Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสมศรี

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสมศรี

Published by so.ra11042522, 2022-06-01 13:45:37

Description: หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสมศรี

Search

Read the Text Version

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ัดกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตรใ์ นกล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานพุทธศกั ราช๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธกิ าร ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสัง่ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ดั กลุ่มสาระการ เรยี นร้คู ณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำส่งั ใหโ้ รงเรยี นดำเนินการใช้ หลกั สูตรในปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ โดยใหใ้ ชใ้ นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ และ ๔ ตง้ั แตป่ กี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน็ ต้น มา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเปา้ หมายและ กรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทกั ษะการเรยี นรใู้ น ศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ือใหส้ อดคล้องกบั นโยบายและเปา้ หมายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบา้ นสมศรีจึงได้ทำการปรบั ปรุงหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ในกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ ภมู ศิ าสตรใ์ นกลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เพื่อนำไปใช้ประโยชนแ์ ละเป็นกรอบ ในการวางแผนและพฒั นาหลักสตู รของสถานศึกษาและจดั การเรียนการสอน โดยมเี ป้าหมายในการพฒั นา คุณภาพผู้เรยี น ให้มกี ระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏบิ ัติ โดยมีการกำหนดวิสยั ทัศน์ จดุ หมาย สมรรถนะ สำคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชีว้ ัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มคี วามสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้เปดิ โอกาสให้โรงเรยี นสามารถ กำหนดทศิ ทางในการจัดทำหลักสตู รการเรียนการสอนในแตล่ ะระดับตามความพร้อมและจดุ เน้นโดยมีกรอบ แกนกลางเป็นแนวทางทชี่ ดั เจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์๔.๐มคี วามพร้อมในการกา้ วสสู่ งั คม คณุ ภาพ มีความร้อู ย่างแท้จริง และมที ักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้ีวดั ทก่ี ำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำใหห้ นว่ ยงานท่เี กย่ี วข้อง ในทุก ระดับเหน็ ผลคาดหวงั ท่ีต้องการในการพัฒนาการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนทีช่ ดั เจนตลอดแนว ซงึ่ จะสามารถช่วยให้ หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องในระดับท้องถน่ิ และสถานศึกษารว่ มกันพัฒนาหลกั สูตรได้อย่างม่นั ใจ ทำใหก้ ารจัดทำ หลักสูตรในระดบั สถานศกึ ษามคี ุณภาพและมคี วามเป็นเอกภาพยง่ิ ขึน้ อีกทง้ั ยังชว่ ยให้เกิดความชัดเจนเรื่อง การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ และชว่ ยแก้ปญั หาการเทียบโอนระหวา่ งสถานศกึ ษา ดังนั้นในการพฒั นา หลักสตู รในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาตจิ นกระทั่งถึงสถานศกึ ษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการ เรยี นรแู้ ละตัวชี้วดั ทก่ี ำหนดไว้ในหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน รวมท้ังเปน็ กรอบทิศทางในการจัด การศกึ ษาทุกรูปแบบ และครอบคลมุ ผเู้ รียนทุกกลุ่มเปา้ หมายในระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน การจดั หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝา่ ย ท่ี เกย่ี วข้องท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครวั และบุคคลต้องร่วมรบั ผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ และตอ่ เนื่อง ในการวางแผน ดำเนนิ การ ส่งเสริมสนบั สนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แก้ไข เพ่ือพฒั นา เยาวชนของชาตไิ ปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่กี ำหนดไว้ นายสรวทิ ย์ โรจนะ ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นสมศรี

สารบญั เรือ่ ง หน้า ส่วนที่ ๑ ส่วนนำ ๑ - ความนำ ๑ - ความสำคัญของหลักสตู รสถานศึกษา ๑ - ลกั ษณะของหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ๒ - วสิ ยั ทัศนห์ ลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ๔ - สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๔ ๖ สว่ นที่ ๒ โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านสมศรี ๖ - โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นสมศรี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ ๘ - โครงสร้างเวลาเรยี นหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นสมศรี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ๑๖ ๑๗ ส่วนท่ี ๓ คำอธบิ ายรายวชิ า ๒๔ - กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๓๒ - กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ๔๒ - กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖๓ - กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๗๑ - กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา ๘๒ - กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ๘๗ - กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ๙๙ - กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ ๙๙ ๙๙ สว่ นท่ี ๔ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑๐๑ - กจิ กรรมแนะแนว ๑๐๒ - กจิ กรรมนักเรยี น ๑๒๐ - กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๒๐ - คำอธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๔ ส่วนที่ ๕ เกณฑ์การจบการศึกษา ๑๒๖ - เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา ๑๒๗ ๑๒๘ เกณฑ์การวดั และประเมินผลผลการเรยี น การบริหารจดั การหลักสตู ร ๑๓๐ ภาคผนวก คำส่งั สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต ๑ เรอ่ื ง แต่งตั้ง ๑๓๒ ๑๓๘ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและงานวชิ าการฯ - คำส่ังโรงเรียนบ้านสมศรี ที่ ๑๗/๒๕๖๕ เร่ือง แตง่ ต้งั คณะกรรมการปรบั ปรุงและ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ฯ แบบตรวจสอบหลกั สูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๕ สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองคป์ ระกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา พุทธศกั ราช ๒๕๖๕

สว่ นที่ ๑ ส่วนนำ ความนำ หลักสูตรโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) เป็นแผน หรือแนวทาง หรือ ข้อกำหนดของการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านสมศรี ที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มี ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต แล ะมี คุณภาพได้มาตรฐานสากลเพื่อการแข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังนั้นหลักสูตรโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) จึงประกอบดว้ ยสาระสำคญั ของหลักสตู รแกนกลาง สาระความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท้องถิ่น และสาระสำคัญที่สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม โดยจัดเป็นสาระการ เรียนรรู้ ายวชิ าพืน้ ฐานตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูร้ ายวิชาเพ่ิมเติม จดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนเปน็ รายปีในระดับประถมศึกษา เป็นรายภาคในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น และกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ หลักสตู รแกนการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ความสำคญั หลักสูตรโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) มคี วามสำคัญในการพฒั นาผ้เู รียนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้เป็นแนวทางให้ผู้บริหาร สถานศึกษา ครู อาจารย์ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในการจัดมวล ประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้พัฒนาให้บรรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐานในการพัฒนาเยาวชนของชาติ นอกเหนือจากการใช้เป็นแนวทาง หรือข้อกำหนดในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้บรรลุตาม จุดหมายของการจัดการศึกษาแล้ว หลักสูตรโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ที่พัฒนาขึ้น ยังเป็นหลักสูตรที่มีจุดมุ่งหมายให้ครอบครัว ชุมชน องค์กรในท้องถิ่น ทั้งภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมจัด การศึกษาของสถานศึกษา โดยมีแนวทางสำคญั ท่ีสถานศกึ ษากำหนดไวใ้ นหลักสูตรสถานศึกษา ดังน้ี ๑. หลกั สูตรโรงเรียนบ้านสมศรี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาให้ผู้เรยี นเกิดความสนุกสนาน และ

ความเพลิดเพลนิ ในการเรียนรู้เปรยี บเสมือนเป็นวธิ ีสร้างกำลังใจ และเร้าใหเ้ กิดความกา้ วหน้าแก่ผู้เรียนให้ มากที่สุด มีความรู้สูงสุด ผู้เรียนทุกคนมีความเข้มแข็ง ความสนใจ มีประสบการณ์ และความมั่นใจ เรียน และทำงานอย่างเป็นอิสระและร่วมใจกัน มีทักษะในการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น รู้ข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยสี อื่ สาร สง่ เสรมิ จติ ใจท่ีอยากร้อู ยากเห็น และมีกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล ๒. หลักสูตรโรงเรียนบ้านพุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ส่งเสริมการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวัฒนธรรม พัฒนาหลักการในการจำแนกระหว่างถูกและผิด เข้าใจและศรทั ธาในความเชื่อของ ตน ความเชือ่ และวฒั นธรรมท่ีแตกต่างกัน พฒั นาหลักคณุ ธรรมและความอสิ ระของผู้เรียน และช่วยให้เป็น พลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สามารถช่วยพัฒนาสังคมให้เป็นธรรมขึ้นมีความเสมอภาค พัฒนาความ ตระหนัก เข้าใจ และยอมรับสภาพแวดล้อมที่ตนดำรงชีวิตอยู่ ยึดมั่นในข้อตกลงร่วมกันต่อการพัฒนาท่ี ยง่ั ยนื ทัง้ ในระดบั ส่วนตน ระดับท้องถน่ิ ระดบั ชาติ และระดับโลก สรา้ งใหผ้ เู้ รียนมคี วามพรอ้ มในการเป็น ผ้บู รโิ ภคทตี่ ดั สนิ ใจแบบมขี ้อมูล เป็นอสิ ระ และมีความรบั ผิดชอบ ลกั ษณะของหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านสมศรี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ หลักสูตรโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาได้พัฒนาขึ้นเพื่อ พัฒนาผู้เรียนในระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น โดยยึดองค์ประกอบหลักสำคัญ ๓ ส่วนคือ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น และสาระสำคัญที่สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม เป็นกรอบในการจัดทำรายละเอียด เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กำหนด เหมาะสมกับสภาพชุมชนและท้องถิ่นและ จุดเน้นของสถานศึกษา โดยหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ที่พัฒนาขึ้นมี ลักษณะของหลกั สตู ร ดังน้ี ๑. เป็นหลักสูตรเฉพาะของโรงเรียนบ้านสมศรี สำหรับจัดการศึกษาในหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ระดับประถมศกึ ษา (ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖) ๒. มคี วามเป็นเอกภาพ หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) เป็นหลักสูตรของ สถานศึกษาสำหรับใหค้ รูผสู้ อนนำไปจัดการเรียนรไู้ ด้อยา่ งหลากหลาย โดยกำหนดให้ ๒.๑ มสี าระการเรียนร้ทู ่ีสถานศึกษาใชเ้ ป็นหลักเพ่ือสรา้ งพื้นฐานการคดิ การเรียนรู้ และ การแก้ปัญหา ประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ๒.๒ มีสาระการเรียนรู้ที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศักยภาพการคิดและการทำงาน ประกอบดว้ ย สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ศลิ ปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี และภาษาองั กฤษ

๒.๓ มีสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม โดยจัดทำเป็นรายวิชาเพิ่มเติมตามความเหมาะสมและ สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียน สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ความต้องการของผู้เรียน และบริบทของ สถานศึกษา ๒.๓ มีกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อพัฒนาผเู้ รียนทั้งดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ และ สงั คม เสริมสร้างการเรียนรูน้ อกจากสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และการพัฒนาตนตามศกั ยภาพ ๒.๔ มีการกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับต่างๆ เพื่อ เป็นเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจัด กระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั สภาพในชมุ ชน สังคม และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ๓. มมี าตรฐานการเรียนรเู้ ป็นเปา้ หมายสำคัญของการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น หลกั สตู รโรงเรียนบ้าน สมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) เปน็ หลักสตู รที่มีมาตรฐานเป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ของผู้เรยี น เพ่ือเป็นแนวทางในการประกนั คณุ ภาพการศึกษา โดยมีการกำหนดมาตรฐานไว้ดงั น้ี ๓.๑ มาตรฐานหลกั สูตร เปน็ มาตรฐานด้านผู้เรยี นหรือผลผลิตของหลักสูตรสถานศึกษา อันเกิดจากการได้รับการอบรมสั่งสอนตามโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมดใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบ คุณภาพโดยรวมของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรในทุกระดับ และสถานศึกษาต้องใช้สำหรับการประเมนิ ตนเองเพอ่ื จดั ทำรายงานประจำปีตามบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการศึกษา นอกจากนี้ยงั เป็นแนวทางใน การกำหนดแนวปฏิบัติในการส่งเสริม กำกบั ติดตาม ดูแล และปรบั ปรงุ คุณภาพ เพอื่ ให้ได้ตามมาตรฐานท่ี กำหนด ๓.๒ มีตัวชี้วัดชั้นปีเป็นเป้าหมายระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะ ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเน้ือหา จดั ทำหนว่ ยการเรยี นรู้ จัดการเรยี นการสอน และเป็นเกณฑส์ ำคญั สำหรับการวัด ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบพัฒนาการผู้เรียน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มอนั พึงประสงค์ และเป็นหลักในการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์จาก การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ๓.๓ มีความเป็นสากล ความเป็นสากลของหลักสูตรสถานศึกษา คือมุ่งให้ผู้เรียนมี ความรู้ ความสามารถในเรื่องเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาษาองั กฤษ การจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน มคี ณุ ลักษณะทจี่ ำเป็นในการอยู่ในสงั คมไดแ้ ก่ ความซอื่ สัตย์ ความรับผดิ ชอบ การตรงตอ่ เวลา การเสียสละ การเอื้อเฟื้อ โดยอยู่บนพื้นฐานของความพอดีระหว่างการเป็นผู้นำ และผู้ตาม การทำงานเป็นทีม และการ ทำงานตามลำพังการแขง่ ขนั การรจู้ กั พอ และการร่วมมอื กนั เพ่ือสังคม วทิ ยาการสมัยใหม่ และภูมิปัญญา ท้องถิ่น การรับวัฒนธรรมต่างประเทศ และการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยการฝึกฝนทักษะเฉพาะทาง และ การบรู ณาการในลกั ษณะทเ่ี ป็นองคร์ วม ๔. มีความยืดหยุ่น หลากหลาย หลักสูตรโรงเรียนบ้านสมศรี เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาจัดทำ รายละเอียดต่าง ๆ ขึ้นเอง โดยยึดโครงสร้างหลักที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) เป็นขอบข่ายในการจัดทำ จึงทำให้หลักสูตร

ของสถานศึกษามีความยืดหยุ่น หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของท้องถ่ิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมคี วามเหมาะสมกบั ตวั ผู้เรยี น ๕. การวัดและประเมินผลเน้นหลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและ เพื่อตัดสินผลการเรยี น โดยผู้เรียนตอ้ งได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นเป้าหมายหลักในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ี การศกึ ษา และระดบั ชาติ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน และใช้ ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียน ของผู้เรยี น ตลอดจนข้อมลู ทเี่ ป็นประโยชน์ต่อการสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นเกิดการพฒั นาและเรียนรู้อย่างเต็มตาม ศกั ยภาพ วิสัยทศั น์หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านสมศรี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ หลักสูตรโรงเรียนบ้านสมศรี บริหารจัดการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้ เป็นมนุษย์ทมี่ ีความสมดุลท้ังด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะ พื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ปฏบิ ัติงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้เทคโนโลยสี ู่ความเป็นสากล สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ในการพฒั นาผเู้ รียนตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านสมศรี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) มงุ่ เน้นพัฒนาผู้เรียนให้ มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังน้ี สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลกั สูตรโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ม่งุ ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดงั นี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทัง้ การเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและ

ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วธิ กี ารสอ่ื สาร ท่มี ีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทม่ี ีต่อตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพอื่ การตัดสนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ นการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงคท์ ส่ี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อืน่ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทำงาน การแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพล โลก ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซ่ือสตั ย์สุจริต ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจติ สาธารณะ

สว่ นที่ ๒ โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นสมศรี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ๑. ระดับการศกึ ษา กำหนดหลกั สูตร ตามโครงสรา้ งของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) และตามภารกจิ หลกั ของการจัดการเรียนการสอน ในระดับประถมศึกษาของสถานศึกษาดงั น้ี ช่วงแรกของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการ อ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และ พื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สงั คม และวฒั นธรรม โดยเนน้ จดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการ โ ด ย ไ ด ้ ก ำ ห น ด โ ค ร ง ส ร้ า ง ของ หลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้สอน และผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนรู้มีแนวปฏบิ ัติ ในการจัดการศึกษา เพ่ือฝกึ ฝนทกั ษะทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานในการดำรงชีวติ ของผูเ้ รยี น ๒. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้กำหนดไวใ้ นหลกั สูตร ประกอบดว้ ยองค์ความรู้ ทักษะหรอื กระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะ หรอื ค่านิยม คณุ ธรรม จริยธรรมของผเู้ รยี น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คอื ๒.๑ ภาษาไทย ๒.๒ คณิตศาสตร์ ๒.๓ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๔ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒.๕ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๒.๖ ศิลปะ ๒.๗ การงานอาชพี ๒.๘ ภาษาต่างประเทศ ๓. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พฒั นาอยา่ งรอบด้านเพื่อความเปน็ มนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้งั ร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้ เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอย่รู ว่ มกับผ้อู น่ื อยา่ งมีความสขุ แบ่งเปน็ ๓ ลกั ษณะ ดงั นี้ ๓.๑ กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมท่ี ชว่ ยเหลอื และใหค้ ำปรกึ ษาแกผ่ ปู้ กครองในการมสี ว่ นร่วมพัฒนาผู้เรียน

๓.๒ กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำผู้ ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การ ช่วยเหลือแบง่ ปันกัน เออื้ อาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกบั ความสามารถ ความถนดั และความ สนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเปน็ กลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกบั วุฒิ ภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียนในหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ น สมศรี สมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ประกอบดว้ ย ๓.๒.๑ กิจกรรมลูกเสอื - เนตรนารี ๓.๒.๒ กจิ กรรมชมุ นมุ ๓.๓ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพญ็ ตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความ รบั ผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสงั คม มจี ิตสาธารณะ ๔. เวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ไดก้ ำหนดกรอบ โครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่ำสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซ่ึง ผู้สอนสามารถเพ่ิมเติมได้ตามความพร้อมและจดุ เนน้ ของสถานศึกษา โดยสามารถปรับให้เหมาะสมตามบริบท ของสถานศึกษาและสภาพของผู้เรียน คือ ระดับชั้นประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖) ให้จัดเวลา เรียนเปน็ รายปี โดยมีเวลาเรยี นวันละ ไมเ่ กนิ ๕ ชั่วโมง

โครงสร้างเวลาเรยี น หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) กลุม่ สาระการเรยี นรู้/รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น : ชวั่ โมง/ปี ระดบั ประถมศกึ ษา  กล่มุ สาระการเรียนร/ู้ วิชาพืน้ ฐาน ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรยี น (รายวชิ าพ้ืนฐาน( ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐  รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ การปอ้ งกันการทจุ ริต ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ การศกึ ษาคน้ คว้าเพื่อการเรียนรู้ - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน (รายวชิ าเพ่มิ เติม) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐  กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐  กจิ กรรมแนะแนว  กิจกรรมนักเรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐  ลกู เสือ ยวุ กาชาด ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐  ชุมนมุ  กิจกรรมเพอ่ื สงั คม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ และสาธารณประโยชน์ รวมเวลา (กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑,๐๔๐ ชวั่ โมง ๑,๐๘๐ ชัว่ โมง รวมเวลาทั้งหมด

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นสมศรี ระดบั ประถมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน (ช่วั โมง/ปี) (ชว่ั โมง/สปั ดาห์) รหัสวชิ า รายวชิ าพ้ืนฐาน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕ ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔๐ ๑ ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐ ๑ ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๑ ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ ๑ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒๐๐ ๕ รหัสวชิ า รายวชิ าเพมิ่ เติม ๘๐ ๒ อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ๑ ๔๐ ๑ ส๑๑๒๐๑ การป้องกันการทจุ รติ ๑ ๔๐ ๑ รหัสกจิ กรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๑๒๐ ๓ ก๑๑๙๐๑  กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กจิ กรรมนักเรยี น (๘๐) (๒) ก๑๑๙๐๒  ลกู เสือ/ยวุ กาชาด ๔๐ ๑ ก๑๑๙๐๓  ชมุ นุม ๓๐ ๑ ก๑๑๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสังคม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกิจกรรมลูกเสือ รวมเวลาเรยี นท้งั หมดตามโครงสร้างหลักสูตร ๑,๐๔๐ ๒๖

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านสมศรี ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชั่วโมง/ปี) (ชว่ั โมง/สปั ดาห)์ รหสั วชิ า รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕ ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕ ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔๐ ๑ ส๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๑ ส๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๑ ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ๑ ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒๐๐ ๕ รหัสวิชา รายวชิ าเพ่ิมเติม ๘๐ ๒ อ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร ๑ ๔๐ ๑ ส๑๒๒๐๑ การปอ้ งกนั การทจุ ริต ๑ ๔๐ ๑ รหัสกจิ กรรม กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๑๒๐ ๓ ก๑๒๙๐๑  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กจิ กรรมนักเรียน (๘๐) (๒) ก๑๒๙๐๒  ลกู เสือ/ยุวกาชาด ๔๐ ๑ ก๑๒๙๐๓  ชมุ นุม ๓๐ ๑ ก๑๒๙๐๔  กิจกรรมเพ่ือสังคม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกจิ กรรมลูกเสือ รวมเวลาเรียนทง้ั หมดตามโครงสรา้ งหลกั สูตร ๑,๐๔๐ ๒๖

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านสมศรี ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน (ช่วั โมง/ปี) (ชวั่ โมง/สปั ดาห)์ รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕ ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕ ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐ ๑ ส๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๑ ส๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑ ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ๑ ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒๐๐ ๕ รหัสวชิ า รายวิชาเพิ่มเติม ๘๐ ๒ อ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร ๑ ๔๐ ๑ ส๑๓๒๐๑ การปอ้ งกันการทุจรติ ๑ ๔๐ ๑ รหสั กจิ กรรม กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๑๒๐ ๓ ก๑๓๙๐๑  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กจิ กรรมนักเรียน (๘๐) (๒) ก๑๓๙๐๒  ลูกเสือ/ยวุ กาชาด ๔๐ ๑ ก๑๓๙๐๓  ชมุ นุม ๓๐ ๑ ก๑๓๙๐๔  กจิ กรรมเพื่อสงั คม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกจิ กรรมลูกเสือ รวมเวลาเรียนทง้ั หมดตามโครงสร้างหลักสูตร ๑,๐๔๐ ๒๖

โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นสมศรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี) (ชัว่ โมง/สัปดาห์) รหัสวชิ า รายวชิ าพื้นฐาน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔ ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ๔ ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐ ๓ ส๑๔๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๒ ส๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๒ ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ ๒ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐ ๒ รหสั วชิ า รายวชิ าเพิ่มเติม ๑๒๐ ๓ อ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ๔ ๔๐ ๑ ส๑๔๒๐๑ การป้องกันการทจุ ริต ๔ ๔๐ ๑ I๑๔๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ ๑ ๔๐ ๑ รหัสกจิ กรรม กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑๒๐ ๓ ก๑๔๙๐๑  กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กจิ กรรมนักเรียน (๘๐) (๒) ก๑๔๙๐๒  ลูกเสอื /เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๔๙๐๓  ชุมนมุ ๓๐ ๑ ก๑๔๙๐๔  กิจกรรมเพ่ือสงั คม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกจิ กรรมลูกเสอื รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสรา้ งหลักสูตร ๑,๐๘๐ ๒๗

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นสมศรี ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ช่ัวโมง/ปี) (ชั่วโมง/สัปดาห)์ รหัสวิชา รายวชิ าพ้นื ฐาน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔ ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐ ๔ ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐ ๓ ส๑๕๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๒ ส๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๒ ศ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ ๒ ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑๖๐ ๔ รหสั วิชา รายวิชาเพ่มิ เติม ๑๒๐ ๓ อ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ๕ ๔๐ ๑ ส๑๔๒๐๑ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ๕ ๔๐ ๑ I๑๕๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าเพ่ือการเรียนรู้ ๒ ๔๐ ๑ รหัสกจิ กรรม กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ๑๒๐ ๓ ก๑๕๙๐๑  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กิจกรรมนักเรียน (๘๐) (๒) ก๑๕๙๐๒  ลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๕๙๐๓  ชมุ นมุ ๓๐ ๑ ก๑๕๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสังคม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกิจกรรมชมุ นุม รวมเวลาเรียนทง้ั หมดตามโครงสรา้ งหลักสูตร ๑,๐๘๐ ๒๗

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นสมศรี ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ช่ัวโมง/ปี) (ชั่วโมง/สัปดาห)์ รหัสวิชา รายวชิ าพ้นื ฐาน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔ ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐ ๔ ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐ ๓ ส๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๒ ส๑๖๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๒ ศ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ ๒ ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑๖๐ ๔ รหสั วิชา รายวิชาเพ่มิ เติม ๑๒๐ ๓ อ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ๔ ๔๐ ๑ ส๑๔๒๐๑ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ๔ ๔๐ ๑ I๑๖๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าเพ่ือการเรียนรู้ ๓ ๔๐ ๑ รหัสกจิ กรรม กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ๑๒๐ ๓ ก๑๖๙๐๑  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กิจกรรมนักเรียน (๘๐) (๒) ก๑๖๙๐๒  ลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๖๙๐๓  ชมุ นมุ ๓๐ ๑ ก๑๖๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสังคม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกิจกรรมชมุ นุม รวมเวลาเรียนทง้ั หมดตามโครงสรา้ งหลักสูตร ๑,๐๘๐ ๒๗

รายวชิ าเพิ่มเติมในระดบั ชั้นประถมศกึ ษา หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านสมศรี พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง/ปี อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๑ เวลาเรียน ๔๐ ช่วั โมง/ปี ส๑๑๒๐๑ การปอ้ งกนั การทจุ ริต ๑ เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง/ปี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๒ ส๑๒๒๐๑ การปอ้ งกันการทุจรติ ๒ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ อ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๓ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี ส๑๓๒๐๑ การปอ้ งกันการทุจรติ ๓ เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง/ปี เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ อ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ๔ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง/ปี ส๑๔๒๐๑ การปอ้ งกันการทุจรติ ๔ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ปี I๑๔๒๐๑ การศกึ ษาค้นคว้าเพื่อการเรยี นรู้ ๑ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง/ปี อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๕ เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง/ปี ส๑๕๒๐๑ การปอ้ งกันการทุจรติ ๕ เวลาเรยี น ๔๐ ช่วั โมง/ปี I๑๕๒๐๑ การศึกษาค้นควา้ เพ่ือการเรียนรู้ ๒ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ อ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๖ ส๑๖๒๐๑ การป้องกันการทุจริต ๖ I๑๖๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าเพื่อการเรยี นรู้ ๓

ส่วนท่ี ๓ คำอธิบายรายวชิ า หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้กำหนดคำอธิบายรายวิชา ของ วิชาต่าง ๆ ที่สอนในแต่ละปีการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนชั่วโมงต่อปี ผลการ เรียนรู้ที่คาดหวงั และสาระการเรยี นรรู้ ายปี คำอธิบายรายวิชาจะช่วยให้ผู้สอนจัดหน่วยการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้ เนื่องจากคำอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรียนรู้ท่ีผูเ้ รียนต้องเรียนรูต้ ลอดทั้งปี กลุ่มของสาระการ เรียนรตู้ ลอดปีจะมีจำนวนมาก ดังนน้ั การจัดเปน็ หน่วยการเรียนร้หู ลาย ๆ หนว่ ย จะช่วยให้กลุ่มของสาระการ เรียนรูม้ ีขนาดเลก็ ลง และบรู ณาการไดห้ ลากหลายมากขน้ึ โรงเรยี นบา้ นสมศรี ไดก้ ำหนดรายละเอยี ดของคำอธิบายรายวชิ าเรียงตามลำดบั ไว้ ดังนี้ ๑. คำอธบิ ายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ถึงชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๒. คำอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ช้ันประถมศกึ ษาปีท๑่ี ถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๓. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๔. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ถงึ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๕. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๖. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๗. คำอธบิ ายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๘. คำอธบิ ายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพช้ันประถมศึกษาปีท่ี๑ถึงชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๙. คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ถึงชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑๐.คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑๑.คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม วิชาการป้องกันการทุจริต ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑๒.คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม วิชาการศึกษาค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑๓. คำอธิบายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถึงชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความ เข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกันในสังคม ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงทางสงั คม และความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชใ้ นการพัฒนาอาชีพ ให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทย ตลอดไป สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ภ(๕ สาระ ๕ มาตรฐาน) สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ แก้ปัญหา ในการดำเนินชีวติ และมีนิสยั รกั การอ่าน สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรอ่ื งราวในรปู แบบตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ สาระท่ี ๓ การฟงั การดูและการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิ ของชาติ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คณุ ค่าและนำมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง

โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ตามโครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนบา้ นสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ระดบั ชน้ั รหัส ชื่อรายวิชา เวลาเรียนรายปี ชน้ั ป. ๑ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๒๐๐/ปี) ชน้ั ป. ๒ ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๒๐๐/ปี) ชั้น ป. ๓ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๒๐๐/ปี) ช้ัน ป. ๔ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ชัว่ โมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี) ชั้น ป. ๕ ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี) ชั้น ป. ๖ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี)

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง ฝกึ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสัน้ ๆ บอกความหมายของคำและขอ้ ความ ตอบ คำถาม เลา่ เร่ืองยอ่ คาดคะเนเหตุการณ์ เลอื กอ่านหนังสอื ตามความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่องที่ อ่าน บอกความหมายของเครอ่ื งหมายหรือสัญลักษณส์ ำคญั ที่มักพบเห็นในชีวติ ประจำวนั มีมารยาทในการ อ่าน ฝกึ คัดลายมอื ด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เขยี นสอ่ื สารดว้ ยคำและประโยคงา่ ยๆ มีมารยาทการเขียน ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆและปฏิบัติตาม ตอบคำถาม เล่าเรื่อง พูดแสดง ความคิดเหน็ และความรูส้ กึ จากเรอื่ งท่ีฟังและดู พดู สอ่ื สารไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ เน้นมารยาทในการฟงั การ ดแู ละการพูด ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ เรยี บเรยี งคำเปน็ ประโยคง่ายๆ ต่อคำคลอ้ งจองงา่ ยๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก ฝึกท่องจำ บทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏบิ ัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟงั การดูและ การพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความ เข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รหสั ตวั ช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้วี ัด

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและ คาดคะเนเหตกุ ารณ์ เลอื กอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจอยา่ งสมำ่ เสมอและนำเสนอเรื่องทอี่ ่าน อา่ นข้อเขียน เชงิ อธบิ าย และปฏบิ ตั ติ ามคำส่ังหรอื ขอ้ แนะนำ มมี ารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเรื่อง บอกสาระสำคัญของ เรอ่ื ง ตั้งคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคดิ เห็น ความรสู้ ึก พูดสื่อสารไดช้ ดั เจนตรงตามวัตถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะคำคล้องจอง เลือกใช้ ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถนิ่ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ ฝึกจบั ใจความสำคญั จากเร่ือง ระบุขอ้ คิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก เพื่อ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบท รอ้ ยกรองที่มีคณุ ค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตงั้ คำถาม ตอบคำถาม ใช้ทกั ษะการฟัง การดูและการพูด พดู แสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้าง ความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวติ ประจำวนั ได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม รหสั ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวช้ีวัด

ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ฝกึ อ่านออกเสยี งคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคำและ ข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและ นำเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธบิ าย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือขอ้ แนะนำ อธิบายความหมายของ ขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มมี ารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจำวัน เขียนเรื่องตาม จินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด หน้าที่ของคำ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ เลือกใช้ ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม เพ่ือ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก เพื่อปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถ่ิน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการ กลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการ เรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชี้วดั

ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและสำนวน จากเรื่องที่อ่าน อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่าง สมำ่ เสมอและแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับเรื่องที่อ่าน มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนย่อความจาก เรื่องสั้น ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นควา้ เขียน เรือ่ งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขียน ฝกึ ทกั ษะการฟัง การดูและการพดู จำแนกขอ้ เท็จจริงและข้อคิดเห็นเร่ืองท่ีฟังและดู พดู สรุปจาก การฟังและดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำถามและตอบ คำถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองที่ฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและ การสนทนา มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพดู ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่าง ๆ ระบุชนิด และหน้าที่ของคำในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลัก ภาษา แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ บอกความหมายของสำนวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาถ่ินได้ ระบขุ ้อคิดจากนทิ านพนื้ บ้านหรือนิทานคตธิ รรม อธิบายขอ้ คิดจากการอา่ นเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริง ร้องเพลงพน้ื บา้ น ทอ่ งจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณคา่ ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปญั หา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้งั คำถาม ตอบคำถาม ใช้ทกั ษะการฟงั การ ดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลข ไทย สามารถนำความรไู้ ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘

ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวช้วี ัด

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความ ที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม เลือกอ่านหนังสือที่มี คณุ ค่าตามความสนใจ มมี ารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความ คดิ เห็น กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคำถาม ตอบคำถาม วเิ คราะห์ความ พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค จำแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถนิ่ ใช้คำราชาศัพท์ บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แต่งบท รอ้ ยกรอง ใช้สำนวนได้ถกู ต้อง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและ วรรณกรรมที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจำบทอาขยาน ตามทีก่ ำหนดและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปญั หา การฝึกปฏบิ ตั ิ อธบิ าย บนั ทกึ การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใชท้ ักษะการฟัง การ ดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลข ไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม รหัสตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชวี้ ัด

คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เวลา ๑๖๐ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ชวั่ โมง ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความ ที่เป็นโวหาร อ่านเรื่องสั้น ๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนงั สอื ตามความสนใจและอธิบายคุณคา่ ที่ไดร้ บั มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเร่ืองอ่าน เขียนจดส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการและ สรา้ งสรรค์ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูสื่อ โฆษณาอย่างมีเหตุผล พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ที่ศึกษาค้นควา้ จากการฟัง การดแู ละการสนทนา พูด โนม้ นา้ วอย่างมเี หตผุ ลและนา่ เชอ่ื ถือ มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด ฝกึ วิเคราะหช์ นิดและหน้าทีข่ องคำในประโยค ใช้คำได้เหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล รวบรวม และบอกความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อย กรอง วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บสำนวนท่เี ป็นคำพังเพยและสภุ าษิต ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและ นทิ านพืน้ บา้ นของท้องถิ่นอ่นื อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิต จรงิ ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อย โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกข้อเทจ็ จริง กระบวนการคน้ คว้า กระบวนการ ใช้เทคโนโลยใี นการสือ่ สาร กระบวนการใชท้ กั ษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธบิ าย บนั ทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบ ยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่าง ถูกตอ้ งเหมาะสม

รหสั ตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวช้วี ัด

กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่น ๆ คณติ ศาสตร์จงึ มปี ระโยชน์ตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ ช่วยพัฒนาคุณภาพชวี ิตใหด้ ขี ้ึน และสามารถอยูร่ ว่ มกับผู้อื่นได้ อย่างมคี วามสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เปิดโอกาสให้เยาวชนทุกคนได้เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างต่อเนื่อง ตามศกั ยภาพ โดยกำหนดสาระหลกั ท่จี ำเป็นสำหรบั ผเู้ รียนทุกคนดงั น้ี - จำนวนและการดำเนนิ การ: ความคิดรวบยอดและความรสู้ ึกเชงิ จำนวน ระบบจำนวนจริง สมบัติ เกี่ยวกบั จำนวนจรงิ การดำเนนิ การของจำนวน อัตราสว่ น ร้อยละ การแกป้ ญั หาเก่ียวกับจำนวน และการใช้ จำนวนในชวี ิตจริง - การวัด: ความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นที่ ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบ ต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกบั การวดั อัตราส่วนตรโี กณมิติ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด และการนำความรู้ เกยี่ วกบั การวดั ไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ - เรขาคณิต: รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ สองมิติ และสามมิติ การนึกภาพ แบบจำลองทางเรขาคณติ ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณติ (geometric transformation) ในเรื่องการเลอ่ื นขนาน (translation) การสะท้อน (reflection) และการหมนุ (rotation) - พีชคณิต: แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซตและการดำเนินการของเซต การให้ เหตุผล นพิ จน์ สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลำดบั เลขคณติ ลำดบั เรขาคณิต อนกุ รมเลขคณติ และ อนุกรมเรขาคณติ - การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น: การกำหนดประเด็น การเขียนข้อคำถาม การกำหนด วิธีการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระบบข้อมูล การนำเสนอข้อมูล ค่ากลางและการกระจายของ ข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลความข้อมูล การสำรวจความคิดเห็น ความน่าจะเป็น การใช้ความรู้ เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ และช่วยในการตัดสินใจในการดำเนิน ชวี ิตประจำวนั - ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์: การแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การสือ่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และการเชอ่ื มโยงคณิตศาสตรก์ บั ศาสตรอ์ ื่นๆ และความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สาระท่ี ๑ จำนวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค. ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลท่เี กิดขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค. ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟงั ก์ชนั ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้ มาตรฐาน ค. ๑.๓ ใช้นพิ จน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสมั พันธ์ หรือช่วยแกป้ ญั หา ทก่ี ำหนดให้ สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค. ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเกย่ี วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทต่ี ้องการวัด และนำไปใช้ มาตรฐาน ค. ๒.๒ เข้าใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณติ ความสัมพันธร์ ะหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ สาระท่ี ๓ สถิติและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค. ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการแกป้ ัญหา มาตรฐาน ค. ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนบั เบื้องตน้ ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้ หมายเหตุ ๑. การจัดการเรยี นการสอนคณติ ศาสตร์ ทีท่ ำให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ อย่างมีคุณภาพน้ัน จะต้องให้มีความสมดุลระหว่างสาระด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการ ควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ได้แก่ การทำงานอย่างมีระบบ มีระเบียบ มีความรอบคอบมีความรับผิดชอบ มี วิจารณญาณ มีความเชื่อม่นั ในตนเอง พรอ้ มทัง้ ตระหนกั ในคุณคา่ และมเี จตคติที่ดีต่อคณติ ศาสตร์ ๒. ในการวัดและประเมินผลด้านทกั ษะและกระบวนการ สามารถประเมินในระหว่างการเรียน การสอน หรือประเมนิ ไปพร้อมกับการประเมนิ ด้านความรู้ โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ตามโครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนบ้านสมศรี พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ระดับชัน้ รหัส ชื่อรายวชิ า เวลาเรยี นรายปี ช้นั ป. ๑ ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ ๔ ชัว่ โมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี) ชน้ั ป. ๒ ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒ ๔ ช่วั โมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี) ช้นั ป. ๓ ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๔ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี) ช้นั ป. ๔ ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี) ชั้น ป. ๕ ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๔ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี) ชน้ั ป. ๖ ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ ๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี)

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดง จำนวนส่ิงตา่ ง ๆ ตามจำนวนท่ีกำหนด อา่ นและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย การบอกอนั ดบั ท่ีหลัก ค่า ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และเขยี นแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรยี บเทยี บจำนวนนับไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน ประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและน้ำหนัก สร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการ บวก การลบ ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มข้ึน หรือลดลงทลี ะ๑ ทีละ ๑๐ รูปท่ีหายไปในแบบรูปซ้ำของรูปเรขาคณิตและรปู อื่น ๆ ท่สี มาชกิ ใน แตล่ ะชุดที่ ซ้ำมี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร น้ำหนักเป็นกิโลกรัมเป็นขีด และใช้ หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จำแนกรูปสามเหลี่ยม รูปส่ีเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใชข้ อ้ มลู จากแผนภูมิรปู ภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เมือ่ กำหนดรูป ๑ รูป แทน ๑ หนว่ ย รหสั ตัวชี้วดั ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวม ๕ มาตรฐาน ๑๐ ตวั ช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง ศึกษา ฝกึ ทกั ษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนบั ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง จำนวนสงิ่ ต่าง ๆ ตามจำนวนทกี่ ำหนด อา่ นและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอนั ดับที่หลกั ค่า ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และเขยี นแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทยี บจำนวนนบั ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การ ลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการคณู ของ จำนวน ๑ หลกั กบั จำนวนไม่เกนิ ๒ หลัก และประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการหารทีต่ ัวตง้ั ไมเ่ กิน ๒ หลัก ตวั หาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี ๑ หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของ จำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับเวลาท่ีมหี น่วยเดย่ี วและเป็นหนว่ ยเดียว วัดและ เปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกการลบเกี่ยวกับน้ำหนักที่มหี น่วย เป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร จำแนกและบอก ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม ใช้ข้อมลู จากแผนภูมริ ูปภาพในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา เม่ือ กำหนดรูป ๑ รปู แทน ๒ หนว่ ย ๕ หนว่ ยหรอื ๑๐ หนว่ ย รหัสตวั ชี้วดั ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวม ๔ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ช้วี ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรยี บเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณต์ ่าง ๆ บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนท่แี สดงปริมาณสงิ่ ตา่ ง ๆ และแสดงสงิ่ ต่าง ๆ ตามเศษสว่ นทกี่ ำหนด เปรยี บเทยี บเศษส่วน ที่ตัวเศษเท่ากัน โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวกและการลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สญั ลกั ษณ์แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกบั จำนวนไม่เกิน ๔ หลกั และจำนวน ๒ หลกั กบั จำนวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหา ผลลัพธ์การบวก ลบ คณู หารระคนและแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา ๒ ขนั้ ตอนของจำนวนนับไม่ เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกของเศษส่วนที่มตี ัวส่วน เท่ากนั และผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพรอ้ มทง้ั แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา การลบของเศษส่วน ทมี่ ีตวั ส่วนเท่ากัน ระบจุ ำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทลี ะเท่า ๆ กนั แสดงวิธีหา คำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน เวลาและระยะเวลา เลือกใช้เครื่องมือความยาวที่เหมาะสม วัดและ บอกความยาวของสิ่งตา่ ง ๆ เป็นเซนติเมตรและมลิ ลเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร คาดคะเนความยาวเปน็ เมตร และเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระหว่าง เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องช่ั งที่ เหมาะสม วดั และบอกน้ำหนกั เปน็ กิโลกรมั และขีด กโิ ลกรัมและกรมั คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็น ขีด เปรียบเทียบน้ำหนักและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับ กรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบ ปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตร และความจุเป็นลติ รและมลิ ลเิ มตร ระบุรปู เรขาคณิตสองมิติทม่ี ีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียน แผนภมู ริ ูปภาพและใช้ขอ้ มลู จากแผนภูมริ ปู ภาพในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา เขียนตารางทางเดียวจาก ขอ้ มูลทีเ่ ปน็ จำนวนนบั และใช้ข้อมลู จากตารางทางเดยี วในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา รหสั ตวั ช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๘ ตัวชวี้ ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง ศึกษา ฝกึ ทกั ษะการอ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวนนับที่ มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จาก สถานการณ์ตา่ ง ๆ บอก อ่านและเขียนเศษส่วน จำนวนคละแสดงปรมิ าณสิ่งตา่ ง ๆ และแสดงสง่ิ ต่าง ๆ ตาม เศษสว่ น จำนวนคละทีก่ ำหนด เปรยี บเทยี บ เรียงลำดบั เศษสว่ นและจำนวนคละที่ตวั สว่ นตวั หนึง่ เป็นพหูคูณ ของอีกตัวหนึ่ง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมที่กำหนด เปรียบเทียบและเรียงลำดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณต์ ่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณ์ แสดงการ บวก การลบของจำนวนนับทีม่ ากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน ที่ มีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และแสดงการหารที่ตวั ตั้งไมเ่ กิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกนิ ๒ หลัก หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับที่ มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับ และ ๐ พร้อมทั้งหาคำตอบ หา คำตอบและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบของเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนตัว หน่งึ เปน็ พหูคูณของอีกตัวหนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตำแหนง่ และแสดงวธิ ีหาคำตอบของ โจทยป์ ัญหาการบวก การลบ ๒ ขน้ั ตอนของทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาเก่ยี วกับเวลา วัดและสร้างมมุ โดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวธิ ีหา คำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกับความยาวรอบรูปและพนื้ ท่ีของรูปสเี่ หล่ียมมุมฉาก จำแนกชนดิ ของมุม บอก ชื่อมุม สว่ นประกอบของมุมและเขยี นสญั ลักษณ์แสดงมมุ สรา้ งรูปสเี่ หลี่ยมมุมฉากเม่ือกำหนดความยาวของ ดา้ น และใชข้ ้อมลู จากแผนภมู ิแท่ง ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา รหสั ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖ ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๓.๑ ป.๔/๑ รวม ๔ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ช้วี ัด

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง เขยี นเศษส่วนที่มีตวั สว่ นเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรอื ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนยิ ม แสดงวิธี หาคำตอบของโจทยป์ ญั หาโดยใชบ้ ญั ญตั ไิ ตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจำนวน คละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หาผลคูณ ของทศนิยม ที่ผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง หาผลหารท่ีตัวต้ังเป็นจำนวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง และตัวหารเป็นจำนวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ๒ ขั้นตอน และแสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละ ไมเ่ กิน ๒ ขน้ั ตอน แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ที่มกี ารเปลีย่ นหนว่ ยและเขียนในรูป ทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของ ภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปส่ีเหลี่ยมด้านขนานและรูป สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงท่ี กำหนดให้ จำแนกรูปสเ่ี หลย่ี มโดยพิจารณาจากสมบตั ิของรูป สรา้ งรปู สีเ่ หลี่ยมชนิดต่าง ๆ เมื่อกำหนดความ ยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเมื่อกำหนดความยาวของเส้นทแยงมุม และบอกลักษณะของปริซึม ใช้ ข้อมูลจากกราฟเสน้ ในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา และเขียนแผนภูมแิ ท่งจากข้อมลู ท่ีเป็นจำนวนนบั รหัสตัวช้ีวดั ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวม ๔ มาตรฐาน ๑๙ ตัวชว้ี ัด

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖ กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง เปรียบเทียบ เรียงลำดับ เศษส่วนและจำนวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ เปรยี บเทยี บปริมาณ ๒ ปรมิ าณจากขอ้ ความหรอื สถานการณ์ โดยที่ปรมิ าณแตล่ ะปรมิ าณเป็นจำนวนนับ หา อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับไม่เกิน ๓ จำนวน แสดงวิธี หาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หาร ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หาผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของ โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา อัตราสว่ น ปญั หาร้อยละ ๒ – ๓ ขั้นตอน แสดงวธิ คี ิดและหาคำตอบของปัญหาเกย่ี วกับแบบรปู แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรง สี่เหลี่ยมมุมฉาก และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลาย เหลี่ยม ความยาวรอบรปู และพน้ื ทขี่ องวงกลม จำแนกรูปสามเหล่ยี มโดยพจิ ารณาจากสมบตั ิของรปู สร้างรูป สามเหลีย่ มเมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณติ สามมิติชนิดตา่ ง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบจากรูปคลี่และระบุรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ใช้ข้อมูลจาก แผนภมู ริ ปู วงกลมในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา รหสั ตวั ชี้วดั ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑ ค ๑.๒ ป.๖/๑ ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ ค ๓.๑ ป.๖/๑ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๐ ตัวชี้วัด

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสำคญั ของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการ สังเกต สำรวจตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิดและทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนรู้และ ค้นพบด้วยตนเองมากที่สุด นั่นคือให้ได้ทั้งกระบวนการและองค์ความรู้ ตั้งแต่วัยเริ่มแรกก่อนเข้าเรียน เมื่อ อยู่ในสถานศึกษาและเมื่อออกจากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพแล้วและสอดคล้องกับทักษะมีจำเป็นใน ศตวรรษท่ี ๒๑ ที่ทกุ คนจะต้องเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต คอื การเรียนรู้ ๓R x ๘C ๓R คอื Reading (อา่ นออก), (W)Riting (เขยี นได)้ , และ (A)Rithemetics (คดิ เลขเปน็ ) ๘C ไดแ้ ก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะใน การแก้ปญั หา) Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ ภาวะผู้นำ) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และ รเู้ ทา่ ทันส่อื ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นร)ู้ Compassion (มีความเมตตากรุณา มคี ุณธรรมและระเบยี บวินัย) การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสถานศึกษามเี ปา้ หมายสำคัญ ดงั น้ี ๑. เพ่ือให้เขา้ ใจหลักการ ทฤษฎีท่ีเปน็ พ้นื ฐานในวทิ ยาศาสตร์ ๒. เพอ่ื ให้เข้าใจขอบเขต ธรรมชาติและข้อจำกัดของวทิ ยาศาสตร์ ๓. เพอ่ื ใหม้ ีทักษะทีส่ ำคัญในการศกึ ษาคน้ ควา้ และคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะ ในการส่อื สาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ ๕. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และสภาพแวดล้อม ในเชิงท่มี ีอทิ ธิพลและผลกระทบซงึ่ กันและกัน ๖. เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ การดำรงชวี ิต ๗. เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์

เรยี นรอู้ ะไรในวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ที่เน้นการ เชื่อมโยงความรู้ กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหา ความรู้และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการเรียนรู้ ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการ ลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ช้ัน โดยกำหนดสาระสำคญั ดงั นี้ ✧ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ เรียนร้เู ก่ยี วกบั ชีวิตในสงิ่ แวดล้อม องคป์ ระกอบของสิ่งมีชีวิต การดำรงชีวิต ของมนุษย์และสัตว์การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของ สิง่ มชี ีวติ ✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลื่อนที่ พลังงาน และคล่ืน ✧ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบ สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณีวทิ ยา กระบวนการ เปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อสงิ่ มีชวี ิตและสิง่ แวดล้อม ✧ เทคโนโลยี ● การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม ● วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา เป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการ ส่อื สาร ในการแกป้ ญั หาทพ่ี บในชวี ติ จรงิ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับ ส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การ ถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนษุ ย์ ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ี ทำงานสมั พนั ธก์ ัน รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพ และวิวฒั นาการของสิ่งมีชวี ิต รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการ เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิด ปฏิกริ ิยาเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การ เคล่อื นทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของ คลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อ สิ่งมชี วี ิต และการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ภายใน โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและ ภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลตอ่ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง อย่าง รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่ อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวติ สงั คม และส่ิงแวดล้อม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และ การแก้ปญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม

โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามโครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนบ้านสมศรี พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ระดับช้นั รหสั ชื่อรายวิชา เวลาเรียนรายปี ช้นั ป. ๑ ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ ๒ ชัว่ โมง/สัปดาห์ (๑๐๐/ปี) ชน้ั ป. ๒ ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ ๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑๐๐/ปี) ชั้น ป. ๓ ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ ๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑๐๐/ปี) ชั้น ป. ๔ ว๑๔๑๐๑ ววิ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑๒๐/ปี) ชน้ั ป. ๕ ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์ (๑๒๐/ปี) ชั้น ป. ๖ ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑๒๐/ปี)

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๘๐ ชั่วโมง/ปีการศึกษา ระบุชื่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ บอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม กบั การดำรงชีวิตของสตั ว์ในบริเวณที่อาศัยอยู่ ระบุชอ่ื บรรยายลกั ษณะและบอกหน้าทขี่ องส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย มนุษย์ สตั ว์ และพชื รวมทงั้ บรรยายการทำหน้าทร่ี ว่ มกันของสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ ตระหนักถึงความสำคัญของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทำวัตถุซึ่งทำ จากวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุ ตามสมบัติที่สังเกตได้ บรรยายการเกิดเสียงและทิศทาง การเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุ ดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืนจากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดวงดาวสว่ น ใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะเฉพาะตัวที่สังเกต ได้ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ แสดงลำดับขั้นตอนการทำงานหรือการแก้ปัญหา อย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ ใช้ เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติ ตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกนั ดแู ลรกั ษาอุปกรณ์ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๒.๓ ป.๑/๑ ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๓.๒ ป.๑/๑ ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ รวม ๗ มาตรฐาน ๑๕ ตวั ชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง/ปกี ารศกึ ษา ระบุว่าพืชต้องการแสงและน้ำ เพื่อการเจริญเตบิ โต โดยใช้ขอ้ มูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนัก ถึงความจำเป็นที่พืชต้องการได้รับน้ำและแสงเพื่อการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รับสิ่งดังกล่าวอย่าง เหมาะสม สร้างแบบจำลองท่ีบรรยายวฏั จักรชวี ิตของพืชดอก เปรยี บเทียบลักษณะสิ่งมชี ีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตจาก ข้อมูลที่รวบรวมได้ เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และระบุการนำ สมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทำวัตถุในชีวิตประจำวัน อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เปรียบเทียบสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุ เพื่อนำมาทำ เป็นวัตถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ และอธิบายการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่โดยใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ ตระหนักถึงประโยชน์ของการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ ใหม่ บรรยายแนวการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดแสง และอธิบายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นโดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตราย จากการมองเห็นวัตถุในที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม ระบุส่วนประกอบของดิน และจำแนกชนิดของดินโดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและการจับตัวเป็นเกณฑ์ อธิบายการใช้ประโยชน์จากดินจากข้อมูลที่รวบรวมได้ แสดง ลำดับขั้นตอนการทำงานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียน โปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม ข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอร์ร่วมกนั ดูแลรกั ษาอุปกรณเ์ บื้องต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ว ๑.๓ ป.๒/๑ ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวม ๖ มาตรฐาน ๑๖ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๘๐ ชั่วโมง/ปีการศกึ ษา บรรยายสิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษย์และสัตว์โดยใช้ข้อมูลที่ รวบรวมได้ ตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร น้ำ และอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับส่ิงเหล่าน้ี อย่างเหมาะสม สร้างแบบจำลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์และเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์บาง ชนิด ตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์โดยไม่ทำให้วัฏจกั รชีวิตของสัตว์เปลี่ยนแปลง อธิบายว่าวัตถุประกอบ ขึ้นจากชิ้นส่วนย่อย ๆ ซึ่งสามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกันเป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้โดยใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์ อธบิ ายการเปลีย่ นแปลงของวัสดุเมอ่ื ทำให้ร้อนขนึ้ หรอื ทำใหเ้ ย็นลงโดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เปรียบเทียบและ ยกตัวอย่างแรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ จำแนก วัตถุโดยใช้การดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุขั้วแม่เหล็กและพยากรณ์ผลที่ เกิดขึน้ ระหว่างขว้ั แมเ่ หล็กเม่ือนำมาเข้าใกล้กันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ยกตวั อย่างการเปล่ียนพลังงานหน่ึง ไปเปน็ อีกพลังงานหนึ่งจากหลักฐานเชิงประจักษ์ บรรยายการทำงานของเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้าและระบุแหล่ง พลังงานในการผลิตไฟฟ้าจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ตระหนักในประโยชน์และโทษของไฟฟ้า โดยนำเสนอ วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด และปลอดภัย อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์โดยใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวัน กลางคืน และการกำหนดทิศโดยใช้แบบจำลอง ตระหนักถึงความสำคัญของดวงอาทิตย์ โดยบรรยาย ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต ระบุส่วนประกอบของอากาศ บรรยายความสำคัญของอากาศ และ ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสง่ิ มีชวี ิตจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ตระหนักถึงความสำคัญของอากาศ โดย นำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ อธิบายการเกิดลมจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ บรรยายประโยชน์และโทษของลมจากข้อมูลที่รวบรวมได้ แสดงอัลกอริทึมในการทำงานหรือการ แกป้ ญั หาอยา่ งง่ายโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์ หรือขอ้ ความ เขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือส่ือ และ ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ อนิ เทอรเ์ น็ต มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๗ มาตรฐาน ๒๕ ตัวชีว้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง/ปกี ารศึกษา บรรยายหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ และดอกของพืชดอกโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ จำแนกสิ่งมีชีวิต โดยใช้ความเหมือน และความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่ พชื และสตั ว์ จำแนกพืชออกเปน็ พชื ดอกและพชื ไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวติ ในแต่ละกลุ่ม เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำ ไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพ ยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวันผ่านกระบวนการออกแบบ ชิ้นงาน แลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อื่นโดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุอย่างมีเหตุผล จากการทดลอง เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมวล การต้องการท่ี อยู่ รปู ร่างและปริมาตรของสสาร ใชเ้ คร่ืองมือเพ่ือวัดมวล และปริมาตรของสสารทงั้ ๓ สถานะ ระบผุ ลของแรง โน้มถ่วงที่มีต่อวัตถุจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดน้ำหนักของวัตถุ บรรยายมวลของ วัตถุที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ จำแนกวัตถุเป็นตัวกลาง โปรง่ ใส ตวั กลางโปรง่ แสง และวตั ถทุ บึ แสง จากลักษณะการมองเหน็ สง่ิ ต่าง ๆ ผ่านวัตถุนน้ั เป็นเกณฑ์โดยใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ สร้าง แบบจำลองที่อธิบายแบบรูป การเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของ ดวงจันทร์ สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรยี บเทยี บคาบการโคจรของดาว เคราะห์ต่าง ๆ จากแบบจำลอง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา ข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ และประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเม่ือพบข้อมลู หรอื บคุ คลทไี่ ม่เหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด ว ๑.๒ ป.๔/๑ ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๑ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๒.๓ ป.๔/๑ ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ รวม ๗ มาตรฐาน ๒๑ ตวั ช้วี ดั

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง/ปีการศึกษา บรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจากการ ปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชวี ิต และความสัมพันธ์ ระหว่างสิง่ มีชีวติ กับสงิ่ ไม่มีชวี ติ เพื่อประโยชน์ตอ่ การดำรงชวี ิต เขียนโซอ่ าหารและระบบุ ทบาทหนา้ ที่ของส่ิงมีชีวิต ท่เี ปน็ ผู้ผลิตและผู้บรโิ ภคในโซอ่ าหาร ตระหนักในคุณคา่ ของส่ิงแวดล้อมท่ีมตี ่อการดำรงชีวิตของสิ่งมชี ีวิต โดย มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์ และมนุษย์ แสดงความอยากรู้อยากเห็น โดยการถามคำถามเก่ียวกับลักษณะที่คลา้ ยคลึงกนั ของตนเองกับ พ่อแม่ อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อทำให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายการละลายของสารในน้ำโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเคมีโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และการ เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้ อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุใน กรณีที่วัตถุอยู่นิ่งจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดียวกันและ แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงที่กระทำต่อวัตถุ ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีต่อการ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยู่ ในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการ เกิดเสียงดัง เสียงค่อย วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับเสียง ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องระดับ เสียงโดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง เปรียบเทียบความแตกต่างของดาว เคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาว ฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ บนท้องฟ้าในรอบปี เปรียบเทียบปริมาณน้ำในแต่ละแหล่ง และระบุปริมาณน้ำที่มนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จากข้อมูลท่ี รวบรวมได้ ตระหนกั ถึงคณุ ค่าของนำ้ โดยนำเสนอแนวทางการใช้น้ำอยา่ งประหยัดและการอนรุ ักษ์น้ำ สร้าง แบบจำลองที่อธิบายการหมุนเวียนของน้ำในวัฏจักรน้ำ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็งจากแบบจำลอง เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้ อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกัน ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ี หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิต ประจำวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิ และหน้าท่ขี องตน เคารพในสทิ ธิของผอู้ ่ืน แจ้งผเู้ ก่ยี วข้องเม่อื พบขอ้ มลู หรอื บุคคลที่ไม่เหมาะสม

รหสั ตัวชี้วัด ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ,ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๔.๒ ป.๕/๑ ,ป.๕/๒ , ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ รวม ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตัวชว้ี ัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๐๐ ชัว่ โมง/ปกี ารศกึ ษา ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทาน บอก แนวทางในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถว้ น ในสดั สว่ นท่ีเหมาะสมกบั เพศและวยั รวมทั้ง ความปลอดภัยต่อสุขภาพ ตระหนักถึงความสำคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารที่มี สารอาหารครบถ้วนในสดั สว่ นที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทง้ั ปลอดภยั ต่อสุขภาพ สร้างแบบจำลองระบบย่อย อาหาร และบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมทั้งอธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึม สารอาหาร ตระหนักถึงความสำคัญของระบบย่อยอาหาร โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบ ย่อยอาหารให้ทำงานเป็นปกติ อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การร่อน การใช้ แมเ่ หล็กดึงดดู การรนิ ออก การกรอง และการตกตะกอนโดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ รวมทง้ั ระบุวธิ ีแก้ปัญหาใน ชีวิตประจำวันเกี่ยวกับการแยกสาร อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซึ่งเกิดจากวัตถุที่ผา่ นการขัดถูโดยใช้ หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ระบุสว่ นประกอบและบรรยายหนา้ ทข่ี องแตล่ ะสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย จากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ออกแบบการทดลองและทดลองด้วย วิธีที่เหมาะสมในการอธิบายวิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ตระหนักถึงประโยชน์ของ ความรู้ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำวัน ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบ ขนาน ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน โดยบอก ประโยชน์ ข้อจำกัด และการประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิด และ เปรียบเทียบปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคา อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และ ยกตัวอย่างการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันจากข้อมูลที่รวบรวมได้ เปรียบเทียบ กระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และอธิบายวัฏจักรหินจากแบบจำลอง บรรยายและ ยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจำวันจากข้อมูลที่รวบรวมได้ สร้างแบบจำลอง ท่ี อธิบายการเกิดซากดึกดำบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดำบรรพ์ เปรียบเทียบการเกิด ลมบก ลมทะเล และมรสมุ รวมท้ังอธบิ ายผลทม่ี ตี ่อสง่ิ มชี วี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม จากแบบจำลอง อธบิ ายผลของมรสุม ต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยจากข้อมูลที่รวบรวมได้ บรรยายลักษณะและผลกระทบของน้ำท่วม การกัด เซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ ตระหนักถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภั ย โดย นำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดใน ทอ้ งถิ่น สรา้ งแบบจำลองท่ีอธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก และผลของปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อ สิ่งมีชีวิต ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลด กิจกรรมที่ก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจกใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่พบใน ชีวิตประจำวัน ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตรวจหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรมและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบ ข้อมูลหรือบุคคลท่ไี มเ่ หมาะสม มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕ ว ๒.๑ ป.๖/๑ ว ๒.๒ ป.๖/๑ ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘ ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวม ๗ มาตรฐาน ๓๐ ตวั ชี้วดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook