Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร 2565

หลักสูตร 2565

Published by radamanee, 2022-05-23 16:25:40

Description: หลักสูตร 2565

Search

Read the Text Version

หลักสตู รกลมุ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอยธุ ยาวทิ ยาลัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) หนา้ 1 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

คํานํา หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ฉบับนี้ เปนเอกสารประกอบหลกั สตู ร ท้องถิน่ โรงเรยี นอยธุ ยาวทิ ยาลยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ จัดทาํ เพือ่ เปนกรอบและทิศทางในการจดั การเรียนการสอน ในการพัฒนาคุณภาพผูเรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๖ ใหตรงตามมาตรฐาน ตวั ช้วี ดั และ สาระการเรยี นรขู องกลุมสาระการเรยี นรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม โดยพิจารณาตาม หลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มอี งคประกอบ ดงั ตอไปน้ี - วสิ ัยทัศน พันธกจิ และเปาประสงค - สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรียน และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค - สาระและมาตรฐานการเรยี นรู - คุณภาพผูเรยี น - ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรูแกนกลาง - โครงสรางหลกั สูตรกลุมสาระการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - คาํ อธิบายรายวิชา - โครงสรางรายวิชา คณะผูจัดทาํ ขอขอบคุณผูทมี่ ีสวนรวมในการพฒั นาและจดั ทาํ หลักสตู รกลุมสาระการเรียนรู สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ฉบบั น้ี จนสําเรจ็ ลุลวงเปนอยางดี และหวังเปนอยางย่ิงวาจะเกิดประโยชนตอการจดั การ เรยี นรใู หกบั ผูเรยี นตอไป กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ผจู้ ัดทำ หน้า 2 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สารบัญ หนา เรอ่ื ง 4 คำนำ 4 ทำไมตอ้ งเรยี นสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 เรยี นรู้อะไรในสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 6 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 7-55 คณุ ภาพผู้เรียน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 56-58 สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม สาระท่ี ๒ หน้าที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนินชีวติ ในสงั คม สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์ สาระที่ ๕ ภมู ิศาสตร์ โครงสร้างและเวลาเรยี นรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนสงั คมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน คำอธบิ ายรายวิชาเพม่ิ เติม หนา้ 3 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทำไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สงั คมโลกมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ตลอดเวลา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ช่วยให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ ว่ามนษุ ย์ดำรงชีวิตอยา่ งไร ท้ังในฐานะปจั เจกบุคคล และการอยู่ ร่วมกนั ในสังคม การปรับตวั ตามสภาพแวดลอ้ ม การจดั การทรัพยากรที่มอี ยู่อย่างจำกดั นอกจากนี้ ยังชว่ ยให้ ผูเ้ รียนเขา้ ใจถงึ การพฒั นา เปลยี่ นแปลงตามยุคสมยั กาลเวลา ตามเหตุปัจจยั ต่างๆ ทำให้เกดิ ความเขา้ ใจในตนเอง และผู้อ่ืน มคี วามอดทน อดกลั้น ยอมรบั ในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความร้ไู ปปรับใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ เปน็ พลเมอื งดขี องประเทศชาติ และสังคมโลก เรยี นรู้อะไรในสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อม สัมพนั ธก์ ัน และมคี วามแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อชว่ ยให้สามารถปรบั ตนเองกบั บริบทสภาพแวดลอ้ ม เป็น พลเมอื งดี มคี วามรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม โดยไดก้ ำหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้ ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ตี นนับถือ การนำหลกั ธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพฒั นาตนเอง และการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข เป็นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ รวมทั้งบำเพ็ญประโยชนต์ ่อสังคมและ ส่วนรวม หน้าทพี่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชีวิต ระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปัจจบุ ันการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ลกั ษณะและความสำคัญ การเป็นพลเมอื งดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวฒั นธรรม ค่านิยม ความเชอ่ื ปลกู ฝังค่านิยมด้านประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข สทิ ธิ หนา้ ที่ เสรีภาพการดำเนนิ ชวี ิตอย่างสันตสิ ุขในสังคมไทยและสงั คมโลก เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบรโิ ภคสนิ ค้าและบริการ การบริหารจัดการทรพั ยากร ทีม่ ีอย่อู ยา่ งจำกดั อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การดำรงชวี ิตอยา่ งมดี ลุ ยภาพ และการนำหลกั เศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ น ชีวติ ประจำวัน ประวตั ศิ าสตร์ เวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พฒั นาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปจั จุบนั ความสัมพนั ธแ์ ละเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจากเหตุการณ์ สำคญั ในอดตี บุคคลสำคัญท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆในอดตี ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและ ภมู ิปญั ญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สำคญั ของโลก ภมู ิศาสตร์ ลกั ษณะของโลกทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ แหล่งทรพั ยากร และภูมอิ ากาศของ ประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ ความสัมพนั ธ์กนั ของส่งิ ตา่ งๆ ใน ระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนำเสนอ ข้อมูลภมู ิสารสนเทศ การอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน หน้า 4 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตน นับถือและศาสนาอ่นื มีศรทั ธาท่ถี ูกต้อง ยดึ มัน่ และปฏบิ ัติตามหลกั ธรรม เพื่ออยู่ร่วมกัน อยา่ งสนั ติสขุ มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาทีต่ นนบั ถือ สาระที่ ๒ หนา้ ท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าทขี่ องการเป็นพลเมอื งดี มคี า่ นิยมท่ีดีงาม และ ธำรงรักษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ติ อยู่ร่วมกนั ในสังคมไทย และ สงั คมโลก อยา่ งสนั ตสิ ขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จบุ ัน ยดึ ม่นั ศรัทธา และธำรงรกั ษาไว้ซึ่ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรพั ยากรในการผลติ และการบรโิ ภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จำกดั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพและคมุ้ ค่า รวมท้งั เขา้ ใจ หลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อการดำรงชวี ิตอย่างมีดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส.๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ และความจำเปน็ ของการรว่ มมอื กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ ทางประวตั ศิ าสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณ์อยา่ งต่อเน่อื ง ตระหนักถงึ ความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึน มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มคี วามรัก ความภูมิใจและ ธำรงความเป็นไทย สาระท่ี ๕ ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิง่ ซึ่งมีผล ต่อกันและ กันในระบบของธรรมชาติ ใชแ้ ผนท่ีและเครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ขอ้ มลู ภูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างมนุษยก์ บั สภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีกอ่ ให้เกิด การสร้างสรรค์วฒั นธรรม มีจติ สำนกึ และมีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรและ สิง่ แวดลอ้ ม เพอื่ การพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื หน้า 5 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

คณุ ภาพผเู้ รยี น จบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ • ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กบั ประเทศในภมู ภิ าคตา่ งๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคดิ เรอื่ งการอยูร่ ว่ มกนั อย่างสันตสิ ุข • ได้เรียนรูแ้ ละพัฒนาใหม้ ีทกั ษะท่จี ำเป็นต่อการเป็นนักคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณได้รับการพัฒนาแนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรยี บเทียบระหวา่ งประเทศไทยกับประเทศในภูมภิ าคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย โอเชีย เนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทาง ประวตั ิศาสตร์ และสังคมศาสตร์ • ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ ในการดำเนินชีวติ และวางแผนการดำเนินงานได้อยา่ งเหมาะสม จบชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ • ไดเ้ รยี นรู้และศกึ ษาความเปน็ ไปของโลกอยา่ งกว้างขวางและลึกซงึ้ ยิง่ ขน้ึ • ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตาม หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ รวมทง้ั มีคา่ นยิ มอนั พึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่นื และอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสขุ รวมทงั้ มศี ักยภาพเพอ่ื การศึกษาต่อในช้ันสงู ตามความประสงค์ได้ • ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยึดมั่นในวิถี ชีวติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ • ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อยา่ งเหมาะสม มีจิตสำนกึ และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวฒั นธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม มีความรักทอ้ งถิน่ และประเทศชาติ มุ่งทำ ประโยชน์ และสร้างสิ่งทด่ี งี ามใหก้ บั สังคม • เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นำตนเองได้ และสามารถแสวงหา ความรจู้ ากแหลง่ การเรียนรตู้ า่ งๆในสงั คมได้ตลอดชวี ิต หน้า 6 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนา ท่ีตนนับถือและศาสนาอน่ื มีศรัทธาที่ถกู ต้อง ยดึ มน่ั และปฏบิ ัติตามหลักธรรม เพอื่ อยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ขุ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. อธิบายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือ  การสังคายนา ศาสนาท่ีตนนบั ถือสู่ประเทศไทย  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศไทย ๒. วิเคราะห์ความสำคญั ของ ➢ ความสำคัญของพระพุทธศาสนาตอ่ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถอื ที่ สังคมไทยในฐานะเป็น มีต่อสภาพแวดล้อมในสงั คมไทย รวมท้งั  ศาสนาประจำชาติ การพฒั นาตนและครอบครัว  สถาบันหลกั ของสงั คมไทย  สภาพแวดลอ้ มทกี่ ว้างขวาง และ ครอบคลุมสงั คมไทย  การพัฒนาตนและครอบครัว  สรุปและวิเคราะห์ พทุ ธประวัติ ๓. วเิ คราะหพ์ ทุ ธประวตั ติ งั้ แตป่ ระสตู ิ  ประสูติ  เทวทูต ๔ จนถึงบำเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวตั ิ  การแสวงหาความรู้ ศาสดาทต่ี นนับถือตามท่กี ำหนด  การบำเพ็ญทกุ รกริ ิยา ๔. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม ➢ พุทธสาวก พุทธสาวกิ า แบบอยา่ งการดำเนินชีวิตและข้อคดิ จาก  พระมหากัสสปะ ประวัตสิ าวก ชาดก/เร่ืองเลา่ และศาสนิก  พระอุบาลี ชนตวั อย่างตามที่กำหนด  อนาถบิณฑกิ ะ  นางวสิ าขา ➢ ชาดก  อัมพชาดก  ติตตริ ชาดก ๕. อธิบายพุทธคุณ และขอ้ ธรรมสำคัญใน ➢ พระรัตนตรยั  พทุ ธคุณ ๙ กรอบอรยิ สจั ๔ หรอื หลักธรรมของ หนา้ 7 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ➢ อริยสจั ๔ ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ตามทีก่ ำหนด เห็น คุณค่าและนำไปพฒั นาแก้ปัญหาของ  ทกุ ข์ (ธรรมท่คี วรร)ู้ ตนเองและครอบครัว o ขนั ธ์ ๕ - ธาตุ ๔  สมุทัย (ธรรมทค่ี วรละ) o หลักกรรม - ความหมายและคุณค่า o อบายมขุ ๖  นโิ รธ (ธรรมท่คี วรบรรลุ) o สุข ๒ (กายกิ , เจตสกิ ) o คหิ ิสขุ  มรรค (ธรรมท่คี วรเจริญ) o ไตรสิกขา o กรรมฐาน ๒ o ปธาน ๔ o โกศล ๓ o มงคล ๓๘ -ไม่คบคนพาล - คบบัณฑิต - บูชาผู้ควรบูชา ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษติ  ยํ เว เสวติ ตาทิโส คบคนเช่นใดเป็นคนเชน่ น้นั  อตตฺ นา โจทยตฺตานํ จงเตอื นตน ดว้ ยตน  นสิ มมฺ กรณํ เสยโฺ ย ใคร่ครวญกอ่ นทำจงึ ดี  ทุราวาสา ฆรา ทกุ ขฺ า เรือนทค่ี รองไม่ดนี ำทุกขม์ าให้ ๖. เห็นคณุ ค่าของการพฒั นาจติ เพ่อื การ ➢ โยนโิ สมนสกิ าร เรียนรแู้ ละการดำเนนิ ชวี ติ ดว้ ยวิธีคดิ แบบ  วธิ คี ดิ แบบคุณค่าแท้ – คณุ คา่ เทยี ม หน้า 8 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง โยนิโสมนสิการคือวิธคี ดิ แบบคณุ คา่ แท้ –  วธิ ีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก คณุ ค่าเทียม และวิธคี ดิ แบบคุณ – โทษ และทางออก หรือการพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถอื ๗. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา เจริญปญั ญาดว้ ยอานาปานสติ หรอื ตาม  วิธีปฏิบัติและประโยชนข์ องการบริหารจิต และเจริญปญั ญา การฝกึ บริหารจิตและ แนวทางของศาสนาทต่ี นบั ถอื ตามที่ กำหนด เจริญปญั ญาตามหลักสติปัฎฐานเนน้ อานาปานสติ  นำวธิ กี ารบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญาไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั ๘. วิเคราะหแ์ ละปฏิบัติตนตามหลักธรรม  หลักธรรม (ตามสาระการเรียนรขู้ อ้ ๕) ทางศาสนาที่ตนนับถอื ในการดำรงชีวติ แบบพอเพียง และดแู ลรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ◆ ศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ มีการ เพ่ือการอยรู่ ว่ มกนั ได้อย่างสนั ติสขุ ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นและวิถีการดำเนินชวี ติ ๙. วิเคราะหเ์ หตุผลความจำเปน็ ที่ทุกคน แตกต่างกนั ตามหลกั ความเชือ่ และคำสอน ต้องศึกษาเรียนรศู้ าสนาอน่ื ๆ ของศาสนาท่ตี นนับถอื ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนตอ่ ศาสนิกชนอนื่ ใน ◆ การปฏบิ ตั ิอยา่ งเหมาะสมตอ่ ศาสนกิ ชนอื่น สถานการณ์ต่างๆได้อยา่ งเหมาะสม ในสถานการณ์ต่างๆ ๑๑. วเิ คราะห์การกระทำของบคุ คลท่เี ป็น ◆ ตวั อย่างบุคคลในทอ้ งถนิ่ หรือประเทศที่ แบบอย่างดา้ นศาสนสัมพนั ธ์ และนำเสนอ ปฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างดา้ นศาสนสมั พนั ธ์ หรอื มีผลงานดา้ นศาสนสัมพันธ์ แนวทางการปฏิบตั ขิ องตนเอง ม.๒ ๑. อธบิ ายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หรือ  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขา้ สูป่ ระเทศ ศาสนาที่ตนนับถอื ส่ปู ระเทศ เพ่อื นบ้านและการนบั ถือพระพทุ ธ -ศาสนา เพื่อนบ้าน ของประเทศเพอื่ นบา้ นในปจั จบุ ัน ๒. วเิ คราะห์ความสำคัญของพระพทุ ธ-  ความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่ชว่ ย ศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั ถือท่ชี ่วย เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจอันดีกับประเทศ เพ่ือนบา้ น เสรมิ สรา้ งความเข้าใจอันดกี บั ประเทศ เพ่อื นบา้ น หนา้ 9 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๓. วิเคราะห์ความสำคัญของ ➢ ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถอื ใน สังคมไทยในฐานะเป็น ฐานะทเ่ี ปน็ รากฐานของวฒั นธรรม  รากฐานของวฒั นธรรม เอกลกั ษณข์ องชาติและมรดกของชาติ  เอกลกั ษณแ์ ละ มรดกของชาติ ๔. อภิปรายความสำคัญของพระพทุ ธ -  ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับ ศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือกบั การพฒั นาชมุ ชนและการจดั ระเบยี บสังคม การพัฒนาชมุ ชนและการจดั ระเบยี บสังคม ๕. วิเคราะห์พุทธประวตั หิ รอื ประวัติ  สรปุ และวเิ คราะห์ พทุ ธประวัติ ศาสดาของศาสนาทตี่ นนบั ถอื ตามที่  การผจญมาร กำหนด  การตรสั รู้  การส่ังสอน ๖. วเิ คราะห์และประพฤติตนตาม  พระสารีบุตร แบบอยา่ งการดำเนินชวี ติ และขอ้ คดิ จาก  พระโมคคัลลานะ ประวตั สิ าวก ชาดก/เร่ืองเล่าและ  นางขชุ ชุตตรา ศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามทก่ี ำหนด  พระเจ้าพมิ พสิ าร  มิตตวนิ ทกุ ชาดก  ราโชวาทชาดก ๗. อธิบายโครงสร้าง และสาระสังเขปของ  โครงสรา้ ง และสาระสังเขปของ พระไตรปฎิ ก หรือคัมภีรข์ องศาสนาท่ีตน พระวนิ ัยปฎิ ก พระสตุ ตันตปิฎก นับถือ และพระอภธิ รรมปฎิ ก ๘. อธบิ ายธรรมคณุ และขอ้ ธรรมสำคัญใน ➢ พระรตั นตรยั กรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนา  ธรรมคุณ ๖ ที่ตนนบั ถือ ตามทก่ี ำหนด เห็นคณุ ค่า ➢ อรยิ สจั ๔ และนำไปพัฒนา แก้ปัญหาของชุมชนและ  ทกุ ข์ (ธรรมทค่ี วรร)ู้ สังคม o ขันธ์ ๕ - อายตนะ  สมทุ ัย (ธรรมที่ควรละ) o หลักกรรม - สมบัติ ๔ - วิบัติ ๔ o อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ o อบายมุข ๖  นิโรธ (ธรรมท่คี วรบรรลุ) หนา้ 10 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง o สขุ ๒ (สามิส, นริ ามิส)  มรรค (ธรรมที่ควรเจรญิ ) o บพุ พนิมติ ของมัชฌมิ าปฏิปทา o ดรุณธรรม ๖ o กุลจิรฏั ฐิติธรรม ๔ o กุศลกรรมบถ ๑๐ o สติปฏั ฐาน ๔ o มงคล ๓๘ - ประพฤตธิ รรม - เวน้ จากความช่ัว - เว้นจากการดืม่ น้ำเมา ➢ พทุ ธศาสนสุภาษติ  กมฺมุนา วตฺตตี โลโก สตั ว์โลกย่อมเปน็ ไปตามกรรม  กลฺยาณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปกํ ทำดไี ด้ดี ทำช่ัว ได้ช่วั  สโุ ข ปุญญฺ สฺส อุจฺจโย การสงั่ สม บุญนำสขุ มาให้  ปูชโก ลภเต ปูชํ วนทฺ โก ปฏวิ นฺทนํ ผู้บูชาเขา ย่อมไดร้ ับการบูชา ตอบ ผู้ไหวเ้ ขายอ่ มไดร้ ับการไหวต้ อบ ๙. เหน็ คุณค่าของการพัฒนาจติ เพื่อการ ➢ พัฒนาการเรยี นร้ดู ว้ ยวธิ คี ดิ แบบโยนโิ ส- เรียนรู้และดำเนินชวี ติ ดว้ ยวธิ คี ิดแบบ มนสกิ าร ๒ วิธี คือ วิธคี ิดแบบอุบายปลกุ โยนิโสมนสิการคอื วธิ ีคดิ แบบอุบายปลกุ เร้าคณุ ธรรม และวธิ ีคดิ แบบอรรถธรรม เรา้ คณุ ธรรม และวิธคี ิดแบบอรรถธรรม สมั พนั ธ์ สัมพันธ์ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา ท่ตี นนับถือ ๑๐. สวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจิตและ  สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา เจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรอื ตาม  ร้แู ละเข้าใจวธิ ปี ฏิบตั แิ ละประโยชนข์ อง แนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถือ การบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญา  ฝึกการบริหารจติ และเจรญิ ปัญญาตามหลกั สตปิ ัฎฐาน เนน้ อานาปานสติ หนา้ 11 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง  นำวิธกี ารบรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญา ไปใช้ ในชีวิตประจำวัน ๑๑.วิเคราะห์การปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม ➢ การปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม (ตามสาระ ทางศาสนาทตี่ นนับถือ เพอ่ื การดำรงตน การเรียนรู้ ขอ้ ๘.) อย่างเหมาะสมในกระแสความเปลย่ี นแปลง ของโลก และการอยูร่ ว่ มกันอยา่ งสนั ติสุข ม. ๓ ๑. อธบิ ายการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา หรอื  การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศ ศาสนาที่ตนนบั ถือสปู่ ระเทศต่างๆ ทั่วโลก ต่าง ๆ ทั่วโลก และการนับถอื พระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านน้ั ในปัจจุบัน ๒. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของ  ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะท่ี พระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนบั ถอื ใน ช่วยสร้างสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบสุข ฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรม และ ให้แกโ่ ลก ความสงบสุขแก่โลก ๓. อภิปรายความสำคัญของ  สัมมนาพระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญาของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ เศรษฐกจิ พอเพยี งและการพฒั นาอยา่ ง กบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ ย่งั ยืน (ทสี่ อดคล้องกับหลักธรรมในสาระ การพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื การเรยี นรู้ ขอ้ ๖ ) ๔. วเิ คราะห์พุทธประวตั จิ ากพระพทุ ธรูป  ศกึ ษาพุทธประวัติจากพระพทุ ธรูปปาง ปางต่างๆ หรือประวตั ศิ าสดาท่ตี นนับถือ ตา่ ง ๆ เช่น ตามทีก่ ำหนด o ปางมารวชิ ัย o ปางปฐมเทศนา ๕. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม o ปางลีลา แบบอย่างการดำเนนิ ชวี ิตและข้อคิดจาก o ปางประจำวันเกดิ ประวตั ิสาวก ชาดก/เรอ่ื งเลา่ และ ศาสนิกชนตวั อย่าง ตามท่กี ำหนด  สรุปและวิเคราะหพ์ ุทธประวตั ิ  ปฐมเทศนา  โอวาทปาฏโิ มกข์  พระอัญญาโกณฑญั ญะ  พระมหาปชาบดีเถรี  พระเขมาเถรี  พระเจ้าปเสนทโิ กศล  นันทวิ สิ าลชาดก  สุวณั ณหังสชาดก หน้า 12 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ➢ พระรตั นตรัย ๖. อธิบายสังฆคณุ และขอ้ ธรรมสำคญั ใน  สงั ฆคณุ ๙ กรอบอริยสัจ ๔ หรอื หลักธรรมของ ศาสนาท่ีตนนบั ถือตามท่ีกำหนด ➢ อริยสจั ๔  ทุกข์ (ธรรมทีค่ วรรู้) o ขนั ธ์ ๕ -ไตรลักษณ์  สมทุ ัย (ธรรมท่ีควรละ) o หลักกรรม -วัฏฏะ ๓ -ปปัญจธรรม ๓ (ตัณหา มานะ ทฎิ ฐ)ิ  นโิ รธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o อตั ถะ ๓  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o มรรคมีองค์ ๘ o ปัญญา ๓ o สปั ปุริสธรรม ๗ o บุญกริ ิยาวตั ถุ ๑๐ o อุบาสกธรรม ๗ o มงคล ๓๘ - มีศิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟงั ธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษติ  อตฺตา หเว ชติ ํ เสยโฺ ย ชนะตนน่นั แลดีกว่า  ธมมฺ จารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤตธิ รรมยอ่ มอยู่เปน็ สุข  ปมาโท มจจฺ ุโน ปทํ ความประมาทเป็นทางแหง่ ความตาย  สสุ ฺสูสํ ลภเต ปญฺญํ ผฟู้ งั ดว้ ยดยี ่อมไดป้ ัญญา  เร่อื งนา่ รจู้ ากพระไตรปิฎก : พทุ ธ ปณิธาน ๔ ในมหาปรนิ ิพพานสตู ร หนา้ 13 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๗. เห็นคุณค่า และวเิ คราะห์การปฏบิ ตั ติ น  การปฏิบัตติ นตามหลักธรรม (ตามสาระ ตามหลักธรรมในการพัฒนาตน การเรยี นรู้ ข้อ ๖.) เพือ่ เตรยี มพรอ้ มสำหรบั การทำงาน และการมคี รอบครัว ๘. เหน็ คณุ ค่าของการพฒั นาจติ เพ่อื การ  พฒั นาการเรียนรู้ด้วยวิธคี ิดแบบ โยนโิ สมนสกิ าร ๒ วธิ ี คือ วิธคี ิดแบบ เรยี นรแู้ ละดำเนนิ ชีวิต ด้วยวธิ ีคดิ แบบ โยนิโสมนสกิ ารคือ วธิ ีคิดแบบอรยิ สจั และ อรยิ สจั และวิธีคดิ แบบสืบสาวเหตุปัจจยั วิธีคดิ แบบสืบสาวเหตปุ ัจจัย หรอื การพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาที่ตน นับถือ ๙. สวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจิตและ  สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา เจรญิ ปญั ญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม  รู้และเขา้ ใจวิธีปฏิบตั ิและประโยชนข์ องการ แนวทางของศาสนาท่ตี นนบั ถือ บริหารจิตและเจริญปญั ญา  ฝึกการบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาตามหลัก สตปิ ัฎฐานเน้นอานาปานสติ  นำวธิ ีการบริหารจติ และเจรญิ ปัญญา ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ๑๐. วเิ คราะห์ความแตกต่างและยอมรบั  วิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนา วิถกี ารดำเนนิ ชวี ิตของศาสนิกชนในศาสนา อืน่ ๆ อ่ืนๆ ม.๔-ม.๖ ๑.วเิ คราะหส์ งั คมชมพูทวปี และคตคิ วาม  ลักษณะของสังคมชมพูทวปี และคติความ เช่อื ทางศาสนาสมยั กอ่ นพระพุทธเจ้า เช่อื ทางศาสนาสมยั ก่อนพระพทุ ธเจ้า หรอื สงั คมสมัยของศาสดาทตี่ นนบั ถอื ๒. วเิ คราะห์ พระพทุ ธเจ้าในฐานะเป็น  พระพุทธเจา้ ในฐานะเปน็ มนษุ ย์ ผู้ฝึกตนได้ อย่างสงู สุด (การตรสั รู้) มนุษย์ผู้ฝกึ ตนไดอ้ ย่างสงู สดุ ในการตรัสรู้  การก่อตง้ั พระพุทธศาสนา วิธีการสอน การก่อตงั้ วิธกี ารสอนและการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา หรือวเิ คราะหป์ ระวัติ และการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาตามแนว ศาสดาทีต่ นนับถือ ตามทกี่ ำหนด พทุ ธจรยิ า ๓.วิเคราะหพ์ ุทธประวตั ิด้านการบริหาร  พุทธประวัติดา้ นการบรหิ ารและการธำรง และการธำรงรักษาศาสนา หรอื วเิ คราะห์ รกั ษาพระพุทธศาสนา ประวัตศิ าสดาทต่ี นนบั ถือ ตามท่กี ำหนด หน้า 14 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๔. วิเคราะห์ขอ้ ปฏิบัตทิ างสายกลางใน  พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวธิ กี ารท่ีเปน็ พระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคดิ ของศาสนาที่ สากลและมขี อ้ ปฏิบัติท่ยี ดึ ทางสายกลาง ตนนบั ถอื ตามทก่ี ำหนด ๕. วเิ คราะหก์ ารพฒั นาศรัทธา และปญั ญาที่  พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรทั ธาและ ถกู ตอ้ งในพระพุทธศาสนา หรือแนวคดิ ของ ปญั ญาทถ่ี กู ต้อง ศาสนาท่ีตนนับถอื ตามทกี่ ำหนด ๖. วเิ คราะห์ลักษณะประชาธิปไตยใน  ลกั ษณะประชาธิปไตยในพระพุทธ- ศาสนา พระพุทธศาสนา หรอื แนวคดิ ของศาสนาท่ี ตนนบั ถอื ตามท่กี ำหนด ๗. วเิ คราะห์หลักการของพระพุทธศาสนา  หลักการของพระพุทธศาสนากบั หลัก กบั หลักวทิ ยาศาสตร์ หรือแนวคดิ ของ วิทยาศาสตร์ ศาสนาที่ตนนับถอื ตามท่กี ำหนด  การคดิ ตามนยั แหง่ พระพุทธศาสนาและการ คิดแบบวิทยาศาสตร์ ๘. วิเคราะห์การฝกึ ฝนและพฒั นาตนเอง  พระพทุ ธศาสนาเน้นการฝกึ หดั อบรมตน การพ่ึงตนเอง และการมุ่งอสิ รภาพใน การพง่ึ ตนเอง และการมงุ่ อิสรภาพ พระพทุ ธศาสนา หรือแนวคดิ ของศาสนาที่ ตนนบั ถอื ตามทก่ี ำหนด ๙. วเิ คราะห์พระพทุ ธศาสนาวา่  พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสตร์แหง่ การศกึ ษา เป็นศาสตร์แหง่ การศึกษาซง่ึ เน้น  พระพุทธศาสนาเน้นความสัมพันธ์ ความสมั พันธ์ของเหตุปจั จยั กบั ของเหตปุ จั จยั และวิธีการแกป้ ัญหา วิธีการแก้ปญั หา หรือแนวคิดของศาสนาที่ ตนนบั ถือตามทก่ี ำหนด ๑๐. วเิ คราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาในการฝึก  พระพุทธศาสนาฝกึ ตนไมใ่ หป้ ระมาท ตนไมใ่ ห้ประมาท มงุ่ ประโยชน์และ  พระพทุ ธศาสนามงุ่ ประโยชนส์ ขุ และ สนั ตภิ าพบุคคล สังคมและโลก หรือ สนั ตภิ าพแกบ่ คุ คล สังคมและโลก แนวคดิ ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กำหนด หน้า 15 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๑๑. วิเคราะหพ์ ระพุทธศาสนากบั ปรชั ญา  พระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกิจ ของเศรษฐกจิ พอเพียงและการพัฒนา พอเพียงและการพัฒนาแบบยัง่ ยืน ประเทศแบบย่งั ยนื หรือแนวคิดของ ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ตามที่กำหนด ๑๒. วิเคราะห์ความสำคัญของ  ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับ พระพุทธศาสนาเก่ยี วกับการศึกษา การศึกษาท่สี มบรู ณ์ ทส่ี มบูรณ์ การเมืองและสนั ติภาพ  ความสำคญั ของพระพุทธศาสนากับ การเมือง หรอื แนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ  ความสำคญั ของพระพุทธศาสนากบั ตามทกี่ ำหนด สันติภาพ ๑๓. วิเคราะหห์ ลักธรรมในกรอบ ➢ พระรัตนตรยั อรยิ สัจ ๔ หรือหลักคำสอนของศาสนา  วิเคราะห์ความหมายและคณุ ค่าของ ทต่ี นนับถือ พุทธะ ธรรมะ สังฆะ ➢ อรยิ สจั ๔  ทกุ ข์ (ธรรมที่ควรรู้) o ขนั ธ์ ๕ - นามรูป - โลกธรรม ๘ - จิต, เจตสกิ  สมทุ ยั (ธรรมที่ควรละ) o หลักกรรม - นิยาม ๕ - กรรมนิยาม ( กรรม ๑๒) - ธรรมนยิ าม(ปฏิจจสมุปบาท) o วติ ก ๓ o มจิ ฉาวณชิ ชา ๕ o นวิ รณ์ ๕ o อปุ าทาน ๔  นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรล)ุ o ภาวนา ๔ หนา้ 16 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง o วิมตุ ติ ๕ o นพิ พาน  มรรค (ธรรมท่ีควรเจรญิ ) o พระสทั ธรรม ๓ o ปัญญาวุฒธิ รรม ๔ o พละ ๕ o อบุ าสกธรรม ๕ o อปรหิ านยิ ธรรม ๗ o ปาปณกิ ธรรม ๓ o ทฏิ ฐธมั มิกตั ถสังวตั ตนกิ ธรรม ๔ o โภคอาทยิ ะ ๕ o อริยวัฑฒิ ๕ o อธิปไตย ๓ o สาราณียธรรม ๖ o ทศพธิ ราชธรรม ๑๐ o วิปัสสนาญาณ ๙ o มงคล ๓๘ - สงเคราะหบ์ ุตร - สงเคราะห์ภรรยา - สันโดษ - ถูกโลกธรรมจติ ไม่หว่ันไหว - จติ ไมเ่ ศร้าโศก - จิตไมม่ ัวหมอง - จติ เกษม - ความเพยี รเผากิเลส - ประพฤตพิ รหมจรรย์ - เหน็ อริยสจั - บรรลนุ พิ พาน หนา้ 17 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ➢ พุทธศาสนสภุ าษติ  จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จติ ท่ีฝึกดีแล้วนำสุขมาให้  นอจุ ฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ บัณฑิตยอ่ มไม่แสดงอาการขึ้น ๆ ลง ๆ  นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต คนท่ีไมถ่ กู นินทา ไม่มใี นโลก  โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ ฆ่าความโกรธไดย้ ่อมอยเู่ ปน็ สขุ  ปฏิรูปการี ธุรวา อฎุ ฺฐาตา วนิ ฺทเต ธนํ คนขยันเอาการเอางาน กระทำ เหมาะสม ย่อมหาทรัพยไ์ ด้  วายเมถว ปรุ ิโส ยาว อตถฺ สสฺ นิปฺปทา เกดิ เปน็ คนควรจะพยายามจนกว่าจะ ประสบความสำเรจ็  สนตฺ ฎฐฺ ี ปรมํ ธนํ ความสันโดษเป็นทรพั ย์อยา่ งย่งิ ๑๔. วิเคราะหข์ ้อคิดและแบบอยา่ ง  อณิ าทานํ ทุกขฺ ํ โลเก การดำเนินชวี ิตจากประวตั ิสาวก ชาดก การเปน็ หนเี้ ปน็ ทุกข์ในโลก  ราชา มขุ ํ มนสุ สฺ านํ พระราชาเปน็ ประมขุ ของประชาชน  สติ โลกสมฺ ิ ชาคโร สติเปน็ เครือ่ งตื่นในโลก  นตถฺ ิ สนตฺ ิปรํ สขุ ํ สขุ อน่ื ยง่ิ กวา่ ความสงบไมม่ ี  นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ นพิ พานเป็นสขุ อยา่ งยงิ่ ➢ พุทธสาวก พุทธสาวกิ  พระอสั สชิ  พระกสี าโคตมีเถรี หนา้ 18 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เรอื่ งเล่า และศาสนิกชนตวั อย่าง ตามท่ี กำหนด  พระนางมัลลกิ า  หมอชวี ก โกมารภจั  พระอนรุ ทุ ธะ  พระองคลุ มิ าล  พระธมั มทนิ นาเถรี  จิตตคหบดี  พระอานนท์  พระปฏาจาราเถรี  จูฬสภุ ัททา  สุมนมาลาการ ➢ ชาดก  เวสสนั ดรชาดก  มโหสธชาดก  มหาชนกชาดก ➢ ชาวพุทธตวั อย่าง  พระนาคเสน - พระยามลิ นิ ท์  สมเด็จพระวนั รตั (เฮง เขมจารี)  พระอาจารยม์ ่นั ภรู ทิ ตฺโต  สชุ ีพ ปญุ ญานภุ าพ  สมเด็จพระนารายณ์มหาราช  พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ)  พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปญั ญานันท ภิกขุ)  ดร.เอ็มเบดการ์  พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยหู่ ัว  พระโพธญิ าณเถร (ชา สุภทฺโท)  พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) หนา้ 19 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๑๕. วเิ คราะหค์ ณุ ค่าและความสำคญั ของ  วธิ กี ารศกึ ษาและคน้ ควา้ พระไตรปฏิ ก และ การสังคายนา พระไตรปิฎก หรอื คัมภีร์ คัมภีร์ของศาสนาอน่ื ๆ การสงั คายนาและ ของศาสนาท่ตี นนบั ถอื และการเผยแผ่ การเผยแผพ่ ระไตรปิฏก  ความสำคัญและคุณคา่ ของพระไตรปิฏก ๑๖. เชือ่ ม่นั ตอ่ ผลของการทำความดี ความ  ตวั อย่างผลทีเ่ กิดจากการทำความดี ช่ัว สามารถวิเคราะหส์ ถานการณ์ทต่ี ้อง ความช่ัว เผชิญ และตัดสนิ ใจเลือกดำเนินการหรอื  โยนโิ สมนสิการด้วยวิธีคิดแบบอริยสัจ ปฏิบตั ติ นไดอ้ ย่างมเี หตผุ ลถกู ต้องตาม  หลกั ธรรมตามสาระการเรยี นรู้ข้อ ๑๓ หลักธรรม จรยิ ธรรม และกำหนด เปา้ หมาย บทบาทการดำเนนิ ชีวติ เพือ่ การ อยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ติสุข และอยู่ร่วมกนั เปน็ ชาติอยา่ งสมานฉนั ท์ ๑๗. อธิบายประวตั ิศาสดาของศาสนาอนื่ ๆ ◆ ประวัติพระพทุ ธเจา้ มุฮมั มดั พระเยซู โดยสงั เขป ๑๘.ตระหนกั ในคุณค่าและความสำคัญของ ◆ คุณค่าและความสำคัญของค่านิยมและ ค่านยิ ม จริยธรรมที่เป็นตวั กำหนดความ จริยธรรม เชื่อและพฤตกิ รรมทีแ่ ตกต่างกันของศา ◆ การขจดั ความขดั แยง้ เพอ่ื อยูร่ ่วมกนั อย่าง สนิกชนศาสนาต่างๆ เพือ่ ขจดั ความขดั แย้ง สนั ตสิ ขุ และอยรู่ ว่ มกันในสงั คมอย่างสันตสิ ุข ๑๙. เหน็ คณุ ค่า เชอ่ื มน่ั และมงุ่ ม่นั พัฒนา  พฒั นาการเรยี นรดู้ ้วยวธิ ีคิดแบบโยนโิ ส ชีวติ ด้วยการพฒั นาจติ และพฒั นาการ มนสกิ าร ๑๐ วธิ ี (เนน้ วิธีคดิ แบบแยกแยะ เรยี นรดู้ ้วยวธิ ีคดิ แบบโยนิโสมนสิการ ส่วนประกอบ แบบสามัญญลกั ษณะ หรือการพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนา แบบเปน็ อยูใ่ นขณะปัจจุบัน และแบบ ทีต่ นนับถอื วภิ ัชชวาท ) ๑) วธิ ีคิดแบบสบื สาวเหตุปัจจยั ๒) วธิ คี ดิ แบบแยกแยะส่วนประกอบ ๓) วิธีคดิ แบบสามญั ลกั ษณะ ๔) วิธีคิดแบบอริยสัจ ๕) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสมั พันธ์ ๖) วธิ ีคดิ แบบคุณค่าแท้- คุณคา่ เทียม ๗) วิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออก ๘) วิธคี ดิ แบบอุบาย ปลุกเร้าคณุ ธรรม ๙) วธิ ีคิดแบบเปน็ อยูใ่ นขณะปัจจบุ ัน ๑๐) วิธคี ิดแบบวิภัชชวาท หนา้ 20 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง หรือการพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนา แบบเป็นอยู่ในขณะปัจจุบัน และแบบ ทต่ี นนับถือ วิภัชชวาท ) ๑) วธิ ีคดิ แบบสืบสาวเหตุปัจจยั ๒) วิธคี ดิ แบบแยกแยะสว่ นประกอบ ๓) วิธีคิดแบบสามญั ลักษณะ ๔) วธิ ีคดิ แบบอริยสัจ ๕) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพนั ธ์ ๖) วิธีคดิ แบบคุณคา่ แท้- คุณคา่ เทียม ๗) วธิ ีคดิ แบบคณุ -โทษ และทางออก ๘) วธิ ีคดิ แบบอุบาย ปลุกเร้าคณุ ธรรม ๙) วิธีคดิ แบบเปน็ อยู่ในขณะปัจจบุ ัน ๑๐) วิธคี ิดแบบวภิ ชั ชวาท ➢ สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา ๒๐. สวดมนต์ แผ่เมตตา และบริหารจิต รแู้ ละเขา้ ใจวิธีปฏิบตั ิและประโยชนข์ องการ และเจรญิ ปญั ญาตามหลักสติปฏั ฐาน หรอื บรหิ ารจิตและเจริญปัญญา ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ  ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตาม หลกั สติปัฎฐาน  นำวธิ ีการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญา ไปใชใ้ นการพฒั นาการเรยี นรู้ คณุ ภาพ ชวี ิตและสงั คม ๒๑. วิเคราะหห์ ลักธรรมสำคัญในการอยู่ ◆ หลกั ธรรมสำคญั ในการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ ง ร่วมกนั อย่างสันติสุขของศาสนาอน่ื ๆ และ สนั ตสิ ุข ชักชวน สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหบ้ ุคคลอ่นื เหน็ o หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนา เช่น ความสำคัญของการทำความดี ต่อกัน สาราณยี ธรรม ๖ อธิปไตย ๓ มจิ ฉาวณิชชา ๕ อรยิ วฑั ฆิ ๕ ๒๒. เสนอแนวทางการจดั กิจกรรม ความ โภคอาทิยะ ๕ รว่ มมือของทุกศาสนาในการแกป้ ัญหาและ พัฒนาสังคม ◆ ครสิ ตศ์ าสนา ไดแ้ ก่ บัญญัติ ๑๐ ประการ (เฉพาะที่เกี่ยวขอ้ ง) ◆ ศาสนาอิสลาม ได้แก่ หลกั จรยิ ธรรม (เฉพาะทีเ่ กยี่ วขอ้ ง) ◆ สภาพปัญหาในชุมชน และสงั คม หน้า 21 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนที่ดี และธำรงรกั ษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถอื ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๑ ๑. บำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ศาสนสถานของ  การบำเพ็ญประโยชน์ และ ศาสนาที่ตนนับถือ การบำรุงรกั ษาวัด ๒. อธบิ ายจรยิ วัตรของสาวกเพอื่ เปน็  วิถีชีวติ ของพระภกิ ษุ แบบอยา่ งในการประพฤติปฏิบตั ิ และ  บทบาทของพระภกิ ษใุ นการเผยแผ่ ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อสาวกของ พระพุทธศาสนา เชน่ การแสดงธรรม ศาสนาที่ตนนบั ถอื ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้เปน็ แบบอย่าง  การเข้าพบพระภิกษุ  การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพ พระรัตนตรยั การฟังเจรญิ พระพุทธมนต์ การฟงั สวด พระอภิธรรม การฟงั พระธรรมเทศนา ๓. ปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมต่อบคุ คลต่างๆ  ปฏิบัตติ นอย่างเหมาะสมต่อเพื่อนตาม ตามหลักศาสนาทตี่ นนบั ถอื ตามท่ี หลักพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับ กำหนด ถือ ๔. จัดพธิ กี รรม และปฏบิ ตั ติ นใน  การจัดโตะ๊ หมู่บชู า แบบ หม่๔ู หมู่ ๕ หมู่ ศาสนพิธี พิธีกรรมไดถ้ กู ตอ้ ง ๗ หม๙ู่  การจุดธปู เทียน การจัดเคร่ืองประกอบ โตะ๊ หมู่บชู า  คำอาราธนาต่างๆ ๕. อธบิ ายประวัติ ความสำคัญ และ  ประวัตแิ ละความสำคญั ของวนั ธรรม ม.๒ ปฏิบตั ติ นในวนั สำคญั ทางศาสนา สวนะ วนั เขา้ พรรษา วันออกพรรษา ทีต่ นนับถอื ตามที่กำหนด ไดถ้ กู ต้อง วันเทโวโรหณะ  ระเบียบพิธี พิธีเวยี นเทยี น การปฏบิ ัติตน ในวนั มาฆบูชา วันวสิ าขบชู า วนั อฏั ฐมี หนา้ 22 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง บชู า วันอาสาฬหบูชา วนั ธรรมสวนะ และเทศกาลสำคญั ๑. ปฏบิ ตั ติ นอย่างเหมาะสมต่อบุคคล  การเป็นลกู ทด่ี ี ตามหลกั ทศิ เบื้องหนา้ ใน ต่าง ๆ ตามหลกั ศาสนาท่ีตนนับถือ ตามที่ ทศิ ๖ กำหนด ๒. มีมรรยาทของความเปน็ ศาสนิกชนท่ีดี  การตอ้ นรับ (ปฏิสนั ถาร) ตามท่ีกำหนด  มรรยาทของผูเ้ ป็นแขก  ฝกึ ปฏบิ ตั ริ ะเบยี บพิธี ปฏิบัติตอ่ พระภิกษุ การยืน การให้ท่นี ่งั การเดินสวน การสนทนา การรบั สง่ิ ของ  การแต่งกายไปวดั การแต่งกายไปงาน มงคล งานอวมงคล ๓. วิเคราะหค์ ณุ ค่าของศาสนพิธี และ  การทำบุญตกั บาตร ปฏบิ ัตติ นได้ถกู ต้อง  การถวายภัตตาหารส่ิงของทคี่ วรถวาย และสงิ่ ของตอ้ งห้ามสำหรบั พระภกิ ษุ  การถวายสงั ฆทาน เครอื่ งสงั ฆทาน  การถวายผ้าอาบนำ้ ฝน  การจัดเครอื่ งไทยธรรม เครอื่ งไทยทาน  การกรวดนำ้  การทอดกฐิน การทอดผา้ ป่า ๔. อธิบายคำสอนทเี่ กย่ี วเน่อื งกับ  หลกั ธรรมเบอื้ งตน้ ทเี่ ก่ียวเน่ืองใน วนั สำคญั ทางศาสนา และปฏบิ ัติตน วันมาฆบชู า วนั วสิ าขบูชา ได้ถกู ตอ้ ง วนั อฏั ฐมบี ูชา วนั อาสาฬหบชู า  วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสำคญั  ระเบยี บพิธแี ละการปฏิบตั ิตน ในวนั ธรรมสวนะ วนั เข้าพรรษา วันออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ ๕. อธบิ ายความแตกต่างของศาสนพธิ ี  ศาสนพธิ /ี พธิ ีกรรม แนวปฏิบตั ขิ อง พิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติของศาสนาอ่ืน ศาสนาอน่ื ๆ ๆ เพอ่ื นำไปสู่การยอมรบั และความเขา้ ใจ ซึ่งกันและกนั หน้า 23 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๑. วเิ คราะห์หนา้ ทแี่ ละบทบาทของสาวก  หนา้ ท่ขี องพระภิกษุในการปฏิบัติ และปฏบิ ัตติ นต่อสาวก ตามที่กำหนดได้ ตามหลกั พระธรรมวนิ ยั และจริยวตั ร ถกู ตอ้ ง อยา่ งเหมาะสม  การปฏิบตั ิตนต่อพระภกิ ษุในงาน ศาสนพิธีทบ่ี า้ น การสนทนา การแตง่ กาย มรรยาทการพูดกับพระภิกษตุ ามฐานะ ๒. ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บคุ คล  การเปน็ ศษิ ยท์ ่ดี ี ตามหลกั ทศิ เบื้องขวา ใน ต่าง ๆ ตามหลกั ศาสนา ตามท่ีกำหนด ทศิ ๖ ของพระพทุ ธศาสนา ๓. ปฏิบัติหน้าท่ขี องศาสนิกชนทด่ี ี  การปฏิบตั ิหนา้ ที่ชาวพทุ ธตามพทุ ธ ปณิธาน ๔ ในมหาปรนิ ิพพานสตู ร ๔. ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพิธพี ิธีกรรมได้ถูกต้อง  พธิ ที ำบญุ งานมงคล งานอวมงคล  การนิมนต์พระภกิ ษุ การเตรยี มท่ตี ง้ั พระพทุ ธรปู และเครอ่ื งบูชา การวงดา้ ย สายสญิ จน์ การปูลาดอาสนะ การเตรยี ม เคร่อื งรบั รอง การจุดธูปเทียน  ข้อปฏิบตั ใิ นวนั เลย้ี งพระ การถวายขา้ ว พระพุทธ การถวายไทยธรรม การกรวดนำ้ ๕. อธบิ ายประวัตวิ ันสำคญั ทางศาสนา ➢ ประวัตวิ นั สำคัญทางพระพทุ ธศาสนาใน ตามทีก่ ำหนดและปฏิบตั ิตนได้ถกู ต้อง ประเทศไทย  วันวสิ าขบูชา (วันสำคญั สากล)  วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ ➢ หลกั ปฏบิ ัติตน : การฟงั พระธรรม เทศนา การแต่งกายในการประกอบ ศาสนพธิ ีท่ีวดั การงดเว้นอบายมขุ ➢ การประพฤตปิ ฏิบตั ิในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคัญ ๖. แสดงตนเปน็ พุทธมามกะ หรอื ➢ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ แสดงตนเป็นศาสนกิ ชนของศาสนา  ขัน้ เตรียมการ ท่ตี นนับถือ  ข้ันพิธีการ หนา้ 24 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๗. นำเสนอแนวทางในการธำรงรักษา  การศกึ ษาเรียนรเู้ ร่อื งองคป์ ระกอบของ ศาสนาท่ีตนนับถือ พระพุทธศาสนา นำไปปฏิบัติและเผย ม.๔-ม.๖ ๑. ปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ดี ีตอ่ สาวก แผต่ ามโอกาส สมาชกิ ในครอบครัว และคนรอบขา้ ง  การศึกษาการรวมตัวขององคก์ ร ชาวพทุ ธ  การปลกู จติ สำนกึ ในด้านการบำรุงรกั ษา วัดและพทุ ธสถานให้เกิดประโยชน์ ➢ ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ชาวพุทธท่ีดตี ่อพระภิกษุ  การเขา้ ใจในกิจของพระภิกษุ เชน่ การศึกษา การปฏิบัติธรรม และ การเป็นนกั บวชทด่ี ี  คุณสมบัตทิ ายกและปฏิคาหก  หน้าทแ่ี ละบทบาทของพระภกิ ษุ ใน ฐานะพระนกั เทศก์ พระธรรมทูต พระธรรมจาริก พระ วทิ ยากร พระวิปสั สนาจารย์ และ พระนกั พัฒนา  การปกป้องคุ้มครอง พระพทุ ธศาสนาของพทุ ธบรษิ ทั ใน สงั คมไทย  การปฏบิ ตั ิตนต่อพระภิกษทุ างกาย วาจา และใจ ท่ปี ระกอบดว้ ย เมตตา  การปฏิสันถารทเ่ี หมาะสมตอ่ พระภิกษุ ในโอกาสตา่ ง ๆ ➢ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชิกทด่ี ีของครอบครวั และสังคม  การรักษาศีล ๘  การเข้าร่วมกจิ กรรมและเป็นสมาชกิ ขององค์กรชาวพุทธ หน้า 25 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง  การเป็นชาวพุทธทด่ี ี ตามหลกั ทศิ เบื้องบน ในทศิ ๖  การปฏิบัติตนทเ่ี หมาะสมในฐานะ ผู้ปกครองและ ผูอ้ ยู่ในปกครอง ตามหลักทิศเบอ้ื งล่าง ในทิศ ๖  การปฏสิ นั ถารตามหลัก ปฏสิ ันถาร ๒  หน้าทแ่ี ละบทบาทของอุบาสก อุบาสิกาทม่ี ีต่อสงั คมไทยในปัจจบุ ัน  การปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกที่ดีของ ครอบครวั ตามหลกั ทิศเบ้อื งหลัง ในทศิ ๖  การบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชนต์ อ่ ครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติ และโลก ๒. ปฏิบัติตนถกู ตอ้ งตามศาสนพิธพี ธิ กี รรม ➢ ประเภทของศาสนพธิ ใี นพระพุทธศาสนา ตามหลักศาสนาที่ตนนบั ถอื  ศาสนพธิ เี น่อื งดว้ ยพทุ ธบญั ญัติ เช่น พิธแี สดงตนเปน็ พุทธมามกะ พธิ เี วยี นเทียน ถวายสงั ฆทาน ถวายผ้าอาบนำ้ ฝน พิธีทอดกฐิน พธิ ปี วารณา เป็นต้น  ศาสนพธิ ที ่นี ำพระพทุ ธศาสนา เข้าไปเกย่ี วเนอื่ ง เช่น การทำบญุ เล้ียงพระในโอกาสตา่ งๆ ➢ ความหมาย ความสำคัญ คติธรรม ในพิธกี รรม บทสวดมนต์ของนักเรียน งานพิธี คณุ คา่ และประโยชน์ หนา้ 26 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ➢ พิธบี รรพชาอปุ สมบท คุณสมบัติของ ผขู้ อบรรพชาอุปสมบท เครือ่ ง อฏั ฐบรขิ าร ประโยชน์ของการ บรรพชาอุปสมบท ➢ บญุ พิธี ทานพธิ ี กุศลพธิ ี ➢ คณุ ค่าและประโยชน์ของศาสนพธิ ี ๓. แสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะหรือ ➢ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ แสดงตนเปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนา  ข้นั เตรียมการ ทต่ี นนับถือ  ขัน้ พิธกี าร ๔. วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรมท่ี เกีย่ วเนื่องกบั วนั สำคัญทางศาสนา และ  หลักธรรม/คตธิ รรมท่เี กยี่ วเน่ืองกบั เทศกาลที่สำคญั ของศาสนาท่ีตนนบั ถอื วันสำคัญ และเทศกาลท่ีสำคัญใน และปฏบิ ตั ติ นได้ถกู ต้อง พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาอ่ืน ๕. สมั มนาและเสนอแนะแนวทางในการ  การปฏบิ ัติตนที่ถกู ตอ้ งในวันสำคญั ธำรงรักษาศาสนาทต่ี นนับถอื อนั ส่งผลถงึ และเทศกาลที่สำคัญในพระพทุ ธศาสนา การพัฒนาตน พฒั นาชาตแิ ละโลก หรือศาสนาอ่นื  การปกปอ้ ง คุม้ ครอง ธำรงรกั ษา พระพทุ ธศาสนาของพุทธบริษทั ในสังคมไทย  การปลกู จิตสำนึก และการมีส่วนร่วม ในสงั คมพทุ ธ หนา้ 27 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สาระที่ ๒ หนา้ ที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวติ ในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏบิ ัตติ นตามหนา้ ท่ีของการเป็นพลเมอื งดี มีค่านิยมท่ดี งี ามและธำรงรกั ษา ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวติ อยรู่ ว่ มกันในสงั คมไทยและสังคมโลกอยา่ งสันตสิ ุข ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง  กฎหมายในการคุ้มครองสิทธขิ องบคุ คล ม.๑ ๑. ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายในการคุ้มครอง สทิ ธิของบคุ คล - กฎหมายการค้มุ ครองเด็ก - กฎหมายการศึกษา - กฎหมายการคมุ้ ครองผู้บริโภค - กฎหมายลิขสิทธิ์  ประโยชนข์ องการปฏิบัติตนตามกฎหมาย การคุ้มครองสิทธขิ องบุคคล ๒. ระบุความสามารถของตนเอง  บทบาทและหนา้ ทข่ี องเยาวชนท่ีมตี ่อ ในการทำประโยชนต์ ่อสงั คมและ สังคมและประเทศชาติ โดยเน้นจติ ประเทศชาติ สาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม ปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย มีสว่ นรว่ มและ ๓. อภปิ รายเกยี่ วกับคณุ ค่าทางวัฒนธรรม รบั ผดิ ชอบในกจิ กรรมทางสังคม อนุรกั ษ์ ทเ่ี ป็นปจั จัยในการสร้างความสัมพันธท์ ่ีดี ทรัพยากรธรรมชาติ รักษา หรืออาจนำไปสู่ความเขา้ ใจผดิ ต่อกนั สาธารณประโยชน์ ๔. แสดงออกถงึ การเคารพในสิทธขิ อง  ความคลา้ ยคลึงและความแตกตา่ งระหว่าง ตนเองและผ้อู ืน่ วฒั นธรรมไทยกบั วฒั นธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออก เฉยี งใต้  วัฒนธรรมทเ่ี ป็นปจั จยั ในการสรา้ ง ความสมั พนั ธท์ ดี่ ี หรอื อาจนำไปสคู่ วาม เขา้ ใจผดิ ต่อกัน  วิธีปฏบิ ตั ิตนในการเคารพในสิทธิของ ตนเองและผู้อืน่  ผลทไี่ ด้จากการเคารพในสทิ ธิของตนเอง และผอู้ น่ื หน้า 28 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.๒ ๑. อธบิ ายและปฏิบัติตนตามกฎหมายท่ี  กฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องกับตนเอง ครอบครวั เกยี่ วข้องกบั ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและ เช่น - กฎหมายเกย่ี วกบั ความสามารถของ ประเทศ ผู้เยาว์ - กฎหมายบัตรประจำตัวประชาชน - กฎหมายเพ่งเก่ียวกับครอบครัวและ มรดก เช่น การหม้นั การสมรส การรบั รองบุตร การรับบตุ รบุญธรรม และมรดก  กฎหมายที่เกี่ยวกับชมุ ชนและประเทศ - กฎหมายเก่ยี วกับการอนรุ ักษธ์ รรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม - กฎหมายเกยี่ วกับภาษีอากร และกรอก แบบแสดงรายการ ภาษเี งินได้บคุ คล ธรรมดา - กฎหมายแรงงาน ๒. เหน็ คุณค่าในการปฏบิ ตั ิตนตาม  สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ หนา้ ท่ี หนา้ ท่ีในฐานะพลเมอื งดตี ามวิถี ในฐานะพลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธิปไตย ประชาธิปไตย ๓. วเิ คราะห์บทบาท ความสำคัญ และ  แนวทางสง่ เสริมให้ปฏิบตั ิตนเป็น ความสัมพนั ธข์ องสถาบนั ทางสังคม พลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย ๔.อธิบายความคล้ายคลงึ และความ แตกต่างของวัฒนธรรมไทย และ  บทบาท ความสำคัญและความสมั พันธ์ วฒั นธรรมของประเทศในภูมภิ าคเอเชยี ของสถาบันทางสังคม เช่น สถาบนั เพือ่ นำไปสคู่ วามเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งกนั ครอบครวั สถาบันการศึกษา สถาบัน ศาสนา สถาบันเศรษฐกจิ สถาบนั ทางการเมอื งการปกครอง  ความคล้ายคลงึ และความแตกต่างของ วฒั นธรรมไทย และวัฒนธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรม เปน็ ปจั จัยสำคญั ในการสร้างความเข้าใจ อันดีระหว่างกนั หนา้ 29 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.๓ ๑. อธิบายความแตกตา่ งของการกระทำ  ลกั ษณะการกระทำความผดิ ทางอาญา ความผิดระหว่างคดีอาญาและคดแี พ่ง และโทษ  ลักษณะการกระทำความผิดทางแพง่ และโทษ  ตวั อย่างการกระทำความผดิ ทางอาญา เชน่ ความผิดเกย่ี วกบั ทรัพย์  ตัวอย่างการทำความผิดทางแพง่ เช่น การทำผิดสัญญา การทำละเมิด ๒. มีส่วนร่วมในการปกป้องคมุ้ ครองผอู้ ่นื  ความหมาย และความสำคญั ของสิทธิ ตามหลกั สิทธมิ นุษยชน มนษุ ยชน  การมีส่วนรว่ มคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชน ตามรฐั ธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ตามวาระและโอกาสที่เหมาะสม ๓. อนุรกั ษว์ ฒั นธรรมไทยและเลอื กรับ  ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมสากลท่เี หมาะสม ภมู ปิ ัญญาไทยและวัฒนธรรมสากล  การอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมไทยและ ภมู ปิ ญั ญาไทยที่เหมาะสม  การเลือกรับวฒั นธรรมสากลท่เี หมาะสม ๔. วิเคราะหป์ จั จัยทกี่ ่อให้เกิดปญั หาความ  ปัจจยั ที่ก่อใหเ้ กิดความขดั แย้ง เชน่ ขัดแย้งในประเทศ และเสนอแนวคดิ ใน การเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ การลดความขัดแย้ง สงั คม ความเชอื่  สาเหตุปัญหาทางสังคม เชน่ ปัญหา ส่งิ แวดลอ้ ม ปัญหายาเสพติด ปญั หา การทุจริต ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ  แนวทางความร่วมมือในการลดความ ขดั แย้งและการสรา้ งความสมานฉันท์ ๕. เสนอแนวคดิ ในการดำรงชีวิตอยา่ งมี  ปัจจยั ท่ีส่งเสริมการดำรงชวี ิตให้มี ความสขุ ในประเทศและสงั คมโลก ความสขุ เชน่ การอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมี ขันติธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เห็นคณุ คา่ ในตนเอง รจุ้ กั มอง โลกในแง่ดี สร้างทักษะทางอารมณ์ รจู้ กั บรโิ ภคด้วยปญั ญา เลือกรับ-ปฏเิ สธข่าว และวตั ถุต่างๆ ปรับปรุงตนเองและส่ิง ต่างๆให้ดขี น้ึ อย่เู สมอ หนา้ 30 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.๔-ม.๖ ๑. วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายที่  กฎหมายเพ่งเก่ยี วกบั นติ ิกรรมสัญญา เชน่ เกย่ี วขอ้ งกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ซื้อขาย ขายฝาก เช่าทรพั ย์ เช่าซือ้ กูย้ ืม ประเทศชาติ และสังคมโลก เงิน จำนำ จำนอง  กฎหมายอาญา เชน่ ความผิดเกีย่ วกบั ทรัพย์ความผิดเกี่ยวกับชวี ิตและร่างกาย  กฎหมายอน่ื ที่สำคัญ เช่น รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปจั จุบัน กฎหมายการรับราชการทหาร กฎหมาย ภาษีอากร กฎหมายคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค  ขอ้ ตกลงระหว่างประเทศ เชน่ ปฏิญญา สากลวา่ ด้วยสิทธิมนุษยชน กฎหมาย มนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ ๒. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของโครงสรา้ ง  โครงสร้างทางสังคม ทางสงั คม การขดั เกลาทางสังคม และ - การจดั ระเบียบทางสงั คม การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม - สถาบนั ทางสงั คม  การขดั เกลาทางสงั คม  การเปล่ยี นแปลงทางสังคม  การแกป้ ญั หาและแนวทางการพฒั นา ทางสงั คม ๓. ปฏิบัตติ นและมีส่วนสนบั สนนุ ใหผ้ ู้อื่น  คุณลกั ษณะพลเมืองดีของประเทศชาติ ประพฤติปฏบิ ัติเพือ่ เป็นพลเมอื งดีของ และสงั คมโลก เชน่ ประเทศชาติ และสงั คมโลก - เคารพกฎหมาย และกตกิ าสังคม - เคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเองและ บคุ คลอน่ื - มเี หตผุ ล รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น - มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน ประเทศชาตแิ ละสงั คม - เขา้ รว่ มกิจกรรมทางการเมือง การปกครอง - มีสว่ นร่วมในการป้องกนั แก้ไข ปัญหาเศรษฐกจิ สงั คม การเมืองการปกครอง สิ่งแวดล้อม - มีคุณธรรมจริยธรรม ใช้เป็น ตัวกำหนดความคิด หนา้ 31 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. ประเมินสถานการณ์สทิ ธมิ นษุ ยชนใน  ความหมาย ความสำคญั แนวคิดและ ประเทศไทย และเสนอแนวทางพฒั นา หลักการของสิทธมิ นษุ ยชน  บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศ ในเวทีโลกทม่ี ีผลตอ่ ประทศไทย  สาระสำคัญของปฏิญญาสากลวา่ ด้วยสิทธิ มนุษยชน  บทบญั ญัตขิ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบับปจั จุบัน เก่ียวกบั สิทธมิ นุษยชน  ปญั หาสทิ ธิมนุษยชนในประเทศ และแนวทางแก้ปญั หาและพฒั นา ๕. วิเคราะหค์ วามจำเปน็ ทต่ี อ้ งมีการ  ความหมายและความสำคญั ของวฒั นธรรม ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลงและอนุรกั ษ์  ลักษณะและ ความสำคญั ของวฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมไทยและเลอื กรบั วัฒนธรรม ทีส่ ำคญั สากล  การปรับปรุงเปล่ียนแปลงและอนุรกั ษ์ วฒั นธรรมไทย  ความแตกตา่ งระหว่างวฒั นธรรมไทยกับ วัฒนธรรมสากล  แนวทางการอนุรักษ์วฒั นธรรมไทย ที่ดงี าม  วิธกี ารเลือกรบั วฒั นธรรมสากล หน้า 32 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สาระที่ ๒ หน้าทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปัจจบุ นั ยึดมนั่ ศรทั ธาและธำรงรกั ษาไวซ้ ึ่ง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.๑ ๑. อธิบายหลกั การ เจตนารมณ์ โครงสร้าง  หลกั การ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และ และสาระสำคัญของรฐั ธรรมนญู แห่ง สาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบัน ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั โดยสงั เขป ๒. วเิ คราะหบ์ ทบาทการถ่วงดุลของ  การแบ่งอำนาจ และการถ่วงดุลอำนาจ อำนาจอธปิ ไตยในรฐั ธรรมนูญแหง่ อธิปไตยทงั้ ๓ ฝา่ ย คอื นิตบิ ัญญัติ บริหาร ราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน ตุลาการ ตามทีร่ ะบใุ นรฐั ธรรมนญู แห่ง ราชอาณาจกั รไทยฉบับปัจจบุ นั ๓. ปฏิบัตติ นตามบทบญั ญตั ขิ อง  การปฏบิ ัติตนตามบทบญั ญัติของ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบับ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปจั จบุ ันทเี่ กย่ี วข้องกบั ตนเอง ปัจจุบัน เกีย่ วกบั สิทธิ เสรภี าพและหนา้ ที่ ม.๒ ๑. อธบิ ายกระบวนการในการตรา  กระบวนการในการตรากฎหมาย กฎหมาย - ผู้มสี ทิ ธเิ สนอร่างกฎหมาย - ข้นั ตอนการตรากฎหมาย - การมีส่วนรว่ มของประชาชนใน กระบวนการตรากฎหมาย ๒. วเิ คราะห์ขอ้ มูล ข่าวสารทางการเมือง  เหตกุ ารณ์ และการเปลย่ี นแปลงสำคัญของ การปกครองท่มี ผี ลกระทบต่อสังคมไทย ระบอบการปกครองของไทย สมัยปัจจุบนั  หลกั การเลอื กข้อมูล ขา่ วสาร ม.๓ ๑. อธิบายระบอบการปกครองแบบต่างๆ  ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ท่ีใช้ในยคุ ที่ใช้ในยคุ ปัจจุบัน ปัจจุบัน เชน่ การปกครองแบบ  เผดจ็ การ การปกครองแบบประชาธปิ ไตย  เกณฑก์ ารตดั สินใจ ๒. วเิ คราะห์ เปรยี บเทียบระบอบการ  ความแตกต่าง ความคล้ายคลงึ ของการ ปกครองของไทยกบั ประเทศอ่ืนๆ ท่ีมกี าร ปกครองของไทย กบั ประเทศอน่ื ๆ ทม่ี ี ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบประชาธิปไตย หนา้ 33 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓. วเิ คราะหร์ ัฐธรรมนญู ฉบบั ปัจจุบันใน  บทบัญญตั ิของรัฐธรรมนญู ในมาตราตา่ งๆ มาตราต่างๆ ที่เก่ียวข้องกบั การเลอื กตัง้ การมสี ว่ นรว่ ม และการตรวจสอบการใช้ ทเี่ ก่ยี วข้องกับการเลือกตงั้ การมสี ว่ นรว่ ม อำนาจรฐั และการตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ  อำนาจหน้าทีข่ องรฐั บาล  บทบาทสำคัญของรัฐบาลในการบริหาร ราชการแผ่นดิน  ความจำเป็นในการมรี ัฐบาลตามระบอบ ประชาธิปไตย ๔. วิเคราะห์ประเดน็ ปัญหาท่ีเปน็  ประเด็น ปัญหาและผลกระทบทเี่ ป็น อุปสรรคตอ่ การพฒั นาประชาธิปไตยของ อปุ สรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของ ประเทศไทยและเสนอแนวทางแกไ้ ข ประเทศไทย  แนวทางการแก้ไขปัญหา ม.๔-ม.๖ ๑. วเิ คราะหป์ ญั หาการเมืองทีส่ ำคัญใน  ปัญหาการเมืองสำคัญที่เกิดขึน้ ประเทศ จากแหล่งขอ้ มลู ตา่ งๆ พร้อมท้ัง ภายในประเทศ เสนอแนวทางแก้ไข  สถานการณ์การเมืองการปกครอง ของสงั คมไทย และสังคมโลก และ การประสานประโยชนร์ ่วมกนั  อทิ ธพิ ลของระบบการเมืองการปกครอง ท่มี ีผลต่อการดำเนินชีวิตและความสัมพนั ธ์ ระหว่างประเทศ ๒. เสนอแนวทาง ทางการเมอื งการ  การประสานประโยชนร์ ่วมกนั ระหว่าง ปกครองที่นำไปส่คู วามเข้าใจ และ ประเทศ เช่น การสรา้ งความสัมพันธ์ การประสานประโยชนร์ ่วมกนั ระหวา่ ง ระหว่างไทยกบั ประเทศต่าง ๆ ประเทศ  การแลกเปลีย่ นเพ่อื ชว่ ยเหลอื และส่งเสริม ดา้ นวัฒนธรรม การศึกษา เศรษฐกจิ สังคม ๓. วิเคราะหค์ วามสำคัญและ ความจำเปน็  การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี ทตี่ อ้ งธำรงรักษาไว้ซงึ่ การปกครองตาม พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ - รูปแบบของรฐั ทรงเป็นประมุข - ฐานะและพระราชอำนาจของ พระมหากษตั ริย์ หน้า 34 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการ ตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรฐั  การตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ ตาม รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบับ ปัจจบุ ัน ที่มีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงทาง สงั คม เชน่ การตรวจสอบโดยองค์กรอสิ ระ การตรวจสอบโดยประชาชน สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากร ทีม่ อี ย่จู ำกดั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและคมุ้ คา่ รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อการดำรงชวี ติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.๑ ๑. อธิบายความหมายและความสำคญั  ความหมายและความสำคญั ของ ของเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เบื้องตน้  ความหมายของคำว่าทรพั ยากรมีจำกัดกับ ความต้องการมีไม่จำกัด ความขาดแคลน ๒. วิเคราะหค์ ่านยิ มและพฤตกิ รรมการ การเลอื กและค่าเสยี โอกาส บรโิ ภคของคนในสังคมซง่ึ สง่ ผลตอ่ เศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ  ความหมายและความสำคัญของการบริโภค อย่างมปี ระสิทธิภาพ  หลกั การในการบรโิ ภคที่ดี  ปัจจยั ทีม่ ีอิทธพิ ลต่อพฤติกรรมการบริโภค  ค่านิยมและพฤติกรรมของการบริโภคของคน ในสงั คมปัจจุบัน รวมทั้งผลดแี ละผลเสยี ของ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว ๓. อธิบายความเป็นมาหลักการและ  ความหมายและความเป็นมาของปรชั ญาของ ความสำคญั ของปรัชญาของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพียง พอเพยี งต่อสังคมไทย  ความเปน็ มาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ ัวรวมท้งั โครงการตาม พระราชดำริ  หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หนา้ 35 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง  การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำรงชวี ิต  ความสำคญั คณุ ค่าและประโยชนข์ องปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งต่อสงั คมไทย ม.๒ ๑. วเิ คราะหป์ ัจจัยที่มผี ลตอ่ การลงทนุ และ  ความหมายและความสำคญั ของการลงทุน การออม และการออมตอ่ ระบบเศรษฐกจิ  การบริหารจดั การเงนิ ออมและการลงทนุ ภาคครวั เรือน  ปัจจยั ของการลงทนุ และการออมคอื อัตรา ดอกเบี้ย รวมทงั้ ปัจจยั อนื่ ๆ เชน่ ค่าของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต  ปัญหาของการลงทนุ และการออมใน สงั คมไทย ๒. อธบิ ายปัจจยั การผลิตสนิ คา้ และบริการ  ความหมาย ความสำคัญ และหลักการผลติ และปัจจยั ที่มอี ทิ ธิพลตอ่ การผลิตสินคา้ สนิ คา้ และบรกิ ารอย่างมีประสิทธิภาพ และบรกิ าร  สำรวจการผลติ สนิ ค้าในทอ้ งถนิ่ ว่ามีการผลิต อะไรบา้ ง ใชว้ ธิ กี ารผลิตอยา่ งไร มปี ัญหา ดา้ นใดบ้าง  มีการนำเทคโนโลยีอะไรมาใช้ที่มีผลต่อ การผลติ สินคา้ และบริการ  นำหลักการผลิตมาวเิ คราะหก์ ารผลติ สนิ ค้า และบรกิ ารในท้องถิน่ ทง้ั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม ๓. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลติ ใน  หลักการและเปา้ หมายปรชั ญาของเศรษฐกจิ ท้องถิ่นตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พอเพยี ง  สำรวจและวเิ คราะหป์ ัญหาการผลิตสินคา้ และบรกิ ารในทอ้ งถ่ิน  ประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใน การผลติ สนิ คา้ และบริการในท้องถ่นิ ๔. อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธขิ อง  การรกั ษาและคุ้มครองสทิ ธปิ ระโยชน์ของ ตนเองในฐานะผ้บู รโิ ภค ผบู้ ริโภค หนา้ 36 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง  กฎหมายคมุ้ ครองสทิ ธิผุบ้ รโิ ภคและหนว่ ยงาน ทีเ่ กี่ยวข้อง  การดำเนนิ กจิ กรรมพทิ ักษส์ ิทธิและ ผลประโยชน์ตามกฎหมายในฐานะผ้บู รโิ ภค  แนวทางการปกปอ้ งสิทธิของผู้บรโิ ภค ม.๓ ๑. อธบิ ายกลไกราคาในระบบเศรษฐกจิ  ความหมายและประเภทของตลาด  ความหมายและตัวอยา่ งของอปุ สงคแ์ ละอุปทาน  ความหมายและความสำคัญของกลไกราคา และการกำหนดราคาในระบบเศรษฐกจิ  หลกั การปรบั และเปลยี่ นแปลงราคาสินค้า และบริการ ๒. มสี ่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหาและ  สำรวจสภาพปัจจบุ ันปัญหาท้องถ่นิ ทัง้ พฒั นาท้องถิ่นตามปรชั ญาของเศรษฐกิจ ทางด้านสงั คม เศรษฐกิจและสิ่งแวดลอ้ ม พอเพยี ง  วิเคราะห์ปญั หาของทอ้ งถนิ่ โดยใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง  แนวทางการแก้ไขและพัฒนาทอ้ งถิน่ ตาม ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. วเิ คราะห์ความสัมพันธร์ ะหวา่ งแนวคดิ  แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี งกับการพฒั นาใน เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ระบบสหกรณ์ ระดับต่าง ๆ  หลักการสำคญั ของระบบสหกรณ์  ความสัมพันธร์ ะหว่างแนวคิดเศรษฐกิ พอเพียงกับหลักการและระบบของสหกรณ์เพือ่ ประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาเศรษฐกิจชมุ ชน ม.๔–ม.๖ ๑. อภปิ รายการกำหนดราคาและคา่ จ้าง  ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบัน ผลดีและ ในระบบเศรษฐกจิ ผลเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ  ตลาดและประเภทของตลาด ข้อดแี ละ ขอ้ เสียของตลาดประเภทตา่ ง ๆ  การกำหนดราคาตามอุปสงค์ และอปุ ทาน การกำหนดราคาในเชงิ กลยุทธท์ ่มี ีในสงั คมไทย  การกำหนดคา่ จ้าง กฎหมายท่ีเกยี่ วข้องและ อัตราค่าจ้างแรงงานในสงั คมไทย หน้า 37 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง  บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา และการ ควบคุมราคาเพ่ือการแจกจ่าย และจัดสรรในทาง เศรษฐกิจ ๒. ตระหนักถงึ ความสำคัญของปรชั ญา  การประยกุ ตใ์ ช้เศรษฐกิจพอเพียง ของเศรษฐกิจพอเพียงท่มี ีต่อเศรษฐกิจ ในการดำเนินชวี ติ ของตนเอง และครอบครัว สงั คมของประเทศ  การประยกุ ตใ์ ช้เศรษฐกิจพอเพยี งใน ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา้ และบรกิ าร  ปญั หาการพัฒนาประเทศท่ีผา่ นมา โดย การศกึ ษาวิเคราะห์แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ สังคมฉบบั ที่ผา่ นมา  การพฒั นาประเทศที่นำปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งมาใช้ ในการวางแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมฉบับปัจจบุ ัน ๓. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของระบบ  ววิ ัฒนาการของสหกรณใ์ นประเทศไทย สหกรณใ์ นการพัฒนาเศรษฐกิจในระดบั  ความหมายความสำคญั และหลักการของระบบ ชุมชนและประเทศ สหกรณ์  ตัวอยา่ งและประเภทของสหกรณ์ในประเทศไทย  ความสำคัญของระบบสหกรณใ์ นการพฒั นา เศรษฐกิจในชมุ ชนและประเทศ ๔. วิเคราะห์ปญั หาทางเศรษฐกิจ  ปญั หาทางเศรษฐกิจในชุมชน ในชุมชนและเสนอแนวทางแก้ไข  แนวทางการพัฒนาเศรษฐกจิ ของชมุ ชน  ตวั อยา่ งของการรวมกลุม่ ทป่ี ระสบ ความสำเรจ็ ในการแกป้ ญั หาทางเศรษฐกิจ ของชมุ ชน หนา้ 38 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ และความจำเป็นของ การรว่ มมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. วเิ คราะหบ์ ทบาทหนา้ ที่และความ  ความหมาย ประเภท และความสำคญั แตกต่างของสถาบนั การเงนิ แต่ละประเภท ของสถาบันการเงนิ ทีม่ ตี อ่ ระบบเศรษฐกิจ และธนาคารกลาง  บทบาทหนา้ ทแี่ ละความสำคัญของ ธนาคารกลาง  การหารายได้ รายจ่าย การออม การ ลงทุน ซ่งึ แสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผูผ้ ลิต ผบู้ ริโภค และสถาบันการเงิน ๒. ยกตัวอย่างท่ีสะท้อนใหเ้ ห็นการพงึ่ พา  ยกตวั อย่างท่ีสะทอ้ นให้เห็นการพง่ึ พา อาศยั กัน และการแขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกจิ อาศัยกันและกนั การแข่งขนั กันทาง ในประเทศ เศรษฐกิจในประเทศ  ปญั หาเศรษฐกิจในชุมชน ประเทศ และ เสนอแนวทางแกไ้ ข ๓. ระบปุ ัจจัยทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการกำหนด อปุ  ความหมายและกฎอปุ สงค์ อุปทาน สงคแ์ ละอุปทาน  ปัจจยั ท่มี อี ิทธพิ ลต่อการกำหนดอุปสงค์ และอปุ ทาน ๔. อภิปรายผลของการมกี ฎหมายเก่ียวกบั  ความหมายและความสำคัญของทรัพย์สนิ ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา ทางปญั ญา  กฎหมายทเี่ กี่ยวกับการคุ้มครองทรัพยส์ นิ ทางปัญญาพอสงั เขป  ตวั อยา่ งการละเมิดแห่งทรัพยส์ ินทาง ปญั ญาแตล่ ะประเภท ม.๒ ๑. อภปิ รายระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ  ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ ๒. ยกตวั อย่างท่ีสะท้อนให้เหน็  หลักการและผลกระทบการพ่งึ พาอาศัย การพึ่งพาอาศัยกนั และการแข่งขนั กัน กนั และการแข่งขันกนั ทางเศรษฐกจิ ใน ทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย ภูมิภาคเอเชยี หนา้ 39 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๓. วเิ คราะห์การกระจายของทรัพยากร  การกระจายของทรพั ยากรในโลกท่ีสง่ ผล ในโลกท่ีส่งผลต่อความสัมพันธ์ทาง ต่อความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจระหวา่ ง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประเทศ เช่น น้ำมัน ปา่ ไม้ ทองคำ ถา่ นหนิ แร่ เปน็ ต้น ๔. วเิ คราะหก์ ารแข่งขันทางการค้า  การแข่งขนั ทางการค้าในประเทศและ ในประเทศและตา่ งประเทศส่งผลตอ่ ตา่ งประเทศ คุณภาพสนิ ค้า ปริมาณการผลติ และ ราคาสนิ ค้า ม.๓ ๑. อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลใน  บทบาทหนา้ ท่ขี องรัฐบาลในการพัฒนา ระบบเศรษฐกิจ ประเทศในดา้ นต่าง ๆ  บทบาทและกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของ รัฐบาล เช่นการผลติ สินค้าและบรกิ าร สาธารณะที่เอกชนไม่ดำเนินการ เช่น ไฟฟา้ ถนน โรงเรยี น - บทบาทการเก็บภาษีเพอื่ พฒั นา ประเทศ ของรฐั ในระดับต่าง ๆ - บทบาทการแทรกแซงราคาและ การควบคมุ ราคาเพอื่ การแจกจ่ายและ การจัดสรรในทางเศรษฐกจิ  บทบาทอ่ืนของรฐั บาลในระบบเศรษฐกจิ ในสังคมไทย ๒. แสดงความคิดเห็นต่อนโยบาย และ  นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ กิจกรรมทาง เศรษฐกิจของรฐั บาลท่ีมีตอ่ รัฐบาล บุคคล กลุ่มคน และประเทศชาติ ๓. อภิปรายบทบาทความสำคญั ของ  บทบาทความสำคัญของการรวมกลุม่ ทาง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ  ลักษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ  กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคต่างๆ ๔. อภปิ รายผลกระทบท่เี กิดจากภาวะ  ผลกระทบท่ีเกิดจากภาวะเงนิ เฟอ้ เงนิ ฝดื เงินเฟอ้ เงนิ ฝดื ความหมายสาเหตุและแนวทางแก้ไข ภาวะเงินเฟอ้ เงินฝืด ๕. วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงาน และ  สภาพและสาเหตปุ ัญหาการวา่ งงาน แนวทางแกป้ ญั หา  ผลกระทบจากปัญหาการวา่ งงาน  แนวทางการแก้ไขปัญหาการว่างงาน หนา้ 40 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๖. วิเคราะหส์ าเหตแุ ละวธิ กี ารกีดกันทาง  การค้าและการลงทนุ ระหว่างประเทศ การคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ  สาเหตุและวิธีการกดี กันทางการค้าใน การคา้ ระหว่างประเทศ ม.๔–ม.๖ ๑. อธิบายบทบาทของรัฐบาลด้าน  บทบาทของนโยบายการเงนิ และการคลัง นโยบายการเงิน การคลังในการพฒั นา ของรัฐบาลในดา้ น เศรษฐกจิ ของประเทศ - การรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ - การสร้างการเจริญเติบโตทาง ๒. วเิ คราะห์ผลกระทบของการเปิดเสรี เศรษฐกิจ ทางเศรษฐกจิ ในยคุ โลกาภิวตั นท์ ีม่ ีผลตอ่ - การรักษาดุลการคา้ ระหว่างประเทศ สังคมไทย - การแทรกแซงราคาและการควบคมุ ราคา  รายรับและรายจ่ายของรัฐท่มี ีผลตอ่ งบประมาณ หนี้สาธารณะ การพฒั นา ทางเศรษฐกจิ และคุณภาพชีวติ ของ ประชาชน - นโยบายการเกบ็ ภาษปี ระเภทตา่ ง ๆ และการใช้จ่ายของรฐั - แนวทางการแกป้ ัญหาการว่างงาน  ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบที่เกดิ จากภาวะทางเศรษฐกิจ เชน่ เงินเฟ้อ เงนิ ฝืด  ตวั ช้ีวดั ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ เช่น GDP , GNP รายได้เฉลย่ี ต่อบคุ คล  แนวทางการแก้ปญั หาของนโยบายการเงนิ การคลงั  ววิ ฒั นาการของการเปดิ เสรที างเศรษฐกจิ ในยุคโลกาภิวัตน์ของไทย  ปัจจยั ทางเศรษฐกิจท่ีมผี ลตอ่ การเปิดเสรี ทางเศรษฐกิจของประเทศ หนา้ 41 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง  ผลกระทบของการเปดิ เสรีทางเศรษฐกิจ ของประเทศท่มี ตี ่อภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้าและบริการ  การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ  บทบาทขององคก์ รระหว่างประเทศใน เวทกี ารเงินโลกท่ีมผี ลกับประเทศไทย ๓. วิเคราะหผ์ ลดี ผลเสยี ของความรว่ มมือ  แนวคดิ พ้ืนฐานท่ีเก่ียวข้องกบั การค้าระหวา่ ง ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในรูปแบบ ประเทศ ตา่ ง ๆ  บทบาทขององค์การความร่วมมือทาง เศรษฐกจิ ที่สำคญั ในภมู ิภาคต่าง ๆ ของ โลก เชน่ WTO , NAFTA , EU , IMF , ADB , OPEC , FTA , APECในระดับต่าง ๆ เขตส่ีเหลี่ยมเศรษฐกิจ  ปัจจยั ต่าง ๆ ท่ีนำไปสู่การพ่ึงพา การ แขง่ ขนั การขดั แย้ง และการประสาน ประโยชนท์ างเศรษฐกจิ  ตัวอย่างเหตกุ ารณท์ ีน่ ำไปส่กู ารพึงพาทาง เศรษฐกิจ  ผลกระทบจากการดำเนนิ กิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ  ปัจจัยต่าง ๆ ที่นำไปสกู่ ารพงึ่ พาการ แข่งขัน การขดั แยง้ และการประ สารประโยชนท์ างเศรษฐกิจวธิ กี ารกีดกนั ทางการคา้ ในการค้าระหวา่ งประเทศ หนา้ 42 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สาระท่ี ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใชว้ ธิ กี ารทาง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะหเ์ หตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.๑ ๑. วิเคราะหค์ วามสำคัญของเวลาใน  ตัวอย่างการใชเ้ วลา ช่วงเวลาและยุคสมัย การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ ท่ปี รากฏในเอกสารประวัติศาสตรไ์ ทย  ความสำคัญของเวลา และชว่ งเวลาสำหรบั การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์  ความสมั พนั ธ์และความสำคัญของอดีตที่มี ตอ่ ปจั จบุ นั และอนาคต ๒. เทยี บศกั ราชตามระบบต่างๆทีใ่ ช้ศึกษา  ท่มี าของศกั ราชที่ปรากฏในเอกสาร ประวัตศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ไทย ไดแ้ ก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร. ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.  วธิ กี ารเทียบศักราชต่างๆ และตวั อยา่ ง การเทยี บ  ตัวอย่างการใชศ้ ักราชตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏใน เอกสารประวัตศิ าสตร์ไทย ๓. นำวิธีการทางประวัตศิ าสตรม์ าใชศ้ กึ ษา  ความหมายและความสำคัญของประวตั ิศาสตร์ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ทม่ี ีความ สัมพนั ธ์เชอื่ มโยงกนั  ตวั อย่างหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ ไทยสมยั สโุ ขทยั ทง้ั หลกั ฐานชัน้ ตน้ และ หลกั ฐานชนั้ รอง ( เชอ่ื มโยงกับ มฐ. ส ๔.๓) เช่น ข้อความ ในศิลาจารกึ สมัยสุโขทัย เปน็ ต้น  นำวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษา เรื่องราวของประวัติศาสตร์ไทยทมี่ อี ยู่ใน ทอ้ งถ่นิ ตนเองในสมัยใดกไ็ ด้ (สมัยกอ่ น ประวตั ิศาสตร์ สมยั กอ่ นสโุ ขทัย สมยั สุโขทัย สมยั อยุธยา สมัยธนบรุ ี สมัยรตั นโกสินทร์ ) และเหตกุ ารณ์สำคญั ใน สมยั สโุ ขทยั หนา้ 43 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๒ ๑. ประเมนิ ความน่าเช่ือถอื ของหลักฐาน  วธิ ีการประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของ ทางประวัตศิ าสตร์ในลกั ษณะต่าง ๆ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ในลกั ษณะ ตา่ ง ๆ อยา่ งงา่ ย ๆ เชน่ การศึกษาภมู ิหลงั ของ ผู้ทำ หรือผูเ้ กีย่ วขอ้ ง สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูปลกั ษณข์ องหลกั ฐานทาง ประวัติศาสตร์ เปน็ ต้น  ตวั อยา่ งการประเมนิ ความนา่ เช่ือถอื ของ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทยทอี่ ยู่ ในทอ้ งถิ่นของตนเอง หรือหลักฐาน สมยั อยธุ ยา ( เชือ่ มโยงกบั มฐ. ส ๔.๓ ) ๒. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งระหวา่ งความจรงิ  ตวั อยา่ งการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากเอกสาร กบั ขอ้ เท็จจริงของเหตุการณท์ าง ต่าง ๆ ในสมยั อยธุ ยา และธนบรุ ี ประวัตศิ าสตร์ ( เชอ่ื มโยงกบั มฐ. ส ๔.๓ ) เช่น ข้อความ ๓. เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐาน บางตอน ในพระราชพงศาวดารอยธุ ยา / ทางประวัติศาสตรท์ ่นี า่ เช่ือถอื จดหมายเหตชุ าวต่างชาติ  ตัวอย่างการตีความขอ้ มลู จากหลกั ฐานท่ี แสดงเหตกุ ารณ์สำคัญในสมยั อยุธยาและ ธนบุรี  การแยกแยะระหว่างข้อมูลกบั ความคิดเห็น รวมท้งั ความจริงกบั ข้อเทจ็ จรงิ จากหลกั ฐาน ทางประวตั ศิ าสตร์  ความสำคญั ของการวเิ คราะหข์ ้อมลู และ การตีความทางประวตั ิศาสตร์ ม.๓ ๑. วเิ คราะหเ์ รื่องราวเหตุการณ์สำคัญทาง  ขน้ั ตอนของวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ได้อยา่ งมีเหตุผลตามวธิ กี าร สำหรับการศึกษาเหตกุ ารณท์ าง ทางประวัติศาสตร์ ประวตั ิศาสตรท์ ี่เกดิ ขนึ้ ในท้องถน่ิ ตนเอง ๒. ใช้วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ในการศึกษา  วิเคราะหเ์ หตุการณ์สำคัญในสมัย เร่อื งราวต่าง ๆ ที่ตนสนใจ รตั นโกสินทร์ โดยใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ หนา้ 44 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง  นำวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรม์ าใช้ใน การศึกษาเรอ่ื งราวท่ีเกย่ี วข้องกับตนเอง ครอบครัว และท้องถ่นิ ของตน ม.๔ –ม. ๖ ๑. ตระหนักถึงความสำคญั ของเวลาและ  เวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ท่ี ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ท่ีแสดงถึงการ ปรากฏในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทย เปลีย่ นแปลงของมนุษยชาติ และประวัติศาสตร์สากล  ตัวอยา่ งเวลาและยคุ สมัยทาง ประวัตศิ าสตร์ของสังคมมนุษยท์ ี่มีปรากฏ ในหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ (เชื่อมโยงกบั มฐ. ส ๔.๓)  ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทาง ประวตั ศิ าสตร์ ๒. สร้างองค์ความรู้ใหมท่ างประวตั ศิ าสตร์  ขน้ั ตอนของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ โดย โดยใช้วิธีการทางประวตั ิศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ นำเสนอตวั อย่างทีละขนั้ ตอนอยา่ งชัดเจน ระบบ  คุณคา่ และประโยชนข์ องวธิ ีการทาง ประวตั ศิ าสตร์ท่ีมีตอ่ การศกึ ษาทาง ประวัติศาสตร์  ผลการศกึ ษาหรือโครงงานทาง ประวัติศาสตร์ หน้า 45 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร์ ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๒. ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรม  ท่ีตง้ั และความสำคัญของแหลง่ อารยธรรม โบราณในภูมภิ าคเอเชยี โบราณในภมู ิภาคเอเชีย เช่น แหลง่ มรดก โลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย  อิทธิพลของอารยธรรมโบราณท่มี ีต่อ ภมู ิภาคเอเชียในปัจจุบนั ม.๓ ๑. อธิบายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ  ทีต่ ั้งและสภาพทางภมู ิศาสตร์ของภมู ิภาค และการเมอื งของภมู ภิ าคตา่ งๆ ในโลก ต่างๆของโลก (ยกเว้นเอเชยี ) ที่มีผลตอ่ โดยสงั เขป พฒั นาการโดยสังเขป ๒. วเิ คราะหผ์ ลของการเปลี่ยนแปลงท่ี  พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และ นำไปส่คู วามร่วมมอื และความขัดแย้ง ใน การเมอื งของภมู ิภาคต่างๆของโลก ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๒๐ ตลอดจนความ (ยกเว้นเอเชยี )โดยสังเขป พยายามในการขจัดปญั หาความขดั แยง้  อิทธพิ ลของอารยธรรมตะวนั ตกทมี่ ีผลตอ่ พัฒนาการและการเปล่ียนแปลงของสังคม โลก  ความรว่ มมือและความขัดแย้งใน ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๒๐ เชน่ สงครามโลกครงั้ ที่ ๑ ครงั้ ที่ ๒ สงครามเย็น องคก์ าร ความร่วมมอื ระหว่างประเทศ ม.๔-ม.๖ ๑.วเิ คราะห์อทิ ธพิ ลของอารยธรรรม  อารยธรรมของโลกยุคโบราณ ไดแ้ ก่ โบราณ และการตดิ ต่อระหว่างโลก อารยธรรมล่มุ แมน่ ำ้ ไทกรีส-ยเู ฟรตีส ไนล์ ตะวนั ออกกับโลกตะวันตกท่มี ีผลต่อ ฮวงโห สินธุ และอารยธรรมกรกี -โรมนั พฒั นาการและการเปลยี่ นแปลงของโลก  การติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกับโลก ๒. วเิ คราะห์เหตกุ ารณ์สำคัญตา่ งๆที่ส่งผล ตะวนั ตก และอทิ ธพิ ลทางวฒั นธรรมทีม่ ี ต่อการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ ตอ่ กนั และกนั และการเมอื ง เขา้ สโู่ ลกสมยั ปัจจบุ ัน  เหตกุ ารณส์ ำคญั ตา่ งๆทีส่ ง่ ผลตอ่ การ เปลย่ี นแปลงของโลกในปัจจบุ ัน เชน่ ระบอบฟิวดสั การฟน้ื ฟู ศลิ ปวิทยาการ สงครามครูเสด การสำรวจทางทะเล การปฏริ ูปศาสนา การปฏวิ ตั ิทาง หน้า 46 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพฒั นาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปัจจุบนั ในดา้ นความสมั พันธแ์ ละ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างตอ่ เน่อื ง ตระหนกั ถงึ ความสำคญั และสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. อธบิ ายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ  ที่ตั้งและสภาพทางภมู ศิ าสตร์ของประเทศ และการเมอื งของประเทศตา่ ง ๆ ใน ตา่ ง ๆ ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ทม่ี ผี ลต่อพัฒนาการทางด้านต่างๆ  พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมอื งของประเทศตา่ ง ๆ ในภมู ภิ าค เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ๒. ระบคุ วามสำคญั ของแหลง่ อารยธรรม  ทตี่ ง้ั และความสำคญั ของแหล่งอารยธรรม ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เช่น แหลง่ มรดกโลกในประเทศต่าง ๆของ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้  อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณในดนิ แดน ไทยท่ีมีต่อพฒั นาการของสงั คมไทยใน ปจั จุบนั ม.๒ ๑. อธิบายพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจ  ทีต่ ง้ั และสภาพทางภมู ศิ าสตรข์ องภมู ิภาค และการเมืองของภมู ิภาคเอเชยี ต่างๆในทวีปเอเชยี (ยกเว้นเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต้) ทม่ี ผี ลตอ่ พฒั นาการ โดยสงั เขป  พฒั นาการทางสังคม เศรษฐกจิ และ การเมืองของภูมิภาคเอเชยี (ยกเวน้ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต)้ หน้า 47 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยาย  วทิ ยาศาสตร์ การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม อทิ ธิพลของประเทศในยโุ รปไปยงั ทวีป อเมรกิ า แอฟริกาและเอเชีย จักรวรรดนิ ยิ ม ลทั ธชิ าตินิยม เปน็ ตน้  ความรว่ มมือ และความขัดแยง้ ของ มนุษยชาตใิ นโลก  สถานการณส์ ำคญั ของโลกใน ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๒๑ สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มีความรกั ความภูมิใจและธำรง ความเปน็ ไทย ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๑ ๑. อธิบายเรือ่ งราวทางประวัติศาสตร์  สมัยก่อนประวัตศิ าสตรใ์ นดินแดนไทย สมยั ก่อนสุโขทยั ในดนิ แดนไทย โดยสังเขป โดยสงั เขป  รฐั โบราณในดินแดนไทย เชน่ ศรวี ิชยั ตาม พรลงิ ค์ ทวารวดี เป็นต้น ๒. วเิ คราะห์พฒั นาการของอาณาจกั ร  รัฐไทย ในดนิ แดนไทย เชน่ ลา้ นนา สุโขทยั ในด้านต่าง ๆ นครศรีธรรมราช สุพรรณภมู ิ เป็นต้น ๓. วิเคราะหอ์ ทิ ธิพลของวฒั นธรรม และ  การสถาปนาอาณาจักรสโุ ขทยั และ ภมู ปิ ัญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทย ปัจจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง (ปัจจัยภายในและ ในปัจจบุ นั ปัจจยั ภายนอก )  พฒั นาการของอาณาจักรสโุ ขทัย ในด้าน การเมอื งการปกครอง เศรษฐกจิ สังคม และความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศ  วฒั นธรรมสมัยสุโขทยั เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณีสำคญั ศิลปกรรม ไทย  ภมู ปิ ญั ญาไทยในสมยั สุโขทัย เช่น การชลประทาน เครอ่ื งสงั คมโลก  ความเส่ือมของอาณาจกั รสโุ ขทัย หน้า 48 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.๒ ๑. วเิ คราะห์พัฒนาการของอาณาจกั ร  การสถาปนาอาณาจกั รอยุธยา อยุธยา และธนบุรใี นดา้ นตา่ งๆ  ปัจจัยท่ีสง่ ผลตอ่ ความเจรญิ รุ่งเรืองของ ๒. วเิ คราะหป์ ัจจัยที่ส่งผลตอ่ ความมน่ั คง อาณาจักรอยุธยา และความเจริญรุ่งเรอื งของอาณาจักร  พัฒนาการของอาณาจักรอยธุ ยาในดา้ น อยธุ ยา การเมอื งการปกครอง สังคม เศรษฐกจิ ๓. ระบภุ ูมิปญั ญาและวัฒนธรรมไทย และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ สมยั อยธุ ยาและธนบุรี และอทิ ธิพลของ  การเสียกรุงศรอี ยุธยาครัง้ ที่ ๑ และ ภูมปิ ัญญาดงั กลา่ ว ต่อการพฒั นาชาติ การกู้เอกราช ไทยในยุคตอ่ มา  ภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมยั อยุธยา เชน่ การควบคมุ กำลงั คน และ ศิลปวัฒนธรรม  การเสียกรงุ ศรอี ยธุ ยาคร้ังที่ ๒ การกู้ เอกราช และการสถาปนาอาณาจกั ร ธนบรุ ี  ภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยสมัยธนบรุ ี  วรี กรรมของบรรพบรุ ษุ ไทย ผลงาน ของบุคคลสำคัญของไทยและต่างชาติ ที่มสี ว่ นสรา้ งสรรค์ชาตไิ ทย ม.๓ ๑. วิเคราะห์พฒั นาการของไทย  การสถาปนากรุงเทพมหานครเปน็ สมยั รัตนโกสนิ ทร์ในด้านตา่ งๆ ราชธานีของไทย ๒. วเิ คราะห์ปจั จยั ท่ีสง่ ผลต่อความ  ปัจจัยท่ีส่งผลตอ่ ความมั่นคงและ มั่นคงและความเจรญิ รงุ่ เรืองของไทยใน ความเจริญร่งุ เรืองของไทยในสมัย สมยั รัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทร์ ๓.วิเคราะหภ์ มู ปิ ัญญาและวฒั นธรรม  บทบาทของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยใน ไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร์ และอิทธพิ ลต่อ ราชวงศ์จกั รีในการสร้างสรรค์ความเจริญ การพัฒนาชาติไทย และความมนั่ คงของชาติ ๔.วิเคราะหบ์ ทบาทของไทยในสมัย  พฒั นาการของไทยในสมยั รตั นโกสินทร์ ประชาธปิ ไตย ทางดา้ นการเมอื ง การปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหวา่ ง ประเทศตามชว่ งสมัยต่างๆ  เหตุการณ์สำคัญสมยั รตั นโกสินทร์ทมี่ ี ผลตอ่ การพฒั นาชาตไิ ทย เชน่ การทำ สนธสิ ัญญาเบาวร์ งิ ในสมัยรชั กาลท่ี ๔ หนา้ 49 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง การปฏริ ูปประเทศในสมัยรัชกาลท่ี ๕ การเข้าร่วมสงครามโลกคร้งั ท่ี ๑ และคร้งั ที่ ๒ โดยวเิ คราะห์สาเหตปุ จั จัย และผล ของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ  ภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร์  บทบาทของไทยตั้งแต่เปลย่ี นแปลง การปกครองจนถึงปัจจบุ ันในสงั คมโลก ม.๔– ม.๖ ๑.วเิ คราะหป์ ระเดน็ สำคญั ของ  ประเด็นสำคัญของประวัติศาสตร์ไทย ประวัตศิ าสตร์ไทย เช่น แนวคดิ เกี่ยวกบั ความเปน็ มาของชาติ ไทย อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย ๒. วเิ คราะหค์ วามสำคญั ของสถาบนั พระมหากษัตริยต์ อ่ ชาติไทย และอทิ ธิพลทม่ี ีต่อสงั คมไทย ปัจจัยทมี่ ี ผลต่อการสถาปนาอาณาจักรไทยใน ๓. วิเคราะหป์ จั จัยท่สี ง่ เสรมิ ความ ชว่ งเวลาต่างๆ สาเหตุและ สรา้ งสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาไทย และ วฒั นธรรมไทย ซงึ่ มผี ลตอ่ สงั คมไทยใน ผลของการปฏริ ูป ฯลฯ ยุคปัจจุบนั  บทบาทของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ใน ๔. วเิ คราะห์ผลงานของบุคคลสำคัญทงั้ ชาวไทยและต่างประเทศ ท่มี สี ว่ น การพฒั นาชาติไทยในดา้ นต่างๆ เช่น การ สร้างสรรค์วฒั นธรรมไทย และ ประวตั ิศาสตร์ไทย ปอ้ งกนั และรกั ษาเอกราชของชาติ การ สร้างสรรค์วฒั นธรรมไทย  อทิ ธิพลของวัฒนธรรมตะวันตก และ ตะวนั ออกทีม่ ีตอ่ สังคมไทย  ผลงานของบคุ คลสำคัญท้งั ชาวไทยและ ต่างประเทศ ท่มี ีสว่ นสร้างสรรค์ วัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตรไ์ ทย  ปัจจยั ที่สง่ เสรมิ ความสรา้ งสรรคภ์ ูมิ ปัญญาไทย และวฒั นธรรมไทย ซง่ึ มีผล ตอ่ สังคมไทยในยคุ ปัจจบุ ัน หน้า 50 จาก 220 งานพฒั นาหลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook