Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา

การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา

Description: การบริหารจิต หมาย ถึง การบำรุงรักษาจิตให้เข้มแข็งผ่องใสบริสุทธิ์ ซึ่งต่างกับการบริหารกาย เพราะการบริหารกายต้องทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอยู่เสมอแต่การบริหารจิต จะต้องฝึกฝนให้จิตสงบนิ่งอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งการฝึกจิตให้สงบ คือการทำสมาธินั่นเอง

Keywords: การสอนการบริหารจิต เจริญปัญญา

Search

Read the Text Version

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ตารารายวชิ า รหัสวิชา ๒๐๙ ๓๐๔ Mahachulalongkornrajavidyalaya University หลกั สตู รพุทธศาสตรบัณฑิต หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น (เฉพาะสาขา) การสอนการบริหารจิตและเจริญปญั ญา Mental and Intellectual Development Teaching ทพิ ย์ ขันแก้ว มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาลยั สงฆบ์ ุรีรัมย์ ตาบลเสม็ด อาเภอเมอื งบรุ ีรัมย์ จังหวัดบรุ รี มั ย์

การสอนการบรหิ ารจิตและเจริญปญั ญา (Mental and Intellectual Development Teaching) นายทิพย์ ขนั แก้ว : ป.ธ.๙., กศ.ม.(การบริหารการศึกษา) ทปี่ รกึ ษา ผทู้ รงคณุ วุฒิประจำวิยาลัยสงฆบ์ รุ รี มั ย์ พระราชปรยิ ตั กิ วี,ดร., พระสนุ ทรธรรมเมธี ,ดร., ผู้ทรงคุณวฒุ ิประจำวิยาลัยสงฆ์บุรีรมั ย์ ผู้อำนวยการวทิ ยาลัยสงฆ์บรุ รี มั ย์ พระศรปี ริยัตธิ าดา, ป.ธ.๙, รองผอู้ ำนวยการฝ่ายบรหิ าร พระมงคลสตุ กิจ, ป.ธ.๗, รองผู้อำนวยการฝ่ายวชิ าการ พระครศู รปี ญั ญาวกิ รม,ดร., ผูท้ รงคณุ วุฒิตรวจทางตน้ ฉบบั ผศ.ดร.สรเชต วรคามวชิ ยั ผศ.ดร.ทวีศกั ดิ์ ทองทพิ ย์ พระมหาอภิสิทธิ์ วิริโย ป.ธ.๙ อาจารย์สทุ ธวิ ทิ ย์ วลิ ยั รดิ ป.ธ.๙ บรรณาธิการ ขนั แกว้ นายทิพย์ กองบรรณาธิการ พระครศู รปี ญั ญาวกิ รม,ดร., รองผู้อำนวยการฝ่ายวชิ าการ พระครูปริยตั ปิ ัญญาโสภณ หวั หนา้ สาขาวิชารัฐศาสตร์ พระครูวินยั ธรอำนาจ พลปญฺโญ,ดร., ผอู้ ำนวยการหลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต นายรงั สทิ ธิ วหิ กเหนิ ผู้อำนวยการสำนักวชิ าการ ปีทพ่ี มิ พ์ ๒๕๕๙ จำนวนพมิ พ์ ๑๐๐ เลม่ จดั พิมพ์โดย วิทยาลยั สงฆ์บุรรี มย์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั I SBN ……………………………………………………………….

คำปรารภ การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา ถือเป็นมรดกทางธรรมท่ีทรงคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อมวล มนุษยชาติ ท่ีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทานให้เป็นแนวทางในการส่ังสอนเพื่อให้มนุษย์เกิดการ พัฒนารอบด้าน มีความรู้ คู่คุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม ซึ่งสอดคล้องกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย มีโครงการจัดทำและพัฒนาหลักสูตร เพื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนาของมหาวิทยาลัย ซ่ึงมี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเน้ือหารายวิชาให้เป็นท่ียอมรับและใช้ร่วมกันได้ พัฒนารูปแบบของหนังสือ และตำรา ให้มีเอกลักษณ์ร่วมกัน สวยงาม คงทน น่าสนใจต่อการศึกษาค้นคว้า มีเนื้อหาสาระไปพัฒนาสือ่ การศกึ ษาและ เผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ทั้งส่ือส่ิงพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบคลังข้อสอบ พัฒนาบุคลากรและผลงานด้าน วิชาการของมหาวทิ ยาลยั ให้แพรห่ ลาย และเป็นเวทเี สนอผลงานทางวชิ าการของคณาจารย์ของมหาวทิ ยาลัย หนังสือการสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญาเล่มน้ี มีเนื้อหาสาระ ๙ บท มุ่งหมายให้ศึกษาองค์ธรรม แห่งสมถะและวปิ ัสสนา การฝึกสวดมนต์และแผเ่ มตตา การฝึกสมาธิ ในการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน หลักการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท การฝึกอิริยาบถทั้งสี่อย่างมีสติ การฝึก กำหนดรู้อารมณ์ การฝึกบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐาน และการพัฒนาความคิดตามหลัก โยนิโสมนสกิ าร ขออนุโมทนาขอบคุณอาจารย์ทิพย์ ขันแก้ว อาจารย์ประจำรายวิชา ท่ีได้เสียสละเวลาพัฒนาเน้ือหา รายวิชาเล่มน้ีให้เกิดข้ึน อันจะเป็นประโยชน์สมบัติของวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์สืบไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ เล่มนี้คงอำนวยประโยชน์เชิงวิชาการด้านพุทธศาสตร์และครุศาสตร์แก่คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และ ประชาชนผูส้ นใจทั่วไป (พระศรีปริยตั ิธาดา) ผูอ้ ำนวยวิทยาลยั สงฆ์บรุ รี มั ย์

คำนำ หนังสือการสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา (Mental and Intellectual Development Teaching) รหัส ๒๐๙ ๓๐๗ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา และจิตวิทยาแนะแนว ในฐานะผู้เขียนเป็นผู้รับผิดชอบในการบรรยายถวายความรู้แดน่ ิสิตชั้นปีท่ี ๓ เห็นว่ายัง ขาดหนังสือและตำราเก่ียวกับด้านน้ี สร้างความยุ่งยากและเกิดความไม่สะดวกในการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน จึงเกิดแรงบันดาลใจมีความคิดอยากเขียนหนังสือด้านนี้และเห็นว่ามีความสำคัญต่อนิสิตท่ีเรียนในช้ันปีที่ ๓ สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนาและจิตวิทยาแนะแนวเปน็ อย่างยิ่ง จึงได้รวบรวมขอ้ มูลท่เี ก่ียวขอ้ งจากตำรา งานวิจัย วารสารวชิ าการและเว็ปไซต์ต่างๆ เพ่อื ให้นิสติ นักศกึ ษาและผทู้ ่สี นใจไดศ้ ึกษาประกอบการเรียนการ สอนในรายวชิ าทเ่ี รียน โดยไดน้ ำแนวสังเขปรายวชิ ามาศกึ ษาค้นคว้าและจดั รวบรวมเนอ้ื หาสาระใหส้ อดคล้อง กราบขอขอบคุณพระเดชพระคุณพระศรีปริยัติธาดา ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ ที่เมตตาเปิด โอกาสในการศึกษาจัดทำเน้ือหารายวชิ านี้ เพอ่ื เป็นประโยชน์แก่นสิ ติ นักศึกษาและผู้ท่ีสนใจ ศึกษาค้นคว้าใช้ เป็นตำราประกอบการเรยี นการสอน มไิ ด้หวงั ผลกำไรทางการค้าแต่อย่างไร หวังเป็นเป็นอยา่ งยงิ่ วา่ หนังสือประกอบการเรียนรู้ ชื่อ “การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา” เล่มน้ี จะอำนวยประโยชน์แก่นิสิต นักศึกษา ผู้ที่สนใจและคณาจารย์ หากท่านผู้อ่านพบเห็นข้อบกพร่อง หรือมีคำชี้แนะเพื่อการปรับปรุงให้สมบูรณ์มากย่ิงขึ้น ขอน้อมยินดีรับฟังความคิดเห็นและจะนำไปปรับปรุง แกไ้ ขพฒั นาเอกสารเล่มนีใ้ หม้ คี วามสมบูรณ์ และมคี ุณคา่ ทางการศกึ ษาต่อไป ทพิ ย์ ขันแกว้ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๙

บท สารบญั หนา้ คำนำ ก สารบญั ข รายละเอียดประจำวิชา ฆ บทที่ ๑ ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑ ๑.๑ ความนำ ๒ ๑.๒ ความหมาย 2 ๑.๓ หลกั การและทฤษฎี 2 1.4 นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 4 1.5 แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา 6 1.6 นวตั กรรมทางดา้ นหลักสูตร 9 1.7 ศูนย์การเรียน (Learning Center) 11 1.8 นวตั กรรมทางการศึกษาต่างๆท่ีกลา่ วถึงกันมากในปจั จุบนั 14 สรปุ ท้ายบท ๑5 คำถามท้ายบท 16 เอกสารอ้างอิงประจำบท 17 บทท่ี ๒ การใช้สอ่ื และเทคโนโลยี 18 ๒.๑ ความนำ ๑9 ๒.๒ ความหมาย ๑7 ๒.๓-ความสำคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ 20 ๒.๔ การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษา 21 ๒.๕ บทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศต่อการบรหิ าร 25 จดั การศึกษา สรปุ ท้ายบท 26 คำถามท้ายบท 29 เอกสารอ้างอิงประจำบท 30 บทที่ ๓ นวตั กรรมดา้ นการเรียนการสอน 31 ๓.๑ ความนำ 32 ๓.๒ การออกแบบการเรียนการสอนแบบย้อนกลับ 32 ๓.๓ รปู แบบการออกแบบการเรียนการสอนพ้นื ฐานจากทฤษฎี 42 การสรา้ งความรู้ สรปุ ทา้ ยบท 44 คำถามท้ายบท 45 เอกสารอา้ งอิงประจำบท ๖6

บท สารบัญ หน้า บทที่ ๔ การใช้โปรแกรมสำเร็จรปู 47 ๔.๑-ความนำ 48 ๔.๒ ความหมายของโปรแกรมสำเรจ็ รูป 48 ๔.๓ ความสำคญั ของโปรแกรมสำเร็จรูป 49 ๔.๔ โครงสร้างของโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 49 ๔.๕ ประเภทของโปรแกรมสำเรจ็ รปู 50 ส๔.๖ ประโยชน์ของโปรแกรมสำเรจ็ รูป 52 ๔.๗ วธิ กี ารจดั หาโปรแกรมสำเรจ็ รูป 53 ๔.๘ การพิจารณาซอฟต์แวรต์ ามหลักการของลิขสทิ ธ์ิ 53 สรุปทา้ ยบท 54 คำถามทา้ ยบท 55 เอกสารอา้ งองิ ประจำบท 56 บทท่ี ๕ ส่อื การเรยี นการสอน 57 ๕.๑ ความนำ 58 ๕.๒ ความหมาย 59 ๕.๓ ความสำคัญ 59 5.4 ประเภทของส่ือการเรยี นการสอน 60 5.5 การเลอื กสอ่ื การเรียนการสอน 61 5.6 เทคนคิ การใช้สอื่ การเรียนการสอน 64 5.7 ลักษณะและแนวทางการใช้ส่อื ประเภทต่างๆ 64 5.8 แนวทางการเก็บรักษาส่ือการเรยี นการสอน 69 5.9 เง่อื นไขเกยี่ วกบั การสรา้ งส่ือการเรยี นการสอน 70 สรปุ ท้ายบท 71 คำถามท้ายบท 72 เอกสารอ้างองิ ประจำบท 73 บทท่ี ๖ การเผยแพรส่ ื่อการสอนในระบบออนไลน์ 74 ๖.๑ ความนำ 75 ๖.๒ ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ 75 ๖.๓ บทเรียนออนไลน์ (E-learning) 76 6.4 ระดับการถา่ ยทอดเนื้อหา 78 6.5 ระดับการนำ e-Learning ไปใช้ 79 6.6 ความหมายของบทเรยี นออนไลน์ e-Learning 80 สรุปท้ายบท 85 คำถามท้ายบท 86 เอกสารอ้างอิงประจำบท 87

บท สารบัญ หน้า บทที่ ๗ การสอนแบบต่างๆ 88 ๗.๑ ความนำ 89 ๗.๒-รูปแบบการเรยี นการสอน 89 ๗.๓-รปู แบบการบูรณาการ 92 ๗.๔-การสอนแบบศูนยก์ ารเรียนรู้ (Teaching Learning Center) 102 ๗.๕ การสอนตามแนวพุทธวธิ ี (Buddhist teaching method) 103 สรปุ ท้ายบท 106 คำถามทา้ ยบท 108 เอกสารอ้างอิงประจำบท ๑09 บทท่ี ๘ การใช้ส่ือและเทคโนโลยกี ารประเมินผลการเรยี นรู้ ๑10 ๘.๑ ความนำ ๑11 ๘.๒ ความหมาย 111 ๘.๓ ความสำคัญ ๑20 ๘.๔-ประเภท ๑26 ๘.๕ การใช้สอ่ื และเทคโนโลยี ๑29 8.6 การประยุกต์ 134 สรปุ ทา้ ยบท ๑36 คำถามทา้ ยบท ๑38 เอกสารอา้ งอิงประจำบท ๑39 บทท่ี 9 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 141 9.๑ ความนำ 142 9.๒ ความหมาย 143 9.๓ จุดมงุ่ หมายการวัดผลการศกึ ษา 144 9.๔ หลักการวดั และประเมินผลการศึกษา 145 ๘.๕ ความสำคัญการวดั และประเมินผล 146 9.๖ เครอ่ื งมือทใ่ี ช้วดั และประเมนิ ผล 150 9.๗ การวดั ดา้ นพุทธิพิสัย 153 9.๘ การวัดดา้ นจิตพสิ ัย 157 9.๙ การวัดด้านทักษะพิสยั 159 9.๑๐ การประเมนิ สภาพจรงิ 161 9.๑๑ ขน้ั ตอนการวดั และประเมนิ ผล 163 9.๑๒ วธิ ีการวดั และตัวอยา่ งเคร่ืองมือ 165 9.๑๓ การใช้ประโยชนจ์ ากผลการประเมนิ 165 สรุปทา้ ยบท 166 คำถามท้ายบท 167 เอกสารอ้างองิ ประจำบท 168

บท สารบัญ หนา้ บรรณานุกรม 169

บทที่ ๑ ศกึ ษาองค์ธรรมแห่งสมถะและวิปสั สนา วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ประจาบท เม่อื ไดศ้ กึ ษาเนอ้ื หาในบทนแี้ ล้ว ผเู้ รยี นสามารถ ๑. อธิบายความหมายของกมั มัฏฐานและวปิ ัสสนาได้ ๒. บอกวิธกี ารปฏบิ ัตทิ ่ีถกู ต้องใน กมั มัฏฐานและวิปัสสนาได้ ๓. จาแนกประเภทกมั มฏั ฐานและวิปสั สนาได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา  ความหมายของกัมมฏั ฐานและวปิ สั สนา  วธิ กี ารปฏิบัติที่ถกู ต้องใน กมั มฏั ฐานและวปิ สั สนา  ประเภทกัมมัฏฐานและวปิ ัสสนา

๒ ๑.๑ ความนา พระพุทธเจ้าตรัสว่า จิต เป็นธรรมชาติอันบุคคลรักษาได้ยาก อันบุคคลห้ามได้ยาก เพราะดนิ้ รนอยู่ในอารมณท์ ้ังหลายมรี ปู เป็นตน้ ไมด่ ารงอยู่ในอารมณ์เดยี วได้ เหมือนทารกในบ้านผู้ ไม่ นิ่งอยู่ด้วยอิริยาบถหนึ่ง ชนผู้มีปัญญาย่อมทา จิตท่ีดิ้นรน กลับกลอก อันบุคคลรักษาได้ยาก ห้าม ได้ ยาก ให้ตรงดุจช่างศรดัดลูกศรให้ตรง ฉะนั้น จิตนี้ (อันพระโยคาวจรยกขึ้นจากอาลัย คือ กามคุณ ๕ แล้วโน้มไปในวิปัสสนากัมมัฏฐาน) เพื่อละบ่วงมาร ย่อมดิ้นรน ดุจปลาอันพรานเบ็ดยกข้ึน จากท่ีอยู่ คอื นา้ โยนไปแล้วโยนบนบก ด้นิ รนอยู่ ฉะน้นั ๑ จิตมนุษย์ไม่บริสุทธิ์ เศร้าหมองด้วยกิเลส คือ ราคะ โทสะ โมหะ เป็นสิ่งท่ีผลักดันให้ มนุษย์ ทาความช่วั ได้นานัปประการ ดังพทุ ธสภุ าษิตวา่ “ปภสฺสรมทิ ภกิ ฺขเว จติ ฺต ตญจฺ โข อาคนฺตเุ กหิ อุปกฺกเิ ลเสหิ อุปกกฺ ิลฏิ ฺฐ”๒ ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จิตใจนี้ใสเป็นประภัสสร แต่ทว่าเศร้าหมองเพราะเกิด กิเลส ท่ีเปน็ อาคนั ตกุ ะจรมาเป็นคราวๆ ส่วนศาสตร์สมัยใหม่ เช่น จิตวิทยาก็ให้ความสาคัญต่อสุขภาพจิต องค์การอนามัยโลก ได้ให้ ความหมายของสุขภาพจิตว่า๓ หมายถงึ ความสามารถของบุคคลทจี่ ะปรับตัวให้มีความสุขอยู่กับสังคม และส่ิงแวดล้อมได้ดี มีความสัมพันธ์อันดีกับบุคคลอื่นและดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยความสุข สบาย รวมทั้ง สามารถสนองความต้องการของตนเอง ในโลกท่ีกาลังเปลี่ยนแปลงได้ โดยไม่มีข้อขัดแย้งทางจิตใจ สุขภาพจิต หมายถึง สภาวะท่ีสมบูรณ์ทางกาย ทางจิต ทางสังคมและทางจิตวิญญาณโดยจะเกิดขึ้น เม่อื ทาความดี หรือจิตสัมผัสกับสิ่งที่มีคุณค่าอันสูงส่ง เช่น การเสียสละ การมีความเมตตากรุณา หรือ การเขา้ ถงึ พระรัตนตรัย เป็นต้น ความสุขทางจิตเป็นความสุขที่ไม่ระคนกับความเห็นแก่ตัว แต่เป็นสุข ภาวะทเ่ี กดิ ขึน้ เมอื่ มนษุ ยห์ ลุดพ้นจากความมตี วั ตน จึงมีอิสรภาพ มีความผ่อนคลาย เบาสบาย มีความ ปี ติแผ่ซ่านไปท่ัวมีความสุขอันประณีตและล้าลึก หรือความสุขอันเป็นทิพย์ อันจะส่งผลดีต่อสภาวะ ทางกายและสังคมด้วย เพราะถ้าขาดสุขภาวะทางจิตวิญญาณ มนุษย์จะไม่พบกับความสุขที่แท้จริง และขาดความสมบูรณ์ในตัวเอง ก็จะรู้สึกขาดและพร่องอยู่เรื่อยไป ต้องไปแสวงหาส่ิงอื่นมาเติม เช่น วตั ถุต่างๆ ความฟมุ เฟือย ยาเสพตดิ หรือความรุนแรงตา่ งๆ เปน็ ต้น วิปัสสนาธรุ ะไดก้ าเนิดขน้ึ จากท่ีเจ้าชายสทิ ธัตถะ พระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ ผู้ครอง กบลิ พสั ดน์ุ ครและพระนางเจ้าสิรมิ หามายามเหสี ได้ทรงตรัสรู้วิชาการดับทุกข์อย่างสิ้นเชิงด้วยการทา ใหม้ รรค ๘ เกดิ ตามระบบอรยิ สจั ๔ เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้สาเร็จท่ีภายใต้ต้นอัสสัตถพฤกษ์โพธิ์ ใบ (ต้นศรีมหาโพธิ์) ตาบลอุรุเวราเสนานิคม เขตเมืองราชคฤห์ พุทธคยาในปัจจุบัน ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี ดว้ ยการเห็นแจง้ ในอริยสัจ ๔ นีจ้ งึ ช่อื วา่ วิปัสสนาการเห็นแจ้ง วิปัสสนาธรุ ะจึงถอื กาเนิดขึ้น ๑ ดูรายละเอียดใน องฺ.สตตฺ ก. (บาล)ี ๕/ ๘๖/ ๐๗. ๒ ดรู ายละเอยี ดใน องฺ.เอก. (บาลี) ๓ /๙๕/๕๐. ๓ WHO : World Health Organization : ธรรมนูญขององค์การอนามยั โลก, ค.ศ. ๙ ๘. [ออนไลน]์ . แหล่งท่มี า : http://th.wikipedia.org/wiki/ [ ธ.ค. ๕๕ ].

๓ เป็นคร้ังแรกในโลก และกาเนิดหลักสูตรวิปัสสนาธุระท่ีต้นไทร อชปาลนิโครธภายหลังทรงตรัสรู้ ๔๙ วัน๔ พระพทุ ธองค์ทรงสอนวิปสั สนากัมมฏั ฐานให้กับบคุ คลต่าง ๆ ตามความถนัดของ แต่ละบุคคล โดยที่พระพุทธองค์ทรงมีความสามารถพิเศษเหนือมนุษย์ธรรมดาที่สามารถเข้าใจข้อจากัดและความ ถนดั ของแตล่ ะบคุ คลนนั้ ๆ จึงทาใหก้ ารสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของพระพุทธองค์มีประสิทธิภาพ๕ ไม่ เพียงเท่าน้ัน พระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังทรงวางแผนหลักสูตรและรูปแบบการศึกษาวิปัสสนาธุระ ตามลาดับความสามารถของแต่ละบุคคลไว้ด้วย การพิจารณาน้ีเป็นการเปรียบ เวไนยสัตว์กับดอกบัว ๓ เหล่า๖ และในอรรถกถาได้กล่าวถึงบัวเหล่าที่ ๔ แล้วแบ่งบุคคล เป็น ๔ จาพวก ได้แก่ (๑) ผู้เข้าใจ ได้ฉบั พลนั (อุคฆฏติ ญั ญู) (๒) ผู้เข้าใจต่อเม่ือขยายความ(วิปจิตัญญู) (๓) ผู้พอแนะนาได้ (เนยยะ) และ (๔) ผ้ทู ส่ี อนให้รูไ้ ด้เพยี งตวั บทคอื พยัญชนะ (ปทปรมะ)๔ การปฏิบัติวิปัสสนาธุระเป็นหน้าที่หลักอย่างหนึ่งของพุทธศาสนิกชนควบคู่กับคันถธุระ ซ่ึงจุดมุ่งหมายของการปฏิบัติกัมมัฏฐานในพระพุทธศาสนาน้ันก็เพ่ือชาระจิตของผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์ สะอาดหมดจดจนกระทั่งถึงบรรลุมรรคผลนิพพานอันเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดทางพระพุทธศาสนา การปฏิบัติกัมมัฏฐานในพระพุทธศาสนานั้น ผู้ปฏิบัติอาจเข้าถึงธรรมตามระดับต่างๆ กัน เร็วบ้างช้า บา้ ง ซึง่ พระพุทธองค์ตรัสถึงความแตกต่างแห่งปฏิปทาในการปฏิบัติเพ่ือบรรลุคุณวิเศษ คือ มรรค ผล นพิ พาน ว่าเกดิ จากเหตุปัจจยั หลายอยา่ ง ตามหลักฐานทป่ี รากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนาแสดงให้เห็น วา่ ผ้ปู ฏิบตั ธิ รรมหลายๆทา่ น ตา่ งกไ็ ดร้ ับการศึกษา ไดร้ บั การชี้แนะวิธีปฏิบัติจากพระพุทธองค์ด้วยกัน ท้ังน้ัน แต่เมื่อปฏิบัติแล้วการท่ีจะบรรลุธรรมนั้นย่อมแตกต่างกัน บางท่านสามารถบรรลุได้เร็ว บาง ท่านตอ้ งใชเ้ วลานานบางท่านไม่ต้องใช้ความพยายามมาก แต่บ้างท่านต้องใช้ความพยายามอย่างยวด ยิ่ง กว่าจะบรรลุธรรมได้ เช่น พระจักขุปาลเถระ๘ ใช้เวลาหลายเดือนและต้องใช้ความพยายามอย่าง มากกวา่ จะบรรลธุ รรมเปน็ พระอรหนั ต์ได้ การสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานดังกล่าวได้สืบทอดกันมาเป็นเวลานานตั้งแต่ครั้งพุทธกาล ท้ัง ภายในอินเดียเอง และกระจายสู่นานาประเทศ เช่น เนปาล ศรีลังกา พม่า และไทย สาหรับใน ประเทศไทย เมื่อพุทธศักราช ๒๔๓๗ ถึง ๒๔๓๙ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ให้จัดรูปการศึกษาของ คณะสงฆ์ มหานิกาย โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็นวิปัสสนาธุระและคันถธุระ เพื่อให้สมบูรณ์แบบตรงตามคาสอน ของพระพุทธเจ้า ได้ทรงฝากพระราชประสงค์น้ีไว้กับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และทรงรับสั่งให้ เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุญนาค) ซ่ึงดารงตาแหน่งเสนาบดีธรรมการในขณะน้ัน ประสานงาน ร่วมกบั สมเด็จพระสังฆราช และ สมเดจ็ พระราชาคณะบางรูป เพ่ือจัดรูปการศึกษาวิปัสสนาธุระขึ้นมา ๔ดูรายละเอยี ดใน พุทธประวัตติ ้ังแต่การตรสั รขู้ องพระพทุ ธเจา้ จนถึงการปฐมเทศนาใน สมเดจ็ พระมหา สมณเจา้ กรมพระปรมนุชิตชโิ นรส, ปฐมสมโพธิกถา, (กรุงเทพมหานคร : กรมศลิ ปากร, ๒๕๓๙), หนา้ ๑๐๐-๑๑๘, สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปุสสเทว), พระปฐมสมโพธิ, พิมพค์ ร้ังท่ี ๒, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พไ์ ท, ๒๔๖๕), หนา้ ๘๔-๑๑๘, พระพมิ ลธรรม, พุทธประวัติทัศนศึกษา, พมิ พค์ ร้งั ที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : กองทนุ บุญนิธหิ อไตร, ๒๕๔๑), หนา้ ๖๑–๗๖, สุรยี ์ มผี ลกจิ และวเิ ชยี ร มีผลกจิ , พทุ ธประวัติ, พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒, (กรุงเทพมหานคร : คอม ฟอร์ม, ม.ป.ป.), หนา้ ๕๑–๖๖. ๕ ดูรายละเอยี ดใน ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๔/๗. ๖ ดรู ายละเอยี ดใน อภ.ิ ป.ุ (ไทย) ธาตุกถา-บคุ คลบญั ญตั ิ ๓/๑๐/๓๓๖-๓๓๗.

๔ ใหจ้ งได้ แตเ่ นอ่ื งจากขาดผู้ทรงความร้ทู ี่ถูกตอ้ ง จงึ มิสามารถทาได้ในขณะน้ันตามหลักฐานที่เจ้าพระยา ภาสกรถวายใน วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๔๓๙ วันท่ี ๑ มกราคม ๒๔๙๖ คณะสงฆ์และรัฐบาลประเทศสหภาพเมียนม่าร์ ได้ส่งคณะ พระวิปัสสนาจารย์ โดยมีพระอาจารย์ภัททันตะ อาสภะมหาเถระ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ (พุทธ ศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์) เป็นประธาน ให้เป็นสมณะทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีด้านการศาสนา ด้วยการเผยแผ่วิปัสสนากัมมัฏฐานในประเทศไทย โดยการติดต่อประสานงานของ สมเด็จพระพุฒา จารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) ประธานสภานายก มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย สมัยที่ยังดารงตาแหน่ง พระพิมลธรรม สังฆมนตรีการปกครอง คณะสงฆ์ไทยพร้อมด้วยรัฐบาลไทย ในสมัยนั้นนิมนต์เป็น ทางการให้มาเป็นสมณะทูตมาประดิษฐานวิปัสสนาวงศ์ ณ ประเทศไทย ต่อมาได้เกิดวิกฤตการณ์แก่ คณะสงฆ์ผู้ทางานวิปัสสนากัมมัฏฐาน ทาให้งานวิปัสสนากัมมัฏฐาน ชะงักงันด้วยขาดผู้รู้และผู้ให้การ สนับสนุนอย่างจริงจัง งานจัดรูปแบบการศึกษาและการทาหลักสูตรจึงยังไม่มีผู้ทา มีเพียงแต่การ ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานโดยพระภัททันตะ อาสภมหาเถระฯ เป็นผู้สอน และจะสอนวิชาครูแก่ผู้ที่ ปฏบิ ัติได้ผ่านเกณฑท์ กี่ าหนดไว้ และมีคุณสมบัตทิ ่เี หมาะสมเท่านน้ั ๑.๒ ความหมาย กัมมัฏฐาน หมายถึง เป็นท่ีต้ังแห่งการทางานของจิต หรือท่ีให้จิตทางาน มีความหมายเป็น ทางการว่า สิ่งทีใ่ ช้เปน็ อารมณ์ในการเจริญภาวนา หรืออุบายในการฝึกอบรมจิต หรืออุบายหรือกลวิธี เหน่ียวนาสมาธิ วธิ ฝี กึ อบรมจิตมี ๒ อยา่ ง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปสั สนากัมมฏั ฐาน ๑ คาว่า กัมมฏั ฐาน มาจาก กัมม กับ ฐาน เป็นฉัฏฐีตปั ปุริสสมาส วิเคราะห์วา่ กมฺมาน ฐาน กมฺมฏฺฐาน ความว่า ที่ต้ังแห่งการงานท้ังหลาย ในทางพระพุทธศาสนามี ๒ อย่างคือ สมถะ กับ วปิ สั สนา เมื่อกล่าวถงึ การปฏบิ ัตมิ กี มั มัฏฐาน ๒ คือ ๑) สพั พตั ถกกัมมฏั ฐาน เปน็ กัมมฏัฐานทต่ี อ้ งการในทีท่ ้ังปวง คือ เหมาะทจ่ี ะใชเ้ ป็นพนื้ ฐาน ของการเจรญิ กัมมฏฐั านทกุ อย่าง มี เมตตา มรณานุสสติ และอสุภสญั ญา ๒) ปาริหารยิ กัมมฏั ฐาน คอื กัมมฏฐั านท่จี ะต้องบริหารประจาตวั ๗ กัมมัฏฐาน หมายถึง ฐานเป็นที่ตั้งของการงาน คืองานฝึกอบรมจิต หรืองานกาจัดกิเลสออก จากจิตใจ วิปัสสนา หมายถึง การเห็นแจ้งหรือวิธีทาให้เกิดการเห็นแจ้ง หมายความว่าข้อปฏิบัติต่าง ๆ ในการฝึกฝนอบรมปัญญาให้เกิดความเห็นแจ้งรู้ชัดส่ิงทั้งหลายตรงต่อสภาวะของมัน คือให้เข้าใจตาม ความเปน็ จริง วปิ สั สนา หมายถึง ปญั ญาเห็นแจง้ เห็นชัด รปู -นาม, อริยสัจ เหน็ โดยอาการตา่ งๆ มเี ห็นไตร ลักษณ์ ปฏิจจสมปุ บาท และปัญญาเหน็ แปลกประหลาด (อศั จรรยใ์ นส่งิ ที่ได้เห็นในขณะปฏบิ ตั ิ) การสอบอารมณ์ หมายถึง การสอบสวนเพื่อตรวจสอบนักศึกษาภาคปฏิบัติวิปัสสนา ถึงการ ใช้เทคนิคในการจัดการกับอารมณ์วิปัสสนากัมมัฏฐาน ได้ถูกต้องแค่ไหนเพียงใดหรือไม่ โดย ๗ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบบั ประมวลศัพท์ (ชาระ เพ่ิมเติม ช่วงที่ ๑), พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑๒, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๑), หน้า ๙.

๕ วิปสั สนาจารย์จะตรวจสอบ รบั ฟงั และซักถามสภาวธรรมท่ีเกิดขึ้นเองของผู้เข้าปฏิบัติวิปัสสนาและให้ คาแนะนาการปรับอินทรีย์ ตอบข้อสงสัย ช่วยวินิจฉัย และประเมินผลการปฏิบัติของผู้ปฏิบัติได้อย่าง ถกู ตอ้ ง และตรงกบั สภาวธรรมที่เกิดขน้ึ และเหมาะสมกับสภาวธรรมของผปู้ ฏิบตั ิ การส่งอารมณ์ หมายถึง การรายงานวิธีการจัดการกับอารมณ์วิปัสสนากัมมัฏฐาน และการ เปล่ียนแปลงของอารมณ์ ทน่ี กั ศึกษาผปู้ ฏิบัตพิ บเห็นมา ในขณะกาลังปฏบิ ตั วิ ิปัสสนากมั มัฏฐานให้พระ วปิ ัสสนาหรอื ผู้มหี นา้ ทส่ี อบอารมณฟ์ ัง เพอื่ ใหค้ าแนะนาทถ่ี ูกตอ้ ง และวธิ กี ารปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสม ตรงตามสภาวธรรมของผปู้ ฏบิ ัติ พระอาจารย์ใหญ่ หมายถึง พระอาจารย์ภัททันตะ อาสภะมหาเถระ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริ ยะ ดารงสมณศักด์ิ เมื่อวันที่ ๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ถวายปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ วันอาทิตย์ที่ ๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ ตรงกับวันข้ึน ๑๕ ค่าเดือน ๓ ปีระกา จุลศักราช ๑๓๕๔ ซ่ึงตรงกับ วันมาฆบูชารัฐบาล เมยี นมา่ ร์ ถวายสมณศักด์ิท่ี “อัคคมหากัมมัฏฐานจริยะ” (เทียบเท่าชั้นรอง สมเด็จพระราชาคณะ) ณ หอประชมุ ชมพทู ีปะ ภายในสีธิมังคะลากบาเอ กุนเมย์ มหาปาตาณะ ซ่ึงเป็นคูหา (ถ้า) ใหญ่แห่ง นคร ย่างกุ้งอันเป็นสถานที่ประชุมที่รัฐบาลจัดไว้เพื่อถวายสมณศักด์ิแก่คณะสงฆ์เมียนม่าร์ระดับอัคคมหา บณั ฑิต โยคี หมายถึง ผูป้ ฏิบตั ิวปิ ัสสนากมั มัฏฐาน ไดแ้ ก่ พระ สามเณร แม่ชี ฆราวาสชาย หญิง วถิ ีจติ หมายถงึ ทิศทางของอารมณ์ท่จี ิตกาลังอาศัยดาเนินอยู่ ความเปน็ ไปของจิต ถ้าหากวา่ ไม่มกี ัมมฏั ฐานมาเปน็ อารมณ์ กิเลสก็จะจูงจิตไปในทางช่ัวทางผิดได้โดยง่าย แต่ถ้า หากวา่ มีกัมมัฏฐานมารักษาจิตเอาไว้ตามสมควร กัมมัฏฐานที่รักษาจิตไว้นี้ก็จะช่วยรักษาบุคคล ไม่ให้ ตก ไปสู่อานาจของอารมณแ์ ละกเิ ลสไดโ้ ดยงา่ ย ฉะนน้ั เพ่ืออบรมจิตดังกล่าวจา เป็นอย่างย่ิงต้องอาศัย กัมมัฏฐานที่เหมาะสม จตุรารักขกัมมัฏฐานจัดเป็นสัพพัตถกกัมมัฏฐาน คือ กัมมัฏฐานท่ีพึงต้องการ ในท่ีทั้งปวง หรือพึงใช้เป็นฐานของการเจริญภาวนาทุกอย่าง, กัมมัฏฐานที่เป็นประโยชน์ในทุกกรณี ใช้ไดก้ บั ทกุ จรติ และเปน็ กัมมัฏฐานที่ครูบาอาจารย์ ผสู้ อนกมั มัฏฐานมักจะพดู ถึงกอ่ น ๑.๓ ทศั นะของนักปราชญ์ พุทธทาสภิกขุ ให้ความหมายของสมาธิภาวนาไว้ในหนังสือ “วิธีฝึกสมาธิวิปัสสนา” ว่า การ ฝึกจิตให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ แล้วใช้จิตน้ันให้ทาประโยชน์ให้มาก ให้ถึงท่ีสุดที่จิตจะทาได้ เพราะ จิตเปรียบเหมือนกับสัตว์เถ่ือนซ่ึงไม่ได้รับการฝึก จะไปเอามาใช้งานไม่ได้ต้องฝึกให้ยอมเสียก่อน ให้รู้ เรอื่ งร้อู ารมณ์ตา่ งๆ เสียกอ่ น เม่อื ฝกึ แล้วจะใช้งานได้๘ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ให้ความหมายของสมาธิไว้ในหนังสือ “สมาธิฐานสู่สุขภาพจิต และปัญญาหย่ังรู้” ว่า ความตั้งม่ันของจิต หรือภาวะท่ีจิตแน่วแน่ต่อส่ิงท่ีกาหนด คาจากัดความของ ๘ พุทธทาสภิกขุ, วิธฝี กึ สมาธิวปิ ัสสนา ฉบับสมบรู ณ,์ พมิ พ์คร้งั ที่ ๖. (กรงุ เทพมหานคร : สา นักพิมพ์ สุนทรสาสน์ , ๕๓๖), หน้า ๙ .

๖ สมาธิ คอื “จิตตฺ สฺเสกคฺคตา” หรือเรียกสั้นๆ ว่า “เอกัคคตา” ซึ่งแปลว่า ภาวะท่ีจิตมีอารมณ์เป็นหน่ึง คอื การทจ่ี ิตกาหนดแน่วแน่อยกู่ ับส่งิ ใดสงิ่ หนง่ึ ไม่ฟุูงซ่านหรอื ส่ายไป๙ พระธรรมกิตติวงศ์ กล่าวถึงการปฏิบัติสมถกัมมัฏฐานไว้ในหนังสือ “พจนานุกรมเพ่ือ การศึกษาพุทธศาสน์” วา่ เปน็ อบุ ายวิธีทหี่ ยุดความฟุงู ซา่ นแหง่ จติ ซ่ึงมักจะฟุงู ซ่านไปตามอารมณ์ต่างๆ กล่าวคือ หยุดความคิดของจิตไว้ โดยใช้สมาธิยึดดึงอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งในกัมมัฏฐาน กองมา บริกรรมจนกระทง่ั จติ แนบแน่นในอารมณน์ ั้น และสงบระงับไมฟ่ งุู ซ่านตอ่ ไป๑๐ พระปลดั ชัชวาล ชนิ สโภ ได้เขียนหนงั สือชอ่ื วิธที าให้มรรคเกดิ มีเน้ือหาสาคัญเกี่ยวกับวิธีการ สอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของท่านว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงเทศน์ไว้ว่า ผู้ใดเห็นทุกข์ ผู้น้ันเห็น ธรรม ผู้ใดเห็นธรรม ผู้น้ันเห็นเรา อริยสัจ ๔ ได้แก่ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค อริยสัจ ๔ ประกอบด้วย ทุกข์ พระพุทธเจ้าทรงเทศน์ว่า ผู้ใดเห็นทุกข์ผู้นั้นเห็นธรรม เห็นธรรมคือเห็นเหตุแห่งทุกข์ เห็นทุกข์ ดับ เห็นวิธีการทาให้ทุกข์ดับ เห็นธรรมคือเห็นอย่างนี้ เมื่อเห็นดังน้ีครบ ท้ังทุกข์ เหตุท่ีทาให้ทุกข์เกิด ทกุ ข์ดับ และวิธที าให้ทุกข์ดบั แล้ว ชื่อว่าเห็นธรรมที่ทาให้คนตรัสรู้ได้ ทั้งตรัสรู้เองและตรัสรู้ตามก็ต้อง เห็นอริยสัจเหมือนกัน ตรัสรู้เองคือพระพุทธเจ้า ตรัสรู้ตามคือพุทธานุสาวกท้ังหลาย ดังนั้นบุคคลใด เหน็ แจ้งในอรยิ สัจทง้ั สี่น้จี ากการปฏิบัติ๑๑ พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺขิโต ได้แสดงความคิดเห็นไว้ในงานวิจัย “เรื่องเปรียบเทียบแนว การปฏิบัติกัมมัฏฐานของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และพุทธทาสภิกขุ” ว่ากัมมัฏฐานเป็นงานสาหรับ พัฒนาจิตให้เกิดสมาธิและปัญญา เป็นเครื่องมือสาคัญในการปฏิบัติเพ่ือดาเนินไปสู่จุดมุ่งหมายสูงสุด ในทางพระพุทธศาสนา คือ ความดับทุกข์ ผู้ปรารถนาจะเข้าถึงจุดมุ่งหมายดังกล่าวจึงต้องศึกษาและ ปฏิบัตกิ มั มฏั ฐาน๑๒ พระมหารุ่งเรอื ง รกฺขติ ธมโฺ ม ไดแ้ สดงความคดิ เห็นไว้ในงานวิจัย “เร่ืองผลการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐาน : ศึกษากรณีเยาวชนผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมสวนเวฬุวัน อาเภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น” ว่า กัมมัฏฐานเป็นท่ีตั้งแห่งการงานทางใจ ซึ่งหมายถึงการมีสติกาหนดรู้เท่า ทันทกุ อารมณ์ทีเ่ กดิ ข้ึน เรียกว่า จิตภาวนา การอบรมจิต หรืองานท่ีทา จิตให้สูงขึ้นให้ประเสริฐข้ึน ไม่ ปล่อยให้จิตว่างงาน เพราะถ้าปล่อยให้จิตว่างงานจะก่อให้เกิดความยุ่งยาก เป็นทาสของกิเลสท่ีกลุ้ม รมุ ใจ จึงต้องฝึกจติ ไมใ่ ห้ว่างงานด้วยการให้จติ อย่ใู นอารมณ์กัมมฏั ฐาน๑๓ ๙ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต), สมาธิฐานสูส่ ขุ ภาพจติ และปญั ญาหยงั่ รู้, พมิ พค์ ร้งั ที่ ๖, (กรงุ เทพมหานคร : สานกั พิมพศ์ ยาม, ๕ ๖), หนา้ . ๑๐ พระธรรมกติ ติวงศ์ (ทองดี สรุ เตโช) ป.ธ.๙, ราชบัณฑติ , พจนานกุ รมเพื่อการศึกษาพทุ ธศาสน์ ฉบบั คา วัดท่ีชาวพทุ ธควรรู้, พมิ พ์ครงั้ ที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พธ์ รรมสภา, ๕๕ ), หนา้ ๙๘ . ๑๑ พระมหานิพนธ์ มหาธมมฺ รกขฺ ิโต, “เรือ่ งเปรียบเทยี บแนวการปฏบิ ตั ิกัมมัฏฐานของหลวงพ่อ เทียน จติ ฺตสุโภ และพุทธทาสภิกข”ุ , ปริญญาพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต, (บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ า ลงกรณราชวิทยาลัย, ๕ ๖), (บทคดั ย่อ) หน้า ก. ๑๒ พระปลัดชัชวาล ชนิ สโภ, วิธที าให้มรรคเกดิ , พมิ พ์ครัง้ ท่ี ๒, (กรงุ เทพมหานคร : พมิ พท์ ีเ่ ม็ดทราย พริ้น-ติ้ง, ๒๕๕๒), หน้า ๔-๕. ๑๓ พระมหาร่งุ เรอื ง รกฺขติ ธมโฺ ม, “เรื่องผลการปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน : ศึกษากรณเี ยาวชนผ้ปู ฏบิ ัติ วิปัสสนากรรมฐาน ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมสวนเวฬุวัน อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น”, ปริญญาพุทธศาสตรมหา บณั ฑติ , (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๕ ๙), (บทคัดย่อ) หนา้ ก.

๗ ติช นัท ฮันห์ ได้ให้ความหมายของสติไว้ในงานวิจัย นายฑีฆายุวัฒก์ สวัสด์ิลออ “เรื่องการ วิเคราะห์การเจริญสติตามแนวทางของ ติช นัท ฮันห์” ว่า คือ การหยุด ความรู้สึกตัว การตื่นรู้ ความ ระลึกรู้ ความตระหนักรู้ การสักแต่ว่ารู้ ความใส่ใจ และความไม่ประมาท สติเป็นจิตที่สังเกตการณ์ และเปน็ ความสามารถในการดารงอยกู่ บั ปจั จุบนั ๑๔ รศ. ดร. สุจิตรา อ่อนค้อม ได้แสดงความคิดเห็นไว้ว่า การฝึกสมาธิถือเป็นการทาความดีข้ัน สูงสุด และจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของการฝึกสมาธิตามท่ีปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎก คือการเข้าถึง จุดหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา อนั ได้แก่ การบรรลนุ ิพพาน ซ่ึงประโยชน์ของสมาธิในแง่น้ีคือ เป็น บาทฐานของวปิ ัสสนา เพ่อื ทา ให้เกิดปญั ญารแู้ จ้งถงึ ขั้นทา ลายกิเลสใหห้ มดส้นิ ไปได้๑๕ บคุ คลเหล่าน้ันจึงช่อื ว่า ไดเ้ หน็ พระพุทธเจา้ การเห็นแจ้งในวิชาการดบั ทกุ ขด์ งั นี้ จึงได้เรียกชื่อ ว่าวปิ ัสสนา เพราะวปิ สั สนาแปลว่าการเห็นแจง้ ไมใ่ ช่เห็นแจง้ อะไรไมร่ เู้ รือ่ ง เห็นแจ้งต้องเห็นทุกข์ เห็น เหตุแห่งทุกข์ เห็นทุกข์ดับ ตลอดจนเห็นวิธีการทาให้ทุกข์ดับ เห็นวิธีการทาให้ทุกข์ดับ นั่นคือมรรค พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ว่า วิธีการทาให้มรรคเกิดคือการทาให้พระพุทธเจ้าเกิด และที่จะพูด ในท่ีนี้ได้เลยว่า พระพุทธเจ้าประสูติ ตรงกับขณะจิตท่ีพระสิทธัตถะโพธิสัตว์ตรัสรู้ และขณะจิตท่ี พระองค์ตรัสรนู้ เ้ี อง พระองคท์ รงเปน็ พระอรหนั ตท์ ่ีดบั กิเลสได้โดยสน้ิ เชิงแล้ว ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว การไม่ เกิดขนึ้ อีก คอื ปรนิ ิพพานจึงเรียกได้ว่า กิเลสปรินิพพานแล้ว ดังน้ันในขณะจิตท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสตู คิ อื ขณะจติ ทีพ่ ระองค์ตรัสรู้ และขณะจิตท่ีพระองค์ตรัสรู้คือขณะจิตท่ีพระองค์ปรินิพพาน ด้วย กเิ ลสปรนิ ิพพาน นอกจากน้ีท่านยังได้สอนวิธีตรวจว่าปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานได้ถูกต้องตามคาสอนของ พระพุทธเจ้าหรือไม่ไว้ในหนังสอื บญุ วันเกิด ว่า เม่อื ทาอานาปานสติแล้วทาให้สติปัฏฐาน ๔ บริบูรณ์ได้ ก็แสดงวา่ ทงั้ อานาปานสติและสติปฏั ฐาน ๔ จะต้องทาเหมือนกนั ทกุ ประการ และเมื่อทาสติปัฏฐาน ๔ แล้วสามารถทาให้โพชฌงค์ ๗ บริบูรณ์ได้ ก็แสดงว่าโพชฌงค์ ๗ กับสติปัฏฐาน ๔ ต้องทาเหมือนกัน และในเม่ือสติปัฏฐาน ๔ กับอานาปานสติทาเหมือนกัน ดังน้ันโพชฌงค์ ๗ ก็ต้องทาเหมือนกับอานา ปานสติด้วยจะต่างกันได้อย่างไร ถ้าต่างกันขัดแย้งกันเป็นการถูกต้อง ก็แสดงว่าพระพุทธเจ้าเชื่อถือ ไม่ได้อย่างนั้นหรือ หรือว่าอย่างไร ปัญหาจึงอยู่ที่ว่าทั้ง อานาปานสติ สติปัฏฐาน ๔ และโพชฌงค์ ๗ เวลาปฏิบัติจริง ในขณะปฏิบัติอยู่นั้นสามารถทาให้มรรค ๘ องค์เกิดขึ้นได้หรือไม่ ถ้าได้ก็แสดงเป็น หลักฐานได้ว่าเป็นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระพุทธองค์ทรงรับรอง แต่ถ้าทาให้มรรค ๘ เกิดไม่ได้ ถึงแม้วา่ จะมใี นคัมภรี ์พระไตรปฎิ ก พระพทุ ธองคก์ ็ไมร่ บั รองวา่ เป็นคาสั่งสอนของพระองค์๑๖ ชนิ สภเถระ ไดเ้ ขยี นหนงั สือช่ือว่า ดับทุกข์ด้วยวิปัสสนาธุระ โดยมีเน้ือหาเก่ียวกับการสอนวิธี ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานให้กับผู้ปฏิบัติตอนหนึ่งว่าสรุปแล้วสัมมาทิฏฐิ ทาหน้าท่ีตรวจตราและ ควบคุมระบบ การทางานว่ามรรคเข้าหรือกิเลสเข้า ถ้ามรรคเข้าก็รักษาไว้เป็นปกติ ถ้ากิเลสเข้าก็ให้ ๑๔ อา้ งใน นายฑีฆายวุ ฒั ก์ สวัสด์ิลออ, “เร่ืองการวิเคราะห์การเจริญสติตามแนวทางของ ติช นทั ฮันห์”, ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ , (พทุ ธศาสนศึกษา : มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม,่ ๕๕ ), หนา้ ๗๖. ๑๕ รศ. ดร. สุจติ รา ออ่ นคอ้ ม, “การฝกึ สมาธิ”, พิมพค์ รัง้ ท่ี ๑๐, (กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์ดอก หญ้ากรปุ๊ , ๕ ๙), หนา้ ๐. ๑๖ พระปลัดชัชวาล ชินสโภ, บญุ วนั เกดิ , (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เมด็ ทราย, ๒๕๕๑), หนา้ ๑๐.

๘ มรรคเขา้ ไป กเิ ลสก็จะละไปเองด้วยอานาจของมรรคน้ัน จติ กจ็ ะสงบจากกิเลสลงสู่อุเบกขา นอกจากนี้ ยงั ต้องตรวจดู เปูาหมายคอื ทุกข์ทีต่ ้องรแู้ ละสมุทัยท่ีต้องละด้วย๑๗ พรรณราย รัตนไพฑูรย์ ได้ศึกษาวิจัยการศึกษาวิธีปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวสติปัฏ ฐาน ๔ ศึกษาแนวการสอนของพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชฎก ญาณสิทฺธิ) โดยสืบค้นเน้ือหาของสติ ปฏั ฐานสตู รและพระสูตรท่ีเก่ียวข้องพร้อมกับวิธีปฏิบัติธรรมตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ที่ปรากฏในคัมภีร์ พระพุทธศาสนา ในการศึกษาเน้นประเด็นว่าด้วยมหาสติปัฏฐานสูตร ซึ่งมีเน้ือหาสาคัญคือหลักการ และวิธีการปฏิบัติธรรมตามแนวสติปัฏฐาน ๔ และว่าด้วยวิธีปฏิบัติธรรมตามแนวสติปัฏฐานของพระ ธรรมธรี ราชมุนี (โชฎกฺ ญาณสทิ ธฺ ิ) ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ สติปัฏฐาน ๔ เป็นหนทางเอกที่จะนาไปสู่ การรู้แจ้งสัจจธรรม บรรลุนิพพานซึ่งเป็นสภาวะหมดกิเลสกันเป็นจุดหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา ท่านได้ใช้หลักสติปัฏฐาน ๔ คือ การพิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เป็นกรอบในการปฏิบัติและการ สอนในภาคทฤษฎี ทาใหผ้ ู้ปฏิบตั เิ ข้าใจทั้งหลกั สมถกัมมฏั ฐานและวปิ สั สนากมั มฏั ฐานควบคู่กันไป แต่ ในภาคปฏิบัติ ท่านปฏิบัติและสอนโดยเน้นวิธีการแบบสมถะมีวิปัสสนานา แนวการสอนและการ ปฏิบัติธรรมดาเนินตามเนื้อหาใน มหาสติปัฏฐานสูตรและประยุกต์ให้เข้ากับสถานการณ์ โดยอาศัย แนวพระไตรปฎิ กและแนววิปัสสนาจารย์จากประเทศสหภาพเมียนม่ารเ์ ป็นกรอบในการประยุกต์๑๘ ธนาคม บรรเทากุล ได้ศึกษาวิจัยการศึกษาวิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของ พระ อาจารย์ภัททันตะ อาสภมหาเถระ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ ผู้เป็นพระธรรมทูต มาประดิษฐาน วิปัสสนาวงศ์ ณ ประเทศไทย ซงึ่ ผลการศกึ ษาสรปุ ได้ว่าท่านพระอาจารย์ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ใช้ วธิ ีสอนกัมมัฏฐานตามหลกั สตปิ ฏั ฐานทุกอิริยาบถตามความรู้สกึ การเคลอื่ นไหว โดยการกาหนดให้ทัน ปัจจุบัน และมีเทคนิคในการปรับอินทรีย์ให้กับผู้ปฏิบัติ เม่ือ ผู้ปฏิบัติเกิดปัญหาอุปสรรคไม่สามารถ ปฏิบัติให้ก้าวหน้าต่อไปได้ด้วยการสอบอารมณ์และ ปรับอินทรีย์ของผู้ปฏิบัติให้เสมอกัน คือศรัทธาคู่ กับปัญญา วิริยะคู่กับสมาธิ ส่วนสตินั้นมีมากเท่าไรยิ่งดี ที่ต้องให้อินทรีย์เสมอกันน้ันก็เพ่ือให้เกิด ปัญญาท่ีเรียกว่า ญาณ ซึ่งเปน็ จดุ มุง่ หมายของการเจริญวิปัสสนาโดยตรง และถ้าปรับอินทรีย์ได้แล้วก็ จะปฏิบัตไิ ดก้ า้ วหนา้ ยิง่ ๆ ขนึ้ ไปสเู่ ปูาหมายตามลาดบั ๑๙ แม่ชีระวีวรรณ ธมฺมจารินี (ง่านวิสุทธิพันธ์) ได้ทาการ ศึกษาสภาวธรรมของผู้เข้าปฏิบัติ วิปัสสนาสติปัฏฐาน ๔ ณ สานักวิปัสสนากรรมฐาน วัดพระธาตุศรีจอมทอง วรวิหาร โดยมีข้อความ สาคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติตอนหนึ่งว่า “การแก้สภาวธรรมของผู้เข้าปฏิบัติธรรมโดยการถามตอบสอบ อารมณ์ ระหว่างพระวิปัสสนาจารย์กับผู้ปฏิบัติจึงมีความสาคัญอย่างย่ิง ต้องมีแบบท่ีถูกต้องและ ประสบการณ์ คาแนะนาวิธีการต่าง ๆ ของวิปัสสนาจารย์ จากการถามตอบสอบอารมณ์ จากการ ๑๗ ชนิ สภเถระ, ดบั ทกุ ข์ดว้ ยวิปสั สนาธรุ ะ, พมิ พ์ครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : พมิ พ์ท่เี ยลโลก่ ารพมิ พ,์ ๒๕๕๒), หนา้ ๒๘. ๑๘ พรรณราย รัตนไพฑรู ย,์ “การศกึ ษาวิธปี ฏิบตั ิวปิ ัสสนากมั มฏั ฐานตามแนวสตปิ ฏั ฐาน ๔ ศกึ ษาแนวการ สอนของพระธรรมธรี ราชมหามนุ ี (โชดก ญาณสิทฺธ)ิ ”, วิทยานิพนธป์ ริญญาพุทธศาตรมหาบณั ฑติ , (บณั ฑิต วิทยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๔), หนา้ ก. ๑๙ นายธนาคม บรรเทากลุ , “การศกึ ษาวธิ กี ารสอนวิปสั สนากมั มฏั ฐานของพระอาจารย์ภัททันตะ อาสภ มหาเถระ อัคคมหากมั มฏั ฐานาจรยิ ะ”, วทิ ยานพิ นธพ์ ทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ , (บัณฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๙), หนา้ ก.

๙ สังเกตครูบาอาจารย์ที่มีประสบการณ์ จากการเรียนรู้ทั้งปฏิบัติ ปริยัติ มีผลและเป็นประโยชน์ต่อ วิปัสสนาจารยร์ ุ่นหลัง รวมท้ังผู้ปฏิบตั ิทีไ่ มม่ ีโอกาสได้พบครบู าอาจารย์ผูส้ อบอารมณ์ทถ่ี ูกต้อง๒๐ พระมหาประเสริฐ มนฺตเสวี (พรหมจันทร์) ได้ศึกษาวิเคราะห์หลักปฏิบัติ อานาปานสติ ภาวนาเฉพาะกรณีคาสอนพุทธทาสภิกขุ ผลการศึกษาสรุปได้ดังน้ี การสอนหลักปฏิบัติ อานาปานสติ ภาวนาของท่านพุทธทาสภิกขุ ท่านสอนสอดคล้องกับหลักธรรมในคัมภีร์พระพุทธศาสนา แต่ปรากฏ อยู่ในคัมภีร์ชั้นรายละเอียด เช่น ปฏิสัมภิทามรรค วิสุทธิมรรค อรรถกถา ฎีกา โดยที่ท่านได้ประมวล หลกั ธรรมต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั หลักปฏบิ ัติ อานาปานสติภาวนาอันมีอยู่อย่างกระจัดกระจายในคัมภีร์ พทุ ธศาสนามาจัดเป็นหมวดหมทู่ สี่ อดคลอ้ งกนั และตีความหลักธรรมน้นั ๆ โดยยึดการนาหลักอานาปานสติภาวนาท่ีมีมาในคัมภีร์ มาประยุกต์ สู่การปฏิบัติจริงในยุค ปัจจุบัน เน้นย้าให้ผู้ปฏิบัติเข้าใจชัดว่าการเจริญวิปัสสนาด้วย สติปัฏฐาน ๔ ที่สมบูรณ์แบบและให้ ประสบผลสูงสุดก็คือการเจริญอานาปานสติภาวนาให้ครบถ้วนทั้ง ๑๖ ข้ันน่ันเอง และในการลงมือ ปฏิบัตจิ ริงทา่ นยังเพ่ิมเทคนิคเฉพาะตามท่ีเห็นว่าเหมาะท่ีสุดเพื่อให้ง่ายแก่การเข้าใจและปฏิบัติได้จริง เชน่ เสรมิ หลักการเตรียมกายสาหรับการปฏิบัติอีก ๓ ประการ คือ ตรวจสอบอาหารท่ีเป็นท่ีสบายแก่ การปฏิบัติไม่เป็นอุปสรรคต่อระบบการหายใจและระบบขับถ่าย เตรียมท่าน่ังท่ีเหมาะสมกับสรีระ และตรวจสอบระบบการหายใจให้เข้าออกได้สะดวกไม่ติดขัด เป็นต้น เพื่อจะช่วยให้การเจริญอานา ปานสติภาวนาพัฒนาจิตให้เกิดสมาธิและปัญญาญาณเป็นไปได้จริงในยุคปัจจุบัน อันเป็นเครื่องมือท่ี สาคัญท่ีสุดในการปฏิบัติเพ่ือดาเนินไปสู่จุดมุ่งหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนา คือการบรรลุมรรค ผล นพิ พาน เข้าถึงความจากพ้นทกุ ข์ พระครูประคุณสรกิจ (สุชาติ ชิโนรโส) ได้ศึกษาวิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวของ สานักวิปัสสนาวิเวกอาศรม พบว่า การสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของสานักวิเวกอาศรม ซึ่งเป็นสานัก เผยแผ่วิปัสสนาแห่งหน่ึงของประเทศไทย ได้มีการจัดสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานท่ีเป็นระบบ และ สอดคล้องกับพระไตรปิฎก และอรรถกถา อันเป็นแบบอย่าง ในการปฏิบัติ ท้ังน้ีการสอนวิปัสสนา กัมมฏั ฐานยงั มุ่งเน้นท่หี ลักการปฏิบัติท้ังสามทางได้แก่ การเดินจงกรม การนั่งสมาธิ และการเจริญสติ ใหท้ นั อารมณป์ ัจจบุ นั ๒๑ พระมหาสธุ น ยสสโี ล (ผลชอบ) ได้ศกึ ษาเรือ่ ง การศึกษาเชิงวเิ คราะหเ์ รือ่ งวิปัสสนากัมมัฏฐาน ในพระพุทธศาสนา พบว่า วิปัสสนากัมมัฏฐานเป็นคาสอนแนวปฏิบัติทางด้านจิต เพราะในร่างกาย ของมนุษย์เรามีใจเป็นใหญ่ ใจเป็นหัวหน้า ทุกสิ่งทุกอย่างสาเร็จจากใจ เม่ือบุคคลต้ังใจไว้ดีแล้ว ไม่ว่า บุคคลน้นั จะเป็นชนชาติใด อยูใ่ นประเทศใด ใช้ภาษาใด เป็นคนมีฐานะร่ารวยหรือเป็นคนยากจน เม่ือ ปรารถนาความสุข ความสงบท่ีแท้จริงแล้ว ไม่ต้องไปแสวงหาที่อื่นใด ค้นหาได้ภายในจิตใจของเราน้ี เอง เพราะความทุกข์หรือความสุขเกิดขึ้นจากใจท้ังน้ัน ดังน้ัน พระพุทธเจ้าซ่ึงมีพระประสงค์ท่ีจะให้ สังคมมนุษย์พ้นจากความทุกข์และให้ได้รับความสุขสงบทั้งทางกายและทางใจ จึงได้ทรงประกาศคา ๒๐ แมช่ ีระวีวรรณ ธมฺมจารินี (งา่ นวิสทุ ธิพนั ธ)์ , “ศกึ ษาสภาวธรรมของผู้เข้าปฏิบตั วิ ิปัสสนาสตปิ ัฏฐาน ๔ ณ สานกั วปิ สั สนากรรมฐาน วัดพระธาตุศรจี อมทอง วรวหิ าร”, วทิ ยานพิ นธพ์ ทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑), หนา้ ๔. ๒๑ พระครปู ระคณุ สรกิจ (สุชาติ ชิโนรโส), “วิธกี ารสอนวิปัสสนากัมมฏั ฐานตามแนวของสานักวิปสั สนา วิเวกอาศรม”, วทิ ยานพิ นธพ์ ทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ , (บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๔), หนา้ (๕).

๑๐ สอนแนวปฏบิ ตั ิวปิ สั สนากัมมฏั ฐานไว้ เพ่ืออบรมจิตของมนุษย์ให้สงบระงับจากความชั่ว บรรลุความดี และความบริสทุ ธผ์ิ อ่ งใสแห่งจิต๒๒ นนั ทพล โรจนโกศล ศึกษาวิจัยเรื่อง “ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องขันธ์ ๕ กับการบรรลุธรรม ในพระพุทธศาสนาเถรวาท” อธิบายวา่ ขันธ์ ๕ หมายถงึ กองรวมแห่งรูปธรรมและนามธรรมท่ีประชุม กันเข้าเป็นหน่วยรวม ประกอบด้วย รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ขันธ์ ๕ มีก่อนสมัยพุทธกาลแต่เป็นอัตตา เหตุปัจจัยท่ีทาให้แต่ละขันธ์ปรากฏในขันธ์ ๕ เรียกว่าผัสสะ เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้นามขันธ์ปรากฏชัด ขันธ์ ๕ เป็นแนวคิดที่ปฏิเสธ อิสสรนิมมานวาท (หลัก ปรัชญาอินเดียโบราณท่ีเช่ือว่าขันธ์ ๕ เกิดจากการสร้างของ พระเจ้าสามัญลักษณะแห่งขันธ์ ๕ คือ ไตรลักษณ์ กระบวนการปฏิบัติการร่วมกันแห่งขันธ์ ๕ ท่ีนาไปสู่ทุกข์ คือ ปฏิจจสมุปบาท และระบบ การจดั การขนั ธ์ ๕ ท่เี ปน็ ปญั หาเพ่อื บรรลธุ รรมคืออริยสัจ ๔ เวทนาขนั ธ์ สงั ขารขนั ธ์ และวิญญาณขันธ์ เป็นหมวดธรรมในหลักปฏิบัติเพ่ือการบรรลุธรรม เป็นหลักปฏิบัติการแห่งขันธ์ ๕ เพื่อบรรลุธรรม เวทนาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ทั้ง ๓๗ หน้าท่ีซ่ึงสามารถจัดเป็น ๑๔ องค์ธรรมนั้น เกือบ ทั้งหมดจะปฏิบัติการพร้อมกันในขณะบรรลุธรรม ผู้บรรลุธรรมเป็นผู้ท่ีสังขารขันธ์ท่ีเรียกว่าสังโยชน์ ๑๐ ไมป่ ฏบิ ัตกิ ารถาวร๒๓ สรปุ ทา้ ยบท พระพุทธองค์ตรัสว่า “จิตมีธรรมชาติดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยาก”๒๔ ถ้าหากว่า ไม่ มกี มั มฏั ฐานมาเปน็ อารมณ์ กิเลสกจ็ ะจูงจิตไปในทางช่ัวทางผิดได้โดยง่าย แต่ถา้ หากว่ามี กัมมัฏฐานมา รักษาจิตเอาไว้ตามสมควร กัมมัฏฐานที่รักษาจิตไว้นี้ก็จะช่วยรักษาบุคคล ไม่ให้ตก ไปสู่อานาจของ อารมณ์และกิเลสได้โดยง่าย ฉะนั้น เพื่ออบรมจิตดังกล่าวจา เป็นอย่างยิ่งต้องอาศัย กัมมัฏฐานท่ี เหมาะสม จตุรารักขกัมมัฏฐานจัดเป็นสัพพัตถกกัมมัฏฐาน คือ กัมมัฏฐานท่ีพึงต้องการ ในท่ีทั้งปวง หรือพงึ ใชเ้ ปน็ ฐานของการเจรญิ ภาวนาทุกอย่าง กมั มฏั ฐานทเ่ี ป็นประโยชนใ์ นทุกกรณี ใช้ได้กับทุกจริต และเป็นกมั มัฏฐานท่ีครูบาอาจารย์ ผูส้ อนกัมมัฏฐานมกั จะพูดถึงกอ่ น ๒๒ พระมหาสุธน ยสสีโล (ผลชอบ), “การศึกษาเชิงวิเคราะหเ์ รอ่ื งวปิ ัสสนากรรมฐานในพระพุทธ ศาสนา”, วิทยานิพนธ์มหาบัณฑติ พทุ ธศาสนาและปรัชญา, (มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๑), หน้า ก. ๒๓ นายนันทพล โรจนโกศล, “การศึกษาวเิ คราะห์แนวคิดเรือ่ งขันธ์ ๕ กับการบรรลธุ รรม”, วทิ ยานพิ นธ์ พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต, (บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๘), หนา้ (๖-๗). ๒๔ ดรู ายละเอยี ดใน ขุ.ธ. (บาล)ี ๑๗/๑๗/๑๙.

๑๑ คาถามทา้ ยบท ๑.ตามหลักพระพุทธศาสนา จติ มีลกั ษณะอยา่ งไร พระพุทธตรสั วา่ อยา่ งไร ฯ ๒.จงใหค้ วามหมายของคาว่า “กมั มฏั ฐานและวิปสั สนา” ตามนยิ ามที่ปรากฏในพระไตรปิฎกฯ ๓. สพั พตั ถกกัมมฏั ฐาน และปารหิ ารยิ กัมมัฏฐาน มลี ักษณะและการปฏิบตั ิอย่างไรฯ ๔.การสอบอารมณแ์ ละการส่งอารมณ์ หมายความว่าอย่างไร ใครเปน็ คนส่งและสง่ ใหใ้ ครฯ ๕.การสอบอารมณ์และการสง่ อารมณ์ มีวิธกี ารในการส่งและการสอบอย่างไรฯ ๖.จงนยิ ามความหมาย “กมั มัฏฐาน”ตามทศั นะของนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาสัก ๓ ท่านฯ ๗.จงนิยามความหมาย “วิปสั สนา”ตามทัศนะของนักปราชญท์ างพระพุทธศาสนาสกั ๓ ท่านฯ ๘.“กัมมัฏฐาน”มีวิธีการปฏิบัติอยา่ งไร ตามทัศนะของนกั ปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาสัก ๓ ทา่ นฯ ๙.“วิปัสสนา”วธิ ีการปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร ตามทัศนะของนกั ปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาสกั ๓ ท่านฯ ๑๐. กัมมฏั ฐานและวิปัสสนา เหมาะสมใคร และใครเปน็ ผเู้ ป็นปฏิบตั ฯิ

๑๒ เอาสารอ้างอิงประจาบท ชนิ สภเถระ, ดบั ทกุ ขด์ ้วยวิปัสสนาธุระ, พิมพค์ รง้ั ท่ี ๖, กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ทเ่ี ยลโลก่ าร พิมพ์), ๒๕๕๒ . ฑฆี ายวุ ฒั ก์ สวัสดิล์ ออ, “เรือ่ งการวิเคราะห์การเจรญิ สติตามแนวทางของ ตชิ นัท ฮันห์”, ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต, พทุ ธศาสนศกึ ษา : มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่, ๒๔๕๕. ธนาคม บรรเทากุล, “การศึกษาวิธีการสอนวปิ สั สนากัมมฏั ฐานของพระอาจารยภ์ ทั ทันตะ อาสภมหาเถระ อคั คมหากมั มัฏฐานาจริยะ”, วทิ ยานิพนธ์พทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ , บณั ฑิตวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙. นันทพล โรจนโกศล, “การศกึ ษาวิเคราะห์แนวคิดเรอ่ื งขันธ์ ๕ กบั การบรรลธุ รรม”, วทิ ยานิพนธ์พทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๘. พรรณราย รตั นไพฑูรย์, “การศกึ ษาวธิ ีปฏิบตั ิวิปสั สนากัมมัฏฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ศึกษาแนวการ สอนของพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธฺ ิ)”, วิทยานิพนธป์ รญิ ญาพทุ ธศาตรมหา บณั ฑติ , บณั ฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔. พระครูประคุณสรกิจ (สุชาติ ชโิ นรโส), “วิธีการสอนวปิ ัสสนากัมมัฏฐานตามแนวของสานกั วิ ปัสสนาวิเวกอาศรม”, วทิ ยานพิ นธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑติ , บณั ฑติ วิทยาลัย : มหาจุฬาลง กรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๔. พระธรรมกิตตวิ งศ์ (ทองดี สรุ เตโช) ป.ธ.๙, ราชบณั ฑติ , พจนานกุ รมเพื่อการศึกษาพุทธศาสนฉ์ บับ คา วัดทชี่ าวพุทธควรรู้, พิมพ์ครัง้ ที่ ๓, กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ธรรมสภา, ๒๔๕๕. พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), สมาธฐิ านสู่สุขภาพจิตและปัญญาหย่ังรู้, พิมพค์ รง้ั ท่ี ๖,(กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พ์สยาม, ๒๕๕๖. พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต), พจนานุกรมพทุ ธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (ชาระ เพ่มิ เติม ช่วงที่ ๑),พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑๒, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๑. พระปลดั ชัชวาล ชนิ สโภ, บญุ วนั เกดิ , (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์เม็ดทราย, ๒๕๕๑. , วิธที าให้มรรคเกิด, พมิ พ์ครัง้ ที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : พิมพท์ เี่ ม็ดทราย พร้ิน-ตง้ิ , ๒๕๕๒. พระมหานิพนธ์ มหาธมมฺ รกฺขิโต, “เรือ่ งเปรยี บเทียบแนวการปฏบิ ัตกิ ัมมฏั ฐานของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสโุ ภ และพุทธทาสภกิ ขุ”, ปรญิ ญาพุทธศาสตรมหาบัณฑติ , บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยมหา จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๖. พระมหารุ่งเรือง รกขฺ ติ ธมฺโม, “เร่ืองผลการปฏบิ ตั ิวปิ ัสสนากรรมฐาน : ศกึ ษากรณเี ยาวชนผ้ปู ฏิบตั ิ วิปัสสนากรรมฐาน ณ ศนู ยป์ ฏิบัตธิ รรมสวนเวฬวุ ัน อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ ”,

๑๓ ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ , (บัณฑติ วิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช วทิ ยาลัย, ๒๕๕๙. พระมหาสธุ น ยสสีโล (ผลชอบ), “การศึกษาเชงิ วิเคราะหเ์ รือ่ งวิปัสสนากรรมฐานในพระพทุ ธ ศาสนา”, วทิ ยานิพนธ์มหาบัณฑิตพุทธศาสนาและปรัชญา, (มหาวิทยาลยั มหามกุฏราช วทิ ยาลยั , ๒๕๔๑. พทุ ธทาสภกิ ขุ, วิธีฝกึ สมาธวิ ิปัสสนา ฉบบั สมบูรณ์, พมิ พ์คร้งั ท่ี ๖. (กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พ์ สนุ ทรสาสน์ , ๒๕๓๖. แมช่ รี ะวีวรรณ ธมมฺ จารินี (ง่านวิสุทธพิ นั ธ์), “ศกึ ษาสภาวธรรมของผู้เข้าปฏิบัติวปิ ัสสนาสติปัฏฐาน ๔ ณ สานักวิปัสสนากรรมฐาน วดั พระธาตศุ รีจอมทองวรวิหาร”, วิทยานิพนธพ์ ุทธศาสตร มหาบณั ฑติ , (บณั ฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑. สุจิตรา อ่อนคอ้ ม, (รศ. ดร.), “การฝกึ สมาธิ”, พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑๐, (กรงุ เทพมหานคร : สานกั พิมพ์ ดอกหญ้ากรุป๊ , ๒๕๕๙.

บทที่ ๒ การสวดมนต์ วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ประจาบท เมือ่ ไดศ้ ึกษาเนอ้ื หาในบทนแ้ี ลว้ ผ้เู รียนสามารถ ๑. อธิบายความหมายและความมุ่งหมายของการสวดมนต์ได้ ๒. อธบิ ายประวตั ิและพัฒนาการของการสวดมนต์ได้ ๓. อธบิ ายความสาคัญของการสวดมนต์ได้ ๔. อธิบายรปู แบบในการสวดมนต์ได้ ๕. วิเคราะห์เน้ือหาของบทสวดมนตไ์ ด้ ขอบข่ายเนอื้ หา  ความหมายและความมุ่งหมายของการสวดมนต์  ประวตั ิและพฒั นาการของการสวดมนต์  ความสาคญั ของการสวดมนต์  รูปแบบในการสวดมนต์  เนื้อหาของบทสวดมนต์

๑๕ ๒.๑ ความนา การสวดมนต์นั้นถือว่าเป็นการพัฒนาชีวิตอย่างหน่ึงซ่ึงเป็นอุบายทาให้ในใจสงบเป็นสมถกรรมฐานย่ิง ไปกว่าน้ันถือว่าเป็นอนุสสติและสรรเสริญพระรัตนตรัย และการสวดมนต์น้ีมีทุกศาสนาตามที่กล่าวว่า“ชาว พุทธหรือศาสนิกชนของศาสนาอื่นมีประเพณีประกอบพิธีกรรมและมีการสวดบทสวดมนต์ หรือคาถา ประกอบการกระทาพิธี ซึ่งการสวดนั้นทุกศาสนา ถือว่าเป็นสิ่งที่มีมาตั้งแต่บรรพกาลและมีการนามาสวดกัน ในระยะต่อมา”๑ จะถือได้ว่าธรรมเนียมการสวดนั้น จัดเป็นวัฒนธรรมการพัฒนาชีวิตท่ีมีมาคู่กับมนุษย์เป็น ระยะเวลาอันช้านาน นอกจากในแง่ของประวัติศาสตร์ทางด้านศาสนา จะพบว่าศรัทธาเป็นพื้นฐานให้มนุษย์ ยอมรบั ธรรมชาติ ความเป็นไปของธรรมชาติให้มนุษย์สวดมนต์ รวมถึงการสวดอ้อนวอนรวมอยู่ด้วย เช่ือว่าจะ เกิดมีอานาจเหนือการบวงสรวงอ้อนวอนต่อส่ิงที่ตนเองเชื่อนั้นๆ เพราะการสวดอ้อนวอนเป็นวิธีท่ีมนุษย์ แสดงออก เพ่อื ขอใหเ้ ทพเจ้าพอใจและให้การคุ้มครองตน เพื่อเป็นสิริมงคลบ้าง ในทางพระพุทธศาสนาก็มีการ สวดสาธยายเชน่ เดยี วกันในขา้ งตน้ เพียงสวดสาธยายเพื่อทรงพระพุทธวนะเท่าน้ัน เมื่อชาวบ้านได้ยินพระสงฆ์ สวดสาธยาย ก็พากนั อนุโมทนาและได้ถอื กันวา่ การไดย้ นิ พระสงฆ์สวดสาธยายเช่นน้ันเป็นสิริมงคล ในสมัยน้ัน ยังไม่มีคัมภีร์ท่ีจะได้จดจารึก ต้องท่องจากันด้วยวาจา จาหลักการสอนที่เรียกว่ามุขปาฐะ๒ คือท่องจาให้ขึ้นใจ จนติดปาก เม่อื มีเหตุการณ์อย่างใดอยา่ งหนึง่ เกดิ ข้ึน พระสงฆก์ จ็ ะใชส้ วดสาธยายพระพุทธวจนะน้ันตามสมควร ต่อเหตุการณ์เกี่ยวกับการสวดมนต์นี้ มีเรื่องเล่าในวรรณคดีบาลี ถึงความปลอดภัยไร้โรค รวมถึงกาจัดปัดเปุา ภูตผีปีศาจ ด้วยว่าเมื่อคราวเมืองสาลีเกิดโรคระบาดให้คนและสัตว์ตายไปเป็นจานวนมาก พระอานนท์ได้ไปที่ นั้นแล้วสวดมนต์บทรัตนสูตร โรคนั้นก็ระงับไปได้ นอกจากน้ีเม่ือคร้ังพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประชวน ก็โปรด ใหพ้ ระจนุ ทเถระสวดโพชฌงค์ปรติ รถวาย ต่อมาพระภิกษุทั้งหลายได้ไปทาวัตรสวดมนต์เช้า-เย็นมีลักษณะเนื่องจากประเพณีการรักษา พระศาสนาต้ังแต่สมัยที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน พระองค์ได้มอบธรรมวินัยซึ่งอยู่ในรูปพระไตรปิฎกภาษาบาลี ในปัจจุบันให้เป็นศาสดาแทนพระองค์ จึงเป็นหน้าท่ีของพระสงฆ์สาวกจะต้องศึกษาเล่าเรียนท่องบ่นสวดมนต์ หรอื สาธยายพทุ ธพจนเ์ หล่าน้นั แล้วนามาสัง่ สอนสบื ตอ่ กนั เมอื่ เวลาผ่านไปพระพุทธศาสนาก็มีการวิวัฒนาการ และเผยแผ่ไปยังนานาประเทศตามกาลสมัย แต่วัฒนธรรมด้านการสวดมนต์ท่ีเป็นธรรมเนียมน้ัน ก็มีการสืบ ทอดเรื่อยมาควบคู่กันไปกับการธารงรักษาคาสอนของพระพุทธองค์ได้ โดยการสืบทอดกันต่อมาและการสวด เพอื่ ท่องจาหลักคาสอนทเี่ รียกว่ามุขปาฐะ คือ การทอ่ งจาให้ขน้ึ ใจ ในเชงิ มขุ ปาฐะและบางส่วนก็ได้กลายมาเป็น บทสวดทีม่ ุง่ ก่อใหเ้ กดิ อานภุ าพ ดังจะเห็นได้จากผลงานของพระอรรถกถาจารยใ์ นยุคหลัง ที่ได้บันทึกเร่ืองราวที่ เก่ียวข้องกับบทสวดมนต์ท่ีพระสงฆ์ อุบาสก-อุบาสิกา ในสมัยน้ันนิยมสวดสาธยายบทสวดท่ีเรียกว่า “พระ ๑ ชวน เพชรแกว้ ,การศึกษาวรรณคดไี ทย, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พอ์ กั ษรสมั พนั ธ,์ ๒๕๒๐), หน้า๗๐–๗๑. ๒ คาวัด, พระธรรมกิตตวิ งศ์ (ทองดี สรุ เตโช ป.ธ.๙,ราชบณั ฑติ ), มขุ ปาฐะ ( อา่ นวา่ มุขะ- มุกขะ) หมายถึงการทอ่ ง ดว้ ยปาก การกล่าวดว้ ยปาก การจดจาตอ่ เนื่องกันมาด้วยการสอนแบบปากตอ่ ปาก ใชว้ า่ มุขบาฐ ก็ได้ มขุ ปาฐะ เป็นวิธกี าร ศกึ ษาการเรยี นรู้แบบเก่า สมยั ท่หี นังสอื หายาก จาตอ้ งอาศัยการท่องบ่นทรงจาแบบปากเปล่าหรอื แบบปากต่อปากเปน็ พ้นื แม้ พระไตรปฏิ กกท็ รงจากันมาแบบมขุ ปาฐะน้ี โดยมีการสวดสาธยายพรอ้ มๆ กัน เท่ากบั สอบทานกันไปในตวั แมป้ จั จบุ นั การสวด มนตข์ องพระในพิธีต่างๆ กส็ บื เน่อื งมาจากแบบมขุ ปาฐะน้ี

๑๖ ปริตร”เม่ือพระพุทธศาสนาได้เข้าสู่ประเทศลังกา ได้มีความพยายามโดยเฉพาะจากฝุายคฤหัสถ์ ที่อาราธนา พระสงฆ์ใหไ้ ปสวด เพอื่ อวยชยั ให้พร แม้เทวดากล็ งมาฟังการสวดมนตต์ ามคาอัญเชญิ ทว่ี ่าดว้ ยคา “พรฺ หฺมา จ โลกาธปิ ตี สหมปฺ ต,ิ กตฺอญชฺ ลี อนธฺ ิวร อยาจถ, สนฺตีธ สตฺตาปฺปรชกฺขชาตกิ า, เทเสตุ ธมมฺ อนุกมปฺ ิม ปช”, อย่างนี้จะสวดใดๆก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะเลือกเฉพาะบทสวดที่เป็นการให้ศีล ให้พรเพ่ิมสวัสดิ มงคลแกผ่ ้ฟู ัง จึงเกิดประเพณกี ารสวดพระปริตรข้ึน ในลังกาสมัยโบราณแล้วส่งมาถึงปัจจุบันในฐานะที่พระพุทธศาสนาเป็นศูนย์รวมด้านจิตใจ มี ความสาคัญและมีคุณค่าต่อชีวิตสมควรอย่างยิ่ง ที่คนไทยผู้นับถือพระพุทธศาสนาจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการสวดมนต์เป็นพื้นฐานถือว่าการสวดมนต์เป็นวิถีชีวิตของชาวพุทธส่วนหน่ึง การสวดมนต์ถือว่า ศักดิ์สิทธิ์ที่พระสงฆ์คัดเลือกมาจากพระไตรปิฎก ซ่ึงเป็นพุทธพจน์จึงเรียกว่าพุทธมนต์ คือ พุทธพจน์อัน ศักด์ิสิทธิ์ของพระพุทธเจ้า ที่พระสงฆ์สาวกของพระองค์มีสมาธิจิตอันแน่วแน่สวดพร้อมๆ กันเพ่ือให้สัมฤทธ์ิ ตามความหมายแหง่ ถอ้ ยคาพุทธพจนท์ ี่นามาสวดนัน้ ๒.๒ ความหมายและความมงุ่ หมายของการสวดมนต์ พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงสอนให้สวดมนต์เพื่อขอร้องวิงวอนให้ทรงบันดาลให้เกิดความสุขสวัสดี โดยเจ้า ตัวเองไมป่ ฏิบัติดี ความหมายในบทสวดมอี ยบู่ ริบูรณ์ ทผี่ ูส้ วดจะได้รับผลเป็นความสุข ความเจริญรุ่งเรืองสวัสดี ถ้าปฏิบัติตาม แต่ถ้าไม่ปฏิบัติตามความหมายของบทสวดมนต์ เช่น ถ้าไม่ปฏิบัติตามท่ีสวดว่า ข้าพเจ้าเข้าถึง พระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นทีพ่ ่ึง ก็จะไมไ่ ด้รับผลอนั เลิศทีค่ วรไดร้ ับเลย ฉะน้ัน จึงควรปฏิบัติให้ได้ถึง พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ ทพี่ ง่ึ คือ ปฏิบัติตามทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ัติตามท่ีพระธรรมทรงสั่ง สอนและปฏบิ ตั ติ ามพระสงฆ์สาวกท่ปี ฏิบัติเป็นแบบอย่างไว้ จะได้รับความสุขสวัสดีอย่างย่ิงตลอดไปไม่ว่าอะไร จะเกิดขน้ึ กต็ าม ๒.๒.๑ ความหมายของคาว่ามนต์ คาวา่ มนต์ ในทน่ี ี้กาหนดใหม้ ีความหมาย ๒ นัย ด้วยกัน คือ ๑. มนตใ์ นความหมายวา่ พุทธมนต์ คัมภีร์พระพุทธศาสนา ให้ความหมายของพุทธมนต์ว่า เป็นพระพุทธพจน์ คือ คาสอนของ พระพุทธเจ้าท่ีปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎก เป็นเครื่องทาให้เกิดปัญญาแก่ตนเอง แล้วสามารถนามาประพฤติ ปฏิบัติ ให้เป็นไปเพ่ือความดับทุกข์ของตนเองและมวลมนุษย์ได้เรียกว่า“พุทธมนต์” ในคัมภีร์สมันตปาสาทิกา อรรถกถาวินยั บันทึกไว้ว่า “มีมาณพคนหนึ่งอวดอ้างว่าตนเองเป็นผู้เรียนจบไตรเพทหมดแล้ว เจอใครก็ถามถึง มนตข์ องเขา เพอ่ื ต้องการจะยกตนขม่ ครั้งหนง่ึ ได้ถามพระสิคควเถระ พระเถระจึงยกพระพุทธพจน์ในจิตตยมก มากล่าววา่ “จติ ของผู้ใดกาลังเกิดไม่ใชก่ าลงั ดับ, จิตของผู้น้ันก็จักดับไม่ใช่จักเกิดใช่ไหม, ก็หรือว่าจิตของผู้ใดจัก

๑๗ ดับไม่ใช่จักเกิด, จิตของผู้น้ันก็กาลังเกิดไม่ใช่จะดับใช่ไหม”๓ เม่ือมาณพได้ฟังเกิดความประหลาดใจ จึงถาม พระเถระว่าเป็นมนต์อะไร ฝุายพระเถระจึงได้ตอบมาณพนั้นไปว่า น้ีช่ือว่า“พุทธมนต์”ทาให้มาณพเกิดความ เลื่อมใส จึงขอเรียนมนต์ในสานักพระเถระ ในที่สุดก็ได้บวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา จึงกล่าวได้ว่า มนต์ท่ีไม่ประกอบด้วยเมตตา ไม่ใช่มนต์ทางพระพุทธศาสนา ถ้าเป็นมนต์ในพระพุทธศาสนาต้องประกอบด้วย เมตตาและเป็นไปเพื่อเกิดปัญญาดับทุกข์ คาสอนของพระพุทธศาสนา มีการกล่าวถึงมนต์ของศาสนาอื่นว่า เป็นดิรัจฉานวิชา คือ วิชาท่ีขวางต่อการบรรลุธรรมไม่มีประโยชน์ ไม่เก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนา เป็นวิชาท่ี เบยี ดเบยี นผู้อน่ื ด้วยพธิ ีอาถรรพณ์วิชาร่ายมนตเ์ สกตะปูฝังดินฆ่าคนหรือเสกเข้าท้อง วิชาร่ายมนต์ทาผู้อ่ืนให้อยู่ ในอานาจหรือใหเ้ ป็นบา้ วชิ ารา่ ยมนต์ทาผู้อนื่ ใหเ้ นอื้ เลือดเหือดแหง้ และวชิ าปล่อยสัตว์มีพิษ ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็น วิชาท่ีไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ในทางธรรมเลย ดังในสมันตปาสาทิกา อรรถคาถาพระวินัยปิฎกได้บันทึกไว้ว่า “การร่ายมนต์เพื่อฆ่าคนเป็นความพยามยามท่ีเกิดจาก(ดิรัจฉาน)วิชา อย่างเช่นเม่ือพระนครถูกศัตรูรุกราน สงครามมาประชิด หมอผีย่อมผูกร่ายมนต์เพ่ือให้ศัตรูหมู่อมิตรเกิดความจัญไร เป็นอันตรายเกิดโรคให้เป็น งอ่ ยให้จุกเสยี ดแน่นและใหห้ นไี ปในท่ีสุด”๔ มีมนตอ์ กี แบบหนึง่ พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นลักษณะดิรัจฉานวิชา ท่ีจัดว่าเป็นดิรัจฉานวิชาน้ี เพราะไม่ ประกอบด้วยเมตตากรุณา ประกอบไปด้วยความโหดร้ายทารุณความพยาบาทอาฆาตแค้น ให้เกิดความ เสียหายแก่ฝุายตรงกนั ข้าม ดังนั้น พระพทุ ธศาสนาจึงจัดว่าเป็นดิรจั ฉานวิชา คอื วิชาท่ีต่าช้ามิได้เป็นไปเพื่อทา จิตใจของคนเราสงู ข้นึ จนถึงขน้ั เป็นโลกุตตรจิตได้ พระพทุ ธเจ้าจึงตรสั ห้ามมใิ หภ้ ิกษุและภิกษุณีประพฤติปฏิบัติ ทั้งในการเรียนและการสอนเกี่ยวกับมนต์นี้ โดยพระองค์ทรงบัญญัติไว้ในปาจิตติย์สิกขาบทที่ ๙–๑๐ ของ ภิกษุณีว่า “นางภิกษุณีฉัพพัคคีย์เรียนและสอนดิรัจฉานวิชา มีผู้ติเตียน พระผู้มีพระภาคจึงทรงบญัญัติ สิกขาบท ปรับอาบัติปาจิตตีย์แก่นางภิกษุณีผู้เรียนและสอนดิรัจฉานวิชา”๕ และในพระวินัยปิฏก จูลวรรค ขทุ ทกวัตถขุ นั ธกะได้กลา่ วอีกว่า “พวกภิกษฉุ ัพพคั คียเ์ รยี นและสอนดริ จั ฉานวชิ า พระผู้มีพระภาคจึงรับสั่งไม่ให้ ภกิ ษทุ งั้ หลายเรียนและสอนดิรจั ฉานวิชา รปู ใดฝุาฝืนไปเรียนและสอนดริ ัจฉานวิชา ถูกปรบั อาบัตทิ ุกกฎ”๖ ๒.มนตใ์ นความหมายวา่ พระปริตร จากจุดเร่ิมต้นท่ีสวดเพ่ือรักษาพระพุทธพจน์ ในพระไตรปิฎกได้เปล่ียนมาเป็นการสวดเพ่ือ ปูองกันภยันตราย ซึ่งตรงกับภาษาบาลี“ปริตต”ได้ค่อยๆ พัฒนาการขึ้นตามวรรณกรรมทางศาสนาและอรรถ กถา ฎกี า ซง่ึ หมายถึงได้รวมเอาการปฏิบตั ทิ างพธิ ีกรรมเข้ามาดว้ ย เป็นคุณลกั ษณะทางพิธีสวดมนต์ท่ีพัฒนาขึ้น อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ดังทพ่ี ระอคั รวงศาจารย์ไดว้ ิเคราะห์ศัพท์ว่า“ปริตต”ในคัมภีรส์ ัททนตี ปิ กรณ์ (ธาตุมาลา) วา่ “มหาเตชวนตฺ ตายสมนฺโต สตตฺ าน ภย อุปททฺ ว อุปสคฺค จ ตายติ รกฺขตีติ ปรติ ฺต. ท่ีเรยี กว่า“ปริตต”เพราะมวี ิเคราะห์ว่า สิ่งท่ีปอู งกัน รักษาความกลัว อันตรายและอุปสรรคของสัตว์ท้ังหลาย โดยรอบเพราะความมีเดชานุภาพมาก๗ ๓ อภ.ิ ยมก. (ไทย) ๓๙/๑/๑. ๔ วิ.อ. (ไทย) ๑/๑๗๒/๔๗๘. ๕ วิ.ภิกขณุ .ี (ไทย) ๓/๑๐๑๓–๑๐๑๔/๒๕๙–๒๖๐. ๖ ว.ิ จ.ู (ไทย) ๗/๒๘๗–๒๘๘/๗๒–๗๓. ๗ พระอคั รวงศาจารย,์ สทฺทนตี ปิ กรณ (ธาตมุ าลา), (กรุงเทพมหานคร :โรงพมิ พภ์ ูมพิ โลภิกข,ุ ๒๕๒๓), หนา้ ๓๐๑.

๑๘ การสวดมนต์นี้ เป็นอานาจท่ีช่วยให้ทาอะไรสาเร็จได้ เพราะมนต์มีอานาจหรืออานุภาพที่เกิดจากพระ รัตนตรัย ความเมตตา และความสัตย์ดังกล่าวกล่าว คือ “การสวดมนต์นี้ เป็นการสวดเพื่อเป็นเคร่ืองคุ้มครอง ปูองกันอันตรายภายนอกเป็นต้นว่าโจร ยักษ์ สัตว์เดรัจฉาน ปูองกันอันตรายภายในคือโรคภัยไข้เจ็บ”๘ จึงมี เรียกว่า“พระปริตร”และเป็นการกล่าวถึงคุณของพระรัตนตรัยและการเจริญเมตตาภาวนา ผู้หม่ันสาธยายจึง ได้รบั ผลานิสงส์ เป็นตน้ ว่าประสบความสวสั ดีความเจริญรงุ่ เรอื ง ได้รบั ชัยชนะแคลว้ คลาดจากอปุ สรรคอันตราย มีสุขภาพดีมีอายุยืน ดังที่พระพุทธเจ้าปทุมุตตระตรัสสอนท่านพระสุภูติว่า “บรรดาภาวนาทั้งหลาย เธอจง เจริญพุทธานุสสติภาวนาท่ียอดเย่ียม คร้ันเจริญพุทธานุสสตินี้แล้วจักทาใจให้บริสุทธ์ิได้”๙ และพระพุทธเจ้า ตรัสอีกว่า “อมนุษย์ที่ต้องการจะทาร้ายผู้เจริญเมตตา ย่อมประสบภัยพิบัติเองเหมือนคนใช้มือจับหอกคมจะ ได้รับอันตรายจากหอกนน้ั ” พิธีสวดมนต์ท่ีสามารถคุ้มครองปูองกันภยันตราย ตามความเชื่อของพุทธศาสนิกชนในปัจจุบัน แต่ใน การสวดนั้น ซึ่งเป็นการสวดมนต์ท่ีนาพระพุทธพจน์มาจากพระไตรปฎิก ก็แสดงให้เห็นว่านอกจากจะมุ่งสวด เพ่ือคุ้มครองปูองกันแล้ว ยังเป็นการรักษาพระศาสนาด้วย ดังน้ันคาว่าพิธีสวดมนต์จึงสรุปลงในความหมาย ๓ ประการ คอื ๑. พระสูตรคือพระพทุ ธพจน์หรือคาสอนของพระพุทธเจา้ การสวดพระสตู รหรือคาสอนน้ใี ห้เกดิ ความ อบอนุ่ ปูองกันภยนั ตรายด้วยอานาจสจั วาจาของพระพุทธเจ้า ๒. พุทธมนต์ปรากฏในคัมภีรช์ ือ่ วา่ จตภุ าณวารบาลี รวบรวมเอาพระสูตรเข้าด้วยกนั ๓. พธิ กี รรมซ่ึงพระสตู รท่ีไดร้ วบรวมไวน้ จ้ี ะถูกนามาสวดในงานพิธตี ่างๆ เรียกว่าสวดพระปริตร สรุปได้ว่า การสวดมนต์น้ีนอกจากจะเป็นสวดเพ่ือขจัดอันตรายออกเสีย และทาความคุ้มครองให้ มั่นคงแล้ว สันติภาพและความอยู่ดีกินดี ก็ยังเป็นวัตถุประสงค์หลักอยู่เหมือนเดิม ในท่ีสุดแล้วพิธีสวดมนต์น้ี สามารถเรยี กได้วา่ เป็นพธิ กี รรมเพอ่ื ส่งเสรมิ จรยิ ธรรมและใหแ้ คล้วคลาดปูองกันอนั ตรายทั้งปวง สว่ นลกั ษณะพธิ สี วดมนตน์ ้ี สามารถจัดสรุปลงได้ตามหน้าท่ี ๒ ประการ คอื ๑.สวดพระธรรมเพอื่ รกั ษาพระศาสนาอย่างหน่ึง ๒.สวดพระปรติ รเพือ่ จะคุม้ครองปอู งกันภยันตรายอย่างหนึ่ง การสวดมนต์เร่ิมได้รับความนิยมมากในประเทศศรีลังกา โดยประชาชนปรารถนาความเป็นสิริมงคล และความปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ จึงได้อาราธนาพระสงฆ์ให้ช่วยอนุเคราะห์คิดหาวิธีปูองกันและพระสงฆ์ ได้เลือกรวบรวมพระสูตรจากพระไตรปิฎก จัดเป็นคัมภีร์สวดมนต์ช่ือ “คัมภีร์จตุภาณวาร” มีวัตถุประสงค์ เพ่อื ขจดั ภยันตรายดงั กล่าว จนได้รับความนยิ มอยา่ งแพรห่ ลาย ภายหลังพธิ ีสวดมนต์ในประเทศศรีลังกา เร่ิมมี วตั ถุประสงค์และพิธีกรรมทห่ี ลากหลายที่สามารถสรปุ ได้ ๖ ประการ คอื ๑. เป็นการสวดใหพ้ รตามโอกาสมี ๓ ลกั ษณะคอื ๑.๑ เพอ่ื ความปรารถนาดี คือ สวดต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองคนสาคัญ ๑.๒ เพ่ือโอกาสตามนกั ขตั ฤกษ์ คอื สวดเพื่อเปิดสานักงาน โรงเรียน โรงพยาบาล ๑.๓ เพือ่ เป็นกิจวตั รประจาวัน ๒. เป็นการสวดต่อเนื่องนานตลอดวัน ๘ พระคนั ธสาราภิวงศ,์ พระปริตรธรรม, (ลาปาง :จติ วัฒนาการพิมพ,์ ๒๕๔๑),หนา้ ๗.ข.ุ อป.(ไทย)๓๒/๓๖/๑๒๗. ๙ สมเด็จกรมพระยาดารงราชานภุ าพ,ประชมุ พระนพิ นธเ์ ก่ยี วกบั ตานานทางพระพุทธศาสนาตานานพระปรติ ร, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์รุ่งเรอื งธรรม,๒๕๑๔), หนา้ ๒๐๗.

๑๙ ๓. เปน็ การสวดต่อเนื่องตลอดคนื ๔. เปน็ การสวดทงั้ ๓ วันคือ ๑ วนั ๒ คนื ๕. เปน็ การสวดทัง้ ๗ วนั คือ ๗ วนั ๗ คนื ๖. เป็นการสวดตลอดคนื ของฆราวาส พิธีกรรมการสวดมนต์ในประเทศศรีลังกานี้ เป็นพิธีกรรมที่อิงอาศัยหลักของสัจจะ หลักของความ เมตตากรุณา เพ่ือให้บรรลุผลสาเร็จทางจิตใจและเป็นการให้พร เพื่อให้มีความสุขความปลอดภัย โดยอาศัย ความศกั ด์ิสิทธ์ิของพระไตรปฎกิ นน้ั เอง สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ กล่าวว่า “สาหรับพิธีสวดมนต์ของ ไทยปัจจุบันน้ี มีส่วนผสมมาจากมหายาน นิกายมันตระยาน ที่มีลักษณะการสวดเพ่ือสรรเสริญพระผู้เป็นเจ้า ตามแนวคาสอนของศาสนาฮินดู ซ่ึงเข้ามาสมัยสุโขทัยพุทธศตวรรษท่ี ๑๒–๑๗ ในอาณาจักรศรีวิชัย ภายใต้ การปกครองของราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช ด้วยอิทธพิ ลทางการเมอื งการปกครองของราชวงศ์ไศเลนทร์”๑๐ ทาใหค้ ติความเชื่อเกีย่ วกับพิธีสวดมนต์ของประเทศไทยนัน้ เปลี่ยนไป เพราะคติคาสอนเก่ียวกับพิธีสวด มนต์ของมหายาน ทั้งหมดเป็นแนวคิดที่ต่างจากคาสอนของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทดั้งเดิม รวมทั้งก่อนท่ี พระพุทธศาสนาจะเข้ามาเผยแผ่ในประเทศไทยน้ัน เดิมได้มีความเช่ือตามหลักของศาสนาพราหมณ์และผีอยู่ กอ่ นแลว้ ดังจะเหน็ ได้จากความเชอ่ื และการปฏิบัตทิ ป่ี ะปนกับสงิ่ เดิม ซ่ึงหมายถึงความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ ที่เขา้ กันไดก้ บั ศาสนาพทุ ธของคนไทยในสมยั น้ัน หลังจากนั้น ในพุทธศตวรรษท่ี ๙–๑๑ การประกอบพิธีสวดมนต์ ยังได้เน้นไปในทางอานาจลึกลับและ ไสยศาสตร์มากขึ้น ซ่ึงเป็นไปตามการปฏิบัติธรรมของพุทธศาสนามหายานท่ีเรียกว่า “พุทธตันตระ” (Tantric Buddhism) โดยพุทธตันตระได้สอนให้คนพื้นเมืองเข้าใจหลักธรรมได้ง่าย เน้นว่าการประกอบพิธีกรรม จะศกั ด์สิ ิทธิ์ก็ต้องมีไสยศาสตร์และกามารมณ์เข้ามาเก่ียวข้องด้วย ดังเอกสารของกรมศิลปากรได้บันทึกเรื่องน้ี ไว้ว่า“ในการประกอบพิธีกรรมของพุทธตันตระ มีการบวงสรวงบูชาพระพุทธเจ้า ด้วยการเสพกามและอาหาร นานาชนิด นอกจากนย้ี งั มีการนาพระพทุ ธพจนใ์ นพระไตรปฎิกไปเป็นคาถาอาคมเพ่ือใชส้ วดกนั อีกด้วย”๑๑ ในปจจั จบุ นั ความเชอื่ ในพิธสี วดมนต์ของพระพทุ ธศาสนา ทม่ี จี ดุ หมายเดิมแท้ เป็นเพ่ือพร่าสอนให้คน ทั้งหลายได้ศกึ ษาแล้ว เกิดปญั ญานาพาชวี ิตให้ดาเนนิ ไปในทางท่ีถูกตอ้ งน้ัน จึงได้ถูกอานาจไสยเวทหรือแนวคิด ของพุทธศาสนามหายานและในคัมภีร์พระเวทของพราหมณ์ ครอบงาให้คนทุกหมู่เหล่า เชื่อตามระบบ โครงสรา้ งของสทั ธติ น โดยสรา้ งคา่ นิยมใหเ้ กิดความกลวั เปน็ พื้นฐาน และไม่ให้รับความรู้ที่จะสร้างความเป็นไท ให้แก่ตัวได้ โดยไม่เปิดทางให้ใครๆได้เข้าถึงความตื่นจากความเห็นแก่ตัว และความมัวเมาต่างๆ จนติดยึดอยู่ กับความโลภ โกรธ หลง ในระดับต่างๆนั้นเอง และบทสวดมนต์ทางพระพุทธศาสนาจึงถูกนามาปรับแต่ง สาหรับสวดในพิธีกรรมต่างๆมากมาย ให้ดูขลังศักดิ์สิทธิ์ ซ่ึงเข้ากันได้กับความเชื่อที่กาลังครอบงาประเทศไทย อยู่ในขณะนั้น ดังที่ เสถยี รพงษ์ วรรณปก๑๒ ไดก้ ล่าวว่า \"พระพุทธศาสนาแบบมนั ตรยาน ซ่ึงพัฒนามาจากพทุ ธตนั ตระในอนิ เดยี ใต้ มีความเชอื่ ในความขลัง ศักด์ิสิทธ์ิของบทสวดมนต์ เช่น คาถาองคลุ มี าล อนั มีปรากฏอยใู่ นพระไตรปฎิก ได้ถูกนามาใชส้ วดเพราะเชื่อ ๑๐ สมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ, รวมเรื่องเมืองนครศรธี รรมราช, (พระนคร : โรงพมิ พ์รงุ เ่ รืองรตั น,์ ๒๕๐๕), หนา้ ๒๗. ๑๑ ศรีศักด์ิ วลั ลโิ ภดม,พระเครอื่ งในเมืองสยาม,(กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพ์มติชน,๒๕๓๗), หนา้ ๒๓. ๑๒ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) เสฐยี รพงษว์ รรณปก, เป็นอาจารย์หรอื นักวชิ าการทางดา้ นพุทธศาสนาและภาษาบาลีราช บณั ฑติ สาขาศาสนศาสตร.์

๒๐ กนั ว่าชว่ ยให้คลอดลกู งา่ ยเป็นตน้ พธิ กี รรมที่เนน้ ความขลังศักด์สิ ทิ ธ์ใิ นอานาจพระพุทธมนตน์ ้ี เรียกกันว่า พิธี สวดพระปริตรซง่ึ ไดร้ บั ความนิยมมากในลังกา ในพิธสี วดจะตอ้ งมีการตั้งขนั นา้ มนต์ การผูกโยงดา้ ยสายสญิ จน์ และการใช้พระสงฆน์ ่ังสวดคาถา”๑๓ จากสาเหตุดังกล่าว ทาให้พระพุทธศาสนาในปัจจุบันถูกมองว่า สอนให้คนทั้งหลายหลงมัวเมาอยู่ใน สิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ละเลยหลักของสัจจะและหลักของเมตตากรุณาไป มุ่งเน้นวิชาคาถาอาคม ส่งผลให้ทุกคนมีความ เขา้ ใจต่อการสวดมนต์ ว่าเปน็ การอ้อนวอนตอ่ สิ่งศกั ดสิ์ ิทธ์ิ ทส่ี ามารถดลบันดาลให้ตนเองมีความสุขพ้นทุกข์ ให้ มีความร่ารวยเงินทองปลอดภัยจากสรรพทุกข์ สรรพภัยและสรรพโรค โดยไม่ต้องปฏิบัติตามคาสอนของ พระพุทธศาสนาเลย จากความเชื่อท่ีเปลี่ยนไปเช่นน้ี ทาให้พุทธศาสนิกชนเหินห่างต่อหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา มีความเข้าใจในหลักทางพระพุทธศาสนาที่คลาดเคล่ือนและผิดไปจากหลักท่ีถูกต้องของ ศาสนา ๒.๒.๒ ความมุ่งหมาย คาว่า “มนต”์ มาจากคาเตม็ ว่า “พทุ ธมนต์” ซงึ่ หมายถึงพระธรรมคาส่ังสอนของพระอรหันตสัมมาสัม พุทธเจ้า การสวดมนต์ จึงหมาย ถึงการสวดพระธรรมคาส่ังสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั่นเอง เพราะการ สวดมนต์นน้ั เรมิ่ ต้นมาจากความพยายามในการจดจาคาสัง่ สอนของพระพุทธองค์ ของบรรดาพระอริยสาวกใน ครั้งพุทธกาล กล่าวคือทุกครั้งท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมน้ัน พระสาวกแต่ละรูปแต่ละองค์จะช่วยกันจดจา พระธรรมคาสอนนั้น แล้วถ่ายทอดสู่ศิษยานุศิษย์ของตนโดยระบบจากครูสู่ศิษย์ กล่าวคือครูฟัง มาจาก พระพุทธเจ้านามาเล่าให้ศิษย์ฟัง ศิษย์จาคาบอกเล่าครูแล้วนาไปสวดสาธยายจนจดจาได้คล่องปากข้ึนใจ รักษาไว้แล้วจึงถ่ายทอดต่อให้คนอ่ืนๆในสานัก ในเวลาต่อมาเราเรียกกระบวนการทรงจาพระธรรมคาส่ังสอน แบบนี้ว่า เป็นระบบ “มุขปาฐะ” คือ ระบบจากปากสู่ปาก ครั้นเวลาต่อมาจึงค่อยๆ มีการพัฒนาเป็นการแบ่ง ความรับผิดชอบกนั ทรงจาอย่างชัดเจน เช่น พระสารีบตุร เป็นผู้นาด้านการทรงจาพระอภิธรรม พระอานนท์ ดา้ นพระสูตร พระอุบาลี ดา้ นพระวนิ ัย และในท่ีสดุ ก็นามาสู่การจัดระบบเป็น “พระไตรปิฎก” ในคราวทาปฐม สังคายนา แล้วสบื ทอดส่งตอ่ (ที่เรยี กว่าระบบ “อาจรยิ ปรมั ปรา”หรอื “อาจริยกุล”) กันมาตามลาดับ เมื่อมีการ สวดพระธรรมคาสอนกนั อย่างเป็นกิจวัตรท่ชี ดั เจน เช่น แบ่งเป็นชว่ งเช้าช่วงเย็น เราจึงเรียกกิจกรรมน้ีว่า “การ ทาวัตรสวดมนต์” สวดมนต์ตอนเช้าก็เรียกว่า“การทาวัตรเช้า” สวดมนต์ตอนเย็นก็เรียกว่า “การทาวัตรเย็น” ทุกวันน้ีการสวดมนต์ก็ดี การทาวัตรเช้าการทาวัตรเย็นก็ดี ได้กลายเป็นกิจวัตรท่ีปฏิบัติกันอยู่ในหมู่ชาวพุทธ ไทยจนเป็นเอกลกั ษณไ์ ปแล้ว การสวดมนต์ถือเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตอีกด้านหนึ่ง เม่ือปฏิบัติเป็นประจาทาจิตใจสงบ มีสมาธิ ไมฟ่ งูุ ซ่าน ใจเยน็ และมีสตทิ จี่ ะทากจิ การงานต่างๆ ทาให้รู้สึกมีจิตใจที่ดี ผ่อนคลาย มีความสุข การสวดมนต์น่ัง สมาธิ ช่วยพัฒนาคุณภาพทั้งชีวิตจากภายในสู่ภายนอก เพราะในขณะท่ีทาการสวดมนต์นั้น เป็นการสวด สรรเสริญคณุ พระรัตนตรยั จติ เราจะมคี วามสุขไมท่ กุ ข์ เมอ่ื สขุ ภาพจิตดีแล้ว จะนาสู่ภายนอกทาให้บคุลิกภาพดี ด้วย๑๔ ๑๓ เสถียรพงษ์ วรรณปก,ร่มรนื่ ร่มเย็นมตชิ นรายวนั , (กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พ์บรรณาคาร,๒๕๓๙), หนา้ ๘. ๑๔ พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชริ เมธี), ๙ มนตเ์ พ่ือความกา้ วหน้า, (กรงุ เทพมหานคร : สถาบนั วมิ ุตตยาลยั ,๒๕๕๓), หน้า ๑๑-๑๒.

๒๑ การสวดมนต์ท่ีกล่าวกันว่า มีบุญมากมีอานิสงส์มาก ก็เพราะว่าส่ิงที่สวดล้วนเป็นหลักธรรมสาคัญของ พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าท้ังส้ิน ย่ิงถ้าผู้สวดมีความรู้มีความเข้าใจในสิ่งท่ีสวดด้วย การสวดมนต์ก็อาจ อานวยผลสูงสดุ เป็นการบรรลภุ าวะพระนพิ พานกย็ งั ได้อีกด้วย การสวดมนต์น้ัน ถ้าสวดเป็นก็เห็นธรรม จากที่ กล่าวมาจึงเป็นอันสรุปได้ว่า การสวดมนต์ก็คือการทรงจาสืบต่อถ่ายทอดเรียนรู้พระธรรมคาส่ังสอนของ พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าน่ันเอง การสวดมนต์ไหว้พระ ได้นิยมมาแล้วต้ังแต่โบราณกาล แม้ในศาสนา พราหมณ์ก็ไดน้ ิยมสวด ดังทเ่ี รียกกันว่า สาธยายมนต์ ร่ายมนต์ เพ่ือความทรงจาพระเวทบ้าง เพื่อเป็นสิริมงคล บ้าง ในทางพระพทุ ธศาสนา กม็ ีการสวดสาธยายเชน่ เดียวกัน การสวดมนต์ ได้เกิดข้ึนต้ังแต่สมัยพระพุทธเจ้ายังดารงอยู่ มีบัญญัติในพระวินัยของพระภิกษุณีก็มี เช่น ห้ามนางภิกษุณี และทรงห้ามพระภิกษุสงฆ์เรียนเดรัจฉานวิชา แต่ให้เรียนพระปริตรปูองกันเหตุเภทภัย ต่างๆ เมื่อมีเหตุการณ์อย่างใดอย่างหน่ึงเกิดข้ึน พระสงฆ์ก็จะใช้สวดสาธยายพระพุทธวจนะนั้นตามสมควรแก่ เหตุการณ์ ดังมเี รือ่ งเลา่ ว่า เม่ือคราวเมืองเวสาลีเกิดโรคระบาดทาให้คนและสัตว์ตายเป็นอันมาก พระอานนท์ ได้ไปยงั ทีน่ ้นั แลว้ สวดรตนสูตรโรคน้ันก็ระงับไปได้ จุดมุ่งหมายของการสวดมนต์น้ันจะเห็นว่า สมัยหนึ่ง พระผู้ มีพระภาคเจ้าทรงประชวรโปรดให้พระจุลทเถระสวดโพชฌงคสูตรถวาย ครั้งหนึ่งพวกภิกษุไปบาเพ็ญสมณ ธรรมอยูใ่ นปาุ ถูกพวกอมนุษย์รบกวนกลับมาเฝูากราบทูลพระผู้มีพระภาค พระองค์โปรดให้สวดกรณีเมตตสูตร แล้วอยู่ต่อไปได้ภัยเหล่านั้นก็ไม่มี หรือเมื่อพระโมคคัลลานะและพระมหากัสสปะเป็นไข้หนัก พระพุทธเจ้าได้ สวดโพชฌงคสูตร ใหส้ ดับท้ังสองท่านก็หายจากโรคภัยไข้เจ็บ อานิสงส์ของการสวดมนต์ไหว้พระ พระอาจารย์ มัน่ ภูรทิ ตั โต ได้มีการเทศนาอย่ตู อนหนงึ่ ในหนงั สือบูรพาจารยท์ ่ที างมูลนธิ พิ ระอาจารยม์ ัน่ ภรู ิทัตโต ได้จัดพิมพ์ ขน้ึ ใจความวา่ การสาธยายพุทธมนต์ใครสวดก็ตาม จะเป็นกิจวัตรของสงฆ์ เช้า–เย็น หรือชาวพุทธทุกคนสวด พุทธคุณ ระลึกในใจ มีอานุภาพ แผ่ไปได้หม่ืนจักรวาล พูดสวดออกพอฟังได้ มีอานุภาพไปได้แสนจักรวาล สวดมนต์เช้า– เย็น ธรรมดามีอานุภาพแผ่ไปได้แสนโกฏิจักรวาล สวดเต็มเสียงสุดกู่มีอานุภาพแผ่ไปได้อนันต จักรวาล แม้สัตว์ที่อาศัยอยู่ในภพที่สุดอเวจีมหานรกยังได้รับความสุข เมื่อแว่วเสียงพุทธคุณผ่านเข้ามาถึง ช่ัวขณะหนึ่งครู่หนึ่ง(ช่ัวช้างพับหู งูแลบลิ้น) ดีกว่าหาสุขไม่ได้ตลอดกาล น้ีคืออานิสงส์ของการเจริญพระพุทธ มนต์ อกี นยั หน่งึ การสวดมนต์การสาธยายมนตห์ รอื คาสอนทางพระพุทธศาสนามีจดุ หมาย ๒ ประการ คือ ๑.การสวดธรรมเพือ่ รกั ษาพระศาสนา การสวดมนต์โดยจุดมุ่งหมายเพื่อรักษาพระศาสนาน้ัน ไม่ใช่แต่จะสวดบทสวดต่างๆเท่านั้น แม้ พระปาติโมกข์ก็ถือว่าเป็นการสวดด้วยเหมือนกัน เพราะการสวดเป็นการเร่ิมจากการสวดพระปาติโมกข์ เพ่ือ สอบทานพระบัญญัติของภิกษุท้ังหลายในวันอุโบสถหลัง๑๕ จากนั้นการสวดจะเป็นไปในลักษณะแสดงธรรม สอนธรรมและการทอ่ งจาพระสูตรทพ่ี ระสาวกทัง้ หลายปฏิบตั ิกันต่อๆมาซ่งึ วิธีการสวดเหลา่ น้ีจะส่งผล ใหผ้ ู้ ปฏบิ ตั เิ กดิ สมาธิดงั ปรากฏในคมั ภรี พ์ ระไตรปฎิ กทีฆนิกายปาฏิกวรรควา่ “เมื่อภิกษุท้ังหลายแสดงธรรม…สอนธรรม…สาธยายธรรมตามท่ีได้ฟังได้เรียนมาแก่ผู้อื่นโดยพิสดาร แล้วเธอย่อมรู้ทั่วถึงอรรถรู้ท่ัวถึงธรรม เม่ือรู้ทั่วแล้วย่อมเกิดปราโมทย์ เม่ือปราโมทย์ย่อมเกิดปีติ เม่ือปีติ กาย ยอ่ มสงบ เม่ือกายสงบย่อมได้เสวยสขุ เม่อื มีสขุ จิตยอ่ มตัง้ มัน่ ”๑๖ ๑๕ สมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ, ตานานพระปรติ ร, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพร์ งุ่ เรือง, ๒๕๑๔), หน้า ๒๐๗. ๑๖ ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๓๒๒/๓๑๓.

๒๒ ดังน้ัน อาจจะกล่าวได้ว่าคาว่า“สวด”หมายถึง แสดงสอนและสาธยายธรรมคือพระพุทธพจน์เพ่ือทรง จาให้ข้นึ ใจด้วยตนเอง และเพ่อื เผยแผค่ าสอนแก่ชนทัง้ หลาย ดังปรากฏหลักฐานการสวดธรรมของพระสาวกใน พระวินัยปิฎกว่า “พระโสณกุฏิกัณณะเถระ สวดอัฏฐกวรรคให้พระพุทธเจ้าฟัง ด้วยทานองสรภัญญะ พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่าเป็นผู้เลิศในการสวดธรรมด้วยเสียงท่ีไพเราะ๑๗ และในพระสุตตันปิฎกล่าวว่านันท มารดาอบุ าสกิ า สวดปารายนสตู รทานองสรภัญญะจนท้าวเวสสุวณั มหาราชเลอื่ มใส”๑๘ อน่งึ การสวดธรรมเปน็ การแสดงสอนสาธยาย เพื่อท่องจาพระธรรมคาสอน เช่นเม่ือพระพุทธเจ้าเสด็จ ดับขันธปรินิพพานแล้ว พระภิกษุสงฆ์ทั้งหลายมีพระมหากัสสปะเป็นประธาน ได้ทาการสังคายนาพระธรรม วินยั เป็นครั้งแรก ซ่งึ การสังคายนาน้ันหมายถึงการสวดพร้อมๆกัน เพ่ือตรวจสอบพระธรรมวินัยให้ลงกันสมกัน จนได้มีการจัดหมวดหมู่พระไตรปิฎกไว้ให้สวดเพื่อจาได้ง่าย และให้พระภิกษุสงฆ์ทรงจาพระธรรมวินัยโดย วธิ กี ารท่องจา หรือเลา่ สบื ตอ่ กันมาดว้ ยวธิ ีทเี่ รียกวา่ มุขปาฐะดังขอ้ ความว่า “ภิกษทุ ง้ั หลายในอดีต มีปัญญามาก ได้นาพระบาลีคือพระไตรปิฎกและอรรถกถาอธิบายพระไตรปฎิกต่อกันมาด้วยมุขปาฐะ” จะเห็นได้ว่า การศกึ ษาเลา่ เรียนพระพุทธพจน์ในคร้ังพุทธกาลน้ัน ใช้วิธีเรียนแบบบอกปากต่อปาก แล้วท่องจาสวดสาธยาย ต่อๆกันมา เรียกว่า “มุขปาฐะ” วิธีเล่าเรียนพระพุทธพจน์ที่เรียกว่า มุขปาฐะน้ี พระสาวกใช้มาตั้งแต่สมัย พระพุทธองคย์ งั ทรงพระชนม์อยู่ โดยแบ่งกันท่องเป็นคณะตามความถนัดของแต่ละบคุคล เบ้ืองต้นพระอุบาลี เถระทาหน้าท่ีทรงจาพระวินัย พระอานนท์เถระทรงจาพระสูตร และพระสารีบุตรเถระทรงจาพระอภิธรรม ภกิ ษผุ ู้ถนดั พระวินยั ก็เรียนพระวนิ ัยจากพระอุบาลเี ถระ ผู้ถนัดพระสตู รกเ็ รียนพระสูตรต่อจากพระอานนท์เถระ ผู้ถนัดพระอภิธรรมก็เรียนพระอภิธรรมต่อจากพระสารีบตุรเถระ แล้วก็ร่วมกันสวดสาธยายเป็นคณะเพื่อ สะดวกตอ่ การสวดสาธยายพระพุทธพจน์ เช่น พระทัพพมัลลบตุร เมื่อจัดท่ีพักให้พระต่างถิ่นซึ่งเดินทางมาฟัง ธรรมจากพระพุทธเจ้า ก็จัดให้พักอยู่เป็นคณะตามความถนัดในการทรงจาพระพุทธพจน์ การสืบต่อพระพุทธ พจน์ดว้ ยวิธที ่องจายังปรากฏวา่ ครั้งหน่ึงพระโสณกุฏิเดินทางจากชนบทห่างไกล มาเฝูาพระพุทธองค์ทรง รับส่งั ใหพ้ ระเถระพกั อยใู่ นพระคนั ธกุฎเี ดียวกบั พระองค์ พอตกดึกจงึ ให้ท่านสวดพระสูตรให้สดับ พระเถระสวด พระสูตรให้พระพุทธองค์สดับถงึ ๑๖ สตู รก็พอดสี ว่าง และเมอ่ื พระพุทธองค์ประชวรก็ได้ให้พระมหาจุนทะสวด โพชฌงคสตู รใหส้ ดบั จนหายจากอาการประชวร ในพระวินัยปิฎกยังระบุว่า ในอาวาสท่ีมีภิกษุจาพรรษาอยู่มากรูป จะต้องให้มีภิกษุสวดปาฏิโมกข์ได้ หนึ่งรูปเป็นอย่างน้อย หากไม่มีจะต้องขวนขวายส่งไปเรียนยังสานักท่ีมีผู้สวดได้ หากไม่ทาเช่นน้ัน ก็จะปรับ อาบัติแก่เจ้าอาวาส เพราะโทษท่ีไม่ใส่ใจ จะให้มีผู้ทรงจาพระปาฏิโมกข์ แสดงให้เห็นว่าสมัยพุทธกาลนั้นได้มี การนาพระพุทธพจนม์ าทอ่ งบนสาธยายกันอย่างกว้างขวางอยแู่ ลว้ นอกจากน้ัน เมื่อพระพุทธองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ พระสารีบุตรเถระได้มีการริเร่ิมจัดหมวดหมู่ พระพุทธพจน์ไว้เป็นแบบอย่างแล้ว เพื่อสะดวกแก่การทรงจา จนเกิดพระสูตรๆหน่ึง ช่ือสังคีติสูตร แปลว่า พระสูตรว่าด้วยการสังคายนาหรือพระสูตรว่าด้วยการจัดระเบียบคาสอนนั่นเอง ภายหลังพระพุทธองค์ ปรินิพพานได้ ๓ เดือนได้มีการจัดระเบียบแบบแผน การทรงจาคาสอนใหม่อย่างเป็นระบบ เรียกว่า การสังคายนาโดยพระอรหนั ต์ ๕๐๐ รูป มพี ระมหากัสสปเถระเป็นประธาน และได้มมี ตจิ ะรักษาพระพุทธพจน์ ที่จัดระเบียบไว้แล้วด้วยวิธีมุขปาฐะหรือวิธีท่องจา ภายหลังพระพุทธองค์ปรินิพพานประมาณ ๔๕๐ ปี จึงได้มี ๑๗ วิ.ม. (ไทย) ๕/๒๕๘/๓๖. ๑๘ องฺ.สตตฺ ก. (ไทย) ๒๓/๕๓/๙๒–๙๓.

๒๓ การบันทึกพระพุทธพจน์เป็นตัวหนังสือท่ีลังกาทวีป สาเหตุมาจากบ้านเมืองมีความผันผวนอันเกิดจากสภาวะ สงคราม จึงยากแก่การทรงจาพระพุทธพจน์ร่องรอย๑๙ การทรงจาพระพุทธพจน์ด้วยวิธีมุขปาฐะท่ีพระสงฆ์ สาวกใช้มาต้ังแตพ่ ระพุทธองค์ยังทรงพระชนม์อยู่น้ัน ปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน เช่นการสวดพระปาติโมกข์ทุก ๑๕ วันเพ่ือทบทวนสิกขาบท ๒๒๗ ข้อของพระภิกษุ การเจริญพระพุทธมนต์ในโอกาสต่างๆ และการทาวัตร สวดมนต์ของพุทธบริษัท การสวดพระปริตรเพ่ือคุ้มครองปูองกันอันตรายตามที่กล่าวมา บทสวดมนต์ทั้ง ๑๑ บทน้ัน จะมีเนื้อหาท่ีกาจัดภัยอันตราย โรคภัยต่างๆ ในครั้งพุทธกาล คงเป็นแต่บริกรรมหรือพร่าบ่นภาวนา เฉพาะตัวเพื่อความคุ้มครองปูองกันตนเอง ดังปรากฏในพระสุตตันตปิฎกอังคุตตรนิกายว่า “เม่ือภิกษุรูปหนึ่ง ถกู งูกดั มรณภาพ จึงมีพุทธานุญาตให้แผ่เมตตา ไปยังพญางูท้ัง ๔ ตระกูล เพ่ือเป็นการคุ้มครองปูองกันตนเอง ปรากฏในพระสุตตันต๒๐ปฎิกชาดกวา่ “นกยูงทองคา ทาพระปริตรคุ้มครองตนเองโดยใช้คาว่า ร่ายวิชชาหรือ ร่ายวิทยามนต์”๒๑ หรือในอรรถกถา ได้กล่าวถึงวิธีสวดพระปริตรว่าเป็นการกล่าวบริกรรม ดังนั้น การสวด ปริตรจงึ เป็นไปในลกั ษณะการกลา่ วบรกิ รรมพรา่ บ่นและการกลา่ วธรรมดังกลา่ ว การสวดพระปรติ รในความเข้าใจของคนทั่วไป คอื ๒๒การสวดมนตท์ าวัตรเช้าเยน็ ธรรมดาน่ีเอง แต่การ สวดมนต์ดังท่ีปรากฏในหนังสือสวดมนต์ฉบับหลวงน้ัน มีความหมาย ๒ นัย ความหมายแรก คือ พระภิกษุ สามเณรทาวัตรสวดมนต์ เช่า เย็น มีลักษณะสืบเนื่องจากประเพณีการรักษาพระศาสนา ต้ังแต่สมัยที่สมเด็จ พระสัมมาสมั พุทธเจา้ ปรนิ ิพพาน พระพุทธองค์ไดม้ อบธรรมวนิ ยั ใหเ้ ปน็ ศาสดาแทนพระองค์ ความหมายท่ีสอง ความหมายของพระปริตร พระปริตรหรือคาในบาลีปริตฺตะ มีความหมายตามรูปศัพท์ว่าการปูองกันรักษา คุ้มครอง พระสงฆ์เลือกสวดบทท่ีเป็นการปูองกันรักษาและคุ้มครองผู้ฟัง นามาสวดพร้อมๆ กันโดยมีหลักการ สวด ๓ ประการคือ ประการท่ี ๑ เพื่อปูองกันภัยพบิ ัติทงั้ หลาย ประการที่ ๒ เพื่อความสาเร็จแหง่ สมบตั ิทั้งปวง ประการท่ี ๓ เพ่ือกาจัดทุกข์ภัยและโรคท้ังหลาย รวมความว่าวัตถุประสงค์ในการอาราธนาให้พระสงฆ์สวดพระปริตร ก็คือเพื่อปูองกันรักษาและกาจัด ปูองกันภัยพิบัติที่ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดข้ึน กาจัดส่ิงไม่ดีที่เกิดขึ้นแล้ว ไม่ว่าจะเป็นทุกข์โศกโรคภัยให้นิราศ ปราศจากไป และกล่าวในทางบวก ก็คอื ให้ไดใ้ นสิง่ ที่ปรารถนาทัง้ ปวง ถ้าไดม้ าแลว้ กร็ ักษาไว้ให้ โดยคาว่าพระปริตรน้ัน แปลว่า ความต้านทาน, เคร่ืองปูองกัน๒๓ซ่ึงความต้านทานหรือปูองกันนี้ หมายถึง ปอู งกันอุปัทวันตรายทั้งหลาย มีเหตุอันเกิดจากกรรม (เล็กน้อย) หรือเหตุอันเกิดจากอมนุษย์หรือภัย ธรรมชาตติ า่ งๆ เป็นตน้ ๑๙ พระมหาเทดิ ญาณวชิโร (วงศช์ ะอุม่), พทุ ธานุภาพ, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์เพลสแอนดด์ ไี ซด์ จากัด, ๒๕๔๙), หน้า ๒๐๗. ๒๐ องฺ.จตกุ ก. (ไทย) ๒๑/๖๗/๑๑๐–๑๑๒. ๒๑ ข.ุ ชา. (บาล)ี ๒๗/๑๗/๒๖. ๒๒ พระพรหมบัณฑั ิต, (ประยูร ธมมฺ จติ ฺโต), ลขิ ติ ธรรม, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ,๒๕๕๖), หนา้ ๓๐๐. ๒๓ ธนติ อยู่โพธ,ิ์ อานุภาพพระปรติ ต์, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาจฬุ าลงราชวิทยาลัย,๒๕๓๗), หนา้ ๓๑.

๒๔ ความหมายของคาวา่ ปริตร นั้นได้มีผู้ให้อรรถวิเคราะห์ไว้ว่าท่ีเรียกว่า ปริตตะ เพราะมีวิเคราะห์ว่าส่ิง ที่ปูองกันรักษาความกลัวอันตรายและอุปสรรคของสัตว์ทั้งหลาย โดยรอบเพราะความมีเดชานุภาพ มากจาก ความหมายทั้งหมดท่ีกล่าวมา เราจะพบว่าคาว่าปริตร หมายถึงบทสวดมนต์ท่ีมีอานาจหรืออานุภาพในการ ต้านทานอุปัทวันตรายต่างๆ ได้สามารถช่วยหรือก่อให้เกิดความสาเร็จ อันเป็นมงคลหรือความผาสุกได้มี ลักษณะของความเป็นเวทมนต์คล้ายๆ บทสวดมนต์ของพราหมณ์ แต่จะไม่มีเหตุอันมุ่งหมายให้ร้ายผู้อื่น เพราะพระปริตรธรรมของพระพุทธศาสนานั้น เป็นพุทธวจนะอันอุดมไปด้วยสัจจะและความเมตตาท่ีจะทาให้ อุปัทวันตรายตา่ งๆ พ่ายแพไ้ ปได้ อยา่ งไรก็ตาม เราจะพบว่าอิทธิพลของพระปริตตธรรมหรือการสวดมนต์ เพ่ือคุ้มครองชีวิตของมนุษย์ นน้ั มไิ ดเ้ จริญแพร่หลายเฉพาะในอินเดยี เท่านัน้ เมอื่ พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่ไปยังดินแดนต่างๆ ความนิยมใน เร่ืองปริตรก็แพร่ไปตามด้วย ดังเช่น ในประเทศศรีลังกา สมัยท่ีพระพุทธโฆษาจารย์ได้เข้าไปแปลอรรถกถา ท่ีศรีลังกา ในสมัยพระเจ้ามหามานะระหว่างปี พ.ศ. ๙๕๓- ๙๗๕ โดยได้แต่งอรรถกถาอธิบายเร่ืองพระปริตร ธรรมเอาไว้ จึงเห็นได้ว่าก่อนหน้าท่ีพระพุทธโฆษาจารย์จะเข้ามาลังกาน้ัน ความเช่ือในเรื่องปริตรธรรมก็ยังมี ปรากฏอยูแ่ ล้ว เพียงแต่ท่านไดอ้ ธบิ ายเพิม่ เตมิ ไว้เท่านั้น นอกจากนั้นยังมีอีกหลายตานาน ท่ีแสดงให้เห็นว่าชาวลังกาได้นาเอาพระปริตรมาแก้ไขปัญหา อปุ ัทวนั ตรายตา่ งๆ ตามนัยท่ีปรากฏในพระไตรปฎิ กเร่อื ยมา ซงึ่ มผี ใู้ หข้ อ้ สนั นษิ ฐานวา่ ความนิยมในการคัดเลือก เอาพระสูตรสาคัญๆ จากพระไตรปิฎกมาพัฒนาหรือนามาเพ่ือใช้เป็นพระปริตร ด้วยเข้าใจว่าพระสูตรท่ี พระพุทธองคท์ รงแสดงไวน้ ั้น สามารถจะนามาเปน็ มนต์หรือเครอื่ งตา้ นทานตามนัยของคาวา่ ปริตรได้ นอกจากน้ันยงั มที รรศนะท่เี พ่มิ เติมจากข้อเสนอแนะดังกลา่ วว่า การท่ีพระปริตรได้รับความนิยมและมี การสวดอย่างแพร่หลายในลังกา ลงั กาไดน้ าเอาความคดิ เกีย่ วกบั พระปริตรมาใช้ ก็เพราะมีสาเหตุมาจากการที่ ชาวลังกา (คนเมือง) ได้อาศัยอยู่ร่วมเกาะเดียวกันกับกลุ่มชาวทมิฬ ซึ่งคนทั้ง ๒ เช้ือชาติน้ีไม่ถูกกันและจะทา การก่อสงครามกันอยู่เป็นประจา ดังนั้นชาวลังกาจึงได้นิมนต์พระภิกษุสงฆ์เข้ามาสวดพระปริตร เพ่ือท่ีจะได้ แก้ไขปัญหาดังกล่าวให้คลี่คลายไป หรือเพื่อจะช่วยให้จิตใจมีความมั่นคงได้ทรรศนะดังกล่าวน้ี พยายาม ชีใ้ ห้เหน็ วา่ เนอ่ื งจากสภาพสงั คมการเมืองของศรีลังกาน้ันมีความไม่มั่นคง ดังนั้น ประชาชนจึงต้องพึ่งพระสงฆ์ และอ้างองิ เอาพระสตู รต่างๆ ท่ีปรากฏในพระไตรปฎิ กนน้ั มาเปน็ เคร่อื งตา้ นทานเพ่ือให้ตนเองได้รับความมั่นใจ หรืออันจะสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นได้ ส่วนในประเทศไทยได้รับอิทธิพลของการสวด พระปริตรนี้ จากลังกาคร้ังกรุงสุโขทัย ครั้งรับเอาพระพุทธศาสนานิกายหินยานแบบลังกาวงศ์เข้ามา เพราะ พิธีกรรมหรือความเชื่อเก่ียวกับพระพุทธศาสนาย่อมเป็นของคู่กันดังนั้น ชาวสุโขทัยน่าจะได้รับอิทธิพลหรือ ความเชื่อเก่ียวกับการสวดพระปริตรแบบลังกา ก่อนท่ีจะแพร่หลายในยุคต้นๆ มาจากข้อความท่ีกล่าวมา ทัง้ หมด สรุปได้วา่ คาวา่ สวดมนต์ หมายถึง การท่องบ่น การแสดง หรือการสาธยายพุทธพจน์หรืออาจจะกล่าว ไดว้ า่ การเจริญพทุ ธพจน์นั่นเอง ๒.๓ ประวตั ิและพัฒนาการของการสวดมนต์ การกาเนิดของการสวดมนต์ ได้แสดงถึงจุดเริ่มต้นของพิธีสวดมนต์ท่ีมีความหมายต่อพุทธศาสนิกชน เป็นอย่างยิ่ง ทาให้ความเช่ือถือและศรัทธาของประชาชน นาไปสู่การปฏิบัติท่ีหลากหลายย่ิงขึ้น ตอนน้ีจะ กลา่ วถงึ ความเป็นมาพัฒนาการของพิธีสวดมนต์หลังพุทธปรินิพพาน ดังมีข้อมลูในคัมภีร์ช้ันอรรถกถาและฎีกา

๒๕ ที่กล่าวถึงความแพร่หลายของพิธีสวดมนต์ในฐานท่ีเป็นพิธีกรรมทางศาสนาโดยจะถือเอาลา ดับวันเวลาของ คัมภีรต์ ามทบี่ ันทกึ ไว้ เพราะการเกิดข้ึนของคมั ภรี แ์ ต่ละเลม่ จะแสดงพฒั นาการของการสวดมนต์ได้ ดังตอ่ ไปน้ี ๒.๓.๑ คมั ภีรส์ ตุ ตันตปฎิก คมั ภีร์พระสตู รได้กล่าวถึงสตู รต่อไปน้ี คือ เมตตสตู ร ขนั ธสูตร โมรสตู ร อาฏานาฏิยสตู ร โพชฌงคสูตร รตั นสตู ร วัฏฏกสูตร มงั คลสตู ร ธชคั คสูตร องั คลุ ิมาลสตู ร ธมั มจกั กัปปวัตตนสตู ร ในคัมภรี ์พระวินัยปฎิกและ สตุ ตนั ตปฎิก ซงึ่ จะวิเคราะหใ์ นเน้ือหาของบทสวดข้างหน้าตอ่ ไป ๒.๓.๒ คัมภีร์มิลนิ ทปญัหา (พุทธศตวรรษท่ี ๕) คัมภีรม์ ลิ ินทปญั หาคัมภรี ์ ท่ีท่านติปิฎกจูฬาภยเถระ รวบรวมการปุจฉาวิสัชชนาของท่านพระนาคเสน และพระเจ้ามิลินท์ บันทึกไว้เมื่อราว พ.ศ. ๕๐๐ มีการกล่าวถึงพระสูตร ๖ พระสูตร คือ รัตนสูตร ขันธสูตร โมรสตู ร ธชัคคสตู ร อาฏานาฏิยสูตร และองั คลุ มาลสูตร ว่าเป็นพระพิธีสวดมนต์ท่ีพระพุทธองค์ทรงรับรองและ มลิ นิ ทปัญหา ยงั กลา่ วถึงปัญหาอันเป็นท่ีสงสัยต่อความศักดิ์สิทธิ์ของอานุภาพพุทธองค์ ซ่ึงพิธีสวดมนต์ได้สร้าง ผลกระทบต่อสังคมในฐานะท่ีเป็นความเชื่อ อันมีประสิทธิภาพในการเสริมสร้างสันติภาพและการคุ้มครองให้ ม่นั คงทั้งแก่ตนเองและสังคมอยา่ งไร ดังคาถามในมิลินทปญั หา ๓ ประเดน็ ท่สี มเด็จพระเจ้ามิลินทต์ รสั ถามคอื ๑. พิธสี วดมนต์สามารถปูองกันความตายไดห้ รือไม่ ๒. พิธสี วดมนต์มปี ระสทิ ธิภาพได้อย่างไร ๓. พิธีสวดมนต์ใช้ได้ผล เม่ือใดและเม่ือใดทีใ่ ช้ไม่ได้ผล๒๔ จากคาถามท่ีน่าสนใจนี้ มีเหตุผลพอที่จะคาดได้ว่า พิธีสวดมนต์ได้กลายเป็นพิธีกรรมทางศาสนาเพื่อ การรักษาและการปูองกัน ผู้ที่เช่ือถือตามเหตผุ ลต่างกย็ ังคงมีข้อสงสัยต่อความสัมพันธ์ระหว่างพิธีสวดมนต์และ กรรมดังนั้น จึงมีคาถามว่าพธิ สี วดมนตส์ ามารถจะขับไล่ความตายได้หรือไม่ และหากทาได้จะทาได้อย่างไร ผู้ มีความสงสัยจึงได้พากันสืบค้นกลไกของการปฏิบัติงานของพิธีสวดมนต์ แต่ดูเหมือนว่าคนผู้ซ่ึงได้สวดมนต์จะ ได้รับผลตามความเชื่อในประสิทธิภาพของพิธีสวดมนต์บ้าง ผู้ที่ปรารถนาจะรู้ว่าภายใต้สถานการณ์เช่นใด พิธี สวดมนต์จงึ มผี ลและไมม่ ผี ล การแสวงหาคาตอบพรอ้ มกับคาอธบิ ายทางประเพณีนยิ ม ที่ได้ให้ไว้แสดงให้เห็นว่า พิธีสวดมนต์ได้กลายเป็นพิธีกรรมทางศาสนาท่ีประกอบข้ึนในช่วงเวลาที่วิกฤติ ท่ีผู้มีความต้องการพ้นทุกข์ที่ กาลังประสบต่างก็ตอ้ งการดงั นน้ั ปญั หาท้ัง ๓ ประการทา่ นนาคเสนจงึ ตอบไวม้ ี ดงั นี้ ๑. พธิ ีสวดมนตส์ ามารถปูองกันความตายท่ียังไม่ถึงเวลาได้ เปรียบเหมือนข้าวต้นอ่อนต้องหมั่นรดน้า จงึ จะงอกงามมสี ีเขียวชอุ่มได้ ๒. พิธีสวดมนต์มีประสิทธิภาพได้ ด้วยการสวดภาวนาและผู้สวดต้องไม่มีกรรมมาขัดขวางไม่มีกิเลส เกดิ ขึ้นในขันธสันดานและตอ้ งมีจติ เชอ่ื มนั ในประสิทธิภาพ ๓. พิธีสวดมนต์ก็เปรียบเหมือนยา มีประโยชน์ท้ังการปูองกันและรักษา ดังนั้นในขณะที่อันตรายจะ เกิดหรือไมก่ ใ็ ชไ้ ดผ้ ล แต่จะใช้ไมไ่ ด้ผลเมอ่ื บคุคลที่ใช้เป็นคนทศุ ีล (รักษาศลี ไมไ่ ด)้ สวดมนตเ์ ปน็ ยาทา๒๕ ถือว่ายาทา เป็นยารักษาโรคท่ีเจ็บปวดภายนอกเท่าน้ัน การสวดมนต์เป็นเพียง การกล่าววาจาท่ีดีเป็นสิริมงคลต่อวาจาผู้สวด ถ้าผู้ใดสวดสวดมนต์ได้นานๆ ก็ทาให้ผู้นั้นมีสมาธิ ถ้าเข้าใจว่า บทที่สวดน้ันแปลว่าอะไร ก็จะรู้ว่าบทน้ันสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอนให้ประพฤติปฏิบัติอย่างไร ๒๔ มลิ นิ ทฺ ปหํ า, (ไทย) ๔/๑๖๓–๑๖๖. ๒๕ พระธรรมสิงหบรุาจารย,์ (หลวงพ่อจรัญ ฐติ ธมฺโม), สวดมนตเ์ ป็นยาทาวปิ สั สนาเปน็ ยากนิ .(วดั อัมพวันจ.สงิ หบ์ รุ ี ttp://www.jarun.org/dhamma02.php),เข้าถึงข้อมลู ๙ พ.ย.๒๕๕๖.

๒๖ ถา้ สวดแลว้ ไม่ไดน้ าบทสวดน้ันมาพจิ ารณาและปฏิบตั ติ ามก็จะไมเ่ กิดประโยชน์กับผู้สวดมากนัก เป็นเพียงทาให้ จิตเป็นสมาธิเท่าน้ัน หมายความว่า การสวดมนต์นั้นไม่สามารถท่ีจะนาไปชาระกิเลสให้เบาบางลงได้เลย เปน็ เพียงทาใหเ้ กดิ สมาธเิ ทา่ นั้น หาใช่ทาให้เกิดปัญญาอันรอบรู้เพ่ือความหลุดพ้นได้ไม่ บางคนคนสวดกลับทา ให้เกดิ โทษดว้ ยซ้าไป ถ้าสวดมนต์ได้หลายๆ บทก็จะเขา้ ใจผิดคิดวา่ ตวั เองเก่ง รู้มากกว่าผู้อ่ืนเข้าใจว่าได้บุญมาก สามารถช่วยใหไ้ ด้ไปสวรรค์ ไปนพิ พานได้ แท้ท่ีริงแล้วบทสวดต่างๆ เป็นคาสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า สอน ให้พุทธศาสนิกชนทงั้ หลายปฏิบัตติ ามเพ่อื ใหร้ ้จู กั ตนเอง ว่าเกิดมาแล้วเป็นทุกข์เพราะมีกิเลส ความโลภ ความ โกรธ ความหลง ครอบงาจิต ถ้าจะไปนิพพานจะต้องชาระกิเลสความโลภ ความโกรธความหลง ให้หมดสิ้น ไปจากจติ ใจ เพราะฉะนนั้ ถ้าสวดอย่างเดียว หาใช่ทาให้ผู้สวดมนต์เข้าสู่นิพพานได้ไม่ ถ้าสวดแล้วไปประกอบ กรรมชั่ว ประพฤติผิดศีล ผิดธรรม แม้แต่สวรรค์ยังไปไม่ได้เพราะกรรมช่ัวจะพาผู้น้ันลงนรก นี้คือความหมาย ของคาว่า “สวดมนต์เป็นยาทา” สวดภาวนาเป็นยากิน คือ ภาวนาคือการฝึกจิตให้อยู่กับบทภาวนาบทใดบท หนึง่ เมือ่ ฝึกสมาธบิ ่อยๆ และนานๆ จะทาให้สติมีพลัง สามารถควบคุมจิตให้อยู่ท่ีเดียวได้ ทาให้จิตสงบอยู่กับ บทภาวนาจิตไม่ฟูุงซ่านชั่วขณะหน่ึงเท่าน้ัน เมื่อออกจากการภาวนาแล้ว จิตก็จะถูกกิเลส ความโลภ ความ โกรธ ความหลง ครอบงาเหมือนเดิม แม้กระทั้งผู้ท่ีสามารถเข้าฌานได้ คือ จิตสงบนิ่งเป็นอารมณ์เดียว มี อิทธฤิ ทธป์ิ าฎิหาริย์ แต่เมอ่ื จิตออกจากฌานแล้ว จิตก็จะถูกกิเลสความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงา เหมือนเดิม อันที่จริงผู้ท่ีปฏิบัติภาวนา เมื่อจิตสงบแล้วใช้สติปัญญาพิจารณาคาสอนขององค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าใหเ้ หน็ วา่ เรามกี เิ ลส เป็นเคร่ืองครอบงาจิตจึงหาทางปฏิบัติตามคาสอนเพ่ือชาระกิเลสให้หมด ส้ินไปจิตเปรียบเหมือนเราปุวยเป็นโรคแล้วต้องกินยาติดต่อกัน โรคจึงจะหายการชาระกิเลสให้หมดไป ก็ต้อง พจิ ารณาธรรมใหร้ ู้แจง้ โดยการวิปัสสนานี้ คอื ความหมายของคาว่า “ภาวนาเป็นยากนิ ” การฟังธรรมเป็นยาฉีด คือ การฟังธรรมแล้วเกิดปัญญารู้แจ้งเห็นจริงตามคาสอนในบทนั้น การฟัง พระธรรมคาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจากพระอริยสงฆ์ ครูบาอาจราย์ และผู้รู้แจ้งแตกฉาน ในธรรม การฟังธรรมจะใหไ้ ดผ้ ลดี จะต้องมีสติควบคุมจิตให้อยู่กับเสียงครูบาอาจารย์ว่าท่านสอนเรื่องอะไร ใช้ สติปญั ญา พิจารณาคาสอนในบทนน้ั ๆ ให้เขา้ ใจแล้ว นาไปปฏิบัติตามเพ่ือความรู้แจ้งเห็นธรรมตามคาสอนของ พระพุทธองค์การเป็นโรคต่างๆ ต้องได้รับการรักษาด้วยการทาการกิน การฉีดยา แล้วจึงจะหาจากโรคฉันใด เปรยี บเหมือนการสวดมนต์ การภาวนา การฟังธรรม เพื่อให้เกิดสติปัญญามาชาระกิเลสความโลภ ความโกรธ ความหลง ให้หมดส้ินไปในจิตใจ ฉันน้ันนี้เป็นตัวอย่างของคาสอน ผู้ใดปฏิบัติได้ก็จะหมดทุกข์ในเรื่องเหล่าน้ี เปรียบเหมือนผู้ท่ีปุวยเป็นโรคใด โรคหน่ึงและได้รับการฉีดยา โรคนั้นก็จะทุเลาและหายในที่สุด นี้คือ ความหมายของคาว่า “ฟังธรรมเป็นยาฉีด” ดังบทท่ีกล่าวมานี้ คือ สวดมนต์เป็นยาทา ภาวนาเป็นยากิน ฟัง ธรรมเป็นยาฉีด คาสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเปรียบเหมือนยารักษาโรค ถ้าผู้ใดรู้ว่าเป็นโรคอะไรเช่น โรค โกรธ โรค โลภ โรคหลง ขอให้ท่านเลือก คาสอนใหถ้ กู กับโรคมารกั ษากายใจให้คลายทุกข์ ๒.๓.๓ คมั ภรี ์ปรมตั ถโชตกิ า (อรรถกถาขทุ ทกปาฐะ) คัมภีร์ปรมัตถโชติกาเป็นคัมภีร์อรรถกถาท่ีท่านพระพุทธโฆสเถระแต่งไว้ราว พ.ศ.๙๗๒–๑๐๐๐ ซึ่ง พรรณนาอธิบายความในพระสูตรของคัมภีร์ขุททกปาฐะ มีตอนท่ีพรรณนารัตนสูตรที่อธิบายถึงต้นกาเนิดของ พิธีสวดมนต์ว่า พระพุทธองค์ทรงบัญชาให้พระอานนท์สวดรัตนสูตรไปตามถนนของเมืองและประพรมน้าจาก บาตรของพระองค์เพื่อปูองกันเมืองเวสาลีให้พ้นจากทุพภิกขภัยโรคระบาด และอานาจของภูตผีปีศาจ ภูตผีท่ี ถกู น้ามนตก์ ็กระเจงิ หนีไปและภัยก็สงบระงับ จากนั้นประชาชนก็ได้สร้างหอประชุมไว้ในเมือง เจิมด้วยน้าหอม ผูกผ้าม่านไว้เบ้ืองบนประดับตกแต่งอย่างอลังการ และจัดท่ีประทับไว้สาหรับพระพุทธเจ้า หลังจากที่ พระพุทธเจ้าทรงประทับน่ังบนอาสนะด้วยพระองค์เองแล้วเหล่าภิกษุราชวงศ์และประชาชนทั่วไปก็เลือกนั่ง

๒๗ ตามสมควรทา้ วสักกะเทวราชเสด็จมาถึงที่ประชุม พร้อมด้วยเหล่าเทวดาผู้ติดตามมาพระอานนท์ก็เข้าร่วมการ ชุมนมุ นี้ด้วย พร้อมกบั คณะฟูอนราพื้นเมืองหลังจากปกปูองรักษาเมืองให้ปลอดภัยด้วยการสวดรัตนสูตรนี้เป็น เวลา ๗ วันต่อเน่ืองกันพระองค์ทรงอนุญาตให้ทาพิธีสวดมนต์เพ่ือปูองกันภัยพิบัติเช่นน้ีในอนาคตกาล โดยใช้ เคร่ืองมือประกอบพิธีกรรมท่ีใช้ในพิธีกรรมท่ีสาคัญท่ีสังเกตได้ในเร่ืองน้ีคือน้ามนต์และห้องประชุมอันประดับ ประดาแลว้ อันมีผา้ ม่านผูกไว้และมีการสวดตอ่ เน่ืองกันเป็นเวลา ๗ วนั ๒.๓.๔ คัมภรี ธ์ ัมมปทัฏฐกถา (อรรถกถาขทุ ทกนิกายธมั มบท) คัมภีร์ธัมมปทัฏฐกถา เป็นคัมภีร์ท่ีท่านพระพุทธโฆสเถระแต่งไว้ เมื่อราว พ.ศ.๙๗๒–๑๐๐๐ ซึ่ง พรรณนาอธิบายความพระสูตรของคัมภีร์ขุททกนิกายก็เป็นหลักฐานอีกช้ินหน่ึงที่กล่าวถึงพัฒนากา รของพิธี สวดมนต์ โดยบนั ทกึ ไวว้ า่ พระพุทธเจา้ ทรงแสดงอบุ ายเพ่ือปูองกนั ความตายอันยงั ไม่สมควรแก่อายุของบุตรของ พราหมณ์คนหนึ่งพระองค์ทรงวางอุบายให้พราหมณ์สร้างมณฑปตรงทางเข้าบ้าน ตั้งท่ีน่ังเล็กๆไว้ตรงกลาง มณฑปจดั ที่น่งั ๘ หรือ ๑๖ ทไ่ี ว้รอบๆและนมิ นต์ภกิ ษมุ านั่งบนอาสนะเหล่านั้นและสวดพิธีสวดมนต์เป็นเวลา ต่อเน่ืองกัน ๗ วัน หลังจากที่จัดเตรียมการท้ังหมดตามคาแนะนาของพระพุทธ เจ้าแล้วจะให้เด็กน่ังลงที่น่ัง ตรงกลางพระภิกษุน่ังรอบๆเด็กและสวดพิธีสวดมนต์เป็นเวลา๗วัน๗คืนโดยไม่มีการหยุดพัก ในคืนที่ ๗ พระ พุทธองค์ก็ทรงเข้าร่วมการสวดด้วยยักษ์ชื่อว่าอวรุทธกะ มาที่บ้านหวังจะจับเด็กไปก็จะไม่ได้โอกาสเพราะใน ขณะน้ัน พระพุทธเจ้า และพระสาวกทั้งหลายกาลังทาพิธีสวดมนต์อยู่ จากน้ันยักษ์ก็จากไปด้วยความผิดหวัง เด็กจงึ ปลอดภยั มีชีวิตอยู่สขุ สาราญยนื ยาวนานและไดช้ ่อื วา่ “อายุวัฒนกมุ าร”๒๖ ๒.๓.๕ คมั ภีรส์ มุ ังคลวลิ าสนิ ี (อรรถกถาทีฆนิกาย) คัมภีร์สุมังคลวิลาสินีเป็นคัมภีร์ท่ีท่านพระพุทธโฆสเถระแต่งไว้ในราว พ.ศ.๙๗๒–๑๐๐๐ เหมือนกันมี ข้อความตอนพรรณนาอาฏานาฏิยสูตร๒๗ ที่บรรยายภาพของพิธีสวดมนต์อันเป็นพิธีกรรมในแง่มุมของ ความสาคญั ของพิธีสวดมนตด์ งั ต่อไปนี้ “ขอ้ ปฏิบตั ิเบ้ืองตน้ ในการทาพธิ ีสวดมนต์อาฎานาฏิยสูตร ไม่ควรนามา สวดก่อนเมตตสูตร ธชัคคสูตรและรัตนสูตรเหล่าน้ี พึงนามาสวดเป็นเวลา ๗ วัน” หลังจากนั้นถ้าปศีาจ ปลดปลอ่ ยผเู้ คราะห์ร้ายแล้ว ก็เป็นการดีหากยังไม่ปล่อยจึงค่อยสวดอาฏานาฏิยสูตร ภิกษุซึ่งสวดอาฏานาฏิย สูตรไม่ควรฉันอาหารทาด้วยแปูงหรือเน้ือและไม่ควรอยู่อาศัยในปุาช้าเพราะปีศาจ (อมนุษย์) อาจได้โอกาสทา รา้ ยได้ สถานท่ีสาหรับพธิ ีสวดมนตค์ วรทาให้สะอาดโดยการฉาบทาด้วยมลู วัว อาสนะอันสะอาดควรจัดเตรียม ไว้ใหพ้ ระไดน้ ่ังเมอื่ นาพระภิกษุออกมาจากวดั เพ่ือสวดมนต์พงึ มีบรุ ษุ ถือโล่และอาวุธแวดล้อมไม่พึงสวดมนต์ในที่ โล่งแจ้งพึงปิดประตูหน้าต่างแล้วสวดโดยมีบุรุษยืนแวดล้อมภิกษุผู้สวดมนต์ต้องตั้งเมตตาไว้ในใจอันดับแรก อุบาสกอุบาสิกาพึงรับศีล ๕ แล้ว พระสงฆ์พึงสวดมนต์ ถ้าหากผู้เคราะห์ร้ายยังไม่ถูกปีศาจปลดปล่อยโดยวิธีนี้ พึงให้เขานอนลงบนฐานเจดีย์ต้องมีการจัดที่นั่งไว้ที่นั้นตะเกียงน้ามันพึงจุดไว้และพ่ึงเช็ดฐานเจดีย์ให้แห้ง จากน้ัน จึงสวดมังคลสูตร หมดแห่งภิกษุพึ่งถูกนิมนต์มาประชุมกัน จากนั้นพึงกล่าวกับปีศาจดังนี้ “มีต้นไม้ เก่าแก่อยู่ที่ลานวัด หมู่สงฆ์หวังให้ท่านไปถึงท่ีนั้น” ปีศาจก็จะถูกบังคับให้ไปหาหมู่สงฆ์จากนั้นผู้เคราะห์ร้ายผู้ ซง่ึ ถกู ปีศาจครอบงาถูกถามว่า“ท่านช่ืออะไร” เม่ือปีศาจบอกชื่อออกมา ควรเรียกช่ือของปีศาจฉะนั้น บุญกุศล อันเกิดจากถวายเคร่ืองหอมดอกไม้อาสนะและส่ิงของอันเป็นทานจงมีแก่ท่าน มหามังคลคาถาพึงสวดขึ้นเพื่อ อวยพรท่านด้วยความเคารพท่ีมฏก พระสงฆ์ ขอท่านจงปล่อยผู้เคราะห์ร้ายเถิดถ้าหากปีศาจยังไม่ปล่อยพึง ๒๖ ข.ุ ข.ุ อ.(ไทย)๗/๘๘/๑๑๕. ๒๗ ท.ี ม.(ไทย)๓/๒๘๑/๑๖๑–๑๖๒.

๒๘ กล่าวบอกแก่เทพเจ้าว่า “ท่านทราบหรือไม่ว่าปีศาจตนนี้ไม่มีความอ่อนน้อมต่อพวกเราฉะน้ันพวกเราจะถือ ตามคาสั่งของพระพุทธเจ้า” ดังนั้นจึงควรสวดอาฏานฏิยสูตร น้ีเป็นข้อปฏิบัติเบื้องต้นสาหรับอุบาสกอุบาสิกา ถา้ หากวา่ กลายเป็นภกิ ษุทถี่ กู ปีศาจสงิ แล้วอาสนะท้งั หลายพึงได้รับการทาความสะอาด มาลัยดอกไม้เป็นต้นพึง แสดงแกป่ ศีาจและพงึ สวดพิธีสวดมนตน์ ี้เปน็ ข้อปฏิบัตเิ บอ้ื งต้นสาหรับภิกษุทั้งหลาย คมั ภรี น์ แ้ี สดงให้เหน็ ถงึ พฒั นาการอย่างชัดเจนของ พิธีสวดมนต์ต่อจากพิธีกรรมท่ีได้อธิบายไว้ในเร่ือง เมอื งเวสาลแี ละทฆี ายกุ มุ ารท่ีกลา่ วว่าพิธีสวดมนต์ ๗ วัน อาฏานาฏิยสูตรจะถูกสวดในฐานเป็นที่พึ่งสุดท้าย ซ่ึง ขัน้ ตอนเบื้องต้นของพิธีกรรมนั้นจะมีการอัญเชิญเทวดาคือการส่งสารแก่เทวดาและในขั้นตอนสุดท้ายจะมีการ ส่งเทวดา (ซ่ึงเป็นเหตุให้มีบทสวดมนต์อัญเชิญเทวดาและบทสวดมนต์ส่งเทวดาคืออุยโยชน์คาถาที่จะกล่าวใน บทต่อไป) โดยมีสิ่งท่ีใช้บูชาเช่นเครื่องหอมมาลัยดอกไม้และตะเกียงน้ามัน ถูกนามาใช้จึงเป็นที่เด่นชัดว่าพิธี สวดมนต์กาลังเร่มิ เขา้ มาแทนทพ่ี ิธีกรรมอันลกึ ลบั ต่างๆ ทั้งหลายได้ ๒.๓.๖ คัมภีรม์ หาวังสะ (พุทธศตวรรษท่ี ๑๐) คัมภีร์มหาวงศ์ เป็นคัมภีร์ที่มีผู้แต่งหลายท่านได้แก่มหาวงศ์ภาคท่ี๑ พระมหานามเถระแต่งไว้ โดย อาศยั การแปลรวบรวมจากอรรถกถาภาษาสิงหล เป็นข้อมูล ๔๔ ราวพุทธศักราช๑๐๓๘–๑๐๕๖ ภาคท่ี๒ท่าน ธัมมกิตติ และคัมภีร์ท่ีแต่งไว้ในรัชสมัยของพระเจ้าปรักกมพาหุท่ี ๑ พ.ศ. ๑๖๙๖–๑๗๒๙ มีกล่าวถึงพิธีสวด มนต์หลายตอนเร่ิมต้นที่พระเจ้าวิชัยได้ทรงกระทาในครั้งที่สร้างอาณาจักรลังกาคร้ังแรก กล่าวว่าท้าวสักกะ เทวราชทรงบัญชาให้เทวดานามอุบลวัณณะไปปกปูองพระเจ้าวิชัยและผู้ติดตามด้วยสายสิญจน์ ด้วยอานาจ ของด้ายน้ี ยักษ์จึงไม่สามารถทาอันตรายพระองค์ได้แสดงให้เห็นว่า เหตุการณ์น้ี ถูกนามากล่าวไว้ในตานาน ของพระเจ้าวิชัย หลังจากท่ีพิธีสวดมนต์ได้รับความนิยมแพร่หลายแล้วว่าเป็นพิธีกรรมเพ่ือปูองกันภัยอันตราย ในคัมภรี ย์ งั บนัทึกไวว้ า่ รัชสมัยของพระเจ้าทุฏฐคามินีประมาณ พ.ศ. ๓๘๒–๔๐๖มีการทาพิธีบูชาเพ่ือเป็นการ ระลึกในมหาสถปู โดยมีพระสงฆ์ร่วมกันสวดพระธรรมซ่ึงเรียกว่าคณสัชฌายนาพิธีสวดมนต์ท่ีทาในยุคของ พระเจ้าทฏุ ฐคามนิ ีนี้ มีคณสชั ฌายนา สวดสาธยายธรรมโดยพร้อมเพรียงกนั เนือ่ งในโอกาสที่เปน็ สิริมงคล ๒.๓.๗ คมั ภีร์วนิ ยสังคหอรรถกถา (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๖) คัมภีร์วินยสังคหอรรถกถา เป็นคัมภรี ์ทพี่ ระสารีบุตรเถระชาวลังกาไดแ้ ต่งไว้ในราวพ.ศ.๑๖๐๐ คัมภีร์น้ี กลา่ วว่า พระสงฆ์จะสวดให้แก่ผู้ปุวยเมื่อฆราวาสขอร้อง และเน้นว่าด้ายสายสิญจน์จะได้รับการประพรมด้วย น้าก่อนทจ่ี ะไดม้ อบให้เมื่อทาพธิ ีขบั ไล่ภูตผี จะมีการผกู ใบตาลหรอื ด้ายมนตท์ ่ีมือหรือขาของผู้ปุวยก่อนจะทาพิธี สวดมนต์ คัมภีรน์ ีย้ งั ได้กลา่ วขอ้ ความเดยี วกับทพี่ บในทีฆนกิ ายอรรถกถาอาฏานาฏิยสูตร๒๘ ซ่ึงได้พรรณนาถึง การปฏบิ ัติทางพิธีกรรมทม่ี พี ธิ ีสวดมนต์รวมอยดู่ ว้ ย สรุปได้ว่า การสารวจเน้ือหาที่กล่าวมาจากคัมภีร์ด้ังเดิมนี้แสดงให้เห็นว่าพิธีสวดมนต์ได้กลายเป็น ความแพร่หลายทางพิธีกรรมในระหว่างอุบาสกอุบาสิกา แม้จะดูมีปริมาณน้อยในยุคต้นของพุทธศตวรรษ ฉะนั้น การตั้งกระทู้ถามเชิงวิจารณ์และเชิงเหตุผล เชิงวิจารณ์และเชิงเหตุผลจึงเกิดขึ้นในมิลินทปัญหา และ ทางราชวงศ์ก็ตระหนักว่าพิธีสวดมนต์นั้นเป็นพิธีกรรมเพ่ือการคุ้มครองความผาสุกของปวงประชาเป็นการ เข้าใจครั้งแรกในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๙ (พระเจ้าอุปติสสะท่ี๑) การสร้างมณฑปชั่วคราวสาหรับพิธีกรรมน้ีก็ ได้รับรู้กันว่าเกิดข้ึนใน พุทธศตวรรษท่ี ๙ การใช้เคร่ืองประกอบพิธีกรรมอย่าง เช่นน้าของหอมมาลัยและด้าย และพิธีกรรมทาความสะอาดเบ้ืองต้นก็รู้กันว่ามีข้ึนในพุทธศตวรรษท่ี ๙ การปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างถาวรไว้ สาหรบั พิธีสวดมนต์โดยพระเจา้ ปรากรมพาหทุ ี่ ๒ แสดงใหเ้ ห็นว่าพธิ ีกรรมน้ีได้กลายเปน็ส่วนหนึ่งของชาวพุทธ ๒๘ ที.ปา.(ไทย)๑๑/๒๗๕-๒๘๑/๑๖๑–๑๖๒.

๒๙ ในสงิ หล ในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๗ คุณประโยชน์ของพิธีกรรมในการปูองกันและในการจัดเตรียมยาแสดงให้ เห็นว่าพิธีสวดมนตไ์ ด้เรมิ่ เข้ามาแทนที่ข้อปฏิบัติทางศาสนาพราหมณ์และเพ่ิมความสาคัญจนเป็นพิธีกรรมอันมี จดุ ประสงคห์ ลากหลาย อันมอี ิทธพิ ลสาคญั ยงิ่ ตอ่ ชวี ติ ของประชาชนผ้มู ีวถิ ีชีวติ เรียบง่ายและพิธีกรรมท่ีนิยมของ ชาวลงั กานีไ้ ด้ไหลบมาในประเทศไทยพร้อมกับวัฒนธรรมประเพณีอกี หลายประการซ่ึงจะได้ศึกษาต่อไป ๒.๔ ความสาคัญของการสวดมนต์ การสวดมนต์ในพระพทุ ธศาสนามีความสาคญั สรุปได้ ๒ ประการ คือ สวดธรรมเพื่อรักษาพระศาสนา และสวดพระปริตรเพื่อคุ้มครองปูองกันอันตรายดังกล่าวแล้วน้ัน สามารถกล่าวได้ว่าการสวดธรรมเพ่ือรักษา พระศาสนามีจุดเริ่มมาจากการท่ีพระผู้มีพระภาค ทรงอนุญาตให้ภิกษุสงฆ์ประชุมกันกล่าวธรรมในวันอุโบสถ โดยทรงอนญุ าตให้นาเอาสกิ ขาบทบัญญตั มิ าสวด เรยี กว่า “สวดปาติโมกข์”๒๙ ลักษณะการสวดดังกล่าว เป็น การทบทวนพระบัญญัติหรือตรวจสอบข้อห้ามเพ่ือความสารวมระวังของภิกษุทั้งหลาย พร้อมกันน้ีพระองค์ยัง ทรงแนะนาวธิ ีการฟงั ปาตโิ มกขว์ ่า ใหฟ้ ังให้ดเี อาใจใส่ในการฟัง ทรงอธิบายต่อไปอกี ว่าให้มีจิตแน่วแน่ในการฟัง ไมฟ่ งูุ ซา่ นไมซ่ ัดสา่ ย กลา่ วได้วา่ เปน็ วิธีการฟังการสวดท่ดี ีมีประโยชนเ์ ป็นจุดเริ่มต้นของลักษณะการฟังสวดมนต์ นอกจากน้ีพระผู้มีพระภาคยังทรงปรารภให้พระภิกษุท้ังหลาย ควรสวดธรรมเพ่ือรักษาพระศาสนาไว้ให้เป็น ประโยชน์เก้ือกูลแก่คนหมู่มาก เพราะในขณะน้ันมีตัวอย่างความเส่ือมท่ีเกิดข้ึนในหมู่ของนิครนถ์ที่เจ้าลัทธิชื่อ นิครนถนาฏบตุรส้ินชีพแล้ว สาวกเกิดความแตกแยกกันจึงได้ตรัสแนะนาให้ร้อยกรองพระธรรมวินัย เพื่อจัด ระเบียบคาสอนทั้งโดยอรรถและพยัญชนะให้พรหมจรรย์น้ีตั้งม่ันย่ังยืนสืบไป ดังมีความปรากฏในพระสุต ตันตปฏิก ปาสาทิกสูตร ทีฆนิกายปาฏิกวรรคว่า ธรรมท้ังหลาย เราแสดงไว้เพื่อความรู้ยิ่ง บริษัททั้งหมดนั่น แหละพึงพร้อมเพรียงกันประชุมสอบทานอรรถกับอรรถ พยัญชนะกับพยัญชนะแล้วพึงสังคายนากัน ไม่พึง วิวาทกัน เพ่ือให้พรหมจรรย์ (ศาสนา) น้ีตั้งอยู่ได้นานดารงอยู่ได้นานข้อน้ันพึงเป็นไปเพ่ือประโยชน์เกื้อกูลแก่ คนหมู่มาก เพอื่ สุขแกค่ นหมมู่ าก เพือ่ อนเุ คราะหช์ าวโลก เพอ่ื ประโยชน์เพือ่ เก้ือกูล เพื่อสุขแก่เทวดาและมนุษย์ ทังห้ ลายธรรมเหล่านี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ สมั มปั ปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรค มีองค๘์ ๓๐ ต่อมาหลงั จากพทุ ธปรินิพพานแล้วการทาสังคายนาพระธรรมวินัย เพื่อกาจัดความเสื่อมที่จะเกิดข้ึน ในศาสนาดังคาพระปรารภนั้นได้เกิดขึ้นหลายคร้ังโดยในเบ้ืองต้นพระสาวกที่เป็นกาลังสาคัญในการทา สงั คายนา มีอยู่ ๔ รูป คอื พระอานนท์เป็นผู้อย่ใู กลช้ ิดพระพุทธเจา้ ทรงจาพระพุทธวจนะได้มาก พระอุบาลีเป็น ผู้เช่ียวชาญทางวินัยในฐานะที่ทรงจาวินัยปิฏก พระโสณกุฏิกัณณะเป็นผู้เคยท่องจาบางส่วนแห่งพระสุต ตันตปิฏก และพระมหากัสสปะ เป็นผู้ริเร่ิมให้มีการสังคายนาจัดระเบียบพระพุทธวจนะให้เป็นหมวดหมู่ ลกั ษณะการทาสงั คายนาดงั กลา่ วเป็นการสวดธรรมเพื่อรกั ษาพระศาสนาดงั กลา่ วมา ส่วนการสวดพระปริตร เพ่ือปูองกันภยันตรายต่างๆ กล่าวได้ว่ามีปรากฏในยุคกาเนิดแรกเช่นกัน ดัง ปรากฏในวินัยปิฎกจุลลวรรค และในอังคุตตรนิกายกล่าวถึงพิธีสวดมนต์ไว้ว่า “ภิกษุรูปหน่ึงถูกงูกัดมรณภาพ ๒๙ ว.ิ ม.(ไทย)๔/๑๓๒/๒๐๙. ๓๐ ท.ี ปา.(ไทย)๑๑/๒๗๖/๒๑๙–๒๒๐.

๓๐ และเมื่อเรอ่ื งราวนไี้ ด้ทราบถึงพระศาสดาพระองคต์ รัสวา่ เรอ่ื งอนั โชคร้ายนไ้ี ม่ควรเกดิ ขึ้นเลยหากว่าพระภิกษุรูป นน้ั จะไดฝ้ ึกฝนการแผ่เมตตาแกง่ ทู ้ังมวล”๓๑ ดังน้ันพระองค์ จึงทรงมีพระบัญชาว่า ภิกษุพึงฝึกแผ่เมตตาแก่งูทุกประเภทและแก่ตนเองด้วยความ จิตอันประกอบด้วยเมตตาเพ่ือประโยชน์แก่การคุ้มครองตนเองและมีอีกเหตุการณ์หนึ่ง ดังที่ปรากฏในพระ สุตตันตปิฎกทีฆนิกาย ปาฏิกวรรคว่า ท้าวเวสสวัณมหาราชกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทราบว่ามียักษ์ เป็น จานวนมากท่ีไม่เล่ือมใสพระองค์ เพราะประพฤติตามคาสอนของพระองค์ไม่ได้อาจทาร้ายพระสาวกของ พระองค์ที่อาศัยเสนาสนะปุาบ้างปุาทึบอันสงัดบ้างดังนั้นท้าวเวสสวัณมหาราช จึงขออนุญาตให้พระภิกษุ ท้ังหลายได้เรียนมนต์เครื่องรักษาช่ืออาฏานาฏิยะเพ่ือให้ยักษ์เกิดความเล่ือมใสหันมาคุ้มครองรักษา ไม่มา เบียดเบียนพระองค์ก็ทรงอนุญาตจากพระพุทธเจ้าให้มีการเรียนการสอนได้จึงเป็นที่มาของการสวดพระปริตร เพื่อปูองกันรักษาปรากฏจนถึงทุกวันน้ีอนึ่ง การท่ีพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้สวดมนต์เพ่ือปูองกันรักษาได้ แสดงให้เห็นถึงการสั่งสอนทางบวกในเร่ืองเมตตา อานาจทางจิตน้ีมีความสามารถทาให้แม้แต่ศัตรู ท่ีโหดร้าย ยอมอ่อนนอ้ มลงได้ ประสทิ ธิภาพนี้ไดร้ ับการรบั รองเปน็ อย่างดี ในหลายๆตอนของพระไตรปิฎก เมตตาเป็นข้อ หนึ่งของพรหมวิหาร ๔ และพระพุทธองค์ทรงยกย่องคุณค่าของการเจริญเมตตาอยู่เสมอๆความจริงเมตตา นสิ ังสสตู ร กลา่ วถงึ อานสิ งส์ของเมตตาไว้ ๑๑ ประการ ๖๔ หนึ่งในน้ันก็คือ คนผู้เจริญเมตตาจะไม่ถูกทาร้าย ให้ได้รับอันตรายจากไฟ ยาพิษ และอาวุธ ซึ่งมีความหมายตรงกับขันธสูตรเหมือนกัน ดังมีหลายตัวอย่างท่ี ภิกษุพ้นอันตรายด้วยอานาจของเมตตาจากภัยอันตรายเหล่านี้ เช่น คัมภีร์วินัยปฎิกได้กล่าวถึงอานิสงส์ของ เมตตาว่า นาฬาคิรีตัวดุร้ายที่พระเทวทัตปล่อยมาเพื่อหวังให้ทาร้ายพระพุทธเจ้าวิ่งตรงไปยังพระองค์ที่กาลัง บิณฑบาตอยู่ ทาให้พระสาวกท้ังหลายมีท่านพระอานนท์เป็นต้นหวาดกลัวกราบทูลขอให้พระองค์ทรงหลบไป แต่พระองคก์ ไ็ มห่ ลบไปโดยให้เหตุผลว่า พระพุทธเจ้าย่อมไม่ปรินิพพานด้วยการทาร้ายของผู้อื่นพร้อมกับทรง แผ่พระเมตตาไปยังช้างนัน้ ดว้ ยพระเมตตาทาใหช้ า้ งเชือ่ งลงอยา่ งฉบั พลนั คัมภีร์วินัยปิฎกได้กล่าวถึงอานิสงส์ของความเมตตาว่า ช้างนาฬาคิรีตัวดุร้ายที่พระเทวทัตปล่อยมา เพ่ือหวังให้ทาร้ายพระพุทธเจ้า วิ่งตรงไปยังพระองค์ท่ีกาลังบิณฑบาตอยู่ทาให้พระสาวกท้ังหลาย มีท่านพระ อานนท์เป็นต้นหวาดกลัว กราบทูลขอให้พระองค์ทรงหลบไป แต่พระองค์ก็ไม่หลบไปโดยให้เหตุผลว่า พระพุทธเจ้าย่อมไม่ปรินิพพานด้วยการทาร้ายของผู้อื่น พร้อมกับทรงแผ่พระเมตตาไปยังช้างนั้น ด้วยพระ เมตตาทาให้ช้างเชื่องลงอย่างฉับพลนั คมั ภีรข์ ทุ ทกนกิ าย กุลาวกชาดก เป็นอีกตัวอย่างหน่ึง ท่ีแสดงประสิทธิภาพทางการปูองกันอันตราย ด้วยเจริญเมตตา คือมฆมานพ (พระโพธิสัตว์) และมิตรสหายอันพญาช้างไม่อาจทาอันตรายได้ พญาช้างได้ ถามว่า มเี วทย์มนต์อนั ใดท่ีคอยปกปูองอยู่พระโพธิสัตว์จึงตอบว่ารักษาศีล ๕ เจริญเมตตา บริจาคทาน และทา ตนใหเ้ ป็นประโยชนแ์ กส่ ่วนรวมเหลา่ น้ีแลเปน็ พุทธมนต์ท่ชี ว่ ยปกปูองคมุ ้ครองอยู่ คัมภีร์ธรรมบท อรรถกถาขุททกนิกาย ได้กล่าวถึงอุตตราอุบาสิกา ผู้ท่ีไม่ได้รับอันตรายจากน้ามัน เดอื ด กล่าวคือ อบุ าสิกาอตุ ตราถกนู างสริ มิ าผูกอาฆาตไว้ เพราะนางสิริมาเข้าใจผิดว่าอุตตราจะมีความสัมพันธ์ กับสามี จึงไปยังครัวหยิบทัพพีตักเนยใสท่ีกาลังเดือดพล่าน เดินตรงไปยังนางอุตตราหวังท่ีจะราดรดให้สม อารมณ์ นางอุตตรารู้ตัวจึงแผ่เมตตาระลึกถึงคุณความดีของนางสิริมา ที่ทาให้ตนได้มีโอกาสได้ทาบุญ และ อธิษฐานว่า ถา้ ตนมีความผดิ ต่อนางก็ขอใหเ้ นยใสลวกรด ถา้ ไมม่ ีความผดิ ขออย่าไดม้ ีอันตราย ปรากฏว่าเนยใส ๓๑ ว.ิ จู.(ไทย)๗/๒๕๑/๑๔–๑๕.

๓๑ อนั รอ้ นที่นางสริ ิมาราดบนศรีษะกลบั เยน็ สนิท ไม่สามารถทาอนั ตรายนางอุตตรา ได้ดังกล่าวมานี้เป็นตัวอย่างที่ ดีท่ีแสดงว่าการเจริญเมตตามีผลจากการสวดพุทธมนต์นอกจากนี้ขันธสูตร ที่พระพุทธองค์ทรงแนะนาให้ภิกษุ สวดเพื่อเจริญเมตตาอันมปี ระสิทธภิ าพแผไ่ ป ยงั ตระกูลงูทุกชนิดเพื่อสร้างความม่ันใจให้กับเหล่าภิกษุผู้อยู่ปุาท่ี ต้องการความคุ้มครองปูองกันเป็นอย่างดีจากอันตรายซึ่งได้พบอยู่เสมอๆน้ันคร้ังเวลาผ่านไป พระดารัสท่ีตรัส ตักเตอื นนี้ไดก้ ลายเปน็ ส่งิ ทน่ี ยิ มกนั แพรห่ ลายในปจั จบุ ัน ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นบ่อเกิดแห่งความเมตตาการสวดขันธ สตู รซ้าๆเป็นประจา ทาใหเ้ กดิ ความเชือ่ ว่า เป็นการเสรมิ สรา้ งสงิ่ คุ้มครองปอู งกนั ให้มัน่ คง ให้ปราศจากอันตราย จากสัตว์มีพิษไดถ้ ึงแมข้ ันธสูตร เป็นสูตรเก่าแก่ที่สุดในบรรดาพุทธมนต์ก็ตามทีแต่กรณียเมตตสูตรกลับเข้ามามี ความสาคัญมากกว่า เพราะกาหนดการเจริญเมตตาอันไม่มีพรมแดน ไปสู่สิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ อมนุษย์ และสัตว์ท้ังที่รู้และไม่รู้ ไกลและใกล้เช่ืองและดุร้าย ที่มีในอดีตปัจจุบันและอนาคต โดยไม่มีขีดจากัด ในขณะทีข่ นั ธสตู รกาหนดเพียงสงิ ่มีชีวติ ทกุ ประเภท ขณะที่ส่วนหนึ่งของหลักธรรมอันเป็นแก่นของพิธีสวดมนต์ ประกอบด้วยเมตตาแล้วยังมีหลักสัจจะ (ความจริง) เขา้ มาเปน็ ส่วนสาคัญอีกสว่ นหน่ึงดว้ ย ดังมีความเช่อื เกย่ี วกับพธิ ีสวดมนต์ที่กล่าวว่า เม่ือสัจจะได้ถกู ประกาศออกมาอย่างจริงจังด้วยความซ่ือตรงและบริสุทธิ์แล้ว อานาจที่ฝังตัวอยู่อันนามาซ่ึงผลอันน่าปราถนา นนั้ จะปรากฏออกมาลักษณะความคิดเชน่ นี้ ไมใ่ ชท่ ฤษฎีใหม่ทก่ี อ่ กาเนิดขนึ้ ในพระพทุ ธศาสนา เพราะช่วงเวลา อันยาวนานก่อนการเกิดข้ึนของพระพุทธศาสนาความเชื่อในเร่ืองนี้เป็นท่ีคุ้นเคยเป็นอย่างดีในอินเดียโบราณ โดยมคี วามเช่อื ว่าสัจจะเปน็ แหลง่ กาเนิดและเป็นเคร่ืองมือของอานาจอนั ยิง่ ใหญ่ ๒.๕ รูปแบบในการสวดมนต์ การสวดมนต์ในพระพุทธศาสนาในเบื้องต้น มีจุดประสงค์สวดเพ่ือรักษาธรรมดังกล่าวมิได้มีลักษณะ เป็นพิธีกรรมที่ซับซ้อนหลังพุทธปรินิพพานประมาณพ.ศ. ๙๐๐ ได้กล่าวถึงรูปแบบของพิธีกรรมที่มีบทบาท สาคัญในการสวดมนต์ดังนั้น ต่อไปนี้จะศึกษาถึงรูปแบบของพิธีสวดมนต์เพ่ือให้เห็นสาระสาคัญของรูปแบบ การสวดมนต์นนั้ วา่ มีความหมายในทางพระพุทธศาสนาไปในทิศทางเช่นใด โดยได้ศึกษารูปแบบของการสวด มนต์ ๖ ประเด็น คือ ๒.๕.๑ ขน้ั ตอนเบ้ืองตน้ ของพิธี ๒.๕.๒ ความสาคัญของทิศทาง ๒.๕.๓ การสวดสาธยาย ๒.๕.๔ การอนุโมทนาบุญและการอทุ ิศบุญกศุ ล ๒.๕.๕ การตงั้ ความปรารถนา ๒.๕.๖ การอญั เชิญเทวดา ๒.๕.๑ ขน้ั ตอนเบื้องต้นของพธิ ี พิธีสวดมนต์ ก่อนจะเร่ิมพิธีกรรม ต้องลากสายสิญจน์ล้อมรอบมณฑลพิธีก่อนพ้ืนที่สาหรับประกอบ พิธีกรรมถูกทาให้สะอาดหมดจดหลังจากนั้น พ้ืนที่ศักดิ์สิทธ์ิก็จะถูกกาหนดเขตแดนแยกจากบริเวณอื่นโดยใช้ ดว้ ยสายสญิ จน์เป็นตวั กาหนด

๓๒ ดังนั้นพิธีสวดมนต์จึงเร่ิมต้น ด้วยข้ันตอนของการชาระให้บริสุทธิ์ทางพิธีกรรมในวรรณกรรมบาลี แนวคิดนี้ ได้กล่าวไวใ้ นอรรถกถาอาฏานาฏิยสตู ร๓๒ จัดเป็นตามขน้ั ตอนไดด้ งั น้ี ๑. พระภิกษุควรงดอาหารชนิดเนือ้ และแปรูป งดการเขา้ ปาุ ช้าและควรเจริญเมตตา ๒. ฆราวาสผ้เู ข้าร่วมพธิ คี วร รักษาศลี ๕กอ่ นจะเรมิ่ พธิ กี รรม ๓. พน้ื ทีส่ าหรบั ประกอบพธิ ีกรรมควรเจมิ พ้ืนที่ดว้ ยมูลโคสด ทาท่ีนงั่ ให้สะอาดเช็ดสถานท่ีให้แห้งและ ตามประทีปไว้ ๔. สาหรับการสวด ควรสวดเมตตสตู ร รัตนสตู ร และธชัคคสตู รก่อนแลว้ จึงสวดอาฏานาฏิยสตู ร อรรถกถาแห่งสูตรน้ีเป็นหลักฐานได้ว่า พิธีสวดมนต์ในพระพุทธศาสนา ช่วงหลังพุทธปรินิพพาน ประมาณ พ.ศ. ๙๐๐–๑๐๐๐ เป็นพิธีกรรมที่ค่อยๆซับซ้อนข้ึนโดยมการกล่าวถึงข้อปฏิบัติสาหรับพระภิกษุ ผู้สวดวา่ ฆราวาสควรรับศีล ๕ และรักษาอยา่ งแน่วแน่พร้อมกับควรจัดสถานท่ีให้เหมาะสม ส่วนการสวดมนต์ ของพระภิกษุ ควรสวดบทอาฏานาฏิยสูตร ในคราวคับขันลักษณะดังกล่าวทั้งหมดนี้ พิธีสวดมนต์ใน พระพุทธศาสนา สามารถกล่าวได้ว่าได้ให้ความสาคัญต่อกระบวนการเบื้องต้นของคัมภีร์ตันตระบางอย่าง กลา่ วคือ ลาดับแรกคอื การชาระตนให้บริสุทธิ์ พระพุทธศาสนาให้ความสาคัญเช่นกัน คือ ความบริสุทธ์ิภายใน ไดแ้ กจ่ ิตใจจัดว่ามคี วามสาคญั เพราะผู้มีจิตใจไม่มั่นคงไม่รู้แจ้งสัทธรรมมีความเล่ือมใสเล่ือนลอย ย่อมมีปัญญา ไมส่ มบูรณ์ (ส่วน) ผู้มีจติ ใจไมช่ ุ่มด้วยราคะไมข่ ุน่ มัวด้วยโทสะละบญแุ ละบาปได้แลว้ มสี ติตนื่ อย่ยู อ่ มไม่มีภัย๓๓ ดังน้ัน การชาระจิตใจของผู้ฟังสวดมนต์ให้บริสุทธิ์ จึงเป็นเร่ืองสาคัญเร่ืองน้ีพระพุทธเจ้าทรงปฏิบัติ เอง ตอนท่ีจะทรงแสดงพระธรรมเทศนาโดยพระองค์จะทรงชาระจิตใจของผู้ฟังให้บริสุทธิ์ก่อนด้วยการแสดง อนุปุพพีกถา ท่ีมีเนื้อหาลุ่มลึกไปด้วยลาดับ คือ ทานศีลสวรรค์โทษของกามและอานิสงส์ของการบรรพชาเม่ือ ผู้ฟังน้อมใจไปตามเนื้อหาสาระของธรรมเทศนาจิตใจของเขาจะประณีตข้ึนเป็นไปเป็นลาดับ จนพร้อมที่จะทา ความเข้าใจในธรรมส่วนปรมัตถ์ได้ จากนั้นจิตใจของผู้ฟังจะปราศจากนิวรณ์เบิกบานผ่องใสเหมือนผ้าขาว สะอาดปราศจากมลทินควรรบั นา้ ย้อมไดเ้ ป็นอย่างด๓ี ๔นับวา่ เป็นการชาระความบริสุทธ์ิภายในคือจิตใจของผู้ฟัง ส่วนการชาระความบริสุทธิ์ภายนอก พระพุทธเจ้ามิได้ทรงรังเกียจท่ีจะ แสดงธรรมแก่คนท่ีมีร่างกายสกปรก แต่ทรงห้ามมิให้แสดงธรรมแก่ผู้ท่ีแสดงกิริยาอาการไม่เคารพพระรัตนตรัย ดังท่ีพระองค์ทรงห้ามไว้ในเสขิย สิกขาบทว่า ภิกษุไม่ควรแสดงธรรมแก่คนท่ีมีกิริยาไม่เคารพ เช่น กั้นร่มถือไม้พลอง ถือศัสตรา ถืออาวุธ สวม รองเท้า โพกศีรษะ หากละเมิดต้องอาบัติทุกกฎ ดังนั้นจึงกล่าว ได้ว่าการชาระตนในภายนอก ควรคานึงถึง ความเคารพของผู้ฟงั มากกวา่ ความสะอาดหรอื สกปรกในร่างกายของเขา สาหรบั สถานท่ีและองค์ประกอบของ พิธกี รรมนั้นพระพทุ ธศาสนามไิ ด้ใหค้ วามสาคญั แต่ในปัจจุบนัจะให้ความสาคัญต่อพิธีกรรมมากกว่าสาระสาคัญ ของจิตใจ เช่นการโยงสายสิญจน์และสุดท้าย คือการประพรมน้ามนต์เป็นต้น ส่วนมันตระสุทธิก็ตรงกับพิธี กรรมการเจิมแปูงเช่นเจิมหน้าผากสาหรับคู่บ่าวสาว เจิมฝาประตูบ้านสาหรับการทาบุญข้ึนบ้านใหม่ และยัง เหน็ ไดว้ ่าประเพณีแพร่หลายกันในทุกวนั นี้ ๒.๕.๒ ความสาคัญของทศิ ทาง สาหรบั พิธีสวดมนต์ โดยท่วั ไปองค์ประกอบอย่างหนึ่งที่สาคัญน่ันคือโต๊ะหมู่บูชา จะต้องตั้งหันหน้าไป ทางทิศตะวันออก ซึ่งเป็นการเลือกตามการตัดสินใจตามความเช่ือด้ังเดิมและตามวรรณกรรมทางศาสนา ๓๒ ท.ี ม.อ.(ไทย)๓/๒๘๒/๑๖๑. ๓๓ ข.ุ ธ.(ไทย)๒๕/๓๘–๓๙/๓๗. ๓๔ ท.ี ม.(ไทย)๑๐/๗๕/๒๒.

๓๓ ท้ังหมดท่ีกล่าวถึงทิศตะวันออกว่าเป็นทิศที่เป็นมงคล สาหรับวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนากล่าวถึงทิศ ตะวันออกว่าเป็นทิศมงคล เช่น กันทิศนี้มีท้าวธตรฐผู้ปกครองคันธัพพะทรงมีราชบุตรหลายพระองค์ทรงพระ นามว่าอินทรราชธิดาพระนามว่าสิรีทรงเป็นเทพธิดาผู้มอบความร่า รวยรุง่เรืองให้แก่มนุษย์เธอเป็นท่ีรวมลง แห่งคุณความดีและปัญญารวมท้ังมีพระนามที่ใช้เรียกพระนางว่าลักขีอันหมายถึงความมีโชคดีในทางตรงกัน ข้าม ธิดาของท้าววิรูป๎กขเทพผู้อารักษ์ทิศตะวันตกผู้ได้นามว่ากาลกัณณีหรือความโหดร้ายเพราะลักษณะอัน เลวร้ายต่างๆ พากันถ่ายทอดลงท่ีพระนางจนหมดสิ้น เม่ือพระเจ้าจักรพรรดิราชทรงยังจักกรัตนะให้หมุนมันก็ จะหมุนไปทางตะวันออกก่อนดุจดังเป็นกฎท่ีจะไม่หมุนไปในทิศอื่นก่อนเหมือนกับเมื่อราชรถมงคลอันบรรทุก ตราพระราชาถูกส่งออกไปโดยไม่มีสารถีเพื่อแสวงหาพระราชาสืบบัลลังก์ก็เป็นเหมือนกฎอีกว่าจะต้องออกไป ทางประตูทิศตะวันออกในตานานของพระพทุ ธเจ้าก็เหมอื นกนั ภาคพ้นื ทศิ ตะวันออกก็ดูจะเป็นสถานที่อันมั่นคง ถาวรทีเดียว พระนางสิริมหามายาทรงพระสุบินเป็นลางถึงการประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะ และในตอนที่ ช้างเผือกเขามาสู่ห้องบรรทมของพระนางขณะท่ีพระนางบรรทมทรงหันพระเศียรไปทางทิศตะวันออกทรงดา เนินไป ๗ ก้าวหันพระพักตร์ไปทางตะวันออกและทรงประกาศว่า “เราเป็นผู้เลิศของโลกทรงบันลือสีหนาท แลว้ ” และในท่ีสุดพระองคท์ รงบรรลุธรรมในขณะประทบั น่ังใตต้ ้นโพธิห์ นั พระพักตรไ์ ปทางทิศตะวันออก ดังนั้นทิศตะวันออก จึงมีความหมายอันเป็นมรดกตกทอดทั้งทางความเชื่อโบราณและความเช่ือทาง ตานานเพราะ เม่ือพุทธองค์ทรงบรรลุธรรมน้ันก็ทรงประทับน่ังใต้ต้นโพธิ์ผินพระพักต์ไปทางทิศตะวันออก จึง พอกล่าวได้ว่าโต๊ะหมู่บูชาสาหรับสวดมนต์ก็เป็นการสร้างสรรค์เลียนแบบโพธิมณฑ์โดยหันหน้าไปทางทิศ ตะวันออก๓๕ ๒.๔.๓ การสวดสาธยาย การสวดสาธยาย หมายถึง การช้ีแจงแสดงเรื่อง ท่ีแสดงออกด้วยคาพูด เพื่อให้เกิดความเข้าใจคาพูดที่ ดีควรมีลักษณะเป็นวาจาสุภาษิต ไม่เป็นวาจาทุพภาษิต เป็นวาจาไม่มีโทษและท่านผู้รู้ไม่ติเตียน ดังท่ี พระพทุ ธเจ้ากล่าวถงึ ลักษณะของคาพูดทดี่ มี ี ๕ ประการไวใ้ นวาจาสูตรองั คตุ ตรนิกายปัญจกนิบาต คอื ๑.พูดถกู กาล ๒.พดู คาจรงิ ๓.พดู คาอ่อนหวาน ๔.พูดคาประกอบด้วยประโยชน์ ๕.พูดด้วยเมตตาจิต๓๖ การสวดมนต์ เป็นการแสดงออกด้วยคาพูด เป็นการพูดด้วยเมตตาจิต จึงเช่ือกันว่าจะขับไล่ความช่ัว ร้ายออกไปและนามาซ่ึงสิ่งดี แม้การฟ๎งสวดมนต์ก็ถือว่าจะได้รับอานิสงส์ เช่นน้ันเหมือนกัน คาพูดถือว่าเป็น ตัวแทนของอานาจท่ีปรากฏในอินเดียโบราณ เพราะค าพูดเป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างสวรรค์และโลก โดย ผ่านการประกอบพิธีบูชายัญกล่าวกันว่าสรสวตีได้ส่งทอดอานาจแก่พระอินทร์ด้วยคาพูดก็คือวาจา และท้าวป ชาบดผี ู้เป็นใหญแ่ หง่ สิ่งมีชวี ิตถกู เรียกว่าเปน็ จ้าวแห่งบทสวดเปน็ผู้สร้างบทสวด บทเพลงสวดของท่านล่องลอย ไปท่ัวแดนสุขาวดี และในคัมภีร์สังคีตรตนากระได้บันทึกว่าโลกทั้งปวงข้ึนอยู่กับเสียงคือคาพูดลักษณะเช่นน้ี เป็นแนวคิดเกย่ี วกบั คาพดู ในอินเดียยคุ พระเวท คาพดู เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาตทิ ่สี ามารถทาให้เข้าใจได้ ทา ให้มนุษย์เป็นส่ิงมหัศจรรย์มีความน่าเกรงขามและมีความทะเยอทะยานดังเห็นได้ในยุคต้นๆ ของอารยธรรม ๓๕ ข.ุ ชา.อ.(ไทย)๑/๘๑–๑๐๕. ๓๖ องฺ.ปญจก.(ไทย)๒๒/๑๙๘/๓๓๘.

๓๔ มนุษย์ คาพูดทาห้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์เป็นความสามารถที่มหัศจรรย์ซ่ึงมีจากัดไว้แก่เผ่าพันธุ์มนุษย์เท่านั้น ดังนั้นคาพูดจึงเป็นลักษณะเฉพาะเป็นดุจอานาจสวรรค์ และเป็นส่ิงน่าบูชา กล่าวอีกอย่างหนึ่งคาพูดใน รูปแบบของบทสวดมีศักยภาพดุจเคร่ืองมือช้ินเอกในการปลุกอานาจเหนือธรรมชาติ ตามที่คัมภีรมนูศาสตร์ แสดงถึงการประกอบพิธีกรรมการสวดมนต์ ๑๐ ครั้ง มีผลมากกว่าการบูชายัญตามที่กล่าวในคัมภีร์พระเวท พระพุทธศาสนาไม่ได้ยอมรับอานาจของบทสวดมนต์หรือเวทมนต์ดังมีหลักฐานปรากฏในเตวิชชสูตรทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค ท่ีแสดงให้เห็นถึงความไรผ้ ลของบทสวด ด้วยการเปรียบเทียบอุปมาว่าบทสวดที่กล่าวถึงเทพเจ้า เช่น พระอินทะ,พระโสมะ, พระวรุณ, พระอิสานะ,พระปชาปติ, พระพรหม,พระมหิทธิ และพระยะมะ เป็นสิ่ง ไร้ประโยชน์๓๗ คนผปู้ รารถนาจะเข้าถึงเทวดาจาจะต้องปฏิบัติคุณงามความดีซึ่งเหล่าเทวดาได้เคยประกอบไว้ การสวดมนตถ์ ึงเทวดาไมไ่ ดท้ าให้คนเป็นเทวดาไดเ้ ลย พระพุทธศาสนาก็ไม่ได้ปฏิเสธอานาจของคาจริงท่ีเปล่งออกมาอย่างซื่อสัตย์จริงจัง คาพูดท่ีดีงาม ประกอบด้วยสาระท่ีมีประโยชน์และมีความหมายก็ถือได้ว่าเป็นมงคลการสวดข้อธรรมโดยมีจุดประสงค์เพื่อ การศึกษาและเพ่ือรักษาข้อความในพระคัมภีร์ จึงเป็นสิ่งที่พระสงฆ์ได้ทามานับแต่โบราณกาล การสวดออก เสียงอย่างชัดเจนขณะท่ีนึกถึงความหมายของสิ่งที่กาลังสวดเป็นสิ่งที่น่าสรรเสริญอยู่สูง การสวดเช่นนี้เรียกว่า สรภัญญะก็ได้ เมื่อพระโสณกุฏิกัณณะสวดอัฏฐกวรรคโดยสรภัญญะ พระพุทธองค์ทรงพอพระทัยอย่างมาก ทรงตรัสยกย่องแบบการสวดของท่านดังน้ีว่า “ดูกรภิกษุทั้งหลายเป็นการดีที่พวกเธอจะได้เรียนอัฏฐกวรรค อย่างถูกต้องเธอพึงทรงจ าและรักษาไว้ให้ดี พวกเธอมีเสียงท่ีน่าพอใจมีความแตกต่างของเสียงไม่แหบและ สามารถสือ่ สารความหมายได๓้ ๘ แม้พระองค์จะทรงยกย่องการสวดสรภัญญะ แต่พระองค์ก็ไม่ทรงปราถนาให้สวดธรรมะเป็นทานอง เพลงพระองค์ทรงเคยเรียกการร้องเพลงว่า เป็นการร้องไห้เศร้าโศก เม่ือพวกภิกษุฉัพพัคคีย์เจ้าปัญหา ริเริ่ม การสวดธรรมในทานองเพลง พระองค์ทรงช้ีความเส่ือมไม่ใช่ประโยชน์ของการร้องเพลงไว้ ๕ ประการและ ทรงประณามความประพฤตเิ ช่นนี้ ว่าเป็นการก่อใหเ้ กดิ ทุกข์ความเส่อื มมใิ ช่ประโยชน์มี ดังน้ี ๑.แม้ตนเองกก็ าหนดั ในเสียงนัน้ ๒.แม้ผู้อ่ืนก็กาหนัดในเสียงนนั ้ ๓.แม้พวกคหบดีก็ตาหนวิ า่ “พวกสมณศากยบตรุ เหลา่ น้รี อ้ งเพลงเหมือนพวกเรา” ๔.เมือ่ พอใจการทาเสียงสมาธิย่อมเส่ือม ๕.ภิกษรุ นุ ่หลงั จะพากันทาตาม๓๙ ดงั นัน้ การรอ้ งเพลงจึงถูกหา้ มไว้ ขณะทีก่ ารสวดแบบพิเศษที่เรียกว่าสรภัญญะได้รับการส่งเสริม การ ประชุมสวดมนตท์ ี่เมอื งเวสาลี เขตกรงุ ราชคฤห์เป็นการสวดมนต์หมู่ ครั้งแรกท่ีได้จัดข้ึนในประวัติศาสตร์ และ หลังพุทธปรินิพพานมีบันทึกไว้ว่าภิกษุ ๕๐๐ รูปเข้าร่วมในการสวดทาสังคายนา โดยมีพระมหากัสสปะ เป็นประธาน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเพณีการสวดหรือคณะผู้สวดต่างๆ เช่น คณะผู้สวดทีฆนิกาย (ทีฆภาณกา จารย์) คณะผสู้ วดมชั ฌิมนิกาย (มชั ฌิมภาณกาจารย์) มีตน้ กาเนิดมาจากคณะผู้สวดสรภัญญะน้ี นอกจากนี้ ยัง ปรากฏในคัมภีร์อรรถกถา ทีฆนิกายว่าการสวดมนต์หมู่ท่ีจัดข้ึนในศรีลังกา ณ โลหปราสาทและติสสมหาวิหาร เรียกว่าสัชฌายนา ธัมมสัชฌายนาหรือคณะสัชฌายนา และที่บันทึกไว้ในคัมภีร์มหาวงศ์ กล่าวว่าการสวดหมู่ เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลต่างๆทางศาสนารวมถึงยุคต้นๆของพุทธศตวรรษท่ี ๒และในช่วงระยะเวลาท่ีผ่านไป ๓๗ ท.ี ส.ี (ไทย) ๙/๓๗๖/๓๖๕. ๓๘ วิ.ม. (ไทย) ๕/๒๕๘/๓๖. ๓๙ วิ.จู. (ไทย) ๗/๒๔๘/๑๑, องฺ.ปญจฺ ก. (ไทย) ๒๒/๒๐๙/๓๕๒.

๓๕ อาจมีพัฒนาการจนมาเป็นพิธีสวดมนต์ขณะท่ีมหาวังสะบันทึกว่าคณสัชฌายนาก็จัดให้มีในโอกาสเฉลิมฉลอง ลักษณะนนั้ เช่นกนั สรปุ ไดว้ า่ การสวดหมู่ (คณสชั ฌายนา) ได้กาเนิดขึน้ โดยจุดประสงคเ์ พ่ือรักษาพระคัมภีร์ไว้ซึ่งต่อมาก็ได้ กลายเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมเฉลิมฉลองทางศาสนาไป และในบทบาทใหม่นี้เองที่ทาให้การสวดหมู่ค่อยๆ คลี่คลายไปทง้ั ทานองและจังหวะในปจั จุบนัมี ๓ แบบ คอื ๑.สวดแบบสงั โยค คอื สวดอยา่ งที่พระมหานิกายสวดกนั โดยทัว่ๆไป ๒.สวดแบบมคธ คือ สวดเป็นตอนๆ ของวลีหรือประโยคอย่างพระธรรมยุต หรืออย่างพระมหานิกาย สวดบทพุทธคุณธรรมคุณและสังฆคณุ เวลาทาวตั รเชา้ เย็นท่ัวไป ๓.สวดแบบสรภัญญะ คือ สวดด้วยการเอื้อนเสียงเป็นท านองสรภัญญะ หมายถึง สวดเป็นทานอง พอดีๆ ชดั เจนดว้ ยอักขระและพยญั ชนะ ๒.๕.๔ การอนุโมทนาบุญและอุทิศบุญกศุ ล การทาบญุญานุโมทนาหรือการอนุโมทนาบุญ ในตอนท้ายของพิธีสวดมนต์เป็นส่วนสาคัญในพิธีกรรม ท่ีจริงจะกล่าวว่าเป็นจุดหมายของพิธีท้ังหมดก็ว่าได้จะเรียกส้ันๆว่า อนุโมทนาก็ได้ดังคาบาลีว่าอนุโมทติมี ความหมายว่าร่วมยินดีด้วยหรือรับรองด้วยความยินดีได้แก่การส่งผ่านความสุขไปยังผู้อื่นหรือ การแบ่งปัน ความสุขไปสผู่ อู้ นื่ ในวินัยจูฬวรรค๔๐ได้บันทึกถึงช่วงเวลาที่ยังไม่มีการอนุโมทนาหลังฉันภัตตาหารอุบาสกอุบาสิกาไม่ ค่อยพอใจนักท่ีไม่ได้ฟังพระอนุโมทนาและกล่าวกันว่าพระพุทธองค์ทรงเป็นผู้ริเริ่มการปฏิบัติเช่นน้ี และ เนื่องจากแนวคิดในการอุทิศส่วนกุศลน้ี ไม่มีกล่าวถึงไว้ในพิธีทางศาสนาพราหมณ์และเชน จึงไม่อาจแน่ใจได้ เลยว่ากลุม่อุบาสกอุบาสิกานั้นประสงค์สิง่ใดในอนุโมทนาในยุคแรกๆอย่างไรก็ตามการอนุโมทนาหลังอาหาร นับว่าเป็นแนวคิดท่ีดีตามท่ีได้ปฏิบัติในช่วงแรกๆ ของชาวพุทธดังปรากฏในพราหมายุสูตรมัชฌมินิกายดังมี ความ ตอ่ ไปนี้ “พระผู้มีพระภาค เสวยเสร็จแลว้ ประทบั นิ่งเฉยอย่คู รูห่ นึ่ง แตไ่ มท่ รงปล่อยเวลาอนโุ มทนาให้ล่วงไป เสวยเสร็จแล้วกท็ รงอนุโมทนา ไม่ทรงตเิ ตยี นภัตรนั้นไม่ทรงมุง่ หวงั ภัตรอน่ื ทรงชแ้ี จงให้บริษทั เห็นชัด ชวนใจให้ อยากรบั เอาไปปฏบิ ัติ เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจใหส้ ดชน่ื รา่ เริงดว้ ยธรรมกี ถา”๔๑ พระอรรถกถาจารยอ์ ธบิ ายว่า พระพุทธเจ้าทรงประทับนิ่งเฉยอยู่หลังฉันภัตตาหารแล้วเพ่ือให้เวลาแก่ อุบาสกอุบาสิกาได้เล้ียงดูเด็กๆ และทานอาหาร หลังจากนั้นพระองค์ก็ทรงแสดงธรรมสั้นๆโดยวิธีที่เรียกว่า อนุโมทนาโดยกล่าวถึงเนื้อหาทางศาสนาและทรงกระตุน้ให้อุบาสกอุบาสิกาให้เกิดความยินดีในการเรียนรู้สิ่ง ใหม่ๆและลึกซึ้งและปลุกเร้าให้เกิดความรักในความรู้เพ่ือเป็นการแสดงความรู้คุณค่าความมีน้าใจและเอื้อเฟ้ือ ของอุบาสกอุบาสิกา พระองค์จึงทรงให้อาหารทางความคิดแก่พวกเขา ฉะน้ันอนุโมทนาจึงได้เป็นวิธีการอัน กอ่ ใหเ้ กิดความยินดีทางปญั ญาและทางอารมณ์ การปฏบิ ัติตามหลักศาสนาหรือการประพฤติแต่สิ่งดงี ามเปน็ สิง่ ท่ีมีคุณค่าเพราะความพึงพอใจยินดีทาง อารมณ์ท่ีเกิดข้ึนจากการประพฤติน้ีจะก่อให้เกิดความสงบทางกายและทางใจ ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นเบื้องต้นอันจะ ขาดเสียไมไ่ ดท้ ม่ี ตี ่อพฒั นาการทางจิตวิญญาณ อันเหมาะสม อย่างเช่นศรัทธาวิริยะ สติสมาธิและปัญญาอันจะ ๔๐ ว.ิ จ.ู (ไทย)๗/๓๖๒/๒๒๘–๒๒๙. ๔๑ ม.ม.(ไทย)๑๓/๓๘๗/๔๘๐.

๓๖ ทาให้จิตเข้าไปสู่สัจจะท่ีลึกย่ิงขึ้นในความลึกลับของชีวิตและความตายกล่าวง่ายๆ ก็คือเพ่ือการบรรลุธรรม นน่ั เอง ความหมายของอนุโมทนา ได้ขยายไปสู่การอุทิศส่วนบุญไปให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว และเทวดา ทง้ั หลายโดยคาดคะเนวา่ พวกเขาเหลา่ นัน้ สามารถมามีส่วนร่วมในความยินดีและผลบุญอันเกิดจากการทาบุญ ได้ในทัศนะเกี่ยวกับโลกของพระพุทธศาสนาสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกขอบเขตของมนุษย์เช่นเทวดา, เปรตชนมี ความสามารถท่ีจะติดต่อกับมนุษย์ผู้ที่ได้เลือกไว้ แล้วพวกเขาสามารถแปลงร่างให้อยู่ในรูปท่ีสามารถจะ มองเห็นได้ตามเหมาะสมในพระไตรปิฎกได้พูดถึงเทวดาผู้ซ่ึงปรากฏกายต่อหน้าพระพุทธเจ้าและสาว กโดยมี จุดประสงค์ต่างๆมนุษย์ผู้ได้พัฒนาความสามารถจนได้ตาทิพย์ก็สามารถมองเห็นชีวิตเหนือธรรมชาติเหล่านี้ได้ เช่นกนั ๔๒ ชาวพุทธเชื่อในการมอี ยู่ของส่ิงมีชวี ิตเหนือธรรมชาติ และชีวิตเหลา่ นน้ั จะสามารถมสี ่วนร่วมในพิธี ทาบญุ อันดีงามท่ีพวกเขาทาอยู่ได้ กโ็ ดยวิธีทีเ่ รียกว่า “ปญุ ญโมทนา” ซึง่ เป็นวธิ ีทีเ่ ช่อื วา่ จะนามาซ่ึงควาสวสั ดี แกจ่ ิตใจของทัง้สองฝุายในตโิ รกุฑฑสูตร๔๓ กลา่ ววา่ พวกญาติที่ตายไปแล้วได้มาปรากฏแก่ญาติสายโลหิตให้ได้ เหน็ ตลอดเวลาเชือ่ กนั ว่าหน้าทข่ี องผทู้ ยี่ งั มชี ีวิตอยู่ในการที่จะแสดงความระลึกถึงเปรตชนดว้ ยความกตญั ญูและ อทุ ิศสว่ นกุศลให้เพ่ืออย่เู ปน็ สุข เม่ือไดเ้ ชน่ น้แี ล้ว เปรตชนก็จะดูแลเหล่าญาติท่ีมชี วี ิตอย่ดู ้วยความรักและห่วงใย ลกั ษณะเชน่ นี้ เหมือนอย่างการปกปกั รักษาเมอื งเวสาลี ทีเ่ ป็นตน้ แบบของพธิ ีสวดมนต์การช่วยเหลือญาติท่ีตาย ไปแล้วของพระเจ้าพิมพิสาร ผู้ประสบกับความหิวกระหายขาดแคลเครื่องนุง่ห่มเป็นอยู่เหมือนเปรต การ ชว่ ยเหลอื น้ีก็เปนต็ ้นแบบของพิธีกรรมอทุ ศิ ส่วนกุศล ในประเพณีนิยมของชาวพุทธพิธีกรรมที่เรียกว่าการกรวดน้าได้พัฒนามาพร้อมๆกับการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว ในพิธีน้ีผู้ประกอบบุญจะเทน้าจากเหยือกไปยังภาชนะรองรับน้าที่เล็กกว่าเหยือกน้ันจน หมดเหยอื ก พร้อมกบั กลา่ วคาบาลีไปด้วยพร้อมกับพระสงฆ์และผู้ศรัทธาคนอื่นๆความหมายของคาบาลีที่แปล ไวม้ คีวาม ดงั น้ี “ขอผลบุญนี้จงบังเกิดมาขึน้แก่ ญาติของข้าพเจ้าขอให้พวกเขาจงอยู่ดีมีสุข แม่น้ าใหญ่ส่งน้า ไปเต็ม มหาสมุทร ให้เต็มฉันใดส่ิงท่ีได้ให้ในท่ีน้ีก็จะไปถึงเพื่ออวยสุขให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้วฉันน้ันหยาดน้าพร่าง พรมลงบนยอดเขาไหล ทว่ มทับพ้ืนดนิ ในทีต่ า่ ฉันใดสิง่ท่ีให้ในที่นี้ก็จะไปถึงเพ่ืออวยชัย แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว ฉนั นั้นเหมอื นกัน”๔๔ การนาน้าเขา้ มารวมกบั แนวคดิ เรอื่ งการอุทศิ ปรากฏมาต้ังแตส่ มัยพทุ ธกาล เช่นในเรื่องการมอบสิ่งของ ท่ีเคลื่อนท่ีไม่ได้การมอบโอนอานาจการถือครองอย่างเต็มที่แก่ผู้รับ ก็จะใช้การหล่ังน้า ลงท่ีมือขวาของผู้รับ เป็นสัญลักษณ์วินัยปฎิก มหาวรรคบันทึกไว้ว่า “พระเจ้าพิมพิสาร ถวายสวนเวฬุวัน แก่พระพุทธเจ้าโดยการ หลั่งน้าจากพระสุวรรณภิงคาร (น้าเต้าทอง)” ในคัมภีร์อรรถกถาอังคุตตรนิกาย ได้กล่าวถึงการทาบุญที่นาง วสิ าขาจดั ทาขึน้ ตอนทีอ่ ยใู่ นตระกูลของสามโี ดยนางไดน้ มิ นต์พระพุทธเจา้ มาฉันภัตตาหารท่ีบ้านในวันรุ่งข้ึนเมื่อ ถงึ เวลานางได้ถวายน้าทักษโิ ณทก แลว้ จึงใหพ้ อ่ สามีมาถวายอาหารแก่พระพทุ ธเจ้า”๔๕ ๔๒ ส.ส.(ไทย)๑๕/๑๘๒/๑,๘๗. ๔๓ ข.ุ ข.ุ (ไทย)๒๕/๑/๑๕. ๔๔ ข.ุ เปต.อ.(ไทย)๒/๑๕–๒๕/๒๓–๒๖. ๔๕ อ.เอกก.อ.(ไทย)๑/๒๕๙/๓๖๕.

๓๗ เปน็ การแสดงการอุทิศให้ด้วยน้าวธิ ีน้ีเรียกว่า “ทักษโิ ณทก หรือน้าอุทิศ” ประเพณีนยี้ ังมีอยใู่ นหมู่ชาว พุทธจนปจั จุบนั นี้ในพิธีแต่งงานน้าจะถูกรดลงท่นี ิ้วหวั แม่มือขวาของเจ้าบ่าวเจา้ สาวซงึ่ ผกู อยูค่ ่กู ันและนา้ น้ันก็ จะไหลลงสพู่ ้นื ดนิ เพื่อให้พระแม่ธรณีรบั รู้เป็นพยานในการอยรู่ ว่ มกันของบ่าวสาวน้ี ทักษโิ ณทกนามาใชค้ รัง้ แรกในพธิ บี ญุ ญานโุ มทนาและกล่าวกันว่าพระพุทธเจ้าก็ทรงมสี ่วนรว่ มในพิธีนี้ ด้วยการอทุ ิศจะต้องกล่าวคาวา่ “อทิ โนญาตีน โหตขุ อใหผ้ ลบุญน้จี งบังเกดิ มีแก่พวกญาติทัง้ หลาย”๔๖ กล่าว กันวา่ พอพิธีจบพวกญาตกิ จ็ ะถูกปลดปลอ่ ยออกจากความทุกขท์ รมานทันทีทันใดหลงั จากได้อุทิศแกพ่ วกญาตทิ ี่ ลว่ งลับไปแลว้ กจ็ ะอุทศิ ต่อไปให้พวกเทวดาและส่ิงมชี ีวติ ท้ังมวล เพ่อื ประโยชน์แกค่ วามรุ่งเรอื งและความสุข เทวดาซึ่งประจาอย่ใู นฟาู และพ้ืนดนิ และเหลา่ นาคก็ถกู เชิญให้มารบั ผลบุญและดูแลรกั ษาคาสอนของ พระพุทธเจ้าและเหล่ามนษุ ย์ ๒.๕.๕ มีการตง้ั ความปรารถนา พิธีกรรมทั้งหมดในพระพุทธศาสนาจะจบลงด้วยคาประกาศอย่างเป็นทางการถึงความต้องการตรัสรู้ ต่อไปนี้เป็นคาบาลีท่ีนิยมกัน ซึ่งจะสวดตอนจบพิธีสวดมนต์เช่นทาบุญข้ึนบ้านใหม่ทาบุญวันเกิดเป็นต้นหรือ บางครง้ั กก็ ลา่ วภายหลังใสบ่ าตรในตอนเชา้ โดยตัง้ ความปรารถนาของชาวพทุ ธออกไปอกี ดว้ ย คือ อิจฺฉติ ปตฺถิต ตุยฺห ขปิ ปฺเมว สมิชฌฺ ตุ สพฺเพ ปูเรนฺตุ สงกฺ ปปาฺ จนฺโท ปณฺณรโส ยถา อิจฉฺ ติ ปตฺถิต ตุยห ขิปปฺเมว สมิชฌฺ ตุ สพเฺ พ ปเู รนฺตุ สงฺกปปฺา มณิโชติรโส ยถา ขอให้ความประสงคจ์ านงหวงั พลันสาเรจ็ แกท่ ่านโดยเร็ว ขอให้ความมุ่งหมายทัง้ มวลจงเต็มดังเดือนเพ็ญ ขอให้ความประสงคจ์ านงหวังพลนั สาเรจ็ แกท่ ่านโดยเรว็ ขอให้ความมุ่งหมายทง้ั มวลจงเต็มดังแกว้ มณีโชตริ ส๔๗ ทัศนะทางพุทธศาสนาเกี่ยวกับชีวิตน้ันกว้างไกลกว่าขอบเขตของช่วงชีวิตปัจจุบันความประพฤติของ มนษุ ย์ ถูกมองวา่ เปน็ เครอื่ งมืออันประกอบด้วยพลงั อันมีอานภุ าพประจาตัว ในอันทีจ่ ะปรับแต่งอนาคตของแต่ ละบุคคลเหตุนั้นการประกอบกุศลจึงถูกวางไว้ในเน้ือหาขอบเขตของชีวิตในสังสารวัฏ และความปราถนาของ ชาวพุทธก็ร่วมอยูก่ บั ทัศนวิสยั เรอื่ งสังสารวฏั ดว้ ยเชน่ กันเมื่อพิจารณาความปรารถนาท่ีเปล่งออกมาตามข้างบน น้ันสามารถสรปุ เน้ือหาดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. ความปรารถนาเพ่ือนดี สิ่งน้ีสอดคล้องกับปรัชญาทางสังคมในยุคต้นของพระพุทธศาสนามี คาแนะนามากมายในการเลือกเพ่ือและคุณสมบัติของเพื่อที่พึงหลีกเล่ียงและพึงแสวงหาการได้อยู่ร่วมกับคนท่ี ถือเป็นหน่ึงในมงคลท่ีใช้อวยพรกัน เพราะเพื่อเป็นตัวกาหนดความก้าวหน้าทางศีลธรรมของบคุคลหรือความ เส่ือมของบคุคลมีความสาคัญอย่างยิ่งท่ียอมรับถึงผลกระทบทางสังคมข้อน้ีที่มีต่อค่านิยมทางศีลธรรม ซ่ึง ฆราวาสพึงตระหนักอย่างถ่องแท้ความปรารถนาเพ่ือนดีได้บันทึกอยู่ในบทสวดอันเปน็เคร่ืองเตือนความจาซ่ึง จะสวดในตอนจบทกุ พธิ กี รรม ๒. ความปรารถนาชีวิตท่ดี ใี นภายหน้า ความทะยานอยากและความคาดหวังของมนุษย์น้ันมีมาก มาย หลากหลายในธัมมปทัฏฐกถาอปาทานเถรคาถาอรรถกถาเถรีคาถาอรรถกถาเป็นต้นมีตัวอย่างท่ี บันทึกไว้ ๔๖ ข.ุ ข.ุ (ไทย)๒๕/๑/๑๕. ๔๗ ม.ม.(ไทย)๑๓/๗/๑๘๕.

๓๘ เกยี่ วกบั ความคาดหวงั สว่ นบุคคลเชน่ น้อี ันมาพร้อมกับความประพฤติทางกุศลท่ีได้ประกอบข้ึนและการประสบ ผลสาเร็จอนั เกดิ จากการประกอบการกุศลนัน้ ในสังขารปุ ปัตติสตู ร๔๘กล่าวโดยจาแนกไว้ว่าบุคคลผู้ประกอบด้วย ศรทั ธาศลี สุตะจาคะและป๎ญญาสามารถท่จี ะเลอื กภพเกิด ได้ตัวอย่างเช่นถ้าบุคคลปรารถนาจะเกิดในราชสกุล เขาจะต้องประพฤติตนอยู่ในคุณธรรมท่ีกล่าวมาข้างบนน้ันและตั้งใจไว้ต่อการเกิดในที่น้ันกาหนดม่ันและเจริญ ความปรารถนา เช่น น้ันบ่อยๆขณะท่ียอมรับศักยภาพของมนุษย์ในข้อนี้โดยใช้วิธีส่งเสริมให้อุบาสกอุบาสิกามี ความมัน่ ใจในตนเองและพง่ึ ตนเองและกระต้นุ พฤติกรรมในทางกศุ ล, ความปรารถนาให้สิ่งหวังสาเร็จของแต่ละ บุคคลก็จะแสดงออกมาในตอนจบของพิธีสวดมนต์นอกจากนั้นพิธีสวดมนต์ได้ถูกสร้างมาอย่างพิเศษเพ่ือ ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองในทางโลกและความยืนยาวของชีวิตซึ่งในข้อนี้นั้นจะมาพร้อมกับการขจัดสิ่งไ ม่ดีทั้ง มวลอันเปน็อุปสรรคต่อความสาเร็จอันส่งเสริมให้อุบาสกอุบาสิกาเผชิญหน้ากับความผันแปรของชีวิตได้อย่าง มน่ั ใจและ ๓.ปรารถนาความสุขหลีกพ้นจากทุกข์ ส่ิงมีชีวิตทัง้มวลรักสุขเกลียดทุกข์การยอมรับข้อนี้ว่าเป็น ธรรมชาติของคนธรรมดาผู้ศรัทธาก็จะเตือนใจในตอนจบของการประกอบกุศลว่าการทาความดีไม่เพียงแต่จะ นามาซึ่งความเบิกบานทางจิตและความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ชีวิตนี้เท่าน้ันแต่ยังสามารถกาจัดทุกข์และส่งเสริม ความสขุ ในภายภาคหน้าอกี ด้วย ๔.ปรารถนาความร่ารวยทางวัตถุ พระพุทธศาสนายอมรับว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมมนุษย์ไม่อาจอยู่ได้ โดยตวั เองสังคมที่เข้มแขง็ เป็นพื้นฐานที่จาเป็นต่อการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์อย่างเต็มท่ีดัง น้ันพิธีสวดมนต์ ในระดับชุมชนจึงแสดงถึงความปรารถนาอย่างสูงถึงสังคมท่ีเข้มแข็งดีซ่ึงจะทาให้ดีได้ด้วยการวางเง่ือนไขทาง สภาพทดี่ ีงามความรุ่งเรืองทางวตั ถุและผ้ปู กครองทต่ี งั้ อยู่ในศีลธรรม มีความเช่ือทางพระพุทธศาสนาท่ีหยัง่ราก ลึกและ แพร่หลายวา่ ทไี่ ม่ต้ังอยู่ในธรรมดังน้ันความปรารถนาดีที่แสดงในตอนท้ายของพิธีสวดมนต์เพ่ือชุมชนดู จะทาหน้าท่ีเป็นดั่งเคร่ืองเตือนใจชุมชนอย่างสุภาพไปสู่ผู้ปกครองถึงความรับผิดชอบอย่างจริงจังของพวกเขา ตอ่ สงั คมในวงกว้าง ๕. ปรารถนาการทาที่สดุ แห่งทกุ ข์ การประกอบกุศลและการทาพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาทุกอย่าง มีจุดหมายปลายทางอยู่ที่การบรรลุนิพพาน ในระหว่างที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่พระองค์ได้ทรง ตักเตอื นภิกษุอยเู่ สมอๆ ใหพ้ ากเพยี รพยายามทาที่สุดแหง่ ทุกข์ให้ได้ในชาตินี้พระสูตรหลายตอนแสดงให้เห็นว่า สาวกยุคแรกๆ ถูกหล่อหลอมด้วยความกระตือรือร้นอย่างแรงกล้าและให้ภิกษุท้ังหลายได้ปรับปรุงพัฒนา ตนเองด้วยการประพฤตติ ามหลกั ศลี สมาธแิ ละปญั ญาโดยมีจดุ ประสงค์จะทาท่สี ดุ แห่งทุกขใ์ ห้ได้ในชาตนิ ้ี การแสดงความมงุ่ มัน่ ทางจติ ของชาวพทุ ธยอมรับนิพพาน วา่ เป็นภาวะท่ีพึงบรรลุในชาตินี้ได้ด้วยความ พยายามยิ่งยวดของปัจเจกชนภายหลังจากมนุษย์ได้ล้ิมรสสุขของมนุษยสมบัติและทิศสมบัติเป็นเวลายาวนาน นิพพาน จึงถกูว่าเป็นอุดมคติสูงสุดท่ีจะพึงบรรลุในอนาคตกาลไกลโพ้นเพราะมนุษย์โดยธรรมชาติแล้วชอบ ความสุข จุดหมายสูงสุดจึงถูกผลักไสไปอยู่ทางท้ายๆ อันจะพึงบรรลุในเวลาท่ีอิ่มเอมแล้วหลังจากได้ลิ้มรส ความสุขในทุกรูปแบบก่อน แต่ก็ไม่ได้หมายถึงจะไม่สนใจต่อจุดหมายสูงสุด ความประพฤติท้ังมวลซ่ึงจะนา บคุ คลเข้าไปใกล้จุดหมายนี้ แมจ้ ะเป็นทลี ะนิ้วๆ ท่ถี กู กาหนดไวใ้ นรูปของบุญและกุศล ฆราวาสผู้หมั่นประพฤติ กายวาจาใจในกุศลและบุญก็ถูกเรียกว่าอุบาสก ผู้ซ่ึงดาเนินจากความมืดไปสู่ความสว่าง หรือจากความสว่าง ไปสู่ความสว่างกว่า ผู้ท่ีประพฤติตรงกันข้ามนี้เรียกว่าผู้ดาเนินจากแสงสว่างไปสู่ความมืด หรือจากความมืด ไปส่คู วามมดื ชาวพุทธท้ังมวลควรพยายามเป็นแบบอย่างแรกและในตอนจบของพิธีกรรมทางพุทธพวกเขาก็จะ ๔๘ ม.อุ.(ไทย)๑๔/๑๖๐/๒๐๘.

๓๙ มีแรงบันดาลใจอันประเสริฐนี้ คอยเตือนความจาว่าจุดหมายของพวกเขาควรเป็นการทาอุดมคติเรื่องนิพพาน ใหเ้ ปน็ความจริง และว่านพิ พานเปน็ส่ิงทสี่ ามารถบรรลไุ ดด้ ้วยความพยายามของมนุษย์แต่ละคนเทา่ นน้ั ๒.๕.๖ การอญั เชิญเทวดา พิธีสวดมนต์ในเหตุการณ์แรก คือ การสวดรตนสูตรของพระพุทธเจ้า ที่เมืองเวสาลีเพื่อกาจัด ทุพภิกขภัยน้ัน ไม่ปรากฏว่ามีการอัญเชิญเทวดา แต่ปรากฏว่ามีท้าวสักกเทวราชเสด็จมาพร้อมกับเทวดา ทั้งหลายเพียงเพื่อต้องการฟังรตนสูตร แต่พิธีสวดมนต์ในยุคหลัง มีการกล่าวถึงการอัญเชิญเทวดามาเพื่อรับรู้ เหตุการณ์บางอย่าง ดังมีเร่ืองในอรรถกถาอาฏานาฏิยสูตร ว่าหมู่สงฆ์ได้พยายามขับไล่ภูตผีที่สิงบุคคลอยู่ด้วย การสวด เมตตสูตร รตนสูตรและมงคลสูตร ถ้าวิญญาณยังไม่ออกไปพระสงฆ์จะประชุมกันในสถานท่ีแห่งหนึ่ง และเรียกวิญญาณมา เมื่อวิญญาณน้ันมาถึงก็จะได้รับการแนะนาให้ไปสิงสถิตท่ีต้นไม้และให้ปล่อยคนๆ น้ันไป ถ้าหากยังไม่ยอมไปก็จะแจง้ แกเ่ ทวดาว่า “จงดปู ีศาจตนน้ีไม่ยอมปล่อยคนไป” หลังจากได้แจ้งข่าวแก่เทวดาแล้วภิกษุก็จะสวดอาฏานาฏิยสูตร ซง่ึ เป็นมาตรการสุดท้ายเพ่ือขับไล่ปีศาจให้ออกไปจากหลักฐานน้ีสามารถเห็นได้ว่าข่าวสารท่ีได้ถูกส่งออกไปยัง ภูตผีและเทวดาเป็นการสวดโดยพระภิกษุเอง เป็นพิธีสวดมนต์ท่ีใช้ในการขับไล่ผี และสวดเพ่ือแจ้งเทวดาให้ รบั รขู้ ่าวเก่ยี วกับภตู ผหี วั ดอื้ และไม่ยอมแพ้ต่อมาเมอื่ พธิ สี วดมนตไ์ ด้กลายเป็นพิธีกรรมในทางปูองกันและเป็นสิริ มงคลท่ีสามารถจัดทาได้อย่างอิสระเพื่อจุดประสงค์อันหลากหลายเมื่อไม่มีการแจ้งเร่ืองอันเดือดร้อนอันใดท่ี เกิดจากปศีาจส่งถึงเทวดาการสวดเพื่อแจ้งความแก่เทวดาดังกล่าวก็ได้เปล่ียนเป็นรูปแบบของการ เช้ือเชิญ เทวดาอย่างเป็นทางการดังนั้น การต้อนรับเทวดาอย่างเป็นทางการจึงกลายเป็นคาพูดอันน่าประทับใจ ดัง ข้ันตอนการสวดมนต์ในพิธีกรรมต่างๆ จะมีพิธีสวดชุมนุมเทวดาในขั้นตอนแรกของพิธีกรรมอยู่เสมอซึ่งเป็น หน้าทข่ี องพระสงฆท์ ่จี ะตอ้ งสวดอญั เชญิ เทวดา ดังบทสวดมนต์ตอ่ ไปนี้ คอื “สรชฺช สเสน สพนธฺ ุ นรนิ ทฺ ปริตตฺ านภุ าโว สทา รกฺขตตู ิ (เพิ่มในกรณีพธิ หี ลวง) ผรติ ฺวาน เมตฺต สเมตตฺ า ภทนฺตา อวกิ ฺขติ ตจฺ ิตฺตา ปรติ ฺต ภณนฺตุ สคฺเค กาเม จ รูเป คริ ิสขิ รตเฏ จนฺตลิกฺเข วมิ าเน, ทีเป รฏฺเฐ จ คาเม ตรวุ นคหเน เคหวตถฺ มุ หฺ ิ เขตเฺ ต, ภุมมฺ า จายนตฺ ุ เทวาชลถลวสิ เมยกฺขคนธฺ พฺพนาคา, ตฏิ ฐฺ นฺตา สนตฺ เิ ก ย มุนวิ รวจน สาธโว เม สณุ นตฺ ุ, ธมฺมสสฺ วนกาโล อยมภฺ ทนตฺ า ธมฺมสฺสวนกาโล อยมฺภทนฺตา ธมฺมสฺสวนกาโล อยมภฺ ทนฺตา แปลว่า ขออาราธนาพระคุณเจ้าท้ังหลาย จงมีเมตตา แผ่เมตตาไปว่า ขออานุภาพแห่ง พระปริตร จงพิทักษ์รักษาในกาลทุกเม่ือเถิด ขออย่าได้มีจิตฟุงูซ่าน เจริญพระปริตรเถิด ขอเชิญ ปวงเทพเจ้าท้ังหลาย ในชอ่ สวรรค์ชน้ั กามาพจรกด็ ี ชัน้ รูปาวจรก็ดี และทวยเทพผู้ท่สี ถิตทข่ี ุนเขาสงิ ขร หบุ เหว อากาศวิมานก็ดี ผู้ท่ี สถิตอยู่ในเกาะในแว่นแคว้นก็ดีในบ้านท่ีต้นไม้และปุาชัฏก็ดีที่เรือน เรือกสวนไร่นาก็ดี ขอเหล่ายักษ์คนธรรพ์ และนาคท้ังหลายท่ีสถิตอยู่ในน้าบนบกท่ีลุ่มท่ีดอนก็ดี ซ่ึงเป็นสถานที่ใกล้เคียงกัน ขอเชิญ มาประชุมกัน ขอ บรรดาท่านสาธุชนคนดที ัง้ หลาย จงสดบั รบั ฟงั พระดารัสของพระมุนเี จ้าผู้ประเสรฐิ กับขา้ พเจ้าเถิด ท่านผู้เจริญ

๔๐ ทั้งหลาย เวลาน้ีเป็นเวลาฟังธรรมท่านผู้เจริญทั้งหลาย เวลาน้ีเปน็เวลาฟังธรรม ท่านผู้เจริญท้ังหลายเวลานี้ เป็นเวลาฟงธรรม๔๙ ตอ่ มาในตอนท้ายสวดมนต์เทวตาอุยโยชนคาถาคอื คาถาสง่ เทวดา จะถกู สวดขึ้นเป็นประจาในพิธีกรรม ทางพระพทุ ธศาสนา เป็นคาถากล่าวถึงการแผ่เมตตาแก่สรรพสัตว์แลว้ อัญเชิญเทวดาให้อนุโมทนาบุญและกลับ ไปสู่นเิ วศนข์ องตน พร้อมท้ังอาราธนาพระพุทธคุณ พระธรรมคุณและพระสังฆคุณมาปกปูองคุ้มครองนตราย ดงั มีเนอ้ื หาในคาถานีว้ ่า๕๐ ทกุ ขฺ ปปตฺ ฺตา จ นิททฺ ุกขา ภยปปตฺ ฺตา จ นิพภฺ ยา โสกปปตฺ ตฺ า จ นสิ โฺ สกา โหนฺตุ สพฺเพปิ ปาณโิ น เอตฺตาวตา จ อมเฺ หหิ สมภฺ ต ปญุ ญฺ สมฺปท สพฺเพ เทวานุโมทนตฺ ุ สพฺพสมฺปตฺตสิ ิทธฺ ิยา ทาน ททนตฺ ุ สทฺธาย สีล รกขฺ นฺตุ สพพฺ ทา ภาวนาภิรตา โหนฺตุ คจฺฉนตฺ ุ เทวตาคตา สพเฺ พ พุทฺธา พลปฺปตตฺ า ปจฺเจกานจ ย พล อรหนฺตานญฺจ เตเชน รกฺข พนธฺ ามิ สพฺพโส. แปลว่า ขอสัตว์ทัง้ปวงท่ีมีทุกข์จงไร้ทุกข์ท่ีมีภัย จงไร้ภัย ท่ีมีโศกจงไร้โศก ขอเหล่าเทวดาท้ังปวงจง อนุโมทนาบุญสมบัติที่ขา้ พเจ้าได้บาเพญ็ ดว้ ยการสวดพระปรติ รเหล่านใ้ี ห้สาเรจ็ สมบัติทั้งปวงเถิดขอเทวดาจงให้ ทานด้วยศรัทธาจงรักษาศีลอยู่เสมอจงเป็นผู้ยินดีในการภาวนาขออัญเชิญเทวดาท่ีอยู่ในท่ีนี้กลับสถานของตน เทอญ ขา้ พเจ้าขอผูกมนต์คุ้มครองด้วยเดชของพระพุทธเจ้าผู้ทรงพลานุภาพด้วยเดชพระปัจเจกพุทธเจ้า และ ด้วยเดชของพระอรหันตท์ ัง้ หลายไวท้ ัง้ หมด๕๑ ๒.๖ เนื้อหาของบทสวดมนต์ มุ่งศึกษาเฉพาะบทสวดมนต์ ดังมีต่อไปน้ี บทสวดมนต์แต่ละบทมีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธพจน์ซึ่งสามารถ ใช้สวดเพ่ือต้านทานคุ้มครองปูองกันและรักษาหรืออบรมจิตของผู้สวดนั่นแหละในเบ้ืองต้นซึ่งผู้วิจัยได้เลือกบท สวดที่นิยมสวดในปัจจุบันมีท้ังประโยชน์และได้ท้ังอานิสงส์และท่ีขาดมิได้เลยก็คือประวัติความเปน็มาและ อานุภาพพรอ้ มท้งั เน้ือหาคาแปลซงึ ม่ ีดังต่อไปน้ี ๒.๖.๑ มงคลสตู ร/มงคลปรติ ร๕๒ เน้ือหาของสูตรในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา อธิบายความโดยพิสดารถึงสาเหตุของการที่พระพุทธเจ้าตรัส มงคลสตู รไว้วา่ ประมาณ ๑๒ ปีก่อนพุทธกาล ประชาชนต่างต่ืนตัวว่า อะไรคือเหตุท่ีทาให้ชีวิตเป็นมงคลกล่าว ว่า บ้างก็ว่าวัตถุส่ิงของ เช่น ต้นไม้ สัตว์ หรือว่ารูปเคารพต่างๆ จะทาให้ชีวิตเป็นมงคลเรื่องราวการอภิปราย ๔๙ สมเด็จพระสงั ฆราช, สวดมนต์ฉบบัหลวง, (กรงุ เทพมหานคร : มหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๑๓), หน้า๔๐. ๕๐ ข.ุ ธ.อ. (ไทย) ๓/๒๘๒/๑๖๑. ๕๑ พระมหาบญจุ นั ทร์ ทตตฺ ปญฺโญ, มนต์พิธ,ี (กรุงเทพมหานคร : โรงพพิ มม์ หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๗), หน้า๗๙. ๕๒ ข.ุ ข.ุ (ไทย) ๒๕/๑-๑๓/๖-๘.

๔๑ เรอื่ งมงคล กไ็ ปถึงภุมเทวา คือเทวดาในระดับพื้นดิน เทวดาก็สนทนากันว่าอะไรคือมงคลประเด็นนี้ก็ลุกลามไป ถึงอากาศเทวา ไปถึงสวรรค์ชัน้ต่าง ๆ จนถึงพรหมโลกชั้นสุธาวาส ซ่ึงเป็นที่อยู่อาศัย ของผู้ท่ีบรรลุธรรมเป็น พระอนาคามีแล้ว มีความเข้าใจในเรื่องมงคลชีวิตเป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถอธิบายได้ จึงได้ประกาศให้เทวดา ทราบวา่ พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ จะเสดจ็ ลงมาตรสั รูธ้ รรมในอีก ๑๒ปีใหไ้ ปถามพระพุทธองคใ์ นตอนนน้ั เม่ือพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว คืนหนึ่งขณะท่ีประทับอยู่ ณ เชตวัน มหาวิหาร ใกล้เมืองสาวัตถีท้าวสักกเทวราชได้นาหมู่เทวดาเข้าเฝูา และบัญชาให้เทพบุตรองค์หนึ่งทูลถาม พระองค์ว่า อะไรคือมงคลของชีวิต พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงแสดงหลักมงคลสูตรซึ่งมีท้ังหมด ๑๐ หมวด นบั เป็นรายการได้ ๓๘ ประการ มงคลสูตร เป็นพระสูตรท่ีแนะนาวิธีการดาเนินชีวิต ท่ีเป็นมงคลสูงสุดอย่างชาวบ้านจนถึงชีวิตที่เป็น มงคลสงู สุดอยา่ งพระสงฆ์ พระพุทธองค์ตรัสพระสูตรน้ีแก่เทวดาผู้ทูลถามถึงส่ิงที่เป็นมงคลสาเหตุมาจากการท่ี ประชาชนประชุมกันท่ีสภาเพื่อฟ๎งกถาท่ีแสดงเร่ืองราวต่างๆ โดยได้เชิญผู้มีความรู้ในแต่ละเรื่องมาแสดงตาม วาระ เรอ่ื งท่ีแสดงน้นั บางเรื่องตอ้ งใชเ้ วลานานถงึ ๔ เดอื นจึงจบลงได้ วนั หนึง่ ได้มีการหยบิ ยกเรื่องปัญหาเกยี่ วกับสง่ิ ทเ่ี ชอ่ื ว่าเปน็ มงคลสาหรับชีวิตขึ้นมาแสดง ณ สภาแห่ง นั้น ปัญหานี้ได้มีการถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง จนไม่สามารถหาข้อยุติได้ต่างคนต่างก็มีเหตุผลสนับสนุน แนวคิดของตน ปัญหาดังกล่าวมิใช่เพียงถกเถียงกันในหมู่มนุษย์เท่าน้ัน แต่ยังขยายวงถกเถียงกว้างออกไป จนถึงหมู่เทพทั้งหลาย ความวุ่นวายจึงเกิดข้ึนจากเมืองมนุษย์จนถึงสวรรค์ส่ิงที่คนสมัยพุทธกาลเช่ือกันว่าเปน็ มงคลสูงสดุ สาหรับ ชีวติ แยกออกเป็น ๓ กลุม่ คอื ๑. กลมุ่ ท่ถี อื เอาสงิ่ ท่ีตาเหน็ วา่ เป็นมงคล กลุ่มน้ีถูกเรียกว่า ทิฏฐมังคลิกะ กลุ่มน้ีมีความเห็นว่าการได้ เห็นส่งิ ท่คี นยอมรับกนั อย่างกว้างขวางว่าดนี ่ันเองเปน็ มงคล สงั คมมนุษย์ในยุคน้ันเห็นว่าสิง่ใดดี การได้เห็นส่ิง นั้นถือว่าเป็นมงคล เช่น คนในยุคน้ันเห็นว่าต่ืนนอนลุกข้ึนแต่เช้าได้เห็นนกนางแอ่นบินถลาเล่นลมมะตูมสุกสี เหลอื งสดหญิงมคี รรภเ์ ดก็ น้อยแต่งตัวสวยงามนา่ รัก น้าเต็มตุ่มปลาตะเพียนแดงสด ม้าอาชาไนย รถเทียมด้วย ม้าอาชาไนย พอ่ โค แมโ่ ค โคแดง รวมความคอื ตาได้เหน็ ส่งิ ท่ียอมรบั ว่าดีนัน่เองเป็นมงคล ๒. กลุ่มที่ถอืเอาสิ่งท่ีหูได้ยินว่าเป็นมงคล กลุ่มนี้ถูก เรียกว่าสุตมังคลิกะ กลุ่มนี้มีความเห็นว่าได้ยิน เสียงทคี่ นยอมรบั กนั อย่างกว้างขวางว่าดีนั่นเองเปน็ มงคล เช่น ต่ืนนอนลุกขนึ้ แต่เช้าได้ยินเสียงให้พรว่าจาเริญๆ เถิดสิ่งนๆ้ี เต็มบริบรูณ์ไม่ขาดตกบกพร่อง ส่ิงน้ีๆขาวสะอาดบริสุทธิ์จิตใจดีสิริเจริญ วันนี้ฤกษ์งามยามดีมงคลดี รวมความ คือ หไู ด้ยนิ สงิ ่ทย่ี อมรบั วา่ ดีนันเ่ องเปน็ มงคล ๓. กลุ่มที่ถือเอาสิ่งที่จมูกดมกล่ินว่าเป็นมงคลกลุ่มนี้ถูกเรียกว่ามุตมังคลิกะ กลุ่มน้ีมีความเห็นว่า การ ได้ดมกล่ินล้ิมรสท่ีคนยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าดีนั่นเองเป็นมงคล โดยยึดถือส่ิงที่ได้รับรู้ทางจมูก ทางลิ้น ทางกายคือกล่ินรสโผฏฐัพพะสมบัติว่าดีงามเป็นมงคล เช่นต่ืนนอนลุกขึ้นแต่เช้าได้สูดดมกล่ินหอมของมวล บุปผา หรือได้แปรงฟันให้ขาวสะอาดได้สัมผัสแผ่นดินอันอบอุ่นได้ยืนอยู่ท่ามกลางข้าวกล้าอันเขียวขจีได้สัมผัส มูลโคสดหมู่เกวียนบรรทกุ งา ได้ลูบไล้ดินสอพองของไล้ทาได้นุ่งผ้าขาวและโพกผ้าขาวสะอาดรวมความคือจมกู ได้ดมกลนิ ท่ ยี่ อมรบั วา่ ดีนน่ั เอง เปน็ มงคล ปัญหาดังกล่าวได้ถกเถียงกันกินเวลานานถึง ๑๒ ปีก็ยังหาข้อยุติไม่ได้ว่าอะไรเป็นมงคลจึงเกิดข้อ ถกเถียงขยายวงกว้างออกไป ต้ังแต่หมมู่ นุษย์จนถึงเหล่าเทวดาทัง้หลายในท่ีสุดพระอินทร์เทวาธิบดี แห่ง สวรรค์ชั้นดาวดงึ ส์ ได้มบี ญั ชาใหเ้ ทพบตุ รตนหนึ่งเป็นตัวแทนเหล่าเทพไปเข้าเฝูาพระพุทธเจ้าเพ่ือทูลถามมงคล พระพุทธองค์ได้ตรัสมงคลสูงสุดสาหรับ ชีวิตตอบเทพบุตรป๎ญหาเก่ียวกับสิง่ท่ีเป็นมงคลสูตร สาหรับชีวิตที่ ถกเถยี งกันมานานถึง ๑๒ ปี จงึ ยตุ ลิ งตัง้ แต่น้นั มา

๔๒ พระพทุ ธองคท์ รงแสดงมงคล ๓๘ ประการไว้เป็นหลักในการดาเนินชีวิตทรงแนะนาต้ังแต่การดาเนนิ ชวี ติ อย่างชาวบ้านวา่ ๑. ตอ้ งไม่คบ ค้าสมาคมกบั คนพาลสนั ดานหยาบซึ่งจะนาความทกุ ข์ระทมใจและความ เดือนร้อนมาให้ ๒. การคบ บัณฑติ จะทาให้ชีวิตพบทางสวา่ งเหมือนการขน้ึ มาแห่งดวงอาทิตย์ได้ทาลายความมดื ๓. การเคารพบชู าส่งิ ท่ีควรเคารพบชาู ๔. การได้อย่ใู นถนิ่ อันสมควร ๕. ความมบี ญุได้ทาไว้ในกาลก่อน ๖. การตง้ั ตนไวช้ อบ ๗. ความเปน็ ผมู้ ีการศึกษาดี ๘. ความเป็นผมู้ ศี ิลปะ ๙. ความเปน็ คนมีระเบียบวินัยที่ไดร้ ับการฝึกหัดมาดี ๑๐. ความเป็นผมู้ ีการเจรจาปราศรัยดี ๑๑. การเลี้ยงดบืูดามารดา ๑๒. การสงเคราะห์บตรุ ๑๓. การสงเคราะหภ์ รรยา ๑๔. การมีงานไม่ค่งั ค้าง ๑๕. รูจ้ กั ใหท้ าน ๑๖. มีธรรมะ ๑๗. การสงเคราะหญ์ าติพน่ี ้อง ๑๘. การทาสง่ิ ท่ีไม่มโี ทษ ๑๙. การงดเวน้ จากบาป ๒๐. การบงั คับตนจากการดืม่ น้าเมา ๒๑. ความไมป่ ระมาทในธรรมทัง้ หลาย ๒๒. การมคี วามเคารพ ๒๓. ความไม่เยอ่ หยง่ิ ๒๔. การมคี วามสันโดษ ๒๕. ความกตัญญู ๒๖. การฟังธรรมตามกาล ๒๗. มคี วามอดทน ๒๘. การเปน็ ผู้วา่ งา่ ย ๒๙. การพบเห็นสมณะ ๓๐. สนทนาธรรมตามกาล ๓๑. การบาเพญ็ ตบะ ๓๒. การประพฤติพรหมจรรย์ ๓๓. การเหน็ อริยสจั ๓๔.การทานิพพานให้แจง้