Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

Published by Guset User, 2023-06-30 18:20:38

Description: สัญลักษณ์พุทธฯ

Search

Read the Text Version

๑๘๔ ที่มาของภาพ: ศาสตราจารย์โชต กัลยาณมิตร, “รูปสัญลักษณ์ทางวัตถุใน พระพุทธศาสนา”, วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, ปีท่ี ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๓๔), หน้า ๕๒. ก. คาอธิบายประกอบ คติโบราณถือว่า อาคารซ้อนช้ัน หรืออาคารที่มีมากว่าหนึ่ง ชั้น เป็นอาคารที่มีฐานันดรสูง เป็นท่ปี ระทบั ของผู้มีฐานะสงู กว่าคนทวั่ ไป เช่น กษตั รยิ ์ หรอื เทพเจา้ แต่สาหรับในศาสนาพุทธ เม่ือสร้างพระอุโบสถให้เป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป ซึ่ง ถือเป็นส่ิงแทนองค์พระพุทธเจ้า ก็ต้องสร้างให้อาคารมีลักษณะซ้อนกันเป็นช้ัน ๆ ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์ ของฐานันดรศักด์ิ นอกจากน้ัน ยังแสดงถึงสัญลักษณ์ศูนย์กลางจักรวาลหรือสวรรค์อีกด้วย ท่ีเห็นชัด คือการประดับประดาด้วย “ช่อฟ้า” หรือ สัตตะบูริพัน ประทับกลางสันหลังคา ทาเป็นรูปเขาพระ สเุ มรุ๑๙๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๓ ชอ่ ฟ้า หรอื สตั ตะบูริพนั การประดับตกแต่งอื่น ๆ ช่วยเสริมความหมายให้โบสถ์เป็นศูนย์กลางจักรวาลที่ สมบูรณ์ย่ิงขึ้น เช่น ภาพสลัก หรือจิตรกรรมภาพเทพบุตร เทพธิดาที่บานประตู บานหน้าต่าง สื่อถึง ทวารบาลที่ดูแลศาสนสถาน หรือแสดงความเป็นสวรรค์ ส่วนนาค หรือมังกรคายนาคที่ราวบันได หมายถงึ สะพานร้งุ ท่ีเชอื่ มตอ่ ระหวา่ งโลกมนษุ ย์กบั โลกสวรรค์ ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ ๑) การซ้อนช้ัน แสดงถึงฐานันดรศักดิ์ เนื่องจากถือกันว่าพระอุโบสถนั้นเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า ๒) แนวคิด ทางจกั รวาลวิทยาของพระพุทธศาสนา (๓) พระสถปู สถูป คือสถานท่ีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า๑๙๓ ราก ศพั ท์มาจากคาว่า Stup แปลวา่ “สะสม รวมเข้าด้วยกนั ” มีความหมายพร้องกับคาวา่ เจดยี ์ (Caitiya) ซึ่งรากศพั ท์มาจากคาวา่ Ci แปลว่า “กองข้นึ สะสม”๑๙๔ ๑๙๒ศักด์ิชัย สายสิงห์, เจดีย์ พระพุทธรูป ฮูปแต้มสิม ศิลปะลาว และอีสาน, (กรุงเทพ ฯ : มิวเซ่ียม เพรส, ๒๕๕๕), หน้า ๑๑๒. ๑๙๓ น. ณ ปากน้า, พจนานกุ รมศลิ ป์ ฉบับปรับปรุงใหม่ พิมพค์ ร้งั ที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๒๙, หนา้ ๓๐๙. ๑๙๔ เดเดรียน สนอตกราส, สญั ลักษณแ์ หง่ พระสถูป, ภัทรพร ศริ กิ าญน บรรณาธกิ ารแปล, (กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ ๒๕๓๗), หนา้ ๑๕๐.

๑๘๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๔ องคป์ ระกอบพระสถูปและสื่อสญั ลักษณท์ สี่ าคญั ก. รปู สญั ญะที่ ๑ เสาแกน (ยปู ะ) ข. คาอธิบายประกอบ เสาแกนเป็นเสาหลักโครงสร้างพระสถูป ตั้งฉากตรงกลาง ศนู ย์กลางองค์สถูป เสาหลกั น้ีถอื เป็นสัญลกั ษณ์ของแกนโลก และเป็นเส้นเช่ือมต่อโลกนก้ี ับจุดกงึ่ กลาง ของภพภมู ิอ่นื ๆ และกบั จดุ ร่วม และจุดหลักที่เป็นแหล่งกาเนิด เป็นสัญลักษณ์ที่สะทอ้ นโลกทัศนข์ อง ผู้คนท่ีอยู่ต่างสถานท่ี ต่างกาลเวลาออกมาเป็นรูปธรรม เสาแกนจึงเปรียบเหมือนหนทางให้มนุษย์ สามารถติดต่อกบั ภพภมู ิอ่นื ๆ ได้ ทง้ั ยังเป็นบันไดที่จะปีนให้พน้ จากพันธนาการและข้อจากัดของโลกสู่ โลกท่อี ิสระและไรข้ อบเขต๑๙๕ ค. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ คติความเช่ือเร่ือง แกนโลก ซ่งึ เป็นจุดเช่อื มต่อระหว่างโลกมนุษย์กับภพภมู ิอน่ื ๆ กระทงั่ ถงึ จุดสงู สดุ คอื พระนพิ พาน ก.รปู สัญญะท่ี ๒ โดมหรือ ครรภธาตุ ข. คาอธิบายประกอบโดม หรือครรภธาตุ เป็นสัญลกั ษณ์ของการก่อกาเนดิ สรรพสิ่ง หรืออีกนัยหน่ึงคือขอบเขตของจักรวาล เป็นต้นกาเนิดสิ่งปรากฏการณ์ต่าง ๆ เป็นจุดก่อกาเนิดภพ เป็นศนู ยก์ ลาง ขา้ งในสุดทเ่ี ป็นทม่ี าของสรรพชวี ิต ค. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ คติความเชื่อเร่ือง ขอบเขตของจักรวาล หรือจดุ กอ่ กาเนดิ สรรพส่งิ ก. รูปสญั ญะท่ี ๓ ปลอ้ งไฉน ข. คาอธิบายประกอบ ปล้องไฉน คือ ส่วนยอดของสถูป เจดีย์ทรงกลม ทรงระฆัง หรือทรงลังกา อยู่ระหว่างบัวฝาละมีกับปลีหรือปลียอด ตามหลักของสถาปัตยกรรมไทย ปล้องไฉนมี ลักษณะเป็นแว่นกลม ๆ มีเส้นลวดท้ังด้านบนและด้านล่างช้อนลดหลั่นกันข้ึนไป แตล่ ะปล้องมีท้องไม้ ค่นั ทาให้มรี ูปร่างดคู ล้ายปล้องของป่ีไฉน ปลอ้ งไฉนนี้เปน็ ส่วนเดียวกับบัวกลมุ่ ของยอดเจดยี เ์ หล่ียมย่อ มมุ มีชื่อเรียกอกี อยา่ งหนึ่งว่า มาลัยเถา๑๙๖ ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ ฉัตรแสดงถึง ฐานันดรศกั ดขิ์ องสงิ่ ก่อสรา้ งวม่ คี วามเกี่ยวขอ้ งกับบคุ คลสาคญั ๑๙๕ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศิลปะ, (กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๐), หน้า ๕๑๔. ๑๙๖ ราชบณั ฑติ ยสถาน, พจนานกุ รมศัพท์ศลิ ปะ,อ้างแลว้ , หนา้ ๕๑๔.

๑๘๖ ก.รปู สญั ญะท่ี ๔ บัลลงั ก์ ข.คาอธิบายหมายถึง ส่วนท่ีเป็นแท่นสี่เหลี่ยมตั้งอยู่เหนือโดม หรือองค์ระฆังของ สถูป หรือเจดีย์ แล้วต่อยอดด้วยแผ่นกลมซ้อนลดหล่ันกันในทรงกรวยเรียกว่า ปล้องไฉน ซ่ึงหมายถึง ฉัตร ส่วนประกอบดังกล่าวแสดงฐานันดรสูง แต่เดิมไม่นิยมสร้างพระพุทธรูป จึงนิยมสร้างเพียงแท่น เปน็ สัญลกั ษณแ์ ทน ค. การสอื่ ความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ รูปแทน่ สีเ่ หล่ียมเป็น สญั ลักษณ์แทนพระพทุ ธเจ้า๑๙๗ (๔) เจดีย์ เจดีย์ หมายถงึ สิ่งกอ่ เป็นรปู คล้ายลอมฟาง มยี อดแหลม บรรจุสง่ิ ที่นบั ถือ มพี ระธาตุ หรือสิ่งท่ีบุคคลเคารพนับถือ๑๙๘ ถือเอาความหมายอย่างกว้าง ส่ิงใดก็ตามที่ใช้เพื่อระลึกถึง พระพุทธเจ้าหรือคาสอนของพระองค์แล้ว เคร่ืองเตือนใจนั้น เรยี กได้ว่า เป็นเจดีย์ ถือเป็นสัญลักษณ์ สาหรับการสารวมจิต เป็นจุดกาหนดในการทาสมาธิ ซึ่งพ้องกับรากศัพท์ของคาคือ Ci ท่ีแปลว่า กอง สมุ ข้นึ และมีความสมั พนั ธ์กับกับรากศพั ทว์ ่า Cit ซ่ึงแปลวา่ พิจารณา, รู้, คดิ เก่ยี วกับ, สารวมจติ ๑๙๙ เจดียม์ ีรูปทรงแตกต่างกัน กล่าวคือ ถ้าทรงระฆังกลมใหญ่เกือบติดพน้ื เรียกว่า เจดีย์ แบบลังกา, ถ้าเป็นเจดีย์สี่เหลี่ยมมีย่อมุมสิบสอง เรียกว่า เจดีย์ย่อมุมสิบสอง, ถ้าเป็นเหลี่ยม ๘ ทิศ เรยี กว่า เจดียแ์ ปดเหล่ยี ม, ถา้ มยี อ่ มมุมมากทีห่ น้ากระดานหลายช้นั หลายเชงิ เรียกวา่ เจดีย์ยอ่ เก็จ๒๐๐ เจดีย์ยังเรียกตามลักษณะเฉพาะทางสถาปัตยกรรม เช่น เจดีย์ทรงปราสาท, เจดีย์ ทรงยอดดอกบัวตมู , เจดยี ์มอญบางครง้ั เรียกตามตาแหน่งที่ตั้ง เชน่ เจดีย์ประธาน, เจดีย์ทศิ , เจดยี ร์ าย , เจดยี ม์ มุ , เจดียบ์ ริวาร๒๐๑ เจดีย์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นจอมเจดีย์ในประวัติศาสตร์ คือ พระปฐมเจดีย์ จ. นครปฐม, พระเจดีย์ช้างล้อม จ.สุโขทัย, พระธาตุหริภุญชัย จ.ลาพูน, พระมหาธาตุเจดีย์ จ. นครศรีธรรมราช, พระธาตุพนม จ.นครพนม, พระปรางคเ์ มืองละโว้ จ.ลพบรุ ี, พระธาตุเมืองเชลียง จ. สุโขทัย, และพระเจดยี ์ชยั มงคล จ.พระนครศรีอยุธยา๒๐๒ ๑๙๗ เรื่องเดยี วกนั , หน้า ๖๖๙. ๑๙๘ เรอ่ื งเดยี วกนั , หนา้ ๒๓๒. ๑๙๙ เดเดรยี น สนอตกราส, สัญลักษณแ์ ห่งพระสถปู , หน้า ๑๕๐. ๒๐๐ น. ณ ปากน้า, พจนานุกรมศลิ ป์, หนา้ ๕๗. ๒๐๑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพทศ์ ลิ ปกรรม,อ้างแลว้ , หนา้ ๒๓๒. ๒๐๒ อุดม เชยกีวงศ์, ประวัติเจดยี ์และโบราณสถาน, (กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พ์ภูมิปญั ญา, ๒๕๔๗), หน้า ๗.

๑๘๗ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๕ พระปฐมเจดีย์ ทมี่ าของภาพ: ระพีพฒั น์ สาราญ, คติและสัญลักษณ์ในการออกแบบสถาปัตยกรรม ของพระปฐมเจดีย์ ก. คาอธิบายประกอบการออกแบบสถาปัตยกรรมของพระปฐมเจดีย์ เกิดข้ึนเพื่อ ต้องการส่ือความหมาย “ปฐมเจติยสถาน” เป็นหลัก โดยการกาหนดแบบแผนและรูปแบบทาง สถาปัตยกรรมให้สอดคลอ้ งกับแนวคิดทางพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะคติความเชื่อเก่ียวกับพระเจดีย์ ๔ ประเภท คือ พระบรมธาตุเจดีย์ เทียบได้กับองค์พระปฐมเจดีย์, บริโภคเจดีย์ เทยี บได้กับพระวิหาร ๔ ทิศ, ธรรมเจดีย์ เทียบได้กับจารึกคาถา เย ธมฺมา, และอุเทสิกเจดีย์ เทียบได้กับพระธรรมจักร และ แท่นนมสั การ๒๐๓ ข.การส่อื ความหมายเชงิ สัญลกั ษณท์ างพระพทุ ธศาสนา คือ ๑) แนวคิดการออกแบบผังวิหารทิศเพ่ือประดิษฐานพระพุทธรูปตามเหตุการณ์ สาคัญของพระพุทธองคค์ ือประสูติ (ทิศเหนอื ) ตรัสรู้ (ทิศตะวนั ออก) แสดงปฐมเทศนา (ทิศใต)้ และ ปรนิ พิ พาน (ทศิ ตะวันตก) ๒) เป็นพระมหาธาตเุ จดีย์แห่งแรกในประเทศไทยและเป็นศูนยก์ ลางการประดษิ ฐาน พระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภมู ิ ๓) ตาแหน่งของพระวิหารท่ีต้ังอยู่ในแกนทศิ ทัง้ ๔ มคี วามสัมพันธ์ต่อเนื่องในลักษณะ การเวยี นประทักษิณรอบองคพ์ ระบรมธาตเุ จดีย์ซงึ่ ตง้ั อยูใ่ นตาแหนง่ ศูนย์กลาง ๔) พระระเบียงกลม และธรรมบท ถูกออกแบบให้สื่อความหมายแทนธรรมจักรที่ หมุนเคลื่อนไปตามผนงั ซึง่ เปน็ ช่องว่างโดยรอบ โดยมพี ระแท่นนมัสการ และรปู กวางมอบเปน็ สาคญั ๒๐๓ระพพี ฒั น์ สาราญ, “คติและสัญลกั ษณ์ในการออกแบบสถาปัตยกรรมของพระปฐมเจดยี ์”, ใน หน้า จ่วั ฉบับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปตั ยกรรมไทย, หน้า ๑๘๖.

๑๘๘ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๖ ปลี, ปลียอด๒๐๔ ก. คาอธิบายประกอบ ปลี คอื ส่วนปลายของยอดเจดีย์ หรือมณฑปทีซ่ ้อนกันหลาย ช้ัน และยอดหลังคาบุษบก มีรูปร่างเป็นแท่งกลมปลายแหลมเรียวอยู่เหนือบัวกลุ่ม ถ้าเป็นเจดีย์ทรง กลม ปลจี ะอยู่เหนือปลอ้ งไฉนและบวั กาบปลี หรือบัวรองกาบปลี ในการออกแบบเจดีย์ มณฑปหรือบุษบกท่ีมีขนาดใหญ่ และสูงมาก ส่วนปลีจะต้อง มีความสูงมากเช่นเดียกวัน ซ่ึงอาจทาให้มองดูไม่งาม ช่างจึงใช้วิธีใส่ลูกแก้วค่ันทาให้ปลีแบ่งออกเป็น สองส่วน ส่วนบนสดุ เรยี กวา่ ปลียอด สว่ นลา่ งคงเรียก ปลี ตามเดมิ ๒๐๕ ข. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ สิ่งสูงสุดในทาง พระพทุ ธศาสนา ได้แก่พระนิพพาน สรุป จากการสืบคน้ สัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมไทย โดยเฉพาส่วนที่เป็นถาวรวัตถุ เนื่องด้วยพระพุทธศาสนา ทั้งในส่วนที่เป็นองค์ประกอบแผนผังทางสถาปัตยกรรม และรายละเอียด ของสถาปัตยกรรม พบคติสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาอยู่โดยทั่วไป เช่น ในส่วนแผนผังทาง สถาปัตยกรรม มีการใช้คติเร่ืองสังฆาวาส-พุทธาวาสมากาหนดพ้ืนที่, มีการใช้เจดีย์เป็นจุดศูนย์กลาง ของวดั สะท้อนความเช่ือเก่ียวกับจกั รวาลวิทยา ในส่วนของรายละเอยี ดทางสถาปัตยกรรมที่สาคัญ ๆ เช่น เจดีย์, สถูป, อุโบสถ, วิหาร เป็นต้น มีการใช้แนวความคิดเรื่องจักรวาลวิทยามาออกแบบรูปทรง ทางสถาปัตยกรรม และรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม ๒๐๔ ปลียอด, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/ 2011/08/K10997962/K10997962.html [๒๑ มนี าคม ๒๕๕๗] ๒๐๕ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศิลปะ, , (กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๐), หน้า ๕๑๖.

๑๘๙ ๔.๘ สัญลักษณท์ างพระพุทธศาสนาในประเพณแี ละพิธกี รรม เน่ืองจากประเพณี และวัฒนธรรมไทยมีหลากหลายตามท้องท่ี ผู้วิจัยจึงกาหนดขอบข่าย ไว้ ๓ ส่วน คือ ประเพณีทั่วไป, ประเพณีท่ีเป็นราชพิธี และประเพณีท้องถ่ิน โดยจะคัดเลือกมาเพียง เพอื่ เปน็ ตัวอย่างแตเ่ พยี งสงั เขปเทา่ นัน้ ๔.๘.๑ ประเพณีท่ัวไป (๑) ประเพณีตรุษสงกรานต์ ตรุษสงกรานต์ ถือเป็นนักขัตฤกษ์ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ของไทย โดยกาหนด ถือเอาวันขึ้น ๑ ค่า เดือน ๕ ของทุกปีเป็นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ ดังน้ัน ก่อนส้ินปีเก่า จึงมักนิยมจัด กิจกรรมที่แสดงออกถึงความรา่ เริง ยนิ ดี สนุกสนาน ปัจจุบัน แม้ทางการจะประกาศถือเอาวันท่ี ๑ มกราคม ของทุกปีเป็นวันข้ึนปีใหม่ แล้ว แต่คนไทยก็ยังนิยมจัดกิจกรรมในช่วงสงกรานต์ เพราะถือเป็นประเพณีดั้งเดิมที่สืบทอดมาแต่ โบราณ ประเพณีตรุษสงกรานต์ มีสัญลกั ษณ์สาคญั ดงั น้ี ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๗ ก่อพระเจดียท์ ราย ก. คาอธิบายประกอบกิจกรรมอีกอย่างของประเพณีตรุษสงกรานต์คือการก่อพระ เจดยี ์ทราย โดยมักขนทรายจากนอกวัดมาก่อเป็นรูปเจดยี ์ ประดบั ประดาด้วยดอกไม้ ตลอดจนสิ่งอ่ืน ๆ เพ่ือเป็นการบูชา และขอขมาที่อาจล่วงเกิน เพราะเวลาเดินเข้าวัดแล้ว อาจมีเม็ดทรายติดเท้า ออกมาด้วย ดังท่ีสุเมธ เมธาวิทยกุล ได้แสดงทัศนะไว้ว่า การก่อพระเจดีย์ทรายน้ี ถือเป็นกิจกรรมที่ แฝงไวด้ ว้ ยคุณธรรม คอื ความรับผิดชอบต่อผลของการกระทาของตนเอง๒๐๖ ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ ๑) พระเจดีย์ ๒) การบูชา หรอื ขอขมาต่อศาสนสถาน ๒๐๖ ผศ.สเุ มธ เมธาวทิ ยกุล, สังกัปพธิ กี รรม, (กรุงเทพมหานคร: โอเดยี นสโตร,์ ๒๕๓๒), หน้า ๙.

๑๙๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๘ การสรงนา้ พระ๒๐๗ ก. คาอธิบายประกอบช่วงเทศกาลสงกรานต์ ชาวพุทธโดยทั่วไปนิยมอัญเชิญ พระพทุ ธรูปมาประดษิ ฐานในบริเวณพิธี พร้อมกับนมิ นต์พระภิกษุ-สามเณรในวัด ตลอดผู้สงู อายุมารด น้าเพ่อื ความเปน็ สริ ิมงคล และเพอื่ เป็นการขอขมาที่อาจล่วงเกนิ ข. การส่ือความหมายเชงิ สัญลกั ษณท์ างพระพุทธศาสนา คือ ๑) การขอขมาโทษที่ อาจเคยล่วงเกินด้วยกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ๒) ความเปน็ สริ มิ งคลแกช่ วี ิต (๒) ประเพณตี กั บาตรเทโวโรหณะ ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ เป็นประเพณีสืบเน่ืองมาจากความเช่ือท่ีว่า เมื่อ พระพุทธเจ้าเสด็จไปจาพรรษาท่ีสวรรค์ช้ันดาวดึงส์เพ่ือโปรดพระมารดาเป็นเวลา ๓ เดือน ครบ กาหนดแล้วก็เสด็จลงมา ชาวพุทธท้ังหลายจึงถือคติดังกล่าวนี้จึงประกอบพิธีตักบาตรต้อนรับการ เสด็จลงมา เรียกสั้นว่า ตกั บาตรเทโว ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๙ ภาพตกั บาตรเทโวโรหณะ ๒๐๘ ก.คาอธิบายประกอบในพิธีตักบาตรเทโวโรหณะ จะอัญเชิญพระพุทธรูปปางอุ้ม บาตรประดิษฐานบนราชรถซ่ึงประดับตกแต่งด้วยดอกไม้ ฉัตร ธง และอื่น ๆ จาลองเหตุการณ์การ เสด็จลงจากสวรรคช์ ั้นดาวดงึ ส์ ข. การส่อื ความหมายเชงิ สญั ลกั ษณท์ างพระพุทธศาสนา คอื ๑) เหตุการณใ์ นพทุ ธ ประวตั ิตอนเสด็จลงจากสวรรค์ชน้ั ดาวดงึ ส์หลงั จากโปรดพุทธมารดาเปน็ เวลา ๓ เดอื น ๒) พระพุทธรูป ปางอมุ้ บาตร ๒๐๗ ที่ ม า ข อ ง ภ า พ : https://sites.google.com/site/pimmy3333/wan-sngkrant, http://www.samutsakhonculture.com/detail_page.php?sub_id=640 ๒๐๘ ท่ีมาของภาพ : http://www.lib.ru.ac.th/journal/oct/oct_EndBuddhitLent.html

๑๙๑ (๓) พิธีกรรมเนอื่ งด้วยคนตาย มนุษย์ไม่วา่ ชาติใด นับถือลัทธิ ศาสนาใด ย่อมมีพิธีปฏิบตั ิต่อผู้ตายด้วยกันท้ังสิ้น จะ เรียบง่าย จะซับซ้อนอีกเร่ืองหนึ่ง แม้ชาติเดียวกัน นับถือศาสนาเดียวกัน แต่ต่างภูมิภาคกัน ก็มี รายละเอียดแตกตา่ งกันไปดว้ ยเชน่ กัน พิธีกรรมเน่ืองด้วยคนตาย จึงเป็นอีกพิธีกรรมหน่ึงที่สื่อความหมายผ่านสัญลักษณ์ หลายประการ ดังจะได้นามากล่าวพอเป็นตวั อยา่ ง ก. รปู สญั ญะที่ ๑ การมดั ตราสัง ข. คาอธิบายประกอบการมัดตราสัง คือการมัดศพเป็นเปลาะ ๆ โดยใช้ด้ายดิบ ขนาด ๓ หุน มีความยาวประมาณ ๔ เข็ด มัดคอก่อน ขณะมัดว่าคาถา “ปุตฺโต คีว” แล้วโยงเชือกมา กลางตวั ศพ ผูกหัวแม่มือแลว้ มัดมอื ทัง้ สองเขา้ ดว้ ยกันในลักษณะประนมไวท้ ี่หน้าอก พร้อมกบั วา่ คาถา “ธน หตเฺ ถ” จากน้ันโยงเชอื กมาท่ีเท้า ผูกหัวแม่เท้าแล้วมัดรวบข้อเทา้ ทัง้ สองเข้าดว้ ยกัน พร้อมกับว่า คาถา “ภรยิ า ปาเท”๒๐๙ ค. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ การใช้ด้ายผูกคอ มอื และเท้า สื่อความหมายถึง “ห่วง” ท่ีผูกมัดมนษุ ยไ์ ว้ในภพ ได้แก่ห่วงคือบตุ ร (เหมือนด้ายผูกคอ), หว่ งคือทรพั ย์ (เหมือนด้ายผูกมือ), และหว่ งคอื ภริยา (เหมอื นดา้ ยผูกเท้า) ก. รปู สัญญะท่ี ๒ การหวผี มให้ศพ ข. คาอธิบายประกอบธรรมเนยี มการหวผี มบางทอ้ งทีใ่ หห้ วี ๓ ครัง้ , บางท้องทีใ่ หห้ วี เป็น ๒ ซกี คือหวไี ปข้างหน้า และหวไี ปขา้ งหลงั ค. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ การหวี ๓ ครั้ง หมายถึง การสะสางวิถีการดาเนินชีวิตให้เป็นไปตามระเบียบของสังคมในภพท้ัง ๓, การหวี ๒ ซีก หมายถึง ให้คานึงถงึ อดตี กับอนาคต คือใหร้ ะลกึ ถึงการกระทาท่ผี ่านมา และผลที่จะเกิดขนึ้ ในอนาคต ก. รปู สญั ญะที่ ๓ การชักฟืนออก ๓ ดนุ้ ข. คาอธิบายประกอบขณะที่ไฟกาลังลุกไหม้ ญาติพี่น้องผตู้ ายจะกลับ มีธรรมเนียม ชักฟนื ออก ๓ ดุ้น แล้วจงึ เดนิ หนั หลังกลับและหา้ มเหลียวหลงั กลบั อกี ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ ดุ้นไฟ ๓ ดุ้น คือ โลภะ โทสะ โมหะ ย่อมเผาผลาญชีวิต การชักออกเสียย่อมอยู่เป็นสุข การห้ามเหลียวหลังส่ือ ความหมายวา่ อย่ากลบั ไปโลภะ โกรธ และหลงอกี ก. รปู สัญญะท่ี ๔ การบงั สุกุลตาย และบังสกุ ุลเปน็ ตอนเกบ็ อฐั ิ ข. คาอธบิ ายประกอบก่อนการเก็บอฐั ิพราหมณ์ผปู้ ระกอบพิธี จะจัดกระดกู (รวมท้ัง เถ้าถ่านทัง้ หมด) เป็นรูปคน โดยให้นอนหนั ศีรษะไปทางทิศตะวันตก สมมติว่าตาย แล้วเอาแก้วแหวน เงิน ทอง โปรยบนรูป และประพรมน้าหอม แล้วให้พระบังสุกุลตาย จากน้ันก็จัดกลับข้างเปล่ียนหัน ๒๐๙ ผศ.สเุ มธ เมธาวิทยกลุ , สงั กปั พิธกี รรม, หน้า ๑๓๙.

๑๙๒ ศีรษะไปทางทิศตะวันออก สมมติว่าเกิด แล้วนิมนต์พระบังสุกุลเป็น จากนั้นจึงช่วยกันเก็บกระดูกไป ประกอบพธิ ีตามประเพณตี อ่ ไป ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ หันศีรษะไปทางทิศ ตะวันตก บงั สกุ ลุ ตาย สัญลกั ษณค์ วามตาย หันศีรษะไปทางทศิ ตะวนั ออก บงั สุกุลเป็น สญั ลักษณ์การ เกิดใหม่ (๔) พิธกี รรมเก่ียวกับการแสดงธรรม ในพิธีบาเพ็ญกุศล ไม่ว่าจะเป็นงานมงคล หรืออวมงคลก็ตาม บางกรณีมีธรรมเนียม การแสดงพระธรรมเทศนาเป็นส่วนประกอบสาคัญของงานด้วย ซ่ึงก่อนถงึ เวลาเทศน์ เจ้าภาพจะต้อง เตรียมความพร้อม จะเทศน์เดี่ยว หรือเทศน์คู่ก็ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม หรือความประสงค์ของ เจา้ ภาพ พิธีการเกยี่ วกับการเทศนก์ ็มีการสือ่ สารเชิงสญั ลักษณ์ และเป็นท่ีเขา้ ใจในหมู่นักเทศน์ ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๐ การจดุ เทยี นสอ่ งธรรมหนา้ ธรรมมาสน์ ก. คาอธิบายประกอบการจุดเทียนส่องธรรมหน้าธรรมาสน์ จุดประสงค์เดิมก็คือ เพื่อให้เกิดความสว่าง ต่อมาภายหลัง แม้จะเทศน์กลางวัน ก็ยังนิยมจุด โดยเฉพาะการเทศน์ท่ีเป็น ทางการ และต้องการรักษารูปแบบดง้ั เดมิ ไว้ ธรรมเนียมปฏิบัติดั้งเดิมนั้น เจ้าภาพจะต้ังเทียนไว้บนแท่น เมื่อพระเทศน์มาถึง บริเวณพิธีและได้เวลาสมควรแล้ว เจ้าภาพจะเดินไปจุดเทียนหน้าธรรมาสน์ พระธรรมกถึกผู้รู้ธรรม เนยี ม เม่ือเหน็ เจา้ ภาพจุดเทียนหน้าธรรมาสน์ ก็จะขนึ้ ธรรมาสน์ ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือใช้การจุดเทียนหน้า ธรรมมาสน์แทนการนมิ นต์ด้วยวาจา๒๑๐ (๕) การตงั้ โตะ๊ หม่บู ชู า การตั้งโต๊ะหมู่บูชา ถือเป็นส่วนประกอบสาคัญของงานพิธีที่เนื่องด้วย พระพุทธศาสนา การตั้งโต๊ะหมู่บูชาจึงมีธรรมเนียมปฏิบัติ และต้องทาให้ถูกต้อง โดยเฉพาะในพิธี สาคญั ๆ ตอ้ งจดั ให้ครบองคป์ ระกอบตามจานวนหมู่ของโตะ๊ เชน่ หมู่ ๕, หมู่ ๗, หมู่ ๙ เครื่องประกอบโต๊ะหมู่บูชามีการส่ือสารเชิงสัญลักษณ์อยู่หลายประการ จะนามา กลา่ วแตพ่ อสงั เขป ๒๑๐ องคก์ ารศึกษา, ศาสนพิธีเลม่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวทิ ยาลัย, ๒๕๐๕), หนา้ ๙๙.

๑๙๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐๑ การจัดโต๊ะหมูบ่ ูชา๒๑๑ ก.รูปสัญญะที่ ๑ ธปู ๓ ดอก ข. คาอธิบายประกอบธูปถือเปน็ เครื่องหอมที่ใช้สาหรบั บชู า จานวนที่ใช้จะแตกต่าง กันไปตามความเช่ือ และความนิยม เช่น ไหว้ศพนิยมจุดเพียงดอกเดียว, ทาบุญอายุ นิยมจุดเท่ากับ จานวนอายุ เปน็ ตน้ ในการบชู าพระรตั นตรัย นิยมใชธ้ ปู เพียง ๓ ดอก ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ ๑) ธูป ๓ ดอก เป็น สัญลักษณ์แทนพุทธคุณ ๓ ประการของพระพุทธเจ้า ได้แก่ พระวิสุทธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณ และ พระปัญญาคณุ ๒) การจุดธปู ๓ ดอก เปน็ สญั ลกั ษณข์ องการบูชาพระคณุ ทงั้ ๓ ประการนี้ ก.รูปสญั ญะที่ ๒ เทยี น ๒ เลม่ ข. คาอธิบายประกอบเครอื่ งบูชาท่ีค่กู ับธูปอีกประการหน่ึงคือเทียน ในการบูชาพระ โดยท่ัวไป นยิ มใชเ้ ทียน ๒ เลม่ ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ เทียน ๒ เล่มเป็น สัญลกั ษณ์แทนปาพจน์ ๒ ประการ คือพระธรรม และพระวนิ ัย ก.รปู สญั ญะท่ี ๓ ดอกไม้ ข. คาอธิบายประกอบบนโต๊ะหมู่บูชา นิยมจัดดอกไมใ้ ส่แจกนั บ้าง ประดับเป็นพาน พมุ่ บ้างตามความนิยม และความเหมาะสม จดุ ม่งุ หมายของการจดั ดอกไม้ ก็เพอื่ เปน็ เครอื่ งบูชาทานอง เดียวกันกับธูป และเทียน โดยถือคติว่า ดอกไม้หลากสี หลายประเภท เม่ือนามาจดั ดว้ ยระเบียบมาลา การ ย่อมทาใหเ้ กิดความสวยงาม เกดิ ทัสสนานตุ ตรยิ ะแกผ่ ้พู บเห็น ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ ดอกไม้เป็น สญั ลักษณ์แทนพระสงฆ์ พระสงฆ์แมจ้ ะมาจากต่างช้นั วรรณะ แต่กง็ ามด้วยธรรมวนิ ยั เดยี วกนั ๔.๘.๒ พระราชพิธี (๑) การลอยพระประทปี ถือเป็นนักขัตฤกษ์ที่ร่ืนเริงท่ัวไปของชนท้ังปวง และเป็นโบราณราชประเพณีมีมา ตงั้ แต่โบราณ กระทากนั ในวันเพญ็ เดือน ๑๒ ๒๑๑ ก า ร จั ด โ ต๊ ะ ห มู่ บู ช า , [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://www.baanjomyut.com/ library/altar/07.html [๒๒ มีนาคม ๒๕๕๗].

๑๙๔ ในการลอยพระประทปี แม้จะไม่มีพิธีสงฆ์ หรือพิธีพราหมณ์เข้าไปเกี่ยวข้อง แต่พระ ราชนิพนธ์ พระราชพิธีสิบสองเดือน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ทรงอธิบาย หรือ รายละเอียดเก่ียวกับขบวนเรือ และพิธิการต่าง ๆ ซ่ึงมีการใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาเข้าไป เกย่ี วขอ้ ง ดงั หลกั ฐานตอ่ ไปน้ี “ครั้นถึงในแผ่นดินปจั จุบันน้ี เรือชัยลาหลังเปล่ียนเป็นเรือสุพรรณหงส์ ซึ่งชารดุ ทรง ซ่อมแซมขึ้นมาใหม่บ้าง พระพุทธรูปพุทธสิหิงค์น้อย ยกเป็นพระพุทธรูปประจาพระชนมพรรษาวัน รัชกาลท่ี ๔ จึงได้เปล่ียนเป็นพระไชยวัฒน์ในแผ่นดินปัจจุบันน้ีลงในเรือพระท่ีนั่งอนันตนาคราช แทน”๒๑๒ ก. รูปสัญญะ การอัญเชิญพระพุทธรูปไปประดิษฐานในขบวนเรือพระที่นั่งในปีพิธี การลอยพระประทีป ข. คาอธิบายประกอบมีธรรมเนียมการอัญเชิญพระพุทธรูปไปประดิษฐานในขบวน เรือพระที่น่ัง เช่น ในสมัยรัชกาลท่ี ๔ อัญเชิญพระพุทธสิหิงส์น้อยประดิษฐานไว้บนเรือสุพรรณหงส์ ครน้ั ถงึ สมยั รชั กาลที่ ๕ อญั เชิญพระไชยวัฒนป์ ระดิษฐานในเรอื พระท่ีนงั่ อนันตนาคราช ค. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ การอัญเชิญ พระพทุ ธรปู ไปประดิษฐานในเรือพระท่ีนั่งในพิธลี อยพระประทปี (๒) พระราชกุศลกาลานุกาล เปน็ พระราชพิธีมขี ้ึนคร้ังแรกในสมัยรัชกาลที่ ๔ ในพิธีมีการนมิ นต์พระสงฆ์ จากอารามซึ่งเป็นที่พระอัฐินั้นได้ทรงปฏิสังขรณ์ หรือสร้างใหม่มาสดัปกรณ์กาลานุกาลตามรอยองค์ พระอัฐิ พระบรมอัฐิ ในสว่ นทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั สญั ลกั ษณ์ทางพระพุทธศาสนา มีขอ้ ความระบุไว้ดังน้ี “พระพุทธรูปซ่ึงต้ังในการกาลานุกาลน้ี ใช้พระชนมพรรษาวันในรัชกาลที่ ๑ ที่ ๒ เป็นพระพุทธรปู อุ้มบาตร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวทรงสร้างขึ้นด้วยทองคา แล้วทรง พระราชอุทิศถวายทั้ง ๒ พระองค์ พระปางห้ามสมุทรสาหรับรัชกาลที่ ๓ ทรงสร้างข้ึนด้วยทองคาใน แผ่นดินปัจจุบันน้ี แล้วทรงพระราชอุทิศถวาย พระพุทธสิหิงค์จาลองประจาในรัชกาลท่ี ๔ พระพุทธรูปยืนอมุ้ บาตรตามพระชนมพรรษาวันกรมสมเดจ็ พระอมรินทรามาตย์ พระพุทธรูปยืนถวาย เนตรตามพระชนมพรรษาวัน กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ ทรงหล่อด้วยทองคาในรัชกาลที่ ๔ ทรงพระราชอุทิศถวาย พระพุทธรูปปางสมาธทิ รงหล่อด้วยทาคาในรัชกาลปจั จุบนั นี้ ทรงพระราชอุทิศ ถวายกรมสมเดจ็ พระเทพศิรินทรามาตย์ เป็นพระพทุ ธรูป ๗ องคด์ ้วยกนั ”๒๑๓ ก. รูปสญั ญะ พระพทุ ธรปู ประจาพระชนมพรรษาวนั ข. คาอธิบายประกอบ ในการพระราชพิธีบาเพ็ญพระราชกุศลกาลานุกาล มีการ อญั เชญิ พระพุทธรปู ประจาพระชนมพรรษาวนั ของอดตี บุรพมหากษัตรยิ ์มาประดิษฐานในพธิ ดี ว้ ย ๒๑๒พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระราชพิธีสิบสองเดือน, พิมพค์ ร้ังที่ ๑๔, (พระนคร: ศิลปาบรรณาคาร, ๒๕๑๖), หนา้ ๓๖. ๒๑๓เร่อื งเดียวกัน, หนา้ ๔๖-๔๗.

๑๙๕ ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ การอัญเชิญ พระพทุ ธรูปประจาพระชนมพรรษาวนั มาประดิษฐานในพธิ ี (๓) พระราชพิธีไล่เรอื หรือไลน่ ้า การพระราชพิธีไล่เรือ หรือไล่น้า กระทาในเดือนอ้าย มีจุดมุ่งหมายเพ่ือจะให้น้าลด เพราะถ้าถึงเดือนอ้ายแล้วน้ายังมากไม่ลด เมล็ดข้าวในรวงแก่ร่วงลงเสียในน้า หรือแม้จะค้างอยู่ ก็เป็น เมลด็ ขา้ วหกั ละเอียดเสีย เพราะเก่ยี วไม่ได้ดว้ ยนา้ มาก ในพระราชพิธีมีการอัญเชิญพระพุทธรูปปางหา้ มสมุทรมาประดิษฐานในเรือพิธี แล้ว มีเรือศรีโขมดยาสาหรับพระสงฆ์ตามหลัง เรือลาหน่ึงมีพระราชาคณะรูป ๑ มีพระฐานาน่ัง ๒ ข้าง กลางตง้ั เคร่ืองนมัสการ๒๑๔ ก. รปู สัญญะ พระพุทธรปู ปางห้ามสมทุ ร ข. คาอธิบายประกอบในพระราชพิธีไล่เรือ หรือไล่น้า มีการอัญเชิญเสด็จ พระพทุ ธรูปปางห้ามสมุทร นยั ว่าเพ่อื ไล่น้า โดยถอื วา่ จะทาให้นา้ แหง้ ได้ ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ การอัญเชิญ พระพุทธรูปปางห้ามสมทุ รเพือ่ ห้ามนา้ (๔) พิธพี ิรุณศาสตร์ พิธีพิรุณศาสตร์ หมายถึงประเพณีการสวดขอฝน โดยในยามใดเกิดฝนแล้ง หรือไม่ ตกต้องตามฤดูกาล ก็จะมีพิธีพิรุณศาสตร์ ในพิธีมีการอัญเชิญพระพุทธรูปปางคันธารราฐเข้า ประดิษฐานในมณฑลพิธี จากน้ันก็มีการสวดคาถาบาลีอธิฐานขอฝน๒๑๕ แต่เดิมก็ทาได้เฉพาะที่ ต่อมา มีพระบรมราชานุญาตให้หล่อพระพุทธรูปปางคันธารราฐขนาดสูง ๓๓ เซนติเมตร จานวน ๘๐ องค์ แจกจ่ายไปตามหวั เมืองตา่ ง ๆ เผือ่ มีเหตกุ ารณ์ฝนแล้ง ก็จะได้ใช้ประกอบพิธี ณ ทีน่ ัน้ ไดท้ ันท่วง ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๒ พระพทุ ธรูปปางคันธารราฐ ข.คาอธิบายประกอบ พระพุทธรูปปางคันธารราฐ เป็นพระพุทธรูปในอริยาบถ ประทับยืน พระหัตถ์ซ้ายยกข้ึนในลักษณะคล้ายกวัก ส่วนพระหัตถ์ขวาลักษณะยกหงายข้ึนรองรับ นา้ ฝน เป็นพระพุทธรปู ที่ใชส้ าหรบั พิธพี ริ ุณศาสตร์ หรอื พิธีขอฝน ๒๑๔พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั , พระราชพิธีสิบสองเดือน, พิมพค์ ร้ังท่ี ๑๔, (พระนคร: ศลิ ปาบรรณาคาร, ๒๕๑๖), หน้า ๖๗. ๒๑๕หอสมดุ วชิรญาณ, ประกาศพระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคลั , (พระนคร: โสภณพิพรรฒนา กร, ๒๔๖๘), คานา.

๑๙๖ ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ การใช้พระพุทธรูป ปางคนั ธารราฐเป็นสัญลักษณข์ องการขอฝน นามาซ่ึงความอุดมสมบรู ณ์แกช่ าวประชาทัง้ ปวง (๕) พระราชพิธพี ชื มงคลจดพระนงั คลั แรกนาขวัญ พระราชพิธแี บ่งออกเป็น ๒ พธิ คี ือ พิธีพืชมงคล เป็นพธิ ีทที่ าขวญั เมล็ดพืชพันธุต์ ่าง ๆ มจี ุดมุ่งหมายเพื่อให้เมลด็ พันธุ์พืชปราศจากโรคภัย และเพื่อความอุดมสมบูรณ์งอกงามดี ส่วนพิธแี รก นาขวัญ เป็นพิธีเร่ิมตน้ การไถนาเพื่อหว่านเมล็ดข้าว เปน็ อาณัตสิ ญั ญาณวา่ ฤดแู ห่งการทานาไดเ้ ริม่ ข้ึน แล้ว พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ กาหนดให้มีข้ึนในเดือนท่ีเป็นต้นฤดู ฝน คือเดือน ๖ หรือเดือนพฤษภาคมของทุกปี ส่วนวันไม่ได้กาหนดไว้แน่นอน แล้วแต่โหรจะคานวณ ฤกษ์ยามออกมา เดิมมีเพียงพิธีจรดพระนังคัล ซึง่ เป็นพิธีพราหมณ์ล้วน ต่อมา รัชกาลท่ี ๔ ได้ทรงเพ่ิม พิธีพืชมงคลข้ึนมา ให้เป็นพิธีสงฆ์ มีการแห่อัญเชิญพระพุทธรูปมาเป็นองค์ประธานในพิธี นิมนต์ พระสงฆ์มาเจริญพระพทุ ธมนตเ์ พ่ือความเป็นสริ มิ งคล ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐๓ พระราชพธิ ีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ๒๑๖ ก. คาอธิบายประกอบในพิธพี ชื มงคลจะอญั เชิญพระพทุ ธรูปปางคันธารราฐ (ปางขอ ฝน) มาประดิษฐานเป็นประธานในมณฑลพิธี ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ การใช้พระพุทธรูป ปางคันธารราฐ เป็นสัญลักษณ์ของการขอฝน ทั้งถือคติที่ว่า ในสังคมเกษตรกรรม น้าเป็นสัญลักษณ์ ของความอดุ มสมบรู ณ์ ๔.๘.๓ ประเพณที ้องถิ่น (๑) ประเพณยี เ่ี ป็ง ประเพณียี่เป็ง คือประเพณีลองกระทงแบบลา้ นนา เป็นประเพณีเกา่ แก่ถอื ปฏิบตั ิมา ต้ังแตพ่ ทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔๒๑๗ กาหนดการมี ๓ วัน คือเรมิ่ ต้ังแต่วันขน้ึ ๑๓-๑๔-๑๕ ค่า เดอื น ๑๒ ของ ทกุ ปี โดยวันแรก (ขึ้น ๑๓ ค่า) จะเป็นวันซื้อของเตรียมไปทาบุญท่ีวัด วันที่ ๒ (ขึ้น ๑๔ ค่า) ทุกคนไป ๒๑๖ พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://tourismindustrydpu 004kench.blogspot.com/2010/06 [๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗]. ๒๑๗ สานกั หอสมุดมหาวิทยาลัยาเชียงใหม่, “ประเพณีล้านนา: ประเพณีย่เี ป็ง”,[ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://library.cmu.ac.th/ntic/lannatradition/yeepeng-history.php [๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗].

๑๙๗ ทาบุญทว่ี ัด และทากระทงใหญ่ไว้ท่ีวัด พร้อมท้ังนาของกินมาใส่กระทงเพ่ือทานแก่คนจน ส่วนวันที่ ๓ (ข้นึ ๑๕ ค่า) ทกุ คนจะนากระทงใหญท่ ว่ี ดั และกระทงเลก็ ส่วนตนไปลอยน้า ในช่วงวันยี่เป็งจะมีการประดับตกแต่งวัด บ้านเรือน ทาประตูป่า ด้วยต้นกล้วย ต้น อ้อย ทางมะพรา้ ว ดอกไม้ ตุง ช่อประทปี และชักโคมย่เี ป็งแบบต่าง ๆ ข้ึนเป็นพทุ ธบูชา และมีการจุด ถ้วยประทีป (การจุดผางประทิส) เพ่ือบูชาพระรัตนตรัย และมีการจุดโคมลอยปล่อยขึ้นสู่ท้องฟ้าเพ่ือ บชู าพระเกตุแกว้ จุฬามณีบนสรวงสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๔ ผางประทิส ก. คาอธิบายประกอบผางประทีส หรือผางประทีป เป็นเครื่องสักการบูชาใน พระพุทธศาสนา คาว่า ผาง คือ ภาชนะดินเผาคล้ายถ้วยเล็กๆ ใช้เป็นถ้วยสาหรับใส่ขี้ผ้ึงหรือน้ามัน และไส้ของประทีสท่ีทามาจากเส้นฝ้าย ส่วนคาว่า ประทีส คือแสงสว่าง๒๑๘ ในช่วงประเพณีย่ีเป็ง ชาว ลา้ นนานิยมจุดผางประทีสเป็นพุทธบูชา สืบเนื่องมาจากตานานพระพุทธเจ้าห้าพระองค์ ได้แก่ พระก กสุ นั ธะ พระโกนาคมนะ พระกสั สปะ พระโคตม ๕ พระองค์ ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณท์ างพระพทุ ธศาสนา เคร่ืองบูชาพระพุทธเจ้า ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๕ สะเปา๒๑๙ ก. คาอธิบายประกอบ สัญลักษณะของประเพณียี่เป็งอีกอย่างหน่ึงคือสะเปา หมายถึง สาเภา หรือเรือ ที่ใช้สาหรบั ใสว่ ัตถุส่ิงของต่าง ๆ ทจ่ี าเป็นสาหรับการดารงชีวิต ซ่งึ จะทาเป็น สะเปาใหญ่ สว่ นสะเปาเล็กจะประดบั เปน็ เคร่อื งบูชา ๒๑๘ สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยาเชียงใหม่, “การบูชาผางประทิส”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://library.cmu.ac.th/ntic/lannatradition/yeepeng-pangpratis.php [๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗]. ๒๑๙ สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยาเชียงใหม่ , “ประเพณีย่ีเป็ง ”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://library.cmu.ac.th/ntic/lannatradition/yeepeng-sapuo.php.

๑๙๘ ข. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ ๑) บูชารอยพระ พุทธบาทที่ประดิษฐ์ ณ หาดทรายแม่น้านัมมทา อันเป็นการเจริญพุทธานุสติราลึกต่อองค์พระ สมั มาสมั พุทธเจา้ ๒) การบริจาคทาน ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๖ ซมุ้ ประตูปา่ ก. คาอธิบายประกอบในช่วงประเพณีเดือนยี่เป็ง ชาวล้านนานิยมที่จัดเทศนาธรรม เรื่องเวสสันดรชาดกและในกัณฑ์ที่ ๑๓ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังจากพระเวสสันดร เสด็จกลับจากป่าหิมพานต์เพื่อเข้าครองนครสีพี ชาวบ้านชาวเมืองต่างดีใจจึงประดบั ตกแต่งเมืองด้วย ซ้มุ ประตูป่าอย่างงดงาม ที่บ้านเรือนของตนเอง โดยเช่ือว่าถ้าใครตกแตง่ ซุ้มประตูปา่ ไดง้ ดงาม อาจทา ให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าท่ีจาลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของตน จะทาให้ ไดอ้ านสิ งสอ์ ยา่ งมาก ข. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ๑) การต้อนรับพระ เวสสันดรเข้าเมอื ง ๒) ซ้มุ ท่ใี ชจ้ ุดผางประทิสบูชาพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐๗ ว่าวฮม,วา่ วไฟ ก.คาอธิบายประกอบชาวล้านนาเช่ือว่าพระธาตุประจาปีเกิดของผู้ท่ีเกิดปีเส็ด (ปี หมา) คือพระเกศแก้วจุฬามณี ซ่ึงประดิษฐานอยู่บนสวรรค์ ดังน้ัน จึงนิยมทาว่าวฮมปล่อยพร้อมกับ บชู าด้วยสวยดอกไม้ธูปเทยี น โดยนาผูกติดกับตัวว่าวขนึ้ ไป เพอ่ื สักการะ ในสว่ นบุคคลทัว่ ไปกส็ ามารถบชู าว่าวฮม ว่าวไฟ เพอื่ สักการะพระเกศแกว้ จฬุ ามณีได้ เช่นกัน ดังปรากฏในเทศน์ธัมม์พ้ืนเมืองเร่ือง พระมาลัยโปรดโลก กล่าวว่าผู้ใดอยากขึ้นสวรรค์ให้บูชา พระเกศแก้วจฬุ ามณีปราชญ์ล้านนาไดร้ จนาคาสักการะพระเกศแก้วจุฬามณีเป็นภาษาบาลี วา่ “ตาวติง สา ปุเรรัมเม เกสาจุฬามณี สรีระปัพพะตา ปูชิตา สัพพะเทวานัง ตัง สิระสา ธาตุงอุตตะมังอะหัง วันทามิ สพั พะทา ฯ”๒๒๐ ๒๒๐ สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยาเชียงใหม่, “ประเพณีย่ีเป็ง:การทาว่าวฮม”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://library.cmu.ac.th/ntic/lannatradition/yeepeng-wowhome.php [๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗].

๑๙๙ ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ การบูชาพระเกศ แก้วจุฬามณี (๒) ประเพณตี านขันขา้ วหรือตานกัว๊ ะขา้ ว ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐๘ ตานขันข้าว ก.คาอธิบายตานขันข้าว หรือตานกวั๊ ะข้าวเป็นประเพณีการทาบุญเพือ่ เป็นการแสดง ถึงความกตัญญูอีกแบบหน่ึงของชาวไทยเหนือ โดยการนาสารับกับข้าวไปถวายพระที่วัด ในวัน เทศกาลท่ีสาคัญต่างๆ ได้หลายวัน เช่น เทศกาลวันสงกรานต์ เทศกาลเข้าพรรษา และเทศกาลออก พรรษา๒๒๑โดยมีวัตถุประสงค์นอกจากจะถวายทานแก่พระสงฆ์ตามปกติแล้ว ยังมีจุดประสงค์พิเศษ เพ่อื อุทิศส่วนกศุ ลใหบ้ รรพบรุ ษุ ท่ีลว่ งลบั ไปแล้วดว้ ย ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือการแสดงออกซึ่ง ความกตญั ญูต่อผมู้ พี ระคุณท่ีลว่ งลบั ไปแล้ว (๓)ประเพณอี มุ้ พระดานา้ ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๙ การอุ้มพระดานา้ ๒๒๒ ก. คาอธิบายประเพณีอุ้มพระดาน้าเป็นงานประเพณีเก่าแก่ของ ชาวจังหวัด เพชรบูรณ์ ที่สืบทอดกันมายาวนานชั่วอายุคนโดยมีความเชื่อและศรัทธาอย่างแรงกล้าว่า จะทาให้ฟ้า ฝนตกต้องตามฤดูกาลพืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ พืชผลทางการเกษตรเจริญงอกงาม เก็บเก่ียว ผลผลติ ไดม้ าก รวมทงั้ ปลอดจากโรคระบาดอกี ดว้ ย ๒๒๑ประเพณตี านขันขา้ วชาวลาปาง, “หนังสือพิมพบ์ ้านเมือง ฉบับวนั ที่ ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๕๕”,[ออนไลน]์ . แหล่งทม่ี า: http://www.banmuang.co.th/2012/10/ [๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๗]. ๒๒๒ ประเพณีอุ้มพระดาน้า, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.stou.ac.th/ study/sumrit/10- 53(500)/page3-10-53(500).html [๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๗].

๒๐๐ ดังนั้น เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ค่า เดือน ๑๐ของทุกปีจึงมีการแห่พระพุทธมหาธรรมราชา ไปรอบเมืองจนถึงบริเวณหน้าวัดไตรภูมิ จากนั้นผู้ว่าราชการจังหวัดซ่ึงเป็นตัวแทนของชาวเพชรบูรณ์ จะเป็นผู้อุ้มพระพุทธมหาธรรมราชา ลงดาน้าท้ัง ๔ทิศ ซ่ึงถือว่าเป็นสิริมงคลแก่จังหวัด จนกลายเป็น ประเพณีตราบเทา่ ถงึ ทกุ วนั นี้ ข. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา๑) พระพุทธรูป ๒) ความอุดมสมบูรณ์ และความเปน็ สริ ิมงคลแก่ชีวติ (๔) ประเพณีตุง (การทานตงุ ) ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๐ ตุงชนิดตา่ ง ๆ๒๒๓ ก. คาอธิบายประกอบประเพณีการทานตุง เป็นท่ีนิยมของคนล้านนาไทยมาแต่ โบราณดังนั้นเมื่อกิจกรรม พิธีกรรม หรือประเพณีต่าง ๆ ในชุมชน จึงนิยมทาตุงประเภทต่าง ๆ ประดับในงาน หรือในพิธนี น้ั ๆ การทานตุง มีตานานเล่าในหนังสือสังขยาโลกว่า มีมูลเหตุมาจากพระภิกษุรูปหนึ่ง ได้ท่อนไม้แห้งมา จึงคิดว่าจะทาเสาตุง (ธง) บูชาในวัด แต่เกิดมรณภาพปัจจุบันทันด่วน ทาให้จิตมี อาลัย ไปเกิดเป็นตุ๊กแกจับท่ีท่อนไม้น้ันเป็นเวลานาน ต่อมาท่านได้ดลใจให้ชาวบ้านทราบ และขอให้ สร้างตุงถวายในพระศาสนา จะช่วยใหท้ ่านพ้นจากทกุ ข์ได้ ชาวบา้ นจึงได้ช่วยกันสร้างตุงถวาย๒๒๔และ กระทาสืบ ๆ กนั มาจนกลายเปน็ ประเพณี ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ๑)ประดับเป็นพุทธ บูชา ๒) บอกให้รู้ว่าบริเวณแห่งนั้นมีงานบุญ และ ๓) อานิสงค์จะช่วยนาวิญญาณคนตายไปสู่สรวง สวรรค์ (๕) ประเพณตี ักบาตรดอกไม้ เป็นประเพณีชาวพุทธท่ีพบหลายท้องที่ เช่น จังหวัดสระบุรี, วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร, วัดราชบพิตรสถติ มหาสมี าราม กรงุ เทพมหานคร ประวัติความเป็นมาของประเพณี ถือคติมาจากการถวายพวงดอกไม้ของนายสุมน มาลาการ ซ่ึงเป็นคนจัดดอกไม้ในพระราชวังของพระเจา้ พมิ พิสาร อยู่มาวนั หนึ่ง ขณะกาลังซื้อดอกไม้ ๒๒๓ ประเพณีการทานตุง, [ออนไลน์].แหล่งที่มา: http:www.m-culture.in.th%2Fmoc_new% 2Falbum%2F121068% [๒๘ มนี าคม ๒๕๕๗]. ๒๒๔สงวน โชตสิ ขุ รตั น์, ประเพณีไทยภาคเหนอื , (กรงุ เทพฯ: สานักพิมพศ์ รีปญั ญา, ๒๕๕๓), หนา้ ๑๓๙.

๒๐๑ เพอ่ื ไปเตรยี มจดั ถวายพระเจา้ พิมพพ์ สิ าร ได้พบพระพทุ ธเจา้ ระหว่างทาง เกดิ ความเลือ่ มใสจึงได้ถวาย พวงดอกไม้ทั้งหมด ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๑ ดอกเข้าพรรษา๒๒๕ ก. คาอธิบายประกอบเม่ือถึงวันเข้าพรรษา คือวันแรม ๑ค่า เดือน ๘ของทุกปี ชาว อาเภอพระพุทธบาทจะพากันไปเก็บดอกเข้าพรรษาตามไหล่เขาโพธิลังกาหรือเขาสุวรรณบรรพต เทือกเขาวง และเขาพุ ในเขตอาเภอพระพุทธบาท นามาจัดรวมกับธูปเทียนเพ่ือตักบาตรถวายพระ และในระหว่างที่พระภิกษุสงฆ์เดินลงจากพระมณฑปนั้น พุทธศาสนิกชนจะนาเอาน้าสะอาดมาล้าง เท้าพระภิกษุสงฆ์ ซึ่งถือว่าน้าท่ีได้ชาระล้างเท้าให้พระภิกษุสงฆ์น้ันเสมือนหนึ่งได้ชาระบาปของตน ด้วย๒๒๖ ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ ๑) การใช้ดอก เข้าพรรษา เป็นสื่อสัญลักษณ์การบูชาในวันเข้าพรรษา ๒) การนาน้าสะอาดมาล้างเท้าพระภิกษุสงฆ์ โดยถอื เปน็ เสมือนการชาระจิตของตน (๖) ประเพณแี ห่ผีตาโขน ผีตาโขน เป็นเทศกาลที่จัดขึ้นในอาเภอด่านซ้ายจังหวัดเลย ซ่ึงตั้งอยู่ทางภาคอีสาน ของประเทศไทย เป็นเทศกาลท่ีเกิดข้ึนในเดือน ๗ ซ่ึงมักจัดมากกว่าสามวันในบางช่วงระหว่างเดือน มีนาคม และกรกฎาคม โดยจดั ขึ้นในวนั ท่ไี ดร้ ับเลอื กให้จัดขึ้นในแตล่ ะปีโดยคนทรงประจาเมือง ซงึ่ งาน บุญประเพณีพ้ืนบ้านนี้มีชื่อเรียกว่า บุญหลวง โดยแบ่งออกเป็นเทศกาล ผีตาโขน,ประเพณีบุญบ้ังไฟ และงานบุญหลวง (หรือ บุญผะเหวด)๒๒๗ ๒๒๕ ดอกเข้าพรรษา, [ออนไลน์].แหล่งท่ีมา: http://www.tiewpakklang.com/news/ lopburi/ 12891/ [๒๘ มนี าคม ๒๕๕๗]. ๒๒๖ พระยาอนุมานราชธน, หนังสือชุดประเพณี, (พระนคร: สานักวัฒนธรรมทางระเบียบประเพณี ,มปป.), หน้า ๑๘. ๒๒๗ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, “ผีตาโขน” ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/ผีตา โขน [๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๗].

๒๐๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๒ ขบวนแหผ่ ีตาโขน ก. คาอธิบาย ประเพณีผีตาโขนเป็นการละเล่นท่ีเกดิ จากความเช่ือเกี่ยวกับวิญญาณ ของผีบรรพชน สืบสานมาจากการละเล่นปู่เยอ ย่าเยอของชาวหลวงพระบาง แต่เนื่องผ่านพ้นกับ กาลเวลาอันยาวนาน และฟันฝ่ากับระบบการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม รวมท้ังการปะทะ สงั สรรคท์ างวัฒนธรรมกับคนหลากหลายกล่มุ ชน จึงมีการปรับเปลยี่ นผสมผสานให้เป็นการละเล่นที่มี รูปแบบเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะท้องถนิ่ ดงั ทเี่ หน็ อยู่ในปจั จุบัน ข. การสื่อความหมายเชงิ สญั ลกั ษณ์ทางพระพทุ ธศาสนา คอื คตคิ วามเชื่อเก่ียวกับ เวสสันดรชาดก ตอนพระเวสสนั ดรออกเสด็จออกจากป่านิวตั พระนคร (๗) ประเพณีแห่ผา้ ข้ึนธาตุ แห่ผ้าขึ้นธาตุ หมายถึงการแห่ผ้าผนื ยาวไปบูชาพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า โดยการนาขึ้น ห่มโอบล้อมรอบองค์พระบรมธาตุเจดีย์ณ วัดพระมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็น ประเพณีท่พี ุทธศาสนกิ ชนยึดถอื ปฏบิ ัติสืบทอดกันมาเป็นเวลายาวนาน๒๒๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๓ ภาพห่มุ ผา้ พระธาตุ ก. คาอธิบายชาวนครศรธี รรมราชมีความกนั เชอื่ ว่าการทาบญุ และการกราบไหว้บูชา ท่ีให้ได้กุศลจริง จะต้องปฏิบัติต่อพระพักตร์และให้ใกล้ชิดกับพระพุทธเจ้าให้มากที่สุด ดังนั้นการนา ผ้าไปบูชาพระบรมธาตุเจดีย์ด้วยการโอบรอบองค์พระบรมธาตุเจดีย์ถือเป็นการบูชาที่ใกล้ชิดกับพระ พทุ ธองค์ ทกุ คนจึงมุ่งหมายมาสกั การะเมอื่ ถงึ วันมาฆบชู า และวันวสิ าขบูชาของทกุ ปี ข. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพทุ ธศาสนา คือ๑) การบชู า ๒) การ ได้ใกลช้ ดิ กับพระพทุ ธเจา้ ๒๒๘ สานกั ศลิ ปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช, “ประเพณีของภาคใต้: ประเพณแี หผ่ ้า ขนึ้ ธาตุ” ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.culture.nstru.ac.th/lifestyle/pa_tart_thai.html [๒๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๗].

๒๐๓ (๘) ประเพณชี กั พระ สืบเน่ืองจากความเช่ือท่ีว่าวันท่ีพระองค์เสด็จลงมาจากสวรรค์หลังจากโปรดพระ พุทธมารดา เป็นระยะเวลา ๓ เดือน ครบ ๓ เดือน ก็เสด็จลงทางบันไดทั้ง ๓ซึ่งทอดลงมายังประตู นครสังกัสสะ ตรงกับวันแรม ๑ค่า เดือน ๑๑ อันเป็นวันออกพรรษาพอดีพุทธบริษัทท้ังหลายทราบ ข่าวต่างมาคอยต้อนรับเสด็จอย่างเนืองแน่น เพื่อถวายภัตตาหาร ดอกไม้ธูปเทียน หลายคนไม่ สามารถเข้าถวายภัตตาหารได้ เพราะจานวนคนมาก แต่ด้วยศรัทธาแรงกล้าของผู้ท่ีเข้าไม่ถึงพระ พุทธองค์จึงเกิดประเพณีทาขนมขึ้นชนิดหนึ่ง ห่อด้วยใบจาก หรือใบเตยเรียกว่า “ต้ม”สาหรับโยน หรือปาจากระยะหา่ งเข้าไปถวายได้ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๔ ประเพณชี ักพระ๒๒๙ ก. คาอธิบายประกอบ ประเพณีลากพระกระทาอยู่ ๒ ลักษณะ คอื ลากพระทางบก และลากพระทางน้า ในพิธีมีการอัญเชิญพระพุทธรูปปางอุ้มบาตรขึ้นเรือ หรือรถท่ีประดับตกแต่งไว้ แลว้ จากกนนั้ กช็ ่วยกันชกั ลาก ข. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา คือ๑) คติความเช่ือ เกี่ยวกับการเสด็จลงจากดาวดึงส์หลังจากโปรดพุทธมารดาเป็นระยะเวลา ๓ เดือน ๒) พระพุทธรูป ปางอุ้มบาตร (๙) ประเพณีสารทเดอื นสบิ สารทเดือนสิบ เป็นประเพณีทาบุญกลางเดือนสิบ เป็นประเพณีทาบุญเพ่ือนาเครื่อง อุปโภคและเครื่องบริโภคท้ังขนมสาคัญห้าอย่างไปถวายพระ แล้วอุทิศส่วนกุศลแด่บรรพบุรุษของตน ชาวเมอื งนี้ไมว่ ่าจะไปอย่ไู กลเพียงใด เม่ือถึงช่วงทาบุญเดือนสิบ ก็จะกลับภูมลิ าเนามาร่วมทาบญุ ด้วย ความสานึกกตญั ญูทฝ่ี งั แนน่ อย่ใู นจติ ใจมาแต่เยาว์วัย ภาพประกอบที่ ๔.๒๑๕ การจดั หมฺรบั ๒๒๙ ประเพณีชักพระ, [ออนไลน์].แหล่งที่มา: http://www.siamfreestyle.com/ [๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๗].

๒๐๔ ก.คาอธบิ ายประกอบ การจัดหมฺรับ คือการบรรจุและประดับด้วยสิ่งของ อาหาร ขนมเดือนสิบ ฯลฯ ลง ภายในภาชนะท่ีเตรียมไว้แบ่งเป็น ๔ ชั้น คือ ชั้นล่างสุด บรรจุอาหารแห้งท่ีใช้ได้นาน เช่น ข้าวสาร พริก เกลอื หอม กระเทียม เป็นตน้ ชน้ั บนรองมา บรรจพุ ืชผกั ท่ีเก็บไว้ได้นาน เชน่ มะพรา้ ว กล้วยแก่ ข้าวโพด อ้อย ตะไคร้ ลูกเนียง สะตอ เป็นต้น ช้ันบนรองมากอีก บรรจุส่ิงของท่ีใช้ประจาวัน เช่น นา้ มนั พืช หมาก พลู การบรู ยาเส้น ยาสามัญประจาบ้าน ธปู เทียน เปน็ ต้น ชั้นบนสุดบรรจุบรรดาขนมท่ีเป็นสัญลักษณ์สารทเดือน ๑๐ ได้แก่ ขนมพอง ขนม ลา ขนมกง (ขนมไข่ปลา) ขนมบ้า ขนมดีซา ขนมทีบ่ รรพบุรุษและญาติทล่ี ่วงลบั ไดน้ าไปใช้ประโยชน์ ขนมพอง เป็นสัญลักษณ์แทน เรือ แพ ท่ีบรรพบุรุษใช้ขา้ มห้วงมหรรณพ เหตุเพราะ ขนมพองน้นั แผด่ งั แพ มีน้าหนกั เบา ยอ่ มลอยนา้ และขีข่ า้ มได้ ขนมลา เป็นสัญลักษณแ์ ทน แพรพรรณ เคร่ืองนุง่ ห่ม เหตุเพราะขนมลา มีรูปทรงดัง ผา้ ถักทอ พับ แผ่ เปน็ ผนื ได้ ขนมบ้า เป็นสัญลักษณ์แทน ลูกสะบ้า สาหรับใช้เล่น ต้อนรับสงกรานต์ เหตุเพราะ ขนมบ้า มีรูปทรงคลา้ ยลูกสะบา้ การละเล่นท่นี ยิ มในสมัยกอ่ น ขนมดีซา เป็นสัญลักษณ์แทน เงิน เบี้ย สาหรับใชัสอย เหตุเพราะรูปทรงของ ขนม คลา้ ยเบี้ยหอย ขนมกง (ไข่ปลา) เป็นสัญลักษณ์แทน เคร่ืองประดับ เหตุเพราะรูปทรงมี ลักษณะ คลา้ ยกาไล แหวน ข. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ ๑) การทาบุญอุทิศ สว่ นกุศลให้แก่บรรพบุรุษ ๒) การใช้ขนมพองเปน็ สัญลักษณแ์ ทนเรือแพใช้ข้ามหว้ งมหรรณพ (๙) ประเพณีเทศนม์ หาชาติ ประเพณีเทศน์มหาชาติ ถือเป็นบุญประเพณีสาคัญอีกอย่างหนึ่ง และมีเอกลักษณ์ เฉพาะท่ีไม่เหมือนการเทศน์ทั่วไป ทั้งในแง่เนื้อหาที่เทศน์ รูปแบบ ท่วงทานองการเทศน์ คตินิยม ความเช่อื จึงถือเป็นบุญประเพณีที่ได้รับความนิยม แม้เน้ือหาจะเทศน์เรื่องพระเวสสนั ดรชาดกทุกครั้ง ก็ตาม ในส่วนของสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปรากฎอยู่ในประเพณีเทศน์มหาชาติ มีรายละเอียดควรนามากล่าวพอเป็นตัวอย่างดงั นี้ ก. รปู สัญญะที่ ๑ เครอ่ื งบชู าอยา่ งละ ๑,๐๐๐ ข. คาอธิบายประกอบการจัดเตรยี มเครื่องบูชาในพิธี มีเครื่องบูชาบางประเภทนิยม ให้ได้อย่างละ ๑,๐๐๐ เช่น ธง ๑,๐๐๐ อัน, ธูป ๑,๐๐๐ ดอก, เทียน ๑,๐๐๐ เล่ม, ข้าวก้อน ๑,๐๐๐ ก้อน เปน็ ต้น ค. การสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ พระเวสสันดรชาดก ประดบั ประดาดว้ ย ๑,๐๐๐ พระคาถา จานวนอย่างละพันของเครอ่ื งบูชาแทนพระคาถาพัน

๒๐๕ ก. รูปสัญญะท่ี ๒ การจดั สถานทบ่ี รเิ วณพิธีใหเ้ หมอื นอยู่ในปา่ ข. คาอธิบายประกอบ การเทศน์มหาชาติ นิยมจัดสถานที่แตกต่างจากการเทศน์โดยทั่วไป กล่าวคือ มัก จาลองเหตุการณ์ตอนพระเวสสันดรถูกเนรเทศออกจากเมืองไปบาเพ็ญศีลพรตอยู่ในป่า การประดับ ประดาตกแต่งสถานที่ให้คล้ายกับบรรยากาศอยู่ในป่า เช่นมีการเอาต้นกล้วย ต้นอ้อย ผลไม้ ตลอด ต้นไม้ต่าง ๆ มาประดับในบริเวณพิธี โดยที่สุด แม้ธรรมาสน์ท่ีใช้ในการเทศน์ ก็นิยมแตกแต่งให้ กลมกลืนกับบรรยากาศของปา่ ค. การสื่อความหมายเชิงสญั ลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคอื ส่ือถงึ บรรยากาศจริง ตามเหตกุ ารณ์ในเวสสนั ดรชาดก ก. รปู สัญญะที่ ๓ พระเวสสนั ดร ข. คาอธิบายประกอบพระพุทธเจ้าเสวยพระชาติครั้งสุดท้ายเป็นพระเวสสันดร ตานานเล่าว่า ขณะประสูติได้เหยียดพระหัตถ์ออก พร้อมตรัสกับพระมารดาว่า “ข้าแต่พระแม่เจ้า หยอ่ มฉนั จักบรจิ าคทานมีทรัพยอ์ ะไรๆบ้าง”๒๓๐ ค. การส่ือความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาคือ การเสียสละ การ บรจิ าค สรปุ จากการศึกษาตัวอยา่ งประเพณีไทย โดยจาแนกเป็นประเพณีทวั่ ไป, ประเพณีท่ีเป็น พระราชประเพณ,ี และประเพณีท้องถิ่น พบวา่ ประเพณไี ทย มีสัญลกั ษณ์ทางพระพทุ ธศาสนาปรากฏ อยู่เป็นจานวนมาก ทั้งในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของประเพณี หรือท้ังหมดของประเพณี แม้ประเพณี ท้องถ่ินเดิมซ่ึงไม่เก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนา แต่มาภายหลัง ก็มีการนาสัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนาเข้าไปเป็นส่วนประกอบสาคัญของประเพณี สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของ พระพุทธศาสนาทม่ี ีตอ่ ประเพณีไทย และประเพณีทอ้ งถน่ิ ไดเ้ ป็นอย่างดี ๒๓๐ขุ.ชา.อ.(ไทย) ๔/๓/๖๑๑.

๒๐๖ ๔.๒ วเิ คราะหค์ วามหมายสัญลักษณ์ จากการศึกษาบริบทของสังคมไทย พบมีการใช้สัญลักษณ์หลายมิติ วิเคราะห์ใน รายละเอยี ด ดังนี้ ๔.๒.๑ สัญลักษณ์แทนพระพุทธศาสนา หมายเอา กลุ่มสัญลักษณ์ท่ีให้ความหมายแทน หรือส่ือถึงพระพุทธศาสนา ท้ังน้ีรวมไปถงึ องค์กรทเ่ี กีย่ ว หรอื เนื่องดว้ ยพระพทุ ธศาสนา จากตัวอย่างเชิงสัญลักษณ์ท่ีปรากฏในสังคมไทย ท้ังในส่วนที่เก่ียวข้องกับสถาบัน พระมหากษัตริย์, สถาบันชาติ, องค์กรหรือสถาบันทางพระพุทธศาสนา, สัญลักษณ์ประจาจังหวัด, จิตรกรรมฝาผนัง, ประติมากรรม, สถาปัตยกรรม และประเพณวี ัฒนธรรมของไทย พบกลุ่มสญั ลักษณ์ ทแี่ สดงถงึ พระพุทธศาสนา หรือองค์กรทางพระพุทธศาสนา ดงั รายละเอียดในตารางท่ี ๔.๑ ตารางที่ ๔.๑ สญั ลกั ษณใ์ นสงั คมไทยทสี่ ือ่ ถึงพระพทุ ธศาสนา ลาดบั สญั ลักษณ์ในสงั คมไทย สญั ลักษณแ์ ทน นยั แหง่ สญั ลักษณ์ พระพทุ ธศาสนา ๑ ตราพระราชลญั จกร ดอกบวั การอปุ ถมั ภ์ ยอยก ๒ ตราแผน่ ดิน พ ร ะ ม ห า สั ง ว า ล น พ รั ต น์ คุณคา่ และสริ ิมงคล ราชวราภรณ์ ๓ ตรามหาจักรบี รมราชวงศ์ สว่ นข้อความภาษามคธ ยึดมั่นในพระรตั นตรัย ๔ เคร่ืองราชอิศริยาภรณ์นพ ขอ้ กาหนดในการพระราชทาน ยกย่องเชดิ ชพู ทุ ธศาสนกิ รตั นราชวราภรณ์ ๕ ธงชาตไิ ทย สขี าว พระพทุ ธศาสนา ๖ เสมาพระชัยวัฒน์ ขอ้ กาหนดในการพระราชทาน พุทธานุสสติ,ยึดม่ันใน ศาสนา ๗ ธงพทิ ักษ์สนั ตริ าษฎร์ ธงชาต,ิ ตราแผน่ ดิน ยกยอ่ งเชิดชู ๘ ธงทหาร ๓ เหลา่ ทัพ พระพุทธรูปในซุ้มเรือนแก้ว ยกยอ่ งเชิดชู ,ธรรมจกั ร ๙ ธงกองอาษารักษาดนิ แดน สีขาวของธงชาติ สถาบนั หลักของชาติ ๑๐ ธงคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ธงชาต,ิ ธรรมจักรกลางธง สถาบันหลักของชาติ ๑๑ ต ร า ก ร ะ ท ร ว ง ตน้ โพธิ์ ศนู ย์รวมจิตใจ ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล้อม ๑๒ ตราราชการคณะสงฆ์ไทย ธรรมจักร องคก์ รทางพุทธศาสนา ๑๓ กองธรรมสนามหลวง,บาลี ธรรมจกั ร องคก์ รทางพุทธศาสนา สนามหลวง ๑๔ พุทธสมาคมแห่งประเทศ ธรรมจักร องคก์ รทางพุทธศาสนา ไทย

๒๐๗ ตารางที่ ๔.๑ (ตอ่ ) ลาดับ สัญลักษณ์ในสังคมไทย สญั ลักษณ์แทน นยั แห่งสัญลักษณ์ พระพทุ ธศาสนา ก า ร ย ก ย่ อ ง เ ชิ ด ชู พระพทุ ธศาสนา ๑๕ ยุ ว พุ ท ธิ ก ส ม า ค ม แ ห่ ง ธรรมจักร องคก์ รทางพทุ ธศาสนา ประเทศไทย องคก์ รทางพทุ ธศาสนา ๑๖ เปรียญธรรมสมาคมแห่ง ดอกบวั ,สีเหลือง ยกย่องเชดิ ชู ดนิ แดนพระพุทธศาสนา ประเทศไทย ปูชนียวตั ถุประจาจงั หวดั ๑๗ สานักงานพระพุทธศาสนา ธรรมจกั ร,ดอกบวั ดนิ แดนพระพทุ ธศาสนา แหง่ ชาติ ๑๘ ตราประจาจงั หวดั ชัยนาท ธรรมจกั ร ๑๙ ตราประจาจงั หวัดเชยี งใหม่ ซมุ้ เสมาธรรมจกั ร ๒๐ ต ร า ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด ต้นพระศรมี หาโพธ์ิ ปราจีนบรุ ี ๒๑ ธงประจาจังหวัดเชยี งใหม่ เรือนแกว้ ๒๑ ธ ง ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด แถบสเี หลือง ดินแดนพระพุทธศาสนา กาแพงเพชร ๒๒ ธงประจาจงั หวดั ปทมุ ธานี แถบสีขาว ดินแดนพระพทุ ธศาสนา ๒๓ ธงประจาจงั หวัดปราจนี บุรี ตน้ พระศรมี หาโพธ,ิ์ สเี หลอื ง ปูชยนยี วตั ถุประจังหวดั ๒๔ ธงประจาจังหวดั สโุ ขทัย สีเหลอื ง ดินแดนพระพทุ ธศาสนา ๒๕ ธ ง ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด สขี าว ดินแดนพระพุทธศาสนา หนองบัวลาพู ๒๖ ธงประจาจังหวดั พะเยา พระพุทธรูป, สเี หลอื งทอง ดินแดนพระพุทธศาสนา ๒๗ ใบเสมาอายุ ๑,๒๐๐ ปี รปู เคารพนกิ ายจิตอมตวาท ก า ร เ ข้ า ม า ข อ ง พระพุทธศาสนานิกายจิต อมตวาท ๒๘ ประติมากรรมลายประดับ ธรรมจักร พระพุทธศาสนา วดั เจา้ อาม จากตารางที่ ๔.๑ สรุปได้ว่า ตัวอย่างของข้อมูลท่ีศึกษา พบการใช้สิ่งต่าง ๆ เชิง สญั ลักษณเ์ พ่อื ส่ือความหมายถึงพระพุทธศาสนา จานวน ๒๘ ตัวอย่าง จาแนกประเภท และแสดงนัย ตา่ ง ๆ ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี ๑. ประเภทวัตถุ หรือสิ่งของ จานวน ๑๑ ตัวอย่าง ได้แก่ พระมหาสังวาลนพรัตน์ ราชวราภรณ,์ ธงชาติ, เสมาพระชยั วัฒน์, ธงชัยเฉลมิ พล ๓ เหลา่ ทัพ, ตราแผน่ ดิน, ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ , ธรรมจกั ร ๒ , ซุ้มเสมาธรรมจักร, ดอกบัว, และใบเสมา ๒. ประเภทสี จานวน ๒ ตวั อย่าง ไดแ้ ก่ สเี หลอื ง, สขี าว

๒๐๘ ๓. ประเภทท่ีเป็นข้อกาหนด ๑ ตัวอยา่ ง ได้แก่ ข้อกาหนดเกี่ยวกับการพระราชทาน เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ชนั้ นพรตั นราชวราภรณ์ ๔. ประเภทลายลักษณ์อักษรประกอบวัตถุ ๑ ตัวอยา่ ง ได้แก่ ประโยคภาษาบาลีบน ตรามหาจักรีบรมราชวงศ์ว่า “ติรตเนสกรฏฺเฐ จ สมฺพเส จ มมายน สกราเชชุ จิตฺตญฺจสกรฏฺฐาภิ วฑฒฺ น” แปลความว่า ความรักใคร่ในพระรัตนตรัย และรัฎฐของตน และวงศของตน อน่งึ จติ ตซ์ ื่อตรง ในพระราชาของตน เป็นเครือ่ งเจริญยิง่ แหง่ รฏั ฐของตน หรือเป็นเครอ่ื งทาใหร้ ัฏฐแหง่ ตนเจรญิ ยิ่ง ๕. ในจานวนนี้ ได้แสดงนัยยะเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ๑๑ นัยยะ ได้แก่ การ อุปถัมภ์ ยกยอ ๑ รูปสัญญะ, ยกย่องบุคคลให้ปรากฎในหมู่พุทธศาสนิกชน ๒ รูปสัญญะ, พระพุทธศาสนา ๒ รูปสัญญะ, การยกย่องพระพุทธศาสนา ๕ รูปสัญญะ, สถาบันหลักของชาติ ๒ รูปสัญญะ, ศนู ย์รวมทางดา้ นจิตใจ ๑ รูปสัญญะ, องค์กรพระพทุ ธศาสนา ๕ รูปสัญญะ, ปูชียวัตถุประ จงั หวัด ๒ รูปสญั ญะ, ดินแดนพระพุทธศาสนา ๗ รูปสัญญะ, และการเขา้ มาของนิกายจิตอมตวาท ๑ รูปสัญญะ ๔.๒.๒ สญั ลกั ษณ์แทนพระพทุ ธเจ้า คาว่า สัญลักษณ์แทนพระพทุ ธเจ้า หมายเอาสัญลักษณ์ทส่ี ื่อความถึงพระพุทธเจ้า ไม่ว่าจะ โดยตรงหรอื โดยออ้ ม และหมายรวมถึงพระโพธสิ ตั วท์ เ่ี สวยพระชาติต่าง ๆ ในอดตี ดว้ ย จากตัวอย่างเชิงสัญลักษณ์ท่ีปรากฏในสังคมไทย ทั้งในส่วนของที่เกี่ยวข้องกับสถาบัน พระมหากษัตริย์, สถาบันชาติ, องค์กรหรือสถาบันทางพระพุทธศาสนา, สัญลักษณ์ประจาจังหวัด, จิตรกรรมฝาผนัง, ประติมากรรม, สถาปัตยกรรม และประเพณีวัฒนธรรมของไทย พบกลุ่มสญั ลกั ษณ์ ทแ่ี สดงถงึ พระพทุ ธเจ้า ดังรายละเอยี ดในตาราง ๔.๒ ต่อไปนี้ ตารางท่ี ๔.๒ สญั ลักษณใ์ นสังคมไทยท่สี อื่ ถึงพระพุทธเจ้า ลาดบั สัญลักษณ์ในสงั คมไทย สัญลกั ษณ์แทน นัยแห่งสัญลักษณ์ พระพุทธศาสนา ๑ ตราพระราชลัญจกรในรชั กาลที่ พระโพธิสัตว์ประทับบน คตนิ ิยมเร่ืองพระโพธิ สัตว์ ๘ แทน่ ดอกบัว ๒ พระทนี่ ั่งบษุ บกมาลามหา ทพี่ ระดิษฐสถาน ยกยอ่ ง เชิดชู จักรพรรดิพมิ าน พระพทุ ธรูป ๓ พระแท่นราชบลั ลังก์ประดับมุก ทพี่ ระดิษฐสถาน ยกย่อง เชดิ ชู พระพทุ ธรปู ๔ ตราองค์การพทุ ธศาสนิก ฉัพพรรณรงั สี สญั ลักษณ์องค์กร สมั พนั ธ์แห่งโลก ๕ ตราประจาจังหวดั พะเยา พระเจ้าตนหลวง ปชู นยี วตั ถุประจาจังหวดั ๖ ตราประจาจังหวัดพิษณุโลก พระพทุ ธชนิ ราช ปชู นียวตั ถุประจาจงั หวดั ๗ ตราประจาจงั หวดั สระแกว้ พระพทุ ธรปู ปางสรงพระ ปชู นียวัตถุประจาจังหวัด สรรี ะ ๘ ตราประจาจงั หวดั อานาจเจริญ พระมงคลม่งิ เมอื ง ปูชนยี วตั ถุประจาจังหวดั

๒๐๙ ตารางท่ี ๔.๒ (ตอ่ ) ลาดับ สญั ลกั ษณ์ในสังคมไทย สญั ลักษณ์แทน นยั แหง่ สัญลักษณ์ พระพทุ ธศาสนา ปูชนยี วัตถปุ ระจาจงั หวัด ปูชนียวตั ถุประจาจงั หวดั ๙ ธงประจาจงั หวดั พะเยา พระเจ้าตนหลวง ปูชนยี สถานประจาจงั หวัด ปูชนยี สถานประจาจังหวัด ๑๐ ธงประจาจงั หวัดพิษณุโลก พระพุทธชินนราช ปชู นียสวตั ถปุ ระจาจงั หวดั พระพทุ ธรูป,พุทธประวัติ ๑๑ ธงประจาจังหวดั สกลนคร พระธาตุเชิงชุม อดีตชาติพระพทุ ธเจ้า ๑๒ ธงประจาจงั หวดั สุราษฎร์ธานี พระบรมธาตุไชยา อเุ ทสิกเจดยี ์ ๑๓ ธงประจาจังหวดั อุตรดติ ถ์ พระแทน่ ศลิ าอาสน์ พทุ ธประวตั ิ คติความเชื่อทางศาสนา ๑๔ จิตรกรรมฝาผนงั ถ้าศิลป์ พุทธประวตั ิ,พระพุทธรูป พุทธประวัติ ๑๕ ภาพสลักลายเสน้ บนหนิ ชนวน ภาพชาดก พทุ ธประวตั ิ ในอโุ มงคว์ ัดศรชี ุม พทุ ธประวัติ ๑๖ จิตรกรรมฝาผนังในพระเจดีย์ พระพุทธรปู พุทธประวัติ วดั เจดียเ์ จ็ดแถว พทุ ธประวัติ ๑๗ จติ รกรรมฝาผนงั ในกรุภายใน พทุ ธประวัติ, พุทธประวตั ิ คตคิ วามเช่อื ทางศาสนา พระปรางคว์ ัดราชบรู ณะ คติทางพระพุทธศาสนา พทุ ธประวัติ ๑๘ จิตรกรรมฝาผนงั ในพระเจดีย์ พุทธประวตั ิ พทุ ธประวัติ วดั ราชบูรณะ ๑๙ จติ รกรรมฝาผนังในพระ พทุ ธประวตั ิ เจดยี ์ทศิ ๒๐ จติ รกรรมฝาผนงั ในองค์พระ พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั ปรางค์ วัดมหาธาตุ จงั หวัด ราชบุรี ๒๑ จติ รกรรมฝาผนงั ในพระอุโบสถ พทุ ธประวตั ิ วัดใหญส่ วุ รรณาราม จงั หวัด เพชรบรุ ี ๒๒ จิตรกรรมฝาผนังในตาหนัก พุทธประวัติ สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ ๒๓ จติ รกรรมฝาผนงั ในพระอุโบสถ พุทธประวัติ,คติไตรภูมิ วดั เกาะแก้วสุทธาราม ๒๔ จิตรกรรมฝาผนังในพระวิหาร พทุ ธประวตั ิ หลวง วัดพระบรมธาตุ จังหวัด อตุ รดติ ถ์ ๒๕ จิตรกรรมฝาผนังในพระท่ีนั่ง พุทธประวัติ พทุ ไธสวรรย์ จงั หวดั พระนคร

๒๑๐ ตารางท่ี ๔.๒ (ตอ่ ) ลาดับ สัญลักษณ์ในสงั คมไทย สญั ลกั ษณแ์ ทน นยั แห่งสญั ลักษณ์ พระพุทธศาสนา ๒๖ จติ รกรรมฝาผนังในมณฑปและ พทุ ธประวตั ิ พุทธประวตั ิ พระอุโบสถ วดั ใหญอ่ ินทาราม จังหวดั ชลบรุ ี ๒๗ จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ พุทธประวัติ พุทธประวตั ิ วดั ดสุ ดิ าราม จงั หวัดธนบรุ ี ๒๘ จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ พทุ ธประวัต,ิ ชาดก พทุ ธประวัติ วดั สวุ รรณาราม จังหวัดธนบรุ ี ๒๙ จิตรกรรมฝาผนังในพระวิหาร พุทธประวัต,ิ พุทธประวตั ิ หลวง จกั รวาลวทิ ยาพุทธศาสนา คตคิ วามเชอ่ื ทางศาสนา วดั สทุ ศั นเ์ ทพวราราม ๓๐ จิตรกรรมฝาผนังในวิหารลาย ภาพเล่าเร่ืองชาดก อดีตชาติพระพทุ ธเจ้า คา วดั พระสิงห์ จังหวดั เชยี งใหม่ ๓๒ จิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์และ พทุ ธประวตั ,ิ ภาพเลา่ พทุ ธประวตั ิ หอไตรวัดหน้าพระธาตุ จังหวัด เรอื่ งชาดก อดีตชาติพระพุทธเจา้ นครราชสมี า ๓๓ จิตรกรรมฝาผนังในพระวิหาร พทุ ธประวตั ,ิ ภาพเล่า พทุ ธประวัติ และโบสถ์วัดภูมินทร์ จังหวัด เรื่องชาดก อดีตชาติพระพุทธเจา้ นา่ น ๓๓ ประตมิ ากรรมรูปคน พระพุทธรูปปางต่าง ๆ , อุเทสิกเจดยี ์ พระโพธสิ ัตว์,พระสาวก ๓๔ พระพุทธรูปปางตา่ ง ๆ ป า ง พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ใ น อเุ ทสกิ เจดยี ์ อริยาบถต่าง ๆ แสดงเหตุการณ์ในพุทธ ประวตั ิ ตั้งแต่ประสูติ กระทั่ง ปรินพิ พาน ๓๕ ใบเสมาคน้ พบท่ฟี า้ แดดสงยา พุทธประวัติตอนเสด็จ พทุ ธประวตั ิ เมอื งกบิลพัสดุ์ ๓๖ ใบเสมา นกิ ายจิตอมตวาท การเข้ามาของนิกายจิต อมตวาทในประเทศไทย

๒๑๑ ตารางท่ี ๔.๒ (ตอ่ ) ลาดบั สญั ลักษณ์ในสงั คมไทย สญั ลักษณแ์ ทน นยั แหง่ สัญลักษณ์ พระพทุ ธศาสนา ๓๗ ภาพจาลองพุทธประวัติจากหิน พทุ ธประวัตติ อนตา่ ง ๆ พทุ ธประวตั ิ สลัก จากอินเดีย อายุประมาณ พ.ศ.๓๐๐-๗๐๐ จานวน ๕๔ ภาพ แสดงไว้ที่โรงมหรสพทาง วิญญาณ สวนโมกขพลาราม ๓๘ รอยพระพทุ ธบาท พระพุทธเจ้า, อุทเทสิก เจดยี ์ ๓๙ ประติมากรรมผนังรอบพระ พทุ ธประวัติ อเุ ทสกิ เจดยี ์ วิหารพทุ ธบาท วดั บางกะพ้อม ๔๐ ภาพปูนป้ันด้านหน้าวิหาร พทุ ธประวัติ อุเทสกิ เจดยี ์ วัดไลย์ อ.ท่าวุง้ จ.ลพบรุ ี ๔๑ กรอบหน้านางด้านทิศใต้ ของ พุทธประวัติเสด็จลงจาก พทุ ธประวัติ พระมณฑปวดั ตระพงั ทองหลาง ดาวดึงส์ จงั หวัดสโุ ขทัย ๔๒ ประตมิ ากรรมรูปเทยี นพรรษา พทุ ธรูป, พุทธประวตั ิ อเุ ทสกิ เจดีย,์ พทุ ธประวัติ ๔๓ ประเพณีตกั บาตรเทโวโรหณะ ๑ . เ ห ตุ ก า ร ณ์ ใ น พุ ท ธ ประวัติตอนเสด็จลงจาก พทุ ธประวัติ ส ว ร ร ค์ ช้ั น ด า ว ดึ ง ส์ หลังจากโปรดพุทธมารดา เปน็ เวลา ๓ เดอื น ๒. พระพุทธรูปปางอุ้ม บาตร จากตารางท่ี ๔.๒ สรุปได้ว่า ตัวอย่างของข้อมูลท่ีศึกษา พบการใช้ส่ิงต่าง ๆ เชิง สัญลกั ษณ์เพอื่ สอื่ ความหมายถึงพระพุทธศาสนา จานวน ๔๓ ตวั อยา่ ง แบ่งออกเปน็ ๔ กลุ่ม ดงั นี้ ๑. ประเภทวัตถุ มีจานวน ๑๖ ตัวอย่าง ได้แก่ พระที่นั่งบุษบกมาลามหาจักรพรรดิ พิมาน, พระแท่นราชบัลลังกป์ ระดับมุข, ธงประจาจังหวัดต่าง ๆ (๕ จังหวัด), ประติมากรรมรปู คน (๒ ประเภท), พระพุทธรูปปางต่าง ๆ, ใบเสมา (๒ ประเภท), ภาพปูนปั้นหน้าวัดไลย์ อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี, กรอบหน้านางด้านทิศใต้ของมณฑปวดั ตระพังทองหลาง จ.สุโขทัย และ ประตมิ ากรรมแกะสลักเทียน พรรษา ทั้ง ๑๖ ตัวอย่างนี้ เป็นสัญลักษณ์ส่ือความหมายเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ๓ ประเภท กล่าวคอื ๑) พทุ ธประวัต,ิ ๒) พระพุทธเจ้า, และ ๓) พระพุทธศาสนา

๒๑๒ ๒. ประเภทตราสัญลักษณ์ มีจานวน ๖ ตัวอย่าง ได้แก่ ตราพระราชลัญจกรประจา พระองค์ รัชกาลท่ี ๘-ใช้พระโพธิสัตว์ประทับบนแท่นดอกบัว, ตราสัญลักษณ์องค์การพุทธศาสนิก สัมพันธ์แห่งโลก-ฉัพพรรณรังสี, ส่วนตราประจาจังหวัดพะเยา, พิษณุโลก, สระแก้ว, และจังหวัด อานาจเจรญิ ใชพ้ ระพทุ ธรปู คู่บ้านค่เู มอื งเป็นสว่ นหน่ึงของตราสัญลกั ษณ์ประจาจังหวัด ๓. ประเภทภาพจติ รกรรม มีจานวน ๑๙ ตวั อย่าง ได้แก่ จิตกรรมฝาผนังวดั ถา้ ศิลป์ , วัดศรีชุม, วัดเจดีย์เจด็ แถว, พระปรางค์วดั ราชบรู ณะ, เจดีย์วัดราชบูรณะ, พระเจดียท์ ิศ, พระปรางค์ วัดมหาธาตุ จังหวัดราชบุรี, พระอุโบสถวัดใหญ่สุวรรณาราม เพชรบุรี, ตาหนักสมเด็จพระพุทธโฆษา จารย์, พระอุโบสถวัดเกาะแก้วสุทธาราม, วัดบรมธาตุ อุตรดติ ถ์, พระท่ีนง่ั พทุ ธไธสวรรย์, มณฑปและ พระอุโบสถวัดใหญ่อินทาราม ชลบุรี, พระอุโบสถวัดดุสิดาราม ธนบุรี, พระอุโบสถวัดสุวรรณาราม ธนบุรี, พระวิหารหลวงวัดสุทัศนเ์ ทพวนาราม, วิหารลายคาวัดพระสิงห์ เชียงใหม่, ผนังอุโบสถและหอ ไตรวัดหน้าพระธาตุ นครราชสมี า, และพระวหิ ารและพระอุโบสถวัดภมู ินทร์ น่าน ท้ัง ๑๙ ตัวอย่างน้ี สรุแล้วเป็นสัญลกั ษณ์สอ่ื ความหมายเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ๗ กลุ่ม ได้แก่ ๑) พุทธประวัติ , ๒) พระพุทธเจ้า, ๓) พระโพธิสัตว์ ๔) พระสาวก ๕) ชาดก ๖) คติ จักรวาลพระพทุ ธศาสนา และ ๗) คตคิ วามเชอ่ื เก่ียวกบั ไตรภูมิ ๔. ประเภทประเพณีและพิธีกรรม จานวน ๑ ตัวอย่าง ได้แก่ประเพณีตักบาตรเทโว โรหณะ ซึ่งมีความเก่ียวขอ้ งกับเหตุการณ์พุทธประวัติตอนเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดงึ ส์ และมีการใช้ พระพทุ ธรปู ปางอมุ้ บาตรเป็นสญั ลักษณใ์ นพธิ ี ๔.๒.๓ สัญลักษณ์แทนพระธรรม ในที่น้ี หมายเอาท้ังที่เป็นหมวดธรรม หัวข้อธรรม หรือ สภาวธรรม ทั้งน้ีรวมไปจนถึงแนวคิดเก่ียวกับหลักธรรมอย่างใดอย่างหน่ึง ซ่ึงส่ือความได้ว่าเป็น เก่ียวข้องกับหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ตารางท่ี ๔.๓ สญั ลักษณ์แทนพระธรรม ลาดับ สญั ญะ ความหมายสัญญะ ๑ เหรียญศานตมิ าลา นตถฺ ิ สนฺติ ปร สขุ ๒ ตรากระทรวงพลงั งาน โลกุตตระ พุทธิปัญญา, การหย่ังรู้ และความเพียร พยายามในการกา้ วพน้ จากสงั สารวัฎ ๓ ตรากร ะทรว งศึกษ าธิกา ร อรยิ มรรค, อรยิ สัจ (เสมาธรรมจกั ร) ๔ ตราราชการคณะสงฆ์ไทย อริยสัจ ๔,อริยมรรคมีองค์ ๘, ปฏจิ จสมุปบาท ๑๒, ปัจจ (ธรรมจักร) ยาการ ๒๔, ภูมิ ๓๑ ๕ สนามหลวงแผนกธรรม-บาลี อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ และปฏิจจสมปุ บาท ๑๒ ๖ ศิลาสลกั ภาพคนมีมงคลท้ัง ๔ ธรรมจักร ๗ ธรรมจักร อริยสจั , อรยิ มรรค, ปฏจิ จสมปุ บาท ๘ พระนอนวัดไสไทย สอนใหล้ ะทฐิ มิ านะ ๙ การจุดเทียน ๒ เล่ม ธรรมและวินัย

๒๑๓ จากตารางที่ ๔.๓ สรุปได้ว่า ตัวอย่างของข้อมูลท่ีศึกษา พบการใช้ส่ิงต่าง ๆ เชิง สญั ลกั ษณเ์ พ่ือสอ่ื ความหมายถงึ พระธรรม จานวน ๙ ตวั อย่าง แบ่งออกเป็น ๓ กลมุ่ ดังน้ี ๑. ประเภทวัตถุ จานวน ๔ ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ เหรียญศานติมาลา, หนิ สลักภาพมีมงคล ทัง้ ๔, ธรรมจักร, และพระนอนวดั ไสไทย ๒. ประเภทตราสัญลกั ษณ์ จานวน ๔ ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ ตรากระทรวงพลังงาน , ตรา กระทรวงศึกษาธกิ าร, ตราราชการคณะสงฆ์ไทย, และตราสนามหลวงแผนกบาลี-ธรรม ๓. ประเภทการกระทา จานวน ๑ ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ การจดุ ธูป ๒ ดอก ๔.๒.๔ สัญลักษณ์แทนพระสงฆ์ หมายเอาทัง้ ส่วนที่เป็นอรยิ สงฆ์ และสมมติสงฆ์ ตารางที่ ๔.๔ สัญลักษณแ์ ทนพระสงฆ์ ลาดบั สญั ญะ ความหมายสญั ญะ ๑ หลวงพ่อโต วดั อินทร์ ราลึกเหตุการณ์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) สอน กัมมฏั ฐาน ๒ ดอกไม้บชู าบนโตะ๊ หมู่ ดอกไม้เป็นสัญลักษณ์แทนพระสงฆ์ พระสงฆ์แม้จะ มาจากตา่ งชั้นวรรณะ แต่กง็ ามดว้ ยธรรมวินยั เดียวกนั จากตารางท่ี ๔.๔ สรุปได้ว่า ตัวอย่างของข้อมูลท่ีศึกษา พบการใช้ส่ิงต่าง ๆ เชิง สัญลักษณ์เพ่ือส่ือความหมายถึงพระสงฆ์ จานวน ๒ ตัวอย่าง โดยทั้ง ๒ ตัวอย่าง เก่ียวข้องกับวัตถุ ท้งั หมด กลา่ วคือ หลวงพอ่ โตวดั อินทร์ และดอกไมป้ ระดับโตะ๊ หมบู่ ชู า ๔.๒.๕ สัญลักษณ์แทนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา หมายเอาส่วนท่ีเป็นคติ ความเชื่อ หรือคาอธิบายท่ีสื่อถึงหลักความเช่ือ ซ่ึงอาจตั้งอยู่บนพ้ืนฐานความเชื่ออันเนื่องด้วยรัตนะ ๓ อย่างใด อย่างหน่งึ ตารางท่ี ๔.๕ สญั ลกั ษณ์แนวคดิ ทางพระพทุ ธศาสนา ลาดับ สัญลกั ษณ์ในสังคมไทย สัญลักษณแ์ ทนพระพุทธศาสนา ๑ กลีบดอกบัว สิริมงคลในพระพทุ ธศาสนา ๒ ตราประจาจังหวดั ลาปาง ไกข่ าวปลุกพระโพธิสัตว์บาเพญ็ บารมี ๓ ธรรมาสน์ศาลาการเปรียญวัดราชสทิ ธาราม จักรวาลวทิ ยา ศิลปอ่ทู อง ๔ พระปรางคว์ ดั อรณุ ราชวราราม ไตรภูมิ ๖ ผังวดั ค้งุ ตะเภาพ พุทธาวาส-สังฆาวาส ๗ ผังวดั พระธาตุลาปางหลวง จักรวาลวิทยา ๘ จิตรกรรมในสมุดภาพไตรภูมิ ครัง้ กรงุ เก่า คตไิ ตรภมู ิ ๙ จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดดุสิดา คตไิ ตรภมู ิ ราม จงั หวัดธนบุรี ๑๐ จิตรกรรมฝาผนงั ในพระวหิ ารหลวง จักรวาลวิทยาพุทธศาสนา, พุทธประวัติ วัดสุทัศนเ์ ทพวราราม

๒๑๔ ตารางที่ ๔.๕ (ต่อ) ลาดับ สัญลกั ษณ์ในสงั คมไทย สญั ลักษณแ์ ทนพระพุทธศาสนา ๑๑ จิตรกรรมฝาผนังในพระอโุ บสถ คตไิ ตรภูมิ, พทุ ธประวตั ิ วดั เกาะแกว้ สุทธาราม ๑๒ ผังสถาปัตยกรรมท่ีกาหนดให้พระอุโบสถมี จกั รวาลวทิ ยา วหิ ารล้อมรอบ ๔ ทศิ ๑๓ ธงประจาจังหวดั ชยั นาท ครฑุ แบกพระธรรมจักร ๑๔ ประตมิ ากรรมปราสาทผ้ึง จงั หวดั สกลนคร ๑. พทุ ธประวตั ิ ๒.พระพุทธรูป ๓. ธรรมจกั ร ๔. จกั รวาลวิทยา ๑๕ ผังแสดงพื้นท่ีของสถาปัตยกรรม (การแบ่ง กาหนดขอบเขต หรือเขตแดน เขตพุทธาวาส-สังฆาวาส) ๑๖ ผังสถาปัตยกรรมท่ีกาหนดให้เจดีย์อยู่ จักรวาลวทิ ยาพระพทุ ธศาสนา ศูนย์กลางวัด ๑๗ ซมุ้ ประตศู าสนสถาน ๑. จักรวาลวิทยาพระพทุ ธศาสนา ๒. ป่าหิมพานต์ ๑๘ พระอุโบสถ,์ พระวิหาร แ น ว คิ ด ท า ง จั ก ร ว า ล วิ ท ย า ข อ ง ๑. การวางรูปแบบสถาปัตยกรรมพระ พระพุทธศาสนา อุโบสถ และวิหารวัดสุทัศน์เทพวนาราม กรุงเทพมหานคร ฐานันดร ๒. ค ติ นิ ย ม เ รื่ อ ง ก า ร ซ้ อ น ชั้ น ท า ง สถาปัตยกรรม ๒๙ “ช่อฟ้า” หรือ สัตตะบูริพัน ประทับกลาง แ น ว คิ ด ท า ง จั ก ร ว า ล วิ ท ย า ข อ ง สนั หลังคา ทาเปน็ รูปเขาพระสเุ มรุ พระพทุ ธศาสนา ๒๐ พระสถปู ๑ เสาแกน (ยปู ะ) ๑. คติความเชื่อเรื่องแกนโลก ซึ่งเป็นจุด ๒ โดมหรอื ครรภธาตุ เชื่อมต่อระหว่างโลกมนุษย์กับภพภูมิอ่ืน ๓ ปล้องไฉน ๆ กระทั่งถงึ จดุ สงู สดุ คอื พระนิพพาน ๔ บลั ลังก์ ๒. คติความเช่ือเรื่องขอบเขตของจักรวาล หรือจดุ ก่อกาเนิดสรรพสง่ิ ๓. ฉั ต ร แ ส ด ง ถึ ง ฐ า นั น ด ร ศั ก ดิ์ ข อ ง สิ่งก่อสร้างว่มีความเก่ียวข้องกับบุคคล สาคัญ ๔. รูปแท่นสี่เหล่ียมเป็นสัญลักษณ์แทน พระพทุ ธเจ้า

๒๑๕ ตารางท่ี ๔.๕ (ตอ่ ) สัญลกั ษณแ์ ทนพระพุทธศาสนา ลาดับ สัญลักษณ์ในสงั คมไทย ๒๐ พระปฐมเจดยี ์ ๑. แนวคิดการออกแบบผังวิหารทิศเพื่อ ประดิษฐานพระพุทธรูปตามเหตุการณ์ ๒๑ ปลี, ปลยี อดเจดยี ์/สถปู สาคัญของพระพุทธองค์คือประสูติ (ทิศ ๒๒ กอ่ พระเจดยี ์ทราย เหนือ) ตรัสรู้ (ทิศตะวันออก) แสดง ๒๓ การมัดตราสัง ปฐมเทศนา (ทิศใต้) และปรินิพพาน ๒๔ การชักฟืนออก ๓ ดนุ้ (ทศิ ตะวันตก) ๒. เป็นพระมหาธาตุเจดีย์แห่งแรกใน ประเทศไทยและเป็นศูนย์กลางการ ประดิษฐานพระพุทธศาสนาในดินแดน สุวรรณภูมิ ๓. ตาแหน่งของพระวิหารที่ตั้งอยู่ในแกน ทิศทั้ง ๔ มีความสัมพันธ์ต่อเน่ืองใน ลักษณะการเวียนประทักษิณรอบองค์ พระบรมธาตุเจดีย์ซ่ึงต้ังอยู่ในตาแหน่ง ศูนยก์ ลาง ๔. พระระเบียงกลม และธรรมบท ถูก ออ ก แ บ บ ใ ห้ สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย แ ท น ธรรมจักรท่ีหมุนเคล่ือนไปตามผนังซ่ึง เป็นช่องว่างโดยรอบ โดยมีพระแท่น นมัสการ และรปู กวางมอบเปน็ สาคญั พระนิพพาน ๑. พระเจดยี ์ ๒. การบชู า หรอื ขอขมาตอ่ ศาสนสถาน การใช้ด้ายผูกคอ มือ และเท้า สื่อความ หมายถึง “ห่วง” ท่ีผูกมัดมนุษย์ไว้ในภพ ได้แก่ห่วงคือบุตร (เหมือนด้ายผูกคอ), ห่วง คือทรัพย์ (เหมือนด้ายผูกมือ), และห่วงคือ ภรยิ า (เหมือนด้ายผกู เท้า คือ ดุ้นไฟ ๓ ดุ้น คือ โลภะ โทสะ โมหะ ยอ่ มเผาผลาญชีวิต การชกั ออกเสยี ย่อมอยู่ เป็นสุข การหา้ มเหลียวหลังส่ือความหมาย วา่ อยา่ กลบั ไปโลภะ โกรธ และหลงอกี

๒๑๖ จากตารางที่ ๔.๕ สรุปได้ว่า ตัวอย่างของข้อมูลท่ีศึกษา พบการใช้สิ่งต่าง ๆ เชิง สัญลักษณ์เพื่อส่ือความหมายถึงแนวคิดทางพระพุทธศาสนา จานวน ๒๔ ตัวอย่าง จาแนกเป็น ๕ กล่มุ ดงั ต่อไปน้ี ๑. ประเภทวัตถุ จานวน ๑๑ ตัวอย่าง ได้แก่ กลีบดอกบัว, ธรรมาสน์, พระปรางค์ วัดอรุณ, ธงประจาจงั หวัดชัยนาท, ปราสาทผ้ึง, ซุ้มประตูศาสนสถาน, พระอุโบสถ และวิหาร, ช่อฟ้า, พระสถูป, พระปฐมเจดยี ์, และ ปลียอด ๒. ประเภทผังทางสถาปัตยกรรม จานวน ๕ ตัวอย่าง ได้แก่ ผังวัดคงุ้ ตะเภา, ผังวัด พระธาตุลาปางหลวง, ผังสถาปัตยกรรมกาหนดให้อุโบสถมีวิหารล้อม ๔ ทิศ, ผังแสดงพ้ืนของ สถาปัตยกรรมแบง่ เขตพทุ ธาวาส-สังฆาวาส, ผงั สถาปัตยกรรมกาหนดใหว้ ิหารเป็นศูนย์กลางของวดั ๓. ประเภทตราสัญลักษณ์ จานวน ๑ ตัวอย่างได้แก่ ตราสัญลักษณ์ประจาจังหวัด ลาปาง ๔. ประเภทจิตกรรม จานวน ๔ ตวั อย่าง ได้แก่ จติ รกรรมในสมดุ ภาพวัดไตรภูมิ, จิต กรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดดุสิดาราม, จิตกรรมฝาผนังในพระวิหารหลวงวัดสุทัศน์เทพวราราม, จิตรกรรมฝาผนังในพระอโุ บสถวัดเกาะแก้วสทุ ธาราม ๕. ประเภทการกระทา จานวน ๓ ตัวอย่าง ได้แก่ การก่อพระเจดีย์ทราย, การมัด ตราสัง, และการชักฟืนออก ๓ ดนุ้ ในพิธเี ผาศพ ๔.๒.๖ สัญลกั ษณแ์ ทนข้อวตั รปฏิบตั ิตา่ ง ๆ ตารางท่ี ๔.๖ แสดงสญั ลกั ษณ์แทนขอ้ วตั รปฏบิ ตั ติ ่าง ๆ ลาดบั สญั ลกั ษณ์ในสังคมไทย สญั ลกั ษณ์แทนพระพุทธศาสนา ๑ เหรยี ญราชนิยม พุทธ๎ สาสนุปัตถ๎ ัม๎โภ ๒ เหรยี ญบรมราชาภิเศก พทุ ธ๎ สาสนุปัต๎ถมั โ๎ ภ ๓ ธรรมจักร การประกาศศาสนา,การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ๔ ใบเสมา แดนกาหนดเขตสงั ฆกรรม ๕ เกยี รตมิ ุข การปกป้องค้มุ ครองพระพทุ ธศาสนา ๖ กาหนดพื้นท่เี ขตวดั พทุ ธาวาส,สังฆาวาส ๗ การสรงน้าพระ ๑. การขอขมาโทษท่ีอาจเคยล่วงเกินด้วย กายกรรม วจกี รรม และมโนกรรม ๒. ความเปน็ สริ มิ งคลแกช่ วี ิต ๘ การหวีผมให้ศพ การสะสางวิถีการดาเนินชีวิตให้เป็นไปตาม ระเบียบของสังคมในภพทั้ง ๓, การหวี ๒ ซีก หมายถึง ให้คานึงถึงอดีตกับอนาคต คือให้ระลึก ถึงการกระทาท่ีผ่านมา และผลท่ีจะเกิดข้ึนใน อนาคต

๒๑๗ จากตารางท่ี ๔.๖ สรุปได้ว่า ตัวอย่างของข้อมูลท่ีศึกษา พบการใช้สิ่งต่าง ๆ เชิง สัญลักษณ์เพื่อส่ือความหมายถึงข้อวัตรปฏิบัติต่าง ๆ จานวน ๘ ตัวอย่าง จาแนกเป็น ๓ กลุ่ม ดังต่อไปน้ี ๑. ประเภทวตั ถุ จานวน ๕ ตัวอยา่ ง ได้แก่ เหรยี ญราชนยิ ม, เหรียญบรมราชาภิเศก ,ธรรมจักร,ใบเสมา, และ เกียรตมิ ุข ๒. ประเภทข้อกาหนด จานวน ๑ ตัวอย่าง ได้แก่ การกาหนดเขตพื้นท่ีวัดเป็นเขต พทุ ธาวาส และสังฆาวาส ๓. ประเภทของการกระทา จานวน ๒ ตัวอย่าง ได้แก่ การสรงน้าพระ, การหวีผม ศพ ๔.๒.๗ สญั ลกั ษณ์แทนส่ิงอนื่ คาว่า สัญลักษณ์แทนส่ิงอื่น ผู้วิจัยหมายเอา ส่ิงอื่นนอกเหนือจากพระพุทธศาสนา, พระพุทธเจ้า, พระธรรม, พระสงฆ์, แนวคิดทางพระพุทธศาสนา, และข้อวัตรปฏิบัติต่าง ๆ ทาง พระพุทธศาสนา ดังได้กล่าวมาแล้ว แต่ยังคงเป็นมีความเก่ียวข้อง หรือเนื่องด้วยพระพุทธศาสนาเป็น การเฉพาะลักษณะใดลกั ษณะหน่ึง ซ่งึ จะไดจ้ าแนกรายละเอียดต่อไป ๔.๒.๗.๑ สัญลักษณ์ในสังคมไทยท่ีสื่อถึงสถาปัตยกรรมสาคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น พระเจดีย์ พระธาตุ วิหาร พระปรางค์ มณฑป ซุ้มประตู เป็นต้น เป็นส่วนประกอบสาคัญใน สญั ลกั ษณน์ น้ั ๆ จานวน ๓๓ ตัวอยา่ ง รายละเอียดปรากฎในตารางท่ี ๔.๗ ตอ่ ไปนี้ ตารางท่ี ๔.๗ แสดงรายละเอียดตามข้อ ๔.๒.๗.๑ ลาดบั สัญลกั ษณ์ในสังคมไทย สญั ลกั ษณ์แทนพระพุทธศาสนา ๑ ตราประจาจงั หวัดกาญจนบุรี พระเจดยี ์ ๓ องค์ ๒ ตราประจาจังหวัดขอนแก่น พระธาตุขามแกน่ ๓ ตราประจาจงั หวัดฉะเชิงเทรา พระอโุ บสถวัดโสธรวราราม ๔ ตราประจาจังหวดั นครปฐม พระปฐมเจดีย์ ๕ ตราประจาจังหวดั นครพนม พระธาตพุ นม ๖ ตราประจาจังหวัดนครศรีธรรมราช พระบรมธาตุ ๗ ตราประจาจงั หวดั นา่ น พระธาตุชอ่ แฮ ๘ ตราประจาจังหวดั มกุ ดาหาร พระธาตพุ นม ๙ ตราประจาจังหวดั ยโสธร พระธาตอุ านนท์ ๑๐ ตราประจาจงั หวัดรอ้ ยเอด็ พระมหาเจดีย์ชัยมงคล ๑๑ ตราประจาจงั หวัดลพบุรี พระปรางค์ ๓ ยอด ๑๒ ตราประจาจังหวัดลาพูน พระธาตหรภิ ญุ ไชย ๑๓ ตราประจาจังหวดั เลย พระธาตศุ รีสองรัก ๑๔ ตราประจาจงั หวดั สกลนคร พระธาตุเชิงชุม ๑๕ ตราประจาจังหวัดสมทุ รสาคร พระสมุทรเจดยี ์

๒๑๘ ตารางท่ี ๔.๗ (ต่อ) สญั ลกั ษณ์แทนพระพุทธศาสนา มณฑปประดิษฐสถานรอยพระพทุ ธบาท ลาดับ สญั ลกั ษณ์ในสงั คมไทย พระบรมธาตุไชย ๑๖ ตราประจาจงั หวดั สระบุรี พระแทน่ ศิลาอาสน์ ๑๗ ตราประจาจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี พระธาตขุ ามแกน่ ๑๘ ตราประจาจังหวัดอตุ รดติ ถ์ พระอุโบสถท่ปี ระดษิ ฐานพระพทุ ธโสธร ๑๙ ธงประจาจังหวดั ขอนแก่น พระปฐมเจดีย์ ๒๐ ธงประจาจงั หวัดฉะเชงิ เทรา พระธาตพุ นม ๒๑ ธงประจาจงั หวัดนครปฐม พระมหาธาตเุ จดยี ์ ๒๒ ธงประจาจังหวัดนครพนม พระธาตุช่อแฮ ๒๓ ธงประจาจังหวดั นครศรธี รรมราช พระธาตอุ านนท์ ๒๔ ธงประจาจงั หวัดแพร่ พระปรางค์สามยอด ๒๕ ธงประจาจงั หวดั ยโสธร ซุม้ มณฑปพระธาตุลาปาง ๒๖ ธงประจาจังหวดั ลพบรุ ี พระธาตหุ ริภุญไชย ๒๗ ธงประจาจงั หวัดลาปาง พระธาตศุ รีสองรกั ๒๘ ธงประจาจงั หวดั ลาพูน พระสมทุ รเจดยี ์ ๒๙ ธงประจาจังหวัดเลย พระมณฑปวดั พระพทุ ธบาท ๓๐ ธงประจาจงั หวดั สมุทรปราการ พระบรมธาตุไชยา ๓๑ ธงประจาจังหวัดสระบุรี ปฐมเทศนา ๓๒ ธงประจาจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ๓๓ ธรรมจักร ๔.๒.๗.๒ ตรา หรือสัญลักษณ์ในสังคมไทยที่แสดงความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง หรือ ความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา จานวน ๕ ตัวอย่าง รายละเอียดปรากฎในตารางที่ ๔.๘ ตอ่ ไปดงั น้ี ตารางท่ี ๔.๘ แสดงรายละเอียดตามข้อ ๔.๒.๗.๒ ลาดบั สญั ลกั ษณ์ในสังคมไทย สัญลกั ษณแ์ ทนพระพุทธศาสนา ๑ ตราประจาจังหวัดร้อยเอ็ด ความร่งุ เรอื งของพระพุทธศาสนา ๒ ธงประจาจังหวัดสโุ ขทยั แ ถ บ สี เ ห ลื อ ง แ ท น ค ว า ม เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง ข อ ง พระพทุ ธศาสนา ๓ พระเจ้าองค์แสนวัดโพธิ์ชัยนาพึง ความอุดมสมบรู ณ์ จังหวดั เลย ๔ พระคันธารราษฎร์ วัดหน้าพระเมรุ มัน่ คง ยั่งยืน (พระพุทธรูปศิลาเขียว) ๕ พระเจา้ ฝนแสนห่า ความอดุ มสมบูรณ์

๒๑๙ ๔.๒.๗.๓ สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาท่ีถูกนาไปใช้เป็นสัญลักษณ์ใหม่ เช่น สัญลักษณ์ ของการคุ้มครอง ป้องกัน รักษา ขจัดทุกข์ โศก โรคภัยต่าง ท่ีมากล้ากราย เป็นต้น มีจานวน ๙ ตวั อยา่ ง รายละเอยี ดปรากฎในตารางที่ ๔.๙ ดงั ต่อไปนี้ ตารางที่ ๔.๙ แสดงรายละเอยี ดตามข้อ ๔.๒.๗.๓ ลาดับ สัญลกั ษณ์ในสังคมไทย การนาไปใช้ในความหมายใหม่ ๑ พระพุทธวเิ ศษ รกั ษาความเจ็บป่วย, พระคบู่ ้านคเู่ มือง ๒ หลวงพ่อแก่ ห้ามฝน ๓ หลวงพอ่ วัดน้ารอบ คุ้มครอง ให้พ้นภั ยในการ เดินทา ง, เกิ ด สัญลักษณ์ในการบูชา ๓ ประการ คือ จุด ประทัด, หม่ ผ้า และปิดทอง ๔ หลวงพอ่ ทงุ่ คา เมตตามหานิยม, การป้องกันภัยอันตรายพระ คู่บ้านค่เู มืองอาเภอยะหริง่ ๕ พระพทุ ธสมั ฤทธ์ินิรโรคันตราย ความชมุ่ เย็น, พระคู่บา้ นคเู่ มอื งกาฬสนิ ธ์ุ ๖ พระพุทธป้านปิง การปกปอ้ งคมุ้ ครองภยั ๗ พระราชพธิ ีไลเ่ รอื หรือไลน่ า้ การอัญเชิญพระพุทธรูปปางห้ามสมุทรเพื่อห้าม นา้ ๘ พธิ ีพิรณุ ศาสตร์ การใช้พระพทุ ธรูปปางคันธารราฐเป็นสัญลักษณ์ ของการขอฝน นามาซ่ึงความอุดมสมบูรณ์แก่ ชาวประชาทัง้ ปวง ๙ พระราชพิธีพืชมงคลจดพระนังคัลแรก การใช้พระพุทธรูปปางคันธารราฐ เป็น นาขวัญ สญั ลักษณข์ องการขอฝน ทั้งถือคติท่วี ่า ในสังคม เกษตรกรรม น้าเป็นสัญลักษณ์ของความอุดม สมบรู ณ์ ๔.๒.๗.๔ ใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา ท่ีถูกนาไปเป็นสัญลักษณ์ประจาวันเกิด มี จานวน ๑๑ ตวั อยา่ ง รายละเอยี ดปรากฎในตารางท่ี ๔.๑๐ ดงั ตอ่ ไปน้ี ตารางท่ี ๔.๑๐ แสดงรายละเอยี ดตามขอ้ ๔.๒.๗.๔ ลาดับ สญั ลักษณ์ในสงั คมไทย ความหมายสัญญะ ๑ พระพทุ ธรปู ปางตา่ ง ๆ ประจาพระชนมวาร ๒ พระพุทธรปู ปางถวายเนตร ประจาผู้เกิดวนั อาทติ ย์ ๓ พระพุทธรูปปางหา้ มญาติ ประจาผู้เกดิ วนั จนั ทร์ ๔ พระพุทธรปู ปางไสยาสน์ ประจาผเู้ กดิ วันอังคาร ๕ พระพุทธรปู ปางอุ้มบาตร ประจาผเู้ กดิ วันพธุ กลางวนั ๖ พระพทุ ธรูปปางเลไลย์ ประจาผเู้ กิดวนั พุธกลางคืน

๒๒๐ ตารางที่ ๔.๑๐ (ตอ่ ) ความหมายสัญญะ ประจาผเู้ กดิ วนั พฤหสั บดี ลาดบั สัญลักษณ์ในสงั คมไทย ประจาผเู้ กดิ วนั ศุกร์ ๗ พระพุทธรปู ปางสมาธิ ประจาผู้เกดิ วันเสาร์ ๘ พระพุทธรูปปางราพึง พระพุทธรูปประจาพระองคพ์ ระธิดาเสรมิ ๙ พระพุทธรปู ปางนาคปรก การอัญเชิญพระพุทธรูปประจาพระชนมพรรษา ๑๐ พระเสริม วันมาประดษิ ฐานในพิธี ๑๑ พระราชกศุ ลกาลานกุ าล ๔.๒.๗.๕ ใชส้ ญั ลักษณ์ทางพระพทุ ธศาสนาที่ถูกนาไปใช้ในฐานะเป็นสิ่งสาคญั ค่บู า้ นคเู่ มือง ประวตั ิศาสตร์ชุมชน มีจานวน ๒๕ ตัวอยา่ ง รายละเอียดปรากฎในตารางที่ ๔.๑๑ ดงั ตอ่ ไปนี้ ตารางท่ี ๔.๑๑ แสดงรายละเอยี ดตามข้อ ๔.๒.๗.๕ ๑๔ สญั ลักษณ์ในสงั คมไทย ความหมายสัญญะ ลาดบั ๑ พระแก้วมรกต พระคูบ่ ้านคู่เมอื ง ๒ พระพทุ ธสหิ ิงค์ พระคบู่ า้ นคู่เมอื ง ๓ พระเจ้าแขง้ คม พระคบู่ า้ นคู่เมอื ง ๔ พระเจา้ ตนหลวง พระคบู่ ้านคู่เมือง ๕ หลวงพอ่ เพชร พระคบู่ า้ นคู่เมือง ๖ พระพุทธชินราช พระค่บู ้านคู่เมอื ง ๗ พระเจา้ พรา้ โต้ พระคู่บ้านคู่เมอื ง ๘ พระสงิ ห์ปาย พระค่บู า้ นคู่เมือง ๙ หลวงพ่อโตวดั ชยั ชนะสงคราม พระคู่บา้ นคเู่ มอื ง ๑๐ พระมงคลบพติ ร พระนครศรีอยุธยา พระคบู่ า้ นคเู่ มือง ๑๑ พระศาสดา พระคูบ่ า้ นคเู่ มือง ๑๒ หลวงพ่อโต วดั ปา่ เลไลย์ สุพรรณบรุ ี พระคู่บ้านคเู่ มือง ๑๓ พระพุทธโสธร พระคบู่ ้านคเู่ มือง ๑๔ พระพทุ ธมหาธรรมราชา พระคูบ่ า้ นคเู่ มอื ง ๑๕ หลวงพอ่ วัดบา้ นแหลม พระคู่บา้ นคเู่ มือง, ตานานชมุ ชน ๑๖ พระเจ้าใหญ่อนิ ทรแ์ ปลง พระคบู่ า้ นคู่เมอื ง ๑๗ หลวงพอ่ ดา พระคบู่ ้านคู่เมือง ๑๘ หลวงพ่อพระใส พระคบู่ า้ นคเู่ มอื ง ๑๙ หลวงพ่อองค์แสน, ประดิษฐานอยู่ที่วิหาร พระคบู่ า้ นคู่เมือง วัดพระธาตุเชงิ ชมุ จ.สกลนคร ๒๐ หลวงพ่อพระยนื มิง่ มงคล พระคูบ่ ้านคเู่ มือง ๒๑ พระพทุ ธทกั ษณิ มงิ่ มงคล พระคบู่ ้านคู่เมือง

๒๒๑ ตารางที่ ๔.๑๑ (ต่อ) ลาดับ สัญลกั ษณ์ในสังคมไทย ความหมายสญั ญะ ๒๒ พระศรีศากยมนุ ศี รีธรรมราช พระคู่บ้านคเู่ มอื ง ๒๓ หลวงพอ่ โต พระคบู่ า้ นคเู่ มือง ๒๔ พระทอง หรือ “พระผดุ ” พระคู่บา้ นคูเ่ มือง ๒๕ พระพุทธปฏิมากร หรือ “พระรอด ประวตั ิศาสตรช์ ุมชน สงคราม” ๔.๒.๗.๖ ใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา เช่ือมโยงคติความเช่ือของชุมชน หรือคติ ความเช่ือของชุมชน มีผลอิทธิพลต่อการการกาหนดสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา มีจานวน ๑๘ ตวั อยา่ ง รายละเอยี ดปรากฏในตารางท่ี ๔.๑๒ ดงั ต่อไปน้ี ตารางที่ ๔.๑๒ แสดงรายละเอยี ดตามขอ้ ๔.๒.๗.๖ ลาดบั สัญลักษณ์ในสังคมไทย ความหมายสัญญะ ๑ การกาหนดที่ต้ังกุฏิเจ้าอาวาสให้ สัมพนั ธ์ทตี่ ัง้ ของโรงอโุ บสถ์ - ตะวันออก=มรณะ เจา้ อาวาสอายุไม่ยนื - ออกเฉียงใต้=ศาลา วดั เหมอื นศาลาพกั รอ้ น - ใต=้ ป่าช้า เงียบสงัด - ตกเฉียงใต=้ ลาภ ลาภสกั การะสมบรู ณ์ - ตะวันตก=กลหะ ทะเลาะ แตกแยก - ตกเฉียงเหนอื =มัชฌิมะ ปานกลาง - ทิศเหนือ=ปาราชิก เสยี พระ - ออกเฉยี งเหนอื =อตุ ตมะ บารมีสูง ๒ การบังสุกุล และบังสุกุลเป็นตอน หันศีรษะไปทางทิศตะวันตก บังสุกุลตาย เกบ็ อัฐิ สัญลักษณ์ความตาย หันศีรษะไปทางทิศ ตะวันออก บังสุกุลเป็น สัญลักษณ์การเกิด ใหม่ ๓ การจุดเทียนส่องธรรมหน้าธรรม แทนการนิมนตด์ ้วยวาจา มาสน์ ๔ ธปู ๓ ดอก ๑. ธูป ๓ ดอก เป็นสัญลกั ษณ์แทนพุทธคณุ ๓ ประการของพระพทุ ธเจ้า ได้แก่ พระ วิสุทธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณ และ พระปญั ญาคณุ ๒. การจุดธูป ๓ ดอก เป็นสัญลักษณ์ของ การบชู าพระคุณท้งั ๓ ประการนี้

๒๒๒ ตารางท่ี ๔.๑๒ (ต่อ) ความหมายสัญญะ ลาดับ สัญลักษณ์ในสังคมไทย เทยี น ๒ เลม่ เปน็ สัญลักษณ์แทนปาพจน์ ๒ ๕ เทียน ๒ เลม่ ประการ คือพระธรรม และพระวนิ ยั ๖ ผางประทิส ๗ สะเปา เครอ่ื งบูชาพระพทุ ธเจ้า ๕ พระองค์ ๑. บูชารอยพระพุทธบาทท่ีประดิษฐ์ ณ ๘ ซุ้มประตปู า่ หาดทรายแม่น้านัมมทา อันเป็นการ ๙ ว่าวฮม,ว่าวไฟ เ จ ริ ญ พุ ท ธ า นุ ส ติ ร า ลึ ก ต่ อ อ ง ค์ พ ร ะ ๑๐ ตานขนั ข้าว สัมมาสมั พทุ ธเจ้า ๑๑ ประเพณีการอมุ้ พระดาน้า ๒. การบรจิ าคทาน ๑๒ ประเพณีการทานตงุ ๑. การตอ้ นรับพระเวสสนั ดรเข้าเมือง ๒. ซุ้มที่ใช้จุดผางประทิสบูชาพระพุทธเจ้า ๑๓ ดอกเขา้ พรรษา ๕ พระองค์ ๑๔ ประเพณีแหผ่ ีตาโขน การบชู าพระเกศแกว้ จุฬามณี ๑๕ ประเพณแี ห่ผา้ ข้ึนธาตุ ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ซ่ึ ง ค ว า ม ก ตั ญ ญู ต่ อ ผู้ มี พระคุณที่ล่วงลับไปแลว้ ๑. พระพุทธรูป ๒. ความอุดมสมบูรณ์ และความเป็นสิริ มงคลแก่ชีวติ ๑. ประดบั เปน็ พุทธบชู า ๒. บอกใหร้ วู้ ่าบรเิ วณแหง่ นน้ั มีงานบญุ ๓. อานิสงค์จะช่วยนาวิญญาณคนตายไปสู่ สรวงสวรรค์ ๑. ก า ร ใ ช้ ด อ ก เ ข้ า พ ร ร ษ า เ ป็ น สื่ อ สญั ลักษณก์ ารบชู าในวันเข้าพรรษา ๒. การนาน้าสะอาดมาล้างเท้าพระภิกษุ สงฆ์โดยถือเป็นเสมอื นการชาระจิตของ ตน คติความเชื่อเกี่ยวกับเวสสันดรชาดก ตอน พระเวสสันดรออกเสด็จออกจากป่านิวัต พระนคร ๑. การบชู า ๒. การได้ใกลช้ ดิ กบั พระพุทธเจา้

๒๒๓ ตารางที่ ๔.๑๒ (ต่อ) ลาดบั สญั ลักษณ์ในสงั คมไทย ความหมายสัญญะ ๑๖ ประเพณชี ักพระ ๑. คติความเชื่อเกี่ยวกับการเสด็จลงจาก ดาวดึงส์หลังจากโปรดพุทธมารดาเป็น ระยะเวลา ๓ เดอื น ๒. พระพุทธรปู ปางอมุ้ บาตร ๑๗ การจัดหมรฺ บั ๑. การทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพ บุรษุ ๒. การใช้ขนมพองเป็นสัญลักษณ์แทนเรือ แพใชข้ า้ มห้วงมหรรณพ ๑๘ ประเพณีเทศนม์ หาชาติ ๑. เครื่องบูชาอย่างละ ๑,๐๐๐ ๑. บูชาคาถา ๑,๐๐๐ ๒. การจัดสถานท่ีบริเวณพิธีให้ ๒. จาลองเหตุการณ์จรงิ เหมอื นอยู่ในปา่ ๓. การบริจาคทาน/เสียสละ ๓. กาเนิดพระเวสสันดร ๔.๓ สรุปทา้ ยบท สังคมไทยใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาอย่างกว้างขวาง รูปสัญญะในงานวิจัยน้ี ถือ เป็นเพียงตัวอย่างที่เก็บมาศึกษาจากสถาบันหลักคือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รวมถึงสัญลักษณ์ ในจิตรกรรม ประตมิ ากรรม สถาปตั ยกรรม วฒั ธรรม ประเพณี และพิธีกรรมต่าง ๆ ในสังคมไทย รวม ทั้งสน้ิ ๒๒๖ ตวั อยา่ ง จานวน ๒๒๖ ตัวอย่างน้ี ปรากฎสัญลักษณท์ างพระพุทธศาสนา ๒ ลักษณะ คือทง้ั โดยตรง และโดยออ้ ม โดยตรง หมายถึง สัญลักษณ์ท่ีใชน้ ั้นมีความเกย่ี วข้องกับพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ หรือส่ิงที่เน่ืองด้วยพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ซ่ึงเม่ือพบเห็นแล้ว สามารถเข้าใจได้ทันทีว่า เป็นสัญลักษณ์ทางพระพทุ ธศาสนา โดยอ้อม หมายถึง สญั ลักษณ์ท่ีสังคมกาหนดข้ึน และพยายามเช่ือมโยง หรืออธิบายใหเ้ ข้า กบั บริบทของพระพุทธศาสนาลกั ษณะใดลักษณะหน่ึง โดยท่สี ัญลักษณ์น้ัน ๆ ไม่ได้มีความเก่ียวข้องกับ พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ หรือสิ่งท่ีเน่ืองด้วยพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์มาแต่ต้น แสดง ให้เห็นอทิ ธพิ ลของชุมชน หรอื ท้องถิน่ ในการกาหนดรปู สญั ลกั ษณ์ขน้ึ เพ่ือใชส้ อื่ สาร จากรูปสัญญะท้ังหมด ๒๒๖ ตัวอย่างท่ีสืบค้นจากบริบทต่าง ๆ ในสังคมไทย พบมีการใช้ สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาอยู่ ๓ ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะแรก เป็นการใช้สัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนาเพ่ือส่ือถึงพระพุทธศาสนา ลักษณะท่ีต่อมาคือการใช้สัญลักษณ์พระพุทธศาสนาเพื่อ ส่ือถึงสิ่งอน่ื และลกั ษณะสุดทา้ ย เปน็ การใชส้ ัญลกั ษณ์อน่ื เพอ่ื สือ่ ความหมายถึงพระพทุ ธศาสนา

๒๒๔ การใช้สัญลักษณ์ทางพระพทุ ธศาสนา เพอ่ื ส่ือถึงพระพุทธศาสนา มีความหมายตรงตัว คือ รูปสัญลักษณ์ท่ีใช้ก็เป็นสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา ความหมายสัญลักษณ์ที่ต้องการส่ือก็สื่อถึง พระพุทธศาสนา เชน่ สญั ลกั ษณ์พระพทุ ธรปู ,ธรรมจักร, เจดีย,์ โบสถ,์ วหิ าร เปน็ ต้น การใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาเพื่อส่ือถึงส่ิงอ่ืน หรือความหมายอื่นนอกเหนือจาก พระพุทธศาสนา กลุ่มสัญลักษณ์ดังกล่าว เช่น การใช้ธรรมจักรเป็นตราประจาหน่วยงานของรัฐ หรือ เอกชน, การใช้พระพุทธรูปเป็นสัญลักษณ์ของการเจริญเติบโต,ความอุดมสมบูรณ์, สัญลักษณ์ ประจาวนั เกดิ , สญั ลักษณค์ วามร่มเย็น เปน็ ต้น การใช้สัญลักษณ์อ่ืนเพื่อสื่อความหมายถึงพระพุทธศาสนา หมายถึง สัญลักษณ์น้ัน ๆ ไมไ่ ด้มคี วามเก่ยี วขอ้ งใด ๆ กับพระพทุ ธศาสนา แต่ถกู นามาใชส้ ่ือ หรืออธิบายความถงึ พระพุทธศาสนา ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น การใช้สีเหลืองอธิบายถึงความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา, การใช้สี ขาวส่ือความหมายถึงพระพุทธศาสนา, การใช้ดอกไม้เป็นสัญลักษณ์ของการเข้าพรรษา และเรียก ดอกไม้ชนดิ น้วี ่า ดอกเข้าพรรษา เปน็ ต้น

๒๒๕ บทที่ ๕ อทิ ธพิ ลสัญลกั ษณท์ างพระพทุ ธศาสนา ท่ีมีต่อการใชส้ ญั ลกั ษณ์ในสงั คมไทย แนวทางในการวิเคราะห์อิทธิพลสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาที่มีต่อการใช้สัญลักษณ์ ในสังคมไทย ผู้วิจัยกาหนดขอบเขตไว้ ๖ ประเด็นหลัก ได้แก่ อิทธิพลท่ีมีต่อสถาบันชาติ, ศาสนา, พระมหากษตั ย,์ งานศิลปะ (จติ รกรรม, ประตมิ ากรรม, สถาปัตยกรรม), ประเพณี วัฒนธรรม พธิ ีกรรม , คา่ นิยม และคตคิ วามเช่ือ ดงั รายละเอยี ดกล่าวโดยลาดบั ตอ่ นี้ ๕.๑ อิทธพิ ลที่มตี อ่ สถาบันชาติ กอ่ นที่จะได้วิเคราะห์รายละเอยี ด ผวู้ จิ ัยประมวลสรุปกลุ่มสญั ญะทีเ่ นือ่ งด้วยสถาบันชาติ และส่ือความหมายถึงพระพุทธศาสนาจากกลุ่มตัวอย่างท่ีได้ศึกษา จานวน ๖๑ ตัวอย่าง แบ่งเป็น ๔ กลุ่ม ประกอบดว้ ย ตราประจาแผ่นดนิ สยาม ๑ ตวั อย่าง, ธง ๕ ตัวอยา่ ง, ตราประจากระทรวง ทบวง กรม ๓ ตวั อยา่ ง, ตราและธงประจาจงั หวัด ๕๒ ตัวอย่าง กลุ่มสัญลักษณ์ท่ีเนื่องด้วยสถาบันชาติ และส่ือความหมายถึงพระพุทธศาสนา สรุป รายละเอยี ด ดงั น้ี ตารางท่ี ๕.๑ กลุ่มสัญลักษณ์ที่เน่ืองด้วยสถาบันชาติ และสื่อความหมายถึง พระพุทธศาสนา กลมุ่ ท่ี กล่มุ รปู สัญญะ ตัวสัญญะบง่ ถึงพระพทุ ธศาสนา ๑ ตราแผ่นดนิ สยาม พระมหาสังวาลนพรตั น์ราชวราภรณ์ จานวน ๑ ตวั อยา่ ง ๒ ธง ๑. สีขาว จานวน ๕ ตัวอยา่ ง ๒. พระพุทธรูปในซุ้มเรอื นแกว้ ๓. เสมาธรรมจกั ร ๓ ธงประจากระทรวง,ทบวง, กรม ๔. พระมหาสงั วาลนพรตั น์รัตนราชวราภรณ์ จานวน ๓ ตวั อยา่ ง ๑. ต้นศรีมหาโพธ์ิ ๒. สญั ลกั ษณโ์ ลกุตตระ ๓. ใบเสมา ๔. ธรรมจักร ๕. หวั ใจอรยิ สัจ ทุ. ส. น.ิ ม.

๒๒๖ ตารางที่ ๕.๑ (ต่อ) กลุ่มท่ี กลมุ่ รปู สัญญะ ตวั สัญญะบ่งถึงพระพุทธศาสนา ๔ ตราประจาจังหวัด,ธงประจาจังหวดั ๑. เจดีย์ จานวน ๕๒ ตัวอย่าง ๒. พระปรางค์ ๓. มณฑป ๔. อุโบสถ ๕. พระธาตุ ๖. ธรรมจกั ร ๗. ซุ้มเสมา ๘. ต้นศรีมหาโพธิ์ ๙. พระพุทธรปู ๑๐.บลั ลังก์ ๑๑.สี (เหลอื ง,ขาว) เมื่อนากลุ่มสัญลักษณ์จากตัวอย่าง ๖๑ ตัวอย่างเหล่าน้ันมาเปรียบเทียบกับสัญลักษณ์ ในคัมภีร์ จะพบว่า มีสัญลักษณ์เพียงบางประการเท่านั้นที่ได้รับอิทธิพลจากคัมภีร์โดยตรง ขณะท่ี สัญลักษณ์ส่วนใหญ่ท่ีปรากฎในสังคมไทย จะเป็นสัญลักษณ์ท่ีถูกกาหนดขึ้นมาใหม่ และใช้ใน ความหมายใหม่ ดงั ตารางเปรยี บเทยี บต่อไปนี้ ๕.๑.๑ กลุ่มสัญลักษณ์ท่ีได้รับอิทธิพลจากคัมภีร์ หมายถึง กลุ่มสัญลักษณ์ที่สามารถ เชือ่ มโยงลกั ษณะ อาจจะท้ังหมด หรอื บางส่วนได้จากคัมภีร์ แสดงเป็นตาราง และวิเคราะห์ตามลาดับ ดงั ต่อไปนี้ ตารางท่ี ๕.๒ กลมุ่ ท่ใี ชส้ ีเปน็ สัญลักษณ์ สัญลกั ษณ์ใน ความหมาย สัญลักษณใ์ นคัมภรี ์ ความหมาย สังคมไทย สัญญะในสังคมไทย สญั ญะในคมั ภรี ์ สขี าว พระพุทธศาสนา สีขาว กุศลธรรม๑,บริสุทธิ์๒,ไม่มี ม ล ทิ น ๓ , ธ ง ชั ย แ ห่ ง เดยี รถยี ์๔ ๑ส.ม. (ไทย) ๑๙/๑๙๘/๑๓๒. ๒ที.ม. (ไทย) ๑๐/๗๕/๔๓ ๓วิ.ม. (ไทย)๔/๒๘/๓๖,ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๓๖/๔๖. ๔ข.ุ เถร.อ.(ไทย) ๒/๓/๔/๒๒๑.

๒๒๗ ตารางท่ี ๕.๒ (ตอ่ ) สัญลกั ษณ์ใน ความหมาย สญั ลักษณ์ในคัมภรี ์ ความหมาย สงั คมไทย สญั ญะในสงั คมไทย สญั ญะในคมั ภีร์ สีเหลอื ง พระพทุ ธศาสนา, ผา้ กาสาวพตั ร์ ธงชัยพระอรหันต์๕,สละ โลก๖,ศาสนารงุ่ เรอื ง๗ ความรงุ่ เรอ่ื งของ พระพทุ ธศาสนา วิเคราะหด์ งั น้ี ในสงั คมไทยใช้สีขาว, สีเหลือง เปน็ สัญลักษณ์แทนพระพุทธศาสนาบ้าง สญั ลักษณ์แทน ความรุ่งเรอื งของพระพทุ ธศาสนาบ้าง ขณะท่ใี นคัมภรี ท์ างพระพุทธศาสนา จากตัวอย่าง หรือหลักฐาน ไม่พบว่ามีการใช้สีขาว หรือสีเหลืองเป็นสัญลักษณ์แทนพระพุทธศาสนา แต่มีการนาสีขาวไปใช้เป็น สัญลักษณ์แทนความบรสิ ทุ ธ์ิ ไมม่ มี ลทนิ ในส่วนสีเหลือง คัมภีร์พระพุทธศาสนาจะใช้ผ้ากาสาวพัตร์เป็นสัญลักษณ์แทน จะไม่ใช้ สัญลักษณ์สีเหลือง เพราะสีเหลืองในทางพระวินัยถือว่าเป็นสีต้องห้ามสาหรับการทาจีวร๘ การใช้สี เหลืองเป็นสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา จึงเป็นเรื่องเฉพาะสาหรับสังคมไทย เห็นได้จากวลีต่าง ๆ เช่น “เหน็ แก่ผ้าเหลอื ง”, “เกาะชายผ้าเหลอื งขน้ึ สวรรค์”, “เอาผ้าเหลอื งบงั หน้า” เป็นตน้ ประเด็นคาถามคือ ทาไมคนไทยจึงเรียกผ้ากาสาวพัตร์ว่าผ้าเหลือง ท้ัง ๆ ท่ี ผา้ กาสาวพตั รเ์ องก็ไม่ได้สเี หลอื ง ขอ้ นอี้ าจเปน็ เพราะคาว่า มโนทัศนเ์ รอ่ื งผ้ากาสาวพัตรส์ าหรับคนไทย อาจไม่เด่นชัดเหมือนผ้าเหลือง คนไทยจึงเลือกที่จะใช้ผ้าเหลืองเป็นสัญลักษณ์แทน แม้จะไม่ตรงกับ ขอ้ เทจ็ จรงิ ก็ตาม ตัวอยา่ งการใช้ผา้ เหลืองแทนเช่นน้ี เชน่ “...ผ้ากาสาวพัตรเป็นเคร่ืองค้มุ ครองทา่ นให้ อยู่ในระเบียบวินัย ใคร ๆ เมื่อเห็นผ้าเหลืองก็ยกมือไหว้ เพราะเป็นเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์แห่ง ความสูงสุดของศานติสขุ ”๙ ๕ข.ุ เถร.อ.(ไทย) ๒/๓/๔/๒๐๔. ๖ท.ี ม.(ไทย) ๑๐/๕๔/๓๐. ๗ว.ิ มหา.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๓๒. ๘วิ.ม. (ไทย) ๕/๓๗๒/๒๔๘. ๙พระยาอนุมานราชธน, หนังสือชุดประเพณี, (สานักวัฒนธรรมทางระเบียบประเพณี สภาวัฒนธรรม แหง่ ชาติ จัดพิมพ,์ มปป), หนา้ ๑๑.

๒๒๘ ตารางท่ี ๕.๓ กล่มุ ท่ใี ชส้ ถาปัตยกรรม (เจดยี ,์ สถูป, พระธาต)ุ เป็นสัญลกั ษณ์ สัญลักษณ์ใน ความหมาย สญั ลักษณใ์ นคมั ภีร์ ความหมาย สังคมไทย สัญญะในสังคมไทย สญั ญะในคัมภรี ์ เจดยี ์ สัญลักษณ์ประจาจังหวดั , เจดีย์ ส่ิงเคารพ๑๐,ส่ิงสร้างเพ่ือ เป็นเคารพ,บูชา๑๑,สถานท่ี เสวยวิมุตติสุข๑๒,อารมณ์ กรรมฐาน๑๓ สถูป - สถูป พระศาสดา๑๔ พระธาตุ สญั ลกั ษณ์ประจาจงั หวดั พระธาตุ ที่บรรจุพระบรมธาตุ๑๕, ท่ี บ ร ร จุ ธ า ตุ ข อ ง พ ร ะ สาวก๑๖ วเิ คราะหด์ ังน้ี ในสังคมไทย เจดีย์ หรือพระธาตุมักเป็นเป็นสิ่งก่อสร้างที่ควรแก่การบูชา สร้างข้ึนเพ่ือ เป็นท่ีระลึกถึงพระพุทธเจ้า หรือบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระธาตุพระอรหันต์ทั้งนี้ก็คงได้คติจาก ปฐมเจดีย์ทั้ง ๘ แห่งท่ีหัวเมืองต่าง ๆ ได้สร้างขึ้นคราวได้รับแบ่งพระบรมสารีริกธาตุหลังพุทธ ปรินิพพาน๑๗หลายจังหวัดในประเทศไทย จึงนิยมสร้างเจดีย์ประเภทใดประเภทหน่ึง๑๘เพ่ือเป็นท่ียึด เหนี่ยวจติ ใจของพทุ ธศาสนกิ ชนในจงั หวัดนัน้ ๆ กระท่งั กลายเปน็ ถาวรวตั ถทุ ม่ี คี วามสาคญั จากตัวอย่างสัญลักษณ์ประจาจังหวัดในประเทศไทย พบ ๒๔ ตัวอย่าง จาก ๑๔ จังหวัด ใช้เจดีย,์ พระธาตเุ ปน็ สญั ลักษณ์ประจาจงั หวดั รูปแบบของการใชม้ ี ๒ ลกั ษณะ คอื เป็นตราสัญลักษณ์ ประจาจงั หวัด และธงสญั ลกั ษณป์ ระจาจังหวัด การใช้สัญลักษณ์ในสังคมไทยดังกล่าว มีข้อแตกต่างจากการใช้สัญลักษณ์ในคัมภีร์ กล่าวคือ เจดีย์,พระธาตุเป็นส่ือให้ระลึกถึง หรือเป็นที่สาหรับเคารพ บูชา, หรือแม้แต่เป็นอารมณ์ ๑๐วิ.มหา. (ไทย) ๑/๓๖๕/๔๐๒,ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๕๕/๖๕. ๑๑อ.จตกุ กฺ .(ไทย) ๒๑/๒๔๗/๓๖๗,อ.ปญฺจก.(ไทย) ๒๒/๕๐/๘๘,ขุ.อ.ุ (ไทย) ๒๕/๑๐/๑๘๗,ที.ปา.(ไทย) ๑๑/๑๑/๑๐,วิ.มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๑๕๑,ว.ิ ม.อ. (ไทย) ๔/๑/๙,วิ.มหา.อ.(ไทย) ๑/๓/๔๔๔,ท.ี ม.อ.(ไทย) ๒/๑/๓๖๑. ๑๒ม.มู.อ.(ไทย) ๑/๒/๔๕๗. ๑๓ที.สี.อ.(ไทย) ๑/๑/๔๑๖. ๑๔วิ.มหา.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๔๑,ข.ุ วิ.อ.(ไทย) ๒/๑/๓๘๔. ๑๕อ.จตกุ กฺ .(ไทย) ๒๑/๒๔๗/๓๖๗. ๑๖ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๑๐/๑๘๗,ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๐๖/๑๕๓,ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๐๖/๑๕๓ ๑๗ดูรายละเอียดใน กรมพระยาดารงราชานุภาพ, ตานานพทุ ธเจดีย์, (พระนคร:กรมศลิ ปากร, ๒๔๙๐), หน้า ๕-๖ ๑๘เจดยี ์เบ้อื งต้นกาหนดไว้ ๔ ประเภท ได้แก่ ธาตุเจดีย์, บรโิ ภคเจดยี ์, ธรรมเจดยี ์, และอุเทสกิ เจดีย์ ทั้ง ๔ ประเภทน้ี แรกเริ่มกเ็ น่อื งดว้ ยพระพุทธเจา้ ตอ่ มากม็ ีสร้างเนื่องด้วยพระธรรม และพระสงฆ์ ครบทงั้ ๓ รตั นะ

๒๒๙ กัมมัฏฐาน ขณะที่การใช้สัญลักษณ์เจดีย์,พระธาตุสังคมไทยจากตัวอย่างข้างต้น เป็นเพียงการ สะท้อนอัตลักษณ์ หรือเอกลักษณป์ ระจาจังหวดั โดยใชเ้ จดยี ,์ พระธาตุในจงั หวัดน้นั ๆ เปน็ เครื่องหมาย ส่ือความแทน ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า การใช้สัญลักษณ์ในลักษณะดังกล่าวน้ี ไม่ปรากฏในคัมภีร์ทาง พระพุทธศาสนา ทั้งระดับบาลี และอรรถกถา สะท้อนให้เห็นว่า มีการใช้สัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนาในรปู แบบท่แี ตกต่างจากเดิม ตารางท่ี ๕.๔ กลมุ่ ทใ่ี ช้พระพทุ ธรูปเปน็ สัญลักษณ์คู่บ้านคเู่ มือง สัญลกั ษณ์ใน ความหมาย สญั ลักษณ์ในคัมภีร์ ความหมาย สงั คมไทย สญั ญะในสังคมไทย สญั ญะในคัมภรี ์ พระพทุ ธรูป สญั ลักษณ์ประจาจังหวัด, พระพุทธรูป พระพทุ ธเจ้า๑๙ พระคบู่ า้ นคูเ่ มือง, วเิ คราะห์ดังน้ี จากหลักฐานในคัมภีร์พระพุทธศาสนา แม้จะยังไม่ปรากฏร่องรอยว่ามีการสร้าง พระพุทธรูป แตก่ ็มหี ลักฐานในอรรถกถาพระวนิ ัย๒๐และอรรถกถทีฆนกิ าย๒๑ระบุถงึ การใช้ฤทธเิ์ นรมิต พระพทุ ธรูปข้ึน เพ่ือเปน็ สัญลกั ษณ์แทน หรือสอ่ื ถึงพระพุทธเจ้า แสดงให้เห็นถงึ ความพยายามของชน รนุ่ หลังที่จะแสวงหาแนวทางในการสร้างรูปเคารพขึ้นมาเพื่อสื่อถึงองค์ศาสดาที่ตนเคารพนับถือ เมื่อ คตินิยมการสร้างรูปเคารพไดร้ บั การยอมรับ จงึ เกดิ ทาเนียมการสร้างพระพุทธรูปขึ้นอยา่ งแพร่หลาย สังคมไทย มีการใช้พระพุทธรูปเป็นสื่อสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้าอยู่ทั่วไป เฉพาะใน สว่ นที่เกยี่ วข้องกบั สถาบนั ชาติ มกี ารใช้พระพุทธรูปเป็นส่วนประกอบตราสัญลักษณ์ และธงสัญลกั ษณ์ ประจาจงั หวัด จานวน ๙ ตวั อย่าง ไดแ้ ก่ ธงชัยเฉลิมพลของ ๑. กองทพั บก ๒. ทพั เรอื ๓. ทัพอากาศ, ๔.ตราประจาจงั หวัดพะเยาะ, ๕. ตราประจาจงั หวัดพิษณุโลก, ๖. ตราประจาจงั หวดั สระแก้ว, ๗. ตรา ประจาจังหวัดอานาจเจรญิ ๘. ธงประจาจงั หวดั พะเยา และ ๙. ธงประจาจังหวดั พิษณุโลก การใช้พระพุทธรูปเป็นตราประจาจังหวัด และธงประจาจังหวัดดังกล่าวข้างต้น ถือเป็น การใช้สัญลักษณ์ท่ีแตกต่างจากจุดประสงค์เดิมที่ต้องการให้เป็นตัวแทน หรือส่ือระลึกถึงพระพุทธเจ้า ขณะท่ีการใช้พระพุทธรูปเป็นเป็นสัญลักษณ์ประจาจังหวัด ส่ือความหมายต้องการให้สาธารณชน ทราบว่า มีพระพุทธรูปสาคัญอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ เช่น จังหวัดพะเยา ต้องการส่ือถึงพระเจ้าตนหลวง, จงั หวัดพษิ ณโุ ลก ตอ้ งการสอื่ ถงึ พระพุทธชินราช จงั หวัดอุบลราชธานี ต้องการส่ือถึงพระมงคลม่ิงเมือง เป็นต้น ๑๙วิ.มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๗๙,วิ.ป.อ.(ไทย) ๘/๕๕๗,ท.ี ม.อ.(ไทย) ๒/๒/๑๐๒. ๒๐วิ.มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๗๙,วิ.ป.อ.(ไทย) ๘/๕๕๗. ๒๑ที.ม.อ.(ไทย) ๒/๒/๑๐๒.

๒๓๐ ตารางที่ ๕.๕ กล่มุ ที่ใชพ้ ุทธอาสนเ์ ปน็ สญั ลกั ษณป์ ระจาจังหวดั สัญลักษณ์ใน ความหมาย สญั ลักษณ์ในคัมภรี ์ ความหมาย สงั คมไทย สญั ญะในสังคมไทย สญั ญะในคัมภรี ์ พทุ ธอาสน์ สัญลกั ษณ์ประจาจงั หวดั พุทธอาสน์ พระพทุ ธเจา้ ๒๒ วเิ คราะห์ดังนี้ ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา พบมกี ารปูอาสนะเพ่ือรองรับการเสด็จของพระพุทธเจา้ หลาย แห่ง๒๓ แม้พระองค์จะไม่ประทับอยู่ในขณะน้ันก็ตาม ทั้งนี้เพ่ือเผ่ือพระพุทธเจ้าเสด็จมา จะได้ไม่ต้อง เตรียมอาสนะการปฏบิ ัตเิ ชน่ น้ี ถือเปน็ ธรรมเนียม พทุ ธอาสน์จงึ เป็นสือ่ แสดงถึงองคพ์ ระศาสดา ในสังคมไทย พบสญั ลักษณ์พุทธอาสน์ประดษิ ฐานอยู่ภายในมณฑปใช้ส่ือเป็นสัญลักษณ์ ประจาจังหวัดอุตรดิตถ์ การใช้สัญลักษณ์ในลักษณะนี้ วิเคราะห์แล้วก็ทานองเดียวกับการใช้ พระพุทธรปู เปน็ ส่วนหนึ่งของตราสัญลกั ษณป์ ระจาจังหวดั ตารางท่ี ๕.๖ กลุม่ ที่ใช้ตน้ ไม้เป็นสัญลกั ษณ์ สัญลกั ษณ์ใน ความหมาย สญั ลกั ษณใ์ นคัมภรี ์ ความหมาย สังคมไทย สญั ญะในสังคมไทย สญั ญะในคมั ภีร์ ตน้ พระศรมี หาโพธ์ิ สัญลักษณ์ประจาจังหวัด ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เจดีย์ (ท่ีเคารพ)๒๔ สั ญ ลั ก ษ ณ์ พ ร ะ พุ ท ธ สัญลักษณ์แห่งการตรัส ศาสนา รู้๒๕ วเิ คราะหด์ ังน้ี ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาถือเป็นเจดีย์ และมักจะใช้สื่อเป็นสัญลักษณ์ถึงการตรัสรู้ของ พระพุทธเจ้า ดงั จะเห็นได้จากต้นไม้ชนิดใดก็ตาม หากมีพระพทุ ธเจ้ามาตรัส ย่อมได้รับการขนานนาม ว่าต้นโพธ์ทิ ั้งส้ิน๒๖ในคัมภีร์อรรถกถากาลิงคชาดก มีเร่ืองราวเล่าถึงพระพทุ ธเจ้าไม่ได้ประทบั ประจาท่ี ๒๒ม.มู.(ไทย) ๑๒/๑๙๙/๒๐๙, ส.ข. (ไทย) ๑๗/๘๗/๑๕๘,ส.ข.(ไทย) ๑๗/๘๘/๑๖๔,ส.สฬ. (ไทย) ๑๘/ ๗๔/๖๖,ส.สฬ. (ไทย) ๑๘/๗๕/๖๘,ม.มู.อ. (ไทย) ๑๒/๒๗๓/๗๖. ๒๓เช่นม.มู.(ไทย) ๑๒/๑๙๙/๒๐๙, ส.ข. (ไทย) ๑๗/๘๗/๑๕๘.ส.ข.(ไทย) ๑๗/๘๘/๑๖๔,ส.สฬ. (ไทย) ๑๘/๗๔/๖๖,ส.สฬ. (ไทย) ๑๘/๗๕/๖๘,ม.มู.อ. (ไทย) ๑๒/๒๗๓/๗๖,อ.ฉกฺก.(ไทย) ๒๒/๕๖/๕๓๕. ๒๔ว.ิ มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๑๕๑,วิ.ม.อ. (ไทย) ๔/๑/๙. ๒๕ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๘/๓. ๒๖ดตู วั อยา่ งคาอธบิ ายใน ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๘/๓,ว.ิ ม.อ. (ไทย) ๔/๑/๙.

๒๓๑ แหง่ ใดแหง่ หนึง่ เมื่อเสด็จหลีกไปชาวเมืองไมม่ ีอะไรบชู า จงึ มักนาของหอม และดอกไม้ไปยังวดั พระเช ตวนั วางไว้หน้าประตูพระคนั ธกฏุ ิ อนาถปณิ ฑกิ เศรษฐีจงึ นาเรื่องไปปรึกษากบั อานนท์ พระอานนท์ได้แสดงความเห็นไว้ว่า ต้นพระศรีมหาโพธ์ิที่พระพุทธเจ้าอาศัยเป็นที่ตรัสรู้ ถึงพระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ หรือปริพพานแล้วก็ตาม ก็เป็นเจดีย์เหมือนกัน จากน้ันจึงได้นา ความกราบทูลพระพุทธเจ้าเพ่อื ขอปลูกต้นพระศรมี หาโพธทิ์ ี่เชตวัน เพือ่ ให้ประชาชนได้ใช้เป็นท่ีเคารพ สักการะเม่ือพระพุทธเจ้าเสด็จหลีกไปท่ีอื่น ซึ่งก็ได้ความเห็นชอบ มีพุทธานุญาตตอบพระอานนท์ไป ว่า “ดแี ลว้ อานนท์ เธอจงปลกู เถิด เมื่อเป็นเช่นนั้น เชตวนั จักเปน็ ดังพระตถาคตอยเู่ ปน็ นิตย์”๒๗ ในสังคมไทย มีความเชื่อในลักษณะเดียวกันดงั กลา่ วข้างต้น จึงมีการปลูกตน้ พระศรีมหา โพธ์ิอยู่ท่ัวไป๒๘ โดยเฉพาะตามพระอารามต่าง ๆ ท้ังน้ีเพื่อเป็นสื่อสัญลักษณ์ถึงพระพุทธเจ้า และการ ตรัสรู้ของพระองค์ พร้อมท้ังให้ความเคารพเสมือนเปน็ ตัวแทนของพระพุทธองค์ จึงมกี ารนาต้นโพธิ์ไป ใช้เป็นสัญลักษณ์สาคัญ เช่น ตราสัญลักษณ์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม, ตรา สญั ลักษณป์ ระจาจังหวดั ปราจีนบุร,ี ธงสญั ลกั ษณ์ประจาจงั หวัดปราจนี บุรี ๕.๑.๒ กลมุ่ สัญลกั ษณ์ท่ีได้รับอทิ ธพิ ลจากพระพุทธศาสนา หมายถึง กล่มุ สญั ลักษณ์ที่ ไม่มีปรากฏอยู่ในคัมภีร์ แต่สามารถส่ือความหมาย หรือให้มีความหมายถึงพระพุทธศาสนาในมิติใด มิติหนง่ึ แสดงเป็นตาราง และวิเคราะห์ตามลาดบั ดงั ต่อไปนี้ ตารางที่ ๕.๗ กลุม่ สญั ลกั ษณ์ทไ่ี ด้รับอิทธิพลจากพระพทุ ธศาสนา สญั ลักษณ์ในสังคมไทย รูปสญั ญะสือ่ พระพุทธศาสนา ความหมายสัญญะ ตราแผน่ ดนิ สยาม พร ะม หา สัง ว า ลน พรั ตน์ ร า พระพุทธศาสนา ธงพทิ กั ษ์สนั ตริ าษฎร์ ชนวราภรณ์ วิเคราะห์ดังน้ี พระมหาสังวาลย์นพรัตน์ราชวราภรณ์ เป็นส่วนหน่ึงของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ถูก นาไปใช้เป็นส่วนประกอบของตราแผ่นดินสยาม ซ่ึงสร้างข้ึนในสมัยรัชกาลที่ ๕ เพ่ือพระราชทานแก่ พระบรมวงศานวุ งศ์ และข้าราชการที่กระทาคุณงามความดีต่อชาติอย่างใหญ่หลวง โดยเงื่อนไขสาคัญ ในการพระราชทานน้ันกาหนดไว้อย่างชัดเจนว่า จะพระราชทานให้แก่บุคคลที่เป็นพุทธมามกะ เท่าน้ัน๒๙ พระมหาสังวาลย์จึงถูกกาหนดให้เป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา และเม่ือตรา ๒๗ขุ.ชา.อ.(ไทย) ๓/๖/๒๖๘. ๒๘ดรู ายช่ือสถานที่ต้นโพธิท์ ่ีมีขนาดเส้นรอบต้นเกิน ๕ เมตร ข้ึนไป จานวน ๑๔๑ ต้น ท่ัวประเทศ ใน สุจิตต์ วงษ์เทศ, พระศรีมหาโพธิ์, (กรงุ เทพฯ : โครงการมลู นิธิตาราสงั คมศาสตรแ์ ละมานุษยศาสตร์, ๒๕๔๖), หน้า ๔๑-๔๒. ๒๙สว่ นประกอบอ่นื ๆ เชน่ พระมหาพิชยั มงกฎุ เปล่งรศั มี หมายถงึ องคพ์ ระมหากษัตริย,์ จกั รและตรี ไขว,้ ฉตั ร ๗ ช้นั , รปู โลห่ แ์ บ่งเปน็ ๓ หอ้ ง หอ้ งด้านบนเป็นชา้ งสามเศยี ร หอ้ งด้านขวาเปน็ ช้างเผอื ก ดา้ นซา้ ยเป็นกริช ไขว้, คชสีห์ และราชสีห์ประคองฉัตร, พระมหาสงั วาลยน์ พรัตน์ราชวราภรณ์ และสายสร้อยจุลจอมเกล้าพร้อมดวง ตรา เป็นต้น ดูรายละเอียดใน ตราแผ่นดินของไทย, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://th.wikipedia.org/wiki/ [๖ กันยายน ๒๕๕๖].

๒๓๒ สัญลักษณ์ดังกล่าวถูกนามาใช้เป็นส่วนประกอบของตราแผ่นดินสยาม หรือธงพิทักษ์สันติราษฎร์ ก็ ยงั คงหมายถงึ พระพทุ ธศาสนาตามเดิม การนามหาสังวาลย์มากาหนดเป็นสัญลักษณ์ของชาติ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะสถาบัน กษัตริย์ในสังคมไทยมีความผูกพันกับพระพุทธศาสนา และสถาบันพระพุทธศาสนาก็มีความผูกพันกับ สถาบันชาติเป็นระยะเวลายาวนาน สัญลักษณ์บางอย่างท่ีเนื่องด้วยชาติ หรือพระมหากษัตริย์จึงโยง ไปหาพระพุทธศาสนาด้วย เช่น การใช้ฉัตรแสดงความเป็นหน่อเน้ือเช้ือกษัตริย์ของสมเด็จพระ สมั มาสัมพุทธเจา้ ๓๐ การอธบิ ายธงสขี าวในธงไตรรงคว์ า่ หมายถึงพระพุทธศาสนา๓๑ เป็นต้น อน่ึง การใช้ตราสัญลักษณ์เก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นมาเป็นสัญลักษณ์สื่อถึง พระพุทธศาสนาเช่นน้ี ไม่ปรากฏในคมั ภรี ์ ท้งั ในส่วนของพระไตรปิฎก และอรรถกถา จงึ ถือได้วา่ การ กาหนดสัญลกั ษณด์ ังกลา่ วน้ีได้รับอทิ ธพิ ลจากพระพุทธศาสนา ตารางที่ ๕.๘ กลมุ่ สญั ลกั ษณท์ ไี่ ด้รบั อทิ ธพิ ลจากพระพุทธศาสนา สญั ลักษณ์ในสงั คมไทย รูปสัญญะส่ือพระพทุ ธศาสนา ความหมายสญั ญะ ธงลกู เสือคณะชาติ ธรรมจกั ร พระพทุ ธศาสนา วเิ คราะห์ดังน้ี พระธรรมจักรถือกาเนิดมาจากแนวคิดเรื่องการแสดงปฐมเทศนาธรรมจักรกัปปวัตน สตู ร ซึง่ มีความหมายวา่ พระสตู รท่วี า่ ดว้ ยเร่ืองพระพุทธเจา้ ทรงหมนุ ล้อแหง่ ธรรมหรอื ธรรมจักร ธนิต อยู่โพธิ์ ได้เปรียบเทียบให้เห็นถึงความสาคัญของธรรมจักรของพระพุทธเจ้า กับ จักกรัตนะของพระเจ้าจักรพรรดิว่าเป็นเครื่องมือแผเ่ ดชานุภาพ แสดงให้เห็นว่า พระพุทธเจ้าแม้ทรง สละความเป็นพระเจา้ จักรพรรดิออกผนวชแล้ว กย็ ังคงนาเอากิรยิ าหมุนจักรของจกั รพรรดิมาใช้ในการ ประกาศธรรม และเรียกจักรของพระองค์ว่า ธรรมจักร๓๒ เม่ือคติเรื่องการสร้างรูปเคารพยังไม่เป็นท่ี นิยม ศิลปินจึงสร้างธรรมจักรขึ้นมาเพื่อเป็นส่ือถึงการแสดงปฐมเทศนา ปัจจุบันแม้จะมีการสร้างรูป เคารพขึ้น แต่คติเร่ืองธรรมจักรในฐานะเป็นสัญลักษณ์ของการประกาศ หรือเผยแผ่พระธรรมคาสั่ง สอนกย็ ังมอี ยู่ ในสังคมไทย ธรรมจกั ร ไม่ได้เปน็ สญั ลักษณแ์ ค่เพียงการหมุนกงล้อแห่งธรรมเท่าน้ัน แต่ ซี่กาของธรรมจักรยังถูกนามาใช้เป็นสัญลักษณ์ของหลักธรรมต่าง ๆ เช่น อริยสัจ ๔, ปฏิจจสมุปบาท ๑๒, ปฏิจจสมุปบาทสมุทยวาร นิโรธวาร ๒๔, ภูมิ ๓๑, และโพธิปกั ขยธรรม ๓๗ ประการ นอกจากนี้ บางบริบทยังใช้เป็นสัญลักษณ์แทนพระพุทธศาสนาอีกด้วย เช่น ธงคณะลูกเสือแห่งชาติ, ตรา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ตราและธงสญั ลักษณป์ ระจาจังหวัดชยั นาท เป็นต้น ๓๐วทิ ย์ พิณคันเงนิ , เครื่องราชภณั ฑ์, (กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พอ์ มรนิ ทร,์ ๒๕๕๑), หนา้ ๓. ๓๑โฮมเพจเพื่อการเผยแพร่พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว “เคร่ืองหมาย แห่งไตรรงค์”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://203.172.205.25/ftp/intranet/KingRamaVI/a006.html [๑๑ กันยายน ๒๕๕๖] ๓๒ธนิต อยโู่ พธ์ิ, ธรรมจกั ร, (กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากรจดั พิมพ์, ๒๕๐๘), หน้า ๑๐.

๒๓๓ ตารางท่ี ๕.๙ กลุ่มสัญลกั ษณท์ ่ไี ด้รบั อิทธพิ ลจากพระพทุ ธศาสนา สญั ลักษณ์ในสงั คมไทย รปู สัญญะส่ือพระพุทธศาสนา ความหมายสัญญะ ตรากระทรวงพลังงาน สัญลักษณโ์ ลกตุ ระ พุทธปัญญา ความหย่ังรู้และ (พระเกตมุ าลา) ความเพียรพยายามในการทาให้ หลุดพ้นจากวฏั สงสาร ดงั เช่นการ ตรัสรู้ถงึ หนทางแห่งนิพพาน วิเคราะหด์ ังน้ี สัญลักษณ์โลกุตตระคือส่วนพระอุษณีษะ ได้แก่ส่วนที่นูนออกมาจากด้านบนของพระ เศียรพระพุทธรูป ถือเป็นสัญลักษณ์สาคัญท่ีสุด เพราะเป็นเครื่องสัญลักษณ์บ่งช้ีว่า ประติมากรรม บุคคลชิ้นนั้น ๆ เป็นพระพุทธรูปหรอื ไม่ อษุ ณีษะจึงแสดงถึงลักษณะพิเศษของพระพุทธเจา้ ในด้านของ ประติมานวทิ ยา๓๓ ศิลปะในแต่ละสมัย พระอุษณีษะจะมีลักษณะแตกต่างกันไป เช่น ศิลปะคันธาระ อุษณีษะเปน็ มวยผม, ศลิ ปะมถุรา ลกั ษณะเปน็ เกสาขมวดขนึ้ ไป ๒-๓ ชนั้ , ศลิ ปะอมราวดี ลักษณะเป็น ทรงกรวยนูนขึ้น๓๔ถ้าเป็นศิลปะเชียงแสน ลักษณะจะคล้ายต่อมน้า หรือดอกบัวตูม, สมัยสมัยลพบุรี ลกั ษณะเปน็ กรวยยอดแหลม, ขณะที่สมัยสโุ ขทัย มีลักษณะเปน็ เปลวเพลงิ ๓๕ สญั ลกั ษณะโลกุตตระ ซ่ึงเป็นตรากระทรวงพลังงานนา่ จะไดร้ บั อิทธิพลจากศลิ ปะสโุ ขทัย เพราะมีลักษณะเป็นเปลวเพลิง พร้อมกันนี้ก็ให้ความหมายใหม่ จากเดิมแสดงถึงพุทธิปัญญา เป็น ความมุ่งม่ันของทุกองคาพยพ ในการทุ่มเทความรู้ความสามารถและความเพียรพยายามคิดค้นหากล ยุทธ์ท่ีดีที่สุด เพ่ือให้ประเทศไทยมีพลังงานใช้อย่างมั่นคงเพียงพอ ปลอดภัย คุ้มค่า มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพ ในราคาท่ีเหมาะสมและเป็นธรรม๓๖ ซึ่งถือเป็นความหมายใหม่ที่ไม่ปรากฏในคัมภีร์ พระพทุ ธศาสนา ตารางที่ ๕.๑๐ กลมุ่ สัญลักษณท์ ไี่ ดร้ ับอทิ ธิพลจากพระพุทธศาสนา สญั ลักษณ์ในสงั คมไทย รูปสัญญะสอื่ ความหมายสญั ญะ พระพุทธศาสนา ตรากระทรวงศึกษาธกิ าร ๑. พระธรรมจกั ร ๑. พระพุทธศาสนา ตราและธงประจาจังหวัดชยั นาท ๒. ซมุ้ เสมา ๓๓เชษฐ์ ติงสัญชล,ี พระพุทธรปู อินเดยี , (กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์เมอื งโบราณ,๒๕๕๔), หนา้ ๓๓. ๓๔เรือ่ งเดยี วกนั , หนา้ ๓๔-๓๕. ๓๕ราชบณั ฑติ ยสถาน, ศพั ทานกุ รมศิลปะไทย, (กรงุ เทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน จัดพิมพ,์ ๒๕๕๐), หน้า ๖๑. ๓๖กระทรวงพลังงาน, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.energy.go.th/?q=th/symbol[๖ กันยายน ๒๕๕๖]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook