Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1cd33aabbec8150ec2b44f3c57aa8c03

1cd33aabbec8150ec2b44f3c57aa8c03

Description: 1cd33aabbec8150ec2b44f3c57aa8c03

Search

Read the Text Version

พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงพ่อวดั ปากนา�้ ผู้ค้นพบวชิ ชาธรรมกาย a1

สมเดจ็ พระมหารชั มังคลาจารย (ชว่ ง วรปุ ฺโ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดปากน�้า เขตภาษเี จรญิ กรุงเทพฯ a2

คา� ช้ีแจง คณะผจู้ ดั ทา� ไดจ้ ดั พมิ พห์ นงั สอื เทศนาตา่ งเรอ่ื งของพระมงคลเทพมนุ ี ในวาระครบ ๑๐๐ ป วิชชาธรรมกาย เพ่ือรวบรวมพระธรรมเทศนาของ พระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน�้า พระมงคลเทพมุนีที่ทางคณะผู้จัดท�า ไดค้ น้ พบเพม่ิ เตมิ นอกเหนอื จากพระธรรมเทศนา จา� นวน ๖๗ กณั ฑ ์ ทจ่ี ดั พมิ พ์ กนั มาแลว้ เพราะคณะผจู้ ดั พมิ พเ์ หน็ ความสา� คญั อยา่ งยงิ่ ของพระธรรมเทศนา ท่คี ้นพบได้น ี้ จงึ น�าไปกราบเรียน ทา่ นพระครูไกรสรวลิ าส (ณัฐนันท์ กลุ ศริ ิ) รองพระอาจารย์ใหญฝ่ า่ ยวปิ สั สนาธรุ ะ วดั ปากนา�้ ภาษเี จรญิ เพอ่ื ขอคา� แนะนา� การจัดพิมพ์ จนกระท่ังเป็นหนังสือเทศนาต่างเร่ือง พระมงคลเทพมุนี ในวาระครบ ๑๐๐ ป  วิชชาธรรมกาย เล่มน้ ี โดยไดเ้ รยี บเรยี งเนอื้ หาแบง่ ออก เป็นสส่ี ว่ น ประกอบดว้ ย a3

ส่วนแรกเป็นพระธรรมเทศนา โดย เจ้าพระคุณสมเด็จพระมหารัช- มังคลาจารย์ (ชว่ ง วรปญุ ฺโญ ป.ธ.๙) สว่ นทส่ี อง เปน็ ประวตั ขิ องพระเดชพระคณุ พระมงคลเทพมนุ ี(หลวงพอ่ วัดปากน้า� ) และการสอนภาวนาวชิ ชาธรรมกาย สว่ นทส่ี าม เปน็ พระธรรมเทศนาของพระเดชพระคณุ พระมงคลเทพมนุ ี (หลวงพอ่ วดั ปากนา�้ ) เรอื่ งวชิ ชาธรรมกาย ซงึ่ เปน็ บทเทศนท์ ท่ี รงคณุ คา่ ยงิ่ นกั จากหนังสืออุปกรณ์กัมมัฏฐาน โดยหลวงวิศาลดรุณกร เรียบเรียงค�าเทศน์ สอนของหลวงพ่อ เม่ือวันท่ี ๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๙ เป็น พระธรรมเทศนาเก่าทส่ี ดุ ที่ได้บนั ทึกกนั ไว้ สว่ นท่สี ี่ เป็นพระธรรมเทศนาของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมนุ ี จ�านวน ๖ กัณฑ์ ท่ีค้นพบได้เพิ่มเติมจากหนังสือ ๓ เล่ม คือ เล่มที่ ๑ หนังสือร่มโพธิ์ พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายสุธน จึงแย้มปิ่น a4

๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ จา� นวน ๔ กณั ฑ ์ ดังน้ี เรือ่ งท ่ี ๑ เทศนาเรอื่ งอรยิ ธนกถา วนั ท ่ี ๗ กมุ ภาพนั ธ ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ เร่อื งที่ ๒ พระธรรมเทศนาของพระเดชพระคณุ ท่านเจา้ คณุ ภาวนาโกศลเถระ วันท ่ี ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๗ เร่ืองท่ ี ๓ เทศนาเรอ่ื งมงคลสตู ร วนั ท ่ี ๒๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๙๖ เร่อื งท ี่ ๔ เทศนาเรอ่ื งของหาไดย้ าก วนั ท ี่ ๒๑ กมุ ภาพนั ธ ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ เล่มที่ ๒ หนังสืออนุสรณ์คุณแม่พิศ อารัมภีร ๒๑ ส.ค. ๒๕๑๙ จ�านวน ๑ กัณฑ์ (เทศนาเร่ืองพระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้นเป็นเหตุให้เกิดสุข วนั ท่ ี ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๗) และเลม่ ท ี่ ๓ หนงั สอื เทศนาตา่ งเรอื่ งของพระมงคลเทพมนุ ี (หลวงพอ่ วดั ปากนา้� ภาษเี จรญิ ธนบรุ )ี อนสุ รณ์โยมจนิ ตนา บรุ ารกั ษ ์ ๗ เมษายน ๒๕๐๙ จ�านวน ๑ กัณฑ์ (เทศนาเร่ือง ภทฺเทกรตฺตคาถา ตามวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๗) ด้วยกุศลผลบุญในการจัดท�าหนังสือเพื่อเผยแผ่วิชชาธรรมกายน้ี ขอจงเปน็ เหตใุ หไ้ ดเ้ ปน็ ไปเพ่ือบรรลมุ รรคผลเข้าส่นู พิ พานเทอญ \"นิพพฺ านปจฺจโย โหต\"ุ คณะผจู้ ัดพิมพ์ คณะผปู้ ฏบิ ัตธิ รรมบา่ ยวันพฤหัสบดี หอสงั เวชนยี มงคลเทพนิรมติ วัดปากนา้� ภาษเี จริญ กรงุ เทพมหานคร นายนพดล ฐิตพิ งษพ์ านิช บุตร ธดิ า หลาน ญาตมิ ิตรของคณุ พอ่ กิมเฮง คณุ แม่หนู แซล่ ้ี พิมพ์ที ่ : เมอื งราชการพิมพ์ จ.ราชบุรี ๐๓๒-๓๒๓๗๗๗, ๐๘๕-๑๙๓๗๒๗๙ a5

พระนิพพานนี้ทรงประทบั เขา้ นโิ รธ สงบกนั ตลอดหมด เพราะความเขา้ นิโรธนี้ เปน ความสขุ อยา่ งยิ่ง และความท่อี ยู่ในนิพพาน มกี ายอนั ย่ังยืนนเี้ องทา่ นจงึ ได้กลา่ ววา่ “นพิ พานํ ปรมํ สขุ ”ํ หนังสอื ค่มู ือสมภาร หลวงพอ่ วัดปากนา�้ a6

เอกสารอา้ งองิ คา� นพิ พาน ทีป่ รากฏในพระไตรปิฎก จากหนังสอื คมู่ อื สมภาร หลวงพ่อวดั ปากน�้า คา� นา� อุบาสิกานวรัตน์ หิรัญรักษ์ อุบาสิกาสมทรง สุดสาคร และ น.ส.ฉลวย สมบตั สิ ขุ เปน็ ศษิ ยเ์ รยี นและปฏบิ ตั เิ จรญิ กมั มฏั ฐาน ในสา� นกั พระครสู มณธรรมสมาทาน วดั ปากนา�้ ภาษเี จรญิ จงั หวดั ธนบรุ ี ได้เขียนเร่ืองวิธีเจริญกัมมัฏฐานที่ตนได้ศึกษาปฏิบัติมา ถวายเจ้าพระคุณสมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ วัดบวรนิเวศวิหาร เพอื่ ทรงอา่ น แตเ่ พราะเปน็ เวลาทป่ี ระชวร แพทยห์ า้ มใชค้ วามคดิ จึงได้มอบใหข้ ้าพเจ้าพจิ ารณาปฏบิ ตั ิการตามแตจ่ ะเห็นสมควร ข้าพเจ้าได้อ่านดูแล้ว เห็นว่าการปฏิบัติธรรมอันเป็นไป ในทางจิต ก็มุ่งหมายเพื่อท�าจิตให้สงบอย่างสูงก็เพื่อท�าจิตให้ หลุดพ้นจากอาสวกิเลส ส่วนอุบายวิธีท่ีจะท�าจิตให้ถึงความเป็น เช่นนั้น แม้มีพระบาลีพุทธภาษิตแสดงไว้แล้ว แต่อาจารย์ผู้ได้ ศึกษาเล่าเรียนมา เข้าใจความต่างๆ กันไป และก็สอนไปตาม ความรู้ความเห็นและที่ตนได้ปฏิบัติ เม่ือเป็นเช่นนี้จึงได้มี วิธีต่างๆ กัน เท่าท่ีปรากฏอยู่ในเวลาน้ี ก็มากครู มากอาจารย์ มากสา� นกั และในบางแหง่ บางสา� นกั อาจผดิ ไปจากหลกั พระพทุ ธศาสนา ก็ได้ แต่ของใครจะผิดหรือถูกดีหรือไม่ดี ก็แล้วแต่ผู้ที่มีปัญญา a7

จะพงึ พจิ ารณาเลือกถือ เอาตามหลกั พระพุทธศาสนา, เพราะมติ หรือความเห็นของอาจารย์ท่านหน่ึง ไม่เหมือนกัน และธรรม ของพระพุทธเจ้า ย่อมเป็นธรรมท่ีจะพึงรู้เห็นจ�าเพาะตน พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อใกล้จะเสด็จดับขันธปรินิพพาน ได้ตรัสมหาปเทสฝ่ายพระสูตร ไว้เป็นหลักแห่งการพิจารณา แดภ่ กิ ษทุ ง้ั หลาย ความยอ่ วา่ ถา้ มผี กู้ ลา่ วอา้ งวา่ ภาษติ น ี้ ขา้ พเจา้ ได้ฟังมาแล้วในที่เฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคก็ดี, ฟงั มาจากพระเถระผพู้ หสู ตู กด็ ี เปน็ ตน้ , วา่ นเ้ี ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นี้เป็นคา� สอนของพระศาสดา ท่านท้งั หลายไม่ควรรบั รองไมค่ วร คัดค้านถ้อยค�านั้น ควรเรียนด้วยดี สอบสวนในพระสูตร เทียบเคียงในพระวินัย ถ้าลงกันในพระสูตรหรือพระวินัยไม่ได้ พึงสันนิษฐานว่าน้ีไม่ใช่พุทธพจน์ เธอจ�ามาผิดไม่ควรถือเอา ถ้าลงกันได ้ พงึ สันนษิ ฐานวา่ น้เี ปน็ พุทธพจน์โดยแท ้ พึงถอื เอา สา� หรบั พระครสู มณธรรมสมาทาน ปรากฏวา่ มศี ษิ ย์ไปศกึ ษา ปฏบิ ตั กิ ม็ าก อบุ าสกิ าทงั้ ๓ ทก่ี ลา่ วนามแลว้ ขา้ งตน้ ไดเ้ ลา่ ใหฟ้ งั วา่ ตนไดป้ ฏบิ ัตติ ามนยั ทแี่ สดงไว้ในหนังสอื เลม่ น้ีจนได้ปรากฏผล เมอ่ื ไดอ้ า่ นตลอดแลว้ จกั นา� ใหเ้ หน็ วา่ การปฏบิ ตั ติ ามแนวนี้ จะเห็นเป็นรูปนิมิตตั้งแต่นรก สวรรค์ จนถึงนิพพานและ พระนิพพาน ๑. ขุ. อ.ุ ๒๕/๒๑๖. ๒. วิ. มหา. ๔/๘. a8

อนง่ึ เรอื่ งพระนพิ พานน ้ี มพี ระบาลแี สดงไว ้ แมใ้ นหนงั สอื น้ี ก็ได้ยกขึ้นกล่าวไว้บ้างแล้ว ในตอนนิพพาน แต่ก็หาหมดไม่, ขา้ พเจา้ จงึ ไดค้ ดั มาไวใ้ นทน่ี ้ี เพอ่ื ทา่ นผอู้ า่ นไดพ้ จิ ารณาอกี สว่ นหนง่ึ ดงั ตอ่ ไปนี้ อตฺถิ ภิกฺขเว ตทายตน�, ยตฺถ เนว ปวี น อาโป น เตโช น วาโย, น อากาสานญจฺ ายตน� น วิญฺญาณญฺจายตน� น อากญิ ฺจญญฺ ายตน� น เนวสญญฺ านาสญญฺ ายตน,� นาย� โลโก น ปรโลโก น อโุ ภ จนทฺ มิ สรุ ิยา, ตมห� ภิกขฺ เว เนว อาคตึ วทามิ น คตึ น ติ ึ น จตุ ึ น อปุ ปตตฺ ึ อปปฺ ตฏิ ฐฺ � อปปฺ วตตฺ � อนารมมฺ ณเมว ต� เอเสวนฺโต ทกุ ขฺ สฺส. ภกิ ษุท้งั หลาย อายตนะน้ันมอี ย ู่ ที่ดิน น�า้ ไฟ ลม ไม่มีแล อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็มิใช่ โลกน้ีก็มิใช่ โลกอ่ืนก็มิใช่ ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ทั้ง ๒ ก็มิใช่, อนึ่ง ภิกษุท้ังหลาย เราไมก่ ลา่ วเลย ซงึ่ อายตนะนน้ั วา่ เปน็ การมา เปน็ การไป เปน็ การ ตง้ั อยู่ เป็นการจตุ ิ เปน็ การเกดิ , อายตนะนน้ั หาทต่ี ัง้ มไิ ด้ มิได้ เปน็ ไป หาอารมณม์ ไิ ด้ น่ันแลทส่ี ดุ แห่งทกุ ข.์ ๑. อง.ฺ อ.ุ นวก. ๒๓/๔๓๙. a9

คมฺภีโร จาย� ธมฺโม ทุทฺทโส ทุรานุโพโธ สนฺโต ปณีโต อตกกฺ าวจโร นปิ โุ ณ ปณฑฺ ิตเวทนโิ ย. ธรรมน้เี ปน็ สภาพลกึ เหน็ ได้ยาก ตรสั รู้ไดย้ าก เปน็ ธรรม สงบ ประณีต คิดเดาไม่ได้ ละเอียด เป็นวิสยั ทบ่ี ณั ฑติ พึงร.ู้ เอต� สนฺต� เอต� ปณตี � ยทิท� สพพฺ สงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏิ- นสิ สฺ คฺโค ตณหฺ กฺขโย วิราโค นิโรโธ นพิ ฺพาน�. ธรรมชาตนิ นั่ สงบแลว้ ธรรมชาตนิ น่ั ประณตี ธรรมชาตไิ รเลา่ เป็นท่ีสงบแห่งสังขารท้ังปวง เป็นท่ีสละคืนอุปธิท้ังปวง เป็นท่ี สิน้ ตัณหา เปน็ ท่ีสิน้ ราคะ เป็นทีด่ ับคือนพิ พาน. แต่ท่ีได้แสดงไว้ในหนังสือน้ี ก็ปรากฏว่าเป็นวิธีหน่ึง ของ คณาจารย์ผู้หนึ่ง ในทางปฏิบัติทางพระพุทธศาสนาที่มีผู้นิยม อยู่ส่วนหน่งึ . ขอผู้ได้รับหนังสือน้ีไปอ่านจงพิจารณา และปฏิบัติตาม สมควร. พระสาธุศีลสงั วร (สนธิ์ กจิ จฺ กาโร) วดั บวรนิเวศวิหาร ๒๕ กันยายน ๒๔๙๒ a10

สารบัญ ค�าช้แี จง ค�าน�า เร่ือง หนา้ ๑. พระธรรมเทศนา โดยเจา้ พระคณุ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙) วนั ท่ี ๔ มนี าคม ๒๕๕๔ ณ พระอโุ บสถ วัดปากน�า้ ภาษเี จรญิ กรุงเทพฯ ๓ ๒. พทุ ธภาษิต และคตธิ รรม ของพระมงคลเทพมุนี ๑๐ หลวงพ่อวัดปากน้า� ภาษีเจริญ ธนบุรี ๓. พุทธปริตร มงคฺ ลเทวมุนิปตฺตทิ านคาถา ๑๒ ๔. ประวตั ยิ ่อ ของพระเดชพระคณุ ๑๕ พระมงคลเทพมุน ี (สด จนทฺ สโร) ๕. คา� ชแี้ จงกอ่ นภาวนา ๒๒ วธิ บี ชู าพระ ๒๗ ไหวพ้ ระต่อไป ๒๘ คา� อาราธนา ๒๙ คา� อธษิ ฐานต่อไป ๓๐ วิธีน่งั ตอ่ ไป ๓๐ ๖. เทศนาต่างเรอ่ื ง เร่ืองท่ ี ๑ วิชชาธรรมกาย แสดงโดย ๓๙ พระครูสมณธรรมสมาทาน (สด) วนั ที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๙ a11

สารบญั (ตอ่ ) เรอื่ ง หน้า ๖. เทศนาต่างเร่ือง (ต่อ) เร่อื งที ่ ๒ เทศนาเรื่องอรยิ ธนกถา แสดงโดย ๔๕ พระภาวนาโกศลเถระ วันท ่ี ๗ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ เรื่องท ่ี ๓ ธรรมเทศนาของพระเดชพระคณุ ท่าน ๖๓ เจ้าคณุ พระภาวนาโกศลเถระ วันท ่ี ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๗ เรอ่ื งท่ี ๔ เทศนาเร่อื งมงคลสูตร แสดงโดย ๘๓ พระภาวนาโกศลเถระ วนั ที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๖ เรื่องที่ ๕ เทศนาเรอ่ื งของหาได้ยาก แสดงโดย ๑๐๑ พระภาวนาโกศลเถระ วนั ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๙๗ เรอ่ื งที ่ ๖ เทศนาเร่อื งพระพุทธเจ้าบงั เกดิ ขนึ้ เปน็ เหตุใหเ้ กิดสุข แสดงโดย พระภาวนาโกศลเถระ วนั ท ่ี ๒๖ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๙๗ ๑๒๙ เรือ่ งที่ ๗ เทศนาเรื่องภทเฺ ทกรตตฺ คาถา แสดงโดย ๑๔๙ พระภาวนาโกศลเถระ วนั ที ่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ บทกรวดน้�า ๑๖๘ ค�าแปล ๑๖๙ a12

1

2

พระธรรมเทศนำ โดยเจำ พระคุณสมเด็จพระมหำรัชมังคลำจำรย (ชว่ ง วรปุ ฺโ ป.ธ.๙) วนั ที่ ๔ มีนำคม ๒๕๕๔ ณ พระอุโบสถ วดั ปำกน�้ำ ภำษเี จรญิ กรุงเทพฯ วะโร วะรญั ู วะระโท วะราหะโร อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ อิทมั ป พุทเธ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ พระธรรมเทศนา ที่อาตมภาพไดแสดงน้ีอยูในบทสวดมนต รตั นสตู ร บทท่ี ๒ รองจากมงคลสตู ร วนั นีเ้ ปน อกี พระคาถาหน่งึ พระคาถานแี้ สดงถงึ พระสจั จะของพระอานนท อา งสจั จะของพระพทุ ธ ของพระธรรม ของพระสงฆแลวประพรมน้ําพระพุทธมนต ขจัดปดเปาภัยทั้งหลายในเมืองไพสาลีสมัยน้ัน ใหสงบระงับ หมดไปหายไป เปนปกตสิ ขุ ดวยพระรัตนสูตรอนั น้ี ตามที่ไดอ า ง คาถารตั นสูตรไวนี้ วะโร วะรญั ู วะระโท วะราหะโร อะนตุ ตะโร ธัมมะวะรงั อะเทสะยิ อทิ ัมป พทุ เธ ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตฯุ แปลเปน ไทยวา พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ผปู ระเสรฐิ ทรงรพู ระ- นพิ พานแลว ทรงแสดงธรรรม คอื พระนพิ พานอนั ประเสรฐิ สงู สดุ นนั้ และทรงแนะนาํ ขอ ปฏบิ ตั อิ ยา งดเี ลศิ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา พระองคน นั้ 3 3

ผูไมมีใครอ่ืนย่ิงกวา ไดแสดงธรรมคือพระนิพพานแลวน้ี ก็เปน รัตนะอนั สงู สดุ ในพระพุทธเจา ดว ยวาจาแหงคําสัจอันนีข้ อ ความ สวสั ดจี งมีเถิดดังน้ี พระคาถาน้ี พระอานนทซ งึ่ เรยี นจากพระสมั มาสมั พทุ ธเจา พระคาถาน้ีอางสัจจะ สัจจะน้ีเปนประการสําคัญ ข้ึนช่ือวาสัจจะ เรามสี ัจจะ ดวยกนั ทกุ คน ทาํ อะไรใหม ีความจรงิ ใจ อยูในความ จริงใจ อันนั้นก็เปนสัจจะ เหมือนอยางพระเณรมีความตั้งใจวา ถงึ วนั อโุ บสถ มพี ระธรรมเทศนาในอโุ บสถน้ี ขา พเจา จะตอ งลงมา เพื่อฟงเทศน ฟงธรรม ต้ังใจวาอยางนี้ แลวเม่ือถึงวันเชนน้ี กม็ าอนั นกี้ เ็ ปน สจั จะ ญาตโิ ยมทมี่ าปฏบิ ตั ธิ รรม ใหท าน รกั ษาศลี เจรญิ ภาวนา ณ ทนี่ ี้ ก็ตามโยมมีสัจจะยอมต้งั ใจจะมาในโอกาสน้ี ฉนั จะไปปฏบิ ตั ธิ รรมรกั ษาศลี ทว่ี ดั ปากนา้ํ สกั ๓ วนั สมมตวิ า อยา งนน้ั ถึงเวลาก็มาทําตามกําหนดก็เปนสัจจะ โยมบางทานมาทุกวัน อุโบสถก็คงตั้งใจอธิษฐานไววา ทุกวันพระตองมา ก็เปนสัจจะ ของโยม เรามีสัจจะดวยกัน ทุกคนทําไดตามสัจจะ ต้ังใจเอาไว อยา งใดอยา งหนง่ึ และทาํ ใหไ ดจ รงิ สัจจะมอี านิสงส พระพุทธมนตบทน้ี พระอานนทต้ังสัจจะของพระสัมมา สมั พทุ ธเจา วา พระองคต รสั รพู ระนพิ พานแลว พระองคก ป็ ระทาน พระธรรมเทศนาคือพระนิพพานและธรรมะตางๆ ที่สูงสุดและ ประทานขอแนะนําที่ดีเลิศในการประพฤติปฏิบัติ ในการกระทํา ในนจี้ ะแสดงถงึ เรอ่ื งนพิ พาน ทพ่ี ระอานนทส วดวา \"วะโร วะรญั ู วะระโท วะราหะโร\" วะโร แปลวา พระผูเปนเจาอันประเสริฐ 4 4

วะรญั ู คอื รพู ระนพิ พานแตบ างทคี นทว่ั ๆ ไป คดิ วา พระนพิ พาน จะตอ งเปนอยางน้ัน เปนอยางนี้ จะตองอยูทีน่ ัน้ อยทู น่ี ี้ บางที เราคดิ วาสวรรค ดาวดงึ ส ยามา ดุสติ นมิ มานรดี สวรรค ๖ ชน้ั ยอ มมเี ปน ชนั้ ๆ เรารวู า สวรรคม ี ๖ ชนั้ นพิ พานจะตอ งมเี ปน ชนั้ ๆ เหมือนกันทําใหรูสึกวาเทวดาอยูชั้นดาวดึงส เทวดามีปราสาท สวยงาม แตพระนิพพานไมมีอยางท่ีวานี้พระนิพพานทาน กลาวในคมั ภีรวาไมใช ดนิ นา้ํ ไฟ ลม ไมใชอ ากาสานัญจายตนะ วญิ ญาณญั จายตนะ ไมใ ชโ ลกนไี้ มใ ชโ ลกอนื่ ไมม กี ารมา ไมม กี ารไป ไมมีจตุ ิ ไมมเี กิด ไมม ีอะไรทงั้ นั้น แลว นพิ พานคอื อะไร โยมใน พระบาลีบทหนงึ่ พระองครับส่ังไวว า วสิ ทุ ธฺ ิ สพพฺ เกลฺ เสหิ โหติ ทุกเฺ ขหิ นิพฺพตุ ิ เจตโส โหติ สา สนฺติ นพิ ฺพานมีติ วุจจฺ ติ น้ีเปนพระอิริยาบถหน่ึงท่ีสัมมาสัมพุทธเจารับสั่งไว วสิ ทุ ฺธิ สพพฺ เกฺลเสหิ โหติ ทกุ เฺ ขหิ นพิ ฺพตุ ิ เจตโส โหติ สา สนฺติ แปลวาความบริสุทธิ์จากกิเลสท้ังปวง ๑ ความดับทุกขทั้งหลาย ได ๑ ความสงบใจได ๑ อันนแ้ี หละ ตถาคต เรยี กวา \"นิพพาน\" โยมจาํ ไวนะ วิสุทฺธิ สพฺพเกฺลเสหิ ความบริสุทธ์ิจากกิเลสทั้งปวง ๑ โหติ ทกุ เฺ ขหิ นพิ พฺ ตุ ิ ความดบั ทกุ ขท งั้ หลาย ๑ เจตโส โหติ สา สนตฺ ิ มีความสงบใจได ๑ นิพฺพานมีติ วุจฺจติ อันน้ีแหละเราตถาคต เรียกวา \"นิพพาน\" พระพุทธเจาตรัสไวอยางนี้ พระองคไมได บอกวา ถา ทาํ ไดอ ยา งนน้ี ะ จะไดไ ปอยทู นี่ นี่ ะไปอยทู น่ี น่ั นะ บอกวา 5 5

อันน้ีแหละคือนิพพาน อันนี้อาตมาพูดตามตําราพูดตามปริยัติ อาตมาไมไ ดพ ดู ตามปฏบิ ตั ิ โยมมาศึกษาสักเล็กนอยไมตอ งมาก เพราะวา นพิ พานนน้ั พดู ตามความจรงิ ๆ แลว ยอมไมคอยอยาก จะไป อยากไปแคห วั สะพานที่พูดวา อยางน้เี วลาโยมรบั ศีล ๓ ขอ คือ สีเลนะ สุคะตงิ ยันติ (ศีลเปน ปจจัยใหม คี วามสุข) โยมรับสาธุ สเี ลนะ โภคะสมั ปะทา (ศลี เปนปจ จยั ใหม โี ภคสมบตั )ิ โยมรบั สาธุ แตใหร ับศลี ขอ ๓ สีเลนะ นพิ พุตงิ ยันติ (ศีลเปน ปจจยั ใหเขา ถงึ พระนิพพาน) โยมเงียบ ไมรับดวย เปนบางแหงซ่ึงเปนความ ไมร ูข องญาตโิ ยม ณ ทีน่ ั้น วา ตอ งรบั ที่อาตมาพดู เพ่อื ใหรับรูไว การที่โยมมาศึกษาไดคุณธรรม ๓ ประการ ไดแก ความบริสุทธ์ิ จากกิเลส ความดบั ทุกข ความสงบใจ ๓ ประการน้ี เปน นพิ พาน ใครทาํ ไดบ า ง กเิ ลส ไดแ ก ความรกั ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความตระหน่ี ความอิจฉา ความริษยา อะไรตา งๆ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฐิ ทีม่ ีอยูในตัวเรานน้ั โยม มาฟงเทศนท กุ ๆวนั แมชีเปนต้ังแตสาวจนแก หมดหรอื ยัง เจา กเิ ลสถาหมดนั่นแหละ เปนนพิ พาน แตมีใครยนื ยันไดไ หมวา ฉันไมมีกิเลสแลว อาตมา ก็ไมส ามารถยนื ยนั ไดว า มไี หม ใครมบี า งไหม ถา มบี คุ คลทา นนนั้ จะไมพูดไมบอกวากิเลสหมดแลว ถามีคนพูดคนบอกสงสัยตอง จับสง ปากคลองสาน คนท่ีหมดกิเลสจะไมบ อก * ปากคลองสาน หมายถึง \"โรงพยาบาลสมเดจ็ เจา พระยา\" 6 6

สามเณรอายุ ๗ ขวบนารักนาเอ็นดู สมัยพระพุทธเจา สามเณรเดินไปไหนพระก็จับหัวเลน พูดหยอกเยาบาง แตเณร องคนั้นเปนพระอรหันตแ ตก ็ไมบ อก ไมว าอะไร จนพระพุทธเจา ทรงรบั สงั่ วา เธอทงั้ หลายกาํ ลงั เลน กบั ไฟ เพราะเณรเปน พระอรหนั ต ไปทาํ ลว งเกนิ พระอรหนั ต เปน บาปเปน กรรม พระเหลา นนั้ จงึ รวู า เณรเปน พระอรหนั ต แลว ญาตโิ ยมทป่ี ฏบิ ตั อิ ยู โยมบางคนอาจจะ หมดกไ็ ด แตโ ยมกไ็ มบ อกแลว เนอ้ื หาสาระโดยทว่ั ๆ ไปแลว มเี ตม็ เปย ม กันท้ังน้ัน ไมมีใครหมด บางคนบอกวาปฏิบัติอยางเครงครัด เหลอื นอ ยแลว เหลอื แค ๓ ตัว คือ ราคะ โทสะ โมหะ ๓ ตวั นี้ เปนตัวรายกาจ เจากิเลสมีอยูในตัวบุคคลทุกคนถาปฏิบัติได โดยดับไดละได ใหมันหมดไปไดจากอัธยาศัย จิตใจของเรา อันนั้นแหละทานทั้งหลายถาทําได ก็จะมีนิพพาน เปนนิพพาน แลวอยทู ี่ไหน เม่อื เปนอยา งนีแ้ ลว ก็ไมเ กดิ ไมแก ไมเ จ็บ ไมตาย แตอ ยทู ี่ไหนไมรู อันนเี้ รียกวา วิสทุ ธฺ ิ สพฺพเกฺลเสหิ บริสุทธจ์ิ าก กิเลสท้ังหลาย ๑ โหติ ทุกฺเขหิ นิพฺพุติ ดบั ทุกขท ง้ั หลายได ๑ ทุกขห ลายอยาง ไดแ ก ความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย ความไมส มดงั ปรารถนา กเ็ ปน ทกุ ข โดยสรปุ เบญจขนั ธ ๕ ประการ เปน ทกุ ข เรอ่ื งทกุ ขท า นทงั้ หลาย เรอื่ งเกดิ เรามองไมเ หน็ เปน ทกุ ข เราเห็นวาเปนสุข มีลูกมีหลาน ฉันไดลูกสาว ฉันไดลูกชาย ก็ดีอกดีใจทุกคน แตแทที่จริงแลวเปนทุกข คือ เกิดมาตองอยู ในกองทกุ ข ตอ งทาํ มาหากนิ ตอ งหาเงนิ หาทอง ตอ งเจบ็ ไขไ ดป ว ย ตอ งอยา งนนั้ อยา งนี้ มนั เปน ทกุ ข ตายดไี หม ดี แตก ็ไมอ ยากตาย 7 7

ความคบั แคน ใจ ความพลดั พรากกเ็ ปน ทกุ ข ความประจวบกบั ของที่ ไมเ ปน ทรี่ กั ไมพ บกบั ของทเ่ี ปน ทร่ี กั กเ็ ปน ทกุ ข ความพลดั พราก จากของท่รี ัก ก็เปน ทกุ ข หรือปรารถนาสง่ิ ใดแลว ไมไ ดดงั สมหวงั กเ็ ปน ทกุ ข ทา นทงั้ หลาย เคยเกดิ ขนึ้ กบั ทกุ ทา นหรอื ไม เคยทกุ คน เม่ือพูดโดยสรุป เบญจขันธ ๕ ประการเหลานี้เปนทุกข ไดแก รูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ เรามกี นั คนละ ๕ ขนั ธ ทง้ั ญาติ ท้งั พระ ท้ังเณรมีคนละ ๕ ขันธ น่ีเปนทุกข ดูงายๆ ก็ได เวลาน่ังนานๆ ก็เม่ือยมันก็เปนทุกข การนง่ั พบั เพยี บไมส บาย นานๆ กเ็ ปน ทกุ ข กเ็ ปลยี่ นเปน นง่ั ขดั สมาธิ นงั่ นานๆ กไ็ มเ หมอื นกบั ผอู น่ื เขา อยา ไปฝน สงั คมทาํ ใหเ หมอื นเขา การดับน้ี ใหกาํ หนดรวู า มนั เปน ทกุ ข ทกุ ขน ้มี นั ละไปไมไ ด อยกู บั ตวั เรา อยูกับสังขารเรา แตใ หกําหนดรูว า เปน ตวั ทกุ ข นี้เรยี กวา “ละทุกข” หรือ “กําหนดทกุ ข” นีก่ ็เปน นิพพาน อีกประการหน่ึง วิสุทฺธิ สพพฺ เกลฺ เสหิ สงบใจ ทําใจใหสงบ ใจของคนเราน้ัน ธรรมชาตขิ องใจ ใจมันคิด คิดเรอื่ ยไป ไมห ยดุ ตัวอยนู ี่ ใจคิดถงึ ไหนก็ได แตใจนัน้ ทานเปรียบไวว า ใจของคน เหมอื นกบั ลงิ โยมเหน็ ลงิ นง่ั พบั เพยี บ เรยี บรอ ย อยเู ฉยๆ สงบเสงยี่ ม บา งหรือไม ไมมี ลิงอยูไมสขุ เด๋ยี วมนั กจ็ ับโนน จบั น่ี ใจของคน เปนอยางนั้น เปนธรรมชาติของใจใหคิด เขาเรียกวาใจไมสงบ ฟงุ ซา น พระสมั มาสมั พทุ ธเจา วา ตอ งทาํ ใจใหส งบ สงบคอื ไมฟ งุ ซา น พระ เณร ทุกรูปท่ีบวชเขามาน้ันตองเรียนกรรมฐานทุกองค * ทุกขห ลายอยา ง - ดรู ายละเอียดทห่ี นา ๕๕ เกยี่ วกับ ทุกขอริยสจั 8 8

ทีเ่ รียนกรรมฐานเพ่อื ทาํ ใจใหสงบ เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ, ตโจ ทนั ตา นขา โลมา เกสา กรรมฐานนเ้ี พอ่ื รกั ษาใจทาํ ใจใหส งบ อยกู บั เนอ้ื กบั ตวั เหมอื นทหี่ ลวงพอ วดั ปากนาํ้ สอนวชิ าธรรมกาย เพอื่ ใหใ จสงบ รกั ษาใจใหส งบ ทา นทงั้ หลายทมี่ าปฏบิ ตั จิ ติ ภาวนา เชาบา ง บายบา ง เยน็ บา ง อันนั้นแหละถกู ตอง เพอื่ ทาํ ใจใหส งบ ถา ทาํ ใจ รกั ษาใจใหส งบไดก เ็ ปน นพิ พาน วะโร วะรญั ู พระพทุ ธเจา ผปู ระเสรฐิ ทรงรธู รรม คอื นพิ พาน พระองค กก็ เิ ลสไมม ี ความทกุ ข ไมม ี ใจสงบ พระองคต รัสรูอ รยิ สัจ ๔ ทุกข สมทุ ยั นิโรธ มรรค ทานท้ังหลาย เราเรียนปฏิบัติตามเพื่อใหถึงพระนิพพาน กต็ ั้งใจทําความบริสุทธจ์ิ ากกเิ ลสของเรา ใหกเิ ลสของเราหมดไป ทําใจของเราใหสงบได อันน้ันแหละคือนิพพาน แลวลองดูวา นิพพานมีอยูไหม นิพพานมีตัวตนหรือไม ไมมีการปฏิบัติจะให ถึงที่สุดหรอื ไมน ัน้ ขอใหโยมต้ังสัจจะไวกอน ตงั้ ความปรารถนา ไวก อ น โยมทม่ี าปฏบิ ตั จิ ติ ภาวนาทกุ วนั ๆ เชา บา ง บา ยบา ง เยน็ บา ง ต้ังจิตภาวนาอยางนี้แหละวาปฏิบัติเพ่ือนิพพาน เพื่อทําใหแจง ถงึ นพิ พาน แตจ ะทาํ ใหถ งึ นน้ั ไดแ คไ หน ก็ไมว า กนั เหมอื นกบั เดก็ เรยี นหนงั สอื วา จะเรียนใหถงึ ปรญิ ญาเอก กเ็ รยี นอนุบาล ประถม มัธยม เร่ือยมา ถาไมถึงปริญญาเอกน้ันก็ไมวากันแตตั้ง ความปรารถนาไวก อ น ก็ถอื วา เปนความดีอนั หนึ่ง ขออนุโมทนา เจาของกัณฑเ ทศน มา ณ ที่นด้ี วย ทมี่ า : สมเด็จพระมหารชั มงั คลาจารย (ชว ง วรปุโฺ ญ ป.ธ. ๙) เจาอาวาสวัดปากนา้ํ ภาษีเจริญ กรงุ เทพฯ เทศน แรม ๑๔ คํ่า เดอื น ๓ ปข าล ศกุ รท ี่ ๔ มนี าคม ๒๕๕๔ ณ พระอโุ บสถ วัดปากน้าํ ภาษีเจริญ กรงุ เทพฯ 9 9

พทุ ธภำษติ และ คติธรรม ของ พระมงคลเทพมนุ ี หลวงพอ่ วัดปำกนำ้� ภำษีเจริญ ธนบุรี นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสสฺ ฯ จงมตี นเปน ที่พงึ่ จงมีตนเปนท่ีเกาะ จงมีธรรมเปนทพี่ ง่ึ จงมธี รรมเปน ทเ่ี กาะ ความเพียร เคร่ืองเผากิเลสควรทําในวันนี้ทีเดียวใคร พึงรูไดวาความตายจักมีในวันพรุงนี้ เพราะวา การผัดเพ้ียน ดวยความตาย ซึ่งมีเสนาใหญนั้นไมมีแตพวกเราเลยมุนีผูสงบ ยอ มเรยี กบคุ คลผมู ปี กตอิ ยอู ยา งนน้ั ผมู คี วามเพยี รไมเ กยี จครา น (ไมป ระมาท) ตลอดกลางวนั และกลางคนื นนั้ แล วา ผมู รี าตรเี ดยี วเจรญิ . จากหนงั สือ : \"พระธรรมเทศนา ของพระมงคลเทพมุนี (หลวงพอ วัดปากนํา้ ) พมิ พเ ปนอนสุ รณ แจกในการฌาปนกิจศพ คุณแมอุบาสกิ าเปย ม สงู สุด วนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ 10 10

อุฎ Òเนนปฺปมาเทน สฺ เมน ทเมน จ ทปี  กยิราถ เมธาวี ยํ โอโฆ นาภิกรี ติ ดว ยความหม่ันม่ันใจไมป ระมาท รักษาอาตมขมใจไวเ ปนศรี ผูฉลาดอาจตัง้ หลกั พํานกั ดี อันหวงน้าํ ไมม มี ารังควาน เกดิ มาวา จะมาหาแกว พบแลวไมก ําจะเกดิ มาทาํ อะไร อา ยท่อี ยากมนั ก็หลอก อายที่หยอกมนั กล็ วง ทําใหจ ติ เปน หวงเปน ใย เลกิ อยากลาหยอก รีบออกจากกาม เดนิ ตามขนั ธสามเรอื่ ยไป เสร็จกิจสิบหกไมต กกนั ดาร เรียกวา นิพพานก็ได ประกอบเหตุสังเกตผล ทนเอาเถดิ ประเสริฐนัก ไมหยุดไมถึงพระ ตวั หยุดนี่แลเปน ตวั สําเร็จ ผลไมดกนกชุม นา้ํ เยน็ ปลาชอบอาศัย 11 11

พุทธปริตร มงคฺ ลเทวมุนปิ ตฺตทิ ำนคำถำ โย โส จนฺทสโร เถโร สปปฺ ฺโ กรุณายโก ราชทนิ นฺ าภธิ าเนน มงฺคลเทวมนุ วิ หฺ โย ชนานํ อธิ สพเฺ พสํ อสิ สฺ โร ปริหารโก วินยสฺส จ ธมมฺ สสฺ ธมฺมกายสฺส โกวิโท ธมเฺ มสุ ครโุ ก ธีโร สเี ลสุ สุสมาหิโต สสิ สฺ านํ ภกิ ฺขอุ าทีนํ ปต ฏุ  าเน ปตฏิ โิ ต อาหาราทหี ิ วตถฺ ูหิ เอเตสํ อนุกมปฺ โก พหุนฺนํ กลุ ปุตฺตานํ อปุ ชฌฺ าโย วิจกขฺ โณ โสทานิ กาลมากาสิ กลยฺ าณกิตตฺ ิ ตฏิ  ติ ตมฺมยํ ยติกา เถรา มชฺฌมิ า นวกา จิธ นจิ ฺจํ อนสุ สฺ รนฺตาว ตสสฺ คุเณน โจทติ า ปุฺ นตฺ สฺส กริตวฺ าน เทม ปตตฺ ึ อเสสโต ยํ ยํ เตน กตํ ปุฺํ ยํ ยํ อมฺเหหิ สจฺ ิตํ ตสสฺ ตสฺสานุภาเวน ตสฺส ตสเฺ สว เตชสา สทธฺ มฺมฏติ กิ าโม โส สขุ โิ ต โหตุ สพพฺ ทา สเจ ยตถฺ ปติฏ าย น ลเภยยฺ อมิ ํ วรํ ตตฺถ สพพฺ มเหสกขฺ า เทว คนฺตวา นิเวทยํุ อนโุ มทตุ โส ปุ ฺ ํ ปตฺตึ ลเภตุ สพพฺ โสตฯิ ๑. พระครูธรรมกถาสุนทร (ทองหลอ สวุ ณฺณรํสี ป.ธ.๘) แตง 12 12

13

...(หลวงพอ่ วดั ปำกนำ้� ) จงึ ไดก รำบลำเจำ คณุ สมเดจ็ พระพฒุ ำจำรย (เขม ) เจำอำวำสวัดพระเชตุพนไปจ�ำพรรษำวัดบำงคูเวียงในพรรษำท่ี ๑๒ แต่พอไดกึ่งพรรษำก็มำหวนระลึกขึ้นว่ำในเม่ือเรำต้ังใจจริงๆ ในกำรบวช จำ� เดมิ อำยสุ บิ เกำ เรำไดป ฏญิ ำณตนบวชจนตำย ขออยำ่ ใหต ำยในระหวำ่ ง กอ่ นบวชบัดนี้ก็ไดบอกลำมำถึง ๑๕ พรรษำยำ่ งเขำพรรษำนีแ้ ลว กพ็ อแก่ ควำมประสงคข องเรำแลว บดั นข้ี องจรงิ ทพี่ ระพทุ ธเจำ ทำ่ นรทู ำ่ นเหน็ เรำก็ ยังไม่ไดบรรลุยังไม่รูไม่เห็นสมควรแลว ที่จะตองกระท�ำอย่ำงจริงจัง เมอ่ื ตกลงใจไดด งั นแ้ี ลว วนั นน้ั เปน วนั กลำงเดอื น ๑๐ กเ็ รมิ่ เขำ โรงอโุ บสถ แต่เวลำเย็น ต้ังสัจจาธิษฐานแนนอนลงไปวา ถาเรานั่งลงไปครั้งน้ี ไมเห็นธรรมท่ีพระพุทธเจาตองการ เปนอันไมลุกจากที่น้ี จนหมดชีวิต เม่ือต้ังจิตมั่นลงแลว ก็เร่ิมปรารภนั่ง จึงไดแสดง ความออนวอนแดพระพุทธเจาวา \"ขอพระองคไดทรงพระกรุณา โปรดขาพระพุทธเจาทรงประทานธรรมท่ีพระองคไดทรงตรัสรู อยางนอยที่สุด แลงายท่ีสุดท่ีพระองคไดทรงรูแลวแดขาพระพุทธเจา ถาขาพระพุทธเจารูธรรมของพระองคแลว เปนโทษแกศาสนา ของพระองคแลว ขอพระองคอยาทรงพระราชทานเลย ถาเปน คุณแกศาสนาของพระองคแลว ขอพระองคไดทรงพระกรุณา โปรดพระราชทานแดข าพระองค ขา พระองคร ับเปนทนายศาสนา ในศาสนาของพระองคจนตลอดชวี ติ \" พระมงคลเทพมนุ ี (สด จนฺทสโร) หลวงพอ่ วัดปำกน้�ำ 14

ประวตั ิย่อ* ของ พระเดชพระคุณ พระมงคลเทพมนุ ี (สด จนฺทสโร) หลวงพ่อวัดปำกน�้ำ ผูค นพบวิชชำธรรมกำย ชาตภิ มู เิ ดมิ เปน พอ คา เขา ตง้ั ภมู ลิ าํ เนาอยทู บ่ี า นหมเู หนอื ของวดั สองพน่ี อ ง คอื ทศิ ใตข องวดั แตต า งฝง กบั วดั วดั อยู ตะวนั ออก เฉยี งเหนอื บา นอยตู ะวนั ตกเฉยี งใต มคี ลองกนั้ ระหวา งวดั กบั บา น คา ขายมาตง้ั แตอ ายุ ๑๔ ปเ ศษๆ นบั ตง้ั แตบ ดิ าลว งไปกเ็ ปน พอ คา แทนบิดา เล้ียงมารดาจนถึงอายุ ๑๙ ป ตรงน้ีไดปฏิญาณตัวบวช จนตาย ดว ยมามอี ปุ สรรคเกดิ ขนึ้ ในระหวา งขายขา วแลว นาํ เรอื เปลา กลบั บา นเขา ลดั ทคี่ ลองบางอแี ทน เหนอื ตลาดใหม แมน าํ้ นครชยั ศรี จังหวัดนครปฐม ในลัดนี้ไมสูไกลนัก แตพวกโจรชุกชุม แตพอ เขา ลดั ไปเลก็ นอ ย กม็ าคดิ แตในใจของตวั วา คลองกเ็ ลก็ โจรกร็ า ย ทา ยเรอื เขา ก็ไลเ ลย่ี กบั ฝง ไมต า่ํ ไมส งู กวา กนั เทา ไหรน กั นา หวาดเสยี ว อนั ตราย เมอื่ โจรมากต็ อ งยงิ หรอื ทาํ รา ยคนทา ยกอ น ถา เขาทาํ เรา เสียไดกอนก็ไมมีทางท่ีจะสูเขา ถาเราเอาอาวุธปนแปดนัดไว ทางหวั เรอื แลว เราไปถอ เรอื ทางลกู จา งเสยี เมอ่ื โจรมาทาํ รา ยเราก็ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมนุ ี (เปนผบู นั ทึกเอง), ลงพิมพในนติ ยมงคลสาร ปท่ี ๑ เลม ๑, ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๗, หนา ๔-๖ และ ๒๐. 15 15

จะมีทางสูไดบาง คิดดังนี้แลวก็เรียกลูกจางที่ถอเรือแถบทราย มาถอื ทา ย เราออกไปถอ แทน ถอ เรอื ไปก็คิดไป เรอื ก็เดินเขาไป หาทีเ่ ปลย่ี วหนกั ข้ึนทกุ ที ความคิดกถ็ ขี่ ้นึ วา ลกู จา งทีเ่ ราจางมานี้ คนหนงึ่ กไ็ มก บี่ าท เพยี ง ๑๑ บาท หรอื ๑๒ บาทเทา นน้ั สว นตวั เรา เปน เจา ของทรพั ยท ง้ั เรอื หมด สว นตายจะใหล กู จา งตายกอ นไมถ กู เอาเปรยี บลกู จา งมากเกนิ ไปไมส มควร ถอ ไปกค็ ดิ ไปดงั น้ี และคดิ ถหี่ นกั เขา กต็ ดั สนิ ใจเดด็ ขาดออกไป เราเปน เจา ของใหเ ราตายกอ น ดกี วา จึงจะสมควร คิดตกลงแลว กเ็ รยี กลูกจา งใหมาถอ ตัวกห็ ยิบ ปน แปดนดั ทเี่ อาไปไวข า งหวั เรอื มาไวใ กลต วั ขา งทา ยเรอื กถ็ อื ทา ย เรอื่ ยไป ใกลอ อกจากลดั เตม็ ที่ นาํ้ กข็ นึ้ เรอื ขา วทห่ี นกั กต็ ามหวั นา้ํ ขน้ึ สวนเขามาประดังกันแนน จีนก็สง เสยี งแตว า ตูอ า ๆ ประดัง กนั แนน ออกก็ไมไ ด เขา ไปไมไ ด นา้ํ กน็ อ ยเลยตอ งตา งฝา ย ตา งก็ ปกหลักกรานหนาจอดกนั น่ิงอยู เราเปนคนทา ยผา นพน อนั ตราย มาแลวก็มาคิดวาการหาเงินทองน้ีลําบากจริงๆ เจียวหนา บิดา ของเรากห็ ามาดงั นี้ เรากห็ าซา้ํ รอยบดิ าตามบดิ าบา ง เงนิ แลทอง ท่ีหากันท้ังหมดดวยกันนี้ตางคนก็ตางหาไมมีเวลาหยุดดวยกัน ทั้งน้ัน ถาใครไมเรงรีบหาใหมั่งมีก็เปนคนต่ําและเลว ไมมีใคร นับถือแลคบหา เขาหมูเขาก็อายเขา เพราะเปนคนจนกวาเขา ไมเ ทยี มหนาเทยี มบา เทยี มไหลก บั เขา ปุรพชนตนสกุลของเราก็ทํากันมาดังน้ี เหมือนๆ กัน จนถงึ บดิ าของเราแลตวั ของเราบดั น้ี กบ็ ดั นป้ี รุ พชนแลบดิ าของเรา ไปทางไหนหมด กป็ รากฏแกใจวา ตายหมดแลว แลว ตวั ของเราเลา 16 16

ก็ตองตายเหมือนกัน แตพอคิดถึงตายขึ้นมาดังนี้แลว ใจก็ ชกั เสยี วๆ นกึ ถงึ ความตายทจ่ี ะมาถงึ ตวั โดยไมม สี งสยั เลย เราตอ ง ตายแนๆ บดิ าเรากม็ าลอ งขา วขน้ึ จากเรอื ขา วกเ็ จบ็ มาจากตามทางแลว ข้ึนจากเรือขาวไมไดกี่วันก็ถึงแกกรรม เม่ือถึงแกกรรมแลว เราที่ชวยพยาบาลอยู ไมไดเห็นเลยที่จะเอาอะไรติดไป ผาท่ีนุง แลรา งกายของแก เรากด็ แู ลอยไู มเ หน็ มอี ะไรหายไป ทงั้ ตวั เราแล พน่ี อ งของเราทเ่ี นอื่ งดว ยแก ตลอดถงึ มารดาของเรากอ็ ยไู มเ หน็ มี อะไรเลยที่ไปดว ยแก แกไปผูเดยี วแทๆ ก็ตัวเราเลาตองเปนดงั นี้ เคลื่อนความเปนอยางนี้ไปไมไดแน เม่ือคิดตกลงใจดังน้ีแลวก็ ลองทาํ เปน ตายดู นอนแผล งไปทท่ี า ยเรอื นนั้ แลว กท็ าํ ตาย ตายแลว ทาํ ไปหาคนท่เี ปนญาติบา ง พีน่ อ งบาง เพือ่ นที่ชอบกนั บา ง เขาก็ ไมเ หน็ เรา เพราะเราเปน ผี เรากเ็ อากอ นดนิ บา ง ไมบ า ง โยนหรอื ปา เขาไปใหถูก เพราะเขาไมเห็นตัวเรา เขาก็ตองบอกผีโยนมา หรอื ปาเขา มา ไปหาคนโนน ก็ไมเ หน็ มาหาคนน้กี ็ไมเ ห็น คิดไป ดังนีแ้ หละจนเผลอตัว แตพ อรสู กึ ตวั ขนึ้ มา กร็ บี ลกุ ขนึ้ จดุ ธปู อธษิ ฐานในใจตวั เอง วา ขออยา ใหเ ราตายเสยี กอ น ขอใหบ วชเสยี กอ นเถดิ ถา บวชแลว ไมส ึกจนตลอดชวี ิต ตรงน้ี บวชจรงิ มาเสยี แตอายุ ๑๙ ปเ ศษแลว ต้ังแตน้ันก็ประกอบอาชีพตามปกติของพอคา จนอายุครบ ๒๒ โดยปแลว ก็ปรารภถงึ การบวชในปนน้ั พอถงึ เดอื น ๘ ขางข้นึ ก็ ขนขาวลงเรือเต็มลาํ ดีแลว ก็บอกกบั ลกู จางใหน าํ เอาขาวไปขาย โรงสีในกรุงเทพฯ สวนตวั ก็เขา อยวู ัดเปนเจา นาค ฝก หัดเบื้องตน 17 17

แหงการอุปสมบทในสํานักปลัดยัง ผูเปนหลวงตาของตัวซ่ึงเปน นอ งคนเลก็ ของตานอ ย ผเู ปน มารดาของตวั เอง ทา นสง วนิ ยั ยอ ๆ ใหเปนหนังสือสมุดขอย เขียนตัวบรรจงสวยงามมาก ก็ทองวิธี ขอบรรพชาแลดูวินัยไปดวยกันทีเดียว พอจวนเขาพรรษาก็มี ผไู ปนมิ นตพ ระอปุ ช ฌายด ี วดั ประตศู าล จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มาเปน อุปชฌาย ก็ไดอุปสมบทในตนเดอื นแปด ของ พ.ศ. ๒๔๔๙ ได อยูจําพรรษาในวัดนั้นรวมอยูที่อุปสมบทน้ัน ๗ เดือนเศษ ๆ เทาน้ัน ออกจากวัดที่อุปสมบทน้ันแลว ก็ตรงมาอยูจําพรรษา ในวดั เชตพุ นทเี ดยี ว เรียนมูลกัจจายน ถึงสามจบ แลวเรยี นธรรม บททีปนีและสารสังคหะ แตพอเปนวาแปลออกพอสมควรแลว ก็หยุดการเรียนคันถธุระ เรียนวิปสสนาธุระตอไป ถึงในระหวาง คันถธุระอยูก็เรียนวิปสสนาไปดวยเหมือนกัน เวลาวันแปดค่ํา สบิ หา คา่ํ กม็ กั แสวงหาครสู อนฝา ยสมถวปิ ส สนาอยเู สมอ ๆ โดยมาก แตท เ่ี รยี นโดยตรงทเี ดยี วตงั้ แตบ วชใหม ๆ กเ็ รยี นแตอ นสุ าวนาจารย ทีหนึ่ง บวชแลวรุงขึ้นวันที่สองก็เรียนท่ีหลวงพอเนียมวัดนอย จงั หวดั สพุ รรณ ทส่ี ามเจา คณุ สงั วรานวุ งษ(เอย่ี ม) วดั ราชสทิ ธาราม ท่ีส่เี รยี นกับพระครญู าณวิรัติ (โป) วดั พระเชตพุ น ท่หี าเรยี นกบั พระอาจารยส งิ ห วดั ละครทาํ หลงั วดั ระฆงั โฆสติ าราม ไดต ามแบบ ของทา นสององคพ ระครญู าณวริ ตั แิ ลพระอาจารยส งิ ห ทา นรบั รอง วา ไดต ามแบบของทา น ทา นมอบใหเ ปน ผสู อนเขาไดท ง้ั สองอาจารย แตก็ยังไมพอใจที่จะเปนครูสอนเขา จึงคนควาหาตอไปอีก ถึงพรรษา ๑๑ ก็สําเร็จในการเลาเรียนคันถธุระไดพอสมควร 18 18

แกที่ตง้ั ใจไวว า ตอ งเรียนแปลใหอ อกจะไดค น ธรรมในมคธภาษา ไดตามตองการ กอนแตจะมาเรียนคันถธุระนั้นไดตั้งหนังสือ ใบลานมหาสตปิ ฏ ฐานลานยาวไวท ว่ี ดั สองพนี่ อ งผกู หนง่ึ วา ถา ไป เลา เรยี นคราวนต้ี อ งแปลหนงั สอื ผกู นี้ใหอ อก จงึ เปน ทพี่ อแกค วาม ตองการ ถายังแปลไมออกก็เปนอันไมหยุดในการเรียน แตพอ แปลออกกห็ ยดุ ในพรรษาที่ ๑๑ เมอื่ หยดุ ตอ การเรยี นปรยิ ตั แิ ลว ก็ เรมิ่ ทาํ จรงิ จงั ในทางปฏบิ ตั ิ กค็ ดิ วา ในวดั พระเชตพุ นน้ี ในอโุ บสถกด็ ี มีบริเวณกวา งขวางดีมาก เปน สถานทีค่ วรทําภาวนามาก แตม า หวนระลกึ ถงึ อปุ การคณุ ของวดั บางคเู วยี ง (คอื วดั โบสถบ นบางคเู วยี ง) ในคลองบางกอกนอ ย เจา อธกิ ารชมุ ไดถ วายมลู กจั จายนแ ลคมั ภรี  พระธรรมบทให ในตอนเลาเรียนปริยตั นิ ้ัน ก็มอี ุปการคุณอยูมาก ควรไปจาํ พรรษา แลว จะไดแ สดงธรรม แจกแกภ กิ ษสุ ามเณร อบุ าสก อุบาสิกาเปนบรรณาการตออุปการคุณแกวัดน้ัน จึงไดกราบลา เจาคุณสมเด็จพระพุฒาจารย (เขม) เจาอาวาสวัดพระเชตุพน ไปจําพรรษาวดั บางคูเวียง ในพรรษาที่ ๑๒ แตพ อไดกึ่งพรรษา ก็มาหวนระลึกข้ึนวา ในเมื่อเราตั้งใจจริงๆ ในการบวช จําเดิม อายสุ บิ เกา เราไดป ฏญิ าณตนบวชจนตาย ขออยา ใหต ายในระหวา ง กอนบวช บัดน้ีก็ไดบอกลามาถึง ๑๕ พรรษา ยางเขาพรรษา นี้แลว ก็พอแกความประสงคของเราแลว บัดนี้ของจริงที่ พระพุทธเจาทานรูทานเห็น เราก็ยังไมไดบรรลุ ยังไมรูไมเห็น สมควรแลวท่ีจะตองกระทําอยางจริงจังเมื่อตกลงใจไดดังน้ีแลว วันนั้นเปนวันกลางเดือน ๑๐ ก็เร่ิมเขาโรงอุโบสถแตเวลาเย็น 19 19

ตงั้ สจั จาธษิ ฐานแนน อนลงไปวา ถา เรานง่ั ลงไปครงั้ น้ี ไมเ หน็ ธรรม ที่พระพุทธเจาตองการเปนอันไมลุกจากที่นี้จนหมดชีวิต เม่ือตั้ง จิตมั่นลงไปแลว ก็เริ่มปรารภนั่ง จึงไดแสดงความออนวอน แดพ ระพทุ ธเจา วา ขอพระองคไ ดท รงพระกรณุ าโปรดขา พระพทุ ธเจา ทรงประทานธรรมท่ีพระองคไดทรงตรัสรูอยางนอยที่สุด แลงาย ทสี่ ดุ ท่พี ระองคไดท รงรแู ลว แดขาพระพทุ ธเจา ถา ขา พระพทุ ธเจา รูธรรมของพระองคแลว เปนโทษแกศาสนาของพระองคแลว ขอพระองคอยาทรงพระราชทานเลย ถาเปนคุณแกศาสนาของ พระองคแลว ขอพระองคไดทรงพระกรุณาโปรด พระราชทาน แดขาพระองค ขาพระองครับเปนทนายศาสนา ในศาสนาของ พระองคจนตลอดชีวิต แตพอออนวอนเสร็จแลว ก็เริ่มปรารภ เขาท่นี ัง่ สมาธิตอไป มานึกถึงมดคี่ทตี่ ามชองของแผน หินทีย่ าวๆ แลบนแผน หนิ บา ง ไตไ ปมาอยบู า งแตไ มม ากนกั จงึ หยบิ เอาขวด นาํ้ มนั กา ดมา เอานวิ้ จกุ เขา ทป่ี ากขวด แลว ตะแคงขวดใหเ ปย กนวิ้ เขา แลว เอามาลากเปน ทางใหร อบตวั จะไดก นั ไมใหม าทาํ อนั ตราย ในเวลานั่งลงไปแลว แตพ อทางนิ้วท่ีเปยกนา้ํ มันนัน้ ไมทนั ถงึ ครึ่ง ของวงตัวท่ีน่ัง ความคิดอันหนึ่งเกิดขึ้นวา ชีวิตสละไดแตทําไม ยงั กลวั มดคอี่ ยเู ลา กน็ กึ อายตวั เองขน้ึ มา เลยวางขวดนา้ํ มนั เขา ท่ี เลยในเด๋ียวนั้น ประมาณคร่ึงหรือคอนคืนไมมีนาฬกา ไมแนก็ เห็นผังของจริงของพระพุทธเจา ซ่ึงมีอยูในหนังสือธรรมกาย ทค่ี ณุ พระทพิ ยป รญิ ญาเรยี บเรยี งพมิ พแ จกไปแลว นนั้ ในขณะนนั้ ก็มาปริวิตกวา คัมภีรโรจายังธรรมเปนของลึกถึงเพียงนี้ ใครจะ 20 20

ไปคิดคาดคะเนเอาได พนวิสัยของความตรึกนึกคิด ถายังตรึก นึกคิดอยูก็เขาไมถึง ที่จะเขาถึงตองทําใหรูตรึก รูนึก รูคิดนั้น หยุดเปนจุดเดียวกัน แตพอหยุดก็ดับ แตพอดับแลวก็เกิด ถาไมดับแลวไมเกิด ตรองดูเถิดทานท้ังหลาย น้ีเปนของจริง หัวตอมีเปนอยูตรงน้ี ถาไมถูกสวนดังน้ีก็ไมมีไมเปนเด็ดขาด วิตกอยูดังน้ีสักครูใหญๆ ก็กลัววาความมีความเปนนั้นจะเลือน ไปเสยี จึงเขาท่ตี อ ไปใหม ราวสักสามสบิ นาที ก็เห็นวัดบางปลา ปรากฏเหมือนตัวเองไปอยูที่วัดน้ัน แตพอชัดดีก็รูสึกตัวข้ึนมา จึงมีความรูสึกข้ึนมาวาจะมีผูรูเห็นไดยากน้ันในวัดบางปลานี้ จะตองมีผูร เู หน็ ไดแ นน อน จึงมาปรากฏขึน้ บัดนี้ ตอแตน้ันมาก็ คาํ นงึ ที่ไปสอนทว่ี ดั นนั้ อยเู รอื่ ยๆ มา จนถงึ ออกพรรษารบั กฐนิ แลว ก็ลาสมภารวัดบางคูเวียงไปสอนท่ีวัดบางปลาราวสี่เดือน มีพระ ทําเปนสามรูป คฤหัสถส่ีคน นี้เร่ิมตนแผธรรมกายของจริง ที่แสวงหาไดมาจริงปรากฏอยจู นบัดน.้ี 21 21

คำ� ชแี้ จงกอ่ นภำวนำ หนังสือทางมรรคผลนี้ เปนหนังสือสมถวิปสสนาวิชชา ธรรมกาย ซึ่งดําเนินตามแนวทางการเสด็จไปของพระพุทธเจา พระอรหนั ตท กุ ๆ พระองค ทางนท้ี างเดยี วไมม สี องทาง อนั ถกู ตอ ง รอ งรอยความประสงคในพระพุทธศาสนาอยา งแทจ รงิ มีผศู ึกษา และปฏบิ ัติท้ังคฤหสั ถและบรรพชติ อุบาสก อบุ าสกิ า แพรห ลาย แทบทว่ั ประเทศไทย ซง่ึ ไดร บั ผลของการปฏบิ ตั ติ า งยนื ยนั ไดด ว ย ตวั ของทา นเอง ซงึ่ เรยี กวา สนั ทฏิ ฐโิ ก อนั ผไู ดบ รรลจุ ะพงึ เหน็ เอง สวนการท่ีจะทําเปนหรือไมเปนน้ัน เก่ียวกับผูปฏิบัติจริงหรือ ไมจริง ถา ปฏิบตั จิ รงิ แลว ตองเปนทกุ คน เพราะมนษุ ยเ ราทงั้ ชาย และหญิง มีดวงธรรมที่ทําใหเปนกายมนุษย เปนดวงใสบริสุทธิ์ เทาฟองไขแดงของไก อยูท่ีศูนยกลางกายทุกๆ คน ถามนุษย คนใด เอาใจไปหยดุ นง่ิ แนน ทศี่ นู ยก ลางกายใหเ ปน สมาธิ ไมน กึ คดิ ไปในส่ิงตางๆ เอาใจหยุดอยูที่ดวงธรรมน้ันใหมากท่ีสุดหรือ นานทสี่ ดุ ตอ งเปน ทกุ คน ทไ่ี มเ กดิ ไมเ ปน นน้ั เพราะเหตวุ า ใจไมห ยดุ ตัวหยดุ น้ีแลเปนตัวสําเรจ็ สว นการทใ่ี จไมห ยดุ นน้ั เพราะมอี ปุ กเิ ลส ๑๑ ขอ ประจาํ อยู อนั เปนเครื่องสําคัญในเรอื่ งท่จี ะเปนหรอื ไมเ ปน หรอื ไมไดบรรลุ มรรคผล มดี งั นี้ คือ ๑. วิจกิ จิ ฉา ความลังเลหรือความสงสัย ๒. อะมะนะสิการะ ความไมสนใจไวใ หด ี 22 22

๓. ถนี ะมิทธะ ความทอ และความเคลบิ เคลม้ิ ๔. ฉัมภิตตั ตะ งวงนอน ๕. อุพพิละ ความสะดงุ หวาดกลัว ๖. ทุฏุลละ ความตืน่ เตนดวยความยินดี ๗. อจั จารทั ธวริ ยิ ะ ความไมสงบกาย ๘. อะติลีนะวิริยะ ความเพยี รจัดเกนิ ไป ๙. อะภชิ ปั ปา ความเพียรยอ หยอ นเกินไป ๑๐. นานัตตะสญั ญา ความอยาก ความนกึ ไปในสงิ่ ตา งๆ ๑๑. รปู านงั อะตินชิ ฌายติ ัตตะ เรอ่ื งราวตางๆ ท่เี คยผานมา หรอื จดจาํ ไวม าผดุ ขนึ้ ในขณะ ทําสมาธิ ความเพง ตอ รปู หรอื เพง นมิ ติ นนั้ จนเกนิ ไป เมอ่ื อปุ กเิ ลสเหลา นี้ แมอ ยา งใดอยา งหนง่ึ เกดิ ขน้ึ แกเ ราแลว สมาธขิ องเรากเ็ คลอื่ นไป เพราะอปุ กเิ ลสเหลา นเี้ ปน ตน เหตุ ฉะนนั้ ในการบาํ เพญ็ ภาวนา เราตอ งใชค วามเพยี ร ความอดทน ทงั้ ๒ ขอ น้ี เปนขอสาํ คญั ยงิ่ และคอยประคองคุมสติไวไมใหเผลอ ใชปญญา สอดสองดูวาวิธีใดที่จะทําใหอุปกิเลสเหลาน้ีเกิดข้ึนไมไดเราก็จะ ทําใจไวโดยวิธีนนั้ จะวางใจของเราไวใ หเ ปนกลางๆ คือมชั ฌมิ า ปฏิปทาใหเปน อเุ บกขา อยา ยินดีและยินรา ย ใหพยายามละจาก ความโลภ ความโกรธ ความหลง จงทําใจของเราใหใส เปน แกว 23 23

ใหเ ยอื กเยน็ ใหแ ชม ชนื่ ใหถ กู สว นเปน สมาธแิ นแ นว เอาใจจดอยทู ่ี ดวงนมิ ติ ทศ่ี นู ยก ลางกายนน้ั ใหม ากทส่ี ดุ ตอ งทาํ ใหเ สมอทาํ เนอื งๆ ในทกุ อริ ยิ าบถ ไมว า นง่ั นอน เดนิ ยนื ทาํ เรอื่ ยไปอยา หยดุ อยา ละ อยาทอดท้ิง อยาทอแท มุงรุดหนาเร่ือยไป ผลจะเกิดวันหน่ึง ไมต องสงสยั ผลเกดิ อยา งไรทา นรูดวยตวั ของทานเอง อน่ึงในการเจริญภาวนานี้ ขอใหทานจงประกอบเหตุ สังเกตผลทนเอาเถิดประเสริฐนัก เพราะเปนมหัคคตกุศลหรือ มหากศุ ลอนั ยงิ่ ใหญไ พศาล เปน ทางมรรคผลนพิ พาน ถงึ แมไ มไ ด เห็นอะไร ก็จะเปนอุปนิสัยติดตัวไปในปรภพเบื้องหนา ขอทาน ทงั้ หลายจงอตุ สา หม านะ วริ ยิ ะ บาํ เพญ็ เพยี ร ใหบ งั เกดิ มรรคแลผล เพราะเปนวิชชาท่ีชวยและเปนท่ีพ่ึงของตนเองไดอันเท่ียงแท อยา ไดเ คลอื บแคลงสงสยั อยา งหนงึ่ อยา งใดเลย ขอความสขุ สวสั ดี จงบังเกิดมีและสัมฤทธิ์ผลดังมโนรถปรารถนาแดทานทั้งหลาย ที่ไดนําหนังสือทางมรรคผลน้ีไปประพฤติและปฏิบัติโดยทั่วกัน จงทกุ ๆ ประการฯ รักษรางพอสรางราย รอดตน ยอดเย่ยี ม “ธรรมกาย” ผล ผองแผว เลอเลิศลว งกศุ ล ใดอื่น เชิญทา นถอื เอาแกว กอ งหลา เรอื งสกล พระมงคลเทพมุนี 24 24

25

26

วธิ บี ชู ำพระ ว่ำก่อนนง่ั ภำวนำทุกครัง้ ยะมะหงั สมั มาสมั พทุ ธงั , ภะคะวนั ตัง สะระณงั คะโต (ชาย), คะตา (หญิง) อิมนิ า สักกาเรนะ, ตัง ภะคะวนั ตัง อะภปิ ชู ะยามิ ขาพเจาบูชาบัดนี้ ซ่ึงพระผูมีพระภาคเจา ผูตรัสรูแลวเอง โดยชอบ ซึ่งขาพเจาถึงวาเปนที่พึ่ง กําจัดทุกขไดจริง ดว ยสักการะนี้ ยะมะหงั สวากขาตงั , ภะคะวะตา ธมั มงั สะระณงั คะโต(ชาย), คะตา (หญงิ ) อิมินา สักกาเรนะ, ตัง ธมั มงั อะภิปูชะยามิ ขาพเจาบูชาบัดน้ี ซ่ึงพระธรรม อันพระผูมีพระภาคเจา ตรสั ดแี ลว ซงึ่ ขา พเจา ถงึ วา เปน ทพี่ ง่ึ กาํ จดั ภยั ไดจ รงิ ดว ยสกั การะน้ี ยะมะหัง สปุ ะฏิปน นงั , สังฆงั สะระณงั คะโต (ชาย), คะตา (หญงิ ) อิมินา สกั กาเรนะ, ตัง สังฆัง อะภิปชู ะยามิ ขาพเจาบูชาบัดนี้ ซึ่งพระสงฆผูปฏิบัติดี ซึ่งขาพเจาถึงวา เปน ท่ีพ่ึง กาํ จัดโรคไดจ รงิ ดวยสักการะน้ี 27 27

ไหวพระต่อไป อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภวิ าเทมิ (กราบลง ๑ หน) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, ธมั มงั นะมสั สามิ (กราบลง ๑ หน) สปุ ฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงั ฆงั นะมามิ (กราบลง ๑ หน) ค�ำขอขมำโทษ ตง้ั นะโม ๓ หน แลว ขอขมำโทษดงั ต่อไปน้ี อกุ าสะ, อจั จะโย โน ภนั เต, อจั จกั คะมา, ยถาพาเล, ยถามฬุ เห, ยะถาอะกสุ ะเล, เย มะยัง กะรมั หา, เอวงั ภนั เต มะยัง, อัจจะโย โน ปะฏคิ คณั หะถะ, อายะติง สังวะเรยยามิ ขาพระพุทธเจา ขอวโรกาส ไดพลั้งพลาดดวยกาย วาจา ใจ ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เพยี งไร แตข าพระพุทธเจา เปนคนพาล คนหลง อกุศลเขาสิงจิต ใหกระทําความผิด ตอ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ ขอพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ จงงดความผดิ ทง้ั หลายเหลา นนั้ แกข า พระพทุ ธเจา จาํ เดมิ แตว นั นี้ เปนตนไป ขาพระพุทธเจาจักขอสํารวมระวังซ่ึงกาย วาจา ใจ สบื ตอ ไปในเบอ้ื งหนา 28 28

คำ� อำรำธนำ อุกาสะ ขาพระพุทธเจาขออาราธนา สมเด็จพระพุทธเจา ท่ีไดตรัสรูลวงไปแลว ในอดีตกาล มากกวาเมล็ดทรายในทอง พระมหาสมุทรท้ัง ๔ แลสมเด็จพระพุทธเจาอันจักไดตรัสรู ในอนาคตกาลภายภาคเบอ้ื งหนา แลสมเดจ็ พระพทุ ธเจา ทไี่ ดต รสั รู ในปจจบุ ันน้ี ขอจงมาบงั เกิดในจกั ขุทวาร โสตทวาร ฆานทวาร ชวิ หาทวาร กายทวาร มโนทวาร แหง ขา พเจา ในกาลบดั เดย๋ี วนเ้ี ถดิ อกุ าสะ ขาพระพทุ ธเจาขออาราธนา พระนพโลกตุ ตรธรรม เจา ๙ ประการ ในอดีตกาลลว งลับไปแลว จะนบั จะประมาณมิได และพระนพโลกตุ ตรธรรมเจา ๙ ประการ ในอนาคตกาล ภายภาค เบอื้ งหนา และพระนพโลกตุ ตรธรรมเจา ๙ ประการในปจ จุบันน้ี ขอจงมาบังเกิดในจักขุทวาร โสตทวาร ฆานทวาร ชิวหาทวาร กายทวาร มโนทวาร แหง ขาพเจาในกาลบดั เด๋ียวน้เี ถดิ อุกาสะ ขาพระพุทธเจาขออาราธนา พระอริยสงฆ กับสมมติสงฆในอดีตกาลลวงลับไปแลว จะนับจะประมาณมิได และพระอรยิ สงฆก บั สมมตสิ งฆ ในอนาคตกาลภายภาคเบอื้ งหนา และพระอริยสงฆกับสมมติสงฆในปจจุบันน้ี ขอจงมาบังเกิดใน จกั ขทุ วาร โสตทวาร ฆานทวาร ชิวหาทวาร กายทวาร มโนทวาร แหง ขาพระพทุ ธเจาในกาลบัดเดี๋ยวน้ีเถดิ 29 29

คำ� อธษิ ฐำนตอ่ ไป ขอเดชคณุ พระพุทธเจา คณุ พระธรรมเจา คุณพระสงฆเจา (ชาย) คุณครูอุปชฌายอาจารย, (หญิง) คุณครูบาอาจารย คุณมารดาบิดา คุณทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมมบารมี ปญญาบารมี วิริยบารมี ขนั ตบิ ารมี สัจจบารมี อธษิ ฐานบารมี เมตตาบารมี อุเบกขาบารมี ทขี่ าพเจา ไดบําเพ็ญมา แตรอยชาติ พันชาติ หมื่นชาติ แสนชาติก็ดี ท่ีขาพเจาไดบําเพ็ญมา แตต้ังแตเล็กแตนอย ระลึกไดก็ดี หรือระลึกมิไดก็ดี ขอบารมีท้ังหลายเหลานั้น จงมาชวยประคับประคองขาพเจา ขอใหข า พเจา ไดส าํ เรจ็ มรรคแลผล ในกาลบดั เดยี๋ วนเี้ ถดิ นพิ พานะ ปจ จะโยโหตุ จบวิธีบูชาไหวพระ วธิ ีนั่งต่อไป คบู ลั ลงั กข ดั สมาธิ เทา ขวาทบั เทา ซา ย มอื ขวาทบั มอื ซา ย เวนหัวแมม ือทั้งสองใหหางกนั สององคลุ ี คอื หวั แมมือซายจดกับ ปลายนิ้วช้ีขวา แลวตั้งกายใหตรง คือ วัดต้ังแตปลายน้ิวชี้ของ เทา ขวาถงึ กลางลูกสะบา ของหวั เขา ขวานั้น แลว เอาเคร่ืองวัดนั้น จดลงทต่ี รงบนตาตมุ ขาขวา แลวเอาเครือ่ งวดั อีกขา งหน่งึ จดเขา ท่ีใตลูกคาง นี้เปนสวนของกายตรง เรียกอุชุงกายัง ปะณิธายะ ตั้งกายใหตรง ปะริมุขังสะติงอุปฏฐเปตวา เขาไปตั้งสติไวให 30 30

มีหนารอบ คือเขาไปต้ังสติไวไมใหเผลอ (ตรงกับพระขีณาสพ ผูเปนสติวินัย มีสติทุกเมื่อ) น่ีเปนทางไปของพระพุทธเจา พระอรหันต สติไมเผลอจากบริกรรมภาวนาและบริกรรมนิมิต ใหติดกันไมแยกแตกจากกัน น้ีแลเปนของสําคัญในเรื่องท่ีจะ เปน หรอื ไมเ ปน สตไิ มเ ผลอจากบรกิ รรมทงั้ สอง บรกิ รรมวา “สมั มา อะระหัง” น้ีเรียกวาบริกรรมภาวนา กําหนดเคร่ืองหมาย ใหใส เหมอื นเพชรลกู ทเี่ จยี ระไนแลว ไมม ขี นแมว โตเทา แกว ตาประมาณ เทา วงของตาดาํ ใสขาวเหมอื นกระจกทส่ี อ งเงาหนา สณั ฐานกลม รอบตวั ไมม ตี าํ หนเิ รยี บรอบตวั เหมอื นดวงแกว กายสทิ ธ์ิ นเี้ รยี กวา บริกรรมนมิ ติ บรกิ รรมท้ังสองนี้พรากจากกนั ไมไ ด ตอ งใหตดิ กนั อยเู สมอในอิรยิ าบถทงั้ สี่ คือ ยืน เดิน นง่ั นอน ไมเผลอ ใหม ีสติ อยเู สมอมิใหข าด เมอื่ เหน็ ดวงนมิ ติ เกดิ เปน ดวงใสขน้ึ แลว ใหห ยดุ บริกรรมภาวนา เพงอยทู ีก่ ลางดวงนนั้ แลวทําใจใหห ยุดในหยุด ท่ีกลางดวงน้ันมีจุดเปนเคร่ืองหมายใหใสหนักขึ้นทุกที จนเปน รัศมีคือแสงสวาง ถาไมหยุดใหบริกรรมภาวนาไว วา “สัมมา อะระหงั ๆๆ” รอ ยครง้ั พนั ครงั้ จนกระทง่ั ใจคอ ยๆ รวมหยดุ อยทู เ่ี ดยี ว ดังจะอธบิ ายขา งหนา เปนลาํ ดบั ไป 31 31

32 32

รปู ดา นขา งคอื ผา ซกี ๓ จอมประสาท แสดงที่ต้งั ของดวงนิมติ จากฐานที่ ๑ ถงึ ฐานท่ี ๗ 33 33

ฐานที่ ๑ ปากชองจมกู หญงิ ซา ย ชายขวา ตรงกลางพอดี ไมล้าํ เขา ไป ไมเ หลื่อมออกมา ฐานที่ ๒ เพลาตา หญิงซาย ชายขวา ตรงหวั ตาพอดี ตามชองลมเขาออกขางใน ฐานท่ี ๓ กลางก๊กั ศีรษะ ใหไดร ะดับกับเพลาตา อยูภายใน ตรงศูนยก ลางของศรี ษะ ฐานท่ี ๔ ปากชองเพดาน ไมใหล้ําเหลอ่ื ม ตรงชอ งท่ี รบั ประทานอาหารสาํ ลัก ฐานที่ ๕ ปากชอ งคอ เหนอื ลูกกระเดอื ก อยูตรงกลางทเ่ี ดยี ว ฐานท่ี ๖ สดุ ลมหายใจเขา ออก คือกลางตวั ตรงกับสะดอื แตอ ยูภายใน ฐานท่ี ๗ ถอยหลังกลับมาเหนือสะดือ ประมาณ ๒ นิ้วมือ ในกลางตวั กําหนดดวงนิมิตเคร่ืองหมายไปหยุดอยูตามฐานน้ันๆ พรอมกบั ภาวนาในใจวา “สัมมา อะระหัง” สามครงั้ แลว จงึ เล่อื น ดวงนิมติ นน้ั ตอ ไป สําหรับฐานที่ ๓ เวลาจะเลอื่ นดวงนิมิตตอ ไป ตองเหลือบตากลับเขาขางใน คลายๆ กับคนนอนกําลังจะหลับ แตแ ลว กป็ ลอ ยใหเ ปน ไปตามปกติ ทงั้ นเี้ พอื่ จะใหค วามเหน็ ความจาํ ความคดิ ความรู (รวม ๔ อยางนีเ้ รียกวา ใจ) กลบั เขา ขางใน เพราะจะตองดูดวยตาละเอียดตอไป เมื่อเล่ือนดวงนิมิตกลับข้ึน มาอยฐู านที่ ๗ แลว ใหเ พง อยตู รงนนั้ ทเ่ี ดยี ว ใหค กู นั ไปกบั บรกิ รรม ภาวนาวา “สมั มา อะระหงั ” ถา หากรจู กั ทางคอื ฐานทต่ี งั้ เหลา นแี้ ลว 34 34

ในการทําคราวหลังๆ จะเอาใจไปจดฐานท่ี ๗ เลยทีเดียวก็ได ตรงน้ันมีศูนยอ ยู ๕ ศูนย คอื 35 35

ศูนยกลาง หนา ขวา หลัง ซาย (ดูรูปลักษณะของฐานท่ี ๗) ศูนยกลางคืออากาศธาตุ เคร่ืองหมายท่ีใสสะอาดลอยอยูชอง อากาศกลาง พรอ มดว ยความรทู เ่ี รยี กวา “วญิ ญาณธาต”ุ ศนู ยข า งหนา คือธาตุนํ้า ศูนยขางขวาคือธาตุดิน ศูนยขางหลังคือธาตุไฟ ศนู ยข า งซา ยคอื ธาตลุ ม นยิ มพรอ มดว ยธาตทุ งั้ ๖ ธาตไุ มพ รอ มกนั ปฐมมรรคเกดิ ไมไ ด เมอ่ื ไมม ปี ฐมมรรค มรรคผลนพิ พานก็ไปไมถ กู เหตุน้ีจึงตองทําปฐมมรรคใหเ กดิ ใหมขี ้นึ 36 36

37

38


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook