ท่ี คาศัพท์ คาศัพท์ที่ควรทราบ คาแปล ๑ ภิชชฺ ิตวฺ า อ.ความมืด ๒ โอรมิ ตเี ร คาแปล ที่ คาศพั ท์ ตกแล้ว ๓ ปตตุ แตกแล้ว ๕ อนธฺ กาโร ขน้ึ ไปอยู่ ๔ ปารมิ ตเี ร ทีฝ่ งั่ ขา้ งนี้ ๖ อตถฺ งคฺ เต โดยความเปน็ อันเดยี วกัน จงตกไป ๗ อคุ ฺคจฉฺ นตฺ ิ ทีฝ่ ่ังขา้ งโนน้ ๘ เอกโต ๑๗๘
กลา่ วโดยสรุป หลกั การแปลกรยิ าคุมพากย์ ก็คือผแู้ ปลต้องกาหนดกริยาคุมพากย์เป็นสาคัญ เพราะกริยาคุมพากย์เป็นตัวกาหนดข้อความ หรือกริยาคุมพากย์เป็นตัวกาหนดวาจก การแปลโดย พยัญชนะท่ถี กู ตอ้ ง จะตอ้ งกาหนดขอ้ ความแลว้ แปลใหถ้ กู ต้องตามลักษณะของวาจกท้ัง ๕ ๗.๗ บทที่เนอ่ื งดว้ ยกริยาคุมพากย์ บทที่เน่ืองด้วยกริยาคุมพากย์ หมายถึง บทท่ีสามารถสัมพันธ์เข้ากับกริยาคุมพากย์ได้โดยตรง โดยอาจรวมบทหรือข้อความท่เี ก่ียวเน่ืองถึงกันกบั กรยิ าคุมพากย์ ซึ่งทาหนา้ ทเี่ ปน็ ตวั ขยายนามหรือบทที่ สามารถสัมพันธ์เข้ากับกริยาคุมพากย์ได้โดยตรง บทหรือข้อความดังกล่าวนี้ อาจเป็นบทนาม สัพพนาม อัพยยศัพท์ กิตก์ สมาส หรือตัทธิต หรืออาจเป็นบทท่ีประกอบด้วยทุติยาวิภัตติ ถึง สัตตมีวิภัตติ หรือ อาจเปน็ ข้อความภายใน อติ ิ ศัพทท์ งั้ หมดที่ทาหน้าท่ีขยายกรยิ าคุมพากย์ ถอื ว่าเป็นบทท่เี น่ืองด้วยกริยา คมุ พากย์ อาจวางอยู่หน้ากริยาคุมพากยห์ รือหลงั กริยาคุมพากย์ ก็ได้ เชน่ สตถฺ าปิ อุปฺปติตฺวา เชตวนเมว คโต. (๓/๒๑) แปลโดยพยญั ชนะ แม้ อ. พระศาสดา ทรงเหาะขน้ึ แล้ว เสดจ็ ไปแล้ว ส่พู ระวหิ ารชือ่ วา่ เชตวนั นน่ั เทียว (ท่เี น้นตวั หนา เป็นบทหรอื ข้อความทเ่ี นื่องดว้ ยกริยาคุมพากย์) ตสสฺ เชตวเน วหิ รนฺตสสฺ อภิกขฺ ณ าติทารกา สนตฺ ิก อาคนตฺ วฺ า กถาสลลฺ าปํ กโรนตฺ .ิ (๓/๑๗๙) แปลโดยพยญั ชนะ เม่ือสามเณรน้ัน อยู่อยู่ ในพระวิหารช่ือว่าเชตวัน อ. เด็กผู้เป็นญาติ ท. มาแล้ว สู่สานัก ย่อมกระทา ซ่ึงการเจรจาด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าวเนือง ๆ (ท่ีเน้นตัวหนา เป็นบทหรือ ขอ้ ความทเี่ นือ่ งดว้ ยกริยาคมุ พากย)์ สา (อิตฺถี) เอกทิวส ทาน ทตฺวา ปูช กตฺวา ธมฺม สุตฺวา สิกฺขาปทานิ รกฺขิตฺวา ทิวสปริโยสาเน ตขณ นิพพฺ ตฺเตน เกนจิ โรเคน กาล กตวฺ า อตตฺ โน สามกิ สเฺ สว สนตฺ ิเก นพิ พฺ ตฺติ. (๓/๒๗) แปลโดยพยัญชนะ ในวันหน่ึง อ. หญิงน้ัน ถวายแล้ว ซึ่งทาน การทาแล้ว ซึ่งการบูชา ฟังแล้ว ซึ่งธรรม รักษา แล้ว ซึ่งสิกขาบท ท. กระทาแล้ว ซ่ึงกาละ ด้วยโรค บางอย่าง อันบังเกิดแล้ว ในขณะนั้น ในกาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งวัน บังเกิดแล้ว ในสานัก ของสามี ของตน นั่นเทียว (ท่ีเน้น ตัวหนา เปน็ บททีเ่ น่อื งด้วยกรยิ าคมุ พากย)์ ๑๗๙
เถโร ตฺวา ปุน ปฏิกขฺ ปิ ติ วฺ า อปคนฺตุ อนจิ ฺฉมานา ยาจนตฺ ิโย“อตตฺ โน ปมาณ น ชานาถ, อปคจฉฺ ถาติ ( าปนเหตกุ ) อจฉฺ ร ปหริ. (๓/๘๑) แปลโดยพยัญชนะ อ. พระเถระ รู้แล้ว ห้ามแล้ว อีก ดีดแล้ว ซึ่งน้ิวมือ มีอันให้รู้ว่า อ. เธอ ท. ย่อมไม่รู้ ซึ่ง ประมาณ ของตน อ. เธอ ท. จงหลกี ไป ดังนเี้ ปน็ เหตุ กะนางอปั สร ท. ผู้ไมป่ รารถนาอยู่ เพื่ออันหลีกไป ผู้อ้อนวอนอยู่ (ที่เน้นตัวหนา เป็นบทหรือข้อความที่เน่ืองด้วยกริยาคุม พากย)์ กล่าวโดยสรุป บทท่ีเนื่องด้วยกริยาคุมพากย์ เป็นบทท่ีสามารถสัมพันธ์เข้ากับกริยาคุมพากย์ ได้โดยตรง โดยอาจรวมบทหรือข้อความท่ีเกี่ยวเนื่องถึงกันกับกริยาคุมพากย์ ซ่ึงทาหน้าที่เป็นตัวขยาย นามหรือบทท่ีสามารถสัมพนั ธ์เขา้ กบั กริยาคมุ พากย์ไดโ้ ดยตรง ๗.๘ หลกั การแปลบททเี่ นอ่ื งด้วยกริยาคมุ พากย์ เมอื่ ผแู้ ปลไดแ้ ปลกรยิ าคุมพากย์แลว้ ลาดับต่อไปก็ให้แปลบททีเ่ นื่องด้วยกรยิ าคุมพากย์ (ถ้ามี) ซ่ึงถือเป็นลาดับสุดท้ายตามหลักการแปลประโยคภาษาบาลี ๙ ประการ (อาจเรียกว่า หลักการแปล ประโยคภาษาบาลีทั่วไป) ดปู ระโยคตวั อยา่ ง ต่อไปน้ี เตวสี ตยิ า กมุ าราน อาจรโิ ย คาม ปวิฏฺโ . แปลโดยพยัญชนะ อ. อาจารย์ ของกุมาร ท. ๒๓ คน เข้าไปแล้ว สู่บ้าน (คาม เป็นบททุติยาวิภัตติ ที่สามารถ สัมพันธ์เข้ากับกริยาคุมพากย์ คือ ปวิฏฺโ ได้โดยตรง และวางไว้หน้ากริยาคุมพากย์ จดั เปน็ บททเี่ น่ือง ด้วยกริยาคุมพากย)์ วาณชิ า วิเทสา ภณฑฺ านิ อาเนตวฺ า อาปเณสุ ตานิ วิกฺกณี นตฺ .ิ แปลโดยพยัญชนะ อ. พ่อค้า ท. นามาแล้ว ซึ่งภัณฑะ ท. จากต่างประเทศ ย่อมขาย ซ่ึงภัณฑะ ท. เหล่านั้น ในร้านค้า ท. (อาปเณสุ ตานิ เป็นบทสัตตมีวิภัตติและทุติยาวิภัตติ ที่สามารถสัมพันธ์เข้า กับกริยาคุมพากย์ คือ วิกฺกีณนฺติ ได้โดยตรง และวางไว้หน้ากริยาคุมพากย์ จึงจัดเป็นบท (๒ บท) ทีเ่ นอ่ื งด้วยกริยาคมุ พากย์) โส ภกิ ขฺ ุ เอเกน สามเณเรน สทธฺ ึ อรญฺ คนฺตวฺ า อตตฺ โน วหิ าร อาคจฉฺ ต.ิ แปลโดยพยญั ชนะ อ. ภิกษุนนั้ ไปแลว้ สู่ปา่ กับ ด้วยสามเณร รูปหน่ึง ยอ่ มมา สู่วิหาร ของตน ๑๘๐
(วิหาร เป็นบททตุ ยิ าวิภัตติ สามารถสมั พนั ธ์เข้ากับกรยิ าคุมพากย์ คือ อาคจฉฺ ติ ไดโ้ ดยตรง ส่วน อตฺตโน เป็นบทฉัฏฐีวิภัตติท่ีสัมพันธ์เข้ากับ วิหาร ซ่ึงถือว่าเกี่ยวเนื่องถึงกันกับกริยา คมุ พากย์โดยอนโุ ลม ท้งั ๒ บท วางไว้หน้ากรยิ าคุมพากยจ์ งึ จัดเป็นบท (๒ บท) ทเ่ี นื่องด้วย กรยิ าคมุ พากย)์ เอว สตฺถา เตส ภิกขฺ นู ธมฺม เทเสส.ิ แปลโดยพยัญชนะ อ. พระศาสดา ทรงแสดงแลว้ ซ่ึงธรรม แก่ภิกษุ ท. เหล่านนั้ (ภิกฺขูน ธมฺม เป็นบทฉัฏฐีวิภัตติและทุติยาวิภัตติที่สามารถสัมพันธ์เข้ากับกริยาคุมพากย์ คือ เทเสสิ ได้โดยตรง สว่ น เตส เปน็ บทขยาย ภกิ ขฺ ูน ซึ่งถอื ว่าเก่ียวเนือ่ งถงึ กนั กับกริยาคุม พากย์โดยอนุโลม ท้ัง ๓ บท วางไว้หน้ากริยาคุมพากย์จึงจัดเป็นบท (๓ บท) ท่ีเนื่องด้วย กริยาคมุ พากย)์ สตฺถา ภตฺตคฺค ปวสิ ิตฺวา ปญฺ ตตฺ าสเน นิสที ิ สทธฺ ึ ภิกขฺ สุ งฺเฆน. แปลโดยพยัญชนะ อ. พระศาสดา เสด็จเข้าไปแล้ว สู่โรงแห่งภัตร ประทับนั่งแล้ว บนอาสนะอันบุคคลปูลาด แล้ว กบั ดว้ ยหมู่แห่งภกิ ษุ (ปญฺ ตตฺ าสเน เปน็ บทสตั ตมวี ิภตั ติ วางไว้หน้ากริยาคมุ พากย์ คือ นิสีทิ, สทฺธึ เป็นบทนิบาต วางไว้หลังกริยาคุมพากย์ ทั้ง ๒ บท น้ีสามารถสัมพันธ์เข้า กับกริยาคุมพากย์ได้โดยตรง ส่วน ภิกฺขุสงฺเฆน เป็นบทตติยาวิภัตติ วางไว้หลังกริยาคุม พากย์ และสัมพันธ์เข้ากับ สทฺธึ ซ่ึงก็ถือว่าเกี่ยวเน่ืองถึงกันกับกริยาคุมพากย์โดยอนุโลม ทัง้ ๓ บท จงึ จัดเปน็ บททีเ่ น่ืองด้วยกริยาคุมพากย์) กลา่ วโดยสรุป เม่อื ผแู้ ปลได้แปลกริยาคุมพากย์แล้ว ลาดับต่อไปกใ็ หแ้ ปลบททเ่ี นื่องด้วยกริยา คมุ พากย์ (ถ้ามี) ซ่ึงถือเป็นลาดับสดุ ทา้ ยตามหลักการแปลประโยคภาษาบาลีทวั่ ไป ๑๘๑
แบบฝึกหัดที่ ๗.๕ (การแปลบทที่เน่อื งด้วยกริยาคมุ พากย์) ให้แปลประโยคต่อไปนเ้ี ป็นไทยโดยพยัญชนะ ๑. เอว สตฺถา เตส ภกิ ขฺ ูน ธมมฺ เทเสสิ. ๒. สตถฺ า ภตตฺ คฺค ปวสิ ิตฺวา ปญฺ ตฺตาสเน นิสที ิ สทธฺ ึ ภกิ ขฺ ุสงฺเฆน. ๓. วาณชิ า วเิ ทสา ภณฑฺ านิ อาเนตวฺ า อาปเณสุ ตานิ วิกฺกณี นตฺ ิ. ๔. เอกทิวส วิธุโร ภิกฺขุ เถร อุปสงฺกมิตฺวา “กสฺส ปุตฺโต ภนฺเต อมฺหาก สตฺถาติ ปุจฺฉิ. โส “กปิลวตถฺ สุ ฺมึ สทุ โฺ ธทนมหาราชสสฺ อาวุโสติ อาห. ๑๘๒
ที่ คาศพั ท์ คาศัพทท์ ่คี วรทราบ คาแปล ๑ เอกทวิ ส อ.พ่อค้า ท. ๒ อุปสงกฺ มติ ฺวา คาแปล ท่ี คาศัพท์ ในร้านค้า ท. ๓ ภตตฺ คคฺ ณ วันหนึง่ ๔ วาณชิ า เข้าไปหาแลว้ ๕ อาปเณสุ สโู่ รงแห่งภตั ร ๑๘๓
๗.๙ สรปุ ทา้ ยบท ประโยคแทรก กริยาคุมพากย์ และบทที่เน่ืองด้วยกริยาคุมพากย์ที่ได้นาเสนอในบทที่ ๗ น้ี มี ท้งั หมด ๗ ประเดน็ ซง่ึ แตล่ ะประเดน็ มสี าระสาคญั อาจสรปุ ได้ ดงั น้ี ๗.๙.๑ ความหมายของประโยคแทรก: ประโยคแทรกเป็นประโยคหรือข้อความที่แทรก เข้ามาต่างหากจากข้อความเดิมโดยมีบทประธานและกริยาเป็นเฉพาะของตน ในข้อความเดิมจะมี ประโยคใหญ่เป็นประโยคยืนหรือประโยคหลัก และมีประโยคเล็กเป็นประโยคแทรก ซ่ึงอาจแทรกหน้า ประโยคใหญห่ รือทา่ มกลางประโยคใหญ่ โดยมีเนื้อความทก่ี ลา่ วถงึ เรอื่ งอนื่ ซง่ึ ตา่ งไปจากประโยคใหญ่ ๗.๙.๒ ประเภทของประโยคแทรก: ประโยคแทรกในภาษาบาลี มี ๒ ประเภท ได้แก่ ๑) ประโยคอนาทร เป็นประโยคแทรกท่ีแทรกเข้ามาในประโยคหลักซ่ึงเป็นประโยคยืน หมายถึง บทนาม นามทีเ่ ปลย่ี นทา้ ยคาเปน็ วจนะในรูปฉัฏฐีวภิ ัตติ แปลออกสาเนียงอายตนบิ าตว่า “เมื่อ…” ทาหนา้ ท่ีเป็น ประธานในประโยค และมีกริยาคุมพากย์ เรียกว่า “กริยาอนาทร” ประกอบด้วย ต, อนฺต หรือ มาน ปัจจัย และ ๒) ประโยคลักขณะ เป็นประโยคแทรกท่ีแทรกเข้ามาในประโยคหลัก ในลักษณะเดียวกับ ประโยคอนาทร หมายถึง บทนามนามท่ีเปลี่ยนท้ายคาเป็นวจนะในรูปสัตตมีวิภัตติ แปลออกสาเนียง อายตนิบาตว่า “คร้ันเมื่อ…” ทาหน้าท่ีเป็นประธานในประโยคและมีกริยาคุมพากย์ เรียกว่า “กริยา ลักขณะ” หรือ “กรยิ าลกั ขณวันตะ” ประกอบด้วย ต อนฺต หรอื มาน ปัจจยั เหมือนประโยคอนาทร ๗.๙.๓ หลักการแปลประโยคแทรก: ถ้าประโยคแทรกเป็นประโยคอนาทร ให้แปลว่า “เมื่อ…” ส่วนกริยาอนาทรที่ใช้ อนฺต หรือ มาน ปัจจัย ให้แปลว่า “เมื่อ…” หรือ “…อยู่” แต่ถ้าใช้ ต ปัจจัย ให้แปลว่า “…แล้ว” แต่ถ้าประโยคแทรกเป็นลักขณะ ให้แปลว่า “คร้ันเม่ือ…” ส่วนกริยา ลักขณะท่ีใช้ อนฺต หรือ มาน ปัจจัย ให้แปลว่า “เมื่อ …” หรือ “…อยู่” และท่ีใช้ ต ปัจจัย ให้แปลว่า “…แลว้ ” เช่นเดียวกบั กรยิ าอนาทรดังกลา่ วมาแลว้ ๗.๙.๔ กริยาคุมพากย์: กริยาคุมพากย์เป็นกริยาอาการที่เกิดข้ึนหรือที่กล่าวถึงเป็นตัว สุดท้ายของข้อความ ไม่ว่าจะวางอยู่ส่วนไหนของข้อความ กริยาคุมพากย์มีหลายประเภท ได้แก่ ๑) กริยาอาขยาต ซ่ึงต้องมีวจนะ และบุรุษ ตรงกับบทประธาน ๒) กริยากิตก์ ท่ีประกอบด้วย ต, อนีย หรือ ตพฺพ ปัจจัย ๓) นามกิตก์ ท่ีลง ณฺย ปัจจัย ๔) กริยาลง ตฺวา ปัจจัย ท่ีใช้เป็นกริยาคุมพากย์ใน ประโยคกริยาปธานนัย ๕) กริยาลง อนฺต, มาน และ ต ปัจจัย ที่ประกอบด้วยฉัฏฐีวิภัตติ ใช้เป็นกริยา คมุ พากยข์ องประโยคอนาทร และท่ปี ระกอบด้วยสัตตมวี ภิ ตั ติ ใชเ้ ป็นกรยิ าคุมพากยข์ องประโยคลักขณะ ๖) บทนิบาตบางตัว ท่ีเปน็ อัพยยศัพท์ ลงในอรรถปฐมาวิภตั ติ และ ๗) บทกริยาพิเศษ ท่ีเป็นไดท้ ั้งเอก วจนะและพหุวจนะ ๗.๙.๕ หลักการแปลกริยาคุมพากย์: ผู้แปลต้องกาหนดกริยาคุมพากย์เป็นสาคัญ เพราะกริยาคุมพากย์เป็นตัวกาหนดข้อความ หรือกริยาคุมพากย์เป็นตัวกาหนดวาจก การแปลโดย พยญั ชนะทีถ่ กู ต้อง จะต้องกาหนดข้อความแล้วแปลให้ถูกตอ้ งตามลกั ษณะของวาจกท้ัง ๕ ๗.๙.๖ บทที่เน่ืองด้วยกริยาคุมพากย์: บทท่ีเน่ืองด้วยกริยาคุมพากย์ เป็นบทท่ีสามารถ สัมพันธเ์ ข้ากบั กรยิ าคมุ พากย์ได้โดยตรง โดยอาจรวมบทหรอื ขอ้ ความทีเ่ กีย่ วเนอ่ื งถงึ กนั กบั กริยา คุม พากย์ ซงึ่ ทาหน้าทเ่ี ป็นตัวขยายนามหรือบทท่สี ามารถสมั พันธ์เข้ากบั กริยาคมุ พากย์ไดโ้ ดยตรง ๑๘๔
๗.๙.๗ หลักการแปลบทท่ีเนือ่ งด้วยกริยาคุมพากย์: เมอื่ ผูแ้ ปลไดแ้ ปลกริยาคุมพากย์แล้ว ลาดับต่อไปก็ให้แปลบทท่ีเนื่องด้วยกริยาคุมพากย์ (ถ้ามี) ซึ่งถือเป็นลาดับสุดท้ายตามหลักการแปล ประโยคภาษาบาลีทั่วไป ๑๘๕
บทท่ี อติ ิ ศพั ท์ ๘ วตั ถุประสงค์ ๑. บอกความหมายของ อติ ิ ศัพท์ได้ ๒. อธบิ ายหลกั เกณฑ์สนธิ อิติ ศพั ท์กับบทนามหรอื บทกริยาได้ ๓. อธบิ ายหลกั การแปลและแปล อติ ิ ศพั ท์ได้ถูกต้อง ๘.๑ ความนา ในการแปลบาลีเป็นไทย หลงั จากที่ผ้ศู ึกษาได้ศึกษาและฝึกแปลประโยคแทรก กริยาคมุ พากย์ และบทท่ีเน่ืองด้วยกริยาคุมพากย์ในบทท่ี ๗ มาแล้ว จึงควรศึกษาและฝึกแปลเรื่อง อิติ ศัพท์เป็นลาดับ ต่อไป เพราะ อิติ ศัพท์ เป็นนิบาตท่ีมีไว้สาหรับเชื่อมกับศัพท์อื่น อาจเขียนเชื่อมกับบทนาม หรือบท กริยาก็ได้ เวลาเชื่อมและอยู่ในรูปประโยคคาพูดต่าง ๆ แล้ว อาจมีกลวิธีการแปลได้ถึง ๑๐ ประการ นับว่า อิติ ศัพท์ มีบทบาทที่สาคัญและหลากหลายมากเมื่อเชื่อมกับบทกริยา หรือบทนาม หรือปรากฏ อยู่ในประโยค ดังน้ัน ในบทนี้ จะนาเสนอเนื้อหาสาระสาคัญที่เกี่ยวกับ อิติ ศัพท์ ๓ ประเด็น ได้แก่ ๑) ความหมายของ อิติ ศัพท์ ๒) หลักเกณฑ์การสนธิ อิติ ศัพท์ กับบทนาม หรือบทกริยา และ ๓) หลักการแปล อติ ิ ศพั ท์ โดยมีรายละเอยี ด ดังต่อไปน้ี ๘.๒ ความหมายของ อิติ ศพั ท์ อิติ ศัพท์ หมายถึง ศัพท์ที่ไม่สามารถแจกด้วยวิภัตติต่าง ๆ เหมือนอย่างบทนามได้ คงรูปอยู่ อย่างเดิม เรียกช่ือว่า “อัพยยศัพท์” จัดเป็นศัพท์นิบาตบอกเน้ือความต่าง ๆ มีไว้สาหรับเขียนเช่ือมกับ ศัพท์อื่นโดยมาก (ที่อยู่โดดเด่ียวมีน้อย) อาจเขียนเชื่อมกับบทนาม หรือบทกริยาก็ได้ อยู่หลังบทใดให้ เขียนเชอื่ มหรือติดกบั บทนัน้ โดยวิธีสนธิ ๑๘๖
๘.๓ หลกั เกณฑก์ ารสนธิ อิติ ศพั ท์ กบั บทนามหรือบทกริยา การเขียน อิติ ศัพท์ เพ่ือให้มีการสนธกิ ับบทนามหรือบทกริยานัน้ มีหลักเกณฑ์ในการเขียน ๓ ประการ ดงั นี้ ๘.๓.๑ อติ ิ ศัพท์ อย่หู ลังบทนามหรือกริยาทล่ี งท้ายด้วยสระเสียงสั้น (รัสสะ) คอื อ อิ อุ เวลาเชอื่ มกัน ใหล้ บ อิ ท่ี อติ ิ คงไวเ้ ฉพาะ ติ แล้วทฆี ะสระหน้าเป็นเสียงยาว คือ อ เปน็ อา, อิ เปน็ อ,ี อุ เปน็ อู เชน่ อ = มาณว + อติ ิ เป็น มาณวาติ อิ = กโรติ + อติ ิ เป็น กโรตตี ิ อุ = โหตุ + อิติ เป็น โหตูติ ๘.๓.๒ อิติ ศัพท์ อยหู่ ลังบทนามหรือกรยิ าที่ลงทา้ ยดว้ ยสระเสยี งยาว (ทฆี ะ) คือ อา อี อู เอ โอ ซึ่งเป็นสระเสียงยาวอยู่แลว้ เวลาเชอื่ มกนั ใหล้ บ อิ ที่ อติ ิ คงเหลือไวเ้ ฉพาะ ติ แล้วนามาเช่อื มกนั ไดท้ ันที เช่น อา = ภาสติ า + อติ ิ เป็น ภาสิตาติ อี = อติ ฺถี + อติ ิ เป็น อติ ฺถีติ อู = วธู + อติ ิ เป็น วธูติ เอ = ภิกขฺ เว + อิติ เป็น ภิกฺขเวติ โอ = ปาโล + อติ ิ เป็น ปาโลติ ๘.๓.๓ อิติ ศัพท์ อยู่หลงั บทนามหรือกริยาทีล่ งท้ายดว้ ยเคร่ืองหมายนิคคหิต ( ) ทอ่ี ยู่บน สระหรือพยัญชนะก็ตาม เวลาเชื่อมกันให้ลบ อิ ที่ อิติ คงเหลือไว้เฉพาะ ติ แล้วแปลงนิคคหิตท่ีอยู่ ข้างหน้า ติ เป็น นฺ ซ่ึงเป็นพยญั ชนะทีส่ ดุ วรรคของ ต เสมอไป แล้วนามาเชื่อมกัน เชน่ นิคคหติ อ (- ) = กต + อิติ เป็น กตนตฺ ิ นิคคหติ อึ (- ) = ตสฺมึ + อิติ เป็น ตสมฺ ินตฺ ิ นิคคหิต อุ ( - ) = กาตุ + อติ ิ เป็น กาตนุ ฺติ ๑๘๗
หลักเกณฑ์การสนธิ อิติ ศัพท์กับบทนามหรือกริยาน้ี มีใช้ในปกรณ์ทั่ว ๆ ไป เวลาแปลเป็น ภาษาไทยโดยวิธยี กศัพท์ นิยมอา่ นแยก อิติ ศัพท์ ออกจากกัน และในการเขียน อิติ ศัพท์ น้ี มขี ้อสังเกต ว่า ถา้ ในประโยคยาว ๆ มีข้อความทับซ้อนกันหลายข้อหลายประเด็น เหมือนผู้เล่านิทานเลา่ เรื่องไป แล้วอ้างคนในนิทานที่ตัวเล่าว่า คนน้ันพูดอย่างนี้ คนน้ีพูดอย่างน้ัน ในท่ีสุดข้อความหน่ึง ๆ ต้องลง อิติ ศัพท์ ค่ัน ดังนั้น จะมีเครื่องหมายคาพูดเป็นอัญประกาศเปิด (“....) ไว้ให้สังเกตได้ง่าย เรียกว่า เคร่ืองหมายเลขนอก-เลขใน และเม่ือจบประโยคยาวหรือประโยคใหญ่ จะมีกริยาอาขยาตคุมพากย์อยู่ สดุ ขอ้ ความ โดยมเี คร่อื งหมายมหพั ภาค (.) กากบั อยูด่ ว้ ยเสมอไป เชน่ เอกสมฺ ึ สมเย ภควา ราชคหโต นกิ ฺขมิตฺวา ฉ ทสิ า นมสฺสนฺต สคิ าลก มาณว ทิสฺวา “กสิ สฺ ตวฺ คหปตปิ ตุ ฺต ทสิ า นมสฺสตี ิ ต ปุจฺฉิ, ต สตุ ฺวา สคิ าลโก มาณโว “ปติ า เม ภนเฺ ต กาล กโรนโฺ ต เอว อวจ ‘ทสิ า ตาต นมสเฺ สยฺยาสีติ, โส อห ปิตุ วจน กโรนโฺ ต ทสิ า นมสฺสามตี ิ อาห. อถ น ภควา “น โข คหปตปิ ตุ ฺต อริยสฺส วินเย เอว ทิสา นมสฺสติ พฺพาติ วตวฺ า เตน ปจุ ฺฉิโต คิหวิ ินย กเถสิ. ข้อสังเกต: ๑) หน้าประโยคคาพูดหรือประโยคเลขใน กิสฺส ตฺว คหปติปุตฺต ทิสา นมสฺสสิ จะมี เคร่ืองหมายอัญประกาศเปิด (“...) ไม่มีเครื่องหมายอัญประกาศปิด (...”) แต่จะใช้ อิติ ศัพท์สนธิกับบท กริยา นมสฺสสิ แทน ๒) หน้าประโยคคาพดู หรือประโยคเลขในท่ีซอ้ นประโยคเลขในอีกชนั้ หนึง่ คอื ประโยค ทสิ า ตาต นมสฺเสยยฺ าสิ จะใช้เครื่องหมายอญั ประกาศเปิดเพียงคร่งึ หนง่ึ คอื ‘... กล่าวโดยสรุป ในการเขียน อิติ ศัพท์ เพื่อให้มีการสนธิกับบทนามหรือบทกริยาน้ัน มี หลักเกณฑก์ ารเขียน ๓ ประการ ได้แก่ ๑) อิติ ศพั ท์ อยหู่ ลังบทนามหรือกริยาที่ลงท้ายดว้ ยสระเสียงส้ัน (รัสสะ) คือ อ อิ อุ เวลาเช่ือมกัน ให้ลบ อิ ท่ี อิติ คงไว้เฉพาะ ติ แล้วทีฆะสระหน้าเป็นเสียงยาว คือ อ เป็น อา, อิ เป็น อี, อุ เป็น อู ๒) อิติ ศัพท์อยู่หลังบทนามหรือกริยาที่ลงท้ายด้วยสระเสียงยาว (ทีฆะ) คือ อา อี อู เอ โอ ซ่ึงเป็นสระเสียงยาวอยู่แล้ว เวลาเชื่อมกันให้ลบ อิ ที่ อิติ คงเหลือไว้เฉพาะ ติ แล้ว นามาเชอื่ มกันได้ทันที และ ๓) อิติ ศัพท์อยูห่ ลังบทนามหรือกรยิ าท่ีลงท้ายด้วยเคร่ืองหมายนิคคหิต ( ) ที่อยู่บนสระหรือพยัญชนะก็ตาม เวลาเชื่อมกันให้ลบ อิ ท่ี อิติ คงเหลือไว้เฉพาะ ติ แล้วแปลงนิคคหิตท่ี อยูข่ า้ งหน้า ติ เป็น นฺ ซึง่ เป็นพยัญชนะทีส่ ุดวรรคของ ต เสมอไป แลว้ นามาเชอื่ มกัน ๘.๔ หลักการแปล อติ ิ ศัพท์ อิติ ศัพท์ เป็นศัพทน์ บิ าตทม่ี ีไวส้ าหรบั เชื่อมกับศัพท์อื่น เวลาเชือ่ มและอยู่ในรูปประโยคคาพูด ตา่ ง ๆ แล้ว มหี ลักการแปลได้ถึง ๑๐ ประการ ดังนี้ ๑๘๘
๘.๔.๑ อิติ ศัพท์ แปลวา่ “วา่ ...ดงั นี้เป็นตน้ ” ๘.๔.๒ อติ ิ ศัพท์ แปลวา่ “ว่า...ดังน้ี” ๘.๔.๓ อิติ ศัพท์ แปลวา่ “ว่า...ดงั น้ี” ๘.๔.๔ อิติ ศัพท์ แปลว่า “...ชือ่ วา่ ” ๘.๔.๕ อติ ิ ศัพท์ แปลว่า “...เพราะเหตนุ ี้” ๘.๔.๖ อติ ิ ศัพท์ แปลว่า “...เพราะเหตนุ ั้น” ๘.๔.๗ อติ ิ ศัพท์ แปลว่า “...ด้วยประการฉะนี้” ๘.๔.๘ อิติ ศัพท์ แปลว่า “...ดังน้เี ปน็ เหตุ” ๘.๔.๙ อติ ิ ศัพท์ แปลว่า “...แล, ดงั นแ้ี ล” ๘.๔.๑๐ อติ ิ ศัพท์ แปลวา่ “...คือ” ๘.๔.๑ อิติ๑ ศัพท์ แปลว่า “ว่า...ดังนเ้ี ป็นต้น” หมายถึง ข้อความทผ่ี ู้แตง่ ยกมากล่าวไว้แต่โดย ยอ่ ไม่ประสงค์จะกลา่ วท้งั หมด จงึ ละไวใ้ นฐานที่เขา้ ใจ ในกรณีเช่นน้ี จะต้องมี อติ ิ ศัพท์ กากบั ขอ้ ความ ไวบ้ างสว่ น เวลาสมั พนั ธต์ ้องเขา้ กบั บทนามเสมอไป ได้ช่ือว่า “อาทยตั ถะ” แปลวา่ มีเนื้อความว่า...เปน็ ต้น เชน่ “ปเร จ น วชิ านนฺตีต๒ิ อิม ธมฺมเทสน สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต โกสมฺพิเก ภิกฺขู อารพฺภ กเถสิ. แปลโดยพยัญชนะ อ. พระศาสดา เมือ่ ประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวนั ทรงปรารภแล้ว ซง่ึ ภกิ ษุ ท. ผู้อยู่ใน เมืองโกสัมพี ตรัสแลว้ ซงึ่ พระธรรมเทศนานี้วา่ “ปเร จ น วิชานนฺติ” ดงั น้ีเป็นต้น แปลโดยอรรถ พระบรมศาสดา เมอื่ ประทบั อยู่ ณ เชตวนั ทรงปรารภถึงพวกภกิ ษุชาวเมอื งโกสัมพี จงึ ไดต้ รสั พระธรรมเทศนานี้วา่ “ปเร จ น วชิ านนฺติ” ดงั น้ีเป็นตน้ ข้อสังเกต: ข้อความว่า ปเร จ น วิชานนฺติ น้ัน เป็นคาถาบาทแรกที่ยกมากล่าวแต่โดยย่อ ผู้ ศึกษาจึงควรรวู้ า่ ยังมบี าทต่อไป ดงั นี้ ๑ ในธรรมบททั้ง ๘ ภาค ตอนเริ่มต้นแต่ละเรื่อง จะมี อิติ ศัพท์กากับไว้เหมือนกันหมด ควรจาไว้เป็นแบบ เพียงแบบเดียว ก็สามารถจะแปลได้ทุกเร่ือง เพราะว่าเป็นแบบตายตัว ในรูปประโยคมีลักษณะคล้ายกัน เพียงแค่ เปลี่ยนชอื่ เรอ่ื งเทา่ นนั้ ๒ เวลาสมั พันธ์ให้สมั พนั ธ์ อติ ิ ศพั ท์ เปน็ อาทยัตถะ เข้ากบั บทนาม คือ ธมฺมเทสน ๑๘๙
“... ‘มยเมตถฺ ยมาม เส;’ เย จ ตตฺถ วชิ านนตฺ ิ ตโต สมฺมนฺติ เมธคาติ๓ ๘.๔.๒ อิติ ศัพท์ แปลว่า “ว่า...ดังนี้” หมายถึง ข้อความบางตอนท่ียกมากล่าวไว้ทั้งหมด ไม่ ตอ้ งละขอ้ ความใดไว้ ฟังไดค้ วามเตม็ พากย์บริบูรณ์ ในกรณเี ชน่ นี้ อติ ิ ศพั ท์ต้องเชอื่ มเขา้ กับสระทสี่ ุดของ ศัพท์ในประโยคเลขในเสมอไป โดยมคี ากรยิ ารบั เป็นเลขนอก เวลาสัมพนั ธ์ อติ ิ ศัพท์ ต้องเขา้ กับกริยา เสมอไป เรียกวา่ “อาการะ” หรือ “อาการตั ถะ” ลงในอรรถแห่งอาการกรยิ า นยิ มใช้ในประโยคสนทนา โตต้ อบกนั เช่น “เถโร กิร ตสฺส สนฺติก คนฺตฺวา อาห “กินฺนุ โข พฺราหฺมณ กิญฺจิเทว กุสล กโรสีติ. (พฺราหฺมโณ) “กโรมิ ภนฺเตติ (อาห.) (เถโร) “กโรสีติ (ปุจฉฺ ิ.) แปลโดยพยัญชนะ ได้ยนิ ว่า อ. พระเถระ ไปแลว้ สู่สานกั ของพราหมณน์ ั้น กล่าวแล้วว่า “ดูก่อนพราหมณ์ อ. ทา่ น ยอ่ มทา ซ่งึ กศุ ล อยา่ งใดอย่างหน่ึงน่นั เทียวหรือ หนอแล” ดงั นี้. (อ. พราหมณ์ กล่าวตอบว่า) “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ข้าพเจ้า กระทาอยู่” ดังนี้ (อ. พระเถระถามว่า) “อ. ทา่ น กระทาอยู่ ซ่งึ อะไร” ดงั นี้ ข้อสังเกต: อิติ ศัพท์ที่เช่ือมอยู่กับข้อความดังกล่าวเรียกว่า“อาการะ”หรือ “อาการัตถะ” เข้า กับ อาห หรอื ปุจฉฺ ิ ซง่ึ เปน็ กริยารบั เปน็ เลขนอก แต่ในบางกรณี อติ ิ ศัพทท์ ีแ่ ปลวา่ ดังนี้ ไมต่ ้องสัมพันธ์ เขา้ กบั ศพั ทใ์ ดก็ได้ เชน่ สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม; สนฺทิฏฺ ฐิโก, อกาลิโก; เอหิปสฺสิโก, โอปนยิโก, ปจฺจตฺต เวทติ พฺโพ วญิ ญฺ หู ีต.ิ แปลโดยอรรถ ธรรมะ อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสดีแล้ว, เป็นธรรมะท่ีผู้ปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง, เป็นธรรมะที่ไม่ประกอบด้วยกาล (เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จากัดกาล); เป็น ธรรมะท่ีควรกล่าวกะผู้อ่ืนว่า ท่านจงมาพิสูจน์ดูเถิด, เป็นธรรมะท่ีควรน้อมเข้ามาไว้ใน ตวั , อนั วญิ ญูชน ท. (ผ้รู ู้) พงึ รไู้ ดเ้ ฉพาะตน ดังน้ี ๘.๔.๓ อิติ ศพั ท์ แปลว่า “ว่า...ดงั น้ี ในขอ้ นี้ ก็มคี ตเิ หมอื นกับ อิติ ศัพท์ทกี่ ลา่ วไว้ในข้อ ๘.๔.๒ ตา่ งกันแตเ่ พียงว่า อิติ ศัพท์ ในขอ้ นี้ ต้องสัมพนั ธ์เข้ากบั บทนามเสมอไป เรียกช่ือทางสมั พันธว์ า่ “สรูป” เช่น ๓ ดูธรรมบทภาค ๑ เรอ่ื งโกสมพฺ ิกวตฺถุ หน้า ๖๐. ๑๙๐
มโนปุพพฺ งฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฺ า มโนมยา, มนสา เจ ปทฏุ เฺ น ภาสติ วา กโรติ วา ตโต น ทกุ ขฺ มเนวฺ ติ จกฺกว วหโต ปทนฺติ อย ธมฺมเทสน กตฺถ ภาสิตา. แปลโดยพยัญชนะ อ. พระธรรมเทศนา น้ี ว่า “อ. ธรรม ท. มีใจเป็นสภาพถึงก่อน มีใจประเสริฐที่สุด สาเร็จด้วยใจ, หาว่า (อ. บุคคลใด) มีใจอันโทสะประทุษร้าย แล้วไซร้ จะพูดก็ตาม จะทาก็ตาม; อ. ทุกข์ ย่อมติดตามไป ซง่ึ บคุ คลน้นั เพราะทจุ ริตมีอย่างสามน้ัน ราวกะ อ. ล้อหมุน ไปตามอยู่ ซึ่งรอยเท้าแห่งโคพลิพัทตัวลากไปอยู่ ซึ่งแอก (ธุระ)” ดงั น้ี (อนั พระผู้มพี ระภาคเจา้ ) ตรัสแลว้ ณ ท่ไี หน แปลโดยอรรถ พระธรรมเทศนา น้ี ว่า “ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นใหญ่ มีใจประเสริฐท่ีสุด สาเร็จมา จากใจ หากบุคคลใด มีใจร้ายแล้วไซร้ จะพูดก็ตาม จะทาก็ ตาม; เพราะเหตุน้ัน ทุกข์ย่อมติดตามเขาไปทุกฝีก้าว ดุจล้อ เกวียนหมุนไปตามรอยเท้าโคตัวนาแอกไปอยู่ฉะน้ัน” ดังนี้ (อนั พระผ้มู พี ระภาคเจ้า) ตรสั แลว้ ณ ท่ีไหน ข้อสังเกต: อิติ ศัพท์ทีใ่ ช้ในลักษณะน้ี ทางสัมพันธ์เรียกว่า “สรปู ” เข้ากับบทนามคือ ธมฺมเทสน ๘.๔.๔ อติ ิ ศัพท์ แปลว่า “...ชือ่ ว่า” โดยเหตุผลกเ็ พือ่ ใช้บอกชือ่ , จะบอกชื่อใคร กเ็ ขียนไว้ข้าง หลงั ชอื่ น้ัน เพื่อเป็นสัญลักษณ์ให้จาง่าย เช่น “เอโก กิร โกสมฺพีวาสี กุลปุตฺโต สตฺถุ สาสเน ปพฺพชิตฺวา ลทฺธูปสมฺปโท “โกสมฺพีวาสิ ตสิ ฺสตเฺ ถโรติ ปญฺ ายิ. แปลโดยพยญั ชนะ ได้ยินว่า อ. กุลบุตร ผู้มีปรกติอยู่ในเมืองโกสัมพี ผู้หน่ึง บวชแล้ว ในศาสนา ของพระ ศาสดา เปน็ ผมู้ อี ุปสมบทอันไดแ้ ล้ว ปรากฏแลว้ ชือ่ ว่า “โกสมั พีวาสติ ิสสเถระ” ๑๙๑
แปลโดยอรรถ ดังได้สดับมา กุลบุตรผู้มีปรกติอยู่ในเมืองโกสัมพีคนหน่ึง บรรพชา (เป็นสามเณร) ใน ศาสนาของพระบรมศาสดาแล้ว พอไดอ้ ุปสมบท (บวชเป็นพระ) ก็ปรากฏชือ่ วา่ “โกสัม พีวาสิติสสเถระ” สา ลทธฺ ูปสมปฺ ทา “กิสาโคตมี เถรีติ ปญฺ ายิ. แปลโดยอรรถ นางกีสาโคตมนี ้ัน พอได้อุปสมบท (เปน็ ภกิ ษุณ)ี ก็ปรากฏช่ือวา่ “กิสาโคตมีเถรี” ข้อสงั เกต: อติ ิ ศพั ท์ท่ีใช้ในลักษณะน้ีแหละ แปลวา่ ชือ่ ว่า ทางสัมพนั ธเ์ รียกวา่ “สญั ญาโชดก” เขา้ กับนามทอี่ ยูภ่ ายใน อิติ โดยเฉพาะ ๘.๔.๕ อิติ ศัพท์ แปลว่า “...เพราะเหตุน้ี” หมายถึง อิติ ศัพท์ ที่ไม่ต้องเช่ือมกับบทใด นิยม วางไว้โดดเด่ียวเพ่ือเป็นตัวอย่าง เรียกว่า นิทัสสนอุทาหรณ์ โดยเรียกช่ือทางสัมพันธ์ว่า นิทัสสนะ หรือ นิทสั สนตั ถะ ไม่เขา้ สัมพนั ธ์กบั บทใดเลย เชน่ อติ ิปิ โส ภควา อรห สมฺมาสมฺพทุ โฺ ธ ฯเปฯ แปลโดยพยัญชนะ แมเ้ พราะเหตุนี้ อ. พระผ้มู ีพระภาคเจา้ พระองคน์ ั้น (จึง) เปน็ พระอรหนั ต์ เป็นผ้ตู รัสรู้ เองโดยชอบ ฯลฯ อติ ิ โข ภกิ ฺขเว น มยหฺ ธีตา คายติ. แปลโดยพยญั ชนะ ดกู อ่ นภกิ ษุ ท. เพราะเหตุน้ีแล อ. ธิดาของเรา ยอ่ มไม่ขบั . (ไม่ร้องเพลง) อิติ โข มหาราช มม สาวกา ตุมหฺ าก สนตฺ เิ ก วสิ สฺ าส อลภนตฺ า น คตา ภวิสสฺ นฺติ. แปลโดยพยัญชนะ ดูก่อนมหาราช เพราะเหตุนี้แล อ. สาวก ท. ของอาตมภาพ (ของเรา) เม่ือไม่ได้ ซ่ึง ความคุ้นเคย จากสานกั ของพระองค์ (ของท่าน ท.) จกั เปน็ ผ้ไู มไ่ ปแล้ว จกั เปน็ ข้อสังเกต: อิติ ศัพท์ ดังปรากฏข้างต้นน้ี นิยมวางไว้ต้นข้อความเสมอไป และส่วนใหญ่แปลใน ลาดับท่ี ๒ ต่อจากอาลปนะ มคี ่าเท่ากับนบิ าตต้นขอ้ ความน่ันเอง ๘.๔.๖ อิติ ศัพท์ แปลวา่ “...เพราะเหตุนน้ั ” นิยมใชใ้ นรปู บทวิเคราะห์อย่างเดยี ว เรยี กชื่อทาง สมั พันธว์ า่ “เหตวตั ถะ” ลงในอรรถแหง่ เหตุ ไม่สมั พันธเ์ ข้ากบั บทใด เช่น ๑๙๒
พุทฺธวจน ปาเลตตี ิ ปาลี. (ภาสา) แปลโดยยกศัพท์ (เพื่อให้เขา้ ใจงา่ ย) (ยา ภาสา อ. ภาษาใด) ปาเลติ ย่อมรักษา พุทฺธวจน ซึ่งพุทธวจนะ อิติ เพราะเหตุน้ัน (สา ภาสา อ. ภาษานนั้ ) ปาลี ชอื่ วา่ ปาลี ๆ อ. ภาษาท่ีรกั ษาไวซ้ งึ่ พุทธวจนะ. ๘.๔.๗ อติ ิ ศัพท์ แปลวา่ “...ด้วยประการฉะนี้” หรือว่า “...ดว้ ยประการดังนี้” นิยมใช้สาหรบั สรุปข้อความที่กลา่ วมาอย่างยดื ยาว ให้ฟงั ได้ความชดั เจน โดยเนน้ ถึงหลกั ข้อเท็จจริงแห่งเร่ืองท่กี ล่าวมา ข้างต้น จบลงด้วยดี มีช่ือเรียกทางสัมพันธ์วา่ “ปการะ” หรือ “ปการัตถะ” ไม่ต้องสัมพันธ์เข้ากับบทใด เชน่ ตัวอยา่ งในธัมมจกั กปั ปวตั นสูตร ตอนทา้ ยสรปุ ว่า ...อติ ิห เตน ขเณน เตน มุหุตเฺ ตน ยาว พรฺ หมฺ โลกา สทฺโท อพภฺ ุคฺคจฉฺ ิ. แปลโดยอรรถ โดยขณะครเู่ ดียวนนั้ เสยี ง ไดส้ ะท้อนขึน้ ไปถงึ พรหมโลก ด้วยประการฉะนี้แล ๘.๔.๘ อิติ ศัพท์ แปลว่า “...ดังนี้เป็นเหตุ” หมายถึง อิติ ศัพท์ ที่จะสัมพันธ์เข้ากับกริยา โดยตรงไม่ได้ เพราะ อิติ ศัพท์ ที่เชื่อมอยู่กับสระท่ีสุดของเลขใน มีความเกี่ยวเน่ืองกับกริยาที่เป็นเลข นอก มีลักษณะบอกอาการเพียงประกาศแบบตีฆ้องร้องป่าวให้รู้ หรือแสดงอาการโบกมืออย่างใดอย่าง หนึ่งเป็นสัญญาณ ก็เข้าใจความหมายกันได้ ในกรณีเช่นนี้ เวลาแปลให้เติมบทว่า “ าปนเหตุก” หรือ “ าปนเหตกุ าย” เขา้ มาหลัง อิติ ศพั ท์ แปลว่า “มีอัน/เพอ่ื อันให้รวู้ า่ ...ดงั น้ีเป็นเหตุ เช่น “เถโร...ตว ปมาณ น ชานาสีติ ( าปนเหตุก / าปนเหตกุ าย) อจฉฺ ร ปหริ. แปลโดยพยญั ชนะ อ. พระเถโร...ประหารแล้ว (ดีดแล้ว) ซึ่งน้ิวมือ (มีอันให้รู้ว่า/เพื่ออันให้รู้ว่า) อ. ท่าน ย่อมไม่รู้ ซึง่ ประมาณ ของท่าน ดังนเี้ ปน็ เหตุ แปลโดยอรรถ พระเถระ...ปรบมอื ให้รู้ว่า (เพือ่ ให้ร้วู า่ ) เธอ ไม่รูจ้ ักประมาณตวั ดังน้เี ป็นเหตุ ขอ้ สังเกต: เวลาสมั พนั ธ์ อติ ิ ศัพท์ จะเข้ากบั าปนเหตกุ / าปนเหตุกาย ๘.๔.๙ อิติ ศัพท์ แปลวา่ “...แล, ดงั น้ีแล” นยิ มใชใ้ นทสี่ ุดข้อความ หรอื ตอนจบของแต่ละเร่ือง เรยี กชอื่ ทางสัมพันธ์ว่า สมาปันนะบ้าง ปรสิ มาปันนะบา้ ง ดังตวั อย่างในธรรมบทท้งั ๘ ภาค ตอนจบ ดังน้ี เทสนาวสาเน พหู ภกิ ฺขู อรหตฺต ปาปุณึสูต.ิ แปลโดยพยัญชนะ อ. ภิกษุ ท. มาก บรรลแุ ลว้ ซ่งึ พระอรหัต ในกาลเป็นท่จี บลงแหง่ เทศนา ดังน้แี ล ๑๙๓
แปลโดยอรรถ ในเวลาเทศนาจบ ภกิ ษุจานวนมาก ไดบ้ รรลุพระอรหัต ดงั นแ้ี ล ข้อสังเกต: อิติ ศัพท์ ท่ีใช้ในลักษณะนี้เรียกว่า “สมาปันนะ” ไม่เข้าสัมพันธ์ในบทใดเลย ถ้ามี อิติ ศพั ท์ ๒ แห่ง อติ ิ ศพั ท์แรก เปน็ สมาปนั นะ ส่วน อิติ ศพั ท์หลัง เป็นปริสมาปันนะ ๘.๔.๑๐ อิติ ศัพท์ แปลว่า “...คือ” นิยมใช้กากับข้อความที่สรุปความหมายอย่างใดอย่างหนึง่ ใหเ้ ขา้ ใจชัดขน้ึ หรือใช้เพอื่ ไขความให้ชัดเจนขนึ้ เป็น อติ ิ ศพั ท์ ทีค่ ุมข้อความภายในไว้ เพอื่ อธิบายขยาย ความเลขนอกให้เดน่ ชดั ขึ้น เช่น เทวโลกโต หิ เทวปุตฺตา “อายุกฺขเยน ปุญฺ กฺขเยน อาหารกฺขเยน โกเปนาติ จตูหิ การเณหิ จวนฺติ. แปลโดยอรรถ ก็เทพบุตรท้ังหลายจะเคลอ่ื นจากเทวโลกด้วยเหตุ ๔ อยา่ ง คอื “ด้วยหมดอายดุ ้วยหมด บุญ ด้วยหมดอาหาร (และ) ด้วยความโกรธ” กล่าวโดยสรุป อิติ ศัพท์ มีหลักการแปล ๑๐ ประการ คือ ๑) อิติ ศัพท์ ที่ใช้กากับข้อความท่ีผู้ แต่งคัมภีร์ยกมากล่าวไว้แต่โดยย่อ ไม่ประสงค์กล่าวทั้งหมด จึงละไว้ในฐานที่เข้าใจ ให้แปลว่า “ว่า... ดงั นี้เปน็ ตน้ ” ๒) อิติ ศัพท์ ท่ีใช้เชือ่ มเข้ากบั สระทีส่ ุดของศัพท์ในประโยคเลขใน ซ่งึ มขี ้อความบางตอนที่ ยกมากล่าวไว้ทั้งหมด โดยไม่ละข้อความใดไว้ และเวลาสัมพันธ์ อิติ ศัพท์ ต้องเข้ากับกริยาเสมอไป เรียกว่า “อาการะ” ให้แปลว่า “ว่า...ดังน้ี” ๓) อิติ ศัพท์ ที่ใช้เชื่อมเข้ากับสระท่ีสุดของศัพท์ในประโยค เลขในเหมือนกับข้อ ๒) และเวลาสัมพันธ์ อิติ ศัพท์ ต้องเข้ากับบทนาม เรียกว่า “สรูป” ให้แปลว่า “ว่า...ดังน้ี” ๔) อิติ ศัพท์ ที่ใช้บอกช่ือ จะบอกช่ือใคร ก็เขียนไว้ข้างหลังชื่อนั้น เพื่อเป็นสัญลักษณ์ให้จา ง่าย ให้แปลว่า “...ชื่อว่า” ๕) อิติ ศัพท์ ที่ไม่เช่ือมกับบทใด วางไว้โดดเดี่ยวเพ่ือเป็นตัวอย่าง เรียกชื่อ ทางสมั พนั ธ์วา่ นิทัสสนตั ถะ ไม่เขา้ สมั พันธ์กบั บทใด ให้แปลว่า“...เพราะเหตนุ ี้” ๖) อิติ ศัพท์ ทใี่ ช้ในรูป บทวิเคราะห์อย่างเดียว เรียกช่ือทางสัมพันธ์ว่า “เหตวัตถะ” ไม่สัมพันธ์เข้ากับบทใด ให้แปลว่า “...เพราะเหตุน้ัน” ๗) อิติ ศัพท์ ที่ใช้สาหรับสรุปข้อความที่กล่าวมาอย่างยืดยาว ให้ฟังได้ความชัดเจน โดยเน้นถึงหลักข้อเท็จจริงแห่งเร่ืองท่ีกล่าวมาข้างต้น จบลงด้วยดี มีชื่อเรียกทางสัมพันธ์ว่า “ปการะ” หรือ “ปการัตถะ” ไม่ต้องสัมพันธ์เข้ากับบทใด ให้แปลว่า“...ด้วยประการฉะน้ี” ๘) อิติ ศัพท์ ท่ีจะ สัมพันธ์เข้ากับกริยาโดยตรงไม่ได้ เพราะ อิติ ศัพท์ ท่ีเช่ือมอยู่กับสระที่สุดของเลขใน มีความเกี่ยวเนื่อง กบั กริยาท่ีเปน็ เลขนอก มีลักษณะบอกอาการเพยี งประกาศแบบตีฆ้องร้องป่าวให้รู้ หรือแสดงอาการโบก มืออย่างใดอย่างหน่ึงเป็นสัญญาณ ก็เข้าใจความหมายกันได้ ในกรณีเช่นน้ี ให้แปลว่า“...ดังนี้เป็นเหตุ” ๙) อิติ ศัพท์ ที่ใช้ในท่ีสุดข้อความ หรือตอนจบของแต่ละเรื่อง เรียกชื่อทางสัมพันธ์ว่า สมาปันนะบ้าง ปรสิ มาปันนะบ้าง ให้แปลวา่ “...แล, ดังน้ีแล” และ ๑๐) อิติ ศพั ท์ ทใ่ี ชก้ ากบั ข้อความทสี่ รุปความหมาย อย่างใดอย่างหนึ่งให้เข้าใจชัดขึ้น หรือใช้เพื่อไขความให้ชัดเจนขึ้น เป็น อิติ ศัพท์ท่ีคุมข้อความภายในไว้ เพอ่ื อธิบายขยายความเลขนอกใหเ้ ด่นชดั ขึน้ ให้แปลวา่ “...คือ” ๑๙๔
แบบฝึกหดั ท่ี ๘.๑ (การแปล อิติ ศัพท)์ ให้แปลประโยคไปนเี้ ปน็ ไทยโดยพยัญชนะ ๑. “อปปฺ มาทรโต ภกิ ขฺ ูติ อิม ธมมฺ เทสน สตฺถา เชตวเน วิหรนโฺ ต อญฺ ตร ภิกขฺ อารพภฺ กเถสิ. (๒/๑๑๑) ๒. โส ภกิ ฺขุ “อปุ าสิเก อห คมิสฺสามีติ อาห. “กห อยยฺ าติ. “สตฺถุ สนฺติก อปุ าสิเกติ. “วสถ ตาว ภนเฺ ต อธิ าติ. “น วสิสฺสามิ อุปาสิเก คมิสสฺ าเมวาติ นิกฺขมิตฺวา สตฺถุ สนฺติก อคมาสิ. (๒/๑๒๓) ๓. นนฺเท มา อิมสฺมึ สรเี ร สาโร อตฺถตี ิ สญฺ กริ. (๕/๑๐๖) ๔. (ตฺว) ราชาน อปุ สงกฺ มิตวฺ า ชยตุ มหาราชาติ เอว วตวฺ า อิม คาถ วตฺวา โคณ ยาเจยยาถ. (๕/๑๑๒) ๕. ตตถฺ อานนฺโทติ ตฏุ ฺฐิ (๕/๙๓) ๖. ตตฺถ ปาโปติ กายทจุ จฺ ริตาทนิ า ปาปกมเฺ มน ยตุ ตฺ ปุคฺคโล. (๕/๑๓) ๗. อิติปิ โส ภควา อรห สมฺมาสมฺพทุ โฺ ธ ๘. อนโฺ ต อปุ ฺปนนฺ อกสุ ลวติ กฺก หริ ยิ า นเิ สเธตีติ หิรินเิ สโธ. (๕/๗๗) ๙. อมเฺ หหิ (ขาทนีย) ขาทติ , อิติ (ปานยี ) ปีต. (๕/๑๒๐.) ๑๐. สาวตฺถีนครโต อนาถปณิ ฑิโก วิสาขา มหาอุปาสิกาติ เอวมาทีนิ มหากลุ านิ อานนฺทตฺ- เถรสสฺ สาสน ปหิณสึ ุ “สตถฺ าร โน ภนเฺ ต ทสเฺ สถาติ ( าปนเหตกุ ) (๑/๕๕) ๑๑. “คนฺธเสฏฺฐิโน ภุ ฺชนลฬี หฺ โอโลเกตูติ ( าปนเหตุก) นคเร เภริ จฺ าราเปสุ. ๑๒. เทสนาวสาเน พหู ชนา โสตาปตตฺ ผิ ลาทนี ิ ปาปณุ ึสูติ. ๑๓. ตทา “มหากาโล จลุ ฺลกาโลติ เทวฺ ภาติกา กุฏุมฺพกิ า มหนฺต สาลกิ ฺเขตตฺ วปาเปสุ. (๑/๘๘) ๑๙๕
คาศัพท์ทีค่ วรทราบ ท่ี คาศพั ท์ คาแปล ที่ คาศัพท์ คาแปล ๑ สนฺตกิ อ. น้าอันบุคคลพงึ ดมื่ ๒ สญฺ สูส่ านกั ๑๐ ปานีย ซึ่งข่าวสาสน์ ๓ ชยตุ ส่งไปแลว้ ๔ โคณ ซึ่งความสาคัญ ๑๑ สาสน ซ่งึ ลลี าแห่งการบรโิ ภค ๕ ยาเจยฺยาถ จงแลดู ๖ ตฏุ ฺฐิ ขอจงทรงชนะ ๑๒ ปหิณสึ ุ ยงั กลองใหเ้ ท่ียวไปแลว้ ๗ ยุตตฺ ปคุ คฺ โล ซง่ึ โค ๑๓ ภญุ ฺชนลฬี ฺห บรรลุแลว้ ๘ นเิ สเธติ ซึ่งนาแหง่ ข้าวสาลี ๙ ขาทนยี พึงทลู ขอ ๑๔ โอโลเกตุ ให้หวา่ นแลว้ อ. ความยนิ ดี ๑๕ เภริ จฺ าราเปสุ อ. บุคคลผู้ประกอบแลว้ ๑๖ ปาปุณสึ ุ ย่อมหา้ ม ๑๗ สาลิกเฺ ขตตฺ อ. วตั ถอุ นั บุคคลพึงเคี้ยว ๑๘ วปาเปสุ ๑๙๖
๘.๕ สรปุ ทา้ ยบท อิติ ศัพท์ ที่ได้นาเสนอในบทที่ ๘ นี้ มีทั้งหมด ๓ ประเด็น ซ่ึงแต่ละประเด็นมีสาระสาคัญอาจ สรปุ ได้ ดงั นี้ ๘.๕.๑ ความหมายของ อติ ิ ศพั ท:์ อติ ิ ศัพท์ เป็นศพั ท์ทไ่ี มส่ ามารถแจกดว้ ยวภิ ัตติต่าง ๆ เหมือนอย่างบทนามได้ คงรูปอยู่อย่างเดิม เรียกช่ือว่า “อัพยยศัพท์” จัดเป็นศัพท์นิบาตบอกเน้ือความ ตา่ ง ๆ มไี วส้ าหรบั เขยี นเชื่อมกบั ศัพท์อื่นโดยมาก (ทีอ่ ย่โู ดดเด่ียวมีน้อย) อาจเขยี นเชื่อมกบั บทนาม หรือ บทกรยิ าก็ได้ อยู่หลังบทใดใหเ้ ขียนเช่ือมหรอื ติดกับบทนน้ั โดยวธิ ีสนธิ ๘.๕.๒ หลักเกณฑ์การสนธิ อิติ ศัพท์กับบทนามหรือบทกริยา: ในการเขียน อิติ ศัพท์ เพื่อให้มีการสนธิกับบทนามหรือบทกริยานั้น มีหลักเกณฑ์การเขียน ๓ ประการ ได้แก่ ๑) อิติ ศัพท์ อยู่ หลังบทนามหรือกริยาท่ีลงท้ายด้วยสระเสียงสั้น (รัสสะ) คือ อ อิ อุ เวลาเช่ือมกัน ให้ลบ อิ ท่ี อิติ คงไว้ เฉพาะ ติ แล้วทีฆะสระหน้าเปน็ เสยี งยาว คือ อ เป็น อา, อิ เป็น อี, อุ เป็น อู ๒) อิติ ศัพท์ อยู่หลังบท นามหรือกริยาท่ีลงท้ายด้วยสระเสียงยาว (ทีฆะ) คือ อา อี อู เอ โอ ซึ่งเป็นสระเสียงยาวอยู่แล้ว เวลา เช่ือมกันให้ลบ อิ ที่ อิติ คงเหลือไว้เฉพาะ ติ แล้วนามาเชื่อมกันได้ทันที และ ๓) อิติ ศัพท์ อยู่หลัง บทนามหรือกริยาท่ีลงท้ายด้วยเครื่องหมายนิคคหิต ( ) ที่อยู่บนสระหรือพยัญชนะก็ตาม เวลาเช่ือมกัน ให้ลบ อิ ที่ อิติ คงเหลือไว้เฉพาะ ติ แล้วแปลงนิคคหิตที่อยู่ข้างหน้า ติ เป็น นฺ ซ่ึงเป็นพยัญชนะท่ีสุด วรรคของ ต เสมอไป แล้วนามาเช่อื มกัน ๘.๕.๓ หลักการแปล อิติ ศัพท์: อิติ ศพั ท์ มหี ลกั การแปล ๑๐ ประการ คอื ๑) อิติ ศัพท์ ทีใ่ ช้กากับข้อความทผ่ี ู้แต่งคัมภีร์ยกมากล่าวไว้แต่โดยย่อ ไมป่ ระสงค์กล่าวท้งั หมด จงึ ละไว้ในฐานท่ีเข้าใจ ให้แปลว่า “ว่า...ดังนี้เป็นต้น” ๒) อิติ ศัพท์ ท่ีใช้เช่ือมเข้ากับสระที่สุดของศัพท์ในประโยคเลขใน ซ่ึงมี ขอ้ ความบางตอนทยี่ กมากล่าวไวท้ ้ังหมด โดยไม่ละขอ้ ความใดไว้ และเวลาสัมพันธ์ อิติ ศัพท์ ตอ้ งเข้ากับ กริยาเสมอไป เรียกว่า “อาการะ” ให้แปลว่า “ว่า...ดังนี้” ๓) อิติ ศัพท์ ที่ใช้เชื่อมเข้ากับสระท่ีสุดของ ศัพท์ในประโยคเลขในเหมือนกับข้อ ๒) และเวลาสัมพันธ์ อิติ ศัพท์ ต้องเข้ากับบทนาม เรียกว่า “สรูป” ให้แปลว่า “ว่า...ดังน้ี” ๔) อิติ ศัพท์ ที่ใช้บอกชื่อ จะบอกช่ือใคร ก็เขียนไว้ข้างหลังชื่อนั้น เพื่อเป็น สัญลักษณ์ให้จาง่าย ให้แปลว่า “...ชื่อว่า” ๕) อิติ ศัพท์ ท่ีไม่เช่ือมกับบทใด วางไว้โดดเด่ียวเพื่อเป็น ตวั อยา่ ง เรียกชือ่ ทางสัมพันธ์วา่ นิทสั สนตั ถะ ไมเ่ ขา้ สมั พันธ์กบั บทใด ให้แปลวา่ “...เพราะเหตุน้ี” ๖) อิติ ศัพท์ ที่ใช้ในรูปบทวิเคราะห์อย่างเดียว เรียกชื่อทางสัมพันธ์ว่า “เหตวัตถะ” ไม่สัมพันธ์เข้ากับบทใด ใหแ้ ปลว่า“...เพราะเหตนุ ั้น” ๗) อติ ิ ศพั ท์ ทใี่ ช้สาหรับสรปุ ขอ้ ความทีก่ ลา่ วมาอยา่ งยดื ยาว ให้ฟงั ไดค้ วาม ชดั เจน โดยเน้นถึงหลักข้อเท็จจริงแหง่ เรอ่ื งที่กลา่ วมาขา้ งตน้ จบลงดว้ ยดี มชี ่อื เรียกทางสมั พันธ์ว่า “ปกา ระ” หรอื “ปการตั ถะ” ไมต่ อ้ งสัมพันธ์เข้ากบั บทใด ให้แปลว่า“...ดว้ ยประการฉะน้ี” ๘) อิติ ศัพท์ ที่จะสัมพันธ์เข้ากับกริยาโดยตรงไม่ได้ เพราะ อิติ ศัพท์ ท่ีเช่ือมอยู่กับสระที่สุดของเลขใน มีความ เกี่ยวเน่ืองกับกริยาท่ีเป็นเลขนอก มีลักษณะบอกอาการเพียงประกาศแบบตีฆ้องร้องป่าวให้รู้ หรือแสดง อาการโบกมอื อย่างใดอยา่ งหนึ่งเปน็ สัญญาณ กเ็ ขา้ ใจความหมายกนั ได้ ในกรณีเชน่ นี้ ให้แปลว่า “...ดงั นี้ เปน็ เหตุ” ๙) อติ ิ ศัพท์ ทใ่ี ชใ้ นที่สดุ ข้อความ หรอื ตอนจบของแตล่ ะเร่ือง เรียกช่ือทางสมั พนั ธ์ว่า สมาปัน นะบ้าง ปริสมาปันนะบ้าง ให้แปลว่า“...แล, ดังน้ีแล” และ ๑๐) อิติ ศัพท์ ที่ใช้กากับข้อความที่สรุป ๑๙๗
ความหมายอย่างใดอย่างหน่ึงให้เข้าใจชัดขึ้น หรือใช้เพ่ือไขความให้ชัดเจนข้ึน เป็น อิติ ศัพท์ท่ีคุม ข้อความภายในไว้ เพื่ออธบิ ายขยายความเลขนอกให้เดน่ ชดั ขึ้น ให้แปลว่า “...คือ” ๑๙๘
บทท่ี ๙ ประโยค ย-ต วัตถุประสงค์ ๑. บอกความหมายของประโยค ย-ต ได้ ๒. ระบปุ ระเภทของประโยค ย-ต ได้ ๓. บอกโครงสรา้ งของประโยค ย-ต ประเภทต่าง ๆ ได้ ๔. อธิบายหลกั การแปลและแปลประโยค ย-ต ประเภทต่าง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง ๕. บอกโครงสรา้ งของประโยค ยํ กริยาปรามาสได้ ๖. อธิบายหลกั การแปลและแปลประโยค ยํ กริยาปรามาสได้ถูกตอ้ ง ๙.๑ ความนาํ ในการแปลบาลีเป็นไทย หลังจากที่ผู้ศึกษาได้ศึกษาและฝึกแปล อิติ ศัพท์ในบทท่ี ๘ มาแล้ว จงึ ควรศึกษาและฝึกแปลเรื่องประโยค ย-ต เป็นลาดับต่อไป เพราะประโยค ย-ต นั้น มีใชม้ ากเป็นพิเศษ ในภาษาบาลี และถือว่าเป็นคาพูดที่ไพเราะ ซ่ึงจะทาให้ผู้ฟังสามารถมองเห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งข้ึน ประโยค ย-ต ดังกล่าว ก็คือประโยคท่ีนิยมใช้คาพูดว่า “ใด-นั้น”, “ฉันใด-ฉันน้ัน”, “เพียงใด-เพียง นั้น” หรือ “เหตุใด-เพราะเหตุน้นั ” ในเวลาแปลภาษาบาลี ผู้แปลกจ็ ะพบกบั การใชค้ าพูดดังกล่าวน้ีมาก ดังนั้น ในบทนี้ จะนาเสนอเนื้อหาสาระสาคัญท่ีเกี่ยวกับประโยค ย-ต ๘ ประเด็น ได้แก่ ๑) ความหมาย ของประโยค ย-ต ๒) ประเภทของประโยค ย-ต ๓) ประโยค ย-ต สามัญ ๔) ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ๕) ประโยค ย-ต ปการัตถะ ๖) ประโยค ย-ต ปริจเฉทนัตถะ ๗) ประโยค ย-ต เหตุ และ ๘) ประโยค ยํ กริยาปรามาส โดยมีรายละเอยี ด ดงั ต่อไปนี้ ๙.๒ ความหมายของประโยค ย-ต ประโยค ย-ต หมายถึง ประโยคที่มคี าแปลว่า “ใด-น้ัน”, “ฉนั -ฉันนั้น”, “เพียงใด-เพียงนัน้ ” หรือ “เหตุใด-เพราะเหตุนั้น” อยู่ในประโยค ซ่ึงคาแปลเหล่านี้ได้แปลมาจาก ย และ ต สัพพนามท่ี ๑๙๙
แปลงท้ายคาเป็นรูปวิภัตติหรือการกต่าง ๆ เช่น โย-โส, ยํ-ตํ เป็นต้น และแปลมาจากศัพท์นิบาต คือ ยถา (หรอื เสยยฺ ถา)-ตถา (หรอื เอวํ), ยาว-ตาว, ยสมฺ า-ตสฺมา คาสัพพนามและนิบาตดังกล่าว อาจจัดจาแนกเป็นคู่ ๆ ลงในตารางประโยค ย-ต เพื่อความ ชดั เจนย่ิงข้นึ ดงั แสดงในตารางท่ี ๙.๑ ตารางที่ ๙.๑ คาํ สัพพนามและนิบาตท่ใี ช้ในประโยค ย-ต เปน็ คู่ ๆ ประโยค ย-ต ประโยค ย ประโยค ต ย (โย, ย...) ใด ต (โส, ต...) นนั้ ยถา (หรือ เสยฺยถา) ฉนั ใด เอวํ (หรอื ตถา) ฉันนน้ั ยาว เพียงใด ตาว เพียงนน้ั ยสฺมา เหตุใด ตสฺมา เพราะเหตนุ ้นั จากตารางที่ ๙.๑ ประโยค ย-ต จึงหมายถึง อนุประโยคต้ังแต่ ๒ ประโยคข้ึนไป ที่ใช้คา สัพพนามและนิบาตเป็นคู่ ๆ โดยทาให้แต่ละอนุประโยคมีความเชื่อมกระชับ หรือสัมพันธภาพ (coherence) รวมกันอยู่ในประโยคใหญ่ ซง่ึ เรียกวา่ “ประโยค ย-ต” (complex sentence) โดยถือว่า อนุประโยค ต เป็นประโยคหลัก หรือประโยคสาคัญ (main clause) ส่วนอนุประโยค ย เป็นประโยค แฝงหรือประโยคอาศัย (subordinate clause) คือต้องอาศัยประโยคหลัก จึงจะอ่านหรือฟังได้ความ สมบูรณ์ โดยทาหน้าท่ีขยายอนุประโยค ต ในลักษณะเป็นประโยควิเสสนะ (adjective clause) บ้าง ประโยคกริยาวเิ สสนะ (adverb clause) บ้าง ดตู ัวอย่างประโยค ย-ต ดงั แสดงในแผนภาพท่ี ๙.๑ โย จ โข วกกฺ ลิ ธมฺม ปสสฺ ติ, โส ม ปสสฺ ติ นาม ประโยค ย-ต (complex sentence) โย จ โข วกกฺ ลิ ธมมฺ ปสฺสติ โส ม ปสฺสติ นาม ประโยค ต ประโยค ย (subordinate clause) (main clause) แผนภาพที่ ๙.๑ ตัวอย่างประโยค ย-ต ๒๐๐
จากแผนภาพที่ ๙.๑ จะเห็นได้ว่า ส่วนของประโยค ย-ต ท่ีแยกออกมาเป็นประโยคย่อยหรือ อนุประโยคนั้น ก็คือประโยค ย และประโยค ต แต่เราจะเรียกว่า “ประโยค ย-ต” เพราะนามารวมกัน เป็นประโยคใหญ่ (complex sentence) และท้ังประโยค ย และประโยค ต มีความเชื่อมกระชับ หรือ มีสัมพันธภาพ (coherence) ด้วยอานาจ ย-ต นั่นเอง โดยถือว่า ประโยค ต เป็นประโยคหลัก ส่วน ประโยค ย เป็นประโยคแฝง (หรือประโยคอาศัย) ซึ่งประโยค ย ในที่นี้ ทาหน้าท่ีเป็นประโยควิเสสนะ (adjective clause) คอื ขยายประโยค ต กล่าวโดยสรุป คาว่า “ประโยค ย-ต” หมายถึง ประโยค ย (อนุประโยค ย) และประโยค ต (อนุประโยค ต) ต้ังแต่ ๒ ประโยคขึ้นไป ท่ีใช้คาสัพพนามซึ่งแปลงมาจาก ย-ต และใช้นิบาตคือ ยถา- ตถา, ยาว-ตาว และ ยสฺมา-ตสฺมา เป็นคู่ ๆ โดยทาให้ทั้งประโยค ย และประโยค ต มีความเชื่อม กระชับ หรือสัมพันธภาพ (coherence) รวมกันอยู่ในประโยคใหญ่ ซ่ึงเรียกว่า “ประโยค ย-ต” (complex sentence) และถือว่า ประโยค ต เป็นประโยคหลัก หรือประโยคสาคัญ (main clause) สว่ นประโยค ย เป็นประโยคแฝงหรือประโยคอาศัย (subordinate clause) คือต้องอาศัยประโยคหลัก จึงจะอา่ นหรอื ฟงั ได้ความสมบูรณ์ ๙.๓ ประเภทของประโยค ย-ต ประโยค ย-ต อาจจาแนกออกได้ ๒ ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ ๙.๓.๑ ประโยค ย-ต สัพพนาม คือ ประโยค ย-ต ท่ีมาจาก ย-ต ศัพท์ ที่เป็นสรรพนาม แปลวา่ “ใด-น้ัน” นยิ มเรยี กกนั วา่ “ประโยค ย-ต สามญั ” ๙.๒.๒ ประโยค ย-ต นิบาต คือ ประโยค ย-ต ที่มาจากศัพท์พวกนิบาต บอกอุปมาอุปไมย บอกประการ เป็นตน้ ซ่งึ อาจจาแนกย่อยออกไปอีกได้ ๔ ประเภท ดงั นี้ ๑) ประโยค ยถา-เสยฺยถา นิยมเรียกกันว่า “ประโยคอุปมา”, ตถา-เอวํ นิยม เรียกว่า “ประโยคอปุ ไมย” ๒) ประโยค ยถา, ตถา/เอวํ นยิ มเรียกกันว่า “ประโยคปการัตถะ” ๓) ประโยค ยาว, ตาว นิยมเรียกกนั วา่ “ประโยคปรจิ เฉทหรือปริจเฉทนัตถะ” ๔) ประโยค ยสมฺ า, ตสมฺ า นิยมเรียกกนั วา่ “ประโยคเหตุ” ประโยค ย-ต นิบาต ๔ ประเภท ดังกล่าวมาข้างต้นน้ี เวลาใช้ นิยมใช้เป็นคู่ ๆ กล่าวคือ ประโยค ยถา-เสยฺยถา ใช้คู่กับ ประโยค ตถา-เอวํ, ประโยค ยถา ใช้คู่กับ ประโยค ตถา หรือ เอวํ, ประโยค ยาว ใชค้ ูก่ บั ประโยค ตาว และประโยค ยสมฺ า ใชค้ กู่ ับ ตสฺมา กล่าวโดยสรุป ประโยค ย-ต อาจจาแนกออกได้ ๒ ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ๑) ประโยค ย-ต สัพพนาม คือ ประโยค ย-ต ที่มาจาก ย-ต ศัพท์ ที่เป็นสรรพนาม แปลว่า “ใด-นั้น” นิยมเรียกกันว่า ๒๐๑
“ประโยค ย-ต สามัญ” และ ๒) ประโยค ย-ต นิบาต คือ ประโยค ย-ต ที่มาจากศัพท์พวกนิบาต บอก อุปมาอปุ ไมย บอกประการ เป็นต้น ๙.๔ ประโยค ย-ต สามัญ ในส่วนของประโยค ย-ต สามัญนี้ มีเนื้อหาสาระสาคัญที่ควรศึกษา ๒ ประเด็น ได้แก่ ๑) แบบของประโยค ย-ต สามัญ และ ๒) หลกั การแปลประโยค ย-ต สามัญ โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้ ๙.๔.๑ แบบของประโยค ย-ต สามญั ประโยค ย-ต สามัญน้ี มีโครงสร้างซึ่งมีความสาคัญมากสาหรับผู้แปล เพราะจะทาให้ผู้แปล สามารถมองเห็นโครงสร้างที่เป็นรูปธรรมและเข้าใจได้ง่ายขึ้น อาจจาแนกได้ ๒ แบบ ตามโครงสร้าง ดังนี้ ๑) ประโยค ย-ต สามัญ แบบ A คือ ประโยค ย-ต สามัญ ท่ีมโี ครงสร้างของ ย-ต เพยี งคู่ เดียวเท่านั้น โดยอาจวาง ย ไว้ข้างหน้า วาง ต ไว้ข้างหลัง หรือ วาง ต ไว้ข้างหน้า วาง ย ไว้ข้างหลัง ก็ ได้ ดงั แสดงในแผนภาพท่ี ๙.๒ ๑) ย..........................., ต............................... ๒) (ต).........................., ย............................... ๓) ............................., ย......., ต..................................... แผนภาพท่ี ๙.๒ โครงสรา้ งประโยค ย-ต สามัญ แบบ A จากแผนภาพที่ ๙.๒ จะเห็นว่า ประโยค ย-ต สามัญ แบบ A นั้น มีโครงสร้างของ ย-ต เพียงคู่เดียวเท่านั้น โดยอาจวาง ย ไว้ข้างหน้า วาง ต ไว้ข้างหลัง หรือ วาง ต ไว้ข้างหน้า วาง ย ไว้ข้าง หลัง กไ็ ด้ สว่ นคาแปลตามโครงสรา้ งของประโยค ย-ต สามญั แบบ A อาจแสดงไดต้ ามแผนภาพที่ ๙.๓ .....................ใด................ นนั้ .................... ............ผู้, ท,ี่ ซง่ึ , อัน, เปน็ ท่ี, เป็นเหตุ, เปน็ เครอื่ ง, เป็นแดน........... แผนภาพที่ ๙.๓ คําแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต สามัญ แบบ A ๒๐๒
๒) ประโยค ย-ต สามัญ แบบ B คือ ประโยค ย-ต สามัญ ท่ีมีโครงสร้างของ ย-ต ต้ังแต่ ๒ คู่ขน้ึ ไป คือมี ๒ คู่บ้าง ๓ คู่บ้าง ซง่ึ มีความซับซ้อนยุ่งยากมากกวา่ ประโยค ย-ต สามัญ แบบ A ท่ีผ่าน มา อาจแสดงให้เหน็ ได้อย่างชัดเจนตามแผนภาพที่ ๙.๔ ๑) ย............., ย............., ต...............ต...................... ๒) ย............, ต................ย............, ต................................. ๓) ย............, ต.............., ย............., ต............., ย............., ต…… แผนภาพที่ ๙.๔ โครงสร้างประโยค ย-ต สามญั แบบ B จากแผนภาพท่ี ๙.๔ จะเหน็ ว่า ประโยค ย-ต สามัญ แบบ B น้ี ประกอบด้วยโครงสร้าง ของประโยค ย-ต ตั้งแต่ ๒ คู่ข้ึนไป คือมี ๒ คู่บ้าง ๓ คู่บ้าง ซ่ึงมีความซับซ้อนยุ่งยากมากกว่าประโยค ย-ต สามัญ แบบ A ท่ีผ่านมา เพราะประโยค ย-ต สามัญ แบบ A น้ัน มีโครงสร้างของ ย-ต เพียงคู่เดียว เท่านน้ั ๙.๔.๒ หลักการแปลประโยค ย-ต สามญั ในการแปลประโยค ย-ต สามัญ ผู้แปลสามารถแปลได้ท้ังโดยพยัญชนะและโดยอรรถ โดยมี รายละเอยี ดเกี่ยวกบั หลักการแปลท่คี วรจดจาหรือศกึ ษาเรยี นรู้ ดงั น้ี ๑) การแปลประโยค ย-ต สามัญ แบบ A โดยพยัญชนะ ในการแปลประโยค ย-ต สามัญ แบบ A โดยพยัญชนะนั้น ผู้แปลจะต้องยึดหลักเกณฑ์ไว้ให้ มัน่ คง จึงจะแปลไดไ้ ม่ผิดความหมาย หลกั ท่ีจะตอ้ งยึดและคานึงถงึ อยู่เสมอในขณะแปลโดยพยัญชนะ มี ดงั น้ี ๒๐๓
หลกั ท่ี ๑ แปลประโยค ย กอ่ น ถ้าในประโยค ย-ต วางประโยค ย ไว้ข้างหน้าประโยค ต ให้แปลประโยค ย ให้จบก่อน แล้วจงึ แปลประโยค ต ภายหลัง (ดโู ครงสรา้ งประโยค ย-ต สามญั แบบ A ข้อ ๑)) หลักท่ี ๒ แปลประโยค ย หรอื ต ก่อนแลว้ แต่กรณี ถ้าในประโยค ย-ต วางประโยค ต ไวข้ ้างหน้าประโยค ย มีวธิ ีแปล ๒ อยา่ ง คือ อาจแปล ขอ้ ความในประโยค ย ก่อน หรือประโยค ต ก่อน กไ็ ด้ แลว้ แตก่ รณี ดงั น้ี (๑) ในกรณีที่ทั้งประโยค ย (ตัว ย) และประโยค ต (ตัว ต) เป็นประธานใน ประโยค ให้ข้ามไปแปลข้อความในประโยค ย ให้จบก่อน แล้วจึงกลับมาแปลประโยค ต ภายหลงั (ดโู ครงสรา้ งประโยค ย-ต สามญั แบบ A ขอ้ ๒)) (๒) ในกรณีท่ปี ระโยค ต (เฉพาะตัว ต) ไม่ได้เป็นประธานในประโยค ให้แปล ข้อความในประโยค ต ก่อน คือให้แปลบทอื่นท่ีเป็นประธานในประโยค ต น้ันก่อน เม่ือ แปลไปถึงตัว ต ให้เว้น ต ไว้ก่อน แล้วเข้าแปลประโยค ย จนหมดทุกบทแล้ว จึงกลับมา แปลตวั ต ภายหลัง (ดโู ครงสร้างประโยค ย-ต สามัญ แบบ A ข้อ ๒)) หลักที่ ๓ แปลประโยค ต ก่อน ในประโยค ย-ต บางแห่ง ประโยค ย สั้นมาก หรือประโยค ต ยาวมาก และมีประโยค ย สั้น ๆ เขา้ ไปแทรกตรงกลาง ในกรณีเช่นน้ใี หแ้ ปลประโยค ต ก่อน โดยแปลไปเป็นทอด ๆ พอไปถึง ต ให้เว้น ต ไว้ก่อน แล้วเข้าแปลประโยค ย จนหมดทุกบทแล้วกลับมาแปลตัว ต ภายหลัง จนจบประโยค (ดโู ครงสรา้ งประโยค ย-ต สามัญ แบบ A ขอ้ ๓)) ดปู ระโยคตัวอยา่ ง อนฺนปานเภสชเฺ ชสุ โย ย อิจฺฉติ, ตสฺส ต ยถจิ ฺฉติ เมว สมฺปชฺชติ. (๑/๔-๕) แปลโดยพยัญชนะ (ตามหลักท่ี ๑) อ. ภิกษุใด ย่อมปรารถนา ซ่ึง-ในข้าวและน้าเป็นท่ีอันเขาพึงดื่มและยา ท. หนา-วัตถุใด, อ. วัตถุนั้น ย่อมสาเร็จ แก่ภิกษุนั้น ตามความปรารถนาน่ันเทียว. (ประโยค ย อยู่ข้างหน้า ประโยค ต) คหน เหตํ ภนฺเต ยทิทํ มนุสสฺ า, อตุ ฺตาน เหตํ ภนฺเต ยทิทํ ปสโว. (๒/๑๒) แปลโดยพยญั ชนะ (ตามหลกั ที่ ๒ (๑)) ขา้ แต่พระองคผ์ ูเ้ จรญิ ก็ อ. ขันธปัญจก นใี้ ด คอื อ. มนษุ ย์ ท. อ. ขันธปัญจกนั่น รกชัฏ ข้า แต่พระองค์ผู้เจริญ ก็ อ. ขันธปัญจกน้ีใด คือ อ. สัตว์ของเลี้ยง ท. อ. ขันธปัญจกนั่น ตื้น (งา่ ย) (ประโยค ต อยู่ขา้ งหนา้ ประโยค ย ) ๒๐๔
กึ ปน (ตสสฺ ) เม ตฺว ปาปมิ ปสฺสสิ, ยํ ม ตวฺ เอว วเทสิ. (๗/๑๖๔) แปลโดยพยัญชนะ (ตามหลักท่ี ๒ (๒)) ดกู ่อนมารผู้มีบาป ก็ อ. ท่าน ย่อมเห็น ซ่ึงอะไร ของ- อ. ท่าน ย่อมกล่าว อย่างนี้ กะเราใด- เรา (นน้ั ) (ประโยค ต อยูข่ ้างหนา้ ประโยค ย) อทิ วิสฺสชเฺ ชตวฺ า, ยทนู , ตํ ปูเรยฺยาสิ. (๑/๗๔) แปลโดยพยัญชนะ (ตามหลกั ท่ี ๓) อ. ทา่ น พึงสละแลว้ ซ่งึ ผา้ น้ี อ. วัตถุใด เป็นวตั ถุพร่อง (ยอ่ มเป็น) พึงยงั วัตถนุ ้ัน ให้เต็ม (ประโยค ย สั้นมาก แทรกกลางประโยค ต ) ตตถฺ เอโก สวุ ราชา อตฺตโน นวิ าสนรุกขฺ สสฺ ผเลสุ ขเี ณสุ, ยเทว อวสิฏฺฐ โหติ องฺกโุ ร วา ปตฺต วา ตโจ วา, ตํ ขาทิตฺวา คงฺคาย ปานีย ปิวิตฺวา ปรมปฺปิจฺโฉ สนฺตุฏฺ โ หุตฺวา อญฺ ตฺถ น คจฉฺ ติ. (๔/๑๑๓) แปลโดยพยญั ชนะ (ตามหลกั ที่ ๓) ในนกแขกเต้า ท. เหล่านั้นหนา อ. นกแขกเต้าผู้พระราชา ตัวหน่ึง ครั้นเม่อื ผล ท. แห่งต้นไม้ อันเป็นที่อยู่ ของตน สิ้นแล้ว เค้ียวกินแล้ว อ. รุกขาวัยวะใด คือ อ. หน่อหรือ หรือคือ อ. ใบ หรือคือ อ. เปลือก เป็นของเหลือลงแล้ว ย่อมเป็น ซึ่งรุกขาวัยวะน้ัน ดื่มแล้ว ซึ่งน้า อันบุคคลพึงด่ืม ในแม่น้าคงคา. (ประโยค ย สนั้ แทรกกลางประโยค ต ยาวมาก) ๒) การแปลประโยค ย-ต สามัญ แบบ A โดยอรรถ ในการแปลประโยค ย-ต สามัญ แบบ A โดยอรรถนั้น จะมีความยุ่งยากและยากกว่าการ แปลโดยพยญั ชนะ ถ้าผ้แู ปลไม่มีหลักเกณฑ์ที่ดีพอ ก็จะแปลผิดความหมายไปเลย อยา่ งไรก็ตาม สาหรับ ผแู้ ปลท่ีมหี ลักเกณฑ์ดอี ยแู่ ลว้ ก็จะไม่รู้สึกยากแต่ประการใด ฉะน้ัน ต่อไปน้ี จะแสดงหลักเกณฑก์ ารแปล ประโยค ย-ต สามัญ โดยอรรถตามโครงสร้าง A เพ่ือให้ผู้แปลได้ศึกษาทาความเข้าใจ และยึดถือเป็น หลกั ดังน้ี หลักท่ี ๑ แปลประโยค ย ก่อน ถ้าในประโยค ย-ต วางประโยค ย ไว้ข้างหน้าหรือข้างหลังประโยค ต และผู้แปล ต้องการจะแปลเอาท้ัง ย และ ต โดยไม่ตัด ย-ต ทิ้ง เพราะคิดว่าเมื่อแปลแล้ว ฟังดูดี ได้ความสมบูรณ์ครบถ้วน ก็ให้แปลตามแนวการแปลโดยพยัญชนะ กล่าวคือ ให้แปล ประโยค ย จนจบทกุ บทกอ่ นแล้วจงึ แปลประโยค ต ภายหลงั หลักท่ี ๒ แปลประโยค ต ก่อน ถ้าในประโยค ย-ต วางประโยค ย ไว้ข้างหน้าหรือข้างหลังประโยค ต หรือวางแทรกไว้ ตรงกลางประโยค ต และผู้แปลคิดว่า เมื่อแปลเอาท้ัง ย และ ต โดยไม่ตัด ย-ต ท้ิง เชน่ เดียวกับการแปลตามหลกั ท่ี ๑ นนั้ ฟังดูแล้วไม่ดี ไมไ่ ดอ้ รรถรส ไม่ได้ความชัดเจน ก็ ให้ตัดตัว ย ทิ้งเสีย โดยไม่ต้องแปล ส่วนตัว ต น้ัน จะคงไว้ก็ได้ หรือตัดท้ิงโดยไม่ต้อง ๒๐๕
แปลก็ได้ โดยให้เร่ิมแปลที่ประโยค ต ก่อน พอไปถึงตอนท่ีจะเข้าแปลประโยค ย ก็ให้ เติมคําเชื่อมคาใดคาหนึง่ ท่ีถกู ต้องต่อไปนีค้ อื คาวา่ “ผู้, ท,่ี ซง่ึ , อัน, เปน็ ที่, เป็นเครือ่ ง, เป็นเหตุ, เป็นแดน” แล้วก็เข้าแปลประโยค ย ให้หมดทุกบท โดยยกเว้นตัว ย กับนาม นามที่ตัว ย เปน็ วิเสสนะ ดปู ระโยคตวั อยา่ ง (ใช้ตัวอย่างบาลีเหมอื นกับที่แปลโดยพยัญชนะ) อนนฺ ปานเภสชฺเชสุ โย ย อจิ ฉฺ ติ, ตสฺส ต ยถิจฺฉิตเมว สมปฺ ชชฺ ติ. (๑/๔-๕) แปลโดยอรรถ (ตามหลกั ที่ ๑) บรรดาข้าวน้าและยา ภิกษุใด ปรารถนาส่ิงใด, สิ่งน้ันย่อมสาเร็จแก่ภิกษุนั้นตามปรารถนา ทีเทียว คหน เหตํ ภนฺเต ยททิ ํ มนุสฺสา, อุตฺตาน เหตํ ภนเฺ ต ยททิ ํ ปสโว. (๒/๑๒) แปลโดยอรรถ (ตามหลักที่ ๒) ขา้ แต่พระองค์ผูเ้ จรญิ แท้จริง ขันธปัญจกนี้ คือมนุษย์ท้งั หลาย รกชัฏ, ขา้ แตพ่ ระองค์ผเู้ จริญ แท้จริง ขันธปัญจกน้ี คือสัตว์ของเล้ียงต้ืน (ง่าย). (ตัดท้ัง ยํ และ เอตํ ท้ิง จึงจะฟังได้ความ ชัดเจน) กึ ปน (ตสฺส) เม ตฺว ปาปมิ ปสสฺ สิ, ยํ ม ตวฺ เอว วเทสิ. (๗/๑๖๔) แปลโดยอรรถ (ตามหลกั ที่ ๒) มารผู้มบี าป กท็ า่ นเหน็ อะไรของเรา ผซู้ ่ึงกล่าวอยา่ งน้ี (ตดั (ตสฺส) และ ยํ มํ ทิง้ ) อิท วิสฺสชเฺ ชตฺวา, ยทนู , ตํ ปูเรยฺยาสิ. (๑/๗๔) แปลโดยอรรถ (ตามหลักที่ ๒) ทา่ นพงึ จาหนา่ ยผ้านี้ แล้วพงึ ใหค้ รบส่วนทบ่ี กพรอ่ ง (ตดั ยํ และ ตํ ท้งิ ) ตตถฺ เอโก สวุ ราชา อตตฺ โน นิวาสนรกุ ฺขสสฺ ผเลส ขีเณสุ, ยเทว อวสฏิ ฺฐ โหติ องกฺ ุโร วา ปตตฺ วา ตโจ วา, ตํ ขาทิตฺวา คงฺคาย ปานีย ปิวิตฺวา ปรมปฺปิจฺโฉ สนฺตุฏฺโ หุตฺวา อญฺ ตฺถ น คจฺฉติ. (๔/๑๑๓) แปลโดยอรรถ (ตามหลักที่ ๒) บรรดานกแขกเต้าเหล่านั้น พญานกแขกเต้าตัวหนึ่ง เมื่อผลแห่งต้นไม้เป็นท่ีอยู่ของตน หมดแล้ว ก็เค้ียวกินรุกขาวัยวะ ที่เป็นหน่อก็ตาม ใบก็ตาม เปลือกก็ตาม ซ่ึงยังเหลืออยู่ ดื่ม นา้ ในแม่นา้ คงคา เป็นสัตวม์ ีความปรารถนานอ้ ยอย่างยิง่ เป็นสัตว์สันโดษ ย่อมไม่เปน็ ไปในที่ อน่ื (ตดั ย-ต ท้ิง) ๒๐๖
ข้อสังเกต: การแปลโดยอรรถในตัวอย่างที่ ๒ (เร่ืองขันธปัญจก) ดังท่ียกมานี้ ไม่ปรากฏว่ามี คาเชื่อม ท้ังน้ีเป็นเพราะว่าประโยค ย เป็นประโยคที่ส้ันและไม่มีตัวกริยาคุมพากย์หรือตัววิกติกัตตา ปรากฏอยู่ ๓) การแปลประโยค ย-ต สามัญ แบบ B โดยอรรถ สาหรับการแปลประโยค ย-ต สามัญ แบบ B โดยอรรถ ซึ่งเป็นประโยคท่ีมีโครงสร้างของ ประโยค ย-ต ต้ังแต่ ๒ คู่ข้ึนไป คือมี ๒ คู่บ้าง ๓ คู่บ้าง มีความซับซ้อนยุ่งยากมากกว่าประโยค ย-ต สามัญ แบบ A ที่ผ่านมา เพราะประโยค ย-ต สามัญ แบบ A น้ัน มีโครงสร้างของ ย-ต เพียงคู่เดียว เท่านั้น อย่างไรก็ตาม เม่ือพิจารณาดูในแง่ของการแปลโดยอรรถแล้วจะเห็นว่าประโยค ย ทาหน้าท่ีเป็น ประโยควิเสสนะ (adjective clause) คือขยายประโยค ต ไม่มีประโยค ต ใด ๆ เลยที่ทาหน้าที่เป็น ประโยควิเสสนะ คือขยายประโยค ย ทั้งนี้ก็เป็นไปตามหลักท่ีว่า ประโยค ต เป็นประโยคหลักหรือ ประโยคสาคัญ (main clause) ส่วนประโยค ย เป็นประโยคแฝงหรือประโยคอาศัย (subordinate clause) คอื ตอ้ งอาศัยหรือแฝงอยูก่ บั ประโยคหลกั จึงจะอ่านหรือฟงั ร้เู ร่ืองไดค้ วามสมบรู ณ์ ดูประโยคตวั อย่าง ประโยค ๑ ยา (๑) จ ตสฺส ตถา ตปจรณ ปูเรนฺตสฺส วสฺสสต เจตนา, ยา (๒) จ สงฺขาตธมฺมาน กุล วา ภตตฺ วา กกุ ฺกจุ ฺจายิตวฺ า อภุญชฺ นฺตาน เอกา ภตฺตจเฺ ฉทนกุสลเจตนา, ตสสฺ า เจตนาย สา ตาว ทีฆรตฺต ปวตตฺ เจตนา โสฬสึ กล นาคฆฺ ติ. (๓/๑๕๓) แปลโดยอรรถ กเ็ จตนาของคนพาลน้ัน ผู้บาเพ็ญการประพฤติตบะตลอด ๑๐๐ ปี ซ่ึงเป็นไปนานเพียงน้ันยัง ไม่ถึงเสี้ยวที่ ๑๖ แห่งเจตนาอันเป็นกุศลเครื่องตัดภัตรดวงหน่ึงของพระอริยบุคคลผู้มีธรรม อันนับได้แล้ว ผู้ประพฤติรังเกียจตระกูลหรือภัตร ไม่บริโภคอยู่ (ประโยค ย (ยา ๑) ขยาย ประโยค ต (สา) ส่วนประโยค ย (ยา ๒) ขยายประโยค ต (ตสฺสา) ซ่ึงเป็นไปตามโครงสร้าง ประโยค ย-ต สามญั แบบ B ขอ้ ๑)) ประโยค ๒ ยํ (๑) ตสฺสา สงขฺ าตธมฺมาน เจตนาย ผล, ตํ (๑) โสฬสโกฏฺ าเส กตวฺ า ตโต เอเกก ปุน โสฬส โกฏฺ าเส กตฺวา ตโต เอกสฺส โกฏฺ าสสฺส ยํ (๒) ผล, ตเทว (๒) ตสฺส พาลสฺส ตปจรณโต มหนฺตตร. (๓/๑๕๓) ๒๐๗
แปลโดยอรรถ ผลแห่งส่วนหนึ่งจาก ๑๖ ส่วนน้ัน กระทาผลแห่งเจตนานั้น ของท่านผู้มีธรรมอันนับได้แล้ว ให้เป็น ๑๖ ส่วน แล้วกระทาผลหนึ่ง ๆ จาก ๑๖ ส่วนน้ันให้เป็น ๑๖ ส่วนอีก ก็ยังมากกว่า การประพฤตติ บะของคนพาลน้ัน (ประโยค ย (ยํ ๑) ขยายประโยค ต (ตํ ๑) ส่วนประโยค ย (ยํ ๒) ขยายประโยค ต (ตํ ๒) ซ่ึงเป็นไปตามโครงสรา้ งประโยค ย-ต สามัญ แบบ B ขอ้ ๒)) ประโยค ๓ ยถา ปน อคนฺธก ปุปฺผ โย (๑) น ธาเรติ, ตสฺส (๑) สรีเร คนฺโธ น ผรติ, เอว เอตปิ, โย (๒) น สกฺกจฺจ สวนาทีหิ น สมาจรติ, ตสสฺ (๒) สกกฺ จฺจ อสมาจรนตฺ สฺส, ยํ ตตฺถ กาตพฺพ, ตํ อกพุ ฺพโต สตุ คนฺธ ธารณคนธฺ ปฏิปตฺตคิ นฺธญจฺ น อาวหติ อผล โหติ. (๓/๔๔-๔๕) แปลโดยอรรถ เหมือนอย่างว่า ดอกไม้ท่ีไม่มีกลิ่น ผู้ใดทัดทรงดอกไม้น้ัน กลิ่นย่อมไม่ซาบซ่านไปในสรีระ ของผู้นั้น ฉันใด แม้พระพุทธพจน์นี้ ก็ฉันนั้น ย่อมไม่นากลิ่นคือการฟัง กล่ินคือการทรงไว้ และล่ินคอื การปฏิบัติ ช่ือว่าไม่มผี ล แกบ่ ุคคลผู้ไม่ประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ ซ่ึงพระพจน์น้ัน ด้วย กิจมีการฟังเป็นต้นโดยเคารพ ช่ือว่าแก่บุคคลผู้ไม่กระทาอยู่ซ่ึงกิจท่ีตนพึงกระทา ในพุทธ พจน์นั้น. (ประโยค ย (โย ๑) อาจแปลให้เป็นประโยควิเสสนะ ทาหน้าที่ขยายประโยค ต (ตสฺส ๑) โดยตรงวา่ “เหมือนอยา่ งว่า กลิ่น ย่อมไมซ่ าบซ่านไปในสรีระของผู้ท่ีทัดทรงดอกไม้ อันไม่มีกล่ินนั้น ฉันใด”ประโยค ย (โย ๒) ขยายประโยค ต (ตสฺส ๒) ส่วนประโยค ย (ยํ) ขยายประโยค ต (ตํ) ซ่งึ เปน็ ไปตามโครงสร้างประโยค ย-ต สามญั แบบ B ข้อ ๓)) กล่าวโดยสรุป ประโยค ย-ต สามัญ มีเน้ือหาสาระสาคัญที่ควรศึกษา ๒ ประเด็น ได้แก่ ๑) แบบของประโยค ย-ต สามัญ ซ่ึงมีท้ังแบบ A และ แบบ B โดยแบบ A มีโครงสร้างของ ย-ต เพียงคู่ เดียวเท่านั้น ส่วนแบบ B มีโครงสร้างของ ย-ต ตั้งแต่ ๒ คู่ขึ้นไป คือมี ๒ คู่บ้าง ๓ คู่บ้าง ซึ่งมีความ ซับซ้อนยุง่ ยากมากกว่าประโยค ย-ต สามัญ แบบ A และ ๒) หลักการแปลประโยค ย-ต สามญั ผู้แปล สามารถแปลได้ท้ังโดยพยัญชนะและโดยอรรถ คือกรณีการแปลประโยค ย-ต สามัญ แบบ A โดย พยัญชนะ น้ัน ผู้แปลจะต้องยึดหลักเกณฑ์ไว้ให้มั่นคง จึงจะแปลได้ไม่ผิดความหมาย กรณีการแปล ประโยค ย-ต สามัญ แบบ A โดยอรรถ จะมีความยุ่งยากและยากกวา่ การแปลโดยพยัญชนะ แต่สาหรับ ผู้แปลท่ีมีหลักเกณฑ์ดีอยู่แล้ว ก็จะไม่รู้สึกยากแต่ประการใด และกรณีการแปลประโยค ย-ต สามัญ แบบ B โดยอรรถ จะมีความซับซ้อนยุ่งยากมากกว่าประโยค ย-ต สามัญ แบบ A แต่ก็ยังเป็นไปตาม หลกั ทวี่ ่า ประโยค ต เป็นประโยคหลัก ส่วนประโยค ย เป็นประโยคอาศยั คอื ต้องอาศัยประโยคหลัก จึง จะอา่ นหรอื ฟังรูเ้ รือ่ งไดค้ วามสมบูรณ์ ๒๐๘
แบบฝกึ หดั ท่ี ๙.๑ (การแปลประโยค ย-ต สามัญ แบบ A และ B) ใหแ้ ปลประโยคต่อไปนเ้ี ปน็ ไทยโดยพยญั ชนะและโดยอรรถ ๑. ย (โจร) นิสฺสาย เต (โจรา) ต กมฺม กโรนฺติ; โส ทตฺโต วา มตฺโต วา “เตส ปุพฺพงฺคโมติ วจุ จฺ ติ. (๑/๒๑) ๒. โย หิ ต (ธมฺม) น ปสฺสติ, ตสฺส วสฺสสต ชีวิตโต ต ธมฺม ปสฺสนฺตสฺส ปฏิวิชฺฌนฺตสฺส เอกาหปิ เอกกขฺ ณมฺปิ ชีวิต เสยโฺ ย. (๔/๑๔๙) ๓. ปาสาณผลกสฺส นิสสฺ นเฺ ทน ปารจิ ฺฉตฺตกมเู ล ทฆี โต สฏฺฐิโยชนา วติ ถฺ ารโต ปญฺ าสโยชนา พหลโต ปณฺณรสโยชนา ชยสุมนาลตฺตกปาฏลิวณฺณา (สา) ปณฺฑุกมฺพลสิลา นิพฺพตฺติ, ยตฺถ (ปณฺฑุกมฺพลสิลาย) นิสินฺนกาเล อุปฑฺฒกาโย ปวิสติ, (ยา ปณฺฑุกมฺพลสิลา) อุฏฺ ฐิตกาเล อุนฺนเมติ ปุน ปรปิ เู รติ. (๒/๑๐๓-๑๐๔) ๔. ปริยนฺเต (ต) กึกิณิ กชาล โอลมฺเพติ, ยสฺส (กึกิณิ กชาลสฺส) มนฺทวาเตริตสฺส ป ฺจงฺคิกตรุ ยิ สทฺทสมฺมิสโฺ ส ทิพฺพคีตสทฺโท วยิ สโร นจิ ฺฉรติ. (๒/๑๐๔) ๕. เตปิ (ภิกฺขุ) อนุปุพฺเพน เชตวน คนฺตฺวา สตฺถาร จฺ มหาเถเร จ เถรสฺส วจเนน วนฺทิตฺวา ปนุ ทวิ เส, ยตฺถ (วถี ิย) เถรสสฺ กนฏิ ฺโ วสติ; ต วถี ึ ปิณฺฑาย ปวสิ ึสุ. (๑/๑๓) ๖. (โส จุนฺทสูกริโก) ฉาตกกาเล สกเฏน วีหี อาทาย ชนปท คนฺตฺวา เอกนาฬิทฺวินาฬิมตฺเตน คามสูกรโปตเก กีณิตฺวา สกฏ ปูเรตฺวา อาคนฺตฺวา ปจฺฉานิเวสเน วช วิย เอกฏฺ าน ปริกฺขิปิตฺวา ตตฺเถว ( าเน) เตส (สูกรโปตกาน) นิวาปํ โรเปตฺวา, เตสุ นานาคจฺเฉ จ สรีรวล ฺช จฺ ขาทิตฺวา วฑฺฒิเตสุ, ย ย (สูกร) มาเรตุกาโม โหติ, ต ต (สูกร) อาฬาหเน นิจฺจล (กตฺวา) พนฺธิตฺวา สรีรมสสฺส อุทฺธุมายิตฺวา พหลภาวตฺถ จตุรสฺสมุคฺคเรน โปเถตฺวา “พหลมโส ชาโตติ ตฺวา มุข วิวริตฺวา ทนตฺ นตฺ เร ทณฺฑก ทตวฺ าโลหนาฬยิ า ปกกฺ ฏุ ฐฺ ิต อณุ ฺโหทก มุเข อาสิ จติ. (๑/๑๑๖-๑๑๗) ๗. ยา จ อสฺส (ชมฺพุกสฺส) อิทานิ กุล วา ภตฺต วา กุกฺกุจฺจายิตฺวา อภุ ชฺ นฺตสฺส ภตฺตจฺเฉทน กุสลเจตนา, ตสสฺ า (ภตตฺ จเฺ ฉทนกสุ ลเจตนาย) ต ตปจรณ โสฬสปึ ิ กล นาคฆฺ ติ. (๓/๑๕๓) ๒๐๙
คําศัพท์ที่ควรทราบ ที่ คาํ ศัพท์ คําแปล ท่ี คาํ ศพั ท์ คําแปล ๑ นสิ สฺ าย ซ้ือแลว้ ๒ ปุพฺพงฺคโม อาศยั แลว้ ๓๒ กีณติ วฺ า ในภายหลังแห่งที่เปน็ ที่อยู่ ๓ วสสฺ สต ซึง่ คอก ๔ ปฏวิ ิชฺฌนฺตสสฺ เปน็ ผูถ้ งึ ก่อน ๓๓ ปจฺฉานิเวสเน ล้อมแลว้ ๕ เอกาหปิ ซงึ่ ผัก ๖ เอกกขฺ ณมปฺ ิ สนิ้ ร้อยแหง่ ปี ๓๔ วช ปลูกแลว้ ๗ ปาสาณผลกสสฺ ซึง่ คถู แห่งสรรี ะ ผู้แทงตลอดอยู่ ๓๕ ปริกขฺ ปิ ติ ฺวา ๘ นสิ ฺสนฺเทน เค้ียวกนิ แล้ว แมว้ ันเดยี ว ๓๖ นิวาปํ ๙ ปาริจฺฉตฺตกมเู ล เติบโตแลว้ ๑๐ ทฆี โต แมข้ ณะเดยี ว ๓๗ โรเปตวฺ า เปน็ ผใู้ คร่เพ่ืออนั ยัง…ให้ ตาย ๑๑ วิตฺถารโต แห่งแผ่นกระดานและ ๓๘ สรรี วลญชฺ ในท่เี ปน็ ท่ีนามาฆา่ ๑๒ พหลโต ใหม้ คี วามไหวออกแลว้ ๑๓ ชยสุมนาลตฺตก- แผ่นหนิ ผูกแลว้ ปาฏลิวณณฺ า ด้วยวบิ ากเปน็ เคร่อื ง ๓๙ ขาทติ ฺวา ๑๔ นิสินนฺ กาเล ไหลออก ๑๕ อปุ ฑฒฺ กาโย ท่ีโคนแห่งต้นแคฝอย ๔๐ วฑฒฺ เิ ตสุ ๑๖ อฏุ ฺฐิตกาเล โดยส่วนยาว ๔๑ มาเรตุกาโม ๑๗ อนุ นฺ เมติ โดยสว่ นกวา้ ง ๔๒ อาฬาหเน แหง่ เนอ้ื แหง่ สรีระ ๑๘ ปรปิ เู รติ โดยส่วนหนา ๔๓ นิจฺจล ๑๙ ปริยนเฺ ต อันมีสีเพียงดังสแี หง่ ๔๔ พนฺธิตฺวา พองแลว้ ๒๐ กกึ ณิ ิกชาล ดอกชัยพฤษ์ คลัง่ สด ๒๑ โอลมเฺ พติ และบวั โรย ๔๕ สรรี มสสสฺ เพ่อื ความทแ่ี ห่ง…เป็น ๒๒ มนฺทวาเตรติ สสฺ ในกาลแห่ง…ประทบั ธรรมชาตหิ นา นง่ั แลว้ ๔๖ อุทธฺ ุมายิตวฺ า ด้วยฆ้อนอันมีเหลีย่ มส่ี ๒๓ ปญจฺ งคฺ กิ ตรุ ิย- อ. พระวรกายอันเข้า ทบุ แลว้ สทฺทสมมฺ ิสฺโส ไปด้วยทงั้ กึ่ง ๔๗ พหลภาวตฺถ เปดิ แล้ว ในกาลแห่ง…เสดจ็ ลุก ในระหว่างแหง่ ฟนั ๒๔ ทพิ ฺพคีตสทฺโท ข้นึ แล้ว ๔๘ จตรุ สฺสมคุ คฺ เรน ซง่ึ ทอ่ นไม้ ยอ่ มฟูขน้ึ ๔๙ โปเถตวฺ า ด้วยทะนานอันเปน็ วิการ ยอ่ มเตม็ รอบ ๕๐ ววิ รติ วฺ า แห่งโลหะ ๕๑ ทนฺตนตฺ เร อันเดอื ดพล่านแล้ว ในทส่ี ดุ รอบ ๕๒ ทณฺฑก อ. ข่ายแหง่ กระดิ่ง ๕๓ โลหนาฬยิ า ยอ่ มหอ้ ยลง อันอันลมอ่อนพัดแลว้ อนั เจอื ดว้ ยเสยี งแห่ง ๕๔ ปกฺกุฏฺฐิตํ ซึ่งนา้ รอ้ น ดนตรี อ. เสยี งแหง่ เพลงขับ ๕๕ อุณฺโหทก ๒๑๐
๒๕ นจิ ฺฉรติ อนั เป็นทิพย์ ๕๖ อาสิญจฺ ติ ยอ่ มกรอก ๒๖ ปนุ ทิวเส ย่อมเปล่งออก ๕๗ กกุ กฺ จุ ฺจายิตวฺ า รงั เกียจแล้ว ๒๗ ฉาตกกาเล ในวนั รุ่งข้นึ ๕๘ ภตฺตจเฺ ฉทน อ. กศุ ลเจตนาเปน็ เครื่อง ในกาลแหง่ …หิวแล้ว ตัดซ่งึ ภัตร ๒๘ สกเฏน กุสลเจตนา แม้ทส่ี บิ หก ๒๙ วหี ี ดว้ ยเกวียน ๕๙ โสฬสปิ ซ่ึงเส้ียว ๓๐ เอกนาฬทิ วฺ ิ- ซึ่งขา้ วเปลือก ท. ๖๐ กล ย่อมไมถ่ ึง อนั มีทะนานหน่ึงหรือ ๖๑ น อคฆฺ ติ นาฬิมตเฺ ตน ทะนานสองเปน็ ประมาณ ๓๑ คามสกู รโปตเก ซ่งึ สกุ รตวั ลกู น้อยของ ชาวบา้ น ท. ๒๑๑
๙.๕ ประโยค ย-ต อปุ มาอปุ ไมย ในส่วนของประโยค ย-ต อุปมาอุปไมยน้ี มีเน้ือหาสาระสาคัญที่ควรศึกษา ๒ ประเด็น ได้แก่ ๑) แบบของประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย และ ๒) หลักการแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย โดยมี รายละเอียด ดงั น้ี ๙.๕.๑ แบบของประโยค ย-ต อปุ มาอปุ ไมย ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมยน้ี มีโครงสร้างซึ่งมีความสาคัญมากสาหรับผู้แปลเช่นเดียวกับ ประโยค ย-ต สามัญที่ผ่านมา เพราะจะทาให้ผู้แปลสามารถมองเห็นโครงสร้างท่ีเป็นรูปธรรมและเข้าใจ ไดง้ ่ายขึน้ อาจจาแนกได้ ๒ แบบ ตามโครงสรา้ ง ดังน้ี ๑) ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ A คือ ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ที่มีโครงสร้าง ของ ย-ต เพียงคู่เดียวเท่านั้น โดยอาจวาง ย ไว้ข้างหน้า วาง ต ไว้ข้างหลัง หรือ วาง ต ไว้ข้างหน้า วาง ย ไวข้ ้างหลงั เชน่ เดียวกบั โครงสร้างของประโยค ย-ต สามญั แบบ A ดงั แสดงในแผนภาพที่ ๙.๕ ๑) ยถา (หรอื เสยยฺ ถา)........................; เอวํ (หรอื ตถา)............................. ๒) (เอวํ หรอื ตถา).............................; ยถา...................................................... ๓) ..................................., ยถา........................; เอวํ (หรือ ตถา).................... แผนภาพท่ี ๙.๕ โครงสรา้ งประโยค ย-ต อปุ มาอุปไมย แบบ A จากแผนภาพท่ี ๙.๕ จะเห็นว่า ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ A นี้ มีโครงสร้างของ ย-ต เพียงคู่เดียวเท่านั้น โดยอาจวาง ย ไว้ข้างหน้า วาง ต ไว้ข้างหลัง หรือ วาง ต ไว้ข้างหน้า วาง ย ไว้ข้าง หลัง เช่นเดียวกับโครงสร้าง A ของประโยค ย-ต สามัญ ส่วนคาแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต อุปมาอปุ ไมย แบบ A อาจแสดงไดต้ ามแผนภาพท่ี ๙.๖ .............ฉันใด......... ฉันนัน้ ............. ......เหมือน, เปรียบเหมือน, ดจุ , ประดุจ, ประหนึ่ง, เชน่ , อยา่ ง, คลา้ ย ฯลฯ...... แผนภาพที่ ๙.๖ คําแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต อปุ มาอปุ ไมย แบบ A ๒๑๒
๒) ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ B คือ ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ท่ีมีโครงสรา้ งของ ย-ต ต้ังแต่ ๒ คู่ขึ้นไป คือมี ๒ คู่บ้าง ๓ คู่บ้าง และมีการวาง ย-ต สลับที่กัน ระหว่างหน้าและหลังด้วย ซง่ึ มคี วามซับซ้อนยุ่งยากมากกวา่ ประโยค ย-ต อปุ มาอปุ ไมย ตามโครงสร้าง แบบ A ที่ผ่านมา อาจแสดง ใหเ้ หน็ ได้อยา่ งชัดเจนตามแผนภาพท่ี ๙.๗ ๑) ...........(ต)............., ย เอวํ..............., ยถา............. ๒) ยถา.......... ย.............., ต............, เอวํ........., ย........, ต........ย......, ต......... แผนภาพท่ี ๙.๗ คาํ แปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต อปุ มาอปุ ไมย แบบ B จากแผนภาพที่ ๙.๗ จะเห็นว่า ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ B นี้ ประกอบด้วย โครงสรา้ งของประโยค ย-ต ต้ังแต่ ๒ คู่ ข้ึนไป คือมี ๒ คู่บา้ ง ๓ คู่บ้าง ๔ คบู่ ้าง และมีการวาง ย-ต สลับ ท่ีกัน ระหว่างหน้าและหลังด้วย ซ่ึงมีความซับซ้อนยุ่งยากมากกว่าประโยค ย-ต อุปมาอุปไมยตาม โครงสร้าง แบบ A ที่ผ่านมา เพราะประโยค ย-ต อุปมาอุปไมยตามโครงสร้าง แบบ A น้ัน มีเพียงคู่ เดียวเทา่ นั้น ๙.๕.๒ หลักการแปลประโยค ย-ต อปุ มาอุปไมย ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ในภาษาบาลี มีโครงสร้างการเรียงคาพูดที่หลากหลาย เช่นเดียวกับประโยค ย-ต สามัญ ท่ีผ่านมาแล้ว อาจจาแนกการแปลออกเป็นการแปลโดยพยัญชนะและ การแปลโดยอรรถ ดังนี้ ๑) การแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ A โดยพยญั ชนะ ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ได้แก่ ประโยค ยถา (หรือ เสยฺยถา) - เอวํ (หรือ ตถา) ที่ แปลว่า “ฉันใด-ฉันน้ัน” มีโครงสร้างการเรียงคาพูดที่หลากหลายเช่นเดียวกับประโยค ย-ต สามัญ ท่ี ผ่านมา ฉะนั้น ในการแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ A โดยพยัญชนะ น้ัน ผู้แปลจะต้องยึด หลักเกณฑ์ไว้ให้มั่นคง จึงจะแปลได้ความชัดเจน ไม่ผิดความหมาย เกณฑ์ที่จะต้องยึดและคานึงถึงอยู่ เสมอในขณะแปลโดยพยญั ชนะ กเ็ หมือนกับการแปลประโยค ย-ต สามญั โดยพยญั ชนะทุกประการ ๒๑๓
ดปู ระโยคตวั อยา่ ง ยเถว ตุมเห ต น ปสฺสถ; ตถา โสปิ เต ปาณเก น ปสฺสติ. (๑/๑๙) แปลโดยพยญั ชนะ อ. ท่าน ท. ย่อมไม่เหน็ ซึง่ พระจกั ขุบาลนัน้ ฉนั ใดน่ันเทยี ว, อ. พระจกั ขุบาลแมน้ น้ั ยอ่ มไมเ่ หน็ ซงึ่ สตั วเ์ ล็ก ท. เหล่านัน้ ฉันนนั้ (ประโยค ย อยู่หน้าประโยค ต ซง่ึ เปน็ ไปตาม โครงสร้างประโยค ย-ต อปุ มาอุปไมย แบบ A ขอ้ ๑)) โส ปพฺพเตน วิย มหนฺเตน โสเกน อวตฺถริโต หุตฺวา อนปฺปก โทมนสฺส ปฏิสเวเทสิ; ยถาตํ อปฺปทุฏฺ สฺส ปทฏุ ฺ มโน. (๒/๑๘) แปลโดยพยญั ชนะ อ. เศรษฐีน้ัน เป็นผู้อันความโศกใหญ่ ราวกะว่า ภูเขา ท่วมทับแล้ว เป็น เสวยแล้ว ซ่ึง โทมนัส อันมีประมาณไม่น้อย (อ. บุคคล) ผู้มีใจอันประทุษร้ายแล้ว (ต่อบุคคล) ผู้ไม่ ประทุษร้ายแล้ว (ย่อมเสวยซ่ึงโทมนัส อันมีประมาณไม่น้อย) ฉันใดนั้น ฉันน้ัน (ใน ประโยค ต ซ่ึงอยู่ข้างหน้าประโยค ย ไม่วาง ตถา ไว้ ให้เพิ่มเข้ามาเอง, คาว่า ยถาตํ เป็น นิบาตมีค่าเท่ากับ ยถา แปลว่า “ฉันใดนั้น” ในประโยคตัวอย่างนี้เป็นไปตามโครงสร้าง ประโยค ย-ต อปุ มาอุปไมย แบบ A ข้อ ๒)) ตโต กมฺมฏฺ าน กถาเปตฺวา ปฏิปตฺตยิ ฆเฏนโฺ ต วายมนโฺ ต, ยถา นาม อนุปหตชวิ ฺหาปสาโท ปุริโส รสวิชานนตฺถ ชิวฺหคฺเค เปตฺวาเอว โลณิกาทิเภท รส วิชานาติ; เอวํ ปณฺฑิโต ขิปฺปเมว โลกุตตฺ รธมฺมมปฺ ิ วชิ านาติ. (๓/๑๒๗-๑๒๘) แปลโดยพยญั ชนะ ในลาดับน้นั อ. บัณฑิต ยงั บณั ฑิตอื่น ให้บอกแล้ว ซึ่งกรรมฐาน สืบตอ่ อยู่ พยายามอยู่ ใน การปฏบิ ัติ ยอ่ มรแู้ จ้ง แม้ซ่งึ โลกุตตรธรรม พลนั นั่นเทียว อ. บรุ ษุ ผู้มชี ิวหาประสาทอันโรค ไม่เข้าไปกระทบแล้ว ต้ังไว้แล้วเทียว บนปลายแห่งลิ้น เพื่ออันรู้แจ้ง ซ่ึงรส (เพ่ือชิมซึ่งรส) ย่อมรู้แจ้ง ซึ่งรสอันต่างด้วยรสมีรสเค็มเป็นต้น ชื่อฉันใด ฉันนั้น (ประโยค ย แทรกใน ประโยค ต ซ่ึงเปน็ ไปตามโครงสร้างประโยค ย-ต อปุ มาอุปไมย แบบ A ขอ้ ๓)) ๒) การแปลประโยค ย-ต อปุ มาอุปไมย แบบ A โดยอรรถ ในการแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ A โดยอรรถ นั้น โดยหลักใหญ่แล้ว ก็มีวิธี แปลเหมอื นกันกบั การแปลประโยค ย-ต สามญั โดยอรรถ แตม่ ขี อ้ แตกตา่ งกนั ดงั นี้ ๒๑๔
หลักท่ี ๑ แปลประโยค ย ก่อน คือแปลประโยค ย ให้จบก่อนเหมือนกับวิธีแปลประโยค ย-ต สามัญ แล้วจึงแปล ประโยค ต ยกเว้นถ้าในประโยค ย มี ปิ ศัพท์ท่ีตัว ย หรือถ้าในประโยค ต มี ปิ ศพั ท์ท่ีตัวประธาน พอแปลตัวประธานในประโยค ต แล้ว ก็ให้แปลตัว ต (เอวํ หรือ ตถา) ทนั ที แล้วจึงแปลบทตอ่ ๆ ไป หลกั ท่ี ๒ แปลประโยค ต กอ่ น เร่ิมแปลที่ประโยค ต (ตถา หรือ เอวํ) (แต่ไม่แปลตัว ย-ต (ยถา หรือ ตถา, เอวํ) เพราะได้ความไม่ชัดเจน) พอแปลไปถึงตอนที่จะเข้าแปลประโยค ย (ยถา) ก็ให้ใช้ คาเช่ือมต่อไปน้ีคือ “เหมือน, เปรียบเหมือน, ดุจ, ประดุจ, ประหนึ่ง, เช่น, อย่าง, คล้าย ฯลฯ” คาใดคาหน่ึง แลว้ ก็เข้าแปลประโยค ย เมื่อแปลประโยค ย จบแล้ว ก็ ใหใ้ ช้คาวา่ “ฉะนน้ั ” แถมท้ายทกุ คร้งั ไป ดปู ระโยคตัวอย่าง ยเถว ตมุ เฺ ห ต น ปสฺสถ; ตถา โสปิ เต ปาณเก น ปสสฺ ติ. (๑/๑๙) แปลโดยอรรถ ท่านท้ังหลาย ไม่เห็นพระจักขุบาลน้ัน ฉันใดแล แม้พระจักขุบาลนั้น ก็ไม่เห็นสัตว์เล็ก เหล่าน้ัน ฉันน้นั . เสยฺยถาปิ สา ภนฺเต ฉินฺนกณฺณนาสนงฺคุฏฺ า ปลุฏฺ มกฺกฏี; เอวเมว โข ภนฺเต สากิยาณี ชนปทกลฺยาณี, อิเมส ปญฺจนฺน อจฺฉราสตาน อุปนิธาย สงฺขฺยปิ น อุเปติ, กลปิ น อุเปติ ภาคปิ น อุเปติ. (๑/๑๑๐) แปลโดยอรรถ พระองค์ผู้เจริญ นางลิงลุ่น ตัวมีหู จมูก และหางอันขาดแล้วน้ัน แม้ฉันใด, นางสากิยาณี ผู้งามในชนบท ก็ฉันน้ันแล พระเจ้าข้า เปรียบกับนางอัปสร ๕๐๐ เหล่าน้ี ย่อมไม่ถึงแม้ การนับ ย่อมไม่ถึงแม้เส้ียว ย่อมไม่ถึงแม้ส่วน (หนึ่ง) (ประโยค ย มี ปิ ศัพท์ ท่ีตัว ย (เสยยฺ ถา) พอแปลตวั ประธานในประโยค ต แล้ว ก็แปลตัว ต (เอวเมว) ทนั ท)ี ยถา ปน ทารุอาทีหิ นิปฺผนฺนานิ ตานิ ตานิ ภณฺฑานิ ทารุมยาทีนิ นาม โหนฺติ; ตถา เอเตปิ มนโต นปิ ฺผนฺนตฺตา มโนมยา นาม. (๑/๒๑) แปลโดยอรรถ เหมือนอย่างว่า ภัณฑะ เหล่านั้น ๆ ท่ีสาเร็จแล้วด้วยไม้เป็นต้น ก็ช่ือว่าเป็นของท่ีสาเร็จ ด้วยไม้ ฉันใด แม้ธรรมเหล่าน้ันก็ฉันน้ัน ช่ือว่าสาเร็จแต่ใจ เพราะสาเร็จจากใจ (ประโยค ต ท่ีตวั ประธาน (เอเต) มี ปิ ศพั ท์ พอแปลตัวประธานเสรจ็ แลว้ ก็แปลตัว ต (ตถา) ทันท)ี ๒๑๕
โส ปพฺพเตน วิย มหนฺเตน โสเกน อวตฺถริโต หุตฺวา อนปฺปก โทมนสฺส ปฏิสเวเทสิ; ยถาตํ อปฺปทุฏฺ สฺส ปทฏุ ฺ มโน. (๒/๑๘) แปลโดยอรรถ เศรษฐีน้ัน เป็นผู้ถูกความโศกใหญ่ประดุจภูเขาท่วมทับ เสวยโทมนัสมิใช่น้อย เหมือน บุคคลมีใจประทุษร้ายต่อบุคคลผู้ไม่ประทุษร้าย ฉะนั้น (ใช้คาเช่ือมว่า“เหมือน” ก่อนแปล ประโยค ย และเมือ่ แปลประโยค ย จบแลว้ ก็แถมทา้ ยด้วยคาว่า “ฉะน้ัน”) ตโต กมฺมฏฺ าน กถาเปตวฺ า ปฏิปตตฺ ยิ ฆเฏนโฺ ต วายมนฺโต, ยถา นาม อนปุ หตชิวฺหาปสาโท ปุริโส รสวิชานนตฺถ ชิวฺหคฺเค เปตฺวาเอว โลณิกาทิเภท รส วิชานาติ; เอวํ ปณฺฑิโต ขิปฺปเมว โลกุตตฺ รธมมฺ มฺปิ วชิ านาติ. (๓/๑๒๗-๑๒๘) แปลโดยอรรถ ในลาดับน้ัน บัณฑิต ให้บัณฑิตอื่นบอกกรรมฐานแล้ว เพียรพยายามในข้อปฏิบัติอยู่ ย่อมรู้ แจ้ง แม้โลกุตตรธรรมพลันทีเดียว เปรียบเหมือน บุรุษที่มีชิวหาประสาท อันโรคไม่กาจัด พอวาง (แกง) บนปลายลิ้น เพ่ือจะชิมรสเท่าน้ัน ก็ย่อมรู้รสมีประเภทรสเค็ม เป็นต้น ได้ ฉะนั้น (ประโยค ย แทรกในประโยค ต, ใช้คาเช่ือมว่า “เปรียบเหมือน” ก่อนแปล ประโยค ย และเมอ่ื แปลประโยค ย จบแลว้ กแ็ ถมท้ายดว้ ยคาว่า “ฉะนน้ั ”) ๓) การแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ B ท้ังโดยพยัญชนะและโดยอรรถ ในการแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ B ทั้งโดยพยัญชนะและโดยอรรถ ซ่ึงเป็น ประโยคที่มีโครงสร้างของประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย หรือประโยค ยถา-เอวํ ที่มีประโยค ย-ต สามัญ เข้ามาผสมด้วยนั้น ค่อนข้างจะยุ่งยากสับสนพอสมควร อย่างไรก็ตาม ถ้าผู้แปลกาหนดให้ดีแล้ว จะเห็น ได้ชัดเจนว่า ถ้าแปลโดยอรรถแลว้ ยังคงเป็นไปตามหลักเกณฑเ์ ดิม คือประโยค ย (หรือ ยถา) ทาหน้าที่ เป็นประโยคขยายบทนามหรือกริยาในประโยค ต (หรือ เอวํ) ถ้าขยายบทนาม ก็เรียกว่า ประโยค วเิ สสนะ (adjective clause) แตถ่ า้ ขยายบทกรยิ า ก็เรยี กว่า ประโยคกริยาวิเสสนะ (adverb clause) ดูประโยคตวั อยา่ ง นาห ภิกฺขเว (ตํ) อญฺ เอกสทฺทมฺปิ สมนุปสฺสามิ, โย เอวํ ปุรสิ สสฺ จติ ฺต ปรยิ าทาย ตฏิ ฺ ติ; ยถยิท ภิกขฺ เว อติ ฺถสี ทโฺ ท. (๑/๑๔) แปลโดยพยญั ชนะ ดกู ่อนภิกษุ ท. อ. เรา ยอ่ มไม่พิจารณาเห็น แมซ้ ่ึง- อ. เสียง ใด ครอบงาแลว้ ซ่ึงจติ ของ บุรษุ ย่อมต้งั อยู่ ดูกอ่ นภิกษุ ท. อ. สัททชาติน้ี คอื อ. เสียงแห่งหญงิ ฉันใด ฉนั นัน้ -เสยี ง หนง่ึ อื่น นั้น ๒๑๖
แปลโดยอรรถ ดกู อ่ นภิกษุ ท. เรายอ่ มไม่พจิ ารณาเห็น เสียงอื่นแม้สกั เสียงหนึ่ง ทจี่ ะครอบงาจติ ของบรุ ุษ ตงั้ อยู่ เหมือนเสียงหญิงนน้ั เลยนะภิกษุทั้งหลาย ข้อสังเกต: ๑) จากประโยคตัวอย่างนี้ จะเห็นว่า แม้จะเป็นประโยค ย-ต สามัญ ผสมกับประโยค ยถา-เอวํ โดยวางประโยค ต ไว้ข้างหน้าประโยค ย และวางประโยค เอวํ ไวข้ า้ งหน้าประโยค ยถา กค็ ง ใชห้ ลกั การแปลเดมิ ที่ผ่านมาทงั้ แปลโดยพยญั ชนะและแปลโดยอรรถ ๒) เมื่อพิจารณาดูตามแนวการแปลโดยอรรถแล้ว อาจกล่าวได้ว่า ประโยค (ต) เป็น ประโยคหลัก (main clause), ประโยค ย เป็นประโยคอาศัย (subordinate clause) ทาหน้าท่ีเป็น ประโยควิเสสนะ (adjective clause) คอื ขยายนาม เอกสทฺทํ ส่วนประโยค ยถา ก็เป็นประโยคแฝงหรือ ประโยคอาศัย (subordinate clause) ทาหน้าท่ีเป็นประโยคกริยาวิเสสนะ (adverb clause) คือขยาย กริยา ตฏิ ฺ ติ ยถา ปน อคนธฺ ก ปุปผฺ โย (๑) น ธาเรติ, ตสฺส (๑) สรเี ร คนโฺ ธ น ผรติ, เอวํ เอตปิ, โย (๒) น สกกฺ จฺจ สวนาทีหิ น สมาจรติ, ตสสฺ (๒) สกฺกจฺจ อสมาจรนฺตสสฺ , ยํ (๓) ตตถฺ กาตพพฺ , ตํ (๓) อกพุ ฺพโต สุตคนฺธ ธารณคนธฺ ปฏปิ ตฺตคิ นธฺ ญฺจ น อาวหติ อผล โหติ. (๓/๔๔-๔๕) แปลโดยพยญั ชนะ เหมือนอย่างว่า อ. ดอกไม้ อันหากลิ่นมิได้ อ. บุคคลใด ย่อมทรงไว้ ซ่ึงดอกไม้ นั้น อ. กล่ิน ย่อมไม่แผ่ไป ในสรีระ ของบุคคลนั้น ฉันใด, อ. พระพุทธพจน์แม้นั้น ย่อมไม่นามา ซึ่งกลิ่น คือการฟงั ด้วย ซึ่งกลิ่นคือการทรงจาไวด้ ว้ ย ซ่งึ กลิน่ คือการปฏิบัติด้วย ชื่อว่า เปน็ คณุ ชาตอิ ัน ไม่มีผล ย่อมเป็น แก่- อ. บุคคลใดย่อมไมป่ ระพฤติโดยเอื้อเฟื้อ ซง่ึ พระพทุ ธพจน์น้ัน ด้วยกิจ ท. มีการฟัง เป็นต้น โดยเคารพ,- บุคคลน้ัน ผู้ไม่ประพฤติโดยเอ้ือเฟ้ือ โดยเคารพ ช่ือว่า (แก่บคุ คล) ผ้ไู มก่ ระทาอยู่ ซง่ึ - อ. กิจใดอนั ตนพงึ กระทาในพระพทุ ธพจนน์ ั้น- กจิ นนั้ ฉันนัน้ แปลโดยอรรถ เหมือนอย่างว่า ดอกไม้ท่ีไม่มีกลิ่น ผู้ใดทัดทรงดอกไม้นั้น กล่ินย่อมไม่ซาบซ่านไปในสรีระ ของผู้น้ัน ฉันใด แม้พระพุทธพจน์น้ี ก็ฉันนั้น ย่อมไม่นากล่ินคือการฟัง กลิ่นคือการทรงไว้ และกล่ินคือการปฏิบัติ ชื่อว่าไม่มีผล แก่บุคคลผู้ไม่ประพฤติโดยเอ้ือเฟ้ือ ซ่ึงพระพจน์นั้น ด้วยกิจมีการฟัง เป็นต้น โดยเคารพ ช่ือว่าแก่บุคคลผู้ไม่กระทาอยู่ซ่ึงกิจ ท่ีตนพึงกระทา ใน พระพุทธพจนน์ นั้ ๒๑๗
ขอ้ สังเกต: ๑) ในประโยคนี้ การแปลท้ังโดยพยัญชนะและโดยอรรถ ใช้หลักเดมิ แม้จะเป็นประโยค ยถา-เอวํ ทผ่ี สมกบั ประโยค ย-ต สามัญก็ตาม ๒) จะเห็นว่าการแปลโดยอรรถบางแห่ง แปลโดยคงคาแปล ย-ต ไว้ แต่บางแห่งก็แปล โดยตัด ย-ต ทิง้ ทั้งน้ี เพราะคานงึ ถงึ ความหมายหรอื ความชดั เจนของเน้ือความเปน็ ประการสาคญั ๓) ให้สังเกตคาที่เป็นตัวหนา ในตอนท่ีแปลโดยอรรถ บางคาแปลจาก ย-ต โดยตรง แต่ บางคาตัด ย-ต ทิ้ง แล้วใช้คาเชื่อมแทน. ๔) ประโยค เอวํ เป็นประโยคหลัก (main clause), ประโยค ยถา เป็นประโยคแฝง หรือประโยคอาศัย (subordinate clause) ทาหน้าที่เป็นประโยคกริยาวิเสสนะ (adverb clause) ขยาย เอวํ, ส่วนประโยค ย (๑), ย (๒) และ ย (๓) เป็นประโยคแทรกภายในประโยค ยถา-เอวํ โดยทา หน้าทเ่ี ป็นประโยควิเสสนะ (adjective clause) ขยาย ต (๑), ต (๒) และ ต (๓) ตามลาดับ กล่าวโดยสรุป ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย มีเน้ือหาสาระสาคัญท่ีควรศึกษา ๒ ประเด็น ได้แก่ ๑) แบบของประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ซ่ึงมีทั้งแบบ A และ แบบ B เช่นเดียวกับประโยค ย-ต สามัญ โดยแบบ A มีโครงสร้างของ ย-ต เพียงคู่เดียวเท่านั้น แบบ B มีโครงสร้างของ ย-ต ตั้งแต่ ๒ คู่ ข้ึนไป คือมี ๒ คู่บ้าง ๓ คู่บ้าง ซึ่งมีความซับซ้อนยุ่งยากมากกว่า แบบ A และ ๒) หลักการแปล ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ผู้แปลสามารถแปลได้ท้ังโดยพยัญชนะและโดยอรรถ คือกรณีการแปล ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ A โดยพยัญชนะ ผู้แปลจะต้องยึดหลักเกณฑ์ไว้ให้ม่ันคง จึงจะแปลได้ ความชัดเจน ไม่ผิดความหมาย เกณฑ์ท่ีจะต้องยึดและคานึงถึงอยู่เสมอในขณะแปลโดยพยัญชนะ ก็ เหมือนกับการแปลประโยค ย-ต สามัญโดยพยัญชนะทุกประการ กรณีการแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ A โดยอรรถ นั้น โดยหลักใหญ่แล้ว ก็มีวิธีแปลเหมือนกันกับการแปลประโยค ย-ต สามัญโดยอรรถ แต่มีข้อแตกต่างกันในเร่ืองข้อยกเว้นเล็กน้อย และกรณีการแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แบบ B ท้ังโดยพยัญชนะและโดยอรรถ ค่อนข้างจะยุ่งยากสับสนพอสมควร แต่ก็ยังคง เป็นไปตามหลักเกณฑ์เดิม คือประโยค ย (หรือ ยถา) ทาหน้าที่เป็นประโยคขยายบทนามหรือกริยาใน ประโยค ต (หรือ เอวํ) ถ้าขยายบทนาม ก็เรียกว่า ประโยควิเสสนะ แต่ถ้าขยายบทกริยา ก็เรียกว่า ประโยคกรยิ าวิเสสนะ ๒๑๘
แบบฝกึ หัดที่ ๙.๒ (การแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย) ให้แปลประโยคต่อไปน้เี ป็นไทยโดยพยัญชนะและโดยอรรถ ๑. ยถา อสิหตฺเถนวา อมิตฺเตน อาสีวิสาทีหิ วา สทฺธึ เอกโต วาโส นาม นิจฺจ ทุกฺโข, ตเถว พาเลหิ สทฺธึ. (๖/๑๓๗) ๒. ยถา นาม เฉโก สารถิ อติเวเคน ธาวนฺต รถ นิคฺคณฺหิตฺวา ยถิจฺฉก เปสิ; เอว โย ปุคฺคโล อุปปฺ นนฺ โกธ ธารเย นคิ คฺ ณฺหิตุ สกโฺ กต.ิ (๖/๑๖๔) ๓. “ปุพเฺ พว สนนฺ วิ าเสน ปจจฺ ุปฺปนนฺ หิเตน วา เอวนฺต ชายเต เปม อปุ ฺปลว ยโถทเก. (๒/๔) ๔. (เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺม ตถา) น สิลาย ปวทิ ธฺ ตตฺ า (ปากฏ อโหสิ); (เทวทตฺตสสฺ าปิ กมมฺ ) ยถา นาฬาคริ ิหตฺถิโน วิสชฺชติ ตตฺ า (ปากฏ อโหสิ). (๑/๑๓๑) ๕. เต (สตฺตา) ปมาทมรเณน มตตฺตา, ยถา ชีวิตินฺทฺริยุปจฺเฉเทน มตา ทารุกฺขนฺธสทิสา อปคตวิญฺ าณา, ตเถว โหนฺติ. (๒/๖๔) ๖. ตสฺส อนงฺคณสฺส กายาทีหิ นิจฺจ สญฺ ตจาริโน เอวรูปสฺส อิเมหิ กายสญฺ มาทีหิ สญฺ ตสฺส ชนฺตุโน (ชิต) เทโว วา คนฺธพฺโพ วา มาโร วา ปน พฺรหฺมุนา สห อุฏฺ หิตฺวา ‘อหมสฺส ชิต อปชิต กรสิ ฺสามิ, มคฺคภาวนาย ปหเี น กเิ ลเส ปุน อุปปฺ าเทสฺสามีติ ฆเฏนโฺ ตปิ, ยถา ธนาทีหิ ปราชิโต ปกฺขนฺตโร หุตฺวา อิตเรน ชิต (ปช) ปุน ชินนฺโต อปชิต กเรยฺย; เอว อปชิต กาต เนว สกฺกุเณยฺย. (๔/๑๐๘) ๗. ยถา อปฺปติฏฺฐิเตน วิ ฺ าเณน โคธโิ ก กุลปตุ ฺโต ปรินิพฺพุโต, เย จ เอว ปรินิพฺพายนตฺ ิ, เตส (๓/๘๙) ๒๑๙
ที่ คาํ ศัพท์ คําศัพทท์ ค่ี วรทราบ คําแปล ๑ อสิหตฺเถน เป็นผู้มีวิญญาณไปปราศแลว้ ๒ อมิตฺเตน คาํ แปล ท่ี คําศัพท์ ผมู้ กี ิเลสเพยี งดังเนินหามิได้ ๓ อาสวี สิ าทหี ิ ผมู้ ีดาบในมือ ๑๙ อปคตวญิ ฺ าณา ผู้มอี นั ประพฤติสารวมแลว้ ดว้ ยศัตรูผู้มิใชม่ ติ ร ๒๐ อนงฺคณสสฺ เปน็ ปกติ ๔ วาโส มอี สรพิษเป็นตน้ ๒๑ สญฺ ตจาริโน มกี ารสารวมทางกายเปน็ ต้น ๕ เฉโก ผู้สารวมแลว้ ๖ อติเวเคน อ. การอยู่ ๒๒ กายสญฺ มาทหี ิ แหง่ สัตวเ์ กิด ๗ ธาวนตฺ ซึ่งความชนะ ๘ นคิ ฺคณหฺ ติ ฺวา ผู้ฉลาด ๒๓ สญฺ ตสสฺ ลกุ ข้ึนแล้ว ๙ ยถิจฺฉก ให้เปน็ ความแพ้ ๑๐ ธารเย ด้วยความเรว็ ยง่ิ ๒๔ ชนฺตุโน ดว้ ยการยังมรรคใหเ้ จริญ ๑๑ นคิ ฺคณหฺ ิตุ อัน…ละไดแ้ ล้ว ๑๒ ชายเต อันแลน่ ไปอยู่ ๒๕ ชติ จกั ให้เกดิ ขึน้ อีก ๑๓ เปม แม้พยายามอยู่ ๑๔ สลิ าย ห้ามแล้ว ๒๖ อฏุ ฺ หติ วฺ า ผ้อู นั บคุ คลอื่นให้แพแ้ ลว้ ปวิทธฺ ตตฺ า ตามความปรารถนา ๒๗ อปชิต เปน็ ผูเ้ ปน็ ฝกั ฝา่ ยอ่ืน ๑๕ นาฬาคริ ิหตฺถโิ น พงึ หา้ ม ๒๘ มคคฺ ภาวนาย ซง่ึ หมสู่ ัตว์ วสิ ชฺชิตตตฺ า เพือ่ อันข่ม ๒๙ ปหีเน ไม่พึงอาจ ๑๖ มตตฺตา ยอ่ มเกิด ๓๐ อปุ ฺปาเทสสฺ ามิ อนั ไม่ตั้งอยเู่ ฉพาะแลว้ ๑๗ ชวี ิตนิ ฺทรยิ ุ- ปจเฺ ฉเทน อ. ความรกั ๓๑ ฆาเฏนฺโตปิ ๑๘ ทารกุ ฺขนฺธสทสิ า เพราะความท่ีแห่ง ๓๒ ปราชโิ ต ศิลาเป็นของอันตน กลิง้ แลว้ เพราะความทีแ่ ห่ง ๓๓ ปกขฺ นฺตโร ช้างชือ่ ว่านาฬาคีรี เป็นสตั ว์อนั ตน ปลอ่ ยแลว้ เพราะความที่ ๓๔ ปช แห่ง…เปน็ ผู้ตาย แล้ว เพราะเข้าไปตดั ซึง่ ๓๕ น สกกฺ ุเณยฺย อินทรียค์ ือชวี ิต เป็นเชน่ กับด้วย ๓๖ อปฺปติฏฺฐิเตน ทอ่ นไม้ ๒๒๐
๙.๖ ประโยค ย-ต ปการตั ถะ ในส่วนของประโยค ย-ต ปการัตถะนี้ มีเน้ือหาสาระสาคัญท่ีควรศึกษา ๒ ประเด็น ได้แก่ ๑) แบบของประโยค ย-ต ปการัตถะ และ ๒) หลกั การแปลประโยค ย-ต ปการตั ถะ โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ๙.๖.๑ แบบของประโยค ย-ต ปการตั ถะ ประโยค ย-ต ปการัตถะนี้ มีโครงสร้างซง่ึ มีความสาคัญมากสาหรับผู้แปลเชน่ เดยี วกับประโยค ย-ต สามัญ และประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ทผี่ ่านมา เพราะจะทาให้ผู้แปลสามารถมองเห็นโครงสร้างท่ี เปน็ รูปธรรมและเข้าใจได้งา่ ยขนึ้ อาจจาแนกได้ ๒ แบบ ตามโครงสร้างเชน่ เดียวกัน ดังนี้ ๑) ประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ A คือ ประโยค ย-ต ปการัตถะท่ีมีโครงสร้างของ ย-ต เพียงคู่เดียวเท่าน้ัน มีการเรียบเรียงคาพูดเช่นเดียวกับประโยค ย-ต สามัญท่ีผ่านมา โดยอาจวาง ย ไว้ ข้างหนา้ วาง ต ไว้ข้างหลงั หรือ วาง ต ไวข้ า้ งหนา้ วาง ย ไว้ขา้ งหลัง กไ็ ด้ ดงั แสดงในแผนภาพท่ี ๙.๘ (๑) ยถา...........................; เอวํ (หรอื ตถา) ...................................... (๒) (ตถา หรอื เอวํ)..........................; ยถา.......................................... (๓) ...........................; ยถา.................; เอวํ (หรอื ตถา)..................... แผนภาพท่ี ๙.๘ โครงสรา้ งประโยค ย-ต ปการตั ถะ แบบ A จากแผนภาพท่ี ๙.๘ จะเห็นว่า ประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ A น้ี มีการเรียบเรียงคาพูด เช่นเดียวกับประโยค ย-ต สามัญท่ีผ่านมา โดยอาจวาง ย ไว้ข้างหน้า วาง ต ไว้ข้างหลัง หรือ วาง ต ไว้ ข้างหน้า วาง ย ไว้ข้างหลัง ก็ได้ ส่วนคาแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ A อาจ แสดงไดต้ ามแผนภาพท่ี ๙.๙ .............โดยประการใด......โดยประการน้นั ............. ...........โดยประการที่, โดยอาการท,่ี ตามท,ี่ อยา่ งท่ี, ให้, ให้เป็น.......... . แผนภาพที่ ๙.๙ คาํ แปลตามโครงสรา้ งของประโยค ย-ต ปการตั ถะ แบบ A ๒๒๑
๒) ประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ B คอื ประโยค ย-ต ปการัตถะที่มีโครงสร้างของ ย-ต ซึ่งเป็นโครงสร้างท่ีมีประโยค ย-ต ปการัตถะ ผสมกับประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย อาจแสดงให้เห็นได้ อยา่ งชัดเจนตามแผนภาพที่ ๙.๑๐ ยถา...................; เอวํ......................, ยถา..........; ตถา................... แผนภาพที่ ๙.๑๐ โครงสร้างประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ B จากแผนภาพท่ี ๙.๑๐ จะเห็นว่า ประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ B นี้ ประกอบด้วย โครงสร้างของ ย-ต ซ่ึงเป็นโครงสร้างท่ีมีประโยค ย-ต ปการัตถะ คือประโยคที่มี ยถา-ตถา ผสมกับ ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย คือประโยคท่ีมี ยถา-เอวํ ส่วนคาแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต ปกา รตั ถะ แบบ B อาจแสดงได้ตามแผนภาพท่ี ๙.๑๑ ฉนั ใด..........ฉันนนั้ ........, โดยประการใด.........โดยประการนัน้ ...... ฉันใด.........โดยประการท.่ี ........ฉนั นัน้ แผนภาพที่ ๙.๑๑ คาํ แปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ B ๙.๖.๒ หลกั การแปลประโยค ย-ต ปการัตถะ ประโยค ย-ต ปการัตถะ ในภาษาบาลี มีโครงสร้างการเรียงคาพูดท่ีหลากหลายเช่นเดียวกับ ประโยค ย-ต สามญั อาจจาแนกการแปลออกเป็นการแปลโดยพยัญชนะและการแปลโดยอรรถ ดังนี้ ๑) การแปลประโยค ย-ต ปการตั ถะ แบบ A ทัง้ โดยพยัญชนะและโดยอรรถ ประโยค ย-ต ปการัตถะ ได้แก่ ประโยค ยถา-ตถา (หรอื เอวํ) ที่แปลว่า “โดยประการใด ประการนั้น” มีโครงสร้างการเรียบเรียงคาพูดเช่นเดียวกับประโยค ย-ต สามัญที่ผ่านมา หลักการแปล ประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ A ทั้งโดยพยัญชนะและโดยอรรถ ส่วนใหญ่ก็เหมือนกับการแปลประโยค ย-ต สามญั จะมีต่างกนั บา้ งกค็ อื เรื่องของการใช้คาเช่ือมในกรณีท่ีแปลโดยอรรถเทา่ น้ัน ดงั นี้ ๒๒๒
หลกั การแปลประโยค ย-ต ปการตั ถะ โดยอรรถ เริ่มแปลที่ประโยค ต (ตถา หรือ เอวํ ) พอแปลไปถึงตอนที่จะเข้าแปลประโยค ย (ยถา) ก็ให้ใช้คาเช่ือมต่อไปน้ี คือ “โดยประการที่, โดยอาการที่, ตามท่ี, อย่างที่, ให้, ให้เป็น” คาใดคาหนึ่ง แล้วก็เข้าแปลประโยค ย (ยถา) เม่ือแปลประโยค ย (ยถา) จบแลว้ กถ็ อื วา่ สิน้ สดุ โดยไม่ต้องมีอะไรมาต่อทา้ ยอีก ดปู ระโยคตวั อยา่ ง ยถา ทารก น ลภติ; ตเถว น กาตุ วฏฺฏติ. (๑/๔๓) แปลโดยพยญั ชนะ อ. นางกลุ ธิดานี้ จะไม่ได้ ซ่ึงทารก โดยประการใด, อ. อันอันเรากระทา ซง่ึ นางกุลธิดาน้ัน โดยประการนั้น น่ันเทียว ย่อมควร แปลโดยอรรถ สมควรทเ่ี ราจะทานางกลุ ธิดาน้นั ไม่ใหไ้ ดท้ ารกทเี ดยี ว (= นางกลุ ธิดาน้ี จะไมไ่ ด้ทารกโดยประการใด เราควรทานางโดยประการน้นั ทีเดียว) (= เราควรทานางโดยประการที่นางจะไม่ไดท้ ารกทเี ดียว) สตฺถา ตสฺสา อาคมนภาว ตฺวา, ยถา อตฺตโน สนฺติเก นิสินฺนา ภิกฺขู น ปญฺ ายนฺติ; เอวมกาสิ. (๔/๑๙) แปลโดยพยัญชนะ อ. พระศาสดา ทรงทราบแล้ว ซึ่งความเป็นคืออันมาแห่งพระเทวีน้ัน ได้ทรงกระทาแล้ว อ. ภิกษุ ท. ผู้นั่งแล้ว ในสานักของพระองค์ จะไม่ปรากฏ โดยประการใด, โดยประการ น้นั . แปลโดยอรรถ พระศาสดาทรงทราบความท่ีพระนางอโนชาเทวีเสด็จมาแล้ว จึงทรงทาโดยประการที่ภกิ ษุ ผนู้ ัง่ อยูแ่ ลว้ ในสานักของพระองคจ์ ะไมป่ รากฏ (= พระศาสดาทรงกระทาไมใ่ หพ้ ระภกิ ษผุ นู้ ่ังอย่ใู นสานักของพระองคป์ รากฏ) ๒) การแปลประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ B ทง้ั โดยพยญั ชนะและโดยอรรถ ในการแปลประโยค ย-ต ปการตั ถะ แบบ B ซ่ึงเป็นประโยคทม่ี ีโครงสร้างของประโยค ย-ต ปการตั ถะ ผสมกบั ประโยค ย-ต อปุ มาอปุ ไมย มีใช้หา่ ง ๆ เม่ือผแู้ ปลพบประโยคที่มีโครงสร้างลักษณะน้ี กใ็ ห้ใช้หลักการแปลเหมือนอย่างท่ีเรียนผา่ นมา ทั้งการแปลโดยพยญั ชนะและโดยอรรถ กล่าวคือ ถ้าเป็น ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ก็ใช้หลักการแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แต่ถ้าเป็นประโยค ย-ต ปการัตถะ กใ็ ชห้ ลกั การแปลประโยค ย-ต ปการตั ถะ นัน่ เอง ๒๒๓
ดตู วั อย่างประโยค ยถา (๑) เตนหิ มนุสฺสาหิ ต ปจฺจนฺตนคร ทฺวารปาการาทีนิ ถิรานิ กโรนฺเตหิ สอนฺตร...; เอวํ ตุมฺเห หิ สตึ อุปฏฺ าเปตฺวา..., ยถา (๒) คยฺหมานานิ พาหิรานิ ฉ อายตนานิ อชฺฌตฺติกาน อุปฆาตาย สวตฺตติ; อคฺคเหเณน ตานิ ถิรานิ กตฺวา...อตฺตาน โคเปถ (๗/๑๓๑) แปลโดยอรรถ ปจั จันตนครนัน้ อันมนุษยเ์ หล่านั้น พากันสร้างประตูและกาแพงให้ม่ันคง ช่อื ว่า กระทาให้ ม่ันคงในภายใน...ฉันใด, ก็ท่านทั้งหลาย จงตัง้ สติ... กระทาอายตนะภายใน ๖ เหล่านนั้ ให้ ม่ันคง ด้วยการไม่ถือเอา โดยประการที่ อายตนะภายนอก ๖ ท่ียึดอยู่ จะเป็นไปเพ่ือขจัด อายตนะภายในเสยี ... ช่ือวา่ จงคุ้มครองซ่ึงตน ฉันนนั้ ข้อสังเกต: ๑) จากประโยคตัวอย่างนี้ ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ได้แก่ ประโยค ยถา (๑) และ เอวํ, สว่ นประโยค ย-ต ปการัตถะ ไดแ้ ก่ ประโยค ยถา (๒) และ ตถา ๒) ประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย เป็นประโยคท่ีแสดงการเปรียบเทียบ ซ่ึงโดยปกติแล้ว ประโยคอุปมา (ประโยคท่ีนามาเปรียบเทียบ) จะต้องคู่กับประโยคอปุ ไมย (ประโยคทีค่ วรเปรียบเทียบ) เสมอ เพราะถ้ามีแต่ประโยคอุปมา ก็ไม่รู้ว่าจะนามาเปรียบเทียบกับส่ิงใด อน่ึง ประโยคอุปไมย เป็น ประโยคหลกั หรอื ประโยคยืน ส่วนประโยคอุปมา เป็นประโยคเปรียบเทียบ ๓) ในประโยคอุปมาหรือประโยคเปรียบเทียบนั้น ใช้นิบาตว่า ยถา เป็นเคร่ืองหมาย แปลว่า “ฉันใด” ส่วนในประโยคอุปไมยหรือประโยคหลัก ใช้นิบาตว่า “เอวํ” หรือ “ตถา” เป็น เครอ่ื งหมาย แปลว่า “ฉนั น้นั ” เหมือนกันทั้ง ๒ ศพั ท์ ๔) สาหรับประโยค ย-ต ปการัตถะนั้น ไม่ได้เปรียบเทียบข้อความอะไรไว้ แต่จะมี ความหมายไปในทานองว่า จะทําให้เป็นอย่างน้ันอย่างนี้ โดยใช้นิบาตตัวเดียวกับประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ดังตัวอย่างข้างต้น อนึ่ง มีข้อสังเกตในประโยค ย-ต ปการัตถะ นั้น เฉพาะประโยค ต (เอวํ หรือ ตถา) มักจะมีกริยาคุมพากย์ที่มาจาก กรฺ ธาตุ และนิบาตคือ เอวํ หรือ ตถา นั้น ก็จะ สมั พันธเ์ ขา้ กับกริยาที่มาจาก กรฺ ธาตุ นั้นนนั่ เอง กล่าวโดยสรุป ประโยค ย-ต ปการัตถะ มีเน้ือหาสาระสาคัญที่ควรศึกษา ๒ ประเด็น ได้แก่ ๑) แบบของประโยค ย-ต ปการัตถะ ซึ่งมีท้ังแบบ A และ แบบ B เช่นเดียวกับประโยค ย-ต สามัญ โดยแบบ A มีโครงสร้างของ ย-ต เพียงคู่เดียวเท่าน้ัน แบบ B มโี ครงสรา้ งของ ย-ต ซึ่งเป็นโครงสรา้ งท่ีมี ประโยค ย-ต ปการัตถะ ผสมกับประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย และ ๒) หลักการแปลประโยค ย-ต ปการัตถะ ผู้แปลสามารถแปลได้ทั้งโดยพยัญชนะและโดยอรรถ คือกรณีการแปลประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ A ท้ังโดยพยัญชนะและโดยอรรถ นั้น ส่วนใหญ่ก็เหมือนกับการแปลประโยค ย-ต สามัญที่ผ่านมา จะมตี า่ งกนั บา้ งกค็ ือ เรอ่ื งของการใช้คําเชื่อมในกรณีที่แปลโดยอรรถเท่าน้ัน และกรณี การแปลประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ B ท้ังโดยพยัญชนะและโดยอรรถ ซ่ึงเป็นการแปลโครงสร้างท่ีมี ๒๒๔
ประโยค ย-ต ปการัตถะ ผสมกับประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย นั้น ผู้แปลสามารถใช้หลักการแปลเหมือน อยา่ งที่เรยี นผ่านมา ท้ังการแปลโดยพยญั ชนะและโดยอรรถ กล่าวคอื ถา้ เป็นประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ก็ใช้หลักการแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย แต่ถ้าเป็นประโยค ย-ต ปการัตถะ ก็ใช้หลักการแปล ประโยค ย-ต ปการัตถะ นั่นเอง ๒๒๕
แบบฝึกหดั ท่ี ๙.๓ (การแปลประโยค ย-ต ปการัตถะ) ใหแ้ ปลประโยคต่อไปน้เี ป็นไทยโดยพยญั ชนะและโดยอรรถ ๑. ยถา เม ธนจเฺ ฉโท น โหติ; ตถา กรสิ ฺสามีติ. (๑/๒๓) ๒. ยถา นสิ สฺ ททฺ า หุตฺวา คณฺหนฺติ, ตถา เม อุปาโย กโต. (๒/๓๐) ๓. ตสฺมา ตตฺถ มาสมตฺต วสิตฺวา นิกฺขมนทิวเส, ยถา เต ภิกฺขู อตฺตโน เตลนาฬิญฺจ อุทกตุมฺพญฺจ อุปาหนา จ ปมฺมุสฺสนฺติ; ตถา อธิฏฺ หิตฺวา นิกฺขมนฺโต วิหารุปจารโต พหิ นิกขฺ นตฺ กาเล อิทธฺ ึ วสิ สฺ ชเฺ ชสิ. (๒/๗๘) ๔. ยงฺกิญฺจิ (กมมฺ ) กตวฺ า อิมสสฺ (ตาปสสฺส) สีล ภินฺทิตฺวา, ยถา ม น มญุ ฺจตุ, ตถา กาตุ วฏฺ ฏติ. (๒/๖) ๕. ยถา เตนหิ มนุสฺเสหิ ต ปจฺจนฺตนคร ทฺวารปาการาทีนิ ถิรานิ กโรนฺเตหิ สอนฺตร (คุตฺต กต)…; เอว ตุมฺเห หิ สตึ อุปฏฺ าเปตฺวา…, ยถา คยฺหมานานิ พาหิรานิ ฉ อายตนานิ อชฺฌตฺติกาน อปุ ฆาตาย สวตฺตติ; ตถา อคคฺ เหเณน ตานิ ถิรานิ กตฺวา…อตฺตาน โคเปถ. (๗/๑๓๑) ๒๒๖
คาํ ศัพทท์ ่คี วรทราบ ที่ คาํ ศพั ท์ คาํ แปล ท่ี คาํ ศพั ท์ คาํ แปล ๑ ธนจฺเฉโท จงไม่ปล่อย ๒ นสิ ฺสททฺ า อ. ความขาดไปแหง่ ทรัพย์ ๑๓ น มุญจฺ ตุ อ. พระนครชือ่ ว่า ปัจจันตะ ๓ มาสมตตฺ เปน็ ผู้มเี สยี งออกแล้ว ๑๔ ปจฺจนฺตนคร มปี ระตแู ละกาแพง เป็นตน้ ๔ นิกฺขมนทวิ เส สน้ิ กาลสักวา่ เดือนหน่ึง ๑๕ ทฺวาร- ให้เป็นสถานทมี่ ั่นคง ๕ เตลนาฬึ ปาการาทีนิ ใหเ้ ปน็ ไปกบั ดว้ ยภายใน ๖ อทุ กตมุ พฺ ในวันเป็นท่ีเสดจ็ ออก ใหเ้ ขา้ ไปตั้งไวแ้ ล้ว ๗ อปุ าหนา ซึ่งทะนานแห่งน้ามนั ๑๖ ถริ านิ ๘ ปมฺมสุ ฺสนฺติ ซึ่งลักจน่ั แหง่ น้า ๑๗ สอนฺตร อนั ...ยดึ ถอื อยู่ ๙ วหิ ารปุ จารโต ๑๘ อุปฏฺ าเปตวฺ า อันมใี นภายนอก ๑๐ นกิ ฺขนฺตกาเล ซง่ึ รองเทา้ ท. อันเปน็ ไปในภายใน ๑๑ วสิ ฺสชฺเชสิ ยอ่ มลืมทั่ว ๑๙ คยหฺ มานานิ เพ่ืออันเข้าไปกาจดั ๑๒ ภนิ ทฺ ติ ฺวา แตอ่ ุปจารแห่งพระวิหาร ๒๐ พาหริ านิ ย่อมเปน็ ไป ในกาลแห่ง…ออกไปแลว้ ๒๑ อชฌฺ ตตฺ กิ าน จงคุ้มครอง ทรงคลายแลว้ ๒๒ อุปฆาตาย ทาลายแล้ว ๒๓ สวตตฺ ติ ๒๔ โคเปถ ๒๒๗
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 497
Pages: