96 2) ประเภททเี่ กดิ การเปล่ียนแปลง (Mutable) เน่ืองจากการใชประโยชนอยางผิด วธิ ี เชน การใชท ด่ี ิน โดยวิธีการทไ่ี มถ ูกตอ ง ทาํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลงท้ังทางดานกายภาพ และดา นคุณภาพ 2. ทรพั ยากรธรรมชาติทีใ่ ชแลวทดแทนได (renewable natural resources) เปน ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใชไปแลวสามารถเกิดข้ึนทดแทนได ซึ่งอาจจะเร็วหรือ ชา ข้ึนอยกู ับชนดิ ของทรพั ยากรธรรมชาติประเภทน้ัน เชน ปา ไม สตั วปา ความสมบูรณของ ดิน และคณุ ภาพของนํ้า เปนตน 3. ทรัพยากรธรรมชาตสิ ามารถนาํ มาใชใ หมไ ด (Recyclables natural resources) เปนทรัพยากรธรรมชาติจําพวกแรธาตุท่ีนํามาใชแลวสามารถนําไปแปรรูปให กลับไปสูส ภาพเดิมได แลวนํากลับมาใชใหมอ ีก เชน แรอโลหะ ไดแก เหล็ก อะลูมิเนียม แกว ฯลฯ 4. ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ใี ชแ ลว หมดสนิ้ ไป (Exhausting natural resources) เปน ทรัพยากรธรรมชาติที่นาํ มาใชแ ลวจะหมดไปจากโลกนี้ หรือสามารถเกิดข้ึน ทดแทนได แตตองใชเวลายาวนานมาก นํ้ามันปโตรเลียม แกสธรรมชาติและถานหิน เปน ตน
97 1.การดาํ รงชีวิต เปน 2. การพฒั นาทาง ปจจยั 4 คอื เศรษฐกจิ จาํ เปน ตอง อาหาร ใชท รัพยากรธรรมชาติ เคร่ืองนุงหม ทอ่ี ยู 3. การตง้ั ถิ่นฐาน และการ ประกอบอาชพี ทรพั ยากรธรรมชาติ สาํ คัญตอ มนษุ ย อยางไรบา ง 4. ความกาวหนา ทาง 5. เปน ปจจัยในการ เทคโนโลยี การประดษิ ฐ รกั ษาสมดลุ เคร่อื งมือ เคร่อื งใช เปนตน ธรรมชาติ
98 เร่ืองที่ 3 ผลกระทบตอระบบนิเวศและส่ิงแวดลอมที่เกิดจากการใชทรัพยากรธรรมชาติและ แนวทางปองกันแกไ ข ระบบนิเวศและส่ิงแวดลอมไดถูกเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากความเจริญกาวหนาของมนุษย ในขณะทีก่ ารบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติยงั ไมมปี ระสิทธิภาพมากนัก อีกท้ังยังขาดความ จรงิ จงั ในทางปฏบิ ตั ิ สภาพปญ หาการใชทรพั ยากรธรรมชาตทิ ส่ี ง ผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ มไดแกอะไรบา ง 1. การเพมิ่ ของประชากร การเพ่มิ มากขึน้ ของ ทม่ี า www.c4learn.com ประชากรโลกก็จะนํามาซงึ่ ความตองการ ทม่ี า Wikipedia-Makoko ในการใชทรพั ยากรธรรมชาติเพอ่ื การดาํ รงชีวิต ท่ีมา Career Addict 2. การขยายตัวของชุมชนเมือง โดยขาดการวาง แผนผังการใชพ ้ืนทลี่ วงหนา หรือไมเปน ไปตาม ท่กี าํ หนดไว จะทําใหเกิดปญ หาขนึ้ มากมาย เชน ปญ หาการกําจัดของเสีย ฯลฯ 3. เทคโนโลยสี มัยใหม ทน่ี าํ มาใชเ พอื่ เพ่ิม ผลผลติ ทางการเกษตร การใชส ารเคมตี า ง ๆ 4. การสรางสง่ิ กอสรา ง การสรางถนน อา งเกบ็ นํา้ เข่ือน เปน สาเหตกุ ารทาํ ลายถ่นิ ท่ีอยูข องสตั วปา ได ที่มา กระทรวงพลงั งาน
5. การกฬี า ในดานการกีฬาสว นใหญ 99 เปนปญ หาที่เกดิ กบั ทรัพยากรสัตวปา ทมี่ า SiamFishing เชน การยิงนก การตกปลา และการลาสตั ว 6. การสงคราม จะกอ ใหเ กดิ การกระตนุ ใหนาํ ทรพั ยากรธรรมชาติท่ีมีอยมู าใชม ากขึ้น 7. ความไมร หู รอื รเู ทาไมถ ึงการณ ควรพิจารณา ท่มี า HBO.com ใหรอบคอบ ตระหนกั ถึงผลกระทบในดา นลบ ตอสิ่งแวดลอ มและทรัพยากรธรรมชาติ ในระยะยาวนัน้ มากนอ ยเพียงใด ที่มา Kingofwallpapers สภาพปญ หาระบบนิเวศของเมอื งในประเทศไทย เกดิ จากสาเหตุใดบา ง สภาพปญหาความออนแอของระบบนิเวศของเมืองตางๆ ในประเทศไทย สาเหตุหนึ่ง เกิดจากการเติบโตของเมืองที่ขาดการวางแผนอยางรอบคอบ และอีกดานหนึ่งเกิดจากการ พัฒนาเศรษฐกิจในอดีตที่นําเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชในการจัดหาและใชทรัพยากรใน กระบวนการผลิต และรูปแบบของการบริโภคที่ไมเหมาะสม ทําใหทรัพยากรอันจํากัดของ ประเทศและส่ิงแวดลอ มธรรมชาติถกู ใชสอย และทําลายจนเสือ่ มทง้ั สภาพ ปริมาณและคุณภาพ จนเกอื บหมดศักยภาพและยากที่จะฟนฟขู ้ึนมาใหม ซํ้ายงั กอ ใหเกดิ มลพิษหลายๆ ดานพรอมกัน การแพรกระจายของมลพิษไมวาจะเปนมลพิษทางน้ํา ทางอากาศ ทางเสียง หรือจากของเสีย สารเคมตี า งๆ ยอมสง ผลตอ สุขภาพอนามยั ของประชาชน
100 แนวทางการแกไ ขปญ หาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มในชมุ ชน กรอบกลยทุ ธเ พอื่ นําไปสคู วามเปน เมืองทนี่ าอยอู ยางยั่งยืน 1. มุงสงเสริมการพัฒนาเมอื งและชมุ ชนใหเปน ฐานของการพฒั นาอยา งยั่งยนื 2. พื้นที่เมืองและชุมชนจะตองเปนสถานท่ีๆ คํานึงถึงความเช่ือมโยงระหวางส่ิงแวดลอม (ระบบนเิ วศของเมอื ง) กับสุขภาพของประชาชน 3. ใชกลยุทธการพัฒนาแบบพหุภาคี ที่เปดโอกาสใหกับการมีสวนรวมของประชาชนมาก ทีส่ ดุ งานหลกั 3 ประการ เพอ่ื การจดั การดา นส่ิงแวดลอ มของเมือง 1. การสงวนรกั ษาไวซ ึ่งทรัพยากรหลกั โดยเฉพาะอยางยิง่ การจัดการดา นน้ํา 2. การขนถายของเสีย ขยะ ท่ไี ดจากกิจกรรมของเมืองอยางมีประสทิ ธภิ าพ 3. ไมโ ยนภาระดานสิ่งแวดลอมทเ่ี กิดจากตนเอง(บคุ คลหรอื ธรุ กิจ) ใหก บั ผูอืน่ วธิ กี ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม วิธีการสําคัญที่ใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ไดแก การออก กฎหมายควบคุมการจัดตั้งองคกรเพ่ือบริหารงาน การวางแผนพัฒนาส่ิงแวดลอม การกําหนด มาตรฐานคุณภาพสง่ิ แวดลอ ม การศึกษาและจัดทํารายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอม จากโครงการพัฒนา ทั้งของภาครัฐและภาคเอกชนและการประชาสัมพันธและส่ิงแวดลอม ศกึ ษา การจดั องคก รเพื่อ การบรหิ ารงานดา นการกําหนดนโยบายแผน การจดั การ การวางแผน งาน โครงการเปนวิธีการหนึ่งของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในระดับ หนว ยงานปฏบิ ตั ิ การวางแผนเพ่ือแกไขปญหาและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมระบุไวใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จะสงผลใหเกิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม สอดคลอ งกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศน้ัน
101 วิธีการพฒั นาการใชท รพั ยากรธรรมชาติใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพ 1. สรางจิตสํานกึ ใหกับประชาชนเกีย่ วกบั การอนุรักษท รัพยากรธรรมชาติอยางถกู วิธี 2. สนบั สนนุ การพฒั นาและฟน ฟกู ารนาํ ทรัพยากรธรรมชาตกิ ลับมาใชใหมใ หเกิด ประโยชนสงู สุด 3. ประชาชนและชุมชนตลอดจนหนว ยงานตาง ๆ มีสว นสวมในการพัฒนา ทรพั ยากรธรรมชาตริ ว มกัน เร่ืองท่ี 4 การอนุรักษแ ละพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม การอนรุ กั ษ หมายถึงอะไร การอนรุ ักษ หมายถึง การรูจกั ใชทรพั ยากรธรรมชาติอยางชาญฉลาดเพ่ือใหมีประโยชน ตอมหาชนมากที่สุด และใชไดเปนเวลานานที่สุด ท้ังน้ีตองใหมีการสูญเสียทรัพยากรนอยท่ีสุด และจะตอ งมีการกระจายการใชทรพั ยากรใหเ ปน ไปโดยท่ัวถึงกันดวย การพัฒนา หมายถงึ อะไร การพัฒนา หมายถึง การทําใหเจริญ การปรับปรุงเปลี่ยนไปในทางท่ีทําใหเจริญข้ึน ซึ่งการท่ีจะทําใหเกิดการพัฒนาข้ึนไดน้ัน จะตองมีการวางแผน ตองอาศัยวิชาความรูและเทคโนโลยี เขา มาชวย จึงจะทําใหการพัฒนานั้นบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค
102 หลักการอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติไดแกอะไรบาง 1. ตองคาํ นึงถึงทรัพยากรธรรมชาตอิ ่นื ควบคูก นั ไป เพราะทรพั ยากรธรรมชาติตางก็มี ความเก่ยี วของสมั พนั ธแ ละสง ผลตอ กนั อยางแยกไมไ ด 2. ตองเช่ือมโยงกับการพัฒนา สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และคุณภาพชีวิต ตลอดจนรกั ษาไวซ่ึงความสมดลุ ของระบบนิเวศควบคูกนั ไป 3. ตองรวมมือกันทุกฝาย ทุกคนควรตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรและ สิง่ แวดลอม 4. ตองชว ยกันปองกนั การแสวงหาผลประโยชนข องประเทศมหาอาํ นาจ 5. การนาํ เทคโนโลยีตางๆ มาชวยในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ควรคํานึงถึง ผลดที างดา นจิตใจดวย 6. ตอ งคํานึงถึงทง้ั ขอดีและขอ เสีย การสญู เปลาอนั เกิดจากการใชทรพั ยากรธรรมชาติ 7. รกั ษาและใชท รัพยากรธรรมชาตทิ ี่จําเปน และหายากดว ยความระมดั ระวัง 8. ตอ งรักษาทรัพยากรที่ทดแทนได โดยใหมีอตั ราการผลิตเทากับอัตราการใชหรือ อตั ราการเกดิ เทากับอตั ราการตายเปน อยา งนอย 9. หาทางปรับปรุงวิธีการใหมๆ ในการผลิต อีกทั้งพยายามคนควาส่ิงใหมมาใช ทดแทน 10. ใหก ารศึกษาแกประชาชนถึงความสาํ คญั ในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
103 “การสญู เสียความอุดมสมบรู ณข องทรัพยากรดิน” ที่มา http://pitloknews.com/main/wp-content/uploads/2014/09/781.jpg สาเหตทุ รัพยากรดนิ สญู เสยี ความอดุ มสมบรู ณ 1. การกัดเซาะและพังทลายโดยนํ้า น้ําจํานวนมากท่ีกระทบผิวดินโดยตรงจะกัดเซาะ ผวิ ดิน ใหหลุดลอยไปตามน้ํา การสูญเสียบริเวณผิวดินจะเปนพ้ืนท่ีกวาง หรือถูก กัดเซาะเปน รองเลก็ ๆ ก็ขนึ้ อยูก ับความแรง และบริเวณของนาํ้ ท่ไี หลบาลงมา 2. การตัดไมทําลายปา การเผาปา ถางปาทําใหหนาดินเปด และถูกชะลางไดงาย โดยน้ําและลมเม่ือฝนตกลงมา นํ้าก็ชะลางเอาหนาดินที่อุดมสมบูรณไปกับน้ํา ทําใหดินมี คณุ ภาพเสอ่ื มลง 3. การเพาะปลูกและเตรียมดินอยางไมถูกวิธี การเตรียมที่ดินทําการเพาะปลูกน้ันถา ไมถ กู วิธีกจ็ ะกอความเสยี หายกับดินไดมาก ตวั อยา ง เชน การไถพรวนขณะดนิ แหงทาํ ใหหนาดิน ท่ีสมบูรณห ลุดลอยไปกับลมได หรือการปลกู พืชบางชนดิ จะทาํ ใหด ินเส่ือมเรว็ การเผาปาไม หรือ ตอขา วในนา จะทําใหฮวิ มัสในดินเสอ่ื มสลายเกิดผลเสียกับดนิ มาก การอนุรกั ษทรพั ยากรดนิ 1. การใชท่ีดินอยางถูกตองเหมาะสม การปลูกพืชควรตองคํานึงถึงชนิดของพืชที่ เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน การปลูกพืชและการไถพรวนตามแนวระดับเพื่อปองกันการ ชะลางพงั ทลายของหนาดนิ 2. การปรับปรุงบํารุงดิน การเพิ่มธาตุอาหารใหแกดิน เชน การใสปุยพืชสด ปุยคอก การปลูกพืชตระกลู ถั่ว เปน ตน 3. การปอ งกนั การเสอ่ื มโทรมของดิน ไดแ ก การไถพรวนตามแนวระดับ การทําคันดิน ปอ งกนั การไหลชะลา งหนา ดิน รวมท้งั การไมเ ผาปาหรือการทําไรเ ลื่อนลอย
104 4. การใหความชุมชื้นแกดิน เชน หญาหรือฟางคลุมหนาดินจะชวยใหดินมีความอุดม สมบรู ณ “มลภาวะทางนํ้า” สาเหตุของมลภาวะทางนา้ํ 1. นํ้าเสยี จากบา น รา นคา และอาคารที่ทาํ การกอใหเกิดมลพิษทางน้ําเปนแหลงสะสม เชอ้ื โรค เปน อนั ตรายตอ ผใู ชน าํ้ และสัตวน้าํ 2. นาํ้ เสยี จากโรงงานอตุ สาหกรรม ไดแก น้ําทิ้งจากระบบการผลิต ระบบการหลอเย็น ปะปนมาอาจจะเปนสารอินทรีย และส่ิงปฏิกูลอ่ืน ๆ ซ่ึงเปนพิษกับสิ่งมีชีวิตในน้ํา เกิดการเนา เหม็น เกดิ สี กลิ่น และความไมนาดู 3. ปุยที่ใชในการเกษตร สารไนโตรเจนและฟอสฟอรัส เมื่อฝนตกนํ้าฝนจะชะเอา ไนโตรเจนไหล ลงสแู มน ํ้าลําคลอง ทําใหส าหรายเจรญิ เตบิ โตไดด ีเปนจาํ นวนมาก ทําให น้ําเกิด สี กลนิ่ และรส เม่อื สาหรา ยเหลา น้ตี ายลง กจ็ ะทาํ ใหน ํ้าเนา เหมน็ และมีฟนอลสูงข้ึน เกิดฝาขาว ลอยอยตู ามผิวนา้ํ 4. ผิวดินที่พังทลายในพ้ืนท่ีรับนํ้าบางแหง เชน อางเก็บน้ําที่เส่ือมสภาพและมีการ พงั ทลายของหนาดิน จะทําใหน ํ้ามคี วามขนุ สูง เกดิ สี กลิน่ และรสได 5. การเลย้ี งปศสุ ัตว ถาสตั วเ ลี้ยงกินหญาท่ีคลุมหนาดินมากเกินไปจะทําใหหนาดินถูก น้ํากดั เซาะเม่ือฝนตก และเมื่อไหลลงในแหลงรบั นาํ้ ก็จะเกิดปญ หาเชนเดียวกับขอ 4 นอกจากนี้ มูลสัตวก็จะไหลลงไปในลํานํ้าทําใหมีสารอินทรีย ไนโตรเจน และฟอสฟอรัสสูง เกิดปญหา เชนเดียวกบั ขอ 1 และ 3 6. ยาฆาแมลงและยากําจัดวัชพืช สวนมากเปนสารเคมีที่มีพิษ เม่ือถูกชะลางลงไป ในน้ํา ก็จะเปนพษิ แกพชื และสัตวทอี่ ยูในนํา้ 7. ไฟปา ถาเกดิ ไฟปา ในบริเวณพน้ื ทที่ ีเ่ ปน แหลงตนกําเนิดนํ้าจะทําใหมีขยะ เถาถาน ตะกอนทราย รวมท้งั สารมลพิษตา งๆ ไหลลงไปในแหลง น้ําเปน จาํ นวนมาก จะทําใหอางเก็บน้ํา หรือแมน ้าํ ตน้ื เขิน
105 การอนุรกั ษท รพั ยากรนํ้า 1. การปลูกปา โดยเฉพาะการปลูกปาบริเวณพื้นที่ตนน้ํา หรือบริเวณพ้ืนที่ภูเขา เพื่อใหตน ไมเปน ตัวกักเก็บน้ําตามธรรมชาติ ทัง้ บนดินและใตด นิ 2. การพัฒนาแหลงน้ํา เน่ืองจากปจจุบันแหลงนํ้าธรรมชาติตางๆ เกิดสภาพ ตื้นเขิน เปนสวนใหญ ทําใหปริมาณนํ้าท่ีจะกักขังไวมีปริมาณลดลง จึงจําเปนตองทําการขุดลอกแหลง นํ้าใหกวา งและลกึ ตลอดจนจัดหาแหลง นํา้ 3. การสงวนนํ้าไวใช เปนการวางแผนการใชนํ้าเพื่อใหมีปริมาณน้ําท่ีมีคุณภาพ มาใชป ระโยชนตลอดทั้งป โดยเฉพาะในชว งฤดแู ลง 4. การใชน า้ํ อยา งประหยดั เปนการนําน้ํามาใชประโยชนหลายอยาง อยางตอเนื่องและ เกิดประโยชนส งู สุด 5. การปองกันการเกิดมลพิษของน้ํา ปญหาสวนใหญจะเกิดข้ึนในเมืองใหญๆ ซ่ึงมีประชากรอาศัยอยอู ยางหนาแนน หรือยานอตุ สาหกรรม บงั คับใหมีการบําบัด น้ําเสียกอน ท้ิงหรือปลอยลงสูแหลงน้ํา สําหรับประชาชนทั่วไปไมท้ิงขยะหรือสิ่งปฏิกูล หรือสารพิษลงสู แหลงนา้ํ 6. การนําน้ําท่ีใชแลวกลับไปใชใหม เชน นํ้าจากการลางภาชนะอาหาร สามารถ นาํ ไปใชรดนาํ้ ตนไม สาํ หรับโรงงานอตุ สาหกรรม นํ้าท่ีเกิดจากกระบวนการผลิตซึ่งมีอุณหภูมิสูง เมอ่ื ปลอ ยทิง้ ไวใ หเ ย็น สามารถนําไปใชใหมได “การทําลายทรพั ยากรปา ไม” สาเหตขุ องการทําลายทรพั ยากรปาไม 1. ความตองการไมเ พ่อื ทาํ กจิ การตา ง ๆ เชน ทําอตุ สาหกรรม สรา งท่อี ยูอาศัย 2. การเพมิ่ จาํ นวนประชากรของประเทศ ทําใหความตองการจากภาคเกษตรกรรม มากขึ้น ความจาํ เปน ท่ีตองการขยายพ้นื ทเ่ี พาะปลกู เพมิ่ ขนึ้
106 3. การสงเสรมิ การปลูกพืชหรอื เล้ยี งสัตวเศรษฐกจิ เพื่อการสง ออก เชน มนั สาํ ปะหลัง ฯลฯ โดยไมสง เสรมิ การใชท ีด่ ินอยา งเต็มประสทิ ธิภาพ 4. การกําหนดแนวเขตพ้ืนท่ีปา กระทําไมชัดเจนหรือไมกระทําเลยในหลายๆ แหง ทาํ ใหราษฎรเกิดความสบั สนท้ังโดยเจตนาและไมเจตนา 5. การจัดสรา งสาธารณปู โภคของรฐั อาทิ เขื่อน อางเก็บนา้ํ เสนทางคมนาคม 6. ไฟไหมปา ไฟไหมว ชั พชื และตนไมใ บไมจากการผลดั ใบในฤดูแลงท่ีติดไฟงา ย 7. การทําเหมืองแร แหลงแรท่ีพบในบริเวณที่มีปาไมปกคลุมอยู มีความจําเปนที่ จะตองเปด หนาดนิ กอ น 8. การทําลายของเชอ้ื โรคและแมลง ตนไมใ นปาเปนจํานวนมากท่ีถูกทําลายโดยเชื้อ โรคและแมลง จะเกดิ การเหย่ี วเฉาแคระแกร็นไมเจรญิ เตบิ โต บางชนิดตองสูญพนั ธุ 9. ความตระหนกั และความรวมมอื ของประชาชนตอการอนรุ กั ษย ังมนี อย การอนรุ กั ษทรพั ยากรปาไม 1. การกาํ หนดเขตการใชประโยชนทีด่ ินปา ไม 2. การอนุรักษท รพั ยากรปา ไมเ ก่ียวกับงานปอ งกันรักษาปา การอนุรักษส ง่ิ แวดลอ ม 3. การจดั การท่ดี นิ ทาํ กนิ ใหแกราษฎรผยู ากไรในทองถิ่น 4. การพัฒนาปาไม เชน การทําไม การเก็บหาของปา การปลูกปา การบํารุงปาไม การ คน ควาวิจัย และอุตสาหกรรม 5. การบริหารทั่วไป รีบเรงปลกู สรา งสวนปา ในพื้นท่ีที่ถูกทําลาย หรือ เปนปาเสื่อม โทรม แนวทางการอนรุ ักษและพัฒนาสภาพแวดลอ มในระดบั บคุ คล ระดับบุคคล ประชาชนทกุ คนควรมีจิตสํานึกท่ีดีตอแนวทางการอนุรักษและพัฒนา สภาพแวดลอ มซึ่งมีวธิ ีการงา ยๆ ดงั ตอไปน้ี 1) ตอ งรจู กั ประหยดั 2) ตอ งรูจักรักษา
107 3) ตองรูจกั ฟนฟูทรพั ยากรใหฟ นตวั และรจู ักปรับปรุงใหด ขี ้ึน 4) ชว ยกนั สงเสริมการผลติ และการใชท รพั ยากรอยางมปี ระสิทธภิ าพ 5) ตองรจู ักนําทรพั ยากรทใี่ ชแลวมาผลติ ใหม 6) ตอ งรูจักนาํ ทรพั ยากรอ่ืน ๆ มาใชแ ทนทรพั ยากรท่มี ีราคาแพงหรือกาํ ลังจะลดนอย หมดสูญไป 7) ตองชวยกันคนควาสํารวจหาแหล งทรัพยากรใหม เพ่ือนํามาใชแทน ทรัพยากรธรรมชาติท่ีหายาก 8) ตองไมท าํ ลายทรัพยากรธรรมชาติ 9) ตอ งเตม็ ใจเขา รบั การอบรมศกึ ษา ใหเ ขาใจถึงปญหาและวิธีการอนุรกั ษ ทรัพยากรธรรมชาติ 10) แนวทางการอนรุ กั ษและพฒั นาสภาพแวดลอ มในระดบั ชุมชน เนื่องจากประชาชนแตละคนเปน สมาชกิ ของชุมชนที่ตนอาศัยอยู ซึ่งลักษณะและสภาพ ของชมุ ชน จะมีผลกระทบมาถึงประชาชนในชุมชนน้ัน ๆ ดวย ทั้งท่ีเปนส่ิงที่ดีและ ไมดี ในการ อนุรักษควรรว มมือรวมใจกัน ดงั นี้ 1) ประชาชนในชุมชนจะตอ งตระหนกั ถึงการเขาไปมีสวนรวมในการอนุรักษและพัฒนา สภาพแวดลอ มในชุมชนของตน 2) ประชาชนในชุมชนจะตองมีความรู ความเขาใจในเร่ืองระบบของการจัดการ และ สามารถแกไขปรบั ปรุงและเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทเ่ี ส่ือมโทรมใหดขี ึ้น 3) จัดระบบวิธีการอนุรักษ และพัฒนาสภาพแวดลอมในชุมชนของตนใหประสานงาน กบั หนวยของรฐั และเอกชน แนวทางการอนรุ ักษและพัฒนาสภาพแวดลอ มในระดบั รัฐบาล 1) รฐั บาลควรกําหนดนโยบาย และวางแนวทางการอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอม ท้งั ในระยะสน้ั และระยะยาว เพ่ือเปนหลักการใหหนวยงานและเจาหนาท่ีของรัฐที่เก่ียวของได ยึดถือปฏบิ ัติตอ ไป
108 2) ในฐานะที่เปน พลเมอื งดีของชุมชนและของประเทศ ประชาชนไทยทุกคนควรปฏิบัติ ตนใหถ ูกตอ งตามกฎขอบงั คบั หรือตามกฎหมายเกี่ยวกบั สงิ่ แวดลอ มทีส่ าํ คญั 3) หนว ยงานของรัฐทงั้ ในทองถ่ินและภูมิภาค จะตองเปนผูนําและเปนแบบอยางท่ีดีใน การอนุรักษและพัฒนาสภาพแวดลอม รวมทั้งจะตองใหความสนับสนุนและรวมมือกับ ภาคเอกชนและประชาชนไปดวย 4) เผยแพรข า วสารขอมูลกฎหมายทองถิ่น และความรูทางดานการอนุรักษและพัฒนา สภาพแวดลอมทั้งทางตรงและทางออ ม 5) หนวยงานท่ีรับผิดชอบในทองถิ่น ภูมิภาค ตองรีบเรงดําเนินการแกไขฟนฟู สภาพแวดลอมทเี่ สือ่ มโทรมไปใหกลบั สสู ภาพเชนเดิม และหาทางปองกันไมใหเกิดสภาพการณ เชนนั้นขนึ้ มาอีก เรือ่ งท่ี 5 ปรากฏการณท างธรณีวทิ ยาทีม่ ผี ลกระทบตอชวี ิตและส่ิงแวดลอม “ละล”ุ ทม่ี า สมาคม รกั ษ ปาง สี ดา ละลุ เกิดจากน้ําฝนกดั เซาะ ยบุ ตัวหรอื พงั ทลายของดิน เนื่องจากสภาพ ดินแข็ง จะคงอยูไมยุบตัวเม่ือถูกลมกัดกรอน จึงมีลักษณะเปนรูปตาง ๆ สวยงาม แปลกตา แตกตาง กันไป เปนปรากฏการณธรรมชาติท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากการถลมของหนาดิน สวนท่ี แขง็ กวา จะคงตวั อยดู า นบน คุมกันชั้นกรวด ทรายทอ่ี อ นกวาดา นลา ง
109 “แผนดนิ ถลม (Land slides)” แผนดินถลมเปนปรากฏการณธรรมชาติของการสึกกรอนชนิดหนึ่ง ที่กอใหเกิดความ เสียหายตอบริเวณพน้ื ที่ที่เปนเนนิ สงู หรอื ภูเขาทม่ี ีความลาดชนั มาก เนอ่ื งจากขาดความสมดุลใน การทรงตัวบริเวณดังกลาว ทําใหเกิดการปรับตัวของพื้นดินตอแรงดึงดูดของโลกและเกิดการ เคล่ือนตัวขององคประกอบธรณีวทิ ยาบรเิ วณน้ัน จากท่สี ูงลงสทู ่ีตา่ํ แผน ดินถลม มักเกิดในกรณีที่ มีฝนตกหนกั มากบริเวณภูเขาและภเู ขานั้นอุมนาํ้ ไวจ นเกดิ การอ่มิ ตวั จนทําใหเกดิ การพงั ทลาย สาเหตุของการเกดิ ดินถลม ท่เี กดิ จากการกระทําของมนุษยไ ดแ ก 1) การขดุ ดินบรเิ วณไหลเ ขา ลาดเขาหรือเชงิ เขา เพ่อื การเกษตร การสรางถนน การ ขยายท่ีราบในการพฒั นาท่ดี ิน การทาํ เหมอื ง เปนตน 2) การดดู ทรายจากแมน าํ้ หรือบนแผนดิน 3) การขดุ ดินลกึ ๆ เพอื่ การกอสรางหองใตด ินของอาคาร 4) การบดอัดทด่ี ิน เพ่อื การกอ สราง ทําใหเ กดิ การเคล่ือนของดนิ ในบริเวณใกลเ คียง 5) การสูบน้าํ ใตด ิน นํา้ บาดาล ท่มี ากเกินไป หรือการอัดนาํ้ ลงใตดิน 6) การถมดิน เพื่อการกอ สราง ทําใหเ พิม่ นํ้าหนักบนภเู ขา หรือสนั เขา 7) การตดั ไมทําลายปา เพื่อขยายพ้นื ที่การเพาะปลูก 8) การทาํ อา งเกบ็ นาํ้ ซ่งึ เปน การเพม่ิ น้าํ หนักบนภเู ขา และทําใหนาํ้ ซึมลงใตดินมากจนเกิน สมดุล 9) การเปลย่ี นแปลงทางน้ําธรรมชาติ ทําใหร ะบบน้าํ ใตดินเสียสมดุล 10) การกระเทอื นตางๆ เชน การระเบิดหนิ ปจจัยสาํ คัญของการเกดิ แผน ดนิ ถลม ไดแ ก 1.ลกั ษณะของดนิ ท่เี กิดจากการผพุ ังของหินบนลาดเขา 2.ลาดเขาท่ีมีความลาดชนั มาก (มากกวา 30 เปอรเ ซ็นต) 3.มกี ารเปล่ียนแปลงสภาพปา
110 ปจจยั ท่ีสงเสริมความรนุ แรงของการเกดิ แผน ดนิ ถลม ไดแก 1.ปริมาณฝนทตี่ กบนภูเขา 2.ความลาดชนั ของภูเขา 3.ความสมบรู ณข องปาไม 4.ลกั ษณะทางธรณีวิทยาของภเู ขา ลาํ ดบั เหตกุ ารณก ารเกิดแผน ดนิ ถลม ที่มา http://www.chaoprayanews.com/tag/ดนิ ถลม/page/3/ 1. เมอ่ื ฝนตกหนกั น้ําซึมลงไปในดนิ อยา งรวดเรว็ ดินอม่ิ น้ํา 2. แรงยึดเกาะระหวา งมวลดนิ จะลดลง 3. ระดบั น้าํ ใตผิวดนิ สงู ขึ้นทาํ ใหแ รงตานทานการเลือ่ นไหลลดลง 4. นํา้ ใตผวิ ดนิ ไหลภายในชองวา งของดนิ ลงตามความชันของลาดเขา 5. เม่อื มีการเปล่ยี นความชันก็จะเกดิ เปนน้ําผดุ 6. เกิดการเล่ือนไหลของดินและจะเกดิ ตอเน่อื งตอ ไปตามลาดเขา
111 “แผนดินไหว” ท่มี า http://www.ipesp.ac.th/learning/supitcha/img/feat_eq1.jpg ผลกระทบจากแผนดนิ ไหว แผนดินไหวสามารถสรางความเสียหายไดอยางมาก กอใหเกิดสึนามิ สัตวนํ้าตาย และ ระบบนิเวศทางนํ้าเปล่ยี นแปลง หากเกดิ ขึน้ บริเวณทีม่ ชี ุมชน มีประชาชนอยูอาศัยหนาแนน จะ ทาํ ใหเ กิดความสูญเสียมากมาย ความสน่ั สะเทือนทําใหอาคารถลมลงมาทับผูคนท่ีอยูอาศัย ทํา ใหเสนทางคมนาคมเสียหายระบบสาธารณูปโภคเสียหาย และสงผลตอสุขภาพอนามัยและ เศรษฐกิจ ดังนี้ 1. ผลกระทบตอสขุ ภาพอนามยั 1.1 ประชาชนไดรบั บาดเจบ็ หรอื เสียชีวิตจากเศษสง่ิ ปรกั หกั พังและการลม ทับของ สิ่งกอ สรา งตาง ๆ 1.2 ท่ีอยอู าศัยพงั เสียหายไมสามารถเขา ไปอยูอาศยั ได ทําใหไ รท่ีอยอู าศัย 1.3 ระบบสาธารณูปโภคไดร บั ความเสยี หาย อาจเกิดการระบาดของโรคตางๆ 1.4 เกดิ เหตอุ ัคคีภัยหรอื ไฟฟาลัดวงจร ทาํ ใหป ระชาชนบาดเจบ็ หรอื เสียชีวติ 1.5 สุขภาพจติ ของผปู ระสบภยั เสอ่ื มลง 2. ผลกระทบตอ เศรษฐกิจ 2.1 ระบบธุรกิจหยุดชะงักเนื่องจากระบบการคมนาคมส่ือสารถูกทําลายไมมีการ ประกอบหรือดําเนนิ ธรุ กรรม หรอื การผลติ ใดๆ
112 2.2 รัฐตองใชงบประมาณในการดูแลสุขภาพการรักษาพยาบาลผูประสบภัยการ ฟนฟูระบบสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะตาง ๆ ตลอดจนการกอสรางท่ีอยูอาศัยของ ประชาชนและหนวยงานราชการตางๆสง ผลถงึ งบประมาณที่ขาดหายไปในการพฒั นาประเทศ 2.3 พืชผลทางการเกษตรเสยี หาย “ภเู ขาไฟระเบดิ ” ท่ีมา http://weknowyourdreams.com/ ที่มา http://www.zoomschool.com/subjects/ image.php?pic=/images/volcano/volcano- volcano/gifs/volcanodiagram.GIF01.jpg 01.jpg ผลกระทบจากภเู ขาไฟระเบดิ 1.การระเบิดของภูเขาไฟทําใหเกิดแกสพิษบางชนิด เชน แกสซัลเฟอรไดออกไซด แกส คารบ อนมอนอกไซด ซ่งึ เปน อนั ตรายตอ สง่ิ มีชวี ติ 2. ลาวา ลาวาท่ีไหลออกจากปลองภูเขาไฟมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูงประมาณ 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง ประชาชนบริเวณใกลเคียงอาจหนีภัยไมทันอาจเปนอันตรายตอชีวิตและ ทรพั ยส นิ 3.คล่ืนสึนามิ ในกรณีที่เกิดการระเบิดของภูเขาไฟใตนํ้า จะทําใหเกิดการถายโอน พลงั งานสนู ้ําในทะเล หรือมหาสมุทรเกดิ เปนคลื่นสึนามิ ท่ีเปนอันตรายตอผูที่อยูบริเวณชายฝง ทะเลในแนวการเคล่อื นท่ขี องคลื่น
113 4.โคลนไหล การระเบิดของภูเขาไฟจะทําใหอากาศแปรปรวน มีฝนตกหนัก นํ้าฝน จะชะลางเถาฝุน เศษหินจากการระเบิดมีลักษณะคลายโคลน ไหลลงสูที่ตํ่าดวยความเร็วสูง โคลนไหลนีท้ าํ ใหเ กดิ ความเสยี หายตอส่งิ กอสรา ง ทอ่ี ยอู าศยั และชวี ิตของมนุษย 5. เถาฝุนภูเขาไฟ การระเบิดของภูเขาไฟมักเกิดเถาฝุนภูเขาไฟ ครอบคลุมอาณา บรเิ วณใกลภ เู ขาไฟ กระแสลมสามารถพัดพาเถาฝุนเหลาน้ันไปไกลเปนพันกิโลเมตร ทําใหเกิด มลภาวะทางอากาศและแหลงน้ําของมนุษย เถาฝุนภูเขาไฟสามารถลอยขึ้นไปในบรรยากาศ และคงอยนู านหลายปก วาจะตกลงบนพนื้ โลกจนหมด เร่ืองท่ี 6 ปรากฎการณภ าวะโลกรอนและผลกระทบจากตอ ชวี ิตและสง่ิ แวดลอ ม “สภาวะโลกรอน (Global warming)” ภาวะโลกรอนเกดิ จาก การเพ่มิ ขนึ้ อยา งตอ เนื่องของ CO2 ทอี่ อกมาจาก โรงงานอตุ สาหกรรม รถยนต หรือการ กระทําใดๆท่ีเผา เช้ือเพลิงฟอสซิล (เชน ถานหิน น้ํามัน กาซธรรมชาติ หรือ สารประกอบ ไฮโดรคารบอน ) สงผลใหระดับปริมาณ CO2 ในปจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 สวนในลาน สวน) เปนครั้งแรกในรอบกวา 6 แสนป ซึ่งคารบอนไดออกไซด ที่มากข้ึนไดเพิ่มการกักเก็บ ความรอ นไวในโลกของเรามากข้นึ เร่อื ยๆ จนเกิดเปน ภาวะโลกรอ น
114 ทมี่ า http://mindworld.circlecamp.com/upload/greenhouse_effect_1_1380807280.jpg “ปรากฏการณเรือนกระจกคอื อะไร?” สาเหตขุ องปรากฏการณเ รอื นกระจก \"ปรากฏการณเรือนกระจก\" (greenhouse effect) คือ ปรากฏการณท่ีโลก มอี ุณหภูมิสูงข้นึ เน่อื งจากพลงั งานแสงอาทติ ยใ นชว งความยาวคลืน่ อนิ ฟราเรดท่ีสะทอนกลับถูก ดูดกลืน โดยโมเลกุลของ ไอน้ํา คารบอนไดออกไซด (CO2) มีเทน (CH4) คลอโรฟลูออโร คารบ อน (CFCs) และไนตรสั ออกไซด (N2O) ในบรรยากาศทาํ ใหโมเลกุลเหลาน้ีมีพลังงานสูงข้ึน มกี ารถายเทพลังงานซึง่ กันและกนั ทาํ ใหอ ณุ หภมู ใิ นช้ันบรรยากาศสงู ขึน้ การถา ยเทพลังงานและ ความยาวคล่ืนของโมเลกุลเหลานี้ตอๆกันไป ในบรรยากาศ ทําใหโมเลกุลเกิดการส่ันการ เคลื่อนไหวตลอดเวลาและมาชนถกู ผิวหนงั ของเรา ทําใหเรารสู ึกรอ น ประเทศในเขตหนาวมีการ เพาะปลกู พืชโดยอาศัยการควบคุมอุณหภูมิความรอนโดยใชหลักการท่ีพลังงานความรอนจาก แสงอาทิตยสองผานกระจก แตความรอนที่อยูภายในเรือนกระจกไมสามารถสะทอนกลับ ออกมา ทาํ ใหอ ุณหภูมิภายในสงู ขึ้นเหมาะแกการเพาะปลูกของพืช จึงเปนที่มาของคําวาภาวะ เรอื นกระจก (greenhouse effect) กาซที่กอ ใหเ กดิ ปรากฏการณเ รอื นกระจก ไดแ ก • คารบอนไดออกไซด (CO2) เกิดจากการเผาไหมตางๆ เปนกาซที่สะสมพลังงาน ความรอนในบรรยากาศโลกไวม ากที่สุด • มีเทน (CH4) ซึ่งสวนใหญเกิดจากการสลายตัวของอินทรียวัตถุ เชน ขยะมูลฝอย ท่ยี อยสลายได ของเสีย อจุ จาระ
115 • คลอโรฟลูออโรคารบอน(CFCs) เปนสารประกอบสําหรับทาํ ความเย็น พบในเคร่ือง ทาํ ความเย็นตางๆ เปนส่งิ ทอ่ี ยรู วมกับฟรีออน และยังพบไดในสเปรยต า ง ๆ อกี ดว ย • Nitrous Oxide (N2O) เปน กาซมีพิษท่ีเกิดจากเครื่องยนต การเผาถานหิน และใช ประกอบในรถยนตเพือ่ เพิ่มกาํ ลังเครื่อง ตารางแสดงกา ซเรือนกระจกและแหลง ทมี่ า แกสเรือนกระจก แหลง ที่มา สงผลใหโ ลกรอ นขนึ้ (%) 1) จากแหลง ธรรมชาติ เชน กระบวนการ กาซ หายใจของสง่ิ มีชีวติ 57 คารบอนไดออกไซด 2) จากมนุษย เชน การเผาไหมเ ชอื้ เพลงิ (CO2) จากโรงงานอุตสาหกรรมตา งๆ , การตดั ไมทาํ ลายปา (ลดการดดู ซับ CO2) 1) จากแหลงธรรมชาติ เชน จากการยอย สลายของสิ่งมชี ีวิต, การเผาไหมท่เี กิด 12 จากธรรมชาติ กาซมเี ทน (CH4) 2) จากมนุษย เชน จากนาขา ว, แหลง น้ําทวม, จากการเผาไหมเชือ้ เพลงิ ประเภท ถานหิน น้ํามัน และแกส ธรรมชาติ 1) จากมนษุ ย เชน อุตสาหกรรมท่ีใชกรด ไนตรกิ ในขบวนการผลติ , อตุ สาหกรรม กาซไนตรสั ออกไซด พลาสติก, อตุ สาหกรรมไนลอน, 6 (N2O) อุตสาหกรรมเคมี, การเผาไหมเชอื้ เพลงิ จากซากพชื และสัตว, ปุย , การเผาปา 2) จากแหลง ธรรมชาติ - อยูใ นภาวะท่ี สมดุล กา ซทม่ี สี วนประกอบ จากมนุษย เชน อุตสาหกรรมตางๆ และ 25 คลอโรฟลูออโร อุปกรณเครื่องใชใ นชีวติ ประจาํ วัน เชน โฟม, คารบ อน (CFCs) กระปองสเปรย, เครื่องทําความเย็น ;
116 แกส เรอื นกระจก แหลง ทม่ี า สงผลใหโลกรอ นขนึ้ (%) ตเู ยน็ แอร , ตวั ทําลาย (แกสนจ้ี ะรวมตัวทาง เคมีไดดีกับโ อโซนทําให โอโซนในชั้ น บรรยากาศลดลงหรือเกิดรรู ว่ั ในช้นั โอโซน) ผลกระทบจากสภาวะโลกรอน ดานนิเวศวิทยา แถบข้ัวโลกไดรับผลกระทบมากที่สุด โดยเฉพาะอยางย่ิงภูเขา นํ้าแข็ง กอนนํ้าแข็งละลายอยางรวดเร็วทําใหระดับน้ําทะเลทางข้ัวโลกเพ่ิมข้ึนและไหลลงสู ท่ัวโลก ทําใหเกิดน้ําทวมไดทุกทวีป นักวิจัยไดคาดการณไววาในอีก 100 ปขางหนา อุณหภูมิ จะสงู ขนึ้ จากปจ จุบนั 4.5 องศาเซลเซยี ส ดานเศรษฐกิจ ปลาทะเลจะประสบปญหาเน่ืองจากความแปรปรวนของสภาพ อากาศ ท่สี งผลตอแนวปะการัง ซึ่งเปนท่ีอยูและที่เพาะพันธุของปลา ทําใหปริมาณปลาลดลง สงผลกระทบโดยตรงตอ การทําประมง เปนตน ดานสุขภาพ ภาวะของโลกท่ีรอนขึ้น ทําใหเหมาะแกการเจริญเติบโตและ แพรกระจายของเชอ้ื โรคบางอยา ง เชื้อโรคบางชนิดท่ีเคยถูกควบคุมใหหมดไปแลวอาจกลับมา อีกครัง้ รวมถึงศัตรพู ชื ทท่ี าํ ลายพืชอาหารของมนุษยอีกดวย วธิ กี ารแกปญหาโลกรอนมดี ังนี้ 1) เปลี่ยนหลอดไฟ การเปลี่ยนหลอดไฟจากหลอดไส เปนฟลูออเรสเซนตหน่ึงดวง จะชวยลดคารบ อนไดออกไซดได 150 ปอนดต อป 2) ขับรถใหนอยลง หากเปนระยะทางใกล ๆ สามารถเดิน หรือขี่จักรยานแทนได การขบั รถยนตเ ปนระยะทาง 1 ไมล จะปลอ ยคารบ อนไดออกไซด 1 ปอนด 3) รไี ซเคลิ ใหม ากข้นึ ลดขยะของบานคุณใหไดครงึ่ หนึ่ง จะชวยลดคารบอนไดออกไซด ไดถึง 2,400 ปอนดต อ ป
117 4) เช็คลมยาง การขับรถโดยที่ยางมีลมนอย อาจทําใหเปลืองน้ํามันขึ้นไดถึง 3% จาก ปกติ น้ํามนั ทกุ ๆ แกลลอนทปี่ ระหยดั ได จะลดคารบ อนไดออกไซดไ ด 20 ปอนด 5) ใชน้าํ รอนใหน อยลง ในการทาํ นํา้ รอ นใชพ ลงั งานในการตมสงู มาก การปรบั เครอ่ื งทํา นํ้าอุนใหมีอุณหภูมิ และแรงน้ําใหนอยลง จะลดคารบอนไดออกไซดได 350 ปอนดตอป หรือ การซักผาในนํา้ เยน็ จะลดคารบ อนไดออกไซดไดป ละ 500 ปอนด 6) หลีกเล่ียงผลิตภัณฑที่มีบรรจุภัณฑเยอะ เพียงแคลดขยะของคุณเอง 10% จะลด คารบอนไดออกไซดได 1,200 ปอนดตอ ป 7) ปรบั อณุ หภูมิหองของคณุ (สาํ หรบั เมอื งนอก) ในฤดูหนาว ปรบั อณุ หภูมิของ heater ใหตํ่าลง 2 องศา และในฤดูรอน ปรับใหสูงข้ึน 2 องศา จะลดคารบอนไดออกไซดได 2,000 ปอนดตอป 8) ปลูกตนไม การปลูกตนไมหนึ่งตน จะดูดซับคารบอนไดออกไซดได 1 ตัน ตลอดอายุ ของมนั 9) ปดเคร่ืองใชไฟฟาที่ไมใช ปดทีวี คอมพิวเตอร เครื่องเสียง และเคร่ืองใชไฟฟา ตาง ๆ เมื่อไมใช จะลดคารบอนไดออกไซดไ ดน บั พันปอนดตอป
118 กิจกรรมทา ยบทที่ 6 จงเลือกคําตอบทถ่ี ูกทีส่ ดุ 1. ขอใดคอื ความแตกตางระหวางการเปลี่ยนแปลงแทนทแ่ี บบข้ันบกุ เบกิ (Primary succession) และการเปลีย่ นแปลงแทนที่แบบข้นั ทดแทน (Secondary succession) ก. เร่มิ จากพื้นที่วางเปลา ข. แบบข้ันทดแทน (Secondary succession) เกดิ ข้นึ จากฝมอื มนุษย ค. มีข้นั ชมุ ชนสมบรู ณ (Climax stage) ท่ีแตกตางกัน ง. แบบขนั้ ทดแทน (Secondary succession) พ้นื ทเ่ี คยเปน ปา ทสี่ มบูรณม ากอ นแลว ถกู ทาํ ลายจนเปนพื้นท่ีวางเปลา 2. ขอ ใดคือตัวอยา งของทรพั ยากรธรรมชาติทส่ี ามารถนํากลับมาใชไ ดทั้งหมด ก. เหล็ก อะลูมิเนียม แกว ข. ทองแดง ทอ นไม ปลา ค. ลม แสงอาทิตย เมฆ ง. ถา นหนิ นาํ้ มนั LPG 3. เพราะเหตใุ ดจงึ มีประชาชนบางกลมุ ที่ตอตา นการสรางอางเกบ็ นํา้ หรอื เขอื่ น ก. ไมม ีความจําเปน ข. ขัดผลประโยชนท อ งถ่นิ ค. ตอ งการพน้ื ทไ่ี วท ําการเกษตรมากกวา ง. ทาํ ลายพนื้ ที่ปาซึง่ เปน แหลง อาหารและถิ่นทอ่ี ยขู องสตั วป า 4. กิจกรรมใดมีผลโดยตรงในการทาํ ลายสตั วปา ก. การทาํ สงคราม ข. การเลนกฬี าลา นก ค. การเพม่ิ ขนึ้ ของประชากร ง. การขยายตัวของชมุ ชนเมือง
119 5. ในการปรับปรุงบํารุงดนิ ที่ถกู ตอง เพ่ือการแกป ญหาดินขาดธาตุอาหารเราควรทําอยา งไร ก. ปลอยน้าํ ใหทวมพืน้ ท่ี ข. โรยปุยเคมแี ลวไถกลบ ค. ปลูกพชื ตระกูลถัว่ แลว ไถกลบ ง. ปลอยใหห ญาขึ้นเองตามธรรมชาติ 6. เพื่อเปนการใชประโยชนจ ากน้ําใหไ ดประโยชนสงู สดุ ผูเรยี นควรปฏิบตั ติ ามขอใด ก. นาํ น้ําท่ใี ชล างจานแลวไปรดน้าํ ตน ไมไดทนั ที ข. นําน้ําที่ใชลางจานแลว ไปกรองแลวนํากลับไปลา งรถ ค. นํานา้ํ ทใี่ ชลางจานแลว ไปกรอง 3 ครงั้ แลว นาํ กลบั ไปซกั ผา ง. นํานา้ํ ทใี่ ชลา งจานแลวไปกรองแลวนํากลับไปลา งจานใหม 7. เพราะเหตใุ ดการเกดิ แผน ดินไหวจึงสง ผลกระทบตอ เศรษฐกิจ ก. การคมนาคม การสื่อสารหยดุ ชะงักหรอื ถกู ทาํ ลาย ข. เกิดโรคระบาด ค. สขุ ภาพจิตเสยี ง. ผคู นบาดเจ็บ 8. เพราะเหตุใดการระเบิดของภเู ขาไฟใตนา้ํ จึงสง ผลใหเ กดิ คลนื่ สนึ ามิ ก. เกิดการถา ยโอนพลงั งานสนู ้ําในทะเล ข. กระแสลมเหนือภูเขาไฟใตท ะเลพดั แรงมาก ค. ลาวาท่ีไหลออกจากปลองภเู ขาไฟมีความเร็วมาก ง. การระเบดิ ของภเู ขาไฟจะทาํ ใหอากาศแปรปรวน
120 9. ขอ ใดเปน ตัวอยา งของภยั ธรรมชาตทิ เ่ี กดิ จากภาวะโลกรอนทีเ่ ห็นไดช ัดเจนท่สี ุด ก. เกดิ พายุนอยลง ข. ระดบั น้าํ ทะเลสูงขนึ้ ค. คลื่นความรอ นมากข้นึ ง. นาํ้ ทวมทุกปแ ละมากขน้ึ ทกุ ป 10. ใครมพี ฤตกิ รรมทส่ี ง เสรมิ ใหเกดิ ภาวะโลกรอน ก. นายขํา เผานาขาวเพื่อเตรยี มการปลกู ขาวรอบตอไป ข. นองล่ี ชอบปลูกตน ไมด อกเล็กๆ ในกระถางพลาสตกิ ค. นายชา เตรยี มบอเลี้ยงไสเดือนเพอื่ การกาํ จัดขยะสด ง. นายไม ชอบปลกู ตนยูคาลปิ ตสั เพอ่ื สงขายโรงงานทํากระดาษ
121 บทท่ี 7 ธาตุ สมบัตขิ องธาตแุ ละธาตกุ มั มันตภาพรังสี สาระสําคญั ทฤษฎี โครงสรา ง และการจดั เรยี งอิเล็กตรอนในอะตอม สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ ประโยชนของตารางธาตุ สมบัติธาตุกัมมันตภาพรังสีและกัมมันตภาพรังสี ประโยชนและ ผลกระทบจากกัมมันตภาพรังสี ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวัง อธิบายเก่ียวกับโครงสรางอะตอม ตารางธาตุ สมการและปฏิกิริยาเคมีท่ีพบใน ชวี ิตประจําวนั ขอบขายเนื้อหา เรือ่ งที่ 1 โครงสรา งและการจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม เร่ืองที่ 2 ธาตแุ ละตารางธาตุ เรอื่ งท่ี 3 ธาตกุ มั มันตภาพรงั สี
122 บทที่ 7 ธาตุ สมบัติของธาตุและธาตกุ ัมมันตภาพรังสี เร่ืองที่ 1 โครงสรางและการจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม ความหมายของอะตอม ดีโมครีตัส (นักปราชญชาวกรีก) ไดกลาววาทุกสิ่งทุกอยางประกอบข้ึนจาก อนุภาค ท่ีเล็กมาก จนไมสามารถมองเห็นได อนุภาคเล็กๆ เหลาน้ีจะรวมพวกเขาดวยกันโดยวิธีการ ตา งๆ สาํ หรับอนุภาคเองนั้นไมม กี ารเปลย่ี นแปลงและไมส ามารถแตกแยกออกเปนช้ินสวนที่เล็ก ลงไปอีกได ดีโมครี- ตัสต้ังช่ืออนุภาคนี้วา อะตอม (Atom) จากภาษากรีกที่วา atoms ซึ่งมี ความหมายวา ไมสามารถแบงแยกไดอีก ตามความคิดเห็นของเขา อะตอมเปนชิ้นสวนที่เล็ก ที่สุดของสสารทีส่ ามารถจะคงอยไู ด ภาพการแปรียบเทียบขนาดของอะตอม ประโยชนจ ากการเรียนเรอ่ื งโครงสรางอะตอม 1. ทราบสมบตั ทิ างเคมีและสมบตั ิการเปลง แสงของธาตุ 2. เราสามารถศกึ ษาแกแลก็ ซ่ี (galaxy) ดวงดาวและดาวเคราะหตา งๆ โดยพิจารณา จากการศึกษาสเปกตรัมท่ไี ดจ ากดวงดาว
123 แบบจําลองอะตอม เปนทย่ี อมรับกันแลว วาสารตา ง ๆ น้นั ประกอบดว ยอะตอม แตอยางไรก็ตามยังไมมีผูใด เคยเหน็ รูปรา งท่ีแทจริงของอะตอม รูปรางหรือโครงสรางของอะตอม จึงเปนเพียงจินตนาการ หรือมโนภาพที่สรางข้ึนเพ่ือใหสอดคลองกับการทดลอง เรียกวา “แบบจําลองอะตอม” ซ่งึ จัดเปน ทฤษฎีประเภทหนึ่ง แบบจําลองอะตอมอาจเปล่ียนแปลงไปได ตามผลการทดลองหรือ ขอ มูลใหม ๆ เมือ่ แบบจาํ ลองอะตอมเดิมอธิบายไมได ดังนนั้ แบบจําลองอะตอม จึงไดมีการแกไข พัฒนาหลายคร้ังเพ่ือใหสอดคลองกับการทดลอง นักวิทยาศาสตรไดใชกลองจุลทรรศน อเิ ลก็ ตรอนทมี่ ีกําลังขยายสูงมากรวมกับคอมพิวเตอร และถายภาพที่เชื่อวาเปนภาพภายนอก ของอะตอม แบบจําลองอะตอมของจอหนดอลตนั จอหน ดอลตัน นกั วทิ ยาศาสตรช าวอังกฤษไดเสนอทฤษฎีอะตอมโดยอาศัยขอมูลจาก การทดลองที่พอจะศึกษาไดและนับวาเปนทฤษฎีแรกท่ีเก่ียวกับอะตอมที่พอจะเช่ือถือได ซ่ึงมี ใจความ ดังน้ี สารทกุ ชนดิ ประกอบดวยอนุภาคขนาดเลก็ ท่ีสุด เรียกวา “อะตอม” อะตอมจะไมสามารถแบง แยกได และไมสามารถ สรางขึ้นใหมไ ด อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมสี มบัติเหมอื นกัน ทกุ ประการ อะตอมของธาตุตา งกนั จะมีสมบตั ติ างกนั ธาตตุ ั้งแตส องชนดิ ข้ึนไปสามารถรวมตวั กันเกิดเปนสารประกอบ โดยมี อตั ราสว นการรวมตัวเปนตัวเลขอยา งงา ย เชน CO CO2 จากทฤษฎีอะตอมของดาลตัน แบบจําลองอะตอมมลี กั ษณะดงั รปู
124 ลกั ษณะแบบจําลองอะตอมของดอลตัน ตามทฤษฎอี ะตอมของดอลตัน อะตอมในแนวคดิ ปจจุบนั ขอ 1, 3, 4 ใชไมไดในปจ จุบัน ขอ 1. อะตอมไมใชส ่ิงท่ีเล็กท่สี ดุ อะตอมยังประกอบดวยอนุภาคอิเล็กตรอน,โปรตอน, นิวตรอน เปนตน ขอ 3 - 4 อะตอมของธาตชุ นิดเดียวกันมีคุณสมบัตทิ างกายภาพไมเ หมือนกัน กลาวคือ มมี วลไมเทา กัน ซึ่งจะไดก ลาวตอไป ในเร่ือง \" ไอโซโทรป\" แบบจําลองอะตอมของทอมสัน เซอร โจเซฟ จอหน ทอมสัน (J.J Thomson) นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษไดสนใจ ปรากฏการณที่เกิดข้ึนในหลอดรังสีแคโทด จึงทําการทดลอง เก่ียวกับการนําไฟฟาของแกสขึ้นในป พ.ศ.2440 (ค.ศ. 1897) และไดสรปุ สมบตั ขิ องรงั สีไวห ลายประการ ดงั น้ี 1. รังสีแคโทดเดินทางเปนเสนตรงจากขั้วแคโทดไปยัง ขัว้ แอโนดเนอื่ งจากรังสแี คโทดทําใหเกิดเงาดาํ ของวตั ถไุ ด ถานําวตั ถุไปขวางทางเดนิ ของรงั สี 2. รงั สแี คโทดเปน อนภุ าคท่ีมมี วล เนอ่ื งจากรังสที ําใหใ บพัดท่ีขวางทางเดินของรังสีหมุน ไดเหมอื นถูกลมพัด 3. รังสีแคโทดประกอบดวยอนุภาคที่มีประจุลบ เน่ืองจากเบี่ยงเบนเขาหาข้ัวบวกของ สนามไฟฟา
125 หลอดรังสีแคโทด รังสีแคโทดเบยี่ งเบนเขาหาข้ัวบวกของสนามไฟฟา จากผลการทดลองนี้ ทอมสันอธิบายไดวา อะตอมของโลหะท่ีข้ัวแคโทดเมื่อไดรับ กระแสไฟฟาทม่ี คี วามตางศกั ยสงู จะปลอ ยอเิ ลก็ ตรอนออกมาจากอะตอม อิเล็กตรอนมีพลังงาน สูง และเคลื่อนท่ภี ายในหลอด ถา เคล่ือนทชี่ นอะตอมของแกสจะทาํ ใหอ ิเล็กตรอนในอะตอมของ แกสหลดุ ออกจากอะตอม อเิ ล็กตรอนจากขว้ั แคโทดและจากแกส ซึ่งเปน ประจุลบจะเคลื่อนท่ีไป ยังขัว้ แอโนด ขณะเคลอื่ นทถ่ี า กระทบฉากที่ฉาบสารเรืองแสง เชน ZnS ทําใหฉากเกิดการเรือง แสง ซ่ึงทอมสันสรปุ วารังสีแคโทดประกอบดวยอนภุ าคที่มปี ระจุลบเรียกวา “อิเล็กตรอน” และ ยงั ไดห าคาอตั ราสว นประจตุ อมวล (e/m) ของอิเลก็ ตรอนโดยใชสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา ชวยในการหา ซึ่งไดคาประจุตอมวลของอิเล็กตรอนเทากับ 1.76 x 10 8 C/g คาอัตราสวน e/m น้ีจะมคี า คงท่ี ไมข้นึ อยูกบั ชนิดของโลหะท่ีเปนขั้วแคโทด และไมข้ึนอยูกับชนิดของแกสที่ บรรจุอยูในหลอดรังสีแคโทด แสดงวาในรังสีแคโทดประกอบดวยอนุภาคไฟฟาท่ีมีประจุลบ เหมือนกันหมดคือ อิเล็กตรอน น่ันเอง ทอมสันจึงสรุปวา “อิเล็กตรอนเปนสวนประกอบสวน หน่ึงของอะตอม และอิเล็กตรอนของทุกอะตอมจะมสี มบัติเหมอื นกนั ”
126 การคนพบโปรตอน การคนพบโปรตอน ในป พ.ศ. 2409 (ค.ศ.1866) ออยเกน โกลดชไตน นักวิทยาศาสตร ชาวเยอรมัน ไดทําการทดลองโดยเจาะรูท่ีข้ัวแคโทดในหลอดรังสีแคโทด พบวาเมื่อผาน กระแสไฟฟาเขา ไปในหลอดรังสีแคโทดจะมีอนุภาคชนิดหนึ่งเคลื่อนที่เปนเสนตรงไปในทิศทาง ตรงกันขามกับการเคลื่อนที่ของรังสีแคโทดผานรูของข้ัวแคโทด และทําใหฉากดานหลังขั้ว แคโทดเรืองแสงได โกลดชไตนไดตั้งชื่อวา “รังสีแคแนล” (canal ray) หรือ “รังสีบวก” (positive ray) สมบัตขิ องรงั สีบวกมีดงั น้ี 1. เดนิ ทางเปนเสนตรงไปยังขว้ั แคโทด 2. เมอ่ื ผา นรังสนี ้ีไปยงั สนามแมเ หล็กและสนามไฟฟา รงั สนี ้ีจะเบีย่ งเบนไปในทิศทางตรง ขา มกับรังสแี คโทด แสดงวา รงั สนี ีป้ ระกอบดวยอนุภาคทมี่ ีประจุไฟฟา เปน บวก 3. มีอัตราสวนประจุตอมวลไมคงท่ี ข้ึนอยูกับชนิดของแกสในหลอด และถาเปนแกส ไฮโดรเจนรงั สนี ี้จะมีอตั ราสวนประจุตอ มวลสูงสุด เรยี กอนภุ าคบวกในรงั สีแคแนลของไฮโดรเจน วา “โปรตอน” 4. มีมวลมากกวารังสีแคโทด เนื่องจากความเร็วในการเคลื่อนท่ีตํ่ากวารังสีแคโทด ทอมสันไดวิเคราะหการทดลองของโกลด ชไตน และการทดลองของทอมสัน จึงเสนอ แบบจําลองอะตอมวา “อะตอมเปนรปู ทรงกลมประกอบดว ยเนอื้ อะตอมซ่ึงมีประจบุ วกและ มอี เิ ลก็ ตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยูทั่วไป อะตอมในสภาพท่ีเปนกลางทางไฟฟาจะมีจํานวน ประจบุ วกเทา กับจาํ นวนประจุลบ”
127 แบบจาํ ลองอะตอมของรทั เทอรฟอรด ในป พ.ศ.2453 (ค.ศ.1910) เซอร เออรเนสต รัทเทอรฟอรด (Sir Ernest Rutherford) ไดศึกษาแบบจําลองอะตอมของทอมสัน และเกิดความสงสัยวาอะตอมจะมีโครงสราง ตามแบบจําลองของทอมสันจริงหรือไม โดยตั้งสมมติฐานวา “ถาอะตอมมีโครงสราง ตามแบบจําลองของทอมสันจริง ดังนั้นเม่ือยิงอนุภาคแอลฟาซึ่งมีประจุไฟฟาเปนบวกเขาไป ในอะตอม แอลฟาทกุ อนุภาคจะทะลผุ า นเปนเสน ตรงท้ังหมดเนื่องจากอะตอมมีความหนาแนน สมํ่าเสมอเหมือนกันหมดทั้งอะตอม” เพ่ือพสิ ูจนสมมติฐานน้ี รทั เทอรฟอรด ไดท ําการทดลอง ยงิ อนุภาคแอลฟาไปยังแผนทองคําบาง ๆ โดยมีความหนาไมเกิน 10–4 cm โดยมีฉากสารเรือง แสงรองรับ ปรากฏผลการทดลอง ดังนี้ 1. อนุภาคสว นมากเคลือ่ นทีท่ ะลุผานแผน ทองคาํ เปน เสน ตรง 2. อนุภาคสว นนอยเบี่ยงเบนไปจากเสน ตรง 3. อนุภาคสวนนอ ยมากสะทอนกลับมาดา นหนาของแผน ทองคํา ถา แบบจาํ ลองอะตอมของทอมสันถูกตอง เม่ือยิงอนุภาคแอลฟาไปยงั แผนทองคําบาง ๆ น้ี อนุภาคแอลฟาควรพงุ ทะลุผา นเปน เสนตรงท้ังหมดหรอื เบยี่ งเบนเพยี งเลก็ นอย เพราะอนุภาค แอลฟามปี ระจบุ วกจะเบี่ยงเบนเมื่อกระทบกับประจุบวกทีก่ ระจายอยใู นอะตอม แตแบบจําลอง อะตอมของทอมสันอธิบายผลการทดลองของรัทเทอรฟอรดไมได รัทเทอรฟอรดจึงเสนอ แบบจาํ ลองอะตอมขึ้นมาใหม ดังนี้
128 แบบจาํ ลองอะตอมของรทั เทอรฟ อรท “อะตอมประกอบดวยนิวเคลียสท่ีมีโปรตอนรวมกันอยูตรงกลาง นิวเคลียส มีขนาดเล็กแตมีมวลมาก และมีประจุบวก สวนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบและมีมวลนอย มากว่ิงอยูรอบ ๆนิวเคลียส” แบบจาํ ลองอะตอมของโบร จากแบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรดทําใหทราบถึงการจัดโครงสรางของอนุภาค ตา งๆในนวิ เคลยี สแตไ มไดอธบิ ายวาอเิ ลก็ ตรอนรอบนิวเคลียสอยูในลักษณะใด นักวิทยาศาสตร ในลําดับตอมาไดหาวิธีทดลองเพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับตําแหนงของอิเล็กตรอนที่อยูรอบ นวิ เคลียส วธิ หี นงึ่ ก็คอื การศึกษาสมบัติและปรากฏการณของคล่ืนและแสง แลวนํามาสรางเปน
129 แบบจาํ ลอง คล่นื ชนดิ ตาง ๆ เชน คลืน่ แสง คล่ืนเสียง มีสมบัติสําคัญ 2 ประการ คือ ความยาว คลน่ื และความถี่ แบบจาํ ลองอะตอมแบบกลุม หมอก อิ เ ล็ ก ต ร อ น เ ค ลื่ อ น ท่ี ร อ บ นิ ว เ ค ลี ย ส อ ย า ง ร ว ด เ ร็ ว ด ว ย รั ศ มี ไ ม แนนอนจึงไมสามารถบอกตําแหนงท่ี แนนอนของอิเล็กตรอนไดบอกไดแต เ พี ย ง โ อ ก า ส ท่ี จ ะ พ บ อิ เ ล็ ก ต ร อ น ใ น บรเิ วณตางๆปรากฏการณแ บบน้ีเรียกวา กลุมหมอกของอิเล็กตรอน บริเวณท่ีมี กลมุ หมอกอเิ ลก็ ตรอนหนาแนนจะมีโอกาสพบอิเล็กตรอนมากกวาบริเวณท่ีเปนหมอกจาง การ เคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอาจเปนรูปทรงกลมหรือรูปอ่ืน ๆ ข้ึนอยูกับระดับ พลงั งานของอิเล็กตรอน แตผลรวมของกลมุ หมอกของอเิ ลก็ ตรอนทุกระดบั พลงั งาน การจดั เรียงอิเล็กตรอนในอะตอม 1. อิเล็กตรอนท่ีว่ิงอยูรอบๆนิวเคลียสนั้น จะอยูกันเปนชั้นๆตามระดับพลังงาน ระดับ พลังงานทีอ่ ยใู กลน วิ เคลียสท่ีสุด (ชั้น K) จะมีพลงั งานตํ่าท่ีสุด และอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน ชัน้ ถัดออกมาจะมพี ลงั งานสูงข้ึนตามลําดับ พลังงานของอิเล็กตรอนของระดับช้ันพลังงาน K < L < M < N < O < P < Q หรอื ชั้นที่ 1< 2 < 3 <4 < 5 < 6 < 7
130 2. ในแตละช้ันของระดับพลังงาน จะมีจํานวนอเิ ล็กตรอนได ไมเกิน 2 2 เม่ือ n = เลข ชั้น เลขช้ันของช้ัน K=1, L=2,M=3,N=4,O=5,P=6 และ Q=7 ตวั อยา ง จาํ นวน e- ในระดับพลังงานชั้น K มไี ด ไมเกิน 2n2 = 2 x 12 = 2x1 = 2 จํานวน e- ในระดบั พลังงานชนั้ N มีได ไมเ กนิ 2n2 = 2 x 42 = 2x16 = 32 3. ในแตละระดับชั้นพลังงาน จะมีระดับพลังงานชั้นยอยได ไมเกิน 4 ชั้นยอย และมีชื่อ เ รี ย ก ชั้ นย อ ย ดั ง นี้ s,p,d,f,ใ น แ ต ล ะ ชั้ นย อ ย จ ะ มี จํ า น ว น e- ไ ด ไ ม เ กิ นดั ง นี้ ระดับพลังงานช้ันยอย s มี e- ได ไมเกิน 2 ตัว ระดับพลังงานช้ันยอย p มี e- ได ไมเกิน 6 ตัว ระดับพลังงานช้ันยอย d มี e-ได ไมเกิน 10 ตัว ระดับพลังงานช้ันยอย f มี e-ได ไมเกิน 14 ตัว เขียนเปน s2 p6 d10 f14
131 การจดั เรียงอิเลก็ ตรอน ใหจ ดั เรียง e- ในระดบั พลงั งานชั้นยอยโดยจัดเรยี งลําดับตามลูกศร การจัดเรยี งอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม ตวั อยาง จงจัดเรียงอิเลก็ ตรอนของธาตุ คลั เซยี ม ( Ca ) ธาตุ Ca มเี ลขอะตอม = 20 แสดงวามี p = 20 และมี e- = 20 ตัว (ดูเลขอะตอม จากตารางธาต)ุ แลวจดั เรียง e- ดังนี้ การจัดเรยี ง e- ของธาตุ Ca = 2 , 8 , 8 , 2
132 มีแผนผังการจัดเรียง e- ดังนี้ Ca มีจานวน e- ในระดับพลังงานชั้นนอกสุด = 2 ตัว จํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานช้ันนอกสุด เรียกวา เวเลนซอิเล็กตรอน (Valence electron) ดังน้นั Ca มเี วเลนซอ เิ ล็กตรอน = 2 ตารางธาตุ (Periodic table of elements) เร่อื งที่ 2 ธาตุและตารางธาตุ ความหมายของธาตุ ธาตุ (element) สารเปนสารบริสุทธ์ิท่ีมีโมเลกุลประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกัน มี ธาตุที่คนพบแลว 118 ธาตุ เปนธาตุท่ีอยูในธรรมชาติ 94 ธาตุ เชน โซเดียม (Na) แมกนีเซียม (Mg) คารบ อน (C) ออกซเิ จน (O) เปนตน
133 แผนผงั การจดั ธาตุ 20 ธาตุแรกออกเปนหมวดหมู ตารางแสดงสมบัติบางประการของธาตุ เรียงตามมวลอะตอม
134 จากตารางแสดงสมบัติของธาตุ ถาจัดธาตุเหลานี้มาจัดเปนพวกโดยอาศัยเกณฑตาง ๆ ตามตาราง จะแบง ธาตุออกเปน 3 กลุม ดงั น้ี 1. โลหะ (metal) เปนกลุมธาตุท่ีมีสมบัติเปนตัวนําไฟฟาได นําความรอนท่ีดี เหนียว มจี ุดเดือดสูงปกตเิ ปน ของแข็งท่ีอุณหภมู หิ อง (ยกเวน ปรอท) เชน แคลเซียม อะลูมิเนียม เหล็ก เปนตน 2. อโลหะ (non-metal) เปนกลุมธาตุท่ีมีสมบัติไมนําไฟฟา มีจุดหลอมเหลวและจุด เดอื ดตา่ํ เปราะบาง และมีการแปรผันทางดา นคณุ สมบัติทางกายภาพมากกวาโลหะ 3. ก่ึงโลหะ (metalloid) เปนกลุมธาตุที่มีสมบัติกํ้าก่ึงระหวางโลหะและอโลหะ เชน ธาตุซิลิคอน และเจอเมเนียม มีสมบัติบางประการคลายโลหะ เชน นําไฟฟาไดบางที่อุณหภูมิ ปกติ และ นําไฟฟาไดมากขึ้น เมื่ออุณหภูมิเพ่ิมข้ึน เปนของแข็ง เปนมันวาวสีเงิน จุดเดือดสูง แตเ ปราะแตกงาย คลายอโลหะ เชน ออกซเิ จน กํามะถนั ฟอสฟอรัส เปนตน ตารางธาตุ (Periodic table of elements) คือ ตารางท่ีนักวิทยาศาสตรไดรวบรวมธาตุตางๆ ไวเปนหมวดหมูตามลักษณะ และ คุณสมบัติท่ีเหมือนกัน เพ่ือเปนประโยชนในการศึกษาในแตละสวนของตารางธาตุ โดยคาบ ( Period ) เปนการจัดแถวของธาตุแนวราบ สวนหมู ( Group ) เปนการจัดแถวของธาตุใน แนวด่ิง ซงึ่ มรี ายละเอียดดังตอไปน้ี
135 ภาพตารางธาตปุ จจบุ ัน 1. ธาตุหมูหลัก มีท้ังหมด 8 หมู (Group) 7 คาบ (Period) โดยธาตุที่อยูดานซายของ เสนข้ันบันได จะเปนโลหะ (Metal) สวนทางดานขวาเปนอโลหะ (Non metal) สวนธาตุท่ีอยู ตดิ กบั เสนขน้ั บันไดน้นั จะเปนก่งึ โลหะ (Metalloid) 2. ธาตุทรานซชิ นั มที ้ังหมด 8 หมู แตหมู 8 มีทั้งหมด 3 หมยู อย จึงมีธาตุตางๆ รวม 10 หมู และมีท้ังหมด 4 คาบ ธาตอุ ินเนอรท รานซชิ ัน มี 2 คาบโดยมชี ื่อเฉพาะเรียกคาบแรกวาคาบ แลนทาไนด 3. (Lanthanide series) และเรียกคาบท่ีสองวา คาบแอกทิไนด (Actinide series) เพราะเปนคาบที่อยูตอมาจาก 57La (Lanthanum) และ 89Ac (Actinium) ตามลําดับ คาบละ 14 ตวั รวมเปน 28 ตัว
136 การจัดเรียงธาตุลงในตารางธาตุ เมอื่ ทราบการจดั เรียงอิเล็กตรอนของธาตุตา งๆ แลวจะเหน็ วา สามารถจัดกลมุ ธาตุไดงาย ข้ึน โดยธาตุท่ีมีระดับพลังงานเทากัน ก็จะถูกจัดอยูในคาบเดียวกัน สวนธาตุท่ีมีจํานวน อิเลก็ ตรอนในระดับพลงั งานนอกสดุ เทากัน ก็จะถกู จัดอยใู นหมูเดียวกัน ดังภาพ ภาพการจัดเรยี งธาตลุ งในตารางธาตุ ประเภทของธาตใุ นตารางธาตุ ธาตุโลหะ (metal) โลหะทรานซิชนั เปนตนฉบับของโลหะ ธาตโุ ลหะเปนธาตุที่มีสถานะ เปนของแข็ง ( ยกเวนปรอท ที่เปนของเหลว) มีผิวท่ีมันวาว นําความรอน และ นําไฟฟา ไดดี มีจุดเดือดและจดุ หลอมเหลวสูง ( ชวงอุณหภูมิระหวางจุดหลอมเหลวกับจุดเดือด จะตางกันมาก) ไดแก โซเดียม (Na) เหล็ก (Fe) แคลเซียม (Ca) ปรอท (Hg) อะลูมิเนียม (Al) แมกนเี ซียม (Mg) สังกะสี (Zn) ดีบุก (Sn) เปน ตน ธาตุอโลหะ ( Non metal ) มีไดทั้งสามสถานะ สมบัติสวนใหญจะตรงขามกับโลหะ เชน ผิวไมมันวาว ไมนําไฟฟา ไมนําความรอน จุดเดือดและจุดหลอมเหลวตํ่า เปนตน ไดแก คารบอน (C) ฟอสฟอรัส (P) กามะถัน (S) โบรมีน (Br) ออกซิเจน (O2) คลอรีน (Cl2) ฟลูออรีน (F2) เปน ตน ธาตุก่ึงโลหะ (metalloid) เปนธาตุก่ึงตัวนํา คือ มันจะสามารถนําไฟฟาไดเฉพาะใน ภาวะหน่งึ เทา นัน้ ธาตกุ ่ึงโลหะเหลาน้ีจะอยูบริเวณเสนข้ันบันได ไดแก โบรอน (B) ซิลิคอน ( Si) เปน ตน
137 ธาตุกัมมนั ตภาพรงั สี เปนธาตุทมี่ ีสวนประกอบของ นิวตรอน กับโปรตอน ไมเหมาะสม (>1.5) ธาตทุ ี่ 83 ขนึ้ ไปเปน ธาตกุ ัมมนั ตภาพรงั สีทกุ ไอโซโทปมคี ร่ึงชวี ติ สมบตั ิของธาตุตามตารางธาตุ สมบตั ขิ องธาตใุ นแตละหมู ธาตหุ มู I A หรอื โลหะอลั คาไล (alkaline metal) โลหะอลั คาไล ไดแก ลเิ ทยี ม โซเดียม โพแทสเซยี ม รูบิเดยี ม ซเี ซียม และแฟรนเซยี ม มสี มบตั ิดงั น้ี คือ เปนโลหะออน ใชมีดตัดได เปน หมูโลหะมีความวองไวตอการเกิดปฏิกิรยิ ามากที่สดุ สามารถทําปฏิกริ ยิ ากับออกซิเจนในอากาศ จงึ ตอ งเก็บไวในนํ้ามัน ออกไซดแ ละไฮดรอกไซดของโลหะอัลคาไลละลายนํ้า ไดสารละลายเบส แก เม่ือเปนไอออน จะมีประจุบวก มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ํา มีความหนาแนนต่ําเม่ือ เทยี บกับโลหะอ่ืนๆ มเี วเลนซอเิ ลก็ ตรอน = 1 ธาตุหมู II A หรือโลหะอัลคาไลนเอิรธ (alkaline earth) โลหะอัลคาไลนเอิรธ ไดแก เบรลิ เลียม แมกนีเซียม แคลเซียม สตรอนเชียม แบเรียม เรเดียม มีสมบัติดังนี้ คือ มีความวองไว ตอการเกิดปฏิกิริยามาก แตนอยกวาโลหะ อัลคาไล ทําปฏิกิริยากับน้ําไดสารละลายเบส สารประกอบโลหะอัลคาไลนเอิรธพบมากในธรรมชาติ โลหะอัลคาไลนเอิรธมีความวองไวแตยัง นอยกวาโลหะอลั คาไล โลหะอลั คาไลนเ อิรธ มีเวเลนซอ เิ ลก็ ตรอน = 2 ธาตุหมู III - ธาตหุ มู III ไดแก B Al Ga In Tl มสี มบตั ิดังน้ี คอื - มีเวเลนซอ เิ ล็กตรอน = 3 ธาตหุ มู IV - ธาตุหมู IV ไดแ ก C Si Ge Sn Pb มีสมบัติดังน้ี คอื - มีเวเลนซอ เิ ลก็ ตรอน = 4 ธาตุหมู V - ธาตุหมู V ไดแก N P As Sb Bi มีสมบัติดังนี้ คอื - มีเวเลนซอ เิ ลก็ ตรอน = 5 ธาตุหมู VI - ธาตหุ มู VI ไดแ ก O S Se Te Po - มีเวเลนซอ ิเลก็ ตรอน = 6 ธาตุหมู VII หรือหมูแฮโลเจน (Halogen group) หมูธาตุแฮโลเจน ไดแก ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน และแอสทาทีน เปนหมูอโลหะที่วองไวตอการเกิดปฏิกิริยามากท่ีสุด (F วอ งไวตอการเกิดปฏิกิรยิ ามากทส่ี ดุ ) เปนธาตุท่ีมีพิษทุกธาตุและมีกล่ินแรง โมเลกุลของธาตุ
138 แฮโลเจนประกอบดวย 2 อะตอม (Cl2 Br2 I2) แฮโลเจนไอออนมีประจุบลบหนึ่ง (F - C - Br - I - At -) ธาตุหมู VIII หรือกาซเฉ่อื ยหรือกาซมีตระกูล(Inert gas) กาซมีตระกูล ไดแก ฮีเลียม นีออน อารก อน คริปทอน ซนี อน และเรดอน มีเวเลนซอิเล็กตรอนเต็ม 8 อิเล็กตรอน จึงทําให เปน กาซที่ไมวองไวตอ การเกิดปฏกิ ิริยา กาซมีตระกูลอยูเปนอะตอมเดี่ยว แตยกเวน Kr กับ Xe ที่สามารถสรา งพันธะได ขนาดอะตอมของธาตุ หนว ยพิโกเมตร ขนาดอะตอมของธาตตุ า งๆ ขนาดของอะตอมนั้นถา จะพิจารณาถงึ ปจจยั ตางๆ ทสี่ งผลกระทบตอ ขนาดของอะตอม นน้ั อาจแบง แยกออกไดเปนขอ เรยี งตามลาํ ดับความสาํ คญั ได ดงั นี้ 1. จํานวนระดบั พลังงาน 2. จาํ นวนโปรตอน 3. จํานวนอเิ ล็กตรอน
139 ขนาดไอออนของธาตุ หนวยพิโกเมตร ประโยชนข องตารางธาตุ 1. การจัดธาตเุ ปน หมูและคาบ ทาํ ใหทราบสมบตั ิของธาตุในหมเู ดียวกันได 2. สามารถทจ่ี ะทราบสมบัตติ า ง ๆ จากธาตใุ นหมเู ดียวกัน จากธาตุท่ที ราบสมบตั ติ า ง ๆ แลว 3. นําไปทาํ นายสมบตั ขิ องธาตุตาง ๆ ท่ียงั ไมท ราบในปจจุบนั ไวลว งหนาได 4. ทําใหการศึกษาเรอื่ งสมบตั ขิ องธาตุ เปน ไปอยางรวดเร็ว
140
141 รายชื่อของธาตตุ ามหมายเลข เลข สัญลักษณ ชื่อธาตุ ชือ่ ธาตภุ าษาองั กฤษ ชื่อธาตุภาษา หมายเหตุ อะตอม ละตนิ 1H ไฮโดรเจน Hydrogen Hydrogenium 2 He ฮีเลียม Helium 3 Li ลิเทยี ม Lithium 4 Be เบรลิ เลียม Beryllium 5B โบรอน Boron 6C คารบอน Carbon 7N ไนโตรเจน Nitrogen 8O ออกซเิ จน Oxygen 9F ฟลอู อรนี Fluorine 10 Ne นีออน Neon 11 Na โซเดยี ม Sodium Natrium 12 Mg แมกนเี ซยี ม Magnesium 13 Al อะลมู ิเนียม Aluminium หรือ Aluminum 14 Si ซลิ ิคอน Silicon 15 P ฟอสฟอรัส กํามะถนั หรอื Phosphorus 16 S ซัลเฟอร Sulfur หรอื Sulphur
142 เลข สัญลกั ษณ ชื่อธาตุ ช่อื ธาตุภาษาองั กฤษ ชือ่ ธาตุภาษา หมายเหตุ อะตอม ละตนิ 17 Cl คลอรนี Chlorine 18 Ar อารก อน Argon 19 K โพแทสเซยี ม Potassium Kalium 20 Ca แคลเซียม Calcium 21 Sc สแกนเดยี ม Scandium 22 Ti ไทเทเนียม Titanium 23 V วาเนเดยี ม Vanadium 24 Cr โครเมียม Chromium 25 Mn แมงกานีส Manganese 26 Fe เหล็ก Iron Ferrum 27 Co โคบอลต Cobalt 28 Ni นิกเกิล Nickel 29 Cu ทองแดง Copper Cuprum 30 Zn สังกะสี Zinc 31 Ga แกลเลียม Gallium 32 Ge เจอรเ มเนียม Germanium 33 As สารหนู Arsenic 34 Se ซลี ีเนียม Selenium
143 เลข สญั ลักษณ ชื่อธาตุ ชอื่ ธาตภุ าษาอังกฤษ ช่ือธาตภุ าษา หมายเหตุ อะตอม ละตนิ 35 Br โบรมนี Bromine 36 Kr คริปทอน Krypton 37 Rb รูบิเดยี ม Rubidium 38 Sr สตรอนเชยี ม Strontium 39 Y อติ เตรยี ม Yttrium 40 Zr เซอรโคเนยี ม Zirconium 41 Nb ไนโอเบียม Niobium 42 Mo โมลิบดีนมั Molybdenum 43 Tc เทคนเิ ซยี ม Technetium 44 Ru รทู เี นยี ม Ruthenium 45 Rh โรเดยี ม Rhodium 46 Pd แพลเลเดยี ม Palladium 47 Ag เงิน Silver Argentum 48 Cd แคดเมียม Cadmium 49 In อนิ เดยี ม Indium 50 Sn ดีบกุ Tin Stannum 51 Sb พลวง Antimony Stibium 52 Te เทลลเู รยี ม Tellurium
144 เลข สัญลกั ษณ ช่ือธาตุ ชอื่ ธาตภุ าษาองั กฤษ ช่อื ธาตุภาษา หมายเหตุ อะตอม ละตนิ 53 I ไอโอดนี Iodine 54 Xe ซีนอน Xenon 55 Cs ซีเซียม Caesium 56 Ba แบเรียม Barium 57 La แลนทานัม Lanthanum 58 Ce ซเี รยี ม Cerium 59 Pr เพรซีโอดิเมียม Praseodymium 60 Nd นีโอดเิ มยี ม Neodymium 61 Pm โพรมเี ทียม Promethium 62 Sm ซามาเรยี ม Samarium 63 Eu ยโู รเปยม Europium 64 Gd กาโดลินเนยี ม Gadolinium 65 Tb เทอรเบยี ม Terbium 66 Dy ดสิ โพรเซียม Dysprosium 67 Ho โฮลมเมยี ม Holmium 68 Er เออรเบียม Erbium 69 Tm ทเู ลียม Thulium 70 Yb อติ เตอรเบยี ม Ytterbium
145 เลข สัญลกั ษณ ชื่อธาตุ ช่ือธาตุภาษาองั กฤษ ช่ือธาตภุ าษา หมายเหตุ อะตอม ละตนิ 71 Lu ลูทีเชียม Lutetium 72 Hf ฮาฟเนยี ม Hafnium 73 Ta แทนทาลมั Tantalum 74 W ทังสเตน Tungsten Wolfram 75 Re รเี นียม Rhenium 76 Os ออสเมียม Osmium 77 Ir อิรเิ ดียม Iridium 78 Pt ท อ ง คํ า ข า ว ห รื อ Platinum แพลตินัม 79 Au ทอง Gold Aurum 80 Hg ปรอท Mercury Hydragerum 81 Tl ทาลเลียม Thallium 82 Pb ตะกวั่ Lead Plumbum 83 Bi บิสมทั Bismuth 84 Po โปโลเนียม Polonium 85 At แอสทาทนี Astatine 86 Rn เรดอน Radon 87 Fr แฟรนเซียม Francium 88 Ra เรเดียม Radium
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317