Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย2562

วิจัย2562

Published by tungme888, 2021-09-10 03:22:42

Description: วิจัย2562

Search

Read the Text Version

ผลสมั ฤทธ์ขิ องการจดั การเรยี นรูแบบรวมมอื โดยใชเทคนคิ TGT และ STAD ในรายวชิ าคณิตศาสตรส าํ หรบั นักเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา โดย นางสาวเมลดา รุงเรือง วทิ ยานิพนธนเ้ี ปน สวนหนึ่งของการศึกษาตามหลกั สตู รปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาคณติ ศาสตรศ กึ ษา ภาควิชาคณิตศาสตร บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปก ารศกึ ษา 2562 ลขิ สทิ ธข์ิ องบณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

ผลสมั ฤทธ์ขิ องการจัดการเรยี นรแู บบรว มมอื โดยใชเ ทคนคิ TGT และ STAD ในรายวชิ าคณติ ศาสตรส าํ หรบั นักเรียนระดบั มัธยมศกึ ษา โดย นางสาวเมลดา รุงเรอื ง วทิ ยานิพนธนเี้ ปน สวนหนึง่ ของการศึกษาตามหลกั สตู รปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาคณติ ศาสตรศกึ ษา ภาควชิ าคณิตศาสตร บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปการศกึ ษา 2562 ลขิ สทิ ธข์ิ องบณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

THE ACHIEVEMENT OF THE COOPERATIVE LEARNING MANAGEMENT USING TGT AND STAD TECHNIQUES IN MATHEMATICS FOR SECONDARY SCHOOL STUDENTS By Miss Melada Rungrueang A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Science Program in Mathematics Department of Mathematics Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2019 Copyright of Graduate School, Silpakorn University

บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศิลปากร อนมุ ัตใิ หว ิทยานพิ นธเ รอ่ื ง “ ผลสัมฤทธ์ขิ องการจดั การ เรียนรแู บบรว มมอื โดยใชเทคนิค TGT และ STAD ในรายวิชาคณิตศาสตรส าํ หรบั นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ” เสนอโดย นางสาวเมลดา รงุ เรอื ง เปนสว นหน่ึงของการศึกษาตามหลักสตู รปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาคณิตศาสตรศกึ ษา ……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร. จไุ รรัตน นันทานิช) คณบดีบณั ฑติ วิทยาลยั วนั ที่..........เดอื น.................... พ.ศ........... อาจารยท ป่ี รกึ ษาวิทยานิพนธ ผชู วยศาสตราจารย ดร.พรทรพั ย พรสวัสดิ์ คณะกรรมการตรวจสอบวทิ ยานพิ นธ .................................................... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย ดร. สืบสกุล อยยู นื ยง) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (ผูช ว ยศาสตราจารย ดร. วรินทร ศรีปญ ญา) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (ผชู ว ยศาสตราจารย ดร. พรทรพั ย พรสวสั ดิ์) ............/......................../..............

60316308 : สาขาวชิ าคณิตศาสตรศกึ ษา คําสาํ คัญ : การเรียนแบบรวมมอื ,พฤติกรรมการทาํ งานกลมุ เมลดา รงุ เรอื ง : ผลสมั ฤทธิ์ของการจัดการเรียนรูแบบรว มมอื โดยใชเทคนคิ TGT และ STAD ในรายวิชาคณติ ศาสตรส าํ หรบั นกั เรยี นระดบั มัธยมศึกษา. อาจารยท ี่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ : ผศ.ดร.พรทรัพย พรสวสั ด์.ิ 254 หนา. การวิจยั ครัง้ นเ้ี ปนการวิจัยเพอ่ื ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรเรอื่ งอัตราสวนของ นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 กอ นและหลงั ที่ไดร ับการเรียนแบบรวมมอื โดยใชเทคนิค TGT กบั การเรียนแบบ รวมมือโดยใชเ ทคนคิ STAD กลมุ ตวั อยางที่ใชในการวิจัยคร้ังนค้ี ือ นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 ทไ่ี ดมาจากการเลอื กแบบเจาะจงจาํ นวน 88 คน เครื่องมอื ทีใ่ ชในการวจิ ัยคอื แผนการจัดการเรียนรแู บบ รว มมอื โดยใชเ ทคนิค TGT และเทคนิค STAD เรือ่ งอตั ราสวน แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเร่ือง อตั ราสว น และแบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ ผลของการวจิ ัยในครั้งนีป้ รากฏวา นกั เรยี นท่ีไดร บั การ จดั การเรยี นรแู บบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT กับการจดั การเรียนรโู ดยใชเทคนิคSTAD มีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตรเ ร่อื งอตั ราสว น ไมแตกตา งกนั อยา งมนี ยั สําคัญทางสถิติทรี่ ะดับ 0.05 มผี ลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นวชิ าคณิตศาสตรเรอื่ งอัตราสวน หลังเรยี นสงู กวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั 0.05 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิชาคณิตศาสตรเรื่องอัตราสวน หลงั เรยี นสงู กวาเกณฑร อยละ 70 อยางมนี ยั สาํ คัญ ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.05 และมพี ฤตกิ รรมการทํางานกลมุ อยใู นระดับดี ภาควิชาคณติ ศาสตร บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมอื ช่อื นักศกึ ษา........................................ ปก ารศึกษา 2562 ลายมอื ช่ืออาจารยทปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ ........................................ ง

60316308 : MAJOR : (MATHEMATICS STUDY) KEY WORD : COOPERATIVE LEARNING/ GROUP WORK BEHAVIOR MELADA RUNGRUEANG : THE ACHIEVEMENT OF THE COOPERATIVE LEARNING MANAGEMENT USING TGT AND STAD TECHNIQUES IN MATHEMATICS FOR SECONDARY SCHOOL STUDENTS. THESIS ADVISOR : PORNSARP PORNSAWAD,Ph.D.. 254 pp. This research is a study of mathematics learning achievement on the ratio of grade 7 students before and after receiving cooperative learning management using TGT and STAD. The sample consisted of 88 grade 9 students of pakkred secondary school in the semester 2 of academic year 2019. The research instruments used to collect data were mathematics lesson plans based on cooperative learning management plan using TGT technique and STAD technique on ratio. Mathematics achievement tests. Students’ group working behaviors observation checklists. The results of this research show that The students who learned through the cooperative learning management using TGT and STAD techniques did not show the different learning achievement at 0.05 of the significant level. The achievement of mathematics leaning on “ratio” higher than before the experiment at 0.05 of the significant level. The achievement of mathematics leaning on “ratio” higher than before the criteria of 70 percent at 0.05 of the significant level. And the group working behavior at a good level. Department of MATHEMATICS Graduate School, Silpakorn University Student's signature ........................................ Academic Year 2019 Thesis Advisor's signature ........................................ จ

กติ ตกิ รรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยการใหความชวยเหลือแนะนําของ ผศ.ดร.พรทรัพย พรสวัสด์ิ ซึ่งเปนอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ไดกรุณาใหคําแนะนํา แกไขรางวิทยานิพนธและ ช้ีแนะใน เวลาท่ีสงสยั หรือมปี ญ หา ใหกาํ ลังใจในการทํางานเสมอมา ผูว ิจัยขอกราบขอบพระคณุ อาจารยเ ปนอยางสูง ขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร. สืบสกุล อยูยืนยง ที่กรุณาเปนประธานในการพิจารณา วิทยานิพนธ โดยมี ผศ.ดร.วรินทร ศรีปญญา เปนกรรมการในการสอบวิทยานิพนธไดกรุณาตรวจสอบ แกไขวิทยานิพนธฉบับนี้ใหสมบูรณยิ่งขึ้น ตลอดจนคณาจารยในสาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษาที่ไดใหความรู และสง่ั สอนศษิ ยใ หประสบผลสําเรจ็ ขอบพระคุณผูเช่ียวชาญในการตรวจเคร่ืองมือ ท่ีไดกรุณาใหคําแนะนํา ขอคิดเห็นตรวจสอบและ แกไขเครื่องมือในการวจิ ยั ใหม ีคุณภาพ ขอบพระคุณคณะครู อาจารย และนักเรียนโรงเรียนปากเกร็ด ท่ีไดใหความรว มมือในการใหขอมูล ในการทาํ วิจัยครัง้ นี้ จนสาํ เร็จลลุ ว งตลอดจนความหวงใยทใ่ี หเสมอมา ทา ยนี้ ผูวิจัยขอนอมรําลึกถึงอํานาจบารมีของคุณพระศรีรัตนตรัย และส่ิงศักดิ์สิทธิ์อันเปนท่ีพ่ึงให ผูวิจัยมีสติปญญาในการจัดทําวิทยานิพนธ คุณคาและประโยชนของวิทยานิพนธฉบับน้ีขอมอบเปนเครื่อง บูชาพระคณุ บดิ ามารดา ครอู าจารยท กุ ทา นทไ่ี ดอ บรมสง่ั สอน และประสิทธ์ปิ ระสาทความรแู กผวู จิ ยั ฉ

สารบัญ หนา บทคัดยอ ภาษาไทย.............................................................................................................................................. ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ......................................................................................................................................... จ กติ ตกิ รรมประกาศ............................................................................................................................................... ฉ สารบญั ตาราง ...................................................................................................................................................... ญ สารบญั แผนภาพ.................................................................................................................................................. ฐ สารบญั ภาพ......................................................................................................................................................... ฑ บทที่ 1 บทนาํ ....................................................................................................................................................... 1 ความเปนมาและความสาํ คัญ....................................................................................................... 1 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั ................................................................................................................... 3 วัตถปุ ระสงคของการวจิ ัย ............................................................................................................. 6 คําถามของการวจิ ัย ....................................................................................................................... 7 สมมตฐิ านของการวิจยั .................................................................................................................. 7 ขอบเขตของการวจิ ยั ..................................................................................................................... 7 นิยามศพั ทเ ฉพาะ .......................................................................................................................... 8 2 วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ ............................................................................................................................. 10 1. หลกั สูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร .................................................................................................... 11 2. หลักสูตรสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานโรงเรยี นปากเกร็ด............................................................... 13 2.1 วิสยั ทศั น......................................................................................................................... 13 2.2 พนั ธกจิ ........................................................................................................................... 13 2.3 เปาหมายของโรงเรยี น.................................................................................................. 13 2.4 โครงสรางและเวลาเรียน............................................................................................... 14 2.5 สาระการเรียนรูคณิตศาสตร ........................................................................................ 16 3. การเรียนแบบรว มมอื .................................................................................................................. 18 3.1 ความหมายของการเรยี นแบบรวมมอื .......................................................................... 18 3.2 องคประกอบของการเรยี นแบบรวมมอื ....................................................................... 19 3.3 ประเภทของการเรียนแบบรวมมือ............................................................................... 21 3.4 ประเภทของการเรียนแบบรวมมือ............................................................................... 23 ช

4. การสอนดวยการเรียนแบบรว มมือโดยใชเทคนิค STAD ...................................................... 24 4.1 ความหมายของการเรียนแบบรว มมอื โดยใชเทคนคิ STAD....................................... 24 4.2 องคประกอบของการเรียนแบบรว มมือโดยใชเทคนิค STAD.................................... 25 4.3 ข้นั ตอนการสอนของการเรยี นแบบรวมมอื โดยใชเ ทคนคิ STAD .............................. 26 5. การสอนดวยการเรียนแบบรวมมอื โดยใชเทคนิค TGT......................................................... 27 5.1 ความหมายของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเ ทคนิค TGT......................................... 27 5.2 องคประกอบของการเรียนแบบรว มมือโดยใชเทคนคิ TGT ...................................... 28 5.3 ข้นั ตอนการสอนของการเรยี นแบบรวมมอื โดยใชเทคนคิ TGT................................. 30 6. พฤติกรรมการทาํ งานกลุม........................................................................................................ 33 6.1 ความหมายของการทาํ งานกลมุ ................................................................................... 33 6.2 องคประกอบของการทาํ งานกลุม................................................................................. 34 6.3 ประโยชนข องการทํางานกลุม ...................................................................................... 35 6.4 การประเมนิ พฤติกรรมการทํางานกลุม ....................................................................... 36 7. งานวิจัยท่ีเกย่ี วขอ ง................................................................................................................... 37 7.1 งานวิจยั ภายในประเทศ ................................................................................................ 37 7.2 งานวจิ ัยตา งประเทศ...................................................................................................... 41 3 วธิ ดี ําเนินการวจิ ยั ..................................................................................................................................... 42 ขนั้ เตรียมการวจิ ัย............................................................................................................................ 42 ประชากรและกลมุ ตัวอยาง.................................................................................................. 42 ตวั แปรท่ีศกึ ษา...................................................................................................................... 42 ระยะเวลา.............................................................................................................................. 42 เครอ่ื งมอื ท่ีใชว จิ ยั ................................................................................................................. 43 การสรา งและการหาประสทิ ธิภาพเครื่องมอื ...................................................................... 43 ขนั้ ดําเนนิ การวจิ ัย ........................................................................................................................... 49 แผนการวจิ ัย........................................................................................................................... 49 การดําเนินการวจิ ัยและการเก็บรวบรวมขอ มูล ...................................................................... 50 การวเิ คราะหข อมูล............................................................................................................... 52 สถิตทิ ี่ใชในการวเิ คราะหข อ มลู ............................................................................................ 53 4 ผลการวิเคราะหข อมูล.............................................................................................................................. 55 สัญลักษณท ี่ใชในการวเิ คราะหขอมูล .............................................................................................. 55 การนําเสนอผลการวิเคราะหข อ มลู ................................................................................................. 55 ซ

5 สรุป อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ......................................................................................................... 66 สรุปผลการวจิ ัย ............................................................................................................................... 66 อภปิ รายผล ..................................................................................................................................... 67 ขอเสนอแนะ.................................................................................................................................... 70 รายการอางอิง...................................................................................................................................................... 71 ภาคผนวก ............................................................................................................................................................ 76 ภาคผนวก ก คณุ ภาพเคร่อื งมือที่ใชในการวิจยั .................................................................................. 77 ภาคผนวก ข ตัวอยางเคร่ืองมือ.......................................................................................................... 97 ภาคผนวก ค รายชื่อผเู ชียวชาญ......................................................................................................... 247 ภาคผนวก ง นําเสนอวิทยานพิ นธ...................................................................................................... 249 ภาคผนวก จ ภาพการวจิ ัย.................................................................................................................. 251 ประวตั ิผูว จิ ยั ........................................................................................................................................................ 254 ฌ

ตารางท่ี สารบัญตาราง หนา 2.1 ทีมเกมแขง ขันวิชาการโดยแขง ขันตามความสามารถของนักเรยี น..................................................... 30 3.1 ตารางวเิ คราะหเนอื้ หาจดุ ประสงคก ารเรยี นรูจากแผนการจดั การเรยี นรู .......................................... 46 3.2 แผนการวจิ ยั ....................................................................................................................................... 49 3.3 อตั ราสวนการแบง กลุมนักเรียนตามผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาคณิตศาสตร................................... 50 3.4 การจัดสมาชิกภายในกลุมตามลาํ ดบั คะแนนและกลุม ผมสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น................................. 50 3.5 การกาํ หนดเน้ือหาและวันที่ในการทดลอง......................................................................................... 52 4.1 ทดสอบสมมติฐานเพือ่ วิเคราะหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลมุ ตัวอยา งมกี ารแจกแจงปกตหิ รอื ไม 56 4.2 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาคณิตศาสตรของกลมุ ตวั อยา งที่ 1 และกลุมตวั อยางที่ 2 ..................................................................................................................... 56 4.3 ทดสอบสมมตฐิ านเพ่ือวเิ คราะหว าคะแนนหลงั เรยี นของกลมุ ตัวอยางมีการแจกแจงปกติหรอื ไม ..... 57 4.4 ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวชิ าคณิตศาสตร เรื่อง อัตราสวน นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 1 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT กบั การจดั การเรยี นรแู บบรว มมอื เทคนิค STAD................................................................................. 58 4.5 ทดสอบสมมติฐานเพ่ือวิเคราะหวา คะแนนหลงั เรยี นของกลุม ตัวอยา งมีการแจกแจงปกติหรือไม ..... 59 4.6 ผลการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าคณิตศาสตร เรอื่ ง อตั ราสวน นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 กอนและหลังการจัดการเรยี นรูแบบรวมมอื โดยใชเทคนิค TGT......... 59 4.7 ทดสอบสมมตฐิ านเพ่อื วิเคราะหว า คะแนนหลังเรียนของกลมุ ตวั อยา งมีการแจกแจงปกติหรือไม ..... 60 4.8 ผลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณติ ศาสตรเ รอ่ื ง อตั ราสวน นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 กอ นและหลังการจัดการเรียนรูแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนิค STAD ...... 61 4.9 ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาคณิตศาสตร เร่ือง อัตราสว น นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 ที่ไดรบั การจัดการเรยี นรูแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนิค TGT หลงั เรยี นเทียบกบั เกณฑร อ ยละ 70................................................................................................... 62 4.10 ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณติ ศาสตร เร่อื ง อตั ราสว น นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 1 ท่ีไดร ับการจัดการเรียนรูแบบรว มมือโดยใชเ ทคนิค STAD หลงั เรียนเทยี บกบั เกณฑรอ ยละ 70................................................................................................... 63 4.11 ผลการศกึ ษาคา เฉลยี่ สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ของนักเรียนท่ีจัดการเรยี นรแู บบรว มมือโดยใชเทคนคิ TGT โดยนักเรยี นเปนผูประเมิน .................. 64 4.12 ผลการศกึ ษาคา เฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับพฤตกิ รรมการทาํ งานกลุม ของนักเรยี นทจี่ ดั การเรยี นรแู บบรว มมอื โดยใชเทคนิค TGT โดยครูเปนผปู ระเมนิ ........................... 64 4.13 ผลการศกึ ษาคาเฉล่ีย สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดับพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ ของนักเรยี นทจ่ี ดั การเรยี นรูแ บบรว มมือโดยใชเทคนคิ STAD โดยนักเรียนเปนผูป ระเมิน................ 65 4.14 ผลการศึกษาคา เฉลยี่ สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั พฤติกรรมการทํางานกลุม ของนกั เรียนทีจ่ ดั การเรยี นรูแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนคิ STAD โดยครูเปนผปู ระเมิน......................... 65 ญ

ตารางผนวกที่ หนา ก.1 คา ดัชนีความสอดคลองของวัตถุประสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ท่ีมตี อ แผนการจดั การเรียนรูแบบรว มมอื โดยใชเทคนิค TGT แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 2 เรอื่ ง อตั ราสว นและอัตราสว นที่เทา กนั (TGT)................................................................................... 78 ก.2 คาดัชนีความสอดคลอ งของวัตถปุ ระสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ที่มีตอ แผนการจดั การเรียนรูแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนิค TGT แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 4 เรอ่ื ง อัตราสว นของจาํ นวนหลาย ๆ จาํ นวน (TGT)........................................................................... 79 ก.3 คาดัชนีความสอดคลองของวัตถุประสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ทมี่ ีตอแผนการจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 7 เรื่อง สัดสว น(TGT)............................................................................................................................. 80 ก.4 คาดัชนีความสอดคลองของวัตถุประสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ทมี่ ีตอแผนการจดั การเรียนรูแบบรวมมอื โดยใชเทคนิค TGT แผนการจดั การเรยี นรูที่ 9 เรื่อง อัตราสวนและรอยละ (TGT)..................................................................................................... 81 ก.5 คาดัชนีความสอดคลองของวัตถปุ ระสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ทม่ี ตี อแผนการจัดการเรยี นรแู บบรวมมอื โดยใชเ ทคนิค TGT แผนการจัดการเรยี นรูท ี่ 12 เรื่อง อัตราสว นและรอยละในชีวิตประจําวนั (TGT).......................................................................... 82 ก.6 คา ดัชนีความสอดคลอ งของวัตถุประสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ที่มตี อ แผนการจัดการเรียนรูแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนิค STAD แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 2 เรอ่ื ง อัตราสวนและอตั ราสว นท่ีเทา กัน (STAD) ................................................................................ 83 ก.7 คา ดชั นีความสอดคลอ งของวัตถปุ ระสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ที่มีตอแผนการจดั การเรียนรูแบบรวมมอื โดยใชเ ทคนิค STAD แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 4 เร่อื ง อัตราสว นของจาํ นวนหลาย ๆ จาํ นวน (STAD) ........................................................................ 84 ก.8 คาดชั นีความสอดคลองของวัตถุประสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ทม่ี ตี อแผนการจดั การเรยี นรูแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนิค STAD แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 7 เร่ือง สัดสว น(STAD) .......................................................................................................................... 85 ก.9 คา ดัชนีความสอดคลองของวัตถุประสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ที่มตี อ แผนการจัดการเรยี นรแู บบรวมมือโดยใชเทคนิค STAD แผนการจัดการเรยี นรูที่ 9 เรอื่ ง อตั ราสว นและรอ ยละ (STAD)................................................................................................... 86 ก.10 คา ดชั นีความสอดคลอ งของวัตถุประสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ทม่ี ตี อ แผนการจดั การเรยี นรแู บบรวมมือโดยใชเ ทคนิค TGT แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 12 เร่อื ง อตั ราสว นและรอยละในชีวติ ประจําวัน (STAD)........................................................................ 87 ก.11 แสดงดัชนีความสอดคลอ งของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณติ ศาสตร เร่อื ง อตั ราสวน ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 1....................................................................................... 88 ก.12 การวเิ คราะหข อ สอบรายขอ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร เรอ่ื ง อตั ราสว น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1................................................................................................ 89 ก.13 แสดงคา ความยากงา ย (p) คาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณติ ศาสตร เรอื่ ง อัตราสวนและรอ ยละ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 1......................................... 93 ฎ

ก.14 แสดงคาดัชนคี วามสอดคลองของวตั ถุประสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ทีม่ ตี อ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลุม (ฉบับนักเรียนประเมิน)................................................ 95 ก.15 แสดงคาดัชนีความสอดคลอ งของวัตถุประสงค (Index of Item Objective Congruence : IOC) ท่มี ตี อแบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ (ฉบบั ครูประเมนิ )......................................................... 96 ฏ

สารบญั แผนภาพ ภาพท่ี หนา 1.1 กรอบแนวคดิ การวจิ ัย......................................................................................................................... 6 2.1 องคประกอบของการเรยี นแบบรวมมือ.............................................................................................. 21 2.2 องคประกอบของการเรยี นแบบรวมมอื โดยใชเทคนคิ STAD............................................................. 26 2.3 องคประกอบของการเรยี นแบบรวมมือโดยใชเ ทคนิค TGT ............................................................... 30 2.4 ผังการจัดท่ีน่งั ของการเรยี นแบบรว มมอื โดยใชเทคนิค TGT.............................................................. 30 3.1 แสดงขัน้ ตอนการสรางแผนการจัดการเรยี นรูแบบรวมมอื โดยใชเทคนิค TGT เร่ือง อตั ราสวน........ 44 3.2 แสดงข้ันตอนการสรางแผนการจดั การเรียนรูแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนิค STAD เรอ่ื ง อัตราสวน...... 45 3.3 แสดงขนั้ ตอนการสรางแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เรอ่ื ง อตั ราสวน.............................. 47 3.4 แสดงขน้ั ตอนการสรางแบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลุม............................................................ 49 3.5 แสดงตําแหนง การนั่งของนักเรยี นทไี่ ดรบั การจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเ ทคนิค TGT............. 51 3.6 แสดงตําแหนงการนง่ั ของนักเรยี นท่ีไดรับการจัดการเรียนรแู บบรวมมือโดยใชเ ทคนคิ STAD .......... 51 ฐ

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา จ.1 ภาพกิจกรรมการจัดการเรียนรูแ บบรวมมอื เทคนิค TGT................................................................... 250 จ.2 ภาพกิจกรรมการจัดการเรยี นรแู บบรวมมือเทคนิค STAD ................................................................ 251 ฑ

1 บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสาํ คญั ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ไดรับการยอมรับกันอยางกวางขวางวาสามารถเปนเครื่องมือในการใชชีวิตอยูใน ยุคโลกาภิวัตนไดอยางราบร่ืนทางดานการสรางความเขาใจในสภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกและธรรมชาติท่ีมีความ แปรปรวนอีกท้ังยังเพ่ิม ความสามารถในการชวงชิงความไดเปรียบจากมนุษยโลกคนอ่ืนที่อยูในสังคมเดียวกันในดาน เศรษฐกจิ สงั คมและการเมือง ทกั ษะดา นการคดิ วิเคราะหและความเชยี่ วชาญในดา นการใชเ ทคโนโลยีจึงเปน ปจ จยั สําคญั ท่ี ทําใหมนุษยมีขอไดเปรียบกวาผูอ่ืน [1] คณิตศาสตรจึงมีบทบาทสําคัญย่ิงตอความสําเร็จในการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 เน่ืองจากคณิตศาสตรชวยใหม นุษยมคี วามคิดริเริ่มสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มแี บบแผน สามารถวเิ คราะห ปญหาหรือสถานการณไดอยางรอบคอบและถ่ีถวน ชวยใหคาดการณ วางแผน ตัดสินใจ แกปญหา ไดอยางถูกตอง เหมาะสมและสามารถนาํ ไปใชในชีวิตจริงไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ นอกจากน้คี ณิตศาสตรยังเปน เคร่ืองมือในการศึกษาดาน วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และศาสตรอ่ืน ๆ อันเปนรากฐานในการพฒั นาทรัพยากรบุคคลของชาติใหมีคุณภาพและพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศใหทัดเทียมกับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตรจึงจําเปนตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อให ทันสมัยและสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีเจริญกา วหนาอยา งรวดเร็ว ในยุคโลกาภวิ ัตน [2] ในปจจุบันการเรียนการสอนคณิตศาสตรใ นโรงเรยี น ประสบปญ หาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาคณติ ศาสตรต ่ํากวา เกณฑ ซึ่งมีปจจัยมาจากหลายสาเหตุเนื่องจากผูเรียนขาดความสนใจ เบ่ือ ขาดแรงจูงใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตร สอดคลองกับวรณัน [3] ที่กลาววา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรยังไมประสบความสําเร็จ เทาทคี่ วร ทั้งน้เี นือ่ งจากมีสาเหตุหลายประการ เชน การจดั บรรยากาศในช้นั เรียน สอ่ื การเรยี นการสอนไมเ หมาะสม ไมเ รา ความสนใจของผเู รียนทําใหผูเ รียนรูสกึ เบ่อื หนายตอการเรียน และเนื่องจากคณติ ศาสตรเปน วิชาทเ่ี รยี นรไู ดยาก มีลักษณะ เปนนามธรรมทาํ ใหไมมีความสุขในการเรยี น ปจจุบันผวู ิจยั เปนครูผสู อนในโรงเรยี นปากเกร็ด จังหวัดนนทบรุ ี สอนนักเรียนในระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน เร่ือง อัตราสวนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 นักเรียนสวนใหญมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตํ่ากวาเกณฑ และจากการประเมินผลการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test) O – NET ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนปากเกร็ด ในปการศึกษา 2561 กลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ในสาระจํานวนและการดําเนนิ การไดค ะแนนเฉลีย่ 20.16 ซง่ึ พบวา เปนคะแนนท่ีอยใู นเกณฑ ต่ํากวาระดับประเทศ แตก็พบวายังมีนักเรียนบางสวนท่ีสามารถทําคะแนนไดดีมาก สะทอนใหเห็นวานักเรียนท่ีเกงจะ สามารถเขาใจเนอ้ื หาไดเ ร็ว ทํางานไดเรว็ สง ผลใหนกั เรยี นที่ออนเรียนไมทันและเกิดความเบ่ือหนายไมอยากเรียน ทําใหมี ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นต่ํากวาเกณฑ สาเหตุนเ้ี กิดจากนักเรยี นขาดปฏิสมั พันธรว มกนั ในการเรยี น ซึ่งสอดคลองกบั จรรยา [4] นักเรียนท่ีทํางานเกงจะทํางานเสรจ็ เร็วสวนนักเรยี นท่ีเรยี นออนจะทํางานเสรจ็ ชา ขาดปฏิสัมพันธท ่ีดตี อกัน ไมมีนํา้ ใจ ไมชวยเหลือกนั นกั เรยี นทเ่ี รียนเกง เห็นแกต วั ไมย อมรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของเพื่อนทเี่ รียนออ นกวา จากผลประเมินผลการทดสอบทางการศกึ ษาแหง ชาติขั้นพน้ื ฐานและปญ หาดังกลาว แสดงใหเห็นวานักเรียนควร ไดรับการปรับปรุงและแกไขโดยเรงดวน ผูวิจัยไดทําการศึกษาการสอนคณิตศาสตรดวยรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบ รว มมือ เปนรูปแบบทีเ่ นนใหน ักเรียนทํางานรวมกันเปนกลุมเล็กๆโดยท่ัวไปจะมีสมาชิกกลุมละ 4 คน สมาชกิ ในกลุมจะมี

2 ความสามารถในการเรียนตางกันจะมีความรบั ผิดชอบในส่ิงท่ีไดร ับในการสอนและชว ยเหลือเพอ่ื นสมาชกิ ใหเกิดการเรียนรู ดวยมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกันโดยมีเปาหมายในการทํางานรวมกันคือเปาหมายของกลุม [5] การจัดการเรียนรูแบบ รว มมือสามารถจัดการเรียนรูไ ด 8 เทคนคิ ดงั น้ี 1) การจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิคจก๊ิ ซอว 2) การจดั การเรยี นรู แบบรว มมือโดยใชเทคนคิ STAD 3) การจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค TAI 4) การจัดการเรียนรูแบบรว มมือโดย ใชเทคนคิ TGT 5) การจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค LT 6) การจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค GI 7) การจัดการเรยี นรแู บบรวมมอื โดยใชเทคนิค CIRC และ 8) การจดั การเรียนรูแ บบรวมมือโดยใชเทคนคิ คอมเพลก็ ซ [5] ซ่ึง พบ 2 เทคนิคท่ีมีกระบวนการคลายคลึงกัน คือ การจัดการเรยี นรูแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนคิ STAD และ การจัดการเรียนรู แบบรวมมือโดยใชเทคนคิ TGT สําหรับการจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค STAD เปนรูปแบบที่สามารถใชไดกับทุกวิชาซ่ึงเหมาะสม อยางย่ิงกับวิชาที่มีการวางจุดประสงคไวอยางชัดเจน มีคําตอบตายตัว เชน คณิตศาสตร วิชาคํานวณตางๆเปนตน การ จัดการเรียนรูโดยเทคนคิ STAD เปนวธิ ีการที่เนนความสําคัญของการเรยี นเปน กลุม การชวยเหลอื กนั ในกลุม เปน การฝก ทกั ษะทางสงั คมใหกับนักเรียน และทําใหเ ห็นคณุ คา ของการรว มมอื ทีง่ า ยทีส่ ุด และเปน ตัวอยางทด่ี ีทส่ี ุด สําหรับครใู นการ เร่ิมตนใชวิธีการจัดการเรียนรูแบบรว มมือในหองเรียน [6] สอดคลองกับอทิตยิ า [7] กลาวถึงความหมายของ STAD คือ การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสาํ คัญ ผูเรียนไดศกึ ษาเรียนรบู ทเรยี นดว ยตนเองกับเพ่ือนสมาชิกในกลุม มีการ รวมกันแสดงความคิดเหน็ และชวยกันหาคําตอบของคําถามที่ครูผูส อนกําหนดให ทาํ ใหผเู รียนแตละคนเกิดความเขาใจใน เนื้อหาและไดร บั ความรอู ยางเทา เทยี มกันทกุ คน การจัดการเรียนรูอีกรูปแบบหนึ่งคือการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค TGT นักเรียนจะไมทําแบบทดสอบเปน รายบุคคลแตจะแขงขันกันตอบคําถามท่ีเก่ียวกับเรื่องที่เรียนโดยครูจะตองเตรียมคําถามใหนักเรียนโดยอาจสราง ขอคําถามใหมี 3 ระดับ คือคําถามสําหรับเด็กเรยี นเกง เด็กเรียนปานกลาง และเด็กเรียนออนหรืออาจจะเปนขอคําถาม คละกันทั้งยากงายใหแ ตละกลมุ ตอบคําถามเหลานน้ั คําถามเหมือนกนั กไ็ ดโดยใหเหมาะกับความพรอ มของนักเรียนพรอ ม ท้งั จาํ แนกเวลาในการทําแบบฝกหัดเพ่ือการแขง ขนั แตละครั้งและการแขงขันน้ันไมจาํ เปนตองแขงขันทุกคาบเรียนอาจจะ แขงขันเม่ือเรียนจบหนวยก็ได [8] สอดคลองกับSlavin [9] การเรียนรูแบบรวมมือประเภทกลุมแขงขันเทคนิค TGT (Teams- Games-Tournament) หรือการแขงขันระหวางกลุมดวยเกมเปนเทคนิควิธีการเรียนแบบรวมมือวิธีหน่ึงท่ีจัด กจิ กรรมการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลางโดยมีการจัดใหนักเรียนเรียนรวมกันเปนกลุมยอยแตละกลุมมีสมาชิก 4 คนท่มี ีระดับความสามารถตางกัน สมาชิกภายในกลุมจะศึกษาคน ควาและทาํ งานรวมกันผูเ รยี นจะมีปฏิสมั พนั ธตอกันเพ่ือ ชว ยเหลอื สนบั สนุนกระตนุ และสงเสรมิ การทํางานของเพื่อนสมาชกิ ในกลมุ ใหประสบผลสาํ เร็จผูเรียนไดอภิปรายซักถามซึ่ง กันและกันเพ่ือใหเขาใจบทเรยี นหรอื งานท่ไี ดรับมอบหมายเปน อยางดี ตอจากนน้ั จะมกี ิจกรรมการแขงขันตอบปญหาเพื่อ สะสมคะแนนความสามารถของกลุม โดยจัดใหม ีการแขงขันภายในกลุม ซึ่งแตละกลุมประกอบดวยสมาชิกที่มคี วามสามารถ ใกลเคยี งกนั เม่อื เสร็จสน้ิ การแขง ขันและตอบปญหาแตล ะคร้ังผูเรียนจะกลบั มาสกู ลมุ เดมิ ท่ีมคี วามสามารถแตกตางกันแลว นาํ คะแนนท่ีสมาชกิ ในกลุมแตละคนทสี่ ะสมไดจากการตอบปญหามารวมกันเปน คะแนนเฉลย่ี ของกลมุ จากการศึกษาและเหตุผลขางตน สรุปไดวาการเรียนแบบรวมมอื เหมาะกับวชิ าคณติ ศาสตร ดังนั้นผูวจิ ัย มีความ สนใจทจี่ ะทาํ การศกึ ษาวิธกี ารจดั การเรียนรแู บบรวมมือเทคนิค STAD และเทคนิค TGT มาทดลองเพอ่ื ศึกษาผลผลสมั ฤทธิ์ วิชาคณิตศาสตรเรื่อง อัตราสวน สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 และศึกษาพฤติกรรมการทํางานกลุม ตลอดจนเอกสาร งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงผลการวิจัยครั้งนี้จะเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรูและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ผเู รยี นใหส ูงขึน้

3 กรอบแนวคดิ การวิจยั กรอบแนวคิดในการวิจัยไดศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยเทคนิค STAD และ TGT เพ่ือนํามากําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยดังนี้ Johnson, Johnson & Smith [10] ไดอธิบายถึงความ รวมมือในทฤษฎีการเรยี นรูแบบรว มมือไววาความรวมมือคือการทํางานดวยกันเพื่อบรรลุเปาหมายรวมกันในสถานการณ ของความรวมมือนน้ั จะพบวาบุคคลแสวงหาผลลัพธซ่ึงกค็ ือส่ิงท่ีเปน ประโยชนตอ ตนเองและตอสมาชิกในกลุม สอดคลอง กับแนวคิดของ Slavin [9] ซ่ึงไดศึกษาพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนดวยการเรียนแบบรวมมือ (cooperative learning) ซึ่งจัดวาเปนวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งที่มีการฝกใชพฤติกรรมการทํางานรวมกันสมาชิกภายใน กลุมจะชวยกันเรียนโดยนักเรียนท่ีมีความสามารถสูงกวาชวยเหลือเพื่อนท่ีมีความสามารถต่ํากวามีการแบง หนาที่และ ความรับผิดชอบในการทํากิจกรรมตา งๆและชว ยเหลอื กันจนสมาชิกทกุ คนประสบความสาํ เร็จในการเรยี นและความสาํ เร็จ ของกลุมเปน ผลงานของสมาชิกทุกคน นันทนภัส นิยมทรัพย [11] ไดกลา ววา ตอ มามีการประยุกตท ฤษฎีในกระบวนการ เรียนการสอนทาํ ไดโ ดยใชร ปู แบบการสอนทีม่ รี ากฐานมาจากทฤษฎีน้ี เชน การแบงกลมุ ผลสัมฤทธ์ิ หรือ STAD (Student Teams Achievement Divisions) จกิ ซอว (Jigsaw) รว มกันเรยี นรู (Learning Together) คดิ เดี่ยว คิดคู รว มกันคดิ รวมกนั คดิ (Think – Pair - Share) รว มกันคิด (Numbered Heads Together) รูปแบบ T A I (Team Assisted Individualization) รปู แบบ TGT (Team Games Tournament) รปู แบบ L.T. (Learning Together) รูปแบบ GI หรือ (Group Investigation) รปู แบบ CIRC (Cooperative Integrated) รปู แบบคอมเพลก็ ซ (Complex Instruction) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบกลุมรวมเรียน (Student Teams Achievement Divisions ; STAD) มี ขน้ั ตอนดังน้ี 1)ครูแจกบทเรยี นใหนกั เรียนแตละกลุม 2)นักเรียนศกึ ษาและทํางานเปน กลุมคณะทํางานเปนกลมุ ตองแนใจ วา สมาชิกทกุ คนในกลมุ ตองต้ังใจศกึ ษาและชว ยการศึกษาบทเรียนอยา งจริงจังโดยแบง หนาที่กันและเวยี นหนา ที่กนั ไปจน จบบทเรียน 3) นักเรียนแตละคนทําขอ ทดสอบในบทเรยี น ขณะสอบนกั เรียนแตล ะคนตา งคนตางทาํ ไมชวยกัน นําคะแนน สอบของนักเรียนทุกคนมาหาคาเฉล่ียเทียบกับคะแนนเฉล่ียของกลุมตนที่ผานมา คะแนนท่ีผานเกณฑซ่ึงตองมากกวา คะแนนครั้งกอนจึงจะไดรับรางวัล เอาคะแนนท่ีไดน้ีเปน คะแนนของกลุม ประกาศเกยี รติคณุ กลุมท่ีไดคะแนนผานเกณฑ ใชร ะยะเวลาตงั้ แตครใู หบ ทเรียนจนจบทกี่ ารทําขอ สอบประมาณ 3-5 คาบเรยี น [12] วัชรา เลาเรยี นดี [13] ไดก ลา ววา การจดั การเรยี นรูด ว ยเทคนิค STAD มขี นั้ ตอนดังน้ี 1.1 ข้นั นําหรือเตรยี มความพรอ มใหผ ูเ รียน 1.1.1 บอกจดุ ประสงคก ารเรยี นรแู ละความ สําคญั ของการเรียนรใู นเรือ่ งนัน้ และทบทวนวิธกี าร รวมมือการเรียนรู 1.1.2 เรา ความสนใจดว ยการตัง้ คาํ ถามหรือสาธิต 1.1.3 ทบทวนความรูเ ดมิ หรอื ทกั ษะเดมิ ทีเ่ รียนไปแลว

4 1.2 ข้ันสอนควรดําเนินการดังนี้ 1.2.1 ใชเทคนคิ วธิ ีการสอนแบบตางๆ ท่เี หมาะสมเพ่อื ใหบ รรลวุ ัตถุประสงคในแตละสาระ 1.2.2 กจิ กรรมการสอนและการเรยี นรคู วรเนนความเขา ใจมากกวาความจาํ 1.2.3 สาธติ ทกั ษะกระบวนการอธิบายสาระความรใู หก ระจา งพรอ มตัวอยา งใหชัดเจน 1.2.4 ตรวจสอบความเขาใจใหน กั เรียนทุกคนอยางท่วั ถึง 1.2.5 อธิบายคําตอบบอกสาเหตุท่ีทาํ ผดิ และทบทวนวธิ ที ํา 1.2.6 สอนเพิม่ เตมิ ในเน้ือหาอ่ืนเมือ่ นักเรยี นเขา ใจเรื่องทสี่ อนไปแลว 1.2.7 ถามคําถามหลายระดับและถามใหท ั่วถงึ ทกุ คน 1.3 ใหฝ ก ปฏบิ ตั โิ ดยครคู อยแนะนํา 1.3.1 ฝกจากใบงานหรือใบกิจกรรมท่ีมอบหมาย 1.3.2 ฝกจากแบบฝกหัดทก่ี าํ หนดให 1.3.3 ถามคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจ 1.4 กจิ กรรมกลมุ 1.4.1 มอบหมายใบงาน ใบกิจกรรมใบประเมินผลการปฏิบัติงานกลมุ ทบทวนวิธกี ารเรยี นรแู ละ การประเมินผลการเรยี นรแู ละการประเมินผลงานกลมุ 1.4.2 ทบทวนบทบาทหนา ทแี่ ละการปฏิบตั ติ นในการทํางานกลุม ของสมาชิกกลมุ 1.4.3 คอ ยติดตามดแู ลการปฏิบัตงิ านกลมุ 1.4.6 ครูตองคอยเนนยาํ้ เสมอวา นกั เรยี นหรอื สมาชกิ กลุมทกุ คนตองแนใ จวา สมาชกิ ทุกคนรูและ เขาใจอยา งที่ตนเองรู และเขาใจสมาชิกกลมุ ตองคอยเอาใจใสช ว ยเหลือ แนะนาํ เพ่ือนดวยความ เตม็ ใจ การจัดการเรียนรูดวยเทคนิค TGT นักเรียนจะไมทําแบบทดสอบเปนรายบุคคลแตจะแขงขันการตอบคําถามท่ี เก่ียวกับเร่ืองท่ีเรียนแทนโดยครูจะตองเตรียมคําถามใหนักเรียนตอบโดยอาจจะสรางขอคําถามใหมี 3 ระดับคือ คําถาม สําหรับเด็กเรียนเกง เด็กเรียนปานกลาง และเด็กเรียนออนหรืออาจจะเปนขอคําถาม การทํายากงายใหแตละกลุมตอบ คาํ ถามเหลานั้นคําถามเหมือนกันก็ได โดยใหเหมาะกบั ความพรอ มของนักเรยี นพรอ มท้ังจําแนกเวลาในการทําแบบฝกหัด เพอ่ื การแขงขนั แตละคร้งั และการแขงขนั ไมจําเปนตอ งแขงกันทกุ คาบอาจจะแขงขันเมือ่ เรียนจบหนวยการเรียนก็ได [8] สมบตั ิ การจนารกั พงค [12] ไดกลาววา เกมกลมุ แขงขนั (Team Games Tournament ; TGT) มขี ้นั ตอนดังน้ี 1. ครูแจกแบบฝกหัดหรืองานใหทุกกลุมทํา โดยสมาชิกกลุมแบงหนาที่กันทํางานหรือทําบทบาทอาจจะ หมนุ เวียนเปลี่ยนหนา ทกี่ ารและรวมกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นจนทกุ คนมีความรคู วามเขา ใจเปนอยางดี จากนนั้ เร่มิ แขง ขันตอบปญหา 2. การแขง ขันตอบปญหา มขี นั้ ตอนดงั นี้ 2.1 ใหนักเรียนแตละกลุมคัดเลือกผูท่ีมีความสามารถในการแขงขันเชนมือวางอันดับหน่ึงของกลุมคนท่ีมี ความสามารถมากที่สุดของกลมุ หรอื เกง ที่สุดของกลุมมอื วางอันดบั 2 มอื วางอันดับ 3 และมือวางอนั ดับ 4 การที่จัดนักเรียนเปนมือวางแตละอันดับก็เพื่อไมใหนักเรียนท่ีเรียนออนรูสึกวามีปมดอยเนื่องจาก นักเรียนคุนเคยกับการจัดอันดับมือวางในการแขงขันกีฬามาแลวจะรูสึกดีกวาคนที่เกงท่ีสุด คนปาน กลางคนออน คนออ นท่สี ุด

5 2.2 ครูจัดทีมใหมแบงตามความสามารถของนักเรียนเชนโตะท่ี 1 เปนโตะสําหรับแขงขันทีมนักเรียนที่เกง โตะ ท่ี 2 และ 3 เปนโตะที่แขงขันทมี นกั เรียน ที่เรียนปานกลางและโตะท่ี 4 เปน โตะทแ่ี ขง ขันนักเรียนที่ เรยี นออ นโดยครูควรใชคําพูดวา ใหมอื วางอันดับ 1 ของทุกกลุมมาน่ังท่โี ตะ 1 มือวางอันดับ 2 ของกลุม มานง่ั โตะที่สองและมอื วางอันดับ 3 ของกลมุ มานงั่ โตะท่ี 3 และมอื วางอันดับ 4 ของกลมุ มานงั่ โตะท่ี 4 เพอ่ื เตรยี มตัวแขงขัน 2.3 ครูแจกซองคําถามอาจเปนขอสอบแบบเลือกตอบแบบเติมคําหรือคําถามปลายเปดแตมีคําตอบที่ แนน อนตอบส้ันๆจํานวนขอเทากบั จํานวนผูแขง ขนั ในแตล ะโตะ โดยครูเตรียมลว งหนา ซองละ 1 คาํ ถาม แตละโตะ จะได ซองคําถามเรื่องเดียวกนั แตคําถามไมเหมือนกันเหมาะกับความสามารถของนักเรียนที่ เขา แขงขันในแตล ะโตะพรอ มทง้ั ชี้แจงขน้ั ตอนการดาํ เนินการ 2.4 หลักการตอบคําถามใหนักเรียนแตละโตะกําหนดกติกาการแขงขันเองวาใครจะเปนคนแรกที่จะหยิบ ซองคําถามหน่ึงออกมาเมื่อหยบิ และเปดซองอานใหสมาชิกฟงพรอมทั้งวางกระดาษ คําถามลงบนโตะ สวนคนทีเ่ หลือแขงกันตอบ คนถามเปน คนเฉลยคําตอบแลวใหคะแนนคนทแี่ ขง ขันตอบตามเกณฑท ่ีตก ลงกันไวจากนั้นคนตอไปจับซองคําถามและอานคําถามบางโดยหมุนเวียนกันจับซองคําถามและอาน คาํ ถามจนครบทุกคนถือวาจบการแขงขันจากน้ันใหค ะแนนรวมคะแนนของตนเองสมาชิกแตละโตะตั้ง กติกาเองวาจะพิจารณาอยางไร เพื่อใหบอกไดว าใครเปนคนตอบคนแรกเน่ืองจากถาคนตอบคนแรกถูก จะไดค ะแนนมากกวา คนอ่ืนท่ตี อบในลําดบั ตอไป เกณฑการใหคะแนน ผตู อบถูกคนแรกได 2 คะแนน ผูตอบทกุ คนตอ มาได 1 คะแนน ผูต อบผดิ ได 0 คะแนน เกณฑก ารตดั สนิ ผูท่ไี ดคะแนนสงู สดุ ประจําโตะจะไดโ บนสั 10 แตม ผูทไ่ี ดค ะแนนอนั ดบั 2 ประจําโตะจะไดโ บนสั 8 แตม ผทู ี่ไดค ะแนนอันดบั 3 ประจําโตะจะไดโ บนัส 6 แตม ผูที่ไดคะแนนนอ ยทีส่ ุดประจําโตะจะไดโบนัส 4 แตม 2.5 แตละคนท่ีแขงขันตอบคําถามนําใบคะแนนของตนพรอมกับคะแนนโบนัสท่ีทําใหกับกลุมเดิมแลวรวม คะแนนในกลุมตนเองกลุมใดไดคะแนนสูงทส่ี ุด 1 2 และ 3 จะไดรางวัลหรือประกาศเกียรตคิ ุณที่บอรด พรอ มกบั ใหคําชมเชยทกุ กลมุ 2.6 ในข้ันตอนทายครูและนักเรยี นรวมกันอภิปรายสรุป ความรูที่นกั เรียนไดศึกษาในกลุมหรืออาจจะเสริม ความรใู หน ักเรยี นโดยใชค ําถามใชส ือ่ ประกอบการสรุป จากแนวคิดขางตนที่กลา วมาผูวิจัยพบวา การเรียนแบบรวมมอื โดยใชเ ทคนิค STAD และเทคนิค TGT มคี วามคลา ยคลึงกัน จึงมีความสนใจท่ีจะนําท้ังสองเทคนิคมาศึกษาทดลองวาวิธีการใดเหมาะสมกับการนํามาใชสอนในรายวิชาคณิตศาสตร เร่อื ง อตั ราสวน ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 1 สําหรับการวิจยั คร้ังน้ี การจดั การเรียนรแู บบรว มมือโดยใชเ ทคนิค TGT มี 5 ขั้นตอนดังนี้ 1)ข้ันนํา 2)ขัน้ สอน 3)ข้ันกิจกรรมกลุม 4)ขนั้ แขงขันเกมวิชาการ 5)ข้ันสรุปการจัดการเรยี นรแู บบรว มมือ โดยใชเทคนิค STAD 5 ขั้นตอนดงั น้ี 1)ขั้นนาํ 2)ข้ันสอน 3)ข้นั กจิ กรรมกลุม 4) ขน้ั ทดสอบรายบคุ คล 5)ขั้นสรุป

6 จากแนวคิดตา งๆ ท่ีกลาวมาขางตนผวู ิจยั ไดก าํ หนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ดังนี้ แผนการจัดการเรียนรแู บบรว มมอื โดยใชเทคนิค TGT 1. ขน้ั นาํ 2. ข้นั สอน 3. ขัน้ กิจกรรมกลมุ 4. ขั้นแขงขนั เกมวชิ าการ 5. ข้นั สรุป 1.ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร 2.พฤติกรรมการทํางานกลมุ แผนการจดั การเรยี นรูแบบรว มมอื โดยใชเทคนคิ STAD 1. ขัน้ นาํ 2. ขน้ั สอน 3. ข้นั กิจกรรมกลมุ 4. ข้นั ทดสอบรายบุคคล 5. ขั้นสรปุ แผนภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดการวิจัย วัตถปุ ระสงคการวิจัย 1. เพ่อื ศึกษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรเรอ่ื ง อัตราสวน ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 ท่ไี ดร ับการจดั การเรยี นรแู บบรว มมอื โดยใชเทคนคิ TGT กบั การจดั การเรยี นรูแบบรวมมอื โดยใชเทคนิค STAD 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาคณติ ศาสตรเรื่อง อตั ราสว น ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 1 ทไ่ี ดรบั การจดั การเรยี นรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT ทง้ั กอนและหลังการทดลอง 3. เพ่ือศกึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรเรอื่ ง อัตราสวน ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 1 ท่ไี ดร บั การจดั การเรยี นรูแบบรวมมือโดยใชเทคนคิ STAD ท้งั กอนและหลังการทดลอง 4. เพื่อศึกษาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาคณติ ศาสตรเรอ่ื ง อตั ราสว น ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ที่ไดรบั การจดั การเรียนรูแบบรว มมอื โดยใชเทคนคิ TGT กบั เกณฑร อ ยละ 70 5. เพ่อื ศกึ ษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาคณติ ศาสตรเรื่อง อัตราสว น ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 1 ที่ไดร บั การจดั การเรียนรแู บบรวมมือโดยใชเทคนิค STAD กบั เกณฑร อ ยละ 70 6. เพือ่ ศึกษาพฤติกรรมการทาํ งานกลุมของนักเรียนที่จดั การเรียนรแู บบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT กบั การจดั การเรยี นรูแบบรว มมอื โดยใชเทคนคิ STAD

7 คาํ ถามการวจิ ยั 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเ รือ่ ง อัตราสว น ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที่ 1 ทีไ่ ดรับการจดั การ เรยี นรแู บบรวมมือโดยใชเ ทคนคิ TGT และการจดั การเรียนรโู ดยใชเทคนคิ STAD มคี วามแตกตา งกนั หรือไม 2. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตรเ ร่ือง อัตราสว น ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ท่ีไดรับการจัดการ เรยี นรูแบบรว มมือโดยใชเทคนิค TGT หลังเรยี นสงู กวากอนเรียนหรอื ไม 3. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเรื่อง อัตราสว น ของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 ท่ไี ดรบั การจัดการ เรียนรแู บบรว มมอื โดยใชเ ทคนคิ TGT หลังเรียนสงู กวาเกณฑรอ ยละ 70 หรอื ไม 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเ รอื่ ง อัตราสวน ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ไี ดรบั การจัดการ เรียนรแู บบรว มมอื โดยใชเทคนิคSTAD หลงั เรยี นสูงกวา กอนเรียนหรอื ไม 5. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเ รือ่ ง อัตราสว น ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 1 ท่ีไดรับการจัดการ เรียนรแู บบรวมมือโดยใชเ ทคนคิ STAD หลงั เรยี นสงู กวาเกณฑรอ ยละ 70 หรือไม 6. พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนท่ีจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT กับการจัดการเรียนรู แบบรว มมือโดยใชเ ทคนิค STAD อยใู นระดับใด สมมตฐิ านในการวิจยั 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรเ ร่ือง อตั ราสวน ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 ท่ไี ดรบั การจดั การ เรียนรูแ บบรวมมอื โดยใชเทคนคิ TGT และการจัดการเรยี นรโู ดยใชเทคนิค STAD มคี วามแตกตางกนั อยางมนี ัยสําคัญทาง สถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเ ร่ือง อัตราสว น ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 1 ที่ไดรับการจัดการ เรยี นรแู บบรวมมอื โดยใชเ ทคนิค TGT หลังเรยี นสูงกวากอนเรยี น อยา งมนี ยั สําคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ 0.05 3. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตรเร่อื ง อัตราสวน ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ที่ไดรับการจัดการ เรยี นรูแบบรวมมอื โดยใชเ ทคนคิ STAD หลังเรยี นสงู กวากอ นเรียน อยา งมีนยั สําคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.05 4. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาคณติ ศาสตรเรื่อง อัตราสวน ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 ท่ไี ดรบั การจดั การ เรยี นรูแ บบรว มมอื โดยใชเ ทคนิค TGT หลังเรียนสูงกวา เกณฑรอยละ 70 อยา งมนี ยั สาํ คัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.05 5. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเ ร่อื ง อัตราสวน ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 1 ท่ไี ดรับการจดั การ เรยี นรูแบบรวมมอื โดยใชเ ทคนคิ STAD หลังเรยี นสูงกวา เกณฑร อยละ 70 อยางมีนยั สําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 6. พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนที่จัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT กับการจัดการเรียนรู แบบรว มมือโดยใชเ ทคนิค STAD อยใู นระดบั ดี ขอบเขตของการวิจัย 1.ประชากรและกลุม ตัวอยา ง 1.1 ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2562 จาํ นวน 8 หองเรียน รวม 350 คน 1.2 กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษา 2562 จํานวน 2 หอ งเรยี น รวม 88 คน ไดม าโดยการสมุ แบบเจาะจง กลุมทไ่ี ดร บั การจดั การเรยี นรูแบบรว มมือโดยใชเ ทคนคิ TGT จํานวน 44 คน กลุม ท่ีไดร ับการจดั การเรยี นรแู บบรว มมือโดยใชเ ทคนคิ STAD จํานวน 44 คน

8 2. ตัวแปรทศี่ ึกษา 2.1 ตัวแปรตน ไดแก 2.1.1 การจดั การเรียนรูแ บบรวมมอื โดยใชเ ทคนคิ TGT 2.1.2 การจดั การเรียนรแู บบรวมมือโดยใชเ ทคนคิ STAD 2.2 ตัวแปรตาม ไดแ ก 2.2.1 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาคณิตศาสตรเ รื่อง อตั ราสว น 2.2.2 พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนท่ีใชการจัดการเรียนรูแบบรวมมือ โดยใชเ ทคนิค TGT 2.2.3 พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนท่ีใชการจัดการเรียนรูแบบรวมมือ โดยใชเ ทคนคิ STAD 3. ระยะเวลาในการวิจัย ดําเนินการทดลองวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 โดยใชเวลาทดลองกลุมละ 12 คาบ จํานวน 3 คาบตอ สปั ดาห เปน ระยะเวลา 4 สปั ดาห 4. เนื้อหาการวิจยั เนื้อหาท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนเนื้อหาในวิชาคณิตศาสตร ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เร่ือง อัตราสวน ประกอบดวยเร่ืองยอย 5 เรื่อง ดงั ตอไปน้ี 4.1 อัตราสว นและอัตราสว นที่เทา กนั 4.2 อตั ราสวนของจํานวนหลายๆจํานวน 4.3 สัดสว น 4.4 อัตราสวนและรอยละ 4.5 การนาํ ความรเู ก่ยี วกับอตั ราสว นและรอยละไปใชใ นชีวติ จรงิ นยิ ามศัพทเฉพาะ 1. การเรียนแบบรวมมือ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน โดยคละ ความสามารถ เกง -ปานกลาง-ออน นกั เรียนจะรวมมือกนั เรยี นรู ชว ยเหลอื กันและกนั 2. การจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบรวมมือ ท่ี แบงกลุมนักเรยี นกลุมละ 4-5 คน โดยคละความสามารถ เกง – ปานกลาง - ออ น นักเรียนจะรวมมอื กันเรียนรู ชว ยเหลือ กันและกัน โดยมขี ั้นตอนดังน้ี คือ 1) ขนั้ นํา 2) ขนั้ สอน 3) ข้ันกจิ กรรมกลุม 4) ขั้นแขง ขันเกมวชิ าการ 5) ขนั้ สรุป 3. การจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค STAD หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบรวมมือ ที่ แบง กลุมนักเรยี นกลมุ ละ 4-5 คน โดยคละความสามารถ เกง – ปานกลาง - ออน นักเรียนจะรวมมือกันเรียนรู ชว ยเหลือ กนั และกนั โดยมขี ัน้ ตอนดงั น้ี คอื 1)ขัน้ นํา 2)ขน้ั สอน 3)ข้นั กิจกรรมกลมุ 4)ขนั้ ทดสอบรายบคุ คล 5)ข้ันสรปุ 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ไดจากแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง อัตราสวน จาํ นวน 20 ขอ แบบ 4 ตวั เลือก 5. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้น เรื่อง อัตราสวน จาํ นวน 20 ขอ แบบ 4 ตวั เลอื ก

9 6. พฤติกรรมการทํางานกลุม หมายถึง การกระทําหรือการแสดงออกของนักเรียนในขณะที่ทํางานกลุมหรือ กิจกรรม เพ่ือใหงานสําเร็จไดผลตามเปาท่ีกําหนด โดยพิจารณาจาก 1)การมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น 2)การใหคําปรึกษาเพื่อนในกลุมเมื่อมีขอสงสัย 3)การรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย 4)การมีความสามัคคีในการ ทํางาน 5)การมีปฏิสัมพันธที่ดีตอเพื่อนรวมกลุม ซึ่งแบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยมีผปู ระเมนิ เปนครูและ นักเรยี น 7. นักเรียน หมายถึง ผูเรียนที่ศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ภาค เรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2562

10 บทท่ี 2 วรรณกรรมทเี่ กย่ี วขอ ง การศกึ ษาวจิ ัยในครัง้ น้ีมวี ัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลการจดั การเรียนรแู บบรวมมือใชเทคนิค TGT กับการจดั การ เรยี นรูแ บบรวมมอื โดยใชเทคนิค STAD ในรายวิชาคณติ ศาสตร เรอ่ื ง อัตราสวน ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 1 โรงเรยี นปากเกรด็ จงั หวดั นนทบุรี เพอื่ ใหก ารวจิ ยั เปน ไปตามเปา หมาย ผูว จิ ัยไดศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยตา ง ๆ ที่ เกย่ี วของโดยนาํ เสนอตามหัวขอ ตอ ไปน้ี 1. หลักสตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พธุ ศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) กลุมสาระการเรยี นรู คณิตศาสตร 2. หลักสตู รสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานโรงเรยี นปากเกรด็ 2.1 วิสัยทศั น 2.2 พันธกิจ 2.3 เปาหมายของโรงเรยี น 2.4 โครงสรางและเวลาเรยี น 2.5 สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร 2.5.1 คําอธบิ ายรายวชิ า 2.5.2 มาตรฐานการเรียนรูและตวั ชี้วัด 3. การเรียนแบบรวมมอื 3.1 ความหมายของการเรียนแบบรวมมอื 3.2 องคประกอบของการเรยี นแบบรว มมอื 3.3 ประเภทของการเรยี นแบบรว มมอื 3.4 ประโยชนของการเรยี นแบบรว มมอื 4. การสอนดว ยการเรยี นแบบรว มมือโดยใชเทคนคิ STAD 4.1 ความหมายของการเรยี นแบบรว มมือโดยใชเ ทคนคิ STAD 4.2 องคป ระกอบของการเรียนแบบรว มมือโดยใชเทคนิค STAD 4.3 ขั้นตอนการสอนของการเรยี นแบบรวมมือโดยใชเ ทคนคิ STAD 5. การสอนดวยการเรยี นแบบรวมมือโดยใชเ ทคนคิ TGT 5.1 ความหมายของการเรียนแบบรว มมือโดยใชเ ทคนคิ TGT 5.2 องคป ระกอบของการเรยี นแบบรว มมือโดยใชเ ทคนคิ TGT 5.3 ข้ันตอนการสอนของการเรียนแบบรว มมือโดยใชเทคนิค TGT 6. พฤติกรรมการทาํ งานกลมุ 6.1 ความหมายของการทาํ งานกลุม 6.2 องคป ระกอบของการทํางานกลุม 6.3 ประโยชนของการทาํ งานกลุม 6.4 การประเมินพฤติกรรมการทาํ งานกลุม

11 7. งานวจิ ัยที่เกีย่ วของ 7.1 งานวิจยั ภายในประเทศ 7.2 งานวจิ ยั ตา งประเทศ 1. หลักสูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) กลุมสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร ทําไมตองเรยี นคณติ ศาสตร คณิตศาสตรมีบทบาทสําคัญยง่ิ ตอความสําเรจ็ ในการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 เนือ่ งจากคณิตศาสตร ชว ยใหม นุษย มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือ สถานการณไดอยาง รอบคอบและถี่ถว น ชวยใหค าดการณ วางแผน ตัดสนิ ใจ แกปญ หาไดอ ยางถูกตองเหมาะสม และสามารถนําไปใชในชีวิต จรงิ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ นอกจากนค้ี ณิตศาสตรยังเปนเครื่องมือในการศกึ ษาดาน วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศาสตร อื่น ๆ อนั เปน รากฐานในการพฒั นาทรัพยากรบคุ คลของชาตใิ หมีคุณภาพ และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหท ัดเทียมกับ นานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตรจงึ จาํ เปนตองมกี ารพฒั นาอยาง ตอ เน่ือง เพ่ือใหทันสมยั และสอดคลอ งกับสภาพเศรษฐกจิ สงั คม และ ความรูทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยที ี่ เจริญกา วหนาอยางรวดเรว็ ในยุคโลกาภิวัตน มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 จดั ทาํ ข้ึนโดยคํานงึ ถึงการสงเสรมิ ให ผูเ รียนมีทกั ษะทจี่ าํ เปนสาํ หรับการ เรียนรใู นศตวรรษที่ 21 เปนสําคัญ นั่นคอื การเตรยี มผูเรียนใหมีทักษะดาน การคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ การแกป ญ หา การคิดสรา งสรรค การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สารอยางปลอดภัย ซ่งึ จะสงผลใหผ เู รยี นรเู ทาทัน การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดลอ ม สามารถแขงขันและอยูรวมกับประชาคมโลก ได ทั้งนกี้ ารจัดการเรียนรูคณิตศาสตรท ่ีประสบ ความสําเร็จนั้น จะตองเตรียมผูเรียนใหม ีความพรอมท่จี ะเรียนรูส่ิงตาง ๆ พรอ มทจี่ ะประกอบอาชพี เมือ่ จบ การศึกษา หรือสามารถศกึ ษาตอในระดับทีส่ ูงข้ึน ดังนนั้ สถานศกึ ษาควรจัดการเรยี นรใู ห เหมาะสมตามศกั ยภาพ ของผเู รียน เรยี นรอู ะไรในคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรไดจัดเปน 4 สาระ ไดแ ก จํานวนและพชี คณิต การวัดและ เรขาคณิต สถิตและ ความนา จะเปน และแคลคลู สั [14] จํานวนและพีชคณิต เรียนรูเก่ียวกับระบบจํานวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจํานวนจริง อัตราสวน รอยละ การประมาณคา การแกปญหาเกีย่ วกบั จํานวน การใชจ ํานวนในชีวิตจรงิ แบบรูป ความสัมพนั ธ ฟง กชัน เซต ตรรกศาสตร นพิ จนเอกนาม พหนุ าม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบ้ยี และมลู คาของเงิน เมทริกซ จํานวนเชิงซอน ลําดับ และอนกุ รม และการนําความรูเ ก่ียวกบั จํานวนและพชี คณิตไปใชในสถานการณตา ง ๆ การวดั และเรขาคณติ เรยี นรเู ก่ยี วกับความยาว ระยะทาง น้าํ หนัก พืน้ ท่ี ปรมิ าตร และความจุ เงิน และ เวลา หนว ยวัดระบบตาง ๆ การคาดคะเนเก่ียวกับการวัด อัตราสวนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณติ และสมบัติของ รูปเรขาคณิต การนึกภาพแบบจําลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิตในเร่ือง การเลื่อนขนาน การ สะทอน การหมุน เรขาคณิตวิเคราะห เวกเตอรในสามมิติ และการนําความรูเก่ียวกับ การวัดและเรขาคณิตไปใชใน สถานการณตาง ๆ

12 สถิติและความนาจะเปน เรยี นรูเก่ียวกับการตั้งคําถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมขอมลู การ คํานวณ คําถามทางสถิติ การนําเสนอและแปลผลสําหรับขอมูลเชงิ คุณภาพและเชงิ ปริมาณ หลักการนับเบ้อื งตน ความ นาจะเปน การแจกแจงของตัวแปรสุม การใชค วามรูเกี่ยวกบั สถิติและความนาจะเปนในการอธิบายเหตุการณตาง ๆ และชวยในการ ตดั สินใจ แคลคูลัส เรียนรูเก่ียวกับลิมิตและความตอเนื่องของฟง กชัน อนุพันธของฟงกชันพีชคณิต ปริพันธของ ฟงกช ันพีชคณติ และการนาํ ความรเู กยี่ วกบั แคลคลู สั ไปใชใ นสถานการณตา ง ๆ คณุ ภาพผเู รยี น จบช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ • มคี วามรูความเขา ใจเกยี่ วกับจํานวนจรงิ ความสัมพนั ธข องจาํ นวนจริง สมบัติของจํานวนจริง และใชค วามรคู วามเขาใจนีใ้ นการแกปญ หาในชีวิตจริง • มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับอตั ราสวน สัดสวน และรอยละ และใชความรคู วามเขาใจนี้ในการ แกป ญ หาในชวี ิตจรงิ • มคี วามรคู วามเขาใจเกีย่ วกบั เลขยกกาํ ลงั ท่ีมีเลขชี้กําลงั เปนจํานวนเต็ม และใชความรคู วาม เขา ใจนี้ ในการแกปญหาในชวี ิตจริง • มีความรูความเขา ใจเกี่ยวกับสมการเชิงเสน ตวั แปรเดยี ว ระบบสมการเชิงเสน สองตัวแปร และ อสมการเชงิ เสน ตวั แปรเดยี ว และใชความรคู วามเขาใจนใ้ี นการแกปญหาในชีวิตจริง • มีความรูความเขาใจและใชความรูเกี่ยวกับคูอันดับ กราฟของความสัมพันธ และฟงกชันกําลังสอง และใชความรคู วามเขาใจเหลานี้ในการแกปญหาในชีวติ จริง • มีความรูความเขาใจทางเรขาคณิตและใชเครื่องมือ เชน วงเวียนและสันตรง รวมท้ังโปรแกรม The Geometer's Sketchpad หรอื โปรแกรมเรขาคณิตพลวตั อน่ื ๆ เพอ่ื สรา งรูปเรขาคณิต ตลอดจน นาํ ความรู เกี่ยวกับการสรา งนี้ไปประยกุ ตใชใ นการแกปญหาในชีวติ จริง • มคี วามรูความเขาใจและใชค วามรูค วามเขา ใจนีใ้ นการหาความสมั พนั ธระหวางรูปเรขาคณิตสอง มติ ิ และรูปเรขาคณิตสามมิติ • มคี วามรูค วามเขา ใจในเรื่องพื้นท่ีผิวและปรมิ าตรของปริซมึ ทรงกระบอก พีระมดิ กรวย และทรงกลม และใชค วามรูความเขาใจน้ใี นการแกป ญหาในชวี ิตจรงิ • มคี วามรคู วามเขา ใจเก่ียวกบั สมบตั ขิ องเสนขนาน รปู สามเหล่ียมที่เทา กนั ทกุ ประการ รปู สามเหล่ียม คลาย ทฤษฎบี ทพที าโกรัสและบทกลบั และนําความรคู วามเขา ใจนไ้ี ปใชในการแกปญ หาในชีวิตจรงิ • มคี วามรคู วามเขา ใจในเรอ่ื งการแปลงทางเรขาคณิตและนาํ ความรูความเขา ใจนี้ไปใชในการแกป ญ หา ในชวี ิตจริง • มคี วามรคู วามเขา ใจในเรอ่ื งอัตราสวนตรโี กณมติ แิ ละนําความรคู วามเขาใจนีไ้ ปใชในการแกปญหาใน ชวี ิตจรงิ • มีความรคู วามเขา ใจในเรอื่ งทฤษฎบี ทเกีย่ วกับวงกลมและนําความรคู วามเขาใจนีไ้ ปใชใ นการ แกปญหาคณิตศาสตร

13 • มคี วามรคู วามเขาใจทางสถิติในการนาํ เสนอขอมูล วิเคราะหขอ มูล และแปลความหมายขอมลู ท่ี เกย่ี วของกับแผนภาพจดุ แผนภาพตน-ใบ ฮิสโทแกรม คา กลางของขอ มลู และแผนภาพกลอง และใช ความรู ความเขาใจนี้ รวมทง้ั นาํ สถติ ิไปใชใ นชวี ิตจริงโดยใชเ ทคโนโลยที ่เี หมาะสม • มีความรูความเขา ใจเก่ียวกับความนา จะเปนและใชใ นชีวิตจรงิ 2. หลกั สตู รสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานโรงเรยี นปากเกร็ด 2.1 วสิ ยั ทัศน โรงเรียนปากเกรด็ ยึดนักเรยี นเปนฐานในการพัฒนาสูการเปนพลเมือง 4.0 ดว ยการบรหิ ารจัดการท่ีทันสมัย ภายใตการมีสวนรวมของทุกภาคสวน 2.2 พันธกิจ 1. การจัดการเรยี นการสอนตามหลักสตู รในระดบั ประเทศ และหลักสูตรสากลท่ีไดร บั การยอมรับทัว่ โลก 2. พัฒนาครใู หเปนผนู ําการเปลยี่ นแปลง ดา นการจดั การเรียนรแู ละเปนครูมืออาชพี 3. พฒั นาดว ยระบบบริหารจดั การสถานศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากลบนพื้นฐานความเปน ไทย 4. พัฒนาสถานศึกษาใหเ ปนสังคมแหงการเรียนรู นักเรยี นอยูอยา งมคี วามสุขและปลอดภัย 2.3 เปาหมายของโรงเรียน 1. ผเู รยี นมีทักษะการเรียนรใู นศตวรรษท่ี 21 คอื 3R 8C 2. ผเู รียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและผลการทดสอบในระดบั ประเทศสงู ข้นึ 3. ผูเรียนสามารถส่อื สารไดทางภาษาไทยภาษาอังกฤษและภาษา ตางประเทศทส่ี อง 4. ผูเ รียนมีความสามารถในการแขงขนั และความสามารถ แสดงความรูไดอยา งสรางสรรคเ ต็มศกั ยภาพ 5. ผเู รียนทกุ คนจบการศึกษาอยางมคี ณุ ภาพ ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 6. ผเู รยี นมที กั ษะในการเรยี นรู และรกั การเรียนรูอยา งตอเน่อื ง 7. ผเู รียนมีทกั ษะชวี ติ และ คณุ ลักษณะ ท่ีพึงประสงคตามหลักสตู ร 8. ผูเรียนใชเ วลาวางใหเ กิดประโยชนผานกิจกรรมดนตรีกีฬาศลิ ปะและกจิ กรรมนันทนาการ 9. ผเู รยี นมีความสามัคคใี นหมคู ณะมีทศั นคติทีด่ ใี นอาชีพสุจรติ กตัญรู คู ุณมี วนิ ยั ในการดํารงชีวติ ในสังคม 10. ผูเ รยี นเปน ตน กลา ความดีของชมุ ชนและเปนแบบอยางที่ดีของชมุ ชน 11. ครมู ีความเชีย่ วชาญในเนื้อหาทกั ษะการสอนท่ีทันสมัยเหมาะกบั ผูเรียน 12. ครมู ีสมรรถนะ ในการพัฒนาสอ่ื นวัตกรรมและมที กั ษะการวจิ ัย 13. ครูสามารถสือ่ สารดวยภาษาอังกฤษและใชเทคโนโลยสี ารสนเทศในการพฒั นาการเรยี นรแู ละพัฒนางาน ในหนาที่ 14. ครรู ว มมอื กันอยางสรา งสรรคใ นการสรา งชมุ ชนแหงการเรยี นรทู างวชิ าชพี PLC 15. ครมู ีทกั ษะดา นการบริหารจัดการสถานศกึ ษา 16. ครูไดรบั การพฒั นาวิชาชีพอยา งตอ เนอ่ื ง 17. ครมู สี ว นรวมในการพัฒนาชุมชนและสงั คม 18. ผบู ริหารมีภาวะผูนาํ ทางวชิ าการ 19. ผูบ ริหารมีทกั ษะในการสอ่ื สารระดบั สากลเปนนกั เทคโนโลยเี ปน นกั สรา งแรงจงู ใจ ใหเกดิ การมสี ว นรว ม

14 20. ผบู ริหารมีสมรรถนะในการบริหารจดั การสถานศกึ ษาดา นวชิ าการดานบริหารงานบคุ คลดานบรหิ าร งบประมาณและดา นบริหารทว่ั ไป 21. ผูบรหิ ารเปน แบบอยางท่ดี มี ธี รรมาภบิ าล 22. ผูบรหิ ารรบั ฟงความคิดเห็นของผูมีสวนไดส วนเสีย 23. สถานศึกษามีการบรหิ ารจดั การเพอ่ื ระบบคุณภาพและมธี รรมาภิบาลเปนแบบอยา งดานการบรหิ าร จัดการสกู ารพฒั นาทยี่ ่ังยืน 24. สถานศกึ ษาไดร บั รองคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาจากสํานกั งานรับรองมาตรฐาน และประเมนิ คณุ ภาพ 25. สถานศกึ ษามคี วามทนั สมยั ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศในการบริหารจดั การและเปน สังคมแหง การเรียนรู 26. สถานศึกษามหี ลักสูตรท่ีสอดคลองกับนกั เรยี นทุกกลมุ เปาหมาย 27. สถานศึกษาเปน แหลงเรียนรูทม่ี คี วามพรอมและปลอดภัย 28. สถานศึกษาเปน หนงึ่ เดียวกับชมุ ชนรว มมอื กับชมุ ชนในการสรา งสงั คมรมเยน็ เปนสุขสมานฉันท 2.4 โครงสรางและเวลาเรยี น โครงสรางรายวชิ าพน้ื ฐาน รหัสวิชา ค21101 วิชาคณิตศาสตร 1 กลมุ สาระการเรยี นรู คณติ ศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 เวลาเรียน 60 ชว่ั โมง มาตรฐาน/ เวลา นาํ้ หนกั หนวยท่ี ชือ่ หนว ย ตวั ช้ีวดั สาระสาํ คญั (ชม.) คะแนน จาํ นวนเตม็ ประกอบดวย จาํ นวนเต็มบวก จํานวนเตม็ ลบ และศนู ย การเปรียบเทยี บจํานวนเตม็ โดยพิจารณาบนเสน จาํ นวน จาํ นวนตรงขามและคา สัมบูรณ การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็มเปนการดําเนนิ การทาง 1 ระบบ ค1.1 ม.1/1 คณติ ศาสตร โดยมีความสมั พันธก นั ระหวา งการบวกกับการ 14 23 จํานวนเต็ม ลบ การคูณกับการหาร สว นสมบัติของหน่ึงและศนู ย สมบตั เิ กีย่ วกับการบวกและการคณู จาํ นวนเตม็ นาํ มาชวยใน การหาคาํ ตอบได รวมทัง้ การนาํ ความรเู กย่ี วกับจาํ นวนเตม็ ไป ใชใ นชีวิตจรงิ การเปรยี บเทียบเศษสวน โดยพิจารณาท่ีตวั เศษ การบวก การลบ การคูณ เละการหารเศษสว นเปนการดําเนินการทาง คณติ ศาสตร โดยมีความสมั พันธกันระหวา งการบวกกับการ ลบ การคูณกบั การหาร การนาํ ความรเู กยี่ วกับเศษสวนไปใช 2 จํานวน ค1.1 ม.1/1 ในชวี ิตจรงิ การเปรยี บเทียบทศนยิ ม โดยใชเ สน จาํ นวนและ 20 33 ตรรกยะ คาประจําหลกั ของทศนยิ ม การบวก การลบ การคูณ และ การหารทศนิยมเปนการดําเนินการทางคณติ ศาสตร โดยมี ความสัมพนั ธกนั ระหวา งการบวกกับการลบ การคณู กับการ หาร ความสัมพนั ธข องเศษสว นกับทศนยิ ม การนาํ ความรู

15 เกี่ยวกบั ทศนิยมไปใชใ นชีวติ จรงิ และจาํ นวน ตรรกยะเปน จาํ นวนท่สี ามารถเขียนอยูในรปู ทศนิยมซํา้ หรือเศษสว นได รวมท้งั สมบตั ขิ องหนง่ึ และศูนย และสมบัติเก่ียวกับการบวก และการคูณจํานวนตรรกยะสามารถนาํ มาชว ยในการหา คําตอบได เลขยกกาํ ลงั เปน สญั ลกั ษณใชแสดงจาํ นวน ที่เกดิ จากการคณู ตวั เองซาํ้ กันหลายๆตัว สําหรับเลขยกกาํ ลังทมี่ ีฐานเดียวกัน และมีเลขช้กี าํ ลงั เปนจาํ นวนเตม็ สามารถนาํ มาคูณและหาร กนั ไดโดยใชสมบตั ิการคูณและการหารของเลขยกกาํ ลัง สว นสัญกรณวทิ ยาศาสตรเ ปนการเขียนจํานวนในรูป 3 เลขยก ค1.1 ม.1/2 วทิ ยาศาสตรเปนการเขยี นจํานวนในรปู วทิ ยาศาสตรเ ปนการ 10 17 กาํ ลัง เขยี นจาํ นวนในรูป จาํ นวนที่มากกวาหรือเทา กับ 1 แตนอ ย กวา 10 กบั เลขยกกาํ ลังทม่ี ีฐานเปนสบิ และมีเลขช้ีกาํ ลงั เปนจํานวนเต็ม นิยมใชกับจาํ นวนท่มี ีคามากๆ หรอื จาํ นวนที่ มคี านอยๆ รวมทง้ั การนําความรเู กี่ยวกับเลขยกกําลังไปใชใ น ชีวติ จรงิ รูปเรขาคณิตสามมิตทิ ่ีมหี นา ตดั เปนรปู เรขาคณิตสาองมิตทิ ่ีมี ลักษณะแตกตางกัน โดยขน้ึ อยกู บั แนวในการตัด 2 แนว คอื แนวต้ังฉากกับพน้ื ระราบ และแนวขนานกับพน้ื ราบ ซงึ่ มติ สิ ัมพันธ การสบื เสาะและสังเกต นํามาระบุภาพสองมิติทีไ่ ดจ ากการ 4 ของรูป ค2.2 ม.1/2 มองรปู เรขาคณติ สามมติ ิ และรปู เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบ 6 10 เรขาคณติ ขนึ้ จากลกู บาศก กาํ หนดมมุ มองภาพได 3 แบบ คือ มอง ดา นหนา ดานขา ง และดานบน รวมท้งั การเขยี นรูป เรขาคณติ สองมติ ิ เพื่อแสดงรูปเรขาคณิตสามมติ ทิ ีป่ ระกอบ ขนึ้ เปนลูกบาศก แบบรูปเปนการแสดงความสมั พันธข องสงิ่ ตางๆท่ีมีลักษณะ สาํ คญั บางอยางรว มกันอยางมเี งอื่ นไข ซง่ึ ใชก ารสงั เกต การ วิเคราะห เพื่อหาเหตุผลมาสนบั สนุน แลว เขียนใหอ ยใู นรูป สมการเชงิ สมการเชิงเสนตวั แปรเดียว สว นคําตอบของสมการเชิงเสน 5 เสนตัวแปร ค1.3 ม.1/1 ตวั แปรเดยี ว คอื จาํ นวนทแี่ ทนคาของตัวแปรท่ีปรากฏอยูใน 10 17 เดียว สมการ แลวทาํ ใหส มการเปนจรงิ การแกโจทยปญ หา เกยี่ วกับสมการเชงิ เสนตวั แปรเดียวใชสมบตั ิของการเทากันใน การหาคําตอบของสมการและตรวจสอบคาํ ตอบ รวมทั้งการ นําความรเู ก่ยี วกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวไปใชในชวี ิตจรงิ รวม 60 100

16 2.5 สาระการเรียนรูคณิตศาสตร 2.5.1 คาํ อธิบายรายวชิ า คําอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน รหสั วชิ า ค21101 ชอ่ื รายวิชา คณิตศาสตร 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 จาํ นวน 1.5 หนวยกติ เวลา 60 ชวั่ โมง ศกึ ษาความรูเกย่ี วกบั จํานวนตรรกยะ และความสมั พนั ธของจาํ นวนตรรกยะ และใชสมบัติของจํานวน ตรรกยะ ในการแกปญหาคณิตศาสตรและปญหาในชีวิตจริง สมบัติของเลขยกกําลังที่มีเลขช้ีกําลังเปนจํานวนเต็ม บวกในการ แกปญหาคณิตศาสตร และปญหาในชีวิตจริง ใชความรูทางเรขาคณิตในการวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางรูป เรขาคณิตสองมิติและรปู เรขาคณติ สามมติ ิ ใชสมบัติของการเทา กันและสมบัตขิ องจาํ นวน เพ่ือวิเคราะหแ ละแกปญ หาโดย ใชสมการเชิงเสนตัวแปรเดยี ว โดยจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณใ นชีวิติประจําวนั ท่ีใกลตัวใหผ ูเรียนไดศกึ ษาคนควา โดยการปฏิบัติ จรงิ ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การส่ือความหมายทาง คณติ ศาสตร และนาํ ประสบการณดานความรู ความคิด ทกั ษะและกระบวนการทไี่ ดไปใชใ นการเรียนรูสิง่ ตางๆ และใช ในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรครวมท้ังมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร สามารถทําอยางอยางเปนระบบระเบียบ มีความ รอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และมคี วามเช่ือมั่นในตนเอง 2.5.2 มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้วี ัด มาตรฐานการเรยี นรู ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรแู กนกลาง สาระท่ี 1 จํานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจํานวน การดําเนินการของจํานวน ดําเนินการของจาํ นวน ผลที่เกดิ ข้ึนจากการดาํ เนนิ การ สมบัติของการดําเนินการ และนาํ ไปใช ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.1 ม.1/1 เขา ใจจํานวนตรรกยะและความสมั พนั ธข อง - จาํ นวนเต็ม จาํ นวนตรรกยะและใชสมบตั ขิ องจาํ นวนตรรกยะในการ - สมบัติของจํานวนเต็ม แกป ญ หาคณิตศาสตรและปญหาในชวี ิตจรงิ - ทศนิยมและเศษสวน - จาํ นวนตรรกยะและสมบตั ิของจํานวนตรรกยะ ม.1/2 เขา ใจและใชส มบัติของเลขยกกาํ ลังที่มเี ลขชี้ - เลขยกกาํ ลงั ที่มีเลขชี้กาํ ลังเปน จํานวนเต็มบวก กําลังเปน จํานวนเต็มบวกในการแกปญ หาคณติ ศาสตร - การนําความรูเก่ียวกับจาํ นวนเต็ม จาํ นวนตรรก และปญ หาในชวี ิตจรงิ ยะ และเลขยกกําลงั ไปใชใ นการแกปญหา ม.1/3 เขาใจและประยกุ ตใชอัตราสวน สดั สวน และ - อัตราสว นของจํานวนหลายจํานวน รอยละ ในการแกปญ หาคณติ ศาสตรและปญหาในชีวิต - สดั สวน จรงิ - การนําความรูเกย่ี วกับอัตราสวน สดั สว น และ รอยละไปใชใ นการแกปญ หา

17 มาตรฐาน ค 1.3 ใชน ิพจน สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พันธหรอื ชว ยแกป ญหาที่กาํ หนดให ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.1 ม.1/1 เขาใจและใชสมบัตขิ องการเทา กนั และสมบัติ - สมการเชงิ เสนตวั แปรเดียว ของจํานวนเพือ่ วิเคราะหและแกป ญหาโดยใชส มการ - การแกส มการเชงิ เสน ตัวแปรเดยี ว เชงิ เสนตัวแปรเดยี ว - การนําความรูเ กี่ยวกับการแกส มการเชงิ เสน ตวั แปร เดยี วไปใชใ นชวี ติ จริง ม.1/2 เขาใจและใชค วามรเู กยี่ วกับกราฟในการ - กราฟของความสัมพันธเชงิ เสน แกปญ หาคณติ ศาสตรแ ละปญ หาในชีวิตจริง - สมการเชิงเสน สองตัวแปร ม.1/3 เขา ใจและใชความรเู ก่ียวกับความสมั พนั ธเชิง - การนําความรูเกยี่ วกับสมการเชงิ เสน สองตัวแปรและ เสนในการแกป ญ หาคณิตศาสตรและแกปญหาใน กราฟของความสมั พันธเชิงเสน ไปใชใ นชวี ติ จริง ชีวิตจริง สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.2 เขาใจและวิเคราะหรูปเรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณิต ความสัมพนั ธระหวางรูปเรขาคณิต และ ทฤษฎีบททางคณิต และนําไปใช ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.1 ม.1/1 ใชความรูทางเรขาคณิตและเครอื่ งมือ เชน - การสรา งพ้นื ฐานทางเรขาคณิต วงเวยี นและสนั ตรงรวมทั้งโปรแกรม The - การสรางรปู เรขาคณิตสองมติ ิโดยใชการสรา ง Geometer’s sketchpad หรอื โปรแกรมเรขาคณติ พื้นฐานทางเรขาคณติ พลวัตอื่น เพอ่ื สรางรปู เรขาคณิต ตลอดจนนําความรู - การนําความรูเก่ียวกับการสรา งพ้นื ฐานทาง เก่ยี วกับการสรางนไ้ี ปประยกุ ตใชใ นการแกป ญหาใน เรขาคณติ ไปใชใ นชีวิตจรงิ ชวี ิตจรงิ ม.1/2 เขาใจและใชค วามรทู างเรขาคณิตในการ - หนาตดั ของรูปเรขาคณิตสามมิติ วเิ คราะหหาความสัมพันธระหวา งรูปเรขาคณติ สองมิติ - ภาพท่ีไดจากการมองดานหนา ดา นขา ง และรูปเรขาคณติ สามมติ ิ ดา นบนของรูปเรขาคณติ สามมิติท่ปี ระกอบขึ้นจาก ลกู บาศก

18 สาระท่ี 3 สถิติและความนาจะเปน มาตรฐาน ค 3.1 เขา ใจกระบวนการทางสถิติ และใชความรูท างสถติ ใิ นการแกป ญหา ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.1 ม.1/1 เขา ใจและใชค วามรูทางสถติ ใิ นการนาํ เสนอ - การต้ังคาํ ถามทางสถิติ ขอ มูลและแปลความหมายขอมูล รวมทง้ั นําสถติ ิไป - การเกบ็ รวบรวมขอ มูล ใชใ นชวี ติ จริงโดยใชเทคโนโลยที ่เี หมาะสม - การนาํ เสนอขอมลู แผนภูมิรปู ภาพ กราฟเสน แผนภูมแิ ทง แผนภมู ิรปู วงกลม - การแปลความหมายขอ มูล - การนําสถติ ิไปใชในชีวิตจรงิ ท่มี า : หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนปากเกร็ด 3. การเรียนแบบรว มมือ 3.1 ความหมายของการเรยี นแบบรว มมือ Johnson and Johnson [15] กลาววา การเรยี นแบบรวมมอื เปน การเรียนท่ีจดั ขน้ึ โดย การคละกันระหวางผูเรียนท่ีมีความสามารถตางกัน ผูเรียนทํางานรวมกันและชวยเหลือกันเพ่ือใหกลุมของตนประสบ ความสําเรจ็ ในการเรียน Slavin [9] ไดกลาววา การเรียนรูแบบรวมมือ คือ การเรียนท่ีนักเรียนมีการแบงปนแนวคิดของแตละคน ดวยการทํางานเปนกลมุ เพ่ือที่จะเรียนรูส่ิงตางๆดว ยกันนักเรียนมีความรับผิดชอบในสวนเน้ือหาการเรียนรูข องเพอ่ื นรวม กลุมและสวนของตนเองมีการพึ่งพา ชวยเหลือกันในกลุมเนนที่ตัวเปาหมายและความ สําเร็จของกลุมซ่ึงกลุมจะมี ผลสมั ฤทธ์ิไดก ต็ อเมือ่ สมาชกิ แตละคนในกลุมเรยี นรไู ดต ามวตั ถุประสงคข องกลมุ สมบัติ การจนารกั พงค [12] ไดกลา ววา การเรียนแบบรวมมอื Cooperative learning เปนการจัดกิจกรรม การเรียนรูท่ีเนนใหผูเรียน รวมมือและชวยเหลือกันในการเรียนรูโดยแบงนักเรียนออกเปนกลุมเล็กๆ 4-5 คนที่มี ความสามารถแตกตางกันทํางานรว มกนั เพ่อื เปาหมายกลุมสมาชิกทม่ี ีความสัมพันธกันในทางบวกมีปฏิสัมพันธสงเสริมซึ่ง กันและกันรับผิดชอบรวมกัน ทั้งในสวนตนและสวนรวมผลงานของกลุมขึ้นอยูกับผลงานของสมาชิกแตละคนในกลุม ความสาํ เรจ็ ของแตล ะคนคอื ความสาํ เรจ็ ของกลมุ ความสําเร็จของกลมุ คอื ความสําเรจ็ ของทุกคน ปราณี แพรอัตร [16] ไดสรุปวา การสอนแบบรวมมอื กันเรียนรู คือ การจดั การเรียนรไู มใชเปนการสอนโดย ใหนักเรยี นเขากลุมกันเรียนรูแบบปกตทิ ี่ครใู ชเ ปนประจําแตจะตองเปนการเรยี นรรู วมกันอยา งจริงจังของสมาชิกทกุ คน ครู จะตองติดตามดูแลการเรียนรู และปฏิบตั ิงานกลุมของนักเรยี นตลอดเวลา ใหทุกคนรับผิดชอบตอผลงานของตนเองและ ของกลุม ทุกคนจะตองมีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ชวยเหลือพึ่งพากัน ยอมรับกันและกัน รวมท้ังชวยเหลือเพื่อน สมาชกิ ใหส ามารถเรียนรูตามวตั ถุประสงคท ่กี าํ หนด

19 นารี ศรีปญญา [17] ไดสรุปวา การเรียนรูแบบรวมมือวา เปนการจัดการเรียนรู ที่แบงผูเรียนออกเปนกลุม เล็กๆสมาชิกในกลมุ แตละคนมคี วามสามารถแตกตา งกัน มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรูทาํ งานรวมกนั ไดชวยเหลือซ่ึงกันและกัน รับผลตอบแทนรวมกันมีความสนุกสนานในการเรียนรูแบบกระบวนการกลุมรวมมือทําใหการเรียนไมนาเบื่อนักเรียนมี ความรับผดิ ชอบท้ังในสว นตนและสวนรวม ทั้งน้ียังเปนการสงเสริมประชาธิปไตยในช้ันเรียนเพ่อื ใหกลุมไดรับความสาํ เร็จ ตามเปาหมายทกี่ ําหนดไว แกวมะณี เลิศสนธ์ิ [18] ไดสรุปวา การเรียนแบบรวมมือ หมายถึง เทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอนที่ ชว ยใหผเู รยี นใชความสามารถตามศกั ยภาพของตนเองในการเรียนรูและทํางานรว มกนั เปนกลมุ ขนาดเล็ก โดยที่สมาชิกใน กลุมทุกคนมีหนา ที่รับผิดชอบงานของตนเอง และงานของกลมุ มีการแลกเปล่ียนความคดิ เห็นและชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ทาํ ใหทกุ คนในกลุมไดเ รียนรบู รรลุตามจุดประสงครวมท้ังทุกคนเห็นคุณคาในความแตกตางระหวางบุคคล การเรยี นแบบ รวมมือเปนเทคนิคท่ีชว ยพฒั นาผูเรียนทางดา น สตปิ ญ ญา และสังคม วิยดา ยืนสุข [19] ไดสรุปวา การจัดการเรียนรูแบบรวมมือหมายถึงการจัดการเรียนรูที่ใหนักเรียนทํางาน รวมกันเพ่ือบรรลุเปาหมายโดยแบงกลุมเรียนรูออกเปนกลุมละ 4-5 คนสมาชิกในกลุมมีความสามารถแตกตางกันตาม อัตราสวนของความสามารถสูง ปานกลาง และตํ่า เปน 1 : 2 : 1 มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นชวยเหลือกัน และ รบั ผดิ ชอบรว มกันเพื่อใหมปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑทตี่ ัง้ ไว จรรยา หารพรม [4] ไดสรุปวา การจดั การเรยี นการสอนแบบรวมมอื กันเรียนรู ตองอาศัยการทํางานรว มกัน มีความรับผิดชอบรวมกัน โดยแบงหนาทีใ่ นการทํางานรวมกัน ใหความสําคัญกับสมาชิกบุคคลในกลุม แลกเปล่ยี นเรียนรู รว มกันชว ยเหลอื กนั ในการทาํ งาน มปี ฏิสัมพนั ธทีด่ ตี อกัน และมเี ปาหมายความสําเร็จในการทาํ งานรว มกัน จากความหมายของการเรียนแบบรวมมอื ขางตน สรุปไดว า การเรียนแบบรวมมือ หมายถงึ การจดั การเรยี น การสอนท่ีแบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน โดยคละความสามารถตามผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เกง-ปานกลาง-ออ น ใน อตั ราสว น 1 : 2 : 1 โดยที่นกั เรียนจะรวมมอื กนั เรยี นรู ชวยเหลือกนั และกนั เพ่อื ความสาํ เร็จของกลมุ 3.2 องคป ระกอบของการเรียนแบบรว มมอื Slavin [20] กลาวถึงลกั ษณะสาํ คญั ของการเรียนรูแบบรวมมอื ไวด ังน้ี 1. เปาหมายกลุม (Group Goals) การเรียนแบบรว มมือผเู รยี นจะมเี ปา หมายรว มกันยอมรับผลงาน ของทุกกลุม อนั จะนาํ ไปสูความสาํ เร็จของสมาชิกทกุ คน 2. ความรับผดิ ชอบรายบคุ คล (Individual accountability) หมายถงึ สมาชิกของกลมุ ตอ งรับผดิ ชอบ ในงานท่ตี นเองไดรับมอบหมายเนอื่ งจากความสําเร็จของกลุมจะตองขน้ึ อยูกบั ความสามารถของสมาชิก แตละคน 3. มโี อกาสในความสําเรจ็ เทาเทยี มกัน (Equal ability) คอื การทีส่ มาชกิ ในกลุมแตล ะคน มีโอกาสที่ จะทาํ คะแนนใหผ ลไดเทา เทยี มกนั เพ่ือใหก ลมุ ประสบความสําเร็จ 4. การแขง ขนั ระหวา งกลมุ (Team competition) การเรียนรแู บบรว มมือจะมีการแขงขันระหวาง กลมุ อันเปน การสรา งแรงจูงใจใหเกดิ กับสมาชกิ ในแตละกลุม 5. งานพเิ ศษ (Task specialization) หมายถึง การแบง งานกนั ทําโดยสมาชิกแตล ะคนในกลุม ตอง รบั ผดิ ชอบในสวนทีต่ นเองไดรบั มอบหมายปญหา

20 วัชรา เลา เรียนดี [21] กลา ววา ในการจดั การเรยี นการสอนแบบรว มมือกนั เรยี นรู ครูจะตอ งคาํ นึงถึงและ ดําเนินการตามลักษณะ และองคป ระกอบทีส่ าํ คัญของการเรยี นรูแบบรว มมอื กนั อยา งจรงิ จงั ดงั นี้ 1. การพง่ึ พาอาศยั กนั ทางบวก (Positive Interdependent) 1.1 ครตู องอธิบายวิธกี ารเรยี นรูแ ละงานท่ีใหน ักเรียนปฏิบัติอยางชัดเจน 1.2 ครูตอ งแจงวตั ถปุ ระสงคหรือเปา หมายของกลมุ 1.3 ครูตองพยายามทําใหนักเรียนเขาใจและยอมรับวาความพยายามของตนใหผลดีตอตนเองและ สมาชิกของกลุมทุกคน การยอมรับและพึ่งพาอาศัยทางบวกจะชวยสรางความผูกพันในภาระหนาท่ีตอ ความสาํ เรจ็ ของกลุมเชน เดยี วกบั ความสําเร็จของตนเอง ซึ่งเปนหัวใจของการเรยี นแบบรวมมือกัน 2. การมีความรับผิดชอบตอตนเองและกลุม (Independent and Group Accountability) 2.1 สมาชิกกลมุ ตองมีความรับผดิ ชอบตอผลสําเรจ็ ของกลมุ มกี ารรว มมอื กันในการปฏิบตั ิงาน โดยไมเอาเปรยี บซึง่ กนั และกัน 2.2 สมาชิกกลมุ ตอ งเขาใจตรงกนั เกีย่ วกับเปา หมายของการทํางานกลมุ ตอ งสามารถวัดได รวมถึงความกาวหนาและความพยายามในการปฏิบัติงาน เพื่อใหทราบวาสมาชิกคนใดตองการความชวยเหลือ การ สนับสนุน การกระตุนสงเสริมเปนพิเศษ เพื่อใหส ามารถปฏิบัติงานได ประสบความสําเร็จ โดยที่ทุกคนตองมีสวนรวมใน การทาํ งานกลมุ 3. การปฏสิ มั พันธท ี่ดแี ละการสรางสรรคต อ กนั ระหวา งบคุ คลและระหวา งสมาชิกทุกคนในกลมุ เน่ืองจากนักเรียนตองปฏิบัติงานรวมกันอยางจริงจัง ทุกคนตองสนับสนุนชวยเหลือกัน เพ่ือใหประสบความสําเร็จใน เปาหมายเดียวกัน โดยแบงปน ส่ือวัสดุอุปกรณก ัน ชวยเหลือสนับสนนุ กระตุน ชมเชยในความพยายามของกันและกัน การ เรียนแบบรวมมือเปนระบบการใหการสนับสนุน ท้ังดานวิชาการและดานบุคคล จะเห็นไดวากิจกรรมการเรียนรูรวมกัน การชว ยเหลอื สนบั สนุนพ่งึ พาอาศยั กนั จะปรากฏกต็ อเมือ่ นักเรียนชวยเหลือกัน การยอมรับวิธกี ารแกป ญหา วิธปี ฏบิ ัติรว ม อภิปราย การระดมความรูที่ไดเรียนมา มกี ารสอนหรืออภปิ ราย เพ่ือเสริมสรางความรูและความเขาใจ ใหแกเ พอื่ นดว ยกัน หรือเชือ่ มโยงความรูใหมก บั ความรเู ดิม เปนตน 4. การสอนทกั ษะทางสงั คมทกั ษะในการชวยเหลอื พึง่ พาอาศยั กัน และทกั ษะการปฏบิ ัตงิ านกลุม เปนส่ิงจาํ เปน การเรยี นแบบรวมมอื เปน กิจกรรมทซี่ ับซอ นและละเอียดมากกวา การเรยี นแบบแขงขัน หรือเรียนดว ยตนเอง เพราะนักเรยี นจะตองเรียนท้ังสาระความรดู านวิชาการ (Task work) เชนเดียวกับทักษะทางสงั คม การปฏิบตั งิ านรวมกัน ภายในกลุม (Team work) ดังน้นั สมาชิกแตละคนในกลมุ จะตองรแู ละเขาใจ และมีความสามารถในการใชภ าวะผนู ําอยา ง มีประสิทธผิ ล การสรางความเช่ือถือ การส่อื ความหมาย การจัดการแกไ ขขอขดั แยงในกลุม และการจูงใจใหปฏิบัตใิ นเรอ่ื ง ตา ง ๆ เพราะการรว มมอื กับความขดั แยง มคี วามสมั พันธซ ึ่งกันและกนั 5. กระบวนการกลมุ (Group processing) การปฏบิ ตั ิงานกลุม หรือกระบวนการกลุม เปน องคประกอบที่สําคัญ องคประกอบหนวยของการเรียนแบบรวมมือกัน กระบวนการจะปรากฏ เม่ือสมาชิกกลุมรวมกัน อภิปรายจนบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย โดยท่ีสมาชิกกลมุ ทุกคนมีความสัมพันธท่ีดีตอกัน ดังน้ันกลุมจะตองอธิบายให สมาชิกทุกคนไดเขาใจการปฏิบัติงานอยางไรที่จะชวยและไมช วยใหงานกลุมประสบความสําเร็จตามเปาหมาย และชวย ตดั สินใจวาพฤตกิ รรมใดในกลุมที่ควรปฏิบัติตอไปพฤติกรรมใดควรเปล่ียนแปลง กระบวนการเรยี นรูเกิดขน้ึ อยางตอเน่ือง เปนผลจากการวิเคราะหอ ยา งละเอยี ดวา สมาชิกปฏบิ ัติงานรวมกนั อยางไรและประสิทธิภาพของคุณจะพฒั นาขึ้นอยางไร

21 จรรยา หารพรม [4] ไดส รุป องคป ระกอบของการเรยี นรแู บบรวมมอื กันได 5 องคประกอบ ดงั นี้ 1. การพง่ึ พาอาศัยชวยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั 2. มคี วามรับผิดชอบตอตนเองและกลุมรวมกัน 3. สมาชกิ มีการแลกเปล่ยี นเรียนรูรวมกนั และมสี ัมพันธทีด่ ีตอ กนั 4. มีทักษะทางสงั คมในการชวยเหลือพง่ึ พาการสอ่ื สารการตดั สินใจและการแกปญหา 5. มีทกั ษะกระบวนการกลมุ จากองคประกอบของการเรียนแบบรวมมือขางตน สรุปไดวา จากองคประกอบของการเรยี นแบบรวมมือ มีดงั น้ี คือ ตองมีการชวยเหลือกันระหวางสมาชิกภายในกลมุ มีความรับผิดชอบในหนาท่ีท่ตี นไดรบั มอบหมายและรบั ผิดชอบตอ หนา ทีภ่ ายในกลุม มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรูความรูระหวางสมาชกิ ภายในกลมุ สมาชิกภายในกลุมพ่งึ พาอาศัยและชวยเหลือ ซึ่งกันและกนั สมาชกิ กลมุ รว มกนั อภปิ รายจนบรรลผุ ลสําเรจ็ ตามเปาหมาย การรวมกนั การ ความ อภิปราย ชวยเหลือกนั รบั ผดิ ชอบใน ระหวาง หนาที่ สมาชกิ การเรยี น แบบรว่ มมอื สมาชิกพง่ึ พา การ อาศยั และ แลกเปล่ียน ชว ยเหลอื กัน เรยี นรู แผนภาพท่ี 2.1 องคประกอบของการเรียนแบบรว มมือ 3.3 ประเภทของการเรยี นแบบรวมมือ วัฒนาพร ระงับทกุ ข [22] ไดน ําเสนอเทคนิคที่ใชใ นการจัดการเรยี นรูแบบรวมมอื ดังน้ี 1. Jigsaw เปนเทคนิคที่พัฒนาเพ่ือสงเสริมความรวมมือและการถายทอดความรูระหวางเพื่อนในกลุม เทคนิคนี้ ใชกนั มากในรายวิชา ท่นี ักเรียนตองเรียนเนอ้ื หาวิชาจากตาํ ราเรยี น 2. Jigsaw II เปนเทคนิคท่ีพัฒนาขึ้นจากเทคนิคเดิมโดยมีจุดมุงหมาย เพื่อสงเสริมใหนักเรียนไดมีสวน ชวยเหลือกันและกัน พึ่งพากันในกลุมมากข้ึน กระบวนการของ Jigsaw II เหมือนเดิมทุกประการ เพียงแตใ นชวงของการประเมินผล ครูจะนําคะแนนทุกคนในกลุมมารวมกันเปนคะแนนกลุม กลุมท่ีได คะแนนรวมหรือคา เฉลยี่ สงู สุดจะตดิ ประกาศไวทปี่ า ยประกาศของหอง

22 3. Team – Game - Tournament (TGT) เปนกิจกรรมท่ีเหมาะกับการเรียนการสอนในจุดประสงคที่ ตองการใหกลุมนักเรียนไดศึกษาประเด็นปญหาท่ีมีคําตอบถูกตองเพียงคําตอบเดียวหรือมีคําตอบ ถูกตอ งทชี่ ัดเจนเชน การคาํ นวณทางคณิตศาสตรก ารใชภ าษาความคิดรวบยอดทางวทิ ยาศาสตร เปน ตน 4. Students Teams Achievement Divisions (STAD) เทคนคิ มีพฒั นาเพิ่มเติมจากเทคนิค TGT แตจะ การทดสอบรายบคุ คลแทนการแขงขนั 5. Team Assisted Individualization (TAI) กิจกรรมนี้เนนการเรียนรูของนักเรียนแตละบุคคลมากกวา การเรียนรูในลักษณะกลุมเหมาะสําหรับการสอนคณิตศาสตรการจัดกลุมนักเรียนจะคลายกับเทคนิค STAD และ TGT แตในเทคนคิ นี้นักเรียนแตละคนจะเรียนรูและทํางานตามระดับความสามารถของตน เมอื่ ทาํ งานในสวนของตนเสร็จแลว จึงจะไปจับคูหรอื เขา กลุมงาน 6. Group Investigation (GI) เปนเทคนิคการเรียน แบบรวมมือท่ีสําคัญอีกหน่ึงเปนการจัดกลุมนักเรียน เพอื่ เตรียมการทําโครงงานหรอื ทํางานทคี่ รมู อบหมาย กอนใชเ ทคนิคน้คี รูควรฝก ทักษะ การส่อื สาร และ ทักษะทางสังคมใหแกนักเรียนกอนเทคนิคน้ีเหมาะสําหรับการสืบคนความรูหรือแกปญหาเพ่ือหา คําตอบในประเด็นหวั ขอทสี่ นใจ 7. Learning Together (LT) วธิ ีนี้เปนวิธีที่เหมาะสมกับการสอนวิชาที่มโี จทยป ญหาหรือการคํานวณหรือ การฝกปฏิบัติในหอ งปฏิบัติการ 8. Numbered Heads Together (NHT) เปนกิจกรรมท่ีเหมาะสําหรับการทบทวนหรือตรวจสอบความ เขาใจ 9. Co - op Co - op เปน เทคนิคทเี่ นน การรวมกันทาํ งาน โดยสมาชกิ ของกลุม ที่มีความสามารถและความ ถนัดตางกันไดแสดงบทบาทหนาท่ีท่ีตนถนัดเต็มที่ นักเรียนเกงไดชวยเหลือเพื่อนท่ีเรียนออน เปน กจิ กรรมเก่ียวกับการคดิ ระดบั สูง ทง้ั การวเิ คราะหและสงั เคราะหและเปนวธิ ีการที่สามารถนําไปใชสอน ในวิชาใดกไ็ ด ทิศนา แขมมณี [5] ไดเสนอเทคนิคการจดั การเรียนรูแ บบรว มมือไว 8 เทคนคิ ดังนี้ 1. การจัดการเรยี นรแู บบรว มมอื โดยใชเทคนคิ จิ๊กซอว 2. การจัดการเรยี นรูแบบรว มมือโดยใชเทคนคิ STAD 3. การจัดการเรียนรแู บบรวมมือโดยใชเทคนิค TAI 4. การจัดการเรยี นรูแบบรว มมือโดยใชเทคนคิ TGT 5. การจัดการเรยี นรูแบบรว มมอื โดยใชเทคนิค LT 6. การจัดการเรียนรแู บบรว มมือโดยใชเทคนคิ GI 7. การจัดการเรียนรแู บบรว มมือโดยใชเทคนิค CIRC 8. การจัดการเรียนรแู บบรว มมอื โดยใชเทคนิค คอมเพล็กซ จากประเภทของการเรยี นแบบรว มมือขา งตน สรุปไดวา การเรียนแบบรวมมอื มหี ลากหลายเทคนคิ ไดแกเทคนิค Jigsaw, STAD, TAI, TGT, LT, GI, CIRC, คอมเพล็กซ แตละเทคนิคมีความเหมาะสมกับเนื้อหาหรือวิชา แตกตา งกนั ออกไป ขึ้นอยูกบั วา ใชสอนในเนอื้ หาใด ควรใชเทคนคิ ใหเ หมาะสมกับเนอ้ื หาและผเู รยี น

23 3.4 ประโยชนของการเรยี นแบบรว มมอื กรมวชิ าการ [23] ไดก ลา วถงึ ประโยชนข องการเรียนรูแ บบรวมมือท่มี ีตอนกั เรียนทง้ั ในดา น สงั คมและวิชาการดงั นี้ 1. สรา งความสมั พนั ธทดี่ รี ะหวา งสมาชกิ เพราะทกุ ๆคนรวมมือในการทาํ งานเปนกลมุ ทกุ ๆคนมสี ว น รวมเทา เทยี มกนั ทําใหเ กดิ เจตคตทิ ด่ี ตี อการเรยี น 2. สงเสริมใหทกุ คนมีโอกาสคิดผแู สดงออก แสดงความคิดเหน็ ลงมือกระทาํ อยา งเทา เทยี มกนั 3. สงเสริมใหผ เู รียนรูจักชว ยเหลอื ซึ่งกันและกนั เชน เดก็ เกง ชว ยเดก็ ทเี่ รยี นไมเกง ทําใหเ ดก็ เกง ภาค ภมู ใิ จรูจ กั สละเวลาสว นเด็กออนเกดิ ความซาบซึ้ง ในนํ้าใจของเพ่ือนสมาชกิ ดวยกนั 4. ทาํ ใหร ูจกั ฟง ความคดิ เห็นของผูอื่น การรว มคดิ การระดมความคดิ นําขอมูลที่ไดม าพจิ ารณา รวมกนั เพอ่ื หาคําตอบทเ่ี หมาะสมท่สี ุดเปนการสงเสรมิ ใหชว ยกันคดิ หาขอมูล ใหม าก คดิ วเิ คราะหแ ละเกิดการตดั สนิ ใจ 5. สงเสรมิ ทกั ษะทางสังคมทําใหผูเรียนรูจักปรบั ตวั ในการอยรู ว มกันดว ยมนษุ ยสัมพันธท่ดี ีตอกัน และเขาใจกนั และกนั 6. สงเสรมิ ทักษะการสอ่ื สารทกั ษะการทํางานเปน กลุม สามารถทาํ งานรวมกนั กบั ผูอืน่ ไดส่ิงเหลา น้ี ลวนสงเสรมิ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนใหสูงขึน้ เรณู จินสกุล [24] ไดสรุปวา การเรียนแบบรวมมือชวยใหผูเรียนรูจักแสวงหาความรูดวยตนเอง ไดรับ ประสบการณท่ีสัมพันธกบั ชวี ิต จะเปนการชวยสงเสรมิ ทักษะทางสงั คม ไดมีการฝกการชวยเหลือเกื้อกูลกนั และไดมสี วน รว มในกจิ กรรมเกดิ การยอมรับตนเอง จะสงผลใหผ ูเรียนมีเจตคตทิ ่ีดตี อสิง่ ตาง ๆ รอบขา งและยังชวยใหผ ลสัมฤทธิท์ างการ เรียนโดยเฉลี่ยสงู ข้ึน ไมว าจะเปนผเู รยี นเกง หรอื ผูเรียนออน สุภาพร ทองนอย [25] ไดสรุปวาการ เรียนแบบรวมมือจะชวยพัฒนาผูเรียนในดานความรู ดานทักษะทาง สังคม และในดานคุณธรรมซึ่งส่ิง เหลานจ้ี ะชวยสรางเสริมใหผ ูเรียนสามารถนําไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิตไดอ ยา งมี คุณภาพ รัชนี แกวมุง [26] ไดสรุปวา ประโยชนของการเรียนแบบรวมมือ มีทั้งในดานการมีสวนรวมในการเรียน การมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน และการทําใหผ ูเรยี นรูสกึ เปนสวนหนึ่งของสังคม เพราะการเรียนแบบรวมมือในหองเรียน เปน การฝกใหน กั เรยี นมีความรบั ผิดชอบรวมกัน มีการชวยเหลือซึ่งกนั และกันรูจักคดิ รูจ ักแกปญหา ซ่ึงจะทําใหนักเรยี นเปน พลเมอื งที่มีคุณภาพในการชว ยประเทศตอไปในอนาคต รตั นา บุตรอุดม [27] ไดสรุปวา การเรยี นรูแบบรวมมอื มีประโยชนตอผูเ รยี นหลายประการชวยใหนกั เรียน ไดรบั ประสบการณจ ริงจากการทีไ่ ดล งมอื ปฏิบตั ิ มสี ว นรวมในกิจกรรมการเรยี นรชู ว ยเสริมสรางบรรยากาศในการเรยี นรูที่ดี สงเสริมใหนกั เรียนเหน็ คุณคาของตนเอง มคี วามภาคภูมิใจในตนเอง ชวยใหท ัศนะคติทีด่ ีตอ การเรยี นเกิดการยอมรบั ตนเอง ชว ยพัฒนาความเปนผูนาํ ทักษะทางสังคม และทักษะในการแกป ญหานอกจากนย้ี ัง ชวยใหผ ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนเพม่ิ ข้ึน อกี ดวย จากประโยชนของการเรียนแบบรวมมอื ขางตน สรุปไดวา การเรียนรูแบบรว มมือมีประโยชน มีสวนชวยให ผูเรยี นไดเ รียนรูรว มกับผูอ ่นื ทาํ ใหนักเรียนมปี ฏิสมั พันธกบั เพ่อื นในการเรียน ทาํ ใหนักเรยี นฝกความมนี ํ้าใจในการชวยเหลือ เพื่อน ฝกการรับฟงขอเสนอแนะจากผูอื่น และกลาที่จะเสนอความคิดเห็น สงผลใหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพ่ิมข้ึน นกั เรยี นเกิดความภาคภูมิใจเห็นคณุ คาในตัวเองและผอู ื่น และเปนพลเมอื งทีด่ ขี องประเทศชาติ

24 4. การสอนดวยการเรยี นแบบรวมมือโดยใชเ ทคนิค STAD 4.1 ความหมายของการเรียนแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนคิ STAD วยิ ดา ยืนสุข [19]กลาววาการเรียนแบบรวมมือ STAD เปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่กําหนดให นกั เรียนทมี่ ีระดับความสามารถทางการเรียนแตกตางกันมาทํางานรวมกันเปนกลุมเล็กๆกลมุ ละประมาณ 4 คนท่ีมีระดับ สติปญญาและความสามารถแตกตางกันเปนนักเรียนที่เรียนเกง 1 คนปานกลาง 2 คนและออน 1 คนโดยครูกําหนด บทเรียนและงานของกลุมครูเปนผูสอนบทเรียนใหนักเรียนทั้งช้ันและใหกลุมทํางานตามที่ครูกําหนดนักเรียนในกลุม ชว ยเหลือกันคนที่เรียนเกงชวยเหลือเพอื่ นๆ เวลาสอบทกุ คนตา งทาํ ขอสอบของตนเองและผูน ําคะแนนของสมาชิกทุกคน ภายในกลุมมาคิดเปน คะแนนกลมุ สมเกยี รติ ผดงุ ทรัพยภ ิญโญ [28] กลาววา การจัดการเรยี นรูแบบรวมมอื เทคนคิ STAD หมายถงึ การจดั การ เรียนรู ท่ีจัดผูเรียนออกเปนกลุม ๆกลุมละ 4-5 คน ซ่ึงประกอบดวยนักเรียนที่เรียนเกง 1 คน นักเรียนที่เรียนปานกลาง 2-3 คน นักเรียนที่เรียนออน 1 คน โดยแยกตามความสามารถเพศ และเช้ือชาติ ผูสอนจะมอบหมายงานใหผูเรียนทํา รว มกนั ภายในกลุม เพอื่ สรา งความสมั พันธระหวางผูเ รยี น ชไมพร รังสิยานุพงศ [29] ไดสรุปวา การสอนแบบแบงกลุมผลสัมฤทธิ์ STAD หมายถึง การจัดกลุมการ เรียนรูเหมือน TGT แตไมมีการแขงขัน โดยใหนักเรียนทกุ คน ตางคนตางทําขอสอบ แลว นําคะแนนพัฒนาการของแตละ คนมารวมกันเปนคะแนนกลุม และมีการใหรางวัลโดยมีหลักการพื้นฐาน ของรูปแบบการเรียนเปนทีมประกอบดวย 1. การใหรางวัลเปนทีม (Team Rewards) 2. การจัดสภาพการณใหเกิดความรับผิดชอบในสวนบุคคลท่ีเรียนรู (Individual Accountability) 3. การจัดใหมีโอกาสเทาเทียมกันท่ีจะประสบความสําเร็จ (Equal Opportunities For Success) และองคประกอบทส่ี าํ คญั ของ STAD มี 5 ประการคือ 1. การนําเสนอสิ่งท่ตี อ งการเรยี น (Class Presentation) 2. การทํางานเปนกลุม (Teams) 3. การทดสอบยอ ย (Quizzes) 4. คะแนนพฒั นาการของนักเรียนแตละคน (Individual Improvement Score) 5. การรบั รองผลงานของกลมุ (Team Recognition) สรุ ภา สีลารัตน [30] ไดสรปุ วา การเรียนรูแบบรว มมือเทคนิค STAD หมายถึง กลวิธกี ารเรียนรแู บบรวมมือ กันแบบหน่ึงที่ใหนักเรียนมคี ุณลักษณะท่ีตางกนั อยใู นกลุมเดียวกัน เพื่อเปด โอกาสใหน ักเรียนแตละคนไดนําศักยภาพของ ตนมาเสริมสรา งความสําเร็จของกลุม เพือ่ ใหน กั เรียนมีโอกาสชว ยเหลอื กนั สมาชกิ ของกลมุ จะตอ งมีปฏสิ ัมพนั ธก ันทางบวก จะตองไวใจกนั ยอมรับบทบาทและผลงานของเพ่ือน โดยมีเปาหมาย 3 ประการ คือ รางวัลหรือกลุมเปาหมายของกลุม ความสาํ เรจ็ ของแตละบคุ คล และการมโี อกาสชว ยเหลือกนั ในแตล ะกลมุ ผลสําเร็จเทาเทียมกัน บุตรรัตน วันโส [31]การเรียนแบบรวมมือรูปแบบ STAD เปนการเรียนรูแบบรวมมือ ที่เปนการรวมมือ ระหวางสมาชกิ ในกลุม 4-5 คน มคี วามรูว ามสามารถแตกตางกนั โดย ทุกคนตองพัฒนาความรูของตนเอง ในเรอ่ื งท่ีผูสอน กาํ หนด โดยมีการชว ยเหลือซึ่งกนั และ กนั เพ่ือความสําเร็จของกลุม แตการทดสอบความรูเปนรายบุคคล แทนการแขงขัน และ รวมคะแนนเปนกลมุ จากความหมายของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิค STAD ขางตน สรปุ ไดวา การเรยี นแบบรว มมือโดย ใชเทคนิค STAD หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบรวมมือ ท่ีแบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน โดยคละ ความสามารถ เกง-ปานกลาง-ออน เพ่อื รวมกันเรียนรูและชวยเหลือกัน แตละคนตางทําแบบทดสอบของตนเอง แลวนํา คะแนนทุกคนมารวมกันเพื่อความสาํ เร็จของกลมุ

25 4.2 องคป ระกอบของการเรียนแบบรว มมอื โดยใชเทคนิค STAD แคทลยี า ใจมูล [32] ไดกลา ววา การจัดการเรียนรโู ดยเทคนคิ STAD มอี งคป ระกอบสําคัญดังนี้ 1. การเสนอเน้ือหา ผสู อนทบทวนบทเรียนที่เรยี นมาแลว และนาํ เสนอเนื้อหาสาระหรือความคดิ รวบยอดใหม 2. การทํางานเปนทมี หรือกลุม ผสู อนจดั ผูเ รยี นทม่ี คี วามสามารถตา งกัน จดั ใหคละกันและชีแ้ จงให ผูเรียนทราบถงึ บทบาทหนาทีข่ องสมาชิกในกลุมทจ่ี ะตอ งชวย และรว มกนั เรยี นรู เพราะผลการเรียน ของสมาชิกแตล ะคนสงผลตอผลรวมของกลุม 3. การทดสอบยอ ย สมาชกิ กลุม ผูเรยี นทกุ คนทาํ แบบทดสอบยอดเปน รายบุคคลหลงั จากเรยี นรู หรอื ทาํ กิจกรรมแลว 4. พัฒนาการของนักเรยี น เปน คะแนนหรือความกาวหนาของสมาชกิ แตล ะคนซึ่งผสู อนและผูเ รียน อาจรว มกนั กาํ หนดคะแนนพฒั นาการเปน เกณฑขน้ึ มาก็ได 5. การรบั รองผลงานและเผยแพรช อ่ื เสียงของทมี เปนการประกาศผลงานของทีมเพื่อรับรองการยก ยองชมเชยในรูปแบบตาง ๆ เชน ปด ประกาศ ใหรางวนั ลงจดหมายขา ว ประกาศเสยี งตามสาย เปน ตน สมเกียรติ ผดุงทรัพยภิญโญ [28] ไดสรุปวา องคประกอบของการจัดการเรียนรูแบบรว มมือเทคนิค STAD จะตองมี 5 สวนประกอบ คอื การอาศัยพึ่งพากันและกันในกลุม การมีปฏิสัมพันธกนั การรับผดิ ชอบตอกลุม การทํางาน รวมกันเปนกลุมยอย และกระบวนการกลุม ซึ่งทั้งหมดนี้จะตองอาศัยผูสอนคอยใหคําแนะนําในการเรียนรูจึงทําใหการ เรยี นประสบผลสําเรจ็ ไดดีทสี่ ดุ ชไมพร รังสิยานุพงศ [29] ไดสรุปวา องคประกอบของการสอนแบบแบงกลุมผลสัมฤทธิ์ STAD มี องคประกอบสาํ คญั ดงั น้ี 1. การเสนอเน้อื หา 2. การทํางานเปน ทมี หรือกลุม 3. การทําแบบทดสอบยอ ย 4. คะแนนพัฒนาการของนกั เรยี น จากองคป ระกอบของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิค STAD ขางตน สรุปไดวา องคประกอบของการจัดการ เรียนรูแบบรวมมือเทคนิค STAD จะตองมี 5 สวนประกอบคือ การนําเสนอเนื้อหาของครูผูสอน การแลกเปล่ียนความรู ภายในกลุม การทาํ งานรวมกันภายในกลมุ การทาํ แบบทดสอบของแตล ะบุคคล การยกยองชมเชย

26 การนาํ เสนอ การ การทํางาน เน้อื หา แลกเปลยี่ น รวมกัน ความรู การจัดการ เรียนรูแบบ รวมมือโดยใช เทคนคิ STAD การยกยอ ง การทํา ชมเชย แบบทดสอบ แผนภาพที่ 2.2 องคประกอบของการเรยี นแบบรว มมือโดยใชเ ทคนิค STAD 4.3 ขนั้ ตอนการสอนของการเรียนแบบรว มมือโดยใชเ ทคนิค STAD ศริ ิวรรณ วณชิ วฒั นะวรชยั [33] ไดก ลา วถงึ ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรมการเรียนรูแบบ STAD ไวดงั น้ี ขัน้ ท่ี 1 ข้ันสอนครดู าํ เนินการสอนเนือ้ หา ทกั ษะหรอื วธิ ีการเก่ียวกบั บทเรยี นนน้ั ๆอาจเปน การบรรยายสาธิต ใชสอ่ื ประกอบการสอนหรือใหนกั เรียนทํากจิ กรรมการทดลอง ขนั้ ที่ 2 ขั้นทบทวนความรูเ ปนกลุม แตล ะกลุมประกอบดวยสมาชิก 4-5 คน ท่ีมีความสามารถทางการเรียน ตางกัน สมาชิกในกลุมตองมีความเขาใจกัน สมาชิกทุกคนจะตองทํางานรวมกันเพ่ือชวยเหลือกันและกัน ในการศึกษา เอกสารและทบทวนความรูเพ่ือเตรยี มความพรอ มสาํ หรบั การสอบยอย ครเู นน ใหนักเรยี นทาํ ดงั น้ี ก. ตองแนใจวา สมาชกิ ทกุ คนในกลุมสามารถตอบคาํ ถามไดถ กู ตอ งทกุ ขอ ข. เมอ่ื มขี อสงสยั หรือปญ หาใหนกั เรียนชวยเหลอื กันภายในกลุมกอ นทีจ่ ะถามครูหรือถาม เพือ่ นกลุม อืน่ ค. ใหสมาชกิ อธบิ ายเหตุผลของคําตอบ ของแตละคําถาม ใหไ ดโ ดยเฉพาะแบบฝก หดั ทเี่ ปน คาํ ถามปรนยั แบบใหเลือกตอบ ข้ันที่ 3 ขั้นทดสอบยอยครูจัดใหนักเรียนทําแบบทดสอบยอยหลังจากนักเรียนเรียนและทบทวนเปนกลุม เกยี่ วกบั เรอ่ื งทก่ี าํ หนด นกั เรยี นทําแบบทดสอบเดีย่ วไมม ีการชว ยเหลือกัน ขน้ั ท่ี 4 ขัน้ หาคะแนนพฒั นาการ คะแนนพฒั นาการเปน คะแนนที่ไดจากการพจิ ารณาความแตกตา งระหวาง การสอบคร้ังกอนกอนกับคะแนนการสอบคร้ังปจจบุ ัน ซึ่งมีเกณฑใ หคะแนนกําหนดไว ดังน้ันจะตองมีการกําหนดคะแนน ฐานของนักเรียนแตละคน ซึ่งอาจ ไดจากคา เฉลีย่ ของคะแนนทดสอบ 3 ครั้งกอน หรืออาจใชคะแนนทดสอบครงั้ แรกกอน หากเปนการหาคะแนนปรับปรงุ โดยใชรปู แบบการสอน STAD เปน คร้ังแรก

27 ชไมพร รังสิยานุพงศ [29] ไดสรุปวา การสอนแบบแบงกลุมผลสัมฤทธ์ิ STAD ประกอบดวยข้ันตอนดังน้ี 1. ข้ันสอน 2. ข้นั ทบทวนความรูเปน กลมุ 3. ขน้ั ทดสอบยอ ย 4. ขนั้ หาคะแนนพฒั นาการและ 5. ขัน้ ใหรางวลั กลมุ จรรยา หารพรม [4] ไดสรุป ขน้ั ตอนการเรยี นแบบรว มมอื STAD เปน 5 ขนั้ ตอนดงั นี้ 1. ขน้ั เตรยี ม แจง จดุ ประสงคก ารเรียน และทบทวนความรเู ดมิ 2. ข้นั นาํ เสนอเน้อื หาใหม 3. ขน้ั กิจกรรมกลมุ ยอ ย ตามขน้ั ตอนนกั เรยี นปฏิบตั หิ นา ทีต่ ามบทบาทตนเอง และลงมือปฏบิ ัติ กิจกรรมกลุม 4. ขั้นทดสอบรายบุคคล และหาคะแนนของกลมุ 5. ขน้ั สรปุ และประเมนิ ผลใหรางวัลกับกลมุ ท่ปี ระสบความสาํ เร็จ จากขั้นตอนการสอนของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิค STAD ขางตน สรุปไดวา ขั้นตอนการเรียนแบบ รวมมือ STAD เปน 5 ขั้นตอน โดยมีขั้นตอนดังนี้ คือ 1)ขั้นนํา 2)ข้ันสอน 3)ขั้นกิจกรรมกลุม4)ขั้นทดสอบรายบุคล 5)ข้นั สรุป 5. การสอนดว ยการเรียนแบบรว มมอื โดยใชเ ทคนคิ TGT 5.1 ความหมายของการเรยี นแบบรว มมือโดยใชเ ทคนคิ TGT สุวิทย มูลคํา [34] กลาววา หลักการจัดการเรียนรูแบบ TGT คลายกับหลักการจัดการเรียนรูแบบ STAD ซึ่งเปนการจัดการเรียนรูแบบรวมมือท่ีแบงนักเรียน ที่มีความสามารถแตกตางกันออกเปนกลุมเพ่ือทํางานรวมกัน โดย กําหนดใหสมาชิกของกลุมไดแขงขันกันในเกมท่ีผูสอนจดั ไวแ ลว ทําการทดสอบความรโู ดยการใชเกมแขงขัน คะแนนท่ีได จากการแขง ขนั ของสมาชิกแตล ะคนนํามาบวกเปน คะแนนรวมของทีม สารสิน เล็กเจริญ [35]ไดสรุปวา การเรียนแบบรวมมือเทคนิค (TGT Team - Game -Tournament ) หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูท ี่แบงผูเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 4-6 คน คละความสามารถดา นผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียนเกง ปานกลาง และออน ภาระงานของกลุมคอื หลังจากทคี่ รูนําเสนอบทเรียนทัง้ ชั้น แลวใหแตละกลุมทาํ งานตามท่คี รู กําหนด และเตรียมสมาชิกทุกคนใหพรอมสําหรับการแขงขันในการแขงขัน ครูจะจัดใหนักเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิในระดับ เดยี วกันแขง กนั คะแนนท่ีสมาชกิ ทําไดจ ะนาํ มารวมกันเปนคะแนนของกลุมกลมุ ทไ่ี ดรางวลั คือกลุมทีท่ าํ คะแนนไดส งู สดุ ธนัดดา คงมีทรัพย [36] ไดสรุปวา การจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT หมายถึง การจัดกิจกรรม การเรียนรูท่ีมีการจัดกลุมนักเรียน กลุมละ 4 คน นักเรียนรวมกันภายในกลุม ประกอบดวยนักเรียนท่ีมีความสามารถ แตกตางกันคอื เกง-กลาง-ออน ในอตั ราสวน 1 : 2 : 1 ทํางานรวมกัน และใชเกมการแขงขันเชิงวิชาการประเมินความรู ของสมาชิกในกลุม โดยการแขงขันแขงขันตามความสามารถของนักเรียน ดังนั้นความสําเร็จของกลุม จะข้ึนอยูกับ ความสามารถของแตละบุคคลเปน สําคัญ โดยเทคนิคนี้ตองใชการเสริมแรงลักษณะตาง ๆ เพื่อกระตุนใหนักเรียนรวมกัน ทาํ งาน และทาํ ใหกลุมประสบความสําเรจ็ มากท่สี ุด กฤษกร สุขอนันต [37] ไดสรุปวา หลักการจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค TGT เปนการเรียนรูแบบรวมมือ รูปแบบหน่ึง ท่ีหนึง่ ผูเรียนที่มีความสามารถแตกตางกันออกเปนกลุม เพ่ือทํางานรวมกนั มีการแขงขันกันในเกมการเรียน คะแนนทีไ่ ดจากการแขง ขันของสมาชิกแตละคนเปนคะแนนรวมของทมี ดังนั้น สมาชิกกลุมจะตองมีการกําหนดเปาหมาย รว มกนั ชวยเหลือซ่ึงกันและกนั เพอ่ื ความสําเร็จของกลมุ

28 จากความหมายของการเรยี นแบบรว มมือโดยใชเทคนิค TGT สรปุ ไดวา การเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบรวมมือ ทีแ่ บงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน โดยคละความสามารถ เกง-ปานกลาง-ออน เพ่ือรวมกันเรียนรแู ละชว ยเหลือกนั และแขงขนั แขงขนั ตามความสามารถของนักเรยี น แลว นําคะแนน ทสี่ มาชกิ ทาํ ไดจ ะนํามารวมกันเปนคะแนนของกลมุ เพื่อความสาํ เรจ็ ของกลมุ 5.2 องคป ระกอบของการเรียนแบบรว มมอื โดยใชเทคนิค TGT สุวิทยและอรทัย มูลคํา [38] ไดเสนอเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิคแบบทีมแขงขันตองมี องคป ระกอบดังน้ี 1. การเสนอเนื้อหา เปนการเสนอเน้ือหาหรือบทเรียนใหม รูปแบบการนําเสนออาจจะเปนการบรรยาย อภิปรายกรณีศึกษาหรืออาจจะมีสื่อการเรียนอื่น ๆ ประกอบดวยเทคนิคทีมแขงขันจะแตกตางจากเทคนิคอื่น ๆ ตรงท่ี ผสู อนตองเนนใหผูเรียนทราบวา ผูเรยี นใหความสนใจในเน้ือหาสาระอยา งมาก เพราะจะชวยใหท ีมประสบความสําเร็จใน การแขง ขัน 2. การจัดทมี (Team) เปนการจดั ทีมผเู รียนโดยคละกันท้ังเพศและความสามารถ สอดคลอ งกบั รัตนา เจียมบุญ [39] ท่ีอธิบายวาตองมีการแบงสมาชิกในหองออกเปน กลุมๆ โดยสมาชิกในแตละกลุมประกอบไปดวย นกั เรียนเกง ปานกลาง และออ นในอัตราสวน 1 : 2 : 1 อยา งไรก็ดี แตละทีมตองประมาณวามคี วามสามารถทางการเรียน พอ ๆ กัน ตลอดชวงการใชกิจกรรมแบบทีมแขงขัน สมาชิกจะตองสังเกตอยางจริงจัง ซ่ึงแตละทีมจะไดรับการฝกฝนที่ เหมือนกัน สมาชกิ ในทมี จะชวยเหลอื ซ่ึงกันและกัน ในการทบทวนสงิ่ ท่ีครูสอน เพอ่ื ใชในการชงิ ชัยทางวชิ าการ 3. เกม (Games) เปนเกมตอบคาํ ถามงา ย ๆ เกีย่ วกบั เน้ือหาสาระท่ีผูเรยี นไดเ รียนรใู นการเลนเกม ผูเ รียนท่ีเปนตัวแทนจากทีมแตละทีมจะมาเปนผูแขงขนั สอดคลองกับ รตั นา เจียมบุญ [39] ที่อธิบายวาเกมที่ใชเปนเกม เพอ่ื ทดสอบความรูความเขาใจ โดยใชการแขงขันทางการตอสเู ชงิ วิชาการ โดยมีการจัดโตะสําหรับแขงขนั ซงึ่ จดั ไวส ําหรับ ผแู ขงขนั จากกลุมตา ง ๆ ใชคําถามในบัตร (Card) หรอื เอกสาร (Sheet) ชนิดเดียวกันผเู รยี นสลับกันหยิบบตั รซ่งึ ในบตั รจะ มีคําถามอยู คูแขงขันจะตอบคําถามในบัตรของตนใหไดกอนคนอื่นถาตอบคําถามไมไดผูอ่ืนจะมีโอกาสตอบไดเชนกัน เพราะกตกิ ากําหนดใหผ ูเลนเปดโอกาสแขงขันกับคนอ่ืน ๆ ตอบคาํ ถามของตนได 4. การแขงขนั (Tournament) การจดั การแขง ขัน อาจจะจดั ขึน้ ไปสปั ดาหห รอื ทา ยบทเรียนก็ได ซงึ่ จะเปนคําถามเกีย่ วกบั เนื้อหาท่ีเรียนมา และผานการเตรียมความพรอมจากกลุมมาแลว การจัดโตะแขงขันจะมีหลายโตะ แตละโตะมตี ัวแทนของทมี แตละทีมรวมการแขง ขนั ทุกโตะ การแขงขันควรเริม่ ดําเนินการพรอ มกนั เมอ่ื แขง ขนั เสรจ็ แลว จะ จัดลาํ ดับผลการแขงขันแตล ะโตะนําไปเทยี บหาคาคะแนนโบนัสดังตัวอยา งใหค าคะแนนโบนัส ตามตารางตอไปนี้ถา ผรู วม แขง ขนั ๆมีโตะ 5 คนอาจใหคะแนนโบนสั ดงั น้ี ลาํ ดบั ทผี่ ลการแขง ขัน คะแนนโบนัส 1 10 28 36 44 52

29 5. การยอมรับความสําเร็จของทีม มีการนําคะแนนโบนัสของสมาชิกแตละคนมารวมกันเปนคะแนนของ ทมี หาคาเฉลี่ยทีม ทมี่ ีคะแนนสงู สดุ ไดรบั การยอมรบั และไดร บั รางวัล ซึ่งกําหนดรางวลั ใหกบั กลุมได 3 รางวัลไดแก Good team, Great team และสูงสดุ คือ Super team วชั รา เลาเรียนดี [8] ไดกลาวถึง การจดั กิจกรรมการสอนดว ยวิธีการสอนแบบรวมมือการเรียนรูเทคนิคทีม การแขง ขนั หรือ TGT โดยมอี งคประกอบสาํ คัญดงั น้ี 1. การสอนเน้ือหา ครูตอ งดําเนนิ การสอนในสาระความรูห รือทกั ษะตา ง ๆ ใหนกั เรียนท้ังชัน้ กอ นจนแนใ จ วานกั เรยี นทกุ คนรูแ ละเขาใจสาระความรนู นั้ หรอื รแู ละเขา ใจแนวทางปฏิบัตพิ อสมควรกอนท่จี ะใหน ักเรียนจดั กลมุ 2. การจัดกิจกรรมกลุมผูจัดกลุมใหนักเรียน รวมมือการเรียนรูตามใบงานหรือใบกิจกรรมท่ีเตรียมไว ลวงหนาในแตละหนวยการเรียนรูหรือแตล ะชว่ั โมงสอน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหนักเรียนในกลุมไดรวมกันศึกษาและทํา แบบฝกหัด คนเกง คอยชวยเหลอื แนะนาํ อธิบายใหเพ่ือนสมาชิกที่เรียนดอยกวา ภายในกลุม สมาชิกที่เรียนออนกวาจะตอง ยอมรับรวมทง้ั พยายามถามและตอรว มเรียนรูและฝกปฏิบัติจนรูและเขาใจในสาระเหลานน้ั อยางแทจริง ท่สี ําคัญสมาชิก กลุมทุกคนตองรูยอมรับวาผลงานและผลการเรียนรูจากการทดสอบคือผลงานท่ีทุกคนมีสวนรับผิดชอบและเปนผลการ ปฏิบัติของกลุม 3. การแขง ขนั นักเรียนแตละกลุม จะแขง ขนั ตอบคําถามท่ีเกี่ยวขอ งกับเรือ่ งที่เรียน โดยครูจะเตรยี มคําถาม ใหนักเรียนตอบ โดยอาจจะสรางขอคําถามใหมี 3 ระดับ คอื คําถามสําหรบั เด็กเรยี นเกง เด็กเรียนปานกลาง และเด็กเรียน ออ น เปนตน หรืออาจจะเปนขอคําถามคละการทํายากงาย ใหแตละกลุมตอบคาํ ถามเหลาน้ันคําถามอาจเหมือนกันก็ได โ ด ย ใ ห เ ห ม า ะ ส ม กั บ ร ะ ดั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง นั ก เ รี ย น พ ร อ ม จํ า แ น ก เ ว ล า ใ น ก า ร ทํ า แ บ บ ฝ ก หั ด เ พ่ื อ ก า ร แ ข ง ขั น ในแตล ะครั้งกไ็ ด สารสนิ เลก็ เจริญ [35] ไดส รุปวา องคประกอบสาํ คญั ของการเรยี นแบบรว มมอื เทคนิค TGT มีองคประกอบ สําคญั ไดแ ก การเสนอเน้อื หา เปน การนําเสนอเนอื้ หาหรือบทเรยี นใหม การจดั ทีม เปนการจัดทีมผเู รียน เกม เปนเกมตอบ คาํ ถามงา ย ๆ การแขงขัน การจดั การแขง ขนั อาจจะขน้ึ ไปสปั ดาหห รือทายบทเรียนก็ได และการยอมรบั ความสาํ เรจ็ ของทีม จากองคประกอบของการเรียนแบบรวมมอื โดยใชเทคนคิ TGT ขา งตน สรุปไดว า จากองคประกอบของการเรียน แบบรวมมือโดยใชเ ทคนคิ TGT ขา งตน สรุปไดวา องคประกอบของการจดั การเรยี นรแู บบรวมมือเทคนคิ TGT จะตองมี 5 สว นประกอบคือ การนําเสนอเน้ือหาของครูผูสอน การแลกเปลยี่ นความรูภายในกลุม การทํางานรวมกนั ภายในกลุม การ แขงขันเกมวชิ าการตามความสามารถ การยกยอ งชมเชย

30 การนาํ เสนอ การ การทาํ งาน เนอื้ หา แลกเปล่ียน รวมกัน ความรู การจัดการ เรยี นรแู บบ รวมมอื โดยใช เทคนิค TGT การยกยอ ง การแขงขัน ชมเชย เกม แผนภาพท่ี 2.3 องคประกอบของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเ ทคนิค TGT 5.3 ขัน้ ตอนการสอนของการเรยี นแบบรวมมือโดยใชเ ทคนคิ TGT Slavin [20] ไดก ลาวถึงเทคนคิ TGT วา ประกอบดวยข้ันตอน ดงั ตอไปนี้ 1. ข้นั แจงผลการเรียนรูครจู ะเปนผูแจงใหนกั เรียนทราบผลการเรียนรูรายวชิ านน้ั 2. ข้นั นําเขาสูกจิ กรรมการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนมคี วามพรอมและกระตนุ ความสนใจทจี่ ะ เรียนโดยใชกิจกรรมตา งๆเชนการเลนเกมการอภิปรายซักถามแบบฝก ทกั ษะทบทวน 3. ขัน้ กจิ กรรมการสอน 3.1 ครสู อนเน้อื หาสาระดว ยวธิ ีสาธิตบรรยายหรอื อภิปรายโดยการใชส ื่อประกอบการสอนหลัง จากนน้ั ผูเรยี นหารือและ อธบิ ายในสิ่งทีส่ มาชิกทกุ คนไมเ ขา ใจ 3.2 ข้นั ฝก ทกั ษะครูแจกเอกสารทกั ษะหรือเกมฝกทักษะใหน ักเรยี นในแตล ะกลุมไดป รกึ ษาหารอื กันรว มกนั ในการแกป ญ หาโจทย 3.3 ใชเกมฝก ทกั ษะ หรอื เกมแขง ขนั วชิ าการ (จัดสปั ดาหละ 1 ครั้ง) โดยแขงขนั ตาม ความสามารถของนักเรยี น ดังตาราง ตารางท่ี 2.1 ทมี เกมแขงขันวชิ าการโดยแขง ขนั ตามความสามารถของนักเรียน ระดับผเู รียน ลาํ ดบั ผูเรียน ทีมสงั กัด ผทู ่ีเรยี นเกง 1 A 2B 3C 4D 5E 6E 7D

ผูที่เรียนปานกลาง 8 31 ผูทเี่ รียนออน 9 C 10 B 11 A 12 A 13 B 14 C 15 D 16 E 17 E 18 D 19 C 20 B 21 A 22 A 23 B 24 C 25 D 26 E 27 E 28 D 29 C 30 B 31 A 32 A 33 B 34 C 35 D 36 E 37 E 38 D 39 C 40 B A เกมแขงขันตอบปญหาเก่ียวกับเนื้อหาของบทเรียน โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือทดสอบความรู ความเขาใจใน บทเรียน เกมประกอบดวยผูเ ลน 4 คน ซึ่งแตล ะคนเปนตัวแทนกลุมยอยแตละกลมุ การกําหนดผเู รียนเขากลุมยอ ยเพื่อเลน

32 เกม จะยดึ หลักผูเ รียนท่ีมคี วามสามารถเทาเทยี มกนั กลา วคือ ผูเรียนเกง ของแตล ะกลมุ จะแขงกันผูเรยี นเปนศนู ยก ลางของ แตละกลมุ แขง กัน ดังภาพ ทีม A ทมี B A1 A2 A3 A4 B1 B2 B3 B4 เกง ปานกลาง ออ น เกง ปานกลาง ออ น D1 A1 D2 A2 B1 B2 โตะ๊ ที่ โต๊ะที่ 1 2 C1 C2 D3 A3 D4 A4 โต๊ะท่ี โตะ๊ ที่ 3 B3 4 B4 C3 C4 ทีม C ทมี D C1 C2 C3 C4 D1 D2 D3 D4 เกง ปานกลาง ออ น เกง ปานกลาง ออ น แผนภาพที่ 2.4 ผงั การจดั ทนี่ ง่ั ของการเรียนแบบรว มมอื โดยใชเทคนิค TGT [20] 4. ขั้นสรุปครแู ละนักเรียนชวยกนั สรปุ พรอ มประกาศผล การแขง ขันเกมแขง ขันทางวิชาการ 5. ข้ันการวัดและประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบัติกิจกรรมและการตอบคําถามทํา แบบฝก หดั การทําแบบทดสอบและเกณฑแ ขง ขนั ทางวชิ าการ ธนัดดา คงมที รัพย [36] การจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT มีข้ันตอนการจัดการเรยี นรู 5 ข้ันตอน คือ ข้ันแจงจุดประสงคการเรียนรู ข้ันนําเขาสูกิจกรรมการเรียน ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันสรุป และข้ันวัดและ ประเมนิ ผล กฤษกร สขุ อนนั ต [37] ไดสรปุ ขัน้ ตอนการจดั การเรยี นรแู บบ TGT ไวดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 การนาํ เสนอบทเรียน โดยครูผูสอนใชเ ทคนิคการสอนที่เหมาะสม ตามลักษณะเนื้อหาของบทเรยี น โดยใชสอ่ื การเรยี นประกอบคาํ อธิบาย คร้ังท่ี 2 การเรียนกลุมยอย โดยใหนกั เรียนแตละกลุมศึกษาความรูจากใบความรูใบงานและตรวจคําตอบ จากเฉลย โดยครูกระตุนใหนักเรียนรวมมือทํางานมีการอภิปรายเพ่ือคนหาแนวทางในการแกปญหา เนนใหนักเรียน ชว ยเหลอื ซงึ่ กันและกนั เพือ่ ความสาํ เรจ็ ของกลมุ

33 ขั้นที่ 3 ข้ันเลนเกมแขงขันตอบปญหา เกมเปนการแขงขันตอบคําถามเก่ียวกับเน้ือหาของบทเรียนโดยมี จดุ มุงหมายเพ่อื ทดสอบความรูความเขาใจในบทเรียน เกมประกอบดว ยผูเลน 4 คน ซ่ึงแตละคนจะเปนตวั แทนกลุมยอย ของแตละกลมุ การกําหนดนกั เรยี นเขา กลมุ ยอ ยเลน เกม จะยดึ หลักนกั เรยี นทม่ี คี วามสามารถทัดเทยี มการแขงขันกนั ขั้นที่ 4 ขั้นยกยองทีมที่ประสบผลสาํ เร็จ ทีมที่ไดคะแนนรวมถงึ ตามเกณฑท กี่ ําหนดจะไดร ับรางวลั หรอื ไดร ับ การยกยอง รัตนา บตุ รอดุ ม [27]ไดสรุปขน้ั ตอนการสอนแบบรว มมอื เทคนิค TGT ประกอบดวย 6 ข้นั ตอน ดังนี้ ข้ันที่ 1 ขั้นนําเขาสูบทเรียนประกอบดวยการแจงจุดประสงคการเรียนรู แจงคะแนนรายกลุมบอกเกณฑ และรางวัลทบทวนความรูเดมิ ที่นักเรียนเรียนมาแลว ขั้นท่ี 2 ข้ันเสนอเนื้อหา เปน ข้ันกจิ กรรมที่แนะนําเนื้อหาบทเรียนเร่ืองใหม ดวยกิจกรรมทีเ่ หมาะสมจากนั้น ใหก ลุม นักเรยี นชวยกนั สรปุ ความคิดรวบยอด ใหเขาใจอยา งถูกตอ ง ขั้นท่ี 3 ข้ันเรียนเปนกลุมยอยเปนขน้ั ทีน่ กั เรียนรวมมือกนั ทาํ กิจกรรมภายในกลมุ โดยนกั เรียนรวมกันศึกษา เนื้อหามีการแบงหนาที่กันทํางานแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และรวมตรวจสอบผลงานท่ีทํารวมกัน และนักเรียนปฏิบัติ กิจกรรมในชุดฝก ทักษะ ข้นั ท่ี 4 ข้นั ฝกฝนทักษะเปน ข้ัน ใหนกั เรียนแตละกลุมทําความเขาใจในองคความรูข องบทเรียน ท่ีครูกําหนด ดวยวิธีการท่ีเหมาะสม และสรุปความคิดรวบยอดในบทเรียน โดยแลกเปล่ียนความรูในประเด็น ถามและตอบ กรณี ทีส่ งสัยและตองการใหผูเรียนเกิดความเขาใจซ่ึงสามารถซักถามเพ่ิมเติมจากครูดวยก็ได และนักเรียนรวมกันตรวจ สอบ ความถูกตอง ของผลการทาํ ชุดฝก ทักษะและงานกลุมเพอ่ื ประเมินและทบทวนความรูความเขา ใจทถี่ ูกตอ งของนักเรียน ข้นั ที่ 5 ขนั้ เลนเกมแขงขันเปน การแขงขันเกี่ยวกับเนื้อหาของบทเรียนที่มีจุดหมายเพื่อทดสอบความรูความ เขาใจในบทเรยี นเกมประกอบดวยผูเลน 4 คนซึ่งแตละคนเปนตัวแทนของ กลุมยอย แตละกลุมกําหนดนักเรียนเขากลุม โดยยึดหลักความเทาเทียม กลาวคือนักเรียนที่มีความสามารถทดั เทียมกันแขงกัน นักเรยี นเกงแตละกลุมแขง กันนกั เรียน ปานจางแขงกนั นกั เรียนออ นแขง กนั ข้นั ท่ี 6 สรุปและมอบรางวลั ทีมชนะเลิศนําคะแนนโบนัสของแตละทีมมารวมกันเปนคะแนนของทีมแลว หา คาเฉล่ียทีมท่ีมีคา สูงสดุ จะไดร บั การยกยอ งเปน ทมี ชนะเลศิ และทมี รองลงมา จดั แสดงปายนิเทศและมอบรางวัล จากข้ันตอนการสอนของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT ขางตน สรุปไดวา จากขั้นตอนการสอน ของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิค STAD ขางตน สรุปไดวา ข้ันตอนการเรียนแบบรวมมือ STAD เปน 5 ขั้นตอน โดยมีขั้นตอนดงั น้ี คือ 1)ขั้นนํา 2)ข้ันสอน 3)ขัน้ กิจกรรมกลุม 4)ขัน้ แขง ขันเกมวชิ าการ 5)ขัน้ สรุป 6. พฤตกิ รรมการทาํ งานกลุม 6.1 ความหมายของการทาํ งานกลุม เขมวันต กระดังงา [40] ไดสรุปวา การทํางานกลุม หมายถึง กระบวนการทํางานอยางมีขั้นตอน หรือมี วธิ ีการปฏบิ ตั งิ านรวมกันของสมาชิกภายในกลมุ อยางมปี ระสทิ ธิภาพ ขนาดของกลุมประกอบดวยสมาชิกตัง้ แต 2 คนขึน้ ไป โดยท่ีสมาชิกกลุมมีการสรางความสัมพันธตอกันในกลุม มีการกําหนดเปาหมายการวางแผนการทํางาน รวมกันเรียนรู รว มกนั การปฏบิ ตั ิกิจกรรมใดกจิ กรรมหนึง่ รวมกันใหบ รรลุผลสาํ เร็จตามที่กาํ หนดไว

34 ศุกราวรรณทิชา เสาเวียง [41] ไดสรุปวา การทํางานกลุม หมายถึง กระบวนการที่ทําใหผูเรียนเกิดการ ทาํ งานรวมกันอยางมีระบบแบบแผนมีเปาหมายเดียวกันซ่ึงกระบวนการในการทํางานกลุมเปนการสงเสริมใหผเู รียนเกิด ประสบการณและการปฏิบัตงิ านจริงเขาใจถงึ หลักการการแกปญหาท่เี กิดขึน้ รูจ ักปรบั ตวั ในการทาํ งานทาํ ใหผ เู รียนสามารถ ทาํ งานรวมกบั ผอู ่นื ไดอ ยา งมีความสุข สุรางครัตน พงษกลิ่น [42] ไดสรุปวา การทํางานกลุม หมายถึง การที่บุคคลหลายคนมาทํางานรวมกัน มี เปาหมายเดยี วกันรวมคิดรวมทาํ รวมแกป ญ หา ใหค วามชวยเหลือ ฟนฝาอุปสรรคดว ยกนั กนั ใหก าํ ลงั ใจ ซ่ึงกันและกันและ ทาํ งานไดประสบความสําเร็จตามวตั ถุประสงคที่ตัง้ ไว ณฐั กานต เจริญกุล [43] การทํางานกลมุ หมายถึง การกระทําหรือการแสดงออกในการทาํ งานกลุมดว ยการ แสดงความคิดเห็น การสนับสนนุ การคดั คานการปรึกษาหารือ การตั้งใจเอาใจใสในการทํางานเพ่ือใหบ รรลุเปาหมายของ การทาํ งาน รัตนา บุตรอุดม [39] ไดสรุปวา การทาํ งานกลมุ หมายถึง การท่ีกลมุ บคุ คลเขามารวมกนั ปฏิบัติงานอยางใด อยางหน่ึง โดยมีเปาหมายรวมกัน และทุกคนในกลุมมีบทบาท ในการชวยดําเนินงานของกลุม มีการติดตอส่ือสาร ประสานงานและตัดสินใจรวมกัน เพื่อใหงานบรรลุสําเร็จตามเปาหมาย ดังนั้น พฤติกรรมการ ทาํ งานกลุม หมายถึง การ กระทาํ ทุกอยางของสมาชิกในกลุม ที่ปฏิบตั ิตอ หนาที่ ทไ่ี ดร ับมอบหมายรวมท้งั พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถงึ ความสมั พนั ธท่ีดีตอ สมาชกิ ทกุ คนโดยรวม เพอ่ื ประโยชนร ว มกันของกลมุ จากความหมายของการทํางานกลุมขางตน สรุปไดวา การทํางานกลุม หมายถึง กลุมบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไป รวมกนั ทํางานสิ่งใดส่งิ หนึง่ โดยมีเปาหมายรวมกัน รวมกนั แกปญหา พึง่ พาซง่ึ กนั และกนั นาํ พากลุมใหบ รรลเุ ปาหมาย 6.2 องคป ระกอบของการทาํ งานกลุม ทิศนา แขมมณี [44] ไดก ลาวถึง องคประกอบของการทํางานกลุมวา ในการทาํ งานรวมกันการท่ีสมาชกิ กลุม จะใหความรว มมือกนั อยา งมปี ระสิทธภิ าพนัน้ จะตองไดรับการฝกฝน การปฏิบตั ิตนใหสามารถทาํ งานรวมกับผอู ่ืนไดอยา ง ดี และมคี วามเขา ใจในองคประกอบทีส่ าํ คัญของการทาํ งานกลุม ไดแก 1. องคประกอบดานผนู ํากลุมผูใดท่มี ีผูนําที่มีคณุ สมบัตทิ ่ดี ี รูและเขาใจบทบาทหนา ทีข่ องตน และมีทักษะ ในการปฏิบัติ ตามหนาท่ีนั้นแลว กลุมน้ันยอมมีแนวโนมท่ีจะประสบผลสําเร็จสูง ผูนําจึงเปน องคป ระกอบที่สาํ คัญอยา งหน่ึงตอความสาํ เรจ็ และประสิทธิภาพของการทํางานกลมุ 2. องคป ระกอบดา นบทบาทสมาชกิ กลมุ การทํางานเปนกลมุ ตอ งอาศัยความรว มมือรวมใจจากสมาชิกกลุม ทุกคนเปนสําคัญ หากสมาชกิ กลมุ ทุกคนตระหนักในความสาํ คัญของตนเองและพยายามปฏิบตั ิตนใน การทํางานกลุมในฐานะสมาชกิ ท่ีดีของกลุม การดําเนินงานของกลุมก็จะสามารถประสบผลสําเร็จได อยางรวดเรว็ 3. องคป ระกอบดา นกระบวนการกลุมกลมุ ใดมคี วามเขาใจในกระบวนการทํางานท่ดี ีมีกระบวนการทาํ งาน ท่ีมีประสิทธิภาพมีข้ันตอนที่สําคัญไดแกมีการกําหนดจุดมุงหมายในการทํางานการวางแผนการ ปฏิบตั ิงานตามแผน การประเมินผลและปรับปรุง งาน ซ่ึงถาปฏบิ ัติไดอยา งเหมาะสมแลว กลุม ก็มักจะ ประสบความสําเรจ็ ในการทํางาน

35 เสาวภาคย เศรษฐศักดาศิริ [45] ไดสรปุ วา องคป ระกอบสําคญั ในการทํางานเปนกลุมนั้น คอื จากการศึกษา เร่ืององคประกอบของการพฒั นาการทํางานเปนกลุมหรือกระบวนการในการทาํ งานกลุมสามารถสรุปไดวา องคประกอบ ของการพัฒนาการทํางานเปนกลุมหรือกระบวนการในการทํางานกลมุ ประกอบดวย ดานสมาชิก ที่ตอ งมีคณุ สมบตั ิ คือ มี ทกั ษะ มเี จตคติท่ดี ีตอ การทาํ งาน มกี าร รว มมือและมคี วามรับผดิ ชอบ ดา นผูนํา ตองสงเสริม และกระตุนใหส มาชิกเกดิ การ ทํางาน เขาใจสมาชิกใน กลุม สวนดานองคประกอบดานการจัดกลุม ควรมีเปาหมายที่ชัดเจน มีวิธีการทํางานกลุมที่มี ระบบและ มคี วามเหมาะสม ณัฐกานต เจริญกุล [43] ไดสรุปวา การทํางานกลุมจะประสบความสําเร็จไดน้ัน จะตองขึ้นอยูกับ องคประกอบ 3 อยา ง ดังนี้ 1. ผูน ํากลุม จะตองมีคุณลกั ษณะ ไดแ ก มภี าวะความเปนผนู ํา ฉลาด กระตุน และสนับสนุนใหสมาชกิ กลุม รว มกนั แสดงความคดิ เหน็ มอบหมายงานและแบงงานใหส มาชกิ ได อยางเหมาะสม วางแผนขัน้ ตอนการ ปฏบิ ัตงิ านได รับฟงความคดิ เหน็ ของสมาชกิ ในกลุม 2. สมาชิกในกลมุ จะตองมีคุณลักษณะ ไดแก เอาใจใสในงานกลมุ มมี นุษยสัมพนั ธท ่ดี ี รบั ผดิ ชอบในงานที่ ไดร บั มอบหมาย แสดงความคิดเหน็ 3. กระบวนการทํางานกลุม จะตอ งมวี ิธกี าร ไดแ ก ผูน ํากลุมและสมาชกิ กลุม มีปฏิสัมพนั ธท ดี่ ตี อกนั รวมกัน ทาํ ความเขาใจในงาน ปรกึ ษาหารือวางแผนการปฏบิ ตั ิงาน แบงงาน ตามความเหมาะสม ทบทวนหา ขอ บกพรอ งในงาน และรวมกันประเมนิ ปรับปรงุ แกไขงาน ปรชั ญา ละงู [46] ไดส รปุ วา องคป ระกอบสําคัญในการทาํ งานเปนกลุมน้นั คอื รูปแบบ หรือกระบวนการที่ จะทาํ ใหบ คุ คลรวมกนั ปฏบิ ตั ิงานใหเ ปน ไปอยางราบรนื่ และประสบผลสาํ เร็จ จากกระบวนการทาํ งานเปน กลุม ประกอบขึ้น จากหลายองคประกอบรวมกัน โดยมีเปาหมายและ ผลประโยชนท เ่ี กดิ ข้นึ รว มกัน องคป ระกอบดานสมาชิกกลมุ ทีจ่ ะตองมี บทบาทเปน ของตนเองไมวา จะเปน ผูนํา สมาชิกในกลุม จะตองดําเนนิ การไปตามองคประกอบดานกระบวนการทาํ งานที่ ตองมีการวางแผนงานดําเนินงานตามแผน ผานการประสานงานกันภายในกลุม ปฏิบัติงานตามบทบาท หนาท่ีท่ีไดรับ มอบหมาย มีการติดตอสื่อสารกันระหวางสมาชิกในกลุมดวยการแสดงความคิดเห็น อยางสรางสรรค เปนท้ังผูนําและผู ตามที่ดี เคารพสทิ ธแิ ละเสรีภาพของผูอ่นื รับฟงความเห็นตางของผอู ื่นโดยยึดหลักเหตุผลในการตัดสินใจ แกปญ หาความ ขดั แยง และการมมี นุษยสมั พนั ธที่ดีตอ โดย การเปดใจเรียนรรู วมกันเพอื่ กอ ใหเกิดบรรยากาศที่เอือ้ ตอ การทํางานได จากองคประกอบของการทํางานกลุมขางตน สรุปไดวา องคประกอบในการทํางานกลุม ประกอบดวย 3 องคประกอบท่ีสําคัญ คือ ผูนํากลุม ท่ีมีภาวะเปนผูนํากระตุนการทํางานของสมาชิกภายในกลุม สมาชิกภายในกลุมท่ีมี มนุษยสัมพันธท ีด่ ี รบั ผดิ ชอบตอ งานของกลุม และกระบวนการทาํ งานท่ีเปนระบบ แบงงานตามความเหมาะสมของสามชิก แตล ะคนภายในกลุมเพือ่ กระบวนการทํางานทม่ี ปี ระสิทธิภาพของกลมุ 6.3 ประโยชนข องการทาํ งานกลมุ ณฐั กานต เจรญิ กลุ [44] ไดส รปุ วา การทาํ งานกลุมมีประโยชนต อ ตัวผเู รยี น ดังนี้ (1) ฝก ใหผ เู รยี นสามารถอยูรวมกบั ผอู ่ืนได ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู น่ื (2) ฝกใหผเู รียนมคี วามกลา แสดงออก กลาพดู กลาแสดงความคิดเห็น กลา ตดั สนิ ใจ (3) ฝกใหผ ูเรียนมคี วามเปนผนู าํ และผตู าม (4) ฝกใหผูเรยี นไดส ง เสริมการคิด เชน การคิดวเิ คราะห การคิดรเิ ริ่มสรางสรรค (5) ฝก ใหผ เู รยี นมคี วามรับผดิ ชอบงานทไ่ี ดร บั หมายหมาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook