Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

Published by Guset User, 2023-06-30 18:20:38

Description: สัญลักษณ์พุทธฯ

Search

Read the Text Version

๘๔ ปรเมน๎ทรมหาวชิราวุโธส๎ยามรัช๎กาล พุท๎ธสาสนุปัต๎ถัม๎โภ” ด้านหลังมีอักษร จารึกว่า “ทรงพระราชนิยมพระราชทาน” มีขนาดกว้าง ๓๑ มม. หนา ๒-๑๑ มม. วัดโดยรอบ ๙๗.๓๗ มม. ห้อยแพรแถบสีดากับเหลือ สาหรบั ประดับอกเส้ือ ขา้ งขวา๑๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๘ เหรยี ญบรมราชาภิเศก รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง บาลี: พระพุทธศาสนา พุท๎ธสาสนุปัตถ๎ ัม๎โภ -โดยนัยเป็นการแสดงให้เห็นถึงสถานะพระมหากษัตริย์ไทยในฐานะทรงเป็น ผใู้ ห้ความค้มุ ครอง อุปถัมภ์พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พระบาทสมเด็จฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างข้ึนเมื่อปีกุน ร.ศ. ๑๓๐ (พ.ศ.๒๔๕๔) สาหรับพระราชทานเป็นที่ระลึกในพระราชพิธีบรมราชภิเษกสม โภช มี ๒ ชนิด คอื ทอง และเงิน มีรูปสันฐานกลม ดา้ นหนา้ ตรงกลางเป็นพระ บรมรูป พระบาทสมเด็จฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีอักษรล้อมรอบว่า “มหา ราชา ปรเมน๎ทรมหาวชิราวุโธส๎ยามรัช๎ชการี พุท๎ธสาสนุปัต๎ถัม๎โภ” ด้านหลังมี อักษรว่า “ท่ีระลึกงารบรมราชาภิเษก วันที่ ๒ ธันวาคม ร.ศ.๑๓๐ พระพุทธ สาสนกาล ๒๔๕๔” มีห่วงร้อยแพรแถบเป็นร้ิวสีเหลืองกับดาสลับกัน สาหรับ ประดับอกเสอ้ื ดา้ นซ้าย ใช้อักษรย่อว่า ร.ร.ศ.๑๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๙ เหรยี ญชัยวฒั น์ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. พระชัยวฒั น์ พระพุทธศาสนา ๒. ข้อกาหนดในการพระราชทาน เป็นผูเ้ ลื่อมใสในพระพุทธศาสนา - โดยนัยถือเป็นพทุ ธานสุ สติ และเครื่องเตือนใจให้ผู้ได้รับพระราชทานยดึ มั่นใน พระรัตนตรัย ๑๓พระเจา้ บรมวงศเธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, ตานานเครื่องราชอศิ ริยาภรณส์ ยาม, หน้า ๑๘๖. ๑๔เรอ่ื งเดยี วกัน, หน้า ๑๙๒.

๘๕ คาอธบิ าย ทรงสรา้ งขน้ึ เมื่อปีระกา จ.ศ.๑๒๔๗ (พ.ศ.๒๔๒๘) เนือ่ งในการท่ีจะพระราชทาน แก่พระเจ้าลูกยาเธอ ๔ พระองค์ ซึ่งเสด็จไปทรงศึกษาวิชา ณ ประเทศยุโรป เป็นคร้ังแรก โดยหล่อคร้ังแรก ๕๐ องค์ ลักษณะเนื้อเป็นทองคาหนักองค์ละ เฟ้ือง มีตลับทองคาลงยาทารูปเป็นลวดลายคล้ายตราประทุมอุณาโลม ตรง กลางเป็นแก้วเปล่าสาหรับทรงพระชัยวัฒน์ และมีห่วงสาหรับร้อยสายสร้อย สวมคอ ข้อกาหนดในการพระราชทานมี ๓ ข้อ คือ ผู้ได้รับพระราชทานมีความ เล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ๑ เป็นผู้รักใคร่ต่อบ้านเมืองและวงศ์สกุลของตน ๑ เป็นผู้มคี วามกตัญญู ซือ่ สตั ย์ จงรกั ภกั ดีตอ่ ใต้ฝ่าลอองธุลีพระบาท และก่อนจะ พระราชทานแก่ผู้ใด ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่ผู้น้ันโดยนัยแห่ง ๓ ขอ้ น้ีทกุ ครัง้ ๑๕ ๔.๑.๕ พระแทน่ ราชอาสน์ พระแท่นราชอาสน์ คือ แท่นที่ประทัยอันแสดงยศศักด์ิ อานาจวาสนา หรือพระราช อิสริยยศของพระมหากษัตริย์ แสดงเกียรติภูมิของผู้ใช้ เช่น อาสน์ของพระนารายณ์ที่บรรทมสินธุ์อยู่ ในเกษียรสมุทร ก็มีขนดนาคของอนันตนาคราชเป็นพระแท่นบรรทม ซึ่งแสดงว่า ทรงมีฤทธ์ิเดชจน พญานาคราชยอมรับใช้ พระพุทธรปู มีบลั ลังก์หรืออาสนะเป็นดอกบัว ก็หมายความว่า พระพทุ ธรปู ซ่ึง เป็นเอกอุดมสมมติรูปของพระพุทธเจ้าน้ัน แสดงความบริสุทธ์ิผุดผ่อง ทรงเป็นสุขุมาลชาติ ทรงเบา บางจนหมดสิ้นอาสวกิเลสและอวิชชา พระพุทธรูปแม้ประทับบนดอกบัวก็หาทาให้กลีบบัวช้าไม่ การ ใชก้ ลบี บวั ดับประดับแท่นหรอื พระแทน่ ราชอาสนจ์ ึงเปน็ สงิ่ ทม่ี ปี ระจาอยใู่ นศลิ ปะของไทยมาชา้ นาน๑๖ พระแท่นราชอาสน์องค์สาคญั ๆ ที่แสดงสัญลักษณท์ างพระพุทธศาสนาประกอบเปน็ ส่วน หนง่ึ ดงั ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐ และ ๔.๑๑ ตามลาดับ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐ พระทน่ี ัง่ บษุ บกมาลามหาจกั รพรรดิพมิ าน รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง ประดิษฐสถานพระพทุ ธรูป พระพุทธศาสนา - โดยนัยเป็นการยกย่อง เทิดทูนพระพุทธศาสนาให้เป็นที่ปรากฎในฐานะเป็น สถาบนั หนึ่งทเ่ี กื้อกูลต่อสังคม ประเทศชาติมาตลอดระยะเวลายาวนาน คาอธิบาย พระที่น่ังบุษบกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน พบหลักฐานการใช้ในพระราช พงศาวดารสมัยรัชกาลที่ ๒ ว่า เสด็จออกพระท่ีนั่งบุษบกมาลาฯ เพื่อให้เซอร์ ๑๕ พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, ตานานเคร่ืองราชอิศริยาภรณ์สยาม, หน้า ๑๙๔. ๑๖ วทิ ย์ พิณคนั เงิน,ศลิ ปวิจติ รแหง่ เคร่อื งราชเคร่อื งราชอสิ รยิ ยศ, หน้า ๘๑.

๘๖ จอหน์ ครอว์ฟอร์ดเข้าเฝ้า ต่อมาในรัชกาลหลัง ๆ ก็หาได้มีการเสด็จออกอีกไม่ จึงเป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า เจ้าอยู่หัว โปรดให้เชิญพระแท่นมหาเศวตฉัตรมาต้ังไว้เบื้องหน้าของพระแท่น บษุ บกมาลาตราบเทา่ ปัจจุบนั ๑๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑ พระแทน่ ราชบลั ลังก์ประดบั มกุ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ประดษิ ฐสถานพระพทุ ธรปู พระพุทธศาสนา - โดยนัยเป็นการยกย่อง เทิดทูนพระพุทธศาสนาให้เป็นที่ปรากฎในฐานะเป็น สถาบนั หน่ึงท่ีเกื้อกูลต่อสังคม ประเทศชาติมาตลอดระยะเวลายาวนาน คาอธบิ าย พระแท่นราชบัลลังก์ประดับมุกเป็นท่ีสาหรับเสด็จออกมหาสมาคม และเป็นท่ี ประดิษฐานเคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์สาหรับพระราชพิธีฉัตรมงคล และเมื่อมี พระบรมศพประดิษฐานบนพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท พระแท่นราชบัลลังก์ องค์น้กี เ็ ป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธรปู ๑๘ สรุป จากการสืบค้นสัญลักษณ์ทางสถาบันพระมหากษัตริย์ พบสัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนาอยู่ในหมวด ตราพระราชลัญจกร ๒ องค์, ตราประจาแผ่นดิน ๑ องค์, เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๖ ชุด, แท่นพระราชอาสน์ ๒ องค์ รวม ๑๑ รูปสัญญะ ส่วนที่ไม่พบ สญั ลักษณท์ างพระพุทธศาสนาเลย ได้แก่หมวดธงพระราชอิสรยิ ยศ ในจานวนน้ี เป็นการใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา และสัญลักษณ์อ่ืนส่ือถึง พระพทุ ธศาสนาใน ๖ ลักษณะ คือ ๑) แสดงถงึ ปณิธานทจี่ ะยกย่อง ทานบุ ารงุ พระพทุ ธศาสนา จานวน ๑ รูปสัญญะ ๒) แสดงพระราชปณิธานท่ีจะดาเนินตามคติพระโพธิสัตว์ หรือเปรียบเทียบพระเจ้า แผ่นดินเหมือนพระโพธิสัตว์ จานวน ๑ รูปสัญญะ ๓) แสดงการยกย่องให้เป็นแบบอย่างในหมู่ พุทธศาสนิกชน จานวน ๒ รูปสัญญะ ๔) กระตุ้นเตือนให้ระลึกถึงพระรัตนตรัย จานวน ๒ รูปสัญญะ ๕) แสดงสถานขององค์พระมหากษัตริย์ในฐานะทรงเป็นพุทธศาสนูปถัมภ์ จานวน ๒ รูปสัญญะ และ ๖) แสดงนัยการยกยอ่ งเชิดชูพระพุทธศาสนาให้เปน็ ทีป่ รากฏ จานวน ๓ รปู สัญญะ ๑๗ วิทย์ พณิ คนั เงนิ ,ศลิ ปวจิ ติ รแหง่ เคร่ืองราชเคร่อื งราชอิสริยยศ, หน้า ๘๓. ๑๘ เรอื่ งเดียวกนั , หนา้ ๘๗.

๘๗ ๔.๒ สญั ลักษณห์ น่วยงานของรฐั ๔.๒.๑ ธง พระราชบัญญัติธง พุทธศักราช ๒๕๒๒ จาแนกธงออกเป็น ๘ ประเภท คือ ๑) ธงท่ีมี ความหมายถึงประเทศไทยและชาติไทย ๒) ธงพระอิสริยยศ ๓) ธงทหาร ๔) ธงพิทักษ์สันติราษฎร์ ๕) ธงกองอาสารักษาดินแดนและกองอาสารักษาดินแดนจังหวัด ๖) ธงคณะลูกเสือแห่งชาติ และธง ลูกเสือจังหวัด ๗) ธงราชการทั่วไป และ ๘) ธงแสดงตาแหน่งทั่วไป๑๙ ดังเสนอไว้ในภาพประกอบที่ ๔.๑๑, ๔.๑๒, ๔.๑๓, ๔.๑๔ และ ๔.๑๕ ตามลาดบั ในส่วนธงที่หมวดท่ีเกี่ยวกับพระอิสริยยศน้ันได้กล่าวไปแล้วในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสถาบัน พระมหากษตั ริย์ ในส่วนน้ี จะกลา่ วถึงธงหมวดอ่ืน ๆ ทเี่ หลือ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑ ธงท่ีมีความหมายถึงประเทศไทยและชาตไิ ทย รปู สัญญะ แบบเดิม แบบปจั จบุ นั สัญลักษณ์ทาง แถบสีขาว ตามท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ พระพุทธศาสนา อธิบายไว้เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ความว่า “ขาวคือบริสุทธิ์ศรีสวัสดิ์หมายพระไตร รัตน์ และธรรมะค้มุ จิตใจ” ๒๐ - โดยนัยสะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็น ๑ ใน สถาบันหลักของชาติไทย คาอธิบาย ธงชาติ มีลักษณะเป็นรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๖ ส่วน ยาว ๙ ส่วน ด้าน กว้างแบ่งเป็น ๕ แถบตลอดความยาวของผืนธง ตรงกลางเป็นแถบสีน้าเงินแก่ กว้าง ๒ ส่วน ต่อจากแถบสนี ้าเงนิ แก่ออกไปท้งั สองข้างเป็นแถบสขี าวกว้างข้าง ละ ๑ ส่วน ต่อจากแถบสีขาวออกไปท้ังสองข้างเป็นสีแดง กว้างข้างละ ๑ ส่วน ธงชาติน้ีเรียกอีกอย่างหน่งึ วา่ ธงไตรงค์ ส่วนธงราชนาวี มีลักษณะอย่างเดียวกับธงชาติ แต่ตรงกลางผืนธงมีด วงกลมสีแดง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางยาว ๔ ใน ๖ ส่วน ของความกว้างของผืน ธง โดยให้ขอบของดวงกลมจดขอบแถบสีแดงของผืนธง ภายในดวงกลมมีรูป ช้างเผือกทรงเครอ่ื งยนื แท่นหันหนา้ เข้าหาเสาธงหรอื คันธง๒๑ ๑๙พระราชบญั ญัตธิ ง พุทธศกั ราช ๒๕๒๒, ราชกิจจานเุ บกษาฉบับพิเศษ, หน้า ๑ เลม่ ๙๖ ตอนที่ ๖๗, ๓๐ เมษายน ๒๕๒๒. ๒๐โฮมเพจเพื่อการเผยแพร่พระเกียรติคณุ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอย่หู ัว “เครื่องหมายแห่ง ไตรรงค์”, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://203.172.205.25/ftp/intranet/KingRamaVI/a006.html [๑๑ กันยายน ๒๕๕๖]. ๒๑มาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญตั ิธง พทุ ธศักราช ๒๕๒๒.

๘๘ ภาพประกอบที่ ๔.๑๒ ธงชยั เฉลมิ พลทหาร ๓ เหล่าทพั รปู สัญญะ กองทพั บก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ สัญลักษณ์ทาง ๑. พระพทุ ธรปู ประดิษฐานในซุ้มเรอื นแกว้ พระพทุ ธศาสนา ๒. หมดุ ที่ ๒ เปน็ รูปเสมาธรรมจกั ร - โดยนัยสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็น ๑ ในสถาบันหลักของชาติไทย คาอธบิ าย ธงชัยเฉลิมพลของทหารบกมีลักษณะอย่างเดียวกับธงชาติแต่เป็นรูป สี่เหลีย่ มจตั ุรัสขนาดกว้างดา้ นละ ๗๐ เซนติเมตร ตรงกลางของผนื ธงมอี ุณาโลม ทหารบก และมีช่ือหน่วยทหารสีแดงขลิบริมสีเหลืองเป็นแถวโค้งโอบใต้อุณา โลม ทหารบกผืนธงมุมบนด้านทตี่ ิดกับคันธงมีรปู พระมหามงกุฎ และเลขหมาย ประจารัชกาลของพระมหากษัตริยท์ ่ีพระราชทานเป็นตวั เลขไทยสีเหลืองภายใต้ พระมหามงกุฎมพี ระปรมาภิไธยย่อสีแดงขลิบรมิ สีเหลืองรัศมีสฟี ้าขอบธงด้านท่ี ติดกับคันธงมีเกลียวเชือกสีแดงสลับดาด้านอ่ืนมีแถบจีบสีเหลืองกว้าง ๒ เซนติเมตร๒๒ ยอดคนั ธง เป็นซุ้มเรือนแกว้ ประดิษฐสถานพระพุทธรูปภายในทาดว้ ยโลหะ สที อง๒๓ คนั ธงตอนท่ีตรงกบั ธง มีสักหลาดสีแดงตอ่ กับริมธงหุ้มรอบคันธงมหี มุด ทาด้วยโลหะสีทอง ๑๕ หมุด หมุดที่ ๑ เป็นรูปประเทศไทย หมุดท่ี ๒ เป็นรูป เสมาธรรมจักร หมุดที่ ๓ เป็นรูปพระปรมาภิไธยย่อ หมุดที่ ๔ เป็นรูป รฐั ธรรมนญู หมุดต่อไปเป็นรูปเครื่องหมายกองทัพบก๒๔ ธงชัยเฉลิมพลของกองทัพเรือ และกองทัพอากาศก็มีสัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนาเช่นเดียวกัน ต่างตรงท่ีของกองทัพเรือ ไม่มีซุ้มเรือนแก้ว ประดิษฐสถานพระพุทธรปู ภาพประกอบท่ี ๔.๑๓ ธงพิทักษส์ นั ติราษฎร์ รปู สัญญะ ๒๒มาตรา ๑๔ แห่งพระราชบญั ญตั ิธง พุทธศักราช ๒๕๒๒. ๒๓กฎกระทรวง [พ.ศ.๒๕๒๔] ออกตามความในพระราชบัญญัติธง พ.ศ. ๒๕๒๒,ข้อ ๑ [๑], ราชกิจจา นุเบกษาเล่ม ๙๘ ตอนที่ ๑๑ ฉบบั พิเศษ หน้า ๕ ๒๓ มกราคม ๒๕๒๔. ๒๔กฎกระทรวง [พ.ศ.๒๕๒๔] ออกตามความในพระราชบัญญัติธง พ.ศ.๒๕๒๒,ข้อ ๑ [๔], ราชกิจจา นุเบกษาเล่ม ๙๘ ตอนที่ ๑๑ ฉบับพิเศษ หน้า๕ ๒๓ มกราคม ๒๕๒๔.

๘๙ สัญลักษณ์ทาง ๑.แถบสขี าวของธงชาติ พระพุทธศาสนา ๒.ตราแผน่ ดิน ซึง่ มพี ระมหาสังวาลนพรัตน์รตั นราชวราภรณ์ - โดยนัยสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็น ๑ ในสถาบนั หลกั ของชาตไิ ทย คาอธบิ าย ธงพิทักษ์สันติราษฎร์ เป็นธงสัญลักษณ์ของกรมตารวจมีลักษณะและสีอย่าง เ ดี ย ว กั บ ธ ง ช า ติ แ ต่ ที่ ต ร ง ก ล า ง ข อ ง ผื น ธ ง มี รู ป ต ร า แ ผ่ น ดิ น ใ น รั ช ก า ล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประกอบด้วยความว่า “พิทักษ์สันติ ราษฎร์” ปักดว้ ยดิน้ เงินโอบใตต้ ราแผ่นดนิ ๒๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔ ธงกองอาสารักษาดนิ แดน รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง “แถบสีขาว” ของธงชาติ สญั ลักษณส์ ่ือถึงพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา - โดยนัยสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็น ๑ ในสถาบนั หลกั ของชาตไิ ทย คาอธบิ าย ลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงชาติแต่ผืนธงเป็นรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสขนาดกว้าง ด้านละ ๗๒ เซนติเมตร ด้านหน้าของผืนธงมุมบนด้านที่ติดกับคันธงมีรูปพระ มหามงกุฎและเลขหมายประจารัชกาลของพระมหากษัตริย์ที่พระราชทานเป็น ตวั เลขไทยสีเหลืองภายใต้พระมหามงกฎุ มีพระปรมาภไิ ธยย่อเป็นสีทองขลิบริม สี เ ห ลื อ ง รั ศ มี สี ท อ ง แ ล ะ ที่ ต ร ง ก ล า ง ข อ ง ผื น ธ ง มี ด ว ง ก ล ม สี แ ด ง ข น า ด เส้นผ่าศูนย์กลางยาว ๓๔ เซนติเมตรขอบรอบวงกลมเป็นสีเหลืองมีรูปพระ นเรศวรทรงช้างอยู่ภายในดวงกลมและมีความว่า “กองอาสารักษาดินแดน” ปักด้วยดิ้นทองเป็นแถวโค้งโอบใต้ดวงกลมน้ันด้านหลังท่ีตรงกลางของผืนธงมี รูปช่อชัยพฤกษ์และอุณาโลมอยู่ตรงกลางภายใต้พระมหามงกุฎปักด้วยดิ้นทอง ขอบธงด้านท่ีติดกบั คนั ธงเป็นสแี ดงด้านอ่ืนเปน็ กรยุ สีเหลือง๒๖ ๒๕มาตรา ๓๔ แห่งพระราชบญั ญตั ิธง พุทธศกั ราช ๒๕๒๒. ๒๖มาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัตธิ ง พุทธศกั ราช ๒๕๒๒.

๙๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕ ธงคณะลูกเสือแห่งชาติ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. พระธรรมจักรกลางธง พระพุทธศาสนา ๒. แถบสีขาวแทนพระพุทธศาสนา - โดยนัยสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็น ๑ ในสถาบันหลกั ของชาติไทย คาอธิบาย ธงคณะลูกเสือแห่งชาติมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงชาติแต่ผืนธงกว้าง ๕๐ เซนติเมตรยาว ๕๒ เซนติเมตรตรงกลางของผืนธงมีตราธรรมจักรสีเหลือง ขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางยาว ๓๒ เซนตเิ มตร๒๗ ๔.๒.๒ สญั ลักษณ์ประจากระทรวง คาว่า สญั ลกั ษณ์ประจากระทรวงในน้ี หมายเอา ตราที่ใชเ้ ปน็ สญั ลกั ษณ์แสดงถึง หรือแทน หน่วยงานของราชการระดับกระทรวง อน่ึง พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ กาหนดให้มี ๑๙ กระทรวง และส่วนงานที่ฐานะเป็นกระทรวง อีก ๑ ส่วนงาน คือ สานกั นายกรัฐมนตรี๒๘ รวมเป็น ๒๐ ในจานวนน้ี มีตราสญั ลักษณ์ประจากระทรวงทีส่ ่ือความหมายถึงพระพุทธศาสนาจานวน ๓ กระทรวง ดงั เสนอไว้ในภาพประกอบที่ ๔.๑๖, ๔.๑๗ และ ๔.๑๘ ตามลาดับ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแล้วล้อม รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ต้นโพธิ์ พระพุทธศาสนา - โดยนัยสามารถสื่อถึงได้ท้ังองคพ์ ระมหากษัตริย์ และพระพุทธศาสนาในฐานะ เปน็ ศูนยร์ วมทางจิตใจ ๒๗มาตรา ๓๙ แห่งพระราชบญั ญตั ธิ ง พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๒. ๒๘มาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญตั ิเหรยี ญศานติมาลา พุทธศักราช ๒๔๘๙, ราชกิจจานเุ บกษา, ตอนที่ ๒๔ เลม่ ท่ี ๖๓, ๒๓ เมษายน ๒๔๘๙, หน้า ๒๑๔.

๙๑ คาอธบิ าย ตรามีสัญลักษณ์ท่ีสื่อความหมายต่าง ๆ ๑๒ ชนิด ในจานวนน้ีท่ีสัญลักษณ์ รูปสญั ญะ ความเก่ียวขอ้ งกับพระพุทธศาสนาปรากฏอยดู่ ้วย นั่นคือ ต้นโพธิ์ซงึ่ มคี าอธิบาย ประกอบวา่ “หมายถงึ โพธทิ์ องของชาวไทย ซึ่งเปน็ สง่ิ ทเี่ รายดึ มนั่ ”๒๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗ กระทรวงพลังงาน สัญลักษณ์ทาง ๑) สัญลักษณ์โลกุตตระ (เปลวเพลิง) ๒) พุทธิปัญญา ความหยั่งรู้ และความ พระพุทธศาสนา เพียรพยายามในการทาใหห้ ลดุ พน้ จากสงั สารวัฎ - โดยนัยเปน็ การนาหลกั การสาคัญทางพระพุทธศาสนามาใช้ในรูปของพลังงาน ที่ใช้ในการขับเคลื่อนการพฒั นาประเทศชาติ คาอธิบาย สัญลักษณ์ “โลกุตตระ” เป็นรูปเปลวเพลิง กาหนดให้ใช้ ๒ สี คือ ขาว-ดา, สม้ แดงคลา้ ยเปลวไฟ สญั ลักษนี้ หมายถึงพุทธปญั ญา ความหย่ังรู้และความเพียรพยายามในการ ทาใหห้ ลุดพ้นจากวฏั สงสาร ดังเช่นการตรสั ร้ถู งึ หนทางแห่งนิพพาน สงิ่ ที่กระทรวงพลังงานต้องการสื่อคอื ความมุ่งม่ันของทุกองคาพยพ ในการ ทุ่มเทความรู้ความสามารถและความเพียรพยายามคิดค้นหากลยุทธ์ท่ีดีที่สุด เพื่อใหป้ ระเทศไทยมพี ลงั งานใชอ้ ย่างม่ันคงเพยี งพอ ปลอดภัย คมุ้ ค่า มคี ุณภาพ และประสทิ ธิภาพ ในราคาท่เี หมาะสมและเปน็ ธรรม๓๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘ กระทรวงศกึ ษาธิการ รปู สญั ญะ เดมิ ปัจจบุ ัน สัญลักษณ์ทาง ๑. ธรรมจักร พระพทุ ธศาสนา ๒. ใบเสมา ๓. หัวใจอรยิ สัจ คอื ทุ.ส.น.ิ ม. ๒๙ก ร ะ ท ร ว ง ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://website.mnre.go.th/ewt_news.php?nid=750 [๖ กันยายน ๒๕๕๖]. ๓๐กระทรวงพลังงาน, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.energy.go.th/?q=th/symbol [๖ กันยายน ๒๕๕๖].

๙๒ คาอธบิ าย - โดยนัยสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันพระพุทธศาสนากับ สถาบันการศึกษาของไทยว่ามีการเก้ือกูลกันทั้งในแง่เป้าหมาย (วิชา+จรณะ หรอื ความรู้คูค่ ณุ ธรรม) และวธิ ีการ (๓ ประสานระหวา่ งวัด+บ้าน+โรงเรียน) ตราสัญลักษณ์เดิมเป็นรูปจักราวุธอยู่ในบุษบก แล้วมีใบเสมาขนาบอยู่ ๒ ข้าง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่ชอบพระราชหฤทัย จึงโปรด ให้ทาตราธรรมจักรใหม่ เป็นรูปวงกลม มีลายเสมาตั้งบนฐาน มีรูปพระ ธรรมจักรคือล้อรถอยู่กลางใบเสมา มีอักษรย่อ ทุ. ส. นิ. ม. ซึ่งเป็นหัวใจพระ อริจสัจอยู่ท่ขี อบเบือ้ งบนเสมา๓๑ สรุป สัญลักษณ์ประจาชาติสามารถแบ่งออกเป็น ๒ ได้แก่ กลุ่มธงสัญลักษณ์ และ กลุ่ม ตราสัญลกั ษณ์ระดับกระทรวง กลุม่ ธงสัญลกั ษณ์พบสญั ลักษณ์ทางพระพทุ ธศาสนาอยูใ่ นหมวดธงชาติ, ธงชัยเฉลิมพลของ ๓ เหล่าทัพ, ธงพิทักษ์สันติราษฎร์, ธงกองร้อยอาสารักษาดินแดน, ธงคณะลูกเสือ แห่งชาติ และสัญลักษณ์ประจากระทรวง ๓ กระทรวง ได้แก่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม, กระทรวงพลงั งาน และกระทรวงศกึ ษาธิการ ในจานวนน้ี เป็นการใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา หรือสัญลักษณ์อ่ืนเพ่ือสื่อถึง พระพุทธศาสนา ๔ ลักษณะ คือ ๑) แสดงนัยสาคัญในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติ จานวน ๕ รูปสัญญะ ๒) แสดงนัยในฐานะเป็นศูนย์รวมทางด้านจิตใจของคนในชาติ จานวน ๑ รูปสัญญะ ๓) แสดงนัยเป็นพลังขับเคล่ือน จานวน ๑ รูปสัญญะ และ ๔) แสดงนัยในฐานะเป็นแกนสาคัญในการจัด การศกึ ษาของประเทศ จานวน ๑ รปู สัญญะ ๔.๓ สัญลักษณส์ ถาบนั /องค์กรทางพระพทุ ธศาสนา สถาบัน หรือองค์กรทางพระพุทธศาสนาในท่ีนี้ ผู้วิจัยหมายเอาทั้งส่วนที่เป็นองค์กรคณะ สงฆ์ กลุ่ม องค์กรที่จัดต้ังขึ้นเพ่ือกระทากิจกรรมต่าง ๆ ที่เน่ืองด้วยพระพุทธศาสนา หรือสังคม โดยทว่ั ไป อย่างไรก็ตาม สถาบันและองค์กรเหล่าน้ัน มีทุกพ้ืนที่ของประเทศไทย ผู้วิจัยจึงใช้วิธีคัด เอามาพอเปน็ ตัวอย่างบางส่วน ดังรายละเอียดจะได้กลา่ วตอ่ ไป ๔.๓.๑ สัญลักษณ์ด้านการปกครอง หมายเอาสัญลักษณ์ที่คณะสงฆ์ใช้ในการออกคาส่ัง ประกาศ ประทับจาตาแหน่ง หนังสอื ราชการคณะสงฆท์ ั่วไป ตั้งแต่ระดบั สูงสุดคือสมเด็จพระสังฆราช จนถึงระดับเจ้าคณะอาเภอ ส่วนระดบั ตาบล และระดับเจ้าอาส ไม่ไดน้ ามาแสดง ด้วยเหตผุ ลว่า ไม่มี ตราประจาตาแหน่ง คงมีเฉพาะตราประจาวดั สัญลักษณ์ด้านการปกครอง พบมีการนาสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนามาใช้ ดังตัวอย่าง ท่ีเสนอไว้ในภาพประกอบท่ี ๔.๑๙, ๔.๒๐ และ ๔.๒๑ ตามลาดบั ๓๑พระยาอนมุ านราชธน, พระราชลญั จกรและตราประจาตวั ประจาตาแหน่ง, หนา้ ๔๑.

๙๓ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙ ตราราชการคณะสงฆ์ไทย รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ซ่ีกาของธรรมจักรจานวนต่าง ๆ กล่าวคือ ๔ ซี่ หมายถึง อริยสัจ ๔, ๘ ซี่ พระพุทธศาสนา หมายถงึ อริยมรรคมีองค์ ๘, ๑๒ ซี่ หมายถึง ปฏิจจสมปุ บาท ๑๒, และ ๓๑ ซ่ี หมายถึง ภูมิ ๓๑ ชนั้ คาอธบิ าย ตราธรรมจักร คือ ตราสัญลักษณ์ท่ีมหาเถรสมาคมกาหนดให้ใช้ในกิจการ ของคณะสงฆ์ไทยคือ โดยเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๑๓๒ และมี การอธิบายความสัญลักษณ์ในตราธรรมจักรไว้ดงั นี้ รูปวงกลม แทนความสมบูรณ์ของพระธรรมแกนกลางเป็นรูปกลีบดอกบัว บานเป็นวงกลมแทนคาสอนที่เปน็ แกน่ คือพระนิพพาน จานวนซก่ี า ถ้ามี ๔ ซี่ หมายเอา อริยสจั ๔, ๘ ซ่ี หมายเอา อรยิ มรรคมีองค์ ๘, ๑๒ ซี่ หมายเอา ปัจจยาการ ๑๒, ๒๔ ซี่ หมายเอาปัจจยาการท้ังฝ่ายเกิด และฝ่ายดับ, ๓๑ ซี่ หมายถึง ภูมิ ๓๑ ช้นั ๓๓ ๒) กลีบดอกบัวตรงกลาง คือพระ นิพพาน อน่งึ การคณะสงฆ์ตา่ ง ๆ ในปจั จุบนั นิยมใช้ธรรมจักรทม่ี แี กน ๑๒ ซ่ี ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐ ตราประจาตาแหน่งสมเด็จพระสงั ฆราช รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง ธรรมจกั ร, พดั ยศ,นกคาบ พระพุทธศาสนา -โดยนยั หมายถงึ พระพุทธเจา้ ทรงประกาศปฐมเทศนาดว้ ยกาลงั สติปัญญา คาอธบิ าย สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จฯ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว มีลักษณะเป็น ดวงกลม ทาด้วยงากลึง กว้าง ๘ เซนติเมตร กลางดวงตราเป็นจักร (หมายถึง ธรรมจักร) มีกาใหญ่ ๔ ซ่ี ในระหว่างน้ันมีกาเล็กช่องละ ๒ ซ่ี เป็น ๘ ซ่ี เข้ากัน เป็น ๑๒ ซ่ี ท่ีดุมมีอักษร ธ ตัวขอม ข้างบนมีอุณาโลมอยู่ในบุษบก ตั้งอยู่บน บัลลังก์ปลายเรียวอย่างรถรูปเหมือนพระท่ีน่ังบุษบกมาลา มีฉัตร ๕ ชั้น ๑ คู่ ตาลปัตรแฉก ๑ คู่ อยู่ข้าง พ้ืนตราผูกลายกระหนก นกคาบ หมายความว่า ๓๒ธงศาสนาพทุ ธ, [ออนไลน]์ . แหลง่ ท่มี า: http://th.wikipedia.org/wiki/ [๑๕ กันยายน ๒๕๕๖]. ๓๓ธรรมจักร, [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า: https://th.wikipedia.org/wiki/ [๑๕ กันยายน ๒๕๕๖].

๙๔ พระพุทธเจ้าทรงประกาศธรรมจักรปฐมเทศนาด้วยกาลังปัญญา มีอักษรท่ีขอบ ว่า “สกลคณาธเิ บศร์ มหาสงั ฆปรินายก” มเี ส้นวงกลมลอ้ มรอบ ๓ ชนั้ ๓๔ ภาพประกอบที่ ๔.๒๑ ตราประจาตาแหน่งเจ้าคณะปกครองระดับภาค จังหวัด อาเภอ รูปสญั ญะ ภาค จงั หวดั อาเภอ สัญลักษณ์ทาง ๑) ซุ้มเรอื นแก้ว สถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนา ๒) พัดยศ พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั หมายถงึ อานาจโดยชอบธรรมในการปกครององคก์ รคณะสงฆ์ คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์ประจาตาแหน่งเจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด และเจ้าคณะ อาเภอ ลักษณะเป็นดวงกลม มีรูปซุ้มเรือนแก้ว ภายในซุ้มมีรูปอุณาโลม ยอด อุณาโลมมีรัศมี ข้างซุ้มเรือนแก้ว เจ้าคณะภาค,เจ้าคณะจังหวัดมีพัดยศประดับ ซ้าย-ขวา ด้านบนซุ้มเรือนแก้วมีตัวอักษรระบุตาแหน่ง มีลวดลายกระหนก ประดับชอ่ งวา่ งท้ังซา้ ยขวาซ้มุ เรือนแกว้ ๔.๓.๒ สัญลักษณด้านการศึกษา มีรายละเอยี ดดงั เสนอไว้ในภาพประกอบท่ี ๔.๒๒ และ ๔.๒๓ ตามลาดับ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๒ ตราสนามหลวงแผนกธรรม, สนามหลวงแผนกบาลี รูปสัญญะ แผนกบาลี แผนกธรรม สัญลักษณ์ทาง ซ่ีกาของธรรมจกั รจานวนต่าง ๆ กลา่ วคอื แผนกธรรม ๘ ซี่ หมายถงึ อริยมรรค พระพุทธศาสนา มอี งค์ ๘, แผนกบาลี ๑๒ ซ่ี หมายถึง ปฏิจจสมปุ บาท คาอธิบาย มีลักษณะเป็นวงกลม วงในเป็นรูปธรรมจักร มีแกนกลางเป็นรูปอุนาโลม วง นอกมีอักษร “สนามหลวง” อยู่ด้านบน และ “แผนกธรรม”, “แผนกบาลี” อยู่ ด้านล่าง แผนกบาลีมีจานวนซ่ีธรรมจักร ๑๒ ซี่ แทนปฏิจจสมุปบาท แผนก ธรรมธรรมมซี ธ่ี รรมจักร ๘ กา แทนอรยิ มรรคมีองค์ ๘ ๓๔ ต ร า ป ร ะ จ า ต า แ ห น่ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ สั ง ฆ ร า ช , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.luangta.com/upload/23-05-47_03.jpg [๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๖].

๙๕ ภาพประกอบที่ ๔.๒๓ ตรามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. พระธรรมจกั ร พระพทุ ธศาสนา ๒. บาลี “ปญญฺ า โลกสฺมิ ปชฺโชโต” - โดยนัยเป็นการยกย่องเชิดชูพระธรรมวินัย และให้ความสาคัญกับปัญญาใน ฐานะเป็นยอดของพระพุทธศาสนา๓๕ คาอธิบาย เป็นรูปวงกลมครอบธรรมจักรส่วนกลางเป็นพระเกี้ยว เป็นพระราชลัญจกร ประจาพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ รอบ กรอบด้านบนมีอักษรภาษาบาลวี ่า ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต รอบกรอบด้านล่าง มอี ักษรว่า มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๓๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๔ ตรามหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. คมั ภรี ์พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา ๒. สขี าวของธงชาตไิ ทย ๓. ความเบง่ บานแหง่ ปญั ญาทางพระพุทธศาสนา ๔. ปญั ญา วิสทุ ธิ สนั ติ และกรุณา คาอธิบาย พระมหามงกุฏ และ อุณาโลม หมายถึง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอย่หู วั รัชกาลท่ี ๔ พระผู้ทรงเป็นท่ีมาแห่งนาม “มหามกุฏราชวิทยาลยั ” พระเกยี้ วประดิษฐานบนหมอนรอง หมายถงึ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้า เจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ ๕ พระผู้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้ง “มหาม กุฏราชวิทยาลยั ” หนังสือ หมายถึง คัมภีร์และตาราทางพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาค้นคว้า และเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ๓๕ พระพุทธเจ้าตรัสว่า ธรรมวินัยของพระองค์มีฉันทะเป็นมูล มีมนสิการเป็นบ่อเกิด มีสติเป็นใหญ่ ปัญญาเปน็ ยอด และมวี ิมุตติเป็นแกน่ ดูรายละเอยี ดในมูลกสตู ร องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๕๘/๑๒๖. ๓๖ ตราประจามหาวิทยาลัย, [ออนไลน์].แหล่งที่มา: http://www.mcu.ac.th/site/map.php [๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๖].

๙๖ ปากกาปากไก่ ดินสอ และม้วนกระดาษ หมาย ถึง อุปกรณ์ในการศึกษาเล่า เรียน การพิมพ์เผยแพร่คัมภีร์และการผลิตตาราทางพระพุทธศาสนา เพราะ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยทาหน้าที่เป็นท้ังสถาบันศึกษา และแหล่ง ผลติ ตารบั ตาราทางพระพทุ ธศาสนา ช่อดอกไม้แย้มกลีบ หมายถึง ความเบ่งบานแห่งสติปัญญา และวิทยาการ ในทางพระพุทธศาสนา และหมายถึง กิตติศัพท์กิตติคุณที่ฟุ้งขจรไป ดุจกล่ิน หอมแห่งดอกไม้ ธงชาติไทย หมายถึง อุดมการณ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ท่ีมุ่ง พทิ ักษ์สถาบันหลกั ท้ัง ๓ คือ ชาติไทย พระพทุ ธศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ พานรองรับหนังสือหรือคัมภีร์ หมายความว่า มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วทิ ยาลัยเปน็ สถาบนั เพอื่ ความมนั่ คง และแพรห่ ลายของพระพทุ ธศาสนา วงรัศมี หมายถึง แสงสว่างแห่งปัญญา วิสุทธิ สันติ และกรุณา ที่มหาวิทยา มหามกฏุ ราชวิทยาลัยมุ่งสาดสอ่ งไปทั่วโลก มหามกุฏราชวิทยาลัย หมายถึง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย อันเป็น สถาบนั การศกึ ษาทางพระพทุ ธศาสนาระดบั อุดมศึกษา๓๗ ๔.๓.๓ สัญลักษณองค์กรทางพระพุทธศาสนา ปัจจุบันนิยมออกแบบตราสัญลักษณ์ องค์กรท่ีมีส่วนหนึ่ง หรืออาจท้ังหมดของสัญลักษณ์สามารถส่ือถึงพระพุทธศาสนา เช่น ส่ือถึง พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ หรอื สิ่งท่เี นื่องด้วยพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ ต้น อย่างใด อยา่ งหนง่ึ ดงั ตวั อย่างในภาพประกอบท่ี ๔.๒๕,๔.๒๖,๔.๒๗,๔.๒๘,๔.๒๙ และ๔.๓๐ ตามลาดับ ภาพประกอบที่ ๔.๒๕ ตราสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. ดอกบวั พระพทุ ธศาสนา ๒. บัว ๗ กลบี แทนโพชฌงค์ ๗ ๓. ธรรมจกั ร ๔. ซ่ีกาธรรมจกั ร ๕. บทบาลีว่า ธมฺมจกฺกปวตฺตยิ อปฺปฏิวตฺติย ๓๗ ตราสัญลักษณ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, [ออนไลน์].แหล่งที่มา: http://logosociety. blogspot. com/2010/10/blog-post_24.html [๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๖].

๙๗ คาอธิบาย ตราสญั ลักษณ์เปน็ รูปธรรมจักรบนฐานดอกบัว เรียกว่า \"ไตรรตั นจกั ร\" (กง รูปสญั ญะ ลอ้ คือ พระรัตนตรัย) เป็นสญั ลักษณ์แทนพระรัตนตรัย๓๘ภายในมีรายละเอียด และคาอธิบายประกอบดงั น้ี ๑. ดอกบัวแทนพระพุทธเจ้า ดังพระบาลีในเถรคาถาว่า \"พระพุทธเจ้าทรง อุบัตขิ ึน้ ในโลก แตไ่ มต่ ดิ ในโลกีวิสัย ดุจดอกบัวเกิดในนา้ แต่ไมเ่ ปียกนา้ ๒. ดอกบัวแทนพระอริยสงฆ์ ดังพุทธวจนะในธรรมบทว่า \"ดอกบัวเกิดท่ี กองขยะที่เขาทิ้งไว้ข้างทางใหญ่ มีกลิ่นหอมรื่นรมย์ใจฉันใด ท่ามกลางมหาชนผู้ โง่เขลา เป็นดจุ สิ่งปฏิกูล พระสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ยอ่ มรุ่งโรจน์ด้วย ปญั ญาฉันนั้น\" ๓. ดอกบัวมี ๗ กลีบ เป็นสัญลักษณ์แทนดอกบัว ๗ ดอก ท่ีเกิดขึ้นรองรับ พระบาทของเจา้ ชายสิทธตั ถะเมือ่ คราวประสตู ิ หรอื สัญลกั ษณแ์ ทนโพชฌงค์ ๗ ๔. ธรรมจักร เป็นสัญลักษณ์แทนพระธรรม คือ อริยสัจสี่ อันเป็นแก่นของ พระพุทธศาสนา ท่ที รงแสดงในวนั เพญ็ เดือน ๘ วนั ทพ่ี ระรตั นตรัยครบสมบรู ณ์ ๕. ซี่ธรรมจักร ๑๒ ซี่ เป็นสัญลักษณ์แทนการรู้แจ้งอริยสัจแต่ละข้อด้วย ญาณ ทงั้ ๓ (สจั จญาณ, กจิ จญาณ,และกตญาณ) (๓x๔ = ๑๒) ๖.พระบาลีในธัมมจักรกปั ปวัตตนสตู รว่า ธมมฺ จกฺก ปวตฺติต อปฺปฏิวตฺตยิ = กงล้อคือพระธรรมอันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงหมุนไปแล้ว ไม่มีใครหมุนกลับ ได้๓๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๖ ตราพุทธสมาคมแห่งประเทศไทย สัญลักษณ์ทาง ธรรมจกั ร พระพุทธศาสนา - โดยนัยสะท้อนความเป็นองค์กรทางพระพุทธศาสนาท่ีมีหน้าที่ขับเคลื่อน กจิ กรรมต่าง ๆ ในสังคมใหเ้ ปน็ ไปเพ่ือประโยชน์ เก้ือกูล และความสุข ๓๘อน่ึง ธรรมจกั ร นี้ ธนิต อยู่โพธิ์ ไดอ้ ธบิ ายไวว้ า่ เป็นสญั ลกั ษณ์ของอานาจในการขบั เคลอื่ นวงลอ้ แห่ง ธรรมให้เป็นไป ซงึ่ จะมเี ฉพาะในพระพุทธเจ้าเท่านัน้ เปรียบเหมือนพระเจ้าจักรพรรดซิ ึ่งมจี ักรแก้วอันเป็นทิพย์เป็น สัญลักษณ์แห่งอานาจทเี่ กดิ ข้ึนเฉพาะ และจะมีก็เพียงพระองค์จักรพรรดเิ ทา่ น้ันท่ีสามารถยังจักรแก้วอนั เป็นทพิ ย์ให้ หมนุ ไป ดูรายละเอยี ดใน ธนติ อยูโ่ พธิ์, ธรรมจกั ร, (พระนคร: ศวิ พรการพมิ พ,์ ๒๕๐๘), หน้า ๙-๑๐. ๓๙เสฐียรพงษ์วรรณปก, “คาอธิบายตราสัญลักษณ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ”, [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://www.onab.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=76&Itemid=66 [๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๖].

๙๘ คาอธบิ าย ตราสัญลักษณ์ประจาพุทธสมาคมแห่งประเทศไทย เป็นรูปธรรมจักร ใจ กลางธรรมจักรมีสัญลักษณ์อุณาโลม ขอบวงกลมของธรรมจักรด้านบนมี ข้อความว่า “พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย” ด้านล่างมีข้อความว่า “ในพระ บรมราชปู ถัมภ์” ๔๐ ภาพประกอบที่ ๔.๒๗ ตราองค์การพุทธศาสนกิ สมั พนั ธแ์ ห่งโลก รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ฉัพพรรณรังสี พระพุทธศาสนา - โดยนัยสะท้อนให้เห็นถึงการแผ่ขยายของพระพุทธศาสนาในสังคมโลกด้วย ความเป็นเอกภาพ คาอธบิ าย สญั ลักษณ์ที่ใช้แทนองค์พุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกคือธงฉัพพรรณรังสี ถือ เป็นธงพระพุทธศาสนาสากล ซ่ึงได้รับการรับรองโดยองค์การพุทธศาสนิก สัมพนั ธ์แห่งโลก ภาพประกอบที่ ๔.๒๘ ตรายวุ พุทธิกสมาคมแหง่ ประเทศไทย รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ธรรมจกั ร พระพุทธศาสนา - โดยนัยแสดงถึงความเป็นหน่วยงานหรือองค์กรที่ทางานเพื่อยกย่อง เชิดชู พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย ภาพชาย-หญิงนั่งชูพระธรรมจักร ขอบนอกด้านบนของพระธรรมจักรมรี ัศมี เปล่งออกมา ด้านลา่ งรูปชาย-หญิง มีข้อความ “ย พ ส” อยู่ในวงกลม ๓ วงไขว้ ประสานกัน อนั แสดงถึงความเป็นนา้ หนงึ่ ในใจเดยี วกนั ๔๑ ๔๐พุ ท ธ ส ม า ค ม แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น พ ร ะ บ ร ม ร า ชู ป ถั ม ภ์ , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : https://th.wikipedia.org/wiki/ [๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๖]. ๔๑ประวัติยวุ ธกิ สมาคม, [ออนไลน์], แหล่งทีม่ า: http://www.ybat.org/v4/aboutus.asp#a1 [๑๒ มนี าคม ๒๕๕๗].

๙๙ ภาพประกอบที่ ๔.๒๙ เปรียญธรรมสมาคมแห่งประเทศไทย รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. สเี หลือง พระพุทธศาสนา ๒. ดอกบวั ๓ ดอก - โดยนัยแสดงถึงความเป็นองค์กรท่ีจัดต้ังขึ้นเพ่ือทากิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชนเ์ ก้อื กูลต่อพระพุทธศาสนา อนั ประกอบด้วยองคป์ ระกอบหลักคอื พระ พทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ คาอธบิ าย เป็นรูปวงกลม ชั้นในพ้ืนสีเหลือง มีดอกบัวพร้อมก้าน ๓ ดอก ดอกกลาง ก้านตรง ขณะที่ดอกขา้ งท้งั ๒ ลดระดบั ลงมา และหกั มมุ เฉยี งออกด้าน วงกลม รอบนอกพ้ืนสีขาว ด้านบนมีอกั ษรยอ่ ภาษาไทย “ม.ป.ธ.ส.” ด้านล่างเปน็ อักษร ย่อภาษาองั กฤษ “P A D A F”๔๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๐ ตราสัญลักษณโ์ รงเรียนวัดธรรมจักรวทิ ยา รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. พระพุทธรปู พระพทุ ธศาสนา ๒. ธรรมจักร - โดยนัยสะท้อนให้เป็นว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีพระพุทธศาสนาเป็น แกนกลาง ยกพระพุทธเจา้ ไวใ้ นฐานะส่งิ เคารพสงู สดุ คาอธบิ าย เปน็ ตราธรรมจกั รมพี ระพุทธธรรมจักรอยู่ด้านบนเปล่งรัศมี ซ่ึงเปน็ พระพุทธรูป ประจาอุโบสถวัดธรรมจกั ร มอี ายุ ๗๐๐ กว่าปี มีรศั มี มี พ.ศ.๒๕๔๐ หมายถงึ ปี ทเี่ ปดิ โรงเรียน เป็นตราประจาโรงเรียน๔๓ ๔๒ เ ป รี ย ญ ธ ร ร ม ส ม า ค ม แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย , [อ อ น ไ ล น์ ], แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.ybat.org/v4/aboutus.asp#a1 [๑๒ มนี าคม ๒๕๕๗]. ๔๓ ประวัติโรงเรียน, [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://www.watdhammacakvidaya.ac.th/data- 885.html [๑๒ มีนาคม ๒๕๕๗].

๑๐๐ สรุป ตัวอย่างสัญลักษณ์สถาบัน หรือองค์กรทางพระพุทธศาสนา พบสัญลักษณ์ท่ีสื่อถึง พระพุทธศาสนาจากสัญลักษณ์ด้านการปกครองจานวน ๕ ตัวอย่าง, สัญลักษณ์ด้านการศึกษา ๔ ตวั อยา่ ง และสญั ลกั ษณอ์ งคก์ รทางพระพุทธศาสนา ๖ ตัวอยา่ ง รวม ๑๕ ตัวอย่าง ในจานวนนี้เป็นสัญลักษณ์ท่ีแสดงนัยต่าง ๆ อันเนื่องด้วยพระพุทธศาสนา จานวน ๕ ลกั ษณะ ได้แก่ ๑) แสดงหลักธรรม หรือข้อธรรมสาคญั จานวน ๓ รูปสัญญะ ๒) แสดงการสญั ลักษณ์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๒ รูปสัญญะ ๓) แสดงนัยยะทางการปกครองท่ียึดหลักธรรมเป็นแกน หลัก จานวน ๕ รูปสัญญะ ๔) แสดงนัยยะแห่งองค์ท่ียึดหลักคาสอนทางศาสนาเป็นหัวใจสาคัญ จานวน ๗ รปู สัญญะ และ ๕) แสดงนัยยะสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา จานวน ๒ รปู สัญญะ ๔.๔ สญั ลกั ษณ์ประจาจังหวัด ๔.๔.๑ ตราสญั ลักษณ์ประจาจังหวดั ตราสัญลกั ษณ์ประจาจังหวัด หมายถึง สัญลักษณท์ ่ีใช้เปน็ เคร่ืองหมายส่ือถงึ จังหวัด นั้น ๆ ซึ่งในการออกแบบ มักนิยมใช้วัตถุ เครื่องหมาย สถานที่ หรือบุคคลท่ีมีความเกี่ยวข้องกับ ประวัติศาสตร์ที่สามารถสะท้อนความเป็นมา หรือเอกลักษณ์ของจังหวัดจนเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ของคนในจังหวัดนั้น ๆ ปัจจุบัน ประเทศไทยมีทั้งหมด ๗๗ จังหวัด ในจานวน ๗๗ จังหวัดน้ี มีจังหวัดท่ีมี สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาเป็นส่วนหน่ึง หรือท้ังหมดในตราสัญลักษณ์น้ัน จานวนท้ังส้ิน ๒๖ จังหวัด ดังรายละเอียดไล่ตามลาดับอักษรดังปรากฎในภาพประกอบที่ ๔.๓๑, ๔.๓๒, ๔.๓๓, ๔.๓๔, ๔.๓๕, ๔.๓๖, ๔.๓๗, ๔.๓๘, ๔.๓๙, ๔.๔๐, ๔.๔๑, ๔.๔๒, ๔.๔๓, ๔.๔๔, ๔.๔๕, ๔.๔๖, ๔.๔๗, ๔.๔๘, ๔.๔๙, ๔.๕๐, ๔.๕๑, ๔.๕๒, ๔.๕๓, ๔.๕๔, ๔.๕๕ และ ๔.๕๖ ตามลาดบั ภาพประกอบที่ ๔.๓๑ จงั หวัดกาญจนบุรี รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระเจดีย์ พระพุทธศาสนา - โดยนัยเปน็ การใชร้ ูปเจดยี ์ทางศาสนาเป็นสญั ลักษณ์สาคัญทางประวัตศิ าสตร์ คาอธิบาย เป็นรูปพระเจดีย์ ๓ องค์พระเจดีย์ ๓ องค์นี้ตั้งอยู่ในหมู่บ้านพระเจดีย์สามองค์ ตาบลหนองลู อยู่ห่างจากอาเภอสังขละบุรีประมาณ ๒๕ เมตร เป็นเจดีย์ทรง มอญ ทาสีขาว กอ่ อิฐถอื ปูน ฐานรปู เปน็ สี่เหล่ยี มจตั ุรัส มีขนาดฐานเทา่ กันท้ัง ๓ องค์ สูง ๖ เมตร อยู่ห่างกันประมาณ ๕ เมตร๔๔ ถือเป็นที่มีความสาคัญของ ๔๔คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภมู ปิ ัญญาจงั หวัดกาญจนบรุ ี, (กรงุ เทพมหานคร: คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมาย เหตใุ น คณะอานวยการจดั งานเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวฯ จดั พมิ พ์, ๒๕๔๒), หนา้ ๑๔๒.

๑๐๑ ประเทศไทยด้านตะวนั ตก เพราะเปน็ ด่านเดินทพั ในการทาสงครามระหว่างไทย กบั พมา่ มา ๓ สมยั คือ อยธุ ยา กรุงธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร์๔๕ ภาพประกอบที่ ๔.๓๒ จงั หวดั ขอนแกน่ รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง เจดยี บ์ รรจพุ ระองั คารของพระพุทธเจ้า พระพุทธศาสนา - โดยนัยเป็นการเชิดชูสิง่ สาคญั ทางพระพุทธศาสนา คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปเจดีย์เก่าครอบตอมะขาม มีต้นไม้ขนาบซ้าย-ขวา ถือ เป็นพระธาตุท่ีชาวบ้านให้ความเคารพกราบไหว้ และบูชาตลอดมา เพราะเชื่อ กันว่าเปน็ ทบ่ี รรจพุ ระองั คาร (ขเี้ ถ้ากระดกู ) ของพระพุทธเจ้า๔๖ ภาพประกอบที่ ๔.๓๓ จงั หวัดฉะเชิงเทรา รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง รปู พระอุโบสถอันเป็นทปี่ ระดษิ ฐสถานพระพุทธโสธร พระพทุ ธศาสนา - โดยนัยเป็นการประกาศสถานทีส่ าคญั ของจังหวดั คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระอุโบสถ (สัญลักษณ์เดิมเป็นพระอุโบสถหลังเก่า แต่ ตอ่ มาทางการได้แก้ไขเป็นรูปพระอุโบสถหลังใหม่ท่ีเห็นอยูป่ ัจจุบนั ) ที่ประดษิ ฐ สถานพระพุทธโสธรพระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง เป็นท่ีเคารพนับถือของ ประชาชนท้ังในจังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดอ่ืน ๆ สอดคล้องกับคาขวัญ ประจาจังหวัดเดิมท่ีว่า “เมืองธรรมะ พระศักด์ิสิทธิ์...”๔๗ ใหม่ว่า “แม่น้าบาง ปะกงแหลง่ ชวี ิต พระศกั ดิส์ ิทธหิ์ ลวงพ่อโสธร...”๔๘ ๔๕คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณ์ และภมู ปิ ญั ญาจังหวดั กาญจนบุรี,หนา้ ๑๔๑. ๔๖คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวดั ขอนแก่น, (กรงุ เทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมาย เหตใุ น คณะอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ฯ จัดพมิ พ์, ๒๕๔๒),หน้า ๒๒๙, ๒๓๘. ๔๗คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณ์ และภูมิปญั ญาจังหวัดฉะเชิงเทรา, (กรงุ เทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมาย เหตุใน คณะอานวยการจัดงานเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ฯ จดั พิมพ์, ๒๕๔๒),หน้า ๒๒๙, ๑๙๔. ๔๘อดุ ม เชยกวี งศ,์ ๗๗ จงั หวัด, (กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์ภูมิปัญญา, ๒๕๕๔), หน้า ๖๓.

๑๐๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๔ จังหวดั ชยั นาท รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระธรรมจักร พระพุทธศาสนา -โดยนยั เปน็ การยกย่อง เชดิ ชูพระพุทธศาสนา คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระธรรมจักร รองรับด้วยพญาครุฑ มีแม่น้าและภูเขาอยู่ เบ้ืองหลัง รูปพระธรรมจักรนี้ หมายถึง สัญลักษณ์รูปพระธรรมจักรที่ฝ่าพระ หัตถ์ด้านขวาของหลวงพ่อธรรมจักร (พระพุทธรูปปางห้ามญาติ) ท่ีประดิษฐ์ ฐาน ณ พระวหิ าร วดั ธรรมามูลวรวิหาร ตั้งอยบู่ นใหล่เขาธรรมามูล๔๙ ภาพประกอบที่ ๔.๓๕ จงั หวัดเชยี งใหม่ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง เรอื นแกว้ รูปเสมา พระพุทธศาสนา - โดยนัยเปน็ การสะทอ้ นความสาคญั ของพระพุทธศาสนาต่อชุมชน คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปช้างเผือกในเรือนแก้ว หมายถึง ช้างเผือกแรกของกรุง รัตนโกสินทร์ ซ่ึงเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ในอดีตนาข้ึนทูลเกล้าฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ส่วนเรือนแก้วรูปเสมา หมายถึงดินแดนพระพทุ ธศาสนาเจรญิ รุ่งเรอื ง๕๐ ภาพประกอบที่ ๔.๓๖ จงั หวดั นครปฐม รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระปฐมเจดีย์ พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นยี สถานทส่ี าคญั ของจังหวัด ๔๙คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณ์ และภมู ปิ ัญญาจงั หวัดชัยนาท, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ใน คณะอานวยการจดั งานเฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ฯ จดั พิมพ์, ๒๕๔๒), หน้า ๒๓๓. ๕๐วิสทิ ธิ์ โรจนพ์ จนรัตน์ และคณะ, ความรู้รอบตวั , (กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์ พ.ศ.พัฒนา จากดั , ๒๕๕๕), หนา้ ๓๗๑.

๑๐๓ คาอธบิ าย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระปฐมเจดีย์ และเคร่ืองหมายเลข ๔ ในพระมหาพิชัย รปู สัญญะ มงกุฎหมายถึง พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ผู้ทรงอุปถัมภ์สร้างองค์ พระปฐมเจดีย์ต่อเติม ให้สงู ใหญส่ ง่างาม ตามท่ีปรากฏอยใู่ นปัจจบุ ัน ซึง่ ทง้ั หมด ประดิษฐานอยูต่ รงกลางองค์พระปฐมเจดีย์๕๑ ภาพประกอบที่ ๔.๓๗ จังหวดั นครพนม สัญลักษณ์ทาง พระธาตพุ นม พระพุทธศาสนา - โดยนัยแสดงปชู นยี สถานทีส่ าคญั ของจงั หวัด คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์ เป็นรูปพระธาตุพนม ซ่ึงเป็นที่บรรจุพระอุรังคธาตุหมายถึง จังหวัดนครพนมมีองค์พระธาตุพนม ซ่ึงเป็นพระธาตุเจดีย์อันศักดิ์สิทธ์ิ ภายใน บรรจุพระอรุ ังคธาตุเป็นที่สักการะ ศูนย์รวมจติ ใจ ความศรทั ธาของชาว จังหวัด นครพนมถือเป็นสิ่งศักดสิ์ ทิ ธิ์คู่เมอื งนครพนมมา แตโ่ บราณกาลกว่า ๒๕๐๐ปี๕๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๘ จังหวดั นครศรีธรรมราช รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระบรมธาตุ พระพุทธศาสนา - โดยนัยแสดงปูชนยี สถานที่สาคญั ของจงั หวัด คาอธบิ าย ตราสัญลักษณ์เป็นวงกลม ๒ ช้ัน ชั้นในเป็นภาพพระบรมธาตุเจดีย์เปล่งรัศมี โดยรอบวงกลมชั้นนอกเป็นภาพสัตว์ตามปีนักษัตร หมายถึง เมือง ๑๒ นักษัตร หรือเมืองบริวาร ๑๒ เมอื งของอาณาจกั รนครศรธี รรมราชโบราณ๕๓ ๕๑สัญลักษณป์ ระจาจังหวัดนครปฐม, [ออนไลน์]: http://www.nakhonpathom.go.th [๕ กันยายน ๒๕๕๖]. ๕๒ ต ร า ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม , [อ อ น ไ ล น์ ]: http://203.172.205.25/ftp/intranet/mc41/special/panom.htm [๕ กันยายน ๒๕๕๖]. ๕๓คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดนครศรีธรรมราช, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ จดหมายเหตุใน คณะอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒), หน้า ๒๐๓.

๑๐๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๙ จงั หวดั น่าน รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตุแชแ่ หง้ พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนียสถานท่ีสาคญั ของจงั หวัด คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระธาตุแช่แห้ง ประดิษฐานอยู่บนหลังโคศุภราชตรา สญั ลกั ษณน์ ้ี สะท้อนถึงประวัติความเปน็ มาของการก่อตั้งเมอื งน่าน๕๔ ภาพประกอบที่ ๔.๔๐ จงั หวดั ปราจีนบรุ ี รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ตน้ พระศรมี หาโพธิ์ พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นยี วัตถุทีส่ าคญั ของจังหวัด คาอธิบาย สญั ลักษณ์เป็นรูปต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ปัจจุบันต้นศรีมหาโพธิ์ดังกลา่ วตั้งอยู่ที่วัด ต้นโพธิ์ศรีมหาโพธิ์ ตาบลโคกปีป เช่ือกันว่า เป็นต้นศรีมหาโพธิ์ท่ีสมณทูต อินเดียนามาจากพุทธคยาและปลูกเอาไว้จึงเป็นท่ีเคารพบูชา มีงานนมัสการ เป็นประจาทุกปี จึงถือเป็นสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคู่บ้านคู่เมืองของ จงั หวัดปราจีนบุรี และกลายเป็นสัญลกั ษณป์ ระจาจงั หวดั ดว้ ย๕๕ ภาพประกอบที่ ๔.๔๑ จังหวัดพะเยา รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรูปปางมารวิชยั (พระเจา้ ตนหลวง) พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนยี วตั ถทุ ีส่ าคัญของจงั หวัด ๕๔คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภมู ปิ ัญญาจงั หวดั น่าน, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตใุ น คณะอานวยการจดั งานเฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จดั พมิ พ์, ๒๕๔๒), หนา้ ๑๘๘. ๕๕คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภมู ิปญั ญาจังหวัดปราจีนบุรี, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมาย เหตใุ น คณะอานวยการจดั งานเฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒), หน้า ๒๓๗.

๑๐๕ คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หมายถึงพระเจ้าตนหลวง ซ่ึงเป็น พระพทุ ธรูปคบู่ ้านคู่เมืองที่สาคัญของจังหวัดพะเยา ปัจจุบันประดษิ ฐานอยู่ทว่ี ัด ศรีโคมคา เป็นพระศักด์ิสิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง ด้านบนมีลายกนกเรียงกัน ๗ ตัว หมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของ ๗ อาเภอ เบ้ืองลา่ งริมขอบดวงตราเปน็ ท้องน้า กวา้ นพะเยา มชี อ่ รวงข้าวประกอบอย่สู องขา้ ง หมายถึงอู่ข้าวอนู่ า้ ๕๖ ภาพประกอบที่ ๔.๔๒ จังหวัดพษิ ณุโลก รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธชินราช พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นียวัตถทุ ี่สาคัญของจงั หวัด คาอธบิ าย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระพุทธชินราช พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง และเป็น พระพุทธรูปท่ีมีลักษณะงดงามที่สุดของประเทศไทยสร้างขึ้นเมื่อพ.ศ. ๑๙๐๐ ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ณพระอุโบสถ์วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารใน เมืองพิษณุโลกเป็นพระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองจึงนามาเป็นสัญลักษณ์ ของจังหวัดสอดคล้องกับคาขวัญประจาจังหวัดว่า “พระพุทธชินราชงามเลิศ ถิ่นกาเนิดพระนเรศวร...”๕๗ ภาพประกอบที่ ๔.๔๓ จงั หวัดมกุ ดาหาร รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตุพนม พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นยี สถานทสี่ าคัญของจังหวดั คาอธบิ าย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปปราสาทสองนางสถิต ภายในปราสาทองค์กลาง มีแก้ว มุกดาอยบู่ นพาน ใต้พานรองรับด้วยผ้าทิพย์ ปราสาทองค์ริมข้างซ้ายและขวา มี ๕๖คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวดั พะเยา, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ใน คณะอานวยการจดั งานเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒),หนา้ ๒๑๖. ๕๗อุดม เชยกีวงศ,์ ๗๗ จังหวัด, หนา้ ๒๗๕.

๑๐๖ บายศรีเป็นเครื่องบูชา เบ้ืองหลังปราสาทมีพระธาตุพนม และแนวแสงอาทิตย์ สอ่ งแสงหลังหมูก่ ้อนเมฆ และมีเลข ๒๕๒๕ เปน็ ปีทย่ี กฐานะข้นึ เปน็ จังหวดั ๕๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๔ จงั หวดั ยโสธร รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตุอานนท์ พระพทุ ธศาสนา - โดยนัยแสดงปูชนียสถานที่สาคญั ของจังหวดั คาอธิบาย ตราสัญลักษณเ์ ปน็ รปู สิงห์คหู่ นั หนา้ เข้าหาพระธาตุอานนท์ ใตฐ้ านพระธาตุ มีดอกบัวรองรบั ซง่ึ มคี าอธบิ ายสญั ลักษณ์ดังน้ี๕๙ สิงห์ เป็นสัญลักษณ์การต้ังเมืองยโสธร คือ บ้านสิงห์ท่าเดิม ตาม พงศาวดารเมอื งยโสธร พระธาตุอานนท์ สร้างเม่ือ พ.ศ. ๑๒๑๘ ผู้สร้างคือเจตตานุวิน และจินดา ชานุ ทั้งคู่เป็นพ่ีน้องชาวเมืองเวียงจันทร์ ออกบวชได้ ๓๐ พรรษา ๒๕ วัน ได้ เดินธุดงค์มาถึงดอนปู่ปาวซึ่งเป็นท่ีเคารพกราบไหว้ของชาวเมือง จึงสร้างพระ เจดีย์ขน้ึ ฐานกวา้ ง ๔ วา สงู ๑๗ วาเศษ ทรวดทรงแบบพรหมส่ีหน้า ภาพประกอบที่ ๔.๔๕ จงั หวัดรอ้ ยเอด็ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง มหาเจดีย์ชยั มงคล สัญลกั ษณ์ความรงุ่ เรืองของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปบึงพลาญชัย ศาลหลักเมือง พระมหาเจดีย์ชัยมงคล ตัวเลข ๑๐๑ และรวงข้าวหอมมะลิมีความหมาย คือ พลาญชัย เป็นบึงน้าใส สะอาดตัง้ อยู่กลางเมืองบ่งบอกว่าประชาชนชาวจังหวัดรอ้ ยเอ็ดมีน้าใจโอบอ้อม อารีรกั ความสงบและมีความเป็นอยู่ที่เรยี บง่ายรวมทั้งเปน็ แหลง่ อาหารที่มีความ อุดมสมบูรณ์, ศาลหลักเมืองเป็นที่เคารพสักการะและเป็นศูนย์รวมจิตใจของ ๕๘คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปญั ญาจงั หวัดมุกดาหาร, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมาย เหตุใน คณะอานวยการจดั งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒), หน้า ๒๘๔. ๕๙คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภมู ิปญั ญาจงั หวดั ยโสธร, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ใน คณะอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวฯ จัดพมิ พ์, ๒๕๔๒), หน้า ๑๗๙.

๑๐๗ ชาวร้อยเอ็ด, พระมหาเจดีย์ชัยมงคลบ่งบอกถึงความเป็นเมืองแห่ง พระพุทธศาสนาที่เจริญรุ่งเรือง , ตัวเลข ๑๐๑แสดงถึงความเป็นเมืองใหญ่ใน อดีตที่ชื่อสาเกตนคร, รวงข้าวหอมมะลิเป็นผลิตผลทางการเกษตรชั้นเลิศท่ีมี ชอ่ื เสียงไปทั่วโลก จากท่งุ กลุ ารอ้ งไห้จังหวัดรอ้ ยเอ็ด๖๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๖ จังหวดั ลพบุรี รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง - พระปรางค์ ๓ ยอด ประสาทกลางเป็นท่ปี ระดิษฐานพระพุทธรูปปางนาคปรก พระพุทธศาสนา - ปราสาททศิ ใต้ประดษิ ฐานอวโลกิเตศวร - ปราสาทด้านทิศเหนอื ประดษิ ฐานพระนางปรัชญาปารมติ า คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระนารายณ์ประทับยืนหน้าพระปรางค์สามยอด เป็นการเฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราชท่ีสถาปนาลพบุรีเป็นเมอื ง หลวงแหง่ ใหม่ พระปรางค์ ๓ ยอดถือเป็นสัญลักษณ์ที่สาคัญของจังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่บน เนินดินใกล้ศาลพระกาฬ ตาบลท่าหิน อาเภอเมืองลพบุรี เป็นสถานท่ีประกอบ พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ สร้างด้วยศิลาแลง หินทราย และตกแต่งลวดลายปูนปั้นท่ีสวยงาม๖๑ ลักษณะเป็นปราสาทเขมร สมัยบายน สร้างขน้ึ ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันท่ี ๗ แตเ่ ดิมปราสาทประธานเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางนาคปรกทรงเครื่อง ปราสาททิศใต้ประดิษฐาน พระอวโลกิเตศวร ส่วนปราสาททางด้านทิศเหนือประดิษฐานพระนางปรัชญา ปารมิตา๖๒ ๖๐ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด ร้ อ ย เ อ็ ด . [อ อ น ไ ล น์ ] https://sites.google.com/site/organnj2gether/naeana-canghwad-rxyxed/b-saylaksn-praca-canghwad [๕ กันยายน ๒๕๕๖]. ๖๑คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณ์ และภูมปิ ัญญาจังหวัดลพบุรี, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ใน คณะอานวยการจัดงานเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ จดั พิมพ์, ๒๕๔๒), หน้า ๙๒. ๖๒พระปรางค์ ๓ ยอด, [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า: https://th.wikipedia.org/wiki [๕ กนั ยายน ๒๕๕๖].

๑๐๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๗ จงั หวัดลาปาง รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. ไกข่ าวกาลังขนั เพือ่ ปลกุ พระโพธิสตั ว์บาเพ็ญพระบารมี พระพุทธศาสนา ๒. พระเจดยี ์ทบี่ รรจพุ ระบรมเกษาธาตุของพระพุทธเจ้า คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปไก่ขาวอยู่ในมณฑป หมายถึง ไก่ขาวกาลังขันอยู่หน้า ประตูเมือง เพ่ือปลุกพระโพธิสัตว์ให้ทรงบาเพ็ญพระบารมีต่อไป แต่เดิมเมืองนี้ ช่ือ กุกกุฏนคร๖๓ ไก่ขาวเป็นสญั ลักษณ์ท่ีมีมาต้ังแตส่ มัยตานานเมืองลาปาง และได้กลายเป็น สัญลักษณ์สาคัญ ส่วนมณฑป หมายถึง ซุ้มมณฑปที่วัดพระธาตุลาปางหลวง เป็นศิลปกรรมล้านนาที่งดงามมาก วัดพระธาตุลาปางหลวง เป็นวัดคู่บ้านคู่ เมืองลาปาง มีองค์พระเจดีย์ที่บรรจุพระบรมเกษาธาตุของพระพุทธเจ้า เป็นที่ เคารพสักการะของพทุ ธศาสนิกชนทว่ั โลก๖๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๘ จงั หวดั ลาพนู รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตุหริภญุ ไชย พระพทุ ธศาสนา - โดยนัยแสดงปชู นียสถานทีส่ าคัญของจงั หวัด คาอธบิ าย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระธาตุหริภุญไชย ซึ่งถือเป็นเจดีย์สถานสาคัญ คูบ่ ้านค่เู มือง ต้ังอยู่ ณ วดั พระธาตหุ รภิ ุญไชยวรมหาวหิ าร ถือเป็นเจดีย์ ๑ ใน ๘ ที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ของไทย ๖๓วิสทิ ธ์ิ โรจน์พจนรัตน์ และคณะ, ความรูร้ อบตัว, หนา้ ๔๑๕. ๖๔สัญลักษณ์จังหวัดลาปาง, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.lampang.go.th/t_lampang /L1.htm [๕ กนั ยายน ๒๕๕๖].

๑๐๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๙ จงั หวดั เลย รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตศุ รสี องรัก พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนยี สถานที่สาคญั ของจังหวดั คาอธบิ าย พระธาตุศรีสองรัก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอาเภอด่านซ้าย ห่างจาก ตวั อาเภอประมาณ ๑ กิโลเมตร และห่างจากตวั จังหวัดประมาณ ๘๔ กิโลเมตร เป็นเจดีย์ก่อด้วยอิฐถือปูน ฐานส่ีเหล่ียมจตุรัส กว้างด้านละ ๑๑ เมตร สูง ๓๒ เมตร สร้างระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๑๐๓-๒๑๐๖ ในแผ่นดินสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ แห่งกรงุ ศรอี ยธุ ยา ภาพประกอบท่ี ๔.๕๐ จงั หวดั สกลนคร รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตเุ ชิงชมุ พระพทุ ธศาสนา - โดยนัยแสดงปชู นียสถานทสี่ าคญั ของจังหวัด คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระธาตุเชิงชุม เบ้ืองหลังคือหนองหาน หรือทะเล อสี าน พระธาตุเชิงชุมถอื เป็นปูชนยี สถานคบู่ ้านคู่เมืองมาแตโ่ บราณ เพราะเชอ่ื กัน ว่า เจดีย์น้ีก่อขึ้นสวมรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ในภัทรกัป นี้ คือ พระพุทธเจ้ากกสุ นั ธะ โกนาคมนะ กัสสปะ และโคตมะ นบั รวมถึงพระศรี อรยิ เมตไตรยพระพทุ ธเจ้าซ่ึงจะมาตรัสรใู้ นอนาคต๖๕ ภาพประกอบที่ ๔.๕๑ จงั หวัดสมุทรปราการ รปู สญั ญะ ๖๕คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดสกลนคร (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมาย เหตใุ น คณะอานวยการจดั งานเฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ฯ จดั พมิ พ์, ๒๕๔๒), หนา้ ๑๙๗.

๑๑๐ สัญลักษณ์ทาง พระสมทุ รเจดยี ์ พระพทุ ธศาสนา - โดยนัยแสดงปูชนียสถานท่สี าคัญของจังหวดั คาอธบิ าย ตราสัญลักษณ์ประกอบด้วยรูปพระสมุทรเจดีย์ และพระวิหาร ซึ่งเป็นปูชนีย สถานทางพระพุทธศาสนาของชาวสมุทรปราการ ภายในพระวิหารเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรปุ ปางห้ามสมทุ ร และพระพทุ ธประติมาชัยวัฒน์๖๖ ภาพประกอบที่ ๔.๕๒ จงั หวัดสระแกว้ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรูปบางสรงพระสรีระ ประทับยนื บนดอกบวั พระพทุ ธศาสนา - โดยนัยแสดงปชู นยี วตั ถทุ ส่ี าคัญของจงั หวดั คาอธบิ าย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระพุทธรูปปางสรงสรีระ ประทับยืนบนดอกบัว ด้านหลังเป็นโบราณสถาน ปราสาทเขาน้อยสีชมพูและมีภาพรัศมีพระอาทิตย์ อย่เู บ้อื งหลงั องค์พระ สระน้ามพี ระพุทธรูปปางสรงนา้ ฝน ประทบั ยนื บนดอกบวั หมายถึง ความ อุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้าและพืชพันธุ์ธัญญาหารต่าง ๆ, ภาพโบราณสถาน หมายถงึ ประสาทเขาน้อยสีชมพู โบราณสถานสาคัญอยู่ในเขตพ้ืนที่อาเภออรัญ ประเทศ จังหวัดสระแก้ว, ภาพพระอาทิตย์ยามรุ่งอรุณ หมายถึง การท่ีจังหวัด สระแก้วตง้ั อยทู่ างทศิ ตะวันออกของประเทศไทย๖๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๓ จงั หวัดสระบรุ ี รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระมณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาท พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นยี สถานทีส่ าคญั ของจงั หวัด ๖๖คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดสมุทรปราการ (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ จดหมายเหตุใน คณะอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒), หน้า ๓๒๑. ๖๗คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดสระแก้ว (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมาย เหตใุ น คณะอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ จัดพมิ พ์, ๒๕๔๒), หน้า ๒๑๑.

๑๑๑ คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรูปพระมณฑป ซ่ึงประดิษฐานบนไหล่เขาสัจจพันธคีรี รปู สญั ญะ หรอื เขาสุวรรณบรรพต มณฑปน้ีได้รับการก่อสร้างข้ึนเพื่อประดิษฐานรอยพระพุทธบาท ตั้งอยู่ท่ี วดั พระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร ตาบลขุนโขลน อาเภอพระพุทธบาท จังหวัด สระบรุ ี๖๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๔ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี สัญลักษณ์ทาง พระบรมธาตไุ ชยา พระพทุ ธศาสนา - โดยนัยแสดงปูชนยี สถานทสี่ าคญั ของจังหวดั คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นภาพเจดีย์พระบรมธาตุ หมายถึง องค์พระบรมธาตุไชยา ซ่ึง เป็นที่สักการะและรู้จักกันดีของประชาชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัด อื่น๖๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๕ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระแทน่ ศิลาอาสน์ พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นยี สถานที่สาคญั ของจังหวัด คาอธิบาย ตราสัญลักษณ์เป็นรปู พระแท่นศิลาอาสน์ในมณฑปซึ่งถือเป็นโบราณสถาน คู่บ้านค่เู มืองของอุตรดติ ถ์ ตราประจาจังหวัดอุตรดิตถ์ ออกแบบคร้ังแรกโดยพระพรหมวิจิตร เขียน ลายเส้นโดยนายอุณห์เศตวมาลย์ โดยทาเป็นรูปมณฑปประดิษฐานพระแท่น ๖๘คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดสระบุรี (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ใน คณะอานวยการจดั งานเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวฯ จดั พมิ พ์, ๒๕๔๒), หน้า ๑๘๐. ๖๙คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดสุราษฎร์ธานี (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ จดหมายเหตุใน คณะอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒), หน้า ๑๘๘.

๑๑๒ ศิลาอาสน์ ต่อมาทางราชการได้เพิ่มรายละเอียดโดยทารูปครุฑ ซ่ึงเป็นตรา แผ่นดิน และลวดลายกนกมาประกอบไว้ พร้อมท้ังเพิ่มตัวอักษร อุตรดิตถ์ เข้า ไว้ในตราด้วย๗๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๖ จังหวดั อานาจเจริญ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรปู มงคลมงิ่ เมอื งพระพทุ ธรูปคบู่ ้านคเู่ มือง พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนยี วัตถทุ ีส่ าคญั ของจงั หวัด คาอธิบาย ตราสัญลกั ษณ์ประกอบด้วย พระมงคลมิง่ เมอื ง ซง่ึ เปน็ พระพุทธรูปคบู่ ้านคู่เมอื ง และเป็นศูนย์รวมทางด้านจิตใจของชาวอานาจเจริญ ตามรูปตราสัญลักษณ์ ประจาจังหวัด จะมีรัศมีสว่างแผ่กระจายรอบพระเศียร หมายถึง พระพุทธานุ ภาพแห่งพระมงคลมิ่งเมือง ที่แผ่ใหป้ ระสบแต่ความสุข และความเจรญิ รงุ่ เรือง, ซ้ายขวาของพระมงคลมิ่งเมืองมีต้นไม้อยู่ ๒ ข้าง ถัดไปเป็นกลุ่มเมฆ และ ด้านล่างแถบปา้ ยบอกชอ่ื จังหวัดอานาจเจริญ๗๑ ๔.๔.๒ ธงสัญลกั ษณ์ประจาจังหวัด ธงสัญลักษณป์ ระจาจังหวัด หมายถึง แผ่นผ้าท่ีใช้เปน็ เครื่องหมายสื่อถึงจังหวัดนั้น ๆ ส่วนใหญ่นิยมใช้ตราสัญลักษณ์ประจาจังหวัด และแถบสีต่าง ๆ มาเป็นส่วนประกอบสาคัญในการ ออกแบบ ปัจจจุบัน ประเทศไทยมีทัง้ หมด ๗๗ จังหวัด ในจานวน ๗๗ จงั หวดั นี้ ในจานวนน้ี มี ธงสัญลักษณ์ประจาจังหวัดใช้สัญลักษณ์บางส่วนส่ือถึงพระพุทธศาสนา จานวนทั้งส้ิน ๒๖ จังหวัด ดังรายละเอียดปรากฎในภาพประกอบที่ ๔.๕๗,๔.๕๘,๔.๕๙,๔.๖๐,๔.๖๑,๔.๖๒,๔.๖๓,๔.๖๔,๔.๖๕, ๔.๖๖,๔.๖๗,๔.๖๘,๔.๖๙,๔.๗๐,๔.๗๑๔.๗๒,๔.๗๓,๔.๗๔,๔.๗๕,๔.๗๖,๔.๗๗,๔.๗๘,๔.๗๙,๔.๘๐ และ ๔.๘๑ ตามลาดบั ๗๐คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดอุตรดิตถ์, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมาย เหตุใน คณะอานวยการจดั งานเฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ฯ จดั พมิ พ์, ๒๕๔๒), หน้า ๒๔๐. ๗๑คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดอานาจเจริญ, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ จดหมายเหตุใน คณะอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒), หน้า ๑๓๒.

๑๑๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๗ ธงประจาจังหวดั กาแพงเพชร รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง สเี หลือง หมายถงึ ดนิ แดนรุ่งเรอื งด้วยพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงถึงความสาคญั ของพระพุทธศาสนา คาอธิบาย ลกั ษณะเป็นธงส่ีเหล่ียมผืนผ้า มี ๓ แถบสี แถบบนเปน็ พื้นสเี หลือง แถบกลางสี แดง และแถบล่างสุดเป็นสีเขียวใบไม้ มีรูปตราประจาจังหวัดกาแพงเพชรอยู่ ตรงกลางแถบสแี ดงมคี วามหมายดงั น้ี แถบสีเหลือง ขนาดกว้าง ๒ น้ิว ยาว ๑๐ น้ิว ส่ือสัญลักษณ์เป็นเมืองที่สร้างใน สมัยโบราณ มีปูชนียวัตถุ เก่ียวกับพระพุทธศาสนาอยู่มากแถบสีแดง ขนาด กว้าง ๓ นิ้ว ยาว ๑๐ นิ้ว สื่อสัญลักษณ์ถึงเลือดนักรบผู้กล้าแกร่ง ได้ทาศึก สงครามกับพม่าหลายคร้ังหลายหน มีกาแพงเมืองเปน็ ประจักษ์พยานของเมือง นักรบ แถบสีเขียวใบไม้ขนาดกว้าง ๒ นิ้ว ยาว ๑๐ น้ิว ส่ือสัญลักษณ์ถึงความ อุดมสมบรู ณ์ของพืชพนั ธ์ุธัญญาหาร และปา่ ไม้นานาชนดิ ๗๒ ภาพประกอบที่ ๔.๕๘ ธงประจาจังหวดั ขอนแก่น รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตุขามแกน่ พระพทุ ธศาสนา - โดยนัยแสดงปูชนยี สถานทส่ี าคญั ของจังหวดั คาอธบิ าย ลักษณะธงพื้นสีแดง ตรงกลางเป็นตราประจาจังหวัดคือ พระธาตุขามแก่น สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาที่ถูกนามาใช้ในธงสัญลักษณ์ประจาจังหวัดก็คือ พระธาตขุ ามแก่น ซงึ่ ถอื เป็นที่บรรจพุ ระอังคารของพระพุทธเจ้า๗๓ ๗๒คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมปิ ัญญาจังหวัดขอนแก่น, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมาย เหตุใน คณะอานวยการจดั งานเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวฯ จดั พมิ พ์, ๒๕๔๒), หน้า ๒๓๘. ๗๓คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดกาแพงเพชร, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ จดหมายเหตุใน คณะอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒), หน้า ๒๔๘.

๑๑๔ ภาพประกอบที่ ๔.๕๙ ธงประจาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง รปู อุโบสถทป่ี ระดษิ ฐานองคพ์ ระพทุ ธโสธร พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนียสถานทีส่ าคญั ของจังหวัด คาอธิบาย ลกั ษณะธงพ้นื สีแดงเลอื ดนก หมายถึงความเสยี สละ ความสามคั คี จากการต่อสู้ และได้มาซง่ึ ชยั ชนะของพระนเรศวรมหาราชในสมัยกรุงศรอี ยุธยา และพระเจ้า ตากสินมหาราชต่อสู้ชนะข้าศึกทั้งทางบกและทางน้า ตรงกลางธงมีตรา สัญลักษณ์ประจาจังหวัด รูปศาลากลางน้า หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ ความ ชุ่มช่ืน และองค์หลวงพ่อพุทธโสธรที่ล่องมาทางแม่น้าบางประกง กรอบ ข้อความ “จังหวัดฉะเชิงเทรา” บนพื้นสีเหลือง ซ่ึงหมายถึงสีประจารัชกาลท่ี ๙๗๔ ภาพประกอบที่ ๔.๖๐ ธงประจาจงั หวัดชัยนาท รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระธรรมจกั ร พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นียวตั ถทุ ส่ี าคัญของจงั หวัด คาอธิบาย ลักษณะธงพ้ืนสีบานเย็น ซ่ึงเป็นสีประจาจังหวัด กลางมีภาพตราประจาจังหวัด เป็นรูปพระธรรมจักร รองรับด้วยพญาครุฑ เบ้ืองหลังเป็นแม่น้าและภูเขา ซ่ึง หมายถึงสัญลักษณ์รูปพระธรรมจักรที่ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารวัดธรรมามูล วรวิหาร ต้งั อยูบ่ นไหล่เขาธรรมามลู ภาพประกอบที่ ๔.๖๑ ธงประจาจังหวดั เชียงใหม่ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง เรือนแก้ว หมายถงึ ดินแดนที่พระพุทธศาสนารุง่ เรอื ง พระพุทธศาสนา - โดยนยั ใช้สัญลกั ษณ์ทางพระพทุ ธศาสนาแทนประวัตศิ าสตรช์ ุมชน ๗๔ธงประจาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา, [ออนไลน]์ . แหล่งทมี่ า: http://www.province.chachoengsao.go. th /index.php/ [๑๐ กันยายน ๒๕๕๖].

๑๑๕ คาอธบิ าย ลักษณะธงพื้นสีฟ้า กลางธงมีรูปตราประจาจังหวัดเป็นรูปช้างเผือกหันหน้าตรง รูปสญั ญะ ในเรือนแก้ว ช้างเผือกตัวน้ีเป็นช้างท่ีเจ้าเมืองเชียงใหม่นามาทูลเกล้าถวายแด่ สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลท่ี ๒) และได้ขึ้นระวางเป็นช้างเผือก เอกในรัชกาล สว่ นเรือนแกว้ คือดินแดนทพี่ ระพุทธศาสนารุ่งเรอื ง๗๕ ภาพประกอบที่ ๔.๖๒ ธงประจาจังหวัดนครปฐม สัญลักษณ์ทาง พระปฐมเจดีย์ พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนยี สถานทสี่ าคญั ของจังหวดั คาอธบิ าย ลักษณะธงพ้ืนสีน้าเงิน กลางธงมีรูปพระปฐมเจดีย์ในวงกลมสีฟ้า เบื้องล่างมี ข้อความ \"นครปฐม\"๗๖อันเป็นตราสัญลักษณ์ประจาจังหวัดนครปฐม และถือ เ ป็ น ห ลั ก ฐ า น ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ที่ แ ส ด ง ถึ ง ห ลั ก ฐ า น ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น พระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมขิ องพระโสณะและพระอุตตระ๗๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๖๓ ธงประจาจงั หวดั นครพนม รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตุพนม พระพุทธศาสนา - โดยนัยแสดงปูชนยี สถานทีส่ าคัญของจงั หวดั คาอธบิ าย ลักษณะธงพื้นสีแดง-ดา แบ่งตามแนวนอน กลางธงมีตราพระธาตุพนม๗๘อัน เป็นตราสัญลักษณ์ประจาจังหวัด มีความหมายว่า จังหวัดนครพนม มีองค์พระ ธาตุพนมซ่ึงเป็นพระธาตุเจดีย์อันศักด์ิสิทธิ์ ภายในบรรจุพระอุรังคธาตุ เป็นที่ ๗๕ร า ช บั ณ ฑิ ต ย ส ถ า น , ต ร า ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่ , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=3276/ [๑๐ กันยายน ๒๕๕๖]. ๗๖รายชื่อธงประจาจังหวัดของไทย, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัด นครปฐม [๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖]. ๗๗สมเด็จกรมพระยาดารงราชานภุ าพ, ตานานพระพุทธเจดยี ์, (พระนคร: โรงพิมพ์ไทยพทิ ยา,๒๔๙๐), หน้า ๓๔. ๗๘รายช่ือธงประจาจังหวัดของไทย, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัด นครพนม [๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖].

๑๑๖ สักการะศูนย์รวมจิตใจ ความศรัทธาของชาว จังหวัดนครพนมถือเป็นสิ่ง ศกั ด์ิสิทธ์คิ ่เู มืองนครพนมมา แตโ่ บราณกาลกว่า ๒๕๐๐ปี๗๙ ภาพประกอบที่ ๔.๖๔ ธงประจาจงั หวัดนครศรีธรรมราช รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระบรมธาตไุ ชยา พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนยี สถานทสี่ าคัญของจงั หวดั คาอธิบาย ลักษณะรูปสัตว์ตาม ๑๒ นักษัตรสัญลักษณ์แทนหัวเมืองท้ัง ๑๒ เมืองประทับ อยู่ตรงกลางผืนธงสีม่วง-เหลืองแบ่งครึ่งตามแนวนอนภายในวงกลมมีพระมหา เจดีย์เปล่งรัศมีโดยรอบ สะท้อนคาขวัญประจาเมืองท่ีว่า “เราชาวนครฯ อยู่ เมืองพระ ม่ันอยู่ในสัจจะ ศีลธรรม กอปรกรรมดี มีมานะ พากเพียร ไม่ เบียดเบียน ทาอันตรายผ้ใู ด” ใตเ้ จดียม์ ขี อ้ ความ “จงั หวดั นครศรีธรรมราช”๘๐ ภาพประกอบที่ ๔.๖๕ ธงประจาจังหวัดนา่ น รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตแุ ช่แห้ง พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นยี สถานท่สี าคัญของจังหวัด คาอธบิ าย ลักษณะธงพื้นสีม่วง-เหลือง แบ่งตามแนวต้ัง กลางธงมีภาพตราสัญลักษณ์ ประจาจังหวัดเป็นรูปพระธาตุแช่แห้ง อันเป็นปูชนียสถานเก่าแก่ที่สาคัญ และ เป็นศูนย์รวมจติ ใจ คบู่ ้านคเู่ มืองของน่านตง้ั อยบู่ นโคอสุ ุภราช ภาพประกอบท่ี ๔.๖๖ ธงประจาจงั หวัดปทุมธานี รปู สญั ญะ ๗๙ตราประจาจังหวัดนครพนม, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา:http://203.172.205.25/ftp/intranet /mc41/special/panom.htm [๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๘๐คาขวัญประจาจังหวัดนครศรีธรรมราช, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://th.wikipedia.org/wiki/ [๒๖ ตลุ าคม ๒๕๕๖].

๑๑๗ สัญลักษณ์ทาง สขี าว หมายถึง พระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนา คาอธิบาย ลักษณะธงพื้นสีน้าเงิน-ขาว แบ่งครึ่งตามแนวต้ัง สขี าวหมายถึงศาสนา น้าเงิน หมายถึงพระมหาษัตริย์กลางธงมีภาพตราประจาจังหวัดเป็นรูปดอกบัว กับต้น ข้าว หมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร ความหมายโดยรวม ของธงประจาหวัดปทุมธานี จึงหมายถึง ชาวจังหวัดปทุมธานีเป็นหมู่คณะท่ีมี ความรัก และความสามัคคีเป็นปึกแผ่นเดียวกัน มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์๘๑ ภาพประกอบที่ ๔.๖๗ ธงประจาจังหวัดปราจีนบรุ ี รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ตน้ พระศรีมหาโพธิ์ พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นียวัตถทุ ส่ี าคัญของจังหวดั คาอธิบาย ขนาดพ้นื ธง กว้าง ๑.๕๐ม. ยาว ๒.๒๕ ม. ลกั ษณะพื้นธง ตอนตน้ มพี ้นื สีแดง ซึ่ง กาหนดเป็นสีประจาภาค ๒ กว้างยาวด้านละ ๑.๕๐ม. มีรปู ต้นโพธ์ิอยู่ในกรอบ วงกลมเส้นผ่าศนู ย์กลาง ๘๕ ซม.๘๒สว่ นท่ีถือเป็นสญั ลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา ก็คือต้นพระศรีมหาโพธท์ิ ี่อยู่ในตราประจาจังหวัด ภาพประกอบท่ี ๔.๖๘ ธงประจาจังหวดั พะเยา รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑.พระเจ้าตนหลวง พระพุทธศาสนา ๒.องคพ์ ระสเี หลอื งทอง หมายถึง ดินแดนท่ีร่งุ เรอื งดว้ ยดนิ แดนพระพุทธศาสนา คาอธิบาย ลักษณะธงพื้นสีบานเย็น หมายถึง มณฑลพายัพ บนพื้นธงประกอบด้วยสีเทา ฟ้า หมายถึง สภาพภูมิอากาสเยือกเย็น และความมีน้าใจโอบอ้อมอารีต่อผู้ไป เย่ียมเยือน องค์พระสีเหลืองทอง และตัวหนังสือ “จังหวัดพะเยา” บนแถบสี ทอง เป็นสัญลักษณ์ดินแดนที่รุ่งเรือง อยู่เย็นเป็นสุขในร่มเงาพระบวร ๘๑สญั ลกั ษณป์ ระจาจงั หวดั ปทมุ ธาน,ี [ออนไลน]์ : http://www.thaigoodview.com/node/17254 [๑๐ กนั ยายน ๒๕๕๖]. ๘๒ธงประจาจังหวัดปราจีน, [ออนไลน์]: http://www.prachinburi.go.th/thong_province.htm [๑๐ กนั ยายน ๒๕๕๖].

๑๑๘ พระพุทธศาสนา สีเขียว หมายถึง ความสดช่ืน งอกงามแห่งพืชพันธุ์ ธัญญาหาร๘๓กลางธงมีรูปตราประจาจังหวัด รูปพระเจ้าตนหลวงวัดศรีโคมคา ประทับอยูเ่ หนือกวา้ นพะเยา๘๔ ภาพประกอบที่ ๔.๖๙ ธงประจาจงั หวดั พิษณโุ ลก รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธชนิ ราช พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนยี สถานที่สาคญั ของจังหวดั คาอธิบาย พ้นื ธงพื้นสีม่วง กลางธงเปน็ ตราประจาจงั หวดั รูปพระพุทธชินราชในวงกลม๘๕ ภาพประกอบที่ ๔.๗๐ ธงประจาจังหวัดแพร่ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง วัดพระธาตุช่อแฮ พระพุทธศาสนา - โดยนัยแสดงปูชนยี สถานท่สี าคัญของจังหวดั คาอธบิ าย ลักษณะเป็นธงพ้ืนสีน้าตาล-แดง แบ่งตามแนวตั้งตรงกลางเป็นรูปวงกลมมีวัด พระธาตุช่อแฮ๘๖ซึ่งถือเป็นทปี่ ระดิษฐานพระธาตุช่อแฮ โบราณสถาน ท่ีสาคัญ ของจงั หวดั ตรงกลาง ดา้ นล่างมขี อ้ ความ “จงั หวดั แพร่” ๘๓คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภมู ิปญั ญาจังหวดั พะเยา, หน้า ๒๑๖. ๘๔รายชอื่ ธงประจาจังหวัดของไทย, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: th.wikipedia.org/wiki [๖ กันยายน ๒๕๕๖]. ๘๕รายชื่อธงประจาจังหวัดของไทย, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: th.wikipedia.org/wiki [๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๘๖รายชื่อธงประจาจังหวัดของไทย, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: th.wikipedia.org/wiki [๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖].

๑๑๙ ภาพประกอบที่ ๔.๗๑ ธงประจาจงั หวดั ยะโสธร รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตอุ านนท์ พระพุทธศาสนา - โดยนัยแสดงปูชนยี สถานทสี่ าคญั ของจงั หวดั คาอธิบาย รปู พระธาตุอานนท์มีสิงห์ขนาบสองข้าง เหนือรูปดอกบัวบาน บนพ้ืนธงสีชมพู- ฟ้า แบ่งครึ่งตามแนวนอนโดยทส่ี ีชมพูอย่ดู ่านบน สีฟา้ อยดู่ ้านล่าง๘๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๗๒ ธงประจาจังหวัดลพบุรี รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระปรางคส์ ามยอด พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นยี สถานทสี่ าคญั ของจังหวัด คาอธิบาย ลักษณะธงเป็นสีเ่ หล่ียมผืนผ้า ขนาดความกว้าง ๘๐ ซม. ยาว ๑๒๐ ซม. พ้ืนธง มี ๓ แถบ แถบสีขาวอยู่ตรงกลาง น้าเงินอยู่บนสุดและล่างสุด ตรงกลางของธง มีรูปวงกลมเป็นตราสัญลักษณ์ประจาจังหวัด เป็นรูปพระนารายณ์สี่กรประทับ ยืนบนพระแท่น หน้าพระปรางค์สามยอด มีคาว่า ลพบุรีอยู่บนแถบคร่ึงวงกลม ด้านลา่ ง ภาพประกอบที่ ๔.๗๓ ธงประจาจงั หวัดลาปาง รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. ไกข่ าวกาลังขันปลกุ พระโพธิสตั วใ์ หล้ ุกขนึ้ บาเพญ็ เพยี ร พระพุทธศาสนา ๒. ซุ้มมณฑปวัดพระธาตลุ าปางหลวง คาอธบิ าย ธงพน้ื สีฟ้าหมน่ กลางธงมีรปู ตราประจาจังหวดั เป็นรปู ไกย่ ืนอยู่ในประตูวัดพระ ธาตลุ าปางหลวง ๘๗ธงประจาจังหวัดยโสธร, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.yasothon.go.th/web/provincial /provincial2.html [๒๖ ตลุ าคม ๒๕๕๖].

๑๒๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๗๔ ธงประจาจงั หวัดลาพนู รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระบรมธาตหุ ริภุญไชย พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนียสถานท่สี าคัญของจงั หวัด คาอธบิ าย ธงพื้นสฟี ้า กลางธงมรี ูปวงกลมตราประจาจงั หวัด เป็นรปู พระธาตหุ ริภญุ ไชย ภาพประกอบท่ี ๔.๗๕ ธงประจาจงั หวัดเลย รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตศุ รีสองรัก พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนียสถานท่สี าคญั ของจงั หวดั คาอธบิ าย กลางมีตราพระธาตุศรีสองรักอันเป็นตราประจาจังหวัดซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ สาคัญที่แสดงให้เห็นถึงมิตรภาพอันดีงามระหว่างพระมหากษัตริย์ไทย (กรุงศรี อโยธยา) กับลาว (กรุงศรีสัตนาคนหุต) ในอดีต ท่ีตั้งกัลยาณจิตร่วมกันว่าจะไม่ รบราฆา่ ฟนั กนั ตลอดไป ภาพประกอบท่ี ๔.๗๖ ธงประจาจังหวัดสกลนคร รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระธาตเุ ชงิ ชุม พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นยี สถานทส่ี าคัญของจังหวดั คาอธบิ าย ธงพนื้ สนี ้าเงนิ และสเี หลือง แบ่งคร่ึงตามแนวนอน มรี ปู พระธาตุเชิงชมุ ในวงกลม เบ้อื งล่างของตราในแถบสเี หลอื งมขี อ้ ความ \"จงั หวัดสกลนคร\"๘๘ ๘๘ธงประจาจังหวัดสกลนคร, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: th.wikipedia.org/wiki/ [๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๖].

๑๒๑ ภาพประกอบที่ ๔.๗๗ ธงประจาจังหวัดสมุทรปราการ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระสมทุ รเจดีย์ พระพทุ ธศาสนา - โดยนยั แสดงปูชนียสถานที่สาคญั ของจังหวัด คาอธบิ าย ธงพ้ืนสีฟ้า กลางมีภาพตราพระสมุทรเจดีย์หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกทั่วไปว่า “พระเจดีย์กลางน้า” เพราะเดิมตั้งอยู่บนเกาะกลางแม่นา้ ปัจจุบันพระเจดีย์น้ี ตงั้ อยู่ทีว่ ัดพระสมุทรเจดีย์ ตาบลปากคลองบางปลากด อาเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ถือเป็นปูชนียสถานท่ีสาคัญของชาวสมุทรปราการมาแต่ เดิม กระท่ังกลายเป็นสัญลักษณ์สาคัญของจังหวัด ทั้งในรูปของตราประจา จังหวัด ธงประจาจงั หวัด และคาขวญั ประจาจังหวดั ๘๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๗๘ ธงประจาจงั หวัดสระบุรี รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง มณฑประดิษฐานรอยพระพทุ ธบาท พระพุทธศาสนา - โดยนยั แสดงปชู นียวัตถทุ ส่ี าคัญของจังหวดั คาอธบิ าย ธงพื้นสีแดง ตรงกลางเป็นรูปตราประจาจังหวัดซึ่งมีรูปมณฑปอันเป็นสถานท่ี สาคัญ และเป็นสถานท่ีเคารพสูงสุดของชาวสระบุรี เพราะปลูกขึ้นครอบรอย พระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า ปัจจุบันตั้งอยู่ท่ีวัดพระพุทธบาทราช วรมหาวหิ าร ตาบลขุนโขลน อาเภอพระพทุ ธบาท จงั หวดั สระบรุ ี ภาพประกอบที่ ๔.๗๙ ธงประจาจงั หวดั สุโขทยั รูปสญั ญะ ๘๙“ป้อมยุทธนาวี พระเจดีย์กลางน้า ฟาร์มจระเข้ใหญ่ งามวิไลเมืองโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลิดแห้งรสดี ประเพณีรับบัว ครบถ้วนทั่วอุตสาหกรรม” ดู อุดม เชยกีวงศ์, ข้อมูลทางประวัติศาสตร์และ สิ่งแวดล้อมที่ควรศกึ ษา ๗๗ จงั หวัด, หน้า ๔๒๗.

๑๒๒ สัญลักษณ์ทาง สีเหลือง หมายถึงพระพทุ ธศาสนาเจรญิ รุ่งเรอื ง พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย ธงพ้ืนสีแดง-เหลือง-เขียว แบ่งตามแนวนอน แถบสีเหลืองน้ันกว้างเป็น ๒ เท่าของแถบสีแดงและสีเขียว ที่มุมธงดา้ นคนั ธงมตี ราประจาจังหวัด เป็นรูปพ่อ ขุนรามคาแหงมหาราชประทับบนพระแท่นมนังคศิลาอาสน์ความหมายของธง สญั ลักษณ์ประจาจงั หวัดสุโขทัย มคี าอธบิ ายประกอบดังน้ี๙๐ สีแดง หมายถึง พ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้แผ่ขยายอาณาเขตออกไปได้ อย่างกว้างขวาง สีเหลือง หมายถึง พระพุทธศาสนา ในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานีได้ ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาจนเจริญรุ่งเรืองและนิมนต์พระสังฆราชจากลังกามา ปรับปรุงกิจการคณะสงฆ์ให้เป็นระเบียบเรียบร้อยต้องตามพุทธบัญญัติ และ เปน็ ครั้งแรกท่ีพระมหากษตั รยิ ์เสด็จออกทรงผนวช สีเขียว หมายถึง การเกษตร ซึ่งเป็นอาชีพหลักของคนไทยสมัยสุโขทัย เปน็ ราชธานี ภาพประกอบท่ี ๔.๘๐ ธงประจาจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง สีเหลือง หมายถึง ความเจรญิ รุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา คาอธบิ าย แถบบนสีแสด แถบล่างสีเหลือง และมีสัญลักษณ์ประจาจังหวัดคือรปู เจดีย์พระ บรมธาตุไชยากลางผืนธง๙๑เป็นศิลปะแบบศรวี ิชัย ต้ังอยู่ทวี่ ัดพระบรมธาตุไชยา ราชวรวหิ าร สรา้ งข้ึนประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๔ เป็นที่บรรจุพระบรมสา รีรกิ ธาตของสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ๙๐ธงประจาจังหวัดสุโขทัย, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.sukhothai.go.th/sukhothai/ index.php/th/2012-08-27-13-48-54/2012-08-16-06-32-01/2012-08-17-04-06-48 [๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๙๑ข้อมูลจังหวัดสุราษฎร์ธานี, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://www.suratthani.doae.go. th/newweb /data2/link/file-surat.pdf [๒๖ ตลุ าคม ๒๕๕๖].

๑๒๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๘๑ ธงประจาจงั หวดั หนองบัวลาภู รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง สขี าวของธง หมายถึง แผ่นดินธรรม และความบริสทุ ธ์ิ พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย ธงพ้ืนสีขาว หมายถึงแผ่นดินธรรม๙๒และความบริสุทธ์ิของธรรมชาติ กลางธงมี ตราประจาจงั หวัด เบ้ืองลา่ งของตรานน้ั มีรูปแถบผา้ ขมวดปมทีต่ อนต้นและตอน ปลายแสดงถึงความสามัคคี๙๓ภายในมีข้อความ \"จังหวัดหนองบัวลาภู\"บนพื้นสี ชมภู ซึง่ ถอื เป็นสีประจาจงั หวดั หมายถงึ ดินแดนแห่งดอกบัวท่งี ดงาม๙๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๘๑ ธงประจาจังหวัดอตุ รดติ ถ์ รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระแทน่ ศลิ าอาสน์ พระพุทธศาสนา - โดยนัยแสดงปูชนยี วตั ถทุ ่ีสาคญั ของจังหวดั คาอธิบาย ลักษณะรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง ๑๒๐ เซนติเมตร ยาว ๑๘๐ เซนติเมตร มีพื้นสีแสดคาดแถบสีม่วงแก่ ขนาด ๗๐ เซนติเมตร ๒ ร้ิวตัดผ่านกลางผืนธง เป็นรูปกากบาท และตรงกลางผืนธงมีเคร่ืองหมายดวงตราประจาจังหวัด มี สัญลักษณเ์ ป็นพระแท่นศิลาอาสน์มีมณฑปสีเหลือครอบอยู่ สองขา้ งมณฑปเป็น ลวดลายกนกส่ีน้าเงินเข้ม ด้านหน้ามณฑปมีรูปครุฑสีแดง ทั้งหมดบรรจุอยู่ใน กรอบวงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๗๐ เซนติเมตร ด้านล่างมีตัวหนังสือช่ือ จังหวัด เส้นรอบขอบวงกลมมีริ้วแถบของด้านนอกสุดเป็นสีเหลืองขนาด ๒ เซนติเมตร ริ้วแถบของด้านในเป็นสีแดงขนาด ๑ เซนติเมตร ส่วนในกรอบ ๙๒สอดคลอ้ งกับคาขวัญประจาจังหวัดที่ว่า “.....แผ่นดินธรรมหลวงปขู่ าว...” ดู คาขวญั ประจาจังหวัด [ออ น์ ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www. nongbualamphu.go.th/th/index.php?option=com_content & view=article&id=52:2011-04-07-07-14-43&catid=42:2011-04-07-07-10-26&Itemid=67[๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๙๓พระแท่นศลิ าอาสน์, [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า: th.wikipedia.org/wiki [๒๒ ตลุ าคม ๒๕๕๖]. ๙๔สีประจาจังหวัดหนองบัวลาภู, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http:// www. nongbualamphu.go. th /th/index.php?option=com_content&view=article&id=49:2011-04-07-07-13-27&catid=42:2011-04- 07-07-10-26&Itemid=67 [๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๖].

๑๒๔ ตัวหนังสือชื่อจังหวัดพ้ืนสีเหลืองขอบสีแดงตัวหนังสือสูง ๖ เซนติเมตร ปักสี แดง๙๕ สรุป สัญลักษณ์ประจาจังหวัดพบ ๕๒ ตัวอย่างที่มีสัญลักษณท์ างพระพุทธศาสนาปรากฏ อยู่ในฐานะเป็นส่วนหน่ึง หรือทั้งหมดของตราสัญลักษณ์ โดยแบ่งเป็นตราสัญลักษณ์ประจาจังหวัด จานวน ๒๖ จงั หวัด และธงประจาจงั หวดั จานวน ๒๖ จังหวดั ในจานวน เป็นสัญลกั ษณท์ ีแ่ สดงสาคญั ทีเ่ กีย่ วข้องกับพระพุทธศาสนาจานวน ๗ ลักษณะ ได้แก่ ๑) ใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาแทนเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์ จานวน ๒ รูปสัญญะ ๒) ใช้ปูชนียวัตถุทางพระพุทธศาสนาแทนสัญลักษณ์ประจาจังหวัด จานวน ๗ รูปสัญญะ ๓) ใช้ปูชนียสถานทางพระพุทธศาสนาแทนสัญลักษณ์ประจาจังหวัด จานวน ๓๖ รูปสัญญะ ๔) ใช้ สัญลักษณ์จงั หวัดแทนการยกยอ่ งย่องเชดิ ชพู ระพุทธศาสนา จานวน ๑ รูปสัญญะ ๕) ใช้สัญลกั ษณ์อ่ืน สะท้อนความสาคัญทางพระพุทธศาสนา จานวน ๓ รูปสัญญะ ๖) ใช้สัญลักษณ์อื่นสะท้อนความ รุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา จานวน ๔ รูปสัญญะ และ ๗) ใช้คติทางพระพุทธศาสนาแสดงเป็น สัญลักษณ์ประจาจงั หวัด จานวน ๒ รูปสญั ญะ ๔.๕ สญั ลักษณท์ างพระพทุ ธศาสนาในจติ รกรรม จิตรกรรม เป็นศิลปะประเภทหน่ึงในทัศนศิลป์ เกี่ยวกับการเขียนภาพ วาดภาพ ซ่ึงเป็น วิชาพ้ืนฐานของวิชาช่างศิลป์ประเภทต่าง ๆ โดยการใช้เส้น สี แสง เงา ผิว รูปแบบ เพื่อถ่ายทอด ความรู้สึกนึกคิด และศรัทธาของช่างเขียนออกมาเป็นรูปธรรม จิตกรรมเกิดจากการเขียนด้วยดินสอ หมึก สนี ้า สีฝุน่ สนี ้ามัน เขียนด้วยเส้นทอง เสน้ เงิน หรือเปิดทองคาเปลว ในการเขียนอาจเขียนด้วยสี เดียวที่เรียกว่า เอกรงค์ หรือหลายสีที่เรียกว่า พหุรงค์ เขียนเป็นลายเส้น หรือระบายสีลงบนวัสดุต่าง ๆ เชน่ กระดาษ ผ้า ไม้ งา เงนิ ทอง กระจก กระเบื้อง เครอื่ งดินเผา หิน ผนงั ปนู ๙๖ สญั ลกั ษณท์ างพระพุทธศาสนาท่ีปรากฏในงานจิตรกรรมพบเห็นโดยท่ัวไป สะท้อนให้เห็น วา่ คนไทยมีความผูกพันกบั พระพุทธศาสนามาตัง้ แต่โบราณ ครั้นได้สร้างถาวรวัตถุไมว่ ่าจะเปน็ โบสถ์ กุฏิ วิหาร เจดีย์ ศาลาการเปรียญ จึงมักนิยมสร้างงานจิตรกรรมฝาผนังเพื่อเล่า หรือเสนอเร่ืองราว เกี่ยวกับชาดกบ้าง พทุ ธประวัตบิ ้าง หลกั ธรรมคาสั่งสอนบา้ ง นอกจากน้ี ภาพจิตรกรรมยังเป็นตานานอันซ่ือสัตย์ท่ีจารึกเร่ืองราวอันเป็นจริง จารีต ประเพณี และระเบียบแบบแผนท่ีมีอยู่ในอดีต ด้วยเหตุนี้ ภาพจิตรกรรมจึงมีคุณค่าไม่เฉพาะด้าน สนุ ทรยี ะเท่าน้ัน หากแต่ยงั มีคณุ ค่าทางประวตั ิศาสตร์ของชาตดิ ว้ ย๙๗ ๙๕คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดอุตรดิตถ์, (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมาย เหตุใน คณะอานวยการจดั งานเฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ฯ จัดพมิ พ์, ๒๕๔๒),หน้า ๒๔๐. ๙๖ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศิลปกรรม อักษร ก-ฮ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, (กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๐), หน้า ๒๒๕. ๙๗ดูคาอธิบายประโยชน์ของจิตรกรรมฝาผนังโดยละเอียดใน ศิลป์ พีระศรี, คุณค่าของจิตรกรรมฝา ผนัง, (พระนคร: กรมศิลปากร จดั พิมพ,์ ๒๕๐๒), หน้า ๑๗-๑๙.

๑๒๕ ผู้วิจัยได้เลือกเก็บตัวอย่างงานจิตรกรรมท่ีสาคัญ ๆ ของไทยต้ังแต่อดีต-ปัจจุบัน คือ นับต้ังแต่สมัยทวารวดี ศรีวิชัย สุโขทัย อยุธยา กรุงธนบุรี รัตนโกสินทร์ รวม ๒๒ ตัวอย่าง เรียง ตามลาดับสมัย และอายุของภาพดังปรากฏในภาพประกอบท่ี ๔.๘๒,๔.๘๓,๔.๘๔,๔.๘๕,๔.๘๖,๔.๙๗ ๔.๘๘,๔.๘๙,๔.๙๐,๔.๙๑,๔.๙๒,๔.๙๓,๔.๙๔,๔.๙๕,๔.๙๖,๔.๙๗,๔.๙๘,๔.๙๙,๔.๑๐๐,๔.๑๐๑, ๔.๑๐๒ และ ๔.๑๐๓ ตามลาดับ ภาพประกอบท่ี ๔.๘๒ ภาพศิลาสลักภาพคนมีมงคลท้ัง ๔ สมัยทวารวดี พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ธรรมจักร พระพุทธศาสนา คาอธิบาย เป็นภาพสลกั ลายเส้นบนแผ่นหิน เป็นรูปคนช้ันสูง น่ังพับเพียบชันเขา่ ซ้าย ท้าว แขนขวา ไม่สวมเส้ือ นุ่งโจงกรระเบนแบบแขก ผมหยิกเป็นขมวด มีขนนกปัก รอบตัว มงคลท้งั ๔ ไดแ้ ก่ หม้อนา้ หอยสังข์ เงินตรา[คล้ายธรรมจักรหรือวงล้อ- ผู้วิจยั ] และดาว ปัจจบุ นั เกบ็ รักษาไว้ทพี่ พิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแหง่ ชาติ พระนคร๙๘ ภาพประกอบที่ ๔.๘๓ จติ รกรรมฝาผนงั ถ้าศลิ ปส์ มัยศรีวิชัย พุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๘ รูปสัญญะ ตัวอยา่ ง ๑ ตัวอย่าง ๒ สัญลักษณ์ทาง ภาพพทุ ธประวตั ,ิ พุทธรูป พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย ถ้าศิลป์อยู่ในพ้ืนที่หมทู่ ่ี ๒ ตาบลหน้าถ้า อาเภอเมือง จังหวัดยะลาในภูเขา เดียวกันกับถ้าพระนอน แต่ห่างจากถ้า พระนอนไปทางหัวเขาทิศใต้ประมาณ ๑.๕กิโลเมตร ถา้ ศิลป์อย่หู ่างจากตัวเมอื งยะลาไปตามทางหลวงหมายเลข ๔๐๙ แยกเขา้ ถ้าศลิ ป์ประมาณ ๑๐ กโิ ลเมตร๙๙ภายในถ้ามีภาพเขียนสีอย่ตู ามผนังถ้า เปน็ ภาพพทุ ธประวตั ิ มีอายอุ ยใู่ นราวปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๘๑๐๐ ๙๘ศภุ สนิ สารพันธ์, ศิลปะไทย, (กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์โอเดยี นสโตร์, ๒๕๔๕), หนา้ ๗. ๙๙จิตรกรรมฝาผนังถ้าศิลป์, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://kanchanapisek. or.th/ kp8/ yla/ yla101.html [๒๖ ตลุ าคม ๒๕๕๖]. ๑๐๐ศิลป์ พีระศรี, คณุ ค่าของจติ รกรรมฝาผนัง, หนา้ ๗.

๑๒๖ ถ้านี้แบ่งไดเ้ ปน็ ๒ ตอน คอื ตอนนอกท่ีเปน็ ทางเข้า มีภาพเขยี นทผ่ี นังดา้ น ซ้ายมือด้านเดียว ตั้งอยู่ทางทิศใต้ เป็นภาพเขียนสี ภาพพระพุทธรูปปางมาร วิชัย และสูงข้ึนไปเป็นพระพุทธรูปประมาณ ๕ เมตร เป็นช่องเว้าของหินรูป วงกลม จะเปน็ ภาพพระพุทธรูปเขียนแค่อก ส่วนด้านซ้ายของพระพุทธรูปเขียน เป็นรปู นางเงือก ตอนภายในตัวถ้า เป็นภาพเขียนสีท้ัง ๒ ผนัง คือผนังด้านตะวันออกและ ตะวนั ตก ผนงั ดา้ นตะวันตกเป็นพระพุทธรูปประทับน่งั เป็นแถว เบื้องซ้ายขวามี อุบาสกอุบาสิกา ต่าลงมาเป็นพระพุทธรูปปางลีลาแบบสุโขทัย รูปธิดาของพระ ยามาร ๓ คน ช่ือนางตัณหา นางราคา และนางอรดี ตอนล่างมีรปู แสดงอารมณ์ ชวนขันของช่างเขียน เป็นรูปชาวบา้ น บางคนผอม บางคนอ้วน ท่าทางคลา้ ยตัว ตลกของหนังตะลุง ส่วนผนังด้านตะวันออก มีรูปท่ีเห็นไม่ค่อยชัด เน่ืองจาก ชารุดมาก แต่พอสังเกตได้ว่าเป็นรูปเทพธิดา มีเคร่ืองประดบั เศียร เอี้ยวกายใน ลักษณะอ่อนช้อย เหนือรูปเทพธดิ าเปน็ รปู คลา้ ยบัลลังก์ ถัดจากรูปบัลลังก์ เป็น รปู วงไข่บา้ ง รูปวงกลมบ้าง มอี ยู่ ๒-๓ วง และมีรูปคล้ายคน หรือยกั ษ์รา๑๐๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๘๔ ภาพสลักลายเส้นบนหินชนวนในอุโมงค์วัดศรีชมุ สมัยสุโขทยั พุทธ ศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ รูปสญั ญะ ตัวอยา่ ง ๑ ตัวอย่าง ๒ สัญลักษณ์ทาง ภาพชาดก พระพุทธศาสนา คาอธบิ าย วัดศรชี ุมต้ังอยู่ท่ี ตาบลเมอื งเก่า อาเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย๑๐๒ สร้างสมัย สโุ ขทัยตอนต้น โบราณสถาน โบราณวัตถุที่สาคัญได้แก่ พระวิหารอันเป็นฐาน เจดีย์ใหญ่ มีทางเดินระหว่างช่องผนังเป็นอุโมงค์หรือถ้าขึ้นไปจนถึงหลังคา ท่ี อุโมงค์มีแผ่นศิลาจาหลักลายขุดลึกลงไปเป็นรูปชาดกต่าง ๆ ด้วยเส้นที่งดงาม ๑๐๑ศุภสิน สารพันธ์, ศลิ ปะไทย, หนา้ ๑๑. ๑๐๒ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, “วัดศรีชุม” [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=177 [๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๖].

๑๒๗ ยิ่ง๑๐๓รวม ๕๕ ภาพ๑๐๔ปัจจุบันเหลืออยู่เพียง ๔๐ ภาพ๑๐๕เรียงประดับ ต่อเนื่องกันบางภาพมีลักษณะทางศิลปกรรมกับศิลปะลังกาโดยมีอักษรสมัย สโุ ขทัยกากบั บอกเรือ่ งชาดกไวท้ ีภ่ าพแตล่ ะภาพด้วย๑๐๖ ลกั ษณะของภาพเล่าเรื่องชาดก จะจับเป็นตอน ไม่ได้เล่าเร่ืองตั้งแต่ต้นจน จบ ศิลปนิ ได้สร้างภาพของคน สตั ว์ องคป์ ระกอบอน่ื ๆ แสดงให้เห็นและเข้าใจ ทันทีว่าเป็นตอนใดตอนหนึ่งในเรื่องเท่านั้น เช่น กณั ฑินชาดก ในภาพตอนบน เป็นรปู รุกขเทวดา (พระโพธิสัตว)์ มือถือตาลปัตร สถิตอยู่บนต้นไม้กบั เทวดาอีก องค์หน่ึง ตอนลา่ งเปน็ รูปนายพรานเก่งธนูยงิ เนื้อตวั ผู้ตัวเมยี คูห่ น่งึ ๑๐๗ ภาพประกอบที่ ๔.๘๕ จติ รกรรมฝาผนังในพระเจดยี ว์ ัดเจดยี เ์ จ็ดแถว รูปสญั ญะ ตัวอย่าง ๑ ตวั อยา่ ง ๒ สัญลักษณ์ทาง ภาพพุทธรูป พระพุทธศาสนา คาอธบิ าย วัดเจดีย์เจ็ดแถวอยู่ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ตาบลศรสี ัชนา ลัยอาเภอเมืองศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยมีโบราณสถานที่สาคัญคือเจดีย์ ประธานรูปดอกบวั ตมู อยู่ด้านหลงั พระวิหารและมีเจดยี ์รายรวมทั้งอาคารขนาด เล็กแบบต่างๆ กนั ๓๓องค์ มีกาแพงแกว้ ล้อมรอบอกี ชัน้ หนึ่งนอกกาแพงมีโบสถ์ และบ่อน้าเดิมมีคูน้าล้อมรอบเจดีย์รายท่ีวัดเจดีย์เจ็ดแถวมีรูปแบบท่ีได้รับ อิทธพิ ลศลิ ปะจากที่ตา่ งๆหลายแหง่ เช่น ลังกาและพกุ าม๑๐๘ ในส่วนจิตรกรรมฝาผนังที่มีการสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ เป็นภาพ จิตรกรรมเขียนเป็นสีเอกรงค์ ประกอบด้วยภาพพุทธรูป ภาพเทวดา และพันธ์ุ ไม้ต่าง ๆ ภาพเทวดาที่ปรากฏเป็นศิลปะลังกา ส่วนพระพุทธรูปเป็นลักษณะ ๑๐๓น. ณ ปากนา้ , พจนานกุ รมศลิ ป์, พิมพค์ ร้ังที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร: มปท., ๒๕๒๙), หน้า ๒๙๓. ๑๐๔วัดศรีชมุ , [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า: https://sites.google.com/site/watsrichumsukhothai/[๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๑๐๕วิมล จิโรจน์พันธุ์ และคณะ, มรดกทางวัฒนธรรมภาคเหนือ, (กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แสง ดาว, ๒๕๕๑), หนา้ ๑๖๐. ๑๐๖สุ โ ข ทั ย ม ร ด ก โ ล ก , “ ศิ ล า จ า รึ ก ภ า พ ช า ด ก วั ด ศ รี ชุ ม ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.su.ac.th/sukhothai/Virtual_reality/WatSrichum/thai/chadok.html/[๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๑๐๗วมิ ล จโิ รจน์พันธุ์ และคณะ, มรดกทางวฒั นธรรมภาคเหนือ, หน้า ๑๖๐. ๑๐๘ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม, “วัดเจดีย์เจ็ดแถว”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://m-culture.in.th/moc_new/album [๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖].

๑๒๘ พระพุทธรปู สุโขทัย มีเส้นรอบนอกออ่ นชอ้ ยดงั งวงช้าง แต่รปู บุคคลอื่นในภาพ ยังมีลกั ษณะเปน็ แบบอนิ เดียหรือเขมร๑๐๙ ภาพประกอบที่ ๔.๘๖ จิตรกรรมฝาผนังในกรุภายในพระปรางค์วัดราชบูรณะ จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา สมยั อยุธยา พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐-พ.ศ.๒๓๑๐ รูปสญั ญะ ตวั อยา่ ง ๑ ตวั อยา่ ง ๒ สัญลักษณ์ทาง ๑. ภาพเล่าเรือ่ งราวเก่ยี วกับคติทางพระพุทธศาสนา พระพทุ ธศาสนา ๒. ภาพเล่าเร่อื งราวเกยี่ วกบั พุทธประวตั ิ คาอธิบาย ตัวพระปรางค์ต้ังอยู่ก่ึงกลางระหว่างอุโบสถกับวิหารหลวง บนฐาน สี่เหล่ียมกว้างยาวด้านละ ๔๘ เมตร บันไดขึ้นสู่คูหาพระปรางค์เป็นบันได แคบๆอยู่ด้านตะวันออกที่ฐานพระปรางค์มีเจดีย์ก่อด้วยอิฐท้ัง ๔ มุม และมี เจดีย์รายรอบพระปรางค์ ๑๒ องค์ ทางขึ้นลงอยู่ทางทิศเหนือและใต้ องค์ ปรางค์ก่อด้วยศิลาแลงสอปูนต้ังแต่ส่วนฐานจนถึงส่วนยอด กลีบขนุน ใบขนุน ทาด้วยอิฐ ลักษณะเป็นปรางค์จตุรมุข มีมุขท้ัง ๔ ยื่นออกมาจากเรือนธาตุ มุขด้านหน้าเป็นตรีมุข มีช่องประตูทางเข้าสู่เรือนธาตุ ภายในเป็นห้องคูหา คาดว่าใช้ประดิษฐานพระพุทธรูปส่วนภาพจิตรกรรมอยู่ภายในกรุช้ันบน อยู่สูง กว่าระดับพื้นดินประมาณ ๕ เมตร มีลักษณะเป็นกรุส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ขนาด กว้างด้านละ ๔ เมตร มีบริเวณท่ีฉาบปูนคือ ท่ีฝาผนังทั้ง ๔ ด้าน ตง้ั แต่พื้นกรุ ขน้ึ มา ๑.๒๐ เมตร เหนอื แนวน้ไี มฉ่ าบปนู เป็นศิลาแลง๑๑๐ ตัวอย่าง ๑ ภาพทิศเหนือเป็นภาพเทพชุมนุมเหาะลอยอยู่ ๗ องค์ มือพนม บางองค์มีดอกไม้เป็นก้านโค้งชูออกไปข้างหน้าดอกเดียว ก้านแยกออก ๒ ข้าง บ้าง บางองค์พนมมือไม่มีดอกไม้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออกระหว่างเทพมี ลายพันธ์ุพฤกษาและดอกไม้ลวดลายเครื่องประดับต่างๆ ตั้งแต่ศิราภรณ์ เครื่องทรง ตลอดจนดอกไม้มีลักษณะเป็นแบบศิลปะสุโขทัย คล้ายลายเส้น สลักที่วัดศรีชุม๑๑๑ ตวั อย่าง ๒ ทิศตะวนั ตกเป็นภาพเทพชุมนมุ เหาะ ๖ องค์ มือพนม บางองค์มี ดอกไม้เป็นก้านโค้งชูออกไปข้างหน้าดอกเดียว ก้านแยกออก ๒ ข้างบ้าง บาง องค์พนมมือไม่มีดอกไม้หันหน้าไปทางด้านใต้ ลวดลายเคร่ืองประดับต่างๆ ๑๐๙วมิ ล จโิ รจนพ์ ันธ์ุ และคณะ, มรดกทางวัฒนธรรมภาคเหนอื , หน้า ๑๖๑. ๑๑๐สอนสุพรรณ (นามแฝง), “จิตรกรรมฝาผนัง: ภายในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ”, [ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา: http://www.oknation.net/blog/phaen [๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๑๑๑สอนสพุ รรณ (นามแฝง), “จติ รกรรมฝาผนัง: ภายในกรุพระปรางคว์ ดั ราชบรู ณะ”, อา้ งแลว้ .

๑๒๙ ต้ังแต่ศิราภรณ์ เครื่องทรง ตลอดจนดอกไม้มีลักษณะเป็นแบบศิลปะ สุโขทยั ๑๑๒ ภาพประกอบที่ ๔.๘๗ จิตรกรรมฝาผนังในพระเจดีย์วัดราชบูรณะ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา รูปสญั ญะ ตวั อย่าง ๑ ตัวอย่าง ๒ สัญลักษณ์ทาง พุทธประวตั ิ พระพุทธศาสนา คาอธบิ าย ภาพพุทธประวัติตอนพระนางสิริมหามายาบรรทมในพระมหาปราสาท ทรง พระสุบินว่าพญาช้างเผือก ชูงวงอันจับบุณฑริกปทุมชาติสีขาวพ่ึงบานใหม่ มี เสาวคนธ์หอมฟุ้งตลบ...แล้วกระทาประทักษิณพระองค์อันบรรทมครบถ้วน ๓ รอบ แล้วเหมือนดุจเข้าไปในอุทรประเทศฝ่ายพระทักษิณปรัศว์แห่งพระราช เทวี๑๑๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๘๘ จิตรกรรมฝาผนงั ในองค์พระปรางค์ วัดมหาธาตุ จังหวดั ราชบุรี รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรูปปางมารวิชัย สถานที่ประทับแตกต่างกันออกไป เช่น ท่ีใต้ต้นโพธ์ิ พระพุทธศาสนา บ้าง เรือนแกว้ บ้าง หน้าเจดยี ์บ้าง สะทอ้ นเหตุการณใ์ นพุทธประวตั ิ คาอธิบาย ผนังคูหารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ภายในพระปรางค์มีภาพจิตรกรรมเขียนเป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัยนั่งเรียงแถวเป็นชั้น ๆ ประทับนั่งบนบัลลังก์ใต้ต้นโพธิ พฤกษ์ ประทับนั่งในเรือนแก้ว ประทับหน้าเจดีย์ หรือปราสาท บางช้ันมีสาวก น่ังประนมมืออยู่ระหว่างบัลลังก์ หรือมิฉะนั้นก็ประดับประดาด้วยลวดลาย ดอกไม้ ภาพเหล่านี้เปน็ ภาพสีเอกรงค์ สีท่ใี ชม้ ีสีเหลอื ง สแี ดง และสีดา๑๑๔ ๑๑๒สอนสุพรรณ (นามแฝง), “จิตรกรรมฝาผนัง: ภายในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ”, [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: http://www.oknation.net/blog/phaen [๒๖ ตลุ าคม ๒๕๕๖]. ๑๑๓สันติ เลก็ สุขมุ , “วดั ราชบรู ณะ: จิตรกรรมเก่าแก่กบั ร่องรอยท่ีถูกทาลาย”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.icomosthai.org/m_news/rajaburana.htm [๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๑๑๔ศุภสิน สารพันธ์, ศลิ ปะไทย, หนา้ ๒๓.

๑๓๐ ภาพประกอบที่ ๔.๘๙ จิตรกรรมฝาผนังบนแผ่นชินบุผนังกรุในองค์พระสถูปเจดีย์ทิศ ตะวนั ออก ในวัดพระศรีสรรเพชญ์ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา รปู สญั ญะ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ท า ง พระพทุ ธศาสนา พระสงฆ์ คาอธบิ าย ภาพเขียนบนแผ่นชิน (ตะกั่ว) บนผนังในพระเจดีย์องค์ใหญ่ด้านตะวันออกของ วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็นรูปพระสาวกในพระพุทธศาสนากาลังเดินประนมมือ ถือดอกบัว สีท่ีเขียนบนแผ่นชินมีสีเหลือง สีหงส์ดิน (สีดินแดงผสมสีขาว) สีน้า เงินแก่ หรอื สีดา ปจั จบุ นั สจี างไปมาก เพราะเปน็ สีทีเ่ ก็บได้ไม่นาน๑๑๕ ภาพประกอบที่ ๔.๙๐ จิตรกรรมในสมดุ ภาพไตรภูมิ ครัง้ กรงุ เกา่ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. ไตรภมู ิ พระพทุ ธศาสนา ๒. ชาดก คาอธบิ าย สมุดภาพเรื่องไตรภูมิ ฉบับกรุงศรีอยุธยา เป็นสมุดภาพเขียนสี พับไปมา ซ้อนเป็นช้ัน ภาพสีที่เขียนไวเ้ ปน็ ภาพเรอื่ งไตรภูมิ และเร่ืองชาดก ส่วนใหญ่เป็น เร่ืองทศชาตคิ รบทั้ง ๑๓ กัณฑ๑์ ๑๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๑ จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ วัดใหญ่สุวรรณาราม จังหวัด เพชรบุรี รปู สัญญะ ตัวอย่าง ๑ ตัวอยา่ ง ๒ ๑๑๕เร่อื งเดยี วกัน, หน้า ๒๓. ๑๑๖ศภุ สนิ สารพนั ธ,์ ศิลปะไทย, หนา้ ๒๓.

๑๓๑ สัญลักษณ์ทาง ๑. พุทธประวัติ พระพุทธศาสนา ๒. เทพชุมชมุ คาอธิบาย จิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถ มี ๓ เร่ืองใหญ่ ๆ คือ เทพชุมนุม พุทธ ประวัติตอนผจญมาร และทวารบาล รูปแบบทางศิลปกรรมบ่งบอกว่าน่าจะ เขียนโดยช่างหลวง๑๑๗ รายละเอียด เป็นภาพเทพชุมนุมบนผนังด้านข้างนั่งพนมมือหันหน้าเข้า หาพระประธาน จานวน ๕ แถว รูปแบบเพทชุมนุมมีลักษณะไม่ซ้ากัน โดยจัด วางเป็นชุดสลับกันไปชุดละ ๖ องค์ ผนังด้านหน้าเขียนภาพมารผจญ ผนัง ด้านหลังทาลวดลายพุ่มขา้ วบณิ ฑก์ า้ นแย่งตกแต่งเต็มพื้นท่ี ผนังบานประตูเขยี น ภาพทวารบาล จิตรกรผู้ออกแบบได้จัดภาพตามลักษณะโครงสร้างของผืนแผ่น หนัง ผนังด้านข้างมีลักษณะเป็นผืนในแนวยาวติดต่อกันท้ังผนัง ผู้ออกแบบได้ จัดวางภาพเทพชุมนุมโดยแบ่งพื้นท่ีผนังเป็นส่วน ๆ ตามแนวยาว ๖ ส่วน และ เขยี นภาพเทพชมุ นุมจานวน ๕ ชัน้ ๑๑๘ ภาพประกอบที่ ๔.๙๒ จิตรกรรมฝาผนังในตาหนักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดพุทไธ สวรรย์ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา รปู สัญญะ ตัวอยา่ ง ๑ ตัวอยา่ ง ๒ สัญลักษณ์ทาง ๑. ภาพเล่าเรื่องราวเกยี่ วกบั พุทธประวตั ิ พระพุทธศาสนา ๒. ภาพเล่าเรอ่ื งราวเกย่ี วกับการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ๓. ภาพเล่าเก่ยี วกับคติความเชอ่ื ทางพระพุทธศาสนา คาอธบิ าย ผนังด้านทิศตะวันตก เป็นภาพเรื่องทศชาติชาดกผนังด้านทิศตะวันออก เขียนภาพหลายเร่ือง เช่น ภาพพระพุทธโฆษาจารย์ลงเรือสาเภาไปลังกา และ พบสาเภาพระพุทธทัตตเถระกลางทะเล ภาพพระพุทธบาทบทเขากลางน้า พระพุทธบาทที่เขาสัจจพันธคีรี และมีภาพขบวนเสด็จพระราชดาเนินของ กษัตริย์ไทยทรงพระคชาธารเสด็จไปนมัสการพระพุทธบาท และภาพพทุ ธสถาน เจดียท์ มี่ นุษยแ์ ละทวยเทพพากันมาบูชา๑๑๙ ๑๑๗บัณฑิต อินทร์คง, “การศึกษางานจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดใหญ่สุวรรณาราม จังหวัด เพชรบรุ ี”, วทิ ยานิพนธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๔๓), หน้า ๓๑๖. ๑๑๘เรือ่ งเดยี วกนั , หน้า ๓๑๗. ๑๑๙วบิ ูลย์ ลี้สุวรรณ, ศิลปะน่ารู้ในสองศตวรรษ, (กรุงเทพมหานคร: นานมบี ุ๊คส์พบั ลิเคช่ันส์, ๒๕๔๙), หน้า ๒๕๖.

๑๓๒ ผนังด้านทิศเหนือ เป็นภาพเรื่องไตรภูมิ, ผนังด้านทิศใต้ ช่องบนเป็นภาพ มารผจญ ใต้ลงมาเป็นภาพพระสาวก ช่วงล่างเป็นภาพเรื่องรามเกียรต์ิ,หลัง บานประตูและหน้าต่างเป็นภาพเขียนสีทวารบาล เป็นภาพชาวต่างประเทศ ๑๒ ภาษา๑๒๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๓ จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดเกาะแก้วสุทธาราม จังหวัด เพชรบุรี รูปสญั ญะ ตวั อย่าง ๑ ตัวอยา่ ง ๒ สัญลักษณ์ทาง ๑. พุทธประวตั ิ พระพุทธศาสนา ๒. ไตรภมู ิ คาอธบิ าย รายละเอียดจิตรกรรมแสดงเรื่องพุทธประวัติ หลายตอนได้แก่ อัฏฐมหา สถาน สัตตมหาสถานตอนมารผจญ ที่ประทับรอยพระพุทธบาท ตอนเสด็จ ดาวดึงส์ ตอนอภิเษก ตอนพบเทวทูตท้ังส่ีตอนปรินิพาน ตอนพระมหากัสสปะ ถวายสักการะถวายพระเพลิง และแบ่งพระบรมสารีริกธาตุภาพอดีตพุทธเจ้า ๒๔ พระองค์ ท่ตี ่างจากท่ีอื่นซึ่งสว่ นใหญ่มักเน้นเก่ียวกบั เหตกุ ารณ์ มกั เป็นภาพ ประสูติ วิวาหมงคลออกมหาภิเนษกรมณ์แต่ท่ีวัดเกาะแสดงอัฏฐมหาสถาน กับ สัตตมหาสถานเป็นการเนน้ ในแง่การบาเพญ็ บารมีธรรม ปรัชญา ความคดิ ๑๒๑ ส่วนภาพที่ ๒ เป็นเหตุการณ์ตอนเข้าพรรษา พระพุทธเจ้าข้ึนไปแสดงธรรม โปรดพุทธมารดาแต่ในท่ีนี้ไม่ได้แสดงตัวเทวบุตรท่ีเป็นพุทธมารดาแต่แสดงผู้ท่ี เป็นใหญ่ในสวรรค์สององค์คอื พระพรหมกับพระอินทร์แล้วตัววมิ านไพชยนต์ก็ คือปราสาทของพระอินทร์มีช้างเอราวัณท่ีนี้แสดงเป็นช้างสามเศียรหนุน ปราสาทไพชยนต์อยู่ถัดจากเขาพระสุเมรุท่ีเป็นแกนกลาง ขึ้นไปข้างบนเป็น สวรรค์ชัน้ พรหมซึง่ เปน็ สวรรค์ช้นั ทส่ี ูงขึ้นไป สว่ นรอบเขาพระสุเมรุก็มีเขาสัตตบ ริพรรณอยู่ ๗ ชั้นในที่น้ีแสดง ๕ ชั้น บนยอดจะมีวิมานในท่ีนี้พยายามจะวาด วมิ านท่มี ีรูปทรงต่างๆกันไป๑๒๒ ๑๒๐จิตรกรรมในตาหนักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดพุทไธสวรรย์, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.reurnthai.com/index.php?topic=2853.0 [๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๑๒๑วัดเกาะเพชรบุรี, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://travel.mthai.com/blog/62100.html [๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๑๒๒จิ ต ร ก ร ร ม ฝ า ผ นั ง วั ด เ ก า ะ แ ก้ ว สุ ท ธ า ร า ม เ พ ช ร บุ รี , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://letsgothai.net/wall-painting-wat-kokaosuttharam1/ [๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๖].

๑๓๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๔ จิตรกรรมฝาผนังในพระวิหารหลวง วัดพระบรมธาตุ จังหวัด อุตรดิตถ์ รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พุทธประวตั ิ พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พระวิหารหลวงเป็นวหิ ารขนาด ๕ ห้อง หลงั คามมุ กระเบอื้ ง ๓ ช้ัน ประดบั ดว้ ยช่อฟา้ ใบระกา หางหงสไ์ ม้แกะสลักที่หน้าบนั ติดกระจก ลงรักปิดทอง มีมุข ทั้งด้านหน้าและด้านหลังภายในประดิษฐานพระประธานปางมารวิชัยบนฐาน ชุกชี เพดานวิหารหลวงเขียนสีผนังของวิหารหลวงเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนัง เร่ืองเงาะป่าแต่ว่าเลอะเลือนไปมากแล้วและภายนอกมีพระพุทธรูปปาง ปรินพิ พานประดษิ ฐานอย่บู รเิ วณสวนของวัด๑๒๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๕ จติ รกรรมในสมุดภาพไตรภมู ิ (พ.ศ.๒๓๑๙) ครั้งกรุงธนบรุ ีสมัยกรุง ธนบรุ ี พ.ศ.๒๓๑๑-๒๓๒๕ รูปสญั ญะ ตัวอยา่ ง ๑ ตัวอย่าง ๒ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ท า ง พระพุทธศาสนา ไตรภูมิ คาอธบิ าย สมุดภาพไตรภูมิ ฉบับกรุงธนบุรีเล่มนี้นับได้ว่าเป็นสมุดภาพไตรภูมิขนาดใหญ่ เล่มหน่ึงของเมืองไทย ด้วยหากคลี่ออกไปก็จะมีความยาวถึง ๓๔.๗๒ เมตร เขียนภาพสีอยา่ งวจิ ิตรบรรจงลงในหน้ากระดาษสมุดทัง้ สองดา้ นหลายสิบภาพท่ี ปรากฏอยู่ในสมุดภาพไตรภูมิฉบับนี้มีความงดงามน่าชมเป็นอย่างยิ่ง ยากที่จะ หาสมุดภาพไตรภูมิฉบับอ่นื ใดใหย้ อดเยีย่ มยิง่ ไปกว่านี้ได้ ๑๒๓วัดพระบรมธาตุทุ่งย้ัง, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.thongteaw.com/ Travel_tour_ content [๒๘ ตลุ าคม ๒๕๕๖]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook