Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนประวัติศาสตร์-merged-compressed

แผนการสอนประวัติศาสตร์-merged-compressed

Published by kanyaporn sringarn, 2018-10-12 00:03:35

Description: แผนการสอนประวัติศาสตร์-merged-compressed

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ ังสฤษดิ์1 ประวัตศิ าสตร์ไทยกลุม่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ เวลาเรยี น 6 ชั่วโมง๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ดั ส 4.1 ม.4-6 ตระหนักถึงความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ทีแ่ สดงถงึ การเปล่ียนแปลงของมนุษยชาติ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การกาหนดเวลา ยคุ สมัย การนบั และเทยี บศักราชในประวตั ิศาสตร์ไทย ทาให้สามารถศกึ ษา และเรียงลาดบั เหตุการณ์ต่างๆ ในประวัตศิ าสตร์ได้ รวมท้ังมีความสัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยงจากอดตี สู่ปัจจุบนั และคาดการณ์ในอนาคตเข้าด้วยกนั ได้๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง(K) ๓.๑1. เวลาและยุคสมยั ที่ทางประวัติศาสตร์ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตรไ์ ทย ๓.๑.2. ตวั อย่างเวลา และยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษย์ทม่ี ปี รากฏในหลกั ฐาน ทางประวตั ิศาสตร์ 3.๑.๓ ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1

๓.๒ทักษะกระบวนการ(P)เพื่อให้นักเรยี น ๓.๒.๑อธบิ ายเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตรท์ ี่ปรากฏในหลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ์ ทยได้ ๓.๒.๒ ตวั อย่างเวลา และยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตรข์ องสังคมมนุษย์ที่มีปรากฏในหลกั ฐาน ทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ ๓.๒.๓ อธบิ ายความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ได้๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์(A)เพื่อใหน้ กั เรยี น ๓.๓.๑ มีความสนใจและกระตือรือรน้ ในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓.๓.๒ มวี ามรบั ผิดชอบและมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมในช้ันเรยี น๓.๔ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน(C)เพื่อใหน้ ักเรียน ๓.๔.๑ มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ แยกแยะและคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ ๓.๔.๒ มีความสามารถในการสอ่ื สาร๔.ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ป้ายนเิ ทศเรื่อง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย๕.การวัดและการประเมินผล ๕.1การประเมินก่อนเรยี น - นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ๕.2การประเมินระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง เวลาในชวี ติ ประจาวัน 2. ใบงานที่ 1.2 เรอื่ ง การเทียบศกั ราชในประวัตศิ าสตรไ์ ทย 3. ใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง บันทกึ ประวัติศาสตร์ 4. ใบงานท่ี 2.2 เรือ่ ง ผงั มโนทัศน์เวลาและยุคสมัยของประวัตศิ าสตรไ์ ทย 5. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕.3การประเมินหลังเรยี น - นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ๕.4 การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด) - ประเมนิ ปา้ ยนเิ ทศเร่ือง เวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ไทย การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด) 2

แบบประเมินป้ายนิเทศเรื่อง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรไ์ ทยรายการ คาอธิบายระดบั คุณภาพ / ระดบั คะแนนประเมนิ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)1. อธิบาย อธิบาย อธิบาย อธิบายควา ความสาคญั ของ ความสาคัญของ ความสาคญั ความสาคัญมสาคญั เวลาและยุคสมยั เวลาและยคุ สมัย ของเวลาและ ของเวลาและของเวลา ทาง ทาง ยุคสมัยทาง ยุคสมยั ทางและยุค ประวตั ศิ าสตร์ที่ ประวัตศิ าสตร์ที่ ประวัติศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์สมยั ทาง แสดงถงึ การ แสดง ถงึ การ ทแี่ สดงถงึ การ ทแ่ี สดงถงึ การประวตั ิศาส เปลยี่ นแปลงของ เปลย่ี นแปลง เปล่ียนแปลง เปล่ียนแปลงตร์ไทย มนุษยชาตไิ ด้ ของมนุษยชาติ ของมนษุ ยชาติ ของมนุษยชาติ ถูกต้อง ชดั เจน ไดถ้ ูกต้อง ได้ถูกต้อง แตม่ ี ไดบ้ างประเดน็ และครบถ้วนทุก ชดั เจน เปน็ ส่วน ความบกพร่อง และมคี วาม ประเดน็ ใหญ่ บางประเดน็ บกพร่องมาก2.หลักฐาน ยกตวั อย่าง ยกตวั อย่าง ยกตัวอย่าง ยกตัวอยา่ งสาคญั ใน หลักฐานสาคญั หลักฐานสาคญั หลกั ฐาน หลกั ฐานยคุ สมัย ในแต่ละสมัย ในแตล่ ะสมัย สาคัญในแตล่ ะ สาคัญในแตล่ ะทาง ได้ถูกตอ้ ง ได้ถูกต้อง สมยั สมัยประวตั ศิ าส ชดั เจนดี ชดั เจนดี ได้ถูกต้องมี ได้ถูกต้องตร์ และมี และมี ภาพประกอบ บางสว่ น ภาพประกอบที่ ภาพประกอบท่ี เป็นบางส่วน และมี สัมพันธก์ นั สมั พันธ์กนั เปน็ ภาพประกอบ สว่ นใหญ่ นอ้ ย3.การ การนาเสนอ การนาเสนอ การนาเสนอ การนาเสนอนาเสนอ ขอ้ มูลมีข้อคดิ ข้อมลู มีข้อคิด ข้อมูลมีขอ้ คิด ขอ้ มูลขอ้ มูล เป็นประโยชน์ เป็นประโยชน์ เป็นประโยชน์ ไมม่ ีข้อคดิ ท่ี และสามารถ และสามารถ แต่เป็นการ เปน็ ประโยชน์ นาไปประยุกตใ์ ช้ นาไปประยุกต์ใช้ นามาจาก ได้ ได้เป็น ข้อมลู เดิมท่ีมี ส่วนใหญ่ อยูแ่ ล้ว4.รูปแบบ รปู แบบมีความ รูปแบบมคี วาม รูปแบบมีความ รปู แบบไม่การ สวยงาม ดึงดูด สวยงาม ดงึ ดดู สวยงาม แตไ่ ม่ สวยงามจดั ปา้ ย ความสนใจไดด้ ี ความสนใจ มี ไมแ่ ปลกใหม่นิเทศ มคี วามคิด มีความคิด ความแปลก สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ใหม่ 3

แปลกใหม่ แปลกใหมเ่ ป็น ส่วนใหญ่5. การมสี ่วน สมาชิกมีส่วน สมาชกิ มีส่วน สมาชิกมสี ่วน สมาชกิ มีสว่ นร่วม รว่ มในการจดั ร่วมในการจดั ร่วมในการจัด ร่วมในการจัด กจิ กรรมตาม กิจกรรมตาม กิจกรรมตาม กิจกรรมตาม ในการจัด หน้าท่ที ไ่ี ด้รบั หนา้ ทที่ ไี่ ด้รบั หนา้ ทท่ี ่ไี ดร้ บั หน้าทที่ ไ่ี ดร้ บั ป้าย มอบหมายอย่าง มอบหมายเปน็ มอบหมายเป็น มอบหมายเป็นนิเทศ เปน็ ข้ันตอน ส่วนมาก บางส่วน ส่วนนอ้ ย เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 17-20 ดีมาก 13-16 ดี 9-12 พอใช้ 5-8 ปรับปรงุ๖.กจิ กรรมการเรียนรู้  นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1กจิ กรรมที่ 1 เวลาและศักราช เวลา 3 ช่ัวโมง วธิ ีสอนโดยใชก้ ระบวนการทางประวตั ิศาสตร์1. ครูเสนอภาพเกีย่ วกับเวลาด้วย Power point เช่น ดอกทานตะวนั นาฬิกา พระจนั ทร์ขา้ งขึ้น ขา้ งแรม พระอาทติ ย์ ฆอ้ ง-กลอง เปน็ ต้น ครตู งั้ คาถามใหน้ กั เรยี นคิด2. ครซู ักถามนกั เรยี นเกย่ี วกบั คาบอกเวลาในภาษาไทย โดยสุม่ เรยี กให้นกั เรียนบอกคนละ 1 คา3. ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปถึงความสาคัญของเวลา4. นักเรยี นทาใบงานท่ี 1.1 เรื่อง เวลาในชีวิตประจาวนั5. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม 4 กล่มุ เลอื กบัตรคาศกั ราช กลุ่มละ 1 บตั รคา แล้วสุ่มเรยี กนักเรยี นในแตล่ ะ กลุ่มอธิบายความเป็นมาของศักราช คนละ 1 ประโยค และเขียนบนกระดาน6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเพมิ่ เตมิ เรอื่ ง การนบั และการเทยี บศักราชในประวตั ิศาสตร์ไทย จากหนงั สือเรยี น โดยครูตั้งคาถามให้นักเรียนคิดในประเดน็ ทีก่ าหนด 4

7. ครอู ธิบายเพิ่มเตมิ และยกตัวอยา่ งการบันทกึ ศักราชในประวัตศิ าสตรไ์ ทย และวิธีเทียบกับศกั ราช ทีเ่ กี่ยวข้อง อธบิ ายและซกั ถามจนนกั เรยี นเขา้ ใจ แล้วใหน้ ักเรยี นทาใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง การเทียบ ศักราชในประวัติศาสตร์ไทย8. ตัวแทนแต่ละกลุม่ รับบัตรคาเกีย่ วกบั ยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์จากครู สมาชกิ ในแต่ละกลุม่ ปรกึ ษาหารือและแสดงความคดิ รว่ มกันจนเปน็ ข้อสรปุ ของกลุ่ม9. นักเรียนค้นคว้าหาความร้เู พ่ิมเตมิ เรื่อง ยุคสมยั ในประวัตศิ าสตร์ไทย จากหนงั สือเรียน หรอื แหลง่ การเรียนรู้อ่ืนๆ โดยครูตัง้ ประเดน็ คาถามใหน้ ักเรยี นคิดหาคาตอบ10.นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรู้เร่ือง การแบ่งยคุ ประวัติศาสตร์ไทยกิจกรรมที่ 2 ประวตั ิศาสตร์ใกลต้ วั เวลา 3 ชั่วโมง วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการสบื ค้น1. ครูนานักเรยี นไปศกึ ษานอกหอ้ งเรยี น ใชห้ อ้ งสมดุ โรงเรยี น (บรู ณาการกับงานห้องสมุดโรงเรียน เชิญบรรณารกั ษ์ห้องสมดุ เป็นวิทยากรแนะนาการสืบค้นและการเขยี นอา้ งอิงที่ถูกต้อง2. ครแู จกใบงานท่ี 2.1 บันทึกประวตั ิศาสตร์ ใหน้ กั เรยี นสืบค้นเหตุการณใ์ นประวัตศิ าสตร์ ท่ีนกั เรยี นสนใจหรืออยากรูจ้ ากหนังสือประวตั ศิ าสตรใ์ นหอ้ งสมุด โดยใชห้ ลัก 6 W1H ในการ ค้นคว้า แลว้ สรปุ ย่อลงในกระดาษท่แี จกให้ (กระดาษขนาด 5 x 8) โดยมีข้อความครบถ้วน บอกแหลง่ ทีม่ าของขอ้ มูลถูกต้องตามหลักการอา้ งองิ3. ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเล่าเรื่องที่สืบค้นและอธิบายให้เพ่ือนฟัง ครูอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียน เข้าใจ4. นกั เรยี นสรปุ ความรใู้ นใบงานที่ 2.2 เรอื่ ง ผงั มโนทัศน์เวลาและยุคสมยั ของประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ดว้ ยผงั กราฟกิ แบบ Branching diagrams โดยสรุปให้เห็นองคป์ ระกอบของเวลาและยคุ สมัยของ ประวัตศิ าสตร์ในภาพรวม จาแนกข้อมลู และเปรยี บเทียบข้อมลู5. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 10 คน เพอ่ื รว่ มกนั วางแผนการสบื ค้นเวลาและยุคสมยั ในหลักฐาน ประวตั ศิ าสตร์ไทย และนาเสนอแผนการดาเนนิ กิจกรรมในรูปแบบของการจดั ป้ายนิเทศ6. สมาชกิ ในกลมุ่ ชว่ ยกนั สบื คน้ ตามที่กาหนดภายในเวลา 1 เดือน  นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 5

๗.ส่ือ / แหลง่ การเรียนรู้ ๗.1สอื่ การเรียนรู้  หนงั สือเรียน ประวตั ิศาสตรไ์ ทย ม.4-ม.6  Power point  บัตรคาศกั ราช  ใบงาน ๗.๒แหล่งการเรยี นรู้  หอ้ งสมดุ  ห้องเทคโนโลยีสารสนเทศ 6

แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ประจาหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กคาตอบท่ีถกู ต้องทส่ี ุดเพยี งคาตอบเดียว 1. การนบั เวลาในประวตั ศิ าสตรไ์ ทยมคี วามสาคัญอย่างไร ก. ทาให้จดั ลาดับความคิดได้ถูกต้อง ข. มองเห็นความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจบุ นั และอนาคต ค. สามารถบอกเหตุการณ์ได้ว่าเหตกุ ารณใ์ ดเกิดขึ้นก่อน-หลัง ง. ถกู ทุกข้อ 2. ข้อใด ไม่ถกู ตอ้ ง เกี่ยวกับเวลา ก. คิมหันต์ วสนั ต์ ข. ดอกโสนบานเชา้ ดอกสะเดาบานเย็น ค. เท่ยี งตรง เทย่ี งธรรม ง. ผึง้ บินหาน้าหวาน นกบนิ กลับรัง 3. ข้อใดกลา่ วถงึ ศักราช ไม่ถูกต้อง ข. พ.ศ.ของไทยเร็วกว่าศรลี ังกา 1 ปี ค. ร.ศ. เป็นศกั ราชในรชั กาลท่ี 5 ง. ค.ศ. ใชก้ บั การเกดิ ของพระเยซู จ. จ.ศ. เปน็ ศักราชของไทยในพงศาวดาร 4. เรยี งลาดบั การใช้ศักราชในการบันทกึ ประวตั ิศาสตร์ไทยให้ถกู ต้อง ก. ร.ศ. พ.ศ. ค.ศ. จ.ศ. ม.ศ. ข. จ.ศ. ม.ศ. พ.ศ. ร.ศ. ค.ศ. ค. ม.ศ. จ.ศ. พ.ศ. ร.ศ. ค.ศ. ง. ม.ศ. จ.ศ. ค.ศ. พ.ศ. ร.ศ.5. การเกิดศักราชเกี่ยวเนือ่ งข้อใดก. เศรษฐกจิ ข. การเมอื งค. ศาสนา ง. เหตุการณส์ าคัญ6. ข้อใดถอื วา่ เป็นศักราชสากล 7

ก. ฮิจเราะห์ศักราช ข. ครสิ ตศ์ ักราชค. พทุ ธศักราช ง. รตั นโกสนิ ทร์ศกั ราช7. ขอ้ ใดไม่ถูกต้อง ก. พ.ศ. – การปรนิ ิพพานของพระพุทธเจ้า ข. ค.ศ. – การตรงึ ไม้กางเขนของพระเยซู ค. ฮ.ศ. – การอพยพของนบีและสาวก ง. ร.ศ. – การสถาปนากรงุ รัตนโกสินทร์8. การนบั ศักราชในข้อใดถูกต้อง ก. พุทธศกั ราช –จนั ทรคติ ข. ครสิ ต์ศักราช- จันทรคติ ค. ฮจิ เราะห์ศักราช – จนั ทรคติ ง. รัตนโกสนิ ทร์ศก-จันทรคติ9. การเทียบศักราชในข้อใดไม่ถูกตอ้ ง ก. ฮิจเราะห์ศักราชชา้ กวา่ ครสิ ต์ศกั ราช ข. คริสต์ศกั ราชเร็วกว่ารัตนโกสินทร์ศก ค. พทุ ธศักราชเรว็ กว่าคริสต์ศกั ราช ง. มหาศกั ราชชา้ กวา่ จลุ ศักราช10.ขอ้ มูลใดไมถ่ กู ต้อง ก. กรุงเทพฯ สถาปนาเมื่อ พ.ศ. 2325 ตรงกับรตั นโกสนิ ทรศ์ ก 1 ข. ปจั จุบันกรุงเทพฯ เปน็ เมืองหลวงมา 229 ปี ค. ศาสนาพทุ ธเกดิ มา 2552 ปี ขณะที่ศาสนาครสิ ต์เกิดมานาน 2009 ปี ง. ไทยเสียกรุงครง้ั ท่ี 1 พ.ศ.2112 ตรงกับ ค.ศ.196911.ข้อใดเปน็ หลักเกณฑใ์ นการแบง่ ยุคประวตั ิศาสตร์เปน็ 2 ยุคใหญ่ ก. วสั ดทุ าเครอื่ งมอื เคร่ืองใช้ ข. การตง้ั ชุมชน ค. คาบอกเลาสืบตอ่ กันมา ง. การบนั ทึกเร่ืองราว12.หลักฐานประวัตศิ าสตร์ข้อใดไม่เขา้ พวก ข. จารกึ อกั ษรสยาม ก. ตานานอสุ า-บารส ง. ขวานหินขัด ค. พงศาวดารเหนือ 8

13.ยุคสมัยในข้อใดทม่ี นษุ ย์ ยงั ใชช้ ีวิตเร่ร่อนด้วยการเกบ็ ของป่า ล่าสตั ว์ก. ยุคหนิ กลาง ข. ยคุ หนิ ใหม่ค. ยุคสาริด ง. ยุคเหลก็14.ในการศึกษาเรื่องราวก่อนประวัตศิ าสตรใ์ นประเทศไทยจะไม่พบหลกั ฐานในข้อใด ก. กาไลสารดิ ข. เครื่องปน้ั ดินเผาค. โครงกระดูกมนษุ ย์ ง. แผ่นจารกึ อกั ษรโบราณ15.เพราะเหตุใด วัสดทุ ีท่ าเครื่องมอื เคร่ืองใชน้ ยิ มใช้เหล็กมากกวา่ สารดิก. หาได้ง่าย ข. ผลิตไดง้ ่ายค. มคี วามทนทานกวา่ ง. นามาใช้ไดง้ ่ายกว่าเฉลย1. ง 2. ค 3. ก 4. ง 5. ค6. ข 7. ข 8. ค 9. ง 10. ข11. ก 12. ข 13. ก 14. ง 15. ค 9

โรงเรียนหนั คาราษฎร์รังสฤษดิ์ ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เวลา และยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ไทย เวลา 3 ชัว่ โมงเรอ่ื ง เวลาและศกั ราช๑ สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด เวลาและศักราช มีความสาคญั ในการศึกษาเร่ืองราวทางประวัตศิ าสตรใ์ นหลักฐานประวัติศาสตร์ เพราะทาใหส้ ามารถเรยี งลาดับเหตกุ ารณ์ในประวตั ศิ าสตร์ไดถ้ กู ต้อง๒ ตวั ชว้ี ดั /จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1ตวั ชีว้ ัด ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตรท์ ี่แสดง ถึงการเปลีย่ นแปลงของมนุษยชาติ 2.2จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความสาคญั ของเวลา 2. จาแนกยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ไทย๓ สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๓.1.๑ เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตรท์ ีป่ รากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย ๓.1.2. ตวั อย่างเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตรข์ องสงั คมมนุษยท์ ี่มปี รากฏในหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ ๓.1.3. ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์10

3.2 ทกั ษะกระบวนการ(P)เพือ่ ให้นกั เรยี น ๓.๒.๑ แบ่งเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ทป่ี รากฏในหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรไ์ ทยได้ ๓.๒.๒ สามารถยกตัวอย่างตัวอย่างเวลา และยุคสมยั ทางประวัติศาสตรข์ องสังคมมนุษยท์ ่ีมีปรากฏในหลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ์ ด้ ๓.๒.๓ เชือ่ มโยงความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ได้ 3.๓ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์(A)เพ่อื ใหน้ กั เรียน ๓.๓.๑มีความสนใจและกระตือรอื ร้นในกระบวนการสืบค้นข้อมลู ๓.๓.๒มีความรับผดิ ชอบและมีส่วนรว่ มในช้นั เรียน 3.๔ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน(c)เพื่อใหน้ ักเรยี น 3.๔.๑มคี วามสามารถการคิดวเิ คราะห์ 3.๔.๑มีความสามารถการสอื่ สาร๔ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (วธิ ีสอนโดยใช้กระบวนการทางประวตั ิศาสตร์)  นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ช่ัวโมงท่ี ๑ ๑. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ให้นกั เรียนทราบ ๒. ครูเสนอภาพเก่ียวกบั เวลาดว้ ย Power point เช่น ดอกทานตะวนั นาฬิกา พระจนั ทร์ขา้ งข้ึน ขา้ งแรม พระอาทิตย์ ฆอ้ ง-กลอง เป็นตน้ ครูต้งั คาถามใหน้ กั เรียนคิดวา่ - รูปภาพเก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองใด (เวลา ) - รู้ไดอ้ ยา่ งไรวา่ เป็นภาพที่เกี่ยวขอ้ งกบั เวลา ( ดอกทานตะวนั หนั ตามแสงอาทิตย์ ) - หากไมม่ ีตวั บอกเวลาจะเกิดอะไรข้ึน หรือเกิดผลอยา่ งไร ( ลาดบั ก่อน-หลงั ไมไ่ ด้ ) ๓. ครูซกั ถามนกั เรียนเก่ียวกบั คาบอกเวลาในภาษาไทย โดยสุ่มเรียกนกั เรียนใหบ้ อกคนละ ๑ คา เช่น สายณั ห์ คิมหนั ต์ วสันตฤ์ ดูฝน เป็นตน้ และใหน้ กั เรียนอธิบายเพม่ิ เติมวา่ เก่ียวขอ้ งกบั เวลาอยา่ งไร ๔. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายและสรุปถึงความสาคญั ของเวลา ๕.นกั เรียนทาใบงานท่ี ๑.๑ เรื่อง เวลาในชีวติ ประจาวนั (บรู ณาการกบั วชิ าภาษาไทย ) และนาเรียงความที่กลุ่มสาระภาษาไทยช่วยตรวจแลว้ มาติดป้ ายนิเทศในช้นั เรียนใหน้ กั เรียนผอู้ ื่นไดอ้ า่ นและช่ืนชม 11

ชั่วโมงที่ ๒ ๑. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกบั ศกั ราชต่างๆ โดยใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม ๔ กลุ่ม เลือกบตั รคาศกั ราช กลุ่มละ 1 บตั รคา แลว้ สุ่มเรียกนกั เรียนในแต่ละกลุ่มอธิบายความเป็นมาของศกั ราชคนละ ๑ ประโยค และเขียนบนกระดาน ๒.นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มศึกษาเพิ่มเติมเร่ือง การนบั และเทียบศกั ราชในประวตั ิศาสตร์ไทย จากหนงั สือ-เรียน โดยครูต้งั คาถามใหน้ กั เรียนคิดในประเด็นต่อไปน้ี - ศกั ราชในประวตั ิศาสตร์ไทยมีท่ีมาแตกตา่ งกนั อยา่ งไร - ศกั ราชในประวตั ิศาสตร์ไทยที่เป็นของคนไทยโดยเฉพาะคือศกั ราชใด เกิดข้ึนในสมยั ใด - การเทียบศกั ราชมีประโยชน์อยา่ งไร ๓. ครูอธิบายเพมิ่ เติม และยกตวั อยา่ งการบนั ทึกศกั ราชในประวตั ิศาสตร์ไทย และวธิ ีเทียบกบั ศกั ราช ท่ีเก่ียวขอ้ ง อธิบายและซกั ถามจนนกั เรียนเขา้ ใจ แลว้ ใหน้ กั เรียนทาใบงานที่ ๑.๒ เร่ือง การเทียบ ศกั ราชในประวตั ิศาสตร์ไทย ๔. ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มรับบตั รคาเกี่ยวกบั ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์จากครู สมาชิกในแต่ละกลุ่ม ปรึกษาหารือและแสดงความคิดร่วมกนั จนเป็ นขอ้ สรุปของกลุ่ม ๕. ครูสุ่มเรียกตวั แทนของกลุ่มนาบตั รคาเหล่าน้นั มาเรียงลาดบั และอธิบายเหตุผลที่เรียงลาดบั เช่นน้นั ใหเ้ พ่ือนกลุ่มอ่ืนฟัง ครูยงั ไม่เฉลยคาตอบ ช่ัวโมงท่ี ๓ ๑. นกั เรียนคน้ ควา้ หาความรู้เพิ่มเติมเร่ือง ยคุ สมยั ในประวตั ิศาสตร์ไทย จากหนงั สือเรียน หรือแหล่งการเรียนรู้อ่ืนๆ โดยครูต้งั ประเดน็ คาถามใหน้ กั เรียนคิดหาคาตอบวา่ - หลกั เกณฑใ์ นการแบง่ ยคุ ประวตั ิศาสตร์ไทย คืออะไร - การแบ่งยคุ สมยั ในประวตั ิศาสตร์ไทยมีก่ียคุ อะไรบา้ ง - ทาไมจึงตอ้ งมีการแบง่ ยคุ สมยั ประวตั ิศาสตร์ยอ่ ยลงไปอีกท้งั ท่ีมียคุ สมยั หลกั อยแู่ ลว้ - ยคุ สมยั ของประวตั ิศาสตร์ไทยแตกตา่ งกบั ยคุ สมยั ในประวตั ิศาสตร์สากลหรือไม่ อยา่ งไร ๒. ครูสุ่มเรียกตวั แทนกลุ่มออกมาสรุปการแบ่งยคุ ประวตั ิศาสตร์ไทย ครูอธิบายเพ่มิ เติมและเปิ ด โอกาสใหน้ กั เรียนซกั ถามขอ้ สงสัยเพือ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจยิง่ ข้ึน ๓. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้เรื่อง การแบ่งยคุ ประวตั ิศาสตร์ไทย 12

๕ การวดั และประเมินผล การวัดผล การประเมนิ ผล แบบทดสอบกอ่ นเรยี น รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ใบงานท่ี 1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นความรู้ นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ใบงานที่ 1.2 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นทักษะกระบวนการ แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ นักเรียนทาใบงานท่ี 1.1 การทางานกลุม่ นกั เรยี นทาใบงานที่ 1.2 ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ สงั เกตการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม๖ สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ ๖.๑สื่อการเรียนรู้ ๑. หนงั สือเรียน ประวตั ิศาสตร์ไทย ม.๔-ม.๖ ๒.บตั รคาศกั ราช ๓.ใบงานท่ี ๑.๑เรื่อง เวลาในชีวติ ประจาวนั ๔.ใบงานที่ ๑.๒ เรื่อง การเทียบศกั ราชในประวตั ิศาสตร์ไทย ๖.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๑. หอ้ งสมุด ๒. หอ้ งเทคโนโลยสี ารสนเทศ 13

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุลาดบั ชื่อ – สกลุ ความร่วมมอื การแสดงความ การรับฟังความ การต้ังใจทางาน การร่วม รวม คดิ เห็น คดิ เห็น ปรับปรุงผลงาน ๒๐คะแนน ที่ กล่มุ ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก ให้ ๔ คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ = ดี ให้ ๓ คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง = พอใช้ ให้ ๒ คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง = ปรับปรุง ให้ ๑ คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้ัง = เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๗ – ๒๐ ดีมาก ๑๓ – ๑๖ ดี ๙- ๑๒ ๕ - ๑๐ พอใช้ ปรับปรงุ 14

ใบงานที่ ๑.๑ เรื่อง เวลาในชีวติ ประจาวนัคาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเขียนเรียงความเก่ียวกบั เวลาในชีวิตประจาวนั 15

ใบงานที่ ๑.๑ เร่ือง เวลาในชีวติ ประจาวนัคาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเขียนเรียงความเก่ียวกบั เวลาในชีวิตประจาวนั (เฉลยตามคาตอบของนักเรียน และอยู่ในดุลยพนิ ิจของครูผ้สู อน) 16

ใบงานที่ ๑.๒ เรื่อง การเทียบศักราชในประวตั ศิ าสตร์ไทยคาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเทียบศกั ราชตามท่ีกาหนดใหถ้ ูกตอ้ งเวลาท่ีปรากฏในศิลาจารึกวา่ “ ๑๒๐๕ ศก ปี มะแม พอ่ ขุนรามคาแหง หาใคร่ใจในใจแลใส่ลายสือไทยน้ี”เป็นศกั ราชใด เทียบเป็นพทุ ธศกั ราชใดศกั ราช ๗๑๒ ขาลศก วนั ๖ ฯ ๕ ค่า เวลารุ่งแลว้ ๓ นาฬิกา ๙ บาท แรกสถาปนาพระนครศรีอยธุ ยา” เป็นศกั ราชใด เทียบเป็นพุทธศกั ราชใด“ขา้ พระพุทธเจา้ กบั นายริดรักใคร่เปนชูก้ นั บิดามารดาขา้ พระพทุ ธเจา้ หารู้ไม่ คร้ันต่อมาประมาณเดือน ๔ ปี ชวดฉศก....” เป็นศกั ราชใดเทียบไดก้ บั พทุ ธศกั ราชใดพ.ศ....(2407)....................... “สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงวางระเบียบราชการในพระไอยการตาแหน่งนาพลเรือนออกใน............๑๒๓๙ ” ช่องวา่ งควรเติมศกั ราชใด เทียบไดก้ บั พทุ ธศกั ราชใด 17

ใบงานท่ี ๑.๒ เรื่อง การเทียบศักราชในประวตั ศิ าสตร์ไทยคาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเทียบศกั ราชตามท่ีกาหนดใหถ้ ูกตอ้ ง เวลาที่ปรากฏในศิลาจารึกวา่ “ ๑๒๐๕ ศก ปี มะแม พอ่ ขุนรามคาแหง หาใคร่ใจในใจ แลใส่ลายสือไทยน้ี” เป็นศกั ราชใด มหาศักราช เทียบเป็นพทุ ธศกั ราชใด พ.ศ.๑๘๒๖ ศกั ราช ๗๑๒ ขาลศก วนั ๖ ฯ ๕ ค่า เวลารุ่งแลว้ ๓ นาฬิกา ๙ บาท แรกสถาปนา พระนครศรีอยธุ ยา” เป็นศกั ราชใด จุลศกั ราช เทียบเป็นพุทธศกั ราชใด พ.ศ.๑๘๙๓ “ขา้ พระพทุ ธเจา้ กบั นายริดรักใคร่เป็นชูก้ นั บิดามารดาขา้ พระพทุ ธเจา้ หารู้ไม่ คร้ันต่อมา ประมาณเดือน ๔ ปี ชวดฉศก....” เป็นศกั ราชใด จุลศกั ราช เทียบไดก้ บั พทุ ธศกั ราชใด พ.ศ. ๒๔๐๗ “สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงวางระเบียบราชการในพระไอยการตาแหน่งนาพลเรือน ออกใน............๑๒๓๙ ” ช่องวา่ งควรเติมศกั ราชใด มหาศกั ราช เทียบไดก้ บั พุทธศกั ราชใด พ.ศ.๑๘๖๐ 18

โรงเรียนหันคาราษฎร์รังสฤษด์ิ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๒ ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เวลา และยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรไ์ ทยเรอ่ื ง ประวตั ศิ าสตร์ใกล้ตวั เวลา ๓ ช่วั โมง๑ สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด หลกั ฐานในประวตั ิศาสตร์ไทยมีที่มาจากหลายแหล่ง ทาใหก้ ารบนั ทึกเวลาในแตล่ ะยคุ สมยั มีความแตกตา่ งกนั๒ ตัวชวี้ ดั /จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1ตัวชี้วดั ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนกั ถึงความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ท่ีแสดงถงึ การเปล่ียนแปลงของมนุษยชาติ 2.2จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.1. ยกตวั อย่างเวลาและยุคสมัยท่ีปรากฏในหลกั ฐานประวัติศาสตรไ์ ทย ๒.2. วเิ คราะห์ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ไทยทแ่ี สดงถึงการ เปลีย่ นแปลงของมนุษยชาติได้๓ สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๓.1.๑ ตวั อยา่ งเวลา และยคุ สมัยทางประวัติศาสตรข์ องสงั คมมนุษยท์ ม่ี ีปรากฏในหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตร์ ๓.๑.๒ ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ 3.2. ทักษะกระบวนการ(P)เพือ่ ให้นักเรียน ๓.๒.๑ สามารถตัวอยา่ งเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตรข์ องสงั คมมนุษยท์ ี่มีปรากฏในหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ได้ ๓.2.๒ วเิ คาระห์และเข้าใจความสาคัญของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ได้ 19

3.๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A)เพื่อใหน้ ักเรียน ๓.๓.๑ มีความสนใจและกระตือรือร้นในกจิ กรรมกลุ่ม ๓.๓.๒ มคี วามรบั ความรบั ผดิ ชอบ ๓.๔สมรรถณนะสาคัญของผู้เรยี น(C)เพอื่ ใหน้ กั เรยี น ๓.๔.๑ มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างสร้างสรรค์ ๓.๔.๒ มคี วามสามารถในการสื่อสาร๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (วิธีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการสืบค้น) ชั่วโมงที่ ๑1. ครูแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรใู้ ห้นักเรยี นทราบ2. ครนู านักเรียนไปศกึ ษานอกหอ้ งเรยี น ใชห้ ้องสมดุ โรงเรียน (บรู ณาการกบั งานหอ้ งสมุดโรงเรียน เชญิ บรรณารักษ์หอ้ งสมุดเปน็ วทิ ยากรแนะนาการสืบคน้ และการเขียนอ้างอิงท่ีถูกต้อง)3. ครแู จกใบงานท่ี 2.1 เร่ือง บนั ทึกประวตั ศิ าสตร์ ใหน้ กั เรยี นสืบค้นเหตุการณ์ในประวัตศิ าสตร์ ท่นี ักเรยี นสนใจหรืออยากรจู้ ากหนงั สอื ประวัตศิ าสตร์ในหอ้ งสมุด โดยใช้หลกั 6 W1H ในการ ค้นควา้ แลว้ สรุปยอ่ ลงในกระดาษท่แี จกให้ (กระดาษขนาด 5 x 8) โดยมขี ้อความครบถว้ น บอก แหลง่ ทีม่ าของขอ้ มูลถูกต้องตามหลกั การอ้างองิ4. ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเล่าเร่ืองท่ีสืบค้นและอธิบายให้เพื่อนฟัง ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียน เขา้ ใจ ชวั่ โมงที่ 2-31. นักเรยี นสรุปความรู้ลงในใบงานท่ี 2.2 เรื่อง ผงั มโนทศั นเ์ วลาและยคุ สมยั ของประวัติศาสตร์ไทย ด้วยผังกราฟิกแบบ Branching diagrams โดยสรุปใหเ้ ห็นองค์ประกอบของเวลาและยุคสมยั ของ ประวตั ิศาสตร์ในภาพรวม จาแนกข้อมูลและเปรียบเทียบข้อมลู2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 10 คน ให้แต่ละกลุ่มรว่ มกนั วางแผนการสืบคน้ เวลาและยุคสมัย ในหลกั ฐานประวัติศาสตร์ไทย และนาเสนอแผนการดาเนินกิจกรรมในรูปแบบของการจดั ปา้ ย นเิ ทศ3. สมาชิกในกลมุ่ ชว่ ยกนั สืบค้นตามทีก่ าหนดภายในเวลา 1 เดอื น4. นักเรยี นนาเสนอผลงานโดยครชู ่วยช้ีแนะเพ่ิมเติม นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 20

๕.การวดั และประเมนิ ผลจกุ ประสงค์การเรยี นร็ การวดั ผล การประเมินผล ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ดา้ นความรู้ ใบงานท่ี 2.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์-นักเรียนทาใบงานท่ี 2.1 ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์-นักเรยี นทาใบงานที่ 2.2 ใบงานท่ี 2.2ดา้ นทักษะกระบวนการ แบบประเมนิ ป้ายนเิ ทศเรอ่ื ง เวลา-นักเรียนร่วมกนั จดั ปา้ ยนิเทศเรื่อง เวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ไทยและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ แบบสังเกตพฤติกรรม-สังเกตการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม การทางานกลุ่ม๖ สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น ประวัตศิ าสตรไ์ ทย ม.4-ม.6 2. ใบงานที่ 2.1 เร่ือง บันทกึ ประวตั ิศาสตร์ 3. ใบงานที่ 2.2 เรื่อง ผงั มโนทัศนเ์ วลาและยคุ สมัยของประวัตศิ าสตร์ไทย8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ห้องสมดุ 2. หอ้ งเทคโนโลยสี ารสนเทศ 21

แบบประเมินป้ายนิเทศเร่อื ง เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยลาดบั ท่ี รายการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 321 ความสาคัญของเวลาและยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย2 หลักฐานสาคญั ในยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์3 การนาเสนอขอ้ มูล4 รปู แบบการจัดปา้ ยนิเทศ5 การมสี ว่ นรว่ มในการจัดป้ายนิเทศ รวม ลงชอื่ ผ้ปู ระเมนิ ( ) //เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ช่วงคะแนน 4 หมายถึง ดีมาก 17-20 3 หมายถงึ ดี 13-16 2 หมายถงึ พอใช้ 9-12 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง 5-8 22

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่มลาดบั ชือ่ ความร่วมมือ การแสดง การรบั ฟงั การตง้ั ใจ การรว่ ม รวม ที่ – 4321 ความคดิ เห็น ความคิดเหน็ ทางาน ปรบั ปรุง 20 สกลุ ผลงานกลุ่ม คะแนน 4321 4321 4321 4321เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดมี าก ให้ 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ = ดี ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั = พอใช้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั = ปรบั ปรงุ ให้ ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครัง้ = เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 17 - 20 ดีมาก 13 - 16 ดี 9 - 12 5-8 พอใช้ ปรบั ปรงุ 23

ใบงานท่ี 2.1 เร่ือง บันทกึ ประวตั ศิ าสตร์คาชี้แจง : ใหน้ ักเรียนสบื ค้นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ดว้ ย 6 W1H เรื่อง 24

ใบงานที่ 2.1 เร่ือง บนั ทกึ ประวตั ศิ าสตร์คาชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นสืบค้นเหตกุ ารณ์ในประวตั ศิ าสตร์ดว้ ย 6 W1H เรื่อง (เฉลยตามคาตอบของนักเรียน และอย่ใู นดุลยพนิ ิจของครูผ้สู อน) 25

ใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง ผงั มโนทศั น์เวลาและยคุ สมัยของประวตั ิศาสตรไ์ ทยคาชี้แจง : ให้นักเรยี นสรุปความร้เู รอื่ ง เวลาและยคุ สมยั ในประวตั ศิ าสตร์ ลงในผงั กราฟิกแบบ Branching diagrams ประวตั ศิ าสตร์ไทยเวลาในประวตั ิศาสตร์ ยคุ สมยั ประวตั ิศาสตร์ 26

ใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง ผงั มโนทศั น์เวลาและยคุ สมยั ของประวตั ิศาสตร์ไทยคาช้แี จง : ให้นกั เรียนสรุปความรู้เรอ่ื ง เวลาและยุคสมัยในประวตั ิศาสตร์ ลงในผังกราฟกิ แบบ Branching diagrams ประวตั ิศาสตร์ไทยเวลาในประวตั ศิ าสตร์ ยคุ สมยั ประวตั ิศาสตร์ศาสนศกั ราช สถาปนาศักราช สมยั ก่อน สมยั ประวัติศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ พทุ ธศักราช คริ สต์ศักราช มหาศักราช ยคุ หิน สุโขทัย ฮิ จเราะห์ ศักราช จุลศักราช ยคุ โลหะ อยธุ ยา รั ตนโกสินทร์ ศก ธนบรุ ี รัตนโกสินทร์ 27

โรงเรยี นหนั คาราษฎรร์ ังสฤษดิ์2 ประวัตศิ าสตรไ์ ทยกลุม่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 เวลาเรียน 6 ชวั่ โมง๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ัด ส 4.1 ม.4-6/2 สรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่ทางประวตั ศิ าสตร์โดยใชว้ ิธกี ารทางประวัติศาสตร์ อยา่ งเปน็ ระบบ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตรไ์ ทย โดยใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์อย่างเป็นระบบ ย่อมทาใหผ้ ลการศึกษานัน้ มคี ุณค่าและเป็นท่ยี อมรับในวงวิชาการ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓.๑1. ข้ันตอนของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ โดยนาเสนอตวั อยา่ งทีละข้ันตอนอยา่ งชดั เจน ๓.๑.2. คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ท่ีมีต่อการศึกษาทางประวัติศาสตร์ 3.๑.๓ ผลการศกึ ษา หรือโครงงานทางประวตั ิศาสตร์ 3.2๓.๒ทักษะกระบวนการ(P)เพ่ือใหน้ ักเรยี น ๓.๒.๑ อธบิ ายขน้ั ตอนและวิธกี ารทางประวัตศิ าสตรท์ ่ีปรากฏในหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ไทยได้ ๓.๒.๒ ตัวอย่างคุณคา่ และประโยชน์ของวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ที่มตี ่อการศึกษาทางประวัตศิ าสตร์ได้ ๓.๒.๓ สบื คน้ ผลการศึกษา หรือโครงงานทางประวตั ิศาสตร์ 28

๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค(์ A)เพ่ือใหน้ ักเรยี น ๓.๓.๑ มีความสนใจและกระตือรอื รน้ ในกจิ กรรมการเรียนรู้ ๓.๓.๒ มีวามรับผิดชอบและมีสว่ นร่วมในกิจกรรมในช้ันเรียน๓.๔ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน(C)เพ่ือให้นักเรียน ๓.๔.๑ มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ แยกแยะและคดิ อย่างสร้างสรรค์ ๓.๔.๒ มคี วามสามารถในการสือ่ สาร๔.ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) โครงงานการสบื คน้ ประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน โดยใชว้ ธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์๕. การวดั และการประเมินผล ๕.1การประเมินก่อนเรยี น - นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 ๕.๒การประเมนิ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง เจาะประวตั ิศาสตร์ 2. ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 3. ใบงานที่ 1.3 เรอ่ื ง กรณศี ึกษาประวัตศิ าสตรไ์ ทย 4. ใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง การใช้ ICT เพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพการเรียนร้ปู ระวัติศาสตร์ 5. ประเมนิ จากการนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน 6. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ๕.๓การประเมนิ หลังเรยี น - นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ๕.๔ การประเมินชน้ิ งาน / ภาระงาน (รวบยอด) - ประเมนิ โครงงานการสบื คน้ ประวตั ิศาสตรท์ ้องถน่ิ โดยใช้วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ การประเมินชน้ิ งาน / ภาระงาน (รวบยอด) 29

แบบประเมนิ โครงงานการสืบค้นประวตั ิศาสตร์ท้องถ่ินโดยใช้วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ / ระดับคะแนน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)1.การกาหนด เขียนจุดเริม่ ตน้ ของ เขยี นจุดเร่มิ ตน้ ของ เขยี นจุดเริม่ ตน้ เขียนจุดเรม่ิ ตน้ประเด็น การศึกษาข้อมลู การศกึ ษาข้อมูล ของการศึกษา ของการศึกษาปัญหาหรือข้อ พรอ้ มอธิบายเหตุ พร้อมอธิบายเหตุผล ขอ้ มูล พรอ้ ม ขอ้ มลูสมมุติฐาน ผลไดถ้ กู ต้อง กาหนด ตรงตามประเดน็ เป็น อธิบายเหตผุ ลตรง ไมเ่ ปน็ ระบบ สมมุตฐิ านได้อยา่ ง สว่ นใหญ่ มกี าร ตามประเด็นเป็น ไมแ่ สดงเหตุผล เหมาะสมหรือ กาหนดสมมุติฐาน บางสว่ น มกี าร ประกอบ ไม่มกี าร เปน็ เหตุเปน็ ผล อยา่ งเปน็ เหตุเปน็ ผล กาหนดสมมุติฐาน กาหนดสมมตุ ฐิ าน ชดั เจน2.การรวบรวม แสดงหลักฐานข้อมลู แสดงหลกั ฐานข้อมลู แสดงหลักฐาน แสดงหลักฐานหลกั ฐาน ทางประวัตศิ าสตรใ์ น ทางประวัตศิ าสตร์ใน ข้อมลู ทาง ข้อมลู ทาง การสืบค้นอย่าง การสืบคน้ อย่าง ประวัตศิ าสตร์ใน ประวตั ศิ าสตรใ์ น หลากหลาย ถกู ต้อง หลากหลาย ถูกต้อง การสืบค้นอย่าง การสืบค้นอย่าง สัมพันธ์กบั เรื่องที่ สัมพนั ธ์กับเรื่องที่ หลากหลาย หลากหลาย สบื คน้ สืบค้นเปน็ ส่วนใหญ่ ถูกต้อง สัมพนั ธ์กับ ถกู ต้อง ไมส่ ัมพันธ์ เรอื่ งท่ีสบื คน้ เปน็ กบั เรือ่ ง บางสว่ น ท่สี ืบค้น3 การวิเคราะห์ แสดงการวเิ คราะห์ แสดงการวิเคราะห์ แสดงการวิเคราะห์ แสดงการวิเคราะห์และประเมิน หลกั ฐานท่ปี รากฏวา่ หลักฐานทป่ี รากฏวา่ หลักฐานท่ปี รากฏ หลกั ฐานไม่เป็นค่าขอ้ มูล ถกู ต้องตามยุคสมยั ถูกต้องตามยุคสมัย ว่าถูกต้องตามยุค เหตุผล ไม่ อย่างมเี หตผุ ล อยา่ งมีเหตุผลเป็น สมยั น่าเชอ่ื ถือ สว่ นใหญ่ อยา่ งมีเหตผุ ลเป็น บางส่วน4.การตีความ เขียนสรปุ ความสาคัญ เขยี นสรุปความสาคัญ เขยี นสรปุ เขยี นสรุปและ และความนา่ เชื่อถือ และความนา่ เชื่อถือ ความสาคัญและ ความสาคญั และสังเคราะห์ ของหลักฐานอยา่ งมี ของหลักฐานอยา่ งมี ความน่าเชื่อถือของ ความนา่ เชอ่ื ถือของ เหตุผลเหมาะสม เหตผุ ลเหมาะสมเป็น หลกั ฐานอยา่ งมี หลกั ฐาน แต่ไม่มี สว่ นใหญ่ เหตผุ ลเหมาะสม เหตุผล เปน็ บางส่วน5.การนาเสนอ เรียบเรียงข้อมูลจาก เรียบเรยี งขอ้ มลู จาก เรยี บเรียงข้อมลู เรียบเรยี งข้อมลูขอ้ มูล การสบื คน้ ได้ใจความ การสบื ค้นได้ใจความ จากการสบื คน้ ได้ จากการสบื ค้น ถูกต้อง สมบรู ณ์ และ ถูกต้อง ค่อนขา้ ง ใจความถูกต้อง ไมไ่ ด้ใจความ และ ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ สมบูรณ์ และตรง เปน็ บางสว่ นและ ไมต่ รงตาม 30

หรอื สมมตุ ฐิ านที่ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ตรงตาม วตั ถปุ ระสงค์ กาหนด หรือสมมุตฐิ านท่ี วัตถปุ ระสงค์ กาหนด เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 17-20 ดีมาก 13-16 ดี 9-12 พอใช้ 5-8 ปรบั ปรงุ๖.กจิ กรรมการเรียนรู้  นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 2กจิ กรรมท่ี 1 วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ เวลา 3 ช่ัวโมง วธิ ีสอนโดยใชก้ ระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์1. ครนู าเสนอขา่ วเกยี่ วกับความเชื่อเรือ่ งร่องรอยพญานาคบนหลงั คารถ ครตู ้ังคาถามใหน้ กั เรยี น วิเคราะห์2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม คละความสามารถ แล้วให้แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่กันภายในกลุ่ม โดยจะมี ประธานกลุ่ม เลขากลุ่ม ผูบ้ นั ทึก และผู้ร่วมกิจกรรม3. ตัวแทนกล่มุ รบั แถบข้อความ กลุ่มละ 1 ขอ้ ความ จากครูผู้สอน แลว้ นากลับมาอภิปรายและ ปรกึ ษาหารือกนั ในกลมุ่ จนเข้าใจตรงกันแลว้ ทาใบงานท่ี 1.1 เรือ่ ง เจาะประวตั ิศาสตร์4. นกั เรียนสลายกลุ่มเดิม สร้างกลมุ่ ใหม่โดยรวมสมาชิกท่ีไมซ่ า้ กับกลุ่มเดิม จากนน้ั ใหส้ มาชกิ ใน แต่ละกลมุ่ เล่าเรื่องทต่ี นเองรบั ผิดชอบให้เพ่ือนในกลุ่มใหม่ฟัง ซกั ถามข้อสงสัยจนได้ข้อสรุป รว่ มกนั5. ครเู สนอภาพเกี่ยวกับหลักฐานประวตั ิศาสตรผ์ ่าน Powerpoint เชน่ ศลิ าจารกึ ซากเรอื โบราณ แผนที่ โครงกระดูกมนุษย์ ขวานหนิ เป็นต้น ใหน้ กั เรยี นสังเกตและจาแนกกลุ่มหลักฐานประวตั ิ ศาสตรล์ งในใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง หลักฐานทางประวัติศาสตร์6. นกั เรียนศึกษาเร่อื ง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ไทย จากหนงั สือเรยี น7. นกั เรยี นกลุ่มเดิมรบั ใบงานท่ี 1.3 เรื่อง กรณศี กึ ษาประวตั ิศาสตรไ์ ทย แลว้ นาไปปรึกษาหารอื อภปิ รายร่วมกนั ในกลมุ่ โดยใช้วิธีการทางประวตั ิศาสตรท์ ้ัง 5 ขนั้ ตอน 31

การสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ทางประวตั ศิ าสตร์ไทยกิจกรรมท่ี 2 วธิ สี อนโดยใชก้ ระบวนการทางประวัตศิ าสตร์ เวลา 3 ช่ัวโมง1. ครูนานกั เรียนเข้าศึกษาการสืบค้นขอ้ มลู โดยใชส้ ่ือมัลตมิ ีเดียผ่านคอมพวิ เตอร์ (ครูตดิ ตอ่ เจ้าหน้าท่ี ล่วงหนา้ )2. เจา้ หน้าท่ีคอมพวิ เตอร์แนะนาการใช้อนิ เทอรเ์ น็ต ในการสืบคน้ ขอ้ มูลทง้ั ทเี่ ปน็ ตัวอกั ษร และภาพ3. ครูแนะนาการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเ์ น็ต และใหน้ ักเรียนบนั ทึกขอ้ มูลทสี่ บื ค้นได้ลงในใบงาน ที่ 2.1 เร่ือง การใช้ ICT เพือ่ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการเรยี นรปู้ ระวัติศาสตร์ จานวน 10 แหล่งข้อมูล4. นักเรียนสรปุ ความรทู้ ่ีได้เป็นผังมโนทัศน์แสดงองคค์ วามรกู้ ับวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ ลงใน กระดาษ A4 แล้วนาเสนอผลงานหนา้ ช้ันเรยี น5. นกั เรียนร่วมกันสรุปความรู้ และครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซกั ถามข้อสงสยั6. ใหน้ กั เรยี นร่วมกันจัดทาโครงงานสบื คน้ ประวัตศิ าสตรท์ ้องถน่ิ โดยนาองค์ความรู้กบั วธิ กี าร ทางประวัติศาสตร์มาประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดประโยชน์  นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2๗.สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ ๗.1ส่ือการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี น ประวตั ิศาสตร์ไทย ม.4-ม.6 2. ภาพขา่ ว 3. แถบขอ้ ความ 4. กระดาษ A4 5. ใบงาน 9.2แหลง่ การเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. หอ้ งเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3. ศูนยว์ ชิ าสังคมศกึ ษา 32

แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน ประจาหน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2คาชแ้ี จง : ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ีถกู ต้องที่สุดเพยี งคาตอบเดยี ว 1. ข้อใดไม่อย่ใู นวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ก. การต้งั ประเดน็ คาถาม ข. การปรบั แต่งขอ้ มลู ค. การรวบรวมหลกั ฐาน ง. การตคี วามหลกั ฐาน 2. บุคคลในข้อใดใชว้ ิธีการทางประวตั ิศาสตรใ์ นข้ันตอนการวิเคราะหห์ ลกั ฐาน ก. เอก นาเสนอเรอ่ื งทศี่ ึกษาอยา่ งมีเหตผุ ล ข. โท ตอบคาถามที่กาหนดไว้ล่วงหน้า ค. ตรี สบื คน้ ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ง. จตั วา ประเมนิ ความนา่ เชื่อถือของหลกั ฐาน 3. เพราะเหตุใด จึงกล่าวว่าการวิเคราะห์และสงั เคราะห์ข้อมลู ในวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ เป็นส่งิ ทส่ี าคัญที่สดุ ก. เปน็ การตรวจสอบข้อเท็จจริงของหลกั ฐานที่หามาได้ ข. เป็นการตรวจสอบข้อมูลว่าให้ความรู้ทางประวตั ิศาสตรห์ รอื ไม่ ค. เปน็ การนาข้อมูลทั้งหมดมาแยกแยะ เรียบเรยี งอย่างเปน็ ระบบ ตรงประเด็น ง. เป็นหลกั ฐานหรอื ข้อมูลที่มคี วามน่าเชือ่ ถือ 4. ข้อใดเป็นการตงั้ ประเด็นทีไ่ ม่เหมาะสมในการศึกษาประวัติศาสตร์ ก. พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หัวกบั การสร้างชาตไิ ทย ข. การเลกิ ทาสในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ค. ความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศไทยกับกัมพูชา ง. วีรกรรมของทา้ วสรุ นารีในประวัตศิ าสตร์ไทย 5. ข้อใดจัดเป็นหลักฐานทางโบราณคดที ั้งหมด ก. โครงกระดูก เคร่ืองมือ-เครื่องใช้ ข. ศิลาจารึก ซุม้ ใบเสมา ค. พงศาวดารอยธุ ยา ตานานทา้ วแสนปม ง. วดี ิทศั น์เรื่องจดหมายเหตุกรุงศรี รอยไทย 33

6. เพราะเหตุใดจึงต้องใช้วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ ก. เข้าใจขัน้ ตอนในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ ข. หาความจรงิ จากข้อเท็จจรงิ ทางประวัติศาสตร์ ค. จดั หมวดหมขู่ ้อมูลจากหลกั ฐานประวัติศาสตร์ ง. หาจดุ ประสงค์ของผ้สู รา้ งหลกั ฐานประวัติศาสตร์7. หลกั ฐานลายลกั ษณ์อักษรมคี วามสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตรอ์ ย่างไร ก. เปน็ หลกั ฐานที่ให้ข้อมลู ประวตั ิศาสตร์ดีทส่ี ดุ ข. เป็นหลักฐานที่ให้ข้อมูลง่ายกว่าหลักฐานอืน่ ค. เป็นหลกั ฐานที่มีจานวนมาก หาง่าย ง. เป็นหลักฐานทีน่ ่าเชื่อถือที่สุด8. การกาหนดประเด็นมีประโยชนอ์ ยา่ งไรต่อวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ ก. บอกความสนใจของผศู้ ึกษาค้นคว้า ช. ป้องกันการศึกษาซา้ กับผู้อ่ืน ค. กาหนดขอบเขตของเรือ่ งที่จะศกึ ษา ง. ทาให้ทราบแหลง่ ขอ้ มลู ทางประวตั ิศาสตร์9. การกาหนดหวั ข้อหรอื ประเด็นท่ีดีควรมีลกั ษณะอย่างไร ก. กาหนดชว่ งเวลาและพ้นื ทที่ ีจ่ ะศกึ ษาใหช้ ดั เจน ข. กาหนดหวั เร่ืองกวา้ งๆ เพื่อศึกษาได้หลายประเด็น ค. นาประเดน็ ท่ีมีผู้ศึกษามากอ่ นและมกี ารยอมรับแล้ว ง. กาหนดหวั เรอื่ งให้แคบจะได้ไมเ่ สยี เวลาศึกษา10.วิธีการใดจะเกดิ ประโยชน์ในการประเมนิ คุณค่าของข้อมูล ก. นาขอ้ มูลทไ่ี ด้ไปให้ผ้เู ชยี่ วชาญตรวจสอบ ข. นาขอ้ มูลที่กล่าวถึงเร่ืองเดยี วกนั มาเทียบเคยี งกัน ค. ดูระยะเวลาในการสรา้ งหลักฐานยง่ิ เก่ายิง่ น่าเชื่อถือ ง. อ้างองิ จากหลักฐานชัน้ รองจานวนมากกน็ ่าเชื่อถือ11.เพราะเหตุใดจึงต้องศึกษาจากผลงานของผเู้ ชยี่ วชาญก่อนไปศึกษาในสถานทจ่ี ริง ก. หาความน่าเชอื่ ถือของผเู้ ชีย่ วชาญ ข. ทาความเข้าใจเบ้ืองตน้ ก่อน ค. หากเข้าใจเร่ืองแล้วไม่ต้องไปสถานทีจ่ รงิ ง. เปรยี บเทียบผลงานจากผเู้ ช่ยี วชาญแต่ละคน 34

12.หลกั ฐานประวัติศาสตรม์ ีความสาคัญต่อวธิ ีการทางประวัติศาสตร์อยา่ งไร ก. ใหข้ อ้ มลู ทางประวตั ิศาสตร์ ข. กาหนดวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ ค. กาหนดหวั ขอ้ หรือประเด็นทางประวัตศิ าสตร์ ง. ทาใหเ้ กิดวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์13.เพ่ือประโยชน์ในการตีความข้อมลู ควรปฏบิ ัตอิ ย่างไร ก. รจู้ กั วเิ คราะห์หาความสัมพนั ธ์ของข้อมูล ข. มีความอดทนในการอ่านเอกสารจานวนมาก ค. รู้จักนาแนวคดิ ในปัจจบุ ันมาพิจารณาอดีต ง. มจี ินตนาการเกย่ี วกบั อดตี14.หลักฐานชน้ั ต้นมีความน่าเช่ือถือกว่าหลักฐานชน้ั รอง เพราะเหตใุ ด ก. หลกั ฐานชน้ั รองใช้ขอ้ มูลจากหลักฐานชั้นตน้ ข. หลักฐานชั้นตน้ สร้างขน้ึ ปราศจากอคติ ค. หลักฐานช้ันตน้ ไม่สอดแทรกความคิดเหน็ ของผู้สร้าง ง. ผูส้ รา้ งหลกั ฐานชั้นต้นทราบข้อมลู ดีกวา่15.การกาหนดหัวเร่ืองใหน้ า่ สนใจจะเกดิ ประโยชน์อยา่ งไร ก. สะดวกในการศึกษาคน้ ควา้ ข. ศกึ ษาเรื่องทแี่ ตกตา่ งจากผู้อืน่ ค. เกดิ การสร้างองค์ความรู้ใหม่ ง. มีแรงกระตุ้นในการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เฉลย1. ข 2. ง 3. ค 4. ค 5. ก6. ข 7. ง 8. ค 9. ก 10. ข11. ข 12. ก 13. ก 14. ข 15. ก 35

โรงเรียนหนั คาราษฎร์รงั สฤษดิ์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6 เวลา 3 ชั่วโมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 ประวตั ศิ าสตร์ไทยหนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ทางประวัตศิ าสตร์ไทยเรือ่ ง วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด วัฒนธรรมไทยเป็นรากฐานและความมั่นคงของประเทศชาติ ซ่ึงเป็นผลงานของบุคคลสาคัญใน ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยท่ีไดร้ ว่ มกนั สรา้ งสรรค์และพัฒนาใหเ้ จรญิ รุ่งเรอื งสืบตอ่ กนั มาถงึ ปจั จบุ นั ตวั ช้วี ัด/จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1ตัวชีว้ ัด ส 4.1 ม.4-6/2 สรา้ งองค์ความรู้ใหมท่ างประวัติศาสตร์โดยใชว้ ธิ ีการทางประวัติศาสตร์ อยา่ งเป็นระบบ 2.2จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายข้ันตอนการใช้วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ 2. สรปุ หลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ์ ทย 3. วิเคราะหเ์ หตุการณ์ทางประวตั ศิ าสตร์ไทยด้วยวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์๓.สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง(K) ๓.๑ 1. ข้ันตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยนาเสนอตัวอย่างทีละขั้นตอนอย่าง ชัดเจน ๓.๑2. คณุ คา่ และประโยชน์ของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ทม่ี ีต่อการศึกษาทางประวัติศาสตร์36

๓.๒ทกั ษะกระบวนการ(P)เพ่ือให้นกั เรียน ๓.๒.๑ อธิบายขน้ั ตอนของวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ โดยนาเสนอตวั อยา่ งทลี ะข้นั ตอนอยา่ งชดั เจน ๓.๒.๒ อธบิ ายคุณคา่ และประโยชน์ของวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรท์ ่มี ีต่อการศึกษาทางประวตั ิศาสตร์๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์(A)เพื่อให้นกั เรยี น ๓.๓.๑ มีความสนใจและกระตือรอื ร้นในกจิ กรรมการเรียนรู้ ๓.๓.๒ มีวามรบั ผิดชอบและมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมในชั้นเรยี น๓.๔ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน(C)เพ่ือให้นักเรยี น ๓.๔.๑ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แยกแยะและคิดอย่างสรา้ งสรรค์ ๓.๔.๒ มคี วามสามารถในการส่อื สาร๔.กจิ กรรมการเรียนรู้ (วิธสี อนโดยใชก้ ระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์)  นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 ช่ัวโมงท่ี 1 1. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นทราบ 2. ครูนาเสนอข่าวเกย่ี วกบั ความเช่อื เร่ืองรอ่ งรอยพญานาคบนหลังคารถ ครตู ั้งคาถามใหน้ กั เรียน วเิ คราะห์วา่ - ข่าวนม้ี ีข้อสงสยั ในเรือ่ งใด (พญานาคมจี ริงหรือไม่) - จะรไู้ ด้อยา่ งไรวา่ เป็นพญานาค (หาหลกั ฐาน) - แหล่งขอ้ มลู ท่คี วรไปสบื คน้ (ห้องสมดุ คาบอกเลา่ ) - แหลง่ ข้อมูลมคี วามน่าเช่ือถือแค่ไหน (ต้องวเิ คราะห์ สังเคราะห)์ 3. ครแู บง่ นักเรียนเป็นกลมุ่ คละความสามารถ แลว้ ให้นักเรียนแบ่งหนา้ ทก่ี นั ภายในกล่มุ โดยจะมี ประธานกลมุ่ เลขากลมุ่ ผ้บู ันทึก และผรู้ ่วมกจิ กรรม 4. ตวั แทนกลุ่มรับแถบขอ้ ความ กลุ่มละ 1 ขอ้ ความ จากครูผสู้ อน แลว้ นากลบั มาอภิปรายและปรึกษา หารือกนั ในกลุ่ม จนเขา้ ใจตรงกนั แลว้ ทาใบงานท่ี 1.1 เร่ือง เจาะประวตั ิศาสตร์ โดยครูต้งั ประเดน็ ให้วเิ คราะห์ ดงั น้ี - ทาไมจึงตอ้ งต้งั ช่ือเรื่องหรือประเดน็ ที่จะศึกษา และควรต้งั ช่ือเร่ืองอยา่ งไร( กาหนดขอบเขต 37

ของเร่ือง ) - หลักฐานทจี่ ะนามาใช้ในการศึกษามีก่ีประเภท อะไรบ้าง ( รวบรวมหลกั ฐาน ) - จะรู้ได้อย่างไรว่าหลักฐานนนั้ มีความนา่ เชอ่ื ถอื ได้ ( ประเมินค่า ) - ทาอยา่ งไรจงึ จะทราบเนื้อความหรอื เรื่องราวจากหลักฐาน ( ตคี วาม ) - ข้อมูลมีจานวนมากจะนามาใช้อยา่ งไรให้เกดิ ประโยชนใ์ นการศกึ ษา (วิเคราะห์ สังเคราะห์ ขอ้ มูล) 5. นักเรยี นสลายกล่มุ เดมิ สรา้ งกลุม่ ใหม่โดยรวมสมาชิกที่ไม่ซ้ากบั กลมุ่ เดิม เล่าเรือ่ งท่ตี นเอง รบั ผิดชอบให้เพื่อนในกลมุ่ ใหม่ฟงั ซักถามข้อสงสัยจนได้ข้อสรุปรว่ มกัน 6. ครูสุ่มเรียกตวั แทนกลมุ่ ออกมาอธบิ ายเรอื่ งทตี่ นรับผดิ ชอบจนครบทกุ กล่มุ แลว้ เปิดโอกาสให้ เพือ่ นซักถามข้อสงสัย โดยมีครูช่วยเตมิ ความรู้ ชัว่ โมงที่ 2 1. ครนู าเสนอภาพเกีย่ วกับหลกั ฐานประวตั ศิ าสตรผ์ า่ น Power point เช่น ศลิ าจารกึ ซากเรอืโบราณ แผนที่ โครงกระดูกมนุษย์ ขวานหิน เป็นตน้ ใหน้ ักเรียนสงั เกตและจาแนกกลมุ่ หลักฐานประวตั ิ ศาสตรล์ งในใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 2. ครูสุ่มเรียกนักเรยี นอธบิ ายเหตผุ ลในการจดั กลุม่ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 3. นักเรียนศกึ ษาเรอ่ื ง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ จากหนงั สือเรยี นเก่ียวกบั หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ไทยกับหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์สากล 4. ครูเฉลยคาตอบในใบงานที่ 1.2 และอธบิ ายเพิ่มเติมเร่ือง ความแตกต่างของหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ไทยกบั หลกั ฐานทางประวัติศาสตรส์ ากล ชวั่ โมงท่ี 3 1. นักเรยี นกลุ่มเดิมรบั ใบงานท่ี 1.3 เร่ือง กรณีศึกษาประวัติศาสตรไ์ ทย แลว้ นาไปปรึกษาหารอื อภปิ รายรว่ มกันในกลมุ่ โดยใชว้ ิธีการทางประวัตศิ าสตร์ทั้ง 5 ข้นั ตอน 2. ครสู งั เกตการทางานของนักเรียน แล้วครูใหค้ าแนะนาและใหก้ าลังใจในการทางาน 3. ครสู ุ่มเรยี กตัวแทนกลุ่มออกมาอธบิ ายกรณีศึกษาประวตั ิศาสตรไ์ ทยโดยใช้วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ ใหเ้ พือ่ นฟัง ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสัย แลว้ ครูชว่ ยเสรมิ ความรู้ 38

๕. การวัดและประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมนิ ผล แบบทดสอบก่อนเรยี น รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ใบงานที่ 1.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ด้านวามรู้ นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ใบงานที่ 1.2 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ดา้ นกระบวนการ ใบงานที่ 1.3 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ นักเรยี นทาใบงานท่ี 1.1 แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ นกั เรยี นทาใบงานท่ี 1.2 การทางานกลุ่ม นักเรียนทาใบงานที่ 1.3 ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สงั เกตการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม๖. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ ๖.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ม.4-ม.6 2. ภาพขา่ ว 3. แถบข้อความ 4. ใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง เจาะประวัตศิ าสตร์ 5. ใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 6. ใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง กรณีศึกษาประวตั ศิ าสตร์ไทย๖.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. ศนู ย์วิชาสงั คมศกึ ษาแบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม 39

ลาดับ ช่อื ความรว่ มมือ การแสดง การรับฟัง การต้ังใจ การรว่ ม รวม ท่ี – 4321 ความคิดเห็น ความคิดเหน็ ทางาน ปรับปรงุ 20 สกลุ ผลงานกลมุ่ คะแนน 4321 4321 4321 4321เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั = ดี ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง= พอใช้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครง้ั = ปรบั ปรุงให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ระดับคุณภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 40

เรื่อง เจาะประวัตศิ าสตร์คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนตอบคาถามที่กาหนดให้ถูกตอ้ ง 1. ทาไมจงึ ตอ้ งตงั้ ชื่อเรื่องหรอื ประเด็นทีจ่ ะศึกษา 2. การตงั้ ชื่อเรื่องมหี ลักเกณฑ์อย่างไร 3. หลักฐานประเภทใดบ้างท่จี ะนามาใชใ้ นการศกึ ษา 4. จะรไู้ ด้อยา่ งไรว่าหลักฐานนน้ั มีความน่าเชอื่ ถือได้ 5. เพือ่ ใหท้ ราบเน้ือความหรือเร่ืองราวจากหลักฐาน ควรทาอยา่ งไร 41

ใบงานที่ 1.1 เร่ือง เจาะประวตั ิศาสตร์คาชแี้ จง : ให้นกั เรยี นตอบคาถามท่ีกาหนดใหถ้ ูกต้อง 1. ทาไมจึงต้องต้งั ชอ่ื เรื่องหรือประเดน็ ทจี่ ะศึกษา เพอ่ื กำหนดประเด็นในกำรศกึ ษำใหแ้ คบลง 2. การตง้ั ช่ือเรื่องมีหลักเกณฑ์อย่างไร กำหนดชว่ งเวลำประกอบเหตุกำรณ์ ควำมเจริญ-ควำมเสอื่ มของอำณำจกั ร หรอื ตวั บุคคล ในช่วงเวลำหนงึ่ ตรงกับขัน้ ตอนประวัติศำสตรใ์ นเรือ่ ง กำรกำหนดขอบเขตของเร่ือง 3. หลักฐานประเภทใดบ้างที่จะนามาใชใ้ นการศึกษา ทั้งหลกั ฐำนช้นั ต้น(ปฐมภมู ิ) หลกั ฐำนชน้ั รอง(ทตุ ยิ ภมู ิ) หลักฐำนทไ่ี ม่ใช่ลำยลกั ษณ์อกั ษร (หลักฐำนทำงโบรำณคดี) หลักฐำนลำยลกั ษณ์อักษร อย่ใู นขนั้ ตอน ( รวบรวมหลกั ฐำน ) ของ กระบวนกำรทำงประวตั ศิ ำสตร์ 4. จะรู้ได้อย่างไรว่าหลกั ฐานน้นั มีความนา่ เชอ่ื ถอื ได้ กำรค้นควำ้ เร่ืองรำวในประวัติศำสตรท์ ีด่ คี วรใชห้ ลกั ฐำนรอบดำ้ น โดยประเมินค่ำภำยนอก (เอกสำรจรงิ หรือปลอม) และกำรประเมินค่ำภำยใน (เนื้อหำสำระท่ีปรำกฏเกยี่ วกับบคุ คล เหตกุ ำรณ์ สถำนที่ ภำษำ) หลักฐำนท่ีแท้จริงจะมีคุณค่ำทำงประวัตศิ ำสตร์ 5. เพ่อื ใหท้ ราบเนื้อความหรือเรื่องราวจากหลักฐาน ควรทาอย่างไร เม่อื ทรำบวำ่ หลักฐำนเปน็ ของแทก้ น็ ำหลักฐำนนั้นมำศึกษำอยำ่ งละเอียด จัดหมวดหมู่ เป็นเรื่อง ประเดน็ มองหำควำมสัมพันธ์ของประเด็นตำ่ งๆ ตรงกับขั้นตอนใดในกระบวนกำรทำง ประวตั ิศำสตร์ (กำรตีควำมหลักฐำน ) 42

ใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์คาชี้แจง : ให้นักเรียนดภู าพหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ท่ีกาหนดให้ แลว้ บอกชอื่ และจาแนกกลุ่มหลักฐาน ทางประวัตศิ าสตร์ และสรุปความรทู้ ี่ได้รูปท่ี 1 รปู ท่ี 2 รปู ที่ 3 รูปท่ี 4 รูปท่ี5 รปู ท่ี 6รปู ท่ี 7 รูปที่ 8 รปู ที่ 9จาแนกกล่มุ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 43

การสรุปความรู้จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ใบงานที่ 1.2 เร่ือง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์คาชแี้ จง : ให้นกั เรียนดภู าพหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ท่ีกาหนดให้ แลว้ บอกชอ่ื และจาแนกกลุ่มหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ และสรุปความรทู้ ไ่ี ด้ 44

รปู ท่ี 1 ซำกเรือโบรำณ รปู ที่ 2 โครงกระดกู ถ้ำผแี มน รูปที่ 3แผนท่แี ม่นำ้ เจำ้ พระยำ รปู ที่ 4 หลัก ศิลำ รูปที่ 5 สมดุ ภำพไตรภูมิจำรกึรปู ที่ 6 พระบฎ รูปท่ี 7 สมดุข่อย รปู ท่ี 8 แผนทอ่ี ยธุ ยำ รปู ท่ี 9 แบบฝกึ อำ่ นหนังสอื ไทยจาแนกกลุ่มหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ หลักฐำนรปู ท่ี 1-9 สำมำรถจำแนกประเภทได้ ดังนี้ - หลักฐำนไมใ่ ชล่ ำยลักษณ์อักษร ไดแ้ ก่ รูปที่ 1 3 6 - หลักฐำนลำยลกั ษณอ์ กั ษร ได้แก่ รปู ท่ี 2 4 5 7 8 9 45

การสรุปความรู้จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 1. เกณฑ์ในกำรแบ่งหลักฐำนรูปท่ี 1-9 ออกเป็นกล่มุ คอื ตัวอกั ษร 2. เหตุผลที่เรยี กหลกั ฐำนที่ไมใ่ ช่ลำยลกั ษณ์อักษรว่ำ หลักฐำนทำงโบรำณคดี เพรำะไม่ปรำกฏ หลกั ฐำนท่ีเป็นตัวอกั ษร แต่เป็นหลักฐำนท่ีเปน็ โบรำณสถำน โบรำณวัตถุ 3. รปู ท่ี 3 และรปู ท่ี 5 เป็นหลักฐำนท่ีเปน็ ลำยลกั ษณ์อักษร เพรำะมีกำรเขียนคำอธิบำยไวบ้ น ภำพ 46

ใบงานที่ 1.3 เร่ือง กรณีศึกษาประวัตศิ าสตรไ์ ทยคาช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนอ่านกรณีศกึ ษาทางประวัติศาสตร์ แล้วสรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ด้วยวธิ ีการ ทางประวตั ิศาสตร์ พระยาตากสิน เขา้ มารับราชการในกรุงศรีอยธุ ยาไดต้ ดั สินใจหนีออกจากกรุงศรีอยธุ ยาดว้ ยเหตผุ ลท่ีวา่ “ขืนสูร้ บพม่าตอ่ ไปไรป้ ระโยชน์ พระนครศรีอยธุ ยาคงไมพ่ น้ เสียแก่พมา่ เพราะความออ่ นแอของผบู้ ญั ชาการ” พระยาตากรวบรวมสมคั รพรรคพวกไดป้ ระมาณ 500 คนในเดือนย่ี ข้ึน 4 ค่า พ.ศ. 2309 เวลาค่ากย็ กออกจาก ค่ายวดั พชิ ยั ตีหกคา่ ยพมา่ ไปทางทิศตะวนั ออก มีขา้ ราชการท่ีออกไปดว้ ย คือ พระเชียงเงิน พระพรหมเสนา หลวงพิชยั อาสา หลวงราชเสน่หา และขนุ อภยั ภกั ดี เป็ นตน้ พม่าไลต่ ิดตามไปทนั ที่บา้ นโพธ์ิสงั หาร เกิดรบพงุ่ กบั พม่าลม้ ตาย แตกพา่ ยไป พระยาตากจึงไปหยดุ ต้งั ค่ายที่บา้ นพรานนก แขวงเมอื งนครนายก ไดร้ บกบั กองทพั พมา่ อีกหลายคร้ังจึงได้ ชยั ชนะ และมีคนไทยที่หลบหนีพมา่ เม่ือไดท้ ราบข่าวพระยาตากไดช้ ยั ชนะตอ่ พม่าก็พากนั มาเขา้ ดว้ ยเป็ นอนั มาก พระยาตากจึงเดินทางตอ่ ไปยงั สระบุรี ปราจีนบุรี ชลบุรี ระยอง ไปต้งั ตวั ไดท้ ่ีจนั ทบุรี” 1. ควรตั้งปญั หาวา่ อะไร 2. มหี ลกั ฐานใดบา้ งทนี่ ามาใชใ้ นการศึกษา 3. การวเิ คราะห์และประเมนิ คุณค่าข้อมูล มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื อะไร ผลเปน็ อย่างไร 47

ใบงานท่ี 1.3 เรือ่ ง กรณีศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ์ ทยคาชี้แจง : ให้นกั เรียนอา่ นกรณศี กึ ษาทางประวัติศาสตร์ แล้วสรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ด้วยวธิ กี าร ทางประวัติศาสตร์ พระยาตากสิน เขา้ มารับราชการในกรุงศรีอยธุ ยาไดต้ ดั สินใจหนีออกจากกรุงศรีอยธุ ยาดว้ ยเหตผุ ลท่ีวา่ “ขืนสูร้ บพม่าต่อไปไรป้ ระโยชน์ พระนครศรีอยธุ ยาคงไม่พน้ เสียแก่พมา่ เพราะความอ่อนแอของผบู้ ญั ชาการ” พระยาตากรวบรวมสมคั รพรรคพวกไดป้ ระมาณ 500 คนในเดือนย่ี ข้ึน 4 ค่า พ.ศ. 2309 เวลาค่าก็ยกออกจาก คา่ ยวดั พชิ ยั ตีหกค่ายพม่าไปทางทิศตะวนั ออก มีขา้ ราชการที่ออกไปดว้ ย คือ พระเชียงเงิน พระพรหมเสนา หลวงพชิ ยั อาสา หลวงราชเสน่หา และขนุ อภยั ภกั ดี เป็ นตน้ พมา่ ไล่ติดตามไปทนั ที่บา้ นโพธ์ิสงั หาร เกิดรบพงุ่ กบั พมา่ ลม้ ตาย แตกพา่ ยไป พระยาตากจึงไปหยดุ ต้งั ค่ายที่บา้ นพรานนก แขวงเมืองนครนายก ไดร้ บกบั กองทพั พม่าอีกหลายคร้ังจึงได้ ชยั ชนะ และมีคนไทยท่ีหลบหนีพม่าเม่ือไดท้ ราบข่าวพระยาตากไดช้ ยั ชนะตอ่ พมา่ กพ็ ากนั มาเขา้ ดว้ ยเป็ นอนั มาก พระยาตากจึงเดินทางต่อไปยงั สระบุรี ปราจีนบุรี ชลบุรี ระยอง ไปต้งั ตวั ไดท้ ่ีจนั ทบุรี” 1. ควรต้ังปญั หาวา่ อะไร - พระยำตำกเดินทำงไปจนั ทบรุ ีทำไม หรือจนั ทบุรมี ีควำมสำคัญอยำ่ งไร - มีปัจจัยใดที่สนบั สนุนให้พระยำตำกตงั้ มัน่ และสำมำรถกูช้ ำติไดส้ ำเรจ็ ภำยใน 7 เดือน 2. มีหลักฐานใดบ้างทน่ี ามาใช้ในการศึกษา พระรำชพงศำวดำรฉบับพระรำชหัตถเลขำ จดหมำยเหตุควำมทรงจำกรมหลวงนรินทรเทวี ข้อมลู ประวัติศำสตร์สมยั บำงกอก ประวัตศิ ำสตร์สมยั ธนบุรี 3. การวเิ คราะห์และประเมนิ คุณค่าข้อมูล มีวตั ถุประสงค์เพือ่ อะไร ผลเป็นอยา่ งไร ตรวจสอบข้อบกพร่องของหลักฐำนอยำ่ งมีเหตุมผี ล หลักฐำนข้ำงตน้ เป็นหลักฐำนทีน่ ่ำเชือ่ ถือ ได้ในข้อเท็จจริง 48

โรงเรยี นหนั คาราษฎร์รงั สฤษดิ์ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๕ ประวตั ิศาสตรไ์ ทย เวลา 3 ชวั่ โมงหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 การสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ทางประวัตศิ าสตร์ไทยเรอื่ ง การสรา้ งองค์ความรูใ้ หม่ทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย๑.สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด วเิ คราะห์ผลงานของบุคคลสาคญั ทั้งชาวไทยและตา่ งประเทศในสมยั รัตนโกสินทรท์ ี่มี สว่ นรว่ มในการสรา้ งสรรค์วฒั นธรรมไทยและประวตั ิศาสตร์ไทย๒.ตัวช้ีวัด/จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1ตวั ช้ีวัด ส 4.1 ม.4-6/2 สร้างองคค์ วามรใู้ หม่ทางประวัตศิ าสตรโ์ ดยใช้วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ อยา่ งเป็นระบบ 2.2จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นาวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาใช้ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ไทย 2. วเิ คราะหเ์ หตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ไทยด้วยวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง(K) 1. ขัน้ ตอนของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ โดยนาเสนอตัวอยา่ งทลี ะขน้ั ตอนอยา่ งชัดเจน 2. คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทางประวตั ศิ าสตรท์ ีม่ ีต่อการศกึ ษาทางประวตั ศิ าสตร์ 3 . ผลการศกึ ษา หรอื โครงงานทางประวตั ิศาสตร์๓.๒ทกั ษะกระบวนการ(P)เพื่อให้นักเรียน ๓.๒.๑อธิบายเวลาข้ันตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยนาเสนอตัวอย่างทีละข้ันตอนอย่าง ชัดเจน 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook