Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

Published by Guset User, 2023-06-30 18:20:38

Description: สัญลักษณ์พุทธฯ

Search

Read the Text Version

๓๔ แผนผงั ประกอบที่ ๒.๕ จาลองแบบการรับร้ผู ่านการปฏสิ ัมพันธ์สญั ลกั ษณ์๓๕ บริบท (Context) สญั ลักษณ์ (Symbol) Things Meaning Interpret บุคคล (Actor) ปฏสิ ัมพันธ์ Objects/ Act Interact Others กระบวนการแปลความหมาย Interpretive Process (Ongoing Process)  ความต่อเน่อื งของการกระทา(Line of Actions) จากแผนผังประกอบที่ ๒.๕ อธิบายความไดด้ งั น้ี การแสดงออกของพฤติกรรม หรือการกระทบของบุคคล จะเป็นไปตามการแปลความ (Interpret) และให้ความหมาย (Meaning) เก่ยี วกับสิ่งนัน้ ๆ ส่วนการกระทา (Action) อาจจะเป็นการ กระทาโดยลาพังของบุคคล (Individual action) หรือเป็นการกระทาเป็นกลุ่ม หรือตามกลุ่ม (Collective action) หรือเป็นการแสดงออกร่วมกันทางสังคม (Social action or joint action) พฤติกรรมการแสดงออก เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ และการให้ความหมาย ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ ปฏิสัมพันธ์ที่มีรูปสัญลักษณ์ (Symbolic interaction) หรือเป็นการมีปฏิสัมพันธ์แบบไม่มีรูปสัญลักษณ์ (Non-symbolic interaction) ดังนั้น การแสดงพฤติกรรมจึงแบ่งออกเป็น ๒ ระดับ คือ การให้ความ เชงิ สัญลักษณ์ และระดับของการแสดงออกของพฤติกรรม หรือระดบั ปฏิสัมพนั ธ์ และการที่บุคคลแสดง พฤตกิ รรมเหมอื นเดมิ หรือซา้ ๆ เดมิ นัน้ ๓๖ ๓๕วรรณภา ศรธี ญั รตั น,์ “ทฤษฎีปฏสิ มั พันธส์ ัญลกั ษณ์: การประยกุ ต์ใช้”, หนา้ ๒. ๓๖เร่ืองเดยี วกนั , หน้า ๓.

๓๕ ๒.๔ ทฤษฎสี ัญลักษณแ์ ละการตีความ (Dominant Symbols) ทฤษฎีสัญลักษณ์และการตีความในที่น้ี จะกล่าวถึงเฉพาะทฤษฎีท่ีถูกพัฒนาข้ึนโดยวิคเตอร์ เทอรน์ เนอร์ (Victor Turner) และคลิฟฟอรด์ เกียรซ์ (Clifford Geertz) ซง่ึ สามารถสรปุ รายละเอียดได้ ดังน้ี๓๗ ทฤษฎีสัญลักษณ์และการตีความ (Dominant Symbols) ของเทอร์นเนอร์ เป็นทฤษฏีที่ใช้ สาหรับวิเคราะห์สัญลักษณ์และตีความสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในพิธีกรรม โดยเทอร์นเนอร์ได้อธิบายไว้ว่า พิธีกรรมนั้นมีลาดับกิจกรรมท่ีแน่นอน ไม่ว่าจะในแง่ของการกระทา คาพูด สิ่งของต่าง ๆ ท่ีใช้ใน พธิ กี รรมน้ัน ๆ ท้ังน้ีเพ่ือสนองตอ่ ความมุ่งหมาย และประโยชน์ของผ้ปู ระกอบพิธกี รรม จากนิยามน้ีเอง ทาให้เห็นว่า การกระทา คาพูด ส่ิงของต่าง ๆ ท่ีใช้ในพิธีกรรมน้ันเองท่ีเป็นสัญลักษณ์ คุณสมบัติของ สัญลักษณ์คือ มีความโดดเด่นและชัดเจน (Condensation) มีความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน (Unification) คือ รวมความหมายหลายอย่างเข้าด้วยกัน มีข้ัวของความหมาย (Polarization) คือ ขั้ว ของอุดมคติ (Ideological Pole) และข้วั ความรู้สึก (Sensory) ครบสมบูรณใ์ นพธิ กี รรม เทอร์นเนอร์ได้อธิบายถึง Totem และการตีความอย่างเป็นระบบ โดยชี้ให้เห็นว่า ในสังคม ดั้งเดิม พิธีกรรมทาหน้าที่ในการเก็บ และถ่ายทอดข้อมูลเก่ียวกับสังคมได้มากท่ีสุด เพราะสัญลักษณ์ใน พิธีกรรม สามารถบอกความหมายได้หลายอย่างในเวลาเดียวกัน สัญลักษณ์ทุกอย่างมีหน้าท่ีตอบสนอง คา่ นิยม บรรทัดฐาน ความเช่ือ ความรสู้ กึ บทบาทสังคม ความสัมพนั ธท์ างสงั คมในระบบวฒั นธรรมของ ชุมชน พิธกี รรมทกุ พธิ กี รรมจึงเป็น “สัญลักษณ์รวม” กรณีตัวอย่างของการศึกษาของเทอร์นเนอร์ก็คือ การประกอบพิธีกรรมของชาวเต็มบู ซึ่ง เป็นชนเผ่าหนึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของแซมเบีย ในทวีปแอฟริกา ชาวเต็มบูเรียกสัญลักษณ์ใน ภาษาของตนว่า kingikijilu มีความหมายว่า ทาเครื่องหมายแกะรอย สัญลักษณ์จึงเป็นเคร่ืองหมาย เชอื่ มโยงระหว่างส่งิ ท่ีไมร่ กู้ บั ส่ิงทรี่ มู้ ากอ่ น กระบวนการสร้างสัญลักษณ์ของชาวเต็มบู คือ การทาให้ความเชื่อ ค่านิยม ความรู้สึก สามารถเห็นจริง และจับต้องได้ สัญ ลักษณ์ ในพิธีกรรมมีคุณ สมบัติที่มีความหลากหลาย (Politely/Multi-Vocality) สัญลักษณ์ตัวเดียวอาจใช้แทนส่ิงต่าง ๆ และมีความหมายหลายซึ่งเป็น กุญแจทางวฒั นธรรม ความเช่ือ สามารถเช่ือมและอ้างอิงความหมายได้กวา้ งขวาง ในการถือปฏิบัติทาง พิธีกรรม ความหมายท้ังหมดจะถูกนามารวมเข้าเป็นหนึ่งเดียว และมีผลทาให้บุคคลในกลุ่มแสดงการ กระทาอย่างท่ีตนปรารถนา สัญลักษณ์จึงมีหน้าที่อีกด้านหนึ่งคือ การรู้สานึกปลดปล่อยอารมณ์ และ แสดงออกมาตามความต้องการ สัญลักษณ์ในพิธีกรรม มีความสัมพันธ์กับกระบวนการทางสังคม เพราะพิธีกรรมก็คือ ข้ันตอนหนึ่งของกระบวนการทางสังคมท่ีมีความเก่ียวพันกับท่าทาง (Gestures) คาพูด (Words) วัตถุ (Objects) โดยจะถือปฏิบัติแตกต่างกันออกไปตามลักษณะและจุดประสงค์ เช่น พิธีกรรมเน่ืองด้วยการ เพาะปลูก การเกบ็ เกี่ยว หรือความเปล่ียนแปลงของฤดูกาล พิธกี รรมเน่ืองด้วยชีวติ ในช่วงวัยตา่ ง ๆ เช่น การเกิด การเปล่ียนผ่านช่วงวัย กระท่ังถึงการตาย พิธีกรรมเน่ืองด้วยความเจ็บป่วย หรือพิธีกรรมท่ี ๓๗สรุปความจาก พิพัฒน์ วิถี, “สัญลักษณ์ในพิธีกรรมงานบวชของกลุ่มชาติพันธุ์ไทย-เขมร: กรณีศึกษา ตาบลเมืองที อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์”, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, (คณะกรรมการ บัณฑิตศกึ ษา: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ นิ ทร์, ๒๕๕๔), หนา้ ๑๕-๑๘.

๓๖ ปฏิบัติเพื่อการปลอบโยนผู้มีความทุกข์ หรือประสบโชคร้ายในชีวิต นอกจากน้ัน ยังมีพิธีกรรมที่ปฏิบัติ โดยผู้มีอานาจทางสังคม โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือความแข็งแกร่ง ความม่ังคั่ง เป็นต้น ซึ่งในแอฟริกา มี พิธีกรรมมากมาย และมีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกันออกไป พร้อมกันน้ี สัญลักษณ์ที่ใช้ในพิธีกรรมก็มีความ แตกตา่ งตามไปดว้ ย เทอรน์ เนอร์ ได้แนะนาการศึกษาสัญลักษณ์ในพิธีกรรมว่า อาจสืบสวนได้ ๓ ทาง ๑) ปฎิบัติ การทางความหมาย (Operational meaning) ๒) การศึกษาการอธิบายความหมาย (exegetical meaning) และ ๓) การจัดวางตาแหน่งแห่งท่ีของความหมาย (positional meaning) ที่เป็นเหมือน หนทางของการเช่ือมโยงสาหรับสองสานักทางมานุษยวิทยาน้ี น่ีคือส่ิงท่ีเทอร์เนอร์ ได้ใช้ในการศึกษา พิธีกรรม ที่เป็นรูปแบบทางวัฒนธรรม เทอร์เนอร์ ได้ศึกษาการแสดงความหมายเชิงสัญลักษณ์ กระบวนการทางพิธีกรรม ท่ีเป็นการเปลี่ยนผ่านจากสถานะหนึงไปสู่อีกสถานะหน่ึง สภาวะท่ีอยู่ในช่วง ของการเปลี่ยนผ่านก็คือสภาวะคุณสมบัติท่ีไร้โครงสร้าง หรือช่วงเวลาที่เรียกว่าช่วงชายขอบ (Liminal period/Liminality) ที่สร้างความหมายสัญลักษณ์ในพิธีกรรม เพราะคุณสมบัติแห่งช่วงชายขอบ เป็น เงอ่ื นไขที่ทาให้เกิด วรรณกรรมปรัมปรา สัญลกั ษณ์ทางพธิ ีกรรม๓๘ ในส่วนของความสัมพันธ์ระหว่างสัญลักษณ์กับจักรวาลวิทยาน้ัน เทอร์นเนอร์กล่าวว่า เน่ืองจากพิธีกรรมส่วนมาก ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของนิทานปรัมปรา และมักเกี่ยวข้องกับส่ิงเหนือธรรมชาติ เช่น กาเนิดมนุษย์ กาเนิดจักรวาล เป็นต้น สัญ ลักษณ์สาคัญที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรมจึงมี ความสัมพันธ์โดยตรงกับความเชื่อทางจักรวาลวิทยานั้น ๆ เช่น ความเช่อื ทางจักรวาลวทิ ยาของ ชนเผ่า Dogonในแอฟรกิ าตะวันตก ซง่ึ อธบิ ายว่า สัญลักษณ์มาจากจุดกาเนิดของความสัมพันธ์ระหว่างสัตว์ ผัก และพื้นพิภพ ทงั้ ยงั เปรยี บอวัยวะในร่างกายกับสง่ิ ธรรมชาติ เชน่ ดิน น้า ลม ไฟ ภาพประกอบที่ ๒.๖ สัญลักษณ์ที่ชนเผ่า Dogon ของชาวแอฟริกาใช้ส่ือความหมายเชิง จกั รวาลวิทยา๓๙ สาหรับแนวคดิ ของคลฟิ ฟอร์ด เกยี รซ์ (Clifford Geertz พ.ศ. ๒๔๖๙-๒๕๔๙) เป็นแนวคิด ท่ีวางอยู่บนบุคคล และการสร้างความหมาย เขาได้ใช้ทฤษฎีเชิงปรากฎการณ์วิทยา ในการวิเคราะห์ เก่ียวกับบุคคล เวลา และการปฎิบัติการ ดาเนินการ ดังเช่นการศึกษาที่บาหลี ไม่ว่าจะเป็น ๓๘ ณัฐวุฒิ สงิ หก์ ลุ , “มานษุ ยวทิ ยากับการศกึ ษาสัญญะ” (ออนไลน์). http://nattawutsingh.blogspot. com/2013/10/blog-post.html (๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๘). ๓๙http://ebonyhazeinc.blogspot.com/2011/06/dogon-tribe-of-mali-and-sirius.html#!/ 2011/06/dogon-tribe-of-mali-and-sirius.html

๓๗ Conduction of Bali ในปี ๒ ๕๐ ๙ หรือ Deep play : Note on the balinese cockfight ในปี ๒๕๑๖ ท่ีเก่ียวกับการตีความสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม เช่น การชนไก่ของผู้ชายบาหลี ท่ีไก่เป็น สัญลักษณ์ของผู้ชาย และวัฒนธรรมของชาวบาหลี ในการเปรียบเทียบ คาว่า Sabange ท่ีใช้สาหรับไก่ ชน ถูกใช้ในความหมายถึง วีรบุรุษ นักรบ ผู้ชนะ ผู้ชายเจ้าชู้ เสือผู้หญิง หรือความแข็งแรงบึกบึน หรือ แม้แต่เร่ืองของการแต่งงาน การทาสงคราม การทะเลาะวิวาทในเรื่องสมบัติมรดก ก็จะถูกเปรียบเทียบ กับไก่ชน ท่ีแสดงให้เห็นอัตลักษณ์เฉพาะตัว องค์กรทางสังคมและการจัดช่วงช้ันทางสังคม ที่คนบาหลี บอกเลา่ เรอ่ื งราวของพวกเขาเก่ยี วกบั ตัวพวกเขาเอง เกียร์ซ ได้นาเสนอแนวคิดท่ีน่าสนใจ ๒ ประเด็น๔๐ ประการแรกคือ เร่ืองแบบแผนของ วัฒนธรรม (Cultural Pattern) หรือชุดของสัญลักษณ์ (Set of Symbol) ท่ีมีสองประเภทคือ ตัวแบบ ของ (Model of) และตัวแบบสาหรับ (Model for) ตัวแบบของ คือ การสร้างโครงสร้างของสัญลกั ษณ์ ขึ้นมาเลียนแบบส่ิงที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ซึ่งอาจจะหมายถึงสิ่งท่ีเป็นจริง (Model of Reality) ดังน้ัน สัญลักษณ์ถูกสร้างข้ึนมาจากความจริงหรือจาลองความจริงขึ้นมา เพ่ือให้เรารู้จักหรือเข้าใจความจริง ดังนั้น หน้าที่ของนักมานุษยวิทยาคือ การแยกระหว่างความจริงกับสิ่งท่ีคนให้ความหมายต่อความจริง นั้น เกียร์ซอธิบายว่า แบบแผนทางวัฒนธรรมมีลักษณะสองด้านคือ การให้ความหมายแก่ส่ิงที่เป็นจริง ทางสังคม และทางกายภาพ โดยปรับรูปร่างของตัวแบบให้เหมือนสิ่งท่ีเป็นจริง “Model of” กับ การ ปรับรูปร่างของส่ิงที่เป็นจริงให้เหมือนตัวแบบ “Model For” ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ส่ิงท่ีสาคัญในการทา ความเข้าใจระบบสัญลักษณ์คือการทาความเข้าใจความคิดของมนุษย์ที่สร้างรูปแบบจาลองหรือ สญั ลักษณ์ขึ้นมาโดยเลียนแบบจากส่ิงท่ีเป็นจริง ในขณะเดียวกัน สิ่งที่เป็นจริงก็ถูกสรา้ งภายใต้ตัวแบบท่ี มนุษย์คิดข้ึน อาจกล่าวได้วา่ ตัวแบบคือส่ิงท่ีวางแนวทางหรือความสัมพันธ์ทางกายภาพและทางสังคม ของมนุษย์ ประการที่สอง คอื เรือ่ งทัศนะคนในและคนนอก ซ่งึ เกียร์ซกล่าวถึงประสบการณ์ไกลตัวและ ประสบการณ์ใกล้ตัว ท่ีแบ่งแยกระหว่างประสบการณ์ใกล้ตัวที่เป็นประสบการณ์ของผู้ให้ข้อมูลท่ีนิยาม สิ่งท่ีตัวเขาเองหรือคนในสังคมเขามองเห็น รู้สึกอย่างเดียวกัน และประสบการณ์ไกลตัวซึ่งเป็น ประสบการณ์ของเราในฐานะผู้ศึกษาหรือผู้เช่ียวชาญอื่น ๆ เกียร์ซเน้นย้าให้เราวิเคราะห์ เสาะหา รูปแบบของสัญลักษณ์ ไม่ว่าจะเป็นคาพูด รูปจาลอง สถาบันและพฤติกรรม การกระทา เพื่อทาความ เข้าใจว่าพวกเขาในแต่ละแห่งมีการมองตัวเองและนาเสนอตัวตนของตัวเองต่อคนอ่ืน รวมท้ังตัวตนของ เขาในสังคมเปน็ อย่างไร ๔๐ สรุปความจาก ณัฐวุฒิ สิงห์กุล, “แนวคิดทฤษฎีมานุษยวิทยาการตีความหมาย” [ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา : http://nattawutsingh.blogspot.com/2014/01/4-interpretive-anthrolology-approach.html [๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘].

๓๘ ๒.๕ สรปุ ท้ายบท สัญลักษณ์ หมายถึง สิ่งใด ๆ ท่ีมนุษย์กาหนดข้ึนเพ่ือส่ือถึง หรือให้มีความหมายถึงส่ิงอีก อย่างหนง่ึ นอกเหนือจากตวั มนั เอง สัญลักษณ์ เปน็ เคร่อื งมือส่ือสารทม่ี นษุ ย์ใช้มาตั้งแตโ่ บราณก่อนทจี่ ะมีภาษาเขียน มนุษย์ในแต่ละชุมชน ท้องถิ่น ต่างกาหนดสัญลกั ษณ์เพ่ือใช้สอื่ สารกันระหว่าง สัญลักษณ์จึง มีหลายแขนง ครอบคลุมศาสตร์ต่าง ๆ เช่น โหราศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ประเพณี วัฒนธรรม ปรชั ญา ศาสนา สัญลักษณ์หน่ึง ๆ จะประกอบด้วยส่วนประกอบ ๒ ประการเสมอ กล่าวคือ รูปสัญญะ (signifier) กับความหมายสญั ญะ (signified) รูปสัญญะ หมายถึง รูปที่นามาใช้เพื่อถ่ายทอดหรือสื่อความหมาย ซ่ึงอาจเป็นตัวหนังสือ ภาพ เสียง หรือวัตถุใด ๆ ก็ตามท่ีสามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส ส่วนความหมายสัญญะหมายถึง ความหมาย มโนภาพ หรือความเห็นทร่ี ปู สัญญะส่อื ออกมา รปู แบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้ในการส่ือสาร จาแนกได้ ๕ กล่มุ ได้แก่ รูปแบบเหมอื น (Iconic mode) รูปแบบบ่งชี้ (Indexical mode) รูปแบบเครื่องหมายหรือป้าย (Signic mode) รูปแบบ สญั ญาณหรอื รหสั (Signal, Code) และรปู แบบสัญญะหรือสญั ลักษณ์ (Sign, Symbol) ตามแนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง มนุษย์ส่ือสารกันผ่านหลายช่องทาง และหนึ่งในนั้นก็คือ การใช้สัญลกั ษณ์ สัญลกั ษณ์เป็นข้อตกลงร่วมกันของสังคม การปฏสิ ัมพนั ธ์โดยใช้สัญลักษณ์ทาให้มนุษย์ ไม่ตอ้ งใชส้ ญั ชาตญาณในการสร้างพฤติกรรมเพ่อื ความอยรู่ อด อนึง่ ในงานวจิ ยั นี้ ผู้วจิ ัยจะใชก้ รอบบทนิยามสัญลกั ษณ์ แนวคิดและทฤษฎสี ัญลักษณ์ ทฤษฎี ปฏิสมั พันธ์สญั ลกั ษณ์ ทฤษฎสี ัญลักษณ์และการตีความ โดยเลือกเอาเฉพาะส่วนท่ีเกีย่ วข้อง เปน็ พ้ืนฐาน ในการวิเคราะห์การจัดกลุ่มสัญลักษณ์ ที่มาของสัญลักษณ์ รูปแบบสัญลักษณ์ที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ พระไตรปฎิ ก และคมั ภีร์อรรถกถา

๓๙ บทท่ี ๓ สญั ลักษณ์ทป่ี รากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ๓.๑ กาเนดิ พุทธสัญลกั ษณ์ กอ่ นท่ีจะได้กล่าวถึงสัญลักษณ์ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา เบ้ืองต้น จะได้กล่าวถึงจุดเร่ิมต้น หรือจุดกาเนิดการใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาสักเล็กน้อย ท้ังนี้เพ่ือความเข้าใจตรงกัน และเพ่ือ เป็นพนื้ ฐานของการศึกษาต่อไป พระพุทธศาสนา เป็นระบบคาสอนท่ีได้จากการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ส่งิ ท่ีพระองค์ตรสั รู้ คือสัจธรรม หรือความจริงที่มีอยู่โดยธรรมชาติก่อนแล้ว การนาความจริงที่ได้จากการตรัสรู้มาสั่งสอน เวไนยสัตว์ท้ังหลาย กระทาโดยการบัญญัติ อย่างน้อยท่ีสุดก็ในรูปของภาษาขึ้นเพื่อส่ือถึงสัจธรรมท่ี ทรงตรัสรู้แล้วนั้นให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ถือเป็นจุดเร่ิมต้นของการกาเนิดสัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนา ดังข้อความในพระสูตร๑ ซ่ึงระบุไว้ว่า “ครั้นรู้แล้ว บรรลุแล้วจึงบอก (อาจกฺขติ) แสดง (เทเสติ) บัญญัติ (ปญฺญเปติ) กาหนด (ปฏฺฐเปติ) เปิดเผย (วิวรติ) จาแนก (วิภชฺชติ) ทาให้ง่าย (อุตตฺ านีกโรติ)” สะท้อนใหเ้ หน็ หลักการ และข้อเทจ็ จริงดงั กล่าว ในปฐมเทศนาธรรมจักรกัปปวัตนสูตร ซึ่งทรงแสดงคร้ังแรกแก่ปัญจวัคคีย์นั้น หลังจากท่ี ทรงแสดงท่ีสุด ๒ อย่างที่บรรพชิตไม่ควรเสพแล้ว ก็ทรงแสดงอริยสัจ ๔ อันได้แก่ ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ และทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ท้ายพระธรรมเทศนา มีข้อความขมวดสรุปการแสดงปฐม เทศนาครั้งน้ีด้วยบทบาลีว่า “เอต ภควตา พาราณสิย อิสิปตเน มิคทาเย อนุตฺตร ธมฺมจกฺก ปวตฺติต อปฺปฏิวตฺติย สมเณน วา พฺราหฺมเณน วา เทเวน วา มาเรน วา พฺรหฺมุนา วา เกนจิ วา โลกสฺมินฺติ”๒ อนั เปน็ การใชธ้ รรมจักรสื่อถงึ การเปิดเผยคาสอนคร้งั แรก ซง่ึ ไดม้ กี ารนาไปพฒั นาเปน็ รปู แบบธรรมจักร เพอื่ ส่ือถงึ การเผยแผ่หลักธรรมคาสัง่ สอน ตลอดจนสอ่ื ความหมายอื่น ๆ ในเวลาตอ่ มา อน่ึง เม่ือหลักธรรมคาส่ังสอนได้รับการประกาศ เปิดเผย แสดงแล้ว ก็มีผู้เล่ือมใสหลักคา สอน และเข้ามาขอบรรพชาอปุ สมบท ทาใหเ้ กิดชุมชนทเี่ รียกว่า สังฆะ ข้ึน ท้ายท่ีสดุ ได้ก่อกาเนิดพุทธ บริษัทท้ัง ๔ ได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และอุบาสิกา พร้อมกันน้ีก็มีบัญญัติสัญลักษณ์ในรูปแบบ ตา่ ง ๆ มาใชเ้ พ่ือการสอื่ สาร หรือปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มสังฆะน้ี ซ่ึงจะได้พจิ ารณารายละเอยี ดในแต่ละ คัมภรี ์ตามลาดับ เริ่มจากพระวินัยปฎิ ก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก และคัมภีร์อรรถกถาเรียง ตามลาดบั ๑องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๑๓๗/๓๘๕. ๒ว.ิ มหา. (บาลี) ๔/๑๗/๒๒. บาลี: เอต ภควตา พาราณสยิ อิสิปตเน มิคทาเย อนุตฺตร ธมมฺ จกกฺ ปวตฺ ตติ อปปฺ ฏวิ ตตฺ ิย สมเณน วา พฺราหฺมเณน วา เทเวน วา มาเรน วา พฺรหฺมุนา วา เกนจิ วา โลกสฺมินฺติ, วิ.มหา. (ไทย) ๔/๑๗/๒๔. แปล: ธรรมจักรอันประเสริฐนี้ พระผูม้ ีพระภาคให้เป็นไป ณ ปา่ อิสปิ ตนมคฤทายวัน เมืองพาราณสี อัน สมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลกหมุนกลบั ไมไ่ ด้

๔๐ ๓.๒ สญั ลักษณท์ ีป่ รากฏในพระวินยั ปฎิ ก พระวินัยปิฎกมีทั้งหมด ๘ เล่ม คือต้ังแต่เล่มท่ี ๑-๘ แบ่งเป็น ๕ คัมภีร์ ได้แก่ ปาราชิก, ปาจิตตีย์, มหาวรรค, จุลวรรค, และปริวาร ในบรรดาคัมภีร์เหล่าน้ี ค้นพบ (๑) รูปแบบการใช้ สญั ลักษณท์ ี่ปรากฏในคมั ภรี ์ (๒) รปู สัญญะ (๓) ความหมายสญั ญะดงั ตารางท่ี ๓.๑ ตารางท่ี ๓.๑ รูปแบบสัญลกั ษณ์ในคมั ภรี ์ ท่ี รูปแบบการใช้สัญลักษณ์ในคัมภีร์ รูปสญั ญะ ความ น่งิ หมายสัญญะ ๑ ๑.๑ พระพุทธเจา้ รับนิมนต์เวรัญชพราหมณ์ดว้ ยอาการน่งิ ๓ รับนิมนต์แลว้ ๑.๒ พระสทุ นิ รับนมิ นตบ์ ดิ าโดยอาการน่งิ ๔ น่งิ ๑.๓ พระอนรุ ทุ ธะรับนิมนต์ดว้ ยอาการนิ่ง๕ ปฏิเสธ ๑.๔ สัจจนิครนถ์นมิ นต์ภิกษไุ ปทาภัตกจิ ที่บ้าน เมื่อเหน็ ภกิ ษุ นิง่ ก็ทราบว่าทา่ นรบั นมิ นต์๖ ๒ เม่ือพวกเพ่ือนกล่าวอย่างนี้ สทุ ินกลนั ทบตุ รก็ได้แตน่ งิ่ เฉย๗ ๓ ในสังฆกรรม มติเห็นชอบ ถือเอาโดยอาการน่ิงเช่นประโยค น่งิ เห็นชอบ ว่า “ท่านทั้งหลายบริสุทธิ์แล้วในธรรมคือปาราชิก ๔ สิกขาบทนี้ เพราะฉะนั้นจึงน่ิงข้าพเจ้าขอถือความนิ่งน้ัน เป็นมติอย่างนี้”๘ ๔ ๔.๑ เวรัญชพราหมณ์ทราบว่าพระพุทธเจ้ารับนิมนต์แล้ว ก็ ทาประทักษิณ แสดงอาการ ไดท้ าประทกั ษณิ ๓ รอบแล้วเดนิ จากไป๙ เคารพ ๔.๒ พระเจ้าพิมพิสารเสด็จเข้าเฝ้า ครั้นทรงเสร็จส้ินภารกิจ แลว้ ก็ทรงกระทาประทักษิณ ๓ รอบ๑๐ ๔.๓ ท้าวสหัมบดีพรหมเขา้ เฝ้าเสร็จแล้วก็กระทาประทักษิณ อนั ตรธานไป๑๑ ๕ พระเจ้าพิมพิสารยกพลรบกับกษัตริย์ลิจฉวีเม่ือได้รับชัยชนะ ตีกลอง ประกาศชัย แลว้ ก็รับสั่งใหต้ ีกลองส่งสญั ญาณว่าทรงชนะแลว้ ๑๒ ชนะ ๓วิ.มหา.(ไทย) ๑/๑๕/๘,วิ.มหา. (ไทย) ๑/๒๒/๑๕.วิ.มหา. (ไทย) ๒/๒๒๑/๓๘๐. ๔ว.ิ มหา. (ไทย) ๑/๓๒/๒๒. ๕วิ.มหา. (ไทย) ๒/๕๐๔/๕๔๕, ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๓๖๓/๔๐๐. ๖วิ.มหา. (ไทย) ๒/๕๐๔/๕๔๕, ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๓๖๓/๔๐๐. ๗วิ.มหา. (ไทย) ๑/๒๘/๑๙. ๘ว.ิ มหา. (ไทย) ๓/๖๗๑/๑๘, วิ.มหา. (ไทย) ๓/๑๑๓๑/๓๓๐. ๙ว.ิ มหา.(ไทย) ๑/๑๕/๘. ๑๐วิ.มหา. (ไทย) ๒/๓๕๗/๔๘๔.วิ.ม. (ไทย) ๔/๙๐/๑๔๖. ๑๑ว.ิ ม.(ไทย) ๔/๙/๑๕. ๑๒ว.ิ มหา. (ไทย) ๑/๒๓๑/๒๔๖.

๔๑ ตารางที่ ๓.๑ (ต่อ) ที่ รูปแบบการใช้สัญลักษณใ์ นคมั ภรี ์ รปู สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๖ สงฆ์ต้องการประกาศให้รู้ว่า ไม่ต้องการคบค้าสมาคมกับ คว่า/หงาย ประกาศไม่ คฤหัสถ์ผู้ประพฤติผิดต่อสงฆ์ ๘ ลักษณะ มีขวนขวายเพ่ือ บาตร ต้อนรับ/ ไม่ใช่ลาภ ไม่ใช่ประโยชน์ ด่า ยุยง ติเตียนพระพุทธเจ้า พระ ยกเลกิ ธรรม พระสงฆ์ เป็นตน้ ๑๓ ประกาศ ๗ สตรีผู้หนึ่งต้องการความเป็นสิริมงคล จึงปูผ้าขาวให้พระ เหยยี บผา้ ขาว สิริมงคล เหยียบ พระพุทธเจา้ ทรงอนญุ าตใหเ้ หยยี บได้๑๔ ๘ การนิมนต์หรือเช้ือเชิญสมณะมาใช้สอยอาคาร หรือ นิมนต์สมณะ สริ มิ งคล ส่ิงก่อสร้างใหม่ถือเป็นสิริมงคล พระโพธิราชกุมารสร้าง มาใช้สอย ปราสาทใหม่ กน็ ิมนต์พระพทุ ธเจ้าไปเจรญิ กุศล๑๕ อาคารใหม่ ๙ พระพุทธเจ้าอนุญาตให้ภิกษุใช้เสียงกระแอมก่อนเขา้ ห้องน้า กระแอม ม/ี ไม่มีคนอยู่ เพื่อตรวจสอบดูว่ามีคนอยู่ข้างในหรือไม่โดยการกระแอม ตอบ๑๖ ๑๐ พระพุทธเจ้าปรับอาบัติแก่ภิกษุผู้โพกผ้าซึ่งเป็นสัญลักษณ์ การโพกศีรษะ เครื่องหมาย ของชาวบ้าน๑๗ ชาวบ้าน ๑๑ พระเจ้าปัสเสนทิโกศลเห็นภิกษุเล่นน้า ต้องการกราบทูล ฝากน้าอ้อยไป ฟ้องร้อง พฤติกรรมให้ทรงทราบ จึงฝากภิกษุเหล่าน้ันนาน้าอ้อยไป ถวาย แทน๑๘ ๑๒ พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ใช้ผ้าพาดประตูก่อนเข้าห้องน้า การพาดผ้าที่ มคี นอยู่ เพอื่ เป็นสัญลักษณ์ว่ามคี นอยขู่ า้ งใน๑๙ ประตู ๑๓ ๑๓.๑ เมื่อภิกษุตัดต้นไม้ท่ีชาวบ้านนับถือ ทาให้ชาวบ้านไม่ ตน้ ไม้ เจดีย์ พอใจ ตาหนิ จนเป็นเหตุให้พระพุทธเจ้าบัญญัติสิกขาบท (ท่ชี าวบ้านนบั (สิ่งเคารพ) หา้ มตัดตน้ ไม๒้ ๐ ถือ) ๑๓.๒ ในเมืองราชคฤห์มีต้นไทรต้นหนึ่งเป็นเจดีย์ เรียกว่า สุประดษิ ฐ์เจดีย์ พระพุทธเจา้ เคยเสดจ็ ประทบั ๒๑ ๑๓วิ.จู. (ไทย) ๗/๒๖๕/๔๖. ๑๔ว.ิ จ.ู (ไทย) ๗/๒๖๘/๕๓. ๑๕วิ.จ.ู (ไทย) ๗/๒๖๘/๔๙. ๑๖วิ.จู.(ไทย) ๗/๓๗๓/๒๔๓. ๑๗วิ.ม.(ไทย) ๕/๓๗๒/๒๔๘. ๑๘วิ.มหา. (ไทย) ๒/๓๓๕/๔๗๐. ๑๙ว.ิ จ.ู (ไทย) ๗/๓๗๓/๒๔๓. ๒๐วิ.มหา. (ไทย) ๑/๓๖๕/๔๐๒. ๒๑ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๕๕/๖๕.

๔๒ ตารางที่ ๓.๑ (ตอ่ ) รูปสญั ญะ ความ ท่ี รปู แบบการใช้สญั ลักษณใ์ นคัมภีร์ ผ้าขาว หมายสัญญะ บริสุทธิ์/ไมม่ ี ๑๔ ๑๔.๑ นิยมเปรยี บผ้าขาวกับความบริสทุ ธิ์ ไม่มีมลทนิ ๒๒ นิมิต ๘ ๑๔.๒ภัททวัคคีย์ ๓๐ ได้บรรลุธรรม ก็มีการอุปมาว่าเหมือน ประตูโคดม มลทนิ ผา้ ขาว ปราศจากมลทิน๒๓ ทา่ โคดม บอกเขตสีมา เฉลิมพระ ๑๕ วัตถุ ๘ ประการที่ทรงอนุญาตเป็นนิมิต หรือเครื่องหมาย รอยสกั สาหรับกาหนดไว้เพอื่ บอกเขตสงั ฆกรรม๒๔ เกยี รติ เงาแดด ๑๖ สุณีธะและวัสสการะมหาอามาตย์ ได้รับมอบหมายให้ดูแล หา้ มอปุ สมบท สร้างเมืองใหม่ที่ปาฏลีบุตร เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จผ่านมาก็ ถวายการต้อนรับ พร้อมกับคิดและต้ังใจว่า พระพุทธเจ้า บอกเวลา เสด็จออกทางประตูไหน ข้ึนท่าเรือไหน ก็จะต้ังช่ือตามน้ัน จึงเปน็ ทมี่ าของประตูโคดม และท่านา้ โคดม๒๕ ๑๗ ผู้มีรอยสักถือว่าต้องอาญาแผ่นดิน จัดเป็น ๑ ในบุคคล ๓๒ ประเภทท่ีทรงห้ามให้การบรรพชา/อุปสมบท ภิกษุใดฝ่าฝืน ปรับโทษ๒๖ ๑๘ ในสังฆกรรมว่าดว้ ยการอุปสมบทพระพทุ ธเจ้าทรงอนุญาตให้ ใชเ้ งาแดดวัด เพ่ือบอกเวลา๒๗ จากตารางที่ ๓.๑ ผู้วิจัยจะวิเคราะห์เนื้อหาเชิงสัญลักษณ์ ๓ ประเด็นหลัก คือ (๑) วิเคราะห์จัดกลุ่มสัญลักษณ์ (๒) วิเคราะห์ท่ีมาของสัญลักษณ์ (๓) วิเคราะห์รูปแบบสัญลักษณ์ตามวิถี หนา้ ที่ (type/mode) ดงั จะได้กลา่ วรายละเอยี ดต่อไป ๓.๒.๑ วเิ คราะห์จดั กลุ่มสญั ลกั ษณ์ (๑) รูปแบบสัญลักษณ์ในพระวินัยปิฎกพบจานวนท้ังสิ้น ๑๘ ชนิด เป็นกลุ่ม สัญลักษณ์ทางการกระทา/กิริยาอาการ จานวน ๑๒ ชนิด, สัญลักษณ์ทางวัตถุ ๔ ชนิด, และ สัญลกั ษณ์ทเ่ี ป็นปรากฏการณ์ จานวน ๒ ชนดิ (๒) สัญลักษณ์ทางการกระทา/กิริยาอาการ ไดแ้ ก่ การนิ่ง, การทาประทักษณิ , การตี กลอง, การโพกศีรษะ, การคว่าบาตร-หงายบาตร,การเหยียบผ้าขาว, การนิมนต์สมณะใช้สอยอาคาร ใหม,่ การกระแอม, การฝากนา้ ออ้ ยไปถวาย, และการพาดผา้ ทปี่ ระตู ๒๒วิ.ม. (ไทย)๔/๒๘/๓๖. ๒๓วิ.ม. (ไทย) ๔/๓๖/๔๖. ๒๔ว.ิ ม.(ไทย) ๔/๑๓๘/๒๑๕. ๒๕ว.ิ ม.(ไทย) ๕/๒๘๖/๑๐๓. ๒๖วิ.ม.(ไทย)๔/๙๕/๑๔๙,ว.ิ ม.(ไทย) ๔/๑๑๙/๑๘๔. ๒๗วิ.จ.ู (ไทย) ๗/๔๒๕/๓๕๓.

๔๓ (๓) สัญลักษณ์ทางวัตถุ ๔ ชนิด ได้แก่ ตน้ ไม้, ผา้ ขาว, นมิ ิต ๗ ประการ มีภเู ขา แผ่น หนิ เปน็ ตน้ , และประตูโคดม ท่าโคดม (๔) สญั ลกั ษณท์ เี่ ป็นปรากฏการณ์ ๒ ชนิด ได้แก่ รอยสัก, และเงาแดด ๓.๒.๒ วิเคราะห์ทมี่ าของสญั ลักษณ์ จากข้อมูลสัญลักษณ์ในพระวินัยปิฎก จานวนทั้งส้ิน ๑๘ ชนิด วิเคราะห์ท่ีมาของ สญั ลักษณ์ ๓ ประเภท คือ ๑) สัญลักษณ์ที่มีมาก่อนพุทธกาล ๒) สัญลักษณ์ที่มาสมัยพทุ ธกาล และ ๓) สัญลกั ษณ์ทีม่ ีหลงั พทุ ธกาล ดังรายละเอยี ดไดด้ งั นี้ (๑) สญั ลักษณท์ เ่ี กดิ หรือมีมาก่อนพุทธกาล สัญลกั ษณก์ ลุม่ นี้ แบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม ยอ่ ย ไดแ้ ก่ ก. สั ญลักษ ณ์ มีมา ก่อน พ ระพุท ธ ศ าส น า แ ละถูก นามา ใช้ใ น พระพุทธศาสนาด้วย ในพระวนิ ยั ปฎิ กพบสัญลกั ษณ์ทีม่ ีลักษณะดงั กลา่ ว จานวน ๖ ชนิดได้แก่ การวัด เงาแดด-บอกเวลา, รอยสักนักโทษ-ห้ามการบรรพชา/อุปสมบท, ต้นไม้-เจดีย์, โพกศีรษะ-คฤหัสถ์, ประทักษณิ -เคารพ ข.สัญลักษณ์มีมาก่อนพุทธกาล แต่ไม่มีความเก่ียวข้องกับพระพุทธ ศาสนา แต่มีปรากฏอยู่ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาในพระวินัยปิฎกพบสัญลักษณ์ที่มีลักษณะ ดงั กล่าวจานวน ๑ ชนดิ ไดแ้ ก่การตีกลอง-ประกาศชัยชนะ (๒) สัญลักษณ์ที่เกิดหรือมีสมัยพุทธกาลเป็นสัญลักษณ์ท่ีถูกกาหนดข้ึนเพื่อใช้ ส่ือสารกันภายในสังคมสงฆ์ หรือพุทธบริษัทเป็นการเฉพาะหรือเข้าใจกันอยู่ในวงจากัด ในพระวินัย ปิฎก พบจานวน ๑๑ ชนิด ได้แก่ การนิ่ง-รับนิมนต์, การน่ิง-ปฏิเสธ, การน่ิง-เห็นชอบ, คว่าบาตร- ห้ามคบ, เหยียบผ้าขาว-สิริมงคล, นิมนต์สมณะใช้สอยอาคารใหม่-สิริมงคล, กระแอม-ถามความมีอยู่ ของคนขา้ งใน, ผ้าพาดประตู-มีคนอยูข่ า้ งใน, นมิ ิต-บอกเขตแดน, ฝากน้าอ้อยไปถวาย-ฟอ้ งพระเลน่ น้า , และประตู/ทา่ นา้ โคดม-อนุสรณ์ (๓) สัญลักษณ์ท่ีเกิดหลังพุทธกาล จากหลักฐานท่ีปรากฏในพระวินัยปิฎกทั้งหมด ๑๘ ชนิด ไม่มีสัญลักษณ์ชนิดใดที่มี หรอื เกิดขึน้ หลงั พทุ ธกาล ๓.๒.๓ วิเคราะหร์ ปู แบบสญั ลักษณต์ ามวิถีหนา้ ท่ี ผู้วิจัยวิเคราะห์รูปแบบเชงิ สัญลักษณ์ในคัมภีร์พระพทุ ธศาสนาตามวิถหี น้าที่(mode) ๕ ประการ กล่าวคือ วิถีหน้าที่แบบเหมือน (Iconic mode), วิถีหน้าที่แบบดัชนี (Indexical mode), วิถีหน้าท่ีแบบเคร่ืองหมายหรือป้าย (Signic mode), วิถีหน้าท่ีแบบสัญญาณหรือรหัส (Signal, Code), และ วิถีหน้าท่แี บบสญั ญะ หรือสญั ลกั ษณ์ (Sign, Symbol) ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี ๓.๒

๔๔ ตารางที่ ๓.๒ รูปแบบสญั ลักษณต์ ามวถิ ีหน้าท่ี วเิ คราะหร์ ปู แบบสัญลกั ษณ์ตามวิถีหนา้ ท่ี ที่ รปู สัญญะ Icon Index Sign Code Symbol ๑ นงิ่ / ๒ นง่ิ / ๓ นิง่ / ๔ ทาประทักษิณ / ๕ ตกี ลอง / ๖ คว่า/หงายบาตร / ๗ เหยยี บผ้าขาว / ๘ นิมนต์สมณะมาใชส้ อยอาคารใหม่ / ๙ กระแอม / ๑๐ การโพกศีรษะ / ๑๑ ฝากนา้ อ้อยไปถวาย / ๑๒ การพาดผ้าทป่ี ระตู / ๑๓ ตน้ ไม้ (ท่ีชาวบา้ นนบั ถอื ) / ๑๔ ผ้าขาว / ๑๕ นิมติ ๘ / ๑๖ ประตูโคดม,ทา่ โคดม / ๑๗ รอยสัก / ๑๘ เงาแดด / จากตารางที่ ๓.๒ สรุปได้ดังน้ี ในคัมภีร์พระวินัยปิฎก มีรูปแบบสัญลักษณ์จาแนก ตามวถิ หี นา้ ทีไ่ ด้ดังนี้ (๑) รูปสัญลักษณ์แบบตัวบ่งช้ี มีจานวน ๗ ชนิด ได้แก่ การตีกลอง, การเหยียบผ้า ขาว, การโพกศรี ษะ, การพาดผ้าหน้าประต,ู นมิ ติ ๘ ประการ, รอยสกั , และ เงาแดด (๒) รูปสัญลักษณ์แบบรหัส จานวน ๕ ชนิด ได้แก่การนิ่ง-รับ, การนิ่ง-ปฏิเสธ, การ น่งิ -เห็นชอบ, การกระแอม, และการฝากน้าอ้อยไปถวาย (๓) รูปสัญลักษณ์แบบสัญญะ จานวน ๖ ชนิด ได้แก่ ประทักษิณ, การคว่า-หงาย บาตร, การนมิ นตส์ มณะมาใช้สอยอาคารใหม่, ต้นไม,้ ผ้าขาว, และประตู-ท่าน้าโคดม

๔๕ ๓.๓ สัญลกั ษณท์ ปี่ รากฏในพระสตุ ตันตปิฎก พระสุตตันตปิฎกมีท้ังหมด ๒๕ เล่ม คือตั้งแต่เล่มที่ ๙-๓๓ แบ่งเป็น ๕ คัมภีร์ ได้แก่ ทีฆ นิกาย, มัชฌมิ นิกาย, สงั ยุตตนิกาย, อังคุตตรนิกาย, ขุททนิกาย ในบรรดาคัมภรี ์เหลา่ น้ี ค้นพบ (๑)รูป สญั ลกั ษณ์ในคัมภรี ์ (๒) ตวั สัญญะและ (๓) ความหมายสัญญะ ดังรายละเอียดตารางท่ี ๓.๓ ตารางที่ ๓.๓ รปู แบบสญั ลกั ษณใ์ นคมั ภีรพ์ ระสตุ ตนั ตปฎิ ก ลาดบั รปู แบบสัญลักษณใ์ นคัมภรี ์ สญั ญะ ความหมายสัญญะ ๑ ๑.๑เจ้ามัลละสร้างท้องพระโรงใหม่ชื่ออุพภต การนิมนตส์ มณะ ความเป็นมงคล กะ จึงได้นิมนต์พระพุทธเจ้าไปใช้สอยเป็น ใชส้ อยอาคาร ปฐมฤกษ์ นัยว่าเพ่ือประโยชน์เกื้อกูล และ ใหม่ ความสุขแกเ่ จ้าของ๒๘ ๑.๒ เจ้าศากยะสร้างท้องพระโรงใหม่ในกรุง กบิลพัสด์ุ ได้นิมนต์พระพุทธเจ้าไปใช้สอยเป็น ปฐมฤกษ์ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพ่ือความสุข ของเจ้าศากยะท้งั หลาย๒๙ ๒ ๒.๑ พระเจ้าทัฬหเนมิใช้จักรแก้วอันเป็นทิพย์ จกั รทิพย์ สน้ิ พระชนม์ ประจาพระองค์เคลอ่ื นจากที่ เป็นสัญลักษณ์ใน เคลอื่ นที่ การสละราชสมบัติ ออกผนวช เพราะร้วู ่า จะมี อายุต่อไปได้อีกไม่นาน จักรแก้วทิพย์จะหายไป ภายใน ๗ วันหลงั จากทรงผนวชแล้ว๓๐ ๒.๒ จักรแก้วทิพย์ เป็นสญั ลกั ษณข์ องกษัตรยิ ์ผู้ ทรงธรรม จะเกิดก็เม่ือกษัตริย์ผู้น้ันต้ังอยู่ใน ธรรม รักษาศีลอุโบสถทุก ๑๔ หรือ ๑๕ ค่า จักรแก้วทิพย์นี้ เมื่อหมุนไปทางทิศใด กษัตริย์ ในทิศนั้น ๆ ก็จักยอมสวามิภักด์ิ เมื่อหมุนไป ครบทิศแล้วก็จะกลับมาต้ังม่ันอยู่ในวัง และไม่ ขยับอีกเลย ถ้าขยับหรือเคล่ือน แสดงว่า จกั รพรรดิองค์นั้นจะสนิ้ อายุขยั ๓๑ ๒.๓ คัมภีร์ระบุว่า ทาเช่นนี้ไปกระทั่งถึง จักรพรรดิองคท์ ่ี ๗๓๒ ๒๘ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๙๗/๒๔๗. ๒๙ม.ม. (ไทย) ๑๓/๒๒/๒๔, ส.สฬ. (ไทย) ๑๘/๒๔๓/๒๔๖. ๓๐ที.ปา.(ไทย) ๑๑/๘๒/๖๑. ๓๑ท.ี ปา.(ไทย) ๑๑/๘๕/๖๓. ๓๒ที.ปา.(ไทย) ๑๑/๘๘/๖๕.

๔๖ ตารางที่ ๓.๓ (ต่อ) ลาดบั รปู แบบสัญลักษณใ์ นคัมภรี ์ สญั ญะ ความหมายสัญญะ ๓ สัจจกะนิครนถ์ ก็ทราบอาการท่ีรับนิมนต์ด้วย นง่ิ รับนมิ นต์แล้ว การนิ่ง๓๓ ๔ กรณีพระอานนท์ทูลให้พระพุทธเจ้าทรงแสดง น่ิง ปฏเิ สธ ปาฏิโมกข์ แต่พระพุทธเจ้าน่ิง แม้จะถูกทูลถึง ๓ คร้ังก็ยังทรงน่ิง ไม่รับนิมนต์พระอานนท์ เนื่องจากทรงเหน็ ว่าบริษทั ไมบ่ ริสุทธ์ิ๓๔ ๕ พราหมณ์อารามฑัณฑะ ได้ฟังธรรมจากพระ คกุ เข่าขวาประนม เคารพ มหากัจจายนะแล้ว ได้คุกเข่าข้างขวาลงบน มือ แผ่นดิน ประนมมือไปยังทิศท่ีพระผู้มีพระภาค เจ้าประทับอยู่ พร้อมเปล่งอุทานสรรเสริญ ๓ คร้ัง “นโมตสฺสภควโต อรหโต สมฺมาสมฺ พุทธฺ สฺส....”๓๕ ๖ ทรงเล่าอดีตชาติของชายโรคเร้ือนช่ือสุปป แซงซา้ ย ไมเ่ คารพ พุทธะ เดิมเป็นลูกเศรษฐี เห็นพระปัจเจกพุทธ เจ้าบิณฑบาตผ่าน แสดงกิริยายาบคาย ด้วย ถ้อยคาว่า ข้ีเรื้อน จากนั้นก็ถ่มน้าลายเดินแซง ซา้ ยไป เศษบาปกรรมทาให้เปน็ ขีเ้ รือ้ น๓๖ ๗ ผู้ใหญ่บ้านชื่ออสิพันธกบุตรรับคาของนิครนถ์ ประทกั ษณิ เคารพ นาฏบุตร ลุกข้ึนจากอาสนะ ไหว้แล้ว กระทาประทกั ษิณ เข้าไปเฝ้าพระผูม้ พี ระภาค ถึงท่ีประทับ ถวายอภิวาทแล้วน่ัง ณ ท่ี สมควร๓๗ ๘ กระทานิมิตโอภาสหลายคร้ังด้วยประโยคว่า นิมิตโอภาส บอกนัย อิทธิบาท ๔ ผู้ใดเจริญทาให้มากแล้ว ถ้าผู้นั้น มุ่งหวัง พึงดารงอยู่ได้ ๑ กัป หรือเกินกว่า ๑ กัป...อิทธิบาท ๔ นี้ พระองค์ได้เจริญ ทาให้ มากแล้ว ตรัสอย่างน้ีถึง ๒ คร้ัง แต่อานนท์ไม่ เขา้ ใจ (มารดลใจ)๓๘ ๓๓ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๓๖๓/๔๐๐. ๓๔ข.ุ อุ. (ไทย) ๒๕/๔๕/๒๖๒. ๓๕อ.ทกุ . (ไทย) ๒๐/๓๘/๘๔. ๓๖ข.ุ อ.ุ (ไทย)๒๕/๔๓/๒๕๘. ๓๗ส.สฬ.(ไทย) ๑๘/๓๖๑/๔๑๓. ๓๘ขุ.อ.ุ (ไทย) ๒๕/๕๑/๒๘๐.

๔๗ ตารางที่ ๓.๓ (ต่อ) สญั ญะ ความหมายสัญญะ คว่าบาตร เลิกคบ ลาดับ รูปแบบสัญลกั ษณ์ในคมั ภรี ์ คิดดี พูดดี ทาดี ลกั ษณะบณั ฑติ ๙ ทรงอนุญาตให้สงฆ์คว่าบาตรแก่อุบาสก/ การไมเ่ หยยี บผ้า อนุเคราะห์อนชุ น อุบาสิกาผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ได้แก่ ขวนขวายเพ่อื ไม่ใชล่ าภ ไมใ่ ช่ประโยชน์ เพื่ออยู่ ขาว เด็ก ไม่ได้ ด่า ยุยง ติเตียนพระพุทธเจ้า พระธรรม การบรโิ ภคกาม สละราชสมบตั ิ พระสงฆ๓์ ๙ ผมหงอก ออกผนวช ๑๐ พระพุทธเจ้าตรัสลักษณะของบัณฑิตไว้ ๓ ประการ คือ ชอบคดิ แต่เรื่องดี ชอบพดู แตเ่ ร่อื ง เทวทตู ดี และชอบทาแตเ่ ร่อื งดี๔๐ ๑๑ พระอานนท์สั่งให้โพธิราชกุมารเก็บผ้าขาว เนื่องจากพระพุทธเจ้าจะไม่ทรงเหยียบผ้าขาว ทปี่ ไู ว้๔๑ ๑๒ พระพุทธเจ้าถือการบริภาคกามว่าเป็น สัญลักษณ์ของเด็ก ทรงระบุว่า ถ้ายังบริโภค กามอยู่ แม้จะมีอายุ ๑๐๐ ปี ก็ถือว่ายังเป็น เด็ก๔๒ ๑๓ พระเจ้ามฆะถือผมหงอกเป็น “เทวทูต” และ จะทรงสละราชสมบัติออกผนวชเป็นบรรพชิต พระราชวงศ์น้ใี ช้ผมหงอกเปน็ สัญลกั ษณใ์ นการ สละราชสมบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลาหลาย รัชกาล๔๓ ๑๔ พระพุทธเจ้าพระนามว่าวิปัสสี ได้ถามนาย สารถีถึงเทวทูตทั้ง ๔ โดยนัยเดียวกับที่เจ้าชาย สิทธัตถะถามนายฉันนะในคราวเสด็จประพาส อุทยาน เม่ือได้รับคาอธิบายแล้ว ก็มีพระทัย น้อมไปในบรรพชา๔๔ ๓๙อ.อฏฐก. (ไทย) ๒๓/๘๗/๔๑๕. ๔๐อ.ตกิ .(ไทย)๒๐/๓/๑๔๒ ๔๑ม.ม. (ไทย) ๑๓/๓๒๖/๓๙๔. ๔๒อ.ทกุ .(ไทย) ๒๐/๓๙/๘๕. ๔๓ม.ม.(ไทย) ๑๓/๓๐๘/๓๗๒. ๔๔ที.ม.(ไทย) ๑๐/๔๓/๒๒.

๔๘ ตารางที่ ๓.๓ (ต่อ) ลาดบั รปู แบบสญั ลักษณใ์ นคัมภรี ์ สญั ญะ ความหมายสัญญะ ๑๕ การใช้สตั วเ์ ชงิ อปุ มา เช่น ในคมั ภีร์พระพทุ ธเจา้ ราชสีห์ พระพุทธเจา้ เปรียบพระองค์เหมือนราชสีห์ และเปรียบ นักบวชชเี ปลือยว่าเหมือนสนุ ขั จิง้ จอก๔๕ ๑๖ ผู้ประกอบด้วยลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ ลกั ษณะ ๓๒ มหาบรุ ษุ ประการ ย่อมเป็นท่ีเข้าใจว่า จักมีคติ ๒ ประการเท่าน้ัน คอื เจ้าจักรพรรด์/ิ ศาสดาเอกของโลก๔๖ ๑๗ มีการใช้ช้างเผือก ม้าแก้ว แก้วมณี เป็นมงคล ชา้ งเผือก สตั วม์ งคล ประจารัชกาล พระเจ้าจกั รพรรด์ิใดมีส่งิ เหล่านี้ ยอ่ มถือกันวา่ เป็นมงคลยงิ่ ๔๗ ๑๘ ผู้ท่ีใช้ผ้ากาสาวพัตร์ ถือว่าเป็นผู้สละทางโลก ผา้ กาสาวพตั ร์ สละโลก แสวงหาหนทางแหง่ ความหลดุ พ้น๔๘ ๑๙ มีการอุปมาผู้ได้บรรลุธรรมเหมือนผ้าขาว ผ้าขาว บริสทุ ธ/ิ์ ปราศจาก ปราศจากมลทิน๔๙ มลทิน ๒๐ ๒๐.๑ มีการใช้ธงเป็นสัญลักษณ์บอกตาแหน่ง ธง ตาแหนง่ ของคนทีน่ งั่ อย่ใู นรถ๕๐ ๒๐.๒ ในสมัยที่เทวดากับอสูรรบกัน พระ อินทร์ก็แนะนาให้เทวดาปักธงประพระองค์ หรือธงประจาพระองค์ท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ เพอื่ หลอกอสูร๕๑ ตารางท่ี ๓.๓ (ตอ่ ) ๔๕ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๒๘/๒๒. ๔๖ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๓๔/๑๖,ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๑๙๙/๑๕๙. ๔๗ม.อุปริ.(ไทย) ๑๔/๓๕๘/๓๐๓. ๔๘ท.ี ม.(ไทย) ๑๐/๕๔/๓๐. ๔๙ที.ม. (ไทย) ๑๐/๗๕/๔๓ ๕๐ส.ส. (ไทย) ๑๕/๗๒/๘๐. ๕๑ส.ส.(ไทย) ๑๕/๒๔๙/๓๖๐.

๔๙ ลาดบั รูปแบบสญั ลกั ษณใ์ นคมั ภรี ์ สญั ญะ ความหมายสัญญะ ๒๑ พราหมณ์เราเกิดเจริญในโลก แต่อยู่เหนือโลก ดอกบัว บริสุทธ/ิ์ หลดุ พ้น ไม่แปดเปื้อนด้วยโลก เหมือนดอกอุบล (บัว เขียว) ดอกปทุม (บัวหลวง) ดอกบุณฑริก (บัว ขาว) เกิดเจริญเติบโตในน้า แต่อยู่เหนือน้า ไม่ แปดเปื้อนดว้ ยนา้ ฉะน้นั ๕๒ ๒๒ ในการบูชายัญ นิยมใช้ไฟเพ่ือการประกอบพิธี ไฟ การบชู า เช่น กรณีของอุคคตสรีรพราหมณ์ให้ก่อไฟ ปักหลักเพ่ือบูชายัญด้วยโคผู้ ๕๐๐ ตัว โคเมีย ๕๐๐ ตัว แพะและแกะอย่างละ ๕๐๐ ตวั ๕๓ ๒๓ ในการอธิบายธรรม มีการใช้สีดาแทนอกุศล สี สีดา-สขี าว อกุศลกรรม-กุศล กรรม ขาวแทนกุศล เช่นบัณฑิตละธรรมดาแล้วพึง เจริญธรรมขาว๕๔ ๒๔ ทรงแสดงภูมิของสัตบุรุษและอสัตบุรุษโดยใช้ กตัญญู ภูมขิ องสตั บรุ ุษ เกณฑ์ความกตัญญู/อกตญั ญูกตเวที๕๕ ปัจจุบัน มีการใช้เป็นเคร่ืองหมาย “นิมิตฺต สาธุรูปาน กตญญฺ กู ตเวทิตา” ๒๕ เป็นท่ีเข้าใจในหมู่ชาวพุทธเมื่อถึงวันดังกล่าว ๘ คา่ , ๑๔ คา่ , วนั ฟงั ธรรม จ ะ พ า กั น รั ก ษ า ศี ล อุ โ บ ส ถ ฟั ง ธ ร ร ม ๕๖ ๑๕ คา่ ตัวอย่างเช่นอบุ าสกชาวจาปาเข้าไปหาพระสารี บุตร เพราะมีความประสงค์อยากฟังธรรมจาก พระพุทธเจ้า พระสารีบุตรแนะนาให้มาวัน อโุ บสถ๕๗ ๕๒อ.จตุกก. (ไทย) ๒๑/๓๖/๕๙. ๕๓อ.สตฺตก.(ไทย) ๒๓/๔๗/๗๐. ๕๔ส.ม. (ไทย) ๑๙/๑๙๘/๑๓๒. ๕๕อ.ทุก.(ไทย) ๒๐/๓๓/๗๗. ๕๖ม.ม. (ไทย) ๑๓/๓๐๘/๓๗๒. ๕๗อ.สตตฺ ก. (ไทย) ๒๓/๕๒/๘๙.

๕๐ ตารางท่ี ๓.๓ (ต่อ) สญั ญะ ความหมายสญั ญะ ถูปารหบคุ คล ๔ เจดยี /์ สถปู คน ลาดบั รปู แบบสญั ลักษณใ์ นคัมภีร์ สาคญั จาพวก ๒๖ พระพุทธเจ้าตรัสถึงถูปารหบุคคล ๔ จาพวก การตรสั รู้ ได้แก่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระ ตน้ โพธ์ิ สาวก และพระเจ้าจักรพรรดิว่าเป็นถูปารห สถปู ท่ีบรรจพุ ระบรม บุคคล คือบุคคลท่ีควรสร้างเจดีย์ไว้บูชา๕๘เช่น สารรี ิกธาตุ นางภัททาราชเทวี รับสั่งให้สร้างสถูปสาหรับ เจดยี ์ พระเจ้ามุณฑะ๕๙พาหิยะบรรรลุอรหันต์ก่อน ท่เี คารพ/บูชา บวช พระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้สร้างสถูปไว้ให้คน บชู า๖๐ ๒๗ ต้นไม้ท่ีพระพุทธเจ้าตรัสรู้ ไม่ว่าจะชื่ออะไร (เช่น แคฝอย,มะม่วง,สาละ,ซึก,มะเดือ,ไทร ,และอัสสถะ) ย่อมได้ช่ือว่า ต้นโพธ์ิ๖๑ ต้นโพธิ์ จึงถือเป็นไม้ท่เี ปน็ สญั ลักษณแ์ หง่ การตรสั รู้ ๒๘ ๒๘.๑ สถูปเป็นสิ่งสร้างข้ึนเพ่ือเป็นท่ีระลึกถึง บุคคล ๔ ประเภท อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระพุทธเจ้า, พระปัจเจกพุทธเจ้า, พระ อรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ์๖๒ ๒๘.๒ พระสารีบุตรให้ชาวเมืองสร้างพระสถูป เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และทาการ ฉลอง กษตั รยิ ์อกี ๘ เมือง กท็ าเชน่ เดยี วกัน๖๓ ๒๙ ท่ีกรุงเวสาลี มีเจดีย์ ๔ มุมเมือง อุเทนเจดีย์อยู่ มุมตะวันออก โคตมกเจดีย์อยู่ทางทิศใต้ สัตตัมพเจดีย์อยู่ทางทิศตะวันตก และพหุ ปุตตกเจดีย์อยู่ทางทิศเหนือ นักบวชเปลือยถือ วัตรบท ๗ ประการ หน่ึงในจานวนนั้นคือการ การบชู าเจดีย์ทั้ง ๔ นีต้ ลอดชีวติ ๖๔ ๕๘อ.จตกุ กฺ .(ไทย) ๒๑/๒๔๗/๓๖๗. ๕๙อ.ปญจฺ ก.(ไทย) ๒๒/๕๐/๘๘. ๖๐ขุ.อ.ุ (ไทย) ๒๕/๑๐/๑๘๗. ๖๑ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๘/๓. ๖๒ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๐๖/๑๕๓ ๖๓ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๒๐๖/๑๕๓ ๖๔ท.ี ปา.(ไทย) ๑๑/๑๑/๑๐.

๕๑ ตารางท่ี ๓.๓ (ต่อ) สญั ญะ ความหมายสัญญะ พุทธอาสน์ พระพทุ ธเจา้ ลาดบั รปู แบบสัญลักษณ์ในคมั ภรี ์ สาราณยี สถาน สถานทคี่ วรระลึก ๓๐ ๓๐.๑ ภิกษุสงฆ์เมื่อน่ังประชุมกัน ณ ท่ีใด แม้ ถึงตลอดชวี ติ จะไม่มีพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ก็จะปูลาด อาสนะไว้ ๑ ท่ี เพ่ือรองรับ ถ้าพระพุทธเจ้า เสด็จ ก็จะไดไ้ ม่ต้องลกุ เตรยี มอาสนะ๖๕ ๓๐.๒ พระพุทธเจ้าเสด็จไปเย่ียมพระวักกลิซึ่ง ป่วยหนัก เม่ือไปถึงก็ประทับน่ังบนพุทธอาสน์ ทีป่ ูลาดไวแ้ ล้ว๖๖ ๓๐.๓ เสด็จไปเยี่ยมพระอัสสชิซ่ึงป่วยหนัก ใน คัมภรี ก์ ็พรรณนาไวแ้ บบเดียวกนั ๖๗ ๓๐.๔ พระพุทธเจ้าเสด็จไปเย่ียมภิกษุอาพาธ รูปหน่ึงซ่ึงเป็นพระบวชใหม่ ไม่มีใครรู้จัก เม่ือ เสด็จไปถึงภิกษุรูปน้ันจะลุกข้ึนต้อนรับ แต่ทรง ห้าม พร้อมกับตรัสบอกว่า จะประทับน่ังบน อาสนะที่ปูลาดไว้แล้ว๖๘ อรรถกถาอธิบายว่า สมัยพุทธกาลในท่ีอยู่ของภิกษุแม้รูปเดียว ก็จะ ปอู าสนะไว้ เพื่อต้อนรับเวลาพระพทุ ธเจ้าเสด็จ มา๖๙ ๓๐.๕ พระพุทธเจ้าเสด็จไปเยี่ยมพระภคุ อาพาธ ก็มีการปูอาสนะไว้รองรับก่อนหน้านั้น แล้ว แม้จะไม่เสด็จมาก็ตาม๗๐ ๓๑ สารณียสูตร เป็นพระสูตรที่ทรงแสดงถึง สถานท่ีพระภิกษุพึงระลึกนึกถึงตลอดชีวิต๗๑๔ ประการ ได้แก่ สถานท่ีบวช, สถานท่ีเห็นธรรม บรรลุธรรม ๖๕ม.มู.(ไทย) ๑๒/๑๙๙/๒๐๙, ส.ข. (ไทย) ๑๗/๘๗/๑๕๘. ๖๖ส.ข.(ไทย) ๑๗/๘๘/๑๖๔. ๖๗ส.สฬ. (ไทย) ๑๘/๗๔/๖๖. ๖๘ส.สฬ. (ไทย) ๑๘/๗๕/๖๘. ๖๙ม.มู.อ. (ไทย) ๑๒/๒๗๓/๗๖. ๗๐อ.ฉกฺก.(ไทย) ๒๒/๕๖/๕๓๕. ๗๑อ.ติก. (ไทย) ๒๐/๑๒/๑๕๐.

๕๒ จากตารางที่ ๓.๓ ผู้วิจัยจะวิเคราะห์เนื้อหาเชิงสัญลักษณ์ ๓ ประเด็นหลัก คือ (๑) วิเคราะห์จัดกลุ่มสัญลักษณ์ (๒) วิเคราะห์ที่มาของสัญลักษณ์ (๓) วิเคราะห์รูปแบบสัญลักษณ์ตามวิถี หนา้ ที่ ดังจะได้กล่าวรายละเอียดต่อไป ๓.๓.๑ วิเคราะหจ์ ัดกลุม่ สญั ลกั ษณ์ (๑) รูปแบบสัญลักษณ์ในพระสุตตันตปิฎก พบจานวนทั้งส้ิน ๓๑ ชนิดเป็นกลุ่ม สัญลักษณ์ทางการกระทา, กริ ิยาอาการ จานวน ๑๖ชนิด, สัญลักษณ์เกย่ี วกบั บุคคล และสัตว์ ๓ ชนดิ , สัญลักษณ์เก่ียวกับวัตถุสิ่งของ ๙ ชนิด, สัญลักษณ์ที่เป็นข้อกาหนด, และสัญลักษณ์ท่ีเป็นหลักธรรม อย่างละ ๑ ชนิด (๒) สัญลักษณ์ทางพฤติกรรมเหตุการณ์ หรือสภาวะลักษณะ จานวน ๑๖ ชนิด ได้แก่ การนิมนต์สมณะไปใช้อาคารใหม่, จักรทิพย์เคล่ือนที่, การนิ่ง, น่ังคุกเข้าประณมมือ, การแซง ซา้ ย, การทาประทักษณิ , นิมติ โอภาส, คว่าบาตร, คดิ ดี พูดดี ทาดี, การบรโิ ภคกาม, ผมหงอก, เทวทูต ,ไฟ, มหาปรุ สิ ลักษณะ ๓๒ ประการ,และสีดา-สขี าว (๓) สญั ลักษณ์ทางเก่ียวกับบคุ คลหรือสัตวต์ ่าง ๆ จานวน ๓ ชนดิ ได้แก่ถูปาราบุคคล ๔ จาพวก,ราชสีห,์ และช้าง (๔) สัญลักษณ์เก่ียวกับวัตถุ สิ่งของ สถานท่ี จานวน ๙ ชนิด ได้แก่ผ้าขาว, ผ้ากาสาวพัตร,์ ธง, ดอกบัว, ตน้ โพธ์,ิ สถปู , เจดีย์, พทุ ธอาสน์,และสาราณียสถาน (๕) สญั ลกั ษณ์เก่ียวกบั ข้อกาหนด จานวน ๑ ชนิด ได้แก่ วนั ขึ้น/แรม ๘ ค่า ๑๔ ค่า หรือ ๑๕ ค่า (๖) สญั ลักษณ์เกยี่ วกบั หลกั ธรรม จานวน ๑ ชนดิ ไดแ้ ก่ กตญั ญู ๓.๓.๒ วิเคราะหท์ ่มี าของสัญลกั ษณ์ จากข้อมูลสัญลักษณ์ในพระสุตตันตปิฎก จานวนท้ังส้ิน ๓๑ ชนิด วิเคราะหท์ ี่มาของ สญั ลักษณ์ ๓ ประเภท คือ ๑) สญั ลกั ษณ์ท่ีมีมาก่อนพุทธกาล ๒) สญั ลักษณท์ ี่มาสมัยพุทธกาล และ ๓) สัญลักษณ์ที่มีหลงั พทุ ธกาล ดงั รายละเอียดไดด้ ังน้ี (๑) สัญลักษณ์ที่เกิดหรือมีมาก่อนพุทธกาล สัญลักษณ์กลุ่มนี้ แบ่งออกเป็น ๒ กลมุ่ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ ก. สั ญลักษ ณ์ มีมา ก่อน พ ระพุท ธ ศ าส น า แ ละถูก นามา ใช้ใ น พระพุทธศาสนาด้วย ในพระสุตตันตปิฎกพบสัญลักษณ์ที่มีลักษณะดังกล่าว จานวน ๙ ชนิด ได้แก่ ประทกั ษณิ -เคารพ, มหาปรุ สิ ลักษณะ ๓๒ ประการ-มหาบรุ ุษ, ช้างเผือก-สตั วม์ งคล, เทวทูต-ออกบวช , ผ้าขาว-บรสิ ทุ ธ,์ิ ธง-เคร่อื งบชู า, สถปู -ทีบ่ รรจุพระธาต,ุ เจดีย์-สิง่ เคารพ, ๘,๑๔,๑๕ คา่ -วันฟงั ธรรม ข.สัญลักษณ์มีมาก่อนพุทธกาล แต่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธ ศาสนา แต่มีปรากฏอยู่ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ในพระสุตตันตปิฎกพบสัญลักษณ์ท่ีมีลักษณะ ดังกล่าวจานวน ๔ชนิด ได้แก่ จักรทิพย์เคลื่อนท่ี-สละราชสมบัติ, แซงซ้าย-ไม่เคารพ, ผมหงอก-สละ ราชสมบัติ, และไฟ-บูชา (๒) สัญลักษณ์ที่เกิดหรือมีสมัยพุทธกาลเป็นสัญลักษณ์ท่ีถูกกาหนดขึ้นเพ่ือใช้ สื่อสารกันภายในสังคมสงฆ์ หรือพุทธบริษัทเป็นการเฉพาะหรือเข้าใจกันอยู่ในวงจากัด ในพระ

๕๓ สุตตันตปิฎก พบจานวน ๑๘ ชนิด ได้แก่ การนิมนต์สมณะใช้สอยอาคารใหม่-มงคล, นิ่ง-รับนิมนต์ ,น่ิง-ปฏิเสธ, คกุ เขา่ ประณมมือ-เคารพ, นมิ ิตโอภาส-แสดงนัยใหร้ ,ู้ คว่าบาตร-เลิกคบ, คดิ ดี พูดดี ทาดี- บณั ฑติ , ไม่เหยยี บผ้าขาว-อนเุ คราะหอ์ นุชน, การบริโภคกาม-เด็ก, ราชสีห์-พระพทุ ธเจ้า, ดอกบัว-หลุด พน้ , สดี า สขี าว-กุศลกรรม อกุศลกรรม, สารณียสถาน-ที่ควรระลึกถึงตลอดชวี ติ , ถปู ารบุคคล-บุคคลที่ ควรแกส่ ถปู ,ตน้ โพธ์ิ-ตรสั ร้,ู พทุ ธอาสน์-พระพทุ ธเจ้า, และกตญั ญู-ภมู ขิ องสตั บรุ ุษ (๓) สัญลักษณ์ที่เกิดหลังพุทธกาล จากหลักฐานที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก ท้งั หมด ๓๑ ยังไมพ่ บสญั ลักษณท์ ีเ่ กิดหลงั พทุ ธกาล ๓.๓.๓ วเิ คราะห์รปู แบบสัญลกั ษณต์ ามวถิ หี น้าท่ี ผวู้ ิจยั วิเคราะห์รปู แบบเชิงสัญลักษณใ์ นคมั ภรี พ์ ระพุทธศาสนาตามวิถหี นา้ ท่ี (mode) ๕ ประการ กล่าวคือ วิถีหน้าท่ีแบบเหมือน (Iconic mode), วิถีหน้าท่ีแบบดัชนี (Indexical mode), วิถีหน้าท่ีแบบเคร่ืองหมายหรือป้าย (Signic mode), วิถีหน้าท่ีแบบสัญญาณหรือรหัส (Signal, Code), และ วถิ หี น้าทีแ่ บบสญั ญะ หรือสญั ลักษณ์ (Sign, Symbol) ดังรายละเอียดในตารางท่ี ๓.๔ ตารางที่ ๓.๔ รปู แบบสญั ลักษณต์ ามวถิ ีหนา้ ที่ วิเคราะห์รูปแบบสัญลักษณ์ตามวถิ ีหนา้ ท่ี ที่ รูปสญั ญะ Icon Index Sign Code Symbol ๑ การนมิ นต์สมณะใช้สอยอาคารใหม่ / ๒ จกั รทิพยเ์ คลอื่ นท่ี / ๓ นิ่ง / ๔ นิง่ / ๕ คุกเขา่ ขวาประนมมือ / ๖ แซงซ้าย / ๗ ประทักษิณ / ๘ นิมติ โอภาส / ๙ คว่าบาตร / ๑๐ คดิ ดี พูดดี ทาดี / ๑๑ การไมเ่ หยยี บผา้ ขาว / ๑๒ การบรโิ ภคกาม / ๑๓ ผมหงอก / ๑๔ เทวทตู / ๑๕ ราชสีห์ / ๑๖ ลักษณะ ๓๒ ประการ / ๑๗ ชา้ งเผือก / ๑๘ ผา้ กาสาวพัตร์ /

๕๔ ตารางที่ ๓.๔ (ต่อ) วเิ คราะห์รูปแบบสัญลักษณ์ตามวถิ หี น้าที่ Icon Index Sign Code Symbol ที่ รูปสัญญะ ๑๙ ผ้าขาว / ๒๐ ธง / ๒๑ ดอกบัว / ๒๒ ไฟ / ๒๓ สีดา-สขี าว / ๒๔ กตญั ญู / ๒๕ ๘ ค่า, ๑๔ คา่ , ๑๕ คา่ / ๒๖ ถูปารหบุคคล ๔ จาพวก / ๒๗ ต้นโพธ์ิ / ๒๘ สถูป / ๒๙ เจดีย์ / ๓๐ พทุ ธอาสน์ / ๓๑ สาราณียสถาน / จากตารางท่ี ๓.๔ สรุปได้ดังนี้ ในพระสุตตันตปิฎก มีรูปแบบสัญลักษณ์จาแนกตามวิถี หน้าทีไ่ ดด้ ังนี้ (๑) รูปสัญลักษณ์แบบตัวบ่งชี้ จานวน ๘ ชนิด ได้แก่ การบริโภคกาม, ราชสีห์, มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ, กตัญญ,ู วัน ๘,๑๔,๑๕ ค่า, ถูปารบคุ คล ๔ จาพวก,การคิดดี พดู ดี ทา ด,ี และต้นโพธิ์ (๒) รูปสัญลักษณ์แบบรหัส จานวน ๕ ชนิด ได้แก่ การน่ิง-รับ, การนิ่ง-ปฏิเสธ, นมิ ติ โอภาส, การไม่เหยียบผ้าขาว, และผมหงอก (๓) รูปสัญลักษณ์แบบสัญญะ จานวน ๑๘ ชนิด ได้แก่ การนิมนต์สมณะใช้สอย อาคารใหม่, จักรทิพย์เคล่ือนที่, คุกเข่าขวาประนมมือ, แซงซ้าย, ประทักษิณ, คว่าบาตร, เทวทูต, ช้างเผือก, ผ้ากาสาวพตั ร์, ผ้าขาว, ธง, ดอกบวั , ไฟ, สีดา-สีขาว,สถูป, เจดยี ,์ พุทธอาสน์, และสาราณีย สถาน

๕๕ ๓.๔ สญั ลักษณ์ในคัมภรี ์อรรถกถาพระวนิ ยั ปฎิ ก จากการสืบค้นอรรถกถาพระวินัยปิฎก พบรูปแบบเชิงสัญลักษณ์ วิเคราะห์ และ ตีความดงั รายละเอียดในตารางท่ี ๓.๕ ตารางท่ี ๓.๕ รูปแบบสัญลักษณใ์ นคัมภีร์อรรถกถาพระวินยั ปิฎก ลาดบั รูปแบบสญั ลักษณ์ในคัมภีร์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๑ ๑.๑ พระเจ้าอโศกรับสั่งให้ตีกลองประกาศ เพ่ือให้ ตกี ลอง ประกาศข่าว ประชาชนไดร้ ่วมพิธฉี ลองวิหารท่ีทรงสร้างเสร็จแล้ว๗๒ ๑.๒ เม่ือคราววินิจฉัยคดีพระรูปหน่ึงไปหยิบกระบวย ตักน้าของภิกษุรูปอื่นมาใช้ และถือเอาด้วยไถยจิต จึง มีการสั่งให้ตีกลองประกาศในมหาวิหารเพื่อประชุม วนิ ิจฉยั คดีกัน๗๓ ๑.๓ พระเจ้าภาติยราช ไดส้ ดับคาวินิจฉยั ของพระเถระ ในที่ประชุมเห็นว่าชอบธรรมดีแล้ว จึงรับสั่งให้ตีกลอง ประกาศให้ทุกคนปฏิบัติตาม ถ้าใครไม่ปฏิบัติตามจะ ลงพระอาญา๗๔ ๒ พระเจ้าอโศกตรัสถามพระโมคคัลลีบุตรติสสะเถระว่า การบวช ทายาทพระ ศาสนา ทรงกระทาทานมากมายขนาดนี้ถือเป็นทายาทพระ ศาสนาได้ไหม พระโมคคัลลีบุตรติสสะได้ถวายพระพร ไปว่า ยังเป็นไม่ได้ จะเป็นศาสนทายาทได้น้ัน ต้องให้ ลูกบวชเท่านนั้ ๗๕ ๓ พระเจ้าอโศก ก่อนจะส่งต้นศรีมหาโพธิ์ให้กับพระเจ้า ประทักษิณ ๓ แสดงความ เทวานัมปิยดิส ได้กระทาการบูชาต้นโพธิ์ด้วยดอกไม้ รอบ เคารพ และของหอม พร้อมกบั การทาประทกั ษิณ ๓ รอบ๗๖ ๗๒ว.ิ มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๘๗. ๗๓ว.ิ มหา.อ.(ไทย) ๑/๒/๑๑๔ ๗๔วิ.มหา.อ.(ไทย) ๑/๒/๑๑๕ ๗๕ว.ิ มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๙๐. ๗๖ว.ิ มหา.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๕๖.

๕๖ ตารางท่ี ๓.๕ (ต่อ) ลาดับ รปู แบบสัญลกั ษณ์ในคมั ภรี ์ สญั ญะ ความ นิมิตกรรม หมายสัญญะ ๔ ๔.๑ นิมิตกรรมเป็นเครื่องประมวลมา กรรมเป็นเครื่อง แสดงความ ประมวลมา ชื่อว่า นิมติ ๗๗ โอภาส ๔.๒ การทานิมิตบางอย่าง เพื่อใหเ้ กดิ หมายรู้ ช่ือว่า นิมิต กระแอม ประสงค์ กรรม นิมิตกรรมนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ๓ อย่าง โดยนัยเป็นต้นว่า เราจักขยิบตา ก็ดี ก็ในการทานิมิตแม้ ยนื แสดงนยั ให้รู้ อย่างอื่น มีเป็นอเนกประการเป็นต้นว่า แกว่งไกวมือ หลั่งน้า ปรบมือ ดีดนิ้วมือ เอียงคอลงไอ และกระแอม พึง ทกั ษิโณทก ขออนญุ าต สงเคราะห์เข้าในนิมิตกรรมน้ี ส่วนคาท่ีเหลือในนิมิต ทวง กรรมน้ี มนี ัยดงั กลา่ วแลว้ ในสังเกตกรรมนัน้ เทยี ว๗๘ ให้ ๔.๓ ในท่ีบางแห่ง นิมติ กรรม หมายถึง การทาสญั ลกั ษณ์ เพื่อให้ผู้อ่ืนกระทาแทน เช่น พระเถระนาจอบ เสียม มีด ขวาน และภาชนะน้ามาวางไว้ใกล้ ๆ เพื่อให้สามเณร หรือคนวัดทราบ แลว้ มาทาให้๗๙ ๕ การส่ือความหมายโดยอ้อม เช่นในพระวินัย การยืนถือ จอบหรือเสียม และกอไม้ดอกอยู่ โดยประสงค์ให้พวก สามเณรเป็นต้นรู้ว่า พระเถระประสงค์จะใช้ให้ทา แล้ว จะมาทาให้๘๐ ๖ ภิกษุรูปหน่ึง ได้เข้าไปหาพระเถระเพ่ือโจทก์อาบัติ ก่อน เขา้ ไป ไดก้ ระแอมแลว้ เปิดประตู๘๑ ๗ ในพระวินัยอนุญาตให้ภิกษุยืนเพ่ือแสดงการทวงจีวรได้ ๖ ครั้ง เกินกว่าน้ันต้องอาบัติ (ทวงได้ ๓ ครั้ง ยืนได้ ๖ คร้ัง = ยนื ๒ ครง้ั เท่ากับทวง ๑ ครง้ั )๘๒ ๘ การยึดน้าทักษิโณทกเป็นเกณฑ์ เช่น การยกของให้ ถ้า น้าทักษิโณทกตกลงในมือของผู้ใด ผู้น้ันย่อมได้ ครอบครอง๘๓ ๗๗ขุ.ปฏ.ิ อ. (ไทย) ๗/๑/๗๔๕. ๗๘ว.ิ มหา.อ.(ไทย) ๑/๒/๒๑๓. ๗๙ว.ิ มหา.อ.(ไทย) ๑/๓/๖๓๔. ๘๐วิ.มหา.อ.(ไทย) ๑/๓/๖๓๔. ๘๑ว.ิ มหา.อ. (ไทย) ๑/๓/๖๗๗. ๘๒วิ.มหา.อ.(ไทย) ๑/๓/๘๕๒. ๘๓วิ.ม.อ.(ไทย) ๕/๒/๓๕๖.

๕๗ ตารางที่ ๓.๕ (ต่อ) ลาดบั รปู แบบสญั ลักษณ์ในคมั ภรี ์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๙ มีกรณีตัวอย่างของการใช้สัญญาณระฆังเรียกประชุม เสียงระฆงั เรยี กประชุม เพื่อกิจต่าง ๆ การแบ่งจีวร หรือกิจกรรมอ่ืน ๆ ภายในวดั ๘๔ ๑๐ นางวิสาขา ไดร้ ับการยกยอ่ งในที่ชุมชนให้ไปกิจกรรม อภมิ งฺคลสมมฺ คนทไ่ี ดร้ ับการยก นอ้ ยใหญ่ เช่นงานมงคล งานอวมงคล แมท้ าบุญเลีย้ ง ตา ยอ่ ง พระ เม่ือเลี้ยงพระแล้ว ก็เชิญนางวิสาขาทานก่อน เปน็ ต้น๘๕ ๑๑ ๑๑.๑ พระเจ้าอโศกให้พญานาคนามว่า กาฬะ พระพุทธรูป พระพทุ ธเจ้า เนรมิตรพระพุทธรูป อันประกอบด้วยมหาปุริ ลกั ษณะ ๓๒ ประการ อนุพยัญชนะ ๘๐ ให้ชาวเมอื ง ได้บูชาอยา่ งยิง่ ใหญต่ ลอด ๗ วัน /มรี ะบุวา่ มีพระเกตุ มาลาแวดวงดว้ ยสายรงุ้ และสายฟ้า๘๖ ๑๑.๒ พระเถระรูปหน่ึงให้มารเนรมิตพระรูปของ พระพุทธเจ้า มารบอกว่า ไม่สามารถทาได้ ทาได้แค่ รูปเทยี มคล้ายพระรปู เทา่ นน้ั เมอ่ื มารเนรมติ รปู คล้าย พระพุทธรูป ทาให้พระเถระเกิดความคิดว่า มารมี ราคะ โทสะ โมหะ ยังงามขนาดน้ี พระพุทธเจา้ จรงิ ๆ ทปี่ ราศจากราคะ โทสะ โมหะ จะงามเพียงไร๘๗ ๑๒ พรรณนาความรุ่งเรืองทางศาสนาในยุคสมัยพระเจ้า ผ้ากาสาว ความร่งุ เรอื งทาง อโศก โดยใชผ้ ้ากาสาวพตั ร์เปน็ เครื่องหมาย๘๘ พสั ตร์ ศาสนา ๑๓ ๑๓.๑ ในพิธีสาคัญ ๆ นิยมใช้เป็นเคร่ืองประดับ เช่น ธงชยั /ธงแผน่ การบชู า กรณีพระเจ้าเทวานัมปิยดิส ได้กระทาการบูชาต้น ผ้า โพธ์ิ๘๙ ๑๓.๒ พรรณนาถึงการใช้ฉัตร และธงสาหรับบูชา พระเจดีย๙์ ๐ ๘๔วิ.ม.อ.(ไทย) ๕/๒/๓๕๖,ว.ิ จู.อ.(ไทย) ๗/๒/๒๕๔. ๘๕วิ.มหา.อ.(ไทย) ๑/๓/๖๗๔. ๘๖วิ.มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๗๙. ๘๗ว.ิ ป.อ.(ไทย) ๘/๕๕๗. ๘๘ว.ิ มหา.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๓๒. ๘๙วิ.มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๑๕๔. ๙๐วิ.มหา.อ.(ไทย) ๑/๓/๑๑๓๒.

๕๘ ตารางท่ี ๓.๕ (ต่อ) ลาดับ รูปแบบสัญลักษณใ์ นคัมภีร์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๑๔ การทาสลากเพ่ือแจกของสงฆ์ เช่น สลากภัตต์เป็นต้น สลาก ภกิ ษเุ ข้าใจสิง่ ของวา่ เป็นของตนด้วยสลากนนั้ ๆ๙๑ ปัจจัย ๔ วติ ก ๓ ๑๕ ดาบสใช้กองทรายเป็นสัญลักษณ์แทนความดาหริใน กองทราย กามวิตก/พยาบาทวิตกท่ีเกิดขึ้นในตน ๆ เพื่อทราบ เขตที่สงฆ์ ความดาหริในใจ จึงทากติกาเอาใบไม้แห้งขนทรายมา กาหนด กองไว้ ต่อมากองทรายดังกล่าวก็ได้กลายเป็นเจดีย์ เป็นที่เคารพของชาวบ้าน๙๒ การบูชา ๑๖ สงฆ์กาหนดสีมาเพ่ือทากิจบางอย่าง เช่น ปักเสาจารึก สมี า ศาสดา ชื่อว่า นี้เป็นลาภสีมาสาหรับวัดเรา แล้วปักแดนไว้ว่า สงิ่ ใดเกิดข้ึนภายในเขตน้ี ส่ิงนั้นท้ังหมด เราถวายแกว่ ัด ของเรา (ระบถุ งึ สีมา ๑๕ ประเภท มีขณั ฑสมี า อปุ จาร สมี า สมานสังวาสสีมา...จักกวาฬสมี าเป็นทส่ี ุด๙๓ ๑๗ พระเจ้าอโศกรับสั่งให้สร้างอโศกราม วิหาร ๘๔,๐๐๐ วหิ าร หลัง ซ่ึงประดับประดาด้วยเจดีย์ ๘๔,๐๐๐ องค์ ไว้ใน ๘๔,๐๐๐ หลัง พระนคร ๘๔,๐๐๐ แห่ง ทั่วชมพูทวีป เพ่ือบูชาธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดยใช้พระราชทรัพย์ ๙๖ โกฏิ๙๔ ๑๘ พระมหินท์ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ศรีลังกา พระสถปู ประสงค์จะกลับชมพูทวีปคืนเนื่องจากไม่ได้เฝ้า พระพุทธเจ้านานแล้ว อยู่อย่างไม่มีท่ีพึ่ง พระเจ้า เทวานัมปิยดิส ตรัสถามว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพาน นานแล้วมิใช่หรือ พระเถระตอบว่า กระน้ันก็จริง พระ สรีระธาตุของพระองค์ยังคงอยู่ พระเจ้าเทวานัมปิยดิส จึงเสนอขอเป็นเจ้าภาพสร้างสถูปเพื่อบรรจุพระสรีระ ธาตุ เพื่อใหพ้ ระสงฆ์ไดก้ ราบไวบ้ ูชาแทนองคศ์ าสดา๙๕ ๙๑ว.ิ มหา.อ.(ไทย) ๑/๒/๒๓๐, ว.ิ จ.ู อ. (ไทย) ๗/๒๕๒. ๙๒ว.ิ ม.อ. (ไทย) ๔/๑/๘. ๙๓วิ.ม.อ. (ไทย) ๕/๒/๓๕๘. ๙๔วิ.มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๘๗. ๙๕วิ.มหา.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๔๑.

๕๙ ตารางท่ี ๓.๕ (ต่อ) ๑๙ ๑๙.๑ เกาะตัมพปัณณีทวีป มีต้นโพธ์ิของอดีต ตน้ โพธิ์ เจดีย์ พระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ประดิษฐานอย๙ู่ ๖ ๑๙.๒ ต้นไม้ท่ีพระพุทธเจ้าตรัสรู้ พลอยได้นามว่าโพธิ พฤกษ์ตามไปด้วย๙๗ ๒๐ ทรงให้ทาลายกุฏิของพระธนิยะท่ีทาด้วยดินล้วน กฏุ ดิ ินลว้ น ท่ีอยูเ่ ดยี รถีย์ เหตุผลในการให้ทาลายอรรถกถาแก้ว่า เพราะเป็นธง ของเดียรถยี ์๙๘ ๒๑ สิ่งก่อสร้างที่ถูกกาหนดให้ใช้เป็นสถานท่ีสาคัญทาสังฆ โรงอโุ บสถ ที่ประชุมทาสังฆ กรรม บาลีเรียกว่า อุโบสถาคาร พบหลักฐานอยู่ กรรม โดยทั่วไปท้งั พระไตรปฎิ ก และคมั ภีรอ์ รรถกถา ๒๒ ชื่อว่าเจดีย์ เพราะอรรถว่า อันปวงชนทาความเคารพ เจดีย์ ทคี่ วรแก่การ คาวา่ เจติยรกุ ขฺ น้ี เป็นชอ่ื แหง่ เทวสถานทงั้ หลายทคี่ วร เคารพ แก่การบูชา ต้นไม้ที่ชาวโลกสมมติว่า เจดีย์ ชื่อว่า รุกขเจดีย์ เจดีย์แห่งแรก คือ อนิมมิสเจดีย์--รัตนจงกรม เจดยี ์---รัตนฆรเจดีย์๙๙ จากตารางท่ี ๓.๕ ผู้วิจัยจะวิเคราะห์เน้ือหาเชิงสัญลักษณ์ ๓ ประเด็นหลัก คือ (๑) วิเคราะห์จัดกลุ่มสัญลักษณ์ (๒) วิเคราะห์ท่ีมาของสัญลักษณ์ (๓) วิเคราะห์รูปแบบสัญลักษณ์ตามวิถี หนา้ ท่ี ดงั จะได้กลา่ วรายละเอียดตอ่ ไป ๓.๔.๑ วเิ คราะห์จดั กลุ่มสญั ลักษณ์ (๑) รูปแบบสัญลกั ษณใ์ นอรรถกถาพระวนิ ยั ปฎิ ก พบจานวนทงั้ ส้ิน ๒๒ ชนิดจาแนก เปน็ พฤติกรรม ๙ ชนดิ , บุคคล ๑ ชนิด, วัตถุ ส่งิ ของ ๖ ชนดิ , และอาคาร สถานท่ี ๖ ชนิด (๒) สัญลักษณ์ท่ีเกี่ยวข้องกบั พฤตกิ รรมมี ๙ ชนดิ ไดแ้ ก่ การตีกลอง, การบวช, การ ทาประทกั ษิณ, นิมิตกรรม, โอภาส, กระแอม, การยนื , การหลัง่ นา้ ทักษโิ ณทก, และการตีกลอง (๓) สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลมี ๑ ชนิด ได้แก่ อภิมังคลสัมมตา (ผู้ได้รับการ ยกยอ่ งเปน็ เกยี รตใิ นพธิ ีการสาคญั ) (๔) สัญลักษณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับวัตถุมี ๖ ชนิด ได้แก่ พระพุทธรูป, ผ้ากาสาวพัตร์, ธง, สลาก, กองทราย, และสมี า ๙๖ว.ิ มหา.อ. (ไทย) ๑/๑/๑๕๑. ๙๗วิ.ม.อ. (ไทย) ๔/๑/๙. ๙๘ว.ิ มหา.อ.(ไทย) ๑/๒/๘๔ ๙๙วิ.มหา.อ.(ไทย) ๑/๓/๔๔๔.

๖๐ (๕) สัญลักษณท์ ีเ่ กี่ยวข้องกับอาคาร หรือสถานทีม่ ี ๖ ชนิด ได้แก่ วหิ าร, เจดีย,์ สถปู , โรงอุโบสถ, กฏุ ิดินล้วน, และต้นโพธ์ิ ๓.๔.๒ วิเคราะห์ที่มาของสญั ลักษณ์ จากข้อมูลสัญลักษณ์ในอรรถกถาพระวินัยปิฎก จานวนท้ังส้ิน ๒๒ ชนิด วิเคราะห์ ที่มาของสัญลักษณ์ ๓ ประเภท คือ ๑) สัญลักษณ์ท่ีมีมาก่อนพุทธกาล ๒) สัญลักษณ์ท่ีมาสมัย พุทธกาล และ ๓) สัญลกั ษณท์ มี่ หี ลงั พทุ ธกาล ดังรายละเอยี ดได้ดังน้ี (๑) สัญลักษณ์ท่ีเกิดหรือมีมาก่อนพุทธกาล สัญลักษณ์กลุ่มน้ี แบ่งออกเป็น ๒ กลมุ่ ย่อย ได้แก่ ก. สั ญลักษ ณ์ มีมา ก่อน พ ระพุท ธ ศ าส น า แ ละถูก นามา ใช้ใ น พระพุทธศาสนาด้วย ในอรรถกาถาพระวินัยปิฎกพบสัญลักษณ์ที่มีลักษณะดังกล่าว จานวน ๔ชนิด ได้แก่ การตีกลอง-ประกาศให้ทราบ, ประทกั ษณิ -เคารพ, หล่ังนา้ ทักษิโณทก-ให้, สถูป-พระศาสดา, ข . สั ญ ลั ก ษ ณ์ มี ม า ก่ อ น พุ ท ธ ก า ล แ ต่ ไ ม่ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ พระพุทธศาสนา แต่มีปรากฏอยู่ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ในอรรถกาถาพระวินัยปิฎกพบ สัญลกั ษณท์ มี่ ีลกั ษณะดังกล่าวจานวน ๑ ชนิด ได้แก่กองทราย-วติ ก, (๒) สัญลักษณ์ท่ีเกิดหรือมีสมัยพุทธกาลเป็นสัญลักษณ์ท่ีถูกกาหนดข้ึนเพ่ือใช้ สื่อสารกันภายในสังคมสงฆ์ หรือพุทธบริษัทเป็นการเฉพาะหรือเข้าใจกันอยู่ในวงจากัด ในอรรถกาถา พระวินัยปิฎกพบจานวน ๑๒ ชนิด ได้แก่นิมิตกรรม-แสดงเจตนาให้ทราบ, โอภาส-แสดงความ ประสงค์, ยนื -ทวง, กระแอม-ขออนุญาต,กุฏิดินล้วน-ทอ่ี ย่เู ดียรถีย,์ โรงอุโบสถ-ที่ทาสงั ฆกรรม,เจดยี ์-ท่ี ควรบูชา, สลาก-ปัจจัย ๔, วิหาร ๘๔,๐๐๐ หลัง-การบูชา, สีมา-เขตกาหนดสังฆกรรม, อภิมังคลสัมม ตา-ให้เกยี รต,ิ (๓) สญั ลกั ษณท์ ่ีเกิดหลงั พทุ ธกาล จากหลักฐานทปี่ รากฏในอรรถกถาพระวนิ ัยปิฎก พบจานวน ๕ ชนิด ได้แก่ การบวช-ทายาทพระศาสนา,พระพุทธรูป-พระพุทธเจ้า, ธง ฉัตร-การบูชา, ต้นโพธ์ิ-เจดีย์, ผ้ากาสาวพัตร์-ความรุ่งเรืองของศาสนา, ๓.๔.๓ วเิ คราะห์รปู แบบสญั ลักษณต์ ามวิถีหนา้ ที่ ผู้วิจัยวิเคราะห์รูปแบบเชิงสัญลักษณ์ในอรรถกาถาพระวินัยปิฎกาตามวิถีหน้าที่ (mode) ๕ ประการ กล่าวคือ วิถีหน้าที่แบบเหมือน (Iconic mode), วิถีหน้าที่แบบดัชนี (Indexical mode), วิถีหน้าท่ีแบบเคร่ืองหมายหรือป้าย (Signic mode), วิถีหน้าท่ีแบบสัญญาณหรือรหัส (Signal, Code), และ วิถีหน้าท่ีแบบสัญญะ หรือสัญลกั ษณ์ (Sign, Symbol) ดงั รายละเอียดในตาราง ท่ี ๓.๖ ดงั น้ี ตารางท่ี ๓.๖ รปู แบบสญั ลักษณต์ ามวิถีหน้าท่ี วเิ คราะหร์ ปู แบบสัญลกั ษณ์ตามวถิ หี น้าท่ี ที่ รปู สญั ญะ Icon Index Sign Code Symbol ๑ ตกี ลอง / ๒ การบวช /

๖๑ ตารางท่ี ๓.๖ (ตอ่ ) ที่ รูปสญั ญะ วิเคราะห์รูปแบบสัญลกั ษณ์ตามวิถีหนา้ ท่ี Icon Index Sign Code Symbol ๓ ประทกั ษณิ ๓ รอบ ๔ นมิ ติ กรรม / ๕ โอภาส / ๖ กระแอม / ๗ ยนื / ๘ หลั่งน้าทกั ษิโณทก / ๙ เสยี งระฆัง / ๑๐ อภมิ งคฺ ลสมมฺ ตา / ๑๑ พระพทุ ธรูป ๑๒ ผา้ กาสาวพัสตร์ / ๑๓ ธงชัย/ธงแผ่นผ้า / ๑๔ สลาก ๑๕ กองทราย / ๑๖ สีมา / ๑๗ วิหาร ๘๔,๐๐๐ หลงั / ๑๘ พระสถปู / ๑๙ โพธ์ิ / ๒๐ กุฏดิ นิ ล้วน / ๒๑ โรงอโุ บสถ / ๒๒ เจดีย์ / / / / จากตารางที่ ๓.๖ สรุปได้ว่า อรรถกถาพระวินัยปิฎกมีรูปแบบสัญลักษณ์จาแนกตามวิถี หนา้ ที่ ไดด้ ังน้ี (๑) รปู สัญลกั ษณแ์ บบเหมือน (Icon) จานวน ๑ ชนดิ ได้แก่ พระพทุ ธรูป, (๒) รูปสัญลกั ษณแ์ บบตวั บง่ ชี้ (Index) จานวน ๒ ชนดิ ได้แก่ สลาก, กองทราย (๓) รูปสัญลักษณ์แบบรหัส (code) จานวน ๗ ชนิด ได้แก่ ตีกลอง, นิมิตกรรม, โอภาส, กระแอม,ยนื ,หลง่ั นา้ ทักษโิ ณทก,และเสียงระฆัง (๔) รูปสัญลักษณ์แบบสัญญะ (symbol) จานวน ๑๒ ชนิด ได้แก่ การบวช, ประทักษิณ, อภิมังคลสัมมตา, ผ้ากาสาวพัตร, ธง, สีมา,วิหาร ๘๔,๐๐๐ หลัง, พระสถูป, ต้นโพธ์ิ, กุฏิดินล้วน, โรง อุโบสถ, และเจดีย์

๖๒ ๓.๕ สญั ลักษณใ์ นอรรถกถาพระสุตตันตปฎิ ก อรรถกถาพระสุตตันตปฎิ กจานวน ๑๑ คัมภีร์ ไดแ้ ก่ คมั ภีร์สุมงั คลวสิ าลิน,ี ปปัญจสทู นี, สา รัตถปกาสินี, มโนรถปูรณี, ปรมัตถโชติกา, ปรมัตถทีปนี, ชาตกัฏฐกถา, สัทธรรมโชติกา, สัทธัมมปกา สินี, วสิ ุทธชนวสิ าลินี, และมธุรตั ถวสิ าลนิ ี จากการสืบค้นอรรถกถาพระสุตตันปิฎก พบรูปแบบเชิงสัญลักษณ์ วิเคราะห์ และตีความ ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี ๓.๗ ต่อไปนี้ ตารางที่ ๓.๗ รปู แบบสญั ลักษณใ์ นคัมภีร์ ลาดับ รปู แบบสญั ลกั ษณใ์ นคัมภรี ์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๑ ทรงแสดงแก่พระอานนท์ว่า โดยการล่วงไปของ ธรรมวินัย ศาสดา พระองค์ ธรรมวินยั จักเปน็ ศาสดาแทน๑๐๐ ๒ พระมหากัสสปะเตือนพระอานนท์ด้วยถ้อยคา กลน่ิ คาว ยังไม่สิ้นอาสวะ ให้ เชิงสัญญะว่า ในหมู่ภิกษุนี้ มีภิกษุรูปหนึ่งเที่ยวโชย เรง่ ทาความเพียร กล่นิ คาวอยู่๑๐๑ ๓ พระอานนท์เม่ือจะประกาศให้ท่ีประชุมทราบว่าตน ดาดนิ บรรลพุ ระอรหันต์ ได้บรรลุพระอรหันต์แล้ว จึงได้ดาดินแสดงตนบน แลว้ อาสนะท่ีเขาปูไว้รับรองแก่ตนเอง พระมหากัสสปะ เห็นพระอานนท์แล้ว กใ็ หส้ าธกุ าร๑๐๒ ๔ การย่างพระบาทได้ ๗ ก้าว เปน็ บพุ พนมิ ิตแห่งการได้ ยา่ งพระบาท โพชฌงค์ ๗ รัตนะ คือ โพชฌงค์ ๗ ประการ๑๐๓ ๗ ก้าว ๕ พระอรรถกถาจรรยอ์ ธิบายการบา่ ยพระพักตร์ไปทาง บ่ายพระ ไดโ้ ลกตุ ตรธรรม ทิศอุดร เป็นบุพพนิมิตว่าจะได้โลกุตตรธรรมทั้ง พกั ตรไปทศิ ทั้งปวง ปวง๑๐๔ สามารถยา่ ยีเดียรถยี ์ทั้งปวงได้๑๐๕ อดุ ร ๑๐๐ท.ี สี.อ.(ไทย) ๑/๑/๗๑. ๑๐๑ที.ส.ี อ.(ไทย) ๑/๑/๘๑. ๑๐๒ท.ี ส.ี อ. (ไทย) ๑/๑/๘๓. ๑๐๓ท.ี ส.ี อ.(ไทย) ๑/๑/๑๗๔, ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๑/๑๐๘. ๑๐๔ท.ี สี.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๗๔. ๑๐๕ม.ม.ู อ.(ไทย) ๑/๑/๑๐๘.

๖๓ ตารางที่ ๓.๗ (ต่อ) ลาดับ รูปแบบสญั ลักษณใ์ นคัมภีร์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๖ ๖.๑ หมอชีวกโกมารภัจ ส่งสาส์นให้ตีกลองประกาศ ตกี ลอง ๑. ประกาศ ว่า วันนี้พระราชาจะเสด็จไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ๒. เรยี กประชุม เพื่อฟังธรรม ขอให้ทุกคนถวายอารักขาพระราชา ตามสมควรแก่สมบัติของตน ๆ๑๐๖ ๖.๒ ในการทหาร มีการใช้สัญลักษณ์กลองเรียกไพร่ พล,๑๐๗ ๖.๓ ในราชกิจก็มีการใช้สัญญาณกลองเรียก ประชุม๑๐๘ ๖.๔ พระปิณฑิยติสสเถระได้ตีกลองเพื่อให้สัญญาณ แก่ภกิ ษสุ งฆ์ประชมุ กันเพอื่ กล่าวลาปรินพิ พาน๑๐๙ ๖.๕ พระพุทธเจ้ารับสั่งให้พระราชาตีกลองประกาศ ขา่ วหาผู้ที่ตอ้ งการศพนางสริ ิมา๑๑๐ ๖.๖ พระราชาโปรดให้ตีกลองประกาศในพระนครว่า ชนใดปรารถนาจะบวชในสานักลูกชาย ชนนั้น ๆจง บวชเถิด๑๑๑ ๗ พรรณนาถึงเหตุการณ์ท่ีหมอชีวก นาเสด็จพระเจ้า สัญญาณมือ อวจนะภาษา อชาตศัตรเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ เน่ืองจากพระผู้มี พระภาคประสงค์ความเงียบสงัด จึงไม่มีการใช้เสียง การส่อื สารจึง รกู้ นั ด้วยสัญญาณนว้ิ มือเทา่ น้ัน๑๑๒ ๘ ภิกษุเห็นพระเจดีย์ ต้นศรีมหาโพธ์ิ พระสงฆ์ ยังปีติมี เจดีย์/ตน้ โพธ์ิ อารมณ์กมั มัฏฐาน พระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ให้เกิดข้ึนพิจารณาให้เห็น ความเส่ือมไป สิ้นไป ย่อมบรรลุพระอรหัตได้ น้ี เรยี กวา่ มีประโยชน์ ๑๑๓ ๑๐๖ท.ี สี.อ. (ไทย) ๑/๑/๓๖๐. ๑๐๗ที.ม.อ. (ไทย) ๒/๑/๓๔๘. ๑๐๘ท.ี ม.อ.(ไทย) ๒/๑/๓๓๙. ๑๐๙อ.เอก.อ.(ไทย)๑/๒/๒๕๓. ๑๑๐ข.ุ ว.ิ อ. (ไทย) ๒/๑/๑๓๒. ๑๑๑ข.ุ ชา.อ.(ไทย) ๔/๒/๗๒. ๑๑๒ที.ส.ี อ.(ไทย) ๑/๑/๓๖๔. ๑๑๓ที.สี.อ.(ไทย) ๑/๑/๔๑๖.

๖๔ ตารางที่ ๓.๗ (ตอ่ ) ลาดบั รูปแบบสญั ลักษณใ์ นคมั ภีร์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๙ กุฎี ๔ ราคาหลัง ๆ ละ ๑ แสนกหาปนะได้แก่ กเรริ กฎุ ี ๔ หลงั ที่ประทบั กุฏี,โกสัมพกุฎี,คันธกุฎี,สฬลฆรกุฏี ถูกกาหนดเป็นท่ี ประทับของพระพทุ ธเจ้า๑๑๔ ๑๐ ลางบอกเหตุ ๕ ประการท่ีเทวดาจะหมดอายุ คือ บพุ นิมติ ๕ ลางบอกเหตุการณ์ ดอกไม้เห่ียว,ผ้าเศร้าหมอง,เหง่ือออกจากรักแร้, ผิวพรรณเศร้าหมอง, ไม่ตั้งอยู่ในเทวอาสน์ (อาสนะ ร้อนนั่งไม่ได้)๑๑๕ ๑๑ ๑๑.๑ มีการใช้สัญญาณระฆังเรียกทากิจต่าง ๆ ตรี ะฆัง/เสียง เวลาทากิจตา่ ง ๆ ภายในวัด เช่น ให้โอวาท, ปฏิบัติพระเจดีย์, ปฏิบัติ ระฆงั ลานโพธ,ิ์ มงุ โรงอุโบสถ๑๑๖ ๑๑.๒ ภิกษุใช้สัญญาณระฆังเพื่อลงสู่ที่กระทาความ เพียรในเวลาเยน็ ๑๑๗ ๑๑.๓ ใช้สัญญาณระฆังเพื่อเพ่ือบอกเวลาลงสู่งที่ กระทาความเพยี รในอาทิตยอ์ ัสสดง๑๑๘ ๑๒ ๑๒.๑ พระเถระ ๕๐ รูป ไปยังนาคทวีป ประสงค์จะ เจดีย์ ทเี่ คารพ ไหว้เจดีย์๑๑๙ /ลานโพธิ์ ๑๒.๒ มีการสร้างเจดีย์ และจัดมหกรรมฉลองเจดีย์ บรรจพุ ระบรม หลายเมืองที่ได้รับพระบรมสารีริกธาตุไป มหกรรม สารีรกิ ธาตุ สาธุกีฬา๑๒๐ ๑๒.๓ นิมิตไม่ดีเกิดแก่บิดาของพระโสณเถระ พระ แทนพระพุทธเจ้า เถระจึงให้สามเณรนาดอกไม้ เครื่องบูชามาตั้งหน้า พระเจดีย์ และลานโพธ์ิ พร้อมทั้งบอกให้พ่อทาการ บูชาด้วยคาว่า “ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า เครื่อง บรรณาการของคนยากนี้เปน็ ของข้าพระองค์”๑๒๑ ๑๑๔ที.ม.อ.(ไทย) ๒/๑/๖๙. ๑๑๕ท.ี ม.อ. (ไทย) ๒/๑/๙๕. ๑๑๖ท.ี ม.อ.(ไทย) ๒/๑/๓๔๙. ๑๑๗ส.ส.อ.๑ (ไทย) /๒/๓๖๒. ๑๑๘ส.ข.อ. (ไทย) ๓/๒๐๓. ๑๑๙ท.ี ม.อ.(ไทย) ๒/๑/๓๖๑. ๑๒๐ท.ี ม.อ.(ไทย) ๒/๑/๔๖๔. ๑๒๑อ.เอก.อ.(ไทย) ๑/๒/๑๗๐.

๖๕ ตารางที่ ๓.๗ (ต่อ) สญั ญะ ความ ลาดับ รปู แบบสัญลกั ษณใ์ นคมั ภีร์ หมายสัญญะ ท่ีบรรจพุ ระ ๑๓ พระพุทธเจ้ารับสั่งให้สร้างพระธาตุเจดีย์บรรจุอัฐิพระ พระธาตุ สารีบุตร และพระมหาโมคคลั ลานะ๑๒๒ ธาตุ เพอ่ื บชู า ๑๔ ๑๔.๑ ใช้ฉัตร, ธง,เครื่องประดับอื่น ๆ บูชา เช่น พระ ธง,ประทปี เงนิ , ชา้ งมงคล เจ้าอชาตศัตรูรับส่ังให้ชาดก ๕๕๐ ชาดก, พระอสีติ ประทปี ทอง ประกาศธรรม มหาสาวก, พระเจ้าสุทโธทนะ,พระนางมายาเทวี, ,พวงมาลยั พระพุทธเจ้า สญั ลักษณ์ สหชาติทั้ง ๗ แล้วโปรดให้ประดับประดา ทาการบูชา ประจา ด้วยสง่ิ ตา่ ง ๆ เหล่าน้ี๑๒๓ พระองค์ ๑๔.๒ พระราชารับส่ังให้ประดับธงชัย ธงแผ่นผ้า และ ตน้ กล้วย เพ่อื บชู าการเสด็จมาของพระพุทธเจ้า๑๒๔ ๑๔.๓ บุพกรรมของพระพุทธเจ้าพระนามปทุมุตตระ เกิดในเรือนมีตระกูล เลื่อมใสในพระศาสดา ได้ทาธง ด้วยผ้าดี ๆ บูชา ด้วยกรรมนั้นจึงไปบังเกิดในตระกูล สูง๑๒๕ ๑๕ ถือช้างเป็นสัตว์มงคลคู่บ้านคู่เมือง หรือคู่บารมีของ หัตถีรตั นะ/ พระเจ้าแผ่นดิน๑๒๖ เช่น ช้างปัจจัยนาค ชาวเมืองถือ ช้างเผือก เป็นช้างมงคลคบู่ ารมพี ระโพธิสตั ว์๑๒๗ ๑๖ การแสดงธรรมจักรถือเป็นหมนุ วงลอ้ แห่งธรรม๑๒๘ หมนุ ล้อ ธรรมจักร ๑๗ พรรณนาถึงพุทธเนรมิตท่ีเหมือนองค์พระพุทธเจ้าทั้ง พทุ ธเนรมติ โดยรปู ทรง รัศมี๑๒๙ ๑๘ พระมเหสีประสูติชิ้นเน้ือ ทรงละอายและเกรงจะเส่ือม พระราชลญั เสียพระเกียรติ จึงให้นาชิ้นเน้ือน้ันใสลงในภาชนะ ชกร ประทับตราพระราชลัญชกร แล้วก็ให้คนนาไปปล่อย แม่น้าคงคา๑๓๐ ๑๒๒ท.ี ม.อ.(ไทย) ๒/๑/๓๘๘. ๑๒๓ที.ม.อ.(ไทย) ๒/๑/๔๖๗. ๑๒๔ข.ุ ธ.อ.(ไทย) ๑/๒/๔/๑๔๘. ๑๒๕ขุ.อป.อ.(ไทย)๘/๒/๒๓๑. ๑๒๖ท.ี ม.อ.(ไทย) ๒/๑/๕๑๒. ๑๒๗ขุ.ชา.อ.(ไทย) ๔/๓/๖๑๑. ๑๒๘ที.ม.อ.(ไทย) ๒/๒/๔๓. ๑๒๙ที.ม.อ.(ไทย) ๒/๒/๑๐๒. ๑๓๐ม.มู.อ.(ไทย) ๑/๒/๖๔.

๖๖ ตารางท่ี ๓.๗ (ต่อ) ลาดับ รูปแบบสญั ลักษณใ์ นคัมภรี ์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๑๙ สถานที่พระพุทธเจ้ายืนทอดพระเนตรต้นโพธ์ไม่กระพริบ เจดยี ์ สถานเสวย พระเนตร ๗ วันเรียกอนิมิตเจดีย์, สถานที่ประทับยืนตลอด วิมตุ ตสิ ขุ ๗ วัน เรียกว่า รัตนจงกรมเจดีย์, สถานท่ีพิจารณาอภิธรรม เรียกว่า รตั นฆรเจดยี ์๑๓๑ ๒๐ ทาสชื่อปูรณะเกิดมาเป็นคนท่ี ๙๙ ได้รับสิทธิพิเศษไม่ต้อง ๙๙ เลขมงคล ทางานเหมือนทาสอน่ื ๆ เพราะเขาถือวา่ เปน็ ทาสมงคล๑๓๒ ๒๑ “ชมพูทวีปน้ี ย่อมปรากฏด้วยไม้หว้า” ใช้ช่ือต้นไม้เป็น ตน้ หว้า ชมพทู วีป สัญลักษณ์ของเมอื ง/ประเทศ๑๓๓ ๒๒ พวกเทวดาตั้งรูปเหมือนพระอินทร์เพื่อป้องกันการรุกราน รูปเหมือน พระอนิ ทร์ จากอสูร๑๓๔ ๒๓ ภิกษุรปู หน่งึ จะสรงน้า มองรอบ ๆ ไมเ่ ห็นใคร จึงได้ถอดสบง กระแอม สง่ สัญญาณให้ จวี รออก จากนั้นจงึ กระแอม ๓ คร้งั ก่อนลงไปในน้า๑๓๕ ผู้อน่ื รับทราบ ว่ามคี นอยู่ ๒๔ พระพุทธเจ้าทราบข่าวพระญาติจะทาสงครามเพราะแย่งน้า การปรากฏ หา้ มทพั ทานา จงึ ไปปรากฏพระองค์อยู่ท่ามกลางนภากาศ พระญาติ พระองค์ จงึ ลม้ เลกิ ทาสงครามด้วยคิดว่า พระพุทธเจา้ คงจะทรงทราบ ท่ามกลาง เหตุการณท์ ะเลาะวิวาทเร่อื งแยง่ น้า๑๓๖ หม่ญู าติ ๒๕ ๒๕.๑ นางภัททกาปิลานีกับปิบผลิมาณพออกบวชอุทิศ ซา้ ย-ขวา เพศหญงิ -ชาย พระพุทธเจ้า ถึงทาง ๒ แพรง่ จงึ แยกทางกัน ในการแยกทาง นางภัททกาปิลานีได้กลา่ วว่า “ท่านมีชาติเบื้องขวา ทางขวา สมควรแก่ท่าน ฉันชื่อว่ามาตุคามมีชาติเบื้องซ้าย ทางซ้าย สมควรแกฉ่ ัน”๑๓๗๒๕.๓ เวสสนั ดรชาดก ตอนพระชาลีกุมาร ขึ้นจากสระน้า ได้หมอบแทบพระบาทเบื้องขวา ส่วนพระ นางกณั หามอบแทบพระบาทเบ้อื งซ้าย๑๓๘ ๑๓๑ม.ม.ู อ.(ไทย) ๑/๒/๔๕๗. ๑๓๒ม.ม.ู อ.(ไทย) ๑/๒/๕๖๘. ๑๓๓ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๓/๘๘. ๑๓๔ม.ม.ู อ.(ไทย) ๑/๓/๑๖๔. ๑๓๕ส.ส.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๐๘. ๑๓๖ส.ส.อ.(ไทย) ๑/๑/๒๐๔. ๑๓๗อ.เอก.อ.(ไทย)๑/๑/๓๐๐. ๑๓๘ข.ุ ชา.อ.(ไทย) ๔/๓/๗๒๐.

๖๗ ตารางท่ี ๓.๗ (ตอ่ ) ลาดบั รปู แบบสัญลักษณ์ในคัมภรี ์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๒๖ ๒๖.๑ พระยาสีหะราชาแห่งมฤคกระทาประทักษิณ ทาประทักษิณ แสดงความ พระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ๓ ครั้ง ไหว้ในท่ีทั้ง เคารพ ๔ แล้วถอยออกไปยนื อยู่๑๓๙ ๒๖.๒ พระเจ้าปัสเสนทิโกศล ทรงช้างเผือก ทรงทา ประทักษิณพระนครด้วยอานุภาพใหญ่๑๔๐ ๒๖.๓ พระราชาทรงระงับปัจจันตชนบทได้แล้ว เสด็จกลับมา ทรงกระทาประทักษิณพระนครซ่ึง ชาวเมอื งประดับตกแต่งไว้รบั เสดจ็ ๑๔๑ ๒๖.๔ พราหมณ์เข็ญใจคนหนึ่งคิดว่าจะบารุงเทวดา จึงทาความสะอาดบริเวณต้นทองกวาวใหญ่ต้นหนึ่ง ลอ้ มรั้ว เกล่ียทราย ปัดกวาด แลว้ เจิมด้วยของหอม บูชา ด้วยดอกไม้ ตามประทีป แล้วกล่าวว่า ท่านจงอยู่สบาย เถดิ แล้วกระทาประทกั ษณิ หลีกไป๑๔๒ ๒๖.๕ พระทีปังกรทศพลก็ทรงสรรเสริญพระมหา สัตว์ผู้เป็นพระโพธิสัตว์ทรงบูชาด้วยดอกไม้๘กาทรงทา ประทกั ษิณและเสด็จหลกี ไป๑๔๓ ๒๗ ดาบสหน่ึงหมื่นคนบาเพ็ญเพียรอยู่ในป่า โดยตั้งกติกา กองทราย อกุศลวิตก กนั วา่ ถ้าอกุศลธรรมเกดิ ขน้ึ กับผใู้ ด ใหเ้ อาใบไม้ขนทราย มากองในบรเิ วณจุดที่กาหนด๑๔๔ ๑๓๙อ.เอก.อ.(ไทย)๑/๑/๓๒๓. ๑๔๐ข.ุ ธ.อ. (ไทย) ๑/๒/๒/๑๕๓. ๑๔๑ขุ.ชา.อ.(ไทย) ๓/๔/๘. ๑๔๒ข.ุ ชา.อ. (ไทย) ๓/๔/๔๒๑. ๑๔๓ข.ุ พุ.อ.(ไทย) ๙/๒/๒๑๔. ๑๔๔อ.จตกุ ก.อ.(ไทย) ๒/๕๔.

๖๘ ตารางที่ ๓.๗ (ต่อ) ลาดบั รปู แบบสญั ลักษณใ์ นคัมภีร์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๒๘ ๒๘.๑ โทณพราหมณ์เดินทางไกลเห็นรอยเท้าซึ่งมี รอยพระบาท พระพุทธเจา้ ลกั ษณะพิเศษไม่เหมอื นรอยเท้าบุคคลท่ัวไป จึงเดินตาม รอยเท้านั้นและพบพระพุทธเจ้าประทับน่ังอยู่ที่โคนไม้ แห่งหนึง่ ๑๔๕ ๒๘.๒ พระพุทธเจ้าไม่ได้ประทับอยู่ในที่ที่พราหมณ์มา คันทิยะนัดหมายไว้ จึงได้ประทับรอยพระบาทไว้แทน สว่ นพระองค์ได้เสดจ็ ประทับน่ังใต้รม่ ไม้ซ่ึงอยู่ในทไี่ ม่ไกล จากนั้น๑๔๖ ๒๙ พระราชา ๒ องค์ สละบลั ลงั กอ์ อกผนวชเป็นดาบส เพื่อ สัญญาณไฟ มีชวี ิตอยู่ ความเจริญในธรรม จึงแยกกันอยู่ท่ีภูเขาคนละลูก และ อาศัยสัญญาณไฟเพ่ือทราบความท่ีอีกฝ่ายยังมีชีวิต อยู่๑๔๗ ๓๐ พระศาสดาทราบข่าวว่าพระเจ้าวิฑูฑภะยกทัพจะไปฆ่า ประทับน่งั กลาง ห้ามทัพ เจ้าศากยะ จึงเสด็จไปประทับกลางแดด เพื่อส่ง แดด สญั ญาณให้พระเจา้ วฑิ ูฑภะทรงทราบ๑๔๘ ๓๑ คนเลี้ยงโคทราบนิมิตแห่งฝนด้วยการสังเกตการทารัง ปูปดิ ร้ใู กล้นา้ ฝนมาก ของนก การขุดรอู ยู่ของปู๑๔๙ แล้วมาขุดรูในท่ี ดอน ๓๒ พระผู้มีพระภาคเจ้าเม่ือมีพระประสงค์จะเสด็จเข้าไปใน ปิดประตู ต้องการเสดจ็ ท่ีบางแห่ง เฉพาะพระองค์เดียว ในเวลาภิกขาจาร ทรง เพยี งลาพัง ปดิ พระทวาร เสด็จเข้าไปภายในพระกุฏี ภิกษุทง้ั หลาย ทราบสัญญาณนั้น ถือเอาบาตรและจีวรของตน กระทา ประทกั ษิณพระคันธกฎุ ี ไหวแ้ ล้วไปสู่ทภี่ กิ ขาจาร๑๕๐ ๓๓ เกิดอุปัทวะมีทุพภิกขภัยเป็นต้นในเมืองเวสาลี กษัตริย์ การเชญิ เสดจ็ กาจดั อุปัทวะ ลจิ ฉวีจงึ ได้กราบทลู เชิญเสด็จพระผู้มพี ระภาคเจ้าสู่เมอื ง พระพุทธเจ้า เวลาลเี พอ่ื กาจดั อปุ ทั วะเหลา่ นัน้ ๑๕๑ ๑๔๕อ.จตกุ ก.อ.(ไทย)๒/๑๔๐. ๑๔๖ขุ.ธ.อ.(ไทย) ๑/๒/๓/๒๘๐. ๑๔๗ขุ.ธ.อ.๑(ไทย) /๒/๑/๒๒๑. ๑๔๘ข.ุ ธ.อ.(ไทย) ๑/๒/๒/๓๕. ๑๔๙ข.ุ สุ.อ.(ไทย) ๑/๕/๕๘. ๑๕๐ข.ุ สุ.อ.(ไทย) ๑/๕/๒๖๒. ๑๕๑ข.ุ ส.ุ อ. (ไทย) ๑/๖/๗.

๖๙ ตารางท่ี ๓.๗ (ตอ่ ) ลาดับ รปู แบบสญั ลกั ษณใ์ นคมั ภีร์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๓๔ ๓๔.๑ พระเจ้าอชาตศัตรู นาพระบรมสารีริกธาตุทีไ่ ดร้ ับ พระสถปู พระศาสดา ส่วนแบ่งมาสร้างพระสถูป อุบาสิกาคนหน่ึงคิดจักบูชา พระศาสดาจึงถือดอกบวกขมตามที่ได้มา มีศรัทธาแรง กล้า มงุ่ หนา้ ต่อพระสถูป๑๕๒ ๓๔.๒ บุพกรรมของพระปิลินทวัจฉะ เม่ือพระพุทธเจ้า ปรินิพพานแล้ว ได้บูชาพระสถูป บาเพ็ญทานใน พระสงฆ์ เคล่อื นจากอัตภาพนน้ั แลว้ บังเกิดในสวรรค์๑๕๓ ๓๕ ช้างฉัททันต์ได้เห็นผ้ากาสาวะอันเป็นธงชัยแห่งพระ ผา้ กาสาวะ ธงชยั แห่งพระ อรหันต์ที่นายพรานโสณุตตระพรานนงุ่ ห่ม จึงไม่กล้าทา อรหนั ต์ ร้าย๑๕๔ ๓๖ เปรียบเทียบกาสาวะเป็นธงชัยแห่งพระอรหันต์ ส่วนผ้า ผา้ ขาว ธงชัยแห่ง สขี าวเปน็ ธงชยั แหง่ เดยี รถีย์๑๕๕ เดียรถยี ์ ๓๗ ทันทีที่พระกุมารประสูติ บุรพนิมิต ๓๒ ประการได้ บรุ พนิมิต ๓๒ พุทธลักษณะ ปรากฏขึ้น เทวดาในดาวดึงส์ภพได้ยินดีร่าเริงว่า พระ ร า ช กุ ม า ร นี้ จ ะ ป ร ะ ทั บ น่ั ง ท่ี ล า น โ พ ธ์ิ แ ล้ ว จั ก เ ป็ น พระพทุ ธเจ้า๑๕๖ ๓๘ พระโพธิสัตวบ์ รรทกุ สนิ ค้าไปขายต่างเมืองโดยอาศยั จาก ดวงดาว บอกทิศ ดวงดาวเป็นสัญญาณในการเดินทางตอนคนื ๑๕๗ ๓๙ พระเจ้าแผน่ ดินรบั สงั่ ให้สืบหาผลู้ ักลอบมีชู้กบั พระมเหสี รอยนิ้วมอื ผู้กระทาผิด ดว้ ยการตรวจดูผู้ทมี่ ีลายมือที่แผ่นหลัง สุดท้ายก็จับวิชา ธรตนได้๑๕๘ ๑๕๒ขุ.วิ.อ.(ไทย) ๒/๑/๓๘๔. ๑๕๓ข.ุ อป.อ.(ไทย) ๘/๒/๓๐. ๑๕๔ขุ.เถร.อ.(ไทย) ๒/๓/๔/๒๐๔. ๑๕๕ขุ.เถร.อ.(ไทย) ๒/๓/๔/๒๒๑. ๑๕๖ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๓/๑/๙๐. ๑๕๗ข.ุ ชา.อ.(ไทย) ๓/๑/๑๗๓. ๑๕๘ขุ.ชา.อ.(ไทย) ๓/๕/๑๗๓.

๗๐ ตารางที่ ๓.๗ (ต่อ) สญั ญะ ความ ลาดบั รูปแบบสญั ลักษณ์ในคมั ภรี ์ ขึ้น/แรม หมายสัญญะ ๑๔,๑๕ ค่า ๔๐ พระมหาสัตว์ทรงรักษาอุโบสถกรรมทุกดิถี ๑๔ ค่า ๑๕ วันรักษา ค่า๑๕๙ในวันอุโบสถ อุบาสกเหล่านั้นได้อธิษฐานอุโบสถ ผมหงอก อโุ บสถ แต่เช้าตรู่ ภายหลังภัตต่างถือของหอมและดอกไม้เป็น ต้นไปยังพระเชตวัน นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เพื่อฟัง ชู ๒ นวิ้ สละราช ธรรม๑๖๐ สมบัติ ๔๑ กษัตริย์ผู้ทรงทศพิธราชธรรม ได้ใช้ผมหงอกเป็น คติ ๒ สัญลกั ษณใ์ นการสละราชสมบตั ิสบื ทอดกันถงึ ๘๔,๐๐๐ ประการของ พระองค๑์ ๖๑ พระกมุ าร ๔๒ ในพราหมณ์ทั้ง ๗ ได้ชู ๒ นิ้ว แสดงนัย ๒ ประการคือ ถ้าอยู่ครองเรือนจักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ถ้าออก บวชจะได้เป็นศาสดาเอกของโลก ขณะที่อัญญาโกณ ฑญั ญะชเู พยี งนวิ้ เดียว๑๖๒ จากตารางที่ ๓.๗ ผู้วิจัยจะวิเคราะห์เนื้อหาเชิงสัญลักษณ์ ๓ ประเด็นหลัก คือ (๑) วิเคราะห์จัดกลุ่มสัญลักษณ์ (๒) วิเคราะห์ท่ีมาของสัญลักษณ์ (๓) วิเคราะห์รูปแบบสัญลักษณ์ตามวิถี หนา้ ท่ี ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ๓.๕.๑ วเิ คราะหจ์ ดั กลุ่มสญั ลกั ษณ์ (๑)ในอรรถกถาพระสุตตันตปิฎก มีรูปแบบเชิงสัญลักษณ์ท้ังส้ิน ๔๒ เร่ืองคือ สญั ลักษณท์ างพฤติกรรม จานวน ๑๗ เรื่อง, สัญลักษณ์แสดงสภาวะ ๗ เร่ือง, สัญลกั ษณ์เกี่ยวกับสัตว์ หรือบคุ คล ๑ เรื่อง, สัญลกั ษณ์เกีย่ วกับวตั ถุ สถานท่ี จานวน ๑๔ เรื่อง, และสัญลักษณเ์ กย่ี วกับตัวเลข ๑ เร่อื ง (๒) สัญลักษณ์ทางพฤติกรรม จานวน ๑๗ เร่ือง ได้แก่ การดาดิน, การย่างพระบาท ๗ ก้าว, บ่ายพระพกั ตรไ์ ปทางทิศอุดร, ตีกลอง, สัญญาณมือ, ตีระฆัง, หมุนลอ้ , พุทธเนรมิต, กระแอม, การปรากฏพระองค์ท่ามกลางพระญาติ, ทาประทักษิณ, ประทับนั่งกลางแดด, ปูปดิ รูท่ีใกลน้ ้า ขดุ รูอยู่ ในทดี่ อน, ปิดประต,ู การเชิญเสด็จพระพุทธเจ้าเขา้ บ้าน, และการชู ๒ นวิ้ (๓) สัญลักษณ์แสดงสภาวะ จานวน ๗ เรื่อง ได้แก่ กล่ินคาว,บุพนิมิต ๕ ประการ, สญั ญาณไฟ, บุพนมิ ติ ๓๒ ประการ, รอยน้ิวมือ, ขา้ งข้นึ -ข้างแรม, และผมหงอก (๔) สญั ลักษณ์เกี่ยวกบั บุคคล หรอื สัตว์ จานวน ๑ เรอ่ื ง ไดแ้ ก่ ชา้ งเผือก ๑๕๙ข.ุ ชา.อ. (ไทย) ๓/๗/๑๙๘. ๑๖๐ข.ุ ชา.อ. (ไทย) ๔/๓/๒๘. ๑๖๑ข.ุ ชา.อ.(ไทย) ๔/๒/๒๔๐. ๑๖๒ขุ.อป.อ.(ไทย) ๘/๑/๑๑๗.

๗๑ (๕) สญั ลักษณ์เกีย่ วกบั วตั ถุ, สถานท่ี จานวน ๑๔ เร่อื ง ได้แก่ เศวตฉัตร, พดั จามร , เจดีย์,ลานโพธ,์ิ กุฎี, พระธาต,ุ ธง ประทีป พวงมาลัย, ต้นหวา้ , รูปเหมอื น, กองทราย, รอยพระบาท, สถปู , ผา้ กาสาวพัตร,์ และผ้าขาว (๖) สญั ลกั ษณ์เกี่ยวกับตวั เลข ๑ เรือ่ ง ได้แก่ ๙๙ ๓.๕.๒วิเคราะหท์ ม่ี าของสญั ลกั ษณ์ จากข้อมูลสัญลกั ษณ์ในอรรถกถาพระสุตตันตปฎิ ก จานวนทงั้ ส้ิน ๔๒ ชนดิ วเิ คราะห์ ที่มาของสัญลักษณ์ ๓ ประเภท คือ ๑) สัญลักษณ์ท่ีมีมาก่อนพุทธกาล ๒) สัญลักษณ์ท่ีมาสมัย พทุ ธกาล และ ๓) สัญลกั ษณ์ท่ีมีหลงั พุทธกาล ดังรายละเอียดไดด้ ังนี้ (๑) สัญลักษณ์ท่ีเกิดหรือมีมาก่อนพุทธกาล สัญลักษณ์กลุ่มน้ี แบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มย่อย ไดแ้ ก่ ก. สั ญลักษ ณ์ มีมา ก่อน พ ระพุท ธ ศ าส น า แ ละถูก นามา ใช้ใ น พระพทุ ธศาสนาด้วย ในอรรถกถาพระสุตตันตปิฎกพบสัญลักษณ์ท่ีมลี ักษณะดังกล่าว จานวน ๙ชนิด ได้แก่ ตีกลอง-เรียกประชุม/ประกาศข่าว, ซ้าย ขาว-หญิง ชาย, ประทักษิณ-เคารพ, บุพนิมิต ๓๒ ประการ-พุทธลักษณะ, ช้างเผือก-สัตว์มงคล, ๙๙-ความเป็นมงคล,ผ้าขาว-ธงชัยแห่งเดียรถีย์ ,ผ้ากาสาวพตั ร์-ธงชัยแหง่ พระอรหนั ต์, และวัน ๑๔ หรือ ๑๕ ค่า-วันอโุ บสถ, ข.สัญลักษณ์มีมาก่อนพุทธกาล แต่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธ ศาสนา แต่มปี รากฏอยู่ในคมั ภีรท์ างพระพุทธศาสนา ในอรรถกถาพระสุตตันตปฎิ กพบสญั ลกั ษณ์ที่มี ลักษณะดังกล่าวจานวน ๙ ชนิด ได้แก่ต้นหว้า-ชมพูทวีป, พระราชลัญจกร-ตราประจาพระองค์มหา กษัตริย์, กองทราย-อกุศลวิตก, ไฟ-ยังมีชีวิตอยู่, ปูปิดรูใกล้น้า ไปขุดรูในท่ีดอน-จะมีฝนมาก,รอยน้ิว มือ-ผู้กระทาความผิด, ผมหงอก-สละราชสมบัติ,ดวงดาว-บอกทิศทาง, และชู ๒ น้ิว-คติ ๒ ประการ ของพระกุมาร (๒) สัญลักษณ์ท่ีเกิดหรือมีสมัยพุทธกาลเป็นสัญลักษณ์ท่ีถูกกาหนดข้ึนเพื่อใช้ สือ่ สารกันภายในสังคมสงฆ์ หรือพุทธบริษัทเป็นการเฉพาะหรือเข้าใจกันอยู่ในวงจากัด ในอรรถกาถา พระสุตตันตปิฎก พบจานวน ๒๐ ชนิด ได้แก่ ธรรมวินัย-ศาสดา, กล่ินคาว-ยังมีกิเลส, ดาดิน-บรรลุ พระอรหันต์, ดาเนินได้ ๗ ก้าว-โพชฌงค์ ๗, บ่ายหน้าไปทางทิศอุดร-ได้บรรลุโลกุตรธรรม, สัญญาณ มอื -อวจนภาษา, กุฏิ ๔ หลัง-ที่ประทับของพระพุทธเจ้า, ระฆัง-บอกเวลาทาวัตรของสงฆ์, เจดีย์ ลาน โพธ์ิ-ศาสดา, พุทธเนรมิต-พระพุทธเจ้า, พระธาตุ-ท่ีบรรจุพระธาตุ, ธรรมจักร-ประกาศธรรม, เจดีย์- สถานที่เสวยวิมุตติสุข, รูปเหมือนพระอินทร์-พระอินทร์, กระแอม-ส่งสัญญาณให้ทราบ, การปรากฏ พระองค์-ห้ามทัพ, รอยพระบาท-พระพุทธเจ้า, ประทับนัง่ กลางแดด-หา้ มทัพ, ปิดประตู-ต้องการเสด็จ เพียงลาพงั , และการเชิญเสด็จ-ขจดั อุปัทวะตา่ ง ๆ, (๓) สัญลักษณ์ที่เกิดหลังพุทธกาล จากหลักฐานท่ีปรากฏในอรรถกถาพระ สุตตันตปฎิ ก พบจานวน ๒ ชนิด ได้แก่ เจดีย์ ต้นโพธิ์-อารมณ์กรรมฐาน, พระสถูป-พระศาสดา

๗๒ ๓.๕.๓ วเิ คราะห์รูปแบบสัญลักษณ์ตามวิถีหนา้ ท่ี ผู้วิจัยวิเคราะห์รูปแบบเชิงสัญลักษณ์ในอรรถกาถาพระสุตตันปิฎกตามวิถีหน้าท่ี (mode) ๕ ประการ กล่าวคือ วิถีหน้าที่แบบเหมือน (Iconic mode), วิถีหน้าท่ีแบบดัชนี (Indexical mode), วิถีหน้าที่แบบเคร่ืองหมายหรือป้าย (Signic mode), วิถีหน้าท่ีแบบสัญญาณหรือรหัส (Signal, Code), และ วิถหี น้าที่แบบสัญญะ หรือสัญลักษณ์ (Sign, Symbol) ดงั รายละเอยี ดในตาราง ท่ี ๓.๘ ตารางท่ี ๓.๘ รปู สญั ลกั ษณ์ตามวถิ หี นา้ ท่ี วเิ คราะห์รปู แบบสัญลักษณ์ตามวิถหี น้าที่ ที่ สญั ญะ Icon Index Sign Code Symbol ธรรมวนิ ัย / กลน่ิ คาว / ดาดนิ / ย่างพระบาท ๗ กา้ ว / บ่ายพระพกั ตรไปทิศอุดร / ตีกลอง / สัญญาณมือ / เจดีย์/ตน้ โพธ์ิ / กฎุ ี ๔ หลงั / บพุ นมิ ติ ๕ / ตรี ะฆงั /เสยี งระฆัง / เจดยี /์ ลานโพธ์ิ / พระธาตุ / ธง,ประทีปเงิน-ทอง,พวงมาลัย / หัตถรี ัตนะ/ช้างเผือก / หมุนล้อธรรมจกั ร / พทุ ธเนรมิต / พระราชลญั ชกร / เจดีย์ / ๙๙ / ตน้ หวา้ / รูปเหมือน / กระแอม / การปรากฏพระองค์ท่ามกลางหม่ญู าติ / ซา้ ย-ขวา / ทาประทักษิณ /

๗๓ ตารางที่ ๓.๘ (ตอ่ ) วเิ คราะห์รปู แบบสัญลักษณ์ตามวิถหี น้าท่ี Icon Index Sign Code Symbol ท่ี สญั ญะ กองทราย / รอยพระบาท / สญั ญาณไฟ ประทับน่ังกลางแดด / ปยู ้ายไปขุดรูในที่ดอน / ปดิ ประตู การเชญิ เสด็จพระพุทธเจา้ / พระสถปู / ผ้ากาสาวะ / ผ้าขาว / บรุ พนิมิต ๓๒ / ดวงดาว / รอยนิว้ มือ ขึน้ /แรม ๑๔,๑๕ ค่า / ผมหงอก / ชู ๒ น้วิ / / / / จากตารางที่ ๓.๘ สรุปได้ว่าอรรถกถาพระสุตตันตปิฎก มีรูปแบบสัญลักษณ์ ๔ ประเภท จากจานวน ๕ ประเภท กล่าวคือ (๑) รูปแบบเหมือน (Iconic mode) จานวน ๒ ชนิด ได้แก่ พทุ ธเนรมิต,รูปเหมอื น (๒)รูปแบบตัวบ่งชี้ (Indexical mode) จานวน ๑๑ ชนิด ได้แก่ ธรรมวินัย, ดาเนิน, ดาเนินได้ ๗ ก้าว, บ่ายพระพักตร์ไปทางทิศอุดร, บพุ นมิ ิต ๕ ประการ, กองทราย, สัญญาณไฟ, ปูย้าย ไปขดุ รูปในทด่ี อน, บุรพนิมติ ๓๒ ประการ, ขึ้น-แรม ๑๔,๑๕ ค่า,ผมหงอก (๓) รูปแบบรหัส (code) จานวน ๘ชนิด ได้แก่ กลิ่นคาว, ตีกลอง,สัญญาณมือ, เสียง ระฆัง, กระแอม, ปิดประต,ู ดวงดาว, และรอยน้ิวมือ (๔) รูปแบบสัญลักษณ์ (symbol) จานวน ๒๑ ชนดิ ได้แก่ ตน้ โพธ,์ิ กฏุ ิ ๔ หลงั , ตีระฆัง/ เสียงระฆัง,เจดีย์/ลานโพธ์ิ,พระธาตุ,ธง-ประทีปเงิน,ทอง-พวงมาลัย,ช้างเผือก,หมุนล้อธรรมจักร,พระ ราชลัญจกร, เจดีย์, ตัวเลข ๙๙, ต้นหว้า, การปรากฏพระองค์ท่ามกลางหมู่ญาติ,ซ้าย-ขวา,ทา ประทักษิณ,รอยพระบาท,ประทับน่ังกลางแดด, การเชิญเสด็จพระพุทธเจ้า,พระสถูป,ผ้ากาสาวะ,ผ้า ขาว, และ ชู ๒ นิว้

๗๔ ๓.๖ สัญลกั ษณใ์ นอรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก จานวน ๓ คัมภีร์ ได้แก่ อัฏฐสาลินี, สัมโมหวิโนทนี,ปรมัตถ ทีปนี ในบรรดาอรรถกถาเหลา่ น้ี พบรูปแบบสญั ลกั ษณ์ และความหมายสัญลกั ษณด์ งั ตอ่ ไปนี้ จากการสืบค้นอรรถกถาพระสุตตันปิฎก พบรูปแบบเชิงสัญลักษณ์ วิเคราะห์ และตีความ ดงั รายละเอียดในตารางท่ี ๓.๙ ตอ่ ไปนี้ ตารางที่ ๓.๙ รปู สญั ลักษณใ์ นคัมภีร์ ลาดับ รปู แบบสญั ลักษณใ์ นคัมภีร์ สญั ญะ ความ หมายสัญญะ ๑ เทวดาก่อนสิ้นอายุขัย มบี พุ นมิ ิต ๕ ประการบอกเหตุ บพุ นมิ ติ ๕ คือ ผ้าเศร้าหมอง, ดอกไม้แห้ง, เหงื่อไหลจากรักแร้, เทวดาจตุ ิ รศั มีกายหายไป, และเกดิ เบ่ือหนา่ ยในทพิ ยอาสน์๑๖๓ เกดิ สังเวชออก ๒ เทวดาแสดงสัญลักษณ์ให้โพธิสัตว์เกิดสังเวช และ เทวทูต บวช เสด็จออกผนวช๑๖๔ มีน้า ๓ ในฤดูแล้งในป่า ชาวบ้านจะผูกใบตาลที่ยอดต้นไม้ ผกู ใบตาลบน เพ่ือเป็นสัญญาณให้แก่คนทั้งหลายว่า สถานที่แห่งน้ี ยอดไม้ มนี า้ ๑๖๕ จากตารางท่ี ๓.๙ ผู้วิจัยจะวิเคราะห์เนื้อหาเชิงสัญลักษณ์ ๓ ประเด็นหลัก คือ (๑) วิเคราะห์จัดกลุ่มสัญลักษณ์ (๒) วิเคราะห์ท่ีมาของสัญลักษณ์ (๓) วิเคราะห์รูปแบบสัญลักษณ์ตามวิถี หนา้ ที่ ดงั จะได้กล่าวรายละเอียดต่อไป ๓.๖.๑ วิเคราะห์จัดกลุ่มสัญลกั ษณ์ (๑) อรรถกถาพระอภธิ รรม พบรูปแบบเชงิ สัญลักษณ์ ๓ เรื่อง (๒) ในจานวน ๓ ชนิด เป็นปรากฏการณ์ ๒ ชนิด ได้แก่ บุพนิมิต ๕ ประการ และ เทวทตู ๔, เป็นการกระทา ๑ เร่อื ง ได้แก่ การผูกใบตาลบนยอดไม้ ๓.๖.๒ วเิ คราะห์ท่มี าของสญั ลกั ษณ์ ในจานวนสัญลักษณ์ ๓ เร่ืองน้ี วิเคราะห์ได้ว่า บุพนิมิต ๕ ประการ และการผูก ใบตาลบนยอดไม้น้ัน เป็นสัญลักษณ์ที่ไม่เก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนา แต่มีอยู่ในคัมภีร์ พระพุทธศาสนา, เทวทูต ๔ เป็นสัญลักษณ์ที่มีมาก่อนพุทธกาล๑๖๖ และแม้ในสมัยพุทธกาล เจ้าชาย สทิ ธธิ ตั ถะก็อาศัยสญั ลกั ษณด์ งั กลา่ ว จงึ ทาใหต้ ดั สนิ ใจออกผนวช ๑๖๓อภิ.ส.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๔๓. ๑๖๔อภ.ิ ส.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๔๔. ๑๖๕อภ.ิ ส.อ.(ไทย) ๑/๑/๒๖๔. ๑๖๖ เหตุทีก่ ล่าววา่ มีมาก่อนสมัยพุทธกาลก็เพราะวา่ มีตัวอยา่ งในคัมภีร์ทรี่ ะบุถึงพระพทุ ธเจ้าองค์ก่อน ๆ ก็ปรารภเทวทตู ๔ ออกผนวชเชน่ เดียวกนั

๗๕ ๓.๖.๓ วเิ คราะห์รปู แบบสัญลกั ษณต์ ามวถิ หี น้าท่ี ผู้วิจัยวิเคราะห์รูปแบบเชิงสัญลักษณ์ในอรรถกาถาพระสุตตันปิฎกตามวิถีหน้าท่ี (mode) ๕ ประการ กล่าวคือ วิถีหน้าที่แบบเหมือน (Iconic mode), วิถีหน้าท่ีแบบดัชนี (Indexical mode), วิถีหน้าที่แบบเคร่ืองหมายหรือป้าย (Signic mode), วิถีหน้าที่แบบสัญญาณหรือรหัส (Signal, Code), และ วิถหี น้าที่แบบสัญญะ หรือสญั ลักษณ์ (Sign, Symbol) ดังรายละเอยี ดในตาราง ท่ี ๓.๑๐ ต่อไปน้ี ตารางที่ ๓.๑๐ รูปแบบสญั ลักษณ์ตามวิถหี นา้ ที่ วิเคราะหร์ ูปแบบสัญลักษณ์ตามวิถหี น้าท่ี ที่ รปู สัญญะ Icon Index Sign Code Symbol ๑ บพุ นิมติ ๕ ประการ / ๒ เทวทูต ๔ / ๓ การผกู ใบตาลบนยอดไม้ / จากตารางสรุปได้ว่า อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก มีรูปแบบสัญลักษณ์ ๓ ประเภท คือ รปู สัญลักษณแ์ บบบ่งช้ี ๑ ชนิด ได้แก่ บุพนิมิต ๕ ประการ, แบบรหัส ๑ ชนดิ ได้แก่เทวทตู ๔ และ แบบสัญลักษณ์ ๑ ชนิดไดแ้ ก่ การผกู ใบตาลบนยอดไม้ ๓.๗ วิเคราะห์บทบาทของสญั ลักษณ์ หลักฐานจากคัมภีร์พระไตรปิฎก และคัมภีร์อรรถกถา สะท้อนให้เห็นความจริงว่า สัญลักษณ์เป็นส่ือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้ส่ือสาร ปฏิสัมพันธ์กันระหว่างบุคคล กลุ่ม หรือสังคมนับตั้งแต่ อดีตก่อนพุทธกาล ช่วงพุทธกาล หลังพุทธกาล และตราบเท่าถึงปัจจุบัน ท้ังนี้เพราะสัญลักษณ์ สามารถทาหน้าท่ีทั้งในแง่ถ่ายทอดความรู้สึก เป็นเครื่องมือส่ือสาร เป็นเครื่องมือสาหรับความรู้ และ เป็นเครือ่ งมอื สาหรบั การควบคมุ ดังจะได้กล่าวในรายละเอียด ๓.๗.๑ เปน็ เครื่องมอื ถ่ายทอดความรู้สึก (Expression) จากขอ้ มูลหลกั ฐานในคมั ภรี พ์ ระพุทธศาสนา ยืนยันขอ้ เทจ็ จริงดงั กล่าวขา้ งต้น เพราะพบมี การใช้สัญลกั ษณ์เพอื่ ถา่ ยทอดอารมณห์ รือความรู้สึก โดยไมต่ อ้ งใช้ภาษาหรืออธบิ ายเปน็ คาพูดออกมา เช่น การทาประทักษิณ เป็นการแสดงความรู้สึกเคารพต่อบุคคลหรือสถานที่,ขณะที่การแซงซ้าย ถือ เป็นดูหมิ่น ไม่เคารพ,โอภาส หรือนิมิตกรรม เป็นการส่ือความหมาย ผ่านถ้อยคา ,ท่าทาง, หรือกิริยา อย่างใดอยา่ งหนึง่ เช่น การยืนนง่ิ ทางพระวินัยถือเป็นการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ของพระสงฆใ์ นทวง สิ่งของ, การถือจอบ เสียม หรือเครื่องมืออย่างใดอย่างหน่ึงเพื่อให้สามเณร หรือคนวัดทราบความ ประสงค์แล้วมาทาแทน ในกรณีท่ีกระการกระทานั้นภิกษุไม่สามารถทาเองได้ เน่ืองจากมีข้อห้ามทาง พระวินยั เปน็ ตน้ ๓.๗.๒ เป็นเคร่อื งมือสาหรบั สอื่ การ (Communication) สัญลักษณ์ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาทม่ี นุษย์ใช้ส่ือสาร จากคนหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง และถือเป็นภาษาเก่าแก่ที่มีมานานก่อนท่ีมนุษย์จะมีภาษาพูดด้วยซ้า ปัจจุบันแม้จะมีภาษาพูดแล้ว แต่มนุษย์ก็ยังใช้สัญลักษณ์ในการส่ือสารควบคู่กันไป ทั้งยังมีการพัฒนากระทั่งกลายเป็นภาษาเฉพาะ

๗๖ กลุ่ม เฉพาะบุคคล เช่นในประเทศฝรั่งเศสมีการพัฒนาในรูปแบบภาษามือ (sign-language) ใช้เป็น ครั้งแรก๑๖๗ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๓๖๐ John Hopkins Gallaudet ได้จัดต้ังโรงเรียนสอนคนหูหนวกท่ี สหรัฐอเมรกิ า จึงได้นาภาษามือมาใช้ในโรงเรยี นแห่งน้ี ภาษามือจึงได้กลายเป็นภาษาหลักสาหรบั สอน ในโรงเรยี นคนหหู นวก กระท่งั ต้นพุทธศตวรรษท่ี ๒๕ จึงมกี ารยกเลิก อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการยกเลิกไปแล้ว แต่ในการเล่น หรือการดาเนินชีวิตปกติของคนหู หนวกในโรงเรียนแห่งน้ี ก็ยังใช้ภาษามือในการสื่อสาร แสดงให้เห็นว่า สัญลักษณ์เป็นภาษาโดย ธรรมชาติทม่ี นษุ ย์ใช้สอื่ สารตามปกตอิ ยแู่ ล้ว ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา มีการส่ือสารผ่านสัญลักษณ์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น พระ เจ้าปัสเสนทิโกศลเห็นภิกษุเล่นน้า ต้องการกราบทูลพฤติกรรมให้ทรงทราบ จึงฝากภิกษุเหล่าน้ันนา น้าอ้อยไปถวายพระพุทธเจ้า๑๖๘พระอานนท์เมื่อจะประกาศให้ที่ประชุมทราบว่าตนได้บรรลุพระ อรหันต์แล้ว จึงได้ดาดินแสดงตนบนอาสนะท่ีเขาปูไว้รับรองแก่ตนเอง พระมหากัสสปะเห็นพระ อานนท์แล้ว ก็ให้สาธุการ๑๖๙พระราชา ๒ องค์ สละบัลลังก์ออกผนวชเป็นดาบส เพ่ือความเจริญใน ธรรม จึงแยกกันอยู่ที่ภูเขาคนละลูก และอาศัยสัญญาณไฟเพ่ือส่ือสารให้ทราบความท่ีตนยังมีชีวิต อยู่๑๗๐พระมหากัสสปะเตือนพระอานนท์ให้ไม่ให้ประมาท เพราะภิกษุที่เข้าร่วมสังคายนาล้วนแต่เป็น พระอรหันต์ คงมีเพียงอานนท์รูปเดียวที่ยังขาดคุณสมบัติข้อน้ี จึงใช้ถ้อยคาเชิงสัญลักษณ์ว่า ในหมู่ ภิกษุน้ี มีภิกษุรูปหน่ึงเที่ยวโชยกลิ่นคาวอยู่ การเตือนด้วยถ้อยคาดังกล่าว ทาให้พระอานนท์สลดใจ และรีบขวนขวายทาความเพียรอยา่ งหนัก๑๗๑ ๓.๗.๓ เปน็ เครอื่ งมอื สาหรับความรู้ (Knowledge) สัญลักษณ์นอกจากทาหน้าที่แสดงถึงอารมณ์ความรู้สึก และส่ือสารแล้ว ยังเป็นเคร่ือง สาหรับความรู้ กล่าวคือ ตัวสัญลักษณ์เองให้ความรอู้ ีกชุดหนึ่ง เช่น คนเล้ียงโครู้นิมิตแห่งฝนมากน้อย ด้วยการสังเกตการทารังของนก การขุดรูอยูข่ องปู๑๗๒ เมื่อพระกุมารประสูติ บุรพนิมติ ๓๒ ประการ ได้ปรากฏข้ึน เทวดาในดาวดึงส์ภพได้ยินดีร่าเริง เพราะรู้ว่า พระราชกุมารนี้จะประทับน่ังที่ลานโพธ์ิ แล้วจักเป็นพระพุทธเจ้า๑๗๓เทวทูต คือการที่เทวดาแสดงสัญลักษณ์ให้โพธิสัตว์รู้ความจริงของชีวิต กระทั่งเกดิ สังเวช และเสด็จออกผนวช๑๗๔หรือกรณีกอ่ นเทวดาสิ้นอายุขัย จะเกิดบุพนิมติ ๕ ประการ บอกเหตุ คือ ผ้าเศร้าหมอง, ดอกไม้แห้ง, เหงื่อไหลจากรักแร้, รัศมีกายหายไป, และเกิดเบ่ือหน่ายใน ทพิ ยอาสน์๑๗๕ เมอ่ื บพุ นิมติ ๕ ประการนเ้ี กิดขนึ้ เทวดาทั้งหลายกจ็ ะรคู้ วามจริงว่า ตนหมดอายุขยั ๓.๗.๔ เป็นเครื่องมือสาหรับควบคมุ (Control) ๑๖๗Walter J. Darcy,Symbology, p.14. ๑๖๘วิ.มหา. (ไทย) ๒/๓๓๕/๔๗๐. ๑๖๙ท.ี ส.ี อ. (ไทย) ๑/๑/๘๓. ๑๗๐ขุ.ธ.อ.๑(ไทย) /๒/๑/๒๒๑. ๑๗๑ที.ส.ี อ.(ไทย) ๑/๑/๘๑. ๑๗๒ขุ.ส.ุ อ.(ไทย) ๑/๕/๕๘. ๑๗๓ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๓/๑/๙๐. ๑๗๔อภ.ิ ส.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๔๔. ๑๗๕อภิ.ส.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๔๓.

๗๗ สัญลักษณ์บางอย่างกาหนดข้ึนมาเพ่ือควบคุม หรือบังคับให้คนในสังคมนั้น ๆ กระทา หรือไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญลักษณ์ประเภทนีจ้ ึงมสี ถานะเป็นกฎเกณฑ์ หรือขอ้ บงั คับท่ีมุ่ง ควบคุมให้ปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน เช่น สัญลักษณ์ทางจราจร สัญลักษณ์ห้าม หรือเตือนบน ผลิตภณั ฑ์ สัญลักษณห์ ้ามหรือเตอื นบริเวณ หรือสถานท่ีอันตราย มีความเสย่ี งสูง เปน็ ต้น จากหลักฐานในคัมภีร์พระพุทธศาสนา พบสัญลักษณ์ท่ีใช้เป็นเคร่ืองมือสาหรับควบคุม ลักษณะดังกล่าว เช่น ดาบสใช้กองทรายเป็นสัญลักษณ์แทนความดาหริในกามหรือพยาบาท จึงทา กติกากันว่า ใครคิดถึงกาม หรือมคี วามพยาบาทเกิดข้นึ ครงั้ ใด ก็ให้เอาใบไม้แห้งขนทรายมากองไว้๑๗๖ จุดมุ่งหมายเพ่ือให้เกิดความละอาย และเพียรพยายามในการควบคุมมิให้กามวิตก พยาบาทวิตก เกิดข้ึน, ชาวบ้านถือต้นไม้เป็นเจดีย์ (มีความศักดิ์สิทธิ์) เม่ือภิกษุตัดต้นไม้ที่เป็นเจดีย์ หรือท่ีชาวบ้าน นับถือ ทาให้ชาวบ้านไม่พอใจ ตาหนิ พระพุทธเจ้าอาศัยเหตุดังกล่าวน้ี จึงบัญญัติสิกขาบทห้ามตัด ต้นไม้๑๗๗ ๓.๘ สรปุ ทา้ ยบท สัญลักษณ์ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา พบท้ังในพระไตรปิฎก และอรรถกถา จานวนท้ังสิ้น ๑๑๖ ชนิด แบ่งเป็นจากพระวินัยปฎิ ก ๑๙ ชนดิ , พระสตุ ตนั ตปฎิ ก ๓๑ ชนิด, อรรถกถาพระวินัยปิฎก ๒๒ ชนิด, อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก ๔๒ ชนิด และอรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก ๓ ชนิด ส่วนคัมภีร์ พระอภิธรรมปฎิ ก ไมพ่ บการใชส้ ญั ลกั ษณ์ ในจานวนนี้ (๑) แบ่งเป็นสัญลักษณ์เกี่ยวกับพฤติกรรม กิริยาอาการจานวน ๕๑ ชนิด, สัญลักษณ์ เกี่ยวกบั วัตถุ จานวน ๒๒ ชนดิ , สญั ลักษณเ์ กยี่ วกับปรากฏการณ์ จานวน ๔ ชนิด, สัญลักษณ์เกี่ยวกับ บุคคล และสัตว์ จานวน ๕ ชนิด, สัญลักษณ์เกี่ยวกับหลักธรรม ๑ ชนิด,สัญลักษณ์ที่เก่ียวกับ ข้อกาหนด ๑ ชนิด, สัญลักษณ์เกี่ยวกับอาคาร สถานที่ จานวน ๒๐ ชนิด, สัญลักษณ์เกี่ยวกับสภาวะ ๗ ชนิด และสัญลกั ษณเ์ กย่ี วกบั ตวั เลข จานวน ๑ เรือ่ ง (๒) แบ่งเป็นสัญลักษณ์ท่ีมาก่อนพุทธกาล และมีการนามาใช้ในพระพุทธศาสนา จานวน ๒๙ ชนิด, สัญลักษณ์ท่ีมีมากอ่ นพุทธกาล และไม่มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาเลย จานวน ๑๗ ชนิด, สัญลักษณท์ ี่มีข้ึนในสมัยพทุ ธกาล จานวน ๖๐ ชนิด, สญั ลักษณ์ทม่ี ีหลังสมัยพุทธกาล จานวน ๗ ชนดิ (๓) แบ่งเป็นสัญลักษณ์รูปแบบเหมือน จานวน ๓ ชนิด, สัญลักษณ์แบบบ่งช้ี จานวน ๒๙ ชนดิ , สญั ลกั ษณแ์ บบรหัส จานวน ๒๖ ชนิด, และสญั ลักษณแ์ บบสัญญะ จานวน ๖๑ ชนิด (๔) สญั ลกั ษณ์ในคัมภรี ์พระไตรปิฎก และคมั ภรี อ์ รรถกถา ทาหนา้ ที่ครบท้ัง ๔ ประการ ใน การสื่อสาร กล่าวคือ ๑) เป็นเคร่ืองมือถ่ายทอดความรู้สึก ๒) เป็นเครื่องมือสาหรับสื่อสาร ๓) เป็น เครื่องมือสาหรับความรู้ และ ๔) เป็นเคร่ืองมือสาหรับควบคุม หรือกาหนดให้ปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติ อยา่ งใดอย่างหน่ึง ๑๗๖ว.ิ ม.อ. (ไทย) ๔/๑/๘. ๑๗๗วิ.มหา. (ไทย) ๑/๓๖๕/๔๐๒.

๗๘ บทท่ี ๔ สญั ลกั ษณท์ างพระพุทธศาสนาในสังคมไทย ในบทนี้ จะได้สืบค้นสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสงั คมไทย โดยกาหนดขอบเขตจาก ตราสัญลักษณ์สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์, สญั ลักษณ์ประจาหน่วยงานของรัฐ, สญั ลักษณ์หน่วยงาน หรือ องค์กรทางศาสนา, สัญลักษณ์ในจิตรกรรมและประติมากรรม, สัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรม, และ สัญลกั ษณ์ในประเพณีและพิธกี รรมตา่ ง ๆ จากนน้ั จะไดว้ เิ คราะหส์ ัญลกั ษณ์ และความหมายสัญลกั ษณ์ ต่าง ๆ เหลา่ นั้นในรายละเอยี ดต่อไป ๔.๑ สญั ลักษณส์ ถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ในงานวิจัยน้ี ได้สืบค้นสัญลักษณ์สถาบันพระมหากษัตริย์เฉพาะในส่วนพระราชลัญจกร ตราประจาแผ่นดิน ธงอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ซ่ึงเกี่ยวข้องกับองค์พระมหากษัตริย์ หรือพระ บรมวงศานวุ งศ์โดยตรง ส่วนที่ไมไ่ ดเ้ ก่ียวข้องโดยตรง แตเ่ น่ืองด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ จะได้นาไป กล่าวในหมวดอืน่ ตอ่ ไป ๔.๑.๑ พระราชลญั จกร พระราชลัญจกร หมายถึง ตราประจาพระองค์พระมหากษัตริย์ หรืออาจโปรดเกล้าโปรด กระหม่อม พระราชทานแก่ผู้แทนพระองค์๑ คาว่า “ลัญจกร” หมายถึง รอย, เครื่องหมาย, พิมพ์, หรือตราที่ใช้ตีหรือประทับ๒ พระราชลัญจกรที่มีสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาที่พบมี ๒ องค์ ดัง เสนอไว้ในภาพประกอบท่ี ๔.๑ และ ๔.๒ ตามลาดับ ภาพประกอบที่ ๔.๑ พระราชลญั จกรประจารชั กาลที่ ๑ รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง กลีบดอกบัวลอ้ มรอบ พระพุทธศาสนา -โดยนัยสะท้อนถึงพระราชปณิธานท่ีว่า “ตั้งใจจะอุปถัมภก ยอยก พระพทุ ธศาสนา....”๓ ๑วิทย์ พิณคันเงิน, ศิลปวิจิตรแห่งเครื่องราชเครื่องราชอิสริยยศ, (กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ อมรนิ ทร,์ ๒๕๕๑), หน้า ๖๘. ๒พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๒๕, (กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์, ๒๕๓๙), หน้า ๗๒๖. ๓ ช่ า ง สิ บ ห มู่ : พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ ย อ ด ฟ้ า จุ ฬ า โ ล ก , [อ อ น ไ ล น์ ]: http://www.changsipmu.com/1rtfm01_p02.html [๒๐ มกราคม ๒๕๕๘].

๗๙ คาอธบิ าย เป็นรูปปทุมอุณาโลม มีอักขระ \"อุ\" อยู่กลางล้อมรอบด้วยด้วยกลีบบัว ซ่ึงเป็น พฤกษชาติที่เป็นสิริมงคลในพุทธศาสนา ตราอุณาโลมท่ีใช้ตีประทับบนเงินพด ด้วงมีรปู รา่ งคล้ายสังข์เวียนขวา อยู่ในกรอบมีพน้ื เป็นลายกนก ผลิตออกใช้คราว พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พ.ศ. ๒๓๒๘.๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๒ พระราชลญั จกรประจารัชกาลที่ ๘ รูปสญั ญะ สัญลักษณ์ทาง ๑. พระโพธสิ ตั ว์ ๒. บลั ลังกด์ อกบวั พระพทุ ธศาสนา -โดยนัยสะท้อนอุดมการณ์ที่จะอุทิศพระองค์เพื่อความร่มเย็นเป็นสุขของ บ้านเมือง และปวงอาณาประชาราษฎร์โดยถือคติพระโพธิสัตว์เป็นแบบอย่าง หรืออีกนัยหน่ึงก็สะท้อนความยกย่องยินดีของอเนกนิกรชาวไทย ประหน่ึง พระองคเ์ ปน็ พระโพธสิ ัตว์ คาอธิบาย พระโพธิสัตว์ประทับบนบัลลังก์ดอกบัว ห้อยพระบาทขวาเหนือบัวบาน หมายถงึ แผ่นดนิ พระหัตซ้ายถือดอกบวั ตูมและมเี รอื นแกว้ ดา้ นหลังแทนรัศมี มี แท่นรองรับต้ังฉัตรบริวาร 2 ข้างเป็น พระราชสัญลักษณ์ของ พระบรม นามาภิไธยว่า \"อานันทมหิดล\" ซึ่งแปลความหมายว่า เป็นที่ยินดีของ แผ่นดิน เพราะองค์ได้เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ เป็นพระมหากษัตริย์ใน ระบอบประชาธิปไตย โดยความยกย่องยินดีของอเนกนิกรชาวไทย ประหน่ึง พระโพธสิ ตั วเ์ สดจ็ มาประทาน ความรม่ เยน็ เป็นสขุ แกท่ วยราษฎร์ทัง้ มวล.๕ ๔.๑.๒ ตราประจาแผน่ ดนิ สยาม ตราแผ่นดินสยาม เป็นพระบรมราชสัญลักษณ์ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช รัชกาลท่ี ๑ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพ่ือเป็น เคร่ืองหมายแทนนามราชวงศ์จักรี ความหมายโดยรวมจึงแปลว่า พระมหากษัตริย์แห่งพระราชวงศ์ จักรี ส่วนบนสุดตรงกลาง คือ ภาพพระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี หมายถึงความเป็นพระมหากษัตริย์ ภายใต้พระมหาพชิ ยั มงกฎเป็นภาพจักรและตรีไขว้ เรยี กว่า ตรามหาจักรี ดงั รายละเอยี ดภาพประกอบ ท่ี ๔.๓ ๔หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคาแห่ง : พระราชลัญจกรประจารัชกาล, [ออนไลน์]: http://www.lib.ru.ac.th/journal/kingseal-office.html [๖ กันยายน ๒๕๕๖]. ๕หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคาแห่ง : พระราชลัญจกรประจารัชกาล, [ออนไลน์]: http://www.lib.ru.ac.th/journal/kingseal-office.html [๖ กันยายน ๒๕๕๖].

๘๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๓ ตราแผน่ ดินสยาม รูปสัญญะ สัญลักษณ์ทาง พระมหาสังวาลนพรตั น์ราชวราภรณ์ พระพทุ ธศาสนา -โดยนัยสะท้อนให้เห็นถึงความมีคุณค่าและสิริมงลของพระพุทธศาสนา โดยใช้ “นพรัตน์” หรือแกว้ ๙ ประการ เป็นสัญลักษณณ์แทน ตามคตคิ วามเชื่อซึ่งมีมา ตัง้ แตโ่ บราณกาล๖ คาอธบิ าย ทางด้านซ้ายและขวาของพระมหาพิชัยมงกฎเป็นรูปฉัตร ๗ ชั้น อันเป็น เครื่องหมายแห่งราชาธิปไตย ที่เป็นฉัตร ๗ ช้ัน ก็เพราะว่าเป็นฉัตรสาหรับใช้ ประกอบกับนพปฏลมหาเศวตฉัตร (ฉัตร ๙ ช้ัน) ซ่ึงเป็นเคร่ืองหมายแสดงพระ ราชอิสริยศของพระมหากษัตริย์ การใช้รูปดังกล่าวจึงเป็นการประกาศให้รู้ว่า ดินแดนสยามอยู่ภายใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตริย์ผู้เป็นสยามิ นทราธริ าช.... ....ต่อจากฉัตรทางด้านขวาเป็นภาพคชสีห์ประคองฉัตร ส่วนทางด้านซ้ายเป็น ภาพราชสีห์ประคองฉัตร คชสหี ห์ มายถึงข้าราชการฝา่ ยกลาโหม ซึง่ เปน็ ใหญท่ าง ฝ่ายทหาร ส่วนราชสีห์หมายถึง ข้าราชการฝ่ายมหาดไทย ซึ่งเป็นใหญ่ทางฝ่าย พลเรือน ท้ังสองฝ่ายน้ีมีหน้าที่ป้องกันพระราชอาณาจักรและค้าจุนพระราช บลั ลังก์.....ส่วนขอบโล่ดา้ นล่างสุดล้อมรอบด้วยพระมหาสังวาลนพรัตน์รัตนราช วราภรณ์ หมายถงึ พระพทุ ธศาสนา๗ ๔.๑.๓ ธงพระอิสรยิ ยศ ธงพระอิสริยยศ หมายถึง ธงประจาตาแหน่ง ซึ่งแสดงถึงสถานะประจาพระองค์ประกอบ ไปด้วย ธงสาหรับพระมหากษัตริย์ ธงสาหรับองค์สมเด็จพระราชินี ธงสาหรับองค์สมเด็จพระบรม ราชนิ ี ธงสมเด็จพระยุพราช ธงสาหรับองค์พระวรชายาแห่งสมเดจ็ พระยุพราช ธงสาหรบั องค์พระราช โอรส สมเดจ็ พระเจา้ พีย่ าเธอ หรือสมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอแหง่ พระมหากษัตริย์ทกุ รัชกาล ธงสาหรับ องค์พระราชธิดา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ หรือสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอแห่งพระมหากษัตริย์ทุก รัชกาล ๖ศาลาเครื่องราชอิสริยาภรณ์, “นพรัตน์ ความเช่ือแห่งเครื่องประดับ ”, [ออนไลน์]: http://emuseum.treasury.go.th/article/368-nopparat.html/ [๒๒ มกราคม ๒๕๕๘]. ๗ตราแผน่ ดนิ ของไทย, [ออนไลน์]: http://th.wikipedia.org/wiki/ [๖ กันยายน ๒๕๕๖].

๘๑ อนงึ่ ตามประวตั ิเร่ืองกาเนิดธงและการใช้ธงของไทยในสมัยต่าง ๆ แมจ้ ะสบื คน้ ได้วา่ มกี าร ใช้ธงมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเรื่องมาจนกระท่ังถึงกรุงรัตนโกสินทร์ แต่รายละเอียดของธงชนิดต่าง ๆ สามารถสืบข้อมูลได้เพยี งช่วงรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์วา่ ใช้ธงมสี ัญลกั ษณ์ช้างเผือก ๓ ตัว อยู่ในวงจักรสีขาวติดไว้กลาง พ้ืนธงสีแดง ต่อมาก็มีการเปล่ียนแปลงอีกเล็กน้อยในสมัยรัชกาลที่ ๔ รชั กาลท่ี ๕ และรัชกาลที่ ๖๘ จาการสืบค้นหมวดธงพระอิสรยิ ยศเหลา่ นี้ ไมพ่ บสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาปรากฏอยู่ คงมเี ฉพาะสัญลกั ษณท์ ีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั แผ่นดนิ ฐานันดร หรอื ลกั ษณะประจาพระองค์เทา่ นัน้ ๔.๑.๔ เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เดิมเรียกว่า เครื่องประดับสาหรับยศ ถ้าเป็นเครื่องประดับยศ สาหรับพระราชา เรียกวา่ เครอ่ื งราชอศิ ริยยศ ถ้าเป็นเคร่ืองประดับยศสาหรับขุนนาง เรียกวา่ เคร่ือง สาคัญยศ เร่ิมมีใช้เป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลท่ี ๔ โดยทรงพระราชดาหริให้สร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ. ๒๔๐๐ ครั้นถึงรัชกาลที่ ๕ เม่ือมีการตราพระราชบัญญัติ จึงทรงโปรดให้เรียกว่า เรื่องราช อิศริ ยยศ ภายหลังจึงเปล่ยี นมาเป็น เคร่ืองราชอศิ ริยาภรณ์๙ จากการสืบค้น เครื่องราชอิศริยาภรณ์ท่ีมีสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาปรากฏอยู่ ดัง รายละเอยี ดในภาพประกอบที่ ๔.๔,๔.๕, ๔.๖, ๔.๗, ๔.๘ และ ๔.๙ ตามลาดับ ภาพประกอบที่ ๔.๔ ตรามหาจกั รบี รมราชวงศ์ รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง บาลี ตริ ตเนสกรฏเฺ ฐ จ สมฺพเส จ มมายน สกราเชชุ จิตตฺ ญฺจสกรฏฺฐาภวิ ฑฺฒน พระพทุ ธศาสนา แปล ความรกั ใครใ่ นพระรตั นตรยั และรัฎฐของตน และวงศของตน อน่งึ จติ ต์ ซือ่ ตรงในพระราชาของตน เป็นเคร่อื งเจรญิ ย่ิงแห่งรฏั ฐของตน - โดยนยั เสมอื นเตือนให้ผู้ไดร้ ับพระราชทานระลึกถึง หรือยึดมัน่ ในพระรตั นตรยั อันเปน็ เหตนุ าพาตน และประเทศชาติให้เจรญิ รุง่ เรือง คาอธิบาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ เจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาข้ึน เมื่อวันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๔๒๕ ในคราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๑๐๐ ปี มีจานวนจากัด ฝ่าย หน้า ๓๐ ฝ่ายใน ๑๖ ต่อมาเม่ือมีการตราพระราชบัญญัติ ร.ศ. ๑๑๒ ได้เพิ่ม จานวนเปน็ ฝา่ ยหน้า ๔๒ ฝ่ายใน ๒๙ โดยชุดหนึ่งจะประกอบดว้ ยตรามหาจักรี ๘สมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, ปาฐกถาตานานธงไทยในสมัยตา่ ง ๆ, (พิมพ์แจกในงานฌานปน กจิ ศพนางสาวอรา่ ม สุนทรวร ๑๕ พฤษภาคม ๒๔๗๕), หน้า ๑-๕. ๙สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ, ตานานเคร่ืองราชอิศริยาภรณ์สยาม, (พระนคร: โรงพิมพ์ โสภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๖๘), หน้า ๒.

๘๒ ๑ จุลจักรี ๑ และจักรีดารา ๑ ลักษณะรปู พรรณเฉพาะท่ีเก่ียวกับสัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนามีรายละเอยี ดดงั นี้ ...มหาจักรี ข้างหนา้ เป็นรูปจักร ๘ กลบี ลงยาราชาวดีสีขาว มีรูปตรีศูลเงิน ตามหว่างกลีบจักร กลางวงจักรเป็นรูปประทุมอุณาโลมประดับเพชร พื้นเป็น รัศมีลงยาราชวดีระบายสีฟ้า ขอบรอบเป็นอักษรตัวทองพื้นลงยาราชาวดีสีแดง เป็นมคธภาษิตว่า “ติรตเนสกรฏฺเฐ จ สมฺพเส จ มมายน สกราเชชุ จิตฺตญฺจ สกรฏฺฐาภิวฑฺฒน” แปลเน้อื ความวา่ ความรักใคร่ในพระรตั นตรัย และรัฎฐของ ตน และวงศของตน อน่งึ จิตต์ซ่อื ตรงในพระราชาของตน เป็นเคร่ืองเจริญยง่ิ แห่ง รัฏฐของตน หรอื เป็นเครอ่ื งทาใหร้ ัฏฐแหง่ ตนเจรญิ ยิง่ ....๑๐ ภาพประกอบที่ ๔.๕ เครือ่ งราชอิศรยิ าภรณ์นพรัตนราชวราภรณ์ รปู สญั ญะ (สาหรบั บรุ ษุ ) สัญลักษณ์ทาง ๑. อณุ าโลมกลางดวงตรามหานพรัตน์ พระพทุ ธศาสนา ๒. ผทู้ ีจ่ ะไดร้ บั พระราชทาน ตอ้ งเปน็ ผูน้ ับถือพระพุทธศาสนาเทา่ น้นั ๑๑ - โดยนัยเป็นการยกย่องย่อง หรือเชิดชูพระราชวงศ์ช้ันผู้ใหญ่ที่นับถือ พระพทุ ธศาสนาใหเ้ ปน็ ทปี่ รากฏ คาอธิบาย เครอ่ื งราชอิศริยาภรณ์สาหรับราชตระกูล ทรงพระราชทานพระราชวงศ์ผู้ใหญ่ จานวนเคร่ืองราชอิศริยาภรณ์นพรัตน ฯ มีกาหนดจากัดเพียง ๙ ดวงทั้งเครื่อง ต้น ต่อมาเมื่อมีการออกพระราชบัญญัติใหม่ใน ร.ศ. ๑๑๒ โปรด ฯ ให้เพ่ิม จานวนขึ้นเป็น ๒๐ ทั้งเครื่องต้น ต่อมาเม่ือ พ.ศ.๒๔๕๖ ทรงพระกรุณาโปรด เกล้า ฯ ให้เพิ่มอีก ๗ ดวง อัตราเป็น ๒๗ ดวง ทั้งเคร่ืองต้น โดยสารับหนึ่ง ประกอบดว้ ยดวงตรามหานพรัตน ๑ ดวงนพรตั นดารา ๑ แหวนประดบั นพรตั น ๑ ๑๐ สมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, ตานานเคร่ืองราชอิศรยิ าภรณส์ ยาม,หน้า ๓๘. ๑๑ เร่ืองเดียวกัน, หนา้ ๖๑.

๘๓ ภาพประกอบที่ ๔.๖ เหรียญศานติมาลา รปู สัญญะ สัญลักษณ์ทาง “นตถฺ ิ สนฺติ ปร สขุ , พระพทุ ธศาสนา NATTHI SANTI PARAM SUKHAM” แปล: “สุขอน่ื ยิ่งกว่าความสงบไมม่ ี” - โดยนัยเป็นการเตือนให้ระลึกถึง หรือยืดถือหลักการสาคัญทาง พระพทุ ธศาสนาไวเ้ ปน็ แนวสาหรบั การดาเนินชวี ติ คาอธิบาย เหรียญศานติมาลาแบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ ชนิดสามัญเป็นดีบุก และชนิดพิเศษ เป็นเงิน พระราชทานท้ังแก่สตรีและบุรุษ ลักษณะเหรียญเป็นรูปกลมรี ขนาด กว้าง ๔.๑ ซม. สูง ๔.๖ ด้านหน้ามีรูปไอรยาพต ด้านหลังจารึกคาถาเป็น อักษรไทย และโรมันว่า “นตฺถิ สนฺติ ปร สุข, NATTHI SANTI PARAM SUKHAM” แปลว่า ความสุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี ห้อยกับแพรแถบสีแดง กว้าง ๔๐ มม. ตรงกึ่งกลางของแพรแถบมีร้ิวสีน้าเงินกว้าง ๔ มม. และมีร้ิวสี ขาว ร้วิ ละ ๒ มม.ประกอบขา้ งริว้ สนี า้ เงนิ ๑๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๗ เหรียญราชนยิ ม รปู สญั ญะ สัญลักษณ์ทาง บาลี: พระพุทธศาสนา พทุ ธ๎ สาสนุปตั ๎ถัม๎โภ -โดยนัยเป็นการแสดงให้เห็นถึงสถานะพระมหากษัตริย์ไทยในฐานะทรงเป็น ผใู้ ห้ความค้มุ ครอง อุปถมั ภ์พระพทุ ธศาสนา คาอธบิ าย พระบาทสมเด็จฯ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ.๒๔๕๔ สาหรับพระราชทานแก่ผู้ท่ีช่วยเหลือชีวิตมนุษย์ ในเวลาซ่ึงมีเหตุให้ต่ออันตราย มีช้ันเดียว ลักษณะเหรียญเป็นรูปกลม ด้านหน้ามีพระบรมรูปพระบาทสมเด็จ ฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีอักษรจารึกพระนามาภิธัยว่า “มหาราชา ๑๒ มาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕, ราชกิจจานุเบกษา, เลม่ ท่ี ๑๑๙ ตอนท่ี ๙๙ ก, ๒ ตลุ าคม ๒๕๔๕, หน้า ๑๔.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook