Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2561รายงานความพึงพอใจ

2561รายงานความพึงพอใจ

Description: 2561รายงานความพึงพอใจ

Search

Read the Text Version

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 ตาราง 3.2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการติดตามการปฏบิ ตั ิงานของรัฐบาล การติดตามการปฏบิ ัตงิ านของรัฐบาล รอ้ ยละ รวม 100.0 12.5 ๏ ติดตามเป็นประจำ 67.2 ๏ ติดตามเปน็ บางครั้งบางคราว 20.3 ๏ ไม่ได้ตดิ ตาม 3.2.2 การทราบนโยบายของรฐั บาล เม่ือสอบถามเก่ียวกับการทราบนโยบายของรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) พบว่า นโยบายของรัฐบาลท่ีประชาชนทราบ มากกว่าร้อยละ 80.0 ข้ึนไป ได้แก่ การจดั การเรอื่ งเบยี้ ยงั ชพี ผสู้ งู อายุ คนพกิ าร (รอ้ ยละ 96.9) โครงการหลกั ประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ บัตรทอง/30 บาท รักษาทุกโรค (ร้อยละ 96.2) โครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (ร้อยละ 94.4) การควบคุมราคาสลากกินแบ่งรัฐบาล 80 บาท (ร้อยละ 93.0) การแก้ไขปัญหาสินค้าอุปโภค บริโภคราคาแพง (ร้อยละ 86.4) การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด อาวุธสงคราม มาเฟีย และผู้มีอิทธิพล (ร้อยละ 85.0) การปกป้องเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ (ร้อยละ 84.5) และ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ การปราบคอร์รัปชัน (ร้อยละ 80.7) ส่วนนโยบายของรัฐบาลที่ประชาชนทราบในช่วง ร้อยละ 60-80 ได้แก่ การดูแลเรื่องราคาพืชผลสำหรับเกษตรกร/มาตรการช่วยเหลือดูแลเกษตรกร (ร้อยละ 79.2) การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ (ร้อยละ 78.7) การรักษาความสงบภายใน ประเทศ (ร้อยละ 77.4) การสร้างสันติสุขและความปลอดภัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ร้อยละ 75.8) การจัดระเบียบต่างด้าวและการปราบปรามการค้ามนุษย์ (ร้อยละ 73.9) โครงการ รัดเข็มขัดนิรภัยทุกที่น่ัง รวมถึงมาตรการห้ามนั่งกระบะและแค็บ (ร้อยละ 72.6) มาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจในระดับฐานราก/การดำเนินการกองทุนหมู่บ้าน (ร้อยละ 71.8) การบริหาร จัดการพลังงานด้าน ราคาน้ำมัน แก๊ส (ร้อยละ 71.5) การแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติ น้ำท่วม ภัยแล้ง/การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาภัยแล้ง (ร้อยละ 70.2) การแก้ไขปัญหาโครงการรับจำนำ ข้าว (ร้อยละ 69.9) โครงการหนึ่งตำบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ OTOP (ร้อยละ 69.3) การแก้ไขปัญหา การบุกรุกท่ีดิน ป่าไม้ ทะเล/การปราบปรามขบวนการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและทวงคืน ผืนป่า (ร้อยละ 68.5) และการจัดระเบียบทางสังคม เช่น วินมอเตอร์ไซต์ ผู้ค้าตามชายหาด บ่อน สถานบันเทิง จัดระเบยี บทางเทา้ เปน็ ต้น (ร้อยละ 67.6) สำหรับนโยบายของรัฐบาลที่ประชาชนทราบในช่วง ร้อยละ 50-60 ได้แก่ การ ปฏิรูปการเมือง (ร้อยละ 58.6) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคม (ถนน-ราง-น้ำ- 38 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเชื่ อ มั่ นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 อากาศ) (ร้อยละ 57.5) โครงการไทยนิยม ยั่งยืน (ร้อยละ 56.8) การบริหารจัดการน้ำ และระบบชลประทาน (ร้อยละ 56.2) โครงการเงินอุดหนุนเพื่อเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด (ร้อยละ 55.4) โครงการเน็ตประชารัฐ โครงการยกระดับโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม (ร้อยละ 55.3) แนวนโยบายประชารัฐ (ร้อยละ 55.0) และนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (รอ้ ยละ 50.6) นโยบายของรัฐบาลท่ีประชาชนทราบต่ำกว่าร้อยละ 50 คือ โครงการ “ไทยเท่ ท่วั ไทย” (ร้อยละ 39.5) และการจัดทำแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (รอ้ ยละ 36.5) แผนภมู ิ 3.3 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการทราบนโยบายของรฐั บาล 5 อนั ดบั แรก 3.2.3 ความพึงพอใจตอ่ นโยบายของรฐั บาล จากการสำรวจประชาชนที่ทราบนโยบายของรัฐบาลนั้น พบว่านโยบายของ รัฐบาลที่ประชาชน ระบุว่าค่อนข้างพอใจถึงพอใจมาก มากกว่าร้อยละ 80.0 ข้ึนไป ได้แก่ การปกป้องเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ (ร้อยละ 97.4) นโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิ ทุกท่ี (ร้อยละ 94.1) โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า บัตรทอง/30 บาท รักษาทุกโรค (ร้อยละ 93.9) การจัดการเรื่องเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ คนพิการ (ร้อยละ 93.1) โครงการเงินอุดหนุน เพ่ือเล้ียงดูเด็กแรกเกิด (ร้อยละ 92.5) โครงการ “ไทยเท่ ท่ัวไทย” (ร้อยละ 88.2) การรักษา ความสงบภายในประเทศ และการจดั ระเบยี บตา่ งดา้ วและการปราบปราม การค้ามนุษย์ มีสัดส่วน ของความพึงพอใจเท่ากัน (ร้อยละ 86.9) การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด อาวุธสงคราม มาเฟีย และผู้มีอิทธิพล (ร้อยละ 85.4) การจัดระเบียบทางสังคม เช่น วินมอเตอร์ไซต์ ผู้ค้าตาม ชายหาด บอ่ น สถานบนั เทงิ จดั ระเบียบทางเทา้ เปน็ ตน้ (ร้อยละ 85.3) โครงการบัตรสวัสดกิ าร แห่งรัฐ (ร้อยละ 85.2) การแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดิน ป่าไม้ ทะเล/การปราบปรามขบวนการ 39 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ มั่นต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและทวงคืนผืนป่า (ร้อยละ 84.4) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้าน คมนาคม (ถนน-ราง-น้ำ-อากาศ) (ร้อยละ 83.2) การแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติ น้ำท่วม ภัยแล้ง/ การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาภัยแล้ง (ร้อยละ 83.1) แนวนโยบายประชารัฐ (ร้อยละ 83.0) โครงการไทยนิยม ย่ังยืน (ร้อยละ 82.5) โครงการหน่ึงตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ OTOP (ร้อยละ 82.0) มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในระดับฐานราก/การดำเนินการกองทุนหมู่บ้าน (ร้อยละ 81.4) และการบริหารจัดการน้ำและระบบชลประทาน (รอ้ ยละ 80.3) ส่วนนโยบายของรัฐบาลท่ีประชาชนระบุว่าค่อนข้างพอใจถึงพอใจมาก น้อยกว่า ร้อยละ 80.0 ได้แก่ การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ (ร้อยละ 79.7) โครงการ เน็ตประชารัฐ โครงการยกระดับโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม (ร้อยละ 77.7) การป้องกัน และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ การปราบคอร์รัปชัน (ร้อยละ 76.8) การควบคุมราคาสลากกินแบ่งรัฐบาล 8--0 บาท (ร้อยละ 74.9) การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ร้อยละ 73.2) การปฏิรูปการเมือง (ร้อยละ 70.1) การสร้างสันติสุขและความปลอดภัย ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ร้อยละ 67.3) การบริหารจัดการพลังงานด้านราคาน้ำมัน แก๊ส (ร้อยละ 60.0) การแก้ไขปัญหาโครงการรับจำนำข้าว (ร้อยละ 59.9) โครงการรัดเข็มขัดนิรภัย ทุกท่ีนั่ง (รวมถึงมาตรการห้ามน่ังกระบะและแค็บ) (ร้อยละ 57.0) การดูแลเร่ืองราคาพืชผล สำหรับเกษตรกร/มาตรการช่วยเหลือดูแลเกษตรกร (ร้อยละ 52.2) และการแก้ไขปัญหาสินค้า อุปโภค บริโภคราคาแพง (รอ้ ยละ 43.8) แผนภูมิ 3.4 รอ้ ยละของประชาชนท่ีทราบนโยบายของรัฐบาล จำแนกตามระดับความพงึ พอใจ ตอ่ นโยบายของรฐั บาล 5 อนั ดับแรก 40 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเชื่ อ มั่ นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 สำหรับรายละเอียดของประชาชนท่ีทราบนโยบายของรัฐบาล และ ความพงึ พอใจต่อนโยบายของรฐั บาลทไี่ ด้ดำเนินการตา่ งๆ ปรากฏตามตาราง 3.3 ตาราง 3.3 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการทราบนโยบายของรัฐบาล และ ความพึงพอใจตอ่ นโยบายที่ทราบในระดบั คอ่ นข้างพอใจถงึ พอใจมาก นโยบายของรัฐบาล ทราบนโยบาย ความพงึ พอใจ รัฐบาล ต่อนโยบายทีท่ ราบ การจัดการเร่อื งเบ้ยี ยงั ชพี ผู้สงู อายุ คนพกิ าร ในระดับค่อนข้าง โครงการหลักประกนั สุขภาพถว้ นหนา้ 96.9 1 พอใจถงึ พอใจมาก บัตรทอง/30 บาท รกั ษาทุกโรค 96.2 2 โครงการบตั รสวสั ดิการแหง่ รัฐ 93.1 3 การควบคมุ ราคาสลากกินแบง่ รฐั บาล 80 บาท 94.4 3 93.9 4 การแกไ้ ขปญั หาสนิ คา้ อุปโภค บรโิ ภคราคาแพง 93.0 4 การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด อาวุธสงคราม 86.4 5 85.2 มาเฟยี และผ้มู อี ิทธพิ ล 85.0 74.9 การปกปอ้ งเชิดชสู ถาบนั พระมหากษัตริย์ 43.8 การป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตและ 84.5 85.4 ประพฤติมชิ อบในภาครัฐ การปราบคอรร์ ปั ชนั 80.7 การดแู ลเรอ่ื งราคาพชื ผลสำหรบั เกษตรกร/ 97.4 1 มาตรการช่วยเหลอื ดแู ลเกษตรกร 79.2 76.8 การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ การรักษาความสงบภายในประเทศ 78.7 52.2 การสร้างสนั ติสขุ และความปลอดภัยใน 77.4 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 75.8 79.7 การจดั ระเบียบต่างด้าวและการปราบปราม 86.9 การคา้ มนุษย์ 73.9 67.3 โครงการรัดเข็มขดั นิรภยั ทกุ ที่น่งั รวมถึงมาตรการ หา้ มนง่ั กระบะและแค็บ 72.6 86.9 มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในระดับฐานราก/ การดำเนินการกองทนุ หมบู่ ้าน 71.8 57.0 การบรหิ ารจัดการพลังงานดา้ น ราคานำ้ มนั แกส๊ 71.5 81.4 60.0 41 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค วา มเ ช่ือ มั่นต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 นโยบายของรฐั บาล ทราบนโยบาย ความพงึ พอใจ รัฐบาล ต่อนโยบายทท่ี ราบ การแกไ้ ขปญั หาภัยธรรมชาติ นำ้ ทว่ ม ภยั แลง้ / 70.2 ในระดบั ค่อนข้าง การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาภัยแล้ง พอใจถงึ พอใจมาก การแกไ้ ขปญั หาโครงการรับจำนำขา้ ว โครงการหนึ่งตำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ OTOP 83.1 การแกไ้ ขปัญหาการบุกรกุ ทด่ี นิ ป่าไม้ ทะเล/ การปราบปรามขบวนการทำลายทรพั ยากรธรรมชาติ 69.9 59.9 และทวงคนื ผนื ป่า 69.3 82.0 การจดั ระเบียบทางสังคม เชน่ วินมอเตอร์ไซต์ 68.5 84.4 ผูค้ า้ ตามชายหาด บ่อน สถานบันเทิง จัดระเบยี บทางเทา้ เป็นตน้ 67.6 85.3 การปฏิรปู การเมอื ง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดา้ นคมนาคม 58.6 70.1 (ถนน-ราง-นำ้ อากาศ) 57.5 83.2 โครงการไทยนยิ ม ย่งั ยนื การบรหิ ารจัดการนำ้ และระบบชลประทาน 56.8 82.5 โครงการเงินอุดหนนุ เพ่อื เล้ียงดเู ด็กแรกเกดิ 56.2 80.3 โครงการเน็ตประชารัฐ 55.4 92.5 5 โครงการยกระดบั โครงสร้างพ้ืนฐานโทรคมนาคม 55.3 77.7 แนวนโยบายประชารฐั นโยบายเจ็บป่วยฉกุ เฉินวิกฤต มีสิทธิทุกท่ี 55.0 83.0 โครงการ “ไทยเท่ ทว่ั ไทย” 50.6 94.1 2 การจดั ทำแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี 39.5 88.2 36.5 73.2 3.2.4 ความคิดเห็นเก่ียวกับการแก้ไขปัญหาของรัฐบาลในด้านสังคมและ ดา้ นเศรษฐกิจ จากการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับการแก้ไขปัญหาของ รัฐบาลในด้านสังคม พบว่าประชาชนร้อยละ 17.6 เห็นว่าแก้ไขได้เป็นอย่างมาก ร้อยละ 61.1 เห็นว่าแก้ไขได้บ้าง ร้อยละ 19.3 เห็นว่าแก้ไขได้เพียงเล็กน้อย และร้อยละ 2.0 เห็นว่า ไม่สามารถแก้ไขไดเ้ ลย 42 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเชื่ อ มั่ นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาของรัฐบาลในด้านเศรษฐกิจ พบว่าประชาชน ร้อยละ 9.1 เห็นว่าแก้ไขได้เป็นอย่างมาก ร้อยละ 55.8 เห็นว่าแก้ไขได้บ้าง ร้อยละ 28.8 เหน็ ว่าแก้ไขไดเ้ พียงเลก็ น้อย และร้อยละ 6.3 เหน็ วา่ ไมส่ ามารถแก้ไขได้เลย แผนภมู ิ 3.5 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกบั การแก้ไขปญั หา ของรฐั บาล ในดา้ นสังคมและดา้ นเศรษฐกิจ 3.3 ความเชอ่ื มั่นตอ่ การทำงานของบคุ คล/คณะบคุ คล/สถาบนั /หนว่ ยงานต่างๆ การทำงานของบุคคล/คณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ที่ประชาชนสูงกว่าร้อยละ 80 ระบุว่าค่อนข้างเช่ือม่ันถึงเชื่อมั่นมาก ได้แก่ แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ (ร้อยละ 89.8) และ แพทย์ในโรงพยาบาลของเอกชน (ร้อยละ 88.3) สำหรับการทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ท่ีประชาชนในช่วง ร้อยละ 50-80 ระบุว่าค่อนข้างเช่ือม่ันถึงเชื่อม่ันมาก ได้แก่ ทหาร (ร้อยละ 79.0) นายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) (ร้อยละ 77.7) โทรทัศน์ (ร้อยละ 76.7) ข้าราชการพลเรือน (ร้อยละ 76.6) คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (ร้อยละ 74.2) ผู้ว่าราชการจังหวัดคนปัจจุบัน (ร้อยละ 71.9) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อบจ./เทศบาล/อบต./สำนักงานเขต) (ร้อยละ 68.5) เจ้าหน้าท่ีท่ีดิน (ร้อยละ 68.1) สมาชิกสภาท้องถิ่น(ส.อบจ./สท./ส.อบต./สก./สข.) (ร้อยละ 66.5) หนังสือพิมพ์ (ร้อยละ 66.3) รัฐบาล/คณะรัฐมนตรี (ร้อยละ 66.2) ตำรวจ (ร้อยละ 65.8) วิทยุกระจายเสียงทั่วไป (ร้อยละ 62.6) เจ้าหน้าท่ีศุลกากร (ร้อยละ 62.4) วิทยุชุมชน (ร้อยละ 59.4) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) (ร้อยละ 53.4) สภาขับเคลือ่ นการปฏิรูปประเทศ (สปท.) (รอ้ ยละ 52.0) และสภาองคก์ รชมุ ชน (รอ้ ยละ 50.1) 43 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ มั่นต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 ส่วนการทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ที่ประชาชนน้อยกว่าร้อยละ 50 ระบุว่าค่อนข้างเช่ือม่ันถึงเช่ือม่ันมาก ได้แก่ ทุกพรรคการเมือง (ไม่เจาะจงพรรคใดพรรคหนึ่ง) (ร้อยละ 42.5) องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) (ร้อยละ 40.7) พรรคเพื่อไทย (ร้อยละ 39.4) และพรรคประชาธปิ ัตย์ (ร้อยละ 37.6) แผนภูมิ 3.6 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามระดบั ความเชอื่ มัน่ ตอ่ การทำงานของ บุคคล/คณะบคุ คล/สถาบัน/หนว่ ยงานต่างๆ 5 อนั ดบั แรก แพทย์ แพทย์ ทหาร นายกรัฐมนตรี โทรทศั น์ ในโรงพยาบาล ในโรงพยาบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั โอชา) ของรฐั ของเอกชน สำหรับรายละเอียดของประชาชนท่ีมีความเชื่อมั่นต่อการทำงานของบุคคล/คณะบุคคล/ สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ปรากฏตามตาราง 3.4 44 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเชื่ อ มั่ นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 ตาราง 3.4 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเช่ือม่ัน ต่อการทำงานของบุคคล/คณะบคุ คล/สถาบนั /หน่วยงานต่างๆ ระดบั ความเชอ่ื มน่ั บคุ คล/คณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานตา่ งๆ รวม เชื่อมัน่ คอ่ นขา้ ง ไมค่ ่อย ไม่ ไม่มี ไม่รูจ้ กั มาก เช่ือม่นั เช่ือมน่ั เช่อื มนั่ คคดิ วเาหมน็ แพทยใ์ นโรงพยาบาลของรัฐ แพทย์ในโรงพยาบาลของเอกชน 100.0 30.5 59.3 6.2 1.0 2.8 0.2 ทหาร 89.8 นายกรฐั มนตรี (พลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา) โทรทัศน์ 100.0 30.2 58.1 5.1 0.6 5.4 0.6 ข้าราชการพลเรือน 88.3 คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผูว้ ่าราชการจงั หวดั คนปจั จบุ นั 100.0 17.2 61.8 11.6 2.7 6.4 0.3 องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน 79.0 (อบจ./เทศบาล/อบต./สำนักงานเขต) เจ้าหน้าทท่ี ่ดี ิน 100.0 19.1 58.6 13.2 2.8 6.0 0.3 สมาชกิ สภาท้องถ่นิ (ส.อบจ./สท./ส.อบต./สก./สข.) 77.7 หนังสอื พิมพ์ 100.0 13.6 63.1 13.9 1.8 7.1 0.5 รัฐบาล/คณะรฐั มนตรี ตำรวจ 76.7 วิทยกุ ระจายเสยี งทวั่ ไป 100.0 12.5 64.1 12.2 1.9 8.0 1.3 เจ้าหน้าท่ีศลุ กากร วิทยุชมุ ชน 76.6 100.0 15.7 58.5 14.5 3.0 7.2 1.1 74.2 100.0 15.3 56.6 9.3 2.5 11.3 5.0 71.9 100.0 9.8 58.7 18.1 4.1 8.6 0.7 68.5 100.0 10.2 57.9 15.3 3.0 12.3 1.3 68.1 100.0 9.3 57.2 18.9 4.1 9.3 1.2 66.5 100.0 10.3 56.0 18.4 2.8 11.7 0.8 66.3 100.0 11.6 54.6 20.8 4.0 7.9 1.1 66.2 100.0 10.8 55.0 21.9 5.4 6.6 0.3 65.8 100.0 8.6 54.0 17.4 2.7 15.7 1.6 62.6 100.0 9.4 53.0 14.3 2.8 15.2 5.3 62.4 100.0 8.3 51.1 19.0 3.4 16.3 1.9 59.4 45 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 บุคคล/คณะบคุ คล/สถาบนั /หน่วยงานต่างๆ รวม ระดบั ความเช่ือมน่ั คไวมาม่ มี ไม่รู้จกั คิดเห็น 14.8 สมาชกิ สภานิตบิ ัญญตั แิ ห่งชาติ (สนช.) 100.0 เชื่อมั่น คอ่ นขา้ ง ไม่ค่อย ไม่ 12.7 16.2 มาก เชือ่ มน่ั เชื่อมน่ั เชื่อมั่น 12.7 16.6 สภาขบั เคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศ (สปท.) 100.0 16.9 1.6 8.6 44.8 16.0 3.1 19.4 29.0 สภาองคก์ รชมุ ชน 100.0 53.4 15.5 1.6 21.5 1.6 ทุกพรรคการเมอื ง (ไมเ่ จาะจงพรรคใดพรรคหน่งึ ) 100.0 8.4 43.6 15.9 3.2 21.9 52.0 องคก์ รพฒั นาเอกชน (NGOs) 100.0 7.0 43.1 13.9 2.5 พรรคเพอ่ื ไทย 100.0 50.1 พรรคประชาธิปตั ย์ 100.0 5.3 37.2 27.8 8.7 42.5 6.2 34.5 11.9 2.9 40.7 5.5 33.9 27.1 10.4 39.4 4.6 33.0 29.3 9.6 37.6 3.4 ความเชอื่ ม่ันต่อการทำงานขององค์กรอิสระและองค์กรตามรฐั ธรรมนญู องค์กรอิสระและองค์กรตามรัฐธรรมนูญท่ีประชาชนค่อนข้างเชื่อม่ันถึงเชื่อมั่นมากต่อ การทำงานมากท่ีสุด คือ ศาลยุติธรรม (ร้อยละ 83.0) รองลงมาคือ ศาลรัฐธรรมนูญ (ร้อยละ 80.4) ศาลปกครอง (ร้อยละ 79.9) ผู้ตรวจการแผ่นดิน (ร้อยละ 69.6) คณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) (ร้อยละ 68.8) คณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) (ร้อยละ 66.4) องค์กรอัยการ (ร้อยละ 63.7) คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) (ร้อยละ 63.5) และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (รอ้ ยละ 60.6) 46 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเชื่ อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 แผนภมู ิ 3.7 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามระดบั ความเชือ่ ม่ันต่อการทำงานของ องคก์ รอิสระและองคก์ รตามรัฐธรรมนญู เชือ่ มัน่ มาก ค่อนขา้ งเช่อื มั่น ไมค่ อ่ ยเชือ่ ม่ัน ไม่เชื่อมน่ั ไมม่ คี วามคดิ เหน็ ไม่รู้จัก 3.5 ความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะทรี่ ฐั และทอ้ งถน่ิ จัดใหก้ บั ประชาชน 3.5.1 การบรกิ ารสาธารณะที่รฐั และทอ้ งถิน่ จัดให้กับประชาชน เมื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อบริการ สาธารณะท่ีรัฐและท้องถ่ินจัดให้ พบว่า ประชาชนร้อยละ 92.3 ระบุว่าค่อนข้างพอใจถึงพอใจ มากต่อการให้บริการไฟฟ้า ซ่ึงมีสัดส่วนสูงกว่าการให้บริการสาธารณะอื่น รองลงมาคือ โรงเรียน (ร้อยละ 89.9) ถนน (ร้อยละ 85.7) ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์ก่อนวัยเรียน (ร้อยละ 85.6) บริการ สาธารณสุขและศูนย์อนามัย (ร้อยละ 84.0) น้ำประปา (ร้อยละ 83.3) การจัดเก็บขยะมูลฝอย 47 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 (ร้อยละ 78.5) การดูแลคนชรา (ร้อยละ 77.4) การรักษาความปลอดภัยแก่ประชาชน (ร้อยละ 76.0) การดูแลคนพิการ (ร้อยละ 75.5) การจัดการจราจร การจัดการจราจรในท้องถ่ิน เช่น วางกรวยหน้าโรงเรียน เป็นต้น (ร้อยละ 72.3) สิ่งแวดล้อมในชุมชน (ป่า/น้ำ) (ร้อยละ 70.6) การศึกษาผู้ใหญ่ (ร้อยละ 68.6) การจัดการน้ำเสีย/ สิ่งโสโครก (ร้อยละ 67.9) การฝึกอาชีพ (ร้อยละ 58.5) ระบบขนส่งมวลชน (รถประจำทาง) (ร้อยละ 57.7) และอินเทอร์เน็ตชุมชน (ร้อยละ 43.4) แผนภูมิ 3.8 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามระดับความพงึ พอใจตอ่ การบริการสาธารณะ ทีร่ ฐั และท้องถน่ิ จัดให้ 5 อนั ดับแรก สำหรับรายละเอียดของประชาชนท่ีมีความพึงพอใจบริการสาธารณะที่รัฐและ ท้องถน่ิ จดั ให้ ปรากฏตามตาราง 3.5 48 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ มั่ นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 ตาราง 3.5 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะท่ีรัฐและ ท้องถิน่ จดั ให้ บรกิ ารสาธารณะที่รฐั และท้องถนิ่ จดั ให้ ระดบั ความพงึ พอใจ ไฟฟา้ โรงเรียน รวม พอใจมาก คพ่อนอขใจ้าง ไพมอ่คใอ่ จย ไมเพ่ ลอยใจ ไมค่มดิ คีเหวน็าม บยรังิกไามร่มนี ี้ ถนน ศูนย์เด็กเลก็ ศูนยก์ อ่ นวยั เรยี น 100.0 29.2 63.1 5.8 0.9 0.8 0.2 บรกิ ารสาธารณสขุ และศูนย์อนามัย น้ำประปา 92.3 การจดั เก็บขยะมูลฝอย การดูแลคนชรา 100.0 31.3 58.6 2.9 0.6 2.4 4.2 การรกั ษาความปลอดภัยแก่ประชาชน การดแู ลคนพกิ าร 89.9 ... การจัดการจราจร การจัดระเบียบการจราจร 100.0 26.5 59.2 10.8 2.7 0.8 ในทอ้ งถิน่ เชน่ วางกรวยหนา้ โรงเรียน เป็นตน้ สิง่ แวดล้อมในชมุ ชน (ป่า/น้ำ) 85.7 การศกึ ษาผูใ้ หญ่ การจดั การนำ้ เสยี /สิ่งโสโครก 100.0 27.3 58.3 4.2 0.5 3.5 6.2 การฝกึ อาชพี ระบบขนส่งมวลชน รถประจำทาง 85.6 อนิ เทอร์เน็ตชุมชน 100.0 21.0 63.0 8.3 1.6 3.3 2.8 หมายเหตุ : ...มคี ่าน้อยกว่า 0.05 84.0 100.0 23.0 60.3 11.5 3.0 1.1 1.1 83.3 100.0 19.6 58.9 10.3 2.1 1.9 7.2 78.5 100.0 20.2 57.2 9.7 1.8 4.6 6.5 77.4 100.0 15.4 60.6 12.8 2.1 4.4 4.7 76.0 100.0 19.5 56.0 10.5 1.9 5.4 6.7 75.5 100.0 13.2 59.1 12.2 2.3 5.6 7.6 72.3 100.0 14.2 56.4 11.6 2.4 5.7 9.7 70.6 100.0 16.6 52.0 7.7 1.1 8.8 13.8 68.6 2.2 4.3 12.8 100.0 13.8 54.1 12.8 67.9 100.0 12.5 46.0 11.7 1.9 10.5 17.4 58.5 4.0 7.0 16.0 100.0 9.8 47.9 15.3 57.7 100.0 9.5 33.9 11.9 3.5 12.1 29.1 43.4 49 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

เศรษฐกิจค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 ุคณภาพชีวิตและสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 สาธารณูปโภค 3.5.2 ความตอ้ งการใหม้ กี ารปฏริ ปู การบริการสาธารณะทีร่ ัฐและท้องถ่นิ จัดให้ การ ึศกษาสำหรับการบริการสาธารณะที่ประชาชนต้องการให้รัฐปฏิรูปในปัจจุบัน ความปลอดภัย ในชีวิตทรัพย์สินมากท่ีสุด คือ เศรษฐกิจ เช่น การมีงานทำ มีรายได้ เป็นต้น (ร้อยละ 83.3) รองลงมาคือ คุณภาพชีวิต เช่น ดูแลสุขภาพ สาธารณสุข กีฬา เป็นต้น (ร้อยละ 61.3) สาธารณูปโภค เช่น การจัดการถนน ไฟฟ้า ประปา เป็นต้น (ร้อยละ 45.3) การศึกษา (ร้อยละ 30.0) ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติทรัพย์สิน (ร้อยละ 25.9) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 7.2) สังคม ศิลปวัฒนธรรม (ร้อยละ 6.4) อ่ืนๆ เช่น หน้ีสิน ราคายาง เป็นต้น (ร้อยละ 0.1) และไม่ระบุ ัสงคม(ร้อยละ 0.3) ศิลปวัฒนธรรมแผนภูมิ 3.9 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการบรกิ ารสาธารณะทีต่ ้องการใหร้ ฐั ปฏริ ูป 1/ อื่นๆ เ ่ชน หนี้สิน ราคายาง เ ็ปน ้ตน 3.5.3 การติดต่อ/ใช้บริการกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและการมีส่วนร่วมกับ หน่วยงาน ไม่ระบุ การตดิ ตอ่ /ใชบ้ ริการกบั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน เม่ือสอบถามประชาชนเก่ียวกับการเคยติดต่อ/ใช้บริการกับองค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่น พบวา่ ประชาชนร้อยละ 41.3 ระบุว่าเคย ในขณะทร่ี ้อยละ 58.7 ระบุวา่ ไม่เคย สำหรับผู้ท่ีเคยติดต่อ/ใช้บริการฯ พบว่า มีความพึงพอใจมาก (ร้อยละ 23.6) ค่อนข้างพอใจ (ร้อยละ 71.4) ไม่ค่อยพอใจ (ร้อยละ 3.5) ไม่พอใจเลย (ร้อยละ 0.3) และไม่มี ความคิดเหน็ (ร้อยละ 1.2) 50 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเชื่ อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 การมีส่วนร่วมกับหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในการวางแผนการใหบ้ รกิ ารสาธารณะแกป่ ระชาชน เมื่อสอบถามประชาชนเก่ียวกับการเคยเข้าไปมีส่วนร่วมกับหน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการวางแผนการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชน พบว่า ประชาชนร้อยละ 27.8 ระบุวา่ เคย ในขณะท่รี ้อยละ 72.2 ระบวุ ่าไม่เคย สำหรับผู้ที่เคยเข้าไปมีส่วนร่วมฯ ระบุว่าได้เข้าร่วมในการประชุมหมู่บ้าน (ร้อยละ 93.2) การวางแผนพัฒนาท้องถ่ิน (ร้อยละ 26.6) เข้าร่วมกิจกรรมอื่นๆ เช่น โครงการ ไทยนิยมฯ เปน็ ตน้ (ร้อยละ 0.2) ตาราง 3.6 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยติดต่อ/ใช้บริการกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และการเคยมีส่วนร่วมกับหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ ในการวางแผนการใหบ้ รกิ ารสาธารณะแก่ประชาชน การเคยติดตอ่ /ใช้บริการและเคยมสี ว่ นร่วมกบั หน่วยงานฯ รอ้ ยละ การเคยตดิ ตอ่ /ใช้บริการกับองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น 100.0 41.3 > เคย 58.7 > ไม่เคย 100.0 ผู้ทเ่ี คย ระบคุ วามพงึ พอใจ ดงั นี้ 23.6 71.4 ๏ พอใจมาก 3.5 ๏ ค่อนขา้ งพอใจ 0.3 ๏ ไม่ค่อยพอใจ 1.2 ๏ ไม่พอใจเลย 100.0 ๏ ไมม่ ีความคดิ เหน็ 27.8 การเคยมสี ่วนรว่ มกบั หนว่ ยงานของรัฐหรอื องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ฯ 72.2 > เคย > ไม่เคย 93.2 ผู้ทีเ่ คย ระบกุ จิ กรรมที่เคยมสี ่วนรว่ มฯ 1/ ดังนี้ 26.6 ๏ การประชุมหม่บู ้าน 0.2 ๏ การวางแผนพฒั นาท้องถนิ่ 1.9 ๏ อนื่ ๆ เชน่ โครงการไทยนิยมฯ เป็นต้น ๏ ไมร่ ะบุ หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกวา่ 1 คำตอบ 51 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 3.5.4 การร้องเรียนเก่ียวกับการให้บริการของหน่วยงานราชการและ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ การรอ้ งเรียนเกีย่ วกับการใหบ้ ริการของหนว่ ยงานราชการ จากการสอบถามประชาชนเกี่ยวกับการเคยร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการ ของหน่วยงานราชการ พบว่า ประชาชนร้อยละ 0.7 ระบุว่าเคย ในขณะที่ประชาชนส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 99.3 ระบุว่าไมเ่ คย สำหรับผู้ท่ีเคยร้องเรียน ระบุว่าร้องเรียนด้วยวิธีบอกเล่าด้วยวาจามากที่สุด (ร้อยละ 38.1) รองลงมาคอื โทรศัพท์ (รอ้ ยละ 20.0) จดหมาย (รอ้ ยละ 19.6) โทรทศั น์ (ร้อยละ 16.0) อ่ืนๆ เช่น หนังสือพิมพ์, วิทยุ, Facebook, Line เป็นต้น (ร้อยละ 5.3) และไม่ระบุ (ร้อยละ 1.0) โดยผู้ท่ีเคยร้องเรียน ระบุว่าได้ร้องเรียนไปยังหน่วยงานน้ันๆ โดยตรง มากที่สุด (รอ้ ยละ 86.9) รองลงมาคอื สมาชกิ รฐั สภา (รอ้ ยละ 9.6) นายกรฐั มนตรี (รอ้ ยละ 5.9) และอนื่ ๆ เช่น อนิ เทอร์เน็ต เปน็ ต้น (รอ้ ยละ 1.3) นอกจากน้ี ผู้ที่เคยร้องเรียนร้อยละ 67.0 ระบุว่าได้รับการตอบรับ การร้องเรียน และไม่ได้รับการตอบรับร้อยละ 33.0 สำหรับผู้ที่ได้รับการตอบรับ ระบุว่ามีความ พึงพอใจมาก (ร้อยละ 29.6) ค่อนข้างพอใจ (ร้อยละ 57.7) ไม่ค่อยพอใจ (ร้อยละ 8.7) และ ไม่พอใจเลย (ร้อยละ 4.0) ตาราง 3.7 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยร้องเรียนเก่ียวกับการให้บริการของ หน่วยงานราชการ การเคยร้องเรยี นเก่ียวกบั การให้บรกิ ารฯ รอ้ ยละ รวม 100.0 0.7 > เคย 99.3 > ไม่เคย 100.0 ผูท้ ่เี คย ระบชุ ่องทางการร้องเรยี น ดังน้ี 38.1 20.0 ๏ บอกเลา่ ด้วยวาจา 19.6 ๏ โทรศพั ท์ 16.0 ๏ จดหมาย 5.3 ๏ โทรทัศน์ 1.0 ๏ อนื่ ๆ เช่น หนงั สอื พิมพ,์ วทิ ย,ุ Facebook, Line เปน็ ตน้ ๏ ไมร่ ะบุ 52 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเชื่ อ มั่ นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 การเคยร้องเรียนเก่ยี วกบั การให้บรกิ ารฯ ร้อยละ ผทู้ ีเ่ คย ระบุว่ารอ้ งเรยี นไปยงั 1/ ๏ หน่วยงานน้ันๆ โดยตรง 86.9 ๏ สมาชิกรัฐสภา 9.6 ๏ นายกรฐั มนตรี 5.9 ๏ อืน่ ๆ เชน่ อนิ เทอรเ์ น็ต เป็นต้น 1.3 ผู้ทีเ่ คยรอ้ งเรยี น ระบุผลของการตอบรบั การร้องเรียน ดังนี้ 100.0 > ได้รบั การตอบรับ 67.0 > ไม่ไดร้ บั การตอบรับ 33.0 ผทู้ ่ไี ด้รับการตอบรบั ระบคุ วามพึงพอใจ ดังนี้ 100.0 ๏ พอใจมาก 29.6 ๏ คอ่ นข้างพอใจ 57.7 ๏ ไม่ค่อยพอใจ 8.7 ๏ ไมพ่ อใจเลย 4.0 หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ การร้องเรียนเกีย่ วกบั การใหบ้ รกิ ารขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เม่ือสอบถามประชาชนเก่ียวกับการเคยร้องเรียนการให้บริการขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า ประชาชนร้อยละ 0.7 ระบุว่าเคย ในขณะที่ประชาชนส่วนใหญ่ร้อย ละ 99.3 ระบุวา่ ไมเ่ คย สำหรับผู้ที่เคยร้องเรียน ระบุว่าร้องเรียนด้วยวิธีบอกเล่าด้วยวาจามากท่ีสุด (รอ้ ยละ 50.4) รองลงมาคอื จดหมาย (รอ้ ยละ 19.1) โทรศพั ท์ (รอ้ ยละ 15.2) โทรทศั น์ (รอ้ ยละ 10.1) อน่ื ๆ เชน่ หนงั สือพมิ พ์ วทิ ยุ เป็นต้น (รอ้ ยละ 4.5) และไม่ระบุ (รอ้ ยละ 0.7) โดยผู้ที่เคยร้องเรียน ระบุว่าได้ร้องเรียนไปยังหน่วยงานนั้นๆ โดยตรง มากที่สุด (ร้อยละ 92.6) รองลงมาคือ สมาชิกรัฐสภา (ร้อยละ 6.9) นายกรัฐมนตรี (ร้อยละ 2.1) และอน่ื ๆ เชน่ ศูนย์ดำรงธรรม เป็นตน้ (รอ้ ยละ 0.8) นอกจากนี้ ผู้ท่ีเคยร้องเรียนร้อยละ 74.1 ระบุว่าได้รับการตอบรับ การร้องเรียน และไม่ได้รับการตอบรับร้อยละ 25.9 สำหรับผู้ท่ีได้รับการตอบรับ ระบุว่ามีความ พึงพอใจมาก (ร้อยละ 23.3) ค่อนข้างพอใจ (ร้อยละ 56.1) ไม่ค่อยพอใจ (ร้อยละ 18.8) และ ไมพ่ อใจเลย (ร้อยละ 1.8) 53 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ มั่นต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 ตาราง 3.8 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการ ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ การเคยรอ้ งเรียนเกยี่ วกับการใหบ้ ริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รอ้ ยละ รวม 100.0 0.7 > เคย 99.3 > ไม่เคย 100.0 ผ้ทู ่เี คยร้องเรยี น ระบุช่องทางการร้องเรยี น ดงั น้ี 50.4 19.1 ๏ บอกเล่าด้วยวาจา 15.2 ๏ จดหมาย 10.1 ๏ โทรศัพท์ 4.5 ๏ โทรทศั น์ 0.7 ๏ อืน่ ๆ เช่น หนังสือพมิ พ์ วิทยุ เป็นต้น ๏ ไม่ระบุ 92.6 ผทู้ ่ีเคยร้องเรยี น ระบุวา่ รอ้ งเรียนไปยัง 1/ 6.9 ๏ หนว่ ยงานนั้นๆ โดยตรง 2.1 ๏ สมาชกิ รัฐสภา 0.8 ๏ นายกรฐั มนตรี 100.0 ๏ อ่ืนๆ เช่น ศูนย์ดำรงธรรม เป็นตน้ 74.1 ผทู้ ่ีเคยร้องเรยี น ระบผุ ลของการตอบรบั ดงั นี้ 25.9 ๏ ไดร้ บั การตอบรบั 100.0 ๏ ไมไ่ ด้รับการตอบรับ 23.3 ผทู้ ่ีได้รบั การตอบรบั ระบุความพงึ พอใจ ดงั นี้ 56.1 ๏ พอใจมาก 18.8 ๏ คอ่ นข้างพอใจ 1.8 ๏ ไมค่ ่อยพอใจ ๏ ไม่พอใจเลย หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกวา่ 1 คำตอบ 54 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเชื่ อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 3.6 ความคิดเห็นและประสบการณเ์ กย่ี วกบั การคอร์รัปชนั การคอร์รัปชนั และการรบั สินบนในการปกครองระดบั ประเทศ สำหรับความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับการคอร์รัปชันและการรับสินบน ในการปกครองระดับประเทศ (นักการเมือง ผู้บริหารระดับสูงท่ีเป็นข้าราชการ และข้าราชการ ประจำ) ประชาชนร้อยละ 9.8 เห็นว่าแทบจะไม่มีใครเกี่ยวข้อง/ไม่มี ร้อยละ 50.1 เห็นว่า เจ้าหน้าที่บางคนคอร์รัปชัน ร้อยละ 15.2 เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีส่วนใหญ่คอร์รัปชัน ร้อยละ 4.4 เห็นวา่ เจ้าหน้าที่คอรร์ ปั ชันเกอื บทกุ คน/ทุกคน และ รอ้ ยละ 20.5 ไม่มีความคิดเห็น ตาราง 3.9 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการคอร์รัปชันและ การรับสินบนในการปกครองระดับประเทศ (นักการเมือง ผู้บริหารระดับสูง ทีเ่ ป็นขา้ ราชการ และขา้ ราชการประจำ) ความคิดเหน็ เกี่ยวกบั การคอรร์ ัปชนั และการรับสินบน ร้อยละ ในการปกครองระดับประเทศ 100.0 รวม 9.8 ๏ แทบจะไมม่ ใี ครเกย่ี วขอ้ ง/ไมม่ ี 50.1 ๏ เจ้าหน้าท่บี างคนคอร์รัปชนั 15.2 ๏ เจ้าหนา้ ทสี่ ่วนใหญ่คอรร์ ัปชนั 4.4 ๏ คอรร์ ปั ชันเกอื บทุกคน/ทุกคน 20.5 ๏ ไม่มีความคดิ เห็น การคอร์รัปชันและการรับสินบนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จ า ก ก า ร ส อ บ ถ า ม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ค อ ร์ รั ป ชั น แ ล ะ การรับสินบนในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (นายกฯ สมาชิกสภาท้องถ่ิน) พบว่า ประชาชน ร้อยละ 17.3 เห็นว่าแทบจะไม่มีใครเกี่ยวข้อง/ไม่มี ร้อยละ 46.7 เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีบางคน คอร์รัปชัน ร้อยละ 9.4 เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีส่วนใหญ่คอร์รัปชัน ร้อยละ 2.8 เห็นว่าเจ้าหน้าท่ี คอร์รัปชนั เกอื บทุกคน/ทกุ คน และรอ้ ยละ 23.8 ไมม่ คี วามคิดเห็น 55 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ช่ือ มั่นต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 ตาราง 3.10 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการคอร์รัปชันและ การรบั สนิ บนในองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ (นายกฯ สมาชกิ สภาท้องถิน่ ) ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั การคอรร์ ัปชนั และการรบั สนิ บน รอ้ ยละ ในองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน 100.0 รวม 17.3 ๏ แทบจะไม่มีใครเก่ียวข้อง/ไม่มี 46.7 ๏ เจ้าหน้าที่บางคนคอรร์ ัปชนั 9.4 ๏ เจา้ หนา้ ท่สี ว่ นใหญค่ อรร์ ปั ชนั 2.8 ๏ คอรร์ ปั ชันเกอื บทุกคน/ทกุ คน 23.8 ๏ ไมม่ คี วามคิดเหน็ การพบเห็นการคอรร์ ัปชนั หรือการรบั สนิ บนของเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ เมื่อสอบถามประชาชนถึงการเคยพบเห็นการคอร์รัปชันหรือการรับสินบนของ เจา้ หนา้ ทีข่ องรฐั ระบุวา่ ประชาชนร้อยละ 27.6 ระบวุ ่าเคย ในขณะทรี่ อ้ ยละ 72.4 ระบวุ ่าไมเ่ คย สำหรับผู้ท่ีเคยพบเห็นร้อยละ 89.2 เห็นจากส่ือโทรทัศน์มากที่สุด รองลงมาคือ เคยได้ฟังจากคนอื่น (ร้อยละ 42.4) สมาชิกในครอบครัวหรือเพ่ือนท่ีเคยพบเห็นเล่าให้ฟัง (ร้อยละ 17.0) หนังสือพิมพ์ (ร้อยละ 9.9) พบเห็นด้วยตนเอง (ร้อยละ 7.7) วิทยุ (ร้อยละ 3.3) และอื่นๆ เช่น นิตยสาร/วารสาร, Facebook, Line เป็นต้น (ร้อยละ 0.8) 56 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ มั่ นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 ตาราง 3.11 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยพบเห็นการคอร์รัปชันหรือ การรับสินบนของเจ้าหน้าทขี่ องรฐั การเคยพบเหน็ การคอร์รัปชันหรอื การรบั สินบนของเจ้าหน้าท่รี ฐั ร้อยละ รวม 100.0 > เคย 27.6 > ไมเ่ คย 72.4 ผทู้ ี่เคยพบเห็นการคอร์รปั ชันฯ ระบแุ หล่งท่พี บเหน็ ฯ 1/ ดงั นี้ ๏ โทรทัศน์ 89.2 ๏ เคยได้ฟังจากคนอน่ื 42.4 ๏ สมาชกิ ในครอบครวั หรือเพอื่ นท่ีเคยพบเห็นเลา่ ให้ฟัง 17.0 ๏ หนังสอื พิมพ์ 9.9 ๏ พบเห็นด้วยตวั เอง 7.7 ๏ วิทยุ 3.3 ๏ อ่นื ๆ เชน่ นิตยสาร/วารสาร, Facebook, Line เป็นตน้ 0.8 หมายเหตุ : 1/ ตอบไดม้ ากกว่า 1 คำตอบ ความคิดเห็นของประชาชนต่อคำกล่าวท่ีว่า “บางคร้ังการคอร์รัปชันในรัฐบาล กม็ ีความจำเปน็ เพ่อื ใหง้ านสำเร็จลุลว่ งไปได”้ เม่ือสอบถามความคิดเห็นของประชาชนต่อคำกล่าวท่ีว่า “บางครั้งการคอร์รัปชัน ในรัฐบาลก็มีความจำเป็นเพ่ือให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้” พบว่า ประชาชนร้อยละ 1.7 ระบุว่า เห็นด้วยมากท่ีสุด ร้อยละ 7.8 ค่อนข้างเห็นด้วย ร้อยละ 21.7 ไม่ค่อยเห็นด้วย ร้อยละ 53.7 ไม่เห็นด้วยเลย และรอ้ ยละ 15.1 ไมม่ ีความคดิ เห็น ตาราง 3.12 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับคำกล่าวที่ว่า “บางครงั้ การคอรร์ ปั ชนั ในรฐั บาลกม็ คี วามจำเปน็ เพอ่ื ใหง้ านสำเรจ็ ลลุ ว่ งไปได”้ ความคิดเห็นเกีย่ วกับคำกลา่ วฯ รอ้ ยละ รวม 100.0 1.7 ๏ เหน็ ดว้ ยมากที่สุด 7.8 ๏ คอ่ นขา้ งเหน็ ดว้ ย 21.7 ๏ ไม่คอ่ ยเห็นด้วย 53.7 ๏ ไม่เห็นด้วยเลย 15.1 ๏ ไม่มคี วามคิดเห็น 57 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 ความคิดเหน็ เก่ยี วกับความไวว้ างใจในการอยู่ร่วมกนั ในสังคม ผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความไว้วางใจในการอยู่ร่วมกัน ในสังคม พบว่า ประชาชนร้อยละ 38.6 ระบุว่าส่วนใหญ่ไว้ใจได้ และร้อยละ 61.4 ระบุว่า ต้องระมัดระวังมาก ตาราง 3.13 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับความไว้วางใจ ในการอย่รู ่วมกันในสงั คม ความไวว้ างใจในการอย่รู ่วมกันในสงั คม รอ้ ยละ รวม 100.0 38.6 ๏ สว่ นใหญไ่ ว้ใจได้ 61.4 ๏ ตอ้ งระมดั ระวงั มาก การเป็นสมาชกิ กลมุ่ ชมรม และสมาคมตา่ งๆ ประชาชนร้อยละ 29.8 ระบุว่าเป็นสมาชิกกลุ่ม ชมรม และสมาคมต่างๆ ส่วนผู้ที่ระบุ ว่าไมเ่ ป็นสมาชิกมีรอ้ ยละ 70.2 สำหรับผู้ท่ีเป็นสมาชิกร้อยละ 55.5 ระบุว่าเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรมากท่ีสุด รองลงมา คือ กลุ่มแม่บ้าน (ร้อยละ 19.1) อาสาสมัคร (ร้อยละ 9.8) เศรษฐกิจ (ร้อยละ 8.3) ครู ผปู้ กครอง (ร้อยละ 7.4) เป็นต้น 58 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเชื่ อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 ตาราง 3.14 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเปน็ สมาชกิ กลมุ่ ชมรม และสมาคมตา่ งๆ การเปน็ สมาชกิ กลมุ่ ชมรม และสมาคมต่างๆ ร้อยละ รวม 100.0 29.8 > เปน็ 70.2 > ไมเ่ ป็น ผทู้ ี่เป็นสมาชิก ระบุกลมุ่ สมาชิกท่เี ข้ารว่ ม 1/ ดังนี้ 55.5 19.1 ๏ เกษตร 9.8 ๏ แมบ่ ้าน 8.3 ๏ อาสาสมคั ร 7.4 ๏ เศรษฐกจิ 4.2 ๏ ครู ผูป้ กครอง 3.1 ๏ นกั เรยี นเก่า นกั ศกึ ษานสิ ติ เก่า 1.9 ๏ สันทนาการ 1.7 ๏ อนุรักษศ์ ลิ ปวัฒนธรรม 0.9 ๏ อนุรกั ษส์ งิ่ แวดล้อม 0.7 ๏ กีฬา 0.1 ๏ ศาสนา … ๏ กลุม่ การเมือง 6.4 ๏ พรรคการเมือง 2.1 ๏ อ่นื ๆ เช่น กองทนุ หม่บู ้าน, กองทนุ เงินล้าน, สหกรณอ์ อมทรพั ย์ เป็นตน้ ๏ ไมร่ ะบุ หมายเหตุ : 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คำตอบ ... มคี า่ นอ้ ยกวา่ 0.05 3.7 การรจู้ ักและความเช่ือมน่ั ตอ่ สถาบนั พระปกเกลา้ ผลการสำรวจ ประชาชนร้อยละ 23.1 ระบุว่ารู้จักสถาบันพระปกเกล้า ในขณะท่ี ร้อยละ 76.9 ระบุว่าไมร่ ูจ้ กั สำหรับประชาชนที่รู้จักสถาบันพระปกเกล้าร้อยละ 74.2 ระบุว่ารู้จักจากส่ือโทรทัศน์ มากท่ีสุด รองลงมาคือ เจ้าหน้าที่ของรัฐ (ร้อยละ 22.2) อินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 16.1) หนังสือพิมพ์ (ร้อยละ 12.5) ญาติ/เพ่ือนบ้าน (ร้อยละ 6.5) วิทยุ (ร้อยละ 4.4) นิตยสาร/ 59 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ มั่นต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 วารสาร (ร้อยละ 2.0) ใบปลิว/แผ่นพับ (ร้อยละ 0.4) อ่ืนๆ (เช่น โรงเรียน เป็นต้น) (ร้อยละ 0.2) และไม่ระบุ (รอ้ ยละ 0.5) ส่วนประชาชนที่รู้จักจากส่ือโทรทัศน์ได้ระบุรายการโทรทัศน์ท่ีทำให้รู้จัก ได้แก่ รายการท่ัวไป ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 3/ช่อง 5/ช่อง 7/ช่อง 9/ช่อง 11 NBT/Thai PBS (รอ้ ยละ 45.5) ขา่ วทัว่ ไป (ร้อยละ 24.6) ข่าวการเมือง (รอ้ ยละ 19.3) เป็นตน้ แผนภูมิ 3.10 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการรจู้ กั สถาบนั พระปกเกล้า และแหล่งส่ือท่ีทำใหร้ ู้จัก 60 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 ประชาชนร้อยละ 14.6 ระบุว่าทราบบทบาทหน้าที่ของสถาบันพระปกเกล้า ในขณะท่ี ร้อยละ 85.4 ระบุว่าไม่ทราบ โดยผู้ท่ีทราบ ระบุว่าสถาบันพระปกเกล้ามีหน้าที่เผยแพร่ความรู้ ด้านการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย (ร้อยละ 42.5) ศึกษาค้นคว้า และวิจัยปัญหา และแนวทางการพฒั นาประชาธปิ ไตย (รอ้ ยละ 17.6) เป็นตน้ ตาราง 3.15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการทราบเก่ียวกับบทบาทหน้าที่ของ สถาบันพระปกเกล้า การทราบเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ขี องสถาบันพระปกเกล้า รอ้ ยละ รวม 100.0 14.6 > ทราบ 85.4 > ไม่ทราบ ผทู้ ่ที ราบ ระบบุ ทบาทหนา้ ทที่ ่ีทราบ ดังนี้ 42.5 ๏ เผยแพรค่ วามรดู้ ้านการเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย 17.6 ๏ ศกึ ษาค้นควา้ และวิจัยปญั หาและแนวทางการพัฒนาประชาธิปไตย 16.8 ๏ จัดและสนับสนุนการศึกษาอบรมบุคลากรจากภาครัฐภาคเอกชน และ 15.2 ประชาชนเก่ียวกับการเมืองการปกครองและการเศรษฐกิจ และสังคม ในระบอบประชาธิปไตย 5.7 ๏ บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความรู้และผลงานวิจัย และวิชาการ ทางการเมอื ง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย 1.4 ๏ ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรในประเทศและต่างประเทศในกิจการ 0.8 เก่ียวกบั การพฒั นาประชาธปิ ไตย ๏ สง่ เสรมิ งานวิชาการของรัฐสภา ๏ ไม่ระบุ ประชาชนท่ีรู้จักสถาบันพระปกเกล้าร้อยละ 18.7 ระบุว่าเชื่อม่ันมากต่อการทำงาน ของสถาบันพระปกเกล้า ค่อนข้างเชื่อมั่น (ร้อยละ 65.4) ไม่ค่อยเช่ือม่ัน (ร้อยละ 3.3) ไม่เช่ือมัน่ (ร้อยละ 0.5) และไม่มีความคิดเห็น (รอ้ ยละ 12.1) 61 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ช่ือ มั่นต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 ตาราง 3.16 ร้อยละของประชาชนท่ีรู้จักสถาบันพระปกเกล้า จำแนกตามความเชื่อม่ัน ตอ่ การทำงานของสถาบันพระปกเกลา้ ความเช่อื ม่นั ต่อการทำงานของสถาบันพระปกเกลา้ ร้อยละ รวม 100.0 18.7 ๏ เชอื่ มน่ั มาก 65.4 ๏ ค่อนข้างเช่อื ม่ัน 3.3 ๏ ไมค่ ่อยเชือ่ ม่นั 0.5 ๏ ไม่เชื่อมนั่ 12.1 ๏ ไมม่ คี วามคดิ เหน็ 3.8 ลกั ษณะพื้นฐานทางสงั คม และเศรษฐกิจ เพศและอาย ุ ผตู้ อบสมั ภาษณ์ เปน็ ชายรอ้ ยละ 48.7 และหญงิ รอ้ ยละ 51.3 มอี ายรุ ะหวา่ ง 18-29 ปี ร้อยละ 12.4 อายุ 30-39 ปีร้อยละ 16.4 อายุ 40-49 ปีร้อยละ 23.6 อายุ 50-59 ปี ร้อยละ 24.7 อายุ 60 ปีข้ึนไปร้อยละ 22.9 ระดับการศึกษา ส่วนระดับการศึกษานั้น พบว่า เป็นผู้ไม่ได้รับการศึกษาร้อยละ 2.7 ประถมศึกษา ร้อยละ 46.9 มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 15.0 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ร้อยละ 17.0 ปวส./ปวท./อนปุ ริญญา รอ้ ยละ 5.4 ปริญญาตรีร้อยละ 11.5 และสงู กว่าปริญญาตรรี อ้ ยละ 1.5 อาชพี ในส่วนอาชีพของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า เป็นผู้ไม่ได้ทำงาน/ว่างงาน ร้อยละ 3.8 นักเรียน/นิสิต/นักศึกษาร้อยละ 3.0 ข้าราชการบำนาญ ร้อยละ 2.2 แม่บ้าน/พ่อบ้าน (อยู่บ้าน เฉยๆ) ร้อยละ 13.3 เกษตรกรร้อยละ 23.2 รับจ้างเอางานมาทำท่ีบ้านร้อยละ 1.1 ค้าขายเล็กๆ น้อยๆ ร้อยละ 13.8 รับจ้างทั่วไป คนงานร้อยละ 10.6 พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชนร้อยละ 12.7 รับราชการ/ รัฐวิสาหกิจ/องค์กรของรัฐร้อยละ 8.2 ทำงานองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) ร้อยละ 0.1 เจ้าของกิจการร้านค้า/ธุรกิจขนาดกลาง ร้อยละ 7.9 และประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ รอ้ ยละ 0.1 62 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 รายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ เดอื น ผู้ตอบสมภาษณ์เป็นผู้ไม่มีรายได้ ร้อยละ 3.5 รายได้เฉล่ียต่อเดือนน้อยกว่า 3,001 บาท ร้อยละ 10.6 รายได้ฯ 3,001-5,000 บาท ร้อยละ 16.5 รายได้ฯ 5,001-7,000 บาท ร้อยละ 16.1 รายได้ฯ 7,001-10,000 บาทร้อยละ 19.8 รายได้ฯ 10,001-15,000 บาท ร้อยละ 15.7 รายได้ฯ 15,001-20,000 บาท ร้อยละ 7.9 รายได้ฯ 20,001-25,000 บาท ร้อยละ 3.9 และรายไดฯ้ มากกวา่ 25,000 บาท รอ้ ยละ 6.0 63 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร





หมายเหต ุ 1. การแบ่งช่วงข้อมูลในการจัดทำแผนที่อ้างอิงข้อมูลจากปีก่อนหน้า (2560) แต่หากข้อไหน ไมม่ ใี นปี 2560 จะจัดทำช่วงขน้ึ มาใหม่ 2. ขอ้ มูลทีไ่ มม่ ผี ู้ตอบในช่วงคำตอบ จะแสดงเปน็ ไม่มขี ้อมลู

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 67 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 68 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 69 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 70 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 71 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 72 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 73 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 74 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 75 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 76 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 77 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 78 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 79 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 80 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 81 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 82 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 83 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 84 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 85 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค วา มเ ชื่อ ม่ันต่อสถาบันต่างๆ แ ละคว ามพึงพอใจต่อกา รบริ กา รส า ธ า รณะ พ .ศ. 2 5 6 1 และสรุปผลการสำรวจ พ . ศ. 2 5 4 5 -2 5 6 1 86 สถาบันพระปกเกล้า

ควา มเช่ื อ ม่ั นต่ อ ส ถา บั นต่ า ง ๆ และ ควา มพึ ง พ อ ใ จต่ อ กา รบริ กา รสา ธา ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 1 แ ละ สรุ ป ผลก าร สำร ว จ พ .ศ. 2 5 4 5 - 2 5 6 1 87 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร