Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2557รายงานพึงพอใจ

2557รายงานพึงพอใจ

Published by Meng Krub, 2021-06-29 10:01:13

Description: 2557รายงานพึงพอใจ

Search

Read the Text Version

รายงานผลการสำรวจความคิดเหน็ ของประชาชนต่อการใหบ้ รกิ ารสาธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2557 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 สงวนลิขสิทธิ์ © 2558 ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data. สถาบนั พระปกเกล้า. รายงานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะและ การทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2557.-- กรุงเทพฯ : สถาบนั พระปกเกลา้ , 2558. 252 หน้า. 1. บริการสาธารณะ--ไทย--การบรหิ าร. 2. การบริหารรฐั กิจ--ไทย. I. ชอื่ เร่อื ง. 351.593 ISBN 978-974-449-816-8 สวพ.58-17-1000.200 พิมพค์ รัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2558 จำนวน 1,000 เล่ม จดั พิมพ์โดย สำนกั วิจยั และพฒั นา สถาบันพระปกเกล้า ศูนย์ราชการเฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา อาคารรัฐประศาสนภักดี ช้นั 5 เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทรศัพท์ 02-141-9600 โทรสาร 02-143-8181 เว็บไซต์ www.kpi.ac.th คณะผจู้ ัดทำ ดร.ถวิลวดี บุรีกุล นางสาวรชั วดี แสงมหะหมดั นายวิศษิ ฎ ชชั วาลทพิ ากร ออกแบบปก และ นายสุชาติ วิวัฒน์ตระกลู จดั ประกอบหนา้ พิมพ์ท่ี บริษัท เอ.พ.ี กราฟคิ ดไี ซน์และการพมิ พ์ จำกัด 745 ถนนนครไชยศรี แขวงนครไชยศรี เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 02-243-9040-4 โทรสาร 02-243-3225

คำนำ โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการ สาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2557 เป็น โครงการที่สถาบันพระปกเกล้าขอความร่วมมือสำนักงานสถิต ิ แห่งชาติ ให้ดำเนินการสำรวจโครงการดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือนำผลท่ีได้จากการสำรวจไปใช้เป็นแนวทางพัฒนาการจัดบริการ สาธารณะให้มีคุณภาพและสนองตอบต่อความต้องการของประชาชน สถาบันพระปกเกล้าขอขอบพระคุณสำนักงานสถิติแห่งชาติท่ีให้ความ ร่วมมือในการจัดเก็บข้อมลู ดว้ ยดีตลอดมา สถาบนั พระปกเกล้า III ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน III ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 IV แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 VI VIII สารบัญ IX 1 คำนำ 9 สารบญั 11 สารบญั ตาราง 11 สารบญั แผนภูม ิ 11 สารบัญตารางสถติ ิ 12 บทสรปุ สำหรับผ้บู รหิ าร 12 บทที่ 1 บทนำ 12 1.1 หลักการและเหตุผล 13 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 15 1.3 คมุ้ รวมของประชากร 15 1.4 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 15 1.5 ระยะเวลาการปฏิบัติงานเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 16 1.6 การเสนอผล 16 บทท่ี 2 ระเบยี บวธิ สี ถติ ิ 16 2.1 แผนการสุ่มตัวอยา่ ง 17 2.2 วิธีการประมาณผล 19 2.3 ขนาดตวั อย่าง 22 2.4 วธิ กี ารเลอื กหนว่ ยตวั อย่าง 24 2.5 เคร่อื งมือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2.6 การประเมินคา่ สถติ ิ 25 บทท่ี 3 สรุปผลการสำรวจ 3.1 ลกั ษณะพนื้ ฐานทางสงั คม และเศรษฐกจิ 3.2 การตดิ ตามขา่ วสารทางการเมอื ง 3.3 การติดตามการทำงานของรฐั บาล นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวตั ร ในรอบ 6 เดือน ที่ผา่ นมา 3.4 ความพึงพอใจตอ่ นโยบายของรัฐบาล IV สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 สารบัญ 3.5 ความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั ความสามารถในการแก้ไขปญั หาสังคมและเศรษฐกจิ 27 ของรัฐบาล 3.6 ความเชื่อม่นั ต่อการทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานตา่ งๆ 27 3.7 ความเชื่อม่ันต่อการทำงานขององคก์ รอสิ ระ 29 3.8 ความพึงพอใจต่อการบรกิ ารสาธารณะท่ีรฐั และท้องถิ่นจัดใหป้ ระชาชน 30 3.9 การใชบ้ รกิ ารขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และการมสี ว่ นรว่ มกบั หนว่ ยงาน 32 3.10 ความคิดเห็นและประสบการณเ์ ก่ียวกับการคอรัปชั่น 33 3.11 การรอ้ งเรยี นเกย่ี วกับการให้บริการของหน่วยงานราชการ/ 35 องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น 3.12 การไว้วางใจหรอื ตอ้ งระมดั ระวงั ในการอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมปัจจุบัน 38 3.13 การเป็นสมาชิกกลมุ่ ชมรม และสมาคมต่างๆ 38 3.14 การร้จู กั สถาบนั พระปกเกลา้ 39 3.15 การรู้จกั สภาพัฒนาการเมือง 40 บทที่ 4 แผนท่ีแสดงค่าเปน็ รายจังหวดั 45 บทท่ี 5 สรุปผลการสำรวจ พ.ศ.2546-2557 137 5.1 ความคิดเห็นและความเช่ือมนั่ ต่อการทำงานของรฐั บาล /คณะบคุ คล/ 140 สถาบนั /หน่วยงานตา่ งๆ และองค์กรอิสระ 5.2 ความพงึ พอใจต่อการบริการสาธารณะที่รฐั และทอ้ งถิน่ จดั ให้ประชาชน 157 5.3 การให้บรกิ ารขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินและการมสี ่วนร่วม 162 กับหน่วยงาน 5.4 ความคดิ เห็นเก่ียวกบั การคอรัปชน่ั และการร้องเรียนเกยี่ วกบั การบริการ 163 5.5 การมีส่วนร่วมในทางการเมืองในการร้องเรียนเกีย่ วกบั การใหบ้ รกิ าร 163 ของหน่วยงานราชการ/องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ 5.6 การอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมปจั จบุ ัน 168 5.7 ตารางสถิติ พ.ศ.2546 - 2557 169 บทท่ี 6 ตารางสถติ ิ 175 เอกสารอ้างอิง 240  ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 สารบัญตาราง ตาราง 1 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามเพศและอาย ุ 19 ตาราง 2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามระดบั การศกึ ษา 20 ตาราง 3 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามอาชีพ 20 ตาราง 4 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามสถานภาพสมรส 21 ตาราง 5 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามรายได้ของครวั เรือนเฉล่ียตอ่ เดอื น 22 ตาราง 6 รอ้ ยละของประชาชนท่ีรับฟัง/ชมหรอื ทราบข่าวสารการเมอื ง 24 จำแนกตามการเป็นสมาชิกเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ ตาราง 7 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการตดิ ตามการทำงานของรัฐบาล 25 นางสาวย่งิ ลักษณ์ ชินวตั ร ในรอบ 12 เดอื น ทผ่ี า่ นมา ตาราง 8 ร้อยละของประชาชนท่ีรู้/ทราบนโยบาย และพึงพอใจนโยบายของรฐั บาล 26 ที่ไดด้ ำเนินการ จำแนกตามนโยบายของรัฐบาล ตาราง 9 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับความเชือ่ มั่น 28 ต่อการทำงานของคณะบคุ คล/สถาบนั /หน่วยงานตา่ งๆ ตาราง 10 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามพึงพอใจตอ่ บรกิ ารสาธารณะทรี่ ฐั / 31 ท้องถน่ิ จดั ให ้ ตาราง 11 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใชบ้ ริการของ 32 องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ หรอื มีส่วนรว่ มกับหน่วยงาน ในรอบ 1 ปี ทผี่ า่ นมา ตาราง 12 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ ทมี่ ีต่อคำกลา่ ว 33 “บางคร้ังการคอรัปชัน่ ในรฐั บาลกม็ ีความจำเป็นเพื่อให้งานเสร็จลุล่วงไปได้” ตาราง 13 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกยี่ วกับการคอรัปชนั่ 34 ในการปกครองส่วนท้องถนิ่ ตาราง 14 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกย่ี วกับการคอรปั ช่ัน 34 ในการปกครองระดบั ประเทศ ตาราง 15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการพบการคอรปั ช่ัน/การรบั สนิ บน 35 ของเจา้ หน้าทข่ี องรฐั ตาราง 16 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนการใหบ้ ริการ 36 ของหน่วยงานราชการ ตาราง 17 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนการให้บรกิ าร 37 ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ตาราง 18 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกีย่ วกับการอยู่ร่วมกนั 38 ในสังคม VI สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 สารบญั ตาราง ตาราง 19 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเป็นสมาชกิ กลมุ่ ชมรม 38 และสมาคมต่างๆ ตาราง 20 สรปุ ระดบั ความพึงพอใจของประชาชนตอ่ นโยบายของรฐั บาล 41 นางสาวย่ิงลักษณ์ ชินวัตร ที่ไดด้ ำเนินการ ตาราง 21 สรุประดับความเชอ่ื มนั่ ของประชาชนตอ่ การทำงานของสถาบนั / 42 หน่วยงานต่างๆ ตาราง 22 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรับทราบและความพงึ พอใจตอ่ 170 นโยบายสำคัญของรฐั บาล ตาราง 23 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ กบั ความสามารถของ 171 รัฐบาลในการแกไ้ ขปัญหาด้านเศรษฐกิจสงั คม และสงั คม ตาราง 24 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความเช่อื ม่ันตอ่ การทำงานของ 172 คณะบุคคล/สถาบัน/องค์กรอสิ ระ/หนว่ ยงานตา่ งๆ ตาราง 25 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ 173 ท่รี ฐั และท้องถ่นิ จดั ให ้ ตาราง 26 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนเก่ยี วกบั การบรกิ าร 174 ของหนว่ ยงานราชการและองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ตาราง 27 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยตดิ ตอ่ /ใชบ้ ริการ/ 174 มีส่วนร่วมกบั หน่วยงานของรัฐหรอื องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ตาราง 28 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เก่ยี วกับการคอรัปชนั่ 174 VII ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 สารบัญแผนภมู ิ แผนภมู ิ ก รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบข่าวสารทางการเมอื ง 3 และส่ือทที่ ราบ แผนภูมิ ข รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการทราบและความพึงพอใจตอ่ นโยบาย 4 ของรฐั บาล 5 อันดบั แรก แผนภมู ิ ค ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกยี่ วกับความสามารถ 5 ในการแก้ไขปัญหาสังคม และเศรษฐกจิ ของรัฐบาล แผนภูมิ ง รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกีย่ วกบั ความเช่อื ม่นั 6 ต่อการทำงานขององคก์ รอิสระ แผนภมู ิ จ ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ การบริการสาธารณะ 7 ทร่ี ัฐและท้องถิน่ จัดให้ 5 อันดับแรก แผนภมู ิ 3.1 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบขา่ วสารทางการเมือง 22 และส่อื ทที่ ราบ แผนภมู ิ 3.2 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกีย่ วกับความสามารถ 27 ในการแกไ้ ขปญั หาสงั คม และเศรษฐกจิ ของรฐั บาล แผนภูมิ 3.3 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกับความเชอื่ มัน่ 29 ต่อการทำงานขององคก์ รอสิ ระ แผนภูมิ 3.4 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการบรกิ ารสาธารณะ 30 ทีร่ ฐั และท้องถ่ินจัดให้ 5 อนั ดบั แรก แผนภมู ิ 3.5 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรู้จกั สถาบนั พระปกเกลา้ 39 แผนภมู ิ 3.6 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรู้จกั สภาพัฒนาการเมือง 40 แผนภมู ิ 5.1 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อนโยบายสำคัญ 140 ของรัฐบาลในช่วงปี 2552-2557 แผนภูมิ 5.2 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ นโยบายสำคัญ 141 ของรฐั บาลเกย่ี วกบั การปฏริ ปู ระบบราชการและการเมือง ปี 2546-2558 แผนภมู ิ 5.3 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อนโยบายสำคัญ 142 ของรฐั บาลเกี่ยวกับปัญหาสังคม ปี 2547-2557 แผนภูมิ 5.4 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ นโยบายสำคัญ 143 ของรฐั บาลเก่ียวกบั เศรษฐกิจ ปี 2546-2557 แผนภูมิ 5.5 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ นโยบายสำคญั 144 ของรัฐบาลเก่ียวกบั สุขภาพและการศึกษา ปี 2546-2557 แผนภมู ิ 5.6 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกีย่ วกบั ความสามารถ 145 ในการแก้ไขปญั หาสงั คมและเศรษฐกิจของรัฐบาล VIII สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 สารบัญแผนภมู ิ แผนภมู ิ 5.7 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เก่ียวกบั ความเชอ่ื มัน่ 146 ต่อการทำงานของนายกรัฐมนตรี/ รฐั บาล/พรรคการเมือง แผนภูมิ 5.8 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ความเชอ่ื มน่ั 147 ตอ่ การทำงานของสมาชิกรัฐสภา แผนภมู ิ 5.9 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกี่ยวกับความเชื่อมั่น 148 ตอ่ การทำงานของข้าราชการ แผนภูมิ 5.10 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกยี่ วกบั ความเชื่อมั่น 149 ตอ่ การทำงานของ ทหาร ตำรวจ แผนภมู ิ 5.11 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ยี วกับความเชื่อมัน่ 150 ต่อการทำงานของข้าราชการส่วนทอ้ งถิน่ แผนภูมิ 5.12 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกย่ี วกับความเชื่อมน่ั 151 ตอ่ การทำงานของแพทย ์ แผนภูมิ 5.13 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกย่ี วกับความเชอ่ื ม่นั 152 ต่อการทำงานขององค์กรชุมชน, NGOs และสภาพฒั นาการเมือง แผนภูมิ 5.14 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกย่ี วกบั ความเชอ่ื มั่น 153 ตอ่ การทำงานของศาล แผนภมู ิ 5.15 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเก่ยี วกบั ความเชื่อมน่ั 154 ตอ่ การทำงานของสือ่ แผนภูมิ 5.16 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ความเชื่อมั่น 155 ตอ่ การทำงานขององค์กรดา้ นการตรวจสอบ แผนภูมิ 5.17 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเก่ียวกับความเชื่อมัน่ 156 ตอ่ การทำงานขององค์กรด้านการตรวจสอบและใหค้ ำปรึกษา แผนภมู ิ 5.18 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการ 157 บริการสาธารณปู โภคพื้นฐาน แผนภมู ิ 5.19 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ การบริการ 158 ดา้ นการศกึ ษา แผนภูมิ 5.20 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ การบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ 159 แผนภูมิ 5.21 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการบรกิ าร 160 ด้านคณุ ภาพสังคม แผนภมู ิ 5.22 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ การบรกิ าร 161 ด้านคุณภาพส่งิ แวดล้อม แผนภมู ิ 5.23 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจในการใช้บริการ 162 ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน IX ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 สารบัญแผนภูม ิ แผนภูมิ 5.24 รอ้ ยละของประชาชน จำแรกตามความคดิ เหน็ เกยี่ วกับ 163 “บางครง้ั การคอรปั ชน่ั ในรัฐบาลก็มคี วามจำเปน็ เพอ่ื ให้งานลลุ ว่ งไปได้” แผนภูมิ 5.25 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกีย่ วกับการคอรัปช่ัน 164 และการรบั สินบนในการปกครองระดบั ประเทศและการปกครองส่วนทอ้ งถิน่ แผนภมู ิ 5.26 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยพบเห็นการคอรัปชน่ั 165 แผนภูมิ 5.27 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนเกยี่ วกับการใหบ้ ริการ 166 ของหน่วยงานราชการ แผนภมู ิ 5.28 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรอ้ งเรียนเก่ียวกบั การให้บรกิ าร 167 แผนภมู ิ 5.29 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกความไว้วางใจในการติดตอ่ กบั ผอู้ ืน่ 168  สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 สารบัญตารางสถติ ิ ตาราง 1 รอ้ ยละของประชาชนที่ตอบสัมภาษณ์ จำแนกตามลกั ษณะทาง 177 ประชากรสังคม/เศรษฐกิจ เป็นรายภาค ตาราง 2 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบข่าวสารทางการเมอื ง 180 เป็นรายภาค ตาราง 3 รอ้ ยละของประชาชนทเ่ี คยรบั ฟัง/ชมหรอื ทราบขา่ วสารทางการเมือง 181 จำแนกตามการติดตามขา่ วสารการเมอื งทางหนงั สือพมิ พ์ เป็นรายภาค ตาราง 4 ร้อยละของประชาชนทีเ่ คยรับฟงั /ชมหรือทราบขา่ วสารทางการเมือง 182 จำแนกตามการติดตามขา่ วสารการเมืองทางวิทยทุ ่ัวไป เปน็ รายภาค ตาราง 5 ร้อยละของประชาชนท่ีเคยรับฟงั /ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมือง 183 จำแนกตามการติดตามข่าวสารการเมืองทางวทิ ยชุ มุ ชน เปน็ รายภาค ตาราง 6 ร้อยละของประชาชนทีเ่ คยรบั ฟัง/ชมหรอื ทราบข่าวสารทางการเมือง 184 จำแนกตามการติดตามข่าวสารการเมอื งทางสถานโี ทรทัศน์ (ฟรที วี ี) เปน็ รายภาค ตาราง 7 ร้อยละของประชาชนทีเ่ คยรับฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมือง 184 จำแนกตามการตดิ ตามขา่ วสารการเมอื งทางเคเบิล้ ทีวี เปน็ รายภาค ตาราง 8 ร้อยละของประชาชนท่ีเคยรบั ฟัง/ชมหรือทราบขา่ วสารทางการเมือง 186 จำแนกตามการตดิ ตามข่าวสารการเมืองทางอินเทอรเ์ นต็ เป็นรายภาค ตาราง 9 ร้อยละของประชาชนท่ีเคยรบั ฟัง/ชมหรอื ทราบขา่ วสารทางการเมอื ง 187 จำแนกตามการเป็นสมาชกิ เครือข่ายสังคมออนไลน์ เป็นรายภาค ตาราง 10 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการตดิ ตามการทำงานรฐั บาล 188 เปน็ รายภาค ตาราง 11 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรบั รู้/ทราบนโยบายของรฐั บาล 188 ทไ่ี ดด้ ำเนินการ เป็นรายภาค ตาราง 12 ร้อยละของประชาชนท่ีร/ู้ ทราบนโยบาย จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ 192 นโยบายของรัฐบาลที่ได้ดำเนินการ เปน็ รายภาค ตาราง 13 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกย่ี วกบั ความสามารถ 201 ของรัฐบาลในการแก้ไขปญั หาดา้ นเศรษฐกิจ/สงั คม เป็นรายภาค ตาราง 14 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความเชือ่ มนั่ ตอ่ การทำงานของ 202 คณะบคุ คล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ เปน็ รายภาค ตาราง 15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเชอื่ มัน่ ต่อการทำงานของ 212 องค์กรอสิ ระ เป็นรายภาค XI ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 สารบญั ตารางสถติ ิ ตาราง 16 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ การบริการสาธารณะ 216 ท่รี ัฐและท้องถ่ินจดั ให้ เปน็ รายภาค ตาราง 17 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใชบ้ รกิ ารหรือมีสว่ นร่วม 224 กับหนว่ ยงาน เปน็ รายภาค ตาราง 18 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกีย่ วกับการคอรัปช่ัน 225 เป็นรายภาค ตาราง 19 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเก่ยี วกบั การไวว้ างใจ 226 หรอื ตอ้ งระมัดระวงั ในการตดิ ตอ่ กับผู้อนื่ เปน็ รายภาค ตาราง 20 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรอ้ งเรียนเกีย่ วกบั การบริการ 227 ของหน่วยงานราชการและองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เปน็ รายภาค ตาราง 21 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเป็นสมาชิกกลุม่ ชมรม 230 และสมาคมตา่ งๆ เปน็ รายภาค ตาราง 22 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการรจู้ ักสถาบันพระปกเกล้า 232 เปน็ รายภาค ตาราง 23 ร้อยละของประชาชนรูจ้ กั สถาบนั พระปกเกลา้ 233 จำแนกตามรายการโทรทศั น์ท่ีทำใหร้ ูจ้ กั เป็นรายภาค ตาราง 24 ร้อยละของประชาชนที่รจู้ กั สถาบนั พระปกเกล้า 234 จำแนกตามการทราบบทบาทหน้าทข่ี องสถาบนั พระปกเกล้า เป็นรายภาค ตาราง 25 รอ้ ยละของประชาชนที่รู้จกั สถาบนั พระปกเกลา้ 235 จำแนกตามความเช่ือม่นั ต่อการทำงาน เปน็ รายภาค ตาราง 26 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการรจู้ กั สภาพฒั นาการเมือง 236 เปน็ รายภาค ตาราง 27 ร้อยละของประชาชนทีร่ ้จู ักสภาพฒั นาการเมือง 237 จำแนกตามการรายการโทรทศั นท์ ี่ทำให้ร้จู ัก เป็นรายภาค ตาราง 28 ร้อยละของประชาชนทีร่ จู้ กั สภาพฒั นาการเมือง 238 จำแนกตามการทราบบทบาทหน้าท่ี เป็นรายภาค ตาราง 29 รอ้ ยละของประชาชนที่รู้จกั สภาพฒั นาการเมือง 239 จำแนกตามความเชื่อมนั่ ต่อการทำงาน เปน็ รายภาค XII สถาบันพระปกเกล้า

รายงานผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ต่อการให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2557 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร



บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหาร สถาบันพระปกเกล้า ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการตรวจสอบติดตามการบริหารงานของภาครัฐและหน่วยงานต่างๆ จปเพึงรื่ไอะดชร้ขาวชอบนคสรวาํตวรา่อมวมกขจรา้อค่วรมวบมูาลรมมิกเือกคาใี่ยริดหสวเ้สหากำธบ็นับนาขทรรักอสะณงงดราะปุปับนแรสคสละาํ วถะชหกิาตารามิชแับรพนหทผ่เึงงกำบู ชพง่ียราาอหิวตนใกาิทจขรับำขอคกงอวหางารนปมส่วรพำยะรึงงชพวาาจนอชคตในจว่าตตงาๆอ่มอคกพิดา.รศเหบ. ็น2ริขก55อา7รง สาธากราณรใะหแบ ลระิกกาารรสทาำธงาารณนขะอแงลหะกนา่วรยทงํางนาตน่าขงอๆงหแนลวะยนงำาผนลตทา ่ีไงดๆ้จพาก.ศก.า2รส5ำ5ร7วจไปใช้ เป็นแนวทางพัฒนาการจัดบริการสาธารณะให้มีคุณภาพและสนองตอบต่อความ สตาํดิ รตวาจมคกวาก1ตารส2้รอมบถ ะงค ราจกสิดิหบาาเงิ าหันรยหรน็ขพทงาขาอครุกนอะงมจงขปปัปงอ2กรหรง5ะเะภวก5ชชาัดล7าาคาชชรทโนฐัดนไั่วดแเยกปตลซทยี่ ะรร่ึงำวะหะปกกหเนฏับาทนวริบคศยักสวัตงถมัาเิงามึปงภานคพ็นานตวึงษจเาาพกงณำมอ็บๆนสใส์ รจําวจมวตคึนงาบอัญไทชดกรใกั้ิงขาวนสรใอมกนบิ้คนขาครวร้อกิ3ารมมามวั3ีสรูลรเ,รสว4วรอืนาม2ะธนรม0หาวทือรวมคณม่ีใ่าขหนอีงะอสวาแงแํายันลปนบตุะทรัก่กงง้ั ะี่ งเแา1ชปารตนาทก็น่ชส1ํราปนถง8กรใิาตฎนะปนิแากชขขหี คาาอน้ึงมรชงชไตหาปน–รตน วิทวจยําสกงอาาบนร ตา งๆ พ.ศใ.น2เ5ข5ต7เทเพศอื่บราวลบร1ว7มข,4อ6ม0ูลเกค่ยี นวกแบั ลระนดบั อคกวเาขมตพเึงทพศอบใจาขลอง1ป5ร,ะ9ช6า0ชนคตนอ ก ผารลบกราิกราสรสำารธวาจร ณะและ การทํางาสนรขุปอปงหรนะวเดย็นงาทนสี่ ตำาคงๆัญไแดล้ดะังนนํา ี้ผลท่ไี ดจ ากการสํารวจไปใชเ ปน แนวทางพฒั นาการจัดบริการสาธารณะ ใกหรมกีฎคุณาคภมา–พ แ1ล2ะสสนงิ หอางคตมอบ2ต5อ5ค7วามโดตยอทงาํกกาารรขสอมั งภปารษะณชาส ชมนาชซกิ ่ึงใปนคฏริบัวัตเริงือานนเทกี่ม็บอี ราวยบตุ รัง้ วแมตข 1อ8มูปลรขะ้ึนหไปวากงวรันะจทา่ี ย1 น1ท.อุกกกจา1ังเขรห.ตทวเรกัดทาศาบท บรข่ัวาทปาลวรรสะ1าาเ5ทรบ,9ทศ6ขา0เงป่ากคนวานจสราํเมาผนอืลรวกงนทาทราั้งสงสาํ กิ้นรวา3จร3ส,เร4มปุ 2ป0ือรงคะนเด ็นแบทงส่ี เาํ ปคนัญปไดระด ชังนาช้ี นในเขตเทศบาล 17,460 คน และ แผนภูมิ ก ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบข่าวสารทางการเมือง และ ส่อื ทที่แผรนาบภมู ิ ก รอยละของประชาชน จําแนกตามการเคยทราบขา วสารทางการเมือง และส่ือท่ที ราบ การเคยทราบขาวสารทางการเมอื ง แหลงสอื่ 1/ รอ ยละ ไมเ คย เคย  โทรทัศน (ฟรที ีว)ี 97.7 14.4% 85.6%  พดู คยุ กบั บุคคลอื่นๆ 30.8  หนังสอื พมิ พ 21.7  วทิ ยุ 8.6  อินเทอรเ นต็ 7.0  หอกระจายขา ว 4.4  เคเบิล้ ทีวี 1.6  นิตยสาร/วารสาร 0.3  อนื่ ๆ 0.1 หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ  ระบุวา เคยผทลรกาบารขสา ําวรสวาจรเกี่ยมวีรกอบั ยกลาะรเ1ค4ย.4ทรระาบบขวุ าาไวมสเาครยททารงากบาขราเมวืสอางรพบโดวยาผปูทร่ีเะคชยาทขช้อรนมาสูลบรวขะนาดใวับหสภญาาคร รรแอะลยบะทลุว่ัวะารทา8ชร5อา.าบ6ณาจักร จากสื่อโทรทัศน (ฟรีทีวี) มากท่ีสุด (รอยละ 97.7) รองลงมา คือ พูดคุยกับบุคคลอื่นๆ (รอยละ 30.8)

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 ผลการสำรวจเกี่ยวกับการเคยทราบข่าวสารทางการเมือง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 85.6 ระบุว่าเคยทราบข่าวสาร มีร้อยละ 14.4 ระบุว่าไม่เคยทราบข่าวสาร โดยผู้ท่ีเคย ทราบข่าวสารระบุว่าทราบจากส่ือโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) มากที่สุด (ร้อยละ 97.7) รองลงมา คือ พูดคุยกับบุคคลอื่นๆ (ร้อยละ 30.8) หนังสือพิมพ์ (ร้อยละ 21.7) วิทยุ (ร้อยละ 8.6) อินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 7.0) หอกระจายข่าว ร้อยละ 4.4 เคเบ้ิลทีวี (ร้อยละ 1.6) นิตยสาร/ วารสาร (รอ้ ยละ 0.3) และอ่ืนๆ รอ้ ยละ 0.1 ตามลำดบั 2. ความคิดเหน็ ตอ่ รัฐบาล 2.1 การติดตามการทำงานของรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) ในรอบ 12 เดอื นที่ผา่ นมา ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชน ร้อยละ 64.5 ระบุว่าติดตามการทำงานของรัฐบาล นางสาวย่ิงลักษณ์ ชินวัตร เป็นบางคร้ังบางครIาXว และร้อยละ 19.3 ระบุว่าติดตามเป็นประจำ อ2กี. รคอ้วายมลคะิด1เห6็น.2ตอ รระฐั บบุวา่าลไม่ได้ติดตาม 2. 12ก.า2ร ตนดิ โตยาบมกาายรรทัฐําบงาานลขอ(งนราฐั งบสาลาว(นยาิ่งงลสักาวษยณงิ่ ลัก์ ษชณิน วชัตนิ วรัต)ร)ทใ่ีปนรรอะบชา1ช2นเดทอื รนาทบี่ผาแนลมะามีความ ชินวัต ร เปผนลบพกางึางรพคสรอาํ้งั รบใวจาจงค5พรบาอววันาแดปลรบั ะะรแชอรายชกลน ะร1อ 9ย.3ละระ6บ4วุ.5าตรดิะตบาวุ มา ตเปิดน ตปามระกจาาํรทอาํ กี งราอ นยขลอะงร1ัฐ6บ.2าลระนบาุวงาสไามวไ ยดงิ่ ตลิดักตษาณม แผน2.ภ2ูมนิโขยบ ารย้อรัฐยบลาะลข(อนางงปสราวะยชิ่งาลชักษนณ จชำินแวนัตกรต) าทม่ีปกระาชราทชรนาทบราแบลแะลคะวมาีคมวาพมึงพพึงอพใอจใจต่อ5นอโันยดบับาแยรกของ รฐั บแาผลนภ5ูมิ อขันรดอบัยลแะรขกอ งประชาชน จาํ แนกตามการทราบและความพงึ พอใจตอนโยบายของรฐั บาล 5 อันดับแรก 5 อันดบั แรกของนโยบายรัฐบาลทที่ ราบ 5 อันดบั แรกของนโยบายรฐั บาลท่พี งึ พอใจ การแกไขและปองกัน 92.6 การพักหนี้เกษตรกร 71.9 ปญหายาเสพติด 93.2 การขึน้ คา จางขนั้ ต่ํา 300 บาท 77.0 โครงการรับจาํ นําขาว การขผ้ึนสู เูงบอี้ยายยังุ (ชขีพัน้ บใหนั กไดับ) 95.8 การขึ้นเงนิ เดือนปรญิ ญาตรี 78.6 15,000 บาท การขน้ึ คาจา งข้นั ตํา่ 300 บาท 96.1 โครงการ 30 บาท 84.3 รกั ษาทุกโรค โครงการ 30 บาท 97.5 การขน้ึ เบยี้ ยังชีพใหกับ 85.5 รักษาทุกโรค ผสู ูงอายุ (ข้นั บันได) 0 20 40 60 80 100รอยละ 0 20 40 60 80 100รอยละ ทผก(รู้สุกาอรูงโยขรอลึ้นคาะ คย9(า ุแร5จนน้อบ.า8โงยยโ)บขยบลมั้นบาโะตาคยากร่ําข9ยงอข37กขง0้ึนา.ร5อ0รัฐตร)บงบาบั รากามจลัฐทาําอทบรนา(ี่ปขราํายรอข้ึนละุ าย(ชทควลขา่า่ีปะ(้ันชรจนรอบ9้าทะย6ันงรล.ช1ขไาะา)ดบ้ัน9ช)ต53กน(่.ำาอ2รทร)ัน้อ3ขรดย0ึน้าแับล0เลบแบะะรบ้ียกก59ยาางัคร5ทอชแอื.ันพี8ก(โร)ใไดคหข้อโัรบแกคงยลแับกรละรผางะปรูสกกองู39าองค0ร6กาือรัยน.บ1ับแุปาโ)บทจคญบำรกหรมนักงาาาำกยษรกขาาาขขเท้ารสึ้นึ้นวุกพตเ3โบตาร(0รมิดค้ีย้ออยบ((ายรรังยาออลชุทยย(ะีพขลลั้นรใะะ9หับก399นั้กษ.272ไับ..าด56) ))) สวนประชาชนท่ที ราบนโยบายของรฐั บาลระบุวา นโยบายของรัฐบาลทพี่ ึงพอใจ 5 อันดบั แรก คือ การข้ึนเบี้ยยังชีพ  ใหก บั ผสู ูงอายุแบบมากข้ึนตามอายุ (ขั้นบนั ได) (รอยละ 85.5) โครงการ 30 บาท รกั ษาทกุ โรค (รอ ยละ 84.3) สถาบันพระปกกกาารรเกพขลึ้นัก้าเห งนนิ ้ีเเกดษือนตรปกรริญ(ญรอาตยรลีะ157,10.090) บาท (รอยละ 78.6) การขึน้ คาจา งขั้นตํา่ 300 บาท (รอ ยละ 77.0) และ

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 และการแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด (ร้อยละ 92.6) ส่วนประชาชนที่ทราบนโยบายของ รัฐบาลระบุว่านโยบายของรัฐบาลท่ีพึงพอใจ 5 อันดับแรก คือ การขึ้นเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ แบบมากข้ึนตามอายุ (ขั้นบันได) (ร้อยละ 85.5) โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค (ร้อยละ 84.3) การข้ึนเงินเดือนปริญญาตรี 15,000 บาท (ร้อยละ 78.6) การข้ึนค่าจ้างข้ันต่ำ 300 บาท (รอ้ ยละ 77.0) และการพักหนเี้ กษตรกร (รอ้ ยละ 71.9) 2 .3 ค(นวาางมสสาาวมยาิ่งรลถกั ใษนณกา ์ ร แชกินไ้ วขัตปรัญ)X หาสงั คม/เศรษฐกิจของรัฐบาล 2.3แคผวนามภสูมาิ มคารรถ้อใยนลกะาขรแอกงไปขรปะญ ชหาาชสนังคจมำ/เแศนรษกฐตกาจิ มขคอวงราฐั มบสาาลม(านราถงสในาวกยาง่ิ รลแักกษ้ไณขปชัญินหวตัารส)ังคมและ แผเศนรภษูมฐิ คกิจรขอ ยอลงะรขัฐอบงปาลระ ชาชน จําแนกตามความสามารถในการแกไ ขปญหาสังคมและเศรษฐกจิ ของรฐั บาล คะแนน 10.00 8.00 6.02 6.41 5.89 6.32 6.00 5.55 5.25 5.37 ดา นสังคม เหนือ ตะวันออก- ดา นเศรษฐกจิ 4.00 5.41 5.07 5.22 เฉียงเหนอื 3.90 3.71 2.00 0.00 ภาค ทัว่ ประเทศ กรุงเทพ- กลาง ใต มหานคร (ยกเวน กทม.) 5ไสด.ว 4ในน1กรจาะชเสารดฉกิานแับลมเกวจใตี่ยาไดัตา็มขรนกร5ป ถน้ั1)ก.ญแ50าไพก5จหดรคบ้ไาสา้ใะจขวนดกอแาาปารกบนกนัญปะานถเเรดตรหศาะับส็มรมาชษอใดเาด1กฐชบา้ ี่0นยกนนถิจว้ันเเคาศกหพมะัพรบน็ บเแษกบวกวนาฐา่ีวยาสนกร่าวาปแิจมกปรกไรับดะสรไถชขก้ะ่วแทาปชานกชคี่รญาไกนขะแชาหเปแกนหราญน้ไแ็นดขเหนกวหาปาาเ้ไน็นฉดสขัญสลวาาปันงหม่า่ียัญคสสรา5มถังหาดคแ.ขม้าา4มกอาดน1ไไรงด้าขสรจถนปังทัฐาแเคญ บค่ีกศกมะหเาร้ไตแขขลาษนม็ดอปฐน(า งัญก1นนเรฉ0ิจาเหัฐลศงาบคพี่ยรสดะษาบา5้าลแฐว.ว5นนกย่า5(สิจิน่นงจังปไล าดคารักงกมะสทษเตไชาี่คณด็มาวะ้ช1ยทแ0นชิ่งนี่คลิเนคนะหักะวเแ็นฉแัษตนนลวรณน่ีนย่า)์ 3. ควา3ตม.เ่าชกงือ่คาๆมรวนั่ท าทํางมม่ี าีตเนอชขกอ่ือางรมคทณําั่นงะาทบนุี่คมขคอีตลงค/่อสณกถะาาบบุรคันคท/ลหำ/นสงถวาายนบงานั ขน/หอตนางงวคๆยงณ5านอะตันบา ดงัุคบๆแครลก /ทสี่ปถระาชบาชันน/ใหหคนว่าวมยเชงื่อามน่ัน (แคพอทนยขใ เนาชงโ่ือรเชงมพื่อั่นยมกา(ั่นาคบรถ่อาทึงลนเำขชขงอื่อ้าางมงเนอเ่ันชขกมื่ออชามนงกคั่น()รณถไอึงดะยเแชลบกะื่อุค ม8ทคั่น0ลห.ม0/า)สารกถ(ข)ราาอบไรดยันา้แลช/กกะหา่ นท8รพ4่วห.ลยา1เงร)ราอื (นนรแต้อพ(่รายทองลๆยยะลใน5ะ8โ46อร.7ง1ัน.พ5)ด)ยแับาพแแบทรลากะยลโ์ใขททนอรี่ปโงทรรรงศั ัฐะพนชย((ราราอชอบยนยาลลใละะหข้ค68อ5ว0ง.า.ร25มัฐ)) (ร้อยละ 80.5) แพทย์ในโรงพยาบาลของเอกชน (ร้อยละ 80.0) ข้าราชการพลเรือน (ร้อยละ 67.5) และโทรทัศน์ (ร้อยละ 65.2)  ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 XI 4. 4คว.ามคเชว่อื ามม่นั ตเอชกอ่ื ารมทน่ัาํ งาตนอ่ขอกงาองรคทกรำองิสาระนขององค์กรอสิ ระ แผนภูมิ ง แ รผอ้นยภูมลิ ะงขรอองยปลระขะอชงาปชระนชาจชำนแนจาํ กแตนกาตมาคมวควาามมเชอ่ือ่ื มมน่ั ่ันตตอก่อากรทาราํ งทาำนขงอางนอขงคอก งรอองิสคระ์กรอิสระ องคกรอสิ ระ สภาที่ปรกึ ษาเศรษฐกจิ ฯ 9.1 38.0 11.4 3.0 20.6 17.9 องคก รอัยการ 11.9 38.9 11.2 3.0 19.5 15.5 คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนฯ 10.3 40.5 12.0 3.5 19.5 14.2 คณะกรรมการตรวจเงินแผน ดิน 12.2 11.1 42.1 12.5 3.5 18.1 11.6 คณะกรรมการการเลือกตง้ั 13.7 ป.ป.ช. 44.2 21.4 6.6 13.4 3.3 15.7 ผูต รวจการแผน ดนิ 22.2 46.2 15.6 4.4 14.0 6.1 ศาลรัฐธรรมนญู 44.9 10.7 2.9 16.9 8.9 49.1 11.4 3.4 11.1 2.8 ศาลปกครอง 22.1 49.9 10.8 3.0 11.4 2.8 ศาลยตุ ธิ รรม 23.9 50.5 10.3 3.0 10.0 2.3 0 20 40 60 80 100 รอยละ ปใศนารตคปขลาณอืยรบ้อตุวปงะศธิ จกทรราเันาี่ครลอองมณมแินยงงกลคะคตุ แารกะก์กธิรผอรปรรทร่งนรอรอรลุจมดิสมางิสรกิมนรบิตราระาแปะรอใทคหสทรนงี่ปือิทงาล่ีปขรชมธงศรณะิามมกาะตชนลาะาชิาุษปรท(ชาคปกยท่ีชนคอื .คชุจปนเณรนชรศ.อเแชื่อิะตชางห.มกลื่แอ)งั่นปหรมชศรกั่่นงาคา(มชตคลคณ(ิกอารรคแะัฐตนอาลก่อธิรขงะรร(นสาปรอรศขงมิทมง.าเป้านคกชธลงูญ.กื่าิอมชรเรรชมฐัน.อก)่ือั่ธนุษัผยาครมถูตกรยรณึงั่นรเามชเลวรถะชนือนจมึืง่อกกกญูีคแเมราชตวหัร่รนื่าอั้งผแม่งมมมตู้ ผชกเาั่นรนชาคกาวื่อดมตณร)จมินากิ ตะก่ันแกาอกาถลร)คกรรึงเะตณรแาเลชอมร่อผะือื่อทกงกกน่ กมคําาราดตั่นรงร์กรนิ า้ัตงมมทรนกราอคคำวมกาัยณงณจรอาาปกเกยะะงนอาูใทินกกนมงรี่สแรรกสามุดรรผันัดกีคมมนแสทวกกดคลวี่สาาินานือะมุดรร ที่เเทชาื่อกมัน่ันถสึงําเชหื่อรับมสั่นภมาาทก่ีปอรยึกู่ใษนาสเศัดรสษ่วฐนกทิจี่แเทล่าะกสันงคมแสหำงหชราับตสิ ปภราะทชี่ปาชรนึกมษีคาวเาศมรเษช่ือฐกมั่นิจตแอลกะาสรังทคํามงาแนหอ่งยชูใานติ สัดปสวรนะนชอายชทนีส่ มดุ ีคเวมา่อื มเปเชรียื่อบมเ่ันทยีตบ่อกกับาอรงทคำกงราอนสิ รอะยอู่ใ่นื นๆสัดส่วนน้อยที่สุด เม่ือเปรียบเทียบกับองค์กรอิสระ อ่นื ๆ  สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 5. ความพึงพ อใจต่อการบริกXาIIรส าธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจั ดให ้ 5 อันดับแรก 5. ความแพผงึนพภอูมใจิ จต อ รก้อารยบลระิกขาอรงสปาธราะรชณาะชทนีร่ ฐั จแำลแะนทกอตงถาม่นิ จคดัวใาหม พ5 ึงอพันอดใบั จแตร่อกการบริการสาธารณะที่รัฐ และทแอ้ ผงนถภน่ิ ูมจิ ัดจใหรอ้ 5ยลอะนัขอดงับปแรระกชา ชน จําแนกตามความพึงพอใจตอการบรกิ ารสาธารณะท่รี ัฐ และทอ งถน่ิ จัดให 5 อันดับแรก รอ ยละ 2.9 3.7 0.2 0.9 6.5 3.5 1.4 1.6 100 0.9 2.3 6.3 4.7 4.9 80 1.2 2.6 5.3 9.5 15.4 6.5 10.4 60 60.0 61.5 56.4 59.6 56.0 40 20 27.2 25.6 23.1 19.2 20.7 0 บริการสาธารณะ โรงเรียน ไฟฟา ศนู ยเ ดก็ เลก็ สาธารณสุข นํา้ ประปา และศนู ยอ นามยั พอใจมาก คอนขา งพอใจ ไมคอยพอใจ ไมพอใจเลย ไมมีความเห็น ยังไมมีบริการนี้ ต(รออ บยรลกิ ะาถเร8ึงมส7พอ่ื า.1อสธ)อาใเจรบมณมศื่ถอาูนะาสกมยทอ)คเี่รบดตัฐวถ็กาแ่อามเลบลมคะร็กคดิทิกเวอ(าหรางรอน็มถสยข่นิคาลอจิดธงะัดเาปหใร7หร็นณ9ะม ข.ชะ5าอาทก)ชงท่ีรปนัฐสี่สรโแุดดาะลธยชคะาราือรทวชณ้อมโนรงเสงโกถุขเด่ียริ่นแยยีวจลรกนัดะวับศใ(มรคหูนเอวก้มยยา่ียาอลมกวนะพกทาึง8ับี่มสพ7คุัดยอ.2วใ(ค)ารจือมอ(พรยคโอรลึงองงพะนลเรอขง7ียใมา8จนงา.8พ(ไ()คอรด่อ้อใแจแนยกถลลข ึงระ้าะพะนงอบ8พ้ําใ7บปอจ.ไรใ2มฟจะ)า ฟปกาา) (รอ ยละร7อ6ง.7ล)งมา ได้แก่ ระบบไฟฟ้า (ร้อยละ 87.1) ศูนย์เด็กเล็ก (ร้อยละ 79.5) สาธารณสุขและ 6. ความศคูนิดยเ์อหน็นาแมลยั ะป(รรอ้ะยสลบะกา7ร8ณ.8เ ก) ่ียแวลกะบันกำ้ าปรรคะอปราปั (ชรน่ัอ้ ยละ 76.7) จําเปนเพ6เือ่ ม.ใ่ือหคสง าอวนบสาถํามาเรมค็จคลดิ วุลาเว มหงไคปน็ ิดไดเแห” ล็นนขะ้ันอปพงปรบรวะะาสชมบาีผชูทกนไ่ี มตาเอรหคณ็นําดกเ์วลกยาี่ยรวอทวยี่วกลาะบั 7“ก2บ.6าางร(คโคดรยั้องรกระาบปัรุวคชา อไม่ันรเัปห ช็นั่นดใว นยรเลัฐยบราอลยกล็มะีค5ว2า.ม2 และไมคอ ยเหน็ ดเมว ื่ยอสรอยบลถะา2ม0ค.4ว) ามสวคนิดผเทูหี่เ็นหขน็ ดอวงยปรอ ะยชลาะช1น0ต.2่อค(รำะกบลวุ ่า ควอทน่ีวข่าาง“เหบน็ าดงวคยรร้ังอ กยาลระค8อ.6รัปแลชะ่ันเหใ็นดวย มากที่สุดรัฐมบเี พาลยี งกร็มอ ีคยวลาะม1จ.6ำ)เป็นอเีกพรื่ออ ใยหล้งะา1น7ส.2ำเไรม็จม ลีคุลว่วางมไเปหน็ไดใน้”เรนอ่ื ั้นงนพี้ บว่า มีผู้ท่ีไม่เห็นด้วย ร้อยละ 72.6 (โสดวยนรคะวบามุว่าคไิดมเ่เหห็น็นขดอ้วงยปเรละยชารช้อนยเลกะ่ียว5ก2ับ.2กาแรลคะอไรมัป่คช่อ่ันยแเหละ็นกดา้วรยรับรส้อินยบละนใ2น0ก.า4ร)ปสก่วคนรผอู้ทงี่เสหว็นดท้วอยงถ่ิน พสแลวบนะวทเาจอ าปงรอหถร้อีกน่ินะยรชาอ้ล(ทโายดะช่ีคลยนอ1มะมร0ีผัปา1.ูท2ก7ชี่เก.ห่ัน(2รว็นเะากไวบมคือา ม่รุวเบจึ่งาคีทาหควหุก่อนานคมนึ่งานเขทหห้ารบี่ น็รงอาือใเยงนหรคลเ็อนนระยด่อืค6ล้อวง.นะยร2ัป้ี )ร6ช้อ2ั่นแย.ล6รละอ ะรผยะูทล8บะ่ีร.6ุวะ4าบแ2มุว.ล4ีกาะาแเรทหเจคบ็นาอจดหระ้วนัปไยามชมทัม่นา่ีสีใแกวคลนทระใ่ีสเหรกุดับญี่ยมสวคขิีนเอพอบรียงัปนกงชใรับั่นน้อกกยราาอลรรยะคปลอ1กะร.ค6ัป1ร)4ชอ.ั่น0ง มีรอยละ 11.9 และไมมีความเหน็ รอยละ 25.5 สําหรับความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการคอรัปช่ันและการรับสินบนในการปกครอง  ระดับประเทศ พบวา ประชาชนสว นใหญ รอยละ 74.0 ระบวุ า มกี ารคอรัปช่ันและการรบั สินบนในการปกครอง ระดบั ประเทศ (โดยผูทเ่ี หน็ วาเจา หนา ท่ีบางคนคอรัปช่ัน รอยละ 39.5 เจาหนา ทส่ี ว นใหข้อญมคูลอระรดัปับชภ่นัาครแอ ลยะลทะ่ัวร2าช4อ.1าณาจักร เจาหนาท่คี อรัปชัน่ เกอื บทุกคน รอยละ 10.4) สวนผูทรี่ ะบุวา แทบจะไมม ีใครเกี่ยวขอ งกบั การคอรัปชนั่ มีเพียง

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 ส่วนความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับการคอรัปช่ันและการรับสินบนในการปกครอง ส่วนท้องถ่ิน พบว่า ประชาชนมากกว่าครึ่งหนึ่ง หรือร้อยละ 62.6 ระบุว่ามีการคอรัปช่ันและ รับสินบนในการปกครองส่วนท้องถ่ิน (โดยมีผู้ที่เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีบางคนคอรัปชั่น ร้อยละ 42.4 เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่คอรัปช่ัน ร้อยละ 14.0 และเจ้าหน้าที่คอรัปช่ันเกือบทุกคน ร้อยละ 6.2) และผู้ที่ระบุว่าแทบจะไม่มีใครเกี่ยวข้องกับการคอรัปช่ัน มีร้อยละ 11.9 และไม่มีความเห็น รอ้ ยละ 25.5 สำหรับความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการคอรัปช่ันและการรับสินบนในการปกครอง ระดับประเทศ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 74.0 ระบุว่ามีการคอรัปช่ันและการรับสินบน ในการปกครองระดับประเทศ (โดยผู้ที่เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีบางคนคอรัปชั่น ร้อยละ 39.5 เจ้าหน้าท่ี ส่วนใหญ่คอรัปชั่น ร้อยละ 24.1 เจ้าหน้าท่ีคอรัปชั่นเกือบทุกคน ร้อยละ 10.4) ส่วนผู้ท่ีระบุว่า แทบจะไม่มีใครเกี่ยวข้องกับการคอรัปชั่น มีเพียงร้อยละ 4.7 และอีกร้อยละ 21.3 ไม่ม ี ความเห็น  สถาบันพระปกเกล้า

รายงานผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ต่อการให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2557 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 1 บทนำ



บทท่ี 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตผุ ล การให้บริการสาธารณะของภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะมี ประสิทธิภาพหรือไม่เพียงใดผู้ที่ให้คำตอบได้ดีท่ีสุด คือ ประชาชนผู้รับบริการ ดังนั้น การวัดระดับของการให้บริการสาธารณะของหน่วยงานภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit) อย่างเป็นระบบ จึงเป็นเร่ือง สำคัญอย่างยิ่งต่อการยกระดับการให้บริการสาธารณะเพ่ือให้บริการดังกล่าวมีคุณภาพตรง ตามความต้องการของประชาชนและสามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้อย่างตรงจุดและ มีประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังเป็นการสร้างกระบวนการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ ให้บริการสาธารณะอย่างเปน็ ระบบและเป็นรปู ธรรม สถาบันพระปกเกล้า ในฐานะสถาบันวิชาการซึ่งมีพันธกิจค้นคว้าวิจัยปัญหา และแนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างมีระบบ ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได ้ ขอความร่วมมือสำนักงานสถิติแห่งชาติดำเนินการสำรวจความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ และการทำงานของหนว่ ยงานตา่ งๆ สำหรบั ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลทางวชิ าการประกอบการจดั ทำโครงการ วัดระดับการให้บริการของหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit) อันจะนำไปสู่การนำเสนอแนวทางสำหรับ ผู้กำหนดนโยบายจะได้นำไปใช้พัฒนาการจัดบริการสาธารณะให้มีคุณภาพ และสนองตอบ ตอ่ ความตอ้ งการของประชาชนทกุ กลุ่มในสงั คมไทยย่ิงข้นึ ตอ่ ไป 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อทราบความคิดเห็นและระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการสาธารณะ และการทำงานของหนว่ ยงานต่างๆ 2. เพ่ือได้ข้อมูลผลการสำรวจสำหรับนำไปใช้ประกอบการวัดระดับการให้บริการของ หน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit) 3. เพื่อนำเสนอความคิดเห็นของประชาชนต่อผู้เกี่ยวข้องสำหรับนำไปใช้พัฒนาการ จดั บริการสาธารณะใหม้ คี ณุ ภาพ และสนองตอบต่อความตอ้ งการของประชาชน 1.3 คุ้มรวมของประชากร ตามกรอบการศึกษากำหนดให้สำรวจประชาชนท่ีมีอายุ 18 ปีข้ึนไปในครัวเรือน ส่วนบุคคลท่ัวประเทศ การสำรวจครั้งนี้ไม่รวมผู้ที่อาศัยอยู่ในครัวเรือนคนงานที่มีคนงาน 11 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 มาอาศัยอยู่รวมกันในสถานท่ีที่นายจ้างจัดหาให้โดยไม่เสียค่าท่ีพัก รวมท้ังผู้ท่ีอาศัยอยู่ใน ครวั เรอื นสถาบนั เช่น เรอื นจำ ค่ายทหาร โรงแรม วัด หอพกั นักเรียนนักศึกษา เป็นต้น 1.4 วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยทำการสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรือนตัวอย่างท่ีมีอายุต้ังแต่ 18 ปีข้ึนไป ครัวเรือนละ 1 คน โดยให้กระจายตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และสถานภาพ การทำงาน 1.5 ระยะเวลาการปฏิบตั ิงานเกบ็ รวบรวมข้อมลู ปฏบิ ตั งิ านเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ระหวา่ งวนั ที่ 1 กรกฎาคม – 12 สงิ หาคม 2557 1.6 การเสนอผล เสนอผลการสำรวจในระดบั ภาค และทว่ั ประเทศ ในรปู ของคา่ รอ้ ยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) เพ่ือวิเคราะห์หาระดับความคิดเห็นและความพึงพอใจของประชาชนในแต่ละ ข้อถามที่ได้ทำการสัมภาษณ์และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เพ่ือดูการ กระจายของขอ้ มลู ในการกำหนดคะแนนของการวัดและเกณฑ์ระดับความคิดเห็นและความพึงพอใจ ของประชาชนนนั้ ได้ใชต้ ามแนวทางของลิเคิรท์ (Likert) โดยกำหนด ดงั น ้ี 1. เกณฑ์ระดบั ความพึงพอใจของประชาชน (คะแนนเตม็ 4 คะแนน) คะแนนเฉล่ีย ระดับความพงึ พอใจของประชาชน 3.50 – 4.00 พอใจมาก 2.50 – 3.49 1.50 – 2.49 คอ่ นข้างพอใจ 1.00 – 1.49 ไมค่ ่อยพอใจ ไม่พอใจเลย 2. เกณฑร์ ะดบั ความเช่ือมน่ั ของประชาชน (คะแนนเตม็ 4 คะแนน) คะแนนเฉลี่ย ระดบั ความเช่อื มนั่ ของประชาชน 3.50 – 4.00 เชอื่ มน่ั มาก 2.50 – 3.49 1.50 – 2.49 คอ่ นขา้ งเช่อื มั่น 1.00 – 1.49 ไมค่ อ่ ยเชื่อมน่ั ไมเ่ ชอื่ มนั่ 12 สถาบันพระปกเกล้า

รายงานผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ต่อการให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2557 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 2 ระเบียบวิธีสถิติ



บทที่ 2 ระเบียบวธิ ีสถติ ิ 2.1 แผนการสมุ่ ตวั อยา่ ง 2.1ทSaี่มแmีสผมpนา กliชาn ิกรgสอกุมาาโดยตรสุัวย1ำอก8รยำวาหปจงนีขดดึ้น้วใยไหปต้เัวขเอปตย็นแ่าจหงงนคนร่วับั้งยนต(ี้ใEัวชAอ้แร)ยผะ่เานเปบงกบ็ขนียาทั้นหบรททนสวี่่ีุ่สม่วธิ2ยอตีสตัวงถอัวติแยอิล่ายะง่าสแงมบขาบ้ันชทSิกี่หtทrนaี่มึ่งtีอifคาieยรdัวุ 1เtร8hือrปนeีขสe้ึน่ว–นไปบStุคเaปคg็นลe หน่วยตกวั าอรยส่าํางรขวนั้ จทด่สี วายมต ัวอยางครั้งนี้ใชแผนการสุมตัวอยางแบบ Stratified three – Stage Sampling โดยกําหนดใหเขตแจงนับ (EA) เปนหนวยตัวอยางขั้นที่หนึ่ง ครัวเรือนสวนบุคคลที่มีสมาชิกอายุ 18 ปขึ้นไป เปน หนว2ย.ต2ัว อกยาางรขจน้ั ัดทสี่สอตงรแาลตะสมั ม าชิกที่มีอายุ 18บทปทขี่น้ึ 2ไป เปน หนว ยตัวอยางข้นั ทสี่ าม 2.2772ก.ส1ารตจแ รกผัดาํา นตสหกกมัตกนาารรดรำาส สใหตมุหํานมัตรกววั ดรจองุใดยเหาทวงย้กพตรมัวุงหอเยาทนางพคครมรั้งหนแาี้ใลชนะแจคผงั รนหรกะแวาเัดบลรสียะ7ุมบ6จตวังัวจิธหอสีังยหถวาิตัวดงดัิ แเ7บป6บนสจSตtังrรaหาtวiตfiัดัมedเรปtว็hนมrสทeeตง้ั สร–น้ิ าSต7taั7มgeสรตSวรaมาmทตpัมั้งliสn้ิgน ต2.อ3ส กตันโเ2ขปดร.2นโยนา2ดกาหตยกํา ด.นคมั3ใหาตวาํชอ รนย นัวจสยดกตดัอคขวูตา่ําใวั สณหยหรองำนตอเกายนนขขราางดาิสนตวางดรใรตขแณาหคะมัน้ัจตดกําขตงทตรนัวนอ่งุีส่นวั วัเบออกอทาณงยันพยด(Eแขามต่าAลโนงหงั)ดวะาา(ส เอยนจดปมใยคําตนชารน่าัวชหส้ วงอิกนแูตนทยวล(ร่มีปายจะกีองตจรำาสาัวงัะนยรหอําชุควหยว1าดันาำ8รชงนับป7นปขว6ก้ันทขรณาึ้นทจะม่ี รงัไ่ีหขชอีปหปนนาาวรเึ่งยชัดปาะุเดคนนม1ปรหตท8นาัวนวัณส่ีเมปวอรตคยีอือรขยตาานา้ึนา่ วัสตยสงอไมัดั สวุปยส1นรำาตววงบ8หัวมขนุครอนั้ทปคับทยั้งีลขสกี่สาท้ึนนิ้างาี่มม)รไ7ีสปป7ใมนตรสาแะัวตชตมรอิกาลาอยตณะา่ัมายคงุ )1า่ ส8สใตนัดปรแสขาว่ตึ้ตนน่ัไมลป อะ ยางอิสระ 2ต.อ 3กนั ขนโดายดคใตาํชนัวส อวตู ณยรกา ขงานราคดาํ ตนัววอณยขานงnา(จดrําตeนัวlวอนยปางรสะําชหารชบันกทาีม่ kรอี ป2ารยQะุ ม1N8าณkปคข2าN้ึนสQไPัดปสEตว ัวนอ2ยาง) ในแตละ สตราตัมอยางอิสระ โดโดยทยทN่ี ่ ี คอื จำนคจnําาวนคrนeวงปทนl ่ีทประ่รีระะชดชาาับชชคนนวททามkี่มมี่ เอี2ชอี าือ่QายมยุN1น่ั ุ k81128ปN-QขPปึ้นEขีไป(นึ้กใ2นไําปหคนรในวัดเใครหอืรค นวั วสเารวมือนเชบน่ือคุ สมค่วัน่ลนท9บ้งั5สคุ%้นิ คลท้งั สk้นิ = 1.96) k N 95 % คอืคอื ปขึ้นไปตัวอยาง ท่ัว ป ระเท ศแทลโด้ังะEQPสยพ ท้นิ ิจQEkNPQ่ีPkา3 ร3 ณ,4คคค า2ืออืือคคคคคคคคคร0อืือือืือออือือืือวค มนกร1kสคับอ้ดดั่า=-ทยคงัร1สสจครส1Pอนดัรลอําดังว่า1--ยนยคัสพ้ีสทะน.PPลวลง9วว ขยทน่ีทขะนะน 6ขี่ทปอาขขอขี่ร)อีร่รอกอง องะะงะงขงรขงปดชปดขนปใาับนรรันบชหาะรคาดะนชาะวคมดขทาดชาชอกีมควมี่ขขาางรเีอาวอกชคอกทามอ่ืงราว่ีสยงรคามทมนุเคทม1ั่นวชี่สใเผ8 จวาี่สหน ื่อ1ดิศม าปน ใพกึมม-ผ มจข ษลใดิ าั่ึน้ศนผาจา พไะกึดปิดศ(ทษสล1กใพึก่ยีนาําามหอดค-ษลมนรทไาารวัดด่ียαับเด ใรอหจไือทดคมําน ว่ียรสนาบั(อวมวกนไเมนดชบำ่ือรุคปหมบัครัน่นลไะทด9ดัง้ช5้ สใ%าิน้หช้คนวทาี่มมkีอเ=ชา1่ือย.9ุม61ั่น)8 แแลละะพพิจจิาราณรณาราวมรกว่ ับมทกรบั ัพทยราัพกรยใาหกมรีคใวหามม้ เีคหวมาะมสเหมมไดาจะาํ สนมวนไปดร้จะำชนาชวนนทปี่มรีอะาชยาุ 1ช8นปทข่ีมึ้นอี ไปายตัวุ 1อย8าปง ี ขึ้นทไ่ัวปปตระัวเอทยศทา่ งั้งสทนิ้ ั่วป33ร,4ะ2เท0 ศภคนทาคั้งดสังน้ิน้ี 33,420 คน ดังนี้ EA ตัวอยา ง ประชาชนอายุ 18 ปขนึ้ ไป ตวั อยาง ประชาชนอายุ 18 ป1ข,5นึ้ 0ไ0ป 1. กรุงเทพมหานคภราค EA ตัวอย1า0ง0 ตัวอยา ง 2. ก1ล. ากงรงุ (เยทกพเมวหน านกคทรม.) 100 700 1,500 10,500 3. เ2ห.นกอื ลาง (ยกเวน กทม.) 700 476 10,500 7,140 15 4. ต3ะ. วเหนั นออื อกเฉยี งเหนอื 476 560 5. ใ4ต. ตะวันออกเฉียงเหนอื 560 392 ข้อ78ม,,41ูล04ร00ะดับ85ภ,,48าค8000และท่ัวราชอาณาจักร 5,880 5. ใต 392

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 ภาค EA ตวั อยา่ ง ประชาชนอายุ 18 ปขี ้ึนไปตัวอย่าง 1,500 1. กรงุ เทพมหานคร 100 10,500 7,140 2. กลาง (ยกเวน้ กทม.) 700 8,400 5,880 3. เหนอื 476 33,420 4. ตะวันออกเฉยี งเหนือ 560 5. ใต ้ 392 รวมทว่ั ประเทศ 2,228 2.4 วิธีการเลือกหนว่ ยตัวอยา่ ง หน่วยตัวอย่างข้ันที่หน่ึง กำหนดให้ EA เป็นหน่วยตัวอย่างข้ันที่หน่ึง โดย ในแต่ละ สตราตัม ได้ทำการเลือก EA ตัวอย่างอย่างอิสระต่อกัน โดยให้ความ นา่ จะเปน็ ในการเลอื กเปน็ ปฏภิ าคกับจำนวนครวั เรอื นของ EA นนั้ ๆ หน่วยตัวอย่างข้ันท่ีสอง ในแต่ละ EA ตัวอย่าง ได้ทำการเลือกครัวเรือน ส่วนบุคคลที่มีสมาชิกอายุ 18 ไปขึ้นไปตัวอย่าง อย่างอิสระต่อกัน ด้วยวิธีการ ส่มุ แบบมรี ะบบ EA ละ 15 ครัวเรือน หน่วยตัวอย่างขั้นที่สาม ในแต่ละครัวเรือนส่วนบุคคลที่มีสมาชิกอายุ 18 ป ี ข้ึนไป ตัวอย่าง ได้ทำการเลือกสมาชิกท่ีมีอายุ 18 ปีขึ้นไปตัวอย่าง อย่างสุ่ม ครัวเรือนละ 1 คน เพอ่ื ทำการสมั ภาษณใ์ นรายละเอียด 2.5 เคร่อื งมือการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ได้ใช้แบบสอบถามในการสำรวจ ซึ่งแบบสอบถาม ประกอบด้วยข้อถาม จำนวน 7 ตอน โดยตอนท่ี 1 เป็นข้อมูลส่วนบุคคล ตอนท่ี 2 ส่ือท่ีใช้ใน การติดตามทางการเมือง ตอนท่ี 3 ความคิดเห็นต่อรัฐบาล ตอนท่ี 4 ความเช่ือมั่นต่อการงาน ของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงาน ตอนท่ี 5 ความเช่ือมั่นต่อการทำงานขององค์กรอิสระและ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ตอนท่ี 6 ความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถ่ินจัดให้ กับประชาชน และตอนที่ 7 ความคดิ เหน็ และประสบการณเ์ กี่ยวกบั การคอรปั ชั่น 2.6 การประมาณค่าสถิติ การคำนวณค่าประมาณร้อยละของประชากรที่ต้องการศึกษา ได้คำนวณโดยวิธีการ ถ่วงน้ำหนักที่ถูกปรับด้วยอัตราการไม่ตอบแบบสอบถาม โดยการคำนวณค่าประมาณร้อยละ ในคร้งั น้ไี ดใ้ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู ทางสถติ ิ SPSS ทุกจังหวัด : กำหนด 20 ครัวเรือนตวั อยา่ ง ตอ่ ชมุ รมุ อาคาร/หมู่บ้าน 16 ยกเวน้ กรงุ เทพ สถาบันพระปกเกล้า

รายงานผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ต่อการให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2557 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 3 สรุปผลการสำรวจ



บทท่ี 3 สรุปผลการสำรวจ 3.1 ลักษณะพ้นื ฐานทางสังคม และเศรษฐกิจ เพศและอาย ุ ผู้ตอบสัมภาษณ์เป็นชาย ร้อยละ 47.3 และหญิง ร้อยละ 52.7 เม่ือพิจารณาอายุ พบว่า เป็นผู้ท่ีมีอายุระหว่าง 18 – 29 ปี ร้อยละ 13.1 เป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 30 – 39 ปี ร้อยละ 18.2 เป็นผู้ท่ีมีอายุระหว่าง 40 - 49 ปี ร้อยละ 25.8 และเป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 50 – 59 ปี ร้อยละ 22.7 สว่ นผ้ทู ม่ี ีอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20.2 ตาราง 1 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามเพศและอาย ุ เพศและอายุ รอ้ ยละ เพศ 100.0 ชาย 47.3 หญงิ 52.7 อาย ุ 100.0 18 – 29 ปี 13.1 30 – 39 ปี 18.2 40 – 49 ป ี 25.8 50 – 59 ปี 22.7 60 ป-ี ขึน้ ไป 20.2 ระดับการศึกษา ส่วนระดับการศึกษาน้ัน พบว่า ร้อยละ 49.7 เป็นผู้มีการศึกษาระดับประถมศึกษา และร้อยละ 30.4 เป็นผู้มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 12.0 เป็นผู้มีการศึกษาระดับ ปริญญาตรีขึ้นไป ร้อยละ 5.0 เป็นผู้มีการศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส./ปวท. หรือเทียบเท่า อีกรอ้ ยละ 0.1 เปน็ การศึกษาอนื่ ๆ และผู้ทีไ่ ม่เคยไดร้ บั การศกึ ษามรี อ้ ยละ 2.8 19 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 ตาราง 2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามระดบั การศกึ ษา ระดบั การศึกษา ร้อยละ รวม 100.0 ไมเ่ คยไดร้ ับการศกึ ษา 2.8 ประถมศกึ ษา 49.7 มัธยมศกึ ษา 30.4 อนุปรญิ ญา/ปวส./ปวท.หรอื เทียบเทา่ 5.0 ปริญญาตรีและสูงกวา่ 12.0 อื่นๆ 0.1 อาชพี อาชีพของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า ร้อยละ 24.9 เป็นผู้มีอาชีพเกษตรกร และร้อยละ 14.7 พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน ส่วนร้อยละ 13.3 ค้าขายเล็กๆ น้อยๆ ร้อยละ 9.2 ผู้ท่ี รับจ้างทั่วไป/คนงาน ร้อยละ 7.5 แม่บ้าน ร้อยละ 7.3 เจ้าของกิจการร้านค้า/ธุรกิจขนาดกลาง ร้อยละ 6.2 รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ/องค์กรของรัฐ ร้อยละ 3.3 นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา ร้อยละ 1.6 ข้าราชการบำนาญ ร้อยละ 1.3 เป็นผู้ที่รับจ้างเอางานมาทำท่ีบ้าน ร้อยละ 0.2 ผทู้ ที่ ำงานองคก์ รเอกชน (NGOs) และรอ้ ยละ 0.1 เปน็ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ขนาดใหญ่ อกี รอ้ ยละ 0.9 ประกอบอาชีพอน่ื ๆ นอกจากนั้นเป็นผทู้ ไี่ ม่ได้ทำงาน/ว่างงาน ประมาณร้อยละ 9.5 ตาราง 3 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามอาชีพ อาชพี รอ้ ยละ รวม 100.0 ไมไ่ ดท้ ำงาน/วา่ งงาน 9.5 นักเรียน/นิสิต/นกั ศึกษา 3.3 ข้าราชการบำนาญ 1.6 แมบ่ า้ น 7.5 เกษตรกร 24.9 รับจา้ งเอางานมาทำทีบ่ ้าน 1.3 คา้ ขายเลก็ ๆ น้อยๆ 13.3 รับจา้ งทว่ั ไป/คนงาน 9.2 20 สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 อาชีพ ร้อยละ พนักงาน/ลูกจ้างบริษทั เอกชน 14.7 รบั ราชการ/รฐั วิสาหกจิ /องคก์ รของรัฐ 6.2 ทำงานองค์กรเอกชน (NGOS) 0.2 เจ้าของกิจการรา้ นคา้ /ธุรกิจขนาดกลาง 7.3 ประกอบธุรกจิ ขนาดใหญ ่ 0.1 อน่ื ๆ 0.9 สถานภาพสมรส สำหรับสถานภาพสมรสของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 67.0 เป็นผู้ท่ี แต่งงานแล้วและอยู่ด้วยกัน และร้อยละ 16.6 เป็นโสด ร้อยละ 8.5 หม้าย ร้อยละ 3.8 เป็นผู้ท่ี เคยแต่งงานแต่ปัจจุบันแยกกันอยู่ ร้อยละ 2.3 เป็นผู้ท่ีหย่า และร้อยละ 1.8 เป็นผู้ท่ีอยู่ด้วยกัน โดยไม่แตง่ งาน ตาราง 4 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามสถานภาพสมรส สถานภาพสมรส ร้อยละ รวม 100.0 โสด 16.6 แตง่ งานแลว้ และอยู่ด้วยกนั 67.0 เคยแตง่ งานแต่ปจั จุบันแยกกนั อย ู่ 3.8 หยา่ 2.3 หม้าย 8.5 อยู่ดว้ ยกนั โดยไม่แตง่ งาน 1.8 รายได้ของครวั เรอื นเฉลย่ี ต่อเดือน รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ พบว่า มีการกระจายดังนี้ ไม่มีรายได้ ร้อยละ 4.6 รายได้น้อยกว่า 3,001 บาท ร้อยละ 6.5 3,001 - 5,000 บาท ร้อยละ 13.7 5,001 - 7,000 บาท ร้อยละ 16.8 7,001 -10,000 บาท ร้อยละ 20.0 10,001 - 15,000 บาท รอ้ ยละ 17.3 15,001 - 20,000 บาท รอ้ ยละ 9.3 20,001 - 25,000 บาท รอ้ ยละ 4.3 และมากกว่า 25,000 บาท รอ้ ยละ 7.5 21 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 ตาราง 5 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามรายได้ของครวั เรอื นเฉล่ยี ต่อเดอื น รายไดข้ องครัวเรือนเฉลย่ี ตอ่ เดอื น ร้อยละ รวม 100.0 ไมม่ ีรายได ้ 4.6 น้อยกวา่ 3,001 บาท 6.5 3,001 - 5,000 บาท 13.7 5,001 - 7,000 บาท 16.8 7,001 - 10,000 บาท 20.0 10,001 - 15,000 บาท 17.3 15,001 - 20,000 บาท 9.3 20,001 - 25,000 บาท 4.3 มากกวา่ 25,000 บาท 7.5 3.2 การทราบขา่ วสารทางการเมือ9ง 3.2 3ก .า2ร.1ติด ตกาารมทข3รา.2าวบ.ส1ขา าร วทกสาาางรกรททารราาเงมบกือาขงร่าเมวสือางรทางการเมอื ง แผนภ ูมแผิ 3น.ภ 1ูม ิ 1รแ้อลรยอะยสลลือ่ะะขทขอีท่องงรปปารบระะ ชชาาชชนนจจําแำนแกนตกาตมากมารกเคายรทเครายบทขรา าวบสาขรา่ทวาสงกาารรทเมางือกง าแรลเะมสือือ่ งท ่ีท ราบ การเคยทราบขา วสารทางการเมอื ง แหลงสอื่ 1/ รอยละ  โทรทศั น (ฟรที วี )ี 97.7  พูดคยุ กับบคุ คลอนื่ ๆ 30.8 ไม เคย เคย  หนังสือพมิ พ 21.7 14 .4% 85.6%  วทิ ยุ 8.6  อินเทอรเ นต็ 7.0  หอกระจายขา ว 4.4  เคเบิ้ลทีวี 1.6  นิตยสาร/วารสาร 0.3  อห่นื มๆายเหตุ : 1/ ตอบไดม ากกวา 1 คําตอบ 0.1 หมายเหตุ : 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คำตอบ ผลการสํารวจเกย่ี วกบั การเคยทราบขาวสารทางการเมอื ง พบวา ประชาชนสวนใหญ รอยละ 85.6 ระบุวา 22เโคทยรททรัศานบ ข(ฟาวรสีทาีวรี) มีรอยละ 14.4 ระบุวาไมเคยทราบขาวสาร โดยผูท่ีเคยทราบขาวสารระบุวาทราบจากสื่อ มากที่สุด (รอยละ 97.7) รองลงมา คือ พูดคุยกับบุคคลอื่นๆ (รอยละ 30.8) หนังสือพิมพ สถา(บรันอพยรละะปก2เ1ก.ล7้า) วทิ ยุ (รอ ยละ 8.6) อินเทอรเนต็ (รอยละ 7.0) หอกระจายขาว รอยละ 4.4 เคเบ้ิลทีวี (รอยละ 1.6) นติ ยสาร/วารสาร (รอยละ 0.3) และอื่นๆ รอยละ 0.1 ตามลําดบั

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 ผลการสำรวจเกี่ยวกับการเคยทราบข่าวสารทางการเมือง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 85.6 ระบุว่าเคยทราบข่าวสาร มีร้อยละ 14.4 ระบุว่าไม่เคยทราบข่าวสาร โดยผู้ที่เคย ทราบข่าวสารระบุว่าทราบจากสื่อโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) มากที่สุด (ร้อยละ 97.7) รองลงมา คือ พูดคุยกับบุคคลอ่ืนๆ (ร้อยละ 30.8) หนังสือพิมพ์ (ร้อยละ 21.7) วิทยุ (ร้อยละ 8.6) อินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 7.0) หอกระจายข่าว ร้อยละ 4.4 เคเบิ้ลทีวี (ร้อยละ 1.6) นิตยสาร/ วารสาร (รอ้ ยละ 0.3) และอ่ืนๆ รอ้ ยละ 0.1 ตามลำดับ เมื่อสอบถามประชาชนเก่ียวกับความถ่ีในการติดตามข่าวสารทางการเมืองจากสื่อ หนังสือพิมพ์ พบว่า มีผู้ติดตามสัปดาห์ละ 2 – 3 วัน ร้อยละ 44.6 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 32.8 สัปดาห์ละคร้ัง ร้อยละ 14.6 และแทบจะไม่ได้ติดตาม มีร้อยละ 7.6 และไม่ได้ติดตามเลย ร้อยละ 0.4 สำหรับหนังสือพิมพ์ที่ประชาชนติดตามข่าวสารทางการเมืองมากท่ีสุด คือ ไทยรัฐ (ร้อยละ 67.3) และเดลินวิ ส์ (รอ้ ยละ 23.6) การติดตามข่าวสารการเมืองทางวิทยุทั่วไปมีผู้ระบุว่าติดตามข่าวสาร สัปดาห์ละ 2 – 3 วัน ร้อยละ 39.8 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 35.9 สัปดาห์ละคร้ัง ร้อยละ 11.9 และแทบจะ ไม่ได้ติดตาม มีร้อยละ 10.4 และไม่ได้ติดตามเลย ร้อยละ 2.0 สำหรับสถานีวิทยุท่ีมีผู้ติดตาม ข่าวสารทางการเมืองมากท่ีสุด คือ สถานีวิทยุแห่งประเทศไทย (ร้อยละ 35.2) และสถานีวิทยุ ของ อสมท. (รอ้ ยละ 22.2) ส่วนการติดตามข่าวสารการเมืองทางวิทยุชุมชน พบว่า ผู้ติดตามข่าวสาร สัปดาห์ละ 2 – 3 วัน มีร้อยละ 12.0 ตามทุกวัน ร้อยละ 9.8 สัปดาห์ละคร้ัง ร้อยละ 4.3 แทบจะไม่ได้ ติดตาม มรี ้อยละ 33.7 และไมไ่ ด้ตดิ ตามเลย ร้อยละ 40.2 สำหรับการติดตามข่าวสารการเมืองทางโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) นั้น พบว่า มีผู้ระบุว่าได้ ติดตามข่าวสารการเมืองทุกวัน ร้อยละ 44.1 สัปดาห์ละ 2 – 3 วัน ร้อยละ 38.4 สัปดาห์ละคร้ัง ร้อยละ 8.5 และแทบจะไม่ได้ติดตาม ร้อยละ 8.0 และไม่ได้ติดตามเลย มีเพียงร้อยละ 1.0 สำหรับสถานีโทรทัศน์ที่มีผู้ติดตามข่าวสารการเมืองมากที่สุด คือ สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 (ร้อยละ 44.0) และสถานโี ทรทศั น์ชอ่ ง 7 (ร้อยละ 36.4) การติดตามข่าวสารการเมืองทางเคเบิ้ลทีวี มีผู้ระบุว่าติดตามข่าวสาร สัปดาห์ละ 2 – 3 วัน ร้อยละ 29.0 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 43.9 สัปดาห์ละคร้ัง ร้อยละ 10.1 และแทบจะ ไม่ได้ติดตาม มีร้อยละ 15.6 และไม่ได้ติดตามเลย มีถึงร้อยละ 1.4 สำหรับสถานีเคเบิ้ลทีว ี ท่ีมีผู้ติดตามข่าวสารทางการเมืองมากที่สุด คือ บูสกาย (ร้อยละ 43.1) รองลงมา เอเอสทีวี (ร้อยละ 19.8) การติดตามข่าวสารการเมืองทางอินเทอร์เน็ต พบว่า มีผู้ระบุว่าได้ติดตามข่าวสาร การเมืองทุกวัน ร้อยละ 36.2 สัปดาห์ละ 2 – 3 วัน ร้อยละ 43.4 สัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 12.2 และแทบจะไม่ได้ติดตาม ร้อยละ 7.4 และไม่ได้ติดตามเลย มีถึงร้อยละ 0.8 สำหรับเว็บไซต์ที่ม ี ผู้ติดตามข่าวสารการเมืองมากที่สุด คือ www.google.com (ร้อยละ 45.0) รองลงมา www.sanook.com (ร้อยละ 18.9)) 23 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 3.2.2 การเปน็ สมาชกิ เครือขา่ ยสังคมออนไลน ์ ประชาชนที่เคยรับฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมืองทางอินเตอร์เน็ต ส่วนใหญ่ ร้อยละ 80.3 เป็นสมาชิกเครือข่ายสังคมออนไลน์ (โดยใช้วิธีการติดต่อส่ือสารผ่านทาง Facebook มากที่สุด ถึงร้อยละ 96.3 รองลงมา คือ line ร้อยละ 80.2 อินสตาร์แกรม ร้อยละ 16.8 twitter ร้อยละ 8.5 Hi5 ร้อยละ 2.1 และร้อยละ 0.2 ไม่ระบุ) มีร้อยละ 19.7 ไม่เป็นสมาชกิ เครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ตาราง 6 รอ้ ยละของประชาชนทีเ่ คยรบั ฟัง/ชมหรือทราบขา่ วสารการเมอื ง จำแนกตามการเปน็ สมาชิกเครือข่ายสังคมออนไลน์ การเปน็ สมาชิกเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ รอ้ ยละ รวม 100.0 ø ไมเ่ ป็น ø เป็น โดยใช้วิธีการติดต่อ 1/ ø Facebook ø Line 96.3 ø อนิ สตารแ์ กรม 80.2 ø twitter 16.8 ø Hi5 8.5 ø ไมร่ ะบ ุ 2.1 02 หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ 3.3 การตดิ ตามการทำงานของรฐั บาล นางสาวยง่ิ ลกั ษณ์ ชนิ วตั ร ในรอบ 12 เดอื น ทผ่ี ่านมา ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 64.5 ระบุว่าติดตามการทำงานของรัฐบาล เป็นบางคร้ังบางคราว และร้อยละ 19.3 ระบุว่าติดตามเป็นประจำ อีกร้อยละ 16.2 ระบุว่า ไมไ่ ด้ติดตาม 24 สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 ตาราง 7 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการตดิ ตามการทำงานของรฐั บาล นางสาวยงิ่ ลักษณ ์ ชินวัตร ในรอบ 12 เดอื น ท่ีผา่ นมา การตดิ ตาม ร้อยละ การปฏบิ ัตงิ านของรัฐบาล 100.0 ติดตามเปน็ ประจำ 19.3 ตดิ ตามเป็นบางครง้ั บางคราว 64.5 ไมไ่ ดต้ ิดตาม 16.2 3.4 ความพงึ พอใจตอ่ นโยบายของรัฐบาล เมื่อสอบถามประชาชนเกี่ยวกับการทราบนโยบายของรัฐบาล (นางสาวย่ิงลักษณ์ ชินวัตร) พบว่า นโยบายของรัฐบาลท่ีดำเนินการที่ประชาชนทราบ 5 อันดับแรก คือ โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค (ร้อยละ 97.5) การข้ึนค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท (ร้อยละ 96.1) การข้ึน เบ้ียยังชีพให้กับผู้สูงอายุแบบมากข้ึนตามอายุ (ขั้นบันได) (ร้อยละ 95.8) โครงการรับจำนำข้าว (ร้อยละ 93.2) และการแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด (ร้อยละ 92.6) ส่วนนโยบายของ รัฐบาลท่ีดำเนินการที่ประชาชนทราบน้อย 5 อันดับ คือ การบริหารจัดการน้ำและระบบ ชลประทาน (ร้อยละ 68.3) โครงสร้างพ้ืนฐานระบบรางแลขนส่งทางบก (ร้อยละ 66.9) กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (ร้อยละ 64.6) ฟ้ืนฟูความสัมพันธ์และความร่วมมือกับต่างประเทศ (ร้อยละ 62.5) และกองทนุ ตัง้ ตวั ได้ (ร้อยละ 37.1) สำหรับประชาชนท่ีทราบนโยบายของรัฐบาลระบุว่านโยบายของรัฐบาลที่พึงพอใจ ในระดับมากถึงมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ การขึ้นเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุแบบมากข้ึนตามอายุ (ข้ันบันได) (ร้อยละ 85.5) โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค (ร้อยละ 84.3) การขึ้นเงินเดือน ปรญิ ญาตรี 15,000 บาท (รอ้ ยละ 78.6) การข้ึนค่าจ้างข้นั ต่ำ 300 บาท (ร้อยละ 77.0) และการ พักหน้ีเกษตรกร (ร้อยละ 71.9) ในขณะท่ีประชาชนท่ีรู้/ทราบนโยบายของรัฐบาลพึงพอใจ ในระดับน้อย 5 อันดับ คือ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ (ร้อยละ 35.6) การปฏิรูปการเมือง (ร้อยละ 32.9) การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของ คนในชาติ (ร้อยละ 31.9) การสร้างสันติสุขและความปลอดภัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ร้อยละ 29.2) และแกไ้ ขปญั หาสินค้าราคาแพง (ร้อยละ 28.5) 25 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 ตาราง 8 ร้อยละของประชาชนท่ีรู้/ทราบนโยบาย และพึงพอใจนโยบายของรัฐบาลที่ได ้ ดำเนินการ จำแนกตามนโยบายของรัฐบาล รู้/ทราบ ความ คะแนนเฉล่ยี นโยบายของรัฐบาล นโยบาย พึงพอใจ 1/ ความพงึ พอใจ รฐั บาล (รอ้ ยละ) (คะแนนเต็ม 4) โครงการ 30 บาท รกั ษาทุกโรค 97.5 84.3 3.12 การขึ้นค่าจา้ งขัน้ ต่ำ 300 บาท 96.1 77.0 2.98 การข้ึนเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุแบบมากขึ้นตาม 95.8 85.5 3.17 อายุ (ขนั้ บนั ได) โครงการรบั จำนำขา้ ว 93.2 38.2 2.21 การแกไ้ ขและปอ้ งกันปญั หายาเสพตดิ 92.6 57.8 2.58 แกไ้ ขปัญหาสนิ ค้าราคาแพง 90.2 28.5 2.00 การขนึ้ เงนิ เดือนปรญิ ญาตรี 15,000 บาท 90.1 78.6 3.03 การสร้างสันติสุขและความปลอดภัยในจังหวัด 86.3 29.2 2.03 ชายแดนภาคใต ้ การพักหนี้เกษตรกร 85.2 71.9 2.92 โครงการให้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตแก่นักเรียน 85.0 48.4 2.39 ป.1 การคืนภาษีบ้านหลังแรก รถคนั แรก 84.4 52.5 2.52 การสรา้ งความปรองดองสมานฉนั ทข์ องคนในชาต ิ 84.3 31.9 2.08 โครงการหนึง่ ตำบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ OTOP 80.2 68.2 2.78 การสง่ เสริมกองทนุ หมบู่ ้าน กองทนุ SML 75.4 66.5 2.81 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ 74.9 35.6 2.16 ประพฤตมิ ิชอบในภาครฐั การปฏริ ูปการเมอื ง 73.4 32.9 2.13 การบริหารจดั การนำ้ และระบบชลประทาน 68.3 46.5 2.40 โครงสรา้ งพ้นื ฐานระบบรางและขนส่งทางบก 66.9 50.2 2.44 กองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี 64.6 60.3 2.72 ฟ้ืนฟูความสัมพนั ธ์และความร่วมมือกับ 62.5 50.8 2.49 ตา่ งประเทศ กองทุนตัง้ ตัวได ้ 44.7 56.2 2.59 หมายเหตุ : 1/ คอ่ นขา้ งพอใจถึงพอใจมาก 26 สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 3.5 ความคิดเห็นเก่ียวกับควา1ม3 สามารถในการแก้ไขปัญหาสังคมและ 3.5 ควา มค ิดเห็นเกี่ยเศวกรับษคฐวกามจิ สขาอมงารรถฐั ใบนากาลร แกไ ขปญหาสงั คมและเศรษฐกจิ ของรฐั บาล แผนภ มู ิ 3 .2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความสามารถ แผ นภูมิ 2 ร แอ ลย ะลเะศขรใอษนงฐปกกราิจะรขชแอากงชรไ้นฐั ขบปจาํลาัญแหนกาตสาังมคคมวาแมลคดิะเเหศน็ รเษกี่ยฐวกกิจบั ขคอวางมรสัฐาบมาาลรถ ในการแกไขปญหาสงั คม 10.00ค ะ แ น น 8.00 6.02 6.41 5.89 6.32 6.00 5.55 5.25 5.37 ดานสังคม ดานเศรษฐกิจ 4.00 5.41 5.07 5.22 3.90 2.00 3.71 0.00 ภาค ท่วั ประเทศ กรุงเทพ- กลาง เหนอื ตะวนั ออก- ใต มหานคร (ยกเวน กทม.) เฉยี งเหนอื พบวา ปรชะจชินาาวกชัตกนาร รเ)หส ไอน็ ดบวจ้ใถานาสากรมากะมเกาดรี่ยรัถบวสแใกอกดบั บไนกขถั้นาปราญแพมกหเบกไาขวดี่ยป่าาวญนกปสหับรังาะกคดชามาารนไดชแสนกงัทค้ไี่คขเมหะขปแ็นอัญนงวรหน่าฐั สาเบฉดาาลม้าลี่ยนร(นถส5าแ.ัง5งคกส5ม้ไาขจวขยปาอก่งิัญงลเรตหักัฐ็มษาบณด1า้า0 ลนชคสิน(ะนัวงแาัตคนงรมสน)ไไาดดว้ ใสยทนวิ่ง่ีครนละะกักดแาษับนรใณแนดก์นไั้นข ปญหาดา เนฉเศลร่ียษ5ฐ.ก5ิจ5พจบาวกาเตป็มระ1ช0าชคนะเแหนน็ วนา สสา่วมนรกถาแรกแไกขป้ไขญปหัญาหดาานด้เาศนรเษศฐรกษิจฐไกดิจ ทพ่ีคบะแว่านนปเรฉะลช่ียา5ช.น4เ1หจ็นาวก่าเต็ม 10 คะแนสนามรถแกไ้ ขปญั หาดา้ นเศรษฐกิจได้ ท่ีคะแนนเฉล่ยี 5.41 จากเต็ม 10 คะแนน 3.6 ควา มเชือ่ 3ม.่ัน6ต อ คกาวราทมํางเาชน่ือขอมงั่นคณตะ่อบกคุ คาลร/ทสถำางบาันน/หขนอว ยงงคาณนตะา บงๆุคคล/สถาบัน/หน่วยงาน กา รทํางานตขอ่างงคๆณ ะบุคคล/สถาบนั /หนว ยงานตางๆ ที่ประชาชนคอนขางเชื่อมั่นถึงเชื่อมั่นมาก ตั้งแต รอ ยละ 80 ขึน้ ไป ค อื กทาหราทรำ(รงอายนลขะอ8งค4.ณ1)ะบแุคพคทลย/ใ สนถโรางบพันย/าหบานล่วขยองงารนฐั ต(ร่าองๆยลทะี่ป8ร0ะ.5ช)าชแนลคะ่อแนพขท้ายงใเนชโ่ือรงมพ่ันยถาึงบาล ของเอกชเนช่ือ(รมอั่นยลมะาก80ต.0้ัง)แต่ ร้อยละ 80 ขึ้นไป คือ ทหาร (ร้อยละ 84.1) แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ (รสอ้าํ ยหลรับะก8า0ร.ท5ํา)งแาลนะขแอพงคทณย์ใะนบโุครคงพล/ยสาถบาาบลนั ข/อหงนเอวยกงชานนต(รา้องๆยลทะ่ีป8ร0ะ.ช0า)ช นคอนขางเช่ือมั่นถึงเช่ือม่ันมาก สออมงยคาูรชก ะิกรหสปวภกามาคงท่ันรออรถงองถึงสยเ่นิ วชลน(่ือ สะท.มอสอ5่ับนง0ำจมถห.ถ/ิ่นารสึงกับท(รอ.กอ/อบสายยจ.รอลู่ร.ท/บะะเตำทหง.7/ศาสว0บน่กาา.ขง/ลไสอด/รของแ้อ.คบ)กย(ณตรลข.อะ/ะายสบรลํา5ุคาะน0คชัก6กลถ1เา/ขึ.ง6สรตร)พถ)้อาล(ยเรบจเลอราันยะหือ/ลนนห7ะาน0(ท6ร่ว่ีทไ3อยดี่ด.ยง3้แินาล)นกะ(ร่ตผขอ6่าูว้ยา7งาลรๆ.ร5ะาา)ทช5ช่ีปก7ก.โารา7ทะรร) จรพชทังตาลหชัําศเรวรนนวัดือคจ(น่อ(ร(รรนออ(อยขรยย้อ้าลลลงยะะะเลช656่ือะ524...928))) หนงั สือพมิ6พ7. 5(ร)อโยทลระท5ัศ2น.7์ ()ร้อแยลละะเจ6า 5ห.2น)า ทอี่ศงคุลก์การกปรก(ครรออยงลสะ่ว5น2ท.6้อ)งถ่ิน (อบจ./เทศบาล/อบต./สำนักเขต) ส((ร4รรสอก3อ้้อวย..ยยน/7ลลสลก)ะะขะา5ร.5)60วท23(ิทําร..ไ7งย้3อดา)ุช)ยแนแุมผกลขลู้วชะอวะ่านิทงเ6รจคยา1(า้ณุกชร.ห6รอกะน)ะยบาจา้เรลุคจทาจะค้ายศี่ังหลเลุหส4/นกยีว2ส้าาัดง.ถท3ทกา()รี่ั่วทบรไ้่ีอด(ันปรยินว/้อ(ลุหฒรย(ะอนรลิสย้อวะ6ภลยย2า5ะงล.า28(ะ4น.ร)67ตอ5ส.)7 า7ยม)ง.ลา7ๆชะ)นิทกตา4ส่ีปยำ0ภรกร.ะา3รวชทฐัจ)มา้อ(ชนงรคนถต้อณคิ่นรยีอะล((นนสระขาัฐ.อง5ามสบง4นาเ.จชว9ต.ยื่อ/)ร่ิงสมีหลท(่ันนักร.ถอษ/ังึงสสยณเ.ืชอลอ ่ือพะบชมิมติน3ั่นพ.ว8/ม์ัต.า1รก)) นอ ยกวา (รอยละ สภาผูแทนราษฎร (รอยละ 37.2) พรรคเพื่อไทย (รอยละ 34.5) สภาองคกรชุมชน (รอยละ 33.2) องคกรพัฒนา เอกชน (NGOs) (รอยละ 29.6) และสถาบันพรรคการเมือง (ไมเ จาะจงพรรคใดพรรคหน่งึ ) (รอยละ 29.0) และ 27 พรรคประชาธปิ ต ย (รอ ยละ 27.6) ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 ส่วนการทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ท่ีประชาชนค่อนข้าง เช่ือมั่นถึงเช่ือมั่นมาก น้อยกว่า ร้อยละ 50 ได้แก่ วิทยุกระจายเสียงทั่วไป (ร้อยละ 47.7) นายกรัฐมนตรี (นางสาวย่ิงลักษณ์ ชินวัตร) (ร้อยละ 43.7) วิทยุชุมชน (ร้อยละ 42.3) วุฒิสภา (ร้อยละ 40.3) คณะรัฐมนตรี (ร้อยละ 38.1) สภาผู้แทนราษฎร (ร้อยละ 37.2) พรรคเพื่อไทย (ร้อยละ 34.5) สภาองค์กรชุมชน (ร้อยละ 33.2) องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) (ร้อยละ 29.6) และสถาบนั พรรคการเมอื ง (ไมเ่ จาะจงพรรคใดพรรคหนง่ึ ) (รอ้ ยละ 29.0) และพรรคประชาธปิ ตั ย์ (รอ้ ยละ 27.6) ตาราง 9 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับความเชื่อม่ันต่อการ ทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานตา่ งๆ ระดบั ความเชอื่ ม่นั คณะบคุ คล/สถาบนั /หน่วยงานตา่ งๆ รวม เชอ่ื มนั่ คอ่ นขา้ ง ไม่ค่อย ไม ่ ไมม่ ี ไม่รจู้ กั อดตี นายกรัฐมนตรี มาก เช่อื มนั่ เช่อื ม่นั เชอ่ื ม่นั ความ 0.2 (น.ส. ยิ่งลกั ษณ์ ชินวัตร) เหน็ 100.0 8.2 35.5 27.7 18.6 9.8 คณะรัฐมนตรี 100.0 5.7 32.4 31.8 19.3 10.3 0.5 (น.ส. ยงิ่ ลักษณ์ ชนิ วตั ร) สภาผู้แทนราษฎร 100.0 4.5 32.7 34.5 15.4 11.9 1.0 วุฒสิ ภา 100.0 4.7 35.6 31.4 13.0 13.6 1.7 ทุกพรรคการเมือง 100.0 2.9 26.1 38.2 15.5 16.5 0.8 (ไมเ่ จาะจงพรรคใดพรรคหน่ึง) พรรคเพือ่ ไทย 100.0 6.6 27.9 29.7 19.7 15.5 0.6 พรรคประชาธปิ ตั ย์ 100.0 3.0 24.6 36.8 16.5 18.4 0.7 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ./ 100.0 9.0 54.3 20.6 6.3 9.3 0.5 เทศบาล/อบต./สำนกั งานเขต) สมาชิกสภาทอ้ งถิน่ 100.0 8.7 52.9 21.0 6.2 10.1 1.1 (ส.อบจ./สท./ส.อบต./สข.) ผู้วา่ ราชการจงั หวดั 100.0 12.8 50.0 11.6 3.9 13.7 8.0 องค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) 100.0 3.8 25.8 13.7 4.8 22.6 29.3 ขา้ ราชการพลเรือน 100.0 10.0 57.5 16.3 4.0 10.5 1.7 ทหาร 100.0 29.9 54.2 7.7 2.5 5.3 0.4 ตำรวจ 100.0 10.0 44.9 26.9 11.3 6.5 0.4 28 สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 ระดับความเชื่อมนั่ คณะบคุ คล/สถาบัน/หน่วยงานตา่ งๆ รวม เช่ือม่นั ค่อนข้าง ไม่คอ่ ย ไม ่ ไม่มี ไม่รจู้ กั เจ้าหน้าทีท่ ่ดี นิ มาก เชื่อมัน่ เชอ่ื มัน่ เช่ือมนั่ ความ 1.4 เหน็ 100.0 9.0 48.7 19.2 5.6 16.1 เจา้ หนา้ ทศี่ ุลกากร 100.0 8.4 44.2 17.4 4.6 20.5 4.9 แพทย์ในโรงพยาบาลของรฐั 100.0 24.4 56.1 11.4 3.0 4.6 0.5 แพทยใ์ นโรงพยาบาลของเอกชน 100.0 24.3 55.7 8.9 2.4 7.8 0.9 หนงั สอื พิมพ์ 100.0 6.9 45.8 26.1 6.2 14.1 0.9 โทรทัศน ์ 100.0 9.2 56.0 21.5 4.5 8.3 0.5 วิทยชุ ุมชน 100.0 4.8 37.5 25.0 7.6 22.2 2.9 วทิ ยุกระจายเสียงทั่วไป 100.0 5.3 42.4 23.0 6.1 21.0 2.2 สภาองค์กรชมุ ชน 100.0 135.5 29.7 16.8 4.8 24.0 21.2 3.7 ค วามเ3ช.่อื 7ม ่ันคตอวกาามรทเชาํ ือ่งามน่ันขอตง่อองกคาก รรทอิสำรงะานขององค์กรอสิ ระ แผนภมู แิผ3น.3ภมู ิ 3ร้อรยอลยะลขะขอองงปประชชาาชชนน จ ําจแำนแกนตกามตคาวมาคมควดิามเหคน็ ดิ เกเี่ยหว็นกเบั กคี่ยววากมเบั ชคือ่ วมานั่ มตเอชกื่อารมทนั่ ํา งาน ต่อขกอางรอทงคำงการอนสิ ขรอะงองค์กรอสิ ระ องคกรอิสระ สภาที่ปรกึ ษาเศรษฐกิจฯ 9.1 38.0 11.4 3.0 20.6 17.9 องคกรอยั การ 11.9 10.3 38.9 11.2 3.0 19.5 15.5 คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนฯ 12.2 คณะกรรมการตรวจเงินแผน ดนิ 40.5 12.0 3.5 19.5 14.2 42.1 12.5 3.5 18.1 11.6 คณะกรรมการการเลอื กตัง้ 11.1 44.2 21.4 6.6 13.4 3.3 ป.ป.ช. 13.7 15.7 46.2 15.6 4.4 14.0 6.1 ผูต รวจการแผน ดนิ ศาลรัฐธรรมนูญ 22.2 44.9 10.7 2.9 16.9 8.9 49.1 11.4 3.4 11.1 2.8 ศาลปกครอง 22.1 49.9 10.8 3.0 11.4 2.8 ศาลยตุ ธิ รรม 23.9 50.5 10.3 3.0 10.0 2.3 0 20 40 60 80 100 รอ ยละ 29 จากผลการสํารวจ พบวา องคกรอิสระที่ประชาชนเชื่อมั่น (คอนขางเชขื่อ้อมมั่นูลรถะึงดเับชภ่ือาคมั่นแลมะาทกั่วร)าตชออากณาารจักร ทาํ งานมากท่ีสดุ คอื ศาลยตุ ธิ รรม (รอ ยละ 74.4) รองลงมา คอื ศาลปกครอง (รอยละ 72.0) ศาลรัฐธรรมนูญ

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 จากผลการสำรวจ พบว่า องค์กรอิสระที่ประชาชนเช่ือมั่น (ค่อนข้างเชื่อมั่นถึง เชื่อมั่นมาก) ต่อการทำงานมากท่ีสุด คือ ศาลยุติธรรม (ร้อยละ 74.4) รองลงมา คือ ศาลปกครอง (ร้อยละ 72.0) ศาลรัฐธรรมนูญ (ร้อยละ 71.3) ผู้ตรวจการแผ่นดิน (ร้อยละ 60.6) คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) (ร้อยละ 59.9) คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ร้อยละ 55.3) คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (ร้อยละ 54.3) ในขณะที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และองค์กรอัยการมีความเชื่อม่ันถึงเชื่อมั่นมาก อยู่ในสัดส่วนท่ีเท่ากัน (ร้อยละ 50.8) สำหรับสภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กปบัระอชงคาช์กนรอมิสีครวะาอม่ืนเชๆ่ือ ม ั่น ต ่อการทำงานอยู่ใน1ส6ัดส่วนน้อยที่สุด (ร้อยละ 47.1) เม่ือเปรียบเทียบ 3.8 ควา มพึง3พอ.8ใจ ตคอวกาารมบพรกิึงาพรอสาใธจาตร่อณบะทร่ีริกัฐาแรลสะทาอธงาถริน่ ณจัดะใทหร่ีปฐัระแชลาะชทนอ้ งถน่ิ จดั ให้ประชาชน แ ผนภ แ ูมผนิ 3ภ. ูม4ิ 4 ทรรแ้ออร่ี ลยยฐั ะลลแทะละอขขะงอทถองิ่นปอ้งจปรงัดะถรชใะ่นิหาชชจ 5านดั ชอในันหจดํา้ 5แัจบนำแอกแรันกตนาดกมับตคแาวรามมกคพ วึงาพมอพใจึงตพออกใาจรบตรอ่ กิ กาารรสบาธราิกรณาระสทารี่ ธัฐารณะ รอยละ 2.9 3.7 0.2 20..39 6.5 3.5 1.4 1.6 100 0.9 9.5 6.3 4.7 4.9 80 1.2 2.6 5.3 15.4 6.5 10.4 60 61.5 56.4 59.6 56.0 60.0 40 20 27.2 25.6 23.1 19.2 20.7 0 ไฟฟา ศูนยเดก็ เล็ก สาธารณสุข นาํ้ ประปา บรกิ ารสาธารณะ โรงเรียน และศูนยอนามยั พอใจมาก คอนขา งพอใจ ไมคอยพอใจ ไมพอใจเลย ไมมีความเหน็ ยงั ไมมีบรกิ ารน้ี นตกระาอํ้ารปบบดรบรูแะิกลไปาฟคารพโสโนฟรสทเ(าชอมรงาารธรเออื่ใธรศาา(จยาสยีรัพร(รถลอรอ นณณะทึงอบย พย์(ะสถ7ลร(ลทอ6ุขรา้อเะะม.้ี่รมอใแ7ยจัฐค68่ืยอ)ลลแ5มว7ลสะะ.ลา6า.ถะอศ1มะ)ก8นบูนท)ค77)นถกิดยอ1.ต2า(เา์งอ.ศรห่0)รอถมนอูรน)น็รบิน่คยักาอยขแจรวลษมงอเลดัิกาะาดัลยงใะคมา็กงหป7กวร(คม5เารรสาพลิดา.ม้ะอ6รา็กบเปช)ไยจหธดวลาัดลา(็นาอช้แรโรเะทดขนกกอสณภรอ็่7บโยว ศรดยัะนง8ลขะพัแยปทใ.ะยบก8หทร่ีรระบปว)ญ7ะัฐ(มมรไรน9ชแพฟะูลเอ.้ำาลกชึง5ฝยฟปชพาี่ยะ)ลอา้ชนรวอทะยนะก(โใ้อรจ7สดปับ((อ้งร1ตรยาคาอถ.ย้ออธ0รวย่ินลโ(ยา)วาลรระรจลมมะ้งอณัดแะเเพ8ย6รกลใส7ึง4ียล7หี่ยะุพ.ข.น031ะกว้ แอ)พ.)าก2(7ลใรรศบับ)จจก6อะูนวคกาัด.ยศ(7ยร่าเวคาลูนกจ)์เราอะดส็ัดบยถดมน็ก่กวขอ8นูแพขาเนย7นลลรนึางะ.ใจา็ก2คงพมหรม(พ)นูลอรา(ญัยรอฝจ้ชอใอ้่พอจใรรรย(จยยอรึงา(ล(ถรลองพ(คระึ(งอละยร่อออพยง้ลอ7ยน7ใลมอจ5ยะล9ะขใาะต.ล.จ้า6576ไ่อะม7ง))ด830าแ...ก822ก)))) 3กา0รดูแลคนพิการ (รอ ย62.5) สง่ิ แวดลอมในชมุ ชน (ปา/น้าํ ) (รอยละ 62.4) สวนการศึกษาผูใหญมีความพึงพอใจ ส(กรถาอารยบฝันลกพะอร6าะป0ชก.ีพ4เ)ก(ลร้าอก ยารลจะัด4ก7า.ร0น)า้ํ เสในีย/ขสณ่ิงโะสทโคี่ควรกาม(พรองึ พยลอะใจ5ต8อ .อ2ิน) เทรอะรบเบนข็ตนชมุสงชมนวอลยชใู นนส(ดัรถสปวนระนจอ ํายทสาุดงเ)ม(่ือรเอปยรลียะบเ5ท5ีย.5บ) กับการใหบ รกิ ารสาธารณะประเภทอนื่ ๆ (รอยละ 33.3)

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 65.6) การรักษาความปลอดภัยแก่ประชาชน (ร้อยละ 64.3) การจัดการจราจร (ร้อยละ 63.2) การดูแลคนพิการ (ร้อย62.5) ส่ิงแวดล้อมในชุมชน (ป่า/น้ำ) (ร้อยละ 62.4) ส่วนการศึกษา ผู้ใหญ่มีความพึงพอใจ (ร้อยละ 60.4) การจัดการน้ำเสีย/ส่ิงโสโครก (ร้อยละ 58.2) ระบบขนส่ง มวลชน (รถประจำทาง) (ร้อยละ 55.5) การฝึกอาชีพ (ร้อยละ 47.0) ในขณะท่ีความพึงพอใจต่อ อินเทอรเ์ น็ตชมุ ชนอยใู่ นสัดสว่ นนอ้ ยสุดเมือ่ เปรยี บเทยี บกบั การใหบ้ ริการสาธารณะประเภทอ่ืนๆ (รอ้ ยละ 33.3) ตาราง 10 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะท่ีรัฐ/ ทอ้ งถน่ิ จดั ให้ ระดบั ความพึงพอใจ บริการสาธารณะที่รฐั /ท้องถิ่นจดั ให้ รวม พมอาใกจ คพอ่ นอขใจ้า ง ไพมอ่คใ่อจย พเไลอมยใ ่จ คไเวหมาน็่มม ี บยังรนไิกม ้ีาม่ รี ถนน 100.0 21.0 54.6 16.8 6.3 1.1 0.2 ไฟฟ้า 100.0 25.6 61.5 9.5 2.3 0.9 0.2 นำ้ ประปา 100.0 20.7 56.0 15.4 4.9 1.6 1.4 โทรศพั ท์ 100.0 17.3 53.7 14.5 4.2 5.2 5.1 อินเทอร์เน็ตชมุ ชน 100.0 7.3 26.0 12.3 5.7 17.5 31.2 โรงเรียน 100.0 27.2 60.0 5.3 0.9 3.7 2.9 ศูนย์เด็กเลก็ 100.0 23.1 56.4 6.5 1.2 6.3 6.5 การศึกษาผใู้ หญ ่ 100.0 12.2 48.2 9.5 2.0 15.0 13.1 การฝึกอาชพี 100.0 9.0 38.0 13.5 3.3 16.9 19.3 การรกั ษาความปลอดภยั 100.0 11.5 52.8 18.1 5.1 6.7 5.8 แกป่ ระชาชน ดูแลคนชรา 100.0 14.1 51.5 14.0 3.2 8.4 8.8 การดแู ลคนพิการ 100.0 13.2 49.3 14.8 3.3 10.1 9.3 สาธารณสุขและศูนยอ์ นามัย 100.0 19.2 59.6 10.4 2.6 4.7 3.5 จัดการจราจร 100.0 10.6 52.6 16.4 4.2 7.9 8.3 ระบบขนสง่ มวลชน (รถประจำทาง) 100.0 8.4 47.1 19.8 5.8 8.8 10.1 การจดั เก็บขยะมูลฝอย 100.0 16.8 53.4 13.4 4.4 2.9 9.1 การจดั การน้ำเสีย/ส่งิ โสโครก 100.0 11.4 46.8 16.3 5.4 6.4 13.7 สิง่ แวดลอ้ มในชุมชน (ปา่ /น้ำ) 100.0 12.7 49.7 15.0 4.8 8.1 9.7 31 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 3.9 การใช้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและการมีส่วนร่วมกับ หน่วยงาน เมอ่ื สอบถามประชาชนเกย่ี วกบั การเคยตดิ ตอ่ /ใชบ้ รกิ ารกบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พบว่า ประชาชน ร้อยละ 61.5 เป็นผู้ที่ไม่เคยติดต่อ/ใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ร้อยละ 38.5 เป็นผู้ท่ีเคยติดต่อ/ใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สำหรับความพึงพอใจของ ผู้เคยติดต่อ/ใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีผู้ตอบว่ามีความพึงพอใจ (ค่อนข้างพอใจถึง พอใจมาก) จากบรกิ ารทไี่ ดร้ บั จากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รอ้ ยละ 91.6 และไมพ่ อใจ (ไมค่ อ่ ย พอใจถึงไม่พอใจเลย) จากบริการที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละ 7.6 และไม่มี ความเหน็ รอ้ ยละ 0.8 นอกจากนใ้ี นการสอบถามประชาชนเกยี่ วกบั การเคยเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มกบั องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถ่ิน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 75.8 ระบุว่าไม่เคย ส่วนผู้ท่ีระบุว่าเคย มีร้อยละ 24.2 โดยผทู้ เี่ คยระบวุ า่ ไดเ้ ขา้ รว่ มทำกจิ กรรมในการประชมุ หมบู่ า้ น รอ้ ยละ 93.7 วางแผนพฒั นา ทอ้ งถนิ่ รอ้ ยละ 26.1 อกี รอ้ ยละ 1.3 เคยรว่ มกจิ กรรมอนื่ ๆ และรอ้ ยละ 0.7 ไมร่ ะบุ ตาราง 11 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใชบ้ รกิ ารขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ หรอื มสี ว่ นร่วมกบั หน่วยงานในรอบ 1 ปี ที่ผา่ นมา การเคยใชบ้ รกิ ารหรือมีส่วนร่วมกับหน่วยงาน รอ้ ยละ การเคยใช้บรกิ ารขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ 100.0 C ไมเ่ คย 61.5 C เคย 38.5 ระดับความพงึ พอใจ 100.0 C พอใจมาก 19.6 C คอ่ นขา้ งพอใจ 72.0 C ไม่ค่อยพอใจ 6.6 C ไม่พอใจเลย 1.0 C ไม่มคี วามเห็น 0.8 100.0 การเข้าร่วมกับองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน 75.8 C ไมเ่ คย 24.2 C เคย 32 สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 การเคยใชบ้ รกิ ารหรือมสี ว่ นรว่ มกับหน่วยงาน รอ้ ยละ กิจกรรมท่ีเขา้ ร่วม1/ C วางแผนพฒั นาท้องถิน่ 26.1 C การประชุมหมู่บ้าน 93.7 C อนื่ ๆ 1.3 C ไมร่ ะบ ุ 0.7 หมายเหตุ : 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คำตอบ 3.10 ความคิดเห็นและประสบการณเ์ กย่ี วกบั การคอรปั ชั่น เมื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนต่อคำกล่าวที่ว่า “บางครั้งการคอรัปช่ัน ในรัฐบาลก็มีความจำเป็นเพื่อให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้” น้ัน พบว่า มีผู้ท่ีไม่เห็นด้วย ร้อยละ 72.6 (โดยระบุว่าไม่เห็นด้วยเลย ร้อยละ 52.2 และไม่ค่อยเห็นด้วย ร้อยละ 20.4) ส่วนผู้ท่ีเห็นด้วย ร้อยละ 10.2 (ระบุว่าค่อนข้างเห็นด้วย ร้อยละ 8.6 และเห็นด้วยมากท่ีสุด มเี พียงรอ้ ยละ 1.6) อกี รอ้ ยละ 17.2 ไม่มคี วามเหน็ ในเรอื่ งน ี้ ตาราง 12 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นที่มตี อ่ คำกล่าว “บางครง้ั การคอรัปชน่ั ในรัฐบาลก็มีความจำเปน็ เพ่อื ให้งานเสรจ็ ลลุ ว่ งไปได้” ความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั การคอรัปชั่นในรัฐบาล รอ้ ยละ บางครงั้ การคอรัปช่ันในรัฐบาลกม็ ีความจำเปน็ เพ่อื ให้งานสำเรจ็ ลลุ ่วงไปได ้ 100.0 Ö เห็นดว้ ยมากทส่ี ดุ 1.6 Ö ค่อนขา้ งเหน็ ด้วย 8.6 Ö ไมค่ อ่ ยเห็นดว้ ย 20.4 Ö ไมเ่ หน็ ดว้ ยเลย 52.2 Ö ไม่มคี วามเหน็ 17.2 ส่วนความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับการคอรัปช่ันและการรับสินบนในการ ปกครองส่วนท้องถ่ิน พบว่า ประชาชนมากกว่าครึ่งหนึ่ง หรือร้อยละ 62.6 ระบุว่ามีการ คอรัปช่ันและรับสินบนในการปกครองส่วนท้องถ่ิน (โดยมีผู้ที่เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีบางคนคอรัปชั่น ร้อยละ 42.4 เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่คอรัปช่ัน ร้อยละ 14.0 และเจ้าหน้าท่ีคอรัปช่ันเกือบทุกคน ร้อยละ 6.2) และผู้ท่ีระบุว่าแทบจะไม่มีใครเกี่ยวข้องกับการคอรัปช่ัน มีร้อยละ 11.9 และ ไมม่ ีความเห็น รอ้ ยละ 25.5 33 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 ตาราง 13 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเก่ยี วกับการคอรัปชัน่ ในการปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ความคิดเหน็ เกีย่ วกบั การคอรปั ชน่ั ในการปกครองสว่ นท้องถ่นิ รอ้ ยละ การคอรัปชน่ั และการรับสนิ บนในการปกครองสว่ นท้องถนิ่ 100.0 Ö แทบจะไม่มใี ครเกย่ี วข้อง/ไม่ม ี 11.9 Ö เจ้าหน้าท่ีบางคนคอรัปชัน่ 42.4 Ö เจ้าหน้าที่สว่ นใหญค่ อรปั ชั่น 14.0 Ö คอรปั ช่ันเกือบทกุ คน/ทกุ คน 6.2 Ö ไมม่ ีความเห็น 25.5 สำหรับความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับการคอรัปชั่นและการรับสินบนในการ ปกครองระดับประเทศ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 74.0 ระบุว่ามีการคอรัปช่ันและการ รับสินบนในการปกครองระดับประเทศ (โดยผู้ที่เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีบางคนคอรัปชั่น ร้อยละ 39.5 เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่คอรัปชั่น ร้อยละ 24.1 เจ้าหน้าที่คอรัปชั่นเกือบทุกคน ร้อยละ 10.4) ส่วนผทู้ ร่ี ะบุวา่ แทบจะไม่มใี ครเกีย่ วข้องกับการคอรปั ชั่น มีเพยี งร้อยละ 4.7 และอกี ร้อยละ 21.3 ไมม่ ีความเหน็ ตาราง 14 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกยี่ วกับการคอรัปชนั่ ในการปกครองระดบั ประเทศ ความคดิ เห็นเก่ียวกบั การคอรปั ชนั่ ในการปกครองระดบั ประเทศ ร้อยละ การคอรัปชัน่ และการรบั สินบนในการปกครองระดับประเทศ 100.0 Ö แทบจะไมม่ ีใครเกี่ยวขอ้ ง/ไม่ม ี 4.7 Ö เจา้ หน้าท่ีบางคนคอรัปชนั่ 39.5 Ö เจา้ หนา้ ท่ีส่วนใหญค่ อรัปชน่ั 24.1 Ö คอรปั ชั่นเกือบทุกคน/ทุกคน 10.4 Ö ไมม่ คี วามเหน็ 21.3 เม่ือสอบถามประชาชนถึงการเคยพบเห็นการคอรัปช่ัน/การรับสินบนของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ พบว่า ประชาชนโดยรวมประมาณ ร้อยละ 29.7 ระบุว่าเคย โดยทราบเร่ืองดังกล่าวน้ี จากโทรทัศน์มากท่ีสุด (ร้อยละ 80.1) รองลงมา คือ รับฟังจากคนอื่น (ร้อยละ 48.4) สมาชิก ในครอบครัวหรือเพื่อนเคยพบเห็นเล่าให้ฟัง (ร้อยละ 17.5) หนังสือพิมพ์ (ร้อยละ 16.8) 34 สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 พบเห็นด้วยตนเอง (ร้อยละ 15.9) และวิทยุ (ร้อยละ 2.7) และทราบจากนิตยสาร/วารสาร อยู่ในสัดส่วนที่น้อยสุด (ร้อยละ 0.3) ส่วนผู้ท่ีระบุว่าไม่เคยพบเห็นเก่ียวกับการคอรัปช่ัน มรี อ้ ยละ 70.3 ตาราง 15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการพบการคอรัปชั่น/การรับสินบนของ เจา้ หน้าท่ีของรัฐ การพบเห็นการคอรัปชนั่ รอ้ ยละ การเคยพบเหน็ การคอรัปชนั่ 100.0 Ö ไม่เคย 70.3 Ö เคย 29.7 จากแหล่ง 1/ æ โทรทัศน ์ ó เคยได้ฟังจากคนอนื่ 80.1 H สมาชกิ ในครอบครัวหรอื เพ่อื นท่ีเคยพบเหน็ เลา่ ให้ฟัง 48.4 ™ หนงั สือพมิ พ ์ 17.5 † พบเหน็ ดว้ ยตัวเอง 16.8 ∫ วทิ ยุ 15.9 ® นติ ยสาร/วารสาร 2.7 ˛ อ่นื ๆ 0.3 0.7 หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกวา่ 1 คำตอบ 3.11 การร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการของหน่วยงานราชการ /องค์กร ปกครองสว่ นท้องถิ่น จากการสอบถามประชาชนเก่ียวกับการเคยร้องเรียนเก่ียวกับการให้บริการของ หน่วยราชการในรอบปี ท่ีผ่านมา พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 98.6 ระบุว่าไม่เคย ส่วนอีก ร้อยละ 1.4 ระบุว่าเคย ซ่ึงผู้ที่เคยร้องเรียนระบุว่าร้องเรียนด้วยวิธีบอกเล่าด้วยวาจามากที่สุด ร้อยละ 42.1 โดยผู้ท่ีเคยร้องเรียน ร้อยละ 85.4 ได้ร้องเรียนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง สำหรับผู้เคยร้องเรียนการให้บริการได้รับการตอบรับ ร้อยละ 62.4 และไม่ได้รับการตอบรับ ร้อยละ 37.6 35 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ร า ย งานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ต่ อ การให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2557 ตาราง 16 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนการให้บริการของหน่วยงาน ราชการ การรอ้ งเรียนเกีย่ วกบั การบรกิ ารของหนว่ ยงานราชการ รอ้ ยละ ร้องเรยี นการใหบ้ ริการของหน่วยงานราชการ 100.0 Ö ไม่เคย 98.6 Ö เคย 1.4 รอ้ งเรียนดว้ ยวิธี 100.0 ñ บอกเลา่ ดว้ ยวาจา 42.1 ≈ โทรศพั ท์ 20.6 õ จดหมาย 12.3 æ โทรทัศน ์ 10.4 ˛ อน่ื ๆ 7.1 ™ หนังสอื พมิ พ์ 2.2 ∫ วทิ ยุ 0.7 i ไมร่ ะบุ 5.2 รอ้ งเรียนไปยงั Ö หนว่ ยงานน้ัน ๆ โดยตรง Ö สมาชกิ รฐั สภา (ส.ส./ ส.ว.) 85.4 Ö นายกรัฐมนตรี 4.9 Ö อื่น ๆ 2.1 5.5 i ไมร่ ะบ ุ 6.9 การไดร้ ับการตอบรับการร้องเรยี น 100.0 Ö ไดร้ บั 37.6 Ö ไม่ไดร้ ับ 62.4 หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ ส่วนการร้องเรียนการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในรอบปีท่ีผ่านมา พบว่า ประชาชน ร้อยละ 62.4 ระบุว่าไม่เคยร้องเรียน มีร้อยละ 37.6 ท่ีระบุว่าเคย โดย ร้องเรียนด้วยวิธีบอกเล่าด้วยวาจามากที่สุด ร้อยละ 65.3 และร้องเรียนไปยังหน่วยงานนั้น 36 สถาบันพระปกเกล้า

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ต่ อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 7 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 7 โดยตรง ถึงร้อยละ 90.6 สำหรับผู้เคยร้องเรียนการให้บริการได้รับการตอบรับ ร้อยละ 74.9 และไมไ่ ด้รบั การตอบรับ ร้อยละ 25.1 ตาราง 17 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนการให้บริการขององค์กร ปกครองสว่ นท้องถ่ิน การร้องเรียนเกีย่ วกับการบริการองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ รอ้ ยละ รอ้ งเรียนการใหบ้ ริการขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ 100.0 Ö ไม่เคย 37.6 Ö เคย 62.4 ร้องเรยี นด้วยวธิ ี 100.0 65.3 ñ บอกเลา่ ด้วยวาจา 16.1 õ จดหมาย 8.6 ≈ โทรศัพท์ 3.4 æ โทรทัศน์ 1.3 ™ หนังสอื พมิ พ์ 0.2 ∫ วิทยุ 2.6 ˛ อ่ืน ๆ 2.5 i ไมร่ ะบุ ร้องเรียนไปยัง Ö หน่วยงานนน้ั ๆ โดยตรง 90.6 Ö สมาชิกรฐั สภา (ส.ส./ ส.ว.) 4.1 Ö นายกรัฐมนตรี 1.4 Ö อ่ืน ๆ 2.1 i ไมร่ ะบุ 4.9 การได้รบั การตอบรับการรอ้ งเรียน 100.0 Ö ได้รบั 74.9 Ö ไมไ่ ดร้ ับ 25.1 หมายเหตุ : 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คำตอบ 37 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook