Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

Published by Guset User, 2023-06-30 18:20:38

Description: สัญลักษณ์พุทธฯ

Search

Read the Text Version

๑๓๔ ภาพประกอบที่ ๔.๙๖ จิตรกรรมฝาผนังในพระที่น่ังพุทไธสวรรย์จังหวัดพระนคร สมัย รัตนโกสินทร์ พ.ศ.๒๓๒๕-ปัจจุบัน รปู สญั ญะ ตวั อยา่ ง ๑ ตัวอยา่ ง ๒ สัญลักษณ์ทาง ๑. พทุ ธประวัติ พระพทุ ธศาสนา ๒. ประเพณีไทย คาอธิบาย พระท่ีน่ังพุทไธสวรรย์ เป็นที่ประดิษฐานพระพทุ ธสิหิงค์ภายในพระที่นั่งตกแต่ง งดงาม ฝาผนงั ทั้ง ๔ด้าน เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังผนังพระที่น่ังตอนบนเขยี น เปน็ ภาพเทพชุมนมุ ผนงั ตอนล่าง จิตรกรรมฝาผนังภายในพระท่ีนั่งพุทไธสวรรย์ เขียนข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี ๑ ราว พ.ศ.๒๓๓๘–๒๓๔๐ เป็นภาพเล่าเร่ืองราวเก่ียวกับพุทธประวัติ มีท้ังหมด ๒๘ ภาพ๑๒๔ภาพแรกเป็นภาพการอภิเษกสมรสพระราชบิดา มารดา ส่วนภาพ สุดท้ายเป็นภาพถวายพระเพลิงพุทธสรีระและแจกพระธาตุ๑๒๕ ท้ังหมดเขียน เป็นภาพ ๒ มิติ ใช้สีฝุ่นผสมกาวตามแบบจิตรกรรมไทยประเพณี โครงสีส่วน ใหญ่เปน็ สีแดง ได้รับการเขยี นซอ่ มแซมสว่ นที่ชารุดเพ่มิ เติมในรชั กาลที่ ๓ ภาพประกอบที่ ๔.๙๗ จิตรกรรมฝาผนังในมณฑปและพระอุโบสถวัดใหญ่อินทาราม จังหวัดชลบรุ ี รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พทุ ธประวัติ พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย จิตรกรรมฝาผนัง มีปรากฏอยู่สองแห่งคือ ภายในวิหารเล็กด้านเหนือพระ อุโบสถและภายในพระอุโบสถจิตรกรรมฝาผนังในวิหารเล็กอยู่ในสภาพทรุด โทรม ภาพเลือนลางมากส่วนจิตรกรรมในพระอุโบสถท่ีบริเวณส่วนผนังหุ้ม กลองด้านหน้า ด้านหลงั และผนงั ด้านข้างท้ังสองขา้ งเขียนภาพพทุ ธประวัติ (ทศ ชาติชาดกและตอนผจญมาร) การใช้สีและเส้นแบ่งออกเปน็ หลายลักษณะ เช่น ๑๒๔จิ ต ร ก ร ร ม ฝ า ผ นั ง ภ า ย ใ น พ ร ะ ที่ นั่ ง พุ ท ไ ธ ส ว ร ร ย์ , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.era.su.Ac.th/Mural/prathee/ [๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๑๒๕ป้ารุ (นามแฝง), “จิตรกรรมฝาผนังท่ีแทรงวิถีชาวบ้านได้งดงาม”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=225883 [๒๙ ตลุ าคม ๒๕๕๖].

๑๓๕ ภาพทศชาติใช้สีน้าตาลอ่อน สีขาวนวลเป็นส่วนใหญ่ ส่วนอ่ืน ๆ ใช้สีตามแบบ ประเพณีนยิ ม คอื นา้ ตาลปนเทา นา้ ตาลปนแดงน้าเงินปนเทา และเขยี วเข้ม๑๒๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๘ จติ รกรรมฝาผนังในพระอโุ บสถวดั ดสุ ิดาราม จังหวดั ธนบรุ ี รปู สัญญะ ตวั อยา่ ง ๑ ตวั อยา่ ง ๒ สัญลักษณ์ทาง ๑.พุทธประวัติ พระพทุ ธศาสนา ๒.ไตรภมู ิ คาอธบิ าย ผนังด้านทิศตะวันตกและตะวันออกเหนือช่องหน้าต่าง เขียนภาพเทพ ชุมนุม ๓ แถว แถวหนึ่งกว้างประมาณ ๑.๑๐ เมตร ผนังระหว่างช่องหน้าต่าง เขียนเรื่องพุทธประวัติ เร่ิมตั้งแต่มุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาพพระ โพธิสตั วส์ ถติ อยูบ่ นสวรรคช์ ้นั ดุสติ พระอนิ ทรก์ บั ทวยเทพพากันอัญเชิญใหล้ งมา จตุ ิโปรดสตั ว์มาจนถึงมมุ ผนงั ด้านทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ แล้วข้ามมาผนังด้านทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ เร่ือยไปจนถึงพุทธปรินิพพานที่มุมผนังด้านทิศตะวันตกเฉียง เหนือ แล้วมาเขียนตอนแจกพระบรมสารีริกธาตุไว้ที่ผนังตอนล่างระหว่าง ๓ ประตดู า้ นหนา้ พระอโุ บสถผนังระดับเหนอื ประตูไป๑๒๗ ผนังด้านหน้าพระประธานเขียนเร่ืองมารผจญ ส่วนผนังด้านหลังพระ ประธานเขียนเร่ืองไตรภูมิ ผนังระหว่างประตูเขียนเร่ืองเมืองนรก มีภาพเทพ นครของพระยายมราชอยู่ด้านซ้าย ตอนบนระหว่างเหนือประตูเขียนภาพป่า หิมพานต์๑๒๘ ภาพประกอบที่ ๔.๙๙ จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวดั สวุ รรณาราม จังหวัดธนบุรี รูปสัญญะ ตัวอย่าง ๑ ตัวอยา่ ง ๒ ๑๒๖จังหวัดชลบุรี, มรดกทางพระพุทธศาสนา “วัดใหญ่อินทารามวรวิหาร”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา :http://heritage.mod.go.th/nation/oldcity/chonburi10.htm [๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๖]. ๑๒๗วบิ ลู ย์ ลสี้ ุวรรณ, ศิลปะนา่ รใู้ นสองศตวรรษ, หนา้ ๒๖๔. ๑๒๘ เร่อื งเดยี วกัน.

๑๓๖ สัญลักษณ์ทาง พทุ ธูประวัติ พระพทุ ธศาสนา ชาดก คาอธิบาย ผนังระหว่างช่องหน้าต่าง หรือห้องด้านทิศตะวันตกเขียนเร่ืองทศชาติผนัง ระหว่างช่องประตูด้านใต้ และผนังระหว่างช่องหน้าต่างด้านตะวันออกเขียน เรื่องพระเวสสันดรชาดก เหนือช่องหน้าต่างตะวันออกและตะวันตกเขียนภาพ เทพชุมนุม ๔ ชั้น ทั้ง ๒ ด้าน เหนือข้ึนไปเขียนภาพเร่ืองนอกฟ้าหิมพานต์ ผนัง ด้านหน้าพระประธานระดับเหนือประตูเขียนเร่ืองมารผจญ ผนังตอนล่าง ระหว่างบานประตูเขียนเร่ืองพุทธประวัติ ต้ังแต่พระนางสิริมหามายาเสด็จ ประพาสสวนลุมพินี จนเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ ผนังด้านทิศใต้หลังพระ ประธานตอนบนเขยี นภาพพระพุทธเจา้ ตอนเสดจ็ ลงจากสวรรคช์ ั้นดาวดงึ ส์๑๒๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๐ จิตรกรรมฝาผนังในพระวิหารหลวง วัดสทุ ัศน์เทพวราราม รูปสัญญะ ตวั อย่าง ๑ ตวั อย่าง ๒ สัญลักษณ์ทาง ๑. พระพทุ เจ้าในอดีต พระพทุ ธศาสนา ๒. จักรวาลวิทยาพทุ ธศาสนา คาอธิบาย ภายในพระวิหารหลวง มีภาพจิตรกรรมฝีมือช่างหลวงสมัยรัชกาลที่ ๓ อยู่ บนต้นเสาในประธานทั้ง ๘ ต้น บนคอสองในประธาน และบนผนังทั้งสี่ด้าน โดยมีจารึกบรรยายภาพแต่ละตอน ติดประจาอยู่ท่ีเชิงเสาและเชิงผนัง ถึงแม้ ภาพจติ รกรรมบางตอน มรี อ่ งรอยวา่ ถูกเขยี นซอ่ มดว้ ยฝมี ือช่างในชั้นหลัง๑๓๐ ส่วนภาพบนผนังอาคารท้ังสี่ด้าน เขียนเรื่องประวัติของพระอดีตพุทธเจ้า ๒๗ พระองค์ ภาพจิตรกรรมท้ังหมด แสดงความหมายเป็นองค์ประกอบทาง สัญลักษณ์ ร่วมกับงานสถาปัตยกรรม และประติมากรรม ภายในพุทธสถาน แหง่ น้ี๑๓๑ ภาพจิตรกรรมเร่ืองโลกสัณฐาน ภายในพระวิหารหลวงวัดสุทัศเทพวราราม แสดงองค์ประกอบทางกายภาพของจักรวาล ตั้งแต่ดาวดึงสพิภพลงมาถึงนรก ภูมิ โดยมิได้ปรากฏองค์ประกอบทางกายภาพอื่น ๆ ท่ีสาคัญของจักวาล ที่ เหนือดาวดึงสพิภพขึ้นไป จึงย่อมเป็นประจักษ์พยานท่ีชัดเจนอีกประการหนึ่ง ๑๒๙วบิ ลู ย์ ลส้ี วุ รรณ, ศิลปะน่ารใู้ นสองศตวรรษ,หน้า ๒๖๓. ๑๓๐สอนสุพรรณ (นามแฝง), “โลกสัณฐาน พระวิหารหลวงวัดสุทัศน์” [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=774741 [๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖]. ๑๓๑เรอื่ งเดียวกนั .

๑๓๗ สาหรับการสมมุติบริเวณพระวิหารหลวง ให้หมายถึงการเป็นศูนย์กลางของ จักรวาล คอื เขาพระสเุ มรุ อยา่ งแท้จริง๑๓๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๑ จติ รกรรมฝาผนงั ในวหิ ารลายคา วัดพระสงิ ห์ จังหวัดเชยี งใหม่ รปู สัญญะ ตวั อยา่ ง ๑ ตัวอยา่ ง ๒ สัญลักษณ์ทาง เรอ่ื งเลา่ ชาดก พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในวหิ ารลายคาวดั พระสงิ หเ์ ขียนขน้ึ ในราวสมัยรชั กาลที่ ๕ โดยฝีมือของ เจ็กเส็ง เป็นจิตรกรรมท่ีมีความสวยงาม มีอิทธิพลศิลปะจาก กรุงเทพฯผสมผสานกับแบบประเพณีท้องถิ่นล้านนาท่ียังปะปนกับอิทธิพล ศิลปะตะวันตกด้วย ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังของวัดพระสิงห์เป็นภาพเขียน เร่ืองสังข์ทองหรือสุวัณณสังขชาดก ซ่ึงเป็น ๑ ใน ๕๐ เร่ืองของปัญญาสชาดก หรือชาดกนอกนิบาต เป็นงานวรรณกรรมที่แต่งเลียนแบบชาดกโดยพระเถระ ชาวเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ.๒๐๐๐-๒๒๐๐ นอกจากสุวัณณสังขชาดกแล้วยังมีเรื่อง สมุทรโฆษชาดก สธุ นชาดก รถเสนชาดก เปน็ ต้น๑๓๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๒ จิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์และหอไตรวัดหน้าพระธาตุ จังหวัด นครราชสีมา รูปสญั ญะ ตัวอยา่ ง ๑ ตัวอย่าง ๒ สัญลักษณ์ทาง พุทธประวตั ิ พระพุทธศาสนา เรอ่ื งเลา่ ชาดก คาอธบิ าย เปน็ งานสมยั รตั นโกสินทรต์ อนต้นแสดงเร่ืองราวพุทธประวัติ ภายในพระอุโบสถ มีจิตรกรรมฝาผนังเช่นกันทั้งสี่ด้านสภาพสมบูรณ์มาก เป็นภาพเรื่องราวชาดก ๑๓๒เร่อื งเดยี วกนั . ๑๓๓จิตรกรรมฝาผนังในวิหารลายคา วัดพระสิงห์, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www. chiangmainews.co.th/page/?p=176065 [๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๖].

๑๓๘ ต่างๆในชาติต่างของพระพุทธเจ้านอกจากน้ียังสอดแทรกเรื่องราววิถีชีวิต พน้ื บา้ น และแง่คดิ เกยี่ วกับธรรมะอีกดว้ ย๑๓๔ ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๓ จิตรกรรมฝาผนังในพระวหิ ารและโบสถ์วัดภมู นิ ทร์ จงั หวดั น่าน รปู สญั ญะ ตวั อยา่ ง ๑ ตัวอยา่ ง ๒ สัญลักษณ์ทาง ๑. พุทธประวัติ พระพทุ ธศาสนา ๒. เรื่องเลา่ ชาดก คาอธบิ าย ภาพวาดปรากฏอยู่บนผนังด้านในวิหารจตุรมุขท้ังสี่ด้าน ผนังด้านทิศเหนือ ตะวันออกและใต้ เป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับนั่งปางมารวิชัย มีพระสาวกน่ัง ข้างละสององค์สันนิษฐานว่าคงเป็นตอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเทศนา และต่าลงมาได้เขียนเป็นภาพขนาดเลก็ เล่าเร่ือง “คันธกุมารชาดก”ต่อเนื่องกัน ตลอดท้งั สามด้าน ส่วนผนังด้านทิศตะวันตกตอนบนเปน็ ภาพพระพทุ ธเจ้าเสด็จ ปรินิพพานในปางไสยาสน์มีพระสาวกแสดงอาการเศร้าโศกอยู่ส่ีองค์ ตอนล่าง ลงมาเป็นภาพเล่าเรื่อง “พระเตมีราชชาดก” นอกจากนี้ยังมีภาพจิตรกรรมซ่ึง โดดเด่นเป็นพิเศษคอื ภาพเหมือนบุคคลและภาพวิถชี วี ติ ชาวนา่ นในอดีต๑๓๕ สรุป จากตารางพบว่า จานวนสัญลักษณ์ทางจิตรกรรมจานวน ๒๒ ตัวอย่าง จากยุคสมัย ตา่ ง ๆ นับต้ังแต่สมัยทวารวดี ศรีวชิ ัย สโุ ขทยั อยธุ ยา กรุงธนบุรี และรัตนโกสนิ ทร์ พบสญั ลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนา ๔ ประเภท ได้แก่ พุทธประวัติ จานวน ๑๖ ตัวอย่าง, ประวัติพระพุทธศาสนา จานวน ๓ ตัวอย่าง, ชาดก จานน ๖ ตัวอย่าง, และคติความเช่ือเรื่องไตรภูมิ จานวน ๗ ตัวอย่าง รวม ๓๒ ตัวอย่าง๑๓๖ ๑๓๔วัดหน้าพระธาตุ, “จิตรกรรมเก่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น”, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.comingthailand.com/nakhonratchasima/wat-naphrathat.html [๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๑๓๕วัดหน้าพระธาตุ, “จิตรกรรมเก่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.comingthailand.com/nakhonratchasima/wat-naphrathat.html [๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๖]. ๑๓๖ท่ีนับได้มากกว่า ๒๒ ตัวอย่างเพราะ บางตัวอย่างมีสื่อสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนามากกว่า ๑ ประเภท

๑๓๙ ๔.๖ สัญลกั ษณท์ างพระพทุ ธศาสนาทปี่ รากฏในประตมิ ากรรม คาว่า ประติมากรรม เป็นศิลปะประเภททัศนศิลป์ มีรูปทรงเป็น ๓ มิติ ทาด้วยวัสดุหลาย ชนดิ เชน่ ดนิ เหนียว ไม้ หิน โลหะ โดยกรรมวิธตี า่ ง ๆ มีป้นั แกะสลกั หลอ่ เปน็ รูปคน รปู สตั ว์ ลวดลาย หรอื รปู ทรงนามธรรม เปน็ ตน้ ประติมากรรม แบ่งออกเป็น ๓ แบบ ได้แก่ประติมากรรมแบบลอยตัว คืองาน ประติมากรรมที่สามารถมองเห็นได้รอบดา้ น ไมต่ ิดกับพื้นหลัง เช่น พระพุทธรูป รูปเหมือน รูปเคารพ เป็นต้น, ประติมากรรมแบบนูนสูง คือประติมากรรมท่ีนูนออกมาจากพื้นหลังประมาณคร่ึงหนึ่งของ รูปทรงท่ีเหมือนจริง ประติมากรรมประเภทน้ีมักปั้นเป็นรูปเหมือนบุคคล หรือปั้นประดับตกแต่งเป็น เรื่องราวต่าง ๆ, และประติมากรรมแบบนูนต่า คือ งานประติมากรรมที่นูนออกมาจากพ้ืนหลังน้อย กว่าครึ่งหนึ่งของรูปทรงที่เหมือนจริง มักป้ันเป็นรูปบุคคล หรือเร่ืองราวสัญลักษณ์ เหรียญกษาปณ์ ต่าง ๆ๑๓๗ เป็นต้น งานประติมากรรมอันเก่ียวเนื่องกับพระพทุ ธศาสนาปรากฏหลักฐานมาช้านาน ดังปรากฏ หลักฐานครั้งแรกในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (พ.ศ.๒๗๐-๓๐๗) ทรงโปรดให้สร้างถาวรวัตถุเพื่อใช้ เป็นเครื่องระลึกถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่น ศิลาบัลลังก์บงกช สัญลักษณ์ท่ีใช้แทน พระพุทธเจ้าขณะทรงตรัสรู้ ศิลาธรรมจักรกับกวางหมอบ สัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้าขณะทรงแสดง ปฐมเทศนา๑๓๘ ในส่วนสังคมไทย มีสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาปรากฏอยู่ในงานประติมากรรมอยู่ ทั่วไป ซ่ึงอาจจาแนกออกเป็น ๓ ประเภท๑๓๙ ได้แก่ ประติมากรรมรูปเคารพ, ประติมากรรมตกแต่ง, และประตมิ ากรรมเพอื่ ประโยชน์ใชส้ อย ดงั จะได้กลา่ วในรายละเอียดต่อไป ๔.๖.๑ ประติมากรรมรูปเคารพ เป็นงานศิลปกรรมเพื่อแสดงความเชื่อทางศาสนา เป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะพระพุทธศาสนา เน่ืองจากสังคมไทยมีความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนามา อย่างลึกซึ้ง รูปแบบของประติมากรรมจึงเป็นรูปทรงแห่งวัตถุที่ได้รบั การสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อเป็นส่งิ แทน เปน็ ส่ิงพรรณนาความรู้สึก อดุ มคติ และความเช่ือที่เป็นนามธรรมออกมาเป็นรูปธรรม สามารถจาแนก ประติมากรรมรูปเคารพออกได้ ๒ ประเภท ตามลักษณะการแสดงออก คือ ประติมากรรมรูปคน และ ประตมิ ากรรมรปู สัญลกั ษณ์๑๔๐ ๔.๖.๑.๑ ประติมากรรมรูปคน ในประเทศไทยพบประติมากรรมรูปคนท่ี เป็นรูปเคารพตามคติของพระพุทธศาสนา ได้แก่ พระพุทธรูป และพระโพธิสัตว์ โดยเฉพาะ พระพุทธรูป เป็นประติมากรรมท่ีมีความสาคัญ และมีการสร้างสรรค์มากที่สุด พระพุทธรูปจึงเสมือน หัวใจของศิลปวัตถุทางศาสนา เพราะเป็นอุทเทสิกเจดีย์ที่สร้างข้ึนเพ่ือระลึกถึงพระพุทธเจ้า และ เพือ่ ให้พุทธศาสนกิ ชนระลึกถึงเหตกุ ารณ์สาคญั ต่าง ๆ จึงกาหนดแบบท่าทางของพระพทุ ธรปู เป็นปาง ต่าง ๆ ตามพทุ ธประวตั ิ ๑๓๗ราชบณั ฑติ ยสถาน, พจนานกุ รมศพั ท์ศลิ ปกรรม อักษร ก-ฮ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน,หน้า ๕๐๙. ๑๓๘นดิ ดา หงษ์วิวัฒน์ (บรรณาธกิ าร), พระพทุ ธรูปและเทวรูป: ศิลปะล้านนา สุโขทัย อยธุ ยา และ รตั นโกสินทร,์ (กรุงเทพฯ: สานักพิมพค์ ต,ิ ๒๕๕๕), หนา้ ๑๑. ๑๓๙“ประตมิ ากรรมไทย”, สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชน เลม่ ๑๔, หนา้ ๘๔. ๑๔๐“ประตมิ ากรรมไทย”, สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชน เลม่ ๑๔, หนา้ ๘๕.

๑๔๐ ในช่วงนับตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี ๓ เป็นต้นมา มีการกาหนดปางของ พระพุทธรูปเป็น ๔๐ ปาง, พระพุทธรูปปางต่าง ๆ แต่งโดยหลวงบริบาลบุรีภัณฑ์ มีจานวน ๕๕ ปาง, ตานานพระพุทธรูปปางต่าง ๆ แต่งโดยพระพมิ ลธรรม มีจานวน ๖๖ ปาง,๑๔๑ภาพพุทธประวัติวัดทอง นพคุณ เป็นประตมิ ากรรมนูนสงู มีจานวน ๙๐ ปาง, ประวตั ิพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ฉบับของกรมการ ศาสนา แตง่ โดยพทิ ูร มลิวลั ย์ มจี านวน ๗๒ ปาง๑๔๒ความหมายของรปู สัญญะของแตล่ ะปางจะสัมพันธ์ กับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในพุทธประวัติดังตัวอย่างภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๔, ๔.๐๑๕, ๔.๑๐๖, ๔.๑๐๗, ๔.๑๐๘, ๔.๑๐๙ ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๔ พระพทุ ธรปู ปางประสตู ิ วัดไรข่ งิ จังหวดั นครปฐม รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง เหตกุ ารณ์ตอนประสูติ พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระรูปพระนางสิริมหามายาประทับยืน พระหัตถ์ทรงเหน่ียวรั้งก่ิงต้นรัง มีพระ กมุ ารประทบั ยนื อยบู่ นดอกบวั ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๕ พระพุทธรปู ปางสมาธิ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง เหตกุ ารณ์ตอนตรสั รู้ พระพุทธศาสนา คาอธิบาย พระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิ หงายพระหัตถ์ทั้งสองวางบนพระเพลา พระหัตถ์ขวา ซ้อนบนพระหัตถ์ซา้ ย ๑๔๑ใน ๖๖ ปาง จาแนกเป็นตามพระกรณียกจิ ทท่ี รงบาเพญ็ ในสว่ นอัตตจริยา ๑๗ ปาง, ญาตตั ถจริยา ๔ ปาง,โลกัตถจริยา ๔๓ ปาง และพุทธจริยา ๒ ปาง, พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี), ตานานพระพุทธรูปต่าง ๆ, [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: http://www.dhammajak.net/ [๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๗]. ๑๔๒รศ.ดร.ศกั ด์ิชัย สายสงิ ห์, ศ. เกยี รตคิ ุณไพฑรู ย์ พงศะบตุ ร,“พระพุทธรูป”, สารานกุ รมไทยสาหรับ เยาวชน เลม่ ๘, หนา้ ๒๑.

๑๔๑ ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๖ พระพุทธรปู ปางมารวชิ ัย รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง เหตุการณ์พุทธประวัติตอนพระพุทธองค์จะทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ พระพทุ ธศาสนา พญามารยกทัพมาทวงบัลลังก์ จึงทรงช้ีพระธรณีเป็นพยานในการบาเพ็ญบารมี เพ่ือบรรลุเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจา้ คาอธิบาย พระพุทธรูปน่ังขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาคว่า ลง นิว้ พระหัตถช์ ี้พระธรณี ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๗ ปางถวายเนตร รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงถึงเหตุการณ์สัปดาห์ที่ ๒ หลังตรัสรู้ ได้ประทับยืนทางด้านทิศ พระพทุ ธศาสนา ตะวันออกเฉียงเหนือของต้นพระศรีมหาโพธ์ิ จองพระเนตรต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ตลอดระยะเวลา ๗ วนั เรียกสถานท่ีแหง่ น้ีวา่ อนิมิสเจดยี ์ คาอธบิ าย พุทธลักษณะประทับยืน พระหัตถ์ทั้งสองห้อยประสานระหว่างหน้าพระเพลา พระหัตถ์ขวาประกบทบั พระหัตถ์ซ้าย ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๘ ปางนาคปรก รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงพุทธประวัติภายหลังตรัสรู้แล้ว ทรงเสวยวิมุตติสุขที่ต้นจิก พญานาคที่ พระพุทธศาสนา อาศัยอยู่สระใหญ่ใกล้ แสดงฤทธิ์ด้วยแผ่พังพาน ขนดหางล้อมรอบพระพุทธ องคม์ ิให้ต้องลมและฝน

๑๔๒ คาอธิบาย เป็นพระพุทธรูปประทับขัดสมาธิ พระหัตถ์ท้ังวางซ้อนบนพระเพลา พระหัตถ์ ขวางวางบนพระหัตถ์ซ้าย พญานาค ๗ เศียรแผ่พังพานเหนือพระเศียร และ ขนดตัวเปน็ พุทธบัลลงั ก์ ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๙ ปางราพึง รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงพทุ ธประวัตติ อนพจิ ารณาไวเนยสตั ว์ที่จะทรงโปรดวา่ มีสติปัญญาแตกต่าง พระพทุ ธศาสนา กัน เปรยี บเสมอื นกบั ดอกบวั ๔ ประเภท คาอธิบาย พุทธลักษณะประทับยืน พระหัตถ์ทั้งสองประสานกันที่พระอุระ พระหัตถ์ขวา ทบั พระหัตถ์ซ้าย เปน็ กริ ิยาราพงึ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๐ ปางปฐมเทศนา รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงพุทธประวัติตอนแสดงปฐมเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ท้ัง ๕ ที่ป่าอิสิปตนมค พระพทุ ธศาสนา ฤทายวนั แขวงเมืองพาราณสี วันเพญ็ เดือน ๘ คาอธบิ าย พุทธลักษณะประทับน่ังขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวายกข้ึนเสมอพระอุระ จีบนิ้วพระ หัตถ์ให้พระอังคุฐ (น้ิวโป้ง) และพระดัชนี (นิ้วช้ี) บรรจบกันเป็นวงกลม อัน หมายถงึ ธรรมจกั ร พระหตั ถ์ซ้ายวงบนพระเพลา

๑๔๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๑ ปางห้ามสมุทร รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงพุทธประวัติตอนเสด็จโปรดชฎิล ๓ พี่น้อง ท่ีริมฝ่ังแม่น้าเนรัญชรา ทรง พระพทุ ธศาสนา แสดงปาฏิหาริย์หลายประการเพ่ือทาลายทิฐิมานะของชฎิล คราวน้ันฝนตก หนัก ไหลบ่าท่วมแผ่นดิน พระองค์ทรงเดินจงกรมในที่แจ้งโดยไม่เปียกฝน น้า ไมท่ ่วม คาอธิบาย พทุ ธลักษณะประทบั ยืน ยกพระหัตถ์ท้งั ๒ แบเสมอพระอุระ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑๒ ปางอมุ้ บาตร รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงพุทธประวัติตอนเสด็จกลับเมืองกบิลพัสด์ุ ทรงพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ พระพุทธศาสนา ๒๐,๐๐๐ รูป เสดจ็ ออกรับบณิ ฑบาตใหช้ าวเมอื งได้ชนื่ ชมพระบารมี คาอธิบาย พุทธลกั ษณะประทบั ยนื พระหัตถ์ทั้งสองประคองบาตรไว้ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑๓ ปางเสด็จลงจากดาวดงึ ส์ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงพุทธประวัติตอนเสด็จไปโปรดพุทธมารดาที่สวรรค์ช้ันดาวดึงส์เป็น พระพทุ ธศาสนา ระยะเวลา ๓ เดือน ครั้นออกพรรษาแล้วจึงเสด็จลง คาอธบิ าย พุทธลักษณะประทับยืน ยกพระหัตถ์ทั้งสองตั้งแบเสมอพระอุดร จีบน้ิวพระ หัตถ์ทั้งสองในทา่ แสดงธรรม

๑๔๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๔ ปางห้ามแกน่ จันทร์ รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงถึงเหตุการณ์ครั้งขึ้นไปโปรดพุทธมารดาที่สวรรค์ช้ันดาวดึง ตานานเล่าว่า พระพุทธศาสนา พระเจ้าปัสเสนทิโกศล ทรงคิดถึงพระบรมศาสดา จึงรับสั่งให้ช่างแกะสลักรูป พระพุทธองค์ด้วยไม้จันทน์ แล้วนาไปประดิษฐานพระท่ีพระพุทธองค์เคย ประทับ เมื่อเสด็จลงจากดาวดึงส์ พระเจ้าปัสเสนทิโกศลจึงเชิญเสด็จ ทอดพระเนตรพระพุทธรูปไม้แกน่ จันทน์ พระแก่นจนั ทน์ลุกขึ้นถวายบังคมแล้ว เคลอ่ื นจากทป่ี ระทับ พระพุทธเจา้ จงึ ทรงห้าม พระแก่นจันทน์จึงประทับดังเดิม คาอธบิ าย พุทธลักษณะประทับยืน ห้อยพระกรขวาลง พระกรซ้ายยกขึ้น พระหัตถ์แบตั้ง เปน็ กรยิ าห้าม ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๕ ปางหา้ มญาติ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงพุทธประวัติตอนพระญาติฝ่ายศากยวงศ์และโกลิยวงศ์ทะเลาะกันเพราะ พระพุทธศาสนา แย่งน้าทานา เร่ืองบานปลายเกือบจะเกิดสงคราม พระพุทธองค์จึงเสด็จไปห้าม เร่อื งจงึ ยุตลิ ง คาอธิบาย พุทธลักษณะประทับยืน พระกรซ้ายห้อยลง พระกรขวาแบต้ังข้ึนระหว่างพระ อุระ

๑๔๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๖ ปางลลี า รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงพทุ ธลลี าในการเสดจ็ พระดาเนนิ ไปโปรดเหล่าเวไนยสตั ว์ตามแควน้ ต่าง ๆ พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พุทธลักษณะกาลังเสด็จดาเนิน พระบาทซ้ายก้าวไปข้างหน้า พระบาทขวาซ่น ยกขึ้นเล็กน้อย พระกรขวาอยู่ในท่าไกว พระหัตถ์ซ้ายยกข้ึนเสมอพระอุระ ป้อง ไปเบือ้ งตน้ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑๗ ปางปาลิไลยก์ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงพุทธประวัติตอนพระพุทธเจ้าปลีกวิเวกไปอยู่ในป่าลาพังพระองค์เดียว มี พระพทุ ธศาสนา เพยี งช้าง และลงิ ทาหน้าทอ่ี ปุ ฏั ฐากบารงุ คาอธบิ าย พุทธลักษณะประทับห้อยพระบาท พระหัตถ์ท้ังสองคว่าลงบนพระชานุทั้งสอง เป็นกริ ยิ าทรงรับ มชี ้างมอบถวายกระบอกนา้ ลงิ ถวายรวงผง้ึ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๘ ปางปรินิพพานหรือปางไสยาสน์ รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง แสดงเหตุการณ์พุทธประวัติตอนก่อนปรินิพพาน ทรงประทานโอวาทแก่ พระพทุ ธศาสนา พระภิกษุเป็นคร้ังสุดท้าย จากน้ันก็เข้าสู่ปรินิพพาน เม่ือวันเพ็ญเดือน ๖ ระหวา่ งตน้ รงั คู่ เมืองกสุ ินารา คาอธบิ าย พุทธลักษณะบรรทมตะแคงขวา หลับพระเนตร พระเศียรหนุนพระเขนย ฝ่า พระหัตถ์ขวารองรับพระเศียร พระกรซ้ายขนานแนบกับพระปรัศว์ พระบาท ซา้ ยซอ้ นทับพระบาทขวา เหยยี ดพระบาทเสมอกนั ทงั้ สองข้าง

๑๔๖ นอกจากน้ี ประตมิ ากรรมรูปเคารพ ยังถูกใช้เปน็ สัญลักษณ์สะท้อนวิถชี ีวิต คติความ เช่ือของคนในชุมชน หรือในสังคมไทยในรูปแบบต่าง ๆ เช่น พระพุทธรูปประจาพระชนมวารพระ ประจาวนั เกดิ , พระคู่บ้านคเู่ มือง, กาเนิดตานานโบราณสถาน โบราณวัตถุศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคเู่ มอื ง ดงั จะ ไดก้ ลา่ วต่อไป (๑) พระพุทธรปู ประจาพระชนมวาร หมายถึง พระพุทธรปู ที่พระมหากษตั ริย์ หรือ พระบรมวงศานุวงศ์ทรงมีพระราชทานสร้างข้ึนประจาพระองค์ หรือสร้างถวายพระบรมราช บุพการี๑๔๓ ส่ือความหมายได้ว่า ในสังคมไทย มีการสร้างพระพุทธรูปเป็นสัญลักษณ์ประจาพระองค์ ดังตัวอย่างภาพประกอบที่ ๔.๑๑๙, ๔.๑๒๐, ๔.๑๒๑, ๔.๑๒๒, ๔.๑๒๓, ๔.๑๒๔ และ ๔.๑๒๕ ตามลาดบั ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๙ พระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาร รัชกาลที่ ๑,๒,๗ รปู สญั ญะ ร.๑ ร.๒ ร.๗ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระพทุ ธรปู ประจาพระชนมวาระ รัชกาลท่ี ๑,๒,๗ ภาพประกอบที่ ๔.๑๒๐ พระพุทธรูปประจาพระชนมวาร รชั กาลที่ ๓ รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรปู ปางหา้ มญาติ พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระพุทธรูปประจาพระชนมวาระพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ ๓ ๑๔๓พระพุทธรูปประจาพระชนมวาร, วิกิพีเดีย สารานุ กรมเสรี, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://th.wikipedia.org/ [๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๗].

๑๔๗ ภาพประกอบที่ ๔.๑๒๑ พระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาร รัชกาลที่ ๔ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรูปปางสมาธิ พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พระพุทธรูปประจาพระชนมวาระพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๒ พระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาร รัชกาลท่ี ๕ รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรปู ปางห้ามแก่นจันทน์ พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาระพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี ๕ ภาพประกอบที่ ๔.๑๒๓ พระพทุ ธรปู ประจาพระชนมวาร รัชกาลท่ี ๖ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรปู ปางนาคปรก พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระพทุ ธรปู ประจาพระชนมวาระพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลท่ี ๖

๑๔๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๔ พระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาร รัชกาลที่ ๘ รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรูปปางถวายเนตร พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระพุทธรูปประจาพระชนมวาระพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหดิ ล รชั กาลท่ี ๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๕ พระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาร รัชกาลท่ี ๙ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรูปปางอภัยมุทรา พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พระพุทธรูปประจาพระชนมวาระพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดลุ ยเดช รัชกาลท่ี ๙ อน่ึง ธรรมเนียมการสร้างพระประจาพระชนมวาร น่าจะมีมานานแล้ว เพราะมี หลักฐานบันทึกไว้ เช่น พระเจ้าฝนแสนห่า ตานานเล่าว่า เดิมก็เป็นพระพุทธรูปประจาพระองค์ของ พระนางจามเทวี กษัตรยิ ผ์ ้คู รองนครหริภญุ ไชย๑๔๔ (๒) พระพุทธรูปประจาวันเกิด คนไทยที่นับถือพระพุทธศาสนา นิยมกาหนด พระพุทธรูปปางต่าง ๆ สาหรบั บูชา โดยถือเปน็ พระประจาวันเกิด ทานองเดียวกับพระพุทธรปู ประจา พระชนมวาร ดงั รายละเอียดในภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๖,๔.๑๒๗, ๔.๑๒๘, ๔.๑๒๙, ๔.๑๓๐, ๔.๑๓๑, ๔.๑๓๒, และ ๔.๑๓๓ ตามลาดบั ๑๔๔ เ ชี ย ง ใ ห ม่ นิ ว ส์ , “ พ ร ะ เ จ้ า ฝ น แ ส น ห่ า ” [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.chiangmainews.co.th/page/?p=174362 [๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๖].

๑๔๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๖ พระพุทธรปู ประจาวนั เกิด วันอาทติ ย์ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรูปปางถวายเนตร พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย ผู้เกิดวนั อาทิตย์ กาหนดให้พทุ ธรูปปางถวายเนตร เปน็ พระประจาวันเกดิ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๗ พระพทุ ธรูปประจาวนั เกดิ วันจนั ทร์ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรปู ปางห้ามญาติ พระพุทธศาสนา คาอธิบาย ผเู้ กดิ วนั จันทร์ กาหนดใหพ้ ทุ ธรูปปางห้ามญาติ เปน็ พระประจาวนั เกิด ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๘ พระพุทธรปู ประจาวันเกิด วนั องั คาร รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรปู ปาง พระพุทธศาสนา คาอธิบาย ผู้เกดิ วันองั คาร กาหนดให้พทุ ธรูปปางไสยาสน์ เป็นพระประจาวนั เกิด

๑๕๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๒๙ พระพทุ ธรูปประจาวนั เกดิ วันพุธ (กลางวนั ) รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรูปปางอุม้ บาตร พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย ผเู้ กิดวันพุธ (กลางวนั ) กาหนดใหพ้ ทุ ธรปู ปางอุม้ บาตร เป็นพระประจาวันเกิด ภาพประกอบท่ี ๔.๑๓๐ พระพทุ ธรปู ประจาวันเกดิ วันพธุ (กลางคืน) รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์ พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย ผเู้ กิดวันพุธ (กลางคนื ) กาหนดให้พทุ ธรูปปางปา่ เลไลยก์ เปน็ พระประจาวนั เกดิ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๑ พระพุทธรปู ประจาวันเกดิ วนั พฤหัสบดี รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรปู ปางสมาธิ พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย ผูเ้ กิดวนั พฤหสั บดี กาหนดให้พุทธรปู ปางสมาธิ เปน็ พระประจาวันเกดิ

๑๕๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๓๒ พระพุทธรปู ประจาวนั เกดิ วนั ศกุ ร์ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรปู ปางราพึง พระพุทธศาสนา คาอธิบาย ผเู้ กดิ วันศกุ ร์ กาหนดใหพ้ ุทธรูปปางราพงึ เปน็ พระประจาวันเกิด ภาพประกอบท่ี ๔.๑๓๓ พระพุทธรปู ประจาวันเกดิ วนั เสาร์ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรูปปางนาคปรก พระพุทธศาสนา คาอธบิ าย ผ้เู กิดวันเสาร์ กาหนดใหพ้ ทุ ธรูปปางนาคปรก เป็นพระประจาวนั เกดิ (๓) พระคู่บ้านคู่เมือง หรือพระพุทธรูปสาคัญ หมายถงึ พระพุทธรปู สาคัญ เป็นที่ เคารพสักการะของประชาชน ได้รบั การยกย่องว่าเปน็ ส่ิงสาคัญคบู่ ้านคูเ่ มอื งมาเปน็ ระยะเวลายาวนาน พระพุทธรูปสาคัญที่ถือเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง มีอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย พระพทุ ธรูปเหล่านี้ ได้กลายเปน็ สัญลักษณ์ของชมุ ชน บางองคเ์ ป็นสญั ลกั ษณค์ ู่บ้านคู่เมอื งระดบั อาเภอ บางองค์เป็นสัญลักษณ์ประจาจังหวัด ขณะท่ีบางองค์เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ นอกจากน้ัน พระพุทธรูปบางองค์ ยังถกู นาไปใช้เป็นสัญลักษณ์อย่างอื่น เช่น ความอุดมสมบูรณ์ โชคลาภ ปกป้อง รักษา ตัวอย่างพระพุทธรูปสาคัญท่ีได้รับการยกย่องเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง หรือใช้เป็น สัญลักษณ์อ่ืนปรากฏในภาพประกอบที่ ๔.๑๓๔, ๔.๑๓๕, ๔.๑๓๖, ๔.๑๓๗, ๔.๑๓๘, ๔.๑๓๙, ๔.๑๔๐, ๔.๑๔๑, ๔.๑๔๒, ๔.๑๔๓, ๔.๑๔๔, ๔.๑๔๕, ๔.๑๔๖, ๔.๑๔๗, ๔.๑๔๘, ๔.๑๔๙, ๔.๑๕๐, ๔.๑๕๑, ๔.๑๕๒, ๔.๑๕๓, ๔.๑๕๔, ๔.๑๕๕, ๔.๑๕๖, ๔.๑๕๗, ๔.๑๕๘, ๔.๑๕๙, ๔.๑๖๐,๔.๑๖๑, ๔.๑๖๒, ๔.๑๖๓, ๔.๑๖๔, ๔.๑๖๕, ๔.๑๖๖, ๔.๑๖๗, ๔.๑๖๘, ๔.๑๖๙, ๔.๑๗๐ และ ๔.๑๗๑ ตามลาดบั

๑๕๒ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๔ พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร (พระแก้วมรกต) รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระคู่บา้ นคเู่ มือง พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย เปน็ พระพทุ ธรูปทาดว้ ยหยกสเี ขยี ว ปางสมาธิ พระพักตรกลม หน้าตกั กว้าง ๑๙ น้ิว พบครั้งแรกเม่ือปี พ.ศ.๑๙๗๘ ที่จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่ วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม กรงุ เทพฯ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๕ พระพุทธสหิ งิ ค์ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระค่บู ้านคเู่ มือง พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระพุทธสิหิงค์ หล่อด้วยทองสาริด ปางสมาธิ พระพักตร์รูปไข่ พระรัศมีเป็น เปลว ชายสังฆาฏิยาวจรดพระนาภี หน้าตักกวา้ ง ๖๖ เซนติเมตร ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๖ พระเจ้าแข้งคม รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง เป็นพระคู่เมือง และเปน็ ศูนย์รวมจิตใจของชาวเมืองเชียงใหม่ มีการอัญเชิญมา พระพุทธศาสนา ให้ชาวเมืองสรงนา้ ชว่ งสงกรานตเ์ ปน็ ประจาทกุ ปี คาอธิบาย ประดิษฐานอยู่ท่ีวัดศรีเกดิ อาเภอเมือง จงั หวัดเชียงใหม่ พระเจ้าติโลกราช โปรดใหห้ ล่อขึน้ ประมาณ พ.ศ. ๒๐๒๗

๑๕๓ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่ขัดสมาธิราบ วัสดุสาริดลงรักปิด ทอง ขนาดหน้าตกั กว้าง ๙๔ นวิ้ สงู ๑๑๒ นว้ิ น้าหนกั ๓,๙๖๐ กิโลกรัม ศิลปะ สมยั ล้านนา มีลักษณะพิเศษคอื พระชงฆ์เปน็ สันข้ึนจงึ เรียกวา่ \"แข้งคม\"๑๔๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๓๗ พระเจา้ ฝนแสนห่า รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง เปน็ สัญลักษณข์ องความอุดมสมบรู ณ์ เพราะชาวบ้านเชอื่ ว่าสามารถบรรดาลให้ พระพทุ ธศาสนา ฝนตกลงมาได้ คาอธิบาย ประดิษฐานอยู่ท่ีวัดช่างแต้ม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพระพุทธรูป ทองสัมฤทธิ์ ปางมารวิชัย ศิลปะเชียงแสนลังกา มีขนาดหน้าตักกว้าง ๒๕ นิ้ว สูง ๓๕ น้ิว สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ ระบุว่า หมื่นดาบเรือนเป็น ผสู้ รา้ ง เมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๒๐๓๒๑๔๖ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๘ พระพุทธปา้ นปิง รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ์ของการปกป้องภัยอันตรายจากธรรมชาติ (น้าท่วม) ชาวบ้านจึง พระพุทธศาสนา ขนานพระนามว่า พระพุทธปา้ นปงิ คาอธบิ าย พระพุทธป้านปิงประดษิ ฐานอยูท่ ่ีวัดพระนอนหนองผึ้ง ต.หนองผ้งึ อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ความหมายของคาว่า \"ป้าน\" คือ ต้านน้าปิงไว้ให้ไหลเบ่ียงออกซ้ายขวาไป ภายหลงั จากสร้างพระนอนป้านปงิ เสร็จเรียบร้อย ปรากฏว่านา้ ปิงไม่เคยไหลมา ทว่ มในหม่บู ้านแห่งนี้ รวมทั้งจงั หวดั ลาพูนด้วย๑๔๗ ๑๔๕ข่าวสดรายวัน, “พระเจ้าแข้งคม วัดศรีเกิดจ.เชียงใหม่ ” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROaWRXUXdOVEU0TURZMU5BPT0= [๑ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖]. ๑๔๖สารานกุ รมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ เลม่ ๘, (กรุงเทพฯ: มูลนิธสิ ารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณชิ ย์ จากัด, ๒๕๔๒), หนา้ ๔๓๑๓. ๑๔๗ ข่ า ว ส ด ร า ย วั น , “ พ ร ะ พุ ท ธ ไ ส ย า ส น์ ” [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid [๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖].

๑๕๔ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๙ พระเจ้าตนหลวง รูปสัญญะ คาอธิบาย พระเจ้าตนหลวง ประดษิ ฐานอยทู่ ่วี ดั ศรีโคมคา ตาบลเวียง อาเภอเมอื ง จังหวดั พะเยา สร้างข้ึนในปี พ.ศ. ๒๐๓๔ ตรงกับรัชสมัยของพญายอดเชียงราย กษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังราย เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปิดทองปางมารวิชัย สกลุ ชา่ งเชียงแสน มขี นาดใหญ่สดุ ในดินแดนลา้ นนา๑๔๘ สัญลักษณ์ทาง ๑. สญั ลกั ษณพ์ ระคู่บ้านคูเ่ มอื งจงั หวดั พะเยา พระพุทธศาสนา ๒. สัญลักษณ์ประจาจังหวดั ภาพประกอบที่ ๔.๑๔๐ หลวงพ่อเพชร รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระคบู่ า้ นคเู่ มืองจงั หวัดพจิ ติ ร พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย หลวงพ่อเพชรประดิษฐานอยู่ท่ีวัดท่าหลวง ต.ในเมือง อ.เมืองพิจิตร เป็น พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนรุ่นแรก ปางมารวิชัย ขัดสมาธิเพชร หล่อด้วยโลหะ สาริด ขนาดหนา้ ตกั กวา้ ง ๒ ศอก ๑ คืบ ๖ นิ้ว สงู ๓ ศอก ๓ นิ้ว สรา้ งระหว่าง ปี พ.ศ. ๑๖๖๐-๑๘๘๐๑๔๙ ๑๔๘วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, “พระเจ้าตนหลวง”, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://th.wikipedia.org/ wiki/.[๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๖]. ๑๔๙พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ส า คั ญ ข อ ง ไ ท ย , “ ห ล ว ง พ่ อ เ พ ช ร ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5331491&Ntype=42 [๑ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖].

๑๕๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๑ พระพทุ ธชนิ ราช รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระคู่บ้านคู่เมอื งของจังหวดั พษิ ณุโลก พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พระพุทธชินราชประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เมืองพิษณุโลกน้ันเป็น ที่ รู้กันว่ามีความสาคัญมากองค์หนึ่งและถูกยกย่องว่า “งาม” ท่ีสุดในบรรดา พระพุทธรูปท้ังหลายในเมอื งไทย ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๒ พระเจ้าพรา้ โต้ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระคูบ่ า้ นคู่เมอื ง พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระเจ้าพร้าโต้ประดิษฐาน ณ วัดพระธาตศุ รดี อนคาหรือวัดพระธาตุห้วยออ้ หมู่ ๗ ต.ห้วยอ้อ อ.ลอง จ.แพร่ เหตุท่ีชื่อพระเจ้าพร้าโต้เพราะเป็นพระพุทธรูปที่ แกะดว้ ยพร้าโต้ (มีดอโี ต้) ไม้ที่ใช้แกะสลกั เป็นไมจ้ นั ทน์ทัง้ ต้น๑๕๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๓ พระพุทธสหิ งิ ค์ รูปสัญญะ ๑๕๐พ ร ะ เ จ้ า พ ร้ า โ ต้ , พ ร ะ ธ า ตุ ศ รี ด อ น ค า จั ง ห วั ด แ พ ร่ , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538727542&Ntype=42 [๑ ๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๗].

๑๕๖ สัญลักษณ์ทาง พระคบู่ า้ นคูเ่ มือง พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระพุทธสิหิงค์ (พระสิงห์ปาย) ประดิษฐานอยู่ท่ีวัดศรีดอนชัย ต.เวียงเหนือ อ. ปาย จ.แม่ฮ่องสอน เป็นพระพุทธรูปศิลปะเน้ือทองสาริด ปางมารวิชัยเชียง แสนสิงห์ยุคแรกสร้างในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๗-๑๘ อายุราวประมาณ ๗๐๐- ๘๐๐ ปี๑๕๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๔ หลวงพ่อโต วดั ชัยชนะสงคราม จังหวดั ตาก รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระศกั ดส์ิ ทิ ธค์ิ บู่ า้ นคเู่ มอื ง พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย หลวงพ่อโต วัดชัยชนะสงคราม จังหวัดตาก สร้างข้ึนราวพุทธศักราช ๒๒๙๙ เป็นพระพุทธรูปสาคัญประจาจังหวัดตาก \"หลวงพ่อโต-บันดาลชัยให้สม ปรารถนา\" ภาพประกอบที่ ๔.๑๔๕ พระมงคลบพิตร จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรูปศักดสิ์ ทิ ธค์ิ ู่บ้านคู่เมือง พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พระมงคลบพิตรประดิษฐานอยู่ที่วัดมงคลบพิตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าสร้างใน สมัยอยุธยาตอนต้นเพราะพระพักตร์แม้จะมีลักษณะ ค่อนข้างเป็นวงรีแล้วแต่ก็ยังคงเห็นเค้าพระพักตร์เป็นเหล่ียมอยู่ ซึ่งเป็นพุทธ ลักษณะแบบอยุธยาตอนต้นเมื่อพิจารณาถึงเส้นพระขนงที่โค้ง ก็จะพบว่าพระ ๑๕๑พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ส า คั ญ ข อ ง ไ ท ย , “ พ ร ะ พุ ท ธ สิ หิ ง ค์ ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538723905&Ntype=42 [๑ ๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๗].

๑๕๗ มงคลบพิตรเป็นศิลปที่ผสมผสานกับศิลปะสุโขทัยอีกด้วย องค์พระก่อด้วยอิฐ แล้วหุ้มสารดิ แผ่นนบั เป็นพระพทุ ธรปู ท่ีใหญท่ ี่สดุ องค์ หนงึ่ ของไทย๑๕๒ ภาพประกอบที่ ๔.๑๔๖ พระศาสดา รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง เปน็ พระพุทธรปู สาคัญคูบ่ ้านค่เู มือง พระพุทธศาสนา คาอธบิ าย พระศาสดา เป็นพระที่สร้างรุ่นเดียวกับพระพุทธชินราช, พระพุทธชินสีห์ ปัจจบุ นั ประดิษฐานอยูท่ ่วี ดั บวรนิเวศวหิ าร กรุงเทพมหานคร ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๗ หลวงพอ่ โต รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง เปน็ พระพุทธรูปคู่บ้านคเู่ มอื ง พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย หลวงพอ่ โต วัดปา่ เลไลยก์ สพุ รรณบุรี เป็นพระพุทธรูปปูนปนั้ ปดิ ทองปาง ปา่ เล ไลยก์ขนาดใหญ่สูง ๒๓ เมตรเศษ สร้างตามแบบศิลปอู่ทองรุ่นที่สอง ซ่ึงเป็น ศิลปะฝีมือสกุลช่างอู่ทอง๑๕๓ ๑๕๒พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ส า คั ญ ข อ ง ไ ท ย , “ พ ร ะ ม ง ค ล บ พิ ต ร ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5331550&Ntype=42 [๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖]. ๑๕๓พระพุทธรูปสาคัญของไทย, “หลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์ ”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5331549&Ntype=42 [๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๖].

๑๕๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๘ พระเสริม รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระพทุ ธรปู ประจาพระองค์ พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระเสริม ประดิษฐานอยู่ที่วัดปทุมวนาราม กรุงเทพมหานคร หล่อข้ึนจากทอง สีสุก เมื่อราวปี พ.ศ. ๒๑๐๙ โดยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช กษัตริย์ล้านช้าง พร้อมดว้ ยพระธดิ า ๓ พระองค์ ทรงพระนามวา่ พระธิดาเสริม พระธิดาสกุ และ พระธิดาใสโปรดให้ช่างลาวล้านช้างหล่อพระพุทธรูปประจาพระองค์เพ่ือความ เป็นสริ มิ งคล๑๕๔ ภาพประกอบที่ ๔.๑๔๙ พระพุทธโสธร รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระศกั ดส์ิ ิทธ์ิคบู่ ้านคู่เมอื งจังหวัดฉะเชิงเทรา พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระพุทธโสธร ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระพุทธโสธร จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็น พระพุทธรูปพอกปูนลงรักปิดทองพระพุทธรูปปางสมาธิแบบล้านช้างหน้าตัก กว้างประมาณสามศอกคร่งึ ๑๕๕ ๑๕๔พระพุทธรูปสาคัญของไทย, “ประวัติพระเสริมวัดปทุมวนาราม”, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538710315&Ntype=42 [๕ มกราคม ๒๕๕๗]. ๑๕๕พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ส า คั ญ ข อ ง ไ ท ย , “ พ ร ะ พุ ท ธ โ ส ธ ร ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5331547&Ntype=42 [๒ ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖].

๑๕๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๐ หลวงพ่อโต รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ๑.เปน็ อนุสรณ์ว่าทา่ นยืนและเดินได้ ณ สถานทแ่ี หง่ นี้๑๕๖ พระพทุ ธศาสนา ๒.เปน็ ศูนย์รวมจติ ใจของชุมชนมเี ทศกาลนมัสการประจาปีตราบเทา่ ถงึ ปัจจบุ นั คาอธิบาย หลวงพ่อโต วัดอินทรวิหาร กรุงเทพมหานคร เป็นพระปฏิมากรปางประทับยืน อุ้มบาตร สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรสี) เป็นผู้ริเริ่มสร้างขึ้นเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๐๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๑ พระพทุ ธมหาธรรมราชา รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรูปศักด์สิ ทิ ธค์ิ บู่ า้ นค่เู มืองเพชรบูรณ์ พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พระพุทธมหาธรรมราชา ประดิษฐานอยู่ที่วัดไตรภูมิ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็น พระพทุ ธรปู ปางสมาธิทรงเคร่ืองแบบกษตั รยิ ์ ศิลปะลพบรุ ี ภาพประกอบที่ ๔.๑๕๒ หลวงพ่อบา้ นแหลม รูปสัญญะ ๑๕๖ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรฺหมฺรสี) สร้างพระพุทธไสยาน์ท่ีวัดสะตือ อ.ท่าเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา เพ่ือเป็นที่ระลึกสถานที่เกิดของท่าน, สร้างหลวงพ่อโต วัดไชโย อ.ไชโย จ.อ่างทอง เป็นท่ีระลึก เม่ือท่านนั่งได้ในเยาวัย, สร้างพระพุทธรูปยืนที่วัดอนิ ทรวิหาร บางขนุ พรหม กรุงเทพ ฯ เพ่ือระลึกถึงเมื่อท่านยืนได้ แต่สร้างไม่สาเร็จเพราะท่านมรณภาพก่อน ที่มา: คณะปารมิตา, อารมณ์ขันและความศักด์ิสิทธิ์ของสมเด็จพระ พฒุ าจารย์ (โต พรหมรงั ส)ี พมิ พ์เป็นท่ีระลึกงานพระราชทานเพลงิ ศพ นางนวลจันทร์ ดมี า ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๗, หน้า ๖๕.

๑๖๐ สัญลักษณ์ทาง ๑. ตานานชมุ ชน พระพทุ ธศาสนา ๒. พระศกั ดสิ์ ทิ ธค์ิ ู่บ้านคูเ่ มอื ง คาอธบิ าย หลวงพ่อวัดบ้านแหลมประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถวัดเพชรสมุทรวรวิหาร จังหวัดสมุทรสงคราม หล่อด้วยสัมฤทธิ์ผสมด้วยทอง เงิน นาก พระพุทธรูปยืน ปางอุ้มบาตรสงู เท่าคนจริง สร้างขึ้นในสมยั กรุงศรอี ยุธยา ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๓ พระคันธารราษฎร์ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ความมั่นคง ย่งั ยืนดังศิลาจะบงั เกิดแก่ผ้เู คารพบชู า พระพุทธศาสนา คาอธิบาย พระคันธารราษฎร์ เป็นพระพุทธศิลาสีเขียว ประดิษษฐานอยู่ที่วัดหน้าพระเมรุ รมิ คลองสระบัว ต.ทา่ วาสกุ รีอ.พระนครศรอี ยธุ ยา จ.พระนครศรีอยธุ ยา ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๔ หลวงพอ่ พุทธวเิ ศษ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง รักษาความเจ็บป่วยแกผ่ ้เู คารพบูชา พระพทุ ธศาสนา พระคบู่ า้ นคู่เมือง คาอธบิ าย หลวงพ่อพระพุทธวิเศษ วัดทุ่งศรีวิไล ต.ชีทวนอ.เขื่องในจ.อุบลราชธานี เป็น พระพุทธรูปปางนาคปรก สร้างจากศิลาแลงหน้าตักกว้าง ๕๕ เซนติเมตร สูง ๙๐ เซนตเิ มตร ยคุ ทวารวดีอายกุ วา่ พันปี ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๕ พระเจ้าใหญ่อินแปลง รูปสญั ญะ

๑๖๑ สัญลักษณ์ทาง พระคบู่ ้านคูเ่ มืองจังหวัดอบุ ลราชธานี พระพุทธศาสนา คาอธบิ าย พระเจ้าใหญ่อินแปลง ประดิษฐานอยู่ท่ีวัดมหาวนาราม (วัดป่าใหญ่) ตาบลใน เมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพระพุทธรูปก่อดว้ ยอิฐถอื ปนู ลงรัก ปิดทอง หนา้ ตกั กว้าง ๓ เมตร สงู ๕ เมตร ในศลิ าจารกึ ไว้วา่ พระครศู รีสทั ธรรม วงศา เจ้าอาวาสสร้างเสร็จเม่ือวันอาทิตย์ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๕ เวลาบ่ายโมง พ.ศ. ๒๓๕๐ ตรงกับสมัยเจ้าเมอื งอุบลราชธานคี นท่ี ๒๑๕๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๖ หลวงพ่อดา รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ๑.สญั ลกั ษณแ์ ทนพระพทุ ธเจ้า และการใช้สดี าเป็นสญั ลกั ษณพ์ ระนาม พระพุทธศาสนา ๒.พระคู่บา้ นคู่เมอื ง ๓. นามาซึ่งความสาเร็จในหนา้ ที่การงาน กิจการค้าขายรุ่งเรือง สุขภาพอนามัย แขง็ แรงแกผ่ ู้สกั การะบูชา คาอธิบาย หลวงพ่อดาประดิษฐานอยู่ที่วัดพระธาตุราษฎร์บารุง ตาบลหนองกอมเกาะ อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตัก ๔๘ นิ้ว จาลองแบบมาจากหลวงพอ่ ดาท่ีประเทศอินเดยี ๑๕๘ ภาพประกอบที่ ๔.๑๕๗ หลวงพอ่ พระใส รูปสญั ญะ ๑๕๗คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดอุบลราชธานี (กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ จดหมายเหตุใน คณะอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒),หน้า ๑๒๑. ๑๕๘ประภาพร สอนราช, “ประวัติหลวงพ่อดาวัดพระธาตุราษฎร์บารุง”, ข่าวสด, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538722987&Ntype=42 [๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖].

๑๖๒ สัญลักษณ์ทาง เปน็ พระคู่บา้ นคเู่ มอื งหนองคาย พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย หลวงพ่อพระใสประดิษฐานอยู่ที่วัดโพธิ์ชัย จังหวัดหนองคาย เป็นพระพุทธรูป หล่อสมัยลา้ นช้าง หนา้ ตักกว้าง ๒ คบื ๘ น้ิว๑๕๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๘ พระเจา้ องคแ์ สน รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ความอุดมสมบรู ณ์ เจรญิ รงุ่ เรือง พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พระเจ้าองค์แสน ประดิษฐานอยู่ที่วัดโพธิ์ชัยนาพึงอ.นาแห้ว จ.เลยด้วยทอง สาริด ศิลปะล้านช้าง พุทธศตวรรษที่ ๒๒-๒๓ ขนาดหน้าตักกว้าง ๓๔.๙ เซนตเิ มตรสงู จากฐาน ๖๑ เซนตเิ มตร ฐานกว้าง ๓๔.๕ เซนตเิ มตร๑๖๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๕๙ หลวงพ่อองคแ์ สน รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระคูบ่ ้านค่เู มืองจงั หวดั สกลนคร พระพุทธศาสนา คาอธิบาย หลวงพ่อองค์แสน, ประดิษฐานอยู่ที่วหิ ารวัดพระธาตเุ ชิงชุม อ.เมอื ง จ.สกลนคร สร้างราวพุทธศักราช ๑๘๐๐ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะเชียงแสน ขัดสมาธิราบ ก่ออิฐถือปูน ลงรักปิดทอง ขนาดหน้าตักกว้าง ๒ เมตร สูงจาก ฐานถึงพระเมาลี ๓.๒๐ เมตร เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของชาวสกลนคร ๑๕๙ป ร ะ ภ า พ ร ส อ น ร า ช , “ ห ล ว ง พ่ อ พ ร ะ ใ ส ” , ข่ า ว ส ด , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=5331492&Ntype=42 [๒ ๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖]. ๑๖๐พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ส า คั ญ ข อ ง ไ ท ย , “ พ ร ะ เ จ้ า อ ง ค์ แ ส น ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538962059&Ntype=42 [๒ ๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖].

๑๖๓ เคียงคู่มากับ “พระธาตุเชิงชุม” และเป็นพระพุทธรูปท่ีศักด์ิสิทธ์ิมากอีกองค์ หน่ึงของประเทศไทย๑๖๑ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖๐ พระพุทธสัมฤทธน์ิ ริ โรคันตราย รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. พระคูบ่ ้านคเู่ มอื งกาฬสินธุ์ พระพทุ ธศาสนา ๒. ความช่มุ เยน็ คาอธิบาย พระพุทธสัมฤทธิ์นิรโรคันตราย หรือ “หลวงพ่อองค์ดา” ประดิษฐานอยู่ที่ วัดกลางต.กาฬสินธุ์ อ.เมอื ง จ.กาฬสินธุ์ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หล่อด้วยคาแดง (ตัมพะโลหะ) มีขนาดหน้า ตักกว้าง ๔๑ เซนติเมตร ความสูงจากฐานถึงยอดพระเมาลี ๗๕ เซนติเมตร พุทธลักษณะเป็นงานช่างที่เก่าแก่มาก ใต้ฐานองค์พระพุทธรูปมีอักษรจารึก (อักษรธรรม) กล่าวถึงประวัติศาสตร์และตานานการสร้างโดยญาคูนาขาม (ญา คูกิว) ซึ่งเป็นประธานในการหล่อพระพุทธรูปองค์นี้ขึ้น ร่วมกับอุบาสกอุบาสิกา จัดสร้างขึ้นเม่ือปีมะเมีย เดือน ๒ ข้ึน ๑๕ ค่า ตรงกับวันพฤหัสบดี ในราว จลุ ศักราช ๑๗๒๑๖๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๑ หลวงพอ่ พระยนื มงิ่ มงคล รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระศักดส์ิ ิทธ์คิ ูบ่ า้ นคเู่ มือง พระพุทธศาสนา ๑๖๑ ล า น ธ ร ร ม จั ก ร , “ ห ล ว ง พ่ อ อ ง ค์ แ ส น ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=24&t=32729 [๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖]. ๑๖๒ล า น ธ ร ร ม จั ก ร , “ พ ร ะ พุ ท ธ สั ม ฤ ท ธิ์ นิ ร โ ร คั น ต ร า ย ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=24&t=46013 [๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖].

๑๖๔ คาอธบิ าย หลวงพ่อพระยืนม่ิงมงคลประดิษฐานอยู่บริเวณโรงเรียนชุมชนบ้านพระยืน ต.พระยืน อ.พระยืน จ.ขอนแก่น เป็นพระพุทธรูปศิลาสร้างข้ึนประมาณพุทธ ศตวรรษท่ี ๑๑-๑๙ ยคุ ขอมเรอื งอานาจ๑๖๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๒ พระต้ิว-พระเทยี ม รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระศกั ดสิ์ ทิ ธิค์ บู่ า้ นคู่เมือง พระพุทธศาสนา คาอธิบาย พระต้ิว-พระเทียมประดิษฐาน ณ วิหาร วัดโอกาสศรีบัวบาน จ.นครพนม สาหรับตานานการสร้างนั้นเป็นพระพุทธรูปทาจากไม้ติ้วบุด้วยทองคาแกะสลัก ปางมารวชิ ยั มีขนาดหนา้ ตักกว้าง ๓๙ เซนติเมตร สูง ๖๐ เซนตเิ มตรสันนษิ ฐาน วา่ สร้างข้ึนเม่อื ปี พ.ศ. ๑๓๒๘ ในสมัยอาณาจักรศรโี คตรบรู กาลังรุ่งเรอื ง๑๖๔ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖๓ พระนอนวัดไสไทย รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง การสอนให้ละทิฏฐมิ านะ พระพุทธศาสนา คาอธบิ าย พระนอนวัดไสไทยประดิษฐานอยู่ท่ีวัดไสไทย บ้านไสไทย อาเภอเมือง จังหวัด กระบี่ เป็นพระพุทธรูปปางโปรดสุรินทราหู การสร้างพระพุทธนอนปางโปรด สุรินทราหู เป็นปรัชญาในการสอนให้คนรู้จักละทิฐิ ไม่เป็นหลงตัวเองดัง สรุ ินทราหู๑๖๕ ๑๖๓ล า น ธ ร ร ม จั ก ร , “ ห ล ว ง พ่ อ พ ร ะ ยื น มิ่ ง ม ง ค ล ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=24&t=19118 [๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖]. ๑๖๔ ล า น ธ ร ร ม จั ก ร , “ พ ร ะ ต้ิ ว - พ ร ะ เ ที ย ม ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?t=41187 [๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๖]. ๑๖๕เรอ่ื งเดยี วกัน.

๑๖๕ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖๔ หลวงพอ่ แก่ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง หา้ มฝน ผู้ใดจัดงานหากเกรงวา่ ฝนตกถา้ ได้บนบานกจ็ ะสาเร็จสมประสงค์ พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย หลวงพ่อแก่ ประดิษฐานอยู่ที่วัดดุลยาราม ต.ฉลุง อ.เมือง จ.สตูล เป็น พระพุทธรูปทรงเครื่องแกะสลักด้วยไม้ สูงประมาณ ๗๐-๘๐ เซนติเมตร ปาง ห้ามญาติ มีเค้าพระพักตร์เป็นหญิง แบบนางพญาหรือพระหน้านาง ฝีมือช่าง ทางภาคเหนือหรอื ลา้ นช้าง คาว่า \"พ่อแก่\" หมายถึงพระผู้เฒ่าผู้แก่เป็นที่เคารพนับถือของประชาชน ทว่ั ไป๑๖๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๕ หลวงพ่อนา้ รอบ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. คมุ้ ครองใหพ้ น้ ภัยในการเดนิ ทาง พระพทุ ธศาสนา ๒. เกดิ สัญลักษณใ์ นการบูชา ๓ ประการ คอื จดุ ประทดั , ห่มผา้ และปิดทอง คาอธบิ าย หลวงพ่อวัดน้ารอบ ประดิษฐานอยู่ที่มณฑปวัดไตรมารคสถิต (โคกกลอย) อ. ตะกัว่ ท่งุ จ.พงั งา เปน็ พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ัย วสั ดุปนู ปั้นปดิ ทอง๑๖๗ ๑๖๖พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ส า คั ญ ข อ ง ไ ท ย , “ ป ร ะ วั ติ ห ล ว ง พ่ อ แ ก่ ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538767215&Ntype=42 [๑ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖]. ๑๖๗พระพุทธรูปสาคัญของไทย, “ประวัติหลวงพ่อวัดน้ารอบ ”, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539218609&Ntype=42 [๑ ๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖].

๑๖๖ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖๖ หลวงพ่อทงุ่ คา รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. พระค่บู ้านคเู่ มอื งอาเภอยะหรง่ิ พระพุทธศาสนา ๒. เมตตามหานิยม และการป้องกันภยั อนั ตราย คาอธบิ าย หลวงพ่อทุ่งคา ประดิษฐานอยู่ท่ีวัดบูรพาราม อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี เป็นพระ พุทธโบราณปางมารวชิ ัย พุทธศตวรรษท่ี ๑๗ หล่อดว้ ยทองสารดิ ขนาดหน้าตัก กวา่ ง ๕๕ เซนตเิ มตร สูง ๗๗ เซนติเมตร๑๖๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๗ พระพทุ ธทกั ษณิ มิง่ มงคล รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระคบู่ า้ นคเู่ มืองจงั หวดั นราธิวาส พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระพุทธทักษิณมิ่งมงคล (พระเขากง) ประดิษฐานอยู่ที่พุทธอุทยาวัดเขากง มงคลมิ่งมิตรประดิษฐาราม ตาบลลาภู อาเภอเมืองนราธิวาส ปัจจุบันมีการ จาลองไปประดษิ ฐานท่ีศาลากลางจังหวัด ๑๔ จงั หวดั ในภาคใต้๑๖๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๘ พระศรีศากยมนุ ีศรธี รรมราช รปู สญั ญะ ๑๖๘เดินสายไหว้พระ, “หลวงพ่อทุ่งคา วัดบูรพาราม ปัตตานี”, ข่าวสด, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROaWRXUXdNakU1TURrMU13PT0= [๑ ๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖]. ๑๖๙หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ, “เยือนเมืองนราธิวาสสักการะสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ”, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.manager.co.th/South/ViewNews.aspx?NewsID=9560000128936 [๒๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖].

๑๖๗ สัญลักษณ์ทาง พระคบู่ ้านคูเ่ มอื ง พระพุทธศาสนา คาอธิบาย พระศรีศากยมุนีศรีธ รรมราช ประดิษฐ์อยู่ท่ีวัดมหาธ าตุ จังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นพระพุทธรูปน่ังขนาดใหญ่ ปางมารวิชัย ก่ออิฐถือปูน ลง รักปดิ ทองสวยงามสงา่ ขนาดหนา้ ตักกวา้ ง ๓ วา ๑ ศอก ๑๒ นว้ิ สงู ๕ วา๑๗๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๙ หลวงพอ่ โต รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง เปน็ พระศกั ดสิ์ ิทธ์ิคู่บา้ นค่เู มือง พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย หลวงพ่อโตประดิษฐานอยู่ที่วัดนาทวี อ.นาทวี จ.สงขลา เป็นพระพุทธรูป โบราณศิลปะอยุธยา หน้าตักกว้าง ๒.๒๐ เมตร ทาจากปูนป้ันโดยช่างท้องถ่ิน และชาวบ้าน ร่วมกันจัดสร้างถือว่าเป็นปูชนียวัตถุ ที่มีความศักด์ิสิทธิ์มี ปาฏหิ ารยิ ์และปรากฏการณท์ ่ีเล่ากล่าวขานเป็นตานานหลายอายุคน๑๗๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๐ พระทอง รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระคูบ่ า้ นคู่เมอื งภเู ก็ต พระพุทธศาสนา คาอธิบาย พระทอง หรือ “พระผุด” พระประธานในวิหารหลวงพ่อพระทอง วัดพระทอง (วัดพระผุด) ต.เทพกระษัตรี อ.ถลาง จ.ภูเก็ต เป็นวัดเก่าแก่สร้าง สมัยกรุงศรอี ยุธยาตอนปลาย ๑๗๐พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ส า คั ญ ข อ ง ไ ท ย , “ ห ล ว ง พ่ อ โ ต ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538711371&Ntype=42 [๒ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖]. ๑๗๑พระพุทธรูปสาคัญของไทย, “พระศรีศากยมุนีศรีธรรมราช”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.tumsrivichai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539201041&Ntype=42 [๒ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๖].

๑๖๘ ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๑ พระพุทธปฏิมากร รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง ประวัตศิ าสตร์ชุมชน พระพุทธศาสนา คาอธิบาย พระพุทธปฏิมากร หรือ “พระรอดสงคราม” พระประธานในพระอุโบสถ วดั ชุมพรรังสรรค์ (พระอารามหลวง) ต.นาทุ่ง อ.เมือง จ.ชุมพรเป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย วัสดุทองสัมฤทธ์ิ มีขนาดหน้าตักกว้าง ๑.๒๕ เมตร สูง ๑.๘๔ เมตร ศิลปะรัตนโกสินทร์ เป็นองค์พระพุทธรูปท่ีรอดพ้นจากความเสียหายอัน มาจากภัยของสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ จึงมีช่ือเรียกอีกนามหน่ึงว่า “พระรอด สงคราม”๑๗๒ ๔.๖.๑.๒ ประตมิ ากรรมรูปสัญลักษณ์ เปน็ ประตมิ ากรรมทีไ่ ด้รับอทิ ธิพลจากอนิ เดีย ภายหลังพุทธปรินิพพานแล้ว ได้มีการสร้างรูปเคารพแสดงเรื่องราวพุทธประวัติขึ้น แต่การสร้างรูป เคารพเป็นของต้องห้าม ศิลปินชาวอินเดียจึงคิดประดิษฐรูปเคารพเป็นสัญลักษณ์แทน ปัจจุบันแม้มี การสร้างรูปเคารพข้ึนแล้ว แต่ก็ยังคงสร้างรูปสัญลักษณ์เพ่ือสะท้อนพุทธประวัติตอนสาคัญ ๆ สืบต่อ กันมา เช่น ดอกบัวเป็นสัญลักษณ์ของการประสูติ, บัลลังก์หรือต้นโพธิ์เป็นสัญลักษณ์ของการตรัสรู้, ธรรมจักรและกวางหมอบเป็นสัญลักษณ์ของการแสดงปฐมเทศนา, สถูปเป็นเคร่ืองหมายการ ปรนิ ิพพาน ในสังคมไทยพบประติมากรรมเก่ียวกับรปู สัญลักษณท์ างพระพุทธศาสนาอยู่ท่วั ไปทุก ภูมิภาคของประเทศ ประติมากรรมเหล่านี้ ล้วนสะท้อนถึงพระพุทธศาสนาท่ีมีอิทธิพลวถิ ีชีวิตของคน ไทยนับต้ังแต่โบราณกาลมา นามากล่าวพอเป็นตัวอย่างดังรายละเอียดภาพประกอบที่ ๔.๑๗๒, ๔.๑๗๓, ๔.๑๗๔ และ ๔.๑๗๕ ตามลาดับ ๑๗๒ ล า น ธ ร ร ม จั ก ร , “ พ ร ะ พุ ท ธ ป ฏิ ม า ก ร ” , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=24&t=47625 [๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๖].

๑๖๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๒ ธรรมจกั ร รูปสญั ญะ ตวั อย่าง ๑ ตวั อย่าง ๒ ตวั อย่าง ๓ สัญลักษณ์ทาง ๑.ปฐมเทศนา พระพทุ ธศาสนา ๒.การประกาศ หรือเผยแผ่ศาสนา ๓.ซี่กาของธรรมจักรแทนหลักธรรมต่าง เช่น ๔ ซี่ หมายถึงอริยสัจ ๔, ๘ ซี่ หมายถึง อริยมรรคมีองค์ ๘, ๑๒ ซ่ี หมายถึง ปริญญา ๑๒ ตามกิจในอริยสัจ เป็นตน้ คาอธบิ าย ธรรมจกั ร ธรรมจักรเปน็ พุทธศิลปะทพ่ี บจานวนมากในบริเวณเมืองโบราณนครปฐม โดยพบทั้งแบบสลกั นูนสูงและแบบลอยตัวมีส่วนฐานของล้อสาหรับถว่ งน้าหนัก บางคร้ังพบร่วมกับกวางหมอบ ซึ่งประกอบกันเป็นสัญลักษณ์แทนพุทธประวัติ ตอนปฐมเทศนา ตัวอย่าง ๑ เป็นธรรมจักรสมัยทวารวดีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ (๑,๓๐๐-๑,๔๐๐ ปี มาแล้ว) เป็นธรรมจักรศิลาทรงกลม ฉลุซ่ีล้อโปร่ง ท่ีฐาน สลักลวดลายกลีบบัวบาน ขอบธรรมจักรสลกั ลายส่ีเหล่ียมเปียกปูนสลับวงกลม เรียงเป็นแถว มีเสาตั้งเป็นแท่งหินรูป ๘เหล่ียม หัวเสาสลักลวดลายพวงอุบะ มี แท่นรองธรรมจักรเป็นรูป ๔เหลี่ยม นับเป็นธรรมจักรศิลาท่ีสวยงามสมส่วนย่ิง นัก ซึ่งธรรมจักรศิลาชุดน้ีได้รับการยกย่องว่าเป็นธรรมจักรศิลาสมัยทวารวดีที่ สมบรู ณ์ทส่ี ุดในเมอื งไทย๑๗๓ ตัวอย่าง ๒ เป็นธรรมจักรท่ีพบในจังหวัดนครปฐม สูง ๗๐ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง ๗๓ เซนติเมตร ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ท่ีพิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติจังหวดั นครปฐม ตัวอยา่ ง ๓ เป็นธรรมจักรทีป่ ระดิษฐานอย่ทู ี่พทุ ธมณฑ จังหวดั นครปฐม ๑๗๓ป่ิน บุตรี, “ธรรมจักรศิลาทวารวดีที่สมบูรณ์ที่สุดในไทย ของดีที่พิพิธภัณฑ์อู่ทอง”, หนังสือพิมพ์ ผู้ จั ด ก า ร , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.manager.co.th/travel/viewnews.aspx?News ID=956000007834547625 [๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗].

๑๗๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๓ เสมา, ใบเสมา รปู สญั ญะ ตัวอยา่ ง ๑ ตวั อยา่ ง ๒ ตัวอยา่ ง ๓ สัญลักษณ์ทาง ๑.เหตุการณพ์ ุทธประวัตติ อนพระพทุ ธเจา้ เสด็จเมอื งกบิลพัสด์ุ พระพทุ ธศาสนา ๒.นกิ ายจติ อมตวาทได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทย คาอธบิ าย ใบเสมา,สมี า สีมา หมายถึง เขตกาหนดความพร้อมเพรียงของสงฆ์ หรือเขตชุมนุมของ สงฆ์หรือเขตท่ีสงฆ์ตกลงไว้สาหรับภิกษุทั้งหลายที่อยู่ภายในเขตน้ันจะต้องทา สงั ฆกรรมร่วมกนั ๑๗๔ ตัวอย่าง ๑ เป็นภาพใบเสมาซึ่งพบท่ีเมืองฟ้าแดดสงยา จังหวัดกาฬสินธ์ุ ปัจจุบันต้ังแสดงที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ จังหวัดขอนแก่น เป็นภาพตอนที่ พระพุทธเจ้าเด็จกลับจากกรุงกบิลพัสด์ุ ภาพแสดงเหตุการณ์พระนางพิมพา สยายเกศารองรับพระบาท ซงึ่ ถอื เปน็ การแสดงความเคารพสงู สดุ ๑๗๕ ตัวอย่าง ๒ ใบเสมาคาดว่าอายุประมาณ ๑,๕๐๐ ปี พบท่ีบ้านเนินยาง ตาบลเนินยาง อาเภอคาม่วง จังหวัดกาฬสินธ์ุ ลักษณะเป็นแผ่นหินตั้งปลาย แหลม เป็นสัญลกั ษณ์แทนรปู เคารพของนกิ ายจิตอมตวาท ตรงกลางใบเสมาหิน ทาเป็นเจดีย์ทรงสถูปหรือหม้อน้า ท่ีสื่อความหมายถึงพุทธภาวะของธาตุรู้ของ สรรพสัตว์ทั่วไป ในวันหนึ่งข้างหน้าจักต้องตรัสรู้ได้เหมือนกันเพราะมีพุทธะ เป็นทุนเดิมอยู่ในจิตเดมิ แทด้ ้วยกันทุกคน ตัวอย่าง ๓ ใบเสมาเล่าเร่อื งพระพุทธเจา้ แสดงธรรมโปรดบุคคล ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๔ ภาพพทุ ธประวตั ิหินสลัก รปู สญั ญะ ตวั อย่าง ๑ ตวั อยา่ ง ๒ ๓ ๑๗๔พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พุทธศาสนา ธรรมสภา, ๒๕๕๔), หนา้ ๔๕๐ ๑๗๕ ใ บ เ ส ม า โ บ ร า ณ ข อ ง ไ ท ย , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.bp.or.th/webboard/index.php?topic=14445 [๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗].

๑๗๑ สัญลักษณ์ทาง ดอกบวั บาน สญั ลกั ษณ์การประสตู ิ พระพุทธศาสนา ชา้ ง สัญลักษณ์พระพทุ ธเจ้า การประสตู ิ สัญลกั ษณ์ของความเบื่อหนา่ ยเป็นเหตใุ หเ้ สด็จออกบรรพชา พระสทิ ธตั ถะ คาอธิบาย ภาพจาลองพทุ ธประวัตจิ ากหินสลัก จากอินเดยี อายุประมาณ พ.ศ.๓๐๐-๗๐๐ จานวน ๕๔ ภาพ แสดงไว้ท่ีโรงมหรสพทางวิญญาณ สวนโมกขพลาราม คัดมา เปน็ ตวั อย่าง ตัวอย่าง ๑ ภาพดอกบัวบาน มีสัตว์ศักด์ิสิทธิ์ประกอบ ซ่ึงในที่น้ีได้แก่ช้าง ซึง่ เปน็ สัญลักษณอ์ ย่างหนึ่งของพระพทุ ธองค์๑๗๖ ตัวอย่าง ๒ ภาพหินสลักแบบสาญจิ สมัยสุงคะ พ.ศ.๔๐๐-๕๐๐ ในภาพ พระนางเทวีนงั่ เหนือดอกบัว ในหม้อแบบปูรณฆฎะ ถอื ดอกบวั บาน มีช้างรดน้า จากหม้อลงบนศีรษะ๑๗๗ ตัวอย่าง ๓ ภาพป่าช้าคน คือนางบาเรอท่ีหลับอยู่อย่างน่าเกลียด ขณะท่ีมี เก้าอีว้ า่ งต้งั อยตู่ รงกลาง และถูกแวดลอ้ มด้วยหญิง่ เหล่านั้น๑๗๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๕ รอยพระพุทธบาท รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง อเุ ทสกิ เจดีย์ พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย ในประเทศไทย มีรอยพระพุทธบาทอยู่ท้ังสน้ิ ๔๙๑ แหง่ ๑๗๙แบง่ เป็นภาคใต้ ๔๙ แหง่ ภาคเหนอื ๑๔๘, ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ๒๐๖, ภาคตะวนั ตก ๓๔ แห่ง , ภาคตะวันออก ๑๕ แห่ง และภาคกลาง ๓๙ แห่ง๑๘๐จังหวัดท่ีมีมากท่ีสุดคือ ๑๗๖พทุ ธทาสภิกข.ุ ภาพพทุ ธประวตั ิหินสลกั , (กรงุ เทพฯ: ธรรมสภา จดั พิมพ,์ ๒๕๕๒), หน้า ๒๘. ๑๗๗เรอ่ื งเดียวกัน, หนา้ ๖๕. ๑๗๘เรอ่ื งเดียวกัน, หน้า ๑๒๒. ๑๗๙ ร อ ย พ ร ะ พุ ท ธ บ า ท ท่ั ว ส ก ล ช ม พู ท วี ป , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.jidsai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539114221&Ntype=8 [๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗]. ๑๘๐ตามรอยพระพทุ ธบาท,[ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://tamroiphrabuddhabat.com/home.php [๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗].

๑๗๒ สกลนคร มี ๔๘ แห่ง รองลงมาคือเชียงใหม่ ๓๗ แห่ง นครราชสีมา ๒๙ แห่ง ลาพูน ๒๘ แห่ง และกาฬสินธุ์ ๒๓ แหง่ ๔.๖.๒ ประติมากรรมตกแต่ง เป็นงานประติมากรรมท่ีแฝงอยู่ในศิลปะแขนงอ่ืน เป็นเครื่องประดบั ตกแต่งใหเ้ กิดคุณค่า สวยงาม โอ่อา่ อลงั การ เสรมิ ให้ศิลปะนนั้ ๆ มีเอกลักษณ์ หรือ ลกั ษณะพิเศษมากย่งิ ขึ้น แบง่ ออกเปน็ ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ๔.๖.๒.๑ ประติมากรรมลวดลาย เป็นประติมากรรมที่ช่างนิยมใช้เป็น สว่ นประกอบของศิลปะประเภทต่าง ๆ ช่วยเสริมให้เกิดความอลังการ สวยงาม ทาให้เกิดเอกลักษณ์ ของความเป็นไทย ประติมากรรมลวดลาย เป็นประติมากรรมที่ใช้เป็นส่วนประกอบของศิลปะ แขนงอนื่ ๆ กระนนั้ ก็มกี ารแสดงความหมายเชิงสัญลักษณ์ ซ่งึ เป็นสว่ นประกอบสาคัญทจี่ ะช่วยเสริม รายละเอยี ดใหอ้ งคป์ ระกอบหลักมีความโดดเด่นมากยิ่งขนึ้ ลวดลายที่พบโดยทั่วไปท่ีพบในงานประติมากรรมประเภทน้ี เช่น ลาย กระหนก ลายกระหนกสามตัว ลายกระหนกประดษิ ฐ์ ลายกระจัง ลายกระจังตาอ้อย กาบกระจัง ลาย กระจังประดิษฐ์ ลายกลีบบัว ลายบัวประดษิ ฐ์ ลายน่องสงิ ห์ ลายหนา้ สงิ ห์ ลายฐานสิงห์ ลายนาค ลาย ดอก ลายเทพพนม ลายธรรมจกั ร เป็นต้น ดงั ตัวอย่างภาพประกอบที่ ๔.๑๗๖ และ ๔.๑๗๗ ตามลาดับ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๖ ลายเทพพนม รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง แนวคิดเรอื่ งจกั รวาลวทิ ยาพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย พระมณฑปภายในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตั้งอยู่บนฐานไพทีตรงกลาง ระหว่างปราสาทพระเทพบิดรและพระศรีรัตนเจดีย์ เป็นมณฑปยอดปราสาท เจ็ดช้ัน ฝาผนังภายนอกประดับลวดลายนูนต่าปิดทองประดับกระจกเป็นรูป เทพพนมภายในกรอบส่ีเหลี่ยม บานประตูทั้งส่ีทิศเป็นประตูลายมุก ส่วนของ ฐานน้ันทาเป็นช้ัน โดยชั้นบนเป็นรูปเทพบุตรน่ังประนมกรเรียงระหว่างซุ้ม ประตู ส่วนด้านล่างเป็นรูปครุฑและคนธรรพ์นั่งสลับกัน ส่วนภายในเป็นท่ี

๑๗๓ ประดิษฐานตู้พระไตรปิฎกประดับมุก และปูพ้ืนด้วยเสื่อสานด้วยเส้นลวดท่ีทา จากเงนิ ๑๘๑ ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๗ ลายธรรมจักร๑๘๒ รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ธรรมจกั ร พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย ลายธรรมจักรกาแพงรอบอุโบสถวัดเจ้าอาม แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอก น้อย กรุงเทพมหานคร ๔.๖.๒.๒ ประติมากรรมตกแต่งสะท้อนความเช่ือ เป็นประติมากรรม ตกแต่ง หรือประดับศิลปะสถาน ศิลปวัตถุ เช่น โบสถ์ วิหาร เจดีย์ มณฑป พระปรางค์ บุษบก ธรรมาสน์ ปราสาท ราชมณเฑียร เป็นต้น สว่ นใหญม่ ักอยวู่ ัด หรอื วงั ประติมากรรมเหลา่ นี้ แม้จะเป็น เพียงประติมากรรมตกแต่ง แต่ก็สะท้อนคติความเชื่อ โดยเฉพาะที่นิยมมากที่สุดก็คือ คติความเช่ือ เรื่องไตรภูมิเป็นหลัก เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องจักรวาลวิทยาทางพระพุทธศาสนา โดยถือสถานท่ี หรือศิลปะแห่งนั้นเป็นเขาพระสุเมรุ แกนกลางจักรวาล แล้วประดับตกแต่งศิลปะสถานน้ันด้วย ประติมากรรมเป็นภาพ ภาพประกอบ ลวดลาย เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายเชิงช้ันต่าง ๆ ใน คตไิ ตรภูมิ ลดหลัน่ สงู ตา่ ตามความสาคญั ของชน้ั ฐานะนัน้ ๆ คอื ๑๘๓ ๑) พนื้ ที่ท่ีรองรับศิลปวัตถุ หรือศิลปะสถานน้ัน ๆ เปรียบเสมือนภูมิมนุษย์ โดยเฉพาะชมพทู วีป ๒) ฐานชัน้ ล่างสุดของศิลปวตั ถุ หรือศิลปะสถาน มักเปน็ หนา้ กระดานสลัก ลวดลายรองรับฐานสิงห์ บัวหลังสิงห์ ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์แดนหิมพานต์ แม้จะอยู่ในดินแดนของมนุษย์ แต่ก็ถือว่า เป็นแดนท่ีสงบ เบาบางจากกิเลสตัณหา เป็นที่อยู่ของสัตว์ในวรรณคดี และมนุษย์ผู้มีเพศ อันบรสิ ทุ ธ์ิ เช่น ฤาษี นกั บวช นักสิทธ์ิ เปน็ ต้น ๑๘๑ สุภาวรรณ (นามแฝง). “วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม สดุ ยอดความงามและช่างศิลปไ์ ทย” [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=902851 [๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๗]. ๑๘๒ อ นึ่ ง ( น า ม แ ฝ ง ) , “ ย้ิ ม สู้ Floods ณ วั ด เ จ้ า อ า ม ” [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.oknation.net/blog/mindhand/2011/11/05/entry-1 [๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗]. ๑๘๓ “ประติมากรรมไทย” ใน สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม ๑๔, (กรุงเทพฯ: ธรรมสภา จดั พิมพ,์ ๒๕๕๒), หน้า ๙๔-๙๖.

๑๗๔ ๓) ฐานเชิงบาตร มักอยู่บนฐานสิงห์แบ่งเป็น ๒ ช้ัน คือ ฐานเชิงบาตรชั้น ล่าง และฐานเชิงบาตรช้ันบน ฐานเชิงบาตรชั้นล่าง ถ้าเป็นศิลปกรรม หรือศิลปะสถานท่ีสาคัญของชาติ จะเป็นรูปครุฑ หรือนาคเต็มตัวรายรอบ ถ้ามีความสาคัญรองลงมา จะเป็นเส้นกลมเล็ก ๆ รัดท้องไม้ แล่นไปตลอดท้ังศิลปกรรม (มนกลมเรียกว่า รัดอกลูกแก้ว, สันแหลม เรียกว่า รัดเอวอกไก่) ซึ่งเป็น สญั ลักษณ์แทนแดนครฑุ ทม่ี ีอยู่บรเิ วณเชิงเขาพระสเุ มรุ ฐานเชิงบาตรชั้นบน ถ้าเป็นศิลปกรรม หรือศิลปะสถานท่ีสาคัญของชาติ มักจะใส่ประติมากรรมรูปเทวดาน่ังคุกเข่าประนมมือ ถ้ามีความสาคัญรองลงมา ช่างจะประยุกต์รูป เทวดาให้คล้อยตามส่วนประกอบอ่ืน ๆ ของศิลปวัตถุ โดยทาเป็นรูปกระจังเจิม กระจังปฏิภาณ ตรง กลางเป็นรูปเทพนม เป็นสัญลักษณ์ของสวรรค์ช้ันจาตุมหาราชเหนือภูเขายุคลธร ซึ่งเป็นภูเขาที่ ล้อมรอบภเู ขาพระสเุ มรุ ๔) เหนือฐานเชิงบาตรข้ึนไป ถ้าเป็นโบสถ์ วิหาร จะเป็นท่ีประดิษฐาน พระพุทธรูป ถ้าเป็นบุษบก บัลลังก์ หรือพระที่นั่ง จะเป็นท่ีประทับของพระมหากษัตริย์ ถ้าเป็นพระ เจดีย์ หรือพระปรางค์ จะเป็นเรือนธาตุที่บรรจุพระธาตุ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนยอดเขาพระสุเมรุอัน เป็นท่ปี ระทบั ของพระอนิ ทร์ ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๘ ธรรมาสน์ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง เป็นประติมากรรมตกแต่งสะท้อนความเช่ือเรื่องจักรวาลวิทยาทาง พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา โดยถอื ธรรมาสนเ์ ปน็ เขาพระสเุ มรุ แกนกลางจกั รวาล คาอธิบาย ธรรมาสนศ์ าลาการเปรียญวัดราชสิทธาราม ศลิ ปอทู่ อง ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๙ พระปรางคว์ ดั อรุณ รปู สัญญะ ตัวอยา่ ง ๑ ตวั อยา่ ง ๒

๑๗๕ สัญลักษณ์ทาง สะท้อนความเชื่อ เกี่ยวกับเรื่องไตรภูมิ ประดับอยู่ตามช้ันต่างๆ ของฐานองค์ พระพทุ ธศาสนา ปรางค์ คาอธบิ าย พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม มีประติมากรรมขนาดเล็กตกแต่ง ฐานชั้น ล่างสุดสลักลวดลายรองรับฐานสิงห์ บัวหลังสิงห์ อันแปลงมาจากสิงห์ล้อม ถ้า เป็นฐานศิลปกรรมประเภทบุษบก หรือฐานอาคารสาคัญของชาติ บางทีจะ จาหลักเป็นรูปสิงห์แบกล้อมรอบฐาน ณ ตาแหน่งน้ี เป็นสัญลักษณ์ แทนแดน หิมพานต์ แม้จะยังอยู่ในแดนมนุษย์ในชมพูทวีป แต่คติทางศาสนายังถือว่าเป็น แดนมนุษย์ ที่สงัด สงบ เบาจากกิเลสตัณหา เป็นท่ีอยู่ของสัตวใ์ นวรรณคดี และ มนุษย์ที่อยู่ในเพศอันบริสทุ ธ์ิ ได้แก่ ฤาษี นักบวช หรือมนุษย์ เชน่ พวกนักสิทธิ์ วทิ ยาธร ๔.๖.๒.๓ ประติมากรรมเลา่ เรือ่ ง มีวัตถุประสงค์ เพื่อพรรณนา หรือเล่าเร่ืองด้วยภาพส่วนใหญ่เป็นเรื่อง เก่ียวกับพุทธประวัติ หรือทศชาติ ซึ่งมักเลือกแสดงเหตุการณ์ตอนท่ีสาคัญ หรือน่าพิศวง กล่าวคือ ภาพแต่ละกลุ่มสร้างข้ึน ด้วยตัวเอก ท่ีมีพระพุทธเจ้า หรือพระโพธิสัตว์ในพระชาติน้ันๆ เป็นประธาน หรือเป็นหลักขององค์ประกอบ และมีตัวประกอบท่ีสาคัญตามแนวเรื่องท่ีต้องการเพียงไม่ก่ีตัวรวมท้ัง แทรกส่ิงของเครื่องใช้ สว่ นของอาคารเป็นฉากหลังเท่าทีจ่ าเป็น เพื่อทาให้ผู้ดูไดท้ ราบเรื่องราวตอนนั้น อยา่ งสมบรู ณ์ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๐ ประติมากรรมวัดบางกระพอ้ ม รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง เร่อื งเลา่ พทุ ธประวตั ิ พระพทุ ธศาสนา คาอธิบาย ประติมากรรมผนังเรื่อง พุทธประวัติ รอบพระวิหารพุทธบาท วัดบางกะพ้อม อาเภออมั พวา สมุทรสงคราม

๑๗๖ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๑ ประติมากรรมหนา้ วิหารวดั ไลย์ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง เล่าเหตุการณ์พุทธประวัติประวัติตอนเสด็จจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ และชาดก พระพทุ ธศาสนา ซงึ่ เปน็ อดตี ชาตขิ องพระพทุ ธเจ้าท่ีเสวยพระชาติต่าง ๆ คาอธิบาย ภาพปูนปั้นด้านหน้าวิหารวัดไลย์ อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี แบ่งเป็น ๕ ช่อง ตรงกลาง เป็นภาพพุทธประวัติตอนเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ด้านข้างเป็นเร่ือง เล่าชาดก ช่องล่างเปน็ ช่องลมลูกฟักประดับลายปูนปั้นรปู เทวดา ลอ้ มรอบด้วย พฤกษชาติ ศิลปะอยุธยา พทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๒ ประตมิ ากรรมหลังวิหารวัดไลย์ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง เป็นประติมากรรมเลา่ เร่ืองพทุ ธประวัติ ตอนวา่ ดว้ ยการแบ่งพระธาตุ พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย ลวดลายปูนปั้นผนังหุ้มกลอง ด้านหลังวิหารวัดไลย์อาเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี ศิลปะสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๓ ประติมากรรมวัดตระพังทองหลาง รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พทุ ธประวัติตอนเสด็จลงจากสวรรค์ช้ันดาวดงึ ส์ พระพุทธศาสนา

๑๗๗ คาอธบิ าย ภาพปูนปัน้ ปางเสด็จจากดาวดึงส์ กรอบหนา้ นางด้านทิศใต้ ของพระมณฑปวัด ตระพังทองหลาง สุโขทัย มีลักษณะเป็นภาพปูนปั้นรูปพระพุทธองค์เสด็จลง จากดาวดึงส์ ลักษณะของพระพุทธรูปเป็นภาพนูนสูง ปางลีลา มีพุทธลักษณะ แบบสุโขทัยงดงามมาก เคล่ือนองค์อยู่บนรัตนโสปานะ (บันไดแก้ว) แวดล้อม ดว้ ยพระอนิ ทร์ พระพรหม ทม่ี ขี นาดรูปร่างเล็กกว่า ภาพนนู ต่ากวา่ ๔.๖.๓ ประตมิ ากรรมเพ่ือประโยชนใ์ ช้สอย เปน็ ประติมากรรมทสี่ รา้ งข้นึ เพ่อื ประโยชน์ใช้ สอยในชีวิตประจาวันของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลในสังคมไทย จาแนกออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ ประตมิ ากรรมในสิ่งของเครอ่ื งใช้ เครือ่ งมหรสพ เครอ่ื งเลน่ และเคร่ืองตกแต่งชวั่ คราว๑๘๔ ในจานวนประติมากรรมเพ่ือประโยชน์ใช้สอยน้ี ประติมากรรมในเคร่ืองใช้สอย, เครื่องมหรสพ และเคร่ืองเล่น ไม่นิยมใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา จึงละเอาไว้ จะกล่าวเฉพาะ ประติมากรรมประเภทเครอ่ื งตกแต่งชั่วคราว ประติมากรรมประเภทเคร่ืองตกแต่งช่ัวคราว เป็นประตมิ ากรรมท่ีสร้างขึ้นเพื่อใช้ใน พธิ ีกรรม หรอื กจิ กรรมบางอยา่ งในช่วงระยะเวลาส้นั ๆ จงึ มกั ใช้วัตถทุ ไี่ ม่คงทน มีอายุใช้งานสั้น ในสังคมไทย พบมีการใช้ประติมากรรมประเภทนี้ในงานพิธีต่าง ๆ เช่น กา ร แกะสลกั เทยี นพรรษา, ปราสาทผึ้ง เป็นต้น ภาพประกอบท่ี ๔.๑๘๔ การแกะสลักเทยี นพรรษา รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง พระพุทธรูปปางมารวิชยั แตก่ ็มีพญาคแผ่พังพานอยู่ดา้ นหลัง คล้ายกับปางนาค พระพุทธศาสนา ปรก คาอธิบาย เทียนพรรษาแกะสลกั นิยมทาเปน็ ประเพณใี นหลายท้องทข่ี องประเทศไทย และ นิยมทาในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาของทุกปี ท่ีโดดเด่นมากท่ีสุด คือท่ีจังหวัด อุบลราชธานี ๑๘๔สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, เลม่ ๑๔, หน้า ๙๙.

๑๗๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๘๕ ปราสาทผ้งึ จังหวดั สกลนคร รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง แนวคดิ เร่อื งจกั รวาลวิทยาทางพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนา คาอธิบาย สว่ นหน่ึงของขบวนรถแห่ปราสาทผงึ้ ของจังหวัดสกลนคร ในชว่ งเทศกาล ออกพรรษา ซึ่งถือเป็นงานประจาปีท่ีนิยมจัดข้ึนในอีกหลายท้องที่ ประติมากรรมท่ีนิยมแก้สลักในปราสาทผ้ึงก็คือวิถีชีวิตของคนไทย ซ่ึงก็หลีกไม่ พน้ ทจ่ี ะเน่ืองด้วยสัญลักษณท์ างพระพุทธศาสนา เช่น พระสงฆ์สาวก, ธรรมจักร , พระพุทธรูป โดยกระท่ังที่สุด รูปแบบปราสาทก็จาลองแนวคิดเรื่องจักรวาล วิทยาทางพระพทุ ธศาสนา เฉพาะรปู นี้ แสดงแนวคิดเรอ่ื งจักรวาลวทิ ยาทางพระพุทธศาสนา สรุป งานประติมากรรมไทยทุกประเภทข้างต้น จานวน ๘๔ ตัวอย่าง นับต้ังแต่ ประติมากรรมรูปเคารพ ประติมากรรมรูปสัญลักษณ์ และประติมากรรมตกแต่ง มักมีสัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนาเข้าไปเก่ียวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประติมากรรมรูปเคารพ มีการนาพระพุทธรูปไป ใช้เป็นสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น สัญลักษณ์เล่าเรื่องราวในพุทธประวัติตอนต่าง ๆ ซึ่งเป็นที่มาของ พระพุทธรูปปาง ๆ ต่าง, สัญลักษณ์ประจาพระชนมวาร, สัญลักษณ์ประจาวันเกิด, สัญลักษณ์ คู่บ้านคู่เมือง , สัญลักษณ์ประกอบกับงานสถาปัตยกรรมเพื่อเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ในพุทธประวัติ, ลวดลายทางสถาปัตยกรรม เป็นต้น ซึ่งนิยมสื่อ หรือสะท้อนสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาอยู่ โดยทวั่ ไป ๔.๗ สญั ลกั ษณท์ างพระพทุ ธศาสนาในสถาปตั ยกรรมไทย สถาปัตยกรรมในท่ีน้ี ผู้วิจัยให้น้าหนักสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นในวัด และองค์ประกอบ ของวัดที่เป็นงานสถาปัตยกรรม ได้แก่ ซุ้มประตู, วิหาร, โบสถ์,หอไตร,สถูป, พระธาตุ, และเจดีย์ทั้งน้ี รวมถึงการกาหนดผังพ้นื ทท่ี ่ีใช้สาหรบั การสรา้ งสถาปตั ยกรรมเหล่าน้ดี ว้ ย อนึ่ง เน่ืองจากรายละเอียดสญั ลักษณ์เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมมีรายละเอียดมาก ผู้วิจัย จะ วเิ คราะห์เฉพาะสว่ นสาคัญ หรือสว่ นทเ่ี ปน็ องค์ประกอบหลัก ๆ พอเป็นตัวอยา่ ง

๑๗๙ ๔.๗.๑ การกาหนดองคป์ ระกอบแผนผังก่อสร้าง ภาพประกอบท่ี ๔.๑๘๖ ผังแสดงพ้ืนที่ของสถาปัตยกรรม (การแบ่งเขตพุทธาวาส- สงั ฆาวาส) ๑๘๕ ก. คาอธบิ ายพ้ืน ที่บริเวณวัดทั่วไปมกั นิยมกาหนดขอบเขตออกเป็น ๒ ส่วนคือ เขต พทุ ธาวาส และเขตสังฆาวาส เขตพุทธาวาส คือ บริเวณท่ีตั้งสถานที่สาคัญของวัด ซึ่งเนื่องด้วย หรือเกี่ยวข้องกับ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประกอบด้วย พระอุโบสถ, พระวิหาร, พระปรางค์หรือเจดีย์, หอ พระไตรปฎิ ก เปน็ ตน้ เขตสังฆาวาส คือเขตท่ีเป็นท่ีพักอาศัยของพระภิกษุสามเณร และท่ีทากิจกรรมต่าง ๆ ของพระสงฆ์ เชน่ กุฏิ, ศาลาการเปรยี ญ, หอระฆงั -หอกลอง, โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม เปน็ ตน้ ข. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ ๑) การใช้เขตในการ กาหนดสิ่งก่อสร้างภายในวัด ๒) เขตสังฆาวาส เป็นสัญลักษณ์ท่ีอยู่สาหรับพระภิกษุ เขตพุทธาวาส เปน็ สญั ลักษณ์ท่ีอยหู่ รือทอี่ นั เนือ่ งด้วยพระพทุ ธเจ้า ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๗ ผงั สถาปตั ยกรรมทกี่ าหนดให้เจดยี ์อยู่ศนู ยก์ ลางวัด๑๘๖ ๑๘๕ ภ า พ จ า ล ง ส า ม มิ ติ วั ด คุ้ ง ต ะ เ ภ า , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : https://sites.google. com/site/watkungtaphao/general/development_plan [๒๐ มกราคม ๒๕๕๗]. ๑๘๖ ผังวัดพระธาตุลาปางหลวง, [ออนไลน์].แหล่งท่ีมาhttp://www.sri.cmu.ac.th/~ elanna / symbollanna/transmission_page020.html [๒๐ มกราคม ๒๕๕๗].

๑๘๐ ก. คาอธิบายการกาหนดให้เจดีย์เป็นศูนย์กลางของวัดน้ันได้มีการศึกษาเพื่อให้ คาตอบเก่ียวกับตาแหน่งที่ต้ังของเจดีย์ที่ถูกกาหนดข้ึนเป็นศูนย์กลางแห่งจักรวาลเช่น การศึกษา ของวรลัญจก์ บุณยสุรัตน์๑๘๗, การศึกษาของสันทนา ภิรมย์เกียรติ๑๘๘ เร่ืองการวางผังบริเวณพุทธ สถาน บรเิ วณเมืองเกา่ สโุ ขทยั ไดแ้ ทนความหมายในเชิงสญั ลกั ษณ์ของเจดยี ์ดว้ ยเขาพระสุเมรุศูนย์กลาง แห่งจกั รวาลซึ่งความเปน็ ศูนยก์ ลางของสรรพสิง่ น้ันยังมีความหมายถึงพระพทุ ธเจา้ และพระอาทติ ย์ อนึ่ง เมืองเชียงใหม่ มีการกาหนดเอาเจดีย์เป็นศูนย์กลางเมือง (ศูนย์กลางจักรวาล) และใชว้ ัดบรเิ วณรอบเมอื งโดยรอบ ๘ ทศิ เป็นบรวิ ารเมือง เช่น วดั เจดยี ห์ ลวงวรวหิ าร จังหวดั เชยี งใหม่ ตง้ั อยู่ศนู ยก์ ลางเมือง แวดลอ้ มดว้ ยวัดทต่ี ้งั อยู่ในทศิ ทั้ง ๘ โดยรอบ ได้แก่ ตะวนั ตก วดั สวนดอก ตะวันตกเฉียงเหนือ วัดเจด็ ยอด เหนอื วัดเชยี งยืน ตะวันออกเฉยี งเหนอื วัดชยั ศรภี มู ิ ตะวนั ออก วดั บพุ พาราม ตะวนั ออกเฉียงใต้ วัดชัยมงคล ใต้ วดั นันทาราม ตะวนั ตกเฉยี งใต้ วัดตะโปทาราม ข. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ การใช้แผนผังวัด หรอื ผังเมอื งแสดงแนวคดิ เรอ่ื งจกั รวาลวทิ ยา โดยกาหนดใหเ้ จดยี เ์ ป็นเขาพระสเุ มรุ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๘ ผังสถาปัตยกรรมท่ีกาหนดให้พระอุโบสถมีวิหารล้อมรอบ ๔ ทิศ ภาพประกอบ: http://www.oocities.org/watpoa/arch_.htm ก. คาอธิบายประกอบแผนผังพระอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร การวางแผนผังอาคารกาหนดให้พระอุโบสถอยู่ตรงกลาง โดยแวดล้อมด้วยวิหารท้ัง ๑๘๗วรลัญจก์ บุณยสุรัตน.์ วหิ ารลา้ นนา.หน้า ๒๕. ๑๘๘จากกลุ่มตัวอย่างโบราณสถานบริเวณเมืองเก่าสุโขทัยจานวน ๑๐๔ แห่ง ส่วนหน่ึงสะท้อนแนวคิด ดงั กล่าว เชน่ วดั มหาธาตุ, วัดสระศรี, วัดตระพงั เงนิ , วัดชนะสงคราม เป็นตน้ ดูรายละเอยี ดใน สนั ทนา ภิรมย์เกยี รติ , “การวางผังบริเวณพุทธสถาน บริเวณเมืองเก่าสุโขทัย”, วิทยานิพนธ์ศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขา ประวัติศาสตรส์ ถาปตั ยกรรม, (บณั ฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๕), บทที่ ๓.

๑๘๑ ๔ ทิศ จาลองแนวคิดเรื่องจักรวาลวิทยา พระอุโบสถเป็นทปี่ ระดิษฐานพระพุทธรูป เปรียบเหมือนเขา พระสุเมรุ วิหารทั้ง ๔ เปรยี บเหมือนทวปี ทงั้ ๔ ข. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ แนวคิดเรื่อง จักรวาลวทิ ยา ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๙ การกาหนดท่ตี ง้ั กุฏิเจ้าอาวาสใหส้ มั พันธ์ทต่ี ั้งของโรงอุโบสถ์ ก. คาอธิบายประกอบ เจ้าอาวาสถือว่าเป็นตาแหน่งปกครองสูงสุดในวัด กุฏิเจ้า อาวาสจึงมีคติความเชื่อว่าจะต้องให้สร้างให้ถูกทิศ โดยการกาหนดทิศนี้ ยึดเอาอุโบสถ์หรือพระ ประธานอุโบสถเป็นศูนย์กลาง และกาหนดใหพ้ ระประธานหันพระพกั ตร์ไปทางทศิ ตะวนั ออก จะได้คติ ดงั นี้ ๑. ตะวนั ออก มรณะ เจ้าอาวาสอายุไมย่ นื ๒. ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ศาลา วดั เป็นเหมอื นศาลาพกั รอ้ น ๓. ใต้ ป่าช้า อยอู่ ยา่ งเงยี บสงัด ๔. ตะวันตกเฉยี งใต้ ลาภะ มลี าภสกั การะสมบรู ณ์ ๕. ตะวนั ตก กลหะ มีเรื่องทะเลาะเนือง ๆ ๖. ตะวนั ตกเฉยี งเหนือ มชั ฌิมะ ปานกลาง, เสมอตวั ๗. เหนอื ปาราชิก เจ้าอาวาสมกั เสียพระ ๘. ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ อตุ ตมะ เจ้าอาวาสต้องมบี ารมสี งู ข. การสื่อความหมายเชิงสญั ลักษณ์ทางพระพทุ ธศาสนา คือ คติความเชือ่ ทอ้ งถ่ิน ที่มีผลต่อการออกแบบพ้นื ทีท่ างสถาปตั ยกรรมทางพระพุทธศาสนา ๔.๗.๒ การกาหนดองคป์ ระกอบอาคารสถาปัตยกรรม (๑) ซุ้มประตู ซุม้ ประตูวดั โบสถ์ วิหาร หรือศาสนถานต่าง ๆ นอกจากจะเป็นช่อง หรือทางนาเข้า สู่จุดมุ่งหมาย หรือเป้าหมายสาคัญภายในวัด โบสถ์ วิหาร หรือศาสนสถานนั้น ๆ แล้ว สถาปนิกยัง ออกแบบเพื่อส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์อน่ื ๆ ดังตวั อยา่ ง

๑๘๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๐ ตวั อย่างซมุ้ ประตูโขงแบบล้านนา ซุม้ ประตโู ขง ก. คาอธิบายประกอบงานวจิ ัยของอุมาพร เสริฐพรรณึก, เรอ่ื ง “การศึกษาประตโู ขง แบบล้านนาในจังหวัดลาปาง”, ได้ศึกษากลุ่มตวั อย่างซมุ้ ประตูโขง ๗ แห่ง จาก ๗ วัดในจังหวดั ลาปาง ไดแ้ สดงความหมายเชิงสัญลักษณ์ท่ีสาคัญของซุ้มประตโู ขง ๒ ประการ๑๘๙ ข. การสอ่ื ความหมายเชงิ สญั ลกั ษณ์ทางพระพทุ ธศาสนา คือ ๑) ส่ือความเช่ือเรื่องจักรวาลและชมพูทวีป ชาวล้านนาเช่ือว่า จักรวาล เป็นแดนศักด์ิสิทธิ์ การได้เข้าวัด เหมือนการได้เข้าสู่จักรวาลในช่วงระยะเวลาหน่ึง สามารถสร้าง สถานะของตนเองจากความไร้ระเบียบแบบแผนภายนอก เข้าสู่ระบบความคิดในอุดมคติที่เป็น ระเบียบ โดยมปี ระตโู ขงเปน็ ตวั กลางทจ่ี ะทาใหค้ วามมุง่ หมายเป็นไปตามความต้องการ ๒) ส่ือจาลองป่าหิมพานต์ ป่าหิมพานต์อยู่ทางตอนเหนือของชมพูทวีป ลักษณะมีความอดุ มสมบูรณด์ ้วยไม้นานาพนั ธ์ุ มีภเู ขาสาคัญ ๕ ลกู โอบล้อมสระอโนดาตทเ่ี ป็นทีอ่ ยขู่ อง สัตวว์ ิเศษมากมาย และเปน็ ทอี่ ย่ขู องผ้มู ีคุณวเิ ศษเหนือมนุษย์ และมรี ปู รา่ งแปลกเหนือมนุษย์โลก ประตูโขงถูกประดับประดา ตกแต่งด้วยลวดลายท่ีแฝงด้วยความเช่ือ เพ่ือ สนบั สนนุ คติป่าหมิ พานต์ เช่น มังกร นาค ลวง หงส์ กินรี พนั ธไ์ุ ม้ในจินตนาการ ด้วยลกั ษณะเช่นนี้ ทา ให้เรียกประตูโขงอีกอย่างหนึ่งว่า ประตูป่า นอกจากนี้ ประตูโขงยังถูกออกแบบเป็นชั้น ๆ ซ่ึงเป็น สัญลักษณ์แทนเทพวิมานต่าง ๆ (๒) พระอุโบสถ,์ พระวิหาร พระอุโบสถ์, พระวิหาร ถือเป็นสถาปัตยกรรมที่อยู่ในเขตพุทธาวาส มีความสาคัญ รองมาจากพระสถูป พระธาตุ และพระเจดีย์ ในบางสมัย เช่น สมัยสุโขทัย มีข้อกาหนดเรื่องพระอุ โบสถ์และพระวหิ ารท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ กล่าวคือ พระโบสถ์เป็นทสี่ าหรับทาพิธีกรรมของพระสงฆ์ ส่วน พระวิหารเปน็ ทสี่ าหรบั ประกอบพธิ ีกรรมของคฤหสั ถ์ เป็นตน้ คติการสร้างพระอุโบสถ์ และพระวิหาร นอกจากจะเพื่อประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนาแล้ว สถาปนิกผู้ออกแบบ ยังสะท้อนแนวคิดเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุ่ทธศาสนาไว้หลาย ลกั ษณะ ดังตวั อย่างตอ่ ไปน้ี ๑๘๙อุมาพร เสริฐพรรณกึ , การศึกษาประตโู ขงแบบล้านนาในจงั หวัดลาปาง”, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบณั ฑติ , สาขาวิชาประวัตศิ าสตรส์ ถาปตั ยกรรม, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๐), หนา้ ๒๓๘- ๒๔๒.

๑๘๓ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๑ การวางรูปแบบสถาปัตยกรรมพระอุโบสถ และวิหารวัด สุทัศน์เทพวนาราม กรุงเทพมหานคร ก. คาอธิบายประกอบ งานวิจัยของจิรศักดิ์ แต่งเจนกิจ, เรื่อง “การศึกษาการ ออกแบบและคตสิ ญั ลกั ษณ์ในกรณีงานสถาปัตยกรรมวดั สทุ ศั นเทพวนาราม”, ไดอ้ ธบิ ายไว้วา่ แนวคิด เชงิ สัญลกั ษณใ์ นการวางตาแหน่งท่กี าหนดใหว้ หิ ารคอื ภพดาวดึงส์ และอุโบสถ์เป็นชมพูทวปี ศาลา ๑๖ หลัง คือจานวนเมืองโสฬสท้ัง ๑๖ ได้แก่ พาราณสี สาวัตถี ไพศาลี มิถิลา อาฬวี โกสัมพี อุชเชนี ตัก กศิลา จมั ปา สาคละ สุงสุรมารคีรี ราชคฤห์ สาเกตุ มทั ทราษฎร์ และอนิ ทปัตถ์ อนั เป็นปริมณฑลที่อยู่ โดยรอบ และร่องรอยของสวนรอบ ๆ มีความหมายถงึ การแสดงออกของการตกแตง่ ใหเ้ ป็นสวรรค์๑๙๐ หากวิเคราะห์ในแง่ของจักรวาลวิทยา ระเบียงล้อมรอบก็คือขอบเขตของจักรวาล จานวนพระพุทธรูปเป็นสัญลักษณ์ของภพดาวดึงส์ อาคารพระวิหารเป็นสุทัสนนครบนยอดเขาพระ สุเมรุด้วยการซ้อนช้ันฐานอารตามอิทธิพลศิลปขอม และวางตาแหน่งอุโบสถไว้ทางทิศใต้ โดยมี สญั ลกั ษณข์ องพระอาทิตย์ และพระจันทร์ที่หน้าบนั ตรงตามภมู จิ กั รวาลวทิ ยา๑๙๑ ข. การส่ือความหมายเชงิ สัญลกั ษณ์ทางพระพุทธศาสนา คอื แนวคดิ ทางจักรวาล วทิ ยาของพระพุทธศาสนา ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๒ คตนิ ิยมเร่ืองการซอ้ นชน้ั ทางสถาปตั ยกรรม ๑๙๐จิรศักดิ์ แตง่ เจนกิจ, , “การศกึ ษาการออกแบบและคตสิ ัญลักษณ์ในกรณีงานสถาปัตยกรรมวดั สทุ ัศ นเทพวนาราม”, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม,(บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๔๑), หน้า ๑๘๘. ๑๙๑ จิรศักดิ์ แต่งเจนกิจ, , “การศึกษาการออกแบบและคติสัญลักษณ์ในกรณีงานสถาปัตยกรรมวัดสุ ทศั นเทพวนาราม”, วทิ ยานพิ นธศ์ ิลปศาสตรมหาบัณฑติ , หน้า ๑๘๗.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook