Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AW_Uttacheevapravat

AW_Uttacheevapravat

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-03-02 07:44:10

Description: AW_Uttacheevapravat

Search

Read the Text Version

อัตตชีวประวตั ิ ของ อาจารยว ศนิ อนิ ทสระ บ น เ ส น ท า ง ชี วิ ต อั น เ ป น ส น า ม ท ด ล อ ง แ ร ง ก ร ร ม

อาจรยิ าภิวาท นอมศริ ะ อภิวาท ปราชญแผน ดนิ นาม ’วศิน อนิ ทสระ พระผใู ห ’เพชรแหงการเผยแผธ รรม นําดวงใจ หน่ึงในองค พระรตั นตรัย ควรบูชา ทง้ั ชีวติ ทา นอุทศิ ถวายพระธรรม เพยี รนอมนาํ งานประกาศ พระศาสนา โลกยกยอง ’พระอานนท พทุ ธอนุชา วรรณกรรมธรรม เลิศลํา้ คา นา สดดุ ี เปน็ กุศล ของคนไทย ไดศ กึ ษา ใตร มเงา พระพทุ ธศาสนา สมศกั ด์ิศรี ไดพ บปราชญ ทางธรรม นําชีวี ดุจ ’พระธรรมเจดยี  ศรแี ดนไตร แมว ัยวนั ผนั ผา น นานฉนาํ ประทปี ธรรม ยงั นําทาง สวางไสว ขออาราธน พระไตรรตั น เป็นฉัตรชยั คุมครองให ชวี ิต ’ครู อยสู ุขสบาย บญุ กุศล ดลบนั ดาล สําราญอาตม ทุกภพชาติ ปรารถนาใด สมใจหมาย สิน้ ทุกขโศก โรคภัย ทัง้ ใจกาย เป็นโคมฉาย อมตธรรม นํานิพพาน ดวยความเคารพอยางสงู ยง่ิ ทพญ.อัจฉรา กลิ่นสุวรรณ ประพนั ธในนามชมรมกัลยาณธรรม



คําอนุโมทนา ในการพิมพค ร้ังท่ี ๒ เรอื่ ง “อตั ตชวี ประวตั ”ิ นไี้ ดเ ขยี นไวค รง้ั แรกเมอ่ื ปพ .ศ.๒๕๔๙ ได พมิ พอ อกเผยแพรเ มอื่ ป ๒๕๕๒ โดยขวญั เพยี งหทยั (พรจติ ต พงศว ราภา) ในการพมิ พค รงั้ ที่ ๒ น้ี จดั พมิ พโ ดยทนั ตแพทยห ญงิ อจั ฉรา กลนิ่ สุวรรณ ในนามชมรมกลั ยาณธรรม ไดเพมิ่ เติมบางสวนเขา มาบาง เชน ขอ เขยี นทล่ี กู ศษิ ยห ลายคนเขยี นถงึ ขา พเจา โดยความดาํ รขิ องผจู ดั ทาํ ขา พเจา ขอขอบใจลกู ศิษยท ุกคนทีเ่ ขยี นถึงดว ยความจริงใจ ลุถึงพ.ศ.๒๕๕๔ น้ี ชีวิตของขาพเจาไดเปล่ียนแปลงไปมาก เชน เจ็บปวยมากขึ้น รางกายออนแอลง เดินเหิรดวยความยากลําบาก แตก็ได รบั การเอาใจใสด แู ลดว ยดจี ากลกู ศษิ ยห ลายคน เชน ยวุ ดี องึ๊ ศรวี งษ เปน ตน ไดดูแลอยา งใกลชิดตลอดเวลาท้ังวนั และทุกวนั เรื่องอาหารการกินนั้น นอกจากคุณวิรัช และคุณนวลนอย ชปู ระดิษฐ ไดชว ยดแู ลสัปดาหละวันแลว ยังมคี ุณเกรียงพงษ หรจิ ิระตวิ งศ ไดสงสัปดาหละวัน ทันตแพทยหญิงอัจฉรา กลิ่นสุวรรณสงสัปดาหละ ๑-๒ วนั ปรมิ าณอาหารทลี่ กู ศษิ ยส ง ใหด งั กลา วแลว เพยี งพอไป ๑ สปั ดาห สวนมากเหลอื ขา พเจา ขอขอบใจทกุ คนทม่ี นี ้ําใจเออ้ื เฟอ ชว ยเหลอื ใหม ชี วี ติ อยไู ดโ ดยไมเ ดอื ดรอนในเรื่องน้ี ซง่ึ ถอื วา เปนเรอื่ งสําคัญของมนุษยเรอื่ งหนงึ่ ดังพระพุทธพจนที่วา “สัตวท้ังหลายเปนอยูไดดวยอาหาร (สพฺเพ สตฺตา อาหารฏ ิตกิ า)” ขา วนาํ้ เครอื่ งบรโิ ภคตา งๆ เปน อาหารสาํ หรบั รา งกาย เปน ๑ ในอาหาร ๔ นอกจากนี้ขาพเจายังไดรับกําลังใจเปนอันมากจากบุคคล ตาง ๆ ผูไดอานหนังสือบาง ฟงซีดีบาง จัดเปนอาหารใจที่สําคัญ ขาพเจา ขอขอบคุณทุกคนและขอใหทุกคนมีสุขภาพดี มีกําลังใจและกําลังความคิดที่ จะประกอบคุณงามความดี

ย่ิงนานวันไปเทาใด ขาพเจาย่ิงรูสึกซาบซึ้งในพระพุทธพจนท่ี วา “ชีวิตของสัตวท้ังหลายเปนอยูยาก (กิจฺฉํ มจฺจาน ชีวิตํ)” และภาษิต ของพระสารบี ตุ รทว่ี า “ชวี ติ ของสตั วท งั้ หลายไมม เี ครอื่ งหมาย รไู มไ ด (จะตาย เมอื่ ใด) ชวี ติ นน้ี อ ยดว ย ฝด เคอื งดว ย (คอื ใหเ ปน ไปไดโ ดยยาก) ทงั้ ยงั ประกอบ ไปดว ยทกุ ข” นอกจากน้ี พระพทุ ธองคย งั ตรสั ไวว า “ชวี ติ ของสตั วท งั้ หลาย ผูกพันอยใู นกรรม” บวงกรรมเปนบวงที่ดิ้นรนใหหลุดออกไปไดยาก นอกจากทาน ผูส้ินกิเลสแลวเทานั้น เพราะเม่ือส้ินกิเลสแลวก็สิ้นกรรม เมื่อส้ินกรรมก็ส้ิน วบิ าก (ผลของกรรม) ชวี ติ ของสตั วท ง้ั หลายวนเวยี นอยใู นวฏั ฏะทง้ั ๓ น้ี คอื กเิ ลส กรรม วบิ าก ชา งนา สงสารสงั เวช และเปน ทตี่ ง้ั แหง ความกรณุ าเสยี นก่ี ระไร ชวี ติ มนษุ ยจ งึ เปน สนามทดลองแรงกรรม ตราบใดทม่ี นษุ ยแ ละสตั ว ทงั้ หลายยงั มกี เิ ลส ยงั มกี รรม ยงั วนเวยี นอยใู นวฏั ฏะหรอื สงั สารวฏั กย็ อ ม ถกู ทกุ ขต ดิ ตาม ความสขุ มบี า งกม็ นี อ ยเกนิ ไปเมอ่ื เทยี บกบั ความทกุ ขอ นั มหมึ า ผูท่ีพนจากความทุกขประสบความสุขอันสมบูรณก็มีแตพระอริยเจาระดับ พระอรหนั ตเ ทา นนั้ ชาวพทุ ธควรมงุ หนา ไปสจู ดุ มงุ หมายอนั นี้ เพอ่ื ความสนิ้ ทกุ ขและประสบสขุ อนั ยงั่ ยนื ตลอดไป ขาพเจาขอขอบคุณชมรมกัลยาณธรรม ที่ไดพิมพหนังสือเรื่องน้ี ออกเผยแพรเ ปน ครง้ั ที่ ๒ ขอใหท กุ คนไดร บั การคมุ ครองโดยธรรมตลอดกาล ทุกเม่ือ ดวยความปรารถนาดีอยา งย่งิ ๒๗ สงิ หาคม ๒๕๕๔

คํานํา ในการจดั พมิ พค รัง้ แรก เมอ่ื ขา พเจา ทาํ หนงั สอื เรอื่ ง “การเผยแผศ าสนา ความเขา ใจ หลกั ศาสนาและการพฒั นาชวี ติ ดว ยคณุ ธรรม” เพอ่ื แจกในงานทาํ บญุ อายคุ รบ ๖๐ ป ๑๗ กนั ยายน ๒๕๓๗ ขา พเจา ไดป รารภไวใ นคาํ นาํ ตอนหน่ึงวา “แมต งั้ ใจจะเขยี นประวตั ขิ องตนเองอยา งยอ ๆ ไวบ า งในหนงั สอื เลมนี้ ก็ยังทําไมได รูสึกวาทําไดยากอยางย่ิง สมตามที่อับราฮัม คราวลยี  เขยี นไวว า “การเขยี นประวตั ติ วั เองนนั้ แมจ ะสนกุ แตย าก เพราะถาเขียนในทางลบก็จะกระเทือนใจผูเขียนเอง ถาเขียนในเชิง บวกคือยกยองตัวเองก็จะกระเทือนหูผูอาน” (It is a hard and nice subject for a man to write of himself: it grates his own heart to say anything of disparagement, and the reader’s ears to hear anything of praise for him)*” ขาพเจาจึงไมไดเขียนประวัติของตนเองเมื่อ ๑๒ ปกอน มาถึงบัดน้ีขาพเจาตัดสินใจเขียนประวัติของตนเอง โดยพยายาม หลกี เลยี่ งไมใ หเ ปน ไปในเชงิ บวกหรอื เชงิ ลบ แตเ ลา ไปตามทเี่ ปน จรงิ นอกจากนย้ี งั หลกี เลยี่ งการกลา วถงึ ผอู น่ื ในทางไมด ี แมจ ะประสบมา เปนอนั มากกต็ าม * อางใน “คําคมบม ชวี ิต” ของ กรุณา กุศลาสยั พ.ศ. ๒๕๓๖ หนา ๔๒

มตี วั อยา งทที่ า นผใู หญไ ดท าํ ไวก อ นเปน อนั มาก เชน “พระประวตั ิ ตรสั เลา ” ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ไดต รสั เลา ประวตั ขิ องพระองคไ วอ ยา งนา สนใจ นา อา นและไดค ติ ได ประโยชนแ กพ วกเรามากมาย พระยาอนมุ านราชธน (ยง เสฐยี รโกเศศ) หรือที่พวกเราสวนมากรูจักทานในนาม “เสฐียรโกเศศ” ไดเขียน หนงั สอื ชอื่ “อตั ตชวี ประวตั ”ิ ของทา นไวอ ยา งนา สนใจยง่ิ พมิ พเ มอื่ พ.ศ. ๒๕๑๒ อาจารยพ ลตรหี ลวงวจิ ติ รวาทการกไ็ ดเ ขยี นประวตั ขิ อง ทานไว อาจารยกรุณา กุศลาสัย ไดเขียนเรื่องราวของทานเองไว เปน ทาํ นองจดหมายถงึ ลกู ชอ่ื หนงั สอื “ชวี ติ ทเี่ ลอื กไมไ ด” ชอ่ื รอง วา “อัตตชีวประวัติของผูที่เกิดในแผนดินไทยคนหนึ่ง” พิมพเม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๙ ทานอาจารยพุทธทาสไดเลาชีวประวัติของทานไวใน หนังสือช่ือ “เลา ไวเมอื่ วัยสนธยา” พมิ พเ ม่อื พ.ศ. ๒๕๓๕ มีตัวอยางท่ีทานผูอานสนใจ อานแลวไดประโยชนไดคติ ชีวิตมากมาย หลวงวิจิตรวาทการน้ันเปนนักประพันธที่มีชื่อเสียง โดง ดงั มาก เขยี นอะไรกน็ าอาน เม่ือเขยี นชวี ประวตั ขิ องทานเองจะ นาอา นสกั เพยี งไร ดว ยเหน็ ตวั อยา งเหลา น้ี ขา พเจา จงึ กลา เขยี นประวตั ขิ องตน ดว ยหวงั วา คงจะเปน ประโยชนแ กอ นชุ นคนรนุ หลงั หรอื แมแ กผ ทู มี่ ี ชีวิตรวมยุคกับขาพเจา ขาพเจาตระหนักอยูเสมอวา ขาพเจาไมใช คนสําคญั และไมถึงระดับท่ีจะไดรับการยกยองวาเปนบคุ คลสําคญั แตขาพเจาก็ภูมิใจวา เกิดมาในพระพุทธศาสนา เกิดมาในสังคม ไดท าํ ประโยชนไ วแ กพ ระพทุ ธศาสนาและแกส งั คม ดว ยเรยี่ วแรงและ

ความสามารถเทา ทขี่ า พเจา มี เพอ่ื เปน การใชห นพี้ ระศาสนาและสงั คม ทไ่ี ดเ ลี้ยงดูอุมชขู า พเจา มา หลงั จากทีพ่ อ แมข องขาพเจา ไดส น้ิ ชีวติ แลวตง้ั แตขา พเจาอายุ ๕ ขวบ ดวยความดําริและเหตุผลดังกลาวมา ขาพเจาจึงไดเขียน ชวี ประวตั ไิ วเ พียงเล็กนอ ยอยางที่ทานเหน็ อยูน ้ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๔๙

คํานาํ ของชมรมกลั ยาณธรรม การศึกษาชีวิตหลักสูตรรวบรัดวิธีหนึ่ง คือการศึกษา ประสบการณชีวิตของทานผูที่ประสบความสําเร็จหรือชีวิตบุคคล ตนแบบ ซ่ึงในฉากชีวิตจริงแตละเร่ือง หากรอดูแตตอนจบ ท่ี ประสบความสาํ เรจ็ ยงิ่ ใหญก อ็ าจจะไมค รบถว นสมบรู ณแ บบ ควรศกึ ษา วิถีทางเดินชีวิตของทานดวยวาผานพนแตละชวงเวลามาไดอยางไร ตอ งตอ สูอ ุปสรรคยากลําบากแคไหน ตองใชความอดทนพากเพียร อตุ สาหะวริ ยิ ะเพียงไร กวาจะมาถงึ วันนี้ ทใ่ี คร ๆ ช่ืนชมยกยอ งใน ความสําเร็จแหงชีวิต เม่ือไดศึกษาต้ังแตตนจนจบนั่นแหละ จึงจะ ซาบซึง้ จนอาจจะยม้ิ ทงั้ นา้ํ ตา หรอื ไดรบั คตชิ วี ิตท่ีปต ิอ่ิมเอมใจย่งิ นอ ยคนนกั ทจ่ี ะไมร จู กั นามและเกยี รตคิ ณุ ของทา นอาจารย วศนิ อนิ ทสระ ไมว า เพศใดวยั ใดตา งเคยสมั ผสั รสอกั ษรแหง ธรรม จากปลายปากกาของทา นไมว า จะเปน พระอานนทพ ทุ ธอนชุ า หลกั กรรม และการเวียนวายตายเกิด จนถึงพระไตรปฎกฉบับทําใหงาย และ พระไตรปฎ กฉบบั ขยายความ จากเกา สใู หม สบื เนอื่ งเปน กระแสธาร แหง ธรรม เปนมหาสมุทรแหงปญญาทีท่ รงคณุ คาไมขาดสาย คอ นชวี ติ ของทา นทผ่ี กู พนั อยใู ตร ม เงาแหง พระพทุ ธศาสนา จากเพศบรรพชิตมาสูชีวิตคฤหัสถ จากเด็กกําพราพอแมต้ังแตวัย ๕ ขวบ ทา นอาจารยเ องกค็ งไมค าดคดิ มากอ น วา ชวี ติ ของทา นจะ

เดนิ มาไกลถงึ จดุ นี้ ในปจ ฉมิ วยั ทแ่ี รงกายออ นลา แตพ ลงั ใจและดวง ปญ ญายงั สวา งแจม ใส ทา นมเี วลาทบทวนเรอ่ื งราวความเปน มาใน ชีวติ จากความทรงจํา เลาฝากไวใ นหนังสอื เลมนี้ ทา นมิไดมีเจตนา จะพรรณนาเร่อื งเศราสะเทอื นใจ แตชีวติ จรงิ จากความทรงจาํ ของ ทา นกม็ กั จะมที ว งทาํ นองนนั้ นอ ยคนนกั ทจี่ ะไดป ระจกั ษว า เบอื้ งหลงั ความหวานซง้ึ สะเทอื นอารมณแ หง วรรณกรรมแหง ธรรมอนั งดงาม เบอื้ งหลงั ถอ ยลขิ ติ ธรรม ทอ่ี ธบิ ายอยา งกระจา งแจง ชวนอา น ชวนฟง จะมคี วามปว ยไข ความทกุ ขย าก และอปุ สรรคมากมายเปน อปุ กรณ ชมรมฯ หวังวาเม่ือทานไดอาน “อัตตชีวประวัติฯ” เลมนี้จบลง ทานคงจะอา นหนงั สอื ทท่ี า นอาจารยว ศนิ เขยี นไวอ ยา งรซู ง้ึ ในคณุ คา มากขึน้ ไมม ากกน็ อย ชวี ติ ของทา นอาจารยว ศนิ เปน แบบอยา งของชวี ติ นกั สู และ ครูผูเกิดมาเพื่อเปนคลังแหงปญญาและปูชนียบุคคล จะทุกขยาก ลาํ บากเพยี งไรกไ็ มด บั สญู และไมม สี งิ่ ใดทาํ ลายได เพราะตอ งเตบิ โต ผานพนอุปสรรคนอยใหญเพ่ือมาสองโคมธรรมสูใจมวลชน ชีวิต ของทานเปนแบบอยา งเปน กําลังใจใหสาธุชนผูเดินตามมาภายหลัง ใหไดเกิดความมั่นใจใน “ทางแหงความดี” ไมยอทอตออุปสรรค แมอ าจจะมตี น ทนุ ตาํ่ หรอื เตม็ ไปดว ยสงิ่ กดี ขวางอยา งไรกต็ าม หาก มใี จมงุ มน่ั ในความดงี าม พากเพยี รพยายามไมท อ ถอย ในทสี่ ดุ ยอ ม ไดพบความสําเร็จ เชนท่ีทานอาจารยดําเนินชีวิตมา เพื่อเปนยอด ปราชญและเปนปูชนียบุคคลแหงแผนดิน ทําใหนึกถึงคําของทาน อาจารยท ่วี า ขอใหม ี “อตั ตจาคะ” สละตนใหแ กธรรม มอบตนให

แกธ รรม คอื วางใจวา แลว แตธ รรมจะบนั ดาลให จะทกุ ขส ขุ ยากงา ย สบาย ลาํ บากแคไหน แลวแตพระธรรมจะนําชีวติ ไป ในนามของชมรมกลั ยาณธรรม และเหลา สานศุ ษิ ย มคี วาม ภาคภูมิใจท่ีไดเผยแผผลงานอันทรงคุณคา ท้ังหนังสือและเสียง บรรยายของทานอาจารย และการไดมีโอกาสจัดพิมพ “อัตตชีวิต ประวตั ขิ อง อ.วศนิ อนิ ทสระ” เลม นี้ โดยเพมิ่ เตมิ เนอ้ื หาใหส มบรู ณ ขนึ้ ในภาค “อาจรยิ านสุ สต”ิ ถอื เปน การแสดงความเคารพยกยอ ง ชวี ติ อยา ง “คร”ู ใหท กุ คนไดส มั ผสั ไดเ ขา ใจความเปน ครดู ว ยความ เคารพศรทั ธาอยา งลกึ ซงึ้ ทง้ั ยงั เปน เครอื่ งบชู าพระคณุ ทา นอาจารย เปนพลังบุญกุศลใหดวงประทีปธรรมดวงนี้ไดสองแสงสวางสูใจ มวลชนตอไปอกี นานเทา นาน ธรรมยอ มมอี ยใู นทกุ หยอ มหญา แตจ ะสถติ ยใ นใจของเรา ไดมากนอยเพียงไร องคประกอบสําคัญแรกที่สุดสองประการคือ กัลยาณมิตรและโยนิโสมนสิการ ขอใหทุกทานผูไดมีโอกาสอาน หนงั สอื “อตั ตชวี ประวตั ขิ อง อ.วศนิ อนิ ทสระ” เลม นี้ จงใครค รวญ พจิ ารณาดว ยปญ ญาในละครแหง ชวี ติ จรงิ ทท่ี า นอาจารยไ ดส ละตนเอง ยกมาเปน บทเรยี น เปน แบบอยา ง เพอ่ื เปน กาํ ลงั ใจสาธชุ นสคู วาม สาํ เร็จแหง ชวี ิต เพื่อทัง้ ประโยชนตนและประโยชนท า นตามสมควร ทพญ.อจั ฉรา กลิ่นสุวรรณ ประธานชมรมกัลยาณธรรม ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔

สารบญั ภาคแรก : ประวัตทิ า นเลา ๑๕ ๑๖ ๑ เม่อื เปนเดก็ ๒๖ ๒ เมอ่ื เปนสามเณร ๓๔ ๓ เมอ่ื บวชเปน พระ ๔๘ ๔ เมื่อมาเรียนทมี่ หาวทิ ยาลัยสงฆ ๖๐ ๕ เม่อื ลาสิกขาและหนา ทีก่ ารงาน ๖๘ ๖ โรงเรียนเตรียมทหาร ๗๔ ๗ เมือ่ แตง งาน ๘๒ ๘ เม่ือไปศึกษาตอ ทอี่ นิ เดีย ๘๖ ๙ มหาวิทยาลัยพาราณสี ๙๒ ๑๐ กลบั เมืองไทย ๙๘ ๑๑ ท่ีหอสมดุ แหงชาติ ๑๐๒ ๑๒ ประจําทมี่ หาวิทยาลยั สงฆ ๑๐๘ ๑๓ ที่มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง ๑๑๔ ๑๔ โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตยห ลกั สตู รพิเศษ ๑๒๐ ๑๕ ท่ีมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร

๑๖ ทาํ รายการวิทยุ ๑๒๔ ๑๗ ทาํ นติ ยสาร ๑๒๘ ๑๘ เทปและซดี ี ๑๓๔ ๑๙ ชวี ติ ปจ จุบัน (พ.ศ. ๒๕๔๙) ๑๓๘ ๒๐ บุพการี ๑๔๘ ๒๑ บันทกึ เบด็ เตล็ด ๑๕๒ ๒๒ ผลงานเกียรตปิ ระวตั ิ ๑๖๐ ๑๖๑ • โลแ ละเกียรตยิ ศ ๑๖๒ • กองทุนและการใหท ุน ๑๖๓ • เกย่ี วกับเสนาสนะ ๑๖๔ ๒๓ เกีย่ วกบั หนังสอื ๑๗๑ ๑๗๒ ภาคสอง : อาจริยานุสสติ ๑๘๔ ๑๘๗ กราบเทา คุณพอทีเ่ คารพ ๑๙๘ แดอาจารยดว ยความเคารพ ๒๐๓ กอนที่จะพบทา นอาจารย ๒๑๒ แทนความเคารพศรัทธาย่งิ ๒๑๗ แดค รูผเู ปน มงคลชีวิตของปวงศิษย ๒๒๗ แทนความผูกพนั ๒๒๘ โลกนไ้ี มม บี งั เอญิ ๒๔๑ ภาคผนวก บทสัมภาษณอ าจารยวศิน อินทสระ เลา ไวใ นวนั เกดิ ปที่ ๗๐



ภาคแรก ประวัติทานเลา

๑ เมอ่ื เปน็ เดก็

จําไมไ ดวาก่เี ดอื นหลังจากทแ่ี มตายแลว พอกม็ าทีบ่ า นนา บา ว... นา ไดเ รียกขาพเจา ไปหาพอ ทานเรียกขาพเจา ไปกอด รูสกึ อบอนุ อยางประหลาด เปนคร้ังแรกทขี่ า พเจา จาํ ไดว า ไดอ ยใู นออมกอดของพอ แลว พอก็จากไป ตอ มาอกี ไมก่ีเดือน นาจิตท่ีบา นหนองหวามาแจง ขา ววา พอไดเ สยี ชวี ติ แลว ขาพเจา ยงั เดก็ เกินไปท่ีจะเสยี ใจ ขา พเจา เกดิ ทหี่ มบู า นทา ศาลา อาํ เภอรตั ภมู ิ จงั หวดั สงขลา เม่ือวันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๗ สถานที่เกิดเปนเนินดินท่ี ภาษาทางใตเ ขาเรยี ก ‘โคก’ มตี น มะมว งหมิ พานตอ ยเู ตม็ ในบรเิ วณนนั้ ตน มะมว งหิมพานตน น้ั ภาษาทางใตเ รยี ก ‘ยารวง’ แปลวา ขา พเจา เกดิ ทโี่ คกยารว งหรือเนนิ ปาตน หมิ พานต เมื่อขาพเจาโตแลวไดเห็นวาบริเวณนั้นเปนปาท้ังหมด จงึ เปน บา นทอี่ ยใู นปา มปี า ผใู จดตี ง้ั บา นเรอื นอยใู กลก นั เปน พข่ี องแม ชอ่ื ปา กลบั มลี กู สาว ๒ คน อายมุ ากกวา ขา พเจา หมบู า นบรเิ วณ

๑๘ อัตตชีวประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ น้ันจึงสงบเงียบเพราะเปนปาเสียสวนใหญ มีลําคลองทอดยาวมา จากเขาแกว ลงสทู ะเลสาบสงขลา ตรงตาํ บลปากบาง อาํ เภอรตั ภมู ิ ขาพเจาไดทราบจากผูใหญวา ตอมาแมไดยายกลับไปอยู ที่ตําบลบานตากแดด อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา ซึ่ง ณ ที่น้ัน มญี าตอิ ยมู าก เชน นา นอ งของแม และตอ ไปอกี หมบู า นหนง่ึ เหนอื ขึ้นไปมีญาติฝายพออยูมาก เรียกหมูบานหนองหวา อําเภอเมือง จงั หวดั สงขลา สองหมบู า นนอี้ ยคู นละฝง ทะเลสาบกบั อาํ เภอรตั ภมู ิ ถา จะเดนิ ทางไปหากนั ตอ งไปทางเรอื สว นมากจะเปน เรอื ใบ ยา และ ปอู ยูทีบ่ า นหนองหวาน้ี มีพ่สี าวท่ีใจดคี นหน่งึ ลูกของปา ช่อื พ่ีถาย จติ ภักดี วัน เดือน ปเกิดของขาพเจา แมไดบอกใหทราบไวต้ังแต พอจําความไดวา ถาใครถามใหบอกวาเกิดปจอวันจันทรเดือนสิบ ขา พเจากท็ อ งตลอดมาต้ังแตส มยั ทเ่ี ปน เดก็ ใครถามก็ตอบไดทนั ที ท่ีมาทราบวาเกิดวันท่ี ๑๗ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๔๗๗ น้ัน เม่ือ ขา พเจา ไดม าบวชเปน สามเณรทว่ี ดั บปุ ผารามแลว เมอื่ พ.ศ. ๒๔๙๐ โดยที่ทานอาจารยคือทานเจาคุณพระราชดิลก เวลานั้นยังเปน พระมหาหลง กติ ฺติสาโร อยู ทานชาํ นาญทางโหราศาสตร ไดนํา วนั เดือนปเ กดิ ทขี่ าพเจา ทอง มาเทียบกบั ปฏทิ นิ โหราศาสตรว า ตรง กับวนั ที่ ๑๗ กันยายน ๒๔๗๗ เวลานนั้ ขาพเจาอายุ ๑๓ ป ซ่ึงจะเลา รายละเอียดขางหนา ขาพเจาเกิดที่อําเภอรัตภูมิ แตมาเติบโตท่ี อําเภอเมือง เม่ือแมยายมาอยูท่ีหมูบานตากแดด ตําบลปากรอ

๑๙เมอ่ื เปน เด็ก ขา พเจา จาํ ความไดไ มน านแมก ส็ น้ิ ชวี ติ ดว ยโรคไขธ รรมดาเมอ่ื ขา พเจา อายุได ๕ ขวบ พอนั้นขาพเจาไมทราบวาไปอยูท่ีไหน บานของ ขาพเจาอยูติดกับบานของนาซ่ึงขาพเจาเรียกวา ‘นาบาว’ ภรรยา ชอ่ื ‘แชม ’ ซงึ่ เปน นา สะใภ มลี กู หลายคนทงั้ หญงิ และชาย ขา พเจา มพี น่ี อ งทง้ั หมด ๖ คน เปน ชาย ๔ หญงิ ๒ ขา พเจา ไมเ คยเหน็ พ่ีชายคนท่ีสอง ทราบวาเสียชีวิตตั้งแตยังเล็ก คงยังเหลือเติบโต มา ๕ คนคอื สเุ มธ อินทสระ (เสยี ชีวิตแลว ) นรนิ ทร อินทสระ (เสียชวี ิตแลว ) ขัด บุญประกอบ (เสียชวี ติ แลว ) ขา พเจา วศนิ อนิ ทสระ คลองจิตร กาญจนมุสกิ (ปจ จบุ นั อยทู ต่ี าํ บลปากบาง อาํ เภอรตั ภมู )ิ เม่ือแมเสยี ชีวิตแลว พอ ไมร ูไ ปอยทู ไ่ี หน พี่ชายคนโตกไ็ มไ ด อยบู า น พวกเราซงึ่ ยงั เดก็ ๆ กนั อยกู ก็ าํ พรา ทงั้ พอ และแม ปา กลบั ผูมีนํ้าใจอารีตอลูกหลานไดมาแบงเอาหลานไป ๓ คน ไปเลี้ยงท่ี อําเภอรัตภูมิ คือ นรินทร ขัด และคลองจิตร คงเหลือขาพเจา ใหอ ยกู บั นา ทบ่ี า นตากแดด ตอนนนั้ ขา พเจา อายไุ ด ๕ ขวบ (พ.ศ. ๒๔๘๒) พอชว ยเขาทาํ งานไดบ า งเลก็ ๆ นอ ย ๆ ตามประสาเดก็ เมอื่ อายุ ๘ ขวบ จงึ ไดเ ขา เรยี นหนงั สอื ชน้ั เตรยี มประถมทโ่ี รงเรยี นประชาบาลบอ ทราย ตาํ บลปากรอ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา มศี าลาอยหู ลงั หนง่ึ เปน โรงเรียนท้ังหมด เด็กเล็กชั้นเตรียมประถมใหเรียนท่ีใตตนประดู

๒๐ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศนิ อนิ ทสระ มีสระใหญอยูสระหนึ่งอยูระหวางศาลากับตนประดู นักเรียนหิวน้ํา ก็ไปวักนํ้าในสระกิน แตหามไมใหใครลงไปวายน้ําเลน คราวใด ปดเทอมปากลับก็จะมารับไปอยูที่อําเภอรัตภูมิ ขาพเจารูสึกมี ความสุขเหมือนไดข้ึนสวรรค เพราะมีปามากและมีผลไมใหเก็บกิน หลายอยา ง ลกู สาวคนเลก็ ของปา ชอื่ พเ่ี ชอื นไดโ อบไหลข า พเจา ไปหา ผลไมใ นปา กนิ ขา พเจา รสู กึ อบอนุ และมคี วามสขุ อยา งประหลาด ซงึ่ ไมเ คยไดร บั มากอ น ความรสู กึ อนั นน้ั ยงั แนบสนทิ อยจู นบดั น้ี (พเ่ี ชอื น เสยี ชีวิตไปเมือ่ ปพ.ศ. ๒๕๔๘) เม่ือเปดเทอมขาพเจาตองกลับมาเรียนหนังสือท่ีโรงเรียน บอ ทราย โดยเดนิ ไปเรยี นทง้ั ไปและกลบั ระยะทางประมาณ ๒ กโิ ลเมตร เส้ือผาและอาหารนั้นขาดแคลนมาก ไมตองพูดถึงรองเทา เด็ก นักเรียนเดินเทาเปลากันท้ังนั้น พ.ศ. ๒๔๘๔ เกิดสงครามโลกครั้ง ทส่ี องยง่ิ ขาดแคลนหนกั ขนึ้ ไปอกี กางเกงทน่ี งุ ไปโรงเรยี นปะแลว ปะอกี กางเกงทน่ี งุ อยกู บั บา นและนงุ ไปโรงเรยี นคงมไี มเ กนิ ๒ ตวั ปะแลว ปะอกี จนหาเนอื้ เดมิ ไมไ ด เสอ้ื นน้ั มไี วส าํ หรบั ผกู คอ ไมไ ดม ไี วส าํ หรบั ใส วธิ ผี กู คอกค็ อื เอาแขนเสอ้ื ทงั้ สองโอบมามดั คอไว ตวั เสอ้ื อยขู า งหลงั ไมตองกลัวหนาวเพราะท่ีนั่นไมเคยหนาว และเปนการถนอมเส้ือ ไมใ หข าด จะไมน งุ กางเกงไปโรงเรยี นกด็ กู ระไรอยู ความขาดแคลน ปจจัยสี่ในสมัยสงครามโลกคร้ังที่สองมีอยูเปนอันมาก ธรรมดาไม เกดิ สงครามกข็ าดแคลนอยแู ลว ถงึ หนา แลง กแ็ หง จรงิ ๆ ผใู หญต อ ง ไปตักนํ้าในทไี่ กล ๆ จงึ จะไดน ํา้ มาปบ สองปบ ไกลหลายกิโลทเี ดยี ว หนาฝนนํ้าก็ทวมเจ่ิงนองไปหมดทั่วทองทุง มองเห็นพ้ืนนํ้าขาวสุด

๒๑เม่ือเปน เด็ก สายตา อาหารทชี่ าวบา นหาไดเ ปน หลกั กค็ อื ปลาในทอ งทงุ ขา วพอ มีกินเพราะทํานาเอง ยอนระลึกดูแลวความเปนอยูของชาวบานใน ชนบทสมัยนน้ั นาสงสารมาก จําไมไดวาก่ีเดือนหลังจากที่แมตายแลว พอก็มาท่ีบาน นาบาว ตอนนั้นบานของแมไดเปนเรือนขาวเปลือกของนา นาได เรียกขาพเจาไปหาพอ ทานเรียกขาพเจาไปกอด รูสึกอบอุนอยาง ประหลาด เปน ครัง้ เดยี วที่ขาพเจา จาํ ไดว า ไดอ ยใู นออ มกอดของพอ แลว พอ กจ็ ากไป เขา ใจวา คงไปพกั ทบ่ี า นปแู ละยา ตอ มาอกี ไมก เี่ ดอื น นา จติ ทบ่ี า นหนองหวามาแจง ขา ววา พอ ไดเ สยี ชวี ติ เสยี แลว ขา พเจา ยงั เดก็ เกนิ ไปทจี่ ะเสยี ใจจงึ ไดแ ตย นื เฉย ๆ จาํ ไดว า วนั ทเ่ี ผาพอ นนั้ นาํ้ ทว มใหญ คนหามศพตอ งหามลยุ นา้ํ กนั ไป ขา พเจา ยงั เลน นา้ํ ตามไปดว ย เรียนหนงั สอื อยทู ่ีโรงเรยี นบอ ทรายได ๓ ป พอจบ ป.๒ ตอนนนั้ ทราบวา พช่ี ายคนโตคอื พสี่ เุ มธไปบวชเปน พระอยทู วี่ ดั ภตู บรรพต ตาํ บลชะแล อําเภอสงิ หนคร จงั หวดั สงขลา โดยคาํ ขอรอ งของปู และยา ขา พเจา อยทู บี่ า นตากแดดดว ยความลาํ บากและอดทน บงั เอญิ มีเหตุใหนาตัดสินใจนําขาพเจาไปไวท่ีวัดภูตบรรพตที่พ่ีชายบวชอยู ตกลงวาไดไปอยูเปนเด็กวัดอยูกับพ่ีชาย แตความเปนอยูก็ยังคง อตั คัดขาดแคลนตามประสาเดก็ วดั บา นนอก อาหารไดก ินบา งไมได กินบาง นอยวันที่ไดกินครบสามมื้อ มาเรียน ป.๓ ที่โรงเรียน ประชาบาลวัดชะแล ตําบลบางเขียด ปจจุบันเปนอําเภอสิงหนคร หา งจากวดั ภตู บรรพตเพยี งเลก็ นอ ย เดนิ ประมาณสบิ นาทกี ถ็ งึ แลว

๒๒ อัตตชีวประวัติ อ.วศนิ อินทสระ ตลอดเวลาท่ีเรียนอยูท่ีน่ี ตอนกลางวันเปนไมตองพูดถึงกันเลยคือ ไมมีกิน ของขายก็ไมมี ถึงจะมีของขายก็กินไมไดเพราะไมมีเงิน ตดิ ตวั เลยสกั บาทเดยี วเหมอื น ๆ กนั ทกุ คน เดก็ ทพ่ี อกนิ ขา วกลางวนั ไดบ า งตอนพักเทย่ี ง ก็เหน็ จะเปนเด็กท่อี ยวู ัดชะแลนนั่ เอง มีเพอ่ื น คนหน่ึงชื่อ ‘ขอม’ เปนเด็กวัดชะแล เขาชวนไปกินขาวกลางวัน บอย ๆ แตไมคอยไดไปกิน เลิกเรียนกลับมาวัด ไดก ินบางไมไดกิน บา ง มอี บุ าสกิ าบางคนทอี่ ยขู า งวดั เขารสู กึ เอน็ ดู บอกวา วนั ไหนไมม ี ขาวเย็นท่ีวัด ใหไปกินที่บานเขา แตก็ไมคอยไดไป ปูกับยาก็สั่ง เหมือนกัน แตบานปูและยาอยูไกลเหลือเกิน ตองเดินเปนชั่วโมง จงึ จะถงึ จงึ ไมค อ ยไดไ ป ปกู บั ยา เปน คนใจดลี กู หลานรกั และคนใน หมบู า นกเ็ คารพนบั ถอื เคยพดู กบั ขา พเจา วา เมอ่ื เรยี นจบชน้ั ประถม แลวก็จะสงใหเรียนตอชั้นมัธยม แตนาเสียดาย เมื่อขาพเจาเรียน อยชู น้ั ป.๔ ปแู ละยา กล็ ม ปว ยลงพรอ มกนั เลกิ โรงเรยี นแลว ขา พเจา กจ็ ะรบี กลบั มาเยย่ี มปแู ละยา และรอ งไหโ ฮโฮทกุ ครง้ั ทมี่ า รสู กึ หมด ท่ีพ่ึง ในที่สุดปูและยาก็สิ้นชีวิตลงพรอมกัน ดูเหมือนจะหางกัน คนละวัน เก็บศพไวท่ีบานสองสามวันแลวก็เผาพรอมกัน ขาพเจา กลบั ไปอยวู ัดอยางเดิม เมอื่ เรยี นอยู ป.๔ จาํ ไดว า นา แดงนอ งของพอ เปน ผใู หญบ า น อยทู บี่ า นโคกโพธ์ิ ใกล ๆ บา นหนองหวานนั่ เอง (ทางใตจ ะเรยี กนอ ง ของพอหรือนองของแมวา ‘นา’ เหมือนกันหมด) ทางรัฐบาลได มนี โยบายชว ยเหลอื เดก็ ยากจน ไดน าํ ผา ไปแจก ไมม ชี อ่ื ของขา พเจา อยูดวย นาแดงไดทักทวงขึ้นวา ขาพเจาไมไดเปนเด็กยากจนหรือ

๒๓เมอ่ื เปน เด็ก ทําไมจึงไมได ขาพเจาจึงไดผามาผืนหน่ึง จําไดวาเปนสีกรมทา ใชน งุ กไ็ ดห ม กไ็ ด ขา พเจา ดใี จยงิ่ นกั ใชผ า อยา งทะนถุ นอม คนื หนงึ่ มีการแสดงหนังตะลุงที่เชิงเขาวัดภูตบรรพต ที่น่ันเปนปาชาดวย (ภาษาทางใตเรียกวา ‘เปลว’) ขาพเจาไดไปดูหนังตะลุงแลวเผลอ หลับไป ตื่นข้ึนมาผาหมหายไปเสียแลว เปนความทรงจําท่ีไมรูจัก ลืมเลือนถึงความรูสึกขณะนั้นวาเสียดายเพียงไร เรายังเด็กมากจะ ไปหาโจรทไี่ หนไดเลา ขาพเจาชอบศิลปน หนังตะลุงเปนส่ิงท่ีนิยมชมชอบมาก เมื่ออยวู ัดบางคนื ก็หนีไปแสดงหนังตะลุงเอง ตอนนน้ั คงจะอายุสกั ๑๒-๑๓ มีเพ่ือน ๆ เด็กวัดดวยกันชวยกันเอาวัสดุเทาท่ีจะหาไดมา แทนโหมง ฉ่ิง และกลอง เปนตน พากยหนังตะลุงอยูไดท้ังคืน กลับมาวัดตอนเชาถูกทานอาจารยลงโทษบางก็เพียงเล็กนอย ไมหนักหนารุนแรงอะไร ทานอาจารยผูปกครองเวลาน้ันก็คือ ทา นปลดั เมศวร ซงึ่ ตอ มาเปน พระครถู าวรศลี คณุ (มรณภาพแลว ) เจา อาวาสวดั ภตู บรรพตเวลานน้ั คอื ทา นพระครโู ศภณศลี าจาร (แดง) ทานเปน พระท่ีมปี ฏิปทานา เลอื่ มใส ขาพเจาเรียนจบ ป.๔ ที่โรงเรียนวัดชะแลประมาณป พ.ศ. ๒๔๘๙ จาํ ไดแ มน เพราะทราบขา ววา พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั รัชกาลท่ี ๘ สวรรคต พอดีพระพี่ชายคิดจะมาเรียนหนังสือตอที่ จงั หวดั สงขลา จงึ ไดเ ดนิ ทางมาจงั หวดั สงขลา พกั อยทู ว่ี ดั มชั ฌมิ าวาส ซึ่งเปนวัดหลวงและเปนวัดใหญ อาศัยพักอยูท่ีกุฏิทานมหานิพนธ

๒๔ อตั ตชวี ประวัติ อ.วศิน อินทสระ ซ่ึงตอมาไดเปนทานพระครูนิเทศธรรมาภรณ ทานเปนผูออนนอม ถอมตน เมื่อขาพเจาเปนผูใหญและมีช่ือเสียงทางวิชาการแลว ทานติดขัดอะไรก็เขียนจดหมายมาถามบอย ๆ โดยไมไดถือตัววา เคยเปน อาจารยข องขา พเจา เมอ่ื พกั อยทู ว่ี ดั มชั ฌมิ าวาสนนั้ มเี ดก็ รุนเดียวกันที่พักอยูกับทานมหานิพนธมากคน นอนกันท่ีระเบียง หนาหองทานเต็มไปหมด อาหารประจําวันก็คือผักบุงที่เด็กรุนโต ไปซื้อมาจากตลาด นํามาแกงรวมกับอาหารที่พระบิณฑบาตได รูสึกวากล่ินอายของจังหวัดสงขลาเปนท่ีถูกใจย่ิงนัก มันเปนกลิ่น เมอื งทสี่ งบเรยี บรอ ย สะอาด และผาสกุ ดา นตะวนั ตกเปน ทะเลสาบ สงขลา ดานตะวันออกเปนทะเลหลวง สมัยนั้นสงขลาเปนเมืองที่ สงบเงียบ ทอ ระบายนาํ้ ใสสะอาด นอนไมตองกางมุงไมมียงุ สกั ตัว อยทู ว่ี ดั มชั ฌมิ าวาสกเี่ ดอื นจาํ ไมไ ด กเ็ ดนิ ทางมากรงุ เทพฯ เปนไวยาวัจกรของพระพ่ีชาย มาโดยทางรถไฟในป ๒๔๙๐ เสร็จ สงครามโลกครง้ั ทส่ี องแลว ๒ ป ตอนนน้ั ทางรถไฟทส่ี รุ าษฎรฯ ขาด ตองลงเรือขามแมน้ําแลวมาข้ึนรถไฟอีกฝงหนึ่ง รถไฟสุดทางที่ บางกอกนอยเวลาน้ัน มาพักท่ีวัดบูรณศิริฯกอน จําไมไดวากี่วัน แลวไปพกั ที่วดั บุปผาราม ธนบุรี กบั ทานเจา คุณพระราชดลิ ก ซึง่ ตอนน้ันยังเปนพระมหาหลงอยู ประมาณเดือนพฤษภาคม ๒๔๙๐ ทีแรกพระพ่ีชายตั้งใจไววา เม่ือมาถึงกรุงเทพฯแลวก็จะสงกลับไป บวชที่วัดมัชฌิมาวาส สงขลา แรกทีเดียวพระพี่ชายไมไดตั้งใจพา ขาพเจามา จะใหบวชอยูท่ีสงขลา แตเพราะผูท่ีจะเดินทางเปน ไวยาวัจกรมาดว ยเกดิ ปวยกะทันหัน จึงใหขา พเจา เปน ตวั แทนมา

๒๕เมือ่ เปน เด็ก เมื่อพักอยูที่วัดบุปผารามนั้น ทานเจาคุณอาจารย คือ ทานเจาคุณพระราชดิลก ซ่ึงตอไปน้ีขาพเจาจะขอเรียกทานวา ‘ทา นอาจารย’ ไดส บื สาวเรอ่ื งราววา ขา พเจา เปน ลกู ใครเปน หลานใคร พอรชู อ่ื พอ และปู ทา นอาจารยก ร็ บั ไวใ หบ วชทวี่ ดั บปุ ผาราม ทราบวา เมอ่ื สมัยยังหนุม กอนบวช ทานไปมาท่ีบานหนองหวาเสมอ รูจักปู ของขาพเจา และเปนเพ่ือนกบั พอ ของขาพเจา ทา นมหาสริ ิ ฐานยตุ โฺ ต กเ็ ปน คนบานเดยี วกนั คอื ทา นอยู บา นหว ยพดุ จะมสี ว นในการมาของพระพชี่ ายของขา พเจา ดว ยหรอื ไม ขาพเจาไมทราบ ทานมหาสิริทานน้ีตอมาไดเปนพระเทพกิตติเมธี เจาคณะจังหวัดนครปฐม กาญจนบุรี สุพรรณบุรี (ธรรมยุต) ตลอดเวลาท่ียังไมไดบวชเปนสามเณรนั้น ขาพเจาปวดหัวอยาง รุนแรงทุกวันตง้ั แตเ ชาพระอาทติ ยข ้ึนจนถงึ เทยี่ งวนั ยาไมมีกนิ เลย แมแ ตเ มด็ เดยี ว ไมร เู ปน โรคอะไร หรอื จะเปน อยา งทเี่ ขาเรยี กกนั วา ‘ลมตะกัง’ กระมัง กําหนดวันบวชเณร เดือนกรกฎาคมกอนเขา พรรษา แตจ าํ ไมไ ดว า วนั ทเี่ ทา ใด เชา วนั นน้ั โกนผมแลว ยงั มนึ ศรี ษะ อยไู มถ งึ กบั ปวด จาํ ไดว า บวชตอนบา ย เมอ่ื ครองผา กาสาวพสั ตรแ ลว บวชเสรจ็ แลว อาการปวดศรี ษะทต่ี อ งนอนรอ งไหท กุ วนั ไมเ ปน อกี เลยมาจนกระทัง่ บดั นี้

๒ เมอ่ื เป็นสามเณร

ทา นอาจารยแ ละทางวดั ต่ืนเตน และดีใจกนั มาก รวมท้ังทา นอปุ ช ฌายดว ย เพราะมสี ามเณรสอบไดเปรยี ญเอกเปน องคแรกของวัด เลาลอื กันไปมากพอควรวา เปนคนเรียนเกง ใครๆ กห็ วังกันวาขา พเจา จะไดเ ปรียญ ๙ โดยไมน านนัก แตผ ูท่หี วงั ก็ผดิ หวงั เพราะขา พเจาหยดุ อยูเพียงเทา น้ี ในการบวชเปนสามเณรคราวนี้ ผูอุปถัมภที่เรียกกันใน สํานวนพระวา โยมอุปฏฐาก คือ คุณแมริ้ว สืบศิริ ซ่ึงเปนโยม อุปฏฐายิกาของทานมหาสิริ คุณแมร้ิวเปนพยาบาลผดุงครรภ มี สามเี ปน บรุ ษุ พยาบาลอยทู ซี่ อยรวิ้ สบื ศริ ิ ใกล ๆ วงเวยี นเลก็ สมยั นน้ั เวลานว้ี งเวยี นเลก็ ไดถ กู รอ้ื ไปแลว ทา นทไี่ มท นั เหน็ วงเวยี นเลก็ กใ็ ห นึกถึงเชิงสะพานพุทธฯ ฝงธนบุรีและโรงเรียนศึกษานารี วงเวียน เล็กอยูตรงหนาโรงเรียนศึกษานารีพอดี คุณแมริ้วเปนคหปตานี ผมู ง่ั คง่ั คนหนง่ึ ในสมยั นนั้ มบี า นใหญโ ตไมส กั ทง้ั หลงั เปน คนอว น แตก็เดินไปวัดบุปผารามได ขาพเจาเม่ือบวชแลวก็ไปบิณฑบาตท่ี

๒๘ อัตตชวี ประวัติ อ.วศิน อนิ ทสระ บานคุณแมร้ิวทุกวัน ตอนหลัง นองสาวคือคลองจิตรยังเด็กอยู คณุ แมร ว้ิ ไดข อใหม าอยทู บี่ า น ดว ยเหน็ วา เปน นอ งของขา พเจา แต เพราะเหตุใดไมท ราบ อยูไดไมนานก็กลับไปอยกู บั ปาที่รัตภูมิ สมยั ทขี่ า พเจา เปน สามเณรอยนู นั้ มพี ระทไี่ ดร บั ความนยิ ม วาเกง คือทั้งเรียนเกงและเทศนเกงอยู ๒ รูป คือ ทานมหาสิริ ป.ธ.๖ ทา นมหาอาคม ป.ธ.๕ ตอ มาไดร บั สมณศกั ดเ์ิ ปน พระธรรม รัตนดิลก เจาอาวาสวัดบุปผารามตอจากทานเจาคุณพระธรรม วราลงั การ (อนภุ าโส) ผซู ง่ึ เปน อปุ ช ฌายข องขา พเจา ในสมยั ทดี่ าํ รง สมณศกั ดเิ์ ปน พระอโนมคณุ มนุ ซี ง่ึ เปน ผมู เี มตตาสงู มาก และมปี ฏปิ ทา อันนา เลือ่ มใส พูดถึงทานอาจารย ทานเอาใจใสตอการศึกษาเลาเรียน ของขาพเจาเปนอยางย่ิงและเขาใจวาจุใจทาน เพราะใหทองอะไรก็ ทองได ใหเรียนอะไรก็เรียนไดดวยความตั้งอกต้ังใจ อยางใหทอง สวดมนตตามหลกั สตู รของวัด ทานจะเรยี กไปซอ มทกุ คนื หนงั สือ สวดมนตฉบับแรกที่ขาพเจามีก็คือ เอกเทศสวดมนต ตอมาก็เปน สวดมนตฉบับหลวงซึ่งเปนหนังสือสวดมนตเลมใหญ ทองไปสวด ไปโดยที่ไมรูเรื่อง แตก็ชอบ เมื่อเริ่มเรียนนักธรรมช้ันตรีในปที่ บวชนัน้ ไดทอ งพทุ ธศาสนสุภาษติ เลม ๑ จนตลอดเลม ๕๐๐ ขอ ทั้งภาษาบาลีและภาษาไทย ชางมีความสุขและความพอใจเสียนี่ กระไร รสู กึ ซาบซึ้งในพระพทุ ธภาษิตเรม่ิ ต้ังแตน้ันมา นอกจากนี้ยัง ไดอานพุทธประวัติซ่ึงไมเคยไดอานมากอน ไดทองธรรมะและวินัย

๒๙เม่ือเปนสามเณร ในนวโกวาท ไดหดั เขียนเรยี งความแกก ระทธู รรม และอานวนิ ยั มขุ เลม ๑ ซ่ึงเปนหนังสืออธิบายวินัยโดยสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ลวนแตเปนของชอบท้ังนั้น ขาพเจา จงึ เรยี นนักธรรม เรยี นสวดมนตอ ยา งไมร สู กึ เบอื่ หนา ย แมจ ะยาก ไปบา งสาํ หรบั บางเรอ่ื ง เชน วนิ ยั มขุ สาํ หรบั ขา พเจา ซง่ึ อายเุ พยี ง ๑๓ ในขณะนัน้ แตก็ชอบอานแมจนกระท่งั บดั นี้ (พ.ศ. ๒๕๔๙) เมอ่ื สอบนกั ธรรมชนั้ ตรไี ดแ ลว ในปน นั้ ทา นอาจารยใ หเ รมิ่ ทองบาลไี วยากรณจ ํานวน ๔ เลม คิดเปน จาํ นวนหนา ถงึ ๕๐๔ หนา ตั้งใจทองดวยความอดทนเพราะอยากรู จําไมไดวาตองไปทองให อาจารยฟงหรือเปลา ไปเขาโรงเรียนฟงอธิบายบาลีไวยากรณ ดูเหมือนทานมหาสิริ ฐานยุตฺโตเปนผูสอน ทานเปนอาจารย ทีค่ อ นขางดุแตก็ทาํ ใหพ ระเณรต้งั ใจเรียนดี เหลือเวลาอีกประมาณ ๒ เดือนจะมีการสอบนักธรรม ชนั้ โท ทา นอาจารยย งั ไมอ ยากใหส อบ อยากใหท อ งบาลไี วยากรณ ใหจบกอ น แตขาพเจารสู ึกวา ไมค วรปลอ ยเวลาใหว า งไป ๑ ป โดย ไมไดสอบอะไรเลย จึงเขาไปเรียนทานวาจะขอเขาสอบนักธรรมโท ทานยงั คงยนื ยนั ไมใ หส อบ ขา พเจา ไปไดห นงั สอื ธรรมวภิ าคเลม ๒ ซงึ่ เปน หลกั สตู รวชิ าธรรมะสาํ หรบั นกั ธรรมชนั้ โท มานง่ั ทอ งทหี่ นา หอ งทง้ั กลางวนั และกลางคนื ทา นอาจารยเ ดนิ ไปเดนิ มาอยแู ถวนนั้ ทา นจะเปด มาหาขา พเจา กไ็ ด เมอื่ ทา นไดย นิ ทอ งธรรมวภิ าคเลม ๒ บอ ยเขา วนั หนงึ่ ขา พเจา นง่ั ทอ งอยหู นา หอ งจนเหนอ่ื ยแลว จงึ เขา ไป

๓๐ อตั ตชวี ประวัติ อ.วศนิ อินทสระ ในหอง เหน็ หนงั สอื หลักสตู รนักธรรมชัน้ โทกองหนง่ึ วางอยูบนโตะ ของขา พเจา ขา พเจารสู กึ ดีใจวา ทา นยนิ ยอมใหขาพเจา สอบแลว จงึ เขา ไปกราบขอบคณุ ทา นพรอ มดว ยนวดใหท า น งานนวดทา นอาจารย เปน งานประจาํ ของขา พเจา อยแู ลว ประมาณคนื ละ ๒ ชว่ั โมง เวลา ประมาณ ๒ ทุมครึ่ง - ๔ ทุม เมื่อถึงเวลาสอบนักธรรมช้ันโท ขาพเจา สอบได ทานอาจารยพ ดู กบั ใครตอใครเปน เชิงลอ เลียนหรอื ยกยอ งกไ็ มท ราบไดว า สอบไดม าอยา งไรใชเ วลาเรยี นเพยี ง ๒ เดอื น ในเมื่อคนอื่นเรยี นกนั ทั้งป สอบไดก็มสี อบไมไ ดกม็ ี หลักสูตรนักธรรมชั้นโทยังคงมี ๔ วิชาเหมือนนักธรรม ชน้ั ตรี แตเ นอ้ื หายากขนึ้ พทุ ธศาสนสภุ าษติ ซง่ึ ขา พเจา ชอบนกั หนานน้ั มีถึง ๒๐๑ ขอ แตละขอยาวกวาของนักธรรมชั้นตรีถึง ๓ เทา เพราะเปน คาถา ๔ บาท ของนกั ธรรมชน้ั ตรมี บี าทเดยี ว ขา พเจา ทองหมดทุกขอทง้ั ภาษาบาลแี ละภาษาไทย ไมไดเ ลอื กทองเพ่อื เก็ง ขอสอบเลย เมอื่ ไดน กั ธรรมชนั้ โทแลว และทอ งบาลไี วยากรณ ๔ เลม จบแลวก็เร่ิมแปลหนังสือธรรมบทซ่ึงเปนหลักสูตรของเปรียญ ๓ ประโยค มที ง้ั หมด ๘ ภาคดว ยกนั เปน หนงั สอื ขนาด ๘ หนา ยก จํานวนหนาถึง ๑,๒๒๔ หนา ไมใชนอยเลยสําหรับสามเณร อายุ ๑๕ หนงั สอื ชดุ นเี้ ปน อรรถกถาธรรมบท ผลงานของพระพทุ ธ โฆสาจารยช าวอนิ เดยี มาทาํ งานในศรลี งั กา เปน หนงั สอื ทน่ี า สนใจ

๓๑เม่อื เปนสามเณร มาก ยกคาถาพระพุทธภาษิตมาจากคัมภีรธรรมบทขุททกนิกาย พระไตรปฎ กเลม ๒๕ มาตัง้ แลวเลาเรอ่ื งประกอบ แลว อธบิ ายคาํ ยากในพระพุทธภาษิตเพียงเล็กนอย ผูเรียนไดเพลิดเพลินไปกับ นิทานประกอบเรื่อง ไดธรรมะจากพระพุทธภาษิตและคําอธิบาย เลก็ นอ ย แตน กั เรยี นจะกลวั คาํ อธบิ ายทเี่ รยี กวา ‘แกอ รรถ’ เพราะ ยากกวาสวนอ่ืน ๆ ขาพเจาเรียนดวยความเพลิดเพลินพรอมดวย พระอน่ื ๆ รวมทงั้ พระพช่ี ายดว ย กลางคนื มกั จะไปรวมกนั ทห่ี อ งใด หองหน่ึงแลวชวยกันแปล การไปเรียนบาลีท่ีโรงเรียนมีไมมากนัก สว นมากเรยี นดว ยตนเอง เทา ทจ่ี าํ ไดร สู กึ วา พระมหาปลอด ปย ทสสฺ ี สอนอยรู ะยะหนง่ึ จาํ ไมไ ดว า กเี่ ดอื น ถงึ เวลาสอบสนามหลวง (สนาม ใหญข องคณะสงฆ) ขา พเจา สอบได สรา งความตนื่ เตน พอใจใหก บั ทานอาจารยและสํานักเรียนมิใชนอย ทานอาจารยเร่ิมม่ันใจในตัว ขาพเจามากข้ึน คุณแมริ้ว สืบศิริ ซ่ึงเปนโยมอุปฏฐายิกาก็ดีใจ นาํ ปากกาหมกึ ซมึ มาถวายเปน รางวลั โยมหรนุ ทางวงเวยี นใหญซ งึ่ ไดถวายอาหารบณิ ฑบาตอยเู ปน ประจํา และคณุ นาลิม้ วอนขอพร ผูเปนลูกสาว ก็ไดนําปากกาหมึกซึมมาถวายดวย แตคนละสีกัน ขา พเจา เองกร็ สู กึ ปลม้ื ใจและภาคภมู ใิ จอยมู ใิ ชน อ ย เพราะไดเ ปลยี่ น ฐานะจากสามเณรธรรมดาเปนสามเณรเปรียญ แมจะเพียง ๓ ประโยคกต็ าม ถา จาํ ไมผ ดิ ดเู หมอื นวา มขี า พเจา เปน สามเณรเปรยี ญ อยูเพียงรูปเดียวในเวลาน้ัน ปหลัง ๆ ตอมาจึงมีสามเณรเปรียญ มากขึ้น พระพช่ี ายของขา พเจาก็สอบไดในปน้ันเหมือนกันประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๓

๓๒ อตั ตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ ปตอมาเรียน ป.ธ.๔ ใชหนังสือมังคลัตถทีปนีพักหนึ่ง เปนผลงานของพระสิริมังคลาจารย ชาวเชียงใหม* แตงอธิบาย มงคล ๓๘ ตั้งแตมงคลที่ ๑ ถึงมงคลที่ ๑๒ คือ การไมคบคน พาล ไปจนถงึ การงานไมค ง่ั คา ง เปน หนงั สอื อธบิ ายธรรมะมนี ทิ าน ประกอบ ขาพเจาชอบมาก อานอยางไมอ่ิมไมเบ่ือ เปนหนังสือ ๘ หนายก ประมาณ ๓๗๕ หนา ปน้นั ขาพเจา สอบไดอกี ปตอมาเรียน ป.ธ.๕ ใชหนังสือสมันตปาสาทิกาภาค ๓ ทพี่ ระเณรเรยี กกนั สนั้ ๆ วา ‘สามนต’ เปน อรรถกถาวนิ ยั แปลยากมาก ตองใชความอดทนอยางสูง หนาถึง ๕๗๐ หนา เปนหนังสือ ขนาดใหญ ๘ หนา ยกพเิ ศษ อา นไมส นกุ แตจ าํ เปน ตอ งเรยี นเพราะ เปน หลกั สตู ร ปน น้ั สอบได ป.ธ.๕ ปต อ มาเรยี น ป.ธ.๖ ใชห นงั สอื มงั คลตั ถทปี นภี าค ๒ หนา ๔๘๒ หนา อธบิ ายมงคล ๓๘ ตงั้ แต มงคลที่ ๑๓ ถงึ มงคลท่ี ๓๘ อา นสนกุ เพลดิ เพลนิ ปน นั้ สอบ ป.ธ.๖ ได ปท่ีขาพเจาได ป.ธ.๖ นั้น ทานเจาคุณพระเทพกิตติเมธี (ฐานยตุ ฺโต) สมัยยังเปนพระมหาสริ อิ ยู สอบได ป.ธ.๗ ปตอมาขาพเจาเรียน ป.ธ.๗ ใชหนังสือสมันตปาสาทิกา อรรถกถาวินัยภาค ๑ และภาค ๒ ยากกวาภาค ๓ ที่ใชเรียน ป.ธ.๕ แตก ย็ งั สอบได และไดน กั ธรรมเอกดว ยในปน น้ั ทา นอาจารย และทางวดั ตนื่ เตน และดใี จกนั มาก รวมทง้ั ทา นอปุ ช ฌายด ว ย เพราะ มสี ามเณรสอบไดเ ปน เปรียญเอกเปน องคแ รกของวัด เลาลือกนั ไป * เมื่อประมาณ ๕๐๐ ปมาแลว

๓๓เมื่อเปนสามเณร มากพอสมควรวาเปน คนเรยี นเกง ใคร ๆ กห็ วงั กันวาขา พเจาจะได เปรียญ ๙ โดยไมนานนัก แตผูที่หวังก็ผิดหวังเพราะขาพเจาหยุด อยเู พยี งเทาน้ี ตงั้ ใจวา จะเรยี นโดยการสอบเพยี งเทาน้ี เวลานนั้ มหาวทิ ยาลยั สงฆไ ดเ ปด ขน้ึ แลว ตง้ั แต พ.ศ. ๒๔๘๙ โดยชอื่ วา ‘สภาการศกึ ษามหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ’ ตงั้ อยหู นา วดั บวร นเิ วศวหิ าร ตึกท่เี ปน สาํ นักงานแมก องธรรมอยูเวลาน้ี มีพระภิกษุ ทวี่ ดั บปุ ผารามไปเรยี นหลายรปู ดว ยกนั ขา พเจา เองตง้ั ใจไวว า เมอื่ เรยี นถงึ เปรยี ญเอกแลว กจ็ ะเปลยี่ นไปเรยี นในระบบมหาวทิ ยาลยั สงฆ ดว ยหวงั วา จะไดว ชิ าสมยั ใหม มาชว ยสง เสรมิ การอธบิ ายธรรมทาง พระพทุ ธศาสนา ขา พเจา ลมื เลา ไปวา ขา พเจา สามารถเทศนาปากเปลา ที่เขาเรียกกันทางวัดวา ‘เทศนปฏิภาณ’ ต้ังแตไดนักธรรมโทแลว และก็ไดเทศนปฏิภาณเรื่อยมาท้ังในวัดและตางจังหวัด ทางวัดก็ ช่ืนชมยินดีท่ีมีสามเณรเปรียญสามารถเทศนปฏิภาณไดเพิ่มข้ึนมา อกี รปู หนง่ึ นอกจาก ทา นมหาสริ ิ ฐานยตุ โฺ ต และทา นมหาอาคม อุตฺตโร บางคราวเม่ือมีงานทางวัด มีเทศน ๓ ธรรมาสน ทาน ท้ังสองไดดึงเอาขาพเจาซึ่งเปนสามเณรข้ึนไปน่ังเทศนดวยรูปหน่ึง ทา นมหาอาคมนนั้ นยิ มกนั วา เทศนด ี เสยี งดงั ทา นไดเ ปรยี ญ ๗ หลงั จากขา พเจา ๑ หรือ ๒ ปจาํ ไดไมแ มน

๓ เมอ่ื บวชเปน็ พระ

ความเจ็บปวยเปนส่ิงบัน่ ทอนกาํ ลงั กาย และกําลังความสามารถเปน อนั มาก ตอ งเขาโรงพยาบาลก็หลายครั้ง เม่ือไปเรยี นท่สี ภาการศกึ ษามหามงกฎุ ฯแลว บางครงั้ กป็ วยหนัก ทา นอาจารยไปเฝา ดูแลดว ยความหวงใย และพูดดวยความเปน หวงวา “คณุ อยาเอาชีวิตไปท้งิ ไวเสียท่ีสภาการศึกษาฯเลย” ขาพเจา นิ่งฟงดวยความรูสกึ ซาบซึ้งในนา้ํ ใจของทาน แตน ึกในใจวา “เราไดก าวไปแลว ยอ มมีคตเิ ปน สอง คือสาํ เร็จ หรอื ตาย” พระพช่ี ายของขา พเจา ชอื่ สเุ มธ ไดล าสกิ ขาไปแลว ตงั้ แตไ ด ป.ธ.๕ ประมาณป ๒๔๙๕ เมื่อขาพเจาได ป.ธ.๗ นั้นประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๗ อายยุ งั ไมเ ตม็ ๒๐ แตท า นอาจารยจ ะใหอ ปุ สมบทกอ น เขา พรรษานนั้ อายยุ งั ขาดอยู ๔ เดอื น ทางวนิ ยั อนญุ าตใหน บั ใน ครรภไดถงึ ๙ เดือน แตนยิ มนบั กนั เพยี งแค ๗ เดอื น ท้ังน้เี ผ่อื เอาไววาเด็กบางคนคลอดกอนกําหนด จึงไดอุปสมบทในปน้ัน ประมาณเดือนพฤษภาคมหรือมิถุนายนจําไดไมแมน ทานอาจารย ตง้ั ใจไววา ในวันอุโบสถขา งหนาจะใหสวดปาตโิ มกข จึงใหเริม่ ทอ ง ปาตโิ มกข มเี วลา ๑๕ วนั แตข า พเจา ทอ งเพยี ง ๑๒ วนั กจ็ าํ ไดห มด

๓๖ อตั ตชีวประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ ไปซอ มกบั ทา นอาจารยท กุ คนื เหลอื เวลาอกี ๒ วนั เปน เวลาทบทวน ใหค ลอ ง ทา นอาจารยช มเชยวา เทา ทท่ี า นมปี ระสบการณผ า นมา ยงั ไมเ คยเหน็ ใครทอ งปาตโิ มกขจ าํ ไดภ ายใน ๑๒ วนั ทา นดใี จมาก ถงึ วันสวดเขาจริงก็สวดไดดี เปนที่ชื่นชมยินดีของอุปชฌายอาจารย ขา พเจา กป็ ลมื้ ใจทที่ าํ ใหท า นยนิ ดไี ด ตอนนนั้ ทา นอาจารยม สี มณศกั ดิ์ เปนพระครูกิตติวิมล ตอมาอีกหลายปไดเล่ือนเปนพระราชาคณะท่ี พระกิตติวิมลเมธี และตอมาอีกหลายปไดเล่ือนสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะชนั้ ราชทพี่ ระราชดลิ ก ทา นมหาอาคม อตุ ตฺ โร ตอ มาได เปนพระอมรเวธี และเล่ือนสมณศักด์ิขึ้นไปจนถึงพระราชาคณะ ชนั้ ธรรมทพี่ ระธรรมรตั นดลิ ก มรณภาพแลว เมอ่ื อายุ ๗๓ (ประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๓) ทานอายุมากกวาขา พเจา ๗ ป ทา นมหาสริ ิ ฐานยตุ โฺ ต เมอ่ื เปน เปรยี ญ ๗ อยู ไดร บั คาํ สงั่ จากเจา คณะภาคคอื พระธรรมโกศาจารยว ดั ราชาธวิ าสฯ ใหไ ปเปน ผชู ว ยเจา อาวาสวดั เสนหา จงั หวดั นครปฐม ตอ มาไดร บั สมณศกั ด์ิ เปนพระธรรมภาณกวี แลวเลื่อนเปนพระราชธรรมกวี แลวเลื่อน เปนพระเทพกิตติเมธี มรณภาพประมาณ ๑๕ ปมาแลว ขาพเจาตั้งใจจะไปเขาเรียนมหาวิทยาลัยสงฆ คือ สภา การศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย จึงไดไปกราบเรียนทานอาจารย เพื่อขอลาไปเรียน แตทานหามไว บอกวาเรียนใหจบเปรียญ ๙ เสียกอนแลวคอยไปเรียนก็ยังไมสาย เพราะอีก ๒ ปเทานั้นเอง ขา พเจา จงึ อนโุ ลมตามทา น ทา นอตุ สา หห าหนงั สอื เปรยี ญ ๘ มาให

๓๗เมือ่ บวชเปน พระ คอื คมั ภรี ว สิ ทุ ธมิ รรค ๓ ภาค บอกวา เปน การอนเุ คราะหข องมลู นธิ ิ มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ซง่ึ ทา นไปทาํ งานอยทู สี่ าํ นกั งาน เปน หวั หนา แผนกปรยิ ตั ธิ รรมของมลู นธิ มิ หามกฏุ ราชวทิ ยาลยั สาํ นกั งานอยใู น วดั บวรนเิ วศฯ ปจ จบุ นั เปน สถานทอี่ บรมพระธรรมทตู ไปตา งประเทศ คมั ภรี ว สิ ทุ ธมิ รรคเวลานน้ั ยงั ไมม ฉี บบั ภาษาไทย เปน คมั ภรี  ทย่ี ากมากทง้ั ภาษาและเนอื้ หา โดยเฉพาะภาคท่ี ๓ มภี าษาไทยบา ง เปนบางตอน ซึ่งแปลคัดลอกตอ ๆ กันมา ตอมาภายหลังจึงมี วิสุทธิมรรคแปล ฉบับของสํานักพิมพ ส.ธรรมภักดี ตอมาภาย หลงั อกี หลายปจ งึ มวี สิ ทุ ธมิ รรคฉบบั ภาษาไทยของมลู นธิ มิ หามกฏุ ฯ แปลโดย นาวาอากาศเอกเมฆ อําไพจริต ป.ธ.๙ แหงสํานักวัด เทพศิรนิ ทราวาสฯ ผเู รยี น ป.ธ.๘ ในรนุ หลงั ๆ จงึ ไดอ าศัย ขา พเจา เรยี น ป.ธ.๘ ดว ยจติ ใจเพยี งครงึ่ เดยี ว อกี ครงึ่ หนง่ึ ไปอยทู สี่ ภาการศกึ ษามหามกฏุ ฯเสยี แลว จงึ เรยี นไมเ ตม็ ที่ แตพ ยายาม อานจนหมด ถงึ เวลาสอบทานอาจารยเ อาใจชวยเตม็ ท่ี ถึงกับเดนิ ไปสงขาพเจาขึ้นรถสามลอที่บานคุณนาสําอาง ชูเกษ ซึ่งขาพเจา จะไดพูดถึงในโอกาสตอไป ซ่ึงในปกอนๆ ทานอาจารยไมเคยทํา ปนั้นขาพเจาสอบตก ไมไดเสียใจอะไรเพราะรูตัวอยูแลววาเรียน ดวยใจเพียงครึ่งเดียว ไดเขาไปขออนุญาตทานอาจารยเพื่อเรียนท่ี มหาวิทยาลัยสงฆอีก คราวน้ีทานอนุญาต แตรูสึกทานไมคอย พอใจนิด ๆ แตก็ไมเปนไรเพราะตอนหลังเมื่อขาพเจาเรียนจบแลว และไดใชความรูที่เรียนมาจากมหาวิทยาลัยสงฆมาประกอบการ

๓๘ อตั ตชวี ประวตั ิ อ.วศนิ อินทสระ อธบิ ายธรรมะ ออกมาเปน หนงั สอื มากมาย ประจกั ษแ กท า น ทา น รสู กึ ปต แิ ละภาคภมู ใิ จจนพดู ออกมาวา “ไดต ดั สนิ ใจถกู แลว ทไ่ี ปเรยี น ทมี่ หาวทิ ยาลยั สงฆ เพราะไดใ ชค วามรวู ชิ าสมยั ใหมม าประกอบความรู ทางธรรม เปนประโยชนมาก” บางคราวในการฉลองสมณศักดิ์ของทาน ทานไดพิมพ หนงั สอื แจก เชน หนงั สอื ‘โลกอน่ื ’ (เลา เรอ่ื งตายแลว เกดิ ) ขอให ขาพเจาเขียนคํานําในนามของศิษยานุศิษย ขาพเจาเขียนคํานํา เร่ือง ‘ตายแลว เกดิ ’ ไดย กเอาขอ ความในหนังสอื ทฝ่ี รง่ั เขียน และ หนงั สอื หลายเลม ทฝี่ รง่ั เขยี นเกยี่ วกบั เรอ่ื ง ‘ตายแลว เกดิ ’ ทา นอา น แลว ชอบใจมาก นก่ี เ็ ปน เพราะไดไ ปเรยี นทมี่ หาวทิ ยาลยั สงฆ มฉิ ะนน้ั จะไมรูต าํ ราท่ีเปน ภาษาอังกฤษเลย หลังจากไดสอบตกเปรียญ ๘ แลว และไดเขาศึกษาใน มหาวิทยาลัยสงฆแลว ขาพเจาไมคิดจะสอบบาลีอีกเลย แตไดนํา หนังสือหลักสูตรเปรียญ ๙ มาอานดูหมดท้ังเลมแลว เปนคัมภีร อธบิ ายอภธิ รรมชือ่ อภิธมั มัตถวภิ าวนิ ี* เปน หนังสอื ชั้นฎกี า** การศกึ ษาในระยะนม้ี งุ ไปทางพระไตรปฎ ก ขา พเจา เรม่ิ อา น พระไตรปฎกตั้งแตเรียนอยู ป.ธ.๔ เพราะหนังสือหลักสูตรคือ มังคลัตถทีปนีไดอางพระไตรปฎกไวมาก ยกขอความมาบางสวน * พระสุมงั คลาจารย รจนาข้นึ ในประเทศศรีลักา พ.ศ. ๑๖๙๖ ** ค๔ัม. ภอนรี ทฎุ าีกงาพแรละพะ ทุ๕ธ. ศปากสรนณามพีเิ ๕ศษชนั้ คอื ๑. พระไตรปฎก ๒. อรรถกถา ๓. ฎกี า

๓๙เมื่อบวชเปนพระ แลวบอกวา ถาอยากไดความพิสดารหรือขอความละเอียด ใหดูใน เร่ืองนั้นเรื่องน้ี เชนเรื่องพระเจาอชาตศัตรูใหดูรายละเอียดใน สามญั ญผลสตู ร ทฆี นกิ าย เปน ตน ขา พเจา กต็ ามไปดู แตต อนนน้ั ยงั ไมม พี ระไตรปฎ กเปน สว นตวั ไดไ ปขอยมื จากอาคารโรงเรยี นของวดั มาอา นดทู ลี ะเลม สองเลม แตห นงั สอื ยงั ตดิ กนั เปน ปก คอื ยงั ไมไ ดต ดั ขาพเจาจึงตองนํามาตัดเองท้ังเลมจึงอานได แสดงวาหนังสือยัง ไมม ใี ครใช ขา พเจา รสู กึ ตดิ พระไตรปฎกตงั้ แตนั้นมา เมอื่ มาเรยี นท่ี มหาวิทยาลัยสงฆ วิชาพระสูตรใชพระไตรปฎกเปนหลักชั้นละเลม ไดเ พมิ่ ความรูใหก วางขวางออกไปอกี ซ่งึ จะเลา ขางหนา ตามที่เลามานี้ เหมือนวาขาพเจาจะไมมีขอบกพรองอะไร แตความจริงแลวขาพเจามีขอบกพรองเปนอันมาก เหตุหนึ่งก็มา จากโรคภยั เบยี ดเบยี น ทาํ ใหล าํ บากในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี แทบทกุ ป ท่ีมีการสอบบาลี ขาพเจาตองปวยกอนเสมอ หรือมิฉะนั้นก็ตอน สอบเสรจ็ แลว เพราะไดท มุ เทเรยี นหนงั สอื อยา งหนกั นอนตี ๑ ตี ๒ แทบทกุ คนื จนอาจารยต อ งเปด ประตอู อกมาเตอื นบอ ย ๆ วา ใหน อน พกั ผอ นเสยี บา ง แตข า พเจา ยงิ่ อยดู กึ สมองยง่ิ แจม ใสจงึ หยดุ ไมค อ ยได อกี อยา งหนงึ่ ความเพลดิ เพลนิ ในการทไี่ ดค วามรเู พมิ่ ทงั้ ในดา นภาษา บาลีและเน้ือหาธรรมะในการอาน เปนแรงกระตุนใหอานและเรียน อยา งหนกั อยหู ลายป คดิ วา อาหารคงไมค อ ยพอดว ย เพราะหลงั จาก ฉนั เพลแลว กไ็ มม ีอะไรตกถึงทองอกี เลย นอกจากน้าํ เปลาจนกวา จะถึงเชาวันรุงขึ้น ตองออกไปบิณฑบาตกอนแลวจึงจะกลับมาฉัน เชา รวมกนั ทศี่ าลาโรงฉนั ของทา นอาจารย นพ่ี ดู ถงึ สมยั ทเ่ี ปน สามเณร

๔๐ อตั ตชีวประวัติ อ.วศิน อินทสระ จาํ ไดว า เมอื่ พระพช่ี ายสกึ แลว ไดย า ยไปอยกู ฏุ ทิ พี่ ระพชี่ าย เคยอยู* ซึ่งอยูเดี่ยวโดดใกลโบสถมีกําแพงกั้น และใกลกับกุฏิทาน เจาคุณพระเทพกิตติเมธี สมัยเมื่อทานยังเปนพระมหาสิริ ความ เจบ็ ปว ยเปน สงิ่ บน่ั ทอนกาํ ลงั กายและกาํ ลงั ความสามารถเปน อนั มาก ตองเขาโรงพยาบาลก็หลายคร้ัง เมื่อไปเรียนท่ีสภาการศึกษา มหามกุฏฯแลว บางคราวก็ปวยหนัก ทานอาจารยไปเฝาดูแลดวย ความหว งใยและพดู ดว ยความเปน หว งวา “คณุ อยา เอาชวี ติ ไปทง้ิ ไว เสยี ทสี่ ภาการศกึ ษาฯ เลย” ขา พเจา นง่ิ ฟง ดว ยความรสู กึ ซาบซง้ึ ใน นํ้าใจของทานแตนึกในใจวา “เราไดกาวไปแลว ยอมมีคติเปนสอง คือสาํ เรจ็ หรอื ตาย” ความมีโรคภัยไขเจ็บมากและหวงใยในการศึกษาเลาเรียน จงึ ทาํ ใหบ กพรอ งไปบา งในกจิ วตั รประจาํ วนั เชน การสวดมนตไ หว พระเชาเย็น ท่ีพระสงฆไปรวมกันทําในโบสถ ตอนเย็นทําไมไดอยู แลว เพราะไปเรยี นหนงั สอื กลบั มาคา่ํ แตต อนเชา กอ็ ยากสงวนเวลา ไวอ า นหนงั สอื โดยเฉพาะพระไตรปฎ กและหนงั สอื อน่ื ๆ ทเี่ ปน ความรู เพราะพอหลังเท่ียงก็ตองเดินทางไปเรียนหนังสือที่สภาการศึกษาฯ จติ ใจมงุ มนั่ อยวู า จะหาความรใู สต วั ไวใ หม ากทส่ี ดุ เพอื่ จะไดท าํ งานเผยแผ พระธรรมในโอกาสหนา ซ่งึ จะตองใชความรทู ี่ถกู ตองและแมน ยํา * ปจจุบนั ทางวดั ไดรือ้ ออกหมดแลว

๔๑เมอ่ื บวชเปน พระ ทา นอปุ ช ฌายข องขา พเจา คอื ทา นเจา คณุ พระอโนมคณุ มนุ ี ซง่ึ ตอ มาไดเปน พระธรรมวราลงั การนั้น เปนพระเถระท่มี เี มตตาสูง ทา นอาจารยก เ็ ขา ใจขา พเจา จงึ ใหอ ภยั ไมถ อื สาตอ ความบกพรอ งของ ขาพเจา ในเรื่องน้ี มอี ยคู ราวหนงึ่ อายปุ ระมาณ ๒๓ หรอื ๒๔ ขา พเจา ปว ยหนกั ฝนไปวามีบุรุษสองคนลักษณะเหมือนยมทูตมาพาขาพเจาไป ให ขา พเจา นงั่ เรอื ตรงกลางลาํ เขาสองคนพายหวั พายทา ย พาขา พเจา ไป ณ ท่ีแหงหนึ่ง ขาพเจาพบทานผูหนึ่งเหมือนยมบาล ในฝนวา ขาพเจาเปนพระ พอเห็นขาพเจา ทานผูน้ันก็ดุบุรุษสองคนท่ีพา ขาพเจาไปวา “พาทานมาทําไม ใหทานอยูประกาศศาสนาส่ังสอน ประชาชน” บรุ ษุ สองคนนนั้ จงึ รบี พาขา พเจา กลบั โดยทางเรอื อยา งเดมิ ขา พเจา ตน่ื ขนึ้ จงึ รวู า ฝน ไป และคดิ วา เปน นมิ ติ หมายทด่ี ี กจิ นมิ นต ตาง ๆ เชน สวดมนตฉันเพลนอกวัด ไมคอยไดไปเพราะเสียดาย เวลาและเหตทุ ไี่ มค อ ยสบาย สว นกจิ นมิ นตใ นวดั นนั้ ถา มผี มู านมิ นต กจ็ ะถามวา พระอน่ื ทยี่ งั ไมไ ดน มิ นตม หี รอื ไม ถา เขาบอกวา มกี จ็ ะให ไปนิมนตพระอื่นกอน จนกวามีพระไมพอแลวจึงจะรับนิมนต การ สวดศพไมเคยไปเพราะที่วัดไมมีเมรุ ชีวิตจึงขลุกอยูกับตําราและ หนังสือตาง ๆ เม่ือบวชเปนพระแลวไมคอยไดออกบิณฑบาต มี คณุ นา สาํ อาง ชเู กษ และคณุ แมเ ตมิ กลว ยไม ณ อยธุ ยา สง เสยี อุปถัมภอยู คุณนาสําอางนั้นใหลูกบุญธรรมชื่อ จิตยา ประดิษฐ อายุเทากับขาพเจามาสงอาหารทั้งเชาและเพล ตอนเย็นก็จะมีน้ํา ปานะมาถวายตามฤดูกาลของผลไม บางวันคุณนาสําอางก็มาเอง

๔๒ อัตตชีวประวัติ อ.วศิน อนิ ทสระ และถือโอกาสสนทนาธรรมดวย คุณนาสําอางมีเพ่ือนสนิทอยูคน หนงึ่ ชอื่ คณุ นา ทพิ วรรณ มาฟง ธรรมทวี่ ดั ดว ยกนั เสมอ ๆ โดยเฉพาะ ในวนั พระ คณุ แมเ ตมิ นน้ั สว นมากจะมาตอนเพล มอี าหารมาเพยี ง พอสาํ หรับพวกเราท่อี ยูท ีน่ ้ันประมาณ ๓-๔ รปู และเด็ก ๆ ดว ย ขาพเจารูจักคุณนาสําอางเม่ือประมาณอายุ ๑๘ ยังเปน สามเณรอยู เสยี งเลา ลอื ทว่ี า ขา พเจา เปน สามเณรทเี่ รยี นเกง ทาํ ให คณุ นา สนใจ จงึ ไดน มิ นตใ หร บั บณิ ฑบาตทบี่ า นเปน ประจาํ ขา พเจา กไ็ ดไ ปเย่ยี มเยยี นคุณนา เสมอเม่ือวาง คณุ นา ยายครอบครัวมาจาก นครปฐมดว ยความจาํ เปน บางประการ ลกู คณุ นา ๓ คน ชาย ๑ หญงิ ๒ ลว นแตเ รยี นหนงั สอื ดี ๆ จบจากจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั ทงั้ สามคน เมอื่ ลกู เรยี นจบแลว ไดท าํ งานแลว คณุ นา คอ ยสบายขน้ึ คณุ แมเ ตมิ นน้ั เปน พยาบาลผดงุ ครรภ เพอ่ื นกบั คณุ แมร วิ้ สืบศิริ คุณแมเติมแตงงานกับหมอมหลวงปาน กลวยไม มาเปน โยมอปุ ฏ ฐายกิ าคอื เปน เจา ภาพ* เมอ่ื ขา พเจา บวชพระ โดยคาํ แนะนาํ ของทา นเจาคุณพระเทพกิตตเิ มธี (สริ ิ ฐานยตุ โฺ ต) เม่ือไดเ ปน เจา ภาพบวชขา พเจา แลว ชอบใจทข่ี า พเจา เปน คนเฉย ๆ นงิ่ ๆ คณุ แม เรียกขาพเจาวาเปน ‘พระไมย้ิม’ พูดเสียงเบา ทานเจาคุณธรรม รัตนดิลก (อาคม) เคยพูดถึงขาพเจาใหขาพเจาไดยินวา “อยูกัน มา ๗ ป ไมเ คยไดย นิ เสยี งเขาหวั เราะเลย” สว นทา นเองนนั้ หวั เราะ เสยี งดัง จนบางคราวคนจีนทขี่ ายของอยูขางวดั วง่ิ มาถามวา เกิด * ตอนน้ันคุณแมร้วิ สบื ศริ ิ มปี ญหาชวี ติ หลายอยาง ฐานะจงึ เปลย่ี นแปลงไป

๔๓เม่อื บวชเปนพระ อะไรขนึ้ นเี่ ปน คาํ เลา ของทา นเอง ไมใ ชข า พเจา เพมิ่ เตมิ เสรมิ ตอ แต ประการใด คุณแมเติม บานอยูปากคลองตลาดใกลโรงเรียนราชินี อตุ สา หข า มเรอื จากปากคลองตลาดมาวดั บปุ ผารามแทบทกุ วนั พรอ ม ดว ยอาหารอนั คอนขางมาก บางวันก็นงั่ รถสามลอ มา ตลอดเวลา ๑๐ ปที่ขาพเจาบวชเปนพระ ทานท้ังสองไดทํากิจที่ทําไดยากแก ขา พเจา ผซู งึ่ มใิ ชล กู หลานและพงศพ นั ธแุ ตป ระการใด จงึ ขอจารกึ พระคุณไว ณ ที่นี้ดวย คุณแมเติมมีลูกชาย ๒ คน คนหน่ึงคือ คุณทองตอ กลวยไม ณ อยุธยา ซึ่งเปน นักวิชาการทส่ี งั คมสวน มากรูจักและยงั ติดตอกบั ขา พเจา อยจู นกระทั่งบัดน้ี เมื่อขาพเจาเปนผูใหญ มีลูกศิษยมากแลวทั้งพระและ ฆราวาส เขามักจะพูดกันวาขาพเจาเปนผูมีเมตตาและใหอภัยแกผู นอ ย ทง้ั นข้ี า พเจา คดิ และระลกึ อยเู สมอวา เมอ่ื ขา พเจา มขี อ บกพรอ ง มากมายสมัยยังหนุมนั้น ไดอาศัยเมตตาและการใหอภัยของทาน อุปชฌายอาจารย จึงไดนําพาชีวิตใหตลอดรอดฝงมาไดจนเปนอยู ไดเทาท่ีปรากฏอยูในปจจุบัน ขาพเจาระลึกถึงทานมหาตมะคานธี ซึ่งเปนผูเปยมไปดวยเมตตาและการใหอภัย เพราะเหตุที่คราวหน่ึง ทา นทาํ ผดิ เขา ไปขอโทษคณุ พอ คณุ พอ ของทา นโอบกอดทา นพรอ ม ดว ยนาํ้ ตาซมึ และใหอ ภยั สงิ่ นนั้ ประทบั ใจทา นคานธตี ลอดมา ขา พเจา มน่ั ใจวา เมตตาและการใหอ ภยั จะชนะทกุ สงิ่ ในระยะยาว ขา พเจา ระลกึ ถึงสุภาษิตอังกฤษบทหน่ึงอยูเสมอ คือ To err is human, to

๔๔ อตั ตชีวประวัติ อ.วศิน อนิ ทสระ forgive devine. แปลวา การทาํ ผดิ เปน เรอ่ื งของมนษุ ย แตก ารให อภยั เปน เรือ่ งของเทวดา หมายความวา เมือ่ ใดเราใหอภัยแกผูอื่น เมื่อน้ันเราเปนเทวดา เราควรใหอภัยแกตัวเองบางเหมือนกัน แต ไมใชบอ ยนกั เพ่ือไมซ ํา้ เติมตวั เองมากเกินไป เมื่อบวชเปนพระแลว ความเปนอยูคอยดีข้ึน จากการ อุปถัมภดูแลของคุณแมเติม กลวยไม ณ อยุธยา และคุณนา สําอาง ชูเกษ และญาติโยมคนอ่ืน ๆ ที่เขามาเกี่ยวของ เพ่ือน ๆ ผไู ปมาหาสมู กั จะทกั วา มนี าํ้ มนี วลดีข้นึ กวาสมัยเปนสามเณร เมอื่ เปน สามเณรนนั้ ผอมมากผอมจนตวั เขยี ว แกม ตอบ เมอ่ื แขมว ทอ ง ทองจะลึกโบลงไปเหมือนรูปเคียวดานคม ถาคนอวนลงพุงก็จะ ตรงกันขาม เพราะความผอมและบอบบางจึงมักนุงสบง ๒ ช้ัน เพ่ือใหดูไมผอมเกินไป ใคร ๆ มักจะทักวาแกเกินวัยและดูแกกวา พระพช่ี าย ซงึ่ อายหุ า งกนั ประมาณ ๑๐ ปเ สียอกี ทา นอาจารยก็ เปนคนผอมเหมอื นกัน แตท า นอายุมากแลว จึงไมเปน การแปลก ชวงระยะอายุ ๒๐ กวา ๆ นี้ มีเด็กลูกศิษยมาอยูดวย ๓-๔ คน คือ นิวิต หะนนท มาเรียนโรงเรียนเพาะชาง เม่ือจบ แลวกลับไปจังหวัดสงขลา เปนอาจารยสอนศิลปะอยูท่ีโรงเรียน วรนารีเฉลิม จนเกษียณอายุ ปจจุบันอายุ ๗๒ อันท่ีจริงนิวิต หะนนท มาอยูกับขาพเจาตั้งแตเปนเด็กเล็ก ขาพเจาเปนเด็กรุนพ่ี

๔๕เม่ือบวชเปน พระ อยูท่ีวดั ภูตบรรพตตอนเรยี นชนั้ ป.๓ ป.๔ แยกกันเม่ือขา พเจา มา กรุงเทพฯ โฆษิต นามสกุลอะไรจําไมได มาเรียนที่มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร จะเรยี นจนจบหรอื ไม จาํ ไมไ ด เพราะเขาไมค อ ยสบาย เปน คนขวี้ ติ กกงั วล กลบั ไปอยสู งขลา ทราบวา เสยี ชวี ติ ตง้ั แตย งั หนมุ ผดงุ ชฎารตั น มาเรยี นมธั ยมปลายทโี่ รงเรยี นอาํ นวยศลิ ป ตอมาเขา แพทยศ ิริราชได จบแพทยศ ิรริ าชแลวไปอยูอเมริกานานป ตอนน้กี ลบั มาอยูเ มอื งไทยแลว สรางบา นอยูทีเ่ กาะยอสงขลา วิจิตร ชฎารตั น นอ งชายของผดุง มาเขา เรียนโรงเรียน อํานวยศิลปเ หมือนกัน หลงั จากผดุงปห รือสองปจาํ ไมแ มน ถาจาํ ไมผ ิด เรยี นจบกฎหมายทีธ่ รรมศาสตรแลว ไปอยูอ เมรกิ า จนบัดนี้ ลูกศิษยร ุนนัน้ มาถึงบดั น้ีอายุ ๖๐ กวา กนั แลวทง้ั นั้น คุณเกรียงศักด์ิ แสงเจริญ และคุณสุวรรณ ปุนอภิรัตน สนทิ สนมกบั ขา พเจา ตง้ั แตเ ปน สามเณรดว ยกนั และเปน พระดว ยกนั รนุ ราวคราวเดยี วกนั เกดิ ปเ ดยี วกนั คณุ สวุ รรณเรยี นจบมหาวทิ ยาลยั สงฆ มหามกฏุ ฯ แลว สกึ ไปทาํ งานกรมประชาสงเคราะห จนไดเ ปน ประชาสงเคราะหจ งั หวดั คณุ เกรยี งศกั ดน์ิ น้ั เรยี นมหาวทิ ยาลยั สงฆ มหามกุฏฯไดเพียงเตรียม ปท่ี ๒ แลวสอบ ม.๘ ไดไปเขาเรียน มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร คณะนติ ิศาสตร จบแลวเปน อัยการจน

๔๖ อตั ตชวี ประวัติ อ.วศนิ อินทสระ เกษยี ณอายุ ทงั้ สองคนนี้ สอบบาลไี ดเ ปรยี ญ ๕ เขามกั จะมาคยุ กบั ขา พเจา ทก่ี ฏุ ขิ องขา พเจาเสมอ คุณเกรียงศกั ดิ์นนั้ มาฉนั อยูดวย เลย สว นมากเขาเปน คนคยุ ขา พเจา เปน คนฟง เวลามเี รอื่ งขดั แยง กนั บา งเกย่ี วกบั เหตกุ ารณบ า นเมอื ง เขามกั จะพดู กนั วา ขา พเจา จะรู อะไร มวั อา นแตพ ระไตรปฎ ก ขา พเจา กไ็ ดแ ตห วั เราะเบา ๆ เหน็ วา จริงของเขาเหมือนกัน การเรยี นบาลใี นยคุ นน้ั สนกุ สนานครน้ื เครง เพราะมผี เู รยี น มากทง้ั พระและสามเณร จนสาํ นกั เรยี นบปุ ผารามมชี อ่ื เสยี งกระฉอ น ไปไกล จึงมีพระภกิ ษสุ ามเณรมาอยกู นั มากขนึ้

บคุ คลในโลกเหมือนผูแหวกวา ยอยูใน “สงั สารสาคร” โอกาสท่ีจะเปนเหยือ่ ของปลารา ย คือความช่ัวนน้ั มีมาก คนทําความดี ต้งั ตนไวช อบ เหมอื นผอู ยูใ นเรอื ธรรมเปรียบเหมือนเรือ คนไดอ าศยั เรือหรือแพขามฝง แลว กท็ ้งิ เรอื ไว ณ ฝง นั้นเอง ไมตอ งเขน็ เรอื ขึ้นบก หรอื แบกเรือน้ันไปดว ย

๔ เม่อื มาเรยี นท่ีมหาวทิ ยาลยั สงฆ

ขาพเจา ไดรบั บรรจุใหเปนอาจารย สอนวิชาพระสุตตันตปฎก ตัง้ แตสอบเทอมสดุ ทายเสรจ็ ยังไมทันประกาศผลสอบ ขา พเจา รสู กึ ประหลาดใจวาเหตไุ ฉนจึงเปน เชน นน้ั ทบทวนไปมา ก็เขา ใจไดวา ทา นผูใ หญผ ูจัดการศกึ ษา คงจะม่นั ใจในตัวขา พเจา ขา พเจา ขอเลา เรอ่ื งทไ่ี ปเรยี นทม่ี หาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ฯ เมอ่ื ไดร บั อนญุ าตจากทา นอาจารยแ ลว กไ็ ปสอบเขา เรยี น ปรากฏวา สอบ เขา ได มพี ระภกิ ษสุ ามเณรทสี่ อบเขา ไดค ราวนนั้ ดเู หมอื น ๙๑ รปู ใชเวลาเรียน ๗ ป ช้ันบุรพศึกษา ๑ ป เตรียม ๒ ป เปน นกั ศึกษา ๔ ป เรยี นทต่ี กึ มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย เปน ตึก ๒ ช้นั หนาวัดบวรนิเวศวิหาร ปจจุบันนี้เปนสํานักงานแมกองธรรม สนามหลวง และดูเหมือนจะเปนสมาคมโหรฯดวย ปน้ันจะเปนป พ.ศ. ๒๔๙๙ ขาพเจาเปนนักศึกษารุนท่ี ๑๐ มหาวิทยาลัยสงฆ เปดเรียนเม่ือป พ.ศ. ๒๔๘๙ เรียนอยูที่หนาวัด ๒ ป พอถึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook