Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 27นักการเมืองถิ่นอยุธยา.

27นักการเมืองถิ่นอยุธยา.

Published by Meng Krub, 2021-06-14 02:45:41

Description: เล่มที่27นักการเมืองถิ่นอยุธยา.

Search

Read the Text Version

นักการเมอื งถน่ิ จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ วิชชุกร นาคธน ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของสำ� นกั หอสมุดแหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data วิชชุกร นาคธน. นักการเมืองถน่ิ จังหวดั พระนครศรีอยุธยา.-- กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2555. 200 หนา้ . 1. นักการเมือง--พระนครศรอี ยธุ ยา. I. ช่ือเรื่อง. 320.09593 ISBN 978-974-449-664-5 รหัสสงิ่ พมิ พ์ของสถาบนั พระปกเกล้า สวพ.55-52-500.0 เลขมาตรฐานสากลประจำ� หนงั สอื 978-974-449-664-5 ราคา 180 บาท พมิ พค์ ร้ังที่ 1 กนั ยายน 2555 จำ� นวนพิมพ์ 500 เลม่ ลิขสทิ ธ์ิ สถาบนั พระปกเกลา้ ทีป่ รึกษา ศาสตราจารย์ นรนิติ เศรษฐบุตร รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รฐั อมฤต รองศาสตราจารย์ ดร. ปรชี า หงษ์ไกรเลศิ รองศาสตราจารย์ พรชยั เทพปัญญา ดร. ถวิลวดี บุรกี ลุ ผแู้ ตง่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วชิ ชุกร นาคธน ผูป้ ระสานงาน ณัฏฐกาญจน์ ศกุ ลรัตนเมธี จดั พิมพโ์ ดย สถาบนั พระปกเกล้า ศูนยร์ าชการเฉลมิ พระเกยี รติ 80 พรรษาฯ อาคารบี ชัน้ 5 (โซนทศิ ใต)้ เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวฒั นะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทรศพั ท์ 02-141-9607 โทรสาร 02-143-8177 http://www.kpi.ac.th พิมพท์ ี่ บรษิ ัท ไบรท์ แอนด์ พริน้ จำ� กัด เลขที่ 12 ซ.ลาดพรา้ ววังหิน 43 ถ.ลาดพรา้ ว แขวง/เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทรศพั ท์ 0-2539-5008, 0-2539-5021 โทรสาร 0-2931-7020

จังหวนัดกัพกราะรนเคมรือศงรถอีิ่นยธุ ยา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ วชิ ชกุ ร นาคธน สถาบันพระปกเกล้า อภนิ นั ทนาการ

ค�ำ นำ� ผแู้ ตง่ ง านวิจัยช้ินน้ีเป็นงานวิจัยเพื่อศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพ การเมืองและนักการเมืองถิ่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยาต้ังแต่ เริ่มตน้ จนถงึ ปจั จบุ ันโดยศกึ ษาในขอบเขตของประวตั ผิ ลงาน วิธีการใน การหาเสียง เครือข่ายของนักการเมือง เพื่อให้เป็นฐานความรู้ใน การศกึ ษาวจิ ยั เกย่ี วกบั การเมอื งของจงั หวดั ตอ่ ไป งานวจิ ยั ชน้ิ นอ้ี าจนบั ว่าเป็นภาพเล็กๆ ภาพหนึ่งของการศึกษาการเมืองไทย ซ่ึงการศึกษา ส่วนใหญ่มักศึกษาในเชิงของโครงสร้างหรือสถาบัน ยังขาดการศึกษา ภาพการเมอื งของจงั หวดั หรอื ในสว่ นทยี่ อ่ ยลงไปกวา่ นน้ั เชน่ การเมอื ง ของต�ำ บล หมบู่ า้ น หรอื ชมุ ชนบางแหง่ ซง่ึ ภาพของสว่ นยอ่ ยเหลา่ นเ้ี มอ่ื รวมกนั เขา้ กจ็ ะไดภ้ าพของการเมอื งไทยทง้ั ระบบทมี่ คี วามชดั เจนจนน�ำ ไปสกู่ ารสรา้ งทฤษฎกี ารเมอื งทมี่ พี ลงั การอธบิ ายการเมอื งไทยทง้ั ระบบ ไดเ้ ปน็ อย่างดี และจากการศึกษาวิจยั การเมอื งถนิ่ และนกั การเมอื งถ่ิน จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ตลอดจนไดศ้ กึ ษางานวจิ ยั เกย่ี วกบั การเมอื ง ถน่ิ และนกั การเมอื งถนิ่ ของผวู้ จิ ยั ทา่ นอน่ื ๆ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความเชอื่ วา่ ไดเ้ หน็ ภาพของการเมืองไทยที่ชัดเจนขนึ้ การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับนักการเมืองถ่ินของจังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยาใหค้ รบถว้ นสมบรู ณ์ นบั วา่ เปน็ เรอื่ งทยี่ ากพอสมควร IV

ความเป็นมาและสภาพปัญหา เนื่องจากนักการเมืองส่วนหนึ่งได้เสียชีวิตไปแล้ว นอกจากนั้นข้อมูล หลักฐานท่ีเป็นรูปหรือเอกสารไม่มีการเก็บรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ ดงั น้ันขอ้ มลู ส่วนใหญ่จงึ ไดจ้ ากการบอกเล่าหรอื การสัมภาษณ์ เพ่อื น�ำ ภาพมาปะติดปะต่อและขยายผลตอ่ ไป ในการเกบ็ ขอ้ มลู ในงานวจิ ยั ชน้ิ น้ี ผวู้ จิ ยั ประสบปญั หาใน 2 กรณี คือ กรณที ่ี 1 นักการเมืองร่นุ เกา่ (ประมาณ 2476-2520) มักไม่มกี าร บันทึก ไม่มีรปู ถา่ ย และไม่คอ่ ยมคี นใหข้ อ้ มลู ส่วนนกั การเมืองรุ่นใหม่ ในปัจจุบันมีข้อมูลค่อนข้างมากพอสมควร แต่ผู้ให้ข้อมูลไม่ค่อยอยาก ให้อา้ งอิงชอ่ื และเหตุการณ์ที่ชัดเจนเกินไป ส่วนมากจะเปน็ ทำ�นองการ เลา่ เหตกุ ารณ์ ประวัติและพฤตกิ รรมของนกั การเมืองเทา่ นน้ั อย่างไร ก็ตามคำ�บอกเล่ากับประสบการณ์ของผู้วิจัยบางส่วนในการทำ�งาน ในฝ่ายปกครอง ในพ้ืนที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทำ�ให้มีข้อมูล เชิงประจักษ์อยู่บางส่วน โดยเฉพาะในสมัยของนายประมวล สภาวสุ และนายมนตรี พงษ์พานชิ งานวจิ ยั ชนิ้ นอี้ าจมคี วามไมส่ มบรู ณ์ แตผ่ วู้ จิ ยั หวงั วา่ จะเปน็ งาน วิจัยน�ำ รอ่ ง ซ่งึ น�ำ ไปสกู่ ารขยายผลเพิ่มเตมิ ได้อกี มากในอนาคต ซง่ึ จะ ท�ำ ใหภ้ าพของนักการเมอื งถิ่น การเมืองถ่ิน นกั การเมอื งทอ้ งถิ่นตลอด จนการเมอื งทอ้ งถนิ่ ของจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยามคี วามชดั เจนในเชงิ วิชาการมากขนึ้ และน่นั ยอ่ มหมายถงึ การสร้างชิน้ ส่วน (jigsaw) อกี ชิ้น หน่ึงของการเมอื งไทย วชิ ชุกร นาคธน V

บทคัดยอ่ ง านวจิ ยั ชน้ิ นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ใหร้ จู้ กั นกั การเมอื งระดบั ชาตทิ เ่ี คย ได้รับการเลือกต้ังในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยเฉพาะนัก การเมอื งทม่ี คี วามส�ำ คญั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงหรอื มผี ลกระทบตอ่ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยาหรือเป็นนักการเมืองที่เป็นท่ีรู้จักในระดับชาติอย่าง กวา้ งขวาง นอกจากนนั้ เพอื่ ตอ้ งการทราบถงึ เครอื ขา่ ย และความสมั พนั ธ์ ของนักการเมืองตลอดจนบทบาทและความสัมพันธ์กับพรรคการเมือง ตลอดจนวิธีการหาเสียงในการเลือกต้ังของนักการเมืองถิ่น จังหวัด พระนครศรอี ยุธยา วิธีการศึกษาในรูปแบบของการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) ซึ่งประกอบด้วยการศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมเอกสาร การสัมภาษณ์บุคคลท่ีเก่ียวข้องหรือมีประสบการณ์ ความรู้เกี่ยวกับ นักการเมอื งถ่ิน ตลอดจนการบอกเลา่ เหตุการณต์ า่ ง ๆ จากผูท้ ี่เคยอยู่ ในเหตุการณ์หรือมีความรู้จกั กบั นกั การเมืองถิน่ ผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะของนักการเมืองถิ่นจังหวัด พระนครศรีอยุธยาอาจแบ่งออกได้อย่างกว้าง ๆ เป็น 3 ช่วงเวลา ด้วยกัน คือ ช่วงท่ี 1 ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2476 - 2512 ช่วงที่ 2 ต้ังแต่ พ.ศ. 2512 - 2518 และชว่ งที่ 3 พ.ศ. 2518 - ปัจจบุ นั ในช่วงแรกน้ัน VI

ความเปน็ มาและสภาพปัญหา พบว่าปจั จัยที่มบี ทบาทสำ�คญั ในการได้รบั เลอื กต้งั ได้แก่ คณุ ลกั ษณะ และบุคลิกภาพของผู้สมัครรับเลือกต้ังเอง ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นผู้มี การศึกษาและมีอาชีพอนั เป็นทีย่ อมรับของประชาชน ซึ่งสว่ นใหญเ่ ปน็ อดตี ข้าราชการหรอื ทนายความ หรอื คหบดีทีม่ ผี ูใ้ หก้ ารนบั ถอื บุคคล เหล่านีม้ เี ครือข่ายสำ�คญั คือ ผู้นำ�ทอ้ งถิน่ หรอื ผู้น�ำ ชุมชน ซ่งึ สว่ นมาก มกั เปน็ ผนู้ �ำ ตามธรรมชาติ กลา่ วคอื เปน็ ทย่ี อมรบั นบั ถอื ของประชาชน ทั่วไปด้วยบุคลิกภาพส่วนตัว ความสัมพันธ์ระหว่างนักการเมืองถ่ิน เครือข่ายหรือหัวคะแนนเป็นความสัมพันธ์ในเชิงอุปถัมภ์หรือนิยม ในอุปนิสัยส่วนตัว มิได้เกิดจากผลประโยชน์เป็นด้านหลัก ช่วงท่ีสอง เป็นระยะเปลี่ยนผ่าน ส่วนในช่วงท่ีสามนั้นพบว่า เงิน ผลประโยชน์ อทิ ธพิ ลและความสามารถในการบริหารจดั การการเลอื กตงั้ เป็นปจั จัย หลักในการได้รับชัยชนะในการเลือกต้ัง ความสัมพันธ์ระหว่างนัก การเมอื งถน่ิ เครอื ขา่ ย หรอื หวั คะแนนเปน็ แบบแลกเปลยี่ นผลประโยชน์ ที่ชัดเจน นักการเมืองถ่ินในระยะที่สองน้ีมิใช่ข้าราชการ หรือทนาย ความ แต่เป็นนักธุรกิจเกือบท้ังส้ิน เครือข่ายของนักการเมืองระยะ ที่ 2 มีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กับธุรกิจท้องถิ่น นักการเมืองท้องถ่ิน ตลอดจนข้าราชการระดบั สูง นอกจากนั้นไดม้ กี ารเปล่ียนแปลงยทุ ธวิธี ในการหาเสียง จากการเน้นการลงพ้ืนที่ เป็นการบริหารและจัดต้ัง หวั คะแนน VII

Abstract T his research aims to understand politicians at national level who were elected in Ayuthaya province, especially those who have critical roles in changing and influencing what have been occurred in the province and those who have widely known by the public. Another purpose this research made was to learn about political networks and relationships Ayuthaya politicians established in order to organize their staff, run their electoral campaign, as well as deal with their political party. The methodology used in this research relies primarily on qualitative methods consisting of documentary and explanatory research, interviews, and group discussions. The major result is that the characteristics of Ayuthaya politicians can be divided into three periods of time. The first period is between 2476 and 2512 B.E. when the major factors that had the most impact on the chance to win in the election were the politicians’ personal characteristics such as educational backgrounds and occupations (which in this case mostly were retired government officers, lawyers, or businessmen). VIII

ความเปน็ มาและสภาพปัญหา The main reason for this succession is because those groups of people had a great connection with local or community leaders whom people in the province paid their respect to. Another interesting point this research found is that personal characteristics that related to the relations between politicians and their canvassing networks was not depended largely on individual benefits at this period. The second period, between 2512 and 2518 B.E., is a transitional period in which several political changes had occurred such as student uprising in October 2516. The third period is since 2518 B.E. until current in which money, personal interest, political power, and ability in dealing with campaign management have been the very important factors that determinate whether the politicians win in the election. The occupation background of the politicians in this period has no longer been the retired government officers or lawyers but most of all businessmen. The success politicians at this time established a strong relation with local business, politicians at local level as well as high positioned government officers. Moreover, politicians in this period have changed their campaign strategies from conducting an intensive field visit to campaign management in particular by establishing a strength canvasser-network. IX

สารบัญ คำ�นำ�ผู้แต่ง หนา้ บทคดั ยอ่ ภาษาไทย IV บทคัดย่อภาษาองั กฤษ VI VIII สารบญั บทที่ 1 บทน�ำ : การศึกษา “การเมืองถนิ่ ” และ “นกั การเมืองถิน่ ” 1 จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา บทท่ี 2 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 7 และงานวิจัยที่เก่ียวข้อง บทท่ี 3 ข้อมลู นักการเมืองถิ่นจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา 49 บทที่ 4 สรปุ อภิปรายผล การศึกษาและข้อเสนอแนะ 143 บรรณานุกรม 150 นามานกุ รม 154 ภาคผนวก 156 ภาคผนวก ก ภาพถ่ายนกั การเมอื งถ่ิน จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา X

ความเป็นมาและสภาพปญั หา สารบญั ตาราง ตารางที ่ หนา้ 1 นักการเมืองถ่ินของ 19 จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยาตง้ั แตอ่ ดตี จนถึงปัจจบุ นั 2 ผลการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรแบบแบง่ เขต 23 3 สถติ ิการใชส้ ิทธเิ ลือกตั้งแบบแบ่งเขต 24 4 สถติ กิ ารใชส้ ิทธิเลอื กตั้งแบบบัญชีรายช่อื 24 5 ผลการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร 25 แบบแบ่งเขต พ.ศ. 2548 6 สถิตกิ ารใช้สทิ ธิเลอื กตั้งแบบแบง่ เขต พ.ศ. 2548 26 7 สถิติการใช้สทิ ธเิ ลือกต้งั แบบบญั ชรี ายช่ือ พ.ศ. 2548 26 8 ผลการเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรเขต 1 พ.ศ. 2550 27 9 ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขต 2 พ.ศ. 2550 27 10 สถติ ิการเลือกตั้งแบบแบง่ เขต พ.ศ. 2550 28 11 สถิตกิ ารเลอื กตง้ั แบบสัดส่วน พ.ศ. 2550 28 สารบญั แผนภูมิ 1. แผนภูมิท่ี 1 ความสมั พนั ธ์ของผู้สมัครรับเลือกตั้งกบั 38 หัวคะแนนหลกั และ หัวคะแนนรอง 2. แผนภูมทิ ี่ 2 โครงสรา้ งสามประสานการเลือกตัง้ 125 3. แผนภูมิท่ี 3 แสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งนกั การเมืองถ่นิ 140 กับเครอื ขา่ ยหัวคะแนนจัดตั้งในจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา XI

XII

บทน�ำ : การศกึ ษา “การเมอื งถิน่ ” บ1ทท่ีและ “นกั การเมอื ง” จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา บทน�ำ : การศึกษา “การเมืองถ่ิน” และ “นกั การเมอื ง” จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา เกร่นิ นำ� การเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ เปน็ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยในปี พ.ศ. 2475 ไดเ้ ปลยี่ นแปลง รูปแบบและโครงสร้างของการใช้อำ�นาจในการปกครองประเทศจาก พระมหากษัตริย์และขุนนางไปสู่ข้าราชการ “อำ�มาตยาธิปไตย” และ เปลยี่ นแปลงไปสู่ “นักการเมอื ง” ผ่านกระบวนการของการเลือกตง้ั ที่ผ่านมาในระดับชาติประเทศไทยได้จัดให้มีการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรข้ึนทั้งทางตรงและทางอ้อม รวม 24 คร้ัง มีการเลือกตั้งสมาชกิ พฤฒิสภาทางออ้ ม 1 ครงั้ ในปี พ.ศ. 2489 และมี การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาโดยตรงคร้งั แรกเมอื่ พ.ศ. 2543 หลัง พ.ศ. 2530 เป็นต้นมาบทบาทของนักการเมืองหรือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ทวีความสำ�คัญในระบบการเมืองไทย 1

นกั การเมืองถน่ิ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา เหนือกว่าระบบราชการซ่ึงครองอำ�นาจในรูปแบบของอำ�มาตยาธิป ไตยมาอย่างยาวนานเน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และกระแสโลกาภิวัฒน์ซ่ึงต่างยอมรับว่าการเลือกตั้งเป็นวิธีการท่ีมี ความชอบธรรมในการเข้าสู่อำ�นาจการปกครองประเทศตามระบอบ ประชาธิปไตยท่ีเป็นสากล ดังนั้นการเลือกต้ังจึงเป็นเสมือนประตูแห่ง อ�ำ นาจในการปกครองประเทศ เมื่อเป็นเช่นน้ันนักการเมืองจึงพยายามต่อสู้แย่งชิงความได้ เปรียบด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งท่ีถูกต้องตามกฎหมายและไม่ถูกต้องตาม กฎหมายเพื่อให้ได้มาซ่ึงชัยชนะในการเลือกต้ังเหนือคู่แข่ง ซ่ึงย่อม หมายถึงการเข้าสู่อำ�นาจทางการเมืองและการใช้อำ�นาจทางการเมือง เพ่ือเป้าหมายท่ีเก่ียวข้องกับผลประโยชน์ทางธุรกิจที่เรียกว่า “ธุรกิจ การเมือง” ต่อไป อย่างไรก็ตามแม้วา่ บทบาทของนกั การเมืองจะมีความส�ำ คญั อยา่ งยงิ่ ตอ่ การปกครองประเทศและกระบวนการควบคมุ ในเชงิ นโยบาย สาธารณะ แตท่ ผี่ า่ นมาการศกึ ษาเกย่ี วกบั องคค์ วามรใู้ นระบบการเมอื ง ไทยยงั คงมงุ่ เนน้ ไปทก่ี ารเมอื งระดบั ชาตเิ ปน็ สว่ นใหญ่ ภาพทย่ี งั ขาดหาย ไปหรือยังไม่สมบูรณ์กค็ ือ ภาพของ “การเมอื งถิน่ ” ซ่งึ มี “นกั การเมอื ง ถนิ่ ” เปน็ กลไกในการขับเคลอื่ นทีส่ �ำ คญั จงึ เปน็ เรือ่ งที่น่าสนใจทจ่ี ะต่อ เติมภาพหรือองค์ความรู้เก่ียวกับการเมืองไทยให้สมบูรณ์มากย่ิงข้ึนไป โดยศกึ ษาในส่วนของ“การเมืองถนิ่ ”และ “นกั การเมืองถิน่ ” ของไทยให้ สมบรู ณค์ รบถว้ นในทกุ จังหวัด 2

บทนำ� : การศึกษา “การเมอื งถน่ิ ” และ “นักการเมือง” จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา การศึกษา “การเมืองถ่ิน” และ “นักการเมืองถิ่น” จังหวัด พระนครศรีอยุธยามีวัตถุประสงค์เพ่อื สร้างความร้เู ก่ยี วกับนักการเมือง ระดับชาติที่เคยได้รับการเลือกตั้งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยเฉพาะนักการเมืองที่มีความสำ�คัญต่อการเปลี่ยนแปลงหรือมี ผลกระทบต่อจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หรือเป็นนักการเมืองท่ีเป็นที่ ร้จู ักในระดบั ชาติอย่างกว้างขวาง นอกจากนนั้ เพอื่ ตอ้ งการทราบถงึ เครอื ขา่ ยและความสมั พนั ธ์ ของนักการเมืองตลอดจนบทบาทและความสัมพันธ์ของกลุ่ม ผลประโยชน์และกลุ่มท่ีไม่เป็นทางการอ่ืนๆ เช่น ครอบครัว ระบบ เครือญาติ ระบบอุปถัมภ์ ท่ีมีส่วนในการสนับสนุนทางการเมือง แก่นักการเมืองถิ่น บทบาทและความสัมพันธ์กับพรรคการเมือง ตลอดจนวิธีการหาเสียงในการเลือกตั้งของนักการเมืองถ่ินจังหวัด พระนครศรอี ยุธยา ขอบเขตของการศึกษา ศึกษาการเมืองของนักการเมืองระดับชาติในจังหวัดพระนคร- ศรอี ยธุ ยา ตง้ั แตก่ ารเลอื กตง้ั ทวั่ ไปครงั้ แรกจนถงึ การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภา ผแู้ ทนราษฎรครง้ั ที่ 24 เมอ่ื วนั ที่ 23 ธนั วาคม 2550 3

นักการเมอื งถน่ิ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา วิธีการศกึ ษา การวิจัยครั้งน้ีใช้เทคนิควิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซง่ึ ประกอบดว้ ย การศกึ ษาวเิ คราะหเ์ อกสาร การสมั ภาษณ์ แบบไมม่ ีโครงสร้าง (Non Structure Interview) และการสัมภาษณ์แบบ มีโครงสร้าง (Structure Interview) โดยการค้นหาข้อมูลจากบุคคล ผใู้ ห้ขอ้ มลู ส�ำ คญั (Key Informant) ซ่งึ จะดำ�เนินการโดยคัดเลือกบุคคล ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญอย่างเจาะจงและตรวจสอบความถูกต้องด้วยวิธีการ ตรวจสอบข้อมูลเดียวกันจากผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญหลายคน จากน้ันนำ� ขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ ระยะเวลาในการศึกษา กำ�หนดระยะเวลา 8 เดอื น ตงั้ แตเ่ ดือนกมุ ภาพันธ์ถึงเดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2552 ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั 1. เข้าใจถึงกลไกทางการเมืองของนักการเมืองถ่ินในจังหวัด พระนครศรีอยธุ ยาต้ังแตก่ ารเลือกตงั้ ครัง้ แรกจนถึงปจั จบุ ัน 2. ไดท้ ราบวา่ ตงั้ แตก่ ารเลอื กตงั้ ครง้ั แรกเปน็ ตน้ มามนี กั การเมอื ง คนใดทไ่ี ดร้ บั การเลอื กตง้ั บา้ งและชยั ชนะในการเลอื กตง้ั ของนกั การเมอื ง เหล่าน้มี สี าเหตุและปัจจัยอะไรสนับสนุน 3. ได้ทราบถึงความสำ�คัญของกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มที่ไม่ 4

บทน�ำ : การศกึ ษา “การเมอื งถ่นิ ” และ “นักการเมือง” จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา เปน็ ทางการ เชน่ ครอบครัว วงศาคณาญาติ ตระกลู ที่มีต่อการเมือง ในจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 4. ได้ทราบถึงความสำ�คัญของพรรคการเมืองในการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 5. ได้ทราบรูปแบบ วิธีการ และกลวิธีต่างๆ ที่นักการเมืองใช้ ในการเลอื กต้ัง 6. ได้ทราบข้อมูลเก่ียวกับ “การเมืองถิ่น” และ “นักการเมือง ถ่ิน”จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อเป็นองค์ความรู้ในการศึกษาวิจัย เก่ียวกับการเมืองการปกครองไทยตอ่ ไป 5

นกั การเมอื งถ่นิ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา 6

บ2ทที่ข้อมลู ท่ัวไปของจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยาและงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ขอ้ มลู ทว่ั ไปของจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา และงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้อง บ ทนแ้ี บง่ ออกเปน็ สองสว่ นคอื สว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สภาพภมู ศิ าสตร์ และสภาพแวดลอ้ มจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา สภาพภมู ปิ ระเทศ และดินฟ้าอากาศ การคมนาคม อาณาเขตติดต่อและพื้นท่ีเขตการ ปกครอง สัญลกั ษณ์ประจ�ำ จังหวดั ข้อมลู ดา้ นเศรษฐกจิ และประชากร ข้อมูลเกี่ยวกับนักการเมืองของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาต้ังแต่อดีต จนถึงปัจจุบันและส่วนท่ีเก่ียวกับกรอบแนวคิดท่ีใช้ในการศึกษาและ งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง 1. ขอ้ มูลทั่วไปของจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา สภาพภูมปิ ระเทศและดนิ ฟ้าอากาศ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยามสี ภาพภมู ปิ ระเทศเปน็ ทรี่ าบน�้ำ ทว่ ม ถึงที่เรียกว่าที่ราบลุ่มเดลต้าซึ่งเกิดจากการที่แม่น้ำ�ไหลพัดพาเอาเศษ 7

นกั การเมอื งถน่ิ จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา หนิ ดนิ ทราย และตะกอนมาทบั ถมกนั เปน็ เวลานานจนกลายเปน็ ทรี่ าบ อนั กวา้ งใหญ่ นอกจากนย้ี งั มพี น้ื ทส่ี ว่ นใหญเ่ ปน็ ทงุ่ นาแตไ่ มม่ ภี เู ขา ไมม่ ี ป่าไม้ บริเวณศูนย์กลางของจังหวัดเรียกกันมาแต่เดิมตามลักษณะที่มี สายน�ำ้ ล้อมรอบวา่ “เกาะเมอื ง” คกู่ ับเกาะท่ีอยตู่ รงขา้ มทางด้านเหนือ ซง่ึ เรยี กว่า “เกาะลอย” ดว้ ยเหตทุ ี่มีแมน่ ้�ำ สายตา่ ง ๆ ไหลผา่ น ไดแ้ ก่ 1. แมน่ ำ้�เจา้ พระยา เปน็ แม่น้ำ�ท่ีมคี วามสำ�คญั ที่สุดของจงั หวัด พระนครศรีอยุธยาในด้านการเกษตรกรรมและการคมนาคมและขนส่ง แม่นำ้�เจ้าพระยาเร่ิมตั้งแต่แม่นำ้�น่านและแม่นำ้�ปิงไหลมาบรรจบกันท่ี ปากน�้ำ โพ จงั หวดั นครสวรรค์ แลว้ ไหลลงมาทางใตผ้ า่ นจงั หวดั อทุ ยั ธานี จงั หวดั สงิ ห์บุรี จงั หวัดอา่ งทอง เข้าเขตจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ทาง ทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือผา่ นอ�ำ เภอบางบาล อำ�เภอพระนครศรอี ยธุ ยา อ�ำ เภอบางปะอนิ และอำ�เภอบางไทรแล้วเขา้ สูจ่ ังหวัดปทมุ ธานี จังหวดั นนทบุรี กรุงเทพมหานคร และสมุทรปราการ รวมความยาวของแมน่ ้ำ� นไี้ หลผา่ นจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ประมาณ 55 กโิ ลเมตร และแมน่ �้ำ นีม้ ีความยาวทัง้ ส้ินประมาณ 360 กโิ ลเมตร 2. แมน่ �ำ้ ปา่ สกั ตน้ น�้ำ เกดิ จากทวิ เขาเพชรบรู ณ์ ในเขตจงั หวดั เลย แลว้ ไหลลงมาทางใตผ้ า่ นจงั หวดั เพชรบรู ณ์ จงั หวดั ลพบรุ ี จงั หวดั สระบรุ ี เขา้ เขตจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาทอี่ �ำ เภอทา่ เรอื อ�ำ เภอนครหลวง แลว้ ไหลรวมกับแม่น�้ำ เจ้าพระยาฝ่ังซา้ ยในเขตอำ�เภอพระนครศรีอยธุ ยา ท่ี หน้าวัดพนัญเชิงรวมความยาวท่ีไหลผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประมาณ 52 กิโลเมตร และแม่น้ำ�น้ีมีความยาวทั้งส้ินประมาณ 500 กิโลเมตร 3. แม่น้ำ�ลพบุรี เป็นแม่น้ำ�ที่แยกจากแม่นำ้�เจ้าพระยาฝ่ัง ซ้ายที่อำ�เภอเมืองสิงห์บุรี ไหลผ่านจังหวัดลพบุรีเข้าเขตจังหวัด 8

ข้อมลู ทว่ั ไปของจงั หวัดพระนครศรีอยุธยาและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวขอ้ ง พระนครศรีอยุธยาท่ีอำ�เภอบ้านแพรก อำ�เภอมหาราช อำ�เภอ บางปะหัน และอำ�เภอพระนครศรีอยุธยา แล้วไปบรรจบกับแม่นำ้�ป่า สกั ทหี่ นา้ วดั ตองปุ ในเขตอ�ำ เภอพระนครศรอี ยธุ ยา รวมความยาวทไี่ หล ผา่ นจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ประมาณ 62.5 กโิ ลเมตร และแม่นำ�้ นม้ี ี ความยาวทง้ั สนิ้ ประมาณ 85 กิโลเมตร 4. แม่นำ้�น้อย แยกจากแม่น้ำ�เจ้าพระยาฝ่ังขวาที่อำ�เภอเมือง ชัยนาท ไหลผา่ นจงั หวัดชัยนาท จังหวดั สิงหบ์ ุรี จงั หวัดอา่ งทองเขา้ เขต จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาทอี่ ำ�เภอผกั ไห่ อำ�เภอเสนาแลว้ ไปบรรจบกบั คลองบางบาลซง่ึ เปน็ แมน่ �ำ้ เจา้ พระยาเดมิ ทบ่ี า้ นสกี กุ แลว้ ไหลไปบรรจบ กับแม่นำ้�เจา้ พระยาอกี ครง้ั หน่ึงท่ตี �ำ บลราชคราม อ�ำ เภอบางไทร รวม ความยาวที่ไหลผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาประมาณ 30 กิโลเมตร และแม่นำ�้ นี้ความยาว ทั้งส้นิ ประมาณ 145 กิโลเมตร แมน่ ำ้�ท้ัง 4 สายไดไ้ หลมาบรรจบกัน เปน็ แม่นำ�้ เจา้ พระยาแลว้ ไหลผา่ นจังหวัดปทมุ ธานี จังหวดั นนทบุรี กรงุ เทพมหานครและไหลลง สู่อ่าวไทยท่ีจังหวัดสมุทรปราการ นอกจากนี้ยังมีคลองเล็กคลองน้อย เชอ่ื มโยงตอ่ ไปเกอื บทว่ั บรเิ วณพนื้ ทขี่ องจงั หวดั เชน่ คลองเจา้ เจด็ แยกใน เขตอ�ำ เภอเสนา คลองบางคลแี ยกมาจากแมน่ �้ำ นอ้ ยในเขตอ�ำ เภอผกั ไห่ คลองพระยาบันลือแยกมาจากแม่น้ำ�เจ้าพระยาท่ีอำ�เภอบางไทร และ คลองระพีพัฒนใ์ นเขตอ�ำ เภอทา่ เรือ อ�ำ เภอภาชี เป็นตน้ เมอ่ื ถึงฤดนู �ำ้ หลากตง้ั แต่ประมาณเดอื นแปด (สิงหาคม) ไปจนถึงเดือนสิบเอด็ - สิบ สอง (พฤศจิกายน) จึงมีน้ำ�ท่วมไปในทุกพื้นท่ี สภาพน้ำ�ท่วมทุ่งในฤดู นำ้�หลากเป็นความทรงจำ�ของผู้คนที่อยู่อาศัยในท่ีราบลุ่มเจ้าพระยา มาแต่โบราณเพราะเป็นวิถีชีวิตท่ีชาวบ้านได้พบอยู่เป็นปกติของทุกปี ผเู้ ฒา่ ผแู้ กบ่ อกเลา่ เรอื่ งราวคลา้ ยคลงึ กนั วา่ เมอื่ ใกลจ้ ะถงึ หนา้ น�้ำ หลาก 9

นกั การเมอื งถ่นิ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ผู้คนจะเตรียมพร้อมทั้งในเร่ืองบ้านเรือนท่ีอยู่อาศัยไปจนถึงพาหนะ คือ เรือเล็ก เรือใหญ่ เพราะเป็นเครื่องใช้เพียงอย่างเดียวท่ีจะนำ�พา สัญจรไปมาถึงกนั ได้ เม่ือน้ำ�เหนือไหลบ่ามารวมกันนำ้�ฝนท่ีตกชุก เกิดเป็นน้ำ�ท่วม นองเข้าไปในทุ่งจนถึงบ้านเรือนที่อาศัยริมน้ำ� เกณฑ์ในการวัดว่าปีใด น้ำ�ท่วมมากน้อยเท่าใดชาวบ้านจะเทียบจากปริมาณน้ำ�ท่ีท่วมถึงส่วน ใดของบา้ น เช่น ถา้ ท่วมครึง่ เสาบ้านถือวา่ เปน็ เหตกุ ารณ์ปกติ หากปใี ด นำ้�ทว่ มนอกชานก็ยังถือวา่ ทว่ มปานกลาง แต่ถา้ หาถงึ ระเบยี งแลว้ ก็จะ ถอื วา่ ปนี นั้ น�ำ้ ทว่ มมาก ในชว่ งเวลาทนี่ �ำ้ หลากเชน่ นเ้ี ปน็ เวลาทชี่ าวบา้ น เฝา้ รอคอยใหม้ าถึง เพราะนอกจากจะทำ�ให้ต้นข้าวในนาเตบิ โตขน้ึ หนี น�้ำ อยา่ งเตม็ ทแี่ ลว้ ยงั เปน็ ชว่ งทอี่ ดุ มสมบรู ณไ์ ปดว้ ยพชื พนั ธธ์ุ ญั ญาหาร และสัตว์น้ำ� โดยเฉพาะกุ้งปลาที่มีอยู่มากมายเหลือคณานับ ภาวะท่ี เรยี กวา่ หนา้ น�้ำ หลากนกี้ นิ เวลานานประมาณ 4 - 5 เดอื นน�ำ้ จะขนึ้ สงู สดุ ในเดอื น 12 เรียกวา่ “น�้ำ ทรง” หลังจากนน้ั น้�ำ กจ็ ะเร่ิมลง ชาวบ้านเรียก กนั ว่า “นำ้�ฟักไข่” เพราะเมื่อนำ้�เริ่มลดจะมฝี ้าจบั ตามผิวนำ้�แลว้ กล็ ดลง เรอ่ื ย ๆ ชว่ งนชี้ าวบา้ นจะจบั ปลาไดอ้ ยา่ งมากมายเพราะปลาจะตกคลกั เรยี กวา่ “ปลาออก” คอื พยายามตะเกยี กตะกายวา่ ยออกสแู่ มน่ ำ้� เมอ่ื น�้ำ แหง้ ก็เป็นเวลาใกลจ้ ะเก็บเกี่ยวได้ ความอดุ มสมบูรณใ์ นฤดนู ้�ำ หลากดงั กลา่ วนี้ ปัจจุบันไมม่ ใี ห้เห็นแลว้ เพราะหลงั จากมีการสร้างเข่ือนชัยนาท หรอื เขอื่ นเจา้ พระยาทจี่ งั หวดั ชยั นาทตง้ั แต่ พ.ศ. 2500 เพอ่ื พฒั นาพน้ื ท่ี ทุ่งราบภาคกลางสองฝ่ังแม่นำ้�เจ้าพระยาและแม่น้ำ�สาขาตั้งแต่จังหวัด ชัยนาทลงมาจนถึงพื้นท่ีแถบชายทะเล ให้ได้รับนำ้�ไปเป็นประโยชน์ ต่อการทำ�นาอย่างท่ัวถึงแทนที่จะอาศัยนำ้�จากฝนที่ตกตามฤดูกาลแต่ เพยี งอยา่ งเดยี ว น�ำ้ ทเี่ คยไหลบา่ มาในหนา้ น�้ำ หลากจงึ ไมม่ อี กี ตอ่ ไป แม้ 10

ขอ้ มูลท่วั ไปของจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยาและงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้อง ชาวนาจะสามารถท�ำ นาไดม้ ากกวา่ ปลี ะครง้ั แตส่ ภาพนเิ วศยว์ ทิ ยาทเี่ คย เปน็ มานบั รอ้ ยปกี เ็ รม่ิ เปลยี่ นแปลงไปปจั จบุ นั จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ทีส่ ภาพภูมอิ ากาศเช่นเดยี วกับจงั หวดั อ่นื ๆ ในบริเวณภาคกลางของ ประเทศไทย คือ รบั ลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือในหนา้ หนาว และ รบั ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจ้ ากอ่าวไทยโดยตรง ทำ�ให้มีฝนตกตดิ ต่อ กันเป็นเวลานานมีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31 องศาเซลเซียสอุณหภูมิต่ำ� สุดเฉลี่ย 24 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำ�ฝนเฉลี่ยทั้งจังหวัดประมาณ 1342.7 มลิ ลเิ มตร มฤี ดูกาลแบง่ ออกเปน็ 3 ฤดู ดังนี้ 1. ฤดฝู น เริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม หรอื ตน้ เดือนมถิ ุนายน จนถงึ เดอื นตลุ าคม ตง้ั แตเ่ ดอื นพฤษภาคมหรอื ตน้ เดอื นมถิ นุ ายน ฝนเรม่ิ ตกและจะตกถขี่ น้ึ ในเดอื นสงิ หาคมหรอื เดอื นกนั ยายน ซงึ่ เปน็ เดอื นทม่ี ี ฝนตกชุกทส่ี ุดของจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ซึง่ เป็นเดอื นท่ีมีฝนตกชกุ ที่สุดฝนท่ีตกในระยะน้ีได้รับอิทธิพลมาจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนหน่ึง อีกส่วนหน่ึงเป็นอิทธิพลของพายุดีเปรสช่ันจากทะเลจีนใต้ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมฝนจะเริ่มน้อยลง รวมระยะเวลาของฤดูฝน ประมาณ 5 เดอื น 2. ฤดหู นาว เรมิ่ ประมาณเดอื นพฤศจกิ ายนจนถงึ เดอื นมกราคม ตง้ั แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายนจะเปน็ ระยะเปลยี่ นฤดจู ากฤดฝู นเขา้ สฤู่ ดหู นาว คือลมมรสุมเฉียงใต้เริ่มอ่อนลงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเข้ามา แทนที่จึงนับวา่ ยา่ งเขา้ สฤู่ ดูหนาว ซึง่ อณุ หภูมิจะไม่ลดต่ำ�มากนกั เพราะ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาอยปู่ ลายลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และ อยู่ใกล้อ่าวไทยไออุ่นจากทะเลทำ�ให้หนาวน้อยลง รวมระยะเวลาของ ฤดูหนาวประมาณ 3 เดอื น 3. ฤดูร้อน เริ่มประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน 11

นกั การเมอื งถิ่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ต้ังแต่เดือนกุมภาพันธ์อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเร่ิม ออ่ นลง ทำ�ให้อากาศเร่ิมรอ้ นและจะร้อนอบอา้ วท่สี ดุ ในเดือนเมษายน สาเหตุเพราะการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์และการถูกปกคลุมด้วยความ กดอากาศสงู จากทะเลจีนใต้และมหาสมทุ รแปซิฟิก ซงึ่ เป็นต้นก�ำ เนดิ ของกระแสลมตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดเข้าสู่อ่าวไทยทำ�ให้อากาศร้อน มากขน้ึ แตจ่ งั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยายงั ไมร่ อ้ นมากทส่ี ดุ เพราะมแี มน่ �้ำ ลำ�คลองมากมายจึงช่วยคลายความร้อนลงได้บ้าง รวมระยะเวลาของ ฤดรู อ้ นประมาณ 4 เดอื น การคมนาคม 1.ทางรถไฟ เส้นทางคมนาคมทางบกจากกรุงเทพฯถึงพระนครศรีอยุธยาท่ี ทนั สมยั สายแรก คอื เสน้ ทางรถไฟ ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งขนึ้ และเปดิ เสน้ ทางเดนิ รถ มาต้ังแต่ พ.ศ. 2439 ระยะทางจากกรงุ เทพฯ - อยุธยา ประมาณ 72 กโิ ลเมตร ปจั จุบนั ทางรถไฟทผี่ า่ นจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา มี 2 สาย คือ สายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ โดยผ่านเข้ามาที่อำ�เภอ บางปะอนิ แลว้ ไปแยกออกจากกนั ทอี่ �ำ เภอภาชี ตรง”สถานชี มุ ทางบา้ น ภาชี” ขบวนรถไฟโดยสารสายเหนือผ่านขึ้น - ล่องรับส่งผู้โดยสารวัน ละประมาณ 18 ขบวน และขบวนรถไฟโดยสารสายตะวันออกเฉียง เหนอื ผา่ นขึ้น - ล่อง รับสง่ ผโู้ ดยสารวนั ละประมาณ 18 ขบวน จาก การศึกษาของสำ�นักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ เสนอให้เขตพ้ืนที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจุดเช่ือมโยงระหว่าง ภาค โดยเปน็ ศนู ย์ขนถ่ายสินค้าทางรถไฟและรถบรรทกุ และเป็นศนู ย์ 12

ข้อมลู ทวั่ ไปของจงั หวดั พระนครศรีอยุธยาและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง รับ - สง่ ผโู้ ดยสารของภาค ทั้งน้เี พือ่ ตอบสนองนโยบายกระจายความ เจรญิ สู่ภูมภิ าคและบรรเทาความแออดั การจราจรของกรุงเทพฯ ทำ�ให้ การคมนาคมทางรถไฟมคี วามส�ำ คญั มากขนึ้ ปจั จบุ นั มี โครงการพฒั นา เส้นทางคมนาคมทางรถไฟท่ีสำ�คญั ได้แก่ 1. โครงการรถไฟทางคขู่ องการรถไฟแหง่ ประเทศไทย ก�ำ หนด สร้างเส้นทางรถไฟทางคแู่ บง่ เป็น 3 ช่วง คอื - ช่วงสถานรี งั สติ - ชุมทางบ้านภาชี - ช่วงชุมทางบ้านภาชี - สถานลี พบรุ ี - ชว่ งชุมทางบ้านภาชี - สถานีมาบกะเบา แก่งคอย 2. โครงการรถไฟความเร็วสูงจากกรุงเทพฯ ไปสู่ภูมิภาคท่ัว ประเทศ 2.ทางรถยนต์ เส้นทางรถยนต์ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในรัชกาล ท่ี 5 เมื่อมีการปฏิรูปการปกครองจัดตั้งมณฑลกรุงเก่าได้มีการสร้าง ถนนรอบเมืองติดต่อระหว่างส่วนราชการต่าง ๆจนถึงภายหลังการ เปลีย่ นแปลง การปกครอง พ.ศ. 2475 เปน็ ต้นมา ไดม้ ีการอนญุ าตให้ ราษฎรเข้าไปต้ังบ้านเรือนอยู่อาศัยทำ�มาหากินภายในเกาะเมืองจึงมี การสร้างถนนเป็นเครือข่ายหลายสาย รวมทั้งมีการสร้างสะพานข้าม แม่น้ำ�ป่าสัก คือ สะพานปรีดีธำ�รง เชื่อมเกาะเมืองกับพ้ืนที่ด้านนอก แล้วทำ�ถนนเช่ือมต่อไปถึงพหลโยธิน (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1) ระยะทางระหวา่ งอยุธยา - วงั น้อย - กรุงเทพฯ 80 กโิ ลเมตร นบั แต่ น้นั เป็นต้นมาอยุธยาก็เปดิ เส้นทางกบั พืน้ ท่ภี ายนอกได้โดยสะดวก ตอ่ มาได้มีการสร้างถนนสายเอเชยี ( ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 32) ผ่าน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาทำ�ให้การเดินทางติดต่อระหว่างอยุธยา - 13

นักการเมอื งถน่ิ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา กรุงเทพฯ ด้วยระยะทาง 75 กิโลเมตรย่ิงสะดวกข้ึนกว่าเดิม ปัจจุบัน ไดม้ ีการสรา้ งสะพานข้ามแม่นำ�้ ปา่ สักเพิ่มข้นึ อีก ทัง้ เสน้ ทางขาเขา้ และ ออกตัวเมืองจังหวดั พระนครศรีอยุธยา คอื สะพานสมเดจ็ พระนเรศวร มหาราช คู่ขนานไปกับสะพานปรีดีธำ�รง ปัจจุบันการคมนาคมของ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา มคี วามสะดวกรวดเรว็ สอดคลอ้ งกบั นโยบาย ทส่ี ง่ เสรมิ ใหม้ กี ารใชพ้ น้ื ทเี่ พอ่ื การอตุ สาหกรรมหลายประเภท โครงการ พัฒนาเสน้ ทางคมนาคมทางรถยนต์ ได้แก่ 1. โครงการขยายถนนสมเด็จ - ศูนย์ศิลปาชีพพิเศษ บางไทร โดยเพิม่ ชอ่ งทางจราจร 2 ช่องเปน็ 10 ชอ่ งทาง เพื่อรองรบั จดุ ข้ึนลง ทางแจง้ วฒั นะ บางพูน-บางไทร และบรรจบกับถนนวงแหวนรอบนอก 2. โครงการปรบั ปรงุ ถนนสายปทมุ ธานี - เสนา เปน็ การปรบั ปรงุ ขยายผวิ จราจร 3. โครงการถนนวงแหวนรอบนอก (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 37) ดา้ นตะวันตกตดั ผา่ นอำ�เภอบางไทรและอำ�เภอบางปะอิน 4. โครงการของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย กำ�หนดจะทำ� ทางด่วนปากเกรด็ - บางปะอนิ บางปะอนิ - ปา่ โมก และ บางปะหัน - บ้านนา – พานทอง 5. ถนนสายเอเชยี จากกรงุ เทพมหานครผา่ นจงั หวดั พระนครศร-ี อยุธยาและจังหวัดต่างๆสู่ภาคเหนือสุดปลายทางที่อำ�เภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย นับเป็นเส้นทางการคมนาคมท่ีสำ�คัญท่ีสุดของ จังหวัด โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า เ ส้ น ท า ง ค ม น า ค ม ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยาเช่นนี้ย่อมทำ�ให้เกิดผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็น อยู่แต่ก่อนมาของชาวอยุธยาอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ เพราะสิ่งท่ีจะมา 14

ขอ้ มลู ท่ัวไปของจังหวัดพระนครศรอี ยุธยาและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง พรอ้ ม ๆ กบั เสน้ ทางคมนาคม คอื สงั คมวฒั นธรรมอยา่ งใหมโ่ ดยเฉพาะ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากเกษตรเปน็ อุตสาหกรรม อาณาเขตตดิ ตอ่ และพ้ืนทเี่ ขตการปกครอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตอนเหนือติดกับจังหวัดลพบุรี และอ่างทอง ด้านตะวันออกติดกับจังหวัดสระบุรี ด้านใต้จรดจังหวัด ปทมุ ธานี นนทบรุ ี และนครปฐม สว่ นทางตะวนั ตกจรดจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เคยมชี ่ือเสียงในฐานะเปน็ แหล่งปลูกขา้ วทีส่ �ำ คญั ในปจั จบุ นั กลายเป็น แหล่งโรงงานอุตสาหกรรมใกล้กรุงเทพมหานคร จังหวัดน้ีไม่มีอำ�เภอ เมือง แต่มีอำ�เภอพระนครศรีอยุธยาซ่ึงมีบทบาทคล้ายอำ�เภอเมือง (เรียกวา่ อ�ำ เภอพระนครศรอี ยธุ ยา มใิ ชอ่ �ำ เภอเมอื งพระนครศรีอยธุ ยา) ชาวบา้ นโดยทว่ั ไปนยิ มเรยี กอกี ชอื่ หนงึ่ วา่ “กรงุ เกา่ ” หรอื “เมอื งกรงุ เกา่ ” ทีม่ า( http//www.dopa.go.th, 2552) การแบง่ เขตการปกครองจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาประกอบดว้ ย 16 อ�ำ เภอได้แก่ 1. อำ�เภอพระนครศรอี ยธุ ยา 9. อำ�เภอภาชี 2. อำ�เภอท่าเรอื 10. อ�ำ เภอลาดบวั หลวง 3. อ�ำ เภอนครหลวง 11. อ�ำ เภอวังนอ้ ย 4. อ�ำ เภอบางไทร 12. อ�ำ เภอเสนา 5. อ�ำ เภอบางบาล 13. อ�ำ เภอบางซา้ ย 6. อำ�เภอบางปะอนิ 14. อำ�เภออทุ ยั 7. อ�ำ เภอบางปะหัน 15. อำ�เภอมหาราช 8. อ�ำ เภอผักไห ่ 16. อำ�เภอบา้ นแพรก 15

นักการเมอื งถิน่ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา สัญลกั ษณ์ประจำ�จังหวัด สัญลักษณ์ประจำ�จังหวัด คือ รูปสังข์ซ่ึงประดิษฐานอยู่ในพาน แว่นฟ้า ภายในปราสาทใต้ต้นหมัน ซึ่งนับถือกันว่าเป็นสัญลักษณ์อัน ประเสรฐิ ดอกไม้ประจำ�จังหวดั : ดอกโสน (Sesbania aculeata) ต้นไม้ประจำ�จังหวัด : หมนั (Cordia dichotoma) คำ�ขวัญประจำ�จังหวัด : ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ� เลิศล้ำ� กานท์กวี คนดีศรีอยธุ ยา ข้อมลู ด้านประชากรและเศรษฐกิจ 1.ข้อมลู ประชากรจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา จ�ำ นวนครวั เรือน 192,418 ครวั เรอื น ครวั เรอื นในเขตเทศบาล 65,930 ครัวเรอื น 16

ข้อมลู ท่ัวไปของจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยาและงานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วข้อง ครวั เรอื นนอกเขตเทศบาล 126,488 ครัวเรอื น ประชากร 727,277 คน ชาย 351,050 คน หญงิ 376,227 คน ทมี่ า(http//www.dopa.go.th, 2552 ) 2. เศรษฐกิจ จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยาตงั้ อยู่บริเวณทร่ี าบลมุ่ ภาคกลางตอน ลา่ งของประเทศ หา่ งจากกรงุ เทพมหานครทางถนนสายเอเซยี ประมาณ 75 กโิ ลเมตร ทางรถไฟประมาณ 72 กโิ ลเมตรและทางเรอื ประมาณ 137 กิโลเมตร มีเน้อื ที่ประมาณ 2,556.64 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 1,597,900 ไร่ นับว่าเป็นจังหวัดท่ีมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 62 ของประเทศไทย และเปน็ อนั ดบั ที่ 11 ของจงั หวดั ในภาคกลาง ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ ทรี่ าบลมุ่ น้�ำ ทว่ มถงึ พื้นท่ีสว่ นใหญ่เป็นทุ่งนา มแี ม่น�ำ้ ไหลผา่ น 4 สาย ไดแ้ ก่แมน่ ้�ำ เจา้ พระยา แม่นำ้�ปา่ สัก แม่น�้ำ ลพบรุ แี ละแมน่ �ำ้ น้อย รวม ความยาวประมาณ 200 กโิ ลเมตรมีล�ำ คลองใหญ่น้อยประมาณ 1,254 คลอง เชอ่ื มตอ่ กบั แม่น�ำ้ เกือบทวั่ บรเิ วณพื้นท่ี โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาขนึ้ อยกู่ บั สาขาอตุ สาหกรรม สาขาบรกิ ารดา้ นอสงั หารมิ ทรพั ย์ การขนสง่ สถานที่ เกบ็ สินค้าและการคมนาคมและสาขาขายส่งขายปลกี ตามลาํ ดับ จากการเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ ผลติ ภณั ฑ์มวลรวม(GPP) ของจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยาต้ังแต่ปี 2538 17

นักการเมอื งถน่ิ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา –2549 มอี ตั ราการเปลี่ยนแปลงท่สี งู กวา่ GDP ของประเทศ และภาค กลางเลก็ น้อย โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา จำ�แนก สดั สว่ น GPP ในปี 2549 ได้ดงั นี้ 1. สาขาอตุ สาหกรรม 86.173% 2. สาขาบรกิ ารอสังหาริมทรพั ย์ 2.535% 3. สาขาขนส่งฯ 2.432% 4. สาขาขายส่งขายปลกี 2.145% 5. สาขาไฟฟา้ ก๊าซและประปา 2.010% 6. อ่ืน ๆ 4.705% จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา มนี คิ มอตุ สาหกรรม 3 แหง่ ไดแ้ กน่ คิ ม อุตสาหกรรมบางปะอิน นคิ มอตุ สาหกรรมบา้ นหว้า (ไฮเทค) และนิคม อตุ สาหกรรมสหรัตนนคร นอกจากน้ันมีเขตประกอบการอุตสาหกรรม 2 แห่ง ได้แก่เขตประกอบการอุตสาหกรรมแฟคตอรี่แลนด์วังน้อย และเขตประกอบการอุตสาหกรรมสวนอุตสาหกรรมโรจนะ มีโรงงาน อุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาตประกอบกิจการท้ังหมด (ปีงบประมาณ 2550 ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2550) จ�ำ นวน 1,647 โรงงาน เงินทนุ รวม 270,741.40 ลา้ นบาท จา้ งคนงาน 216,418 คน จะเหน็ ไดว้ า่ เศรษฐกจิ ของจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาอตุ สาหกรรม ท่ีสําคัญคืออุตสาหกรรมการผลิต เช่นผลติ โลหะ หลอดอิเลก็ ทรอนิกส์ และอปุ กรณ์ ผลติ ชนิ้ สว่ นอปุ กรณย์ านยนต์ เครอื่ งยนต์ การผลติ เครอื่ ง คอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์และ ผลติ อปุ กรณไ์ ฟฟ้างานไฟฟ้าเป็นตน้ 18

ข้อมูลทวั่ ไปของจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยาและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวขอ้ ง ข้อมลู เก่ยี วกับนักการเมอื งของจังหวดั พระนครศรีอยุธยาต้ังแต่ อดตี จนถงึ ปัจจบุ นั จงั หวัดพระนครศรีอยุธยามีการเลอื กต้งั ครั้งแรกเม่อื พ.ศ.2476 สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฏรคนแรกคอื นายเลมียด หงสประภาสเปน็ ชาว อ�ำ เภอลาดบวั หลวง นบั ถึงการเลือกต้งั ครั้งล่าสดุ เมอื่ พ.ศ.2550 จำ�นวน 24 คร้ัง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวมทั้งสิ้นจำ�นวน 31 คน ตารางท่ี 1 นักการเมืองถน่ิ ของจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ตงั้ แตอ่ ดีตจนถึงปจั จบุ นั ครั้งท่ี วนั /เดอื น/ปี ล�ำ ดบั /ชอ่ื - สกลุ เขต พรรค หมายเหตุ 1 15 พ.ย.2476 1. นายเลมยี ด หงสประภาส 1. นายประเสริฐ ธารสี วัสดิ์ 1 2 7 พ.ย.2480 2. นายเยือ้ น พานชิ วิทย์ 2 1. หลวงประสทิ ธน์ รกรรม 1 (เจยี่ น หงสประภาส) 2 3 12 พ.ย.2481 2. นายฟ้ืน สพุ รรณสาร 1. นายวิโรจน์ กมลพันธ์ุ 1 4 6 ม.ค.2489 2. นายเยอื้ น พานชิ วทิ ย์ 2 1. พล.ร.ต.ถวัลย์ 1 ธำ�รงนาวาสวัสดิ์ 2 5 5 ส.ค.2489 2. นายปรีดี พนมยงค์ 2 เลือกตง้ั เพ่ิม 3. ม.จ.นติ ยากร วรวรรณ 1. นายฟน้ื สพุ รรณสาร 6 29 ม.ค.2491 2. ม.จ. นิตยากร วรวรรณ 19

นกั การเมอื งถน่ิ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ครัง้ ท่ี วนั /เดอื น/ปี ล�ำ ดับ/ช่ือ - สกลุ เขต พรรค หมายเหตุ ไมม่ จี ำ�นวน ส.ส. จังหวัด พระนครศรี 7 5 มิ.ย.2492 อยธุ ยา ไม่มีจ�ำ นวน ส.ส. 1. พ.ต.หลวงจบกระบวนยุทธ 8 26 ก.พ.2495 2. นายฟ้ืน สพุ รรณสาร 1. นายประเสรฐิ บญุ สม เสรีมนังคศลิ า 9 26 ก.พ.2500 2. นายสมศักดิ์ ชมจันทร์ เสรมี นังคศิลา เสรีมนังคศลิ า 3. พ.ต.หลวงจบกระบวนยุทธ สหภูมิ ไม่สงั กดั พรรค 10 15 ธ.ค.2500 1. นายนิคม สุขพัฒน์ธี เสรมี นังศิลา 2. นายสมศกั ดิ์ ชมจนั ทร์ 3. นายประเสริฐ บญุ สม สหประชาไทย สหประชาไทย 11 10 ก.พ.2512 1. นายประเสรฐิ บญุ สม ไม่สงั กัดพรรค 2. วา่ ท่ิ ร.ต.วิเชียร กลิ่นสุคนธ์ สหประชาไทย 3. นายอตนิ าท ควรพจน์ 1 กจิ สังคม 4. นายเผชญิ ศรีภธู ร 1 สันติชน 2 สังคมชาตนิ ิยม 12 26 ม.ค.2518 1. นายประมวล สภาวสุ 2 สังคมชาตนิ ิยม 2. นายอนันต์ บรู ณวนชิ 1 เกษตรสังคม 3. นายอทุ ัย ชุณหะจันทร์ 1 สังคมชาตนิ ิยม 4. นายประเสริฐ บญุ สม 2 เกษตรสงั คม 2 เกษตรสงั คม 13 4 เม.ย.2519 1. นายมนตรี พงษ์พานชิ 1 กจิ สังคม 2. นายเสรี มโยทาร 1 กิจสงั คม 3. นายสมพงษ์ ตรีสขุ ี 2 ชาติไทย 4. นายบญุ พันธ์ แขวฒั นะ 2 ชาติประชา ธปิ ไตย 1. นายประมวล สภาวสุ 2. นายมนตรี พงษพ์ านชิ 14 22 เม.ย2522 3. นายประเสริฐ บญุ สม 4. นายสายัณห์ สากิยะ 20

ขอ้ มลู ทั่วไปของจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยาและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง คร้งั ที่ วัน/เดอื น/ปี ล�ำ ดบั /ช่อื - สกลุ เขต พรรค หมายเหตุ 15 18 เม.ย.2526 1. นายมนตรี พงษ์พานชิ 1 กิจสงั คม 16 27 ก.ค.2529 2. นายประมวล สภาวสุ 1 ชาตไิ ทย 17 24 ก.ค.2531 3. พ.อ.ณรงค์ กิตตขิ จร 2 ชาติไทย 18 22 ม.ี ค.2535 4. นายบญุ พันธ์ แขวฒั นะ 2 กจิ สงั คม 19 13 ก.ย.2535 1. นายมนตรี พงษพ์ านิช 1 กจิ สงั คม 20 2 ก.ค.2538 2. นายประมวล สภาวสุ 1 ชาติไทย 3. นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ 2 กิจสังคม 21 17 พ.ย.2539 4. พ.อ.ณรงค์ กติ ตขิ จร 2 เสรนี ิยม 1. นายมนตรี พงษ์พานชิ 1 กิจสงั คม 2. นายประมวล สภาวสุ 1 ชาติไทย 3. พ.อ.ณรงค์ กิตตขิ จร 2 เสรนี ยิ ม 4. นายบุญพนั ธ์ แขวฒั น 2 กิจสังคม 1. นายมนตรี พงษ์พานิช 1 กจิ สังคม 2. นายประมวล สภาวสุ 1 สามัคคีธรรม 3. นายบญุ พันธ์ แขวัฒนะ 2 กจิ สงั คม 4. พล.ท.เขษม ไกรสรรณ์ 2 กจิ สังคม 1. นายมนตรี พงษ์พานิช 1 กจิ สังคม 2. นายประมวล สภาวสุ 1 ชาติพัฒนา 3. นายบญุ พันธ์ แขวฒั นะ 2 กจิ สังคม 4. นายพงษ์อดุ ม ตรีสขุ ี 2 กิจสังคม 1. นายบญุ พนั ธ์ แขวัฒนะ 1 กิจสังคม 2. นายพงษอ์ ดุ ม ตรสี ขุ ี 1 กิจสงั คม 3. นายพลกฤษณ์ หงษ์ทอง 1 กจิ สงั คม 4. นายมนตรี พงษ์พานิช 2 กจิ สงั คม 5. นายประมวล สภาวสุ 2 ชาตพิ ัฒนา 1. นายกมุ พล สภาวสุ 1 กิจสังคม 2. นายบญุ พันธ์ แขวฒั นะ 1 กจิ สังคม 3. นายพงษ์อุดม ตรสี ุขี 1 ชาตพิ ัฒนา 4. นายพลกฤษณ์ หงษ์ทอง 2 กิจสงั คม 5. นายมนตรี พงษ์พานชิ 2 กจิ สงั คม 21

นกั การเมอื งถน่ิ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา คร้ังที่ วัน/เดอื น/ปี ลำ�ดับ/ชื่อ - สกลุ เขต พรรค หมายเหตุ 22 6 ม.ค.2544 1. นายเกอื้ กูล ดา่ นชยั วิจิตร 1 ไทยรักไทย 2. นายพ้อง ชวี านนั ท์ 2 ไทยรักไทย 23 6 ก.พ.2548 3. นางสาวสุวมิ ล 3 ไทยรกั ไทย พันธ์เจรญิ วรกลุ 4 ไทยรักไทย 4. นายวทิ ยา บูรณศริ ิ 5 ไทยรักไทย 5. นายบญุ พนั ธ์ แขวฒั นะ 1 ไทยรักไทย 1. นายเก้อื กลู ด่านชยั วจิ ิตร 2 ไทยรักไทย 2. นายพ้อง ชวี านนั ท์ 3 ไทยรกั ไทย 3. นางสาวสวุ มิ ล 4 ไทยรกั ไทย พันธเ์ จรญิ วรกุล 5 ไทยรกั ไทย 4. นายวทิ ยา บรู ณศริ ิ 5. นายบญุ พนั ธ์ แขวัฒนะ 1. นายสุรเชษฐ์ ชยั โกศล 1 พลังประชาชน 2. นายพอ้ ง ชวี านนั ท์ 1 พลงั ประชาชน 3. นายเกื้อกูล ดา่ นชัยวจิ ติ ร 1 ชาติไทย 24 23 ธ.ค.2550 4. นายสุรศกั ดิ์ พนั ธ์เจริญวรกลุ 2 พลงั ประชาชน 2 พลงั ประชาชน 5. นายวทิ ยา บรู ณศิริ ท่มี า : (ส�ำ นกั งานเลขานกุ ารสภาผู้แทนราษฎร, ส�ำ นักวชิ าการ, กล่มุ งานวชิ าการ 1, 2551) ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร - ศรีอยุธยา 3 ครงั้ หลังสุด การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 6 มกราคม 2544 1. แบ่งเขตเลอื กตัง้ เปน็ 5 เขตเลือกตง้ั จ�ำ นวน 782 หน่วย เลือกตงั้ 2. มี ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน 22

ขอ้ มลู ทว่ั ไปของจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาและงานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง 3. มผี สู้ มคั รรบั การเลอื กตง้ั ส.ส. แบบแบง่ เขต จ�ำ นวน 33 คน เขต 1 จ�ำ นวน 7 คน เขต 2 จ�ำ นวน 6 คน เขต 3 จ�ำ นวน 5 คน เขต 4 จำ�นวน 7 คน เขต 5 จำ�นวน 8 คน 4. มพี รรคการเมืองที่สง่ ผู้สมคั รแบบบญั ชีรายช่อื จำ�นวน 37 พรรค จำ�นวน 940 คน 5. ประชากร จำ�นวน 730,391 คน 6. ผ้มู ีสทิ ธเิ ลือกตงั้ จ�ำ นวน 526,021 คน ตารางที่ 2 ผลการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร แบบแบง่ เขต เขต ผู้ได้รับการเลอื กตัง้ พรรค คะแนน 1 นายเกื้อกลู ด่านชยั วิจิตร ไทยรกั ไทย 36,133 2 นายพอ้ ง ชวี านนั ท์ ไทยรักไทย 39,476 3 นางสาวสวุ มิ ล พนั ธ์เจริญวรกุล ไทยรกั ไทย 49,084 4 นายวทิ ยา บูรณศริ ิ ไทยรักไทย 31,023 5 นายบุญพนั ธ์ แขวฒั นะ ไทยรักไทย 25,703 ท่ีมา : (สำ�นักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา, 2544) 23

นักการเมืองถน่ิ จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ตารางที่ 3 สถิตกิ ารใช้สิทธิเลอื กต้ังแบบแบ่งเขต เขต ผมู้ ีสิทธิ ผ้ใู ช้สทิ ธิ % บตั รดี % บตั รเสยี % ไมล่ ง % คะแนน 1 103,079 72,288 70.13 62,656 86.68 5,727 7.92 3,905 5.40 2 103,604 80,322 77.53 67,916 84.55 9,106 11.34 3,300 4.11 3 108,462 75,815 69.90 61,893 81.64 9,374 12.36 4,548 3.38 4 102,147 73,068 71.53 61,953 84.76 8,666 11.86 2,467 3.38 5 108,729 74,562 68.58 62,279 83.53 8,410 11.28 3,873 5.19 รวม 526,021 367,055 71.49 316,679 84.21 41,283 10.98 18,093 4.81 ที่มา : (สำ�นักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา, 2544) ตารางที่ 4 สถติ ิการใชส้ ิทธิเลือกตั้งแบบบัญชีรายช่ือ เขต ผูม้ ีสทิ ธิ ผู้ใช้สทิ ธิ % บัตรดี % บัตรเสีย % ไมล่ ง % คะแนน 1 103,079 72,288 70.13 68,010 94.08 1,838 2.54 2,440 3.38 2 103,604 80,322 77.53 76,074 94.71 2,424 3.02 1,824 2.27 3 108,462 75,815 69.90 71,204 93.92 2,343 3.09 2,268 2.99 4 102,147 73,068 71.53 68,606 93.89 2,504 3.43 1,958 2.68 5 108,729 74,562 68.58 70,312 94.30 2,267 3.04 1,982 2.66 รวม 526,021 367,055 71.49 354,206 94.19 11,376 3.03 10,472 2.78 ทม่ี า : (สำ�นกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ังจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา, 2544) 24

ขอ้ มลู ท่วั ไปของจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยาและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรวนั ที่ 6 กมุ พาพนั ธ์ 2548 1. มีผู้สมัครแบบแบง่ เขต จำ�นวน 17 คน เขต 1 จ�ำ นวน 3 คน เขต 2 จ�ำ นวน 4 คน เขต 3 จ�ำ นวน 3 คน เขต 4 จ�ำ นวน 3 คน เขต 5 จ�ำ นวน 4 คน 2. มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัครแบบบัญชีรายชื่อ จำ�นวน 20 พรรค ตารางที่ 5 ผลการเลือกต้ังสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบง่ เขต พ.ศ. 2548 เขต ผ้ไู ดร้ บั การเลอื กต้งั พรรค คะแนน 1 นายเกือ้ กลู ด่านชัยวจิ ติ ร ไทยรักไทย 46,519 2 นายพ้อง ชีวานนั ท์ ไทยรักไทย 60,487 3 นางสาวสวุ มิ ล พนั ธ์เจริญวรกลุ ไทยรักไทย 67,011 4 นายวทิ ยา บรู ณศิริ ไทยรักไทย 63,890 5 นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ ไทยรักไทย 47,568 25

นักการเมืองถน่ิ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ตารางท่ี 6 สถิติการใช้สทิ ธเิ ลือกตง้ั แบบแบ่งเขต พ.ศ. 2548 เขต ผู้มสี ิทธิ ผู้ใช้สทิ ธิ % บตั รดี % บัตรเสีย % คไะมแ่ลนงน % 1 108,843 84,513 77.65 - - 4,390 5.19 3,000 3.55 2 107,765 85,536 79.37 - - 5,723 6.69 3,049 3.56 3 117,800 91,600 77.81 - - 7,482 8.16 3,001 3.27 4 116,615 84,229 72.23 - - 6,488 7.70 2,740 3.25 5 110,102 83,204 75.57 - - 6,207 7.46 3,964 4.76 รวม 561,125 429,142 76.48 - - 30,290 7.06 15,754 3.67 ตารางที่ 7 สถติ ิการใชส้ ทิ ธิเลอื กตง้ั แบบบญั ชีรายชื่อพ.ศ. 2548 เขต ผมู้ สี ิทธิ ผใู้ ช้สิทธิ % บตั รดี % บตั รเสีย % คไะมแ่ลนงน % 1 108,843 84,513 77.65 - - 2,448 2.90 1,619 1.92 2 107,765 85,536 79.37 - - 3,110 3.64 1,553 1.82 3 116,800 91,660 77.81 - - 3,161 3.45 1,421 1.55 4 116,615 84,229 72.23 - - 2,755 3.27 1,246 1.48 5 110,102 83,204 75.57 - - 3,351 4.03 1,242 1.49 รวม 561,125 429,142 76.48 - - 14,825 3.45 7,081 1.65 ทีม่ า : (ส�ำ นักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา, 2548) 26

ข้อมูลทัว่ ไปของจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยาและงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง การเลอื กตั้งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรวนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2550 1. แบง่ เขตเลอื กตง้ั ออกเป็น 2 เขต 2. จำ�นวนสมาชิกในแตล่ ะเขต เขต 1 จำ�นวน 3 คน เขต 2 จ�ำ นวน 2 คน 3. มีผู้สมคั รรับเลือกต้งั แบบแบง่ เขต จ�ำ นวน 40 คน เขต 1 จำ�นวน 24 คน เขต 2 จ�ำ นวน 16 คน 4. มพี รรคการเมอื งสมคั รแบบสดั สว่ นในกลมุ่ จงั หวดั จ�ำ นวน 14 พรรค ตารางท่ี 8 รายชือ่ ผู้ท่ีได้รบั การเลือกตง้ั เขต 1 พ.ศ. 2550 ลำ�ดบั ที่ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การเลอื กตง้ั พรรค คะแนน 1 นายสุรเชษฐ์ ชัยโกศล พลังประชาชน 82,841 2 นายพอ้ ง ชวี านันท์ พลงั ประชาชน 81,578 3 นายเกือ้ กูล ด่านชยั วิจติ ร 71,702 ชาติไทย ตารางท่ี 9 รายชื่อผ้ทู ไ่ี ด้รับการเลือกต้ังเขต 2 พ.ศ. 2550 ล�ำ ดบั ท่ี ผู้ทไี่ ดร้ บั การเลือกตง้ั พรรค คะแนน 1 นายสุรศักด์ิ พนั ธ์เจริญวรกุล พลังประชาชน 95,633 2 นายวทิ ยา บรู ณศิริ พลังประชาชน 89,090 27

นักการเมอื งถ่ินจังหวดั พระนครศรีอยุธยา ตารางที่ 10 สถติ ิการเลือกตัง้ แบบแบง่ เขตพ.ศ. 2550 เขต ผมู้ ีสทิ ธิ ผใู้ ช้ รอ้ ย บัตร บตั ร บตั รดี ร้อย บัตร รอ้ ย ไม่ลง รอ้ ย สทิ ธิ ละ ทง้ั หมด ที่ใช้ ละ เสยี ละ คะแนน ละ 1 331,952 258,276 77.81 356,395 258,276 227,819 88.21 17,031 6.59 13,426 5.20 2 220,569 167,922 76.13 248,367 167,922 149,509 89.03 10,309 6.14 8,104 4.83 รวม 552,521 426,198 77.14 604,762 426,198 377,328 88.53 27,340 6.41 21,530 5.05 ตารางที่ 11 สถติ กิ ารเลอื กต้ังแบบสดั สว่ นพ.ศ.2550 เขต ผู้มสี ทิ ธิ ผ้ใู ช้ ร้อย บตั ร บัตร บตั รดี รอ้ ย บัตร รอ้ ย ไม่ลง รอ้ ย สิทธิ ละ ทัง้ หมด ท่ีใช้ ละ เสยี ละ คะแนน ละ 1 331,952 258,276 77.81 356,395 258,276 232,495 90.02 7,582 2.94 18,199 7.05 2 220,569 167,922 76.13 248,367 167,922 146,563 87.28 6,610 4.52 14,749 8.78 รวม 552,521 426,198 77.14 604,762 426,198 379,058 88.94 14,192 3.33 32,948 7.73 ท่ีมา : ( สำ�นกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ังจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา, 2551) 2. กรอบแนวคิดท่ใี ช้ในการศกึ ษา 1. แนวคดิ เกย่ี วกบั การเลอื กตง้ั และการรณรงคห์ าเสยี งเลอื กตง้ั การเลือกต้งั เป็นกลไกการใช้อำ�นาจอธิปไตยหรือการมีส่วนร่วม ทางการเมือง (Political Participation) ของประชาชนผู้เป็นเจ้าของ อำ�นาจอธิปไตยไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้แทนที่มีนโยบายตรงตามความ ต้องการของตนเองเพ่ือให้เขาเหล่าน้ันไปใช้อำ�นาจอธิปไตยแทนตน 28

ข้อมูลทว่ั ไปของจงั หวดั พระนครศรีอยุธยาและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ด้วยความชอบธรรมเพ่ือลดภาวะความตึงเครียดขจัดความขัดแย้งหรือ การสืบทอดอำ�นาจและเป็นกลไกท่ีจะควบคุมให้ผู้แทนที่ดำ�รงตำ�แหน่ง จากการเลอื กตงั้ ตระหนกั อยเู่ สมอวา่ ตนเองตอ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ ประชาชน เพราะประชาชนจะเป็นผู้กำ�หนดอนาคตทางการเมืองของตนด้วยการ เลือกหรือไม่เลอื กตนให้กลับเขา้ มาทำ�หน้าที่ผู้แทนอกี (วัชรา ไชยสาร, 2544, หนา้ 11) การเลือกต้ังท่ีสอดคล้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย และเป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งการใช้อำ�นาจของประชาชนจะต้องมี หลักการดงั นี้ (วิสทุ ธ์ิ โพธ์ิแทน่ และพรศกั ดิ์ ผ่องแผ้ว, 2540 หนา้ 49) 1. ต้องเป็นการเลอื กต้ังโดยลบั 2. ตอ้ งเปน็ การเลอื กตงั้ โดยเสรเี ปน็ ไปอยา่ งอสิ ระปราศจากการ ขม่ ขหู่ รือกลน่ั แกลง้ จากฝา่ ยใดๆ 3. ตอ้ งเปน็ การเลอื กต้ังทม่ี ีความเสมอภาคกัน กลา่ วคอื บุคคล ทีม่ ีสทิ ธอิ อกเสยี งเลือกตั้งมีสิทธอิ อกเสียงคนละ 1 คะแนนและถือเปน็ 1 คะแนนเท่ากนั (one man one vote) 4. ตอ้ งมกี ารเลือกตงั้ เป็นวาระและกำ�หนดระยะเวลาแน่นอน 5. ต้องมกี ารเลอื กตัง้ เปน็ การทวั่ ไป (universal) คือเปิดโอกาส ใหป้ ระชาชนผมู้ คี ณุ สมบตั ไิ ดเ้ ลอื กตง้ั อยา่ งทวั่ ถงึ ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ กลมุ่ ใดกลุ่มหนง่ึ 6. ตอ้ งเปน็ การเลอื กตง้ั ทบ่ี รสิ ทุ ธย์ิ ตุ ธิ รรมและเปน็ ไปตามกฎหมาย อย่างไรก็ตามจากการศึกษาวิจัยพบว่า การเลือกตั้งในประเทศ ไทยมไิ ดเ้ ปน็ ไปตามหลกั การเลอื กตงั้ อยา่ งแทจ้ รงิ แตเ่ ปน็ การเลอื กตง้ั ทมี่ ี การใชเ้ ทคนคิ หรอื ยทุ ธวธิ ตี า่ งๆทง้ั ทเี่ ปน็ ไปตามกฎหมายและทไ่ี มเ่ ปน็ ไป ตามกฎหมาย หรอื บางกรณอี าจไมถ่ งึ ขนั้ ผดิ กฎหมายแตไ่ มเ่ หมาะสมไม่ 29

นักการเมอื งถน่ิ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ถกู ตอ้ งตามหลกั จรยิ ธรรมทางการเมอื ง เชน่ การแจกสง่ิ ของ การสญั ญา ว่าจะให้ การแจกเงนิ หรือแมก้ ระท่งั การใช้วธิ ีการรุนแรงทีผ่ ดิ กฎหมาย ในท่ามกลางการแข่งขันทางการเมืองที่รุนแรงในปัจจุบัน นัก การเมืองจ�ำ นวนหน่ึงมีการใชเ้ ทคนิคหรอื กลยุทธใ์ นการรณรงคห์ าเสียง เลือกต้ังซ่ึงมีความสลับซับซ้อนและยากแก่การตรวจสอบมากขึ้น มกี ารใชว้ ธิ กี ารทหี่ ลากหลายเพอ่ื ใหส้ ามารถเอาชนะคแู่ ขง่ ไดโ้ ดยเฉพาะ ในพื้นท่ีท่ีมีการแข่งขันรุนแรงหรือมีการแข่งขันของพรรคการเมืองใหญ่ ตั้งแต่ 2 พรรคข้ึนไป ยุทธวิธีการรณรงค์หาเสียงที่มีประสิทธิภาพนำ�ไปสู่การได้รับ ชัยชนะในการเลือกต้ังซึ่งในหลายกรณีชัยชนะในการเลือกต้ังมิได้ข้ึน อยู่กับคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งเลย หากแต่มีตัวแปรสำ�คัญ ของชยั ชนะอยทู่ กี่ ระบวนการหรอื ยทุ ธวธิ ใี นการหาเสยี งเลอื กตง้ั นน่ั เอง การก�ำ หนดยทุ ธวธิ ใี นการรณรงคห์ าเสยี งเลอื กตงั้ มอี งคป์ ระกอบ อย่างนอ้ ย 4 เร่ือง (เพยี งกมล มานะรตั น์, 2547, หนา้ 25) 1. การสำ�รวจบริบทหรือสภาพแวดล้อมของการเลือกตั้ง (Contextual Environment) เชน่ กฎหมาย ระเบยี บขอ้ บังคับต่างๆทม่ี ี สภาพบังคับต่อการเลือกตั้ง การสำ�รวจฐานเสียงของฝ่ายตนและฝ่าย ตรงข้ามหรือคู่แข่ง การประเมนิ สภาพและความเขม้ แข็งของหัวคะแนน การประเมนิ สภาพของกลไกรฐั ในทอ้ งถน่ิ ทจ่ี ะใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ น หรอื เป็นขอ้ จ�ำ กัดของคู่แข่ง ปญั หาของพื้นท่เี ป็นตน้ 2. การจัดองค์กรบริหารการหาเสียงและยุทธวิธีท่ีใช้ในการ หาเสยี ง ซึ่งแบ่งออกได้เปน็ 2 สว่ น คอื 2.1 องค์กรบริหารการเลือกต้ังซ่ึงนับเป็นปัจจัยสำ�คัญ ที่จะทำ�ให้การรณรงค์หาเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นไปอย่างมี 30

ข้อมลู ทั่วไปของจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยาและงานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ ง ประสิทธิภาพ ในหลายกรณีการจัดองค์กรบริหารการหาเสียงอาจเป็น ตัวบ่งช้ีท่ีสำ�คัญของชัยชนะในการเลือกตั้งก็เป็นได้ โดยท่ัวไปองค์กร บริหารการหาเสียงจะมีการจัดแบ่งโครงสร้างออกเป็นส่วนต่างๆดังน้ี (สมบัติ จนั ทรวงศ์ , 2529, หน้า 24-25) - ส่วนวางแผนหรือเสนาธิการ - สว่ นการขา่ วและประเมนิ สถานการณ์ - สว่ นประชาสัมพันธ์ - สว่ นหาเสียงในพ้ืนทหี่ รอื หน่วยปฏบิ ตั กิ ารภาคสนาม - หนว่ ยเสบียง,จดั เลีย้ งและตอ้ นรบั - หน่วยการเงินและธรุ การ 2.2 ยุทธวิธีการรณรงคห์ าเสยี ง หมายถึงวิธีการหรือการใช้ ช่องทางต่างๆเพื่อให้ได้มาซ่ึงความได้เปรียบหรือชัยชนะในการเลือก ต้งั เหนอื คแู่ ขง่ ซงึ่ อาจแบง่ ออกเปน็ 3 ลักษณะคอื 2.2.1 รูปแบบท่ีเปิดเผยและถูกกฎหมายเช่นการใช้สื่อ ประชาสัมพนั ธ์ การปราศรยั หาเสียง การเดนิ เคาะประตูบ้าน 2.2.2 รูปแบบที่ไม่ผิดกฎหมายแต่ไม่ถูกต้องตามหลัก จริยธรรมหรือหม่ินเหม่ต่อการกระทำ�ผิดกฎหมายเลือกตั้งเช่น การ ใส่ร้ายป้ายสีคู่แข่ง การให้ข้อมูลท่ีไม่ถูกต้อง การใช้อำ�นาจหน้าที่เอื้อ ประโยชนต์ ่อผสู้ มัครเปน็ ต้น 2.2.3 รูปแบบที่ไมเ่ ปิดเผยและผดิ กฎหมายเช่น การซอื้ เสียง การซื้อหัวคะแนน การใช้อิทธิพล การข่มขู่ผู้สมัครฝ่ายตรงข้าม หรือหัวคะแนนของฝา่ ยตรงขา้ ม การท�ำ รา้ ยเปน็ ต้น 31

นกั การเมืองถ่นิ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 3. การจัดกลมุ่ เป้าหมายในการรณรงค์หาเสยี ง กลุ่มเป้าหมายอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ (Edie N.Goldenberg and Michel W.Trangot ,1989 อ้างในเพียงกมล มานะรตั น,์ 2547, หนา้ 29) 3.1 จ�ำ แนกตามชนชนั้ ของประชาชนผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ซงึ่ แบง่ ออกเป็น 3 กลมุ่ ได้แก่ 3.1.1 ชนชน้ั สงู ไดแ้ ก่ ผมู้ ีฐานะดีรายได้สงู มีการศกึ ษาสงู เป็นเจา้ ของกิจการ ผู้น�ำ ท้องถน่ิ หรือผดู้ ำ�รงต�ำ แหน่งทางการเมอื งหรือ ผบู้ ริหารระดับสูง 3.1.2 ชนชนั้ กลาง ไดแ้ ก่ ผมู้ ฐี านะทางเศรษฐกจิ สงั คม ในระดับกลางส่วนใหญ่อาจเป็นผู้ประกอบอาชพี ทไ่ี ด้รับเงนิ เดือน เช่น ข้าราชการ พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ ลูกจ้างเอกชน ผูป้ ระกอบกจิ การราย ยอ่ ย รา้ นค้า เป็นตน้ 3.1.3 ชนช้ันล่าง ได้แก่ผู้มีรายได้น้อย มีอาชีพรับจ้าง ผู้ใชแ้ รงงาน ค้าขายขนาดเล็ก เป็นตน้ การใชย้ ทุ ธวธิ ใี นการรณรงคห์ าเสยี ง จงึ ตอ้ งก�ำ หนดใหเ้ หมาะสม กับลักษณะทางสังคมจิตวิทยาของกลุ่มเป้าหมาย จึงจะสามารถได้รับ การสนับสนุนในการเลือกตงั้ 3.2 จ�ำ แนกตามฐานเสียง แบ่งเปน็ 3 กลุ่มคอื 3.2.1 กลุ่มเป้าหมายท่ีผู้สมัครมั่นใจว่าจะตัดสินใจลง คะแนนเสียง ให้ตนเองอย่างแนน่ อน 3.2.1 กลมุ่ เปา้ หมายทย่ี งั ไมต่ ดั สนิ ใจวา่ จะเลอื กใครกลมุ่ นี้จะเป็นกลุ่มเป้า หมายที่มีความสำ�คัญที่สุดที่ผู้สมัครจะต้องทุ่มเท ปรบั กลยทุ ธท์ กุ รปู แบบเพอ่ื ทจ่ี ะแยง่ ชงิ กลมุ่ เปา้ หมายกลมุ่ นม้ี าเปน็ ฐาน 32

ขอ้ มลู ทั่วไปของจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยาและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วข้อง คะแนนเสียงให้กับตนเอง 3.2.3 กลุ่มเปา้ หมายท่สี นบั สนุนคแู่ ข่งหรอื ฝ่ายตรงข้าม ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายท่ี “เจาะยาก” ผู้สมัครรับเลือกตั้งอาจตัดกลุ่ม เปา้ หมายนที้ ง้ิ ไปเพราะไมม่ ปี ระโยชนท์ จี่ ะทมุ่ เททรพั ยากรและเวลาเพอ่ื หวงั ทจี่ ะไดร้ บั คะแนนเสยี งแตอ่ าจจะใชก้ ลยทุ ธท์ จี่ ะท�ำ ไมใ่ หฝ้ า่ ยตรงขา้ ม ได้ประโยชนจ์ ากกลุ่มนมี้ ากนกั 4. ห้วงเวลาในการรณรงค์หาเสยี ง ห้วงเวลาในการรณรงค์หาเสียงเป็นเง่ือนไขสำ�คัญอีกประการ หนง่ึ ในการก�ำ หนดชยั ชนะหรอื ความพา่ ยแพใ้ นการเลอื กตงั้ การก�ำ หนด ยุทธศาสตร์ต้องสัมพันธ์กับห้วงเวลา เน่ืองจากทรัพยากรท่ีใช้ในการ เลือกตั้งมีอยู่จำ�กัด ดังน้ันการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ในกรณขี องหว้ งเวลานเี้ ราอาจแบ่งได้ 3 ชว่ ง ดังนี้ 1. ชว่ งต้นฤดเู ลอื กตั้ง 2. ชว่ งฤดกู ารรณรงค์ 3. ชว่ งปลายฤดเู ลอื กตง้ั หรอื 10 วนั สดุ ทา้ ยหรอื โคง้ สดุ ทา้ ยกอ่ น การเลอื กตงั้ ซงึ่ เปน็ ระยะเวลาทม่ี คี วามส�ำ คญั สงู สดุ ผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั จะน�ำ กลยทุ ธต์ า่ งๆตลอดจนทรพั ยากรทจี่ ะตอ้ งใชใ้ นการรณรงคห์ าเสยี ง ทกุ ชนดิ ระดมเขา้ สพู่ นื้ ทเี่ ขตเลอื กตงั้ ในชว่ งเวลานอี้ าจมกี ารใชม้ าตรการ ท่ผี ิดกฎ หมายไดม้ ากในชว่ งเวลานี้ อย่างไรก็ตามนักการเมืองท่ีมีประสบการณ์สูงและเป็นสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรมานานจะมีการลงพื้นที่ที่เป็นฐานเสียงอย่าง สม่ำ�เสมออยู่แล้ว ห้วงเวลาอาจมีผลต่อการรณรงค์หาเสียงอยู่บ้างแต่ ไม่มากนัก ตัวแปรที่สำ�คัญอีกประการหน่ึงคือวัฒนธรรมของแต่ละ 33

นกั การเมืองถ่นิ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ท้องถิ่นจะเป็นตัวกำ�หนดพฤติกรรมเก่ียวกับห้วงเวลาของผู้สมัคร รบั เลอื กตงั้ ดว้ ยเชน่ กนั ในภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื การ ลงพนื้ ทอ่ี ยา่ งสม�่ำ เสมอ ความใกลช้ ดิ ในเรอื่ งงานบญุ ตามประเพณตี า่ งๆ มคี วามส�ำ คญั อยา่ งยง่ิ ผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ ไมส่ ามารถทมุ้ เทเวลาเฉพาะ ใกลเ้ ลอื กตั้งกับกลุม่ เป้าหมายเหล่านไี้ ด้ 2. แนวคดิ เก่ียวกบั ระบบอุปถัมภแ์ ละการแลกเปล่ียน กรอบแนวคดิ ทนี่ กั วชิ าการและผศู้ กึ ษาเกยี่ วกบั การเลอื กตงั้ หรอื นักการเมืองถิ่นนิยมใช้ในการศึกษาและมีพลังอธิบายปรากฎการณ์ใน ท้องถิ่นค่อนข้างมากคือ กรอบแนวคิดเก่ียวกับระบบอุปถัมภ์และการ แลกเปลี่ยน ในงานศึกษาเกี่ยวกับ “การเมืองถ่ิน” และ “นักการเมือง ถนิ่ ” จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผศู้ ึกษามคี วามเหน็ วา่ แนวคิดเก่ียวกับ ระบบอปุ ถมั ภแ์ ละการแลกเปลยี่ นสามารถน�ำ มาใชเ้ ปน็ กรอบแนวคดิ ใน การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเชน่ กนั โดยพจิ ารณาจากประเดน็ ตา่ งๆ ดงั น้ี 1) เงอื่ นไขและลกั ษณะของความสัมพนั ธ์แบบอุปถมั ภ์ในบริบท ของสงั คมไทย 2) ความสมั พนั ธแ์ บบอปุ ถัมภก์ บั การเลือกต้งั 3) ความสมั พันธร์ ะหวา่ งผูส้ มัครรบั เลือกตงั้ กับหวั คะแนน 4) ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งหัวคะแนนกับประชาชน เงื่อนไขและลักษณะความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ในบริบทของ สงั คมไทย Jame C.Scott (อา้ งในอมรา พงศาพชิ ญ์ และปรชี า ควุ นิ ทรพ์ นั ธ,์ 2543, หน้า 3-4) อธิบายว่าเป็นความสัมพันธ์เชิงแลกเปลี่ยนระหว่าง คนในสังคมที่มีฐานะบทบาทต่างกันและอาจพิจารณาเป็นแบบหน่ึง 34

ข้อมูลทัว่ ไปของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและงานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ของความสัมพันธ์แบบมีพลวัต ซ่ึงเป็นความผูกพันของมิตรภาพแบบ ประโยชนใ์ ชส้ อย โดยคนทม่ี ฐี านะทางเศรษฐกจิ และสงั คมทส่ี งู กวา่ หรอื เรียกว่า “ผู้อุปถัมภ์” (Patron) จะใช้อิทธิพลหรือสิ่งท่ีตนมีอยู่คุ้มครอง หรือให้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างแก่ผู้ที่ฐานะต่ำ� กว่าหรือท่ีเรียกว่า “ผู้รับอุปถัมภ์” (Client) ซ่ึงผู้ได้รับการอุปถัมภ์ก็มัก ตอบแทนผอู้ ปุ ถมั ภด์ ว้ ยการใหค้ วามจงรกั ภกั ดแี บบชว่ ยเหลอื ตอบแทน ทั้งนี้รวมถึงการอุทิศตนรับใช้แก้ผู้อุปถัมภ์ ระบบอุปถัมภ์เป็นลักษณะ เดน่ ประการหนง่ึ ของสังคมไทย (อคนิ ระพพี ฒั น์ อ้างใน อมรา พงศา- พิชญ์ และ ปรชี า ควุ ินทรพ์ ันธ์, 2543, หนา้ 57) เนอ่ื งจากเปน็ สงั คมที่ มกี ารก�ำ หนดสถานภาพของบคุ คลลดหลน่ั จากบนสลู่ า่ ง กลา่ วคอื สงั คม ไทยเป็นสังคมท่ีมีโครงสร้างที่เน้นความแตกต่างระหว่างชนช้ัน ฐานะ ต�ำ แหน่งได้แกค่ วามสัมพันธ์ระหวา่ งผ้อู ุปถมั ภ์ทีม่ ีฐานะต�ำ แหนง่ สูงกวา่ และผใู้ ตอ้ ปุ ถมั ภท์ ม่ี ฐี านะต�่ำ กวา่ นอกจากนรี้ ะบบอปุ ถมั ภย์ งั เปน็ ผลมา จากความเช่ือของสังคมไทยเรื่องบุญกรรมและเรื่องตายแล้วเกิดใหม่ เช่น ความเช่ือที่ว่าผู้เกิดมาท่ามกลางเงินทองทรัพย์สมบัติ มีอำ�นาจ วาสนาเป็นเพราะผลบุญท่ีทำ�ไว้แต่ชาติปางก่อนเหตุที่คนเราเกิดมาไม่ เท่าเทียมกันเป็นเพราะบุญบารมีอันได้สะสมไว้แต่ปางก่อน เม่ือมีการ ยดึ ถอื ความแตกตา่ งในระดบั สงู -ต�ำ่ ของฐานะต�ำ แหนง่ เปน็ หลกั จงึ พบวา่ ความสมั พนั ธข์ องบคุ คลทแี่ ตกตา่ งกนั เปน็ แบบแผนทมี่ คี วามส�ำ คญั ยงิ่ ใน การจัดระเบียบสงั คมในด้านพฤตกิ รรม ความสมั พนั ธ์ที่สำ�คญั และเห็น ได้ง่ายท่ีสดุ คอื ความสมั พนั ธ์แบบผ้ใู หญ่-ผนู้ อ้ ย หรอื ความสมั พนั ธ์แบบ ลกู พ-่ี ลกู นอ้ งอนั เปน็ ความสมั พนั ธท์ ต่ี งั้ อยบู่ นรากฐานความไมเ่ สมอภาค ในการแลกเปลย่ี นผลประโยชน์ ไมว่ า่ จะเปน็ ผลประโยชนด์ า้ นเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง ความสัมพันธแ์ บบอปุ ถมั ภ์กับการเลอื กตัง้ ความ 35

นกั การเมอื งถ่ินจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา สัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ได้แปรรูปไปสู่การรณรงค์หาเสียงเลือกต้ังใน 4 ลกั ษณะด้วยกัน (Jame C.Scott อ้างใน อมรา พงศาพิชญ์ และปรีชา ควุ นิ ทรพ์ ันธ์ : 2543, 100-106) 1. ช่วยปรบั ปรงุ อ�ำ นาจต่อรองของผรู้ บั อุปถัมภต์ อ่ ผู้อปุ ถมั ภใ์ น การเลือกตง้ั โดยผรู้ บั อุปถัมภ์ได้รบั ทรพั ยากรทางการเมอื งใหม่ ด้วย การลงคะแนนเสียงหรือไม่ลงคะแนนเสียงมีผลกระทบต่อผู้สมัครรับ เลือกต้ังท่ีต้องการได้ตำ�แหน่ง คะแนนเสียงนี้สามารถกลายเป็นผล ประโยชนข์ องผ้รู ับอุปถมั ภ์ 2. ส่งผลสนับสนุนให้เกิดบูรณาการในระดับแนวตั้งของ โครงสร้างแบบผู้อุปถัมภ์จากระดับหมู่บ้านจนถึงรัฐบาลกลาง ในการ เลือกต้ังระดับชาติพรรคการเมืองจะเข้าสู่กระบวนการท่ีเป็นทางการ มากขน้ึ เช่น จากการศึกษาการเลอื กต้งั นายกเทศมนตรีเทศบาลนคร เชียงใหม่ พ.ศ. 2547 พบวา่ ผสู้ มคั รซ่ึงอยใู่ นฐานะผู้อปุ ถมั ภพ์ ยายาม สร้างเครือขา่ ยความสัมพนั ธ์เชงิ อุปถัมภข์ ึ้น ภายในชมุ ชนต่างๆ พร้อม กับการนำ�ผู้รับการอุปถัมภ์เข้าสู่ตำ�แหน่ง โครงสร้างท่ีเป็นทางการของ ชุมชน เช่น กลุ่มสตรี กรรมการชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข หรือ พยายามชักจูงแกนนำ�ชุชนอยแู่ ลว้ ให้เขา้ สู่การเป็นพรรคพวก หรอื ผูร้ ับ การอปุ ถมั ภเ์ พอ่ื สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ผสู้ มคั รในการเลอื กตง้ั เพราะ สามารถเปลย่ี นอ�ำ นาจในเชงิ ความสมั พนั ธอ์ ปุ ถมั ภใ์ หก้ ลายเปน็ คะแนน เสียงได้ 3. นำ�ไปสู่การสร้างกลุ่มอุปถัมภ์แบบปิรามิดและทำ�ให้ความ สัมพนั ธแ์ บบอุปถัมภก์ ลายเปน็ การเมือง กลา่ วคือ ผอู้ ุปถมั ภ์ทอ้ งถน่ิ ก็จะพยายามยิง่ ขึ้นในการผกู ความสมั พนั ธ์กบั คนอนื่ ให้มาเป็นผรู้ ับการ อปุ ถัมภเ์ พือ่ ใหฐ้ านะของตนในการเลือกต้งั เข้มแข็งขึ้น เปน็ การเปลย่ี น 36

ข้อมูลทัว่ ไปของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้อง อ�ำ นาจสว่ นตวั ใหม้ าเปน็ อ�ำ นาจทางการเมอื งในรปู แบบของคะแนนเสยี ง 4. ชว่ ยเสรมิ สรา้ งใหก้ ลมุ่ อปุ ถมั ภแ์ ละผรู้ บั การอปุ ถมั ภท์ เี่ ปน็ กลมุ่ ตรงข้ามกัน ยงั คงอย่ไู ด้ในระดับทอ้ งถ่ิน 3. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผรู้ บั สมคั รรบั เลอื กตง้ั กบั หวั คะแนน เน่ืองจากความกว้างใหญ่ในเขตพ้ืนที่การเลือกตั้งและปริมาณ ของผู้รับการอุปถัมภ์มีเป็นจำ�นวนมาก ผู้อุปถัมภ์คนเดียวไม่สามารถ ดูแลและควบคุมได้อย่างท่ัวถึงจึงจำ�เป็นต้องมีการจัดระบบย่อยเพ่ือ การระดมผรู้ บั การอปุ ถมั ภแ์ ละในขณะเดยี วกนั การควบคมุ คะแนนเสยี ง และการสนบั สนนุ ของผรู้ บั การอปุ ถมั ภใ์ หเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพจงึ จำ�เป็นต้องมีคนกลางหรือผู้ช่วยเหลือผู้อุปถัมภ์ซ่ึงได้แก่ “หัวคะแนน” น่ันเอง (สมบตั ิ จันทร์วงศ์, 2529,หน้า 47-48) ไดแ้ บง่ ประเภทของหวั คะแนนตามลกั ษณะความสัมพนั ธก์ บั ผสู้ มัครออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. หวั คะแนนหลกั หรอื หวั คะแนนระดบั หนงึ่ ไดแ้ กบ่ คุ คลทม่ี คี วาม ผูกพันสนิทสนมกับผู้สมัครในทางใดทางหน่ึงมาก่อนการเลือกตั้ง เช่น เป็นญาติพี่น้อง คนที่เคยมีบุญคุณเคยอุปถัมภ์มาก่อนหรือเป็นบุคคล ที่ผู้สมัครไว้เนื้อเชื่อใจได้ว่าจะให้การสนับสนุนแก่ตนโดยสุจริตไม่ได้ หวังอามิสสินจ้างในรูปหนึ่งรูปใดทันที หัวคะแนนระดับน้ียังต้องเป็น บุคคลท่ีกว้างขวางมีสมัครพรรคพวกหรือคนรู้จักในท้องถ่ินมากและรู้ ตน้ื ลกึ หนาบางของการเมอื งในทอ้ งถน่ิ ดพี อทจ่ี ะชว่ ยกลนั่ กรองคดั เลอื ก คนท่จี ะเข้ามาช่วยงานหาเสียงของผูส้ มัครได้อยา่ งถูกตอ้ ง หวั คะแนน ระดบั หน่งึ นโี้ ดยปกตแิ ลว้ ไมล่ งไปสัมผสั กบั ชาวบ้านในระดับ “แปรเสยี ง ใหเ้ ป็นคะแนน” โดยตรงแต่จะเป็นคนทเ่ี ปน็ ตวั กลางติดต่อและควบคุม หัวคะแนนในระดับล่างๆใหแ้ กผ่ สู้ มคั รอีกทหี น่ึง 37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook