใชบ้ ทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ๕. การเชิญผู้ชานาญการประจาท้องถ่ินสาขาต่างๆ มาเป็นวิทยากร หรือให้วิทยากรร่วมเป็น สมาชิกของคณะครผู ูส้ อนเรียกว่า การสอนเปน็ คณะ ๖. เม่ือครูเปลี่ยนบทบาท ครูตอ้ งรูจ้ กั ใชส้ ่ือท่ีเหมาะสมในการเรยี นการสอนด้วย

การพัฒนาสือ่ การสอนพระพุทธศาสนา ๑๒ ๗.จัดกิจกรรมการเรียนให้เข้ากับหลักสูตร มีห้องเรียนอเนกประสงค์คือห้องเรียนที่ใช้ได้ทั้ง นกั เรยี นกลมุ่ ใหญแ่ ละกลุ่มเลก็ หรอื ใช้เปน็ ท่ีเรียนแบบอิสระ ที่โรงเรียนของรัฐในมลรัฐแคลิ ฟอร์เนีย เมืองซานดิ เอโกหอ้ งเรียนแบบนี้ ซึ่งใช้ประโยชนต์ อ่ การศึกษาเปน็ อยา่ งมาก 1.7.2 สอื่ ชว่ ยสอนทที่ ันสมยั ๑.การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ท้ังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน และการศึกษาตาม อัธยาศัย ตัวอย่างท่ีใช้การเรียนการสอนแบบน้ีคือ โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมไทยคม โรงเรียน ไกลกังวล (Distance Education Through Satellite) ๒.เคเบิลทวี ีใช้สอนสาหรบั การศกึ ษาท้งั ในและนอกระบบโรงเรียน ซึ่งให้ความรู้เรื่องต่างๆ เช่น การสังคมสงเคราะห์ เรื่องข่าวสารการเมืองปัจจุบัน เร่ืองความปลอดภัยในครัวเรือน หรือในที่สาธารณะ สอนเร่ืองเกี่ยวกับสุขภาพ กฎหมาย การกินดีอยู่ดี ปัญหาของผู้บริโภค การจัดโปรแกรมให้เด็กฉลาดและเด็ก ทเี่ รยี นไมท่ ันชั้นเรยี น ได้เรียนเสริมด้วยตนเองที่บ้าน ๓.วดิ โี อดิสก์ Video Disc (Video Disc) เปน็ สื่อทีน่ ิยมใช้ในปจั จบุ นั เนอื่ งจากมีขนาดเล็ก เก็บ รักษาง่ายและให้คุณภาพดี ปัจจุบันมีการผลิต วิดีโอคอมแพคดิสก์- Video Compact Disc (VCD) ความรู้ ต่างๆ ออกมาจาหน่ายอย่างมาก เช่นเรื่องเก่ียวกับนิทาน ความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา ฯลฯ วดิ โี อดิสกน์ ้มี นี า้ หนักเบา ขนยา้ ยง่าย นิยมใช้กันมาก ในอนาคต วดิ ีโอคอมแพคดิสก์ จะเปลี่ยนรูปแบบเป็น แผ่น ดีวีดี Digital Video Disk (DVD) ซึ่งเป็นแผ่นขนาดเท่า วิดีโอคอมแพคดิสก์ แต่สามารถบรรจุข้อมูลได้ เพ่มิ ขึน้ เปน็ สิบเท่าของแผน่ ซีดวี ดิ โี อในปัจจบุ ัน 1.7.3 คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นเครื่องมือช่วยครูในการเรียนการสอน โดยบรรจุเน้ือหาท่ีจะสอนไว้ใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง และมีเทคนิคการสอนท่ีอยู่บนพื้นฐาน ของการมีปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผูเ้ รยี นและเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ประโยชนข์ องคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน วารินทร์ รศั มีพรหม (๒๕๓๑ : ๑๙๒-๑๙๓) ไดก้ ล่าวถึงประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนพอสรุปได้ ดังนี้ ๑. ผู้เรียนเรียนได้ตามความช้าเร็วของตนเอง ทาให้สามารถควบคุมอัตราเร่งของการเรียนได้ด้วย ตนเอง ๒. การตอบสนองที่รวดเร็วของคอมพิวเตอร์ ทาใหผ้ ู้เรยี นได้รบั การเสรมิ แรงท่รี วดเรว็ ดว้ ย ๓. อาจจัดทาโปรแกรมใหม้ บี รรยากาศทนี่ า่ ชื่นชม ซึ่งเหมาะสาหรับผูเ้ รยี นท่ีเรยี นชา้ ได้ ๔. สามารถเอาเสียงดนตรี สีสัน ภาพเคล่ือนไหว ซ่ึงทาให้ดูเหมือนของจริงและยังเร้าใจขณะฝึก ปฏบิ ตั ิ (drill) หรือสถานการณ์จาลองได้เป็นอย่างดี ๕. ผสู้ อนสามารถควบคมุ การเรยี นของผู้เรียนได้เพราะคอมพิวเตอร์จะบันทึกการเรียนของผู้เรียน แต่ละบุคคลไว้ ๖. ผ้สู อนสามารถควบคมุ การเรียนของผู้เรียนได้ เพราะคอมพวิ เตอร์จะบันทึกการเรียนของผู้เรียน แต่ละบุคคลได้ ๗. ความใหมแ่ ปลกของคอมพวิ เตอร์ จะเพ่ิมความสนใจ ความตั้งใจของผู้เรียนมากข้นึ ๘. คอมพวิ เตอรใ์ หก้ ารสอนท่ีเช่อื ถือไดแ้ ก่ผู้เรียน ๙. จะช่วยลดเวลาของครู และลดคา่ ใชจ้ ่ายลง และสามารถทาให้ผเู้ รียนบรรลุวัตถปุ ระสงค์ได้ โดยงา่ ย

การพฒั นาสอ่ื การสอนพระพุทธศาสนา ๑๓ 1.7.4 ความหมายของเทคโนโลยี ความเจริญในด้านต่าง ๆ ท่ีปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลอง ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆ โดยอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เมื่อศึกษาค้นพบและทดลองใช้ได้ผลแล้ว ก็นาออก เผยแพร่ใช้ในกิจการด้านต่างๆ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพัฒนาคุณภาพและประสิทธิ ภาพในกิจการต่างๆ เหล่าน้ัน และวิชาการที่ว่าด้วยการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในกิจการด้านต่างๆ จึงเรียกกันว่า “วิทยาศาสตร์ประยุกต์” หรอื นิยมเรียกกนั ทว่ั ไปว่า “เทคโนโลยี” เทคโนโลยี หมายถงึ การใช้เครอ่ื งมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผูท้ ี่นาเอาเทคโนโลยี มาใช้ เรยี กวา่ นักเทคโนโลยี (Technologist) เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนาวิธีการ มาปรับปรุง ประสิทธิภาพ ของการศึกษาให้สูงข้ึนเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ ๓ ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และ วธิ กี าร สภาเทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติได้ให้คาจากัดความของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ว่าเป็น การพัฒนาและประยุกต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนามาใช้ในสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม เพอ่ื สร้างเสริมกระบวนการเรยี นร้ขู องคนให้ดียงิ่ ขึน้ ดร.เปรื่อง กุมุท ได้กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาว่า เป็นการขยายขอบข่ายของการใช้ สื่อการสอน ให้กว้างขวางข้ึนทั้งในด้านบุคคล วัสดุเคร่ืองมือ สถานที่ และกิจกรรมต่างๆในกระบวนการเรียน การสอน Edgar Dale กล่าวว่า เทคโนโลยีทางการศกึ ษา ไมใ่ ช่เคร่ืองมอื แต่เป็นแผนการหรือวิธีการทางานอย่าง เป็นระบบ ใหบ้ รรลุผลตามแผนการ นอกจากนเ้ี ทคโนโลยที างการศึกษา เปน็ การขยายแนวคิดเก่ียวกับโสตทัศนศึกษา ให้กว้าง ขวางยิ่งข้ึน ท้ังน้ี เนื่องจากโสตทัศนศึกษาหมายถึง การศึกษาเก่ียวกับการใช้ตาดูหูฟัง ดังนั้นอุปกรณ์ในสมัย ก่อนมักเน้น การใช้ประสาทสัมผัส ด้านการฟังและการดูเป็นหลัก จึงใช้คาว่าโสตทัศน์อุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการศึกษา มีความหมายที่กว้างกว่า ซึ่งอาจจะพิจารณาจาก ความคิดรวบยอดของเทคโนโลยีได้เป็น ๒ ประการคือ ๑. ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ตามความคิดรวบยอดน้ี เทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถึง การประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของสิ่งประดิษฐ์ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้สาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เคร่ืองมือเหล่าน้ี มักคานึงถึงเฉพาะการควบคุม ใหเ้ ครอื่ งทางาน มักไม่คานึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและการเลือกส่ือ ใหต้ รงกับเน้อื หาวชิ า ความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามความคิดรวบยอดน้ี ทาให้บทบาทของเทคโนโลยี ทางการศกึ ษาแคบลงไป คอื มีเพยี งวัสดุ และอุปกรณ์เทา่ น้นั ไม่รวมวิธกี าร หรือปฏิกิริยาสัมพันธ์อ่ืนๆเข้าไปด้วย ซง่ึ ตามความหมายนีก้ ็คอื “โสตทศั นศึกษา”นัน่ เอง ๒.ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ เป็นการนาวิธีการทางจิตวิทยา มนุษยวิทยา กระบวนการ กลุ่ม ภาษา การส่ือความหมาย การบริหาร เครือ่ งยนตก์ ลไก การรบั รมู้ าใช้ควบคู่กับผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม เพื่อให้ผู้เรียนเปล่ียนพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิ ภาพย่ิงข้ึนมิใช่เพียงการใช้เคร่ืองมือ อปุ กรณเ์ ท่าน้ัน แตร่ วมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตรเ์ ข้าไปด้วย มิใช่วัสดุ หรอื อุปกรณ์ แต่เพียงอย่างเดียว

การพัฒนาส่ือการสอนพระพุทธศาสนา ๑๔ นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทาใหม่ๆ ซึ่งนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการจะมี การคิดและทาสิ่งใหม่อยู่เสมอ ดังนั้นนวัตกรรมจึงเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนใหม่ได้เรื่อยๆ สิ่งใดท่ีคิดและทามานานแล้ว ก็ถอื ว่าหมดความเป็นนวตั กรรมไป โดยจะมสี ิง่ ใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีส่ิงที่เรียกว่านวัตกรรมทางการศึกษา หรือนวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจานวนมาก บางอย่างเกิดข้ึนใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ยังคงถือว่าเป็น นวัตกรรม เนื่องจากนวตั กรรมเหลา่ นัน้ ยังไมแ่ พรห่ ลายเปน็ ที่รู้จกั ทัว่ ไป ในวงการศึกษา 1.8 นวตั กรรมทางการศกึ ษาตา่ งๆทกี่ ลา่ วถงึ กนั มากในปจั จบุ นั E-learning ความหมาย เป็นคาท่ใี ชเ้ รยี กเทคโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ท่ียงั ไม่มชี ่อื ภาษาไทยท่ีแน่ ชัดและมีผนู้ ยิ ามความหมายไวห้ ลายประการ ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ให้คานิยาม E-Learning หรือ Electronic Learning ว่า หมายถึง “การเรียนผ่านทางส่ืออิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้การ นาเสนอเน้ือหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของส่ือมัลติมีเดีย ได้แก่ ขอ้ ความอเิ ลคทรอนกิ ส์ ภาพน่ิง ภาพกราฟกิ วิดโี อ ภาพเคลอ่ื นไหว ภาพสามมติ ฯิ ลฯ คุณธิดาทิตย์ จันคนา ที่ให้ความ หมายของ e-learning หมายถึงการศึกษาท่ีเรียนรู้ผ่านเครือข่าย อินเตอร์เนตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ ด้วยตัวเอง การเรียนรู้จะเป็นไปตามปัจจัยภายใต้ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้สอง ประการคือ เรียนตามความรู้ความสามารถของผู้เรียนเอง และการตอบสนองใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล (เวลาทแี่ ตล่ ะบุคคลใชใ้ นการเรยี นรู้)การเรยี นจะกระทาผ่านสื่อบนเครือ ข่ายอินเตอร์เนต โดยผู้สอนจะนาเสนอ ข้อมูลความรู้ให้ผู้เรียนได้ทาการศึกษาผ่านบริการ World Wide Web หรือเวปไซด์ โดยอาจให้มีปฏิสัมพันธ์ (สนทนา โต้ตอบ ส่งข่าวสาร) ระหว่างกัน จะที่มีการ เรียนรู้ ใู้ นสามรูปแบบคือ ผู้สอนกับ ผู้เรียน ผู้เรียนกับ ผู้เรียนอีกคนหน่ึง หรือผู้เรียนหน่ึงคนกับกลุ่มของผู้เรียน ปฏิสัมพันธ์น้ีสามารถ กระทา ผ่านเครื่องมือสอง ลักษณะคอื ๑) แบบ Real-time ไดแ้ กก่ ารสนทนาในลกั ษณะของการพมิ พข์ อ้ ความแลกเปล่ียนข่าวสารกันหรือส่ง ในลักษณะของเสียงจากบริการของChatroom ๒) แบบ Non real-time ได้แก่การส่งข้อความถึงกันผ่านทางบริการ อิเลคทรอนิคเมลล์ WebBoardNews-groupเป็นต้น ความหมายของ e-Learning ท่ีมีปรากฏอยู่ในส่วนคาถามที่ถูกถามบ่อย (Frequently Asked Question : FAQ) ในเวป www.elearningshowcase.com ให้นิยามว่า e-Learning มีความหมาย เดียวกับ Technology-based Learning นั้นคือการศึกษาท่ีอาศัยเทคโนโลยีมาเป็นส่วนประกอบที่ สาคัญ ความหมาย ของ e-Learning ครอบคลมุ กว้างรวมไปถงึ ระบบโปรแกรม และขบวนการท่ี ดาเนินการ ตลอดจนถึงการศึกษา ท่ีใช้ ้คอมพิวเตอร์เป็นหลักการศึกษาท่ีอาศัยWebเป็นเคร่ืองมือหลักการศึกษาจากห้องเรียนเสมือนจริง และ การศึกษาที่ใช้ การทางานร่วมกันของอุปกรณ์อิเลคทรอนิค ระบบดิจิตอล ความหมายเหล่านี้มาจากลักษณะ ของการส่งเน้ือหาของบทเรียนผ่านทาง อุปกรณ์อิเลคทรอนิค ซึ่งรวมทั้งจากในระบบอินเตอร์เนต ระบบ เครอื ขา่ ยภายใน (Intranets) การ ถ่ายทอดผ่านสัญญาณทีวี และการใช้ซีดีรอม อย่างไรก็ตาม e-Learning จะ มคี วามหมายในขอบเขต ทแ่ี คบกวา่ การศกึ ษาแบบทางไกล (Long distance learning) ซึ่งจะรวมการเรียนโดย อาศัยการสง่ ข้อความหรือเอกสารระหว่างกันและชั้นเรียนจะเกิดขึ้นในขณะที่มีการเขียนข้อความส่งถึงกัน การ นิยามความหมายแก่ e-learning Technology-based learning และ Web-based Learning ยังมี ความ แตกตา่ งกนั ตามแตอ่ งคก์ ร บคุ คลและกลุม่ บุคคลแตล่ ะแห่งจะใหค้ วามหมาย และคาดกันว่าคา ว่า e-Learning

การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา ๑๕ ท่ีมีการใช้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998 ในท่ีสุดก็จะเปลี่ยนไปเป็น e-Learning เหมือนอย่าง กับท่ีมีเปลี่ยนแปลงคา เรยี กของ e-Business เมื่อกล่าวถึงการเรียนแบบ Online Learning หรือ Web-based Learning ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Technology-based Learning n่ีมีการเรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เนต อินทราเนต และ เอ็ซทราเนต (Extranet) พบว่าจะมีระดับ การจัดการท่แี ตกตา่ งกันออกไป Online Learning ปกตจิ ะ ประกอบด้วยบทเรียน ที่มีข้อความและรูปภาพ แบบฝึกหัดแบบทดสอบ และบันทึกการเรียน อาทิ คะแนนผลการทดสอบ(test score) และบันทึกความก้าวหน้าของการเรียน(bookmarks) แต่ถ้าเป็น Online Learning ท่ีสูงข้ึนอีกระดับ หน่ึง โปรแกรมของการเรียนจะประกอบด้วยภาพเคล่ือนไหว แบบ จาลอง สื่อที่เป็นเสียง ภาพจากวิ ดีโอ กลุ่มสนทนาท้ังในระดับเดียวกันหรือในระดับผู้รู้ ผู้มีประสบการณ์ ท่ีปรึกษาแบบออนไลน์ (Online Mentoring) จดุ เช่อื มโยงไปยังเอกสารอ้างองิ ที่มีอยู่ ในบริการของเว็ปไซต์ และการส่ือสารกับระบบที่บันทึกผล การเรียน เป็นตน้ การเรียนรู้แบบออนไลน์หรือ e-learning การศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตาม ความสามารถ และความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซ่ึงประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพเสียง วิดีโอและมัลติมีเ ดีย อ่นื ๆ จะถกู สง่ ไปยงั ผเู้ รียนผา่ น Web Browser โดยผู้เรยี น ผสู้ อน และ เพ่อื นรว่ มชน้ั เรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับ การเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการ ติดต่อ ส่ือสารท่ีทันสมัย(e-mail, web-board, chat) จึงเป็นการเรียนสาหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุก สถานท่ี (Learn for all : anyone, anywhere andanytime) สรุป ุ่ง เ ป็ ำ นวัตกรรม เป็นความคดิ หรือการกระทาใหม่ๆ ซงึ่ นกั วิชาการหรือผ้เู ชีย่ วชาญในแต่ละวงการจะมีการคิด และทาสิ่งใหม่อยู่เสมอ ดังนั้นนวัตกรรมจึงเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนใหม่ได้เร่ือยๆ ส่ิงใดท่ีคิดและทามานานแล้ว ก็ถือว่า หมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีสิ่งใหม่มาแทน ในปัจจุบัน มีสิ่งท่ีเรียกว่านวัตกรรมทางการศึกษา หรือ นวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจานวนมาก บางอยา่ งเกดิ ขึ้นใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ ยงั คงถอื ว่าเปน็ นวตั กรรม เน่ืองจากนวตั กรรมเหล่านั้นยงั ไมแ่ พรห่ ลายเป็นท่รี จู้ ักทัว่ ไป ในวงการศกึ ษา

การพัฒนาสือ่ การสอนพระพทุ ธศาสนา ๑๖ บทที่ ๒ การใชส้ ื่อและเทคโนโลยี วตั ถุประสงคป์ ระจาบท เมอื่ ได้ศกึ ษาเนอื้ หาในบทน้ีแลว้ ผ้ศู ึกษาสามารถ ๑. อธบิ ายความหมายและความสาํ คญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ ๒. อธิบายการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการศึกษาได้ ๓. อธบิ ายบทบาทและความสําคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ตอ่ การบริหารจดั การศึกษาได้ ขอบข่ายเน้อื หา  ความหมายและความสําคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ  การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการศึกษา  บทบาทและความสําคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตอ่ การบรหิ ารจดั การศึกษา

การพฒั นาส่อื การสอนพระพทุ ธศาสนา ๑๗ ๒.๑ ความนา ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสําคัญกับการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technology : ICT) เพื่อนํามาใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาประเทศท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา จนเกิดภาพความแตกต่างระหว่างประเทศท่ีมีความพร้อมทาง ICT กับประเทศที่ขาด แคลนท่ีเรียกว่า Digital Divide ในขณะเดียวกันประเทศท่ัวโลกต่างมุ่งสร้างสังคมใหม่ให้เป็นสังคมท่ีใช้ความรู้ เป็นฐาน (Knowledge Based Society) จนเกิดภาพความแตกต่างระหว่างสังคมท่ีสมบูรณ์ด้วยความรู้กับ สังคมที่ด้อยความรู้ ที่เรียกว่า Knowledge Divide ในยุคของการปฏิรูปการศึกษา เราเร่งพัฒนาการศึกษาให้ การศึกษาไปพัฒนาคุณภาพของคน เพ่ือให้คนไปช่วยพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จึงเป็นเครื่องมือที่มีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา เช่น ช่วยนํา การศึกษาให้เข้าถึงประชาชน (Access) ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องนอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตาม อธั ยาศัย ช่วยจดั ทาํ ขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและแม่นยําในการจัดทํา ข้อมลู และการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่างๆ ในงานจัดการศึกษา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนการสอน แต่การให้ความสนใจกับการใช้เทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้ ของผเู้ รียนก็อาจหลงทางได้ ถา้ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษายึดถอื การมีเทคโนโลยเี ป็นจุดหมายปลายทางของการศึกษา แทนที่จะยึดถือผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นจุดหมาย ปรากฏการณ์ของการหลงทางจะพบเห็นในการ ประชาสัมพันธ์ถึงความพร้อมทางระบบคอมพิวเตอร์ การมีเครือข่ายโยงเข้า Internet สะดวก ผู้เรียนเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี และมีโอกาสใช้ได้เต็มที่ แต่ในบางสถานศึกษาผู้เรียนอาจใช้เทคโนโลยีไม่คุ้มค่า ขาดเป้าหมายในการเรียนรู้สาระสําคัญตามหลักสูตรวิชาต่างๆ และขาดโอกาสในการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา กระบวนการทางปัญญาอยา่ งแทจ้ รงิ ๒.๒ ความหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (อังกฤษ: information technology: IT) คือการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดดําเนินการข้อมูล ซึ่งมักเกี่ยวข้อง กับธุรกิจหนึ่งหรือองค์การอื่นๆ ศัพท์นี้โดยปกติก็ใช้แทนความหมายของเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และยังรวมไปถึงเทคโนโลยีการกระจายสารสนเทศอย่างอื่นด้วย เช่นโทรทัศน์และโทรศัพท์ อุตสาหกรรมหลายอย่างเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสน เทศ ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์กึ่งตัวนาํ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์โทรคมนาคม การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการ ทางคอมพิวเตอร์๑ เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology: IT) หมายถึง การนําเอาเทคโนโลยีมาใช้สร้าง มูลค่าเพ่ิมใหก้ บั สารสนเทศ ทําให้สารสนเทศมีประโยชน์และใช้งานได้กว้างขวางมากข้ึน เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ ที่จะรวบรวม จัดเก็บ ใช้งาน ส่งต่อ หรือส่ือสารระหว่างกัน เทคโนโลยี สารสนเทศเกี่ยวข้องโดยตรงกับเคร่ืองมือเครื่องใช้ในการจัดการสารสนเทศ ซ่ึงได้แก่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง ขั้นตอน วิธีการดําเนินการ ซ่ึงเก่ียวข้องกับซอฟต์แวร์ เกี่ยวข้องกับตัวข้อมูล เกี่ยวข้องกับ ๑ วกิ พี ีเดยี สารานุกรมเสร,ี เทคโนโลยีสารสนเทศ, เข้าถงึ จาก https://th.wikipedia.org/wiki, สืบคน้ เมอ่ื ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙.

การพฒั นาสือ่ การสอนพระพุทธศาสนา ๑๘ บุคลากร เก่ียวข้องกับกรรมวิธีการดําเนินงานเพ่ือให้ข้อมูลเกิดประโยชน์สูงสุด นอกจากน้ีแล้วยังรวมไปถึง โทรทศั น์ วทิ ยุ โทรศพั ท์ โทรสาร หนังสอื พมิ พ์ นติ ยสารต่างๆ เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีในการจัดหาและได้มาซึ่งข้อมูลต่างๆ ตลอดจนการสร้างสรรค์ จัดเก็บ แสดงผล แลกเปล่ียน เผยแพร่และจัดการข้อมูลในรูปแบบเสียง ภาพ ข้อความหรือตัวเลขด้วยการใช้ คอมพวิ เตอร์และการส่อื สาร๒ Information Technology หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบ สารสนเทศ ต้ังแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศ ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพและรวดเรว็ ทนั ต่อเหตกุ ารณ์ โดยเทคโนโลยสี ารสนเทศ อาจประกอบด้วย ๑. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เคร่ืองใช้สํานักงาน อุปกรณ์สื่อสาร โทรคมนาคมต่างๆ รวมทัง้ ซอฟท์แวร์ท้ังแบบสําเร็จรูปและแบบพัฒนาข้ึนเพ่ือใช้ในงานเฉพาะด้าน ซ่ึงเคร่ืองมือ เหลา่ นี้จดั เป็นเคร่อื งมอื ทันสมัย และใช้เทคโนโลยรี ะดบั สูง (High Technology) ๒. กระบวนการในการนําอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพ่ือรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธเ์ ป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ทส่ี ามารถนาํ ไปใช้ประโยชนไ์ ดต้ อ่ ไป เช่น การจัดเก็บข้อมูลใน ลกั ษณะของฐานข้อมูล เป็นตน้ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง อุปกรณ์ หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมป ระมวล เก็บรักษาและเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศ โดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ฐานข้อมูลและการสื่อสารโทรคมนาคม เป็นต้น๔ ๒.๓ ความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ พื ้น ฐ า น ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ย ีย ่อ ม ม ีป ร ะ โ ย ช น ์ต ่อ ก า ร พ ัฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ช า ต ิใ ห ้เ จ ร ิญ ก ้า ว ห น ้า ไ ด้ แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มาก ลักษณะเด่น ที่สาํ คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศมีดังนี้ ๑.เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ในการ ประกอบการทางด้านเศรษฐกิจ การค้าและการอุตสาหกรรม จําเป็นต้องห าวิธีในการเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเข้ามาช่วยทําให้เกิดระบบ อัตโนมัติ เราสามารถฝากถอนเงินสดผ่านเครื่องเอทีเอ็มได้ตลอดเวลา ธนาคารสามารถให้บริการได้ดีขึ้น ทําให้การบริการโดยรวมมีประสิทธิภาพ ในระบบการจัดการทุกแห่งต้องใช้ข้อมูลเพื่อการดําเนินการและ การตัดสินใจ ระบบธุรกิจจึงใช้เครื่องมือเหล่านี้ช่วยในการทํางาน เช่น ใช้ในระบบจัดเก็บเงินสด จองตั๋ว เครื่องบิน เป็นต้น ๒.เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนรูปแบบการบริการเป็นแบบกระจาย เมื่อมีการพัฒนาระบบข้อมูล และการใช้ข้อมูลได้ดี การบริการต่างๆ จึงเน้นรูปแบบการบริการแบบกระจาย ผู้ใช้สามารถสั่งซื้อสินค้า จากที่บ้าน สามารถสอบถามข้อมูลผ่านทางโทรศัพท์ นิสิตนักศึกษาบางมหาวิทยาลัยสามารถใช้ คอมพิวเตอร์สอบถามผลสอบจากที่บ้านได้ ๒ http://www.nukul.ac.th/it/content/๐๒/๒-๑.html#๑๑๑ ๓ http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/๐๔๐๙๓๐๐๙_๒๒๐๔/isweb/Lesson%๒๐๒๒.htm ๔ ความหมายและขอบขา่ ยของเทคโนโลยีการศกึ ษา. http://images.dearao.multiply.multiplycontent.com/.../๓hathaikan_๑๔๑๓๓๖.doc

การพฒั นาส่อื การสอนพระพทุ ธศาสนา ๑๙ ๓.เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งที่จําเป็น สําหรับการดําเนินการในหน่วยงานต่างๆ ปัจจุบันทุก หน่วยงานต่างพัฒนาระบบรวบรวมจัดเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในองค์การประเทศไทยมีระบบทะเบียนราษฎร์ ที่จัดทําด้วยระบบ ระบบเวชระเบียนในโรงพยาบาล ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาษี ในองค์การทุกระดับเห็น ความสําคัญที่จะนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ๔.เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องกับคนทุกระดับ พัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทําให้ชีวิต ความเป็นอยู่ของคนเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ดังจะเห็นได้จาก การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้ตาราง คํานวณ และใช้อุปกรณ์ส่ือสารโทรคมนาคมแบบต่างๆ เป็นต้น๕ ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผคู้ นไว้หลายประการดังตอ่ ไปนี้ ประการท่ีหนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทําให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็น สังคมสารสนเทศ ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทําให้ระบบเศรษฐกิจเปล่ียนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจ โลก ที่ทําให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทําให้เกิด สงั คมโลกาภวิ ฒั น์ ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทําให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบ มากขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลงและเช่ือมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอ่ืนเป็นเครือข่าย การดําเนินธุรกิจ มีการแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารโทรคมนาคม เปน็ ตัวสนับสนนุ เพอ่ื ให้เกิดการแลกเปลยี่ นขอ้ มูลได้งา่ ยและรวดเร็ว ประการท่ีส่ี เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตาม ความต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ทีเ่ ลอื กไดเ้ อง ประการทห่ี า้ เทคโนโลยสี ารสนเทศทาํ ให้เกิดสภาพทางการทํางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา ประการท่ีหก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึ้น อีกท้ังยังทําให้ วถิ กี ารตัดสนิ ใจ หรือเลือกทางเลอื กไดล้ ะเอียดขึน้ ๖ ๒.๔ การนาเทคโนโลยมี าใช้ในการศกึ ษา ๒.๔.๑ แนวคิดของบลิ ล์ เกตส์ (Bill Gate) ๑. การเรียนไม่ได้มีเฉพาะในห้องเรียน ในโลกยุคปัจจุบัน คนสามารถที่จะเรียนได้จากแหล่งความรู้ที่ หลากหลาย โดยเฉพาะทางด่วนข้อมูล (Information Superhighway) ซ่ึงกําลังจะมีบทบาท และมี ความสําคัญอย่างย่ิงต่อการจดั การศกึ ษาของมนุษย์ ๒. ผู้เรียนมีความแตกต่างระหว่างบุคคล บิลล์ เกตส์ ได้อ้างทฤษฎีอาจารย์วิชาการศึกษาที่ว่า เด็ก แต่ละคนมีความแตกต่างกัน จึงจําเป็นจะต้องจัดการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่าง บุคคล เพราะเด็กแตล่ ะคนมคี วามร้คู วามเข้าใจ ประสบการณ์ และการมองโลกแตกต่างกนั ออกไป ๓. การเรียนที่ตอบสนองความต้องการรายคน การศึกษาที่สอนเด็กจํานวนมาก โดยรูปแบบที่จัด เปน็ รายช้ันเรยี น ในปจั จุบันไม่สามารถท่ีจะตอบสนองความต้องการของเด็กเป็นรายคนได้ แต่ด้วยอํานาจ และ ๕ http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/information๒.html ๖ http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/๐๔๐๙๓๐๐๙_๒๒๐๔/isweb/Lesson%๒๐๒๒.htm

การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา ๒๐ ประสทิ ธภิ าพของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การเรียนตามความต้องการของแต่ละคน ซึ่งเป็นความฝันของนักการ ศึกษามานานแล้วนั้น สามารถจะเป็นจรงิ ไดโ้ ดยมีครูคอยให้การดแู ลชว่ ยเหลอื และแนะนาํ ๔. การเรียนโดยใช้สื่อประสม ในอนาคตห้องเรียนทุกห้องจะมีสื่อประสมจากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทเ่ี ด็กสามารถเลอื กเรยี นเร่อื งต่างๆ ไดต้ ามความต้องการ ๕. บทบาทของทางด่วนข้อมูล กับการสอนของครู ด้วยระบบเครือข่ายทางด่วนข้อมูล จะทําให้ได้ครู ทีส่ อนเก่งจากที่ต่างๆ มากมายมาเป็นต้นแบบและสิ่งท่ีครูสอนน้ันแทนท่ีจะใช้กับเด็กเพียงกลุ่มเดียว ก็สามารถ สรา้ ง Web Site ของตนขนึ้ มาเพื่อเผยแผ่ จะช่วยในการปฏวิ ตั กิ ารเรยี นการสอนไดม้ าก ๖. บทบาทของครูจะเปล่ียนไป ครูจะมีหลายบทบาทหน้าที่ เช่น ทําหน้าท่ีเหมือนกับครูฝึกของ นกั ศกึ ษา คอยช่วยเหลือใหค้ ําแนะนํา เป็นเพ่อื นของผเู้ รยี น เป็นทางออกที่สร้างสรรคใ์ ห้กับเด็ก และเป็นสะพาน การสือ่ สารทีเ่ ชอ่ื มโยงระหว่างเด็กกบั โลก ซง่ึ อันนกี้ ็คือบทบาทที่ย่งิ ใหญข่ องครู ๗. ความสัมพันธ์ระหว่าง นักเรียน ครู และผู้ปกครอง จะใช้ระบบทางด่วนข้อมูลคอมพิวเตอร์ ช่วยเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง นักเรียน ครูและผู้ปกครอง เช่น การส่ง E-mail จากครู ไปถึงผู้ปกครอง ความคิดของบิลล์ เกตส์นับเป็นการเปิดโลกใหม่ด้านการศึกษาด้วยการนาระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ และทางด่วนข้อมูลที่สามารถเชื่อมโยงกันได้ท่ัวโลกเข้ามาเป็นตัวกระตุ้น การปฏิวัติระบบการเรียนการสอนที่มี อยู่เดิม ถึงแม้ว่าเขาจะยํ้าว่าห้องเรียนยังคงมีอยู่เหมือนเดิม เพ่ือลดการต่อต้านด้านเทคโนโลยี แต่จาก รายละเอียดที่เขานําเสนอ จะพบว่าการเรียนการสอนในอนาคตจะต้องเปลี่ยนไปมาก ความหวังของนักศึกษา ทุกคนก็คือการเปิดโอกาสให้เด็กสามารถเรียนได้เป็นรายบุคคลโดยมีการวางแผนร่วมกับครู ถ้าคนในวง การศึกษาไมป่ รบั เปลยี่ นจะลา้ หลงั กว่าวงการอน่ื ๆ อยา่ งแน่นอน๗ การจัดปัจจัยสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้ ปัจจัยพื้นฐาน คือ การสร้างความพร้อม ของเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ให้มีสรรถนะและจํานวนเพียงพอต่อ การใช้งานของผู้เรียน รวมถึงการอํานวย ความสะดวกให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีได้ตลอดเวลา จะเป็นปัจจัยเบื้องต้นของการส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรู้ สงิ่ ท่คี วรเป็นปจั จยั เพิม่ เตมิ คือ ๑. ครูสร้างโอกาสในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ ปัจจัยท่ีจะผลักดันให้มีการใช้เทคโนโลยี อย่างคุ้มค่า คือการท่ีครูออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้เอื้อต่อ การทํากิจกรรมประกอบการเรียนรู้ เปน็ กจิ กรรม ทต่ี ้องใชก้ ระบวนการแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ท้ังจากการสังเกตในสถานการณ์จริง การทดลอง การค้นคว้าจากสอ่ื สิ่งพิมพ์ และจากสื่อ Electronic เช่น จาก Web Sites เป็นกิจกรรมท่ีต้องมีการ ทําโครงงานอสิ ระสนองความสนใจ เป็นกิจกรรมที่ต้องฝึกปฏิบัติจาก Software สําเร็จรูป เป็นกิจกรรมที่ต้องมี การบนั ทกึ วเิ คราะหข์ ้อมูล และการนําเสนอรายงานด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ๒. ครู และผู้เรยี นจัดทาํ ระบบแหล่งข้อมูลสารสนเทศเพือ่ การเรียนรู้ ปัจจัยด้านแหล่งข้อมูลสารสนเทศ (Information Sources) เป็นตัวเสริมที่สําคัญท่ีช่วยเพิ่มคุณค่าของระบบเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน ครูและผู้เรียนควรช่วยกันแสวงหาแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มีเน้ือหา สาระตรงกับหลักสูตรหรือสนอง ความสนใจของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการรวบรวมแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ท่ีเป็น Software ชื่อของ Web Sites รวมถงึ การลงทุนจัดซื้อ Software จากแหลง่ จําหน่าย การจ้างให้ ผู้เช่ียวชาญจัดทํา หรือจัดทาพัฒนาข้ึน มาเองโดยครู และนกั เรยี น ๓. สถานศึกษาจัดศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ (Learning Resources Center) เป็นตัวชี้วัดสําคัญประการหน่ึงของศักยภาพของสถานศึกษาท่ีจะส่งเสริม การใช้เทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้ของครูและผู้เรียน ปกติมักนิยมจัดไว้เป็นส่วนหนึ่งของห้องสมุด จนเกิดคําศัพท์ ๗ รงุ่ แก้วแดง. วกิ ฤตเิ นอื่ งจากการปฏวิ ัตเิ ทคโนโลยี ตามแนวคดิ ของบิลล์ เกตส์. กรุงเทพฯ : มตชิ น, ๒๕๔๓ : ๑๔ – ๑๘.

การพัฒนาส่อื การสอนพระพุทธศาสนา ๒๑ ว่าห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) หรือ E – Library จะมีคุณประโยชน์ในการมีแหล่งข้อมูลสารสนเทศ เพือ่ การศึกษาค้นคว้าในวทิ ยาการต่างๆ ทง้ั ในลักษณะสื่อสําเร็จ เช่น Software แถบบันทึกวีดีทัศน์ รวมถึง CD – Rom และ CAI หรอื ชอ่ื Web Sites ตา่ ง ๆ ซงึ่ ควรจัดทาระบบ Catalog และดัชนี ให้สะดวกตอ่ การสืบคน้ ๔. การบริการของกรมหรือหน่วยงานกลางทางเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ กรมต้นสังกัดหรือหน่วยงาน กลางด้านเทคโนโลยีควรส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีของสถานศึกษาด้วยการ บริการด้านข้อมูลสารสนเทศ เช่น จัดทาํ เอกสารรายเดือน รายงาน Software ในท้องตลาด แจ้งชื่อ Web Sites ใหม่ๆ พร้อมสาระเนื้อหาโดยย่อ จัดทําคลังข้อมูลความรู้ Knowledge Bank เพื่อการเรียนรู้ในด้านต่างๆ ผ่าน สื่อ Electronic หรือสื่อทางไกล ผ่านดาวเทยี มเผยแพร่สนองความตอ้ งการและความสนใจของผู้เรียนเป็นประจํา นอกจากนี้การรวบรวมผลงาน ของครูและนักเรียนในการจัดกระบวนการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี ที่เรียกว่า Best Practices จะเป็น ตัวอยา่ งที่ดสี ําหรับครู และนักเรยี นท่วั ไปทจ่ี ะใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือช่วยการเรียนการสอน ๒.๔.๒ ทฤษฎีการเรียนรูต้ ามแนวคิดพฤติกรรมศาสตร์(Behaviorists) สกินเนอร์ (B. F. Skinner) เปน็ ผู้นาํ ซ่งึ ได้ทําการศึกษาทดลองกับสัตว์ในเรื่องของพฤติกรรม ที่ ตอบสนองต่อส่ิงเร้า(Stimulus-Response : S-R Theory)โดยถือว่าการเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เมอื่ ใดทม่ี ีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมทส่ี งั เกตเห็นได้ถือวา่ เกดิ การเรยี นรู้ข้นึ ทฤษฎีน้ีจึงมีการกําหนดจุดประสงค์การเรียนการสอนเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีสังเกต เห็นไดแ้ ละถือว่าพ้ืนฐานของการเรยี นรู้-จะมี-๓-ลักษณะ-คือ ๑ .-ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น เ รื่ อ ง ที่ ซั บ ซ้ อ น ส า ม า ร ถ จํ า แ น ก อ อ ก ม า เ รี ย น รู้ เ ป็ น ส่ ว น ย่ อ ย ไ ด้ ๒.-ผ้เู รียนเรยี นร้จู ากการรบั รู้และประสบการณ์ ๓.-ความรู้คอื การสะสมขอ้ เท็จจริงและทกั ษะต่างๆ การเรียนรู้ตามแนวคิดนี้จึงถือว่า การเรียนรู้เป็นการรู้สาระเนื้อหา ข้อเท็จจริง หลักการและทฤษฎี การเรยี นการสอน จงึ เนน้ เรือ่ งการใช้ตําราเรยี นและมุ่งให้ผู้เรียนจาํ เน้ือหาและข้อเท็จจริงที่ไม่จําเป็นต้องมีความ ตอ่ เน่อื งสมั พันธก์ นั ตามแนวคดิ นกี้ ารเรียนรจู้ ะมลี กั ษณะสําคญั -๔-ประการ-คอื ๑.ผู้เรียนตอ้ งมสี ่วนรว่ มในการเรียน ๒.ผลปอ้ นกลับ (Feedback) ตอ้ งเกิดขนึ้ ทันที เช่น ครตู ้องบอกว่าตอบถูกหรอื ผิด ๓.แต่ละขน้ั ตอนของการเรยี นรู้ตอ้ งส้ันต่อเน่ืองไม่ยดื ยาว ๔.การเรียนรู้-(การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม)ต้องมีการให้รางวลั และเสริมแรง ทฤษฎีการเรียนรู้ ตามแนวคดิ ปญั ญานิยม (Cognitivists) ตามทฤษฎีน้เี ชอื่ วา่ ความจริง (Truth) หรือความรมู้ อี ยจู่ รงิ ในโลกหรอื ในจักรวาล ถ้าเราพบสิง่ ใดส่งิ หนง่ึ หนงึ่ เรากจ็ ะพบไปเร่ือยๆ ทฤษฎีนีจ้ ึงถอื ว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการของจิตที่ตอ้ งมีการรับรู้ จากการกระทํามกี ารแปลความ ตีความ การให้เหตุผลจนเกิดรู้สํานกึ และสะสมเปน็ ความรใู้ นท่ีสดุ หลักการตามแนวคิดนคี้ อื ท่ีมาของการเรียนการสอนแบบสบื หาความรู้ (Enquiry) ท่ถี ือว่าผู้เรยี นไมม่ ี ความรูม้ าก่อน ผ้เู รยี นจะเกดิ ความร้ไู ด้ต้องดําเนินการสบื หา (Enquire) จนได้ความรนู้ ั้นจุดเน้นของการจดั การ เรยี นการสอนตามแนวคิดของกล่มุ ปัญญานิยมน้ี จงึ ต้องการ “ใหร้ ู้วา่ จะไดร้ ู้อย่างไร” มากกวา่ การสอน “ให้รู้ อะไร” ๒.๔.๓ ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connected Theory) ธอร์นไดค์ (Thorndike) นักจติ วิทยาชาวอเมริกันกลุ่มพฤติกรรมนิยมเป็นผู้นําทฤษฎีหลักการเรียนรู้ซ่ึง กล่าวถึงการเช่ือมโยงระหว่างส่ิงเร้า (stimulus) กับการตอบสนอง (response) โดยมีหลักเบื้องต้นว่าการ

การพฒั นาสอ่ื การสอนพระพุทธศาสนา ๒๒ เรียนรู้เกิดจากการเช่ือมโยงระหว่างส่ิงเร้าและการตอบสนองโดยแสดงในรูปแบบต่างๆจนกว่าจะเป็นที่พอใจที่ เหมาะสมท่สี ุดซ่ึงเรยี กว่าการลองผิดลองถกู (trial and error) ผู้เรยี นจะเลือกตอบสนองเปน็ R๑,R๒,R๓ … Rn จนกระท่ังได้ผลพอใจที่สุดของผู้เรียนการตอบสนองที่ ไมเ่ หมาะสมจะถกู ขจดั ท้ิงไปเหลอื เพยี งการเชอ่ื มโยงระหวา่ ง S และ R เท่าน้ัน กฎการเรียนร้ตู ามทฤษฎี เชอ่ื มโยงประกอบดว้ ยกฎ ๓ ขอ้ ๘ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) กฎนี้กล่าวถึงสภาพความพร้อมของผู้เรียนท้ังทาง ร่างกายและจิตใจความพร้อมทางร่างกายหมายถึงความพร้อมทางวุฒิภาวะและอวัยวะต่างๆของร่างกาย ทางด้านจิตใจหมายถึงความพร้อมที่เกิดจากความพึงพอใจเป็นสําคัญถ้าเกิดความพึงพอใจย่อมนําไปสู่การ เรยี นรู้ถา้ เกิดความไมพ่ ึงพอใจจะทําใหไ้ ม่เกิดการเรียนรู้หรือทําให้การเรยี นรหู้ ยดุ ชะงกั ไป ๒. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) กฎนี้กล่าวถึงการสร้างความม่ันคงของกาเช่ือมโยงระหว่าง สง่ิ เร้ากับการตอบสนองทถี่ ูกตอ้ งโดยการฝึกหัดกระทําซํ้าบ่อยๆย่อมทําให้เกิดการเรียนรู้ได้นานและคงทนถาวร จากกฎข้อนีแ้ บ่งออกเป็นกฎยอ่ ยๆได้อีก ๒ ขอ้ คอื ๒.๑ กฎแห่งการใช้ (Law of Used) เม่ือเกิดความเข้าใจหรือเรียนรู้แล้วมีกระกระทําหรือนํา ส่งิ ทเี่ รียนรูน้ ้ันไปใช้บอ่ ยๆจะทําใหก้ ารเรียนรนู้ ั้นคงทนถาวร ๒.๒ กฎแห่งการไม่ใช้ (Law of Disused) เม่ือเกิดความเข้าใจหรือเรียนรู้แล้วไม่ได้กระทําซ้ํา บอ่ ยๆจะทําใหก้ ารเรียนรู้นัน้ ไมค่ งทนถาวรหรือในที่สดุ จะเกิดการลมื จนไมเ่ รียนรู้อกี เลย ๓. กฎแห่งผลที่ได้รับ (Law of Effect) กฎนี้กล่าวถึงผลท่ีได้รับเม่ือแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้แล้วว่า ถ้าได้รับผลท่ีพึงพอใจผู้เรียนย่อมอยากจะเรียนรู้อีกต่อไปแต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจผู้เรียนย่อมไม่อ ยากเรียนรู้ หรอื เกดิ ความเบอ่ื หน่ายตอ่ การเรยี นรู้ดังนั้นถา้ จะทาํ ใหก้ ารเช่ือมโยงระหวา่ งสิง่ เร้ากับการตอบสนองความม่ันคง ถาวรตอ้ งใหผ้ ูเ้ รยี นไดร้ ับผลทพ่ี งึ พอใจซงึ่ ข้ึนอยู่กบั ความพึงพอใจของแตล่ ะบุคคล ดังนั้นธอร์นไดค์เช่ือว่าการเรียนรู้เกิดจากการเช่ือมโยงระหว่างสิ่ งเร้าและการตอบสนองซึ่งสามารถ แสดงออกด้วยพฤตกิ รรมต่างๆกัน ๒.๔.๔ ทฤษฎแี ละแนวคดิ ของกลุม่ เกสตลั ท์ (Gestalt) ค.ศ.1912 ทฤษฎีและแนวคิดของกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt) น้ีเกิดจากนักจิตวิทยาชาวเยอรมันในราวปีค.ศ.1912 โดยผู้นํากลุ่มคือเวอร์โธเมอร์ (Wertheimer) โคห์เลอร์ (Koher) คอฟฟ์กา (Koffka)และเลวิน(Lewin) โดยท้ัง กลมุ่ มแี นวคดิ ว่าการเรยี นรู้เกิดจากการจดั ประสบการณท์ ้ังหลายท่อี ยูอ่ ย่างกระจัดกระจายให้มารวมกันเสียก่อน แล้วจงึ พจิ ารณาส่วนย่อยตอ่ ไป เกสตัสท์ (Gestalt) หมายถึงรูปหรือแบบแผน (form or pattern) ต่อมาได้แปลว่าส่วนรวม(whole) เพ่อื ให้สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ของทฤษฎีการเรียนรขู้ องกล่มุ นี้ทกี่ ลา่ วว่าสว่ นรวมมคี า่ มากกว่าผลบวกของส่วนย่อย (The whole is greater than the sum of the parts) หลักการเรียนรู้ของทฤษฎีเกสตัลท์นี้ จะเน้นการ เรยี นร้ทู ส่ี ่วนรวมมากกวา่ สว่ นย่อยซงึ่ จะเกิดจากประสบการณแ์ ละการเรียนรทู้ ี่เกิดขึ้นจาก ๒ ลกั ษณะคอื ๑. การรับรู้ (perception) การรับรู้เป็นการแปลความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะรับสัมผัสท้ัง ๕ ส่วนคือหูตาจมูกล้ินและ ผิวหนังการรับรู้ทางสายตาจะประมาณร้อยละ ๗๕ ของการรับรู้ทั้งหมดดังนั้นกลุ่มเกสตัลท์จึงจัดระเบียบการ รับรูโ้ ดยแบ่งเปน็ กฎย่อยๆเรยี กว่ากฎแห่งการจัดระเบยี บ (The Law of Organization) คือ ๘ ทศิ นา แขมมณ,ี การคดิ และการสอนเพือ่ พฒั นากระบวนการคดิ , กรงุ เทพมหานคร : โครงการพัฒนาการเรยี นการ สอน สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี ๒๕๔๐, หนา้ ๔๕.

การพัฒนาส่ือการสอนพระพทุ ธศาสนา ๒๓ กฎแห่งความชัดเจน(Clearness) การเรียนรู้ที่ดีต้องมีความชัดเจนและแน่นอนเพราะผู้เรียน มีประสบกา รณ์แต กต่าง กันเม่ื อต้อง การใ ห้เกิด การเ รียนรู้ อย่าง เดียว กั นสิ่ง ท่ีจะใ ห้เกิด การเ รียนรู้ จึงต้อง มคี วามชัดเจน กฎแหง่ ความคล้ายคลึง (Law of Similarity) เป็นการวางหลักการรับรู้ในสิ่งท่ีคล้ายคลึงกันเพื่อจะได้รู้ วา่ สามารถจดั เขา้ กลมุ่ เดียวกนั กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closure) บุคคลสามารถรับรู้สิ่งเร้าท่ียังไม่สมบูรณ์ให้สมบูรณ์ได้ หากบุคคลมีประสบการณ์เดิมในสงิ่ นั้น กฎแห่งความต่อเนื่องหากส่ิงเร้ามีความต่อเน่ืองกันหรือมีทิศทางไปในทางเดียวกันบุคคลสามารถรับรู้ เป็นสง่ิ เดียวกันหรอื เปน็ เหตเุ ปน็ ผลกัน กฎ แห่งคว ามคงท่ีหากบุคคลรับรู้ภ าพรว มของสิ่ งใดสิ่งหนึ่งแล้ว จะ มีคว ามคงท่ีในการรับรู้สิ่งน้ั น ในลกั ษณะเดมิ แมว้ า่ สิง่ เรา้ จะไดแ้ ปรเปล่ียนไปในแง่มุมอื่น กฎแห่งการบิดเบือนการรับรู้ของบุคคลอาจเกิดการผิดพลาดข้ึนได้หากสิ่งเร้านั้นมีลักษณะที่ทําให้เกิด การลวงตา ๒. การเรียนรู้จากการหยง่ั เหน็ (Insight) การเรียนรู้จากการหยั่งเห็น (ผลุดรู้) เป็นการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นจากการพิจารณาปัญหาในภาพรวมและ การใช้กระบวนการทางความคดิ เชือ่ มโยงประสบการณเ์ ดิมกับปัญหาท่เี ผชญิ อยู่ เลวิน (Lewin) ได้อธิบายการเรียนรู้ว่าการเรียนรู้เก่ียวข้องกับ “life space” ของแต่ละบุคคลซ่ึง ประกอบดว้ ยส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพเชน่ คนสัตว์ส่ิงของสถานท่ีและส่ิงแวดล้อมทางจิตวิทยาเช่นแรงขับ(drive) แรงจูงใจ (motivation) เป้าหมาย (goal) และความสนใจ (interest) เป็นต้น เลวิน อธิบายว่าพฤติกรรมของ คนมีพลังและทิศทางส่ิงใดท่ีอยู่ในความสนใจและความต้องการของตนจะมีพลังเป็นบวกส่ิ งท่ีอยู่นอกเหนือจาก ความสนใจจะมพี ลงั เป็นลบการเรียนรู้จะเกิดข้ึนเม่ือบุคคลมีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทําให้ไปสู่จุดมุ่งหมาย ปลายทางทตี่ นต้องการ ๒.๕ บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศตอ่ การบรหิ ารจัดการศกึ ษา๙ เทคโนโลยีสารสนเทศ ” (Information Technology) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า“ IT ” หมายถึงเทคโนโลยีท่ีนํามาใชในการจัดเก็บขอมูล (Data) และประมวลผลข้อมูล ให้เกิดผลลัพธ เปนสารสนเทศ (Information) เพอื่ นําไปใชประโยชน์ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อมูลดิบที่เก็บรวบรวมมาจากที่ต่างๆ ซึ่งยังนําไปใชงานไมได เชน่ การสํารวจความคดิ เหน็ ความคิดเห็นทีไ่ ดยงั ถอื วา่ เปน็ ขอมูลดบิ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลัพธจากการประมวลผลขอมูลดิบซึ่งสามารถ นําไปใชประโยชน เพื่อประกอบการทํางาน หรือเพิ่มประกอบการตัดสินใจของผูบริหาร เช่น นาํ ข้อมลู ความคิดเห็นแตละขอมาหาความถ่ี เป็นค่าร้อยละเพื่อเปรียบเทียบดูว่า ข้อคิดเห็น ข้อใด มีผู้เลือกมากน้อย เป็นร้อยละเท่าไร ค่ารอยละดังกล่าว ก็จัดเป็นสารสนเทศ เป็นต้น ๙ บทบาทและความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศท่มี ีต่อการบริหารจัดการศกึ ษา, (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.sahavicha.com/?name=faq&file=readfaq&id=๒๙๐,สบื คน้ เมื่อ ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๕๙.

การพฒั นาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา ๒๔ การจัดเก็บข้อมูลและการจัดการข้อมูล ต้องการความถูกต้องและรวดเร็วสูง จึงจําเปน ตองนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเขามาช่วย และ เม่ือตองการใหผู้ท่ีอยูห่างไกลกันสามารถใชประโย ชนจากสารสนเทศดังกล่าว ก็จําเป็นต้องนําเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมเขามาช่วยอีกทาง หนง่ึ ในวงการบริหารงานตางๆ โดยเฉพาะในวงการบริหารงานธุรกิจ ซ่ึงมีการแข่งขันกันสูง ไดนําเอานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการบริหารกันเป็นอันมากเพ่ือใหการบริหาร มปี ระสทิ ธิภาพสูง ประหยัดสดุ และไดประสิทธิผลสงู สุด ผู้บริหารยุคใหม่ทุกระดับจึงนํานวัตกรรมเทคโนโลยีมาใช กันอย่างแพรหลาย เช่น ผู้บริหารระดับสูงในองค์การ จะนําสารสนเทศท่ีแสดงภาพรวมของการดําเนินงานความ สัมพันธระหว่างองค การและสิ่งแวดลอม สรุปปัญหาและแนวทางแก้ไข มาใชเพ่ือประกอบการ แก้ปญหาและการตัดสินใจ กําหนดกลยุทธ ขององค์การ ส่วนผู บริหารระดับกลาง จะนาํ สารสนเทศท่ีประมวลงานประจําป มาใชจัดแผนงบประมาณและกําหนดแผนการดําเนินงาน ของหน่วยงาน สําหรับผู้บริหารงานระดับต้นจะใชเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการควบคุมการ ปฏบิ ตั ิงาน เป็นตน้ ๒.๕.๑ ปจั จัยท่ีทาใหเ้ กดิ ความ ลม้ เหลวในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ ๑. การขาดการวางแผนที่ดีพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผนการจัดการ ความเสี่ยงไม่ดีพอ ยิ่งองค์การมีขนาดใหญ่มากขึ้นเท่าใด การจัดการความเสี่ยงย่อมจะมี ความสาํ คัญมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ทาํ ให้ค่าใช้จ่ายด้านนี้เพ่ิมสูงขึ้น ๒. การนําเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน จะต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับ ลักษณะของธุรกิจหรืองานที่องค์กรดําเนินอยู่ ๓. การขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง การได้รับความมั่นใจ จากผู้บริหารระดับสูงทําให้การนําเทคโนโลยีมาใช้ในองค์กรประสบความสําเร็จ ๒.๕.๒ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสืบคน้ ข้อมลู ผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ๑.แหล่งสารสนเทศเพ่ือการศึกษา เป็นแหล่งที่ผู้ใช้สารสนเทศสามารถแสวงหาสารสนเทศที่ต้องการได้แหล่ง สารสนเทศไม่ได้มีเพียงห้องสมุดเท่านั้น ยังมีแหล่งสารสนเทศอื่นๆ อีกมากมาย ที่ผู้ใช้สามารถ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับความต้องการ แหล่งสารสนเทศแบ่งได้เป็น ๔ กลุ่ม คือ ๑. แหล่งสารสนเทศบุคคล ๒. แหล่งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศสถาบัน หรือ สถาบัน บริการสารสนเทศ ๓. แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน ๔. แหล่งสารสนเทศอินเตอร์เน็ต แหล่งความรู้บนอินเตอร์เน็ต

การพัฒนาสอื่ การสอนพระพทุ ธศาสนา ๒๕ ๒.การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แหล่งข้อมูลสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตเป็นข้อมูลทางอิเลคทรอนิคส์ ที่สําคัญ และใหญ่ที่สุด มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาแทบทุกวินาทีดังนั้นในการสืบค้นข้อมูล สารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตควรดาํ เนินการดังน้ี ๑.กําหนดวัตถุประสงค์การสืบค้นผู้สืบค้นหรือผู้วิจัยที่จะนําข้อมูล สารสนเทศไปใช้ควรตั้งวัตถุประสงค์การสืบค้นที่ชัดเจน ทําให้สามารถกําหนดขอบเขตของ แหล่งข้อมูลสารสนเทศท่ีสืบค้นให้แคบลง ๒.ประเภทของข้อมูลสารสนเทศที่สามารถสืบค้นได้ ข้อมูลสารสนเทศที่ อยู่บนอินเตอร์เน็ตมีมากมายหลายประเภท มีลักษณะเป็นมัลติมีเดีย คือมีทั้งที่เป็นข้อความ ภาพวาด ภาพเขียน ไดอะแกรม เสียง เป็นต้น ๓.การสืบค้นต้องอาศัยอุปกรณ์และความรู้ก่อนที่ผู้สืบค้นจะสามารถ สืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ตได้ ต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้เครื่อง คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อเข้าอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์ การสื่อสารและยังต้องมีความรู้ และทักษะ พื้นฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์ ความรู้ภาษาอังกฤษ และยังต้องมีการจัดสรรเวลาให้ เหมาะสมอีกด้วย ๔.บริการบนอินเตอร์เน็ต บริการบนอินเตอร์เน็ตที่สามารถใช้ช่วยในการ สืบค้นข้อมูลสารสนเทศมีมากมายหลายบริการ เช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลก หรือ Word-Wide-Web (WWW) บริการสืบค้นข้อมูล Gopher เป็นต้น ๕.เครื่องมือหรือโปรแกรมสําหรับสืบค้น เครื่องมือหรือโปรแกรมสําหรับ การสืบค้น มีอยู่มากมายและมีให้บริการตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่ใช้บริการการสืบค้นข้อมูล โดยเฉพาะ ๓.การติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมสามารถจําแนก ออกเป็นส่วนประกอบได้ดังนี้ ๑. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกําเนิดข่าวสาร ๒. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร ๓. ช่องสัญญาณ ๔. การเข้ารหัส ๕. การถอดรหัส ๖. สัญญาณรบกวน ๔. วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่อสารข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์กร ๔.๑ เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกาํ เนิดข้อมูล ๔.๒ เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ๔.๓ เพื่อลดเวลาการทํางาน ๔.๔ เพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร

การพฒั นาสือ่ การสอนพระพทุ ธศาสนา ๒๖ ๔.๕ เพ่ือช่วยขยายการดําเนินการองค์การ ๔.๖ เพ่ือช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์การ สรุปท้ายบท ปัจจุบนั หลักการและแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนท่ีได้รับความนิยมมีอยู่เป็นจํานวนมาก แม้ว่า ความนิยมจะเน้นไปทางด้านการยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง แต่ก็มิได้หมายความว่าครูจะสอนโดยยึดครูเป็น ศูนย์กลางไม่ได้ ดังที่หลายคนเข้าใจ ความจริงแล้วครูควรเลือกหลักการและวิธีการที่เหมาะสมกับลักษณะของ เนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์ ดังนั้น ในบทน้ีผู้เขียนจึงได้ประมวลหลักการหรือแนวคิดที่นิยมใช้กันทั่วไป ซ่ึง สว่ นใหญ่ได้มาจากผลการศกึ ษาคน้ คว้าวจิ ยั ใหม่ๆ มานําเสนอไว้โดยจัดแบ่งเป็น ๓ หมวดใหญ่ๆ ได้แก่ หลักการ จัดการเรียนการสอนโดยยึดครูเป็นศูนย์กลาง ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการสอนโดยไม่มีครูซ่ึงแต่ละหมวด ประกอบไปดว้ ยหลักการย่อยๆ จํานวนไม่นอ้ ย โดยเฉพาะในหมวดผเู้ รยี นเป็นศูนย์กลางจะจําแนกออกเป็นแบบ ท่ีเน้นตัวผู้เรียน เน้นประสบการณ์ เน้นปัญหา เน้นทักษะกระบวนการ และเน้นการบูรณาการ ในอนาคตการ จัดการเรียนการสอนมีแนวโน้มที่จะยึดหลักการสอนโดยไม่มีครูเพ่ิมข้ึน เนื่องจากการจัดการศึกษาจะมุ่งให้ ผู้เรียนสัมฤทธ์ิผลเป็นรายบุคคลมากขึ้น ซึ่งมีความเป็นไปได้สูง เนื่องจากเทคโนโลยีทางการศึกษาก้าวหน้าขึ้น ตามลาํ ดบั

การพฒั นาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา ๒๗ เอกสารอ้างอิงประจาบท ทศิ นา แขมมณี, (๒๕๔๐), การคดิ และการสอนเพอ่ื พัฒนากระบวนการคิด, กรุงเทพมหานคร : โครงการ พฒั นาการเรยี นการสอน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ สาํ นกั นายกรัฐมนตรี. บทบาทและความสําคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศที่มตี ่อการบริหารจดั การศกึ ษา. (ออนไลน์) เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.sahavicha.com/?name=faq&file=readfaq&id=๒๙๐, สืบค้นเมือ่ ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๕๙. ร่งุ แก้วแดง, (๒๕๔๓), วกิ ฤติเนื่องจากการปฏิวัติเทคโนโลยี ตามแนวคิดของบิลล์ เกตส์, กรุงเทพมหานคร : มตชิ น, ๑๔ – ๑๘. http://www.nukul.ac.th/it/content/02/2-1.html#111 http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04093009_2204/isweb/Lesson%2022.htm ความหมายและขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา. http://images.dearao.multiply.multiplycontent.com/.../3hathaikan_141336.doc http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/information๒.html

การพัฒนาสื่อการสอนพระพทุ ธศาสนา28 บทท่ี ๓ นวัตกรรมดา้ นการเรยี นการสอน วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรปู้ ระจำาบท เม่ือได้ศึกษาเนอื้ หาในบทนี้แล้ว ผู้เรยี นสามารถ ๑. อธบิ ายการออกแบบการเรียนแบบย้อนกลับได้ ๒. อธิบายหลักการออกแบบการเรยี นแบบย้อนกลบั ได้ ๓. อธบิ ายรปู แบบการเรยี นพ้นื ฐานจากทฤษฎีได้ ขอบข่ายเนื้อหา  การออกแบบการเรียนแบบย้อนกลบั  หลักการออกแบบการเรียนแบบย้อนกลบั  รปู แบบการเรยี นพน้ื ฐานจากทฤษฎี

การพฒั นาส่ือการสอนพระพทุ ธศาสนา29 ๓.๑ ความนำา นวตั กรรมการออกแบบการเรียนการสอนซึ่งจะกล่าวถงึ ในบทนี้ คือการออกแบบการเรียนการสอน แบบย้อนกลับ (backward design) ของวกิ กินสแ์ ละแมคไทฮี1 (Wiggins & McTighe) และการออกแบบการ เรยี นการสอนตามทฤษฎกี ารสรา้ งความรู้ (constructivist design theory) สสำาำา หรบั รปู แบบการออกแบบ การเรยี นการสอนแบบยอ้ นกลบั นั้นเป็นรปู แบบการออกแบบการเรยี นการสอนตามแนวคดิ เชิงระบบรปู แบบ หน่งึ ซงึ่ มีความเหมาะสมกบั หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานทเี่ ปน็ หลกั สตู รอิงมาตรฐานซง่ึ ยดึ มาตรฐาน และตวั ชว้ี ดั เปน็ เป้าหมายการเรยี นรู้ จึงเป็นรูปแบบท่ไี ด้รับการเผยแพรน่ าไปใชใ้ นโรงเรยี นอยา่ งกวา้ งขวาง สสาำ ำา หรับการออกแบบการเรยี นการสอนตามทฤษฎกี ารสรา้ งความรเู้ ป็นการเรยี นรทู้ เี่ นน้ การพฒั นาทักษะการ เรียนรมู้ ากกว่าการรบั และจดจจำาำา ความรู้ เพราะความเช่ือทวี่ า่ ผู้เรียนเปน็ ผูส้ ร้างความร้ไู มใ่ ชร่ ับความรตู้ ามที่มี ผ้ถู า่ ยทอดให้ เน้นการเรยี นรจู้ ากสภาพจริง การเรยี นรรู้ ว่ มกัน และการเรยี นรตู้ อ่ เนื่องตลอด การเรยี นรตู้ าม แนวคดิ นสี้ ามารถตอบโจทย์ความต้องการของสงั คม ในการพฒั นาทกั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ ๒๑ ดงั นนั้ การ ออกแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสรา้ งความร้จู งึ เปน็ นวัตกรรมใหมท่ จ่ี ะไดน้ ามากลา่ วถึงในบทน้ี ๓.๒ การออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลบั การออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลับ (backward design) เปน็ รปู แบบที่วกิ กนิ ส์และแมค ไทฮี2 พัฒนาข้ึน รปู แบบการออกแบบการเรียนการสอนน้ีเริม่ จากการกกำาาำ หนดผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั ซง่ึ วเิ คราะห์จากมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ดั จากหลักสตู รแกนกลางซงึ่ เปน็ หลกั สูตรองิ มาตรฐาน การ กกาำ าำ หนดหลักฐานหรือช้นิ งานทใ่ี ชใ้ นการวดั ผลและประเมินผลว่าผู้เรียนบรรลผผ ลการเรียนร้หู รอื ไม่ จากนน้ั จึง กกาำ ำา หนดกจิ กรรมการเรียนรใู้ นการพฒั นาผู้เรียน จะเหวนว่ากระบวนการออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อน กลับนั้นเริ่มจากจผดม่งผ หมายทางการศึกษาเชน่ เดียวกบั ไทเลอร์ แต่มกี ระบวนการดดำาาำ เนินการทย่ี ้อนศรกบั การ ออกแบบของไทเลอร์ ดังแสดงในแผนภาพดังน้ี กระบวนการออกแบบการเรียนการสอนของรูปแบบไทเลอรแ์ ละแบบยอ้ นกลับ ท่มี า: พมิ พนั ธ์ เดชะคปผ ต์ และพเยาว์ ยนิ ดสี ผข, ๒๕๕๒, หน้า ๓-๔ 1 Wiggins, G., & McTighe, J. Understanding by design 2nded. Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education, Inc. 2005, pp.56-58 2 Wiggins & McTighe, อ้างแล้ว เร่ืองเดยี วกัน.

การพัฒนาส่ือการสอนพระพทุ ธศาสนา30 ส่งิ ทเ่ี ป็นความแตกตา่ งของการออกแบบการเรียนการสอนรปู แบบไทเลอร์หรือแบบดั้งเดิมและการ ออกแบบการเรยี นการสอนแบบยอ้ นกลับ กคว อื แนวคดิ ในการออกแบบ ซ่งึ การออกแบบการเรยี นการสอนแบบ ดงั้ เดมิ ใชแ้ นวคดิ แบบนักออกแบบกจิ กรรมทค่ี คำาาำ นงึ ถึงกจิ กรรมและประสบการณ์ก์ ารเรียนรทู้ ี่ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียน บรรลจผ ดผ ประสงคข์ องการเรยี นรู้ ในขณ์ะท่ีการออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลับใชแ้ นวคิดแบบนัก ประเมนิ ผลทคี่ คาำ าำ นงึ ถึงผลงานหรอื ชนิ้ งานทใ่ี ชเ้ ป็นหลกั ฐานในการประเมนิ จดผ ประสงค์การเรียนรู้ จากน้ันจึงจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ใี ห้ผู้เรยี นไดส้ รา้ งผลงานหรอื ช้ินงาน ซงึ่ ท้ังสองแนวคิดมคี วามแตกตา่ งกันดงั แสดง ดงั นี้ คดิ แบบนกั ประเมินผล คิดแบบนักออกแบบกิจกรรม หลักฐาน/รอ่ งรอยทแ่ี สดงวา่ ผู้เรียน มีความเข้าใจคอื อะไร กิจกรรมอะไรทีน่ ่าสนใจและททาำ าำ ให้ผเู้ รยี น ภาระงาน/สง่ิ ท่ีให้ผู้เรยี นปฏิบตั ิ ซึง่ เป็นจผดเนน้ ผกู พันกบั หวั ข้อทีเ่ รยี น ของหน่วยการเรียนรคู้ อื อะไร เราจะประเมนิ ได้อยา่ งไรวา่ ผเู้ รียนคนใดทีม่ ี ส่อื และแหล่งการเรียนร้ทู ่คี วรนนำาาำ มาใชก้ ับ ความเข้าใจท่แี ทจ้ ริงและคนใดที่ไม่เขา้ ใจ หวั ขอ้ ท่เี รียนคอื อะไร เกณ์ฑท์ ค่ี วรนนาำ าำ มาใชใ้ นการประเมินช้ินงาน กจิ กรรมใดทค่ี วรให้ผู้เรียนททาำ ำา ในห้องเรียน เปน็ อย่างไร กิจกรรมใดทใ่ี หท้ ทำาำา นอกหอ้ งเรยี นและจะมอบหมาย อะไรเป็นสิง่ ทีผ่ ู้เรียนเข้าใจผิด และจะตรวจสอบได้ งานอะไรบ้างแกผ่ ู้เรยี น อย่างไร การประเมนิ และใหร้ ะดบั คะแนนแก่ผ้เู รียน ทาไดอ้ ยา่ งไรเพือ่ แจง้ ผลใหผ้ ปู้ กครองรบั ทราบ กจิ กรรมทม่ี อบหมายใหผ้ ู้เรียนทาน้นั ใชก้ าร ได้ดหี รือไม่ เพราะเหตผผลใด ทม่ี า: Wiggins & McTighe, 1998, p. 68 ๓.๓ หลกั การออกแบบการเรยี นการสอนแบบยอ้ นกลับ การออกแบบการสอนแบบย้อนกลับมหี ลกั การท่คี รตู ้องททาำ าำ หรือที่เรยี กว่า หลัก ๖ ตอ้ ง3 ซง่ึ ได้ เสนอ แนะไว้ ไดแ้ ก่ ๑. ต้องเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการสรา้ งหน่วยการเรียนรบู้ รู ณ์าการเชงิ มาตรฐานการเรียนรู้ (integrated unit of learning) ซงึ่ อาจเป็นหนว่ ยการเรยี นรบู้ ูรณ์าการภายในกลผ่มสาระการเรยี นรเู้ ดยี วกัน (intradisciplinary integrated unit of learning) หรือหนว่ ยการเรยี นรู้ระหวา่ งกลผ่มสาระการเรียนรู้ (interdisciplinary integrated unit of learning) ๒. ตอ้ งเนน้ ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั ตามวตั ถผประสงคเ์ พอื่ สรา้ งความเข้าใจทคี่ งทน พฒั นาทกั ษะการคิด ทว่ั ไป และพฒั นาลกั ษณ์ะท่เี อื้อตอ่ การเปน็ ผู้เรียนรู้ ผู้สืบค้นรวมท้งั นกั คดิ ๓. ต้องเน้นการประเมินผลการเรียนรู้ท่มี กี ารประเมนิ การปฏบิ ตั ิ การททาำ าำ กจิ กรรม การทดลองและ การประเมินผลงานชนิ้ งานและภาระงาน หรือกลา่ วโดยสรปผ คอื การประเมนิ ตามสภาพจรงิ 3 พิมพนั ธ์ เดชะคปผ ต์ และพเยาว์ ยินดี. วธิ วี ทิ ยาการสอนวิทยาศาสตร์ท่ัวไป. กรผงเทพฯ: พัฒนาคผณ์ภาพวชิ าการ, ๒๕๕๒, หน้า ๑๑-๑๒.

การพฒั นาสอื่ การสอนพระพทุ ธศาสนา31 ๔. ตอ้ งจดั ประสบการณ์ก์ ารเรียนรเู้ น้นผเู้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง โดยใช้รูปแบบการสอน วธิ ีสอนแนวการ สอนเป็นยผทธศาสตรก์ ารสอน ๕. ผเู้ รยี นตอ้ งเป็นผู้สรา้ งความร้ดู ว้ ยตนเองโดยผา่ นการททาำ าำ กจิ กรรม ๖. ต้องใหผ้ ูเ้ รยี นททำาำา กจิ กรรมท่ีเปน็ การประยผกตใ์ ชค้ วามรหู้ รอื ถา่ ยโยงความรู้ ซึง่ ผลงาน/ ชนิ้ งานที่ นักเรยี นสรา้ งขึ้นจะเป็นหลกั ฐานหรือร่องรอยเชิงประจักษ์ของการใชค้ วามรโู้ ดยสรปผ การออกแบบหลักสตู ร ย้อนกลับยดึ หลกั การสสาำ ำา คัญทีเ่ น้นผลการเรียนรเู้ ป็นหลัก จากนนั้ จงึ ออกแบบการประเมินผลช้นิ งานหรือภาระงานทีเ่ ป็นหลักฐานแสดงผลการเรยี นรูแ้ ละออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ในทา้ ยทสี่ ผด ๓.๓.๑ กระบวนการออกแบบการเรียนการสอนแบบยอ้ นกลับ ขัน้ ตอนการออกแบบการสอนแบบยอ้ นกลบั มี ๓ ข้ันตอน4 ไดแ้ ก่ ๑. กกาำ ำา หนดผลการเรียนร้ทู ี่ตอ้ งการ (identify desired result) ในขนั้ นี้ ผสู้ อนจะตอ้ ง วเิ คราะหว์ า่ ผลการเรียนร้ทู ห่ี ลักสตู รคาดหวงั ในหนว่ ยการเรียนรคู้ อื อะไร อะไรเป็นความรู้หรอื สาระการเรียนรู้ สสำาำา คญั ท่ผี ูเ้ รียนควรรู้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น ๓ กลม่ผ ไดแ้ ก่ ๑) กลผ่มแรก คอื เนือ้ หาสว่ นใหญท่ ่มี ีคณผ ์ค่าในดา้ นทท่ี ทาำ ำา ใหเ้ กดิ ความคนผ้ เคยในส่งิ ที่ เรียนซง่ึ เป็นรายละเอยี ดของเนื้อหาสาระ ๒) กลผม่ ท่สี อง คือ เนือ้ หาทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานทค่ี วรรแู้ ละควรททำาำา ได้ คือความรทู้ ีเ่ ป็นข้อ เทวจจรงิ /ความคิดรวบยอด/ หลกั การ และทกั ษะสสาำ าำ คัญ ได้แก่ ทกั ษะที่เปน็ กระบวนการ กลวธิ ี และวิธกี าร ๓) กลมผ่ ทส่ี าม คอื ความคิดหลกั หรอื หลกั การสสาำ ำา คญั ทเี่ ปน็ แก่นหรอื สาระสสาำ ำา คญั ของหน่วยการเรยี นรู้ท่เี ปน็ ความเข้าใจท่คี งทนฝังง อยใู่ นตวั ของผ้เู รียนเป็นเวลานาน ในขณ์ะทรี่ ายละเอยี ดอน่ื ๆ นั้น ผ้เู รียนอาจลืมไปแลว้ แต่ในสว่ นนี้ผู้เรยี นจจำาำา เปน็ ต้องเข้าใจอย่างแทจ้ ริงและจดจาได้ ครตู อ้ งให้ความ สสาำ าำ คัญกบั เน้ือหาในสว่ นน้ี และเป็นสว่ นที่จจาำ ำา เปน็ ต้องประเมินว่าผู้เรียนรจู้ รงิ หรอื ไม่ วกิ กนิ สแ์ ละแมคไทฮไี ด้ กกาำ าำ หนดเกณ์ฑ์ในการพจิ ารณ์ากลั่นกรองความรทู้ ่มี ีคณผ ์คา่ สมควรแก่การสรา้ งความเขา้ ใจ ดังน้ี ๑. เปน็ ความรูท้ ี่ผูเ้ รยี นสามารถนนำาำา ไปใชไ้ ดใ้ นสถานการณ์ใ์ หมท่ ่หี ลากหลายทงั้ ใน เรือ่ งท่ีเรยี นและเรื่องอ่นื ๆ ๒. เปน็ ความร้ทู ่เี ป็นหวั ใจสสำาาำ คัญของหนว่ ยท่ีเรยี น โดยผสู้ อนจดั กจิ กรรมใหผ้ ู้เรียน ไดเ้ รยี นรอู้ ย่างเปน็ กระบวนการและคน้ พบหลกั การ แนวคดิ ทสี่ สาำ ำา คญั นี้ดว้ ยตนเองจงึ จะเป็นความรทู้ ี่คงทน ๓. เป็นความรู้ท่อี าจจะไมเ่ ปน็ รปู ธรรมท่ชี ดั เจนหรอื คอ่ นขา้ งจะเป็นนามธรรม ซ่งึ ผู้ เรียนเข้าใจค่อนขา้ งยากและมักจะเข้าใจผดิ แตค่ วามรนู้ เ้ี ป็นหวั ใจของหนว่ ยการเรยี นรู้ ๔. เป็นความรทู้ เ่ี ปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิจริงในการศกึ ษาคน้ คว้า และเปน็ ความ รทู้ ่ีสอดคลอ้ งกับความสนใจของผเู้ รยี น จงึ ททาำ าำ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความสนใจ ตงั้ ใจททำาำา กจิ กรรมไม่เกิดความเบื่อ หนา่ ย ๒. กกำาาำ หนดหลกั ฐานท่ีแสดงผลการเรยี นรู้ (determine acceptable evidence of learning) คคำาำา ถามสสาำ าำ คญั สาหรับผ้สู อนในข้นั ตอนน้ี คือ ผู้สอนจะรไู้ ดอ้ ย่างไรวา่ ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ ตามมาตรฐานหรอื ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั ของหนว่ ยการเรยี นรทู้ ีก่ กาำ าำ หนดไว้ การแสดงออกของผเู้ รยี นควร เป็นอย่างไร จงึ จะยอมรับไดว้ ่า ผูเ้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจตามทก่ี กาำ ำา หนดไว้ ดงั นน้ั ผู้สอนจึงต้องประเมนิ ผล การเรียนรโู้ ดยตรวจสอบการแสดงออกของผู้เรียนดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย ครอบคลมผ ส่งิ ที่วดั และสะสมผลการ วดั ตลอดหน่วยการเรยี นรู้ เพอ่ื รวบรวมหลักฐานร่องรอยของความรแู้ ละทักษะของผเู้ รยี น นอกจากนี้การวัด 4 Wiggins, G., & McTighe, J. Understanding by design 2nded. Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education, Inc. 2005,pp.58-59.

การพัฒนาสอื่ การสอนพระพทุ ธศาสนา32 ประเมินผลการเรยี นรทู้ ่เี ป็นความเข้าใจคงทนของผู้เรยี นในภาพรวมทเี่ หมาะสม อกี วิธหี นง่ึ คือการประเมนิ ตาม สภาพจรงิ ซ่ึงควรจะเป็นการวดั จากชนิ้ งานท่ีผเู้ รียนปฏิบตั ิ กระบวนการททาำ าำ งานและการสะท้อนผลการเรียนรู้ จากผ้เู รยี นเองซง่ึ เป็นการประเมนิ ตนเองของผูเ้ รยี น ๓. ออกแบบการจดั ประสบการณ์ก์ ารเรยี นรแู้ ละการเรยี นการสอน (plan learning experiences and instruction) ในการออกแบบการจดั การเรยี นร้หู รอื จดั ททำาำา แผนการจดั การเรยี นรนู้ ้นั ผู้ สอนจะตอ้ งพจิ ารณ์าดดำาำา เนินการในสิ่งตอ่ ไปน้คี อื ๑. กกาำ าำ หนดหลกั ฐานการแสดงออกของผู้เรยี นทแี่ สดงใหเ้ หนว ว่าผูเ้ รยี นมีความรู้ ทกั ษะและจิตพสิ ัย ตามเป้าหมายท่กี กำาาำ หนด ๒. กกาำ าำ หนดกจิ กรรมการจัดการเรยี นรทู้ จ่ี ะชว่ ยให้ผเู้ รยี นมีความรแู้ ละมที กั ษะตาม มาตรฐาน/ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวงั ของหนว่ ยการเรียนรู้ ๓. กกำาาำ หนดสอื่ อปผ กรณ์์ และแหล่งการเรียนรู้ท่เี หมาะสมท่จี ะททาำ ำา ใหผ้ เู้ รยี นพฒั นา ตามเป้าหมายการเรยี นรูท้ ีก่ กาำ าำ หนด ๔. กกาำ าำ หนดจจำาำา นวนชวั่ โมงท่ีใช้ในการพัฒนาผเู้ รียนในแต่ละชผดของกจิ กรรมการ เรียนรู้ ๕. จัดททาำ ำา แผนการจดั การเรียนรู้โดยนนาำ าำ ขอ้ มูลจากการออกแบบการจัดการเรียน รู้ มาจดั ททาำ าำ แผนการจดั การเรยี นรู้ ข้ันตอนการออกแบบย้อนกลับดังกล่าวขา้ งตน้ สามารถสรปผ ให้เหวนภาพความสมั พนั ธ์ของ กระบวนการออกแบบกบั โครงสรา้ งของแบบแผน เกณ์ฑใ์ นการออกแบบและผลลพั ธจ์ ากการออกแบบดงั นี้ คาถามสสำาำา คญั ขอ้ ควรคคาำ ำา นงึ เกณฑใ์ นการออกแบบ ผลลพั ธจ์ าก ในการออกแบบ การออกแบบ ขน้ั ท่ี ๑ ในการออกแบบ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ อะไรคอื สงิ่ ทมี่ คี ณผ ์ค่า ครอบคลผมความเขา้ ใจ สมควรแกก่ ารททำาำา มาตรฐานระดับชาติ ความคดิ ที่คงทน คงทนและคคำาำา ถาม ความเข้าใจ สสำาาำ คัญ ขัน้ ที่ ๒ มาตรฐานระดับเขต งานตามสภาพจริง หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี อะไรคอื หลักฐานของ กกำาาำ หนด ความเขา้ ใจ มาตรฐานครู งานท่ีมีวชิ าการเป็นฐาน หลักฐานสสาำ าำ คัญที่แสดง ถึง ขัน้ ที่ ๓ มีความเกยี่ วข้อง ความเขา้ ใจทคี่ าดหวงั อะไรคือกิจกรรมการ เรียนการสอนที่ส่งเสริม - ลักษณ์ะของความ มคี วามตรง ประสบการณ์์การเรยี นรู้ ความเขา้ ใจ ความสนใจ และการสอนท่พี ฒั นา เขา้ ใจ๖ ประการ มีความเช่ือมนั่ ความเขา้ ใจทค่ี าดหวัง สง่ เสริมความสนใจและ (สามารถอธิบาย แปล มคี วามเปน็ ไปได้ ความประยผกตใ์ ช้ มที ศั นะ เป็นงานตามสภาพจรงิ ทหี่ ลากหลาย รับร้คู วาม มีความเปน็ กลั ยาณ์มิตร รู้สกึ รวู้ ธิ คี ิดและปฏบิ ัติได้ ดว้ ยตนเอง) - ประเภทของการวดั ประเมินผล กิจกรรมการเรยี นรทู้ ใี่ ช้ ใหผ้ ู้เรียน การวิจยั เปน็ ฐาน - รูเ้ ปา้ หมาย ยผทธศาสตรก์ ารเรยี นรู้ - ผูกพนั สนใจ และการสอน - สสาำ ำา รวจและตรวจ

การพัฒนาส่ือการสอนพระพทุ ธศาสนา33 และความดเี ลศิ ความร้แู ละทกั ษะท่ี สอบ ความสามารถใน สสาำ ำา คัญ ความเขา้ ใจ การปฏิบัตไิ ด้จริง - นาเสนอและประเมิน ผล ท่ีมา: Wiggins & McTighe, 1998, p. 18. จากตารางขา้ งต้น จะเหนว ความเกี่ยวพนั ของขน้ั ตอนการออกแบบยอ้ นกลบั ทเี่ รมิ่ ตน้ ดว้ ยคคาำ ำา ถาม สสาำ ำา คญั ในแตล่ ะข้นั ตอนของการออกแบบ นนำาำา ไปสูห่ ลักฐานความสสาำ าำ เรวจทเี่ ป็นโครงสรา้ งของการออกแบบ ในแตล่ ะข้นั ตอน เกณ์ฑใ์ นการพจิ ารณ์าประเมินหลกั ฐานความสสาำ าำ เรวจและการออกแบบหน่วยการเรียนรทู้ ่ี ตอบคคาำ ำา ถามสสำาาำ คญั ของการออกแบบหลักสูตร ๓.๓.๒ การออกแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ นักออกแบบการเรยี นการสอนในปงจจผบนั ไดร้ ับอิทธพิ ลจากทฤษฎีการสร้างความรทู้ ีเ่ ชอ่ื วา่ ความรเู้ กิดจากการสรา้ งของแต่ละบคผ คล ความรทู้ ่ีแต่ละคนสรา้ งขึน้ ยอ่ มมเี อกลกั ษณ์เ์ ฉพาะของบคผ คลนั้น เพราะการแปลความหมายขึน้ อยกู่ บั ประสบการณ์์เดิมและสง่ิ แวดล้อม ซง่ึ เปน็ ไปตามสภาพทางสงั คมและ วฒั นธรรมท่ีแตล่ ะคนไดร้ ับ ดังนั้นการสรา้ งความรู้จงึ แบง่ ได้ ๒ แนวทาง แนวทางแรกเชอ่ื วา่ การสรา้ งความรู้ เป็นกระบวนการทางสตปิ ญง ญา (cognitive constructivism) ซึง่ เปน็ เรือ่ งเฉพาะตวั ของแตล่ ะบผคคล ซ่ึงแตล่ ะ คนมีการสรา้ งความรไู้ มเ่ หมือนกัน ดงั น้ันจงึ เรยี กการสรา้ งความรใู้ นแนวทางนี้วา่ เปน็ การสรา้ งความรขู้ อง เอกั ตบผคคล (individual constructivism) อกี แนวทางหน่งึ เชอ่ื วา่ ปฏสิ มั พันธท์ างสงั คม มีบทบาทสสำาำา คัญในการ พฒั นาความรู้ ดังนนั้ จงึ เรียกการสรา้ งความรใู้ นแนวทางน้ีวา่ การสรา้ งความรทู้ มี่ าจากสงั คม (social constructivism) แนวคดิ ในการสรา้ งความรทู้ ั้ง ๒ แนวทาง มีอทิ ธพิ ลตอ่ การออกแบบการเรยี นการสอนใน ปจง จผบนั แนวคดิ การสรา้ งความรทู้ ั้งสองแนวทางมีความแตกตา่ งกัน5 ดงั น้ี นักทฤษฎกี ารสรา้ งความรใู้ นแนวการสรา้ งความรขู้ องเอกตั บผคคลมีความเชือ่ ดังน้ี ๑. ความร้สู รา้ งขนึ้ จากประสบการณ์์ ๒. การเรียนรูเ้ ปน็ ผลทีไ่ ดจ้ ากการท่ีบคผ คลแปลความหมายของความรู้ ๓. การเรยี นรเู้ ป็นกระบวนการเชิงรผก การแปลความหมายอยู่บนพ้ืนฐานของประสบการณ์์ ของแต่ละคน การเรยี นรตู้ ามแนวคิดนี้ เน้นทีก่ ระบวนการทางสติปญง ญาของแต่ละบผคคล และมที ศั นะตอ่ การเรยี นรวู้ า่ เป็นเรอ่ื งของการจดั ระเบยี บของสตปิ งญญาใหม่ “learning as a matter of cognitive reorganization”6 สาหรับการเรียนรตู้ ามแนวการสรา้ งความรทู้ างสงั คมนนั้ เนน้ ทกี่ ระบวนการทางสังคมและ วฒั นธรรมและมีทศั นะวา่ การเรยี นรูเ้ ปน็ การประนปี ระนอมความคิดเหนว จากมมผ มองอนั หลากหลายของบผคคล “learning is collaborative with meaning negotiated from multiple perspective”7 ตามแนวคิดนี้ 5 Smith, Judith M. Blended learning : an old friend gets a new name. Retrieved December 15, 2009: p. 20. 6 Duffy, T. M. and D. J. Cunningham. Constructivism: Implication for the Design and Delivery of Instruction. in D. H. Jonassen (ed.). Handbook of Research for Educational Communications and Technology. New York : Macmillan Library Reference USA. 1996. pp. 170-195. 7 Smith, Judith M. อ้างแลว้ เร่ืองเดยี วกนั .

การพฒั นาส่ือการสอนพระพทุ ธศาสนา34 ความรเู้ ป็นสิ่งที่แลกเปล่ียนกนั ในชมผ ชนของผเู้ รยี น นักออกแบบการเรยี นการสอนทีน่ าทฤษฎีการสรา้ งความรทู้ ้งั สองแนวทางไปใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนจึงตา่ งให้ความสสำาาำ คญั กับสิ่งแวดล้อมการเรียนรทู้ เ่ี ปน็ บริบทจรงิ และเป็นชวี ิตจริงในทีน่ จี้ ะไดก้ ลา่ วถงึ หลกั การของการออกแบบการเรียนการสอน การประยกผ ตห์ ลกั การไปสูก่ ระบวนการออกแบบการเรยี นการสอน และรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนท่อี ยู่บนพ้ืนฐาน ของทฤษฎกี ารสร้างความรู้ ดงั มีรายละเอียดดงั นี้ ๓.๓.๓ หลกั การออกแบบการเรยี นการสอนตามทฤษฎีการสรา้ งความรู้ การออกแบบการเรียนการสอนท่นี าเอาทฤษฎกี ารสรา้ งความร้มู าใช้นัน้ จะผสมผสานแนวคดิ การสรา้ งความรทู้ ง้ั สองแนวเขา้ ไว้ในการออกแบบ เนือ่ งจากสภาพการเรียนร้ทู ี่เกดิ ขึ้นจรงิ นั้นแมว้ ่านกั เรียน แตล่ ะคนจะสร้างความรบู้ นพ้ืนฐานประสบการณ์์ของตนเอง ความรทู้ ่ีสรา้ งข้ึนนนั้ กวได้รับอทิ ธิพลจากบริบททาง สังคมและวัฒนธรรมที่นกั เรยี นเป็นสมาชิกอยู่ดี อกี ทัง้ สภาพการเรียนรู้ทีเ่ กิดขึ้นจริงในโรงเรียนนัน้ นักเรียนจะ ตอ้ งทางานร่วมกนั และแลกเปลยี่ นความคิดเหนว ซ่ึงกันและกนั อนั เปน็ สภาพปกตขิ องการเรียนการสอนใน ปงจจผบนั ดังน้ันการออกแบบการเรียนการสอนจงึ ควรนนาำ าำ หลกั การท้ังสองแนวทางมาใชร้ ว่ มกนั ซ่ึงสรผปเป็นหลกั การพ้นื ฐานไดด้ งั น้ี ๑. การเรยี นรู้เปน็ ผลจากการแปลความหมายของประสบการณ์ส์ ว่ นบคผ คล ๒. การเรียนร้เู ป็นประสบการณ์์เชิงรกผ เกดิ ขน้ึ ในสถานการณ์ท์ ่เี ปน็ จริงและผเู้ รยี นมีความเกี่ยวขอ้ ง ๓. การเรยี นรู้เปน็ กิจกรรมทีเ่ กดิ จากการแลกเปลย่ี นความความคิดเหวนอนั หลากหลายหลกั การแตล่ ะ ขอ้ นามาประยกผ ต์ในการออกแบบการเรียนการสอนดงั นี้ ๑. การเรียนรู้เป็นผลจากการแปลความหมายของประสบการณ์ส์ ว่ นบผคคล ตามหลกั การน้ี ผู้ เรยี นเป็นผู้พฒั นาความรขู้ องตนเอง ผู้สอนคือผ้อู านวยความสะดวกในการเรียนรู้ ๑.๑ การพัฒนาความรดู้ ว้ ยตนเอง (self-knowledge) ในหลกั การสร้างความรนู้ ั้น ความรใู้ หมส่ ร้างขนึ้ จากพืน้ ฐานความรเู้ ดิมท่ีมมี ากอ่ น ซ่งึ ไม่ได้หมายความเฉพาะดา้ นสารสนเทศเทา่ นั้น แตย่ ัง รวมถงึ ดา้ นคา่ นยิ ม ประสบการณ์์และความเชอื่ รวมไปถึงทักษะในการสะท้อนความคดิ ของตนเอง ซง่ึ จจาำ าำ เป็น ตอ่ การสรา้ งความรู้ นอกจากน้แี ล้วการทบ่ี ผคคลจะสรา้ งความรขู้ องตนเองได้ ยงั ตอ้ งมีความเข้าใจเก่ยี วกบั วิธกี าร สรา้ งความรู้ หรอื การรวู้ า่ จะรูไ้ ดอ้ ยา่ งไร (knowing how to know) การสรา้ งความรู้ดว้ ยตนเองนีจ้ จำาาำ เป็นต้อง อาศัยส่ิงแวดล้อมการเรยี นร้เู ปน็ เงอื่ นไขในการส่งเสริมการสรา้ งความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั การสรา้ งความรูจ้ ะ ททำาำา ใหผ้ เู้ รยี นรู้สกึ ถึงความเปน็ เจา้ ของความรู้ทีส่ ร้างข้นึ สามารถควบคมผ และรบั ผิดชอบต่อการเรยี นรขู้ อง ตนเอง ดงั นั้น การออกแบบการเรยี นการสอนตามหลกั การน้จี งึ เกยี่ วกับการสรา้ งส่งิ แวดลอ้ มและกิจกรรมการ เรยี นรู้ ซึง่ ใหผ้ เู้ รยี นเป็นผู้ควบคผมการเรียนรขู้ องตนเอง ซงึ่ นบั เปน็ ภารกิจท่ีสสาำ ำา คัญของผู้เรยี นทมี่ วี ผฒภิ าวะ ๑.๒ การออำาำา นวยความสะดวกตอ่ การเรยี นรู้ (facilitating learning) นักออกแบบ การเรียนการสอนตามทฤษฎีการสรา้ งความรู้ มีความเชอ่ื ว่าการสอนเปน็ กระบวนการส่งเสริมการสรา้ งความ รมู้ ากกวา่ การถ่ายทอดความรู้8 ดังน้ันผูเ้ รยี นจงึ ไม่ควรอย่ใู นสภาพเฉอ่ื ยชาหรอื เป็นเพียงฝัา่ ยรับความรู้ จดจจำาาำ และระลกึ ข้อมลู เทา่ น้ัน ตรงกนั ขา้ มผู้เรยี นควรมีความกระตอื รอื ร้นในการคดิ วเิ คราะห์ เข้าใจและประยกผ ต์ใช้ สารสนเทศ ทง้ั ครแู ละนักออกแบบใช้เทคนคิ หลากหลาย และใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ งสง่ิ แวดล้อมการเรยี นรู้ เชงิ รกผ บรรยากาศที่อานวยความสะดวกในการสรา้ งความรูค้ วรมลี ักษณ์ะดงั นี้ ๑.๒.๑ อนผญาตให้ผเู้ รียนมีอสิ ระในการตงั้ คคำาาำ ถามและแสดงความคดิ เหวน เพื่อสรา้ งความหมายของตนเอง ผูเ้ รียนไดแ้ ลกเปล่ยี นความรู้ ความคดิ เหนว กบั เพือ่ นสมาชกิ ในหอ้ งเรยี นและได้ พฒั นาเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ การเรียนรู้ 8 Duffy & Cunningham, อา้ งแล้ว เรื่องเดยี วกัน. 1996, p.171.

การพฒั นาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา35 ๑.๒.๒ ผ้สู อนส่งเสรมิ ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ รียนให้มากทส่ี ดผ แนะนนำาำา ผู้ เรียนในการเชือ่ มโยงประสบการณ์ใ์ หมใ่ ห้เขา้ กบั ประสบการณ์์เดมิ ทม่ี อี ยู่ จดั ให้มกี ารประเมนิ ยอ่ ยและใหข้ ้อมูล ยอ้ นกลับแกผ่ ู้เรียน เคารพความคดิ ของผู้เรยี นและสนับสนผนใหผ้ ู้เรยี นมีความเป็นตวั ของตัวเอง ๑.๒.๓ ให้ผู้เรยี นได้เกยี่ วข้องกบั กิจกรรมทม่ี ีลกั ษณ์ะสรา้ งความผกู พนั มี ความทา้ ทายเน้นการสรา้ งความคดิ รวบยอดหลักและส่งเสริมการคิดระดบั สูง ๒. การเรยี นรเู้ ปน็ ประสบการณ์เ์ ชิงรกผ เกดิ ขึ้นในสถานการณ์ท์ ่ีเป็นจริงและผ้เู รียนมีความ เกีย่ วข้อง การจดั การเรยี นรตู้ ามทฤษฎีการสรา้ งความรเู้ น้นการเรยี นรเู้ ชงิ รกผ กจิ กรรมการเรียนรูท้ อ่ี ยู่ในบรบิ ทที่ เป็นชีวติ จรงิ ๒.๑ การเรยี นรู้เชงิ รกผ นักทฤษฎกี ารสรา้ งความรมู้ คี วามคดิ เหนว เร่ืองการคน้ พบความ รซู้ ึง่ เป็นการเรยี นร้เู ชงิ รกผ แตกตา่ งจากนักทฤษฎกี ลผม่ พทผ ธินยิ ม การเรยี นรูโ้ ดยการคน้ พบตามทฤษฎกี ารเรียนรู้ กลม่ผ พทผ ธนิ ยิ มนน้ั ครูมักเปน็ ผูต้ ดั สนิ ใจเก่ยี วกบั เนื้อหา ผเู้ รยี นค้นพบคคำาาำ ตอบท่ีครูรมู้ าก่อนแล้ว สว่ นการคน้ พบตามทฤษฎีการสรา้ งความรนู้ น้ั ผเู้ รยี นตอ้ งลงมอื ททาำ ำา หลายสิง่ ไม่เฉพาะแต่เพยี งประมวลผลข้อมลู ทีค่ รเู ป็น ผนู้ นำาำา เสนอ แตผ่ เู้ รยี นจะตอ้ งใชว้ ธิ กี ารในการจดั การกบั ข้อมลู หลายอย่าง ตง้ั แต่การรบั รูก้ ารใช้กระบวนการคิด ในการสงั เกต เปรยี บเทียบ จัดกลผม่ จดั ประเภท ขยายรายละเอียดของสารสนเทศ การแปลความหมายของ ข้อมูลตามความรู้และประสบการณ์เ์ ดมิ ท่มี มี ากอ่ น การใชก้ ลวธิ ีเหล่านนี้ อกจากจะชว่ ยสร้างความรใู้ หก้ บั ผู้เรียน แล้วยังชว่ ยพัฒนาโครงสรา้ งทางสตปิ งญญาและสง่ เสรมิ การใช้กระบวนการประมวลสารสนเทศระดับสงู ของผู้ เรียนอีกดว้ ย9 ๒.๒ กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีอยใู่ นบริบทท่เี ป็นชวี ติ จรงิ ทฤษฎีการสรา้ งความรูส้ ง่ เสรมิ การเรยี นและการฝัึกฝันในบริบททเ่ี ปน็ ชีวติ จรงิ ซ่งึ ชว่ ยให้การเรียนการสอนมีความน่าสนใจและสร้างการจงู ใจ ในการเรียนรใู้ หก้ ับนกั เรยี นได้มากขนึ้ นอกจากนีย้ ังสง่ เสริมการถา่ ยโอนและการประยผกตใ์ ชค้ วามรใู้ นการแก้ ปญง หาในสภาพจรงิ สมิทและราแกน10 เรียกแนวทางการเรียนการสอนประเภทน้วี า่ “anchored instruction” ผลการเรียนรทู้ ี่เกิดข้นึ จากแนวการสอนนี้ คือ การเรียนรทู้ ี่เป็นสภาพจริง หลกั การของการสอนตามแนวทางนี้ กวคอื กิจกรรมการเรยี นการสอน จะตอ้ งยดึ อยกู่ ับเรอ่ื งราวทผ่ี ู้เรยี นให้ความสนใจ เช่น นทิ าน การผจญภัย เหตผการณ์์ ปงญหา หรอื ประเดวนที่ผเู้ รียนสนใจ ส่อื ทใี่ ช้ในการเรยี นการสอนต้องมอี ย่างพร้อมมูลเพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นได้ สสำาำา รวจ สืบคน้ เพอ่ื นนำาาำ มาใชใ้ นการแกป้ ญง หาผู้เรียนใช้วธิ ที ทำาาำ งานกลมผ่ แบบร่วมมือรวมพลังเพ่อื สรา้ งความรู้ และแกป้ งญหา แบรนส์ฟอรด์ 11 กลา่ วถงึ “anchored instruction” วา่ เป็นการเรียนรูท้ ใ่ี ชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ ฐาน เนื่องจากในปจง จบผ นั คอมพวิ เตอรเ์ ป็นอผปกรณ์์สารสนเทศและการสอื่ สาร ซึ่งชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นสามารถททำาาำ งานรว่ ม กนั ไดโ้ ดยผา่ นอปผ กรณ์ก์ ารเชื่อมตอ่ ตา่ ง ๆ และสามารถจจำาาำ ลองสถานการณ์จ์ รงิ มาใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนร้ไู ดโ้ ดยไม่ ตอ้ งรอให้เกดิ เหตกผ ารณ์จ์ รงิ ตวั อยา่ งโปรแกรมการศกึ ษาท่ีสรา้ งข้ึนตามแนวคดิ นี้ซึ่งใช้กบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ไดแ้ ก่ ๑. “Jasper Woodbury Problem Solving” เปน็ โปรแกรมผจญภัยเพือ่ เรยี นรคู้ วามคดิ รวบ ยอดทางคณ์ติ ศาสตร์ และการนาความคิดรวบยอดคณ์ติ ศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปญง หา 9 Richey, R. C., Klein, J. D., & Tracey, M. W. (2011). The instructional design knowledge base. New York: Taylor & Francis. 2011, p. 132. 10 Smith & Ragan, อา้ งแล้ว เรอ่ื งเดยี วกนั . 11 Bransford, J. D. Anchored instruction. Retrieved January 10, 2013, from http://www.instructionaldesign.org/theories/anchored-instruction.html. 2013.

การพฒั นาส่อื การสอนพระพทุ ธศาสนา36 ๒. “Young Sherlock Holms” เปน็ โปรแกรมที่เรยี นรูท้ ักษะการเชอ่ื มโยงสาเหตแผ ละผล การเรยี นรสู้ ภาพชีวติ ของชาวองั กฤษในยคผ วคิ ตอเรยี ผเู้ รยี นได้ฝัึกทกั ษะการอา่ นจับใจความและเรียนรู้ ประวตั ศิ าสตร์ การเรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ เชน่ ปญง หาในชีวติ ประจจำาาำ วนั สถานการณ์จ์ รงิ ทเี่ กดิ ขึ้นในสงั คม สภาพ เหล่าน้มี ีลกั ษณ์ะท่ซี บั ซ้อน มสี าระสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องมากมาย ท้ังท่ีเกยี่ วขอ้ งโดยตรงและไมเ่ ก่ียวข้อง ซึ่งแตก ตา่ งจากการเรยี นรู้แบบดง้ั เดิม ท่ีครนู นำาำา ปงญหาจริงมาดดั แปลง และททำาำา ใหง้ า่ ยขึ้นโดยตดั มาเป็นสว่ น ๆ ไมไ่ ด้ เชอื่ มโยงกับบรบิ ท การค้นหาและระบปผ งญหา ตลอดจนการแก้ปญง หาตามสภาพจรงิ ข้ึนกบั ปจง จยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง หลายอยา่ ง เช่น ความเชอ่ื และคา่ นิยมของผเู้ รียน การมีส่วนรว่ มในกิจกรรมและการมีปฏสิ มั พนั ธ์กับผู้อน่ื อยา่ งไรกตว ามเรากสว ามารถจจาำ ำา ลองกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามสภาพจรงิ มาใช้ไดโ้ ดยใช้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ ๓. การเรียนร้เู ป็นผลจากการสสำาำา รวจของมมผ มองท่ีหลากหลาย หลกั การนีม้ ีรากฐานมาจากแนวคดิ ของไวกอว ทสกี ซึ่งกลา่ ววา่ การสร้างความรมู้ ีพืน้ ฐานมาจากสงั คมและวฒั นธรรมที่บผคคลเปน็ สมาชิก ดงั น้นั องค์ ประกอบสสำาาำ คญั ของการออกแบบการเรยี นการสอน จึงเนน้ สิง่ แวดล้อมการเรียนรทู้ ส่ี มบูรณ์์และสิ่งแวดล้อม การเรยี นรแู้ บบรวมพลัง เพ่ือให้ผ้เู รยี นไดม้ ีโอกาสไดส้ สำาาำ รวจและแลกเปล่ียนเรียนรคู้ วามคดิ เหวนของสมาชกิ ใน สังคมอยา่ งหลากหลาย เพ่อื นนำาำา ไปสูก่ ารประนปี ระนอมความคดิ เหนว และหลอมรวมเป็นความคิดของตนเอง ๓.๑ สงิ่ แวดล้อมการเรียนรทู้ ีส่ มบูรณ์์ หมายถงึ สง่ิ แวดล้อมท่ีสง่ เสริมแบบการเรยี นรทู้ ี่หลาก หลายลกั ษณ์ะ และตัวแทนของความรจู้ ากความคดิ รวบยอดและกรณ์ีศึกษาทแี่ ตกตา่ งกนั สิง่ แวดลอ้ มการเรยี น รนู้ ี้ให้มผมมองและสารสนเทศท่สี มบูรณ์์ เช่น มีเครอื ขา่ ยความรู้ ปจง จัยนนำาาำ เข้ามาจากแหลง่ ข้อมูลหลากหลาย สามารถตีความการสอนไดห้ ลากหลาย ๓.๒ ส่งิ แวดลอ้ มการเรยี นรู้แบบรวมพลัง ชว่ ยสง่ เสรมิ ผูเ้ รยี นในการแลกเปล่ียนความคิดเหนว และรว่ มกนั สะทอ้ นการรับรู้ การเรียนรแู้ บบรวมพลงั ไมใ่ ช่เพยี งแค่แบ่งงานกนั ททำาำา และนนาำ าำ ไปสรปผ รว่ มกัน แตห่ มายถงึ การให้ผูเ้ รยี นไดพ้ ัฒนา เปรียบเทียบ เข้าใจมผมมองทีห่ ลากหลายในประเดวนตา่ ง ๆดังน้ัน กจิ กรรม การเรียนรแู้ บบรวมพลงั จงึ ไดแ้ ก่ การแลกเปลย่ี นความคดิ เหนว การอภปิ ราย การโตเ้ ถียง การสะทอ้ น และการ ประนปี ระนอมความคิดเหวน สิง่ แวดลอ้ มนอี้ าจเกิดขึน้ ภายในกลมผ่ เลวก ๆ หรอื การจดั ชมผ ชนแหง่ การปฏิบัติ ซ่ึง สามารถสร้างไดจ้ ากสิง่ แวดลอ้ มอเิ ลกว ทรอนกิ ส์ เชน่ หอ้ งสนทนาทางเครอื ขา่ ยออนไลน์ เปน็ ต้น เรื่องทนี่ นาำ าำ มา เรยี นรอู้ าจเป็นประเดนว ความสนใจสว่ นตวั การเรียนร้ใู นลกั ษณ์ะน้เี ปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นได้เรียนรู้ขา้ มกลม่ผ การ พฒั นาทางปงญญาเกดิ จากการสง่ ตอ่ จากความคิดหนึง่ สคู่ วามคิดหน่ึง จากความคดิ สเู่ ครอ่ื งมอื จากเครอ่ื งมือสู่ ความคดิ ๓.๓.๔ กระบวนการออกแบบการเรยี นการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ กระบวนการออกแบบการเรยี นการสอนมีขั้นตอนทส่ี สำาำา คัญ ๓ ขนั้ ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์ การออกแบบกลวธิ กี ารเรียนรู้ และการประเมนิ ผลการเรยี นร้ซู ึ่งในแต่ละขั้นตอน ไดน้ นาำ ำา หลกั การของการสรา้ ง ความรไู้ ปใช้ในการดดำาำา เนนิ งานดังน้ี ๑. การวเิ คราะห์ การวิเคราะห์มีจผดม่ผงหมายเพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ มูลทน่ี นาำ าำ ไปใช้ในการออกแบบ ซง่ึ กระบวนการออกแบบการเรียนการสอนเชงิ ระบบและการออกแบบตามแนวคดิ การสรา้ งความรมู้ คี วามแตก ตา่ งในการวเิ คราะห์ในส่ิงต่อไปนี้ ๑.๑ การวิเคราะหเ์ ป้าหมายการเรยี นรู้ การออกแบบการเรียนการสอนเชงิ ระบบเนน้ การกกาำ าำ หนดเป้าหมายการเรยี นรทู้ ี่เฉพาะเจาะจง และแตกเปา้ หมายการเรียนรู้เป็นจผดประสงคย์ ่อย ๆทีเ่ รียก วา่ จดผ ประสงค์นนำาาำ ทาง เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการกกาำ าำ หนดเน้ือหา ทกั ษะ และเจตคติ ตลอดจนขัน้ ตอนการ เรียน การสอนเพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทางในการกกาำ ำา หนดภาระงานย่อย ๆ สสาำ ำา หรบั ใหน้ กั เรียนปฏบิ ัติเพอื่ การเรียนรู้ เน้อื หา ทเี่ ปน็ ความคดิ รวบยอด หลกั การ ทฤษฎี ทกั ษะ และเจตคตติ ามเป้าหมายของการเรยี นรทู้ ่ี กกำาำา หนดไว้ สว่ นการออกแบบการเรยี นการสอนตามแนวคิดการสรา้ งความรนู้ นั้ เน่ืองจากมีความเชือ่ วา่ ความรู้

การพฒั นาสอ่ื การสอนพระพุทธศาสนา37 มาจากการสรา้ งไมใ่ ช่การรบั ดงั น้นั จึงกกาำ ำา หนดเปา้ หมายการเรียนรูแ้ บบท่ัวไป และแทนทีจ่ ะวิเคราะห์เนอ้ื หา การเรยี นรเู้ พื่อจจาำ ำา แนกเป็นเน้อื หาย่อย ๆ ให้เชือ่ มโยงสมั พันธก์ ันดังทีน่ กั ออกแบบการเรียนการสอนเชิงระบบ ททาำ าำ แตน่ กั ทฤษฎี การสรา้ งความรจู้ ะพจิ ารณ์าวา่ ผู้เรียนที่มีความรปู้ ระเภทน้นั ต้องททำาำา อะไรไดใ้ น สภาพจรงิ ดงั นนั้ การออกแบบ การเรยี นการสอนตามแนวคิดการสรา้ งความรู้ จะเน้นการวิเคราะหบ์ ริบท การเรยี นรมู้ ากกว่าเนื้อหา การเรยี นรู้ โดยพิจารณ์าวา่ ในสง่ิ แวดล้อมจรงิ นนั้ มีความรู้ ทกั ษะและความซบั ซ้อน ของปงญหาเป็นอย่างไร การวเิ คราะหน์ ้เี พือ่ ชว่ ยในการจดั เตรียมแหล่งข้อมลู และสารสนเทศตา่ ง ๆอยา่ งหลาก หลาย ซง่ึ เปน็ สิ่งแวดล้อมในการเรียนร้เู พ่ือใหผ้ ู้เรยี นไดน้ นำาำา ไปใชใ้ นการวิเคราะหป์ งญหา หรอื วเิ คราะหค์ วามคดิ รวบยอดทสี่ มั พันธ์กบั ปญง หาตามสภาพจรงิ ผ้เู รยี นเป็นผกู้ กำาำา หนดเป้าหมายการเรยี นรู้ทเี่ หมาะสมและตรงกบั ความตอ้ งการของตัวเองในการเรยี นรู้ จากสิง่ แวดลอ้ มท่ีเปน็ สภาพจริง เป้าหมายการเรยี นรจู้ งึ เป็นเป้าหมาย เฉพาะตน ท่ผี เู้ รยี นกกาำ ำา หนดขน้ึ เองไมใ่ ช่เป้าหมายการเรียนรรู้ ว่ มกันของกล่ผมซงึ่ ผู้สอนเปน็ ผ้กู กำาำา หนดให้ ๑.๒ การวเิ คราะห์ผ้เู รยี น การออกแบบการเรียนการสอนท้ังสองแนวคดิ มีการวเิ คราะห์ผูเ้ รยี น แต่การออกแบบการเรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบเนน้ การวิเคราะห์คผณ์ลักษณ์ะสสำาาำ คัญ ท่ีเป็นปจง จัยที่มผี ลต่อการบรรลผจดผ ประสงค์การเรียนรเู้ ฉพาะ ไดแ้ ก่ คณผ ์ลกั ษณ์ะทว่ั ไป เช่น เพศ อายผ ประสบการณ์อ์ าชพี และภูมลิ ลำาาำ เนา เปน็ ต้น แบบการเรยี นรู้ ทกั ษะและความรู้ทีม่ ีมาก่อน แต่นกั ออกแบบ การเรียนการสอนตามแนวคดิ การสรา้ งความรู้สนใจมผมมองของผเู้ รยี นเปน็ รายบคผ คลก่อนเขา้ รว่ มการเรยี นรูม้ าก กว่าคณผ ์ลกั ษณ์ะของกลผม่ ผู้เรยี นหรือพ้ืนฐานที่มมี าก่อนของผู้เรียน ที่สสาำ ำา คญั คือความตระหนกั ของผเู้ รียน ท่ี มีตอ่ ความรู้ของตนเองและความสามารถในกระบวนการสรา้ งความรู้ ๒. การออกแบบกลวิธกี ารเรียนรู้ กระบวนการออกแบบการเรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบ และการออกแบบการเรียนการสอนตามแนวคดิ การสรา้ งความรตู้ า่ งเหวนความสสำาาำ คัญของการเลือกกลวิธกี าร เรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกับการเรียนรขู้ องผู้เรยี น รชิ ี เคลนและเทรซี12 ไดส้ รผปกลวธิ ขี องการออกแบบการ เรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างความรไู้ ว้ ดังนี้ ๒.๑การเรียนร้จู ากผ้ทู ม่ี ีความเชย่ี วชาญในเรื่องท่เี รยี น (cognitive pprenticeships) โดยพยายามจดั สภาพแวดล้อมทใ่ี หผ้ ู้เรียนไดม้ ีโอกาสเรยี นรจู้ ากผูม้ ีความรู้ ความเช่ียวชาญในเรือ่ งนัน้ เปน็ อยา่ งดี หรือท่เี รยี กวา่ เปน็ ผู้ทรงภมู ิความรแู้ ทนที่จะเรยี นกับผรู้ ู้ทั่ว ๆ ไปจากการเรียนการสอนธรรมดา นอกจากนค้ี วร ให้ผ้เู รยี นได้เรยี นรผู้ า่ นการททำาำา งานในสภาพจรงิ ครผู ู้สอนตอ้ งททำาาำ หน้าทเี่ ป็นผู้เชีย่ วชาญในเรอ่ื งที่สอน และ ททาำ ำา หนา้ ทีไ่ ดเ้ หมือนกับโคช้ ทร่ี ู้ลกึ รจู้ ริงทีส่ ามารถช้ีแนะการปฏิบัติใหก้ ับผเู้ รยี นได้ดว้ ย มิใช่เพียงการถ่ายทอด ความรเู้ ท่านั้น ๒.๒ การเรยี นรโู้ ดยใช้ปงญหาเปน็ ฐาน (problem-based learning) หรอื PBL เป็นรปู แบบการเรยี นรทู้ เ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง ทใี่ หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้จากปงญหาจริงทเ่ี กดิ ข้นึ ดงั น้นั จึงมี ความซบั ซอ้ น เพราะไมใ่ ช่ปงญหาท่สี รา้ งขึน้ มาเพื่อการเรยี นรทู้ ่มี ีเป้าหมายแน่นอน ซึ่งผู้สอนเป็นผ้สู ร้าง ซงึ่ มีการดดั แปลงใหง้ า่ ยตอ่ การวเิ คราะห์ แตป่ งญหาที่เกดิ ขนึ้ จรงิ นัน้ มักไมม่ ีโครงสร้างชดั เจน การเรยี นรแู้ บบ PBL ครู ททาำ าำ หนา้ ทด่ี งั นี้ ๑.สรา้ งส่ิงแวดลอ้ มการเรียนรูท้ ่สี ่งเสริมการศกึ ษาและการคน้ พบ ของ ผู้เรยี นโดยเตรยี มแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ใหผ้ ูเ้ รยี นใช้ในการศึกษาค้นควา้ หาหลกั ฐานความรูเ้ พ่อื นนาำ ำา ไปใช้ ในการแก้ไขปญง หา 12 Richey, R. C., Klein, J. D., & Tracey, M. W. The instructional design knowledge base. New York: Taylor & Francis., 2011. p. 135-138.

การพัฒนาส่อื การสอนพระพุทธศาสนา38 ๒. ต้ังคคาำ ำา ถามทชี่ ว่ ยให้ผู้เรยี นททาำ ำา ความเขา้ ใจปญง หาไดอ้ ย่างชดั เจน และ ชช้ี วนใหน้ ักเรยี นไดต้ ง้ั คคำาำา ถามที่นา่ สนใจหรือทีอ่ ยากรเู้ พ่อื นนำาำา ไปสกู่ ารคน้ คว้าหาคคาำ าำ ตอบ เพราะหลักการ เรยี นรทู้ ่ีสสาำ ำา คัญกวคอื การต้งั คคาำ าำ ถามท่ีถูกตอ้ งมคี วามสสาำ าำ คัญกวา่ การหาคคำาาำ ตอบ ๓. ครชู ว่ ยให้นกั เรียนสามารถถอดบทเรยี น (reflection) จากสงิ่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ เพื่อสรผปเปน็ สาระและประสบการณ์ก์ ารเรยี นรทู้ เ่ี กิดขึน้ การเรยี นการสอนจะตอ้ งจดั ใหผ้ ู้เรยี นไดว้ ิเคราะห์ข้อมลู หลักฐานตา่ งๆ ดว้ ยเหตผผลไดเ้ ปรียบเทียบ ประเมนิ ความเหวนตา่ ง ๆ ที่เป็นขอ้ โตแ้ ย้ง การแปลความหมายของข้อมลู ตา่ งๆ และนนาำ ำา มาประมวลให้เปน็ ขอ้ สรปผ ของสารสนเทศที่ได้จากการวเิ คราะห์ และพิจารณ์าอย่างถถ่ี ้วนทใี่ ช้ในการตอบปญง หา การเรยี น ใน ลักษณ์ะน้ไี มม่ ีคคาำ ำา ตอบตายตวั แต่นกั เรียนฝักึ การใชค้ วามคดิ อยา่ งเป็นระบบ ลึกซงึ้ ถถี่ ้วนและฝัึกการคิด อยา่ งสรา้ งสรรค์ ททำาาำ ใหก้ ารเรยี นรมู้ ีความหมาย มีคผณ์คา่ เพราะคคาำ ำา ตอบเกิดจากการสรา้ งของผเู้ รยี น ๓. การใช้เทคนคิ ชแ้ี นะช่วยเหลอื คคาำ ำา วา่ “การชแ้ี นะชว่ ยเหลือ” (scaffolding) เปน็ คคำาาำ ศพั ท์ ทวี่ ดู บรูเนอร์ และรอส13 นกั จิตวิทยากล่มผ พผทธินิยม เป็นผู้นนาำ าำ มากลา่ วถึงเปน็ คนแรก เกีย่ วกับ บทบาทของครู ในการส่งเสรมิ ชว่ ยเหลอื ในระหวา่ งกระบวนการเรียนรเู้ พ่อื ให้เหมาะสมกับความตอ้ งการของผู้ เรยี น โดยมีจดผ ม่ผงหมายเพอื่ ให้ผู้เรยี นบรรลเผ ปา้ หมายการเรียนรขู้ องตน และหลักการนี้สอดคล้องกบั แนวคดิ ของไวกอว ทสกี ท่ีอธบิ ายเก่ียวกบั บทบาทของครู ผู้ใหญ่หรอื ผูม้ คี วามรมู้ ากกวา่ ในการชว่ ยเหลือผู้ เรียนท่อี ยู่ ในชอ่ งว่างของพัฒนาการระหวา่ งส่งิ ท่ผี ้เู รยี นรู้ หรอื สามารถททำาำา ได้ดว้ ยตนเองตามลลำาำา พงั กบั ส่ิงที่ผ้เู รยี นมีศกั ยภาพทจ่ี ะเรียนรหู้ รือสามารถททาำ าำ ไดเ้ มือ่ ไดร้ บั การชี้แนะช่วยเหลอื จากผู้รู้ ระยะหา่ งนี้เรยี กว่า ZPD (zone of proximal development) การช้ีแนะช่วยเหลอื จงึ หมายถึงการชว่ ยผูเ้ รียนใหข้ ้ามพน้ ชอ่ งวา่ ง น้ีไปได้ ซึง่ เปน็ การขยายความสามารถของผ้เู รยี นใหเ้ พ่ิมข้นึ โดยให้ความชว่ ยเหลืออยา่ งเพยี งพอ การ ชี้แนะช่วยเหลอื นี้ตอ้ งททำาำา ในลกั ษณ์ะท้าทายและให้อสิ ระผู้เรียน ในการคิดการชแ้ี นะชว่ ยเหลอื น้ที ทาำ าำ ได้ หลายลกั ษณ์ะ เชน่ การอธบิ าย การททำาาำ ให้ดเู ปน็ ตวั อยา่ ง การใชค้ คาำ าำ ถาม การให้เอกสารแนะนนาำ าำ การ ให้ขอบเขตของเน้ือหา เพ่อื ส่งเสริมความเขา้ ใจสาระความรู้ การบอกแหล่งเรยี นรู้ การให้คคาำ าำ ปรึกษา จดั ให้มกี ารช้แี นะเป็นรายบคผ คล เปน็ ต้น ตวั อย่างของการช้ีแนะชว่ ยเหลือ เชน่ ครใู หแ้ นวคคาำ ำา ถามเพอ่ื กระตนผ้ ความใสใ่ จของผ้เู รยี น เกี่ยวกับหลักการหรอื ขอ้ ความสสาำ าำ คัญในขณ์ะท่ผี ู้เรยี นรวบรวมสารสนเทศที่จะนนาำ ำา ไป ใชใ้ นการแก้ปญง หา การส่งเสริมให้ผเู้ รยี นรู้จกั การวางแผน ควบคผมกจิ กรรมการเรียนรู้หรือรจู้ กั การประเมิน สะทอ้ น และสรผปการเรยี นรู้ ของตนเองภายหลังเสรจว สน้ิ การททำาาำ โครงการ เปน็ ตน้ การชีแ้ นะช่วยเหลอื ทใ่ี ชส้ ามารถแบ่งได้ ๒ ประเภท คอื ๓.๑ soft scaffolding หมายถึง การชีแ้ นะชว่ ยเหลอื ท่ีมลี กั ษณ์ะยดื หยผน่ เปน็ ไปตาม สถานการณ์์ ตามความตอ้ งการของผู้เรียนในระหวา่ งการเรียนการสอน จดผ อ่อนของการชแ้ี นะช่วยเหลือ ใน ลกั ษณ์ะน้ี คือ ถ้าในหอ้ งเรยี นมนี ักเรียนจจาำ าำ นวนมาก ครไู มส่ ามารถชแ้ี นะชว่ ยเหลือนักเรยี นได้อย่างทว่ั ถึง การชแ้ี นะชว่ ยเหลือตอ้ งประยผกต์ใหเ้ หมาะกบั นกั เรียนส่วนใหญข่ องหอ้ งเท่านนั้ ไม่สามารถเจาะลึก เป็นรายบผคคล ๓.๒ hard scaffolding หมายถึง การชแ้ี นะชว่ ยเหลอื ที่มกี ารวางแผนเตรียมการไว้ ลว่ งหน้ากอ่ น เพราะครรู ้อู ย่แู ล้ววา่ เรอ่ื งที่สอนเป็นเรอ่ื งทย่ี ากและการชแี้ นะช่วยเหลอื เป็นส่ิงทจี่ ะตอ้ งเกดิ ข้นึ แนน่ อนในระหว่างการเรยี นการสอนนอกจากประเภทของการชแี้ นะชว่ ยเหลอื ขา้ งตน้ น้แี ลว้ ยังแบง่ การช้แี นะ ชว่ ยเหลอื ตามวธิ ีการทใ่ี ชใ้ นการชีแ้ นะช่วยเหลือ14 ดังน้ี 13 Wood, D. J., Bruner, J. D., & Ross, G. “The role of tutoring in problem solving.” Journal of Child Psychology and Psychiatry, 17 (2), 1976. P.89-100. 14 Yelland, N. J. & Masters, J. E. “Rethinking scaffolding with technology.”

การพัฒนาสื่อการสอนพระพทุ ธศาสนา39 ๓.๒.๑ reciprocal scaffolding เป็นลกั ษณ์ะการชแ้ี นะชว่ ยเหลือโดยให้ นักเรียนททาำ าำ งานเป็นกล่ผมต้งั แต่ ๒ คนข้ึนไป ซง่ึ มีความรู้ ความถนัดแตกต่างกัน เพือ่ ให้นักเรยี นได้เรยี นรจู้ าก ความรู้ ประสบการณ์์และความสามารถของกันและกนั และไดแ้ ลกเปลี่ยนความรูค้ วามสามารถในการปฏบิ ัติ งานของกลผ่ม ให้ประสบความสสำาาำ เรวจ โดยมีครหู รอื ผมู้ ีความรมู้ ากกวา่ ให้คคาำ าำ แนะนาชว่ ยเหลือ การททาำ ำา งาน ในลกั ษณ์ะน้ีททำาาำ ให้นกั เรียนไดพ้ ฒั นาความคดิ ในระดับทส่ี ูงขน้ึ เพราะไดท้ ทำาำา งานกบั คนทมี่ ีความรมู้ ากกว่า ๓.๒.๒ technical scaffolding หมายถงึ การใชค้ อมพิวเตอร์แทนครูในการ เปน็ ผู้เช่ยี วชาญผู้ เรยี นไดร้ ับการชีแ้ นะช่วยเหลอื ผา่ น web-links, online-tutorial, help page เป็นตน้ ๔. การประเมินผลการเรยี นรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนตามแนวคดิ การสรา้ งความ รมู้ ีลกั ษณ์ะ ดงั น้ี ๑. การประเมนิ ผลอสิ ระจากเปา้ หมาย (goal-free evaluation) เน่อื งจากการ ประเมินกระบวนการเรยี นรู้ อาจเกดิ อคติได้ ถา้ ลว่ งร้เู ป้าหมายการเรียนรลู้ ว่ งหน้า ดงั น้นั การประเมนิ กระบวนการคิดของผ้เู รียนตามแนวคิดการสรา้ งความรู้ การประเมนิ จะใช้การถามคคำาาำ ถามให้ผูเ้ รยี นอธบิ าย กระบวนการแกป้ ญง หาตามแนวทางที่ได้ตดั สินใจเลอื กและให้ผู้เรียนหาเหตผผ ลสนับสนนผ แนวคิดของตนเพื่อ ยืนยันแนวทางการแก้ปงญหาทไ่ี ดเ้ ลือกไว้ ๒. การประเมินแบบปลายเปิด (open-ended assessment) เน่อื งจากแนวคดิ การ สรา้ งความรเู้ ชื่อว่าการสร้างความรมู้ าจากการสสาำ าำ รวจความคดิ เหนว ที่แตกตา่ งหลากหลายเพ่ือนนำาำา ไปสกู่ าร ประนปี ระนอมต่อรองเพื่อลงข้อสรผป ดงั นน้ั จงึ ไม่มคี คาำ ำา ตอบท่ีตายตวั แนน่ อน ถูกต้องเพียงคคาำ าำ ตอบเดียว แต่ มีทางเลอื กไดห้ ลายแนวทางในการบรรลเผ ป้าหมาย การประเมินจงึ เป็นแบบปลายเปดิ เพอื่ ตรวจสอบว่าผเู้ รียนมี ความรู้ ความเข้าใจและสามารถนนำาาำ ความรไู้ ปใชเ้ พื่อเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองหรอื ไม่ ๓. การประเมินแบบไม่องิ เกณ์ฑ์ นกั ออกแบบการเรยี นการสอนอยา่ งเปน็ ระบบนิยมการ ประเมินแบบองิ เกณ์ฑ์ (criterion-referenced) แต่การประเมนิ ตามแนวคิดการสรา้ งความรจู้ ะเปน็ แบบไม่อิง เกณ์ฑ์ แตใ่ ชว้ ธิ ีการประเมนิ หลายวธิ รี ่วมกนั ๓.๔ รปู แบบการออกแบบการเรียนการสอนพืน้ ฐานจากทฤษฎกี ารสร้างความรู้ การออกแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสรา้ งความรู้ ไดป้ รบั เปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ทตี่ า่ งไป จากการออกแบบการเรียนการสอนเชิงระบบ ซงึ่ เน้นข้นั ตอนท่ีแนน่ อนและพสิ ูจน์ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล ของการออกแบบการเรยี นการสอนดว้ ยขอ้ มลู เชิงประจักษ์ ทีไ่ ดจ้ ากการวิจยั ททาำ ำา ให้สามารถสรผปอา้ งองิ ผลการ วจิ ัยไปสกู่ ารนนำาาำ ไปใช้ในวงกวา้ งได้ แต่รปู แบบการออกแบบการเรียนการสอน ตามกระบวนทศั นใ์ หม่ซึ่งเชอ่ื ว่า ผู้เรยี นเปน็ ผู้สร้างความรู้นัน้ เป็นรูปแบบท่ีเน้นการทบทวน ททาำ ำา ซซำ้าำา้ เพือ่ นนำาาำ ประสบการณ์ห์ รือขอ้ ความรู้ ใหมท่ ี่ไดจ้ ากการดดาำ าำ เนนิ งานในระหว่างการพฒั นา มาใชใ้ นการปรับปรงผ งานให้ดขี ึ้นเร่อื ย ๆ ซ่งึ รูปแบบการ ออกแบบการเรียนการสอนนี้มชี ่ือเรียกวา่ “recursive reflective instructional design model” ซ่งึ เป็น โครงการการออกแบบการเรียนการสอนซง่ึ รเิ ร่มิ ทศ่ี นู ย์วิจยั อวกาศจอหน์ สนั ของนาซา (NASA)15 รปู แบบการ ออกแบบการเรยี นการสอนนี้ไมม่ ีข้นั ตอนทต่ี ายตวั มเี พยี งหลักการ หรอื แนวทางในการดดำาำา เนินงาน ดงั นี้ ๑. เนน้ บรบิ ทของทอ้ งถน่ิ (local context) ไมเ่ น้นการสรปผ อา้ งองิ ผลการดดาำ ำา เนินงานจากบรบิ ทหนง่ึ ไปส่บู ริบทอื่น เนือ่ งจากมีความเช่อื วา่ ไมม่ ีกฎของการจดั การเรียนรใู้ ดทสี่ มบรู ณ์์ ซึ่งสามารถนนาำ าำ ไปอธิบาย Computers in Education, 48 (3),2007. P.362-382. 15 Tyler, R. W. Basic principles of curriculum and instruction. Chicago: The University of Chicago. 1949.p. 140.

การพัฒนาส่อื การสอนพระพุทธศาสนา40 พฤตกิ รรมและการเรยี นรขู้ องมนษผ ยไ์ ดอ้ ยา่ งแน่นอน การเรียนรเู้ กดิ ข้ึนจากการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ความคดิ เหวน และทศั นะท่ีหลากหลายจากผเู้ กยี่ วข้อง หลายฝั่ายและนนาำ ำา มาสงั เคราะหเ์ พ่อื ให้ได้สงิ่ ทด่ี ที ่สี ผด สสำาาำ หรบั ผเู้ รียน ในบรบิ ทหน่งึ ๆ ดงั น้นั การออกแบบการเรียนการสอนจึงเนน้ ที่การใชป้ ญง หาหรอื กรณ์ีศกึ ษาในบริบทหน่งึ ๆใน ทอ้ งถิ่นหรอื ชผมชนเป็นสิง่ แวดล้อมเพอ่ื สรา้ งรูปแบบการเรียนการสอน ๒. กระบวนการออกแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสรา้ งความรูม้ ธี รรมชาตทิ ่ีไม่เปน็ ไปตาม ลลาำ าำ ดบั เสน้ ตรง (nonlinear) แตม่ ีลักษณ์ะเป็นวฏั จักร เปน็ การดดาำ าำ เนนิ งานทีต่ ้องยอ้ นกลบั มาตรวจสอบและ ดดำาาำ เนินงานซซา้ำ า้ำ (recursive) ตลอดกระบวนการ กวา่ จะได้ผลผลติ ขององคป์ ระกอบการเรียนการสอน เชน่ จดผ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา และกิจกรรมการเรยี นการสอน ซ่ึงจะคอ่ ย ๆ เกดิ ข้นึ จากกระบวนการดดาำ ำา เนนิ การ มิไดเ้ กดิ ขนึ้ จากการกกาำ าำ หนดไวต้ ง้ั แตแ่ รก ดงั เชน่ การออกแบบการเรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบท่ีเปน็ การ ดดำาำา เนินงานท่เี ปน็ ลลาำ ำา ดบั (linear) ๓. ใช้กระบวนการสะท้อนประสบการณ์์ (reflective) หรอื มีผใู้ ช้คคาำ ำา วา่ “ถอดบทเรยี น”(reflection หรือ AAR- after action review)16 ซง่ึ เป็นการวเิ คราะห์หลังปฏิบัตกิ ารททำาำา ใหไ้ ดค้ วามรใู้ หม่หรอื บทสรผปทไี่ ด้ จากประสบการณ์์และการลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง ทัง้ ดา้ นผลงานและกระบวนการททำาำา งานซึ่งนนาำ าำ มาใชใ้ นการ พฒั นาและปรบั ปรงผ การออกแบบการเรียนการสอนให้ดขี น้ึ จากเดิมเปน็ ลลาำ ำา ดับจนเป็นทีน่ า่ พอใจ ๔. โดยธรรมชาตขิ องการออกแบบการเรยี นการสอนเป็นการททำาำา งานแบบมีส่วนร่วม (participatory design) ดงั น้ัน ผูอ้ อกแบบการเรียนการสอนจะเป็นผทู้ ทำาำา หนา้ ท่ี ออำาาำ นวยความสะดวกให้กบั ผู้ร่วมงานใน กระบวนการออกแบบ ใชก้ ารททำาำา งานเปน็ ทีมโดยผ้มู สี ว่ นรว่ มได้แก่ ผใู้ ช้ ในทีน่ ้ีหมายถึงครู ผ้เู ช่ยี วชาญดา้ น เนอ้ื หา ผมู้ ีสว่ นได้รบั ผลไดผ้ ลเสียของการออกแบบ เช่น ผู้ปกครอง ชผมชน เป็นตน้ การดดำาำา เนินงานมกี าร ปรับปรงผ ให้ดีขน้ึ เร่อื ย ๆ ในระหวา่ งการดดาำ าำ เนินการพฒั นาผลผลติ จะเหนว ว่ารปู แบบการออกแบบการเรียน การสอนตามแนวคดิ การสรา้ งความรเู้ ปน็ รูปแบบท่ีมคี วามยดื หยผน่ สูง เน้นที่กระบวนการพัฒนาที่สามารถปรบั เปลย่ี นวิธีการไดต้ ามสภาพจริง การประยกผ ต์ทฤษฎกี ารสรา้ งความรู้ สู่การออกแบบการเรียนรอู้ อนไลน์ การ ออกแบบการเรยี นรเู้ พอ่ื การฝักึ อบรมในภาคธรผ กิจ จะเน้นการบรู ณ์าการการเรยี นรู้และการททำาาำ งานเข้าไว้ใน สถานการณ์เ์ ดยี วกัน การศกึ ษาและการฝักึ อบรมในปงจจผบนั จงึ ตอ้ งจดั ใหม้ ีความยืดหยน่ผ ทัง้ ในดา้ นเวลาและ สถานทเี่ พอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของผู้เรยี นเป็นรายบผคคล คอมพวิ เตอรจ์ งึ เป็นอปผ กรณ์์ท่ีตอบสนองความ ตอ้ งการในการเรยี นรตู้ ามจดผ มผ่งหมายน้ี ไดเ้ ปน็ อย่างดีทั้งน้ีเพราะคอมพิวเตอร์สามารถสรา้ งการเรียนรู้ออนไลน์ ไดใ้ น ๒ ลกั ษณ์ะ คอื การสรา้ งสงิ่ แวดลอ้ มทสี่ ่งเสริมการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื และการสรา้ งเครอื ขา่ ยทางสังคมที่ เปน็ ชผมชนแห่งการเรยี นรู้ ซึ่งเป็นหลักการของการเรยี นรตู้ ามแนวคดิ ทฤษฎกี ารสรา้ งความรู้ ซึง่ จะกลา่ วในราย ละเอียด ดังน้ี ๑. การสรา้ งส่งิ แวดลอ้ มทสี่ ่งเสริมการเรียนรแู้ บบรว่ มมือ (computer-supported collaborative learning environment-CSCL) เปน็ การนนาำ าำ เสนอสง่ิ แวดลอ้ มการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ ซง่ึ รวมบริบททางการ ศกึ ษา โดยจัดใหผ้ เู้ รียนมปี ฏสิ มั พันธท์ างสังคม ผ่านการททำาำา งานเป็นกลผ่มกับบริบทของเทคโนโลยีทางการ ศกึ ษามารวมกันไวใ้ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ทท่ี ทาำ าำ หนา้ ท่ีเปน็ สื่อกลางประสานตดิ ตอ่ และเปน็ แหล่งเรียนร้ใู นเวลา เดยี วกนั รปู แบบการเรียนร้แู บบ CSCL จงึ เป็นการรวมการออกแบบ การพัฒนาและการใชเ้ ทคโนโลยมี าใชใ้ น การสง่ เสริมการเรียนรแู้ บบรว่ มมอื ซ่ึงเป็นไปตามหลักการของทฤษฎีการสรา้ งความรทู้ เ่ี น้นการมปี ฏสิ ัมพนั ธท์ าง สังคม การเรยี นรผู้ า่ นออนไลนจ์ งึ เปน็ ส่ิงแวดลอ้ มการเรยี นรู้ ที่ชว่ ยออาำ าำ นวยใหผ้ เู้ รยี นสามารถแลกเปล่ียนความ คดิ เหนว ระหวา่ งสมาชกิ ในกลม่ผ ได้อยา่ งกวา้ งขวาง และททำาำา งานรว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสะดวกดว้ ยการส่ือสารผา่ น คอมพิวเตอร์ การเรียนรตู้ ามรปู แบบ CSCL มีความยดื หยผน่ ตามเวลาและพืน้ ที่ และทา้ ทายความคดิ ในการแก้ 16 วิจารณ์์ พานิช. วถิ ีสร้างการเรียนรเู้ พอื่ ศิษย์ในศตวรรษที่ 21 (พมิ พ์ครั้งท่ี 3). กรงผ เทพฯ:มูลนธิ ิสดศรี-สฤษวงศ์. ๒๕๕๕, หน้า ๗๓.

การพฒั นาสอ่ื การสอนพระพทุ ธศาสนา41 ปญง หา ททำาำา ใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรทู้ ง้ั เน้อื หาและการททำาาำ งานรว่ มกับผู้อืน่ ซง่ึ เปน็ การเรยี นรู้อยา่ งมีความหมาย สอดคล้องกับสภาพจรงิ ในสังคม รูปแบบการเรียนรูน้ ี้จึงเป็นทนี่ ิยมใช้อยา่ งแพรห่ ลายในการศึกษาในระดับ อดผ มศกึ ษา ๒. การสรา้ งเครอื ขา่ ยทางสงั คมท่เี ปน็ ชผมชนแหง่ การเรียนรู้ (social network learning communities) ผลจากการพฒั นาเทคโนโลยีเครอื ขา่ ยทางสงั คม (social network technology) อยา่ งตอ่ เน่ือง ทาใหเ้ กดิ ชผมชนแห่งการเรยี นรทู้ ีเ่ ปน็ สงั คมออนไลน์ ทีช่ ว่ ยออำาาำ นวยความสะดวกและส่งเสรมิ การเรียนรู้ ให้ผเู้ รียนในดา้ นปฏสิ ัมพนั ธ์กับผู้อน่ื และการทางานแบบรว่ มมือ โดยผา่ นทางเคร่ืองมือที่สสาำ าำ คญั ไดแ้ ก่ เวบว บลวอก (weblogs) ออดโิ อบลอว ก (audio blogs) พอว ดคาสติง (podcasting) และวิกีส (wikis) เคร่ืองมอื เหลา่ น้ี ชว่ ยส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนทมี่ คี วามสนใจในเรื่องเดยี วกนั สามารถรวมกลผ่มและไดร้ ว่ มแลกเปล่ียนแสดงความคดิ เหวน ในระหว่างกันททาำ ำา ให้เกดิ การแลกเปล่ยี นเรยี นรอู้ ย่างกวา้ งขวาง และนนำาาำ ไปสูก่ ารมสี ว่ นรว่ มในการแก้ไข ปญง หาท่เี กิดขน้ึ จรงิ ในสังคม ดงั กรณ์ตี วั อยา่ ง เครอื ขา่ ยทรี่ ณ์รงค์คดั คา้ นการสรา้ งเขอื่ นแม่วงกท์ ค่ี รอบคลผมพ้ืนท่ี ปา่ ในจงั หวดั กาแพงเพชรและจังหวดั นครสวรรค์ การรณ์รงค์คดั คา้ นการสร้างเข่อื นแมว่ งก์เกดิ จากเครือขา่ ย องคก์ รอนรผ กั ษ์ดา้ นสิ่งแวดล้อมท่นี นำาำา ผลกระทบการสรา้ งเขือ่ นแมว่ งก์ทีม่ ีต่อปงญหาการททาำ าำ ลายปา่ และไม้ และสิ่งแวดลอ้ มมาเผยแพร่ผา่ นทางเวบว ไซต์ https://www.change.org/th ททาำ ำา ใหเ้ กิดการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และเข้าใจปญง หาและผลกระทบการสรา้ งเข่ือนแมว่ งกอ์ ย่างกว้างขวาง และนนำาำา ไปสูก่ ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมการ รณ์รงคค์ ดั ค้านการสร้างเข่ือนแมว่ งกท์ ม่ี ีผ้สู นใจและเข้าร่วมปฏิบตั กิ ารรณ์รงคอ์ ย่างทม่ผ เท เสียสละเปน็ จำาจำา นวน มากโครงการหน่งึ ในรอบป พ.ศ. ๒๕๕๖ ผลการเรียนรทู้ ่ีเกดิ ขึ้นกคว ือททำาาำ ใหค้ นในสงั คมตระหนกั ถงึ ปงญหาการ ททำาำา ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม และได้ปลกผ จิตสสำาาำ นึกในการอนผรักษส์ ิ่งแวดล้อมของคนใน สังคมเครอื่ งมอื ท่ีใชส้ รา้ งชมผ ชนแห่งการเรยี นรใู้ นยผคแรก ไดแ้ ก่ อีเมล์ (e-mail) หอ้ งสนทนา (Chat room)และ กระดานสนทนา (discussion board) แตใ่ นปงจจผบันซึ่งถือวา่ เปน็ การพฒั นาในยผคท่ีสองนไี้ ดม้ กี ารพัฒนาให้ เครื่องมอื เหลา่ นี้มีความยืดหย่ผนมากขนึ้ และนนำาำา ไปใช้ให้ตรงกบั เป้าหมายการเรียนร้ทู ี่ตอ้ งการมากข้นึ โดย เช่อื มต่อเครอื่ งมอื การสรา้ งเครอื ขา่ ยทางสงั คมเหล่านี้เข้ากบั โปรแกรมประยกผ ต์อน่ื ๆทเี่ กีย่ วขอ้ ง ททำาาำ ใหก้ าร เรียนรตู้ ามแนวคดิ การสรา้ งความรูเ้ ปน็ แนวโน้มใหมท่ ีจ่ ะเข้ามามบี ทบาทในการเรียนรูข้ องผเู้ รียนในระบบเปิด มากขน้ึ สรุปทา้ ยบท นวตั กรรมการออกแบบการเรียนการสอนในรอบทศวรรษ คือ การออกแบบการเรียนการสอน แบบ ยอ้ นกลบั และการออกแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎกี ารสร้างความรกู้ ารออกแบบการเรยี นการสอนแบบ ย้อนกลบั เปน็ การออกแบบทใี่ ช้แนวคิดเชิงระบบในการดดำาาำ เนนิ งาน แต่มีการดดำาาำ เนนิ การที่เปน็ กระบวนการ ยอ้ นศร จากกระบวนการเชิงระบบทเ่ี ป็นแบบดง้ั เดมิ ของไทเลอร์ การออกแบบการเรียนการสอนแบบยอ้ นกลบั มกี ารดดาำ ำา เนินงาน ๓ ข้นั ตอน คอื ข้นั ที่ ๑ การกกาำ ำา หนดเปา้ หมายการเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๒ การกกำาำา หนดหลกั ฐาน ทแ่ี สดงว่าผู้เรียนบรรลผเป้าหมายการเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์์การเรยี นรู้ การออกแบบการเรียนการ สอนแบบย้อนกลับมีความเหมาะสมกับหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ท่ียดึ มาตรฐานการเรียนรเู้ ปน็ ตวั ต้งั การออกแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎกี ารสร้าง หลักการสสำาำา คัญของการออกแบบการเรยี นรตู้ าม ทฤษฎกี ารสรา้ งความรู้ คอื ผู้เรียนเปน็ ผสู้ ร้างความรู้ของตนเอง ครเู ป็นผู้ออาำ ำา นวยความสะดวก คอื จดั สถานการณ์ก์ ารเรียนรู้ และช่วยเหลอื ชีแ้ นะการเรยี นรู้ การเรยี นรเู้ ป็นกจิ กรรมเชงิ รกผ ซึ่งผู้เรยี นเปน็ ผู้ลงมือ กระททำาำา และเปน็ การเรียนรู้ในสภาพจริง การเรยี นรเู้ ปน็ กิจกรรมเชิงสงั คม เกดิ จากการแลกเปลี่ยนความคดิ

การพฒั นาส่ือการสอนพระพทุ ธศาสนา42 เหวนทีห่ ลากหลายและหาขอ้ สรปผ จากความคิดเหวนเหลา่ น้ัน แนวคดิ ของการสรา้ งความรนู้ นาำ าำ ไปใช้ในการ ออกแบบการเรียนการสอนทีม่ ีลักษณ์ะสสาำ าำ คญั

การพฒั นาส่อื การสอนพระพุทธศาสนา43 คคำาำา ถามทา้ ยบท ๑. จงเปรียบเทยี บกระบวนการออกแบบการเรยี นการสอนแบบดงั้ เดมิ ของไทเลอร์และ การออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลับ ฯ ๒. การออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลับมีความเหมาะสมท่ีจะนนาำ าำ ไปใช้กับหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานหรอื ไม่ จงอภปิ รายแสดงเหตผผล ฯ ๓. จงเปรยี บเทียบทฤษฎกี ารสรา้ งความรตู้ ามแนวคิดของเพยี เจตแ์ ละไวกอว ทสกี ทฤษฎีท้งั สอง มีผลตอ่ การออกแบบการเรยี นรู้ตา่ งกนั อยา่ งไร ฯ ๔. การนาหลกั การสรา้ งความรไู้ ปใช้ในการออกแบบการเรยี นการสอน มผี ลตอ่ การออกแบบองค์ ประกอบของการเรยี นการสอนต่อไปน้อี ย่างไร ฯ ๕.จงอธิบาย ๑. การกกำาาำ หนดผลการเรียนรู้ ๒. การออกแบบสิ่งแวดลอ้ มการเรยี นรู้ ๓. การออกแบบ ส่อื การเรียนรู้ มีความหมายและข้ันตอนอยา่ งไร ฯ ๖.จงอธบิ าย ๔. การออกแบบการวดั ประเมินผลผูเ้ รยี น ๕. บทบาทของครแู ละนักเรยี น ๖. การ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ มีความหมายและข้ันตอนอย่างไร ฯ ๗. จงเปรียบเทยี บกระบวนการออกแบบการเรยี นการสอนเชงิ ระบบและการออกแบบการเรียนการ สอนตามแนวคดิ การสรา้ งความรู้ ฯ ๘. จงอธิบายการสร้างเครอื ขา่ ยการเรียนรโู้ ดยใชค้ อมพวิ เตอรเ์ ป็นสื่อกลาง ฯ ๙. แนวโน้มของการออกแบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ จะเปน็ อยา่ งไร จงอภิปราย และแสดงเหตผผ ล ฯ ๓. การเรียนการสอนท่ีมีพ้ืนฐานจากทฤษฎกี ารสรา้ งความรรู้ ู้ หมายความวา่ อยา่ งไร และมีวธิ กี ารดำาเนนิ อยา่ งไร ฯ