Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักเกณฑ์การแปลบาลี ฯ

หลักเกณฑ์การแปลบาลี ฯ

Published by supasit.kon, 2022-12-27 05:33:39

Description: หลักเกณฑ์การแปลบาลี ฯ

Search

Read the Text Version

กล่าวโดยสรุป คาว่า “หิยัตตนี” ตามรูปศัพท์แปลว่า มีแล้วในวันวาน หมายถึง สิ่งที่ล่วงแลว้ ต้ังแต่วานน้ี จัดเป็นอดีตกาล บ่งถึงกาลเวลาท่ีล่วงเลยมาแล้ว คาแปลหิยัตตนีวิภัตติ คือ “...แล้ว” ถ้ามี อ อยู่หน้า ใช้คาแปลว่า “ได้...แล้ว” (วิภัตติหมวดนี้ นิยมเพิ่ม อ ท่ีแปลว่า ได้ เข้าข้างหน้าธาตุ ฉะนั้น กรยิ าอาขยาตท่ีเพิ่มพยางคห์ น้าธาตุดว้ ยวภิ ัตตหิ มวดนีจ้ งึ แปลวา่ “ได้…แลว้ ”) ๒๘

แบบฝึกหัดท่ี ๒.๕ (การแปลหิยตั ตนีวภิ ตั ติ) ก. ให้แปลคาํ กริยาอาขยาตตอ่ ไปน้เี ปน็ ไทยโดยขึน้ ประธานประกอบให้ถูกต้องตามวิภตั ติ วจนะ และบรุ ษุ ๑. อวทา (หรือ อวท) ๔. อวทตฺถ ๗. อโวจ ๒. อวทู ๕. อวท ๘. อุปจจฺ คา ๓. อวโท ๖. อวทมหฺ ข. ใหแ้ ปลประโยคต่อไปนเี้ ป็นไทยโดยพยญั ชนะ ๑. ตถาคโต อมิ คาถ อโวจ. ๒. ขโณ โว มา อุปจฺจคา. ๒๙

๒.๘ การแปลอัชชตั ตนวี ภิ ตั ติ “อัชชัตตนีวิภัตติ” แปลว่า มีแล้วในวันน้ี หมายถึง ส่ิงท่ีล่วงแล้วในวันน้ี เป็นเครื่องหมายบอก อดีตกาล ใช้คาแปลว่า …แลว้ ถ้ามี อ ประกอบขา้ งหนา้ ธาตุ ก็แปลว่า “ได้...แล้ว” ดตู ัวอยา่ งคาํ กริยา (แบบ ไม่มี อ อาคม ข้างหนา้ ธาตุ) บุรษุ เอกวจนะ คําแปล คมิ, คเมสิ ประถมบุรุษ คโม (อ. เขา) ไปแล้ว มัธยมบุรุษ คมึ, คมาสึ (อ. ทา่ น) ไปแลว้ อุตตมบรุ ุษ (อ. เรา) ไปแลว้ พหวุ จนะ บุรษุ คมุ, คมสุ, คมึสุ, คเมสุ คาํ แปล ประถมบุรุษ คมิตถฺ (อ. เขา ท.) ไปแลว้ มัธยมบุรุษ คมมิ หฺ า (อ. ท่าน ท.) ไปแล้ว อุตตมบรุ ุษ (อ. เรา ท.) ไปแลว้ ดูตวั อย่างคํากรยิ า (แบบ มี อ อาคม ขา้ งหนา้ ธาตุ) บรุ ุษ เอกวจนะ คําแปล อคมิ, อคมาสิ ประถมบุรุษ อคโม (อ. เขา) ได้ไปแลว้ มัธยมบรุ ุษ อคมึ, อคมาสึ (อ. ท่าน) ได้ไปแล้ว อุตตมบุรุษ (อ. เรา) ได้ไปแล้ว พหวุ จนะ บุรุษ อคมุ, อคมสุ, อคมึสุ คาํ แปล ประถมบุรุษ อคมติ ถฺ (อ. เขา ท.) ไดไ้ ปแล้ว มัธยมบุรษุ อคมมิ ฺหา (อ. ทา่ น ท.) ได้ไปแล้ว อุตตมบุรุษ (อ. เรา ท.) ได้ไปแล้ว จากตวั อย่างคากรยิ าทัง้ แบบไม่มี อ อาคมและมี อ อาคม ขา้ งหน้าธาตุ น้นั เปน็ กรยิ าท่ีมาจาก คมฺ ธาตุ อ หรือ เอ ปัจจัย ลง อิ หรือ ส อาคมหลงั ธาตแุ ละปัจจัย แมก้ รยิ าคาอน่ื ๆ ก็มวี ธิ ีประกอบเป็น วจนะแบบเดยี วกนั นี้ ๓๐

ขอ้ สงั เกตเกีย่ วกบั วิภตั ติหมวดอชั ชัตตนี ๑) ปัจจัยที่เป็นสระ ผสมกับวิภัตติที่ขึ้นต้นด้วยสระ เม่ือนามาเช่ือมกันตามวิธีของสนธิ ตวั ออ จะหายไปทันที เชน่ อ+คมฺ+อ+อิ+โอ=อคโม (อ. ท่าน) ไดไ้ ปแลว้ ๒) อิ อาคม ลงหลังธาตแุ ละปัจจยั บางแห่งให้ลบ อิ อาคม ได้ เช่น อคโม, บางแห่งให้คง อิ อาคมไว้ เช่น อ+คมฺ+อ+อ+ิ ตถฺ เปน็ อคมติ ถฺ (อ. ท่าน ท.) ไดไ้ ปแลว้ ๓) อี วภิ ตั ติ ปฐมบุรษุ เอกวจนะ นยิ มทาใหเ้ ปน็ เสยี งสั้นเสมอไป คือ รัสสะ อี เป็น อิ เชน่ คมฺ+อ+อ+ิ อี เป็น คมิ ดังนเ้ี ป็นต้น ๔) อุํ วิภัตติ ปฐมบุรุษ พหุวจนะ แปลง อุํ เป็น อํสุ และ อึสุ ได้ เช่น คมฺ+อ+อิ+อุ เป็น คมสํ ุ, คมึสุ เป็นต้น ๕) โอ วิภัตติ ทั้งหิยัตตนี และอัชชัตตนี มัธยมบุรุษ เอกวจนะ มีใช้น้อย โดยมากใช้ อี วิภัตติ หมวดอัชชัตตนี ปฐมบุรุษ เอกวจนะ แทน ฉะนั้น อี วิภัตติอัชชัตตนี จึงเป็นกริยาของบท ประธานได้ ท้ังปฐมบุรุษและมัธยมบุรุษ เช่น มา สุ ตฺว อกริ ปาปํ. (อ. ท่าน อย่าได้ทาแล้ว ซึ่งบาป นะ) มา เอวมกาสิ. (เอว+อกาสิ) (อ. ท่าน อย่าได้ทาแล้ว อย่างน้ี) สาวตฺถิย กิร อทินฺนปุพฺพโก นาม พฺราหมฺ โณ อโหสิ (ดงั ได้สดับมา ในเมืองสาวัตถี พราหมณช์ อ่ื วา่ อทนิ นปพุ พกะ ได้มแี ลว้ ) ๖) ส อาคม โดยมากใช้ลงเฉพาะปฐมบุรุษและอุตตมบุรุษอัชชัตตนีวิภัตติเท่านั้น และจะ สังเกตได้ง่าย เพราะ ส อาคม มีอานาจทีฆสระเสียงสั้นท่ีอยู่ข้างหน้า ส ให้เป็น อา ได้ เช่น อคมาสิ เป็นต้น เว้นแต่สระที่อยู่ข้างหน้า ส อาคม เป็นทีฆะอยู่แล้ว ก็ไม่ต้องทีฆะอีก เช่น คเมสิ, อาโรเจสุ เปน็ ต้น ๗) ห อาคม ไมน่ ยิ มวิภตั ตแิ นน่ อน ๘) วิภัตติอาขยาตทุกหมวด ทั้งฝ่ายปรัสสบท และฝ่ายอัตตโนบท เฉพาะมัธยมบุรุษและ อุตตมบุรุษ บอกตัวประธานของกริยาไว้แน่นอนเหมือนกันหมด เช่นเดียวกับวัตตมานาวิภัตติทุก ประการ เช่น โอ บอก ตฺวํ, ตถฺ บอก ตมุ เฺ ห, อึ บอก อห,ํ มหา บอก มยํ ดงั นี้ เป็นตน้ , ข้อสาคัญต้อง จํารูปวิภัตติแต่ละหมวดไว้ให้แม่น เมื่อเราพบเห็นอยู่ในรูปประโยคคาพูดต่าง ๆ ก็จะหาตัวประธาน ของกริยาแปลเป็นภาษาไทยไดท้ ันที และโปรดสงั เกตว่า วิภตั ตฝิ า่ ยปรสั สบทมีใช้มากกว่าฝ่ายอัตตโน บท โดยเฉพาะวภิ ัตติหมวด วตั ตมานา กับ อชั ชัตตนี มใี ช้มากทีส่ ุด ๙) ธาตุตัวอื่น ๆ นิยมนามาประกอบรูปกริยาเป็นวาจกด้วยอัชชัตตนีวิภัตติแบบ คมฺ ธาตุ ทั้งสิ้น และเพ่ือให้เข้าใจง่าย โปรดดูตัวอย่าง กรฺ ธาตุที่แปลว่า ทํา อ ปัจจัย (โอ ปัจจัยก็ได้ แต่ โอ ต้องลบทง้ิ คงเหลอื ตัวจรงิ เปน็ อ ปจั จัยเทา่ น้นั ) แปลงทา้ ยคาเป็นวจนะท้ัง ๓ บรุ ษุ ดงั น้ี บรุ ุษ เอกวจนะ พหวุ จนะ กรุ, อกสุ, กรสึ ุ, อกรึสุ, ประถมบรุ ุษ กร,ิ อกริ, อกาสิ มัธยมบรุ ษุ กโร, อกโร กรติ ถฺ , อกตถฺ , อกริตถฺ อตุ ตมบุรุษ กร,ึ อกรึ, อกาสึ กริมฺหา, อกรมิ หฺ า ๓๑

คากริยาตามตัวอย่างในตารางนี้ มีวิธีแปลเป็นภาษาไทยแบบ คมฺ ธาตุทั้งหมด และให้ สังเกตว่า ธาตุ มี ร เป็นที่สุด ให้ลบ ร ท่ีสุดธาตุ ได้บ้าง เช่น อกาสิ (อ. เขา) ได้ทาแล้ว (อ+กรฺ+อ+อิ+ อี+ลง ส อาคม ใหล้ บท่ีสุดธาต)ุ แมค้ าว่า อกาสึ, อกสํ ,ุ อกตฺถ กใ็ หล้ บ ร ท่ีสดุ ธาตแุ บบเดียวกัน ๑๐) มา ศัพท์ ซ่ึงเป็นนิบาตบอกปฏิเสธ แปลวา่ อย่า นยิ มนามาใชป้ ฏิเสธคากริยาท่ีแปลง ทา้ ยคาเปน็ วจนะดว้ ยวิภัตตหิ มวดอัชชัตตนีเหมือนปัญจมีวภิ ัตติ ในกรณีทบ่ี ง่ ถึงการหา้ มในอดตี ดปู ระโยคตัวอย่าง ๑. มา เอวมกาสิ (อ. ทา่ น) อยา่ ได้ทาแล้ว อย่างนี้ ๒. ตุมฺเห ปาปํ กมฺม มา อกริตฺถ. อ. ท่าน ท. อย่าไดท้ าแล้ว ซง่ึ กรรม อันลามก กล่าวโดยสรุป คาว่า “อัชชัตตนีวิภัตติ” แปลว่า มีแล้วในวันนี้ หมายถึง สิ่งที่ล่วงแล้วในวันน้ี เป็นเครื่องหมายบอกอดีตกาล คาแปลของอัชชตั ตนีวิภัตติ คือ “...แล้ว ถ้ามี อ ประกอบข้างหน้าธาตุ ก็ แปลว่า “ได้...แลว้ ” ๓๒

แบบฝกึ หัดท่ี ๒.๖ (การแปลอชั ชตั ตนีวิภตั ติ) ก. ให้แปลคํากริยาอาขยาตต่อไปนี้เป็นไทยโดยข้ึนประธานประกอบให้ถูกต้องตามวิภัตติ วจนะ และบรุ ุษ ๑. กริ ๗. กรมิ หฺ า ๑๓. อกตฺถ ๒. กร ๘. อกริ ๑๔. อกริตถฺ ๓. กรึสุ ๙. อกาสิ ๑๕ . อกรึ ๔. กโร ๑๐. อกสุ ๑๖. อกาสึ ๕. กริตถฺ ๑๑. อกรึสุ ๑๗. อกริมฺหา ๖. กรึ ๑๒. อกโร ข. ให้แปลประโยคตอ่ ไปนเ้ี ป็นไทยโดยพยญั ชนะ ๑. มา เอวมกาสิ. ๒. สาวตถฺ ิย กริ อทินฺนปุพพฺ โก นาม พรฺ าหมฺ โณ อโหสิ. ๓. อสิ โย วน ผลาน คมึสุ. ๔. ตมุ เฺ ห สพฺพานิ กลยฺ าณานิ กมมฺ านิ อกรติ ฺถ. ๕. ตมุ ฺเห ปาปํ กมฺม มา อกริตฺถ. ๖. สตฺถา อนุปุพพฺ ิกถ กเถสิ. ๗. เอวมสฺส อนุปุพฺเพน ธน ปริกขฺ ย อคมาสิ. ๓๓

๒.๙ การแปลภวสิ สันติวิภตั ติ “ภวสิ สนั ติ” ตามรูปศัพท์แปลวา่ จักมี หมายถึง จกั เกิดมีข้างหนา้ เป็นเคร่ืองหมายบอกอนาคต กาลแห่งปัจจบุ ัน ใช้คาแปลประกอบธาตวุ า่ “จกั …” ดูตัวอยา่ ง บรุ ษุ เอกวจนะ คําแปล ประถมบรุ ุษ ลภิสสฺ ติ (อ. เขา) จกั ได้ มัธยมบรุ ุษ ลภสิ ฺสสิ (อ. ท่าน) จักได้ อุตตมบรุ ุษ ลภิสสฺ ามิ (อ. เรา) จักได้ บรุ ุษ พหวุ จนะ คาํ แปล ประถมบรุ ุษ ลภสิ สฺ นฺติ (อ. เขา ท.) จักได้ มัธยมบุรุษ ลภิสสฺ ถ (อ. ทา่ น ท.) จักได้ อุตตมบรุ ุษ ลภสิ ฺสาม (อ. เรา ท.) จกั ได้ จากตัวอย่างในตารางน้ี คากริยาสาเร็จรูปมาจาก ลภฺ ธาตุ อ ปัจจัย ลง อิ อาคมหลังธาตุและ ปัจจยั แลว้ ตามด้วยวภิ ัตติ แม้คากรยิ าอน่ื ๆ กม็ วี ธิ ีเดียวกนั นี้ ขอ้ สังเกตเก่ียวกับปัจจยั และวภิ ตั ตใิ นหมวดภวสิ สันติ ๑) ปัจจัยที่เป็นสระตัวเดียว หรือที่มีสระลงท้ายด้วยเสียงสั้น ลง อิ อาคม นามาผสมกับ ภวสิ สันติวิภัตติ ตัว อ จะหายไป (ลบท้ิง) เช่น ลภฺ+อ+อ+ิ สสฺ ติ=ลภิสสฺ ติ ๒) ปัจจัยที่ลงท้ายด้วยสระเสียงยาว เมื่อลง อิ อาคมแล้ว ให้ลบ อิ อาคมได้บ้าง เช่น กถฺ+เอ+อ+ิ สสฺ ติ=กเถสฺสติ (อ. เขา) จกั กลา่ ว ๓) สฺสติ สฺสนฺติ สฺสสิ และ สฺสถ วิภัตติ ทั้ง ๔ ตัวนี้ ลบ สฺส คงไว้ แต่ ติ นฺติ สิ ถ ก็ได้ เชน่ กาหติ กาหนตฺ ิ กาหสิ กาหถ เปน็ ตน้ ๔) สสฺ ามิ และ สฺสาม วภิ ตั ติ ลบ สสฺ คงไว้แต่ อามิ และ อาม ก็ได้ เช่น กาหามิ กาหาม เป็นต้น ถ้าประกอบกับ วสฺ ธาตุ แปลงเป็น ฉามิ และ ฉาม บ้าง เช่น วจฺฉามิ วจฺฉาม เป็นต้น หรือถ้า ประกอบกบั วจฺ ธาตุ แปลงเป็น ขามิ และ ขาม บา้ ง เชน่ วกขฺ ามิ วกฺขาม เป็นต้น กล่าวโดยสรุป คาว่า “ภวิสสันติ” ตามรูปศัพท์แปลว่า จักมี หมายถึง จักเกิดมีข้างหน้า เป็น เคร่อื งหมายบอกอนาคตกาลแหง่ ปจั จุบนั คาแปลภวสิ สันติวภิ ัตติ คือ “จกั …” ๓๔

แบบฝกึ หัดที่ ๒.๗ (การแปลภวิสสนั ติวภิ ัตติ) ก. ให้แปลคํากรยิ าอาขยาตต่อไปนีเ้ ปน็ ไทยโดยข้นึ ประธานใหถ้ ูกต้องตามวิภตั ติ วจนะ และบุรุษ ๑. ปจสิ ฺสติ ๙. จรสิ สฺ สิ ๑๗. กาหามิ ๒. ปจสิ ฺสนตฺ ิ ๑๐. ปสฺสสิ สฺ ถ ๑๘. กาหาม ๓. ปจสิ สฺ สิ ๑๑. ททิสสฺ ามิ ๑๙. วจฺฉามิ ๔. ปจิสสฺ ถ ๑๒. ภุญชฺ สิ สฺ าม ๒๐. วจฺฉาม ๕. ปจิสสฺ ามิ ๑๓. กาหติ ๒๑. วกขฺ ามิ ๖. ปจิสฺสาม ๑๔. กาหนตฺ ิ ๒๒. วกขฺ าม ๗. กณี ิสสฺ ติ ๑๕. กาหสิ ๘. คมิสฺสนฺติ ๑๖. กาหถ ข. ใหแ้ ปลประโยคต่อไปนเ้ี ป็นไทยโดยพยัญชนะ ๑. สา อติ ฺถี พทุ ธฺ สฺส ธมมฺ สณุ สิ สฺ ติ. ๒. เต ชนา เคเห วสิตวฺ า ตสมฺ ึ เคเห สยิสฺสนตฺ ิ. ๓. กทา วเิ ทส สิกฺขาย คมิสสฺ สิ. ๔. เสวฺ มย ตว เคเห อาหาร ภญุ ชฺ สิ ฺสาม. ๕. อห คามา นกิ ขฺ มิตฺวา นทึ คมสิ ฺสามิ. ๖. ตมุ ฺเห พุทฺธสสฺ ธมฺม สตุ ฺวา ตสฺมึ ธมเฺ ม ปสที สิ ฺสถ. ๓๕

๒.๑๐ การแปลกาลาตปิ ัตติ วภิ ัตติ “กาลาติปัตติ” แปลว่า ล่วงกาล หมายถึง ล่วงกาลแห่งอนาคตไปแล้วแต่ย้อนกล่าวถึงอีก เป็น เครอ่ื งหมายบอกอนาคตกาลแหง่ อดีต ใชค้ าแปลประกอบธาตุว่า “จกั ...แล้ว” ถา้ มี อ อาคม อย่หู ลังธาตุ ใหแ้ ปลวา่ “จักได้…แล้ว” ดูตัวอยา่ ง บุรุษ เอก. คาํ แปล ประถมบรุ ุษ อคจฺฉสิ สฺ า, อคจฉฺ ิสฺส (อ. เขา) จกั ไดไ้ ปแล้ว มธั ยมบุรุษ อคจฉฺ ิสฺเส (อ. ท่าน) จกั ได้ไปแล้ว อตุ ตมบุรุษ อคจฉฺ ิสสฺ (อ. เรา) จักได้ไปแลว้ บรุ ุษ พห.ุ คาํ แปล ประถมบรุ ุษ อคจฺฉิสฺสสุ (อ. เขา ท.) จักได้ไปแลว้ มธั ยมบุรุษ อคจฺฉิสสฺ ถ (อ. ท่าน ท.) จกั ไดไ้ ปแลว้ อตุ ตมบรุ ุษ อคจฉฺ สิ ฺสามหฺ า (อ. เรา ท.) จักได้ไปแล้ว คากริยาตามตัวอย่างในตารางน้ี สาเร็จรูปมาจาก คมฺ ธาตุ โดยแปลง คมฺ เป็น คจฺฉ อ ปัจจัย ผสมกับกาลาติปัตติวิภัตติ ฝ่ายปรัสบท กัตตุวาจก แปลงท้ายคาเป็นวจนะท้ัง ๓ บุรุษ และมี อ อาคม ขา้ งหน้าธาตุ แม้กรยิ าตวั อื่น ๆ ก็มีวิธีประกอบแบบเดียวกนั น้ี ขอ้ สงั เกตในวภิ ัตติหมวดกาลาติปตั ติ ๑) การประกอบรูปกริยาเป็นกัตตุวาจกด้วยกาลาติปัตติวิภัตติ มีวิธีเหมือนกับ ภวิสสนั ติวภิ ตั ติทกุ อย่าง แตม่ ีพิเศษต่างกัน คือ ลง อ อาคม ข้างหน้าธาตไุ ด้ พรอ้ มกับ อ อาคม หลงั ธาตุ และปจั จัย โดยเฉพาะ อิ อาคม จะขาดไมไ่ ด้ ๒) ปัจจัยที่เป็นสระตัวเดียว หรือที่ลงท้ายด้วย สระอะ เมื่อลง อิ อาคม หลังธาตุและ ปจั จยั แลว้ ตัว อ ท่สี ระอาศยั จะหายไปทันที เช่น อ+คจฺฉ+ฺ อ+อ+ิ สฺสา = อคจฺฉสิ ฺส ๓) สา วภิ ตั ติ ปฐมบรุ ษุ เอกวจนะ สามารถแปลงเป็น สสฺ ได้ หรอื รสั สะ อา เป็น อะ ได้ เชน่ อ+คจฺฉ+ฺ อ+อ+ิ สฺสา = อคจฺฉสิ สฺ (มีวิธีเหมอื น อา อัชชตั ตนวี ภิ ตั ต)ิ ๔) ธาตุตัวใดก็ตาม ที่แปลงท้ายคาเป็นวจนะด้วยกาลาติปัตติวิภัตติ ย่อมบ่งถึงอนาคต กาลแห่งอดีตเสมอไป หมายถึง เร่ืองราว หรือการกระทานั้น ๆ ล่วงเลยมาแล้ว แต่ผู้พูดนามาสมมุติว่า จักเป็นอย่างนั้นอย่างน้ี ซ่ึงเป็นไปไม่ได้ เป็นการคาดคะเนถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์นั้น ซึ่งได้ผ่านพ้นไป แล้ว ในกรณีเชน่ น้ี ขอ้ ความในประโยคหนา้ มักมนี บิ าตบอกปรกิ ปั คอื เจ (หากว่า) หรอื สเจ (ถา้ วา่ ) อยู่ ๓๖

เสมอด้วยไป เช่น โส เจ ยาน ลภสิ ฺสา, อคจฺฉสิ ฺสา. (หากวา่ อ. เขา จกั ไดแ้ ล้ว ซงึ่ ยานไซร้, (อ. เขา) จักได้ ไปแล้ว) กล่าวโดยสรุป คาว่า “กาลาติปัตติ” แปลว่า ล่วงกาล หมายถึง ล่วงกาลแห่งอนาคตไปแล้ว แตย่ ้อนกลา่ วถึงอีก เปน็ เครอ่ื งหมายบอกอนาคตกาลแห่งอดีต คาแปลของกาลาติปัตตวิ ิภัตติ คือ “จกั ... แล้ว” ถา้ มี อ อาคม อยู่หลงั ธาตุ ใช้คาแปลวา่ “จกั ได้...แลว้ ” ๓๗

แบบฝึกหัดที่ ๒.๘ (การแปลกาลาตปิ ตั ตวิ ภิ ตั ติ) ก. ให้แปลคาํ กรยิ าอาขยาตต่อไปน้ีเป็นไทยโดยข้นึ ประธานใหถ้ กู ต้องตามวภิ ตั ติ วจนะ และบรุ ษุ ๑. วทสิ สฺ า ๖. วทิสฺส ๑๑. อคจฉฺ สิ ฺเส ๒. วทสิ สฺ ๗. วทสิ ฺสามหฺ า ๑๒. อคจฉฺ ิสฺสถ ๓. วทสิ สฺ สุ ๘. อคจฺฉิสสฺ า ๑๓. อคจฉฺ สิ ฺส ๔. วทสิ ฺเส ๙. อคจฉฺ ิสสฺ ๑๔. อคจฺฉสิ สฺ ามฺหา ๕. วทสิ ฺสถ ๑๐. อคจฺฉสิ สฺ สุ ข. ให้แปลประโยคต่อไปนเ้ี ป็นไทยโดยพยญั ชนะ ๑. โส เจ ยาน ลภิสฺสา อคจฉฺ สิ ฺสา. ๒. ภกิ ฺขเว สจาย เอกสาฏโก ป มยาเม มยฺห ทาตุ อสกขฺ ิสฺส, สพพฺ โสฬสก อลภิสสฺ ; สเจ มชฌฺ มิ ยาเม ทาตุ อสกฺขิสฺส, สพฺพฏฺ ก อลภิสสฺ . ๓๘

๒.๑๑ สรุปทา้ ยบท วภิ ตั ตอิ าขยาตที่ได้นาเสนอในบทที่ ๒ น้ี มที ัง้ หมด ๙ ประเด็น ซง่ึ แตล่ ะประเดน็ มสี าระสาคัญ อาจสรปุ ได้ ดงั นี้ ๒.๑๑.๑ ความหมายของวภิ ัตติอาขยาต: คาว่า “วภิ ตั ติอาขยาต” หมายถงึ ตัวแบ่งแยก ศัพท์กริยาของนามเพ่ือบอกให้รู้ กาล บท วจนะ และบุรุษ โดยจัดเป็น ๘ หมวด ได้แก่ ๑) วัตตมานา วิภัตติ ๒) ปัญจมีวิภัตติ ๓) สัตตมีวิภัตติ ๔) ปโรกขาวิภัตติ ๕) หิยัตตนีวิภัตติ ๖) อัชชัตตนีวิภัตติ ๗) ภวิสสันติวิภัตติ และ ๘) กาลาติปัตติวิภัตติ หมวดท่ีใช้มากท่ีสุดคือ หมวดวัตตมานาวิภัตติกับ หมวดอัชชตั ตนวี ภิ ตั ติ ๒.๑๑.๒ การแปลวัตตมานาวิภัตติ: คาว่า “วัตตมานา” แปลว่า เป็นไปอยู่ จัดเป็น ปัจจุบันกาล กัตตุวาจก คาแปลของวัตตมานาวิภัตติ (ติ อนฺติ สิ ถ มิ ม) อยู่ในวงจากัดเพียง “อยู่, ย่อม, จะ” เท่าน้ัน ผู้แปลต้องเลือกใช้คาใดคาหนึ่งให้สอดคล้องกับกาลเวลาท่ีกล่าวถึงเป็นสาคัญ คือ ปัจจุบัน แท้ แปลว่า “อย”ู่ ปจั จบุ ันใกลอ้ ดตี แปลวา่ “ยอ่ ม” ปจั จุบนั ใกล้อนาคต แปลว่า “จะ” ๒.๑๑.๓ การแปลปญั จมีวิภัตติ: คาว่า “ปัญจมี” แปลว่า เป็นทีเ่ ตม็ แหง่ ความปรารถนา ๕ เป็นกาลท่ีแฝงอยู่ในระหว่าง เพราะตามคาแปลก็ไม่บ่งชัดลงไปว่าเป็นกาลอะไร อย่างไรก็ตาม นิยม จัดเป็นปัจจุบันกาล คาแปลของปัญจมีวิภตั ติ มีอยู่ ๓ กรณี คือ ๑) กรณีบอกการบังคับ แปลว่า “จง…” ๒) กรณบี อกความหวัง แปลวา่ “จง...เถดิ ” และ ๓) กรณบี อกการออ้ นวอน แปลวา่ “ขอจง...” ๒.๑๑.๔ การแปลสัตตมวี ิภตั ติ: คาว่า “สตั ตมี แปลวา่ เปน็ ทเ่ี ต็มแหง่ ความราพงึ ๗ เป็น กาลท่ีแฝงอยู่ในระหว่าง คือ ไม่บ่งชัดลงไปว่าเป็นกาลอะไร เช่นเดียวกับ ปัญจมี แต่นิยมจัดเป็นปัจจุบัน กาล คาแปลของสัตตมีวิภัตติ มีอยู่ ๓ กรณี คือ ๑) กรณีบอกการยอมตาม แปลว่า “ควร…” ๒) กรณี บอกการกาหนด หรอื การคาดคะเน แปลวา่ “พึง…” และ ๓) กรณบี อกความราพงึ แปลวา่ “พงึ …” ๒.๑๑.๕ การแปลปโรกขาวิภตั ติ: คาว่า “ปโรกขา” แปลว่า กล่าวถึงส่ิงท่ีมีอยู่ในหนหลัง คือส่ิงที่ล่วงไปแล้ว ไม่มีกาหนดแน่ว่าล่วงไปเม่ือไร บ่งถึงอดีตกาลอย่างเดียว คาแปลของปโรกขาวิภัตติ คือ “...แล้ว” กริยาอาขยาตมีใชน้ ้อย เทา่ ที่พบส่วนใหญ่ มักใชอ้ ยเู่ ฉพาะวิภตั ติ ฝา่ ยปรัสบท ประถมบุรุษ เอกวจนะ และพหุวจนะ เทา่ นั้น และนยิ มใช้กบั พรฺ ู ธาตุ ศัพทเ์ ดียว (พรฺ ู ธาตุ แปลว่า กล่าว ใช้ อ ปัจจยั เป็นกัตตวุ าจก) เมือ่ นาธาตุ ปัจจัย และวิภัตตดิ งั กลา่ วมาผสมกัน ไดร้ ูปกริยาอาขยาตเปน็ อาห และ อาหุ ๒.๑๑.๖ การแปลหิยัตตนีวิภัตติ: คาว่า “หิยัตตนี” ตามรูปศัพท์แปลว่า มีแล้วในวนั วาน หมายถึง ส่ิงท่ีล่วงแล้วตั้งแต่วานนี้ จัดเป็นอดีตกาล บ่งถึงกาลเวลาท่ีล่วงเลยมาแล้ว คาแปลหิยัตตนี วภิ ตั ติ คือ “...แล้ว” ถา้ มี อ อยู่หนา้ ใช้คาแปลว่า “ได้...แลว้ ” (วภิ ตั ติหมวดน้ี นิยมเพิ่ม อ ท่แี ปลว่า ได้ เขา้ ขา้ งหนา้ ธาตุ ฉะนั้น กริยาอาขยาตทเี่ พิ่มพยางค์หนา้ ธาตุ ดว้ ยวภิ ัตตหิ มวดนี้จึงแปลว่า “ได้….แล้ว”) ๒.๑๑.๗ การแปลอัชชัตตนีวิภัตติ: คาว่า “อัชชัตตนีวิภัตติ” แปลว่า มีแล้วในวันน้ี หมายถึง ส่ิงท่ีล่วงแล้วในวันน้ี เป็นเครื่องหมายบอกอดีตกาล คาแปลของอัชชัตตนีวิภัตติ คือ “...แล้ว ถ้ามี อ ประกอบขา้ งหนา้ ธาตุ ก็แปลว่า “ได้...แลว้ ” ๒.๑๑.๘ การแปลภวิสสนั ตวิ ิภัตติ: คาว่า “ภวสิ สนั ติ” ตามรปู ศัพทแ์ ปลว่า จกั มี หมายถึง จกั เกิดมีขา้ งหน้า เป็นเครือ่ งหมายบอกอนาคตกาลแหง่ ปัจจบุ นั คาแปลภวสิ สนั ตวิ ิภตั ติ คอื “จัก…” ๓๙

๒.๑๑.๙ การแปลกาลาติปัตติวิภัตติ: คาว่า “กาลาติปัตติ” แปลว่า ล่วงกาล หมายถึง ล่วงกาลแห่งอนาคตไปแล้ว แต่ย้อนกล่าวถึงอีก เป็นเคร่ืองหมายบอกอนาคตกาลแห่งอดีต คาแปลของ กาลาตปิ ตั ตวิ ิภัตติ คือ “จกั ...แลว้ ” ถ้ามี อ อาคม อย่หู ลังธาตุ ใชค้ าแปลว่า “จักได้...แล้ว” ๔๐

บทที่ ๓ ประโยคและวาจก วัตถปุ ระสงค์ ๑. บอกความหมายของประโยคได้ ๒. อธบิ ายหลักการและวิธกี ารแปลประโยคได้ ๓. บอกความหมายของวาจกได้ ๔. แปลประโยคต่าง ๆ ตามวาจกได้ ๓.๑ ความนา อาขยาต ในการแปลบาลีเป็นไทย หลังจากที่ผู้ศึกษาได้ศึกษาและฝึกแปลวิภัตติอาขยาตในบทที่ ๒ มาแล้ว จึงควรศึกษาและฝึกแปลเรื่องประโยคและวาจกทางภาษาบาลีให้เข้าใจว่า จะแปลโดยวิธีใด ศัพท์ใด จะต้องแปลก่อนหรือแปลหลัง หรือว่าศัพท์ใดจะต้องแปลเป็นลาดับที่ ๑-๒-๓ ไปตามลาดับ จน หมดทุกศพั ท์ในประโยคน้ัน ๆ ดังนัน้ ในบทน้ี จะนาเสนอเนอ้ื หาสาระสาคญั ที่เกี่ยวกบั ประโยคและวาจก ๔ ประเด็น ได้แก่ ๑) ความหมายของประโยค ๒) หลักการแปลประโยค ๓) ความหมายของวาจก และ ๔) หลกั การแปลประโยคตามวาจก โดยมีรายละเอียด ดงั ต่อไปนี้ ๓.๒ ความหมายของประโยค ประโยค หมายถึง กลุ่มคา ซึ่งนามาประกอบเข้าด้วยกันตามระเบียบของแต่ละภาษา เพื่อ แสดงข้อความอย่างใดอย่างหน่ึง ท่ีสามารถทาให้ผู้อ่ืนหรือผู้ฟังเข้าใจเน้ือความได้ชัดเจนในภาษานั้น ๆ เช่น ในภาษาไทยว่า คุณเข้าใจผม. ผมมาโดยรถประจาทาง. ฯลฯ หรือ ในภาษาอังกฤษว่า They are walking on the sidewalk. (พวกเขาเดินอยู่บนทางเท้า) She always sleeps in the afternoon. (เธอนอนหลับตอนบ่ายเป็นประจา) ฯลฯ ประโยคในภาษาบาลี ก็คือ ข้อความท่ีเป็นรูปประโยควลี ซ่ึง อา่ นหรือฟังเขา้ ใจได้ แต่ไมไ่ ด้ความเต็มที่ เรียกว่า “ประโยคลิงคัตถะ” และข้อความทเ่ี ราเรยี กตามวาจก ทง้ั ๕ ประเภท ประโยคเชน่ วา่ น้ี จึงมี ๖ ประเภท โดยแตล่ ะประเภท มีส่วนประกอบแตกต่างกันออกไป ตามประเภทของประโยค มากบา้ งน้อยบ้าง ตามเนือ้ ความ เชน่ ๔๑

ประโยคลงิ คตั ถะ สาวกาน สงฺโฆ. ประโยคกัตตวุ าจก อ. หมู่ แห่งสาวก ท. อาจริยมฺหิ คารโว. อ. ความเคารพ ในอาจารย์ ปติ า อมฺหาก ปิโย โหติ. อ. บิดา เปน็ ท่ีรัก ของเรา ท. ยอ่ มเปน็ มนสุ สฺ าน ชวี ิต อปฺปํ โหติ. อ. ชวี ติ ของมนษุ ย์ ท. เปน็ ธรรมชาตนิ อ้ ย ย่อมเป็น กลา่ วโดยสรุป คาวา่ “ประโยค” หมายถึง กลมุ่ คา ซึ่งนามาประกอบเข้าด้วยกันตามระเบียบ ของแต่ละภาษา เพ่ือแสดงข้อความอย่างใดอย่างหนึ่ง ท่ีสามารถทาให้ผู้อื่นหรือผู้ฟังเข้าใจเน้ือความได้ ชดั เจนในภาษานั้น ๆ ดังน้ัน ประโยคในภาษาบาลี จงึ หมายถงึ ขอ้ ความทีเ่ ป็นรูปประโยควลี ซึง่ อา่ นหรือ ฟังเข้าใจได้ แต่ไม่ได้ความเต็มที่ เรียกว่า “ประโยคลิงคัตถะ” และข้อความที่เราเรียกตามวาจกทั้ง ๕ ชนิด ได้แก่ ประโยคกัตตุวาจก ประโยคกัมมวาจก ประโยคภาววาจก ประโยคเหตุกัตตุวาจก และ ประโยคเหตกุ ัมมวาจก ๓.๓ หลักการแปลประโยค ในการแปลประโยคภาษาบาลีเป็นภาษาไทย ผู้แปลหรือผู้ศึกษาจะต้องศึกษาหลักการแปล เบื้องต้นให้เข้าใจว่า ในประโยคหรือข้อความภาษาบาลีที่จะต้องแปลนั้น จะแปลโดยวิธีใด ศัพท์ใด จะต้องแปลก่อนหรือแปลหลัง หรือว่าศัพท์ใดจะต้องแปลเป็นลาดับท่ี ๑-๒-๓ ไปตามลาดับ จนหมดทุก ศพั ทใ์ นประโยคน้นั ๆ ประโยคในภาษาบาลี มี ๕ ประโยค ได้แก่ ประโยคกัตตุวาจก ประโยคกัมมวาจก ประโยค ภาววาจก ประโยคเหตุกัตตุวาจก และประโยคเหตุกัมมวาจก หลักในการแปลองค์ประกอบต่าง ๆ ของ ประโยคดังกล่าวเหล่าน้ี เรียกว่า “หลักการแปลประโยคภาษาบาลีตามลาดับ ๙ ประการ” (หรือ เรียกว่า “หลักการแปลประโยคภาษาบาลีทั่วไป”) ซึ่งถือว่าเป็นหลักท่ีสาคัญมาก ผู้ศึกษาวิชาการ แปลภาษาบาลีควรจดจาไว้ และใหถ้ ือเป็นหลกั การแปลประโยคภาษาบาลีโดยสมบูรณ์แบบ ไมว่ า่ จะ เปน็ ประโยควาจกใดก็ตาม ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๑ ๔๒

ตารางที่ ๓.๑ หลกั การแปลประโยคภาษาบาลตี ามลาดบั ๙ ประการ องค์ประกอบของประโยค ลาดบั การแปล ๑. อาลปนะ แปลลาดับที่ ๑ ๒. นบิ าตตน้ ข้อความ แปลลาดบั ท่ี ๒ ๓. กาลสตั ตมี (ถ้ามี) แปลลาดับท่ี ๓ ๔. บทประธาน (กตั ตกุ ารก) แปลลาดับที่ ๔ ๕. บทที่เนื่องด้วยบทประธานหรือบทขยายบทประธาน (ถา้ มี) แปลลาดบั ท่ี ๕ ๖. กรยิ าในระหว่างและบททเ่ี นอื่ งดว้ ยกริยาในระหวา่ ง (ถ้ามี) แปลลาดบั ที่ ๖ ๗. ประโยคแทรก (ถ้ามี) แปลลาดับที่ ๗ ๘. กริยาคุมพากย์ (ถา้ มี) แปลลาดบั ท่ี ๘ ๙. บทท่ีเนือ่ งด้วยกรยิ าคุมพากย์ หรือบทขยายกรยิ าคมุ พากย์ (ถ้ามี) แปลลาดับท่ี ๙ จากตารางที่ ๓.๑ หลักการแปลประโยคภาษาบาลีตามลาดับท้ัง ๙ ประการน้ี ผู้ศึกษาจะตอ้ ง ศึกษาองค์ประกอบต่าง ๆ ของประโยคให้เข้าใจต้ังแต่หมายเลข ๑ อาลปนะ ได้แก่ ศัพท์ประเภทใด หมายเลข ๒ นบิ าตตน้ ข้อความ ได้แก่ศัพท์ประเภทใด ตลอดถงึ หมายเลข ๙ และข้อสาคัญก็คือว่า เม่ือมี อาลปนะทัง้ ๒ ประเภท อยใู่ นประโยคเดยี วกัน เราจะแปลอาลปนะประเภทไหนก่อน จงึ จะถอื วา่ ถูกต้อง อย่างไรก็ตาม ในประโยคหนึ่ง ๆ อาจไม่ต้องใช้หลักการแปลประโยคตามลาดับครบทั้ง ๙ ประการ ดังกล่าว เพราะองค์ประกอบต่าง ๆ ในประโยคมีไม่ครบ ซ่ึงก็แล้วแต่เนื้อความ แต่อย่างน้อย ท่ีสุดก็ต้องมี ๒ องค์ประกอบ คือบทประธานกับบทท่ีเน่ืองด้วยบทประธานในประโยคลิงคัตถะ และมี ประธานกับกรยิ าในประโยคกตั ตวุ าจก เป็นตน้ ดังแสดงเปน็ ประโยคตัวอย่างในตารางท่ี ๓.๒ ตารางที่ ๓.๒ ประโยคลงิ คัตถะและประโยคกตั ตุวาจก ประโยค แปลโดยพยัญชนะ ๑. พุทธสฺส สาวโก. อ. สาวก ของพระพทุ ธเจ้า ๒. เอว กโรหิ มหาราช. ข้าแต่มหาราช (อ. พระองค์) ขอจงทรงกระทาอยา่ งนี้ ๓. อห ภนเฺ ต ปพพฺ ชฺช ยาจามิ. ข้าแตท่ ่านผ้เู จรญิ อ. ขา้ พเจา้ ยอ่ มขอซง่ึ บรรพชา ๔. มย ภนเฺ ต ตสิ รเณน สห ปญฺจ สลี านิ ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ข้าพเจ้า ท. ย่อมขอซ่ึงศีล ท. ห้ากับ ดว้ ยสรณะสาม ยาจาม. ดูกอ่ นภกิ ษุ ท. ก็ (อ. เรา) จกั แสดงซง่ึ ธรรม แกท่ า่ น ท. ๕. ธมฺม หิ โว ภกิ ขฺ เว เทเสสสฺ ามิ. ดูก่อนท่านผ้มู อี ายุ ก็ อ. ท่าน เป็นผู้อยแู่ ลว้ ตลอดพรรษา ใน ๖. กุหึ ปน ตวฺ อาวโุ ส วสฺส วุตโฺ ถ (โหสิ). ที่ไหน (ยอ่ มเปน็ ) ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ได้ยินว่า อ. เศรษฐี นั้น ได้แล้ว ซ่ึงบุตร ๗. โส กริ ภนเฺ ต เสฏฺ ปตุ ตฺ ลภติ วฺ า, ครนั้ เม่ือบุตร ตายแล้ว ไดไ้ ปแล้ว สวู่ ิหาร ปุตเฺ ต มเต, วิหาร อคมาสิ. ๔๓

จากตารางท่ี ๓.๒ จะเห็นว่า ในประโยคต่าง ๆ ท้ัง ๗ ประโยค น้ัน อย่างน้อยท่ีสุดก็ต้องมี ๒ องค์ประกอบ คือบทประธานกับบทที่เน่ืองด้วยบทประธานในประโยคลิงคัตถะ (ดูประโยคท่ี ๑) และมี ประธานกบั กรยิ าในประโยคกัตตุวาจก (ดปู ระโยคท่ี ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗) ข้อควรจา: เมื่อองค์ประกอบต่าง ๆ ในประโยคใด มีไม่ครบตามหลักการแปลประโยคภาษา บาลีตามลาดับทั้ง ๙ ประการ ก็ให้เลื่อนไปตามลาดับ แต่หมายเลข ๔ คือ บทประธาน นั้น หากไม่ ปรากฏในประโยค ก็ให้ขน้ึ มาเอง (ยกเว้นประโยคภาววาจก) กลา่ วโดยสรุป หลักการแปลประโยคภาษาบาลีตามลาดบั มอี ยู่ ๙ ประการ โดยใหผ้ ้แู ปลถอื หลัก ว่า จะต้องแปลองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ปรากฏในประโยคตามลาดับ ได้แก่ ๑) อาลปนะ ๒) นิบาตต้น ข้อความ ๓) กาลสัตตมี (ถ้ามี) ๔) บทประธาน (กัตตุการก) ๕) บทที่เนื่องด้วยบทประธานหรือบทขยาย บทประธาน (ถ้าม)ี ๖) กริยาในระหว่างและบททีเ่ นื่องดว้ ยกริยาในระหว่าง (ถา้ มี) ๗) ประโยคแทรก (ถา้ ม)ี ๘) กริยาคมุ พากย์ (ถา้ มี) และ ๙) บททเี่ นอ่ื งด้วยกรยิ าคมุ พากย์ หรือบทขยายกริยาคุมพากย์ (ถ้ามี) ๔๔

แบบฝึกหดั ที่ ๓.๑ (การแปลประโยคตามหลักการแปลภาษาบาลี) ใหแ้ ปลประโยคตอ่ ไปนเี้ ป็นไทยโดยพยัญชนะ ๑. สามิ เอโก ปุตฺโต ชาโต. (๒/๗๕) ๒. เตนหิ ภเณ เสฺว (ตฺว) (เถร) โภเชหิ. ๓. (ตวฺ ) วเทหิ ตาว อาวุโส ปาลิต. (๑/๑๐) ๔. ภนฺเต อยยฺ สสฺ กิร อกฺขี วาโต วิชฺฌติ. (๑/๙) ๕. ตสมฺ ึ สมเย สตฺถา ปริสมชเฺ ฌ ธมมฺ เทเสติ. (๑/๔๖) ๖. พุทฺโธ โลเก อปุ ปฺ นฺโน (๑/๘๕) ๗. อญฺ ตโร ภกิ ฺขุ คาม ปิณฺฑาย ปวิฏฺโ . ๘. สเจ ภนฺเต อยฺโย อิมสมฺ ึ าเน เอว วหิ รนโฺ ต ปพพฺ ชติ กิจจฺ มตฺถก ปาเปต สกขฺ ิสสฺ ติ. (๑/๖๓) ๙. ตสฺมา ตทิวส สตถฺ า ตสฺส อุปนิสฺสย โอโลเกตวฺ า ธมฺม เทเสนฺโต อนปุ ุพฺพีกถ กเถสิ. (๑/๕) ๑๐. โย พาเล เสวติ, โส วินาส ปาปณุ าต.ิ ๑๑. เอว สตฺถา เตส ภกิ ขฺ ูน ธมมฺ เทเสสิ. ๑๒. โส กริ ภนเฺ ต เสฏฺฐี ปตุ ตฺ ลภติ วฺ า ปุตฺเต มเต วิหาร อคมาสิ. ๔๕

คาศัพทท์ คี่ วรทราบ ท่ี คาศพั ท์ คาแปล ที่ คาศพั ท์ คาแปล ๑ ชาโต เกดิ แล้ว ๑๕ ปพพฺ ชิตกจิ ฺจ ยังกิจแห่งบรรพชิต ๒ โภเชหิ ยัง…จงใหฉ้ นั ๑๖ มตฺถก ซงึ่ ทสี่ ุด ๓ วเทหิ จงกล่าว ๑๗ ปาเปตุ เพ่อื อนั ยงั …ให้ถงึ ๔ อกขฺ ี ซึ่งนยั นต์ า ท. ๑๘ สกขฺ สิ สฺ ติ จักอาจ ๕ วาโต อ. ลม ๑๙ ตทวิ ส ในวนั น้ัน ๖ วิชฌฺ ติ ยอ่ มเสียดแทง ๒๐ โอโลเกตวฺ า ทรงแลดแู ล้ว ๗ ปรสิ มชฺเฌ ในท่ามกลางแห่งบรษิ ัท ๒๑ อนุปพุ พฺ ีกถ ซงึ่ วาจาเปน็ เครื่องกลา่ วโดยลาดบั ๘ เทเสติ ย่อมทรงแสดง ๒๒ กเถสิ ตรัสแล้ว ๙ อุปปฺ นโฺ น อบุ ัตแิ ล้ว ๒๓ เสวติ ย่อมคบ ๑๐ อญฺ ตโร รปู ใดรปู หน่งึ ๒๔ ปาปุณาติ ย่อมถงึ ๑๑ ปิณฺฑาย เพ่ือบณิ ฑะ ๒๕ ลภติ ฺวา ได้แลว้ ๑๒ ปวิฏฺโ เข้าไปแล้ว ๒๖ มเต ตายแลว้ ๑๓ อยฺโย อ. พระผ้เู ป็นเจ้า ๒๗ อคมาสิ ได้ไปแลว้ ๑๔ วิหรนฺโต อยู่ ๆ ๔๖

๓.๔ ความหมายของวาจก วาจก๑ ในภาษาบาลี หมายถึง กริยาศัพท์ที่บ่งบอกถึงบทประธานว่า ประธานของรูปประโยค มีลักษณะอย่างไร เช่น ทาเอง ถูกเขาทา เป็นต้น อีกอย่างหนึ่ง วาจก หมายถึง คากริยาคุมพากย์ที่มี ปัจจัยประจาธาตุและวาจก เป็นเคร่ืองหมายบอกให้รู้ว่า กริยาบทนั้น เป็น กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ และวาจกอะไร ๓.๕ หลักการแปลประโยคตามวาจก ประโยคในภาษาบาลี จัดแบ่งตามวาจกได้ ๕ ประเภท โดยแต่ละประเภทมีองค์ประกอบ แตกต่างกันออกไปตามประเภทของประโยค มากบ้างน้อยบ้างตามเน้ือความ และแต่ละประเภทก็มี หลกั การแปลตา่ งกนั ดังตอ่ ไปน้ี ๓.๕.๑ ประโยคกตั ตวุ าจก (Active voice) ประโยคกัตตุวาจก มีองค์ประกอบสาคัญท่ีจะขาดมิได้ ๒ องค์ประกอบ ได้แก่ ๑) บท ประธาน และ ๒) บทกรยิ าคุมพากย์ จากประโยคกัตตุวาจกน้ี คานามหรือคาสรรพนามทีแ่ ปลงท้ายคาเปน็ กัตตุการกแล้ว เป็น บทประธานของกริยาที่เป็นกัตตุวาจก และกริยาศัพท์ในประโยคกัตตุวาจกนี้ประกอบด้วยธาตุที่เป็น อกรรมธาตุ จึงจัดเปน็ ประโยคกตั ตวุ าจก แบบที่ ๑ และมลี าดับการแปล ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๓ ตารางที่ ๓.๓ ลาดับการแปลประโยคกตั ตวุ าจก แบบท่ี ๑ องค์ประกอบของประโยคกตั ตวุ าจก แบบที่ ๑ ลาดับการแปล ๑. บทประธาน (กตั ตกุ ารก) แปลลาดบั ท่ี ๑ ๒. กรยิ าคมุ พากย์ (กรยิ าอาขยาต กัตตวุ าจก) แปลลาดับที่ ๒ ๑ วาจก มีชือ่ คลา้ ยกบั การก แตม่ ีความหมายต่างกนั คือ การก หมายถึง คานาม สรรพนาม ฯลฯ ทแี่ ปลงทา้ ย คาเปน็ วจนะในรูปการกตา่ ง ๆ แลว้ บอกให้รู้วา่ นามคานัน้ เป็นวจนะ การนั ต์ ลิงค์ และการกอะไร ออกสาเนยี งแปลเป็น ภาษาไทยว่าอย่างไร ๔๗

จากตารางท่ี ๓.๓ จะเห็นว่า ในประโยคกตั ตวุ าจก แบบท่ี ๑ ดังกล่าวข้างตน้ น้ี มอี งคป์ ระกอบ อยู่ ๒ องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ บทประธาน และกรยิ าคมุ พากย์ เวลาแปลก็ใหแ้ ปลบทประธานเปน็ ลาดับแรก จากนั้นจึงแปลกริยาคมุ พากย์เป็นลาดับท่ี ๒ ดปู ระโยคตัวอยา่ ง ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๔ ตารางที่ ๓.๔ ประโยคกัตตวุ าจก แบบท่ี ๑ แปลโดยพยญั ชนะ อ. สตั ว์ ท. ยอ่ มตาย ที่ ประโยคกัตตวุ าจก แบบท่ี ๑ อ. สัตว์ ท. ย่อมนอน ๑ สตฺตา มรนตฺ ิ. ๒ สตตฺ า สยนฺติ. จากตารางที่ ๓.๔ จะเห็นว่า ในประโยคกัตตวุ าจก แบบท่ี ๑ นี้ มีการวางบทประธาน (สตฺตา, สตตฺ า) ไว้หนา้ และแปลเปน็ ลาดับที่ ๑ สว่ นคากริยาซึง่ ประกอบดว้ ยธาตุที่เป็น อกรรมธาตุ (มรนฺต,ิ สยนฺ ต)ิ วางไวห้ ลัง และแปลเปน็ ลาดบั ที่ ๒ คาพดู ในประโยคกัตตวุ าจกแบบที่ ๑ น้ี เปน็ คาพดู ทใ่ี ช้กรยิ าศัพท์ ท่ีเปน็ อกรรมธาตุ เปน็ คาพูดทส่ี มบูรณ์ ฟงั ไดค้ วามเต็มที่ โดยไมต่ อ้ งมีการกหรอื อะไรมาขยายอีก อย่างไรก็ตาม คาพูดในประโยคกัตตุวาจกที่ใช้กริยาศัพท์ประกอบด้วยธาตุที่เป็น สกรรมธาตุ ต้องมีกรรมคือ คานามท่ีแปลงท้ายคาเป็นกัมมการก มารับเสมอไป ขยายกริยาบทใด ก็วางไว้หน้าบท กริยาที่ตนขยายนั้น จึงจะฟังได้ความสมบูรณ์เต็มท่ี ฉะน้ัน คาพูดในประโยคกัตตุวาจกทใี่ ช้กริยาศัพท์ ประกอบด้วยธาตุที่เป็น สกรรมธาตุ เช่นน้ี ต้องมีองค์ประกอบ ๓ องค์ประกอบ จึงจัดเป็นประโยค กตั ตวุ าจก แบบท่ี ๒ และมลี าดบั การแปล ดงั แสดงในตารางท่ี ๓.๕ ตารางที่ ๓.๕ ลาดับการแปลประโยคกัตตวุ าจก แบบท่ี ๒ องค์ประกอบของประโยคกตั ตวุ าจก แบบที่ ๒ ลาดบั การแปล ๑. บทประธาน แปลลาดบั ท่ี ๑ ๒. กริยาคุมพากย์ แปลลาดับท่ี ๒ ๓. กมั มการก (ทุติยาวภิ ตั ติ) แปลลาดับท่ี ๓ จากตารางที่ ๓.๕ จะเห็นว่า ในประโยคกัตตุวาจกแบบที่ ๒ มีองค์ประกอบอยู่ ๓ องค์ประกอบ ได้แก่ บทประธาน กริยาคุมพากย์ และกัมมการก (ทุติยาวิภัตติ) เวลาแปลก็ให้แปลบท ประธานเป็นลาดับแรก จากน้ันจึงแปลกริยาคุมพากย์เป็นลาดับที่ ๒ และแปลกัมมการก (ทุติยาวิภัตติ) เป็นลาดับที่ ๒ ดปู ระโยคตวั อย่าง ดังแสดงในตารางท่ี ๓.๖ ๔๘

ตารางท่ี ๓.๖ ประโยคกัตตุวาจก แบบที่ ๒ แปลโดยพยัญชนะ อ. พอ่ ครวั หุงอยู่ ซึ่งข้าว ท่ี ประโยคกัตตุวาจก อ. ชาวนา ท.ย่อมไถ ซง่ึ นา ๑ สโู ท โอทน ปวติ. ๒ กสกา เขตตฺ กสนฺติ. จากตารางท่ี ๓.๖ จะเห็นว่า ในประโยคกัตตุวาจก แบบท่ี ๒ นี้ มีการวางบทประธาน (สูโท, กสกา) ไว้หน้า แปลเป็นลาดับที่ ๑ วางกริยาคุมพากย์ที่ประกอบด้วยสกรรมธาตุ (ปวติ, กสนฺติ) ไวห้ ลัง แปลเปน็ ลาดบั ท่ี ๒ และวางกมั มการก (โอทน, เขตตฺ ) ไวห้ นา้ บทกรยิ าที่ตนขยาย แปลเป็นลาดับ ที่ ๓ ในการแปลประโยคกัตตุวาจก ดังตัวอย่างท้ัง ๒ แบบ ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ ถ้ามีบทขยายบท ประธานและบทขยายกัมมการกอยู่ด้วย ก็ต้องเพิ่มหลักการแปลตามลาดับอีก จึงจัดเป็นประโยค กตั ตุวาจก แบบที่ ๓ ดงั แสดงในตารางท่ี ๓.๗ ตารางท่ี ๓.๗ ลาดับการแปลประโยคกตั ตุวาจก แบบที่ ๓ องค์ประกอบของประโยคกตั ตุวาจก แบบที่ ๓ ลาดับการแปล ๑. บทประธาน แปลลาดบั ที่ ๑ ๒. บทขยายบทประธาน (ถ้ามี) แปลลาดับที่ ๒ ๓. กริยาคมุ พากย์ แปลลาดับที่ ๓ ๔. กัมมการก แปลลาดับท่ี ๔ ๕. บทขยายกัมมการก (ถา้ มี) แปลลาดับท่ี ๕ จากตารางที่ ๓.๗ จะเห็นว่า ในประโยคกัตตุวาจกแบบที่ ๓ มีองค์ประกอบอยู่ ๕ องค์ประกอบ ได้แก่ บทประธาน บทขยายบทประธาน กริยาคุมพากย์ กัมมการก และบทขยาย กัมมการก เวลาแปลก็ใหแ้ ปลบทประธานเป็นลาดบั แรก จากน้ันจึงแปลบทขยายบทประธานเป็นลาดับที่ ๒ แปลกริยาคุมพากย์เป็นลาดับที่ ๓ แปลกัมมการกเป็นลาดับท่ี ๔ และแปลบทขยายกัมมการกเป็น ลาดบั ท่ี ๕ ซ่ึงเป็นลาดับสุดทา้ ย ดูประโยคตัวอยา่ ง ดังแสดงในตารางที่ ๓.๘ ๔๙

ตารางท่ี ๓.๘ ประโยคกตั ตุวาจก แบบท่ี ๓ ท่ี ประโยคกัตตวุ าจก แปลโดยพยัญชนะ ๑ สาวกาน สงฺโฆ พทุ ธฺ สฺส ธมมฺ จรติ. อ. หมู่ แหง่ สาวก ท. ยอ่ มประพฤติ ซ่งึ ธรรมของ ๒ ทารกิ า อาจรยิ สฺส วิหาเร อุทก ปิวติ. พระพุทธเจ้า อ. เด็กหญิง ด่มื อยู่ ซ่ึงน้า ในวิหาร ของอาจารย์ จากตารางที่ ๓.๘ จะเห็นว่า ในประโยคกัตตุวาจก แบบที่ ๓ นี้ มีบทขยายบทประธาน (สาวกาน) และบทขยายกัมมการก (พุทฺธสฺส, วิหาเร) อยู่ด้วย ให้แปลบทประธานเป็นลาดับที่ ๑ แปล บทขยายบทประธานเป็นลาดับที่ ๒ แปลกริยาคุมพากย์เป็นลาดับที่ ๓ แปลกัมมการกเป็นลาดับที่ ๔ และแปลบทขยายกมั มการกเป็นลาดบั ท่ี ๕ ซ่งึ เป็นลาดับสดุ ท้าย ข้อสังเกต: ในที่บางแห่ง เมื่อมีคากริยาอาขยาตอยู่แล้ว จะไม่เขียนบทประธานไว้ แต่เวลา แปลเป็นภาษาไทย ให้หาบทประธานเอาเอง โดยสังเกตดูท่ีกริยาซึ่งลงท้ายด้วยวิภัตติอาขยาต ย่อมบ่งชี้ ถึงบุรษุ คอื บทประธาน ดตู ัวอย่างดงั แสดงในตารางที่ ๓.๙ ตารางท่ี ๓.๙ ตวั อย่างคากรยิ าอาขยาตซ่งึ มีวิภตั ตทิ ้ายคาบง่ ชถี้ งึ บทประธาน ที่ กรยิ าอาขยาต คาแปล ท่ี กรยิ าอาขยาต คาแปล ๑ ปวติ (อ. บคุ คล) หงุ อยู่ ๔ กสถ (อ. ท่าน ท.) ยอ่ มไถ ๒ ปจนฺติ (อ. บุคคล ท.) หุงอยู่ ๕ คจฺฉามิ (อ. เรา) ยอ่ มไป ๓ กสสิ (อ. ทา่ น) ย่อมไถ ๖ คจฉฺ าม (อ. เรา ท.) ย่อมไป จากตารางที่ ๓.๙ จะเห็นวา่ เมอื่ เราสงั เกตดคู ากริยาอาขยาตดงั กล่าวแล้ว ก็สามารถรูไ้ ด้ว่า วิภัตติอาขยาต ได้แก่ ติ บ่งชี้ถึงบทประธานคือ ปุคฺคโล, สิ บ่งช้ีถึงบทประธานคือ ตฺว, มิ บ่งช้ีถึงบท ประธานคอื อห, อนตฺ ิ บ่งชี้ถึงบทประธานคือ ปุคฺคลา, ถ บ่งชี้ถึงบทประธานคือ ตมุ ฺเห, และ ม บ่งช้ีถึง บทประธานคอื มย หรือผู้ศกึ ษาอาจจะทอ่ งไว้เปน็ หลักก็ได้ ดงั นี้ ๑ ติ บอก ปุคฺคโล ๔ อนตฺ ิ บอก ปุคฺคลา ๒ สิ บอก ตฺว ๕ ถ บอก ตมุ เฺ ห ๓ มิ บอก อห ๖ ม บอก มย กล่าวโดยสรุป การแปลประโยคกัตตุวาจก มีหลักการแปลตามลาดับ คือ (๑) บทประธาน (๒) บทขยายบทประธาน (ถ้ามี) (๓) กริยาคมุ พากย์ (๔) กมั มการก และ (๕) บทขยายกัมมการก (ถา้ มี) ๕๐

แบบฝกึ หัดท่ี ๓.๒ (การแปลประโยคกตั ตุวาจก) ใหแ้ ปลประโยคตอ่ ไปนเ้ี ปน็ ไทยโดยพยัญชนะ ๑. โส สยติ. ๒. สโู ท โอทน ปจติ. ๓. กห อิเม (ชนา) คมสิ สฺ นตฺ ิ. ๔. จริ อธิ วสิมหฺ า. ๕. พาล น เสเวยยฺ . ๖. สาวกาน สงโฺ ฆ พทุ ธฺ สสฺ ธมมฺ จรติ. ๗. ทาริกา อาจรยิ สสฺ วหิ าเร อทุ ก ปวิ ติ. ๘. สกณุ า อากาเสน มคฺค คจฺฉนตฺ .ิ ๙. อาจรยิ สสฺ สสิ สฺ า คามสฺมึ วิหาเร วสนตฺ ิ. ๕๑

คาศัพทท์ ค่ี วรทราบ ที่ คาศพั ท์ คาแปล ที่ คาศพั ท์ คาแปล อ. เด็กหญงิ ท. ๑ สยติ ย่อมนอน ๑๐ ทารกิ า ของอาจารย์ ด่ืมอยู่ ๒ สโู ท อ. พอ่ ครวั ๑๑ อาจรยิ สฺส อ. นก ท. ซง่ึ หนทาง ๓ โอทน ซึ่งข้าว ๑๒ ปิวติ ยอ่ มบนิ ไป อ. ศิษย์ ท. ๔ ปจติ หุงอยู่ ๑๓ สกุณา ใกล้บา้ น ยอ่ มอยู่ ๕ คมิสสฺ นฺติ จกั ไป ๑๔ มคฺค ๖ จิร ส้ินกาลนาน ๑๕ คจฺฉนฺติ ๗ วสิมหฺ า อยู่แลว้ ๑๖ สสิ สฺ า ๘ น เสเวยยฺ ไมพ่ ึงเสพ ๑๗ คามสมฺ ึ ๙ จรติ ยอ่ มประพฤติ ๑๘ วสนตฺ ิ ๕๒

๓.๕.๒ ประโยคกัมมวาจก (Passive voice) ประโยคกัมมวาจก มีองค์ประกอบท่ีสาคัญ ๓ องค์ประกอบท่ี ได้แก่ ๑) บทประธาน (กัตตุการก) ๒) กรณการก (ตติยาวิภัตต)ิ และ ๓) กริยาคมุ พากย์ (กรยิ ากัมมวาจก) จากประโยคกัมมวาจกนี้ จะมีการวางบทประธานไว้ลาดับที่ ๒ จึงจัดเป็นประโยค กัมมวาจก แบบที่ ๑ เวลาแปลประโยคกัมมวาจก แบบท่ี ๑ นี้ ให้แปลบทประธานเป็นลาดับที่ ๑ แปล กรณการกเปน็ ลาดับที่ ๒ และแปลกริยาคุมพากย์เปน็ ลาดับที่ ๓ ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๑๐ ตารางที่ ๓.๑๐ ลาดับการแปลประโยคกัมมวาจก แบบท่ี ๑ องค์ประกอบของประโยคกัมมวาจก แบบท่ี ๑ ลาดบั การแปล ๑. บทประธาน (กตั ตุการก) แปลลาดับท่ี ๑ ๒. กรณการก (ตติยาวิภัตติ) แปลลาดับท่ี ๒ ๓. กรยิ าคุมพากย์ (กรยิ ากัมมวาจก) แปลลาดบั ท่ี ๓ จากตารางที่ ๓.๑๐ จะเห็นว่า ในประโยคกัมมวาจก แบบท่ี ๑ มีองค์ประกอบอยู่ ๓ องค์ประกอบ ได้แก่ บทประธาน กรณการก และกริยาคุมพากย์ เวลาแปลก็ให้แปลบทประธานเป็น ลาดับแรก จากนั้นจึงแปลกรณการกเป็นลาดับที่ ๒ และแปลกริยาคุมพากย์เป็นลาดับที่ ๓ ดูประโยค ตวั อยา่ ง ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๑๑ ตารางที่ ๓.๑๑ ประโยคกัมมวาจก แบบท่ี ๑ ประโยคกัมมวาจก แปลโดยพยญั ชนะ สสิ ฺเสน สปิ ฺปํ สิกฺขิยเต. อ. ศิลปะ อันศิษย์ ศึกษาอยู่ จากตารางที่ ๓.๑๑ จะเห็นว่า ในประโยคกัมมวาจก แบบที่ ๑ น้ี มีองค์ประกอบ ๓ องค์ประกอบ โดยมีการวางบทประธาน (สิปฺปํ) ไว้เป็นลาดับที่ ๒ แต่แปลเป็นลาดับที่ ๑ วางกรณการก (สิสฺเสน) ไว้เป็นลาดับท่ี ๑ แต่แปลเป็นลาดับที่ ๒ และวางกริยาคุมพากย์ (สิกฺขิยเต) ไว้เป็นลาดับที่ ๓ และแปลเป็นลาดบั ท่ี ๓ ๕๓

อย่างไรกต็ าม การเรียงบทประธานและกรณการกในประโยคกัมมวาจกนี้ จะวางบทประธาน ไวเ้ ป็นลาดับที่ ๑ ตวั กรณการกเป็นลาดับท่ี ๒ และตวั กริยาคมุ พากยเ์ ป็นลาดับท่ี ๓ ก็ได้ ทง้ั น้ีสดุ แต่ความ มุ่งหมายในที่น้ัน ๆ เป็นสาคัญ จึงจัดเป็นประโยคกัมมวาจก แบบที่ ๒ และมีลาดับการแปลเหมือนกับ ประโยคกัมมวาจก แบบที่ ๑ ดังกลา่ วแลว้ ดูประโยคตัวอยา่ ง ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๑๒ ตารางที่ ๓.๑๒ ประโยคกมั มวาจก แบบที่ ๒ ประโยคกัมมวาจก แปลโดยพยญั ชนะ สปิ ปฺ ํ สสิ เฺ สน สิกฺขยิ เต. อ. ศิลปะ อันศิษย์ ศึกษาอยู่ จากตารางที่ ๓.๑๒ จะเห็นว่า ในประโยคกัมมวาจก แบบที่ ๒ นี้ มีองค์ประกอบ ๓ องค์ประกอบเช่นเดียวกับประโยคกัมมวาจก แบบท่ี ๑ แต่มีการวางบทประธาน (สิปฺปํ) ไว้เป็นลาดับ ที่ ๑ และแปลเป็นลาดับท่ี ๑ วางกรณการก (สิสฺเสน) ไว้เป็นลาดับท่ี ๒ และแปลเป็นลาดับท่ี ๒ และ วางกริยาคุมพากย์ (สกิ ฺขยิ เต) ไว้เปน็ ลาดับท่ี ๓ และแปลเปน็ ลาดบั ท่ี ๓ ตามลาดบั บางแห่งตัวกรณการก จะไม่เรียงไว้ในประโยคกัมมวาจกก็ได้ แต่เวลาแปล ต้องหาตัว กรณการกทีเ่ หมาะสมเพิม่ เขา้ มา ดูประโยคตัวอย่าง ดังแสดงในตารางท่ี ๓.๑๓ ตารางท่ี ๓.๑๓ ประโยคกัมมวาจกท่ีไมว่ างตวั กรณการกไว้ ประโยคกัมมวาจก แปลโดยพยัญชนะ สิปฺปํ สิกขฺ ิยเต. อ. ศิลปะ (ปคุ ฺคเลน = อันบคุ คล) ศกึ ษาอยู่ จากตารางท่ี ๓.๑๓ จะเห็นว่า ในประโยคกัมมวาจกนี้ มีองค์ประกอบ ๒ องค์ประกอบ ได้แก่ บทประธาน และกริยาคุมพากย์ โดยไม่มีตัวกรณการรก ดังน้ัน ในเวลาแปล ผู้แปลต้องหาตัว กรณการกทเี่ หมาะสมเพิ่มเข้ามา ซงึ่ ในทน่ี ี้ คือ ปคุ ฺคเลน (อันบคุ คล) ทั้งน้ี ในการแปล ให้ดูกริยาเป็นหลักสาคัญว่า กริยานั้นเป็นวาจกอะไร กริยาท่ีเป็นสกรรม ธาตุโดยทั่วไปอาจแปลสลับวาจกได้ระหว่างกัตตุวาจกกบั กัมมวาจก ดูประโยคตัวอยา่ งซง่ึ สลับกัตตุวาจก กบั กมั มวาจก ดังแสดงในตารางที่ ๓.๑๔ และ ๓.๑๕ ๕๔

ตารางที่ ๓.๑๔ ประโยคกัตตุวาจกสลบั เปน็ กัมมวาจก กัตตวุ าจก กัมมวาจก สสิ ฺโส สิปฺปํ สิกฺขติ. สสิ ฺเสน สิปปฺ ํ สกิ ขฺ ยิ เต. อ. ศษิ ย์ ศกึ ษาอยู่ ซง่ึ ศลิ ปะ อ. ศลิ ปะ อันศิษย์ ศึกษาอยู่ ตารางท่ี ๓.๑๕ ประโยคกัมมวาจกสลบั เป็นกตั ตวุ าจก กัมมวาจก กัตตุวาจก ชเนหิ กมฺมานิ กรยิ นเฺ ต. ชนา กมฺมานิ กโรนฺติ. อ. การงาน ท. อนั ชน ท. ทาอยู่ อ. ชน ท. ทาอยู่ ซึง่ การงาน ท. จากตารางที่ ๓.๑๔ และ ๓.๑๕ จะเห็นว่า ตัวอย่างในตารางนี้แม้จะมีการสลับประโยค กัตตุวาจกเป็นกัมมวาจก และสลับประโยคกัมมวาจกเป็นกัตตุวาจก โดยที่มีโครงสร้างของประโยค ต่างกัน แต่ความหมายยังคงเหมือนกัน ส่วนองค์ประกอบของประโยคซ่ึงเป็นบทสาคัญที่จะขาดไม่ได้มี อยู่เพียง ๓ องค์ประกอบ เท่าน้ัน ถ้ามีข้อความยาว โดยมีบทขยาย ก็ต้องเพ่ิมลาดับการแปลขึ้นเป็น ๖ ลาดบั ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๑๖ ตารางที่ ๓.๑๖ ลาดับการแปลประโยคกมั มวาจกทม่ี ีบทขยาย องค์ประกอบของประโยคกมั มวาจกท่ีมีบทขยาย ลาดบั การแปล ๑. บทประธาน (กัตตุการก) แปลลาดับที่ ๑ ๒. บทขยายบทประธาน (ถา้ มี) แปลลาดบั ที่ ๒ ๓. กรณการก (ตติยาวภิ ัตต)ิ แปลลาดับท่ี ๓ ๔. บทขยายกรณการก แปลลาดับท่ี ๔ ๕. กริยาคุมพากย์ แปลลาดบั ที่ ๕ ๖. บทที่เน่อื งดว้ ยกรยิ าคุมพากย์ แปลลาดับท่ี ๖ จากตารางที่ ๓.๑๖ จะเห็นว่า ในประโยคกัมมวาจกที่มีบทขยาย มีองค์ประกอบอยู่ ๖ องค์ประกอบ ได้แก่ บทประธาน บทขยายบทประธาน กรณการก บทขยายกรณการก กริยาคุมพากย์ และบทท่ีเนื่องด้วยกริยาคุมพากย์ เวลาแปลก็ให้แปลบทประธานเป็นลาดับแรก จากนั้นจึงแปลบท ๕๕

ขยายบทประธานเป็นลาดับที่ ๒ แปลกรณการกเป็นลาดับที่ ๓ แปลบทขยายกรณการกเป็นลาดับที่ ๔ แปลกริยาคุมพากย์เป็นลาดับท่ี ๕ และแปลบทที่เนื่องด้วยกริยาคุมพากย์เป็นลาดับที่ ๖ ซึ่งเป็นลาดับ สดุ ทา้ ย ดปู ระโยคตวั อย่าง ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๑๗ ตารางท่ี ๓.๑๗ ประโยคกมั มวาจกที่มีบทขยาย ประโยคกัมมวาจกทมี่ ีบทขยาย ทกเฺ ขน สิสฺเสน กลยฺ าณ สิปปฺ ํ กุสลา อาจริยมหฺ า สิกฺขยิ เต. (๔) (๓) (๒) (๑) (๖) (๕) แปลโดยพยญั ชนะ อ. ศลิ ปะ อันงาม อันศิษย์ ผู้ขยัน ศกึ ษาอยู่ จากอาจารย์ ผ้ฉู ลาด จากตารางท่ี ๓.๑๗ จะเห็นว่า ในประโยคกัมมวาจกที่มีบทขยายน้ี มีองค์ประกอบ ๖ องค์ประกอบ โดยมีการวางบทประธาน (สิปฺปํ) ไว้เป็นลาดับที่ ๔ แต่แปลเป็นลาดับที่ ๑ วางบทขยาย บทประธาน (กลฺยาณ) ไว้เป็นลาดับท่ี ๓ แต่แปลเป็นลาดับที่ ๒ วางกรณการก (สิสฺเสน) ไว้เป็นลาดับที่ ๒ แตแ่ ปลเปน็ ลาดับที่ ๓ วางบทขยายกรณการก (ทกฺเขน) ไว้เป็นลาดบั ที่ ๑ แตแ่ ปลเป็นลาดบั ที่ ๔ วาง กริยาคุมพากย์ (สิกฺขิยเต) ไว้เป็นลาดับที่ ๖ ซึ่งเป็นลาดับสุดท้าย แต่แปลเป็นลาดับท่ี ๕ และวางบทที่ เนอ่ื งด้วยกรยิ าคมุ พากย์ (กสุ ลา อาจรยิ มฺหา) เป็นลาดับที่ ๕ แตแ่ ปลเป็นลาดบั ท่ี ๖ ซึง่ เป็นลาดับสดุ ทา้ ย ตัวอย่างในตารางท่ี ๓.๑๗ ข้างต้นน้ี เป็นประโยคกัมมวาจก ถ้าเป็นประโยคกัตตุวาจก ก็จะ ประกอบรูปกริยาเป็นกัตตุวาจก โดยเปล่ียนบทประธานเป็นกัมมการก (ทุติยาวิภัตติ) และเปลี่ยนตัว กรณการก (ตตยิ าวภิ ตั ติ) เป็นกตั ตุการก (ปฐมาวิภตั ต)ิ ดังแสดงในตารางที่ ๓.๑๘ ตารางที่ ๓.๑๘ ประโยคกัตตวุ าจกที่มีบทขยาย ประโยคกตั ตวุ าจก ทกฺโข สสิ โฺ ส กลยฺ าณ สปิ ปฺ ํ กสุ ลา อาจริยมหฺ า สกิ ฺขต.ิ (๒) (๑) (๕) (๔) (๖) (๓) แปลโดยพยญั ชนะ อ. ศษิ ย์ ผู้ขยัน ศกึ ษาอยู่ ซ่ึงศิลปะ อันงาม จากอาจารย์ ผูฉ้ ลาด จากตารางที่ ๓.๑๘ จะเห็นว่า ในประโยคกัตตุวาจกท่ีมีบทขยายนี้ มีองค์ประกอบ ๖ องค์ประกอบเช่นเดียวกับประโยคกัมมวาจกที่มีบทขยายดังกล่าวมาแล้ว แต่มีการประกอบรูปกริยาเป็น ๕๖

กัตตุวาจก (สกิ ฺขต)ิ โดยเปลย่ี นบทประธานเป็นกมั มการก (สิปปฺ ํ) และเปลย่ี นตวั กรณการกเปน็ กัตตุการก (สิสฺโส) แต่ไม่เปลี่ยนลาดับการวางองค์ประกอบต่าง ๆ ในประโยค ส่วนความหมายของประโยคและ ลาดับการแปลยงั คงเหมอื นกับประโยคกมั มวาจกท่ีมีบทขยายทกุ ประการ กลา่ วโดยสรุป การแปลประโยคกมั มวาจก มีหลักการแปลตามลาดับ ได้แก่ (๑) บทประธาน (๒) บทขยายบทประธาน (ถ้ามี) (๓) กรณการก (ตติยาวิภัตติ) (๔) บทขยายกรณการก (๕) กริยา คุมพากย์ และ (๖) บททเี่ น่อื งดว้ ยกรยิ าคมุ พากย์ ๕๗

แบบฝกึ หดั ที่ ๓.๓ (การแปลประโยคกัมมวาจก) ใหแ้ ปลประโยคต่อไปนเ้ี ปน็ ไทยโดยพยัญชนะ ๑. สเู ทน โอทโน ปจยิ เต. ๒. ย (กมฺม) โว รุจฺจติ. (๒/๓) ๓. ธีตรา หิ ตาส (อติ ฺถีน) ปเวณี ฆฏิยติ. (๒/๑๓) ๔. อถ (สนเฺ ต) กึ ทวฺ หี ตีห (มยา) สทฺโท น สยุ ฺยติ. (๒/๓๐) ๕. สามเณเรน ธมฺโม ปกาสิยเต. ๖. กสมฺ า สสิ โฺ ส ครุนา ครหิยเต. ๗. มยา ปุจฉฺ ติ ป ฺโหเยว ตยา วสิ ฺสชชฺ ิโต. ๕๘

คาศัพทท์ ี่ควรทราบ ที่ คาศัพท์ คาแปล ที่ คาศพั ท์ คาแปล อนั ...ประกาศอยู่ ๑ ปจยิ เต อัน...หงุ อยู่ ๗ ปกาสยิ เต อันครู อัน...ยอ่ มติเตียน ๒ รจุ จฺ ติ ยอ่ มชอบใจ ๘ ครุนา อ. ปญั หาอัน...ถามแล้วน่นั เทียว อัน...แกแ้ ล้ว ๓ ปเวณี อ. เชื้อสาย ๙ ครหยิ เต ๔ ฆฏยิ ติ ยอ่ มสบื ต่อ ๑๐ ปจุ ฉฺ ติ ปญโฺ หเยว ๕ ทวฺ ีหตีห ส้ินวันสองและวันสาม ๑๑ วสิ สฺ ชชฺ โิ ต ๖ น สุยฺยติ อัน...ยอ่ มไม่ไดย้ ิน ๕๙

๓.๕.๓ ประโยคภาววาจก (Impersonal voice) ประโยคภาววาจก มีองค์ประกอบสาคัญท่ีจะขาดไม่ได้ ๒ องค์ประกอบ ได้แก่ ๑) กรณ การก (ตติยาวิภตั ต)ิ และ ๒) กรยิ าคมุ พากย์ (กริยาภาววาจก) โดยไมม่ ีบทขยาย และมลี าดับการแปล ๒ ลาดับ ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๑๙ ตารางที่ ๓.๑๙ ลาดบั การแปลประโยคภาววาจกทไี่ ม่มบี ทขยาย องค์ประกอบของประโยคภาววาจกทีไ่ มม่ ีบทขยาย ลาดบั การแปล ๑. กรณการก (ตติยาวภิ ตั ต)ิ แปลลาดับท่ี ๑ ๒. กริยาคมุ พากย์ (กรยิ าภาววาจก) แปลลาดับที่ ๒ จากตารางท่ี ๓.๑๙ จะเหน็ วา่ ในประโยคภาววาจกที่ไม่มีบทขยายน้ี ไมม่ ีบทประธานท่ี เป็นปฐมาวิภัตติหรือกัตตุการกซึ่งแปลว่า “อันว่า” แต่จะใช้คานามหรือสรรพนามในรูปตติยาวิภัตติ (กรณการก) เป็นบทประธานหรือเป็นกัตตา (ผู้ทา) ของกรยิ าภาววาจก โดยใชค้ าแปลการกประกอบเข้า ข้างหน้าว่า “อัน” และเรียกชื่อทางสัมพันธ์ว่า“อนภิหิตกัตตา” นอกจากนี้ การประกอบรูปกริยาเป็น ภาววาจกน้นั มีส่วนประกอบที่สาคัญ ๓ ประการ ได้แก่ ๑) มี ธาตุ ตัวใดตัวหน่ึง (ในหมวดธาตุทง้ั ๘) ที่ เป็น อกัมมธาตุ เท่าน้ัน ๒) มี ย ปัจจัย ในภาววาจกเป็นเคร่ืองหมาย และ ๓) มี เต วัตตมานาวิภัตติ ฝ่ายอัตตโนบท เอกวจนะ ประถมบุรุษ เท่าน้ัน และมีลาดับการแปล คือแปลกรณการกเป็นลาดับท่ี ๑ และแปลกริยาคมุ พากยเ์ ปน็ ลาดับที่ ๒ ดูประโยคตัวอยา่ ง ดังแสดงในตารางท่ี ๓.๒๐ ตารางท่ี ๓.๒๐ ประโยคภาววาจกท่ีไมม่ บี ทขยาย ประโยคภาววาจก แปลโดยพยญั ชนะ เตน มรยเต. อนั เขา ย่อมตาย ชเนหิ ภูยเต. อนั ชน ท. เป็นอยู่ จากตารางที่ ๓.๒๐ จะเห็นว่า ในประโยคภาววาจกท่ีไม่มีบทขยายน้ี มีองค์ประกอบ ๒ องค์ประกอบ โดยมีการวางกรณการก (เตน, ชเนหิ) ไว้เป็นลาดับท่ี ๑ และแปลเป็นลาดบั ที่ ๑ และวาง กรยิ าคมุ พากย์ (มรยเต, ภูยเต) เปน็ ลาดับท่ี ๒ และแปลเป็นลาดบั ที่ ๒ ๖๐

ในประโยคภาววาจกน้ี ถ้ามีบทขยาย จะมีองคป์ ระกอบ ๓ องคป์ ระกอบ ได้แก่ ๑) กรณ การก (ตติยาวิภัตติ) ๒) บทขยายกรณการก และ ๓) กริยาคุมพากย์ (กริยาภาววาจก) และมีลาดับการ แปล ๓ ลาดับ ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๒๑ ตารางที่ ๓.๒๑ ลาดับการแปลประโยคภาววาจกท่มี บี ทขยาย องค์ประกอบของประโยคภาววาจกที่มีบทขยาย ลาดับการแปล ๑. กรณการก (ตติยวิภัตต)ิ แปลลาดับท่ี ๑ ๒. บทขยายกรณการก (ถ้ามี) แปลลาดับท่ี ๒ ๓. กรยิ าคมุ พากย์ (กริยาภาววาจก) แปลลาดบั ที่ ๓ จากตารางที่ ๓.๒๑ จะเห็นว่า ในประโยคภาววาจกท่ีมีบทขยาย มีองค์ประกอบอยู่ ๓ องค์ประกอบ ได้แก่ กรณการก บทขยายกรณการก และกริยาคุมพากย์ เวลาแปลก็ให้แปลกรณการก เป็นลาดับแรก จากน้ันจึงแปลกรณการกเป็นลาดับที่ ๒ และแปลกริยาคุมพากย์เป็นลาดับที่ ๓ ซึ่งเป็น ลาดบั สุดทา้ ย ดปู ระโยคตัวอย่าง ดงั แสดงในตารางท่ี ๓.๒๒ ตารางที่ ๓.๒๒ ประโยคภาววาจกท่มี ีบทขยาย ประโยคภาววาจกที่มีบทขยาย แปลโดยพยัญชนะ อิธ โลเก สพเฺ พหิ สตฺเตหิ มรยเต. อันสัตว์ ท. ทั้งปวง ในโลกนี้ ย่อมตาย จากตารางที่ ๓.๒๒ จะเห็นว่า ในประโยคภาววาจกที่มีบทขยายน้ี มีองค์ประกอบ ๓ องค์ประกอบ โดยแปลกรณการก (สตฺเตหิ) เป็นลาดับท่ี ๑ แปลบทขยายกรณการก (อิธ โลเก สพฺเพหิ) เป็นลาดับที่ ๒ และแปลกริยาคุมพากย์ (มรยเต) เปน็ ลาดับท่ี ๓ จากประโยคภาววาจกท่ีมีบทขยายน้ี อาจสลับเป็นประโยคกัตตุวาจกได้ โดยเปลี่ยนตัว กรณการกเป็นกตั ตุการก (ปฐมาวภิ ัตติ) และประกอบรปู กรยิ าเป็นกตั ตวุ าจก ดปู ระโยคตัวอยา่ ง ดงั แสดง ในตารางท่ี ๓.๒๓ ๖๑

ตารางท่ี ๓.๒๓ ประโยคกตั ตวุ าจกที่สลบั มาจากประโยคภาววาจกทีม่ บี ทขยาย ประโยคกัตตวุ าจก แปลโดยพยัญชนะ อิธ โลเก สพเฺ พ สตฺตา มรนฺติ. อ. สตั ว์ ท. ทั้งปวง ในโลกนี้ ยอ่ มตาย จากตารางที่ ๓.๒๓ จะเห็นวา่ ในประโยคกัตตุวาจกนี้ เปลย่ี นตวั กรณการก (สตฺเตหิ) ใน ประโยคภาววาจกที่มีบทขยายเป็นกัตตุการก (สตฺตา) และประกอบรูปกริยาภาววาจก (มรยเต) ใน ประโยคภาววาจกท่ีมบี ทขยายเปน็ กริยากตั ตุวาจก (มรนฺติ) ข้อควรจา: ในประโยคภาววาจก กริยาคุมพากย์ใช้อกัมมธาตุเท่าน้ัน ส่วนในประโยค กัตตุวาจก กรยิ าคมุ พากยใ์ ช้ได้ทั้งสกัมมธาตุและอกัมมธาตุ ทง้ั นีส้ ดุ แล้วแต่เนอ้ื ความท่ีประสงคข์ องผู้พูด หรือผู้เขียนในท่ีนนั้ ๆ เป็นสาคญั กล่าวโดยสรุป การแปลประโยคภาววาจก มีหลกั การแปลตามลาดับ คอื (๑) กรณการก (ตติยวภิ ตั ต)ิ (๒) บทขยายกรณการก (ถ้ามี) และ (๓) กรยิ าคุมพากย์ (กรยิ าภาววาจก) ๖๒

แบบฝึกหดั ท่ี ๓.๔ (การแปลประโยคภาววาจก) ใหแ้ ปลประโยคต่อไปนเี้ ป็นไทยโดยพยญั ชนะ ๑. เตน ภยู เต. ๒. นนุ (อมฺเหหิ) อปฺปมตฺเตหิ ภวติ พฺพ. (๑/๘) ๓. อิธ โลเก สพเฺ พหิ สตเฺ ตหิ มรยเต. ๔. ตสฺมา อญเฺ นปิ (ภกิ ฺขุนา) อตฺตทตถฺ สทิเสน ภวิตพฺพ. ๕. อวสสฺ มยา มรติ พฺพ. ๖๓

คาศัพท์ทค่ี วรทราบ ท่ี คาศพั ท์ คาแปล ที่ คาศพั ท์ คาแปล ๑ ภยู เต เป็นอยู่ ๕ อญเฺ นปิ แม้อน่ื ๒ อปฺปมตฺเตหิ ผู้ไม่ประมาทแลว้ ๖ อตฺตทตฺถสทิเสน ผูเ้ ช่นกับด้วยอตั ตทัตถภกิ ษุ ๓ ภวิตพพฺ พงึ เปน็ ๗ อวสฺส แน่แท้ ๔ มรยเต ยอ่ มตาย ๘ มรติ พฺพ พงึ ตาย ๖๔

๓.๕.๔ ประโยคเหตุกตั ตุวาจก (Causative voice) ประโยคเหตุกัตตุวาจก หมายถึง ประโยคที่มีกริยาศัพท์ กล่าวถึงผู้ใช้ให้คนอื่นทาหรือ กล่าวถึงผู้ทาเป็นเหตุโดยมปี ัจจัย ๔ ตัว คือ เณ/ณย/ณาเป/ณาปย เปน็ เคร่อื งหมาย ประโยคเหตุกัตตุวาจกนี้ มีองค์ประกอบสาคัญที่จะขาดไม่ได้ ๔ องค์ประกอบ ได้แก่ ๑) บทประธาน ๒) กมั มการก ๓) กรยิ าคมุ พากย์ (กรยิ าเหตุกตั ตุวาจก) และ ๔) บทขยายกรยิ าคุมพากย์ (กมั มการก) และมลี าดับการแปล ๔ ลาดับ ดงั แสดงในตารางท่ี ๓.๒๔ ตารางท่ี ๓.๒๔ ลาดับการแปลประโยคเหตกุ ัตตุวาจก องค์ประกอบของประโยคเหตกุ ัตตวุ าจก ลาดับการแปล ๑. บทประธาน แปลลาดับที่ ๑ ๒. กมั มการก แปลลาดบั ท่ี ๒ ๓. กริยาคมุ พากย์ (กรยิ าเหตุกตั ตวุ าจก) แปลลาดับที่ ๓ ๔. บทขยายกริยาคมุ พากย์ (กัมมการก) แปลลาดบั ที่ ๔ จากตารางท่ี ๓.๒๔ จะเห็นว่า ในประโยคเหตุกัตตุวาจก มีองค์ประกอบอยู่ ๔ องค์ประกอบ ได้แก่ บทประธาน กัมมการก กริยาคุมพากย์ และบทขยายกริยาคุมพากย์ เวลาแปลก็ให้ แปลบทประธานเป็นลาดับแรก จากนั้นจึงแปลกัมมการกเป็นลาดับท่ี ๒ แปลกริยาคุมพากย์เป็นลาดับที่ ๓ และแปลบททีเ่ นอ่ื งด้วยกรยิ าคมุ พากย์เปน็ ลาดับที่ ๔ ซึ่งเป็นลาดับสดุ ทา้ ย ดูประโยคตวั อย่าง ดงั แสดง ในตารางท่ี ๓.๒๕ ตารางที่ ๓.๒๕ ประโยคเหตกุ ัตตุวาจก ที่ ประโยคเหตกุ ัตตวุ าจก แปลโดยพยัญชนะ ๑ ครุ สสิ ฺส สิปปฺ ํ สิกฺขาเปติ. อ. ครู ยงั ศิษย์ ให้ศกึ ษาอยู่ ซ่ึงศลิ ปะ ๒ สามิโก สเู ทน โอทน ปาเจต.ิ อ. นาย ยังพอ่ ครัว ให้หุงอยู่ ซ่งึ ข้าว จากตารางท่ี ๓.๒๕ จะเห็นว่า ในประโยคเหตุกัตตุวาจกทั้งสองประโยคในตารางข้างต้น น้ี มีองค์ประกอบ ๔ องค์ประกอบ และมีการวางตาแหน่งขององค์ประกอบต่างกัน แต่เวลาแปลก็ใช้ หลักการแปลตามลาดับเหมือนกัน โดยแปลบทประธาน (ครุ, สามิโก) เป็นลาดับที่ ๑ แปลกัมมการก ๖๕

(สิสฺส, สูเทน) เป็นลาดับท่ี ๒ แปลกริยาคุมพากย์ (สิกฺขาเปต,ิ ปาเจติ) เป็นลาดบั ท่ี ๓ และแปลบทขยาย กรยิ าคมุ พากย์ (สิปฺปํ, โอทน) เปน็ ลาดบั ที่ ๔ นอกจากนี้ จะเห็นว่า บทประธานในประโยคเหตุกัตตุวาจก หมายถึง ผู้ใช้ ซ่ึงเป็นรูป ปฐมาวิภตั ตหิ รือกตั ตุการก ใช้คาแปลวา่ “อันวา่ …” ตัวกัมมการก หมายถงึ ผู้รับใช้ คอื ถกู ใช้ใหท้ า เปน็ รูปทุติยาวิภัตติ หรือกัมมการก (บางคร้ัง อาจเป็นรูปตติยาวิภัตติหรือกรณการก) ใช้คาแปลว่า “ยัง…” เสมอไป กริยาคุมพากย์ (กริยาเหตุกัตตุวาจก) ใช้คาแปลว่า “ให้…” และบทขยายกริยาคุมพากย์ มักจะ เป็นทตุ ยิ าวภิ ตั ติหรือกมั มการก ใช้คาแปลวา่ “ซึ่ง…” ในประโยคเหตุกัตตุวาจกนี้ ถ้ามีบทขยายนอกจากบทที่เป็นองค์ประกอบทั้ง ๔ องค์ประกอบนี้แล้ว ก็จะมีลาดับการแปลเพ่ิมขึ้น และเวลาแปลให้ถือตามหลักการแปลประโยคภาษา บาลี ๙ ประการ (หรือ หลักการแปลประโยคภาษาบาลีท่ัวไป) ดูประโยคตัวอย่าง ดังแสดงในตารางที่ ๓.๒๖ ตารางท่ี ๓.๒๖ ประโยคเหตุกัตตวุ าจกท่มี อี งค์ประกอบมากกวา่ ๔ องคป์ ระกอบ ประโยคเหตุกตั ตุวาจก แปลโดยพยญั ชนะ มาตา จ ปิตา จ อตฺตโน ปุตฺเตเจว อ. มารดาด้วย อ. บิดาด้วย ยังบุตร ท. ของ ธีตโร จ สิปฺปํ สิกขฺ าเปนฺติ. ตนนั่นเทียวด้วย ยังธิดา ท. ของตนด้วย ให้ ศึกษาอยู่ จากตารางท่ี ๓.๒๖ จะเห็นว่า ในประโยคเหตุกัตตุวาจกน้ี มีองค์ประกอบมากกว่า ๔ องค์ประกอบ และประยุกต์ใช้หลักการแปลประโยคภาษาบาลี ๙ ประการ (หรือ หลักการแปลประโยค ภาษาบาลีทว่ั ไป) กล่าวโดยสรุป การแปลประโยคเหตุกัตตุวาจก มีหลักการแปลตามลาดับ คือ (๑) บท ประธาน (๒) กัมมการก (๓) กริยาคุมพากย์ (กริยาเหตุกัตตุวาจก) และ (๔) บทขยายกริยาคุมพากย์ (กมั มการก) ถา้ ในประโยคเหตกุ ตั ตุวาจกมีองค์ประกอบมากกว่า ๔ องค์ประกอบ ใหป้ ระยกุ ต์ใชห้ ลกั การ แปลประโยคภาษาบาลี ๙ ประการ (หรอื หลักการแปลประโยคภาษาบาลที ว่ั ไป) ๖๖

แบบฝึกหัดที่ ๔.๕ (การแปลประโยคเหตุกัตตุวาจก) ให้แปลประโยคต่อไปนเ้ี ป็นไทยโดยพยัญชนะ ๑. สามิโก สูท โอทน ปาเจติ. ๒. อาวโุ ส อิม เตมาส กตหี ิ อิรยิ าปเถหิ วีตินาเมสฺสถ. (๑/๘) ๓. มาตา ธีตร สปิ ฺปํ สิกฺขาเปต.ิ ๔. อมโฺ ภ กมุ ภฺ การ มา ม นาสยิ. (๒/๑๘) ๕. เอต (ปณณฺ าการ) นวิ ตฺเตหิ.(๒/๒๓) ๖. เต ชนา (วจน) อธวิ าสยสึ ุ. ๗. เต (มาตาปติ โร) กลฺยาเณ ปุตฺเต นิวาเสนตฺ ิ. ๘. กึ (อมฺหาก) สขุ อปุ ปฺ าเทสสฺ ติ. ๙. เต (ภาตโร) ยาวตายกุ ตวฺ า ตโต จตุ า เทวโลเก นพิ ฺพตตฺ ิตฺวา เอก พุทฺธนฺตร เขปยึสุ. ๖๗

คาศัพท์ทีค่ วรทราบ ที่ คาศัพท์ คาแปล ๑ เตมาส ยังหมวดแห่งเดือนสาม ๒ กตีหิ เทา่ ไร ๓ สิปฺปํ ซง่ึ ศิลปะ ๔ ยาวตายุก สิ้นกาลกาหนดเพียงไรแห่งอายุ ๖๘

๓.๕.๕ ประโยคเหตกุ มั มวาจก (Causal passive voice) ประโยคเหตุกัมมวาจก หมายถึง ประโยคที่มีกริยาศัพท์กล่าวถึงส่ิงท่ีเขาใช้ให้ทาหรือ กลา่ วถึงส่งิ ทถ่ี กู เขาใช้ให้ทาเป็นเหตุ ในประโยคเหตุกัมมวาจกนี้ มีองค์ประกอบสาคัญที่จะขาดไม่ได้ ๔ องค์ประกอบ ได้แก่ ๑) บทประธาน ๒) กรณการก ๓) กัมมการก และ ๔) กรยิ าคมุ พากย์ (กรยิ าเหตุกัมมวาจก) และมีลาดับ การแปล ๔ ลาดบั ดงั แสดงในตารางท่ี ๓.๒๗ ตารางท่ี ๓.๒๗ ลาดบั การแปลประโยคเหตกุ มั มวาจก องค์ประกอบของประโยคเหตุกมั มวาจก ลาดับการแปล ๑. บทประธาน แปลลาดับที่ ๑ ๒. กรณการก (ตตยิ าวภิ ัตติ) แปลลาดบั ท่ี ๒ ๓. กมั มการก (ทุตยิ าวิภัตติ) แปลลาดับท่ี ๓ ๔. กรยิ าคมุ พากย์ (กรยิ าเหตุกัมมวาจก) แปลลาดับที่ ๔ จากตารางท่ี ๓.๒๗ จะเห็นว่า ในประโยคเหตุกัมมวาจก มีองค์ประกอบอยู่ ๔ องค์ประกอบ ได้แก่ บทประธาน กรณการก กัมมการก และกริยาคุมพากย์ เวลาแปลก็ให้แปลบท ประธานเป็นลาดับแรก จากนน้ั จึงแปลกรณการกเป็นลาดับที่ ๒ แปลกัมมการกเปน็ ลาดับที่ ๓ และแปล กริยาคมุ พากยเ์ ป็นลาดบั ท่ี ๔ ซึ่งเปน็ ลาดับสุดท้าย ดูประโยคตัวอย่าง ดงั แสดงในตารางที่ ๓.๒๘ ตารางท่ี ๓.๒๘ ประโยคเหตกุ มั มวาจก ที่ ประโยคเหตกุ ัมมวาจก แปลโดยพยญั ชนะ ๑ อาหาโร มาตรา ปุตฺต ภุญชฺ าปยิ เต. อ. อาหาร อันมารดา ยงั บตุ ร (๑) (๒) (๓) (๔) ให้บริโภคอยู่ ๒ สามเิ กน สเู ทน โอทโน ปาจาปิยเต. อ. ข้าว อนั นาย ยังพ่อครัว (๒) (๓) (๑) (๔) ให้หงุ อยู่ จากตารางที่ ๓.๒๘ จะเห็นว่า ในประโยคเหตุกัมมวาจกท้ังสองประโยคในตารางข้างต้น น้ี มีองค์ประกอบ ๔ องค์ประกอบ และมีการวางตาแหน่งขององค์ประกอบต่างกัน แต่เวลาแปลก็ใช้ หลักการแปลตามลาดับเหมือนกัน โดยในประโยคทั้งสองน้ี แปลบทประธาน (อาหาโร, โอทโน) เป็น ๖๙

ลาดบั ที่ ๑ แปลกรณการก (มาตรา, สามเิ กน) เป็นลาดบั ที่ ๒ แปลกมั มการก (ปตุ ตฺ , สเู ทน) เปน็ ลาดับที่ ๓ และแปลกรยิ าคมุ พากย์ (ภญุ ชฺ าปยิ เต, ปาจาปิยเต) เป็นลาดบั ที่ ๔ ซึง่ เป็นลาดบั สุดทา้ ย นอกจากน้ี จะเห็นว่า บทประธานในประโยคเหตุกัมมวาจก หมายถึง ส่ิงที่ถูกเขาใช้ให้ อีกคนหน่ึงทา เป็นคานามในรูปกัตตุการก (ปฐมาวิภัตติ) ใช้คาแปลของการกว่า “อันว่า…” กรณการก หมายถึง ผู้ใช้ เป็นคานามในรูปตติยาวิภัตติ ใช้คาแปลว่า “อัน…” กัมมการก หมายถึง ผู้รับใช้ เป็น คานามในรูปทุติยาวิภัตติ (บางครั้ง อาจเป็นคานามในรูปตติยาวิภัตติ กรณการก อย่างเช่น สูเทน ใน ประโยคตวั อยา่ งท่ีสอง ก็ได้) ใชค้ าแปลวา่ “ยัง…” เสมอไป สว่ นกริยาคุมพากย์ ใหใ้ ชค้ าแปลว่า “ให…้ .” ในประโยคเหตุกัมมวาจกน้ี ถ้ามีบทขยายนอกจากบทที่เป็นองค์ประกอบท้ัง ๔ องคป์ ระกอบดงั กล่าวแลว้ ก็จะมีลาดับการแปลเพม่ิ ขึ้น และเวลาแปลก็ให้ถอื หลักการแปลประโยคภาษา บาลี ๙ ประการ (หรือ หลักการแปลประโยคภาษาบาลีทั่วไป) ดูประโยคตัวอย่าง ดังแสดงในตารางท่ี ๓.๒๙ ตารางท่ี ๓.๒๙ ประโยคเหตุกัมมวาจกที่มีองคป์ ระกอบมากกวา่ ๔ องค์ประกอบ ประโยคเหตุกมั มวาจก กสุ เลน อาจริเยน สิสฺส สุนฺทร สิปปฺ ํ สกิ ฺขาปิยเต. (๔) (๓) (๕) (๒) (๑) (๖) แปลโดยพยัญชนะ อ. ศลิ ปะ อันดี อนั อาจารย์ ผู้ฉลาด ยงั ศษิ ย์ ให้ศกึ ษาอยู่ จากตารางที่ ๓.๒๙ จะเห็นว่า ในประโยคเหตุกัมมวาจกนี้ มีองค์ประกอบมากกว่า ๔ องค์ประกอบ และประยุกต์ใช้หลักการแปลประโยคภาษาบาลี ๙ ประการ (หรือ หลักการแปลประโยค ภาษาบาลีทว่ั ไป) กล่าวโดยสรุป การแปลประโยคเหตุกัมมวาจก มีหลักการแปลตามลาดับ คือ (๑) บท ประธาน (๒) กรณการก (ตตยิ าวภิ ัตติ) (๓) กมั มการก (ทตุ ิยาวิภัตต)ิ และ (๔) กรยิ าคมุ พากย์ (กริยาเหตุ กัมมวาจก) ถ้าในประโยคเหตุกัมมวาจกมีองคป์ ระกอบมากกว่า ๔ องคป์ ระกอบ ใหป้ ระยุกต์ใชห้ ลักการ แปลประโยคภาษาบาลี ๙ ประการ (หรือ หลักการแปลประโยคภาษาบาลีทัว่ ไป) ๗๐

แบบฝึกหัดท่ี ๓.๖ (การแปลประโยคเหตกุ ัมมวาจก) ใหแ้ ปลประโยคต่อไปนเ้ี ปน็ ไทยโดยพยัญชนะ ๑. สามิเกน สเู ทน โอทโน ปาจาปยิ เต. ๒. กสุ เลน อาจริเยน สิสสฺ สนุ ฺทร สปิ ฺปํ สกิ ขฺ าปยิ เต. ๓. ภทฺเท ทสสุ กสิเณสุ ปรกิ มฺม กตฺวา ฌาน นิพฺพตฺเตตพฺพ. (๔/๑๐๓) ๔. อาหาโร มาตรา ปุตฺต ภญุ ชฺ าปยิ เต. ๕. เตนาปิ (สมเณน) เม (นมิ นฺตน) อธวิ าสติ . ๗๑

คาศัพทท์ ค่ี วรทราบ ที่ คาศพั ท์ คาแปล ท่ี คาศพั ท์ คาแปล ๑ สามิเกน อันดี ๒ กุสเลน อนั นาย ๔ สุนฺทร ในกสิณ ท. ๓ สิสสฺ ผฉู้ ลาด ๕ กสิเณสุ ยงั ศิษย์ ๗๒

๓.๖ สรุปทา้ ยบท ประโยคและวาจกท่ีได้นาเสนอในบทที่ ๓ น้ี มีทั้งหมด ๔ ประเด็น ซ่ึงแต่ละประเด็นมี สาระสาคญั อาจสรุปได้ ดังน้ี ๓.๖.๑ ความหมายของประโยค: คาว่า “ประโยค” หมายถึง กลุ่มคา ซึ่งนามาประกอบ เข้าด้วยกันตามระเบียบของแต่ละภาษา เพื่อแสดงข้อความอย่างใดอย่างหน่ึง ที่สามารถทาให้ผู้อื่นหรือ ผู้ฟังเข้าใจเน้ือความได้ชัดเจนในภาษานัน้ ๆ ดังน้ัน ประโยคในภาษาบาลี จึงหมายถึง ข้อความที่เป็นรปู ประโยควลี ซง่ึ อ่านหรอื ฟงั เข้าใจได้ แต่ไมไ่ ด้ความเต็มที่ เรยี กว่า “ประโยคลงิ คตั ถะ” และข้อความท่ีเรา เรียกตามวาจกท้ัง ๕ ประเภท ได้แก่ ประโยคกัตตุวาจก ประโยคกัมมวาจก ประโยคภาววาจก ประโยค เหตุกตั ตุวาจก และประโยคเหตกุ ัมมวาจก ๓.๖.๒ หลกั การแปลประโยค: หลกั การแปลประโยคภาษาบาลีมีอยู่ ๙ ประการ โดยให้ผู้ แปลถือหลักวา่ จะตอ้ งแปลองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทป่ี รากฏในประโยคไปตามลาดับ ไดแ้ ก่ ๑) อาลปนะ ๒) นิบาตต้นข้อความ ๓) กาลสัตตมี (ถ้ามี) ๔) บทประธาน (กัตตุการก) ๕) บทที่เนื่องด้วยบทประธานหรือ บทขยายบทประธาน (ถ้ามี) ๖) กริยาในระหว่างและบทท่ีเนื่องด้วยกริยาในระหว่าง (ถ้ามี) ๗) ประโยค แทรก (ถ้ามี) ๘) กริยาคุมพากย์ (ถ้ามี) และ ๙) บทที่เนื่องด้วยกริยาคุมพากย์ หรือบทขยายกริยาคุม พากย์ (ถ้ามี) ๓.๖.๓ ความหมายของวาจก: คาว่า “วาจก” หมายถึง กริยาศัพท์ที่บ่งบอกถึงบท ประธานว่า ประธานของรปู ประโยค มลี กั ษณะอยา่ งไร เช่น ทาเอง ถูกเขาทา เป็นต้น ๓.๖.๔ หลักการแปลประโยคตามวาจก: ประโยคในภาษาบาลี จัดแบ่งตามวาจกได้ ๕ ประเภท โดยแตล่ ะประเภทมีหลักการแปลตามลาดบั ดังนี้ ๑) ประโยคกตั ตุวาจก ให้แปลตามลาดบั คือ (๑) บทประธาน (๒) บทขยายบทประธาน (ถ้ามี) (๓) กริยาคุมพากย์ (๔) กัมมการก และ (๕) บทขยาย กัมมการก (ถ้ามี) ๒) ประโยคกัมมวาจก ให้แปลตามลาดับ คือ (๑) บทประธาน (๒) บทขยายบท ประธาน (ถ้าม)ี (๓) กรณการก (ตตยิ าวภิ ตั ต)ิ (๔) บทขยายกรณการก (๕) กรยิ าคมุ พากย์ และ (๖) บทที่ เนื่องด้วยกริยาคุมพากย์ ๓) ประโยคภาววาจก ให้แปลตามลาดับ คือ (๑) กรณการก (ตติยวิภัตติ) (๒) บทขยายกรณการก (ถา้ ม)ี และ (๓) กรยิ าคมุ พากย์ (กริยาภาววาจก) ๔) ประโยคเหตกุ ัตตวุ าจก ใหแ้ ปล ตามลาดับ คือ (๑) บทประธาน (๒) กัมมการก (๓) กริยาคุมพากย์ (กริยาเหตุกัตตุวาจก) และ (๔) บท ขยายกริยาคุมพากย์ (กัมมการก) และ ๕) ประโยคเหตุกัมมวาจก ให้แปลตามลาดับ คือ (๑) บท ประธาน (๒) กรณการก (ตติยาวภิ ตั ต)ิ (๓) กัมมการก (ทตุ ยิ าวิภตั ต)ิ และ (๔) กริยาคุมพากย์ (กริยาเหตุ กมั มวาจก) ๗๓

บทท่ี อาลปนะ ๔ นบิ าตตน้ ขอ้ ความ และกาลสตั ตมี วัตถปุ ระสงค์ ๑. บอกความหมายของอาลปนะได้ ๒. อธบิ ายหลักการและวิธีการแปลอาลปนะได้ ๓. บอกความหมายและลักษณะของนบิ าตต้นข้อความได้ ๔. อธบิ ายหลกั การและวธิ ีการแปลนิบาตตน้ ข้อความได้ ๕. บอกลกั ษณะของคาศัพท์ท่เี ป็นกาลสตั ตมีได้ ๖. อธบิ ายหลักการและวิธีการแปลกาลสตั ตมไี ด้ ๗. แปลอาลปนะและนบิ าตต้นข้อความได้อย่างถูกต้อง ๔.๑ ความนา ในการแปลบาลีเป็นไทย หลังจากที่ผู้ศึกษาได้ศึกษาและฝึกแปลประโยคและวาจกในบทท่ี ๓ มาแล้ว จึงควรศึกษาและฝึกแปลเรื่องอาลปนะ นิบาตต้นข้อความ และกาลสัตตมี ว่ามีอยู่ในประโยค หรือไม่ ถ้ามีอาลปนะในประโยค ให้แปลอาลปนะเป็นลาดับแรก แปลนิบาตต้นข้อความเปน็ ลาดบั ทส่ี อง และแปลกาลสัตตมีเป็นลาดับที่สาม จากนั้นจึงแปลบทประธาน ดังน้ัน ในบทนี้ จะนาเสนอเนื้อหา สาระสาคัญทเ่ี กี่ยวกับอาลปนะ นิบาตตน้ ข้อความ และกาลสัตตมี ๘ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ๑) ความหมายของ อาลปนะ ๒) หลักการแปลอาลปนะ ๓) นามที่เป็นการกอ่ืน ๆ นอกจากอาลปนการก ๔) การกในรูป ประโยคลิงคัตถะ ๕) นิบาตต้นข้อความ ๖) หลักการแปลนิบาตต้นข้อความ ๗) กาลสัตตมี และ ๘) หลักการแปลกาลสัตตมี โดยมรี ายละเอยี ด ดงั ต่อไปนี้ ๗๔

๔.๒ ความหมายของอาลปนะ อาลปนะ หมายถึง คาทักทาย หรือคาเรียกบุคคลตามฐานะและชั้นของบุคคล อาลปนะใน ภาษาบาลี มอี ยู่ ๒ ประเภท คือ ๑) อาลปนาม และ ๒) อาลปนนิบาต โดยอาจอธบิ ายได้ ดังน้ี ๔.๒.๑ อาลปนนาม หมายถึง นามศพั ท์ท่ปี ระกอบด้วย สิ โย อาลปนวิภัตติ หรือนามศพั ท์ท่ี เป็นรปู อาลปนการก ใช้ทกั ทายโดยออกชอ่ื ท่เี ปน็ สาธารณนามบา้ ง อสาธารณนามบ้าง เชน่ ๑) สาธารณนาม เสฏฺ ฐิ = ดกู ่อนเศรษฐี ปุรสิ = ดกู อ่ นบรุ ษุ ภกิ ขฺ เว = ดกู อ่ นภิกษุ ท. ตาต = ข้าแตพ่ อ่ , ดกู อ่ นพอ่ , แน่ะพอ่ สามิ = ข้าแต่นาย ๒) อสาธารณนาม สารีปุตตฺ = ดกู อ่ นสารบี ตุ ร โมคคฺ ลลฺ าน = ดูกอ่ นโมคคลั ลานะ อานนฺท = ดกู ่อนอานนท์ ๔.๒.๒ อาลปนนบิ าต หมายถงึ นบิ าตท่ใี ช้สาหรบั ทกั ทายหรือเรียกบุคคลตามฐานะและช้ัน จดั เป็นอัพยยศัพท์ คือ คงรปู อยอู่ ย่างเดิม โดยไมเ่ ปล่ียนแปลงด้วยการแจกวภิ ตั ติ มีท้งั หมด ๑๐ ตวั ดังน้ี ๑) ยคฺเฆ = ขอเดชะ (ใชส้ าหรบั เรยี กคนชั้นสงู ) ๒) ภนฺเต = ข้าแตท่ า่ นผ้เู จรญิ (เป็นคาทีค่ ฤหัสถห์ รือบรรพชิตผนู้ ้อย ๓) ภทนฺเต เรยี กบรรพชติ ผใู้ หญ่) ๔) ภเณ = ขา้ แตท่ ่านผเู้ จรญิ (ใช้เหมอื น ภนเฺ ต) ๕) อมฺโภ = แน่ะพนาย (ใชเ้ รียกคนผดู้ ีซงึ่ อยูใ่ ตบ้ งั คบั ของตน) ๖) อาวโุ ส = แน่ะผู้เจรญิ (เป็นคาเรยี กผู้ชายด้วยวาจาอ่อนหวาน) = ดูกอ่ นผู้มอี ายุ (เปน็ คาท่พี ระใชเ้ รยี กคฤหสั ถ์ หรือพระ ๗) เร ๘) อเร ผู้ใหญ่ใชเ้ รียกพระผู้นอ้ ย) ๙) เห = เว้ย/โว้ย (เปน็ คาใชเ้ รยี กคนเลวหรอื คนไม่ดี) ๑๐) เช = เวย้ /โว้ย (ใชเ้ หมอื นกับ เร) = เฮ้ย (ใช้เหมือนกบั เร) = แน่ะแม่ (เปน็ คาใชเ้ รยี กสาวใช้) ๗๕

กล่าวโดยสรุป คาว่า “อาลปนะ” หมายถึง คาทักทาย หรือคาเรียกบุคคลตามฐานะและชั้น ของบคุ คล อาลปนะในภาษาบาลี มอี ยู่ ๒ ประเภท คือ ๑) อาลปนาม และ ๒) อาลปนนบิ าต ๔.๓ หลกั การแปลอาลปนะ ตามหลักการแปลประโยคภาษาบาลี เมือ่ มอี าลปนะในประโยค ให้แปลอาลปนะลาดบั ท่ี ๑ ถ้า เปน็ อาลปนนามให้ออกสาเนยี งแปลตามฐานะและช้นั ของบุคคลว่า “แนะ่ /ดกู อ่ น/ขา้ แต่…” ดปู ระโยคตวั อยา่ ง สามิ เอโก ปุตโฺ ต ชาโต. (๒/๗๕) แปลโดยพยัญชนะ ขา้ แต่นาย อ. บตุ ร คนหน่ึง เกดิ แลว้ (อห) ธมมฺ โว ภิกขฺ เว เทเสสฺสามิ. แปลโดยพยญั ชนะ ดูกอ่ นภกิ ษุ ท. (อ. เรา) จักแสดง ซง่ึ ธรรม แก่เธอ ท. ตาต (ตวฺ ) สกเฏสุ อปปฺ มตฺโต โหหิ. (๑/๖) แปลโดยพยญั ชนะ แน่ะพ่อ (อ. เจ้า) จงเปน็ ผ้ไู ม่ประมาทแลว้ ในเกวียน ท. จงเปน็ แต่ถ้าเป็นอาลปนนิบาต ก็ให้ออกสาเนียงการแปลตามฐานะและช้ันของบุคคล เช่น ออก สาเนยี งการแปลว่า “ขอเดชะ/ข้าแตท่ า่ นผู้เจรญิ /แน่ะพนาย...” เปน็ ตน้ ดูประโยคตวั อย่าง กนิฏฺ ภาตา เม อตฺถิ ภนฺเต. (๑/๖) แปลโดยพยัญชนะ ขา้ แตพ่ ระองค์ผูเ้ จรญิ อ. น้องชายผนู้ อ้ ยทส่ี ดุ ของข้าพระองค์ มีอยู่ (ตวฺ ) ยาหิ อาวโุ ส. แปลโดยพยัญชนะ ดูก่อนทา่ นผูม้ อี ายุ อ. ทา่ น จงไป ๗๖

อย่างไรก็ตาม ในประโยคภาษาบาลี ถ้าอาลปนะทั้งสองคืออาลปนนามและอาลปนนิบาตอยู่ ในประโยคเดียวกัน ผู้ศึกษาจะพบว่า อาลปนนิบาตนิยมวางไว้หน้าอาลปนนามเสมอไป และในเวลา แปลให้แปลอาลปนนามก่อน คือแปลเป็นลาดับที่ ๑ แล้วจึงแปลอาลปนนิบาตเป็นลาดับที่ ๒ (แปล เป็น วเิ สสนะวา่ “ผ/ู้ อัน...”) ดูประโยคตัวอยา่ ง (ตวฺ ) วเทหิ ตาว อาวุโส ปาลิต. (๑/๑๐) แปลโดยพยัญชนะ แนะ่ ปาลิตะ ผูม้ อี ายุ (อ. ทา่ น) จงกลา่ ว ก่อน. โภ โคตม (ตวฺ ) อธิวาเสหิ เม อชฺชตนาย ภตฺต สทธฺ ึ ภิกขฺ สุ งเฺ ฆน. (๑/๓๑) แปลโดยพยญั ชนะ ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ (อ. พระองค์) กับ ด้วยหมู่แห่งภิกษุ ยังภัตร ของข้าพระองค์ ขอจงให้อยูท่ ับ เพือ่ อนั จะมใี นวนั น้ี ขอ้ ควรจา ถา้ อาลปนนามมาคู่กับอาลปนนบิ าต ๔ ตัวนี้ คอื ยคฺเฆ (ขอเดชะ), เร/อเร (เวย้ /โว้ย) และ เห (เฮย้ ) ตวั ใดตวั หน่ึง เวลาแปลใหแ้ ปลอาลปนนบิ าตก่อนแล้วจงึ อาลปนนามทหี ลัง เชน่ ยคเฺ ฆ เทว (ตวฺ ) ชาเนยฺยาสิ. แปลโดยพยญั ชนะ ขอเดชะ ขา้ แต่พระองค์ผู้สมมติเทพ (อ. พระองค์) พงึ ทราบ อเร ขุชฺเช อติพหโลฏฺ กโปล เต มุข. (๒/๓๔) แปลโดยพยัญชนะ เว้ย แน่ะหญงิ คอ่ ม อ. ปาก ของเจา้ มีรมิ ฝีปากและกระพ้งุ แก้มอันหนายิ่ง นอกจากน้ี ถ้าผู้ศึกษาพบว่า ในประโยคใดมีอาลปนะท่ีสาเร็จมาจากบทสมาสหรือบทตัทธิต อยู่รวมกนั หลายบท บทใดวางอยหู่ นา้ ก็ให้แปลบทนั้นกอ่ น แลว้ จงึ แปลบทต่อไปตามลาดบั จนหมด เชน่ อนธฺ พาล อหริ ิก ตวฺ มยา สทธฺ ึ กเถตุ น ยุตฺตรูโป (อสิ). (๓/๑๒๙) แปลโดยพยญั ชนะ ดูก่อนท่านผู้อันธพาล ผู้ไม่มีความละอาย อ. ท่าน เป็นผู้ไม่ควรแล้วเพื่ออันกล่าวกับด้วย เรา (ย่อมเป็น) ๗๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook