187 ฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลของประชาชนอย่าง เป็นระบบ และ 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตาม มาตรฐานตาแหน่ง ให้ตรงกับสายงาน ความชานาญ และความต้องการของบุคลากร สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2562 ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาระบบ บรหิ ารจัดการให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ท่ี 1 เร่งส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมรับผิดรับชอบในการจัด การศึกษาและสรา้ งเครอื ข่าย/ความเป็นภาคีหุ้นส่วนกบั องค์กรทง้ั ภายในและต่างประเทศรวมท้ังสนับสนุน ทรัพยากรเพื่อการศึกษา กลยุทธ์ที่ 2 ปรับปรุงกลไกเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษาท้ังใน ระดบั ส่วนกลาง และในพน้ื ทร่ี ะดบั ภาค/จงั หวัด ให้เป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล โดยเนน้ ด้านคุณธรรมและ ความโปร่งใส กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาระบบบริหารงานงบประมาณด้านการศึกษา/การเงินเพื่อการศึกษาให้มี ประสทิ ธิภาพ กลยุทธ์ที่ 4 สง่ เสรมิ การปรบั ปรงุ การบรหิ ารจดั การองค์กรใหเ้ หมาะสมต่อสภาพบริบทสงั คม ที่เปลี่ยนแปลงลดความล่าช้า และซ้าซ้อนสู่องค์กรท่ีมีประสิทธิภาพมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ และสอดคล้องกับ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหาร จัดการศึกษา ข้อ 2.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการศึกษา มีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถ ตรวจสอบได้ (1) มีการปรับปรุงโครงสร้างและระบบบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และ สถานศึกษาให้มีเอกภาพ สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่และการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ข้อ 2.2 ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา (6) จานวนสถานศกึ ษาทบี่ รหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลเพิม่ ขึน้ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชที้ ี่ 3.1 ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการการศกึ ษา ได้ 4.5 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน อยู่ในระดบั คุณภาพ ดีมาก ตัวบ่งช้ที ี่ 3.2 การสง่ เสริม สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาของภาคีเครอื ขา่ ย ผลการดาเนินงาน 1. สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษาของภาคี เครือข่ายอยา่ งไร สถานศึกษามีกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนการจัด หรือร่วมจัดการศึกษาของภาคี เครือข่ายทางาน โดยการประสานงานกับภาคีเครือข่ายเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการและพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือจัดการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ชุมชน ภาคีเครือข่ายของสถานศึกษาเป็นเครือข่ายทาง สังคมท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล องค์กร วัด โรงเรียน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิ่น องค์กรเอกชน สถาบันศาสนา หน่วยงานราชการท่เี กีย่ วข้องในทุกระดบั มีเป้าหมายในการทางาน ร่วมกัน คือ การส่งเสริมการเรยี นรู้การศึกษานอกระบบ ทั้งที่เป็นการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน และการศึกษาต่อเน่ือง ซึ่งประกอบด้วย การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะ ชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
188 พอเพียง และการส่งเสริมการเรียนรู้การศึกษาตามอธั ยาศยั ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยให้กับประชาชนให้ประสบความสาเร็จได้น้ัน ต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายใน การทางาน ซึ่งสถานศกึ ษาได้มีการประสานความร่วมมือกบั ภาคีเครือข่ายในการจัด หรือร่วมจดั การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างต่อเน่ือง ในทุกระดับของหน่วยงาน โดยสถานศึกษามี กระบวนการในการส่งเสริม สนบั สนุนการจัด หรือร่วมจัดการศึกษาของภาคเี ครือข่าย มีการจัดทาทาเนียบ เครือขา่ ย ทงั้ ภาครฐั และเอกชนที่จัด หรอื รว่ มจดั การศกึ ษา มีการประสานงานทง้ั ทเี่ ป็นทางการและไม่เป็น ทางการ ได้แก่ การประชุม การพูดคุย หารือ การทาหนังสือราชการ เพื่อให้เครือข่ายเขา้ ใจหลักการ และ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาแต่ละประเภท ให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนคิด ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินการ ร่วมประเมินผล ร่วมติดตามผล สถานศึกษาทาหนังสือขอบคุณภาคีเครือข่ายท่ีจัด หรือร่วมจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของภาคีเครือข่าย ภายหลังเสรจ็ สิ้นกจิ กรรม และสถานศกึ ษาได้จัด ลงนามความร่วมมือ (MOU) กับเครือข่ายบางหน่วยงาน เช่น เทศบาลตาบลบางกระทึก องค์การบริหาร ส่วนตาบลยายชา องค์การบริหารส่วนตาบลตลาดจินดา และเทศบาลเมืองกระทุ่มล้ม นอกจากนี้ สถานศึกษายังให้ความร่วมกับภาคีเครือข่ายในการร่วมจัดกิจกรรมของภาคีเครือข่าย เพ่ือทาให้เกิด ความสัมพันธ์ท่ีดีระหวา่ งหน่วยงาน 2. ภาคเี ครอื ขา่ ยจดั หรือร่วมจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างไร สถานศึกษาให้ความสาคัญกับการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมการบริหารจัดการ สถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือให้เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารจัดการ เนื่องจาก กระบวนการสร้างเครือข่าย และมีส่วนร่วมเป็นปัจจัยสาคัญที่สนับสนุน และส่งเสริมให้สถานศึกษามี ศักยภาพในการจัดการศึกษา อันเป็นเป้าหมายหลักของสถานศึกษา สถานศึกษาสร้างระบบการดาเนินงาน ทางการศึกษาร่วมกับภาคีท่ีเกี่ยวข้อง โดยการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบร่วมกัน โดยภาคีเครือข่ายมีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในระดับต่าง ๆ ดังนี้ เครือข่ายมีส่วนร่วม ระดับให้ข้อมูลข่าวสาร โดยวิธีการให้ข้อมูลสามารถใช้ช่องทางต่าง ๆ เช่น หนังสือราชการ คู่มือการ ดาเนินงาน การเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารผ่านสื่อตา่ ง ๆ เช่น การจัดนิทรรศการนอกสถานศึกษา เฟสบ๊คุ เพจ จดหมายข่าว เว็บไซต์ของสถานศึกษา เครือข่ายมีส่วนร่วมในระดับการปรึกษาหารือ ให้มีส่วนร่วมในการ ให้ข้อมูลข้อเท็จจริง และความคิดเห็น เพื่อประกอบการตัดสินใจของสถานศึกษาด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การ รับฟังความคิดเห็นการสารวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การประชมุ เป็นต้น เครอื ข่ายมสี ่วนร่วม ในระดบั ให้เข้ามามบี ทบาท เปน็ การเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนร่วมในการปฏิบตั งิ านหรือร่วมเสนอแนะแนวทางที่ นาไปสู่การตัดสินใจ และเครือข่ายมีส่วนร่วมในระดับการสร้างความร่วมมือกับสถานศึกษาในทุกขั้นตอน การตดั สินใจและมีการดาเนนิ กจิ กรรมรว่ มกันกบั สถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง
189 3. สถานศึกษามีการติดตามการจัด หรือร่วมจัดการศึกษาของภาคีเครือข่ายอย่างไรบ้าง และ นาผลการติดตามไปใช้อยา่ งไร สถานศึกษามีวิธีการติดตามการจัดกิจกรรมหรือร่วมจัดกิจกรรมของภาคีเครือข่าย โดยนิเทศ ติดตาม การสัมภาษณ์ สอบถาม การประชุม การพูดคุยแลกเปล่ียน จากภาคีเครือข่ายหรือตัวแทน ผู้จัด กิจกรรม ผู้เรียน ผู้รับบริการท่ีเกี่ยวข้องกับภาคีเครือข่าย มีการบันทึกข้อมูลเพื่อนามาวิเคราะห์สรุปผล และนาขอ้ มูลที่ได้จากการตดิ ตาม ไปใช้ในการจดั กจิ กรรมการของสถานศึกษาตอ่ ไป 4. สถานศึกษามีการทบทวน หรือติดตามกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนการจดั หรือร่วม จดั การศึกษาของภาคเี ครอื ข่าย เพอ่ื นาไปปรบั ปรุงกระบวนการอย่างไร สถานศึกษามีการทบทวน ติดตามกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดหรือร่วมจัด กิจกรรมของภาคีเครือข่าย โดยการติดตาม วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการดาเนินงาน สถานศึกษา โดย บุคลากรของสถานศึกษาร่วมประชุม สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพการดาเนินงาน การจัดหรือร่วมจัดการศึกษา เพื่อนาผลไปแก้ไขปัญหา พัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเน่ืองสม่าเสมอ เพื่อสร้าง ความย่ังยืนในความสัมพันธ์ของภาคีเครือข่ายท่ีเข้าร่วมดาเนินการ พร้อมนาสรุปผลการจัดกิจกรรม รายงานต่อผู้บริหาร เพ่ือนาไปเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโอกาสต่อไป สถานศึกษาจัดให้มีการมอบเกียรติบัตร หนังสือขอบคุณภาคีเครือข่าย เพื่อเป็นขวัญและกาลังใจ ยกย่อง เชดิ ชูเกียรติแกภ่ าคีเครือขา่ ย 5. สถานศึกษามีกระบวนการในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ภาคีเครอื ข่ายจดั หรอื รว่ มจัดการศกึ ษา อย่างไรทเี่ ปน็ ต้นแบบ สถานศกึ ษามภี าคเี ครือขา่ ยจัด หรอื ร่วมจัดการศึกษาท่เี ป็นตวั อยา่ งทด่ี ี ดังน้ี 1. วัดไร่ขิง (พระอารามหลวง) ที่ต้ัง 51 หมู่ 2 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างที่ดีในการร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ ความอนุเคราะห์ค่าใช้จ่ายการก่อสร้างและดาเนินงานตกแต่งห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอสามพราน และ สถานศึกษา ค่าสาธารณูปโภค ค่าคนงานทาความสะอาด ค่าตกแต่งดูแลรกั ษาสวน ค่าดูแลบารุงรักษาลิฟต์ และค่าบารุงรักษาซ่อมแซมอาคารสถานท่ี อนุมัติให้ใช้ท่ีดินเป็นท่ีต้ังของ กศน. ตาบลไร่ขงิ รวมถงึ ใหค้ วามอนเุ คราะห์สถานท่ีของวัดในการจัดกจิ กรรมโครงการพฒั นาผู้เรยี น 2. วัดนักบุญเปโตร ท่ีตั้ง 20 หมู่ 3 ตาบลท่าข้าม อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็น เครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดีในการจัดหรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ ความอนุเคราะห์สถานที่ต้งั กศน. ตาบลท่าข้าม และร่วมส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอน การจดั กจิ กรรม พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น การจดั โครงการพัฒนาสังคมและชมุ ชน 3. วัดบางช้างใต้ ที่ตั้ง หมู่ 1 ตาบลบางช้าง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นตัวอย่าง ที่ดีในการจัดหรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์สถาน ที่ต้ัง กศน. ตาบลบางช้าง ค่าน้าค่าไฟฟ้า สนับสนุนงบประมาณร่วมกับผู้นาชุมชนในการซ่อมแซม กศน. ตาบลบางช้าง ใหก้ ารสนับสนุนทางด้านศิลปวฒั นธรรม ประเพณี เชน่ การแหเ่ ทียนพรรษา วันลอยกระทง
190 4. วัดเดชานุสรณ์ ที่ตั้ง เลขที่ 46 หมู่ 6 ตาบลยายชา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เปน็ เครือขา่ ยท่เี ป็นตัวอย่างที่ดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดย ให้ความอนุเคราะห์อาคารหอฉันเก่าให้เป็นที่ต้ัง กศน.ตาบลยายชา และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ของนกั ศึกษา ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี การทานบุ ารงุ ศาสนา การรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 5. วัดทรงคนอง ท่ีต้ัง หมู่ 5 ตาบลทรงคนอง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็น เครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ ความอนุเคราะห์หอสมุดวัดทรงคนองเป็นสถานที่ตั้ง กศน. ตาบลทรงคนอง พร้อมทั้งช้ันวางหนังสือ โต๊ะ เรียน เก้าอ้ี และดแู ลหนังสือพิมพต์ าบล เพือ่ บรกิ ารประชาชนที่เข้ามาอ่านหนังสอื เป็นสถานท่ีจัดกิจกรรม พัฒนาคณุ ภาพชีวติ (กพช.) เช่น แหเ่ ทียนจานาพรรษา วนั สงกรานต์ งานประจาปี เป็นตน้ 6. วัดนครชื่นชุ่ม ท่ีต้ัง 104 หมู่ที่ 7 ตาบลกระทุ่มล้ม อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างที่ดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้รับความอนุเคราะห์จากพระครูสังฆรักษ์อเนก สุชาโต ให้ใช้อาคารหอปริยัติธรรมเป็นท่ีตั้งของ กศน. ตาบลกระทุ่มล้ม ตั้งแต่วนั ที่ 19 สิงหาคม 2551 จนถึงปจั จุบัน เป็นท่ีจดั การศึกษานอกระบบ ซ่ึงประกอบ ไปด้วย การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน และการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งเป็นการศึกษาเรียนรู้ตลอด ชีวิต ให้กับประชาชนทั่วไปในชุมชนและพ้ืนท่ีใกล้เคียงได้มาเรียนรู้ และร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การ เรียนรู้เรื่องการฝึกอาชีพ การมาใช้บริการห้องสมุดประชาชนประจาตาบลกระทุ่มล้ม เพ่ือใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์ การใช้บริการคอมพิวเตอร์เพื่อหาความรู้และความบันเทิง ซึ่งได้รับความอนุเคราะห์จาก พระครูสังฆรกั ษอ์ เนก สุชาโต ซึง่ เป็นประธานคณะกรรมการ กศน. ตาบลกระทุ่มล้ม ใหโ้ อวาทกบั ผเู้ ขา้ รว่ ม กิจกรรมต่าง ๆ ของ กศน. ตาบลกระทุ่มล้ม และปฐมนิเทศนักศึกษา กศน. ตาบลกระทุ่มล้ม หลักสูตร การศึกษานอกระบบและระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประจาทุกภาคเรียน และยังได้รับการสนับสนุน บุคลากรของวัดให้เป็นวิทยากรให้ความรู้ด้านพระพุทธศาสนาในวิชาสังคมศึกษา โดยได้สอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม และการปฏิบัติตนให้เป็นคนดีอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขกับ เพ่ือให้นักศึกษานาไป ปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวัน 7. วัดท่าพูด ท่ีตั้ง หมู่ 9 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายที่เป็น ตัวอย่างที่ดีในการรว่ มจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยให้ความอนุเคราะห์สถานท่ี ของวัดเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนวัดท่าพูด เพ่ือจัดกิจกรรมการพบกลุ่มแก่นักศึกษา ให้ความอนุเคราะห์ สถานท่ีของวัดในการจดั กจิ กรรมโครงการพัฒนาสงั คมชุมชนต่าง ๆ 8. โรงเรียนวัดไร่ขงิ (สุนทรอุทิศ) ที่ตง้ั หมู่ 2 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม เป็น เครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดีในการร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ ความอนุเคราะห์สถานท่ีในการจัดกิจกรรมการพบกลุ่ม การจัดโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การสอบ N-net การสอบปลายภาค ของการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน การจัดกิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน และ ให้ความอนุเคราะห์บุคลากรในคุมสอบ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน อานวยความสะดวก รวมถึง ประชาสมั พนั ธก์ ารจัดกจิ กรรม
191 9. โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา ท่ีต้ัง หมู่ 2 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมเป็น เครือข่ายที่ดีในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้ความอนุเคราะห์สถานที่ในการสอบปลายภาคเรียน นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และให้ความอนุเคราะห์สนามกีฬาในการจัดโครงการ กศน. สามพราน เกม ประจาปีการศกึ ษา 2562 10. องค์การบริหารส่วนตาบลคลองใหม่ ท่ีต้ัง 159 หมู่ 3 ตาบลคลองใหม่ เป็นเครือข่ายที่ เป็นตัวอย่างท่ีดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ ความอนุเคราะห์อาคารสถานท่ีตั้ง กศน. ตาบล อานวยความสะดวกด้านสาธารณูปโภค ในการจัดการ เรียนการสอน การจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ส่งเสริมสนบั สนุนงบประมาณโครงการพฒั นาผู้เรียนดา้ นบุคลิกภาพ นักศึกษา กศน. โดยมีนักวิชาการศึกษาของ อบต. คลองใหม่เป็นท่ีปรึกษา และประชาสัมพันธ์การจัด กิจกรรมตา่ ง ๆ 11. องค์การบริหารส่วนตาบลท่าตลาด ที่ต้ัง 68 หมู่ 6 ตาบลท่าตลาด อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างทดี่ ีในการจัด หรือรว่ มจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยความอนุเคราะห์สถานท่ีในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษา กศน. ตาบล ท่าตลาด ได้ศกึ ษาหาความรแู้ ละเป็นประโยชนใ์ นการทางานในชีวิตประจาวันด้วย 12. องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลบางเตย อาเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม ท่ีตง้ั 9/99 หมู่ท่ี 1 ตาบลบางเตย อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างที่ดีในการจัด หรือร่วมจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์สนับสนุนบุคลากรที่มีทักษะ ความสามารถเป็นวิทยากรเพื่อถ่ายทอดความรู้ให้ประชาชนในโครงการทักษะชีวิต และอบรมหลักสูตร วิชาชีพตา่ ง ๆ รวมถงึ สถานที่ และอุปกรณ์ ส่ือ ในการจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ของ กศน. ตาบลบางเตย 13. องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านใหม่ ที่ตั้ง หมู่ที่ 3 ตาบลบ้านใหม่ อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เปน็ เครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างที่ดีในการจัด หรอื ร่วมจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยการใหค้ วามอนุเคราะหส์ ถานท่ีเปน็ ทตี่ งั้ ของ กศน. ตาบลบา้ นใหม่ สนับสนุนค่าน้า คา่ ไฟ และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการดาเนินงาน ให้ความอนุเคราะห์สถานที่ในการจัดโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ประชาสัมพันธ์กิจกรรม และโครงการต่าง ๆ ให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ และ กศน. ตาบล บ้านใหม่นานักศึกษาเขา้ มามีส่วนร่วมในกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ทท่ี างองคก์ ารบริหารส่วนตาบลบ้าน ใหมจ่ ัดข้ึนอีกดว้ ย 14. องค์การบริหารส่วนตาบลยายชา ที่ต้ัง หมู่ 6 ตาบลยายชา อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย โดยให้การสนับสนุนกิจกรรมของ กศน.ตาบลยายชา ด้านการประชาสัมพันธ์ และรับสมัคร นักศึกษา การจัดกิจกรรมการศึกษาตอ่ เน่ือง การดาเนินกิจกรรมท่ีเป็นสาธารณประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนร่วมกัน เช่น กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมแห่เทียนพรรษา กิจกรรมวันลอยกระทง กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมวัน สงกรานต์ กจิ กรรมทาบญุ ส่งท้ายปีเก่าตอนรบั ปีใหม่ ใหค้ วามอนุเคราะห์สถานท่ีในการจดั กิจกรรม เป็นต้น โดยมีการลงนาม MOU เป็นภาคเี ครอื ขา่ ย
192 15. องค์การบริหารส่วนตาบลตลาดจินดา หมู่ 2 ตาบลตลาดจินดา อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างที่ดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์สถานท่ีตั้ง กศน. ตาบลตลาดจินดา สนับสนุนค่าน้า ค่าไฟและวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการดาเนินงาน ให้ความอนุเคราะห์สถานท่ีในการจัดโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ เช่น โครงการพฒั นาคุณภาพชีวิต โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี งและ โครงการ 4.0 รา้ นค้า Online เปน็ ต้น 16. เทศบาลเมืองไร่ขิง ที่ต้ัง 99 หมู่ 2 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็น เครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างที่ดีในการร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ ความอนุเคราะห์วิทยากรเจ้าหน้าท่ี และอาหารกลางวันในการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะชีวิต ผสู้ งู อายุ 17. องค์การบริหารส่วนตาบลสามพราน ท่ีตั้ง หมู่ที่ 6 ตาบลสามพราน อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครอื ข่ายทเี่ ปน็ ตัวอย่างท่ดี ีในการจัด หรอื ร่วมจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์สถานที่ต้ัง กศน. ตาบลสามพราน และห้องเรียนจัดการเรียน การสอนการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ (กพช.) 18. ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนบ้านหัวอ่าว ที่ตั้ง 37/1 หมู่ 5 ตาบลบางช้าง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เปน็ เครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างทดี่ ีในการจัด หรอื รว่ มจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยเป็นแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ซึ่งเป็นศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ให้ความรู้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วประเทศ เกี่ยวกับเร่ืองของเศรษฐกิจ พอเพียง การทาเกษตรอินทรีย์ โดยจัดเป็นฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น การเลี้ยงไส้เดือนดิน การทา จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง การแปรรูปผลไม้ การทาฮอร์โมนไข่ การทาเชื้อราไตรโคเดอร์มา ฯลฯ นอกจากนี้ ยังเป็นท่ีตั้งของบ้านหนังสือชุมชนบ้านหัวอ่าว และศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฎใี หมป่ ระจาตาบลบางช้าง 19. กองทุนหมู่บ้าน หมู่ 1, 2, 3 ตาบลบางเตย ท่ตี ั้ง หมู่ท่ี 2 ตาบลบางเตย อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เปน็ เครือข่ายที่เป็นตัวอย่างท่ดี ีในการจัด หรือรว่ มจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์สนับสนุน 1) สถานท่ีในการจัดตั้ง กศน. ตาบลบางเตยเพื่อจัด การเรียนการสอน และกิจกรรมต่าง ๆตามบทบาทหน้าท่ีของ กศน. ตาบล 2)สนับสนุนงบประมาณ อุปกรณ์ บางส่วนเพ่ืออานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมในพื้นที่ของ กศน.ตาบลบางเตยให้ลุล่วงไป ด้วยดี 20. บ้านเอื้ออาทรศาลายา 1, 2 และ 3 ที่ต้ัง หมู่ 1 ตาบลทรงคนอง อาเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม เปน็ เครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างทด่ี ีในการจัด หรือรว่ มจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์สถานที่จัดกิจกรรมต่าง ๆ โต๊ะเก้าอ้ี และอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม และประชาสัมพนั ธใ์ หผ้ ้เู ข้ารว่ มโครงการเขา้ มารับการฝึกอบรมได้อยา่ งทวั่ ถึง
193 21. สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจาจังหวัดนครปฐม ที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัด นครปฐม อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายที่เป็นตัวอย่างท่ีดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์วิทยากร และสื่อ แผ่นพับต่าง ๆ ในการให้ ความรู้แก่คณะกรรมการศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล และประชาชนท่ัวไป รวมถึงสนับสนุน การจัดกิจกรรมหมู่บ้านไม่ขายเสียงของศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบลบางช้าง จนได้รับ การคัดเลือกให้เป็นศูนย์สง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตยดีเด่น ประจาจังหวดั นครปฐม 22. ชมรมผู้สูงอายุอาเภอสามพราน ที่ตั้ง หมู่ 2 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม เป็นเครือข่ายที่เป็นตัวอย่างท่ีดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์สถานที่ และวัสดุฝึกในการจัดกิจกรรมฝึกวิชาชีพระยะสั้น รวมถึงช่วย ประชาสมั พันธ์รับสมัครผู้เรยี นวิชาชพี ระยะสัน้ ให้กับทาง กศน. ตาบลไรข่ ิงดว้ ย 23. ศูนย์ฝึกอาชีพหญิงตาบอดสามพราน ท่ีตั้ง 2/126 หมู่ 5 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน โดยใหค้ วามอนเุ คราะห์สถานท่ี วัสดุอปุ กรณใ์ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของผู้เรียน ที่พิการทางการเหน็ 24. ศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้านปรานี ท่ีอยู่เลขท่ี 21 หมู่ 6 ตาบลสามพราน อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายที่เป็นตัวอย่างท่ีดีในด้านการจัด หรือร่วมจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยร่วมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้ความอนุเคราะห์สถานท่ี และบุคลากรเป็นครูผู้จัดการเรียนการสอนแก่ผู้เรียน และร่วมจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ กจิ กรรมช้ันเรยี นวิชาชีพ ทงั้ ที่ได้รบั งบประมาณการจัดกจิ กรรมจากทาง สานักงาน กศน. และงบประมาณ ท่ีทางกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรมเป็นผู้สนับสนุนให้ โดยสถานศึกษาเป็นผู้ ออกใบสาคญั วชิ าชพี ให้แก่ผเู้ รียนทีจ่ บหลักสูตร 25. วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย เป็นเครือข่ายท่ีดีให้ ความอนุเคราะห์ห้องเรียนสาหรับการจัดการเรียนการสอนของการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้นั พืน้ ฐาน 26. นิติบุคคลหมู่บ้านแฟคตอร่ีแลนด์ ที่ตั้ง หมู่บ้านแฟคตอร่ีแลนด์ หมู่ 12 ตาบลไร่ชิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายที่ดีในการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นหน่วยงานของเอกชนท่ีสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ด้านบุคลากร ประสานงาน ด้านอุปกรณ์ สื่อ และสถานท่ีในการจัดกิจกรรม สนับสนุนงบประมาณบางส่วนเพื่อ อนุเคราะห์ในการจัดกจิ กรรมในพนื้ ทีใ่ หล้ ุลว่ งไปด้วยดี
194 27. บริษัทเทพผดุงพร มะพร้าว จากัด ตั้งอยู่ท่ี 58-59 หมู่ที่ 5 ตาบลกระทุ่มล้ม อาเภอ สามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีดีในการส่งเสริมสนับสนุนสถานท่ีและส่งเสริมให้พนักงานใน บริษัทได้รับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน และสนับสนนุ งบประมาณด้านโครงงาน ในการสมทบทุนประดษิ ฐ์เครื่อง เก็บขยะในน้าแบบเคลื่อนท่ีได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ของนักศึกษา กศน. ตาบลกระทุ่มล้มใน การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ นักศกึ ษา กศน. ประจาปี 2562 28. สภาวัฒนธรรมตาบลคลองจินดา ที่ต้ัง 115 หมู่ที่ 6 ตาบลคลองจินดา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีเป็นต้นแบบในการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยเป็นหน่วยงานท่ีให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ให้ความอนุเคราะห์ บุคลากรที่มีทักษะ ความสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้ประชาชนให้พ้ืนที่ รวมท้ังด้านสื่อ อุปกรณ์ สถานท่ีจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพื่อการประกอบอาชีพ และ กจิ กรรมชนั้ เรียนวชิ าชพี 29. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล หมู่ 1 ตาบลบ้านใหม่ อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม เป็นเครือข่ายที่ดีในการจัด หรือ รว่ มจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยให้ ความอนุเคราะห์บุคลากรที่มีทักษะ ความสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้ประชาชนให้พ้ืนที่ สนับสนุนสถานที่ในการจัดโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ของ กศน.ตาบลบ้านใหม่ เช่น การจัดกิจกรรม วิชาชีพระยะสนั้ โครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น และโครงการพฒั นาทักษะชีวติ 30. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองจินดา ท่ีตั้ง หมู่ 5 ตาบลคลองจินดา อาเภอ สามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายที่ดีในการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์สถานท่ีต้ังของ กศน. ตาบลคลองจินดา บุคลากรที่มีทักษะ ความสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้ประชาชนให้พ้ืนที่ รวมท้ังด้านสื่อ อุปกรณ์ สถานท่ีจัด กจิ กรรมโครงการอบรมการดูแลและการป้องกันโรคไม่ตดิ ต่อ และกจิ กรรมพัฒนาอาชีพ (กลมุ่ สนใจ) 31. ชมรมกานันผู้ใหญ่บ้านตาบลบางเตย อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ที่ตั้ง 9/99 หมู่ท่ี 1 ตาบลบางเตย อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายที่เป็นตัวอย่างท่ีดีในการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยประชาสัมพันธ์ข่าวสาร งานกิจกรรมต่าง ๆ ของ กศน. ตาบลบางเตยในพื้นที่ เป็นหน่วยงานของท้องถ่ินท่ีสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ด้าน บุคลากรท่ีมีทักษะ ความสามารถเป็นวิทยากรเพื่อถ่ายทอดความรู้ให้ประชาชนให้พ้ืนท่ี ด้านอุปกรณ์ ส่ือ และสถานที่ในการจัดกจิ กรรม สนับสนุนงบประมาณบางส่วนเพ่ืออนุเคราะห์ในการจัดกิจกรรมในพืน้ ที่ให้ ลุลว่ งไปด้วยดี 32. พระครูจารุวัฒนคุณ เจ้าอาวาสวัดหอมเกร็ด ท่ีตั้ง 70 หมู่4 ตาบลหอมเกร็ด อาเภอ สามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายที่เป็นต้นแบบในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ความอนเุ คราะห์สนับสนุนพน้ื ท่ีจดั ตงั้ กศน.ตาบล พร้อมค่านา้ ค่าไฟฟ้า ให้ โอวาทในการปฐมนิเทศนักศึกษา กศน.ตาบลทุกภาคเรียน เป็นผู้สนับสนุนการจัดกิจกรรม กศน. ต่าง ๆ เช่น กิจกรรมรกั การอา่ น วิชาชพี กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ (กพช.)
195 33. นายสวัสด์ิ นิ่มอนงค์ ท่ีตั้ง บ้านเลขท่ี 8 หมู่ 5 ตาบลบางกระทึก อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เปน็ เครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างที่ดีในการจัด หรอื รว่ มจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยให้ความอนุเคราะห์สถานท่ีต้ัง กศน.ตาบลบางกระทึก เป็นอาคารไม้ 2 ชั้น พร้อม สนับสนุนค่าน้า ค่าไฟฟ้า เป็นคณะกรรมการ กศน.ตาบลบางกระทึก เป็นผู้ให้โอวาทในการปฐมนิเทศ ระดับตาบลของนักศึกษาทุกภาคเรียน ให้ความอนุเคราะห์สถานท่ีบริเวณ ท่าเรือศรีสวัสดิ์ย้อนยุค ตลาด นา้ ดอนหวาย จัดมมุ รักการอา่ น ห้องสมดุ ฯ เคล่ือนที่ ให้ความอนเุ คราะห์เรอื นานักศึกษาลอ่ งตามแมน่ ้าท่า จีน เพ่ือจัดกระบวนการเรียนรู้ใน เรื่อง แหล่งเรียนรู้ชุมชนและระบบนิเวศ โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดท้ังส้ิน และเป็นท่ีปรึกษา แนะนาให้ข้อมูลเพ่ิมเติมในการจัดทาโครงงานของนักศึกษาในการเข้าประกวดแต่ละ ครงั้ 34. นางอุทัย ธัญญผล ที่ตั้ง 52/3 หมู่ 3 ตาบลตลาดจินดา อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม เป็นเครอื ขา่ ยท่ีเปน็ ต้นแบบตัวอยา่ งท่ีดใี นการจัด หรือร่วมจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย โดยเป็นวิทยากรสอนวิชาชีพระยะส้ัน กลุ่มสนใจ เป็นภูมิปัญญาท่ีอยู่ในชุมชนตาบลตลาด จินดา มีความสามารถความถนัดในด้านงานคหกรรม การเย็บปักถักร้อย และศิลปะประดิษฐ์ต่าง ๆ เป็น คณะกรรมการ กศน.ตาบลตลาดจินดา ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของกศน.ตาบลตลาดจินดา ประชาสัมพันธ์ การรับสมัครนักศึกษาในแต่ละภาคเรียน เป็นอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน โดยร่วมบริจาคหนังสือ จัด กิจกรรมต่าง ๆ ในบ้านหนังสือชุมชม เช่น เปิดสอนกลุ่มสนใจ วิชาอาหารว่างให้กับผู้ท่ีมาอ่านหนังสือใน บ้านหนงั สือชมุ ชน จัดหาสอื่ หนังสือมาปรบั เปล่ยี นให้บา้ นหนงั สือชมุ ชนอยา่ งสม่าเสมอ 35. นางสมควร คงประชา ที่ตั้ง 52/3 หมู่ 7 ตาบลไร่ขิง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครอื ข่ายทเ่ี ป็นตวั อย่างที่ดใี นการจัด หรอื ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดย เป็นวิทยากรสอนวิชาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ เป็นภูมิปัญญาที่อยู่ในชุมชนตาบลไร่ขิง มีความสามารถ ความถนดั ในด้านงานคหกรรมต่าง ๆ เชน่ เปเปอร์มาเช่ การทางานประดิษฐ์ต่าง ๆ การทาสลิ่ม เป็นต้น 36. นายสนอง เน่ืองอาชา ที่ตั้ง 128 หมู่ 4 ตาบลกระทุ่มล้ม อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม เป็นเครือข่ายที่ดีในการให้การส่งเสริม สนับสนุนสถานท่ี เป็นศูนย์การเรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบลกระท่มุ ล้ม และเป็นภูมปิ ัญญาด้านเหด็ ไสเ้ ดอื นดิน 37. นายกฤษดา สุขสมัย อายุ 48 ปี ที่ตั้ง ท่ีทาการกานันตาบลบางเตย เลขที่ 24 หมู่ 3 ตาบลบางเตย อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดีในการจัด หรือร่วมจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยสนับสนุนการจดั กิจกรรมต่าง ๆ ของ กศน.ตาบลบาง เตย และกศน.อาเภอสามพรานด้วยดีมาโดยตลอด สนับสนุนสถานที่จัดกิจกรรม วัสดุ อุปกรณ์ ประสานงานและอานวยความสะดวกในการจัดกจิ กรรมของ กศน. ตาบลบางเตย 38. นางพรวลัย แต้มไชยสงค์ ทตี่ ้ัง เลขท่ี 18 หมู่ 4 ตาบลท่าตลาด อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีดีในการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดย เป็นผู้สนับสนุนการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ กศน.ตาบลท่าตลาด สนับสนุน สถานที่จัดกิจกรรม วัสดุ อปุ กรณ์ ประสานงานและอานวยความสะดวกใน การจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ทกุ ครง้ั
196 39. นายฌาญา ปานเจริญ อายุ 57 ปี ท่ีตั้ง 37/1 หมู่ 5 ตาบลบางช้าง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เปน็ เครือข่ายที่เป็นตัวอย่างท่ดี ีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย โดยมีส่วนร่วมในการดาเนินงานของศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบลบางช้าง (ศส.ปชต. ตาบลบางช้าง) โดยเป็นประธานศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตย ได้รับรางวัลชนะเลิศ ศูนย์ส่งเสริมพัฒนา ประชาธิปไตยตาบล ดเี ด่น ประจาปี 2561 จังหวัดนครปฐม ผู้สนับสนุนการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ กศน. ตาบลบางช้าง และ กศน.อาเภอสามพราน ด้วยดีมาโดยตลอด สนับสนุนสถานท่ีจัดกิจกรรม วัสดุ อุปกรณ์ ประสานงานและอานวยความสะดวกในการจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ของ กศน. ตาบลบางชา้ ง 40. นางรัดเกล้า มีกุล ทตี่ ้ัง 1 หมู่ 1 ตาบลทรงคนอง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็น เครือข่ายท่ีเป็นตัวอย่างที่ดีในการจัด หรือร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน. ตาบลทรงคนอง เป็นกรรมการของศส.ปชต.ทรงคนอง เป็นวิทยากรโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ประสานงาน และอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของ กศน. ตาบล ทรงคนอง 41. นายสุชิน อินทร์ประดับ ที่ตั้ง เลขที่ 33 หมู่ 2 ตาบลบ้านใหม่ อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม เป็นเครือข่ายที่ดีในการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดย เป็นผู้สนับสนุนการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของกศน.ตาบลบ้านใหม่ สนับสนุนสถานท่ีจัดกิจกรรมบ้านหนังสือ ชมุ ชน ประสานงาน และอานวยความสะดวกในการจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทุกคร้งั 42. นายเสรี ชุนถนอม อายุ 54 ปี อาชพี ธุรกิจส่วนตัว อยู่บา้ นเลขท่ี 14/155 หมู่ท่ี 4 ตาบล ออ้ มใหญ่ อาเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีดีในการจัด หรือ ร่วมจดั การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเป็นอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน เป็นกรรมการของ ศส.ปชต.อ้อมใหญ่ ใหค้ วามอนเุ คราะห์และสนับสนุนบ้านหนงั สือชมุ ชน เป็นผู้ประสานงาน และอานวยความสะดวกในการจัด กจิ กรรม โครงการตา่ ง ๆ 43. นางลูกจันทร์ แก้วเกร็ด ท่ีตั้ง 64/4 หมู่ 4 ตาบลหอมเกร็ด อาเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม เป็นเครือข่ายที่ดีในการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดย เป็นผู้สนับสนุนการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ กศน. ตาบลหอมเกร็ด และกศน.อาเภอสามพราน เป็น วิทยากรท่ีมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ ให้กับประชาชน เช่นเป็นวิทยากรโครงการ เศรษฐกิจพอเพียง และเป็นผ้ปู ระสานงานคอยอานวยความสะดวกในการจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ 44. นายเอนก น้อยพิทักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลคลองใหม่ เลขที่ 159 หมู่ท่ี 3 ตาบลคลองใหม่ อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเครือข่ายท่ีดีในการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเป็นผู้สนับสนุนอาคารสถานที่ ให้ตั้งเป็นกศน.ตาบล ใช้ใน การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ กศน. ตาบลคลองใหม่ สนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร ประสานงาน และอานวยความสะดวกในการจดั กิจกรรมต่าง ๆ
197 45. นางสาวนภาพร พัฒนนันทพันธ์ ท่ีอยู่ 44 แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน จังหวัด กรุงเทพมหานคร อายุ 48 ปี เป็นเครือข่ายที่ดีในการจัด หรือ ร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย เป็นวิทยากรวิชาชีพ กิจกรรมช้นั เรียนกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) กิจกรรมพัฒนาอาชีพ ระยะส้ัน (กลุ่มสนใจ) กิจกรรม 1 อาเภอ 1 อาชีพ หลักสูตรวิชาการขยายพันธุ์ไม้ใบ จานวน 70 ช่ัวโมง กศน. ตาบลกระทุ่มล้ม เป็นวิทยากรที่เป็นต้นแบบในการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยยึด หลักสูตรเป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอน ในการจัดการเรียนการสอน ได้แบ่งเป็นภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ คานึงถึงการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ของผู้เรยี นแต่ละคน มีความสนใจ ใส่ใจ และสงั เกต ผเู้ รียน ให้ความเป็นกันเอง ใจเยน็ มีความตรงต่อเวลา ซอื่ สัตย์ และมเี จตคติท่ดี ใี นการเป็นผู้สอน เปน็ ผ้ทู ี่มี ทักษะการส่ือสารเข้าใจง่าย น้าเสียงดังชัดเจน สามารถแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี มีประสบการณใ์ นการเปน็ วทิ ยากรให้ กศน.ตาบลกระทมุ่ ล้ม และตาบลใกล้เคยี งมาโดยตลอด 10 ปี 46. นางสุพร จุกมงคล ท่ีอยู่ 49/2 หมู่4 ตาบลสามพราน อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม อายุ 58 ปี อาชีพ ทาสวน เป็นเครือขา่ ยที่ดีในการจดั หรือ รว่ มจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เป็นผู้สนับสนุนการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของกศน.ตาบลสามพราน โดยสนับสนุนสถานที่จัด กิจกรรม วัสดุ อุปกรณ์ บุคลากรกรที่มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ ให้กับประชาชน ประสานงานและอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทุกครัง้ จากการประเมินตนเองสถานศึกษาตามตัวบ่งชที้ ี่ 3.2 การสง่ เสริมสนบั สนุนการจัดการศึกษาของ ภาคเี ครอื ข่าย ได้ 4.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ่ี 3.3 การมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ผลการดาเนนิ งาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพรานดาเนินการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา สถานศึกษา ดาเนินการที่เก่ียวข้องกับคณะกรรมการสถานศึกษา ดงั น้ี 1. สถานศึกษามกี ระบวนการในการสรรหา และกระบวนการในสร้างความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั บทบาทหน้าที่ท่ีระเบยี บกาหนดให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาได้อย่างไร สถานศึกษามีกระบวนการการสรรหาและคัดเลือกกรรมการและประธานกรรมการ สถานศึกษา ตามคู่มือการสรรหาและแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสานักงานส่งเสรมิ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยจัดทาประกาศรับสมัครการสรรหาและการคัดเลือก คณะกรรมการสถานศึกษา ซ่งึ เป็นผู้ทรงคุณวฒุ ิด้านต่าง ๆ 8 ด้าน ดังนี้ ด้านการศึกษา ด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ด้านพฒั นาสงั คม ชุมชนและส่ิงแวดลอ้ ม ด้านการเมือง การปกครอง ดา้ นความมน่ั คง ด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น และด้านสาธารณสุข ปิดประกาศ ประชาสัมพันธ์ที่ กศน.อาเภอสามพราน และห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอสามพราน เป็นเวลา 3 วันทาการ และได้ประชุมช้ีแจงบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความสาคัญ และบทบาท
198 หน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือให้บุคลากรไปประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในแตล่ ะดา้ นในพ้ืนทไ่ี ด้อย่างท่วั ถงึ และครอบคลุมทุกด้าน สถานศกึ ษาแต่งตั้ง เจ้าหน้าที่รับสมัคร และตรวจสอบคุณสมบัติผู้สมัครให้ถูกต้องตามประกาศ แล้วประกาศรายช่ือผู้มิสิทธิ เข้ารับการคัดเลือกเป็นกรรมการสถานศกึ ษา ซง่ึ เป็นผูท้ รงคุณวุฒิในแต่ละด้าน จานวน 8 คน สถานศึกษา เชิญประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาเพ่ือเลือกประธานคณะกรรมการสถานศึกษา โดยท่ีประชุมมีมติให้ พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร) เป็นประธานคณะกรรมการสถานศึกษา แล้วเสนอรายช่ือ คณะกรรมการสถานศึกษาต่อผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดนครปฐม พิจารณาแต่งต้ังประธานกรรมการและกรรมการสถานศึกษา ตามคาส่ัง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม ที่ 20/2559 ลงวันท่ี 26 มกราคม พ.ศ. 2559 เมื่อได้แต่งต้ังคณะกรรมการสถานศึกษาดังกล่าวแล้ว สถานศึกษาได้เชิญ คณะกรรมการสถานศึกษาประชุม เพื่อชี้แจงให้ทราบถึงภารกิจของสถานศึกษา บทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการสถานศึกษา วาระการดารงตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่ง และมีการประชุมคณะกรรมการ สถานศกึ ษาอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครงั้ 2. สถานศึกษาทราบได้อย่างไรว่าคณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในบทบาท หน้าทีต่ ามที่ระเบียบกาหนด สถานศึกษาไดม้ ีการพิจารณาคัดเลือกผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ซงึ่ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละด้าน ทงั้ 8 ด้าน เป็นคณะกรรมการสถานศึกษา ดังน้ี 1) ผู้ทรงคุณวุฒิดา้ นการศึกษา ได้แก่ นายชมุ พล พุ่มพวง ข้าราชการครูบานาญ 2) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ได้แก่ พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร) เจ้าอาวาววัดไร่ขิงพระอารามหลวง 3) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพัฒนาสังคม ชุมชนและ สิง่ แวดล้อม ได้แก่ นายนิวัติ หิรญั นายกองค์การบริหารส่วนตาบลทา่ ตลาด 4) ผู้ทรงคุณวฒุ ิดา้ นการเมือง การปกครอง ได้แก่ นายจารัส ตั้งตระกูลธรรม นายกเทศบาลเมืองไร่ขิง 5) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านความม่ันคง ได้แก่ นายชาตรี สุขถาวร กานันตาบลไร่ขิง 6) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสารสนเทศ ได้แก่ นายศักด์ิ พักเพียรดี หัวหน้าที่ทาการไปรษณีย์อ้อมใหญ่ 7) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ นายบุญรอด โพธ์ิแดง ปราชญ์ชาวบ้าน 8) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสาธารณสุข นางประหยัด ปานเจริญ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) และภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านเกษตรอินทรีย์ สถานศึกษาได้ ชแ้ี จงบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมครั้งแรก และทบทวนบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการสถานศึกษาบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา ในการประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาทุกครั้ง และในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาทุกคร้ัง สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนา การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ แผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษา ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา รายงานการประเมินตนเอง การจดั หาหนังสือเรียน และข้อหารอื ต่าง ๆ เพ่ือขอความเห็นชอบ ขอคาปรึกษา ข้อเสนอแนะ โดยมีการพูดคุย ซกั ถามในประเด็นที่เกยี่ วขอ้ งจนเป็นท่ี เข้าใจ คณะกรรมการสถานศึกษาจึงให้ข้อเสนอแนะ เพ่ือนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัด
199 การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป ทาใหส้ ถานศึกษา ทราบไดว้ า่ คณะกรรมการสถานศกึ ษามคี วามรู้ ความเข้าใจในบทบาทหนา้ ที่ตามทีร่ ะเบยี บกาหนด 3. คณะกรรมการสถานศกึ ษามีสว่ นร่วมตามบทบาทหน้าที่ตามท่ีระเบียบกาหนดหรือไม่ สถานศึกษาให้คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าที่ตามที่ระเบียบกาหนด โดยคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความร่วมมือทุกครั้งในในการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา และเมื่อสถานศึกษาเสนอแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ แผนพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษา ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา รายงานการประเมินตนเอง การจัดหา หนังสือเรียน และข้อหารือต่าง ๆ เพ่ือขอความเหน็ ชอบ ขอคาปรึกษา ข้อเสนอแนะต่าง ๆ คณะกรรมการ สถานศึกษาได้มกี ารพจิ ารณาถึงเหตแุ ละผลของการดาเนินงานในประเดน็ ต่าง ๆ อย่างกวา้ งขวาง จนเป็นท่ี เข้าใจ จึงให้ความเห็นชอบ ข้อเสนอแนะทุกครั้ง แล้วสถานศึกษานาข้อเสนอแนะท่ีได้มาปรับปรุง และ พัฒนาต่อไป นอกจากนี้ในด้านความร่วมมือในการดาเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ สถานศึกษาได้เชิญ คณะกรรมการสถานศึกษาร่วมในโครงการ /กิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา เช่น โครงการปฐมนิเทศ นักศึกษา และพิธีไหว้ครู ประจาปีการศึกษา 2562 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กศน.สามพราน เกม ประจาปี 2562 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเสริมสร้างความคิด เรียนรู้ศาสตร์คณิต ตามรอยเจ้าหญิง แห่งสยาม เป็นต้น นอกจากนี้สถานศึกษายังได้ขอความอนุเคราะห์บุคลากร สถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ใน การจัดโครงการ /กิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษาด้วย เช่น กราบอาราธนานิมนต์พระเดชพระคุณ พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา กศน. อาเภอสามพราน เป็นประธานในพิธีปฐมนิเทศนักศึกษา และไหว้ครู ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 และ เทศนาให้โอวาทแก่นักศึกษา และขอความอนุเคราะห์ขอใช้สถานที่ เรียนเชิญ นางประหยัด ปานเจริญ คณะกรรมการสถานศึกษา ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นเกษตรอนิ ทรีย์ เป็นวทิ ยากรให้ความรู้ เรื่อง หลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง การปลูกพืชสมุนไพร และเกษตรอินทรีย์ โครงการผลิตอาหารเพื่อเป็นยา ตาบล บางชา้ ง โครงการเรียนรู้คู่อาชพี เพื่อวิถเี กษตรที่ยงั่ ยนื ตาบลบางช้าง และให้ความอนุเคราะหส์ ถานทศี่ ูนย์ การเรียนชุมชนบ้านหัวอ่าวเป็นศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษ ตรทฤษฎีใหม่ประจา ตาบลบางชา้ ง และทอี่ ่านหนงั สอื ชุมชนบ้านหัวอา่ ว 4. สถานศึกษามีการทบทวนกระบวนการในการสรรหา และกระบวนการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั บทบาทหน้าท่ตี ามทร่ี ะเบียบกาหนดให้แกค่ ณะกรรมการสถานศึกษาอย่างไร สถานศึกษาได้ทบทวนกระบวนการในการสรรหา และกระบวนการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ตามท่ีระเบียบกาหนดให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษา ในการประชุม คณะกรรมการสถานศึกษา โดยให้คณะกรรมการสถานศึกษาร่วมซักถาม และแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพ่ือสรรหาผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ซ่ึงเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละด้านในชุมชน เป็น คณะกรรมการสถานศกึ ษาต่อไป
200 5. สถานศึกษามีการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ / ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 อยา่ งไร สถานศึกษามีการดาเนินงานสอดคล้องกับสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์มีความโปร่งใส นานวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทางานที่เป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ สอดคล้อง กับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2562 ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ 1 เร่งส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมรับผิดรับชอบในการจัด การศึกษาและสรา้ งเครอื ข่าย/ความเป็นภาคีหุ้นส่วนกับองค์กรท้งั ภายในและต่างประเทศรวมท้ังสนับสนุน ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ข้อ 2.5 ระบบบริหารงานบุคคล ของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มีความเป็นธรรม สร้างขวัญกาลังใจ และส่งเสริมให้ ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ (1) มีระบบการสรรหาและแต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษาตาม หลักเกณฑ์ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน การบริหารการศึกษา และ ความสาเร็จในวิชาชีพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งช้ีที่ 3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ได้ 4.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดีมาก ตวั บง่ ช้ที ่ี 3.4 การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ผลการดาเนนิ งาน 1. สถานศึกษามีการจัดระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนและผู้รับบริการ อย่างไร ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ก าร จั ด ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ าย ใน ที่ ส่ ง ผ ล ต่ อ คุ ณ ภ าพ ผู้ เรี ย น แ ล ะ ผู้รับบริการตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับสถานศึกษาที่จดั การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ที่อาศยั อานาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 โดยสถานศึกษาได้ดาเนินการ ดังน้ี 1) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษานอกระบบท่ี กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดและพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในส่วนท่ีเป็น ลักษณะเฉพาะของสถานศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการประกาศ ลงวันท่ี 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เร่ือง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ให้มาต รฐาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
201 อาเภอ/เขต ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 20 ตัวบ่งช้ี 2) จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562- 2565 พร้อมกาหนดค่าเป้าหมาย ซึ่งเป็นคา่ ความสาเร็จ หรือระดับผลการดาเนินงานทีส่ ถานศกึ ษาคาดหวัง ว่าสามารถทาให้เกิดข้ึนได้ในมาตรฐานท่ี 1 และแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 โดยนา การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีงบประมาณ 2556 ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้น สังกัด ปีงบประมาณ 2554 และผลการประเมินตนเอง ปีงบประมาณ 2561 ของสถานศึกษา เป็นข้อมูล สารสนเทศในการพัฒนาและปรับปรุง โดยขอความเห็นชอบจากสานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 3) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 และแผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ 2562 4) จดั ให้มีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยทุกกิจกรรม โดยแต่งตงั้ คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซ่ึงจัดทาแผนการนิเทศเสนออนุมัติ ดาเนินการนิเทศตามแผน สรุปและรายงานผลการนิเทศเสนอต่อ ผู้เก่ียวข้อง และนาผลการนิเทศไปพัฒนาและปรับปรุงงานให้มีคุณภาพ 5) จัดให้มีการประเมินคุณภาพ ภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ร่วมกันรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ วิเคราะห์ ข้อมูล สารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ประเมินตนเองตามมาตรฐาน และตัวบ่งช้ี วิเคราะห์ผลการประเมินตนเอง 6) จัดทารายงานการประเมินตนเองประจาปงี บประมาณ 2562 7) เสนอ รายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน 8) นาผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเพ่ือ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยการมสี ่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือขา่ ย 9) จัดระบบ บรหิ ารและสารสนเทศใหพ้ ร้อมในการใช้ในการดาเนินงานของสถานศึกษา 10) ยึดหลักการมีสว่ นร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษา บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย และผู้รับบริการ ในทุกขั้นตอน ของการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา สถานศึกษามีคะแนนผลการประเมินในมาตรฐานผู้เรียน/ผู้รับบริการอย่างน้อย 0.5 คะแนน ในทกุ ประเด็นการพิจารณาของตวั บ่งช้ที ่ี 1.1- 1.7 2. สถานศึกษามีการสร้างความรู้ ความเขา้ ใจให้แก่บุคลากรในการดาเนินงานตามระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาทก่ี าหนดอย่างไร สถานศึกษาจัดประชุมทบทวนการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้กับ บุคลากรของสถานศึกษา เป็นระยะ ๆ เพ่ือให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสนอแนวทาง การดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และเกิดความตะหนักในการนาไปสู่การปฏิบัติใน การดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ ดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2562 เพ่ือ ทบทวนการจัดทารายงานการประเมินตนเอง และให้บุคลากรของสถานศึกษาทุกคนมีส่วนร่วมใน การรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ วิเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
202 ประเมินตนเองตามมาตรฐาน และตวั บ่งช้ี วเิ คราะห์ผลการประเมินตนเอง และเขียนรายงานการประเมิน ตนเองของสถานศกึ ษา 3. สถานศึกษามีการทบทวนหรือประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีส่งผลต่อคุณภาพ ผู้เรยี นและผูร้ ับบริการอยา่ งไร สถานศึกษาทบทวนหรือประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน และผู้รับบริการ โดยประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทบทวนวิธีการ ผลการประเมินที่ผ่านมา และนามาใช้ใน การดาเนินการประกันภาพภายใน โดยสถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการจัดการ และการทางานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ดาเนินการตามแผน ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล การพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง บุคลากรทุกคนในสถานศึกษามีส่วนร่วมใน การประกันคุณภาพภายในทุกขั้นตอน โดยใช้หลักการทางานตามวงจรของเดมมิ่ง (PDCA) ตั้งแต่กาหนด เป้าหมาย วางแผนติดตาม ดาเนินการ ตรวจสอบ ประเมินผล พัฒนาหรือปรับปรุง สถานศึกษาได้แต่งต้ัง คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีหน้าที่จัดทาแผนการนิเทศ เสนออนุมัติ ดาเนินการนิเทศตามแผน สรุปและรายงานผลการนิเทศเสนอต่อผู้เก่ียวข้อง และนาผล การนิเทศไปพัฒนาและปรับปรุงงานให้มีคุณภาพ เม่ือจัดโครงการ /กิจกรรมต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จัดทาสรุปผลการดาเนินงาน มีการวิเคราะห์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ/ แนวทางการแกป้ ัญหาและพัฒนาตอ่ เนื่อง ของแต่ละโครงการ เพ่ือใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงในการจัด โครงการ/กิจกรรมต่อไป และสถานศึกษาจัดประชุมบุคลากรของสถานศึกษาทุกเดือน เพ่ือติดตาม การดาเนนิ การจัดโครงการ/กจิ กรรมตา่ ง ๆ และทบทวนหรือประเมินระบบการประกันคุณภาพภายใน 4. สถานศึกษามีการจัดทาแนวทางการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อให้บุคลากร ของสถานศกึ ษาใชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนนิ งานอยา่ งไร สถานศึกษาจัดประชุมบุคลากรของสถานศึกษาทุกคน เพื่อทบทวนวิธีการดาเนินงาน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา บุคลากรของสถานศึกษาทุกคนร่วมกันกาหนดค่าเป้าหมาย ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น/ผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2562 ท่ีคาดหวังวา่ สามารถทาให้เกิดขึ้น ได้ตามศักยภาพและบริบทของสถานศึกษา โดยใช้ข้อมูลสารสนเทศจากการดาเนินงานในปีงบประมาณ 2561 เพ่ือใช้เป็นข้อมูลเทียบเคียง ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานว่าเป็นไปตามค่าเป้าหมายท่ี สถานศึกษากาหนดไว้หรือไม่ และเพื่อให้บุคลากรของสถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ 2562 แล้วจัดทารายงานการประเมินตนเอง เพ่ือให้บุคลากรของสถานศึกษาใช้เป็น แนวทางการดาเนินงาน และเสนอรายงานการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงาน ต้นสงั กดั ภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน 5. สถานศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอยา่ งไร ทีเ่ ป็นต้นแบบ สถ าน ศึ ก ษ ามี ก ารจั ด ระบ บ ก ารป ระกั น คุ ณ ภ าพ ภ าย ใน ที่ ส่งผ ลต่ อคุ ณ ภ าพ ผู้ เรียน แ ล ะ ผู้รับบริการตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับสถานศกึ ษาท่ีจดั การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ท่ีอาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม
203 และมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการ และ การทางานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา โดยนาผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีงบประมาณ 2556 ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ปีงบประมาณ 2554 และ ผลการประเมินตนเอง ปีงบประมาณ 2561 เป็นข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาและปรับปรุงการดาเนินงาน จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2562 – 2565 และแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ดาเนินการตามแผน ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการพัฒนา ปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง จัดทาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา บุคลากรทุกคนในสถานศึกษามี ส่วนร่วมในการประกันคุณภาพภายในทุกข้ันตอน โดยใช้หลักการทางานตามวงจรของเดมม่ิง (PDCA) ต้ังแต่กาหนดเป้าหมาย วางแผนติดตาม ดาเนินการ ตรวจสอบ ประเมินผล พัฒนาหรือปรับปรุง สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยบุคลากรสถานศึกษาทุกคนมี สว่ นร่วมในการเป็นคณะกรรมการ เพ่อื ดาเนินการพัฒนาประกันคุณภาพภายใน และนาผลการประเมนิ มา เปน็ แนวทางในการดาเนินการตอ่ ไป จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งช้ีท่ี 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี จากผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานท่ี 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การศึกษา ดังรายละเอียดข้างต้น สามารถสรุปคะแนนที่ได้ และระดับคุณภาพจากผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา ไดด้ ังรายละเอยี ดในตารางต่อไปน้ี มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ น้าหนกั ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) คะแนน ระดบั ทไี่ ด้ คุณภาพ มาตรฐานที่ 3 ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการการศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3.1 การบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ 5 4.50 ดมี าก พอเพยี งและหลักธรรมาภิบาล ตวั บง่ ช้ที ี่ 3.2 การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคเี ครือข่าย 5 4.50 ดมี าก ตวั บ่งช้ีที่ 3.3 การมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา 5 4.50 ดมี าก ตัวบง่ ชีท้ ่ี 3.4 การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา 5 4.00 ดี รวม 20 17.50 ดมี าก สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การศึกษา มีคะแนนรวม เท่ากับ 17.50 คะแนน ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก โดยมีจุดเด่น จุดท่ีควร พัฒนา วิธปี ฏบิ ัติทีด่ ี หรือนวตั กรรม หรือต้นแบบ และข้อเสนอแนะในการพัฒนา ดงั นี้
204 จดุ เดน่ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนาหลักธรรมาภิบาลมา ใช้ในการบริหารงานของสถานศึกษา 4 ด้าน คือ ด้านวชิ าการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบคุ คล และด้านการบรหิ ารงานทวั่ ไป 2. ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีความรัก ความสามัคคี มีการทางานร่วมกัน เปน็ ทีม ยอมรับฟงั ความคดิ เห็นซงึ่ กันและกนั มีความรับผิดชอบ ความซอื่ สตั ยส์ ุจรติ ม่งุ การปฏิบัตงิ านเพ่ือ นาไปสคู่ วามสาเรจ็ รว่ มกันอย่างถูกตอ้ งโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ 3. สถานศึกษามีการประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายที่มีศักยภาพอย่างต่อเน่ืองใน การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการหรือร่วมกันจัดการศึกษา ต้ังแต่ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมตรวจสอบ และรว่ มประเมนิ ผล 4. คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ ท้ัง 8 ด้าน ที่สามารถให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะต่าง ๆ และมีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประสทิ ธิผล 5. สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการดาเนินงานทุกขั้นตอน โดยใช้หลักการทางานตามวงจรของเดมม่ิง (PDCA) จดุ ทค่ี วรพฒั นา 1. สถานศึกษาควรมีการประชุมติดตาม ทบทวน ระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อ คุณภาพผู้เรียน อย่างต่อเน่ือง โดยนาผลการประเมินตนเองของสถานศึกษามาเป็นข้อมูลในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปีต่อไป และสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับบุคลากรทุกคนของ สถานศกึ ษาตระหนักและเห็นความสาคญั ของการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา วิธปี ฏิบตั ิที่ดี หรอื นวตั กรรม 1. สถานศึกษามีโครงสร้างการปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีความเป็นเอกภาพในการปฏิบัติงาน ทาให้ กระบวนการทางานมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากบุคลากรทุกคนของสถานศึกษารับทราบและปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าท่ขี องตนเอง 2. สถานศึกษาจัดการศึกษา โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายที่มีศักยภาพ จัดหรือร่วมจัด การศึกษา ในทกุ กิจกรรม และทุกข้ันตอน 3. คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ ติดตาม การจัด การศกึ ษาของสถานศึกษา 4. สถานศึกษามกี ารดาเนนิ การประกันคณุ ภาพภายในอย่างเปน็ ระบบ และต่อเน่อื ง
205 ตน้ แบบ - ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1. สถานศึกษาควรมีการประชุมติดตาม ทบทวน ระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อ คุณภาพผู้เรียน อย่างต่อเนื่อง นาผลการประเมินตนเองของสถานศึกษามาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปีต่อไป และสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับบุคลากรทุกคนของ สถานศกึ ษาตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา
206 บทท่ี 4 สรปุ ผลการประเมินตนเองและแนวทางการพฒั นาสถานศกึ ษา การประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทาง การพัฒนาสถานศึกษา ไดด้ งั น้ี การสรปุ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา การสรุปผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปผลไดเ้ ป็น 2 สว่ น คือ 1) สรปุ ผลการประมินตนเองของสถานศกึ ษา 2) สรุปผลการวเิ คราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเพื่อการพฒั นา
207 1. สรุปผลการประมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา น้าหนกั ผลการประเมินตนเอง มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (คะแนน) คะแนนที่ ระดบั ได้ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รยี น/ผูร้ บั บรกิ าร 35 32.00 ดมี าก การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ตวั บง่ ชท้ี ่ี 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมีคุณธรรม 5 5.00 ดมี าก ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผเู้ รยี นการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมีทักษะกระบวนการคดิ ทักษะ 5 5.00 ดีมาก การแสวงหาความรู้ เรียนรู้อยา่ งต่อเน่อื ง และสามารถนาไป ประยกุ ต์ใช้ในการดารงชวี ิต ตวั บง่ ชท้ี ่ี 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมีความรพู้ ืน้ ฐาน 5 4.00 ดี การศึกษาต่อเน่อื ง ตวั บ่งชีท้ ี่ 1.4 ผู้เรยี นหรอื ผู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และ 5 4.50 ดีมาก ทักษะในการประกอบอาชีพ ตัวบง่ ช้ที ี่ 1.5 ผเู้ รียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญา 5 4.50 ดมี าก ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวบ่งชีท้ ี่ 1.6 ผู้เรยี นหรอื ผเู้ ขา้ รบั การอบรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ด้ 5 4.50 ดีมาก อยา่ งเหมาะสม การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตวั บ่งชท้ี ่ี 1.7 ผู้รบั บรกิ ารได้รับความรแู้ ละ/หรือประสบการณจ์ ากการเข้า 5 4.50 ดีมาก รว่ มกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย
208 มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี น้าหนัก ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) คะแนนที่ ระดบั มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การใหบ้ รกิ าร การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ได้ คุณภาพ ตวั บง่ ชี้ที่ 2.1 คณุ ภาพครูการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 45 35.50 ดี ตัวบง่ ชที้ ่ี 2.2 คณุ ภาพของหลักสตู รสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 คุณภาพสอ่ื ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 5 4.50 ดีมาก ตัวบง่ ชีท้ ี่ 2.4 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนรูต้ ามหลกั สูตร 5 4.00 ดี สถานศกึ ษา การศึกษาตอ่ เน่ือง 5 3.50 ดี ตัวบ่งชท้ี ่ี 2.5 คุณภาพวทิ ยากรการศกึ ษาต่อเน่ือง ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 คุณภาพหลักสูตรและสือ่ การศกึ ษาต่อเนื่อง 5 4.00 ดี ตัวบง่ ชีท้ ่ี 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาตอ่ เนือ่ ง การศึกษาตามอธั ยาศยั 5 4.00 ดี ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.8 คุณภาพผจู้ ัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 5 3.50 ดี ตัวบง่ ชีท้ ่ี 2.9 คุณภาพกระบวนการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 5 4.00 ดี มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การการศกึ ษา ตัวบ่งช้ที ี่ 3.1 การบริหารสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ 5 4.00 ดี 5 4.00 ดี พอเพยี งและหลักธรรมาภิบาล 20 17.50 ดมี าก ตวั บง่ ช้ที ่ี 3.2 การสง่ เสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษาของภาคีเครือขา่ ย 5 4.50 ดีมาก ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3.3 การมีส่วนรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 5 4.50 ดีมาก 5 4.50 ดีมาก รวม 5 4.00 100 85.00 ดี ดีมาก สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม โดยมีคะแนนรวม เท่ากับ 85.00 คะแนน ซึ่งอยู่ ในระดับคุณภาพ ดีมาก
209 2. สรปุ ผลการวเิ คราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพอ่ื การพัฒนา สรปุ ผลการวิเคราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพื่อการพัฒนา จดุ เด่นของสถานศกึ ษา 1. สถานศกึ ษาจัดให้มโี ปรแกรมการเรยี นท่ีหลากหลายสอดคลอ้ งกบั คุณลักษณะ และการประกอบอาชีพของผู้เรียน เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวิต ยกระดับการทางาน และการประกอบอาชีพของตนเอง หรือต่อยอดการงานอาชีพ ได้แก่ โปรแกรม พัฒนาคุณภาพชีวิต โปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิต สาหรับผู้พิการทางสายตา โปรแกรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต สาหรบั เด็กและเยาวชนในสถานพนิ จิ 2. สถานศึกษาได้จัดกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ี หลากหลาย โดยสอดแทรกกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณธรรมในเร่ือง ความสามัคคี ความซ่อื สตั ย์ ความมนี ้าใจ ความกตัญญู ขยนั หมน่ั เพยี ร มวี ินยั มี ความสะอาด สุภาพ ประหยัด ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข ใฝ่เรียนรู้ และมีจิตอาสา เพื่อให้ผู้เรียนอยู่ใน ครอบครวั ชุมชน สังคม ไดอ้ ย่างมีความสขุ และมีคณุ ภาพชวี ิตทดี่ ี 3. สถานศึกษาจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซ่ึงเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่จัดข้ึนอย่างเป็นระบบ ตาม ปรัชญา “คิดเป็น” มุ่งพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนา ทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้และสร้างองค์ความรู้ สาหรับ ตนเองและชมุ ชน 4. สถานศึกษาได้กาหนดให้โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของคะแนนระหว่างภาคเรียน โครงงานเป็นกิจกรรมที่ทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้ด้วยตนเอง จากการลงมือ ปฏิบัติจรงิ ในลักษณะของการศกึ ษา สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ปฏิบตั ิ คิดค้น ให้ ผู้เรียนเป็นผู้คิดหัวเร่ือง จัดหาข้อมูล ทดลอง สรุปผล เขียนรายงานแสดงผล งาน และนาเสนอผลงาน โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้นแนะนา และให้คาปรึกษา อย่างใกล้ชิด โครงงานช่วยพัฒนาผู้เรียนด้านการคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น สถานศึกษาได้พัฒนา ครู กศน.ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัด กิจกรรมการเรียนรู้ ดว้ ยการทาโครงงาน และจัดให้มกี ารประกวดโครงงานของ นักศึกษา เพือ่ เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นแสดงผลงานแลกเปล่ียนเรียนรู้ 5. สถานศึกษาได้เชิญวิทยากรตรงตามสาขาวิชามาสอนปรับพ้ืนฐานผู้เรียน ในช่วงต้นภาคเรียน และสอนเสริมให้ผู้เรียนในช่วงปลายภาคเรียน เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของผู้เรยี น 6. สถานศึกษามีการสารวจข้อมูลพื้นฐานและจัดทาแผนจุลภาค Micro Planning ระดับตาบล แล้วนามาใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาต่อเน่ืองที่
210 สรปุ ผลการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพือ่ การพัฒนา หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบริการ และชุมชน จัด กระบวนการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ทาให้ผู้เรยี น/ผรู้ ับบริการ นาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือ ประกอบอาชีพ หรือพัฒนาตอ่ ยอดอาชพี หรือเพ่ิมมูลคา่ ของสินค้า หรือบรกิ าร 7. สถานศึกษาจัดกิจกรรมและฝกึ อบรมให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้กระบวนการ 2 3 4 ซ่ึงประกอบด้วย 2) ความรู้ คุณธรรม 3) ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี 4) ด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ทาให้มีศักยภาพในการขยายผล และ ถ่ายทอดไปยังครอบครัว ชุมชน สังคม เพ่ือพัฒนาการดาเนินชีวิต และ การประกอบอาชพี พ่ึงตนเองได้ 8. สถานศึกษาจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย ในรปู แบบกิจกรรมที่หลากหลาย คือ กิจกรรมให้บริการของห้องสมุดประชาชนฯ และ กิจกรรมให้บริการของ กศน. ตาบล สอดคล้องและเหมาะสมกบั ความต้องการและชว่ งวัยผ้รู บั บริการ 9. สถานศึกษามีการส่งเสริมและพัฒนาครูการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างตอเนื่อง ทาให้ครูการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัด กระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สอดคล้องกบั สภาพปัญหาและความต้องการ ของผู้เรียน เน้นกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา คิดเป็น มุ่งให้ผู้เรียน/ ผู้รับบริการมีทักษะการคิด การตัดสินใจ เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ สามารถ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันหรือนาไปประกอบอาชีพได้จริง โดยใช้การจัด กระบวนการเรียนรู้แบบ ONIE Model และการเรียนรู้แบบโครงงาน สามารถ เลือกใช้ส่ือเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับผู้เรียนในยุคดิจิทัล โดยนานวัตกรรม สื่อ ออนไลน์ มาใชส้ ร้างห้องเรียนสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิตและการทางานของผู้เรียน 10. สถานศึกษามีการรวบรวมการจัดหา หรือจัดทาส่ือการศึกษาพื้นฐาน ที่หลากหลาย ท้ังส่ือส่ิงพิมพ สื่อแหลงเรียนรู/ภูมิปัญญา เพ่ือสงเสริมสนับสนุน การเรียนรูของผูเรยี น 11. วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะการถ่ายทอดการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน/ผู้รบั บริการ อย่างมคี ุณภาพ สามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันและนาไปประกอบอาชพี หรือ พฒั นาอาชีพไดจ้ ริง มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีมาจัดกระบวนการเรียนการสอน ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ได้หลายช่องทาง รวมท้ังสร้างบรรยากาศเพ่ือ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ภายในกล่มุ 12. ผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะใน
211 สรุปผลการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพ่ือการพัฒนา จดุ ทค่ี วรพัฒนา การปฏิบัติงาน พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง สามารถออกแบบและจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่หลากหลายรูปแบบ สอดคล้องเหมาะสมกับความต้องการของ ผ้รู ับบริการ 13. ผู้บริหารสถานศึกษาน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนา หลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานของสถานศึกษา 4 ด้าน คือ ด้าน วิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงาน ทั่วไป 14. ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีความรัก ความสามัคคี มีการทางานร่วมกันเป็นทีม ยอมรับฟังความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน มีความ รบั ผิดชอบ ความซอ่ื สัตยส์ จุ ริต มุ่งการปฏบิ ัติงานเพื่อนาไปสู่ความสาเรจ็ ร่วมกัน อย่างถูกตอ้ งโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ 15. สถานศึกษามีการประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายที่มีศักยภาพ อย่างต่อเน่ืองในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการหรือร่วมกันจัดการศึกษา ต้งั แตร่ ว่ มวางแผน ร่วมปฏิบตั ิ รว่ มตรวจสอบ และรว่ มประเมินผล 16. คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ ทั้ง 8 ด้าน ท่ีสามารถให้คาปรึกษาข้อเสนอแนะต่าง ๆ และมีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าที่ ของคณะกรรมการสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสทิ ธิผล 17. สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา โดยบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ทกุ ขน้ั ตอน โดยใช้หลักการทางานตามวงจรของเดมมิ่ง (PDCA) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้นื ฐาน มีค่าสงู กว่าค่าเป้าหมายท่ีกาหนด แตไ่ ม่ครบทกุ รายวิชา 2. สถานศึกษามีการติดตามผู้เรียน/ผู้รับบริการ หลังจบหลักสูตรการศึกษา ขนั้ พืน้ ฐาน และ การศกึ ษาตอ่ เน่ือง แตย่ งั ไมอ่ ย่างต่อเน่ืองเท่าที่ควร 3. ผู้เรียน/ผู้รับบริการท่ีจบหลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ นาความรู้ ทักษะที่ได้รับไปใช้ในการเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอด อาชพี หรอื เพ่ิมมลู คา่ ของสนิ ค้า หรอื บรกิ ารได้นอ้ ย 4. ผ้รู บั บรกิ ารมีความตอ้ งการอ่านหนังสอื ท่ีหลากหลาย แต่หนังสือทห่ี มนุ เวียน อยู่ในบา้ นหนงั สือชมุ ชนเปน็ หนงั สอื ทไ่ี ม่ทันสมัย ทาให้ไมน่ า่ สนใจ 5. ครูควรพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ เด่นชัด โดยสถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ ผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทักษะการเรียนรู้
212 สรุปผลการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพอ่ื การพัฒนา วธิ ีปฏบิ ตั ทิ ่ีดี หรือ ความรู้พ้ืนฐาน การประกอบ อาชีพ ทักษะการดาเนินชีวิต และสาระ นวตั กรรม หรือ การพฒั นาสังคม ตวั อยา่ งท่ดี ี หรือ 6. หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เน่ือง ยงั ไม่ได้รบั การพัฒนาให้ครบวงจร ต้นแบบ 7. วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง บางคนขาดทักษะกระบวนการออกแบบ และ การจดั กระบวนการเรียนรู้ให้กับผ้เู รียน/ผรู้ ับบรกิ าร 8. สถานศึกษาไม่มีงบประมาณในการจัดซื้อสื่อ หนังสือ การจัดกิจกรรม ส่งเสริมการอา่ น และการจัดตกแต่งบ้านหนังสอื ชุมชน ทาให้บา้ นหนังสือชุมชน บางแห่งไม่เหมาะสมสาหรบั การให้บรกิ าร 9. สถานศึกษาควรมีการประชุมติดตาม ทบทวน ระบบการประกันคุณภาพ ภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน อย่างต่อเน่ือง โดยนาผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษามาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาในปีต่อไป และสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับบุคลากรทุกคนของ สถานศึกษาตระหนักและเห็นความสาคัญของการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา 1. สถานศึกษาคัดเลือกผู้เรยี นที่เป็นตัวอย่างท่ีดีในด้านคุณธรรม โดยพิจารณา จากข้อมูลเอกสารการประเมินคุณธรรมรายบุคคล จากผลการประเมินท่ีอยู่ใน ระดับ ดีมาก ของแต่ละระดับการศึกษา และมอบเกียรติบัตรให้ในโครงการ ปฐมนิเทศผู้เรียน และไหว้ครู ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 31 คน เพ่อื เปน็ เกยี รติ และขวัญกาลังใจใหก้ บั ผเู้ รียน 2. ผู้เรียนตัวอย่างที่ดีด้านทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 3 คน และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 3 คน เปน็ ตวั แทนของ กศน. ตาบลกระท่มุ ลม้ ไดจ้ ัดทาโครงงาน จานวน 2 เร่อื ง 2.1 โครงงาน “เครื่องเก็บขยะในน้าแบบเคล่ือนที่ได้โดยใช้พลังงาน แสงอาทิตย์” โดยนักศึกษา กศน.ตาบลกระทุ่มล้ม ได้เป็นตัวแทน ของ กศน. อาเภอสามพราน เข้าร่วมประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สาหรับนักศึกษา กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ด้านการใช้และการอนุรักษ์พลังงาน ไฟฟ้าเพ่ือชีวิตและสังคม ณ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษากาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ได้รับรางวัลรางวัลชนะเลิศ และในวนั ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ได้เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าร่วมประกวด โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับประเทศ สาหรับนักศึกษา กศน. ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ด้านการใช้และการอนรุ กั ษ์พลังงานไฟฟา้ เพ่ือชีวติ และ
213 สรุปผลการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพอ่ื การพัฒนา สังคม ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (เอกมัย) ได้รางวัล รองชนะเลิศ อนั ดบั 2 ไดร้ บั โล่ และเกียรตบิ ตั ร จากกระทรวงศกึ ษาธิการ เพื่อแสดงว่า กศน. อาเภอสามพรานได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 ระดับประเทศ การประกวด โครงงานวทิ ยาศาสตร์ สาหรบั นักศึกษา กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ดา้ นการใชแ้ ละอนรุ กั ษพ์ ลงั งานไฟฟ้าเพื่อชีวิตและสงั คม 2.2. โครงงาน “เคร่ืองขูดมะพร้าวโดยการป่ันจักรยานผลิตพลังงาน ไฟฟ้า” โดยนักศึกษา กศน.ตาบลกระทุ่มล้ม ได้เป็นตัวแทน ของ กศน.อาเภอ สามพราน เข้าร่วมประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สาหรับนักศึกษา กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ดา้ นการใช้และการอนุรกั ษ์พลงั งานไฟฟา้ เพื่อ ชีวิตและสังคม ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษากาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี เม่ือวนั ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ได้รับรางวัลชมเชย “เครื่องเก็บขยะในน้าแบบเคลื่อนที่ได้โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์” และ โครงงาน “เครื่องขูดมะพร้าวโดยการปั่นจักรยานผลิตพลังงานไฟฟ้า” เป็น แนวคิดของนกั ศึกษาที่ต้องการแก้ปัญหาการลด การใช้พลังงานไฟฟ้าเพื่อชีวิต และสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาพลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้กระบวนการสะเต็มศึกษา (STEM Education) ในการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในการลดปัญหาขยะ และการส่งเสริมการประกอบ อาชีพในชมุ ชน 3. กศน. ตาบลกระทุ่มล้ม ได้ดาเนินการจัดกิจกรรม ชั้นเรียนวิชาชีพ วิชา ผ้าด้นมือ (กระเป๋าเป้สะพายเฉียง) หลักสูตร 35 ช่ัวโมง ให้กับสมาชิกกลุ่ม อาชีพกลุ่มหัตถกรรมนครช่ืนชุ่ม ซึ่งเป็นการต่อยอดอาชีพให้กับสมาชิกกลุ่ม โดยในการจัดกิจกรรมดังกล่าวมี นางเขมมิกา เรือนเพ็ง ซ่ึงเป็นผู้เรียนอาชีพ สามารถนาผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าด้นมือ (กระเป๋าเป้สะพายข้าง) ไปลงทะเบียน เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่มผู้ผลิตชุมชน ของพัฒนาการอาเภอสามพราน และ ไปต่อยอดขอรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด นครปฐมเพือ่ เป็นการการนั ตคี ุณภาพของผลิตภัณฑ์และเป็นการต่อยอดกลมุ่ ใน ชุมชนให้เข้มแข็งและขับเคล่ือนในการสรา้ งรายได้ให้กับกลมุ่ เปน็ อยา่ งดี 4. กศน. ตาบลคลองจินดาจัดกิจกรรมพัฒนาอาชีพ (กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรวิชา ขนมหวาน จานวน 12 ชั่วโมง ระหว่างวันท่ี 22-23 กรกฎาคม 2562 ณ ศาลาประชาคม หมู่ท่ี 2 ตาบลคลองจินดา มีผู้เรียน จานวน 9 คน โดยได้รับความอนุเคราะห์วิทยากรจาก ศูนย์การศึกษานอก
214 สรปุ ผลการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพอ่ื การพฒั นา โรงเรียนกาญจนาภิเษก (วทิ ยาลัยในวัง) มาให้ความรู้แก่ผู้เรียน ผู้เรยี นสามารถ นาความรู้ ทักษะไปประกอบอาชีพเสริม เพ่ิมรายได้ โดยสามารถนาไปขายใน ตลาดนดั ของชมุ ชน และรับทาขนมในช่วงงานพิธีตา่ ง ๆ 5. กศน. ตาบลตลาดจนิ ดา ดาเนนิ การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ในรูปแบบกิจกรรม 1 อาเภอ 1 อาชีพ วิชาพรมเช็ดเท้าแฟนซี จานวน 60 ชั่วโมง ในวันที่ 13 มิถุนายน 2562 ถึง 25 มิถุนายน 2562 ณ ศูนย์เรียนรู้ ตาบลตลาดจินดา หมู่ 3 ตาบลตลาดจินดา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีนายวิริยะ ณะจินดา ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ นาวัสดุที่เหลือใช้ในตาบลมาทาผลิตภัณฑ์พรมเช็ดเท้าแฟนซี เพ่ือเป็นการเพิ่ม มูลค่าสินค้าผลิตภั ณ ฑ์ ซ่ึงได้รับ ความร่วมมือจากภ าคีเครือข่ายใน การประสานงานต่าง ๆ อาทิ เช่น จัดหาสถานท่ีจัดฝึกวิชาชีพ สนับสนุนด้าน วัสดุ อุปกรณ์บางส่วน เพื่อให้สามารถจัดฝึกอบรมวิชาชีพให้ประสบผลสาเร็จ ด้วยดีมาโดยตลอด และส่วนผู้เรียนมีความตั้งใจ สนใจในการเรยี นรู้เป็นอย่างดี เน่ืองจากเป็นกิจกรรมท่ีตรงความต้องการของผูเ้ รยี น ซึ่งผู้เรียนมีความคาดหวัง ในการท่ีจะนาความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาทักษะของตนเอง ชุมชน เพ่ือต่อยอด อาชีพเดิม สร้างรายได้เสริมหรือสร้างอาชีพใหม่ ผู้เรียนสามารถจัดต้ังเป็นกลุ่ม อาชีพของชมุ ชนตาบลตลาดจินดา และเปน็ แหล่งศกึ ษาดงู านของตาบลอีกดว้ ย 6. สถานศึกษามีกระบวนการสงเสริมและพัฒนาครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยางตอเน่ืองทกุ ภาคเรยี น 7. สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนใหครูการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ส่งนักศึกษา เข้าร่วมประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ เพ่ือส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะ กระบวนการคดิ การแสวงหาความรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 8. สถานศึกษามีโครงสร้างการปฏิบัติงานท่ีชัดเจน มีความเป็นเอกภาพใน การปฏิบตั ิงาน ทาให้กระบวนการทางานมีประสิทธิภาพ เนื่องจากบุคลากรทุก คนของสถานศึกษารบั ทราบและปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหนา้ ที่ของตนเอง 9. สถานศึกษาจัดการศึกษา โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายท่ีมี ศกั ยภาพ จดั หรอื ร่วมจัดการศึกษา ในทุกกิจกรรม และทกุ ขั้นตอน 10. คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ ตดิ ตาม การจัด การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 11. สถานศึกษามีการดาเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นระบบ และ ต่อเนือ่ ง
215 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เห็นควรให้สถานศึกษาจัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อ การปรับปรุงหรือพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลาดับความสาคัญ ดังน้ี 1. ควรส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถในการออกแบบการจัด กระบวนการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั เพ่อื ใหส้ ามารถจดั การเรียนการสอนในรายวิชาหลกั ได้ 2. ควรจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านวิชาการท่ีหลากหลาย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทาง การเรียนของผเู้ รียนการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานให้มคี า่ สงู ข้ึน 3. ควรส่งเสริมสนับสนุน ให้ครูนา สื่อ เทคโนโลยี ที่หลากหลายไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้ เหมาะสม กับผูเ้ รียน และเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนนาความรูไ้ ปใช้ในการดารงชีวิต การทางาน หรือ การประกอบอาชพี ได้ และยกระดับคณุ ภาพชีวิตของตนเอง 4. สถานศึกษาควรมีการติดตามผู้เรียน/ผู้รับบริการ หลังจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ การศึกษาต่อเนอ่ื ง อย่างตอ่ เนื่อง 5. ควรสง่ เสรมิ สนับสนุนให้วทิ ยากรมคี วามรู้ในด้านจิตวทิ ยาการศึกษาผใู้ หญ่ การจดั ทาหลกั สตู ร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ และการวัดผลและประเมินผล ให้สามารถจัด การศึกษาต่อเน่ือง ได้อย่างมีคณุ ภาพ 6. ควรพัฒนากิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ โดยส่งเสริมการเรียนรู้อาชีพใหม่ ๆ ให้เป็น ทางเลือกเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชน เพิ่มช่องทางการตลาดให้กับผู้เรียน เพ่ือจาหน่ายผลิตภัณฑ์ได้ อย่างแพร่หลาย และส่งเสริมสนับสนุนต่อยอดให้ผู้เรียนท่ีจบหลักสูตรการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ให้มี ทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายไดใ้ ห้แกค่ รอบครัว มคี ุณธรรมในการประกอบอาชีพ 7. ควรจัดหาส่ือ หนังสอื และกิจกรรมท่ีหลากหลายให้มากขน้ึ ตามลกั ษณะของผ้รู บั บรกิ าร ทงั้ ใน ส่วนของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอสามพราน กศน.ตาบล และบ้านหนังสือชุมชน เพ่ิม การประชาสัมพันธ์และสรา้ งแรงจูงใจในการร่วมกิจกรรมมากยิ่งขนึ้ 8. ควรจัดให้มีระบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในทุกกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ นาผลการนิเทศเป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยา่ งตอ่ เน่ือง 9. สถานศึกษาควรมกี ารตดิ ตามและประเมินหลกั สตู รสถานศึกษา เพอ่ื พัฒนาจัดทาหลักสตู รใหมี คณุ ภาพยง่ิ ข้ึน 10. ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร มีความรู้และสามารถจัดทาวิจัยในระดับชั้นเรียน และระดับ สถานศึกษาอย่างนอ้ ยปลี ะ 1 เร่ือง เพือ่ นาผลการวจิ ยั ไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา 11. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการศึกษาปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทักษะการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การประกอบ อาชีพ ทักษะการดาเนิน ชวี ิต และสาระ การพัฒนาสงั คม
216 12. ควรพัฒนาหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ งจากภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นให้ครบวงจร เพอื่ ให้สถานศึกษา นาไปจัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอนนาสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน/ ผู้รบั บริการ และเอื้อต่อการเรียนรู้ 13. ควรพัฒนาวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ให้มีความรู้ในด้านจิตวิทยาการศึกษาผู้ใหญ่ การจัดทาหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ และการวัดผลและประเมินผล ให้สามารถจัดการศึกษาตอ่ เน่ืองได้อยา่ งมีคณุ ภาพ 14. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เพ่ือให้ประชาชน ชุมชนและนักศึกษามีส่วนร่วมในการพัฒนา บ้านหนังสือชุมชน และจัดทา QR Code สาหรับการส่งเสริมการอ่านหนังสือออนไลน์ เพ่ือตอบสนอง รักการอ่านได้ไม่จากดั เวลาการเปิด – ปดิ บ้านหนังสือชมุ ชน 15. สถานศึกษาควรมีการประชุมติดตาม ทบทวน ระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีส่งผลต่อ คุณภาพผู้เรียน อย่างต่อเน่ือง นาผลการประเมินตนเองของสถานศึกษามาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปีต่อไป และสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับบุคลากรทุกคนของ สถานศกึ ษาตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา
217 ภาคผนวก
218 คำสง่ั ศนู ยก์ ำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยอำเภอสำมพรำน ที่ 190/2562 เรอ่ื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมกำรดำเนนิ งำนประกนั คุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ---------------------- ตำมประกำศกระทรวงศึกษำธิกำรลงวันท่ี 22 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2560 เร่ือง มำตรฐำน กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ให้มำตรฐำนกำรศึกษำนอก ระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ของศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอ/ เขต ประกอบด้วย 3 มำตรฐำน 20 ตัวบ่งช้ี เพ่ือกำรประกันคุณภำพภำยในของสถำนศึกษำ ซ่ึง สถำนศึกษำตอ้ งตรวจสอบ และประเมนิ ตนเองตำมสภำพและบรบิ ทของสถำนศึกษำ เพื่อให้กำรดำเนินงำนดำเนินงำนประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 ของศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอสำมพรำนเป็นไปด้วยควำม เรียบร้อยแล้ว จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมกำรดำเนินงำนประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 เพื่อดำเนินงำนประกันคุณภำพภำยใน ของศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและ กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั อำเภอสำมพรำน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. คณะกรรมกำรที่ปรึกษำ มีหน้ำที่ให้คำปรึกษำแนะนำ อำนวยควำมสะดวกในกำร ดำเนินงำนให้เป็นไปดว้ ยควำมเรยี บร้อย ประกอบด้วย 1.1 นำยสมมำตร คงชน่ื สนิ ประธำนกรรมกำร 1.2 นำงสำวผณินทร มำยนื ยง กรรมกำร 1.3 นำงอรวรรณ มหำยศนันท์ กรรมกำร 1.4 นำงสำววรภัทร บุณยพรหม กรรมกำร 1.5 นำงสวุ ลยั แจม่ จนั ทร์เกษม กรรมกำรและเลขำนกุ ำร 1.6 นำงประคองศรี โพธ์เิ พชร์ กรรมกำรและผ้ชู ่วยเลขำนุกำร 1.7 นำยมำนพ ปรำชญ์อภญิ ญำ กรรมกำรและผ้ชู ่วยเลขำนกุ ำร 2. คณะกรรมกำรดำเนินงำนประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ มีหน้ำท่ีรวบรวมและ ตรวจสอบขอ้ มูลสำรสนเทศทเี่ กยี่ วข้องกบั กำรจดั กำรศึกษำ ประเมนิ ตนเองตำมมำตรฐำน และตวั บง่ ชี้ วิเครำะห์ผลกำรประเมินตนเอง เขียนรำยงำนกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ และนำเสนอต่อ ผบู้ ริหำร ตำมตำรำงแนบท้ำยคำสง่ั /ใหผ้ ทู้ ไ่ี ด้รบั กำรแตง่ ต้งั …
219 -2- ให้ผู้ท่ีได้รับกำรแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้ำท่ีตำมท่ีได้รับมอบหมำย ดำเนินงำนประกัน คุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 และจัดทำรำยงำนกำรประเมินตนเองของ ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอสำมพรำน ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ให้แล้วเสรจ็ เรียบรอ้ ยภำยในวนั ที่ 20 กนั ยำยน 2562 เพอ่ื ประโยชนข์ องทำงรำชกำรต่อไป ทงั้ นี้ ต้งั แต่บัดน้ีเป็นตน้ ไป สัง่ ณ วนั ท่ี 1 เดอื น สงิ หำคม พ. ศ. 2562 (นำยสมมำตร คงชน่ื สิน) ผ้อู ำนวยกำร กศน. อำเภอสำมพรำน
220 -3- ตารางแสดงดำเนนิ งำนประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ตามตวั บ่งช้ีมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย แนบทา้ ยคาส่ังที่ 167/2562 ลงวันท่ี 1 กรกฎาคม 2562 มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี คณะกรรมการ มาตรฐานดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเ้ รยี น/ผรู้ บั บรกิ าร การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ตัวบง่ ชีท้ ่ี 1.1 ผ้เู รยี นกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำนมีคณุ ธรรม นำงสำวศศยิ ำพชั ญ์ อินทรก์ รุงเกำ่ นำงสำวคณิตำ สุทธิโยชน์ นำงสำวจนิ ตนำ ไชยะโอชะ นำงสำวลำวลั ย์ โพธ์ศิ รที อง นำงสำวจติ รำ เซย่ี งเทศ ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.2 ผูเ้ รียนกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำนมีทกั ษะกระบวนกำรคิด นำงสำวศศยิ ำพัชญ์ อนิ ทรก์ รุงเก่ำ ทักษะกำรแสวงหำควำมรู้ เรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง และ นำงสำวคณิตำ สุทธิโยชน์ สำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ในกำรดำรงชวี ิต นำงสำวจินตนำ ไชยะโอชะ นำงสำวลำวัลย์ โพธศ์ิ รที อง นำงสำวอญั ชลีย์ ว่องไว ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผเู้ รยี นกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำนมีควำมรูพ้ ื้นฐำน นำงสำวศศยิ ำพัชญ์ อนิ ทร์กรุงเกำ่ นำงสำวคณิตำ สุทธโิ ยชน์ นำงสำวจนิ ตนำ ไชยะโอชะ นำงสำวลำวัลย์ โพธ์ิศรที อง นำยวรพจน์ ศรเี พช็ รธำรำพนั ธุ์ การศึกษาต่อเน่ือง ตวั บง่ ช้ที ี่ 1.4 ผเู้ รียนหรอื ผ้เู ข้ำรับกำรอบรมมีควำมรู้ นำงประคองศรี โพธิ์เพชร์ ควำมสำมำรถ และทักษะในกำรประกอบอำชพี นำยเมธำ ประชุมพนั ธ์ ตัวบ่งชีท้ ่ี 1.5 ผเู้ รยี นหรอื ผเู้ ข้ำรับกำรอบรมปฏบิ ตั ิตนตำมหลัก นำงสำวมำลำ กณั ฑโ์ ย ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง นำงบษุ กร พรมเพียงช้ำง ตัวบง่ ชีท้ ่ี 1.6 ผ้เู รียนหรือผเู้ ข้ำรบั กำรอบรมสำมำรถใชเ้ ทคโนโลยี นำงสำวอมรรตั น์ ธนธนำนนท์ ไดอ้ ย่ำงเหมำะสม นำงสำวจุฑำรัตน์ บญุ ปลูก การศกึ ษาตามอัธยาศยั ตวั บ่งชี้ท่ี 1.7 ผรู้ บั บรกิ ำรได้รับควำมร้แู ละ/หรือ นำงสำววรภทั ร บุณยพรหม ประสบกำรณ์จำกกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรม/ นำงเอื้อมเดือน เปลย่ี นจัด โครงกำรกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั นำงสำวชนันท์ภัทร์ พนั ธข์ ุนทด นำงสำวโรสิตำ ลำภอำภำรตั น์ นำงสำวเสำวลักษณ์ คำนพลู นำงสำวทัตตยิ ำ น้อยพิทกั ษ์
221 -4- มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษา/การใหบ้ ริการ การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ตัวบ่งชที้ ี่ 2.1 คุณภำพครูกำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำน นำงอรวรรณ มหำยศนนั ท์ นำยววิ ฒั น์ กลัดสำเนยี ง นำยธนำนำจ พวงสขุ นำยกษิด์ิเดช เอีย่ มกระสินธ์ุ นำงวันเพ็ญ ปนิ่ ทอง ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.2 คณุ ภำพของหลักสูตรสถำนศึกษำ นำงอรวรรณ มหำยศนันท์ นำยววิ ัฒน์ กลดั สำเนียง นำยธนำนำจ พวงสุข นำยกษดิ เ์ิ ดช เอี่ยมกระสินธ์ุ นำงสำวจนิ ตนำ โพธ์ิศรที อง ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2.3 คุณภำพสื่อตำมหลกั สตู รสถำนศึกษำ นำงอรวรรณ มหำยศนันท์ นำยวิวัฒน์ กลัดสำเนียง นำยธนำนำจ พวงสขุ นำยกษดิ เ์ิ ดช เอ่ยี มกระสนิ ธ์ุ นำงสำวนำฏยำ พรมพนั ธ์ุ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 2.4 คุณภำพกำรจัดกระบวนกำรเรยี นร้ตู ำมหลกั สูตร นำงอรวรรณ มหำยศนนั ท์ สถำนศึกษำ นำยวิวัฒน์ กลัดสำเนียง นำยธนำนำจ พวงสุข นำยกษดิ ิเ์ ดช เอย่ี มกระสนิ ธ์ุ นำงสำวอนงค์ พว่ งทรัพย์สนิ
222 -5- มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี ผู้รับผิดชอบ มาตรฐานด้านการจดั การศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/การให้บรกิ าร การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ตวั บ่งช้ีที่ 2.5 คุณภำพวทิ ยำกรกำรศกึ ษำต่อเนื่อง นำงประคองศรี โพธเ์ พชร์ นำงสำวญำณิศำ หมน่ื จง ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.6 คณุ ภำพหลักสูตรและสื่อกำรศึกษำต่อเนื่อง นำงสำวมำลำ กณั ฑโ์ ย นำงอำรรี ัตน์ พุทธรกั ษำ ตัวบ่งชที้ ่ี 2.7 คุณภำพกำรจดั กระบวนกำรเรยี นร้กู ำรศกึ ษำ นำงสำวอมรรัตน์ ธนธนำนนท์ ตอ่ เน่อื ง นำงอำรยี ์ ศรที ิพย์ มาตรฐานด้านการจัดการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบ้ ริการ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 คณุ ภำพผู้จัดกจิ กรรมกำรศึกษำตำมอัธยำศยั นำงสำววรภทั ร บณุ ยพรหม นำงเอ้ือมเดือน เปล่ยี นจดั นำงสำวชนันท์ภัทร์ พนั ธข์ ุนทด นำงสำวโรสติ ำ ลำภอำภำรตั น์ นำงสำวเสำวลักษณ์ คำนพลู นำยภีระ มำยนื ยง ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.9 คณุ ภำพกระบวนกำรจดั กิจกรรมกำรศึกษำตำม นำงสำววรภัทร บุณยพรหม อัธยำศยั นำงเอื้อมเดือน เปลย่ี นจัด นำงสำวชนนั ท์ภทั ร์ พันธข์ นุ ทด นำงสำวโรสิตำ ลำภอำภำรตั น์ นำงสำวเสำวลกั ษณ์ คำนพลู นำยภรี ะ มำยนื ยง
223 -6- มาตรฐานดา้ นการจัดการศึกษา มาตรฐานท่ี 3 การบริหารการศกึ ษา ตัวบ่งชท้ี ี่ 3.1 กำรบริหำรสถำนศึกษำตำมหลกั ปรชั ญำของ นำงสำวผณินทร มำยืนยง เศรษฐกิจพอเพยี ง และหลักธรรมำภบิ ำล นำงสำวอมรรัตน์ ธนธนำนนท์ นำยชเู กยี รติ คลำ้ ยสุบรรณ นำงสำววรำลี จริ วัฒนช์ ัยนันท์ ตัวบง่ ชี้ที่ 3.2 กำรส่งเสรมิ สนบั สนนุ กำรจัดกำรศกึ ษำของ นำงสำวสำวิตรี มุมสนิ ภำคเี ครือข่ำย นำงสำววนิ ิดำ เบำะโท นำงสำวชญำนชุ ช้นิ จ้ิน ตวั บง่ ชีท้ ี่ 3.3 กำรมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมกำรสถำนศึกษำ นำงสุวลัย แจ่มจันทรเ์ กษม นำงประคองศรี โพธเ์ิ พชร์ นำยมำนพ ปรำชญ์อภญิ ญำ ตัวบ่งช้ที ่ี 3.4 กำรประกันคุณภำพภำยในของสถำนศึกษำ นำงสวุ ลยั แจ่มจนั ทรเ์ กษม นำงประคองศรี โพธิเ์ พชร์ นำยมำนพ ปรำชญ์อภญิ ญำ
224
225
226
227
228
229 คณะผูจ้ ดั ทำ ทีป่ รึกษำ รองผูอ้ านวยการสานกั งาน กศน.จังหวัดนครปฐม ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอสามพราน 1. นางโสภาวรรณ อมั พันศริ ริ ตั น์ 2. นายสมมาตร คงชื่นสนิ คณะผู้จดั ทำเอกสำร 1. นายสมมาตร คงชน่ื สิน ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสามพราน 2. นางสวุ ลยั แจม่ จนั ทรเ์ กษม ครชู านาญการพเิ ศษ 3. นางสาวผณินทร มายืนยง ครูชานาญการพิเศษ 4. นางอรวรรณ มหายศนันท์ ครูชานาญการ 5. นางสาววรภทั ร บุณยพรหม บรรณารกั ษ์ชานาญการ 6. นายวิวัฒน์ กลดั สาเนียง พนักงาน ธุรการ ส3 7. ครอู าสาสมคั ร กศน. ทุกคน 8. ครู กศน. ตาบลทกุ คน 9. ครศู ูนย์การเรยี นชมุ ชนทกุ คน 10. ครผู ู้สอนคนพกิ าร 11. ครปู ระจากลุ่มทกุ คน 12. บรรณารักษ์อัตราจ้างทุกคน 13. เจา้ หน้าท่ีเทคโนโลยสี ารสนเทศทุกคน จดั พมิ พ/์ รูปเล่ม แจ่มจันทร์เกษม 1. นางสุวลัย โพธเิ์ พชร์ 2. นางประคองศรี ปราชญอ์ ภญิ ญา 3. นายมานพ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244