เรื่อง การศึกษาความเคล่อื นไหวทางการเมืองและพฤตกิ รรมการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร 2562 กรงุ เทพมหานคร Political Activities and Electoral Behavior in the 2019 Thailand General Election in Bangkok. ผูเ้ ขยี น พชิ ญ์ พงษ์สวสั ด์ิ Pitch Pongsawat เลขมาตรฐานสากลประจ�ำ หนังสือ (e-book) 978-616-476-107-0 รหสั ส่ิงพิมพส์ ถาบนั สวพ.63-28-00.0 (ebook) พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1 กรกฎาคม 2563 ประสานงาน วลัยพร ล้ออศั จรรย์ สงวนลิขสทิ ธ์ ิ © 2563 ลิขสทิ ธขิ์ องสถาบันพระปกเกล้า จัดพมิ พ์โดย สำ�นกั วจิ ยั และพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า ศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษาฯ อาคารรฐั ประศาสนภักดี ชั้น 5 (โซนทิศใต)้ เลขท่ี 120 หมู่ 3 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทงุ่ สองห้อง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2141-9596 โทรสาร 0-2143-8177 http://www.kpi.ac.th
3 ค�ำน�ำสถาบัน พระปกเกล้า การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเมอ่ื วนั ที่ 24 มนี าคม พ.ศ.2562 เปน็ การเลอื กตงั้ ครง้ั แรกภายหลงั การประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ซง่ึ ไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงกตกิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเลอื กตงั้ หลายประการ ไดแ้ ก่ การน�ำระบบการเลอื กตง้ั ทเี่ รยี กวา่ “การเลอื กตง้ั แบบจดั สรรปนั สว่ นผสม” มาใช้ โดยก�ำหนดให้แต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละหนึ่งคน และประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกต้ังได้คนละหนึ่งคะแนน ส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือนั้นเป็น การจดั สรรโดยค�ำนวณจากคะแนนรวมทพี่ รรคการเมอื งไดจ้ ากการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรแบบแบง่ เขต ท่ัวประเทศ การก�ำหนดให้พรรคการเมืองสามารถเสนอรายช่ือบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งต้ังเป็นนายกรัฐมนตรี ไมเ่ กนิ สามรายชอื่ การก�ำหนดในเรอื่ งคณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะตอ้ งหา้ มของผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ รปู แบบและวธิ กี าร รณรงค์หาเสียงเลือกต้ัง ตลอดจนบทลงโทษกรณีกระท�ำความผิดเก่ียวกับการเลือกตั้งท่ีเข้มข้นกว่าการเลือกต้ัง คร้ังก่อนๆ นอกจากนี้ การเลือกตั้งเมื่อวันท่ี 24 มีนาคม 2562 ยังเกิดขึ้นท่ามกลางบริบทและสภาพแวดล้อม ทางสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปจากการเลอื กตงั้ ทว่ั ไปครงั้ หลงั สดุ เมอ่ื ปี 2554 เปน็ อยา่ งมาก อาทิ การว่างเว้นจากการเลือกต้ังเกือบแปดปีท�ำให้มีผู้มีสิทธิเลือกต้ังคร้ังแรก (First Time Voter) มากกว่า 7 ล้านคน การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของเทคโนโลยีการส่ือสาร (Digital Disruption) ท�ำให้ส่ือใหม่ (new media) เข้ามามีอิทธิพลในการเลือกต้ังอย่างเด่นชัดเป็นคร้ังแรก การเปลี่ยนแปลงในกติกาและ สภาพแวดลอ้ มดงั กลา่ วท�ำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในกระบวนการจดั การเลอื กตงั้ ยทุ ธวธิ กี ารหาเสยี งของผสู้ มคั ร และพรรคการเมือง รวมถงึ พฤติกรรมการตดั สินใจลงคะแนนของประชาชนอย่างมนี ยั ยะส�ำคญั และนา่ สนใจยง่ิ หนงั สอื ชดุ “การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร 2562” นี้ เปน็ ผลการศกึ ษาจากชดุ โครงการวจิ ยั ท่ี สถาบันพระปกเกล้าไดจ้ ดั ท�ำขนึ้ โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือส�ำรวจและบนั ทึกปรากฏการณท์ างการเมืองโดยเฉพาะ ในมิติของความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ในจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร กาฬสินธุ์ ก�ำแพงเพชร กาญจนบุรี ขอนแก่น ชลบุรี เชียงใหม่ แพร่ ร้อยเอ็ด สงขลา สุพรรณบุรี สุรินทร์ พะเยา พิษณุโลก ปัตตานี สุราษฎร์ธานี เลย สระแก้ว และอุบลราชธานี ข้อมูลท่ีน�ำเสนอในหนังสือชุดนี้ได้ฉายให้เห็นภาพในระดับพื้นท่ีของบรรยากาศและ ความเคลอ่ื นไหวของพรรคการเมอื ง องคก์ รและกลมุ่ ทางการเมอื งตา่ ง ๆ ความเคลอื่ นไหวและพฤตกิ รรมทางการเมอื ง ของผู้สมัครรับเลือกตั้ง บทบาทของหน่วยงานที่เข้ามาเกี่ยวข้องในการเลือกต้ัง พฤติกรรมทางการเมืองของ
4 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ประชาชนและกล่มุ การเมือง การใชท้ รัพยากรตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในเรอื่ งค่าใช้จ่าย การเปล่ยี นแปลงของ ขวั้ อ�ำนาจทางการเมอื ง การยา้ ยพรรคการเมอื ง ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจทางการเมอื ง รวมทง้ั การวเิ คราะห์ ผลการเลือกตั้งที่เกิดข้ึน การเคลื่อนไหวและการรณรงค์ในการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัดท่ีปรากฏในสื่อออนไลน์ ตลอดจนประเดน็ อน่ื ๆ ทน่ี า่ สนใจทป่ี รากฏขน้ึ มาในชว่ งระหวา่ งการมพี ระราชกฤษฎกี าก�ำหนดใหม้ กี ารเลอื กตง้ั วันเลือกตัง้ และหลังการเลือกตง้ั สถาบันพระปกเกล้าขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ฐปนรรต พรหมอินทร์ รองศาสตราจารย ์ พรชัย เทพปัญญา รองศาสตราจารย์ ดร.สามารถ ทองเฝือ รองศาสตราจารย์ ดร.กตัญญู แก้วหานาม รองศาสตราจารย์ ดร.ศิวัช ศรีโภคางกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บูฆอรี ยีหมะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสด์ิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร ตันศิริคงคล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา พรรณราย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพงศ์ บุญเหลือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น ดร.พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม ดร.พิสมัย ศรีเนตร ดร.จันทรา ธนะวัฒนาวงศ์ ดร.ภคพร วัฒนด�ำรง ดร.ประเทือง ม่วงอ่อน ดร.ณรินทร์ เจริญทรัพยานนท์ ดร.เสริมสิทธ์ิ สร้อยสอดศร ี อาจารย์ชนันทิพย์ จันทรโสภา อาจารย์ อุบลวรรณ สุภาแสน อาจารย์ ดารารัตน์ ค�ำเป็ง ตลอดจนผู้เก่ียวข้อง ทุกท่านท่ีให้ความอนุเคราะห์ร่วมด�ำเนินงานวิจัย ขอขอบพระคุณทรงคุณวุฒิทุกท่านท่ีกรุณาเป็นผู้พิจารณาให้ ข้อเสนอแนะเพื่อให้งานวิจัยมีคุณภาพ สถาบันพระปกเกล้าคาดหวังว่าผลจากการศึกษาของชุดโครงการวิจัยนี้ จะเป็นฐานขอ้ มูลส�ำคัญทจี่ ะน�ำไปสกู่ ารพฒั นาประชาธิปไตยของประเทศไทยต่อไป สถาบันพระปกเกล้า 2563
5 ค�ำน�ำ รายงานวจิ ยั ฉบบั นเี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการวจิ ยั ความเคลอ่ื นไหวทางการเมอื งและพฤตกิ รรมการเลอื กตงั้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ของประเทศไทย ผ่านกรณีศึกษาหลายพื้นท ี่ ที่สถาบันพระปกเกล้าพิจารณาเลือกขึ้นมา โดยผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้ศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลอื กต้งั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรเมอ่ื 24 มนี าคม 2562 ในเขตกรุงเทพมหานคร รายงานวจิ ยั ฉบบั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาความเกยี่ วขอ้ งระหวา่ งการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ในกรุงเทพมหานคร กับ 1) บรรยากาศทางการเมืองและความเคลื่อนไหวทางการเมืองของพรรค องค์กรและ กลุ่มทางการเมือง 2) ความเคล่ือนไหวและพฤติกรรมทางการเมืองของผู้สมัครรับเลือกต้ังสมาชิกผู้แทนราษฎร 3) บทบาทของหนว่ ยงานภาครฐั บรษิ ทั เอกชน องคก์ รสาธารณะ และองคก์ รอนื่ ๆ ทเี่ ขา้ มามบี ทบาทในการเลอื กตง้ั 4) การเปล่ียนของพฤติกรรมทางการเมือง แบบแผนพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชน และกลุ่มการเมือง 5) พฤติกรรมการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเรื่องค่าใช้จ่าย 6) การเปล่ียนแปลงของขวั้ อ�ำนาจ ทางการเมอื ง การยา้ ยพรรคการเมอื ง ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจทางการเมอื ง รวมทงั้ การวเิ คราะหผ์ ลการเลอื กตง้ั ท่ีเกดิ ขนึ้ 7) การเคลื่อนไหวและการรณรงคใ์ นเร่อื งการเลือกตงั้ ในกรงุ เทพมหานครท่ีปรากฏในสอื่ ออนไลน์ และ 8) ประเด็นอื่น ๆ ท่ีนา่ สนใจทปี่ รากฏข้ึนมาในชว่ งการวจิ ยั นอกจากการส�ำรวจและบันทึกปรากฏการณ์ทางการเมืองโดยเฉพาะในมิติของความเคลื่อนไหว ทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ในเขต กรงุ เทพมหานครแลว้ ยงั มกี ารวเิ คราะหป์ รากฏการณด์ งั กลา่ วทเี่ กดิ ขน้ึ ทงั้ ในระดบั กรงุ เทพมหานครและวเิ คราะห์ ความเชื่อมโยงทมี่ ีกบั ปรากฏการณท์ างการเมอื งของการเลือกต้งั ครง้ั น้ใี นระดับชาติ ผู้วิจัยขอขอบคุณคณะวิจัยทุกท่านท่ีร่วมมือร่วมใจในการเก็บข้อมูล และจัดท�ำเอกสารน้ีจนเป็น ผลส�ำเร็จ ดร.สตธิ ร ธนานธิ โิ ชติ และเจ้าหน้าทขี่ องส�ำนกั วิจัยและพฒั นา และส�ำนกั นวตั กรรมเพื่อประชาธปิ ไตย สถาบันพระปกเกล้า ส�ำหรับการสนับสนุนงานวิจัยในทุก ๆ ด้าน และคณะร่วมวิจัยของพื้นท่ีอื่น ๆ ที่ให้ข้อคิด และร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลและข้อค้นพบในการประชุมปฏิบัติการทั้ง 2 คร้ัง และสุดท้ายขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูล ทุกท่าน พชิ ญ์ พงษส์ วสั ด ิ์
6 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร บทคัดย่อ รายงานวิจัยฉบับน้ีศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ังสมาชิกสภา ผแู้ ทนราษฎรเม่ือ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ ทางการเมืองท่ีเกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในกรุงเทพมหานครในครั้งน้ี ในมิติของ 1) บรรยากาศทางการเมืองและความเคล่ือนไหวทางการเมืองของพรรค องค์กร และกลุ่มทางการเมือง 2) ความเคล่ือนไหวและพฤติกรรมทางการเมืองของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร 3) บทบาท ของหน่วยงานภาครัฐ บริษัทเอกชน องค์กรสาธารณะ และองค์กรอื่น ๆ ที่เข้ามามีบทบาทในการเลือกต้ัง 4) การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมทางการเมือง แบบแผนพฤติกรรมทางการเมือง ของประชาชน และกลุ่ม การเมือง 5) พฤติกรรมการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเร่ืองค่าใช้จ่าย 6) การเปล่ียนแปลงของ ข้ัวอ�ำนาจทางการเมอื ง การยา้ ยพรรคการเมอื ง ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจทางการเมอื ง รวมทงั้ การวเิ คราะห์ ผลการเลือกต้ังท่ีเกิดขึ้น 7) การเคลื่อนไหวและการรณรงค์ในเรื่องการเลือกต้ังในกรุงเทพมหานครที่ปรากฏ ในส่ือออนไลน์ และ 8) ประเด็นอนื่ ๆ ที่นา่ สนใจทปี่ รากฏข้นึ มาในชว่ งการวจิ ยั ในการศกึ ษาปรากฏการณ์ทางการเมืองดังกลา่ ว รายงานวิจยั น้ไี ด้ 1) ส�ำรวจและบนั ทกึ ปรากฏการณ์ ทางการเมืองโดยเฉพาะในมิติของความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎรเมอื่ 24 มนี าคม พ.ศ. 2562 ในเขตกรงุ เทพมหานคร 2) ท�ำการวเิ คราะหป์ รากฏการณด์ งั กลา่ ว ที่เกิดข้ึนทั้งในระดับกรุงเทพมหานคร และ 3) วิเคราะห์ความเช่ือมโยงท่ีมีกับปรากฏการณ์ทางการเมืองของ การเลอื กตั้งคร้ังนใ้ี นระดับชาติ ผลวิจัยพบว่าการเลือกต้ังครั้งน้ีในเขตกรุงเทพมหานคร เกิดข้ึนหลังจากท่ีว่างเว้นมานานถึง 8 ปี อันเป็นผลมาจากความวุ่นวายทางเมืองท่ีน�ำไปสู่การรัฐประหารในปี พ.ศ. 2557 โดยคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ (คสช.) การปกครองภายใต้ คสช. น�ำไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลงกฎกตกิ าการเมอื งตงั้ แตก่ ารมรี ฐั ธรรมนญู ใหม่ ในปี พ.ศ. 2560 และกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ระบบการเลอื กตงั้ และพรรคการเมอื ง นอกจากน ี้ พรรคการเมืองและประชาชนยังถูกห้ามไม่ให้มีกิจกรรมทางการเมืองนับตั้งแต่การท�ำรัฐประหารเป็นต้นมา จนกระทั่งก่อนเขา้ ชว่ งการเลอื กตั้ง
7 การเลอื กตงั้ ในเขตกรงุ เทพมหานครในครงั้ นม้ี กี ารจดั การเลอื กตง้ั ทงั้ หมด 30 เขต เปลย่ี นจาก 33 เขต ในคราวทแ่ี ลว้ ผลการเลอื กตง้ั ในครง้ั นี้ พรรคพลงั ประชารฐั ไดท้ นี่ งั่ 12 ทน่ี งั่ พรรคเพอ่ื ไทย 9 ทนี่ ง่ั พรรคอนาคตใหม่ 9 ที่นั่ง ขณะที่พรรคประชาธิปัตย์ซ่ึงเคยมีเสียงและมีที่น่ังมากท่ีสุดในเขตกรุงเทพมหานครในคร้ังท่ีแล้ว (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) ไม่ได้รับชัยชนะจากการเลือกต้ังแม้แต่เขตเดียว แต่ก็ยังมีคะแนนเสียงในระดับ ทม่ี นี ยั ยะส�ำคญั จากการวิเคราะห์ผลการเลือกตั้งของพรรคหลักท้ัง 4 พรรคท่ีได้คะแนนเสียงอย่างมีนัยยะส�ำคัญ ในกรุงเทพมหานคร จะพบว่า พรรคประชาธิปัตย์เผชิญประเด็นท้าทายในเร่ืองของยุทธศาสตร์การต่อสู ้ ทางการเมืองในระดับจุดยืนทางการเมืองและความเสียเปรียบจากความเข้มแข็งเชิงสถาบันของพรรค ประชาธิปัตย์เอง พรรคเพื่อไทยสามารถรักษาพื้นที่และพัฒนากลยุทธการเลือกตั้งจากแรงกดดันทางโครงสร้าง ทางการเมอื งและความเสยี เปรยี บในการจดั วางสถาบนั ของกระบวนการเลอื กตง้ั พรรคพลงั ประชารฐั มคี วามไดเ้ ปรยี บ จากระบอบการเมืองท่ีด�ำรงอยู่และระบบเลือกต้ังใหม่ รวมทั้งสามารถยึดกุมเครือข่ายการเลือกตั้งเดิมที่มีอยู่ใน ท้องถิ่น และพรรคอนาคตใหม่ประสบความส�ำเร็จทางการเมืองจากการพลิกวิกฤติของโครงสร้างทางการเมือง มาเปน็ โอกาสในการสรา้ งขบวนการเคลอ่ื นไหวทางการเมอื งแบบใหมใ่ หเ้ ปน็ พรรคทมี่ อี ตั ลกั ษณท์ างการเมอื งใหม่ ในนามของพรรคของคนรนุ่ ใหม่ ความหวงั และการเปลย่ี นแปลง อกี ทงั้ มกี ารใชเ้ ทคโนโลยี สอ่ื ใหม่ และนวตั กรรม ทางการเมือง แต่ความเปน็ ท่ีนยิ มของพรรคอนาคตใหมก่ เ็ ผชญิ กับการต่อตา้ นในหลายรูปแบบ การวางยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของพรรคและผู้สมัครในเขตกรุงเทพมหานครมีส่วนส�ำคัญ ในการก�ำหนดความส�ำเร็จและความล้มเหลวของการเลือกตั้งในคร้ังน้ี นับตั้งแต่การเข้าใจการเปลี่ยนแปลง ในพ้ืนท่ีท่ีมีความแตกต่างทางด้านประชากรของผู้เลือกตั้ง ความเข้าใจความหลากหลายของ “ชุมชน” ที่เป็น หนว่ ยส�ำคญั ในกระบวนการรณรงคห์ าเสยี งเลอื กตง้ั และตดั สนิ ใจทางการเมอื ง ระบบอปุ ถมั ภย์ งั มผี ลตอ่ ความส�ำเรจ็ ของการรณรงค์และชัยชนะในการเลือกตั้งแม้ว่าระบบอุปถัมน์จะไม่ใช่ส่ิงที่ก�ำหนดชัยชนะในการเลือกต้ัง ของพน้ื ทท่ี งั้ หมดของกรงุ เทพมหานคร และการเขา้ ใจการใชส้ อ่ื ทง้ั ในรปู แบบเดมิ และในแบบใหม่ ๆ เชน่ สอ่ื โซเชยี ล ความซับซ้อนของพลวัตรในเร่ืองการทุจริตการเลือกตั้งเกิดจากทั้งตัวผู้สมัคร และเกิดจาก ความเคลอื บแคลงสงสยั ตอ่ หนว่ ยงานของรฐั ในการจดั การการเลอื กตง้ั ในครง้ั น้ี รวมทง้ั ระบอบการเมอื งทดี่ �ำรงอยู่ ผลของการเลือกต้ังในคร้ังน้ีในพื้นท่ีกรุงเทพมหานครเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความขัดแย้ง ทซ่ี บั ซอ้ นขนึ้ ในการเมอื งของไทย และตวั แบบหลกั ทม่ี ผี ลตอ่ การเลอื กตงั้ ในครงั้ นก้ี ค็ อื ตวั แบบการตดั สนิ ใจเลอื กตง้ั ทเี่ ปน็ ส่วนผสมของตัวแบบเชิงยทุ ธศาสตร์และตวั แบบทางอารมณ์
8 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร Abstract This research is a study of political activities and electoral behavior in the 2019 Thailand general election in Bangkok. The aim of the research is to examine the following aspects of the election: 1) political atmosphere and activities of political parties, organizations, and political groups; 2) activities and political behavior of the candidates; 3) roles of government agencies, the private sector, public organizations, and other organizations; 4) patterns and changes of political behavior among people and political groups; 5) use of resources, especially electoral expenditure; 6) changes in political power affiliation, party switching, factors that affect political decisions, and electoral results; 7) political activities and electoral campaigns that appeared in online/social media; and 8) other issues that arose during the research period. The research not only surveys and records political phenomenon, especially phenomenon regarding the political activities and electoral behavior during the 2019 general election in Bangkok, but also analyzes these political phenomena in the context of Bangkok, and implies a link between the findings in Bangkok and the national level. The findings of the research are as follow. 1) The 2019 general election took place after a long period (8 years) since the previous successfully endorsed general election in 2011 and the coup in 2014. Under the coup regime, political regulations including the constitution, election laws, and political party laws were changed. Political activities were also banned. 2) During the 2019 election there were 30 constituencies in Bangkok, compared with 33 constituencies in the 2011 election. Of these 30, Palang Pracharat Party won 12 seats, Pheu Thai 9 seats, and Future Forward Party 9 seats. The Democrat Party which had been the most popular in previous election in Bangkok did not win any seats, although they still took a significant share of the votes cast across the city.
9 3) Some broad observations can be made concerning the four parties that earned significant shares of the vote in Bangkok. The Democrat Party lost its political appeal among the voters and experienced a paradox of its own institutional strength. The former winners of the constituencies were reendorsed to the candicacy, while the runner-ups decided to move to other parties especially the Pro-coup Palang Pracharat. The Pheu Thai Party survived and developed a new electoral strategy to deal with pressure from the political regime and the unfavorable conditions resulting from the institutional arrangements for the election. The Palang Pracharat Party had an advantage, as it is part of the incumbent political regime, and it gained further advantage from the new electoral system. The Palang Prachart Party was also able to seize existing local electoral networks. The Future Forward Party successfully turned the crisis generated by the political restructuring into an opportunity to make a new social movement in the form of a new political party that embraced a new political identity characterized by the new generation, hope, and change. The Future Forward Party also made considerable use of new technology, new media, and political innovation. The popularity of the Future Forward Party drew criticism and political attacks. 4) The strategies and tactics used by political parties and candidates in their election campaigns played crucial roles in their electoral success or failure. To be successful, parties and candidates must know their constituency very well, especially voter demography. They must also understand various forms of community which is the core polity where the political campaign and political decisions take place; i.e the socalled “traditional community” and the “gated housing estate”. Clientelism in Bangkok does not operate city-wide, but it is still crucial for the success of an election campaign and electoral victory in some areas. Parties and candidates must know how to use conventional media and new/social media to achieve desired impacts. 5) The electoral irregularities and electoral fraud committed by the Bangkok candidates in the 2019 general election were complex and dynamic. The public has also become suspicious of activities by state agencies and the existing political regime to regulate elections. 6) The results of the 2019 general election in Bangkok reflect a multi-layered political conflict in Thailand. The dominant model of voting behavior in this election is the mix of strategy and emotions.
10 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร สารบัญ ค�ำน�ำสถาบนั พระปกเกลา้ 3 ค�ำน�ำ 5 บทคดั ยอ่ 6 Abstract 8 สารบัญ 10 สารบญั ตาราง 16 บทสรปุ ส�ำหรับผบู้ รหิ าร 21 Executive Summary 26 บทท่ี 1 บทนำ� 33 1.1 ความเป็นมาและความส�ำคัญของปญั หา 33 1.2 วตั ถุประสงค์ (ตามบันทึกข้อตกลง) 37 1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 38 1.3.1 ขอบเขตดา้ นเวลา 38 1.3.2 ขอบเขตประชากร 38 1.3.3 ขอบเขตพืน้ ท่ ี 38 1.3.4 ขอบเขตเน้อื หา (ตามท่ีก�ำหนดไว้ในข้อตกลง) 38 1.4 วธิ กี ารศกึ ษาวจิ ัย 40 1.5 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ 41 1.6 ระยะเวลาท�ำการศึกษา 41
11 บทที่ 2 วรรณกรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 43 2.1 ทฤษฎแี ละแนวคิดในการวิจยั 43 2.1.1 ความส�ำคญั ของการเลอื กต้งั กับการเมอื ง 43 2.1.2 ความสมั พันธ์ระหว่างการเลือกต้ังกบั ระบอบการเมอื ง 44 2.1.3 ระบบการเลือกตงั้ 44 2.1.4 พฤติกรรมการเลือกตัง้ 46 2.1.5 พฤตกิ รรมการลงคะแนนเสียง 46 2.1.6 การเลอื กต้งั กบั รอยแยกทางสงั คม (Social Cleavage) 48 2.1.7 กระบวนการตดั สนิ ใจเลอื กตงั้ และตวั กลาง 49 2.1.8 การทจุ ริตเลอื กตงั้ 50 2.1.8.1 ความหมายและความส�ำคัญของการทจุ ริตเลือกตง้ั 50 2.1.8.2 ระบบอุปถัมภแ์ ละการทจุ ริตการเลือกตัง้ 51 2.1.8.3 การเลือกตั้งทเี่ สรแี ละเปน็ ธรรมและการตรวจสอบการเลือกต้งั 53 2.1.8.4 การเลอื กตัง้ ทมี่ คี วามหมาย 55 2.1.8.5 การเลอื กตัง้ ทซี่ อ่ื ตรง 56 2.1.8.6 การเลอื กตง้ั ท่ีเตม็ ไปดว้ ยความขดั แย้ง 59 2.1.9 การเลือกต้ังกบั ส่ืออินเทอร์เน็ต 61 2.1.10 การเลือกตงั้ ในเขตเมอื งและมหานคร 65 2.1.11 พรรคการเมอื ง 66 2.2 การเลือกต้งั กบั พฒั นาการของการเมอื งไทย 68 2.2.1 พฒั นาการของการเลอื กต้งั ในประเทศไทย 68 2.2.2 การทุจรติ การเลอื กต้งั ในประเทศไทย 78 2.2.3 การเลอื กตง้ั ในกรงุ เทพมหานคร 80 2.3 ระบบการเลือกตง้ั ส.ส. ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 83 2.3.1 ความเปลี่ยนแปลงเก่ียวกบั สภาผแู้ ทนราษฎรและระบบเลือกตง้ั 83 2.3.2 ผลของระบบเลอื กตั้งใหม่ต่อพรรคการเมือง 85
12 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 2.4 กฎหมาย ค�ำส่ัง ระเบียบ และประกาศทีเ่ กย่ี วข้องกบั การเลือกตัง้ 86 สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร พ.ศ.2562 86 2.4.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 88 2.4.2 พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 90 2.4.3 ค�ำสั่งหวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติท่ีเกย่ี วขอ้ ง 94 2.4.4 ระเบยี บและประกาศคณะกรรมการการเลือกตง้ั 95 2.5 งานวิจัยที่เกย่ี วข้องในเร่ืองการเลือกตั้งในเขตกรุงเทพมหานคร 111 2.6 ขอ้ มลู กรุงเทพมหานคร บทท่ี 3 ความเคลือ่ นไหวทางการเมอื งและพฤติกรรมการเลอื กต้งั 115 สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2562 3.1 ความเคลอ่ื นไหวและพฤตกิ รรมทางการเมอื งของผสู้ มัครรบั เลอื กตงั้ 115 สภาผู้แทนราษฎรในกรุงเทพมหานคร 115 3.1.1 การหาเสียงของพรรคการเมอื งและผู้สมคั รรบั เลือกต้ัง 115 3.1.1.1 การน�ำเสนอนโยบายของพรรคการเมอื งเกี่ยวกบั กรุงเทพมหานคร 133 3.1.1.2 การลงพ้ืนที่ (การเดิน ขบวนรณรงค์ และการพบปะประชาชน) 150 3.1.1.3 การปราศรยั ในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร 157 3.1.1.4 ส่ือของพรรคการเมืองและผูส้ มคั รท่ีใช้ในการหาเสียง 157 ก. สอื่ ทว่ั ไป: ปา้ ยหาเสยี ง แผน่ พบั และแผ่นพก 215 ข. สื่อออนไลน ์ 254 3.1.2 การใช้เงินและทรัพยากรในการหาเสยี ง 3.2 บทบาทของคณะกรรมการการเลือกตง้ั และคณะกรรมการการเลือกต้งั 262 ประจ�ำกรุงเทพมหานคร 262 3.2.1 การก�ำหนดเขตเลอื กต้งั กรุงเทพมหานคร 272 3.2.2 การรับสมัครผสู้ มัครรับเลือกตงั้ 280 3.2.3 การรณรงคแ์ ละการประชาสมั พันธก์ ารเลอื กต้ังในกรุงเทพมหานคร 280 3.2.3.1 การรณรงค์และการประชาสัมพนั ธท์ ัว่ ไป 282 3.2.3.2 การประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มูลในส่ือออนไลน์ 286 3.2.4 การจัดการเลือกตัง้ 286 3.2.4.1 การเตรยี มการเลือกตั้ง 288 3.2.4.2 การก�ำหนดหนว่ ยเลอื กต้ัง
13 3.2.4.3 การเลือกตง้ั ล่วงหน้า 293 3.2.4.4 วันเลือกตั้งทว่ั ไป 297 3.2.5 การนับและประกาศผลคะแนน 298 3.2.5.1 การนับและรวบรวมคะแนน 298 3.2.5.2 การประกาศผลคะแนน 299 3.2.6 การด�ำเนนิ การหลงั การเลือกต้ัง 304 3.2.6.1 การประกาศผลการเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร 304 3.2.6.2 การตรวจสอบรายรบั รายจ่ายของผู้สมคั รสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร 305 3.3 บทบาทขององค์กรนอกภาครฐั ในการตรวจสอบการเลอื กตั้ง 306 3.3.1 เครือข่ายเอเชียเพ่อื การเลอื กตั้งหรือแอนเฟรล 307 (ANNFREL- Asian Network for Free Elections) 3.3.2 เครือข่ายกล่มุ เยาวชนสงั เกตการณเ์ ลอื กตัง้ หรอื วีวอช (We Watch) 310 3.3.3 มลู นิธิองค์กรกลางเพ่ือประชาธปิ ไตยหรือพีเนต็ 312 (PNET- People Network for Election in Thailand) 3.3.4 โครงการอินเทอร์เน็ตเพ่ือกฎหมายประชาชนหรอื ไอลอว์ (iLaw) 313 บทที่ 4 บทวเิ คราะห ์ 319 4.1 บทวิเคราะห์ภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงพื้นทท่ี างการเมอื ง: 319 ผลการเลอื กต้งั ในกรุงเทพมหานคร 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 4.2 บทวิเคราะห์ผลการเลอื กตั้งรายเขต 338 4.3 ความเคลอ่ื นไหวและความเปลีย่ นแปลงของพรรคหลกั ทั้ง 4 พรรคในกรุงเทพมหานคร: พรรคประชาธปิ ัตย์ พรรคเพอ่ื ไทย พรรคพลังประชารัฐ และพรรคอนาคตใหม่ 441 4.3.1 ความพ่ายแพ้ของพรรคประชาธปิ ัตยแ์ ละมายาคติของการสญู พนั ธ์ของพรรค? 442 4.3.1.1 การพา่ ยแพ้ในเชงิ ยุทธศาสตร์ของการวางต�ำแหน่งของ 444 พรรคการเมืองของตนในการเลอื กตัง้ ในระดบั ของการแข่งขนั ทางจดุ ยนื ทางการเมือง 4.3.1.2 การพา่ ยแพ้เพราะความเขม้ แขง็ เชิงสถาบันของพรรคประชาธิปตั ยเ์ อง 446 4.3.2 การรกั ษาพ้นื ท่แี ละการพัฒนากลยทุ ธการเลือกตัง้ ของเพ่อื ไทยทา่ มกลาง แรงกดดันทางโครงสร้างทางการเมอื งและความเสียเปรียบในการจัดวาง สถาบันของกระบวนการเลอื กต้ัง 450
14 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 4.3.2.1 การจดั องค์กรภายใตก้ ารน�ำใหม่และการพัฒนายทุ ธศาสตร ์ 452 ของพรรคเพอ่ื ไทย 4.3.2.2 พรรค(เพ่อื )ไทยรักษาชาต?ิ : ความสัมพันธท์ างยุทธศาสตร์ 457 การเลือกตง้ั ระหวา่ งพรรคเพอ่ื ไทยกบั พรรคไทยรกั ษาชาติ และการสนิ้ สุดของพรรคไทยรกั ษาชาติ 4.3.2.3 บทบาทของ พ.ต.ท.ทักษณิ ชนิ วัตร 465 ในการเลอื กต้งั 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 4.3.3 พรรคพลังประชารัฐในฐานะผไู้ ด้เปรยี บจากระบอบการเมอื ง 468 และระบบเลือกต้งั ใหม่ 4.3.3.1 การได้เปรยี บของพรรคพลังประชารฐั ในการเลือกตั้ง 471 4.3.3.2 การยดึ กุมเครือขา่ ยการเลอื กตง้ั เดิมทีม่ อี ยใู่ นทอ้ งถิ่น 477 4.3.4 ชยั ชนะของอนาคตใหม่ ประเด็นท้าทายในเรือ่ ง“คนรุน่ ใหม”่ 490 ส่ือใหม่และความขัดแยง้ ใหม่ 4.3.4.1 ปจั จัยเรื่องของคนรนุ่ ใหมก่ บั ความส�ำเร็จของพรรค 491 4.3.4.2 เทคโนโลยีการสื่อสารใหม่ จุดพลิกผันของความนิยม 494 ในพรรคอนาคตใหม่ และกระแสต่อตา้ นพรรคอนาคตใหม ่ 4.3.4.3 นยั ยะส�ำคัญของพรรคอนาคตใหมใ่ นฐานะปจั จัยทีไ่ ม่ได้คาดฝันไว ้ ของการสบื สานอ�ำนาจของระบอบรัฐประหาร 501 4.3.4.4 พรรคอนาคตใหม่ในฐานะผเู้ ลน่ ใหม่ในสนามการเมอื งกรุงเทพมหานคร 507 4.4 บทวเิ คราะหย์ ุทธศาสตรก์ ารหาเสยี งในการเลอื กตง้ั 24 มนี าคม พ.ศ. 2562 520 4.4.1 การเตรยี มพร้อมในการเลือกต้ัง 520 4.4.2 ยทุ ธศาสตรแ์ ละยทุ ธวธิ ีในการหาเสยี ง: พน้ื ที่ ชุมชน ระบบอปุ ถมั ถ์ 522 และการใชส้ อ่ื 4.4.2.1 การท�ำความเข้าใจพน้ื ท่แี ละความเปล่ยี นแปลงในพน้ื ที ่ 522 4.4.2.2 “ชุมชน”: “สองนคราประชาธิปไตย” ในระดับพืน้ ท่เี มอื ง 523 4.4.2.3 ระบบอปุ ถมั ภแ์ ละพันธะสัญญา 529 4.4.2.4 การใชส้ ื่อ และการใชง้ บประมาณ 531 4.4.3 การทุจรติ ในการหาเสยี งและการแขง่ ขนั : กระแสและกระสุน 535 4.4.3.1 ขอ้ จ�ำกัดในการศกึ ษาการทจุ รติ การเลือกตัง้ 535 4.4.3.2 ประเภทของการทุจรติ การเลอื กตง้ั และการตรวจสอบ 537
15 4.4 บทวิเคราะห์ความขดั แยง้ ทางการเมอื งและรอยแยกทางสังคม 541 และพฤติกรรมการเลือกตัง้ ของผใู้ ช้สทิ ธิเลอื กต้งั 4.4.1 มติ ิทซ่ี ับซอ้ นข้ึนของความขัดแยง้ ทางการเมืองและรอยแยกทางสังคม 541 กอ่ นและหลังการเลอื กตั้ง 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 4.4.2 ตวั แบบการเลือกต้งั ในวันที่ 24 มนี าคม พ.ศ. 2562: ยทุ ธศาสตร์และอารมณ์ 543 (strategic-emotional vote) บทที่ 5 กรุงเทพมหานครในความส�ำคญั ของการเลอื กต้งั ท้วั ไป 2562 547 5.1 ความเคล่ือนไหวทางการเมอื งและพฤตกิ รรมการเลือกต้งั ในเขตกรุงเทพมหานคร 547 5.2 ความเคลอ่ื นไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ังในเขตกรุงเทพมหานคร: คณุ ูปการทางทฤษฎี 554 บรรณานุกรม 557 ภาคผนวก ก กฎหมายเกี่ยวกบั การเลอื กต้งั 601 ภาคผนวก ข เอกสารเกยี่ วกบั การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรในกรุงเทพมหานคร 675 พ.ศ. 2562 (ไดร้ บั ความอนเุ คราะหเ์ อกสารจากส�ำนักงานคณะกรรมการ การเลอื กตงั้ ประจ�ำกรงุ เทพมหานคร) ภาคผนวก ค แบบ ส.ส./บช. 9 (รายงานรายรบั และรายจ่าย (ผ้สู มคั รแบบแบ่งเขตเลอื กตัง้ )) ของ ผู้สมัครรบั เลือกตง้ั เป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรทีไ่ ด้รับเลอื กต้งั 30 คน (เขตที่ 1-30) โดยไดม้ าจากส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ประจ�ำกรงุ เทพมหานคร 703 รายชอ่ื คณะผวู้ จิ ยั 734
16 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร สารบญั ตาราง ตาราง 2.1 จ�ำนวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร กรงุ เทพมหานคร ในการเลือกตง้ั แต่ละครง้ั 81 (พ.ศ. 2522 - 2562) ตาราง 3.1 นโยบายกรุงเทพมหานครของพรรคการเมืองแต่ละพรรค 129 ตาราง 3.2 กิจกรรมการรณรงคเ์ ลือกต้ังของพรรคการเมืองรายเขต 133 ตาราง 3.3 รายงานผลการส�ำรวจขอ้ มูลอินเทอร์เนต็ ในประเทศไทย 216 ตาราง 3.4 รายรับรายจา่ ยในการเลอื กต้งั ของผูส้ มคั รทไี่ ดร้ ับเลือกตง้ั ในกรุงเทพมหานครทัง้ 30 คน 259 ตาราง 3.5 รายจา่ ยของผสู้ มคั ร ส.ส. กรุงเทพมหานคร ที่ชนะการเลอื กตง้ั แยกตามประเภทรายจ่าย 261 ตาราง 3.6 รปู แบบการแบง่ เขตเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบง่ เขตเลือกต้ังของกรงุ เทพมหานคร เพอ่ื รับฟงั ความคิดเห็นของพรรคการเมืองและประชาชนในกรุงเทพมหานคร 3 รปู แบบ 264 ตาราง 3.7 เขตเลอื กต้ังและจ�ำนวน ส.ส. กทม. ในการเลือกตัง้ ในปี พ.ศ. 2550 2554 และ 2562 269 ตาราง 3.8 จ�ำนวนผสู้ มคั รรับเลอื กตั้ง ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตั้ง กรุงเทพมหานคร จ�ำแนกตามเขต 274 ตาราง 3.9 จ�ำนวนผู้สมคั รรบั เลอื กต้งั ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตง้ั กรุงเทพมหานคร จ�ำแนกตามพรรค 276 ตาราง 3.10 หนว่ ยเลือกตงั้ และจ�ำนวนผมู้ สี ิทธเิ ลือกตง้ั 289 ตาราง 3.11 จ�ำนวนผู้มาใช้สทิ ธลิ งคะแนนก่อนวันเลอื กตั้ง ณ ท่ีเลือกต้ังกลางนอกเขตเลือกตง้ั 294 วนั ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2562 ส�ำนักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ประจ�ำกรุงเทพมหานคร ตาราง 3.12 จ�ำนวนผู้มาใชส้ ิทธลิ งคะแนนกอ่ นวันเลือกต้งั ณ ทเี่ ลอื กต้งั กลางนอกเขตเลอื กต้ัง 296 วันท่ี 17 มีนาคม พ.ศ. 2562 ส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ประจ�ำกรุงเทพมหานคร ผู้มาใชส้ ทิ ธิเลือกต้งั ล่วงหนา้ ณ ท่ีเลอื กต้งั กลางส�ำหรบั คนพกิ ารหรือทุพพลภาพ หรอื ผู้สงู อายุ ตาราง 3.13 ผลคะแนนผสู้ มัครรับเลอื กตงั้ ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง กรงุ เทพฯ พ.ศ. 2562 299 ตาราง 3.14 ผลการเลอื กต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบง่ เขตเลอื กตั้ง กรงุ เทพมหานคร 304
17 ตาราง 4.1 เขตเลือกต้ังกรงุ เทพฯ พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2562 พร้อมจ�ำนวนราษฎรในเขตเลือกตง้ั 325 พ.ศ. 2562 330 ตาราง 4.2 เขตเลือกตั้งกรงุ เทพฯ พ.ศ. 2562 ที่เปลย่ี นแปลงและไม่เปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ 331 ตาราง 4.3 เขตเลอื กตั้งกรงุ เทพฯ 17 เขต พ.ศ. 2554 ทีไ่ ม่เปลย่ี นแปลงในการเลือกตง้ั พ.ศ. 2562 332 ตาราง 4.4 แสดงความเชอ่ื มโยงระหว่างพืน้ ทข่ี องเขตเลือกต้งั พ.ศ. 2562 กับ พ.ศ. 2554 ตาราง 4.5 คะแนนเขตที่ 1 พระนคร ปอ้ มปราบศตั รูพา่ ย สัมพนั ธวงศ์ ดุสิต 341 (ยกเวน้ แขวงถนนนครไชยศรี) 344 ตาราง 4.6 คะแนนเขตท่ี 2 ปทมุ วนั บางรกั สาทร 347 ตาราง 4.7 คะแนนเขตท่ี 3 บางคอแหลม ยานนาวา 350 ตาราง 4.8 คะแนนเขตท่ี 4 คลองเตย วฒั นา 353 ตาราง 4.9 คะแนนเขตท่ี 5 ดนิ แดง ห้วยขวาง 356 ตาราง 4.10 คะแนนเขตท่ี 6 พญาไท ราชเทวี จตจุ ักร (เฉพาะแขวงจตุจักร และแขวงจอมพล) 359 ตาราง 4.11 คะแนนเขตที่ 7 บางซือ่ ดสุ ิต (เฉพาะแขวงถนนนครไชยศร)ี 362 ตาราง 4.12 คะแนนเขตที่ 8 ลาดพร้าว วังทองหลาง (ยกเวน้ แขวงพลบั พลา) 365 ตาราง 4.13 คะแนนเขตที่ 9 หลกั สี่ จตุจักร (ยกเว้นแขวงจตจุ ักร และแขวงจอมพล) 368 ตาราง 4.14 คะแนนเขตท่ี 10 ดอนเมอื ง 371 ตาราง 4.15 คะแนนเขตท่ี 11 สายไหม 374 ตาราง 4.16 คะแนนเขตท่ี 12 บางเขน 377 ตาราง 4.17 คะแนนเขตท่ี 13 บางกะปิ วงั ทองหลาง (เฉพาะแขวงพลับพลา) 380 ตาราง 4.18 คะแนนเขตท่ี 14 บงึ กุม่ คันนายาว (เฉพาะแขวงรามอนิ ทรา) 383 ตาราง 4.19 คะแนนเขตที่ 15 มนี บุรี คนั นายาว (ยกเว้นแขวงรามอินทรา) 386 ตาราง 4.20 คะแนนเขตที่ 16 คลองสามวา
18 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ตาราง 4.21 คะแนนเขตที่ 17 หนองจอก 389 ตาราง 4.22 คะแนนเขตที่ 18 ลาดกระบงั 392 ตาราง 4.23 คะแนนเขตท่ี 19 สะพานสูง ประเวศ (ยกเวน้ แขวงหนองบอน และแขวงดอกไม)้ 395 ตาราง 4.24 คะแนนเขตท่ี 20 สวนหลวง ประเวศ (เฉพาะแขวงหนองบอน และแขวงดอกไม้) 398 ตาราง 4.25 คะแนนเขตท่ี 21 บางนา พระโขนง 401 ตาราง 4.26 คะแนนเขตท่ี 22 คลองสาน บางกอกใหญ่ ธนบุรี (ยกเวน้ แขวงดาวคะนอง แขวงบุคคโล และแขวงส�ำเหร่) 404 ตาราง 4.27 คะแนนเขตที่ 23 จอมทอง ธนบุรี (เฉพาะแขวงดาวคะนอง แขวงบคุ คโล และแขวงส�ำเหร)่ 407 ตาราง 4.28 คะแนนเขตท่ี 24 ราษฎรบ์ ูรณะ ท่งุ คร ุ 410 ตาราง 4.29 คะแนนเขตที่ 25 บางขุนเทียน 413 ตาราง 4.30 คะแนนเขตที่ 26 บางบอน หนองแขม (เฉพาะแขวงหนองแขม) 416 ตาราง 4.31 คะแนนเขตที่ 27 ทวีวัฒนา ตลิง่ ชัน (เฉพาะแขวงตล่ิงชนั และแขวงฉิมพลี) หนองแขม 419 ตาราง 4.32 คะแนนเขตที่ 28 บางแค 422 ตาราง 4.33 คะแนนเขตที่ 29 ภาษีเจรญิ ตลง่ิ ชนั (ยกเวน้ แขวงตลิ่งชัน และแขวงฉมิ พลี) 425 ตาราง 4.34 คะแนนเขตที่ 30 บางพลัด บางกอกนอ้ ย 428 ตาราง 4.35 คะแนนผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ส.ส. แบบแบง่ เขตเลือกต้งั สอ่ี ันดับแรก รายเขตเลือกตงั้ 429 ตาราง 4.36 จ�ำนวน ส.ส. ในกรงุ เทพมหานครท่ีแตล่ ะพรรคไดร้ บั ในการเลอื กตง้ั 3 ครั้ง ตัง้ แต่การเลือกต้งั ในปี พ.ศ. 2550 จนถงึ พ.ศ. 2562 435 ตาราง 4.37 จ�ำนวนคะแนนเสียงในกรุงเทพมหานครท่ีแตล่ ะพรรคไดร้ บั ในการเลอื กต้งั 3 ครง้ั ตง้ั แต่การเลอื กตั้งในปี พ.ศ. 2550 จนถึง พ.ศ. 2562 436 ตาราง 4.38 เปรยี บเทียบ ส.ส. กรุงเทพมหานครในการเลอื กต้งั พ.ศ. 2554 และการเลือกตง้ั พ.ศ. 2562 437 ตาราง 4.39 รายชอ่ื ของสมาชกิ พรรคประชาธปิ ัตย์ทย่ี ้ายไปอยู่พรรคอื่นในการเลือกต้งั 24 มนี าคม พ.ศ.2562 448
19 ตาราง 4.40 รายละเอียดของสมาชกิ พรรคเพือ่ ไทยทยี่ า้ ยไปสังกัดพรรคอ่นื (ที่ไม่ใชไ่ ทยรักษาชาต)ิ 440 ในการเลือกต้ัง 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ตาราง 4.41 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งผสู้ มัครเพ่ือไทยกบั ไทยรักษาชาติ ในการเลอื กตง้ั ทวั่ ไป 461 เขตกรุงเทพมหานคร วนั ที่ 24 มนี าคม พ.ศ. 2562 478 ตาราง 4.42 ภูมหิ ลังผสู้ มัคร ส.ส. กรงุ เทพมหานคร 30 เขต พรรคพลังประชารฐั ตาราง 4.43 จ�ำนวนยอดชมยอดไลค์ในส่ือโซเชยี ลของพรรคการเมอื งหลัก 495 และแคนดเิ ดตนายกรฐั มนตรขี องพรรค 510 ตาราง 4.44 ภูมิหลงั ผูส้ มัครของพรรคอนาคตใหมใ่ นพืน้ ที่กรงุ เทพมหานครทง้ั 30 คน ตาราง 4.45 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งคะแนนเสยี งของพรรคอนาคตใหมก่ บั พรรคเพอ่ื ไทย 515 (และไทยรกั ษาชาติ ในกรณีทีพ่ รรคเพ่อื ไทยไม่ลง) ในเขตกรงุ เทพมหานคร ตาราง 4.46 ความสมั พนั ธ์ระหว่างคะแนนเสยี งของพรรคพลังประชารฐั และพรรคประชาธิปตั ย ์ 518 กบั พรรคเพือ่ ไทย (และไทยรักษาชาติ ในกรณีท่พี รรคเพอื่ ไทยไม่ลง) 526 ในเขตกรุงเทพมหานคร 549 ตาราง 4.47 จ�ำนวนขมุ ชนรายเขตกรุงเทพมหานคร ตาราง 5.1 คะแนนพรรคฝ่ายรฐั บาลและคะแนนพรรคฝ่ายค้านในพนื้ ทีก่ รงุ เทพมหานคร 550 ตาราง 5.2 คะแนนพรรคทสี่ นบั สนนุ พลเอกประยทุ ธ์อยา่ งชดั เจนในชว่ งหาเสียง และคะแนนพรรคท่ีไม่สนบั สนนุ พลเอกประยุทธ์ และไม่แสดงทา่ ทีในการสนบั สนนุ พลเอกประยุทธใ์ นช่วงหาเสียง
20 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร
21 บทสรุปส�ำหรับ ผู้บริหาร รายงานวิจัยฉบับนี้ศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ังสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎรเมอ่ื 24 มนี าคม พ.ศ. 2562 ในเขตกรงุ เทพมหานคร โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศกึ ษาปรากฏการณ ์ ทางการเมืองท่ีเก่ียวข้องกับการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในกรุงเทพมหานครในคร้ังนี้ ในมิติของ 1) บรรยากาศทางการเมืองและความเคล่ือนไหวทางการเมืองของพรรค องค์กร และกลุ่มทางการเมือง 2) ความเคลื่อนไหวและพฤติกรรมทางการเมืองของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร 3) บทบาทของ หน่วยงานภาครัฐ บริษัทเอกชน องค์กรสาธารณะ และองค์กรอื่น ๆ ที่เข้ามามีบทบาทในการเลือกต้ัง 4) การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมทางการเมือง แบบแผนพฤติกรรมทางการเมือง ของประชาชน และ กลมุ่ การเมอื ง 5) พฤตกิ รรมการใชท้ รพั ยากรตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเรอ่ื งคา่ ใชจ้ า่ ย 6) การเปลยี่ นแปลงของ ขว้ั อ�ำนาจทางการเมอื ง การยา้ ยพรรคการเมอื ง ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจทางการเมอื ง รวมทง้ั การวเิ คราะห์ ผลการเลือกต้ังที่เกิดขึ้น 7) การเคลื่อนไหวและการรณรงค์ในเรื่องการเลือกต้ังในกรุงเทพมหานครที่ปรากฏ ในส่ือออนไลน์ และ 8) ประเดน็ อื่น ๆ ทนี่ า่ สนใจที่ปรากฏขน้ึ มาในชว่ งการวจิ ัย ในการศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองดังกล่าว รายงานวจิ ัยนไ้ี ด้ 1) ส�ำรวจและบนั ทึกปรากฏการณ์ ทางการเมือง โดยเฉพาะในมิติของความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรเมื่อ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) ท�ำการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ดังกล่าว ที่เกิดข้ึนท้ังในระดับกรุงเทพมหานคร และ 3) วิเคราะห์ความเช่ือมโยงท่ีมีกับปรากฏการณ์ทางการเมืองของ การเลือกต้ังครัง้ นใี้ นระดับชาติ ความส�ำคัญของกรุงเทพมหานครในการศึกษาการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ได้แก่ การทก่ี รงุ เทพมหานครมจี �ำนวน ส.ส. มากทส่ี ดุ ในประเทศ คอื 30 คน และเปน็ ศนู ยก์ ลางทางการเมอื งการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม อีกทั้งส่งอิทธิพลทางการเมืองต่อพ้ืนที่ท่ีเหลือของประเทศเพราะมีพื้นท่ีส่ือมากท่ีสุด เดิมพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครเป็นการขับเค่ียวกันระหว่างพรรคเพื่อไทยกับพรรคประชาธิปัตย์ มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2544 และมกั จะมผี ลการเลอื กตงั้ ทไี่ มเ่ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกบั การเลอื กตง้ั ในประเทศ โดยประชาธปิ ตั ย์ มักจะได้ชัยชนะในกรุงเทพมหานคร ขณะที่เพ่ือไทยจะได้จัดต้ังรัฐบาล นอกจากน้ีในการเลือกต้ังรอบนี้ยังม ี
22 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร พรรคใหม่ ๆ ท่ีลงสมัครในเขตกทม. เช่น พลังประชารัฐและอนาคตใหม่ ซึ่งเป็นที่สนใจในหมู่ประชาชน เป็นอย่างมาก ในประการสุดท้ายกฎกติกาใหม่ของการนับคะแนนในส่วน ส.ส. บัญชีรายชื่อท�ำให้ทุกพรรค ต้องให้ความส�ำคัญกับทุกคะแนนเสียงท่ีได้ แต่ละพรรคจึงมีแนวโน้มท่ีจะแข่งขันกันอย่างเต็มท่ีโดยเฉพาะ กรณขี องกรงุ เทพมหานครทม่ี ปี ระชากรจ�ำนวนมาก และมคี วามคกึ คกั ของกจิ กรรมรณรงคห์ าเสยี งเปน็ อยา่ งมาก แนวทางการศึกษาของงานวิจัยชิ้นน้ีคือการส�ำรวจเอกสารทั้งงานวิจัยเก่า กรอบกฎหมายต่าง ๆ และฐานข้อมูลข่าวในอินเทอร์เน็ต และจากฐานข้อมูล Newscenter การสัมภาษณ์เจาะลึกกับผู้เกี่ยวข้อง ในการเลือกตั้งในคร้ังนี้ การสังเกตุการณ์แบบมีส่วนร่วม โดยท�ำการวิจัยต้ังแต่ก่อนการเลือกต้ัง เน้นช่วง การเลอื กตัง้ และหลังการเลือกตัง้ ผลวิจัยพบว่า 1. การเลือกตั้งคร้ังนี้ในเขตกรุงเทพมหานคร เกิดขึ้นหลังจากที่ว่างเว้นมานานถึง 8 ปี อันเป็น ผลมาจากความวุ่นวายทางเมืองที่น�ำไปสู่การรัฐประหารในปี พ.ศ. 2557 โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) การปกครองภายใต้ คสช. น�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงกฎกติกาการเมืองต้ังแต่การมีรัฐธรรมนูญใหม ่ ในปี พ.ศ. 2560 และกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ระบบการเลอื กตงั้ และพรรคการเมอื ง นอกจากนี้ พรรคการเมอื งและประชาชนยงั ถกู หา้ มไมใ่ หม้ กี จิ กรรมทางการเมอื งนบั ตง้ั แตก่ ารท�ำรฐั ประหารเปน็ ตน้ มาจนกระทงั่ กอ่ นเข้าช่วงการเลือกตงั้ 2. การเลือกตั้งในเขตกรุงเทพมหานครในคร้ังน้ีมีการจัดการเลือกต้ังท้ังหมด 30 เขต เปล่ียนจาก 33 เขตในคราวท่ีแล้ว ผลการเลือกต้ังในคร้ังน้ี พรรคพลังประชารัฐได้ท่ีนั่ง 12 ที่น่ัง พรรคเพ่ือไทย 9 ท่ีน่ัง พรรคอนาคตใหม่ 9 ท่ีน่ัง โดยทั้งสามพรรคได้คะแนนท่ีนั่งในกรุงเทพมหานครเป็นสัดส่วนสูงที่สุดเม่ือเทียบกับ คะแนนเสียงจากจังหวัดอื่น ขณะท่ีพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งเคยมีเสียงและมีท่ีนั่งมากที่สุดในเขตกรุงเทพมหานคร ในครั้งที่แล้ว (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) ไม่ได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งแม้แต่เขตเดียว แต่ก็ยังมีคะแนนเสียง ในระดับท่ีมีนัยยะส�ำคัญ 3. จากการวิเคราะห์ผลการเลือกต้ังของพรรคหลักทั้ง 4 พรรคท่ีได้คะแนนเสียงอย่างมีนัยยะส�ำคัญ ในกรุงเทพมหานคร จะพบว่า 3.1 พรรคประชาธปิ ตั ยเ์ ผชญิ ประเดน็ ทา้ ทายในเรอื่ งของยทุ ธศาสตรก์ ารตอ่ สทู้ างการเมอื งในระดบั จดุ ยนื ทางการเมอื ง เพราะวางต�ำแหนง่ ทางการเมอื งเอาไวว้ า่ ไมส่ นบั สนนุ คสช. และไมส่ นบั สนนุ ฝา่ ยทกั ษณิ นอกจากนี้ พรรคฯ ยงั เสยี เปรยี บในการเลอื กตง้ั ในครงั้ นจี้ ากความเขม้ แขง็ เชงิ สถาบนั ของพรรคประชาธิปัตย์เอง เพราะสมาชิกจ�ำนวนหน่ึงย้ายไปสังกัดพรรคอ่ืนและได้ชัยชนะ เพราะสมาชกิ พรรคประชาธปิ ปตั ยค์ นเดมิ ทเี่ คยไดร้ บั ชยั ชนะ ยงั ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากพรรค ให้ลงสมัครในพ้นื ท่เี ดมิ ทเ่ี คยชนะ
23 3.2 พรรคเพอ่ื ไทยสามารถรกั ษาพน้ื ทท่ี างการเมอื งในกรงุ เทพมหานครเอาไวไ้ ด้ และพฒั นากลยทุ ธ ์ การเลือกตั้งจากแรงกดดันทางโครงสร้างทางการเมืองและความเสียเปรียบในการจัดวาง สถาบนั ของกระบวนการเลอื กตงั้ โดยการเปดิ ใหส้ มาชกิ บางคนออกไปกอ่ ตง้ั พรรคไทยรกั ษาชาติ ลงสมัครในพ้ืนท่ีที่เพ่ือไทยไม่ส่งสมาชิกลงสมัคร โดยมุ่งหวังเก็บคะแนนในระดับบัญชีรายช่ือ แม้ว่าพรรคไทยรักษาชาติจะถูกยุบพรรคไปในท้ายท่ีสุดแต่เพ่ือไทยก็ยังได้ท่ีนั่งลดลงเพียงแค ่ หนง่ึ ที่ ทงั้ ท่ีสง่ ผู้สมคั รไมค่ รบทุกเขต และในบางเขตที่แพ้ในคราวท่แี ล้วก็กลบั มาชนะในครง้ั นี้ 3.3 พรรคพลังประชารัฐมีความได้เปรียบจากระบอบการเมืองที่ด�ำรงอยู่และระบบเลือกตั้งใหม ่ รวมท้ังสามารถยึดกุมเครือข่ายการเลือกต้ังเดิมท่ีมีอยู่ในท้องถิ่น โดยอาศัยเครือข่ายการเมือง ในทอ้ งถนิ่ เดมิ ของประชาธปิ ตั ยแ์ ละเพอื่ ไทย อาศยั ความนยิ มในตวั พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา หัวหน้าคณะคสช.และนายกรัฐมนตรี และอาศัยความนิยมของนโยบายของรัฐบาล อาทิ บตั รสวัสดกิ ารแหง่ รฐั 3.4 พรรคอนาคตใหม่ประสบความส�ำเร็จทางการเมืองจากการพลิกวิกฤติของโครงสร้าง ทางการเมืองมาเป็นโอกาสในการสร้างขบวนการเคล่ือนไหวทางการเมืองแบบใหม่ให้เป็น พรรคท่ีมีอัตลักษณ์ทางการเมืองใหม่ในนามของพรรคของคนรุ่นใหม่ ความหวัง และ การเปลี่ยนแปลงอีกทั้งมีการใช้เทคโนโลยี สื่อใหม่ และนวัตกรรมทางการเมือง แต่ความเป็น ทนี่ ยิ มของพรรคอนาคตใหมก่ เ็ ผชญิ กบั การตอ่ ตา้ นในหลายรปู แบบทงั้ จากฝา่ ยกา้ วหนา้ ดว้ ยกนั และฝา่ ยที่มจี ดุ ยนื ตรงขา้ มโดยเฉพาะที่อยฝู่ ง่ั เดียวกับฝา่ ยผมู้ อี �ำนาจรฐั 4. พรรคการเมืองท่ีให้ความส�ำคัญกับคะแนนเสียงในกรุงเทพมหานครมักจะมีนโยบายที่เก่ียวข้อง กบั การพฒั นากรงุ เทพมหานครเพม่ิ เขา้ มาจากนโยบายระดบั ชาติ โดยแบง่ ออกเปน็ หา้ ประเภท ไดแ้ ก่ 1) เศรษฐกจิ การจ้างงาน การประกอบอาชีพ 2) การคมนาคมขนส่ง 3) ส่ิงแวดล้อม 4) การศึกษา และ 5) การท่องเที่ยว อยา่ งไรกต็ ามนโยบายของทกุ พรรคไมไ่ ดม้ แี ตกตา่ งกนั มากนกั และไมม่ นี ยั ยะส�ำคญั ในการตดั สนิ ใจของประชาชน ในการเลือกต้งั ครั้งน้ี 5. การวางยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของพรรคและผู้สมัครในเขตกรุงเทพมหานครมีส่วนส�ำคัญ ในการก�ำหนดความส�ำเร็จและความลม้ เหลวของการเลอื กต้งั ในครง้ั น้ี โดยแบ่งออกเปน็ 5.1 การเข้าใจการเปล่ียนแปลงในพื้นท่ี โดยเฉพาะลักษณะทางประชากร การเมือง เศรษฐกิจ และ สังคมของผู้มีสิทธิเลอื กตงั้ 5.2 ความเข้าใจความหลากหลายของ “ชุมชน” ที่เป็นหน่วยส�ำคัญในกระบวนการรณรงค์ หาเสียงเลือกต้ังและตัดสินใจทางการเมือง โดยเฉพาะ ชุมชนท่ีเชื่อมโยงกับระบบสวัสดิการ จากหน่วยการปกครองท้องถิ่น และชุมชนแบบบ้านมีร้ัว เพราะชุมชนทั้งสองแบบน ้ี มชี ีวิตทางการเมืองและการเข้าถงึ ข้อมูลทางการเมืองที่แตกต่างกนั ไป
24 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 5.3 ระบบอุปถัมภ์ยังมีผลต่อความส�ำเร็จของการรณรงค์และชัยชนะในการเลือกตั้ง แม้ว่า ระบบอปุ ถมั นจ์ ะไมใ่ ชส่ งิ่ ทก่ี �ำหนดชยั ชนะในการเลอื กตง้ั ของพนื้ ทที่ งั้ หมดของกรงุ เทพมหานคร แตเ่ นอ่ื งจากหลายเขตคะแนนสสู ี คะแนนทชี่ นะอาจจะมาจากการรณรงคก์ ารเลอื กตงั้ ทก่ี ระท�ำ ผ่านเครือข่ายระบบอุปถัมภ์ในชุมชน และในรอบน้ีระบบอุปถัมภ์อาจแบ่งเป็นระบบอุปถัมภ ์ ในระดับชมุ ชน ในระดับเขต และในระดับประเทศ 5.4 การเข้าใจการใช้สื่อท้ังในรูปแบบเดิมและในแบบใหม่ ๆ เช่นส่ือโซเชียล มีผลต่อการออกแบบ ยุทธวิธีและยุทธศาสตร์ในการเข้าถึงฐานคะแนนเสียง โดยเฉพาะเมื่อผู้ลงคะแนนน้ันอยู่ใน รูปแบบชุมชนที่แตกต่างกนั ออกไป 6. ความซบั ซอ้ นและของพลวัตรในเรอ่ื งการทุจริตการเลอื กตง้ั ในกรุงเทพมหานครแบ่งออกเปน็ 6.1 เกิดจากทั้งตัวผู้สมัครเอง อาทิการซื้อเสียง ข่มขู่ เล่นพนัน โดยเชื่อมโยงกับระบบอุปถัมภ ์ ในชุมชน 6.2 เกดิ จากความเคลือบแคลงสงสัยตอ่ หน่วยงานของรัฐในการจดั การการเลือกตงั้ ในครัง้ น้ี ต้ังแต่ การจัดเขตเลือกต้ังท่ีเปล่ียนไปจากคราวท่ีแล้ว การนับคะแนนในระดับหน่วย การนับคะแนน ในระดบั เขต การรายงานผลทเ่ี กดิ ความล่าชา้ 6.3 เกดิ จากความเคลอื บแคลงสงสยั ตอ่ ระบอบการเมืองท่ีด�ำรงอยู่ นบั ตง้ั แต่การท�ำใหก้ ารรณรงค์ หาเสียงของพรรคเก่าช้ากว่าพรรคใหม่ การใช้อ�ำนาจเต็มของรัฐบาล การที่สมาชิกในรัฐบาล เกี่ยวพันกับพรรคการเมืองบางพรรคอย่างเปิดเผย หรือการโอนเงินพิเศษเข้ามาในช่วง เลอื กต้งั ผา่ นบัตรสวัสดิการแหง่ รัฐ ทงั้ นี้ พลวตั รและความซบั ซอ้ นของการทจุ รติ การเลอื กตงั้ นนั้ ไมใ่ ชเ่ งอื่ นไขสดุ ทา้ ยทสี่ ง่ ผลตอ่ การเลอื กตงั้ ชยั ชนะของพรรคการเมืองทีไ่ มใ่ ช่ฝ่ายท่มี อี �ำนาจรฐั และหาเสียงโดยจดุ ยนื ต่อต้านรัฐ ทงั้ เพอ่ื ไทยและอนาคตใหม่ ยังได้รับชัยชนะมากกว่าพรรคพลังประชารัฐ และผู้สมัครของเพ่ือไทยและอนาคตใหม่ก็ยังสามารถแก้ไขปัญหา แนวโน้มของการทุจรติ ในพืน้ ท่ีได้ 7. ผลของการเลือกต้ังในครั้งนี้ในพ้ืนที่กรุงเทพมหานครเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความขัดแย้ง ทซ่ี บั ซอ้ นขน้ึ ในการเมอื งของไทยทมี่ อี ยสู่ ามระดบั ไดแ้ ก่ ความขดั แยง้ แบบสเี สอ้ื ทด่ี �ำเนนิ มากอ่ นการท�ำรฐั ประหาร 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ความขดั แยง้ อนั เนอ่ื งมาจากการสนบั สนนุ และตอ่ ตา้ นการท�ำรฐั ประหารและระบอบ การปกครองภายใต้คณะรัฐประหาร และ ความขัดแย้งใหม่จากการเลือกต้ังในรอบน้ีระหว่างการเมืองเก่า และการเมอื งใหม่ โดยมีพรรคอนาคตใหมเ่ ปน็ แกนกลางของความขัดแยง้
25 8. ตัวแบบหลักท่ีมีผลต่อการเลือกตั้งในคร้ังน้ีก็คือตัวแบบการตัดสินใจเลือกต้ังท่ีเป็นส่วนผสมของ ตัวแบบเชิงยุทธศาสตร์และตัวแบบทางอารมณ์ มากกว่าการเลือกตั้งในแบบอุดมการณ์และการเลือกตั้งในแบบ บทที่ 3นโยบาย 9. นยั ยะทางทฤษฎที ไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาความเคลอ่ื นไหวทางการเมอื งและพฤตกิ รรมการเลอื กตงั้ ในเขต กรุงเทพมหานครในคร้ังนี้คือ การให้ความส�ำคัญกับกิจกรรมทางการเมืองและการรณรงค์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่จริง ซึ่งเป็นปฏิสัมพันธ์โดยตรงระหว่างพรรคการเมือง และนักการเมืองกับประชาชนผู้เลือกต้ัง โดยไม่ละเลยบริบท กรอบแนวคิดในการพัฒนาของความเปลย่ี นแปลงในพน้ื ทแ่ี บบมหานคร โดยเฉพาะชนดิ และการเปลยี่ นแปลงของชมุ ชน รวมทง้ั การท�ำงาน ตัวชี้วัดประชาธิปไตยและข้อจ�ำกัดของระบบอุปถัมภ์ในพื้นท่ีเมือง ประโยชน์และข้อจ�ำกัดของการใช้สื่อที่หลากหลายรูปแบบ ในการเข้าถึงฐานคะแนนเสียง และเข้าใจบริบททางการเมืองระดับชาติของกฎกติกาใหม่ ๆ ที่ส่งผล ตอ่ การออกแบบยทุ ธศาสตรแ์ ละยุทธวิธใี นการหาเสยี งในรอบนี้ การท�ำความเขา้ ใจพลวัตรของความเคลอื่ นไหว ทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ังในเขตกรุงเทพมหานครในครั้งน้ีท�ำให้ไม่ด่วนสรุปว่า พฤติกรรม และเกณฑ์การค�ำนวณการเลือกตั้งในกรุงเทพมหานครเป็นเร่ืองในระดับปัจเจกบุคคลเท่าน้ัน หรือเป็นเรื่องท่ีเป็นผลสะท้อนมาจาก โครงสร้างความขัดแย้งทางสังคมโดยตรงผ่านจุดยืนทางชนชั้น หรือความขัดแย้งที่มีมาแต่เดิม โดยละเลย คะแนนการเคล่ือนไหวในระดับพ้ืนที่และระดับเขต ซึ่งชี้ให้เห็นว่าระบอบการเมืองเดิมท่ีเข้าร่วมการเลือกต้ังเพ่ือด�ำรง อ�ำนาจต่อไปน้ัน ไม่ได้รับชัยชนะในกรุงเทพมหานครอย่างเอกฉันท์ และไม่เป็นที่นิยมในหมู่ประชาชนส่วนใหญ ่ ในกรุงเทพมหานคร แม้ว่าการด�ำรงอ�ำนาจของระบอบการเมืองเดิมจะประสบความส�ำเร็จในการสืบสาน อ�ำนาจผ่านการเลือกต้ังในระดับประเทศผ่านกฎกติกา ที่เอ้ือให้อ�ำนาจนอกการเลือกตั้งเข้ามามีส่วนก�ำหนด ตัวนายกรัฐมนตรี และผ่านการเจรจากับพรรคการเมืองบางพรรคหลงั การเลอื กตง้ั ส้ินสดุ ลง
26 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร Executive Summary This This research is a study of political activities and electoral behavior in the 2019 Thailand general election in Bangkok. The aim of the research is to examine the following aspects of the election : 1) political atmosphere and activities of political parties, organizations, and political groups; 2) activities and political behavior of the candidates; 3) roles of government agencies, the private sector, public organizations, and other organizations; 4) patterns and changes of political behavior among people and political groups; 5) use of resources especially electoral expenditure; 6) changes in political power affiliation, party switching, factors that affect political decisions, and electoral results; 7) political activities and electoral campaigns that appeared in online/social media; and 8) other issues that arose during the research period. The research not only surveys and records political phenomenon, especially phenomenon concerning political activities and electoral behavior in the 2019 general election in Bangkok, but also analyzes these political phenomena in the context of Bangkok, and implies a link between the findings in Bangkok and the national level. The points of significance of Bangkok in the general election of 24 March 2019 are: 1) Bangkok has the largest number of seats (30 seats out of 350 seats in total); 2) Bangkok is the national center of politics, administration, the economy, and society; 3) Bangkok has been the site of political struggle between the two major national political parties since 2001 (that is the Democrat and Pheu Thai parties) while also at this time there were two emerging popular political parties that were also looking for victory in Bangkok (the Palang Pracharat and the Future Forward parties); and 4) the new election MMP framework led to a competitive election campaign atmosphere, as every vote counted.
27 The research employs surveys of previous research on elections in Bangkok, analysis of legal frameworks, newspaper database content analysis, in-depth interviews with those who were involved in the elections (party members, candidates who won and lost, canvassers, community leaders, government officers from the Election Commission and local election committees, and non-governmental organization staff who observed the election). The research focuses on the time frame of the pre-election, election, and post-election periods. The findings of the research are as follow. 1) The 2019 general election took place after a long period (eight years) since the previous successfully endorsed general election in 2011 and the coup in 2014. Under the coup regime, political documents and regulations including the Constitution, election laws, and political party laws were changed. Political activities were banned until the announcement of the election. 2) During the 2019 election there were 30 constituencies in Bangkok, compared with 33 constituencies in the 2011 election. Of these 30, Palang Pracharat Party won 12 seats, Pheu Thai 9 seats, and Future Forward Party 9 seats. The seats they won in Bangkok were the largest number of seats they won nationwide. The Democrat Party, which had been the most popular in Bangkok in the previous election, did not win any seats, although they still captured a significant share of the votes cast across the city. 3) Some broad observations can be made concerning the four parties that earned significant shares of the vote in Bangkok: 3.1) The Democrat Party lost its ideological appeal among the voters and experienced a paradox of its own institutional strength. The former winners of the constituencies were reendorsed to the candicacy, while the runner-ups decided to move to other parties especially the Pro-coup Palang Pracharat. The party was unsuccessful in appealing to the voter with their political stand of neither support the coup regime nor Thaksin. The party also lost several members who moved out of the party to run under other parties and won. This is because the party still picked former candidates who won in the last election to run again, creating a big constraint that prevented other potential candidates from running.
28 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 3.2) The Pheu Thai Party survived and developed a new electoral strategy to deal with pressure from the political regime and the unfavorable conditions resulting from the institutional arrangements for the election. Some members left the party to form an allied party, Thai Raksa Chat, to run in the areas where Pheu Thai did not field candidates, mostly because Pheu Thai lost in those areas in the last election. The new MMP election system would favor Thai Raksa Chat to capture the Pheu Thai supporters in those area and convert those votes into party list seats. Despite the dissolution of the Thai Raksa Chat party at the very end of election campaign period, Pheu Thai still won nine seats (in contrast to the 10 seats they had won in the previous election) and the party won in an area where they had previously lost. 3.3) The Palang Pracharat Party had an advantage, as it was part of the incumbent political regime, and it gained further advantage from the new electoral system. The Palang Prachart Party was also able to seize existing local electoral networks of the Democrat and Pheu Thai parties. The Palang Prachart Party also leveraged the popularity of General Prayut (the junta head and prime minister at the time of the election) and the popularity of a controversial direct money transfer program to the poor (Government Welfare Registration Program - the so-called Poor Card). 3.4) The Future Forward Party successfully turned the crisis generated by the political restructuring into an opportunity to make a new social movement in the form of a new political party that embraced a new political identity characterized by the new generation, hope, and change. The Future Forward Party also made considerable use of new technology, new media, and political innovation. The popularity of the Future Forward Party drew criticism and political attacks from other progressive groups and those who supported the coup regime.
29 4) All of the political parties that were serious about earning the votes of Bangkok voters had as part of their party platforms policies concerning the development of Bangkok. These policy planks covered the following aspects of development: 1) economy, employment, occupation promotion; 2) transportation; 3) environment; 4) education; and 5) tourism. However, there was no big difference between each party’s policies, and the urban policy campaign did not have an influence on the voters. 5) The strategies and tactics used by political parties and candidates in their election campaigns played crucial roles in their electoral success or failure. 5.1) Parties and candidates must successfully know their constituency very well, especially voter demography. 5.2) They must also understand various forms of community which is the core polity where the political campaigning and political decisions take place. There are two major types of community in the Bangkok political landscape: 1) the state- registered community, and 2) the privately gated community. These two types of political communities have distinctive forms of political lives and different access to information. 5.3) Clientelism in Bangkok does not operate city-wide, but it is still crucial for the success of an election campaign and electoral victory in some areas, especially in constituencies that have close races. There are three types of clientelism in a Bangkok election: 1) community level, 2) local administration level, and 3) national level. 5.4) Parties and candidates must know how to use conventional media and new/ social media to achieve desired impacts especially in relation to different forms of community.
30 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 6) There are three types of electoral irregularities and electoral fraud in Bangkok. 6.1) One type is electoral irregularities and electoral fraud committed by the candidate, which are associated with clientelism and take the forms of vote buying, intimidation, and gambling. 6.2) Another is public suspicion of activities by state agencies done in the name of regulating elections, such as constituency changes, vote counts at the polling stations, vote counts at the constituency office, and delay of final result announcement. 6.3) There is also public suspicion of activities by the incumbent political regime seemingly meant to disadvantage competitors. For example, old political parties were delayed in launching election campaigns due to the junta’s or- ders. The junta-led government still had full power during the campaign. Sev- eral government members were in the Palang Pracharat party, and the party even nominated the head of the junta as its candidate for prime minister. The government also transferred a large amount of money via the government special subsidy program to the people right before the election. 7) The results of the 2019 general election in Bangkok reflect a multi-layered political conflict in Thailand: 1) the Color Divide that existed prior to the 2014 coup and still continues; 2) the divide generated from the coup between those who were pro-coup and those who were anti-coup; and 3) a new divide between “old politics” and “new politics” with the Future Forward Party as the center of the conflict. 8) The dominant model of voting behavior in this election was a mix of strategy and emotions rather than pure ideological and policy driven voting.
31 9) The theoretical implication of this research is to highlight the empirical political activities and election behavior that took place on the ground in each constituency and city wide, which is the interaction between political parties and candidates, on the one hand, and voters on the other. This examination must be conducted with a focus on demographic and spatial changes in the city, especially changes in the types of community, the operation and limitations of urban clientelism, benefits and limits of various forms of media reaching out to voters in different communities, and finally the new political context at the national level with changes in legal frameworks aimed at changing the political landscape. The research findings show that the dynamism and complex political activities and voting behaviors in the 2019 Bangkok general election are not just the action of the individual voters’ choices, or an automatic reflection of social cleavages (such as class or previous conflicts). The finding from the ground shows that the existing political regime (which was trying to use election as to sustain their political power in the name of democratic transition), did not win the election in Bangkok at the city-wide scale, and it was less popular than those parties and candidates that ran against the coup regime. The incumbent regime only succeeded at staying in power as a result of the pre-election restructuring of the legal framework. This restructuring supported a non-democratic procedure that favored the pro-junta’s formation of a government and cemented their empowered position through a post-election negotiation between certain parties as they formed the government.
32 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร
33 บทท่ี 1 บทน�ำ 1.1 ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การเลอื กตงั้ ทวั่ ไปเมอื่ วนั ท่ี 24 มนี าคม พ.ศ. 2562 เปน็ การเลอื กตงั้ ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายหลงั จากทปี่ ระเทศไทย ไม่ได้มีการเลือกต้ังติดต่อกันถึงระยะเวลา 8 ปี ถ้านับย้อนหลังไปถึงการเลือกต้ังท่ัวไปคร้ังก่อนหน้าน้ัน เม่ือ 3 กรกฎาคม 2554 ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาท่ีมีความเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นในโครงสร้างของทางอ�ำนาจ และโครงสร้างของสถาบันการเมอื งไทยอยา่ งทไ่ี มเ่ คยปรากฎมากอ่ น ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ได้เกิดการเปล่ียนแปลงในโครงสร้างของความสัมพันธ์ทางอ�ำนาจ ของประเทศไทยหลายประการ นับจากการข้ึนสู่อ�ำนาจด้วยชัยชนะจากการเลือกต้ังของพรรคเพ่ือไทย เม่ือปี พ.ศ. 2554 โดยมีนางสาว ย่ิงลักษณ์ ชินวัตร ผู้สมัครบัญชีรายช่ือหมายเลขหนึ่งของพรรคเพ่ือไทย เป็นนายกรัฐมนตรี และการเกดิ ข้ึนของกล่มุ การเมืองโดย กปปส. เม่อื เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2556 ที่สามารถระดม ความสนับสนุนจากประชาชนบางส่วนเพื่อชุมนุมคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ ต่อต้านการบริหาร งานของรัฐบาลย่ิงลักษณ์ และการเลือกต้ังท่วั ไปเมอ่ื 2 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2557 ซ่ึงถูกศาลรัฐธรรมนญู วินจิ ฉัยว่า การเลือกตั้งไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากไม่สามารถจัดการเลือกต้ังภายในวันเดียวกันท่ัวประเทศได้ (เพราะหน่วยเลือกตั้งถูกปิดล้อมไปด้วยผู้ชุมนุมจาก กปปส) และในที่สุดก็เกิดการรัฐประหาร โดยคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) ภายใต้การน�ำของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการทหารบก เมอื่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 นบั เป็นการท�ำรฐั ประหารคร้ังที่ 13 ในประเทศไทย ภายหลงั การท�ำรฐั ประหาร คสช.ไดป้ ระกาศใหร้ ฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 สนิ้ สดุ ลง และประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย(ฉบบั ชว่ั คราว) พ.ศ. 2557 เมอ่ื วนั ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 โดยคสช.ได้แต่งต้ังสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ท�ำหน้าท่ีแทนรัฐสภา เมื่อ 31 กรกฎาคม 2557 และสภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเลือก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช.เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อ 21 สิงหาคม 2557 โดยที่มี คสช.มีบทบาทส�ำคัญในการร่วมบริหารประเทศเหนือรัฐบาลขึ้นไป ท้ังนี้
34 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร พลเอกประยุทธ์มีสถานะสองสถานะในเวลาเดียวกัน คือ เป็นนายกรัฐมนตรี และเป็นหัวหน้า คสช. ซ่ึงพลเอกประยุทธ์มีอ�ำนาจพิเศษตามรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ตามมาตรา 44 ที่ให้อ�ำนาจกับหัวหน้า คสช. ในการออกค�ำสง่ั ทม่ี ผี ลในทางการบรหิ าร นติ บิ ญั ญตั ิ และ ตลุ าการ โดยไมต่ อ้ งผา่ นการตรวจสอบจากสถาบนั อน่ื และยังสามารถออกค�ำส่ังดังกล่าวได้จนถึงเม่ือมีการตั้งรัฐบาลใหม่ภายหลังการเลือกต้ังเม่ือวันท่ี 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ซึง่ หากนับรวมแลว้ มคี �ำส่ังภายใต้อ�ำนาจของมาตรา 44 ถงึ 456 ฉบบั (ประชาชาติธรุ กิจ, 2562ก) ท้ังน้ีรวมไปถึงการท่ีรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ยังมีอ�ำนาจเต็มภายหลังจากการประกาศพระราชกฤษฎีกา ให้มีการเลือกตั้ง ซ่ึงขัดกับขนบของการบริหารประเทศในช่วงก่อนการเลือกต้ังที่รัฐบาลจะอยู่ในสถานะรัฐบาล รักษาการณ์ซึ่งไม่สามารถใช้อ�ำนาจเต็มได้ หลังจากน้ัน คสช.ได้แต่งตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) 250 คน ใหม้ ีอ�ำนาจเสนอข้อเสนอปฏริ ปู และรบั รองรัฐธรรมนูญใหม่ เมื่อ 6 ตลุ าคม 2557 คสช.ได้แต่งต้ังคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (ชุดแรก) น�ำโดยนายบวรศักด์ิ อุวรรณโณ เมื่อวันท่ี 4 พฤศจิกายน 2557 และท�ำการร่างรัฐธรรมนูญซ่ึงในท้ายที่สุดสภานิติบัญญัติแห่งชาติลงมติไม่รับร่าง รฐั ธรรมนญู เมอ่ื วนั ท่ี 6 กนั ยายน 2558 จากนน้ั มกี ารยบุ สภาปฏริ ปู แหง่ ชาตแิ ละคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ และต่อมา คสช. ได้เลือกสมาชิกคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญชุดใหม่น�ำโดย นายมีชัย ฤชุพันธุ์ และ มีการแต่งตั้งสมาชิกสภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ 200 คน เพ่ือควบคุมดูแลแผนการปฏิรูปของ คสช. เมื่อวนั ท่ี 5 ตุลาคม 2558 ร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่ร่างโดยนายมีชัยแล้วเสร็จ เมื่อ 29 มีนาคม 2559 และเม่ือ 7 เมษายน 2559 ทป่ี ระชมุ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ (สนช.) พจิ ารณาประเดน็ ค�ำถามทจี่ ะเสนอตอ่ คณะกรรมการการเลอื กตงั้ (กกต.) ในการจัดท�ำประชามติร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่เพิ่มเติม โดยรับฟังความเห็นจากสภาขับเคล่ือนการปฏิรูป ประเทศ(สปท.) ซ่ึงมีมติเสนอให้ สนช. พิจารณา ในท้ายที่สุดก็เกิดเป็นค�ำถามพ่วงซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการ ลงประชามตริ า่ งรฐั ธรรมนญู ฉบบั ปี 2560 เมอ่ื 7 สงิ หาคม 2559 ทว่ี า่ “ทา่ นเหน็ ชอบหรอื ไมว่ า่ เพอื่ ใหก้ ารปฏริ ปู ประเทศเกดิ ความตอ่ เนอื่ งตามแผนยทุ ธศาสตรแ์ หง่ ชาติ สมควรก�ำหนดไวใ้ นบทเฉพาะกาลวา่ ในระหวา่ ง 5 ปแี รก นับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ ให้ท่ีประชุมร่วมกันของรัฐสภาเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบ บคุ คลซ่ึงสมควรไดร้ ับแตง่ ต้งั เป็นนายกรัฐมนตร”ี รา่ งรฐั ธรรมนญู ฉบบั ปี 2560 ผา่ นการลงมตดิ ว้ ยคะแนน เหน็ ชอบ รอ้ ยละ 61.35 (16,820,402 คะแนน) และ ไมเ่ หน็ ชอบ รอ้ ยละ 38.65 (10,598,037 คะแนน) สว่ นการลงประชามตปิ ระเดน็ เพม่ิ เตมิ วา่ ดว้ ยบทเฉพาะกาล ในร่างรัฐธรรมนูญ ก็ผ่านการลงประชามติด้วยคะแนน เห็นชอบ ร้อยละ 58.07 (15,132,050 คะแนน) และไม่เห็นชอบ ร้อยละ 41.93 (10,926,648 คะแนน) (ไทยรัฐออนไลน์ 2559) และในท่ีสุด ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบบั ดงั กลา่ วกไ็ ดร้ บั การลงพระปรมาภไิ ธยเมอื่ วนั ท่ี 6 เมษายน 2560 หลงั จากนน้ั กม็ กี ารประกาศพระราชบญั ญตั ิ ประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยคณะกรรมการเลอื กตง้ั พ.ศ. 2560 เมอ่ื 13 กนั ยายน 2560 (นบั จากวนั ทลี่ งประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา) และ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 เมอื่ 7 ตลุ าคม 2560 และ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการเลอื กตง้ั สมาชกิ ผแู้ ทนราษฎร พ.ศ. 2561
35 เมื่อ 12 กันยายน พ.ศ. 2561 และในที่สุด ก็มีการประกาศพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรเป็นการท่ัวไป พ.ศ. 2562 เม่ือวันท่ี 23 มกราคม 2562 และในที่สุด คณะกรรมการเลือกต้ัง ก็ได้ออกประกาศก�ำหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เม่ือวันท่ี 24 มกราคม 2562 โดยอาศัยอ�ำนาจ ตามความในมาตรา 12 แห่งระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 โดยก�ำหนดให้มีการเลอื กตั้งขึน้ ในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 แม้ว่านับจากการรัฐประหารเป็นต้นมาการเมืองในประเทศจะจ�ำกัดสิทธิเสรีภาพทางการเมือง โดยเฉพาะของนักการเมืองฝ่ายตรงข้ามนับตั้งแต่การปรับทัศนคติ การห้ามออกนอกประเทศ การอายัติบัญช ี เงินฝาก ฯลฯ แต่ก็ยังมีการเคลื่อนไหวทางการเมืองของผู้ท่ีไม่เห็นด้วยกับการท�ำรัฐประหาร โดยเฉพาะนิสิต นักศึกษา นักวิชาการ สื่อมวลชนบางส่วน และนักกิจกรรมเคลื่อนไหว แต่รัฐบาลและคสช.ก็มีการปราบปราม ดว้ ยการใชค้ �ำสง่ั ของคณะรฐั ประหาร รวมทงั้ การด�ำเนนิ คดดี ว้ ยศาลทหาร รวมทง้ั ใชก้ ลไกปฏบิ ตั กิ ารทางจติ วทิ ยา และสงครามขา่ วสาร แตก่ ระนนั้ กต็ ามในชว่ งทา้ ยของการอยใู่ นอ�ำนาจพเิ ศษของคณะรฐั ประหาร และการกา้ วส ู่ การเลือกต้ังน้ัน จะเห็นการเคล่ือนไหวทางการเมืองของอดีตนักการเมืองและผู้ท่ีเคยมีส่วนเกี่ยวข้องกับ การเคลอ่ื นไหวทางการเมอื งโดยเฉพาะเครอื ขา่ ย กปปส. และ เครอื ขา่ ยประชาธปิ ไตย เขา้ มากอ่ ตงั้ พรรคการเมอื ง อาทิ พรรคประชาชนปฏิรูป พรรครวมพลังประชาชาติไทย และ พรรคอนาคตใหม่ และลงสมัครรับการเมือง อย่างคึกคัก ทั้งนี้รวมไปถึงการเกิดพรรคพลังประชารัฐที่ก่อต้ังโดยอดีตรัฐมนตรีส่ีคนของรัฐบาลและการดึงเอา บุคคลหน้าใหม่ ๆ ที่เก่ียวพันกับรัฐบาลและระบอบรัฐประหารเข้ามามีสังกัดพรรคและลงสมัครในนามพรรค รวมถงึ การมอี ดีตกลุ่มของนักการเมืองบางสว่ นเข้าไปร่วมกบั พรรคดังกล่าวด้วย อาทิ กลุ่มสามมติ ร การเปล่ียนแปลงทางการเมืองท่ีได้กล่าวถึงข้างต้นได้ส่งผลให้การเลือกต้ังในคร้ังนี้แตกต่างจาก การเลอื กตงั้ ทผ่ี า่ นมาตงั้ แตห่ ลงั ปี พ.ศ. 2544 โดยสน้ิ เชงิ เชน่ การเลอื กตง้ั แบบบตั รใบเดยี ว โดยใชก้ ารนบั คะแนน แบบจัดสรรปันส่วนผสม และยังมีมาตรการใหม่ที่ก�ำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการเลือกตั้งข้ันต้น (แม้ภายหลัง จะมมี าตรา 44 ออกมาสรา้ งความยดื หยนุ่ ใหก้ บั มาตรการดงั กลา่ ว) มเี งอื่ นไขใหมเ่ กย่ี วกบั การจดั ตง้ั พรรคการเมอื ง หน้าท่ีและสถานภาพของสมาชิกพรรคการเมืองและคณะกรรมการบริหารพรรค รวมท้ังมีการก�ำหนดโทษ ของพรรคการเมืองไว้สูงมาก มีการก�ำหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งของพรรคการเมืองและวิธีการ หาเสียงเลือกตั้งของพรรคการเมืองในมาตรา 62-83 ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ เลอื กตง้ั กม็ คี วามเปลย่ี นแปลงไป คณะกรรมการการเลอื กตง้ั มบี ทบาททเ่ี พม่ิ มากขนึ้ มกี ารประกาศยทุ ธศาสตรช์ าต ิ 20 ปี และแผนการปฏิรูปประเทศ 13 ด้าน ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นกติกา หรือบทบัญญัติใหม่ท่ีเกิดข้ึน ท่ีจะส่งผล ต่อโครงสร้างทางการเมือง และการเปล่ียนแปลงของสถาบันการเมืองไทยอีกหลายสถาบัน ซึ่งยังไม่นับถึง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญอีกหลายฉบับ ที่ให้บทบาทหน้าท่ีกับองค์กรอื่น ๆ มากข้ึน ซ่ึงจะมีผลต่อ อ�ำนาจและบทบาทของผ้แู ทนราษฎรและรัฐบาลท่ีจะเกดิ ข้นึ ภายหลังการเลอื กตัง้ ด้วยการเปล่ียนแปลงในโครงสร้างทางอ�ำนาจ และโครงสร้างของสถาบันการเมืองในช่วงระยะเวลา 8 ปี ที่ผ่านมา จึงเป็นท่ีจับตามองว่า การเลือกต้ังคร้ังน้ีจะสามารถบรรเทาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมา
36 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร เป็นระยะเวลากว่าทศวรรษไดห้ รือไม่ และจะท�ำใหป้ ระเทศไทยเข้าสรู่ ะบอบประชาธิปไตยที่มคี ณุ ภาพไดห้ รอื ไม่ การปฏิรูปการเมืองจะเกดิ ขึ้นจริงหรือไม่ พฤติกรรมทางการเมอื งของประชาชนจะมกี ารเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ประชาชนมีการเรียนรู้ทางการเมืองมากข้ึนหรือไม่ และภายใต้กรอบกติกาใหม่น้ี ผลของการเลือกตั้งยังจะ ยนื ยนั ความตงั้ มนั่ ของระบบพรรคการเมอื ง หรอื ความเขม้ แขง็ ของพรรคการเมอื งบางพรรคทเ่ี คยกอ่ รา่ งสรา้ งตวั มาจากรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ไดห้ รือไม่ การจบั ตาของประเดน็ ท้ังหลายที่กลา่ วมานั้น จึงควรจะไดร้ บั การศึกษาเชงิ ลกึ เกย่ี วกับการเคลื่อนไหว ทางการเมืองในระดับพื้นท่ี เพอ่ื การท�ำความเข้าใจพฤติกรรมการเมือง กติกาใหม่ทางการเมอื ง ซ่งึ มีความส�ำคญั เปน็ อยา่ งย่งิ ทีจ่ ะน�ำไปสกู่ ารพัฒนาการเมอื งการปกครองไทยในระบอบประชาธิปไตยต่อไป รายงานวจิ ยั ฉบบั นที้ �ำการวจิ ยั ในพนื้ ทก่ี รงุ เทพมหานคร (กทม.) ซง่ึ เปน็ พน้ื ทที่ มี่ คี วามนา่ สนใจในการ ท�ำการศึกษาในเรื่องของความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในครั้งน้เี ปน็ อย่างมาก ด้วยเหตผุ ลเบ้อื งตน้ สี่ประการดงั น้ี ประการแรก กรุงเทพมหานครมีจ�ำนวน ส.ส. มากท่ีสุดในประเทศ คือ 30 คน แม้ว่าจะลดลง จากคราวที่แล้วถึง 3 คน การมี ส.ส.จ�ำนวนมากท่ีสุดสะท้อนให้เห็นถึงการท่ีกรุงเทพมหานครเป็นจังหวัดที่มี ประชากรมากท่ีสุด และเป็นจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และ สังคม รวมทั้ง ส่งอิทธิพลทางการเมอื งต่อพนื้ ที่ทเี่ หลอื ของประเทศเพราะมีพนื้ ที่สือ่ มากท่สี ุด ประการที่สอง การลดลงของจ�ำนวน ส.ส. ในคร้ังน้ียังเช่ือมโยงกับการเปล่ียนแปลงเขตเลือกตั้ง ซึ่งจะมผี ลท�ำใหเ้ กิดการขยบั พน้ื ทขี่ อง ส.ส. เดิม ประการท่ีสาม พื้นท่ีกรุงเทพมหานครเดิมเป็นการขับเค่ียวกันระหว่างพรรคเพ่ือไทย กับ พรรคประชาธปิ ตั ย์ มาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2544 ซงึ่ เปน็ พรรคทเี่ ชอ่ื มโยงมาจาก พรรคไทยรกั ไทย พรรคพลงั ประชาชน และ ความนยิ มของ พตท.ทกั ษณิ ชนิ วตั ร พรรคเพอ่ื ไทยแมจ้ ะมชี ยั ชนะทกุ ครง้ั ในการเลอื กตง้ั ระดบั ชาตนิ บั ตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2544 แต่พรรคเพื่อไทยไม่ได้มีชัยชนะในเขตกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่อง ขณะท่ีพรรคประชาธิปัตย์ แม้จะไม่ได้รับชัยชนะในระดับชาติ แต่กลับรักษาพ้ืนที่ความนิยมในกรุงเทพอย่างเหนียวแน่นมาโดยตลอด ทั้งในระดับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และ สมาชิก สภาเขต นอกจากน้ี กรุงเทพมหานครยังเป็นพื้นท่ีท่ีได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากขบวนการเส้ือเหลือง และ ขบวนการ กปปส. ซ่ึงมีฐานความนิยมเกี่ยวเน่ืองกับพรรคประชาธิปัตย์ เห็นได้จากการที่สมาชิกพรรค ประชาธิปัตย์ส่วนหน่ึงเขา้ รว่ มและแสดงทศั นะรว่ มกบั ขบวนการดงั กลา่ ว ประการทส่ี ี่ ในการเลือกตัง้ ครงั้ นี้ ภายใตก้ ฎกตกิ าใหม่ การปรับเขตเลอื กต้งั และ บรบิ ททางการเมอื ง ท่ีเปล่ียนไป ได้มีพรรคใหม่ ๆ เข้ามาแข่งขันกันมากข้ึน โดยเฉพาะพรรคอนาคตใหม่ ท่ีได้รับความนิยม จากคนรนุ่ ใหม่ พรรครวมพลงั ประชาชาตไิ ทย ซงึ่ เปน็ พรรคทร่ี วมตวั สมาชกิ หลกั ของ กปปส และ พรรคพลงั ประชารฐั
37 ที่มีความเก่ียวเนื่องกับรัฐบาล นอกจากนี้กฎกติกาใหม่ของการนับคะแนนในส่วน ส.ส. บัญชีรายช่ือท�ำให ้ ทุกพรรคต้องให้ความส�ำคัญกับทุกคะแนนเสียงท่ีได้ ดังน้ัน แต่ละพรรคจะมีแนวโน้มที่จะแข่งขันกันอย่างเต็มท ี่ และมที ัง้ การมผี สู้ มัครใหม่ ๆ และผสู้ มคั รทยี่ ้ายพรรค การเลือกต้ังในคร้ังน้ีในเขตกรุงเทพมหานครซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีท่ีใหญ่ท่ีสุดในประเทศ และมีประวัติศาสตร์ การแขง่ ขนั ทางการเมอื งทย่ี าวนาน จงึ มคี วามนา่ สนใจเปน็ พเิ ศษดว้ ยเหตผุ ลสป่ี ระการดงั ทก่ี ลา่ วมานเี้ ปน็ เบอื้ งตน้ 1.2 วัตถุประสงค์ (ตามบันทึกข้อตกลง) 1.2.1 เพอื่ ศกึ ษาบรรยากาศทางการเมอื งและความเคลอ่ื นไหวทางการเมอื งของพรรค องคก์ ร และ กลุม่ ทางการเมอื งท่เี กีย่ วขอ้ งกบั การเลอื กตั้งสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรในกรุงเทพมหานคร 1.2.2 เพื่อศึกษาความเคล่ือนไหว และพฤติกรรมทางการเมือง ของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิก ผู้แทนราษฎรในกรุงเทพมหานคร 1.2.3 เพื่อศกึ ษาบทบาทของหน่วยงานภาครฐั บรษิ ัทเอกชน องคก์ รสาธารณะ และองคก์ รอืน่ ๆ ทีเ่ ข้ามามบี ทบาทท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การเลือกต้ังสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรในกรงุ เทพมหานคร 1.2.4 เพื่อศึกษาการเปล่ียนแปลงของพฤติกรรมทางการเมือง แบบแผนพฤติกรรมทางการเมือง ของประชาชน และกลมุ่ การเมอื ง ในสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ในกรงุ เทพมหานคร 1.2.5 เพอื่ ศกึ ษาพฤตกิ รรมการใชท้ รพั ยากรตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในเรอื่ งคา่ ใชจ้ า่ ย เพอื่ ใหเ้ หน็ มูลค่าของการใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในกรุงเทพมหานคร 1.2.6 เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงของข้ัวอ�ำนาจทางการเมือง การย้ายพรรคการเมือง ปัจจัย ท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจทางการเมือง รวมทั้งการวิเคราะห์ผลการเลือกตั้งที่เกิดขึ้น ในกรุงเทพมหานคร 1.2.7 เพื่อศึกษาการเคลื่อนไหวและการรณรงค์ในเร่ืองการเลือกตั้งในกรุงเทพมหานคร ท่ปี รากฏในสอื่ ออนไลน์ 1.2.8 เพอ่ื ศึกษาประเดน็ อนื่ ๆ ทน่ี ่าสนใจทอี่ าจปรากฏข้นึ มาในช่วงการวจิ ยั
38 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 ขอบเขตด้านเวลา ขอบเขตด้านเวลาของการศึกษาประกอบไปด้วย การศึกษาต้ังแต่ช่วงก่อนการเลือกตั้ง ช่วงระหว่าง การมพี ระราชกฤษฎกี าก�ำหนดใหม้ กี ารเลอื กตง้ั วนั เลอื กตงั้ จนถงึ ประมาณ 1 เดอื น ภายหลงั จากคณะกรรมการ เลือกตัง้ ประกาศรับรองผลการเลือกตง้ั อย่างเปน็ ทางการในกรงุ เทพมหานคร 1.3.2 ขอบเขตประชากร ประชากรท่ีท�ำการศึกษาได้แก่ ผู้ลงสมัครรับเลือกต้ัง หน่วยงานภาครัฐ บริษัทเอกชน องค์กรอิสระ องค์กรสาธารณะ ส่ือมวลชน และองค์กรอ่ืน ๆ ที่มีอิทธิพลในการเลือกตั้ง ทั้งในระดับประเทศและในระดับ เขตจังหวัดที่ก�ำหนด ตลอดจนความตื่นตัวสนใจ การเข้ามีส่วนร่วม และพฤติกรรมการเลือกต้ังของประชาชน ในกรงุ เทพมหานคร 1.3.3 ขอบเขตพ้ืนท่ี กรงุ เทพมหานคร 1.3.4 ขอบเขตเนื้อหา 1.3.4.1 พฤติกรรมการเลือกต้ัง เป็นการศึกษาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ในทุกประเด็น เช่น การเลือกต้ังในคร้ังน้ีมีความเหมือน หรอื แตกตา่ งจากการเลอื กตง้ั ทเ่ี คยผา่ นมาในพนื้ ทหี่ รอื ไม่ มปี ระเดน็ ใดบา้ ง มกี ารเปลย่ี นแปลงทสี่ �ำคญั ในเรอ่ื งใด และส่งผลกระทบส�ำคัญในเร่ืองการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างไร นอกจากนี้ยังศึกษาความแตกต่างหลากหลาย (diversity) ของผสู้ มคั ร ในมติ คิ วามหลากหลายทางเพศ ชาตพิ นั ธ์ุ ลกั ษณะทางกายภาพ (พกิ าร) และการท�ำงาน ในพื้นที่ รวมถึงการแข่งขันทางการเมืองท้ังในส่วนท่ีสามารถเห็นได้ชัดเจน เช่น การรณรงค์หาเสียง กลยุทธ์ วธิ ีการ การน�ำเสนอนโยบาย ตลอดจนการแข่งขนั ในสว่ นที่ปิดบงั เช่น การซ้ือเสยี ง การใชอ้ ทิ ธิพลของหนว่ ยงาน การแทรกแซงด้วยวิธีการต่าง ๆ เปน็ ตน้ 1.3.4.2 การใช้เงินในการหาเสียงเลือกตั้ง 1) ศึกษาผลของการบังคับใช้มาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งตามกฎหมายใหม่ โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบเจตนารมณ์ของกฎหมายกับผลที่เกิดข้ึนจริงในระดับพื้นที่ ผ่านการศึกษาบทบาทและวิธีการปฏิบัติงานของผู้จัดการเลือกตั้งว่ามีวิธีควบคุมตรวจสอบ
39 ค่าใช้จ่ายในการเลือกต้ังของพรรคการเมือง/นักการเมืองในพ้ืนท่ีอย่างไร ได้ผลหรือไม่ และพฤตกิ รรมของผสู้ มคั ร/พรรคการเมอื งวา่ มปี ญั หาอปุ สรรคในการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายหรอื ไม ่ มคี วามพยายามทจ่ี ะหลบเล่ียงกฎหมายหรือไม่ อย่างไร 2) ศึกษาอิทธิพลของการใช้จ่ายเงินของผู้สมัครและพรรคการเมืองมีต่อประชาชน และผลของ การเลือกต้ัง ทั้งการใช้จ่ายเงินที่ถูกกฎหมายและไม่ถูกกฎหมาย โดยให้ความส�ำคัญกับ การส�ำรวจในพ้ืนที่ว่ายังมีการซื้อสิทธิขายเสียงอยู่หรือไม่ มีรูปแบบหรือกระบวนการอย่างไร ในการซื้อเสียง หรือหากมีการให้เป็นผลประโยชน์อ่ืนนอกจากตัวเงิน ผลประโยชน์ดังกล่าว คอื อะไร เป็นการแลกเปล่ียนผลประโยชน์ในรูปแบบใด และการซื้อเสยี งไม่ว่าจะในรูปแบบใด ยงั มีอทิ ธพิ ลต่อการตัดสนิ ใจของผู้ลงคะแนนเสียงเลอื กตง้ั หรือไม่ อย่างไร 3) สังเกต และช้ีวัดความรู้สึก ถึงทัศนคติและการให้เหตุผลของบุคคลทั่วไปในการรับรู้เกี่ยวกับ การซอื้ เสยี ง แลกผลประโยชน์ และสรา้ งเครือข่ายอุปถมั ภ์ในพืน้ ท่ี โดยพจิ ารณาวา่ ประชาชน ท่ัวไปสามารถยอมรับกับพฤติกรรมดังกล่าวได้หรือไม่ เพราะเหตุใด และประชาชนทั่วไป มีการตอบสนองตอ่ พฤติกรรมดงั กล่าวอยา่ งไรบ้าง 1.3.4.3 การต้ังม่ันของความเป็นพรรคการเมือง 1) โดยศกึ ษาการแขง่ ขนั ทางการเมอื ง โครงสรา้ งของตระกลู การเมอื ง หรอื เครอื ขา่ ยทางการเมอื ง ในเขตพ้ืนท่ีจังหวัด ว่ามีการเปลี่ยนแปลงสังกัดพรรคการเมืองจากการเลือกตั้ง 3 ครั้ง ท่ีผ่านมาหรือไม่ และหากมีการเปล่ียนแปลง อะไรคือปัจจัยที่ท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลง แต่ถ้าหากไม่มีการเปลี่ยนแปลง สาเหตุที่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง หรือเครือข่ายการเมืองเดิม ยงั คงอย่ใู นพรรคการเมืองเดิมโดยไมเ่ ปลี่ยนแปลงคอื อะไร 2) การเปล่ียนแปลงพรรคการเมืองของผู้ลงสมัครรับเลือกต้ัง หรือเครือข่ายทางการเมือง มีผล ตอ่ รปู แบบการแพช้ นะ ของผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ หรอื ไม่ อยา่ งไร หากไมม่ ี อะไรคอื ปจั จยั ทท่ี �ำให้ ผลของการเลือกต้ังออกมาในรปู แบบนน้ั 3) การเลอื กตง้ั ระบบใหมท่ เี่ ปน็ แบบบตั รใบเดยี วทบ่ี บี คนั้ ใหค้ นตอ้ งเลอื กคนหรอื เลอื กพรรคการเมอื ง มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกต้ังหรือไม่ อย่างไร ผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ใช้ปจั จัยอะไรมาก�ำหนดให้ตนเลือกพรรค หรอื เลือกผูส้ มัครรบั เลอื กตั้งคนไหน อย่างไร 4) การทแ่ี ตล่ ะพรรคตอ้ งด�ำเนนิ นโยบายตามยทุ ธศาสตรช์ าติ มผี ลท�ำใหน้ โยบายของแตล่ ะพรรค ในเขตพื้นที่มีความแตกต่างกันหรือไม่ ในส่วนของนโยบายพรรคที่แตกต่างกัน มีอิทธิพล ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ของผู้ลงคะแนนเสียงหรือไม่ หากเปรียบเทียบกับปัจจัย ดา้ นตวั บุคคลของผู้ลงสมคั รรับเลอื กตั้ง นโยบายพรรคหรอื ตัวบุคคลมีอทิ ธิพลต่อการตดั สนิ ใจ ของผลู้ งคะแนนเสียงเลอื กตง้ั มากกวา่ กัน
40 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 5) สภาพการณ์ที่เปลี่ยนไปของเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีท�ำให้ ผลู้ งคะแนนเสยี งเลอื กตงั้ มคี วามนยิ ม หรอื มคี วามผกู พนั กบั พรรคการเมอื งตา่ งไปจากการเลอื กตงั้ ครั้งท่ีแล้วหรือไม่ ท้ังน้ีเพ่ือค�ำถามว่า 8 ปีท่ีไร้การเลือกตั้งนั้น ความเป็นพรรคการเมือง หรอื ความนิยมในพรรคการเมอื ง ยังสามารถฝงั รากลึกในสังคมไทยไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตุใด 1.4 วิธีการศึกษาวิจัย อาศยั วิธกี ารศกึ ษาเชงิ คุณภาพเปน็ เครอ่ื งมือส�ำคญั ในการศึกษา ไดแ้ ก่ 1.4.1 เอกสารต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ กรอบของกฎหมาย เช่น ข้ันตอนการเลือกต้ังตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกต้ัง พ.ศ. 2560 อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ การเลือกตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง และบทบาท ของพรรคการเมืองตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยพรรคการเมอื ง พ.ศ. 2560 ข้อมูลเชิงพ้ืนท่ี เช่น ข้อมูลประชากร ข้อมูลพรรคการเมืองท่ีมีผู้สมัครรับเลือกตั้งในจังหวัด ที่ก�ำหนดท้ังในการเลือกต้ังปัจจุบัน และการเลือกต้ังในอดีต และข้อมูลประวัติผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง พร้อมความเป็นเครือญาติ หรือเครือข่ายของนักการเมืองเก่า ทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และ ผลการเลือกต้ังย้อนหลัง 3 ครั้ง 1.4.2 การสัมภาษณ์อย่างเจาะลึกในทุกประเด็นท่ีเกี่ยวข้อง โดยมีการลงพ้ืนท่ีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ เช่น คณะกรรมการบริหารพรรค และ อดีตคณะกรรมการ บริหารพรรค ผู้สมัครรับเลือกต้ัง องค์กรตรวจสอบการเลือกต้ังท้ัง กกต. และ องค์กรเอกชน ผู้น�ำชุมชน เจ้าหน้าทก่ี ารเลอื กตั้งในระดับเขต 1.4.3 การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม โดยเป็นการสังเกต บันทึก และวิเคราะห์บรรยากาศทั่วไป พฤติกรรมทางการเมืองของผู้ลงสมัคร รบั เลอื กตงั้ บทบาทของหนว่ ยงานภาครฐั บรษิ ทั เอกชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทเี่ ขา้ มามบี ทบาทเกยี่ วขอ้ ง กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พฤติกรรมทางการเมืองของประชาชน ในช่วงก่อนการเลือกต้ัง ช่วงการเลอื กตง้ั และช่วยหลังจากการเลอื กตงั้ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร
41 1.4.4 การศึกษาทบทวนกรอบการวิเคราะห์ในการท�ำความเข้าใจการเลือกตั้ง ในกรุงเทพมหานคร 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.5.1 ทราบถึงบรรยากาศท่ัวไป ความรู้ความเข้าใจ และความเคล่ือนไหวของประชาชน คณะกรรมการเลอื กตงั้ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พรรคการเมอื งและนกั การเมอื งในพนื้ ท่ี องคก์ ร เอกชน องคก์ รสาธารณะ และหนว่ ยงานภาครฐั รวมถงึ องคก์ รอน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร 1.5.2 ทราบถึงบทบาทและการท�ำงานของคณะกรรมการการเลือกตั้งระดับต่าง ๆ รวมถึงปัญหา อุปสรรค และการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนจากการบริหารจัดการการเลือกตั้งสมาชิกสภา ผแู้ ทนราษฎร 1.5.3 ทราบถึงพฤติกรรมทางการเมืองของผู้สมัครรับเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หน่วยงาน ภาครัฐ บริษัทเอกชน องค์กรสาธารณะ และองค์กรอื่น ๆ ที่เข้ามามีบทบาทเก่ียวข้องกับ การเลอื กตั้งสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร 1.5.4 ทราบถงึ แบบแผนพฤตกิ รรมทางการเมอื งของประชาชนโดยเฉพาะทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร 1.5.5 ทราบถึงพฤตกิ รรมการใช้จ่ายเงนิ ในการหาเสียงเลอื กตงั้ 1.5.6 ทราบถงึ การต้งั ม่นั ของสถาบนั พรรคการเมอื งในสังคมไทย ในบริบทท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลง 1.5.7 ทราบถึงบทบาทของโลกออนไลน์ต่อการเลือกต้ัง 1.5.8 ประเด็นอน่ื ๆ ท่นี า่ สนใจทีอ่ าจปรากฏขึ้นมาในชว่ งการวิจัย 1.6 ระยะเวลาท�ำการศึกษา 1 มกราคม 2562 – 31 กรกฎาคม 2562
42 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร
43 บทท่ี 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2.1 ทฤษฎีและแนวคิดในการวิจัย 2.1.1 ความส�ำคัญของการเลือกตั้งกับการเมือง การเลือกต้ัง (election) มีความส�ำคัญต่อการเมืองในฐานะท้ังการเป็นกระบวนได้มาซ่ึงผู้มีอ�ำนาจ ในการตดั สนิ ใจนโยบายของประเทศ และการสรา้ งความชอบธรรมใหก้ บั ระบอบการเมอื งในนามของการอา้ งวา่ ระบอบการเมอื งดงั กล่าวนน้ั เป็นการปกครองโดยประชาชนผ่านรัฐบาลที่เป็นตวั แทนของเขา ในการศึกษาเร่ืองการเลือกต้ังกับการเมือง เรามักจะมีข้อสรุปว่าการเลือกต้ังน้ันถือเป็นรากฐาน หรือ ปัจจยั ขนั้ ต่ำ� ของประชาธปิ ไตยจากค�ำจ�ำกดั ความประชาธิปไตยเชงิ กระบวนการ (procedural definition of democracy) โดยประชาธิปไตยเชิงกระบวนการมองว่าการเลือกต้ังโดยเฉพาะกระบวนการเลือกตั้งนั้น เป็นแกนส�ำคัญของสิทธิอ�ำนาจ (authority) ที่อยู่กับผู้ใช้อ�ำนาจรัฐที่มาจากการเลือกต้ัง และประชาชน เป็นผู้เลือกคนเหล่าน้ีเข้ามาถืออ�ำนาจ ส่ิงส�ำคัญของประชาธิปไตยเชิงกระบวนการจะอยู่ท่ีเร่ืองของ การให้ความส�ำคัญกับตัวขั้นตอนและกระบวนท่ีน�ำไปสู่การได้มาซึ่งสิทธิอ�ำนาจ ซึ่งหมายถึงการให้ความส�ำคัญ กับกระบวนการเลือกตั้ง ประชาธิปไตยนั้นจะมีผลออกมาอย่างไรก็ขึ้นกับกระบวนการท่ีถูกต้อง มากกว่า ประชาธิปไตยเปน็ เปา้ หมายหรือคุณคา่ ทปี่ ลายทาง จากที่กล่าวมาน้ีการเลือกตั้งจึงอาจไม่ได้สัมพันธ์กับประชาธิปไตยในแง่ของการเป็นเงื่อนไข ในการหาความจริง หรือการอ้างแค่ว่าถ้ามีการเลือกตั้งแล้วไม่จ�ำเป็นต้องตรวจสอบนักการเมืองที่มาจาก การเลอื กตง้ั อกี จนกวา่ จะมกี ารเลอื กตง้ั อกี ครง้ั เพราะถอื วา่ ผนู้ �ำการเมอื งนนั้ มาจากการเลอื กตง้ั แลว้ (ประชาธปิ ไตย แบบประชานิยม Populist Democracy) หรือการอธิบายว่าการเลือกต้ังน้ันเท่ากับการเลือกผู้น�ำด้วยวิธีการ ที่เปิดให้มีการแข่งขัน (Schumpeterian Democracy) แต่ประชาธิปไตยในแง่กระบวนการนั้นคือการให้ หลักประกันกับเสรีภาพที่เป็นหัวใจส�ำคัญท่ีสุดของคุณค่าประชาธิปไตย โดยจะต้องท�ำให้การเลือกต้ังน้ัน จะตอ้ งมกี ารแขง่ ขนั และเปน็ ธรรม (Saffon and Urbinati, 2013)
44 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 2.1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างการเลือกตั้งกับระบอบการเมือง การเลือกต้ังน้ันไม่ได้มีเฉพาะในระบอบประชาธิปไตยเท่าน้ัน ดังที่มีการพูดกันเสมอว่า การเลือกต้ัง ไม่ใชท่ กุ อย่างของประชาธิปไตย ในประเดน็ นอ้ี าจจะต้องแยกออกมาเป็นสองเร่ือง หน่ึง การเลือกตั้งโดยตัวของมันเองไม่สามารถเป็นเงื่อนไขช้ีขาดถึงคุณภาพของประชาธิปไตยได ้ งานวิจัยในปัจจุบันจึงให้ความสนใจกับการศึกษาคุณภาพของประชาธิปไตย โดยส่วนหนึ่งที่ส�ำคัญคือการศึกษา วจิ ัย และประเมินคุณภาพของการเมืองผ่านการศกึ ษาคณุ ภาพและลกั ษณะของการเลอื กตัง้ สอง การเลือกต้ังอาจเป็นส่วนส�ำคัญของการครองอ�ำนาจของเผด็จการ (พิชญ์ พงษ์สวัสด์ิ, 2561ค) โดยในประเดน็ นมี้ ขี อ้ ควรพจิ ารณาอยสู่ องรปู แบบใหญ่ ๆ หรอื อาจเรยี กวา่ การเลอื กตง้ั นนั้ มสี ว่ นส�ำคญั ในระบอบ การเมอื งแบบผสม (mixed regime หรือ hybrid regime) ซึง่ อาจมคี วามเปน็ ไปไดท้ ้งั สองลกั ษณะได้แก่ 1. “เมอ่ื เผดจ็ การนนั้ แปลงรา่ งเขา้ สปู่ ระชาธปิ ไตย” กลา่ วคอื เมอ่ื ระบอบเผดจ็ การไมไ่ ดก้ า้ วลงหรอื ถอยจากอ�ำนาจในแบบของการเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยตามท่ีเคยมีการศึกษากันไว้ในอดีต แตเ่ ผดจ็ การกลบั มงุ่ สบื ทอดอ�ำนาจของตวั เองโดยกลาย “กลายรา่ ง” เขา้ สรู่ ะบอบประชาธปิ ไตย อาทิการสรา้ งพรรคใหม่ในแบบพรรคสบื สานอ�ำนาจเผด็จการเพอื่ ลงสู้ศึกในเกมสก์ ารเลือกต้ัง 2. “เม่ือประชาธิปไตยแปลงร่างเข้าสู่เผด็จการ” กล่าวคือ เมื่อระบอบประชาธิปไตยน้ัน เริ่มกลายร่างไปเป็นเผด็จการ อาทิ การใช้กลไกเลือกตั้งในการได้มาซ่ึงอ�ำนาจ ความนิยม และความชอบธรรม จากนั้นก็เริ่มใช้อ�ำนาจท่ีอ้างว่ามาจากการเลือกต้ังในการท�ำลาย สถาบันหลักต่าง ๆ ที่มีส่วนค�้ำยันและเสริมคุณภาพของประชาธิปไตย อาทิ สิทธิเสรีภาพ ของประชาชนความเป็นอิสระของสถาบันตุลาการ ความเป็นอิสระและเสรีภาพสื่อ และ การปกครองโดยหลกั กฎหมาย ดังนัน้ การเลอื กต้งั จงึ มีไดท้ งั้ ในระบอบประชาธิปไตย ระบอบเผด็จการ และ ระบอบผสม (hybrid) 2.1.3 ระบบการเลือกต้ัง ความสัมพันธ์ในเรื่องของการเลือกต้ังกับการเมืองน้ัน ยังสามารถศึกษาได้จากการศึกษาระบบ การเลือกตั้ง (electoral system) โดยระบบการเลือกต้ังในที่นี้หมายถึง วิธีที่ใช้ในการค�ำนวณจ�ำนวนต�ำแหน่ง หรอื เกา้ อขี้ องรฐั บาลซึ่งผสู้ มคั รเลอื กต้งั และพรรคการเมอื งที่ส่งผู้สมัครฯจะไดร้ บั จากการเลอื กต้ัง ความสัมพนั ธ์ ของระบบเลอื กตง้ั กบั การเมอื งท�ำใหเ้ ราเขา้ ใจผลของการเลอื กตง้ั และผล/นยั ยะของผลการเลอื กตงั้ ทม่ี ตี อ่ การเมอื ง โดยการศกึ ษาว่า ระบบการเลอื กตงั้ แบบไหนน้ันจะมีผลต่อการเมอื งอยา่ งไร
45 ตัวอยา่ งระบบการเลือกตงั้ ในโลกนนั้ มกั จะแบง่ ออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ สามประเภทคอื 1. Plurality Electoral Systems หรือระบบเสียงข้างมากรอบเดียว ผู้ชนะในเขตนั้นสามารถ ได้ต�ำแหนง่ เลย แม้ว่าจะชนะดว้ ยคะแนนเพียงคะแนนเดยี ว 2. Majority Electoral Systems หรอื ระบบเสยี งขา้ งมากสองรอบ ผชู้ นะจะตอ้ งไดค้ ะแนนเสยี ง เกินคร่ึงหนงึ่ ของคะแนนทัง้ หมด ซึ่งอาจสง่ ผลให้เกดิ การมรี ะบบเลือกตั้งสองรอบ 3. Proportional Representation หรือ ระบบเลือกต้ังแบบสัดส่วน ซ่ึงรวมไปถึงระบบ การมีบัญชีรายชื่อให้ประชาชนเลือกทั้งผู้สมัครในเขตเลือกตั้งของตนเอง และมีคะแนน อีกส่วนหน่ึงไว้เลือกผู้สมัครในนามของพรรค ซึ่งประชาชนอาจจะมีสิทธิเลือกในรายชื่อนั้น หรือพรรคจัดท�ำรายชื่อให้เพียงแค่เลือกพรรคเท่านั้น การเลือกต้ังแบบสัดส่วนอาจจะม ี รายละเอยี ดหรือประเภทยอ่ ย ๆ ทแ่ี ตกตา่ งกันออกไป เร่ืองของความสัมพันธ์ระหว่างระบบการเลือกต้ังกับการเมืองนั้น ท�ำให้เราเห็นว่า ระบบการเลือกตั้ง น้ันมีผลต่อผลการเลือกต้ังและการเมือง อีกทั้งระบบการเลือกต้ังน้ันสามารถเปล่ียนแปลงและออกแบบใหม่ได้ ตัวอย่างเช่น การเลือกต้ังในแบบเสียงข้างมากทั่วไป อาจท�ำให้เสียงของประชาชนที่เลือกพรรคที่ไม่ชนะในเขต นั้นไม่ถูกนับเลย การเลือกตั้งที่เน้นเสียงข้างมากเกินคร่ึงอาจส่งผลให้เกิดความขัดแย้งมากขึ้น เพราะประชาชน มแี คส่ องตวั เลอื ก หรอื อาจจะกอ่ ใหเ้ กดิ การประนปี ระนอม เพราะแมว้ า่ ในรอบแรกประชาชนอาจจะเลอื กผสู้ มคั ร ทต่ี นพอใจ แตใ่ นรอบสองนน้ั เมอ่ื จ�ำตอ้ งเลอื กผสู้ มคั รคนใดคนหนง่ึ ทผี่ า่ นรอบแรกมาได้ ตวั ผสู้ มคั รเองอาจจะตอ้ ง เปดิ กว้างในเรอ่ื งของนโยบายทจ่ี ะโอบล้อมความตอ้ งการของประชาชนท่ีหลากหลายข้นึ เราสามารถแบ่งตัวแปรในระบบการเลือกต้ังที่มีผลต่อการเมืองได้อย่างน้อยสามประการ คือ สตู รการค�ำนวนการเลอื กตงั้ (electoral formula) ขนาดของเขต/พนื้ ทก่ี ารเลอื กตง้ั (district magnitude) และ โครงสรา้ งของบตั รเลอื กตง้ั และการลงคะแนน (ballot structure) (Farrell, 1997) นอกจากนแ้ี ลว้ ระบบเลอื กตง้ั ยงั มผี ลตอ่ ระบบพรรคการเมอื ง (party system) ดว้ ย อาทิ ระบบเลอื กตงั้ แบบท่ไี ม่ใชร่ ะบบสัดส่วน คือนับคะแนนรอบเดยี วและผ้ชู นะได้ท้ังหมดในเขตจะส่งเสริมระบบสองพรรค (two- party system) ขณะทร่ี ะบบเลอื กตง้ั แบบสดั สว่ นนน้ั จะสง่ เสรมิ ระบบพรรคหลายพรรค (multi-party system) หรือก็มีข้อถกเถียงเชน่ กนั ว่า ระบบหลายพรรคอาจจะมาก่อนจะมรี ะบบเลือกตง้ั แบบสดั ส่วนด้วยซ�้ำ (เพง่ิ อา้ ง) นอกจากน้ีแล้วระบบเลือกตั้งยังมีผลต่อพฤติกรรมเลือกต้ัง (voting behavior) อาทิ ระบบเลือกตั้งอาจส่งผลต่อการตัดสินใจเลือก พรรคหรือการเลือกตัวบุคคล หรืออาจจะส่งผลต่อการเลือกต้ัง เชิงยุทธศาสตร์ (tactical voting or strategic voting) เม่ือผู้ลงคะแนนเสียงน้ันไม่สามารถเลือกผู้สมัคร หรือพรรคที่ตนต้องการที่สุดเนื่องจากถูกจ�ำกัดโดยโครงสร้างของระบบการเลือกต้ัง โดยเฉพาะในแง่ของ โครงสร้าง/ระบบของบัตรเลือกตั้งและการลงคะแนน (เพ่ิงอ้าง)
46 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 2.1.4 พฤติกรรมการเลือกต้ัง การศกึ ษาพฤติกรรมการเลอื กตั้ง (electoral behavior) อาจมีความหมายในระดบั กว้างและแคบ ในการศึกษาพฤติกรรมการเลือกตั้งในความหมายกว้าง เราอาจศึกษาพฤติกรรมของสถาบัน ทางการเมืองและบุคคลที่เก่ียวข้องกับการเลือกตั้งไล่เรียงมาต้ังแต่ รัฐบาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ คณะกรรมการ เลือกต้ัง ผู้เลือกตั้ง พรรคการเมือง ผู้สมัครรับเลือกต้ัง ส่ือมวลชน และสถาบันทางการเมืองอ่ืนที่เกี่ยวข้องทั้งท่ี เปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ รวมไปถงึ กรอบกตกิ าการเลอื กตง้ั ตา่ ง ๆ และวฒั นธรรมการเลอื กตง้ั ในสงั คมนนั้ ๆ ขณะทกี่ ารศกึ ษาพฤตกิ รรมการเลอื กตง้ั ในความหมายแคบ อาจจะศกึ ษาเพยี งความคดิ เหน็ และแบบแผน ในการลงคะแนนของผู้เลือกต้ัง (voting behavior) หรืออาจขยายไปศึกษาพฤติกรรมการหาเสียงเลือกต้ัง ของผสู้ มัคร (campaigning) 2.1.5 พฤติกรรมการลงคะแนนเสียง การศึกษาพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงท�ำให้เราสามารถท�ำความเข้าใจกระบวนการและเหตุผล ของการตัดสินใจของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การศึกษาพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงท�ำให้เราเห็นตัวแบบ การตัดสนิ ใจในการลงคะแนนเสยี งอยู่หลายรปู ลกั ษณะ อาทิ 1. การลงคะแนนเสยี งตามอดุ มการณ์ (Ideological Voting) หมายถงึ เมอื่ ผลู้ งคะแนนตดั สนิ ใจเลอื ก ตามอุดมการณ์ของตน แต่การลงคะแนนในแบบอุดมการณ์น้ันมีการตั้งข้อสังเกตว่าผู้ที่ลงคะแนนแม้ว่าจะมีชุด และความโน้มเอียงทางอุดมการณ์ท่ีมีอยู่ก่อนในการก�ำหนดการตัดสินใจ แต่อาจจะไม่ได้มีความเข้าใจ อยา่ งถอ่ งแทใ้ นอดุ มการณท์ างการเมอื งของตนอยา่ งแทจ้ รงิ หมายถงึ วา่ พวกเขาอาจมอี ดุ มการณก์ วา้ ง ๆ อาทิ เสรนี ยิ ม (liberal) อนุรักษ์นิยม (conservative) หรือกลาง ๆ (moderate) แต่ในบางคร้ัง พวกเขาอาจจะมีอุดมการณ์ ท่ีไม่เป็นไปในทางเดียวกันในทุกมิติ อาทิ ในทางสังคมท่ีพวกเขาอาจจะมีอุดมการณ์เสรีนิยม แต่ในทางประเด็น ทางเศรษฐกิจพวกเขาอาจจะมอี ดุ มการณใ์ นแบบอนุรกั ษน์ ยิ ม (Miller and Shanks, 1996) การลงคะแนนเสียงตามอุดมการณ์น้ีมีความสัมพันธ์ควบคู่ไปกับมิติอ่ืน ๆ ในการตัดสินใจลงคะแนน เสยี ง อาทิ ผเู้ ลอื กตง้ั อาจตดั สนิ ใจลงคะแนนเสยี งตามประเดน็ นโยบายของแตล่ ะพรรคดว้ ยเงอื่ นไขทางอดุ มการณ์ หรือ ผู้สมัครเลือกต้ังอาจลงคะแนนเสียงโดยการคาดการณ์หรือสร้างการรับรู้เอาเองว่าผู้สมัครแต่ละคนน้ัน มีจุดยืนทางอดุ มการณ์ตรงกบั ตน 2. การลงคะแนนเสยี งตามนโยบาย (Policy Voting) หมายถงึ การลงคะแนนเสยี งทเ่ี นน้ ไปทกี่ ารตดั สนิ ใจ ลงคะแนนด้วยการใช้เหตุผล (rational) หรืออาจเรียกว่า การลงคะแนนเสียงตามเหตุผล (Rational Voting) โดยผู้ลงคะแนนน้ันตัดสินใจลงคะแนนตามนโยบายที่พวกเขาต้องการ (policy preference) ซ่ึงถูกน�ำเสนอ
47 มาจากแต่ละพรรคการเมือง หรือ ผู้สมัครฯ (Brody and Page, 1972) ความส�ำคัญในการลงคะแนนในแบบ นโยบายหรอื เหตผุ ลน้ี หมายถงึ วา่ ผลู้ งคะแนนนน้ั สามารถเลอื กตดั สนิ ใจตามนโยบายในแตล่ ะครง้ั ของการเลอื กตง้ั โดยอิสระ ไม่จ�ำเป็นท่ีจะเหมือนกับคราวที่แล้ว หรือครั้งต่อไป หรือกล่าวอีกอย่างว่าผลที่มีต่อการตัดสินใจ เลือกตั้งน้ันเป็นผลลบในระยะสั้น (เพ่ิงอ้าง) หรือกล่าวอีกอย่างว่า การลงคะแนนตามนโยบายนี้ไม่ใช่เร่ืองของ การลงคะแนนในแบบเดียวกับการลงคะแนนด้วยอุดมการณ์ที่เราอาจจะมีแบบแผนท่ีแน่นอนในการท�ำนาย ในระยะยาว หรอื เป็นการเมืองทเี่ ลือกข้างอยา่ งชดั เจน (partisan politics) 3. การลงคะแนนเสียงตามอารมณ์ (Emotional Voting) เป็นการลงคะแนนเสียงที่ให้ความส�ำคัญ กับบทบาทของอารมณ์ความรู้สึกในการตัดสินใจลงคะแนนเสียง ซ่ึงการพิจารณาบทบาทของอารมณ์ ในการลงคะแนนเสียงน้ี มีผลส�ำคัญต่อปฏิสัมพันธ์ระหว่างการจัดการเลือกต้ัง (electoral arrangements) บทบาทอันสลับซับซ้อนของการเลือกตั้งท่ีมีต่อประชาธิปไตย และท�ำให้เกิดความสนใจใน “การยศาสตร ์ ของการเลือกต้ัง” (electoral ergonomics) ที่หมายถึงการออกแบบการจดั การการเลอื กต้งั ทค่ี �ำถงึ ถงึ การรับรู้ และอารมณ์ความรูส้ กึ ของผูล้ งคะแนนเลอื กตง้ั (Bruter and Harrison, 2017) ตัวอย่างส�ำคัญของการลงคะแนนเสียงตามอารมณ์ท่ีเกิดข้ึนเมื่อไม่นานน้ีในปรากฏการณ ์ ทางการเมอื งระดบั โลกกค็ อื การลงคะแนนประชามตใิ นประเทศองั กฤษทอ่ี อกจากการรว่ มประชาคมยโุ รป (Brexit) เมอ่ื ปี ค.ศ. 2016 และชยั ชนะของโดนลั ทรมั ปใ์ นการเลอื กตง้ั ประธานาธบิ ดสี หรฐั ในปี ค.ศ. 2016 ซง่ึ ทง้ั สองครง้ั นี้ ผลการเลือกต้ังนั้นไม่ตรงกับค�ำท�ำนายของการหย่ังเสียง (โพล) และพบว่าการตัดสินใจลงคะแนนอาจพลิกผัน ไปในชว่ งเวลาสน้ั ๆ กอ่ นการเลอื กตง้ั ในความหมายทว่ี า่ ความตง้ั ใจทจ่ี ะลงคะแนนของผเู้ ลอื กตง้ั นน้ั อาจจะไมใ่ ช ่ สิง่ ท่เี กิดขน้ึ จรงิ ในห้วงขณะของการเลือกตั้งในวนั จรงิ (เพิ่งอา้ ง) อิทธิพลของอารมณ์ที่มีต่อการเลือกต้ังอาจจะมีได้ทั้งในแบบบวกหรือลบ ในเชิงบวกนั้น ความรู้สึก เป็นชุมชนเดียวกันและรู้สึกว่าต้องรับผิดชอบต่ออนาคตอาจจะน�ำไปสู่การสร้างความชอบธรรมให้กับระบบ การเมอื งการยอมรบั ผลของการตดั สนิ ใจทางการเมอื ง และการเคารพผอู้ น่ื แตใ่ นอกี ดา้ นหนงึ่ ความรสู้ กึ ทางอารมณ์ ที่เต็มไปด้วยความเกลียดชังต่ออีกฝ่ายหน่ึงอาจจะเป็นเงื่อนไขส�ำคัญในการลงคะแนนเสียง รวมท้ังไม่พอใจ กับผู้ที่ลงคะแนนเห็นต่างไปจากตน และอาจมีผลต่อความแตกแยกทางสังคมในระยะยาว (เพิ่งอ้าง) นอกจากนี้แล้วการจัดเลือกต้ังอาจมีผลต่อการลงคะแนนได้ เช่นการศึกษาพบว่า การจัดหน่วยเลือกต้ังในโบสถ์ อาจมผี ลตอ่ การลงคะแนนเสยี งทโ่ี นม้ เอยี งไปทางอนรุ กั ษน์ ยิ ม สว่ นการเลอื กทจ่ี ะลงคะแนนเสยี งเลอื กตงั้ ลว่ งหนา้ ท่ีหน่วยเลือกต้ังที่ก�ำหนดเองมีผลต่อความรู้สึกสนใจและเชื่อมโยงตัวเองกับสังคมมากกว่าการลงคะแนนเสียง ทางไปรษณีย์ รวมทั้งการที่คนรุ่นใหม่ลงคะแนนเสียงออนไลน์มีผลต่อระดับความพึงใจที่ต่�ำและความเต็มใจ ทตี่ �ำ่ ในการทจ่ี ะลงคะแนนเสียงเลือกต้ังในครั้งตอ่ ไป (เพ่ิงอ้าง) 4. การลงคะแนนเสียงเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Voting) เป็นพฤติกรรมท่ีผู้ลงคะแนนเสียงนั้น ไม่ได้ลงคะแนนเสียงด้วยความต้องการท่ีแท้จริง หรือตัวเลือกที่ต้องการที่สุด (most preferred option หรอื sincere vote) แตก่ ารลงคะแนนนนั้ เปน็ กระบวนการทเี่ กยี่ วเนอื่ งทง้ั การตดั สนิ ใจ และการคาดเดาผลลพั ธ์
48 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ทง้ั น้ี ผลู้ งคะแนนเลอื กตง้ั จะตอ้ งชงั่ นำ�้ หนกั หรอื คาดคะเนประโยชนท์ ไี่ ดจ้ ากการลงคะแนนในเรอ่ื งนนั้ ๆ ทา่ มกลาง ตัวเลือกที่มีอยู่ ดังนั้น การเลือกต้ังในเชิงยุทธศาสตร์จึงเป็นการเลือกต้ังที่ผู้ลงคะแนนตัดสินใจบนฐานที่มีทั้ง เร่ืองการท�ำให้คะแนนเสียงของตนน้ันมีอรรถประโยชน์สูงสุด และได้ผลลัพธ์เป็นที่ต้องการ ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่า ผู้ลงคะแนนอาจไม่ได้ลงคะแนนด้วยตัวเลือกที่ตนต้องการท่ีสุด แต่ต้องตัดสินในใจไปในทิศทางที่จะเป็นไปได้ มากทสี่ ดุ และใหป้ ระโยชนส์ งู สดุ หรอื กลา่ วอกี อยา่ งกค็ อื การเลอื กตงั้ เชงิ ยทุ ธศาสตรน์ นั้ ผลู้ งคะแนนจะตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ความตอ้ งการและการคาดหวังผลท่ีได้ (Gschwend and Meffert, 2017) หรือกล่าวงา่ ย ๆ ว่า การลงคะแนน ในแบบยุทธศาสตร์นั้น ผู้ลงคะแนนอาจไม่ได้ลงให้กับผู้สมัครหรือพรรคท่ีตนเห็นด้วยมากท่ีสุด แต่อาจจ�ำต้อง ลงคะแนนเพื่อให้ฝ่ายท่ีตนไม่ชอบนั้นไม่ชนะ เพราะอาจรู้สึกว่าคะแนนของตนน้ันอาจจะไร้ค่าถ้าโหวตให้กับ พรรคเล็กที่เป็นตัวเลือกที่แท้จริง ซึ่งส่วนหนึ่งของสาเหตุส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิดการเลือกตั้งเชิงยุทธศาสตร์น้ัน อาจจะมาจากระบบการเลือกต้ัง อาทิ ระบบการเลือกต้ังแบบเสียงข้างมากรอบเดียว ก็อาจมีผลท�ำให้ คะแนนเสียงเลอื กต้งั ของพรรคเลก็ ๆ ไมถ่ ูกนบั (Duverger, 1954) อนึ่ง แบบแผนที่น�ำเสนอมาท้ังหมดทั้งสี่แบบน้ีไม่ได้หมายความว่า เม่ือผู้ลงคะแนนเสียงนั้นตัดสินใจ ละคะแนนเสยี งจะใชเ้ พยี งหนง่ึ แนวทางเทา่ นน้ั ในการลงคะแนนเสยี ง พวกเขาอาจจะเลอื กใชก้ ารลงคะแนนเสยี ง มากกว่าหน่งึ แนวทางผสมกนั กอ็ าจจะเป็นได้ 2.1.6 การเลือกต้ังกับรอยแยกทางสังคม (Social Cleavage) แนวคิดเรื่องการเมืองในมิติรอยแยกทางสังคม (Cleavage Politics) มีความแตกต่างกับการเข้าใจ พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงในสี่แบบแรก กล่าวคือตัวแบบการตัดสินใจลงคะแนนเสียงในส่ีแบบที่ได้กล่าวถึง ไปในหัวข้อท่ีแล้วนั้นมีหน่วยการวิเคราะห์และข้อสมมุติฐานท่ีส�ำคัญว่า การตัดสินใจลงคะแนนเสียงน้ัน เป็นเรื่องของการตัดสินใจในระดับปัจเจกบุคคล แต่การเลือกตั้งในมิติของรอยแยกทางสังคมมีข้อสมมุติฐานว่า ภูมิหลังทางสังคม(เศรษฐกิจ) น้ันมีผลต่อการตัดสินใจทางการเมือง โดยเฉพาะมีผลต่อการลงคะแนนเสียง อาทิ ชนชน้ั ชาติพันธุ์ ศาสนาและภูมิภาค การเมอื งในมติ ริ อยแยกทางสงั คมหมายถงึ การแบง่ แยกทางการเมอื งระหวา่ งประชาชนโดยมรี ากเหงา้ มาจากโครงสรา้ งทางสงั คมทด่ี �ำรงอยู่ และการเมอื งแบบนเ้ี ปน็ เรอื่ งของการเมอื งของการแบง่ ขวั้ (Fabbrini, 2001) ดงั เชน่ ตวั แบบคลาส.ส.คิ ทมี่ องวา่ การเมอื งในยโุ รปนน้ั เปน็ ผลมาจากโครงสรา้ งทางสงั คมทเี่ ปน็ ผลมาจากพฒั นาการ ทางประวัติศาสตร์ทสี่ �ำคญั ไดแ้ ก่ การปฏวิ ัติประชาชาติรวมถงึ การเกดิ รฐั สมยั ใหม่ (national revolution) และ การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม หรอื ก�ำเนดิ ระบบทนุ นยิ มในยโุ รป ก�ำเนดิ รฐั ประชาชาตสิ มยั ใหมน่ น้ั ท�ำใหเ้ กดิ การแบง่ แยก ในระดับโครงสรา้ งสองประการไดแ้ ก่ รอยแยกระหวา่ งสว่ นกลางและพน้ื ทชี่ ายขอบหรอื ท้องถิ่นที่ตอ้ งการอิสระ และ พวกทตี่ อ้ งการพน้ จากอทิ ธพิ ลของศาสนจกั ร และ พวกศาสนจกั ร ขณะทกี่ �ำเนดิ การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมนน้ั ท�ำให้เกิดรอยแยกในระดับโครงสร้างสองประการได้แก่ รอยแยกระหว่างเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
49 และ รอยแยกระหวา่ งนายทนุ กบั ชนชนั้ แรงงาน ในแงน่ ้ี พรรคการเมอื งในยโุ รปทเี่ ปน็ ตวั แทนของความแตกแยก ดงั กลา่ วเท่านนั้ ท่ีจะอยู่รอดมาจากอดีตถงึ ปจั จุบนั (Lipset and Rokkan, 1990) ข้อเสนอในเร่ืองของการเมืองในมิติรอยแยกทางสังคมนั้น ได้รับการถกเถียงอย่างมากมาย พร้อมกับ ข้อเสนอใหม่ ๆ อาทิ การปฏิเสธค�ำอธิบายท่ีว่าความขัดแย้งในเชิงโครงสร้างทางสังคมนั้นมีผลต่อการด�ำรง อยู่ของพรรคการเมอื ง หมายถงึ วา่ ความแตกแยกในสงั คมนน้ั สะทอ้ นออกมาผา่ นพรรคการเมอื ง หรอื การเมอื งเปน็ เพยี งผลสะท้อนของความขัดแย้งในระดับโครงสร้างของสังคม ส่ิงท่ีควรพิจารณาก็คือ ความขัดแย้งในสังคมนั้น ไมไ่ ดเ้ พยี งสะทอ้ นออกมาทางการเมอื งเทา่ นน้ั ระบบการเมอื งเองกส็ รา้ งความขดั แยง้ และรอยแยกทางสงั คมดว้ ย รวมท้ังยังตอกย้�ำและท�ำให้ความแตกแยกในสังคมน้ันสะท้อนออกมาอีกด้วย รวมไปถึงบรรดาผู้ท่ีท�ำงาน ในพรรคการเมืองน้ันอาจจะมีส่วนส�ำคัญท่ีท�ำให้ความแตกแยกและรอยแยกในสังคมน้ันด�ำเนินต่อไป (Sartori, 1969) หรือการเกิดขึ้นของพรรคสมัยใหม่ท่ีไม่ได้เกิดขึ้นอย่างยาวนานต้ังแต่ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม และ พรรคนอกประสบการณ์ในยุโรป (Blondel and Inoguchi, 2012) และพรรคที่สามารถประสานประโยชน์ หรอื รวบรวมความหลากหลายของผลประโยชนต์ า่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั ได้ (catch-all party) หรอื เปน็ พรรคทส่ี ามารถ สรา้ งบรู ณาการจากความแตกแยกทางสงั คมเขา้ ดว้ ยกนั (Kircheimer, 1966 อา้ งใน Fabbrini, 2001) นอกจากนี้ ความเชอ่ื ทวี่ า่ พรรคการเมอื งนน้ั พฒั นาขน้ึ โดยธรรมชาตจิ ากพฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละรอยแยกทางสงั คมนนั้ ละเลยการท�ำความเขา้ ใจเงอื่ นไขทางกฎระเบยี บและสถาบนั ทสี่ ง่ ผลรปู แบบของการเมอื งและพรรคการเมอื งดว้ ย (institutional engineering) (Blondel and Inoguchi, 2012) 2.1.7 กระบวนการตัดสินใจเลือกต้ังและตัวกลาง Gunther, Costa Lobo, Bellucci และ Lisi (2016) เสนอว่า ปัจจุบันปัจจัยที่มีผลต่อการเลือก ลงคะแนนในระบอบประชาธิปไตยท่ัวโลกท้ังในระบอบประชาธิปไตยที่มีอยู่มานานและท่ีเพิ่งมีขึ้นใหม่มีอย ู่ หลายประการ และมคี วามแตกตา่ งกนั ในเรอ่ื งของประสบการณใ์ นเรอื่ งความเปน็ ประชาธปิ ไตย และ ระดบั ของ การพฒั นาดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม การวจิ ยั พบวา่ สง่ิ ส�ำคญั ทม่ี ผี ลตอ่ การลงคะแนนเสยี ง (determinants of vote) นนั้ มอี ยหู่ ลายประการ และมลี ักษณะทีไ่ ล่เรยี งล�ำดับกนั ไป (series of sequential factors) ไดแ้ ก่ 1. ตวั แปรระดบั โครงสรา้ ง (structural variables) อาทิ ชนช้นั ศาสนา และ ชาติพันธ์ุ 2. อิทธิพลของความมีใจโน้มเอียงทางการเมืองท่ีมีมาก่อนหน้านั้นอย่างยาวนาน (long-term political predispositions) อาทิ คุณค่าทางการเมืองและสังคม ความโน้มเอียงทาง อดุ มกาณใ์ นแบบซ้าย-ขวา หรอื การเลือกข้างทางการเมือง ทั้งนี้ อาจจะมองได้ว่า ตัวแปรท้ังสองตัวน้ีมีผลส�ำคัญในระดับของ “ความปริแยกหรือรอยแยก” (cleavage) ทเี่ กิดขน้ึ ในสังคม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 736
Pages: