246 เงอื่ นไขการกําหนดทศิ ทางของปรมิ าณตาง ๆ ดังภาพ
247 การหาความเรว็ และอัตราเรว็ การเคลือ่ นท่ีในแนวตรง
248 ความเรง ความเรง (Acceleration) คือ การเคล่ือนท่ีซ่ึงขนาดหรือทิศทางของความเร็วมีการ เปลยี่ นแปลง เรยี กวา การเคล่อื นท่ีแบบมีความเรง ความเรง ⃑ เปนปรมิ าณเวกเตอร มีหนวยเปน เมตร/วนิ าที2 (m/s2) ความเรง หมายถงึ อตั ราการเปล่ยี นแปลงความเร็ว หรือ ความเร็วท่ีเปลี่ยนไปในหน่ึง หนวยเวลา ความเรงแบง ออกเปน 3 ประเภท 1.ความเรงเฉล่ีย( ⃑av )คือ ความเรว็ ทเี่ ปลย่ี นไปในชวงเวลา ที่พิจารณาเทา นน้ั 2. ความเรง ขณะใดขณะหน่ึง( ⃑t) คือ ความเรง ณ จุดใดจุดหนงึ่ พิจารณาในชวงเวลาท่ี สั้นมาก ๆ 3. ความเรงคงท่ี ( ⃑) คือ ความเรง ที่มีการเปลย่ี นแปลงความเรว็ อยา งสมํ่าเสมอ หาคา ความเรงไดจ าก ดังภาพ ขอสังเกต 1. ทิศทางของความเรง จะอยใู นทศิ ทางเดีย่ วกบั ความเร็วทเ่ี ปล่ียนไปเสมอ 2. เมื่อวัตถุเคล่ือนท่ีดวยความเรงคงที่ คาความเรงเฉล่ียและคาความเรงขณะใด ขณะหนงึ่ จะมีคา เทา กับ ความเรงคงท่ี น้ัน 3. เม่ือวัตถุมีความเร็วลดลง เราจะไดวา ความเรงมีคาเปนลบ หรือความเรงมีทิศ ทางตรงขามการเคลอื่ นท่ี บางคร้งั เรียกวา ความเรง ทม่ี คี า เปน ลบ (-) วา ความหนวง
249 ความสัมพนั ธข องปริมาณและการเคลอื่ นที่ การหาคาความชัน หรือ slope ของกราฟเสนตรงหาไดจาก ดังภาพ ความสัมพันธระหวา งการกระจัดกับเวลา ดังภาพ
250 การเคลื่อนทดี่ วยความเรงคงที่ ดังภาพ สมการสาํ หรับคาํ นวณหาปริมาณตา ง ๆ ของการเคล่ือนท่ีแนวตรงดวยความเรงคงที่ ดังภาพ
251 เรอ่ื งท่ี 3 การเคลอื่ นทแ่ี บบตา ง ๆ 1. การเคล่อื นทแ่ี บบโพรเจกไทล หรือการเคลอ่ื นทเ่ี ปน เสน โคง การเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล เปนการเคล่อื นท่ี 2 มิติ คือ มีการเคล่ือนที่ในแนวระดับ และแนวด่ิงพรอมกันและเปนอิสระตอกัน รูปรางการเคล่ือนที่เปนรูปพาราโบลา อัตราเร็วใน แนวราบมกั จะคงท่ี เพราะไมมแี รงกระทาํ ในแนวราบ อัตราเรว็ ในแนวดิ่งเปลี่ยนไปตามความเรง เน่ืองจากแรงโนมถวงโลก ตัวอยางการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทลท่ีเห็นในชีวิตแระจําวัน เชน การโยนรับถังปนู ของชา งกอ สราง การโยนผลแตงโมของคนขาย การเลนบาสเก็ตบอล เทนนิส ทมุ น้าํ หนัก ขวางวัตถุ เปนตน ตวั อยา งการเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทลข องวัตถุ 2. การเคลอ่ื นทข่ี องรถยนตตามถนนโคง ขณะทร่ี ถยนตกําลงั เล้ียวทางโคง แรงเขาสูศูนยกลางทําใหร ถเลี้ยวโคงได คือ แรงเสียด ทานท่ีเกดิ จากพ้ืนถนนกับดานลางของยาง อัตราเรงของรถยนตจะมีทิศทางพุงเขาสูศูนยกลาง และมีทิศต้ังฉากกับทิศของอัตราเร็วของรถยนต ความเรงนี้เกิดจากแรงเสียดทานระหวางลอ รถยนต การยกขอบถนนเพือ่ ชวยในการเคลื่อนที่ เพ่ือเปนการชวยใหรถเคลื่อนท่ีเขาสูทางโคง สามารถเคลื่อนท่ีไดดวยอัตราเร็วสูงขึ้น จงึ นิยมยกขอบถนนใหสงู ข้นึ เพื่อเพิม่ แรงในทิศเขา สูศ นู ยกลางความโคง การเคลอ่ื นท่ีของวตั ถตุ าง ๆ จะมลี กั ษณะเฉพาะคือ เปนการเคล่ือนที่วัตถุจะเคลื่อนท่ี กลบั มาซา้ํ ทางเดมิ เสมอ ชวงเวลาท่ีใชใ นการเคลอื่ นทคี่ รบ 1 รอบ เรียกวา คาบ (period)
252 มีหนวยเปนวินาที และจํานวนรอบที่วัตถุเคล่ือนที่ไดในแนว 1 หนวยเวลาเรียกวา ความถ่ี (frequency) ซ่ึงมหี นว ยเปน รอบตอวนิ าทีหรอื เฮริ ตซ 3. การเคล่อื นทแี่ บบฮารม อนิกอยางงา ย คือการเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมาซํ้ารอบเดิม โดยไมมีการสูญเสียพลังงาน หัวใจ สําคัญคอื ความเรง มที ศิ ตรงกันขามกบั การกระจัด ตัวอยาง เชน บอลติดปลายสปริง การแกวง ของลกู ตุม การแกวงชงิ ชา จาํ นวนคร้ังท่ีเคลื่อนท่ีกลับไปมาตอวินาที เรียกวา ความถ่ี มีหนวยเปนรอบตอวินาที เวลาทีใ่ ชใ นการเคลอื่ นที่ครบ 1 รอบ เรยี กคาบ ซงึ่ มีหนวยเปนวินาที การแกวงของลูกตุมข้ึนอยู กับความยาวของเสน เชอื กกบั ความเรง เน่อื งจาก แรงดึงดดู ของโลก พลงั งานเสยี ง เร่อื งที่ 1 การเกดิ เสียง 1. พลังงานเสียง (sound energy) เปนพลังงานรูปหน่ึงไมมีตัวตน ไมสามารถ มองเห็นได เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ เสียงจะเคลื่อนที่ออกจากแหลงกําเนิดของเสียง ทุกทิศทาง โดยเดินทางผานตัวกลาง 3 ชนิด คือ ของแข็ง ของเหลว และกาซ ไปยังอวัยวะรับ เสยี งคือ หู (ear) เสียงที่เราไดยินน้ันมาจากวัตถุตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา วัตถุที่ทําใหเกิดเสียง เรียกวา แหลงกําเนิดเสียง เสียงที่ไดยินมีทั้งเสียงดัง เสียงเบา เสียงเกิดขึ้นเม่ือวัตถุที่เปน แหลง กาํ เนิดเสยี งสั่น เชน ลาํ โพงสั่น เสน เสียงในลาํ คอสัน่ ทาํ ใหเ ราออกเสียงได 2. ตวั กลางของเสยี ง เสียงเดินทางไดในตัวกลางนําเสียงท่ีเปน ของแข็ง ของเหลว และกาซไดตางกัน คือ เสยี งเดนิ ทางในของแขง็ ไดดีกวาของเหลวและกาซ และเสียงเดินทางในของเหลวไดดกี วา กาซ ดังนัน้ เสยี งตอ งอาศัยตวั กลางเพอ่ื สงพลังงานจากตัวส่นั ไปยังเยอ่ื แกว หูและสงพลังงาน ผานไปยังสมองทําใหไดย นิ เสยี ง เราจึงตองระมดั ระวังอันตรายทเ่ี กิดจากเย่ือแกวหู
253 การทีเ่ ราไดยินเสยี งน้ัน มีองคป ระกอบ 3 สวนคือ แหลงกําเนิดเสียง ตัวกลางของเสียง และอวยั วะรับเสยี ง เร่ืองที่ 2 สมบตั ิของเสยี ง สมบตั ขิ องเสยี ง เสียงเปนคลื่นตามยาว เน่ืองจากเสียงมีลักษณะเปนคลื่นจึงมีสมบัติเหมือนคล่ืนทุก ประการคอื มสี มบัติทั้ง 4 ประการคือ การสะทอน การหกั เห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน 1.การสะทอนของเสียง เสยี งมกี ารสะทอนเหมอื นกบั คล่นื โดยท่ีเมอ่ื เสยี งเคลือ่ นทจ่ี ากตวั กลางจะมีการ สะทอนของคล่นื เสียงเกดิ ขน้ึ ไม่สามารถแสดงรูปนไี ดใ้ นขณะนี
254 กฎการสะทอน 1. มุมตกกระทบเทากับมุมสะทอน 2. ทิศทางของคล่ืนตกกระทบ เสนแนวฉากและทิศทางการสะทอนอยูในระนาบ เดียวกัน เงื่อนไขการเกิดการสะทอน 1. คลื่นเสียงซึ่งเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มี ความหนาแนนนอย ไปสูตัวกลางที่มี ความหนาแนนมาก เชน คลื่นเสียงเคลื่อนที่ในอากาศไปชนผิวสะทอนที่เปนของแข็ง คลื่นเสียงจะเกิดการสะทอนโดยคลื่นสะทอนจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180º คลายกับการ สะทอนของคล่ืนในเสนเชือกที่ปลายตรึง 2. คลื่นเสียงซึ่งเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความหนาแนนมาก ไปสูตัวกลางที่มี ความหนาแนนนอย เชน การเดินทางของคลื่นเสียงจากนา้ํ ไปยังอากาศ เนื่องจากอากาศ มีความหนาแนนนอยกวาน้ํา คลื่นที่สะทอนกลับมาในน้ําจะมีเฟสเหมือนเดิม ซึ่งคลายกับ การสะทอนของคลื่นในเสนเชือกปลายอิสระ นอกจากนี้ ขนาดของหองก็ยังมีผลตอเสียงสะทอนท่ีเกิดขึ้น หากหองมีดานกวาง ยาว หรือสูง ไมเกิน 17 เมตร จะทําใหไดรับฟงเสียงท่ีไพเราะจากการชมภาพยนตร หรือ ฟงเพลง หองท่ีมีขนาดของหองดานใดดานหน่ึงมากกวา 17 เมตร (โดยไมมีการออกแบบ ใดๆ ชวย ในการลด เสียงสะทอน) จะ กอใหเกิด \"เสียงกอง \" หรือที่เร าเรียกวา เสียง echo น่ันเอง
255 ปรากฏการณก ารสะทอ นของคลืน่ เสยี ง 1. เสียงกอง (Echo) .คือการสะทอนของเสียงกลับ ซึ่งสามารถรับฟงได เม่ืออยูหาง ตวั กลางทีท่ ําใหเกดิ การสะทอนของเสียงมากกวา 17 เมตร เพราะหูของคนเราจะสามารถแยก เสยี งครงั้ ที่ 1และ 2 ไดเม่ือเสียงน้ัน หางกนั อยางนอ ย 0.1 วินาที เราสามารถนําความรูเก่ียวกับอัตราเร็วเสียงการสะทอนของเสียงมาใชประโยชน ในการคํานวณหาระยะทาง ไดจ ากสมการ S = Vt โดยท่ี S = ระยะทาง มีหนวยเปนเมตร V = ความเร็ว มหี นว ยเปนเมตร/วนิ าที t = เวลา มีหนวยเปนวินาที ตัวอยางการคํานวณหาระยะทางของเสยี ง ชายคนหน่ึงตะโกนในหุบเขาไดยินเสียงสะทอนกลับมาในเวลา 4 วินาที ขณะนั้น อณุ หภูมิของอากาศ 15 องศาเซลเซียส จงหาวาเสยี งเดินทางเปน ระยะทางเทา ไร วิเคราะห เสยี งเดนิ ทางไป - กลบั ใชเวลา 4 วนิ าที เสยี งเดินทางเท่ียวเดยี วใชเ วลาเพียงคร่งึ หน่งึ เวลา = 2 วนิ าที อตั ราเร็วของเสยี งในอากาศ เม่อื อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซยี ส
256 วธิ ีทาํ อัตราเรว็ ของเสยี งในอากาศใชสตู ร Vt = 331+0.6 t (t=อณุ หภมู )ิ แทนคา Vt (เวลา) = 331 + 0.6 t (อุณหภูม)ิ Vt = 331 + 0.6 x 15 = 331 + 9 = 340 เมตรตอ วินาที (m/s) หาระยะทางท่เี สียงเดนิ ทางเท่ียวเดยี ว ,เวลา (t) = 2 วินาที จากสมการ S = Vt แทนคา S = 340x2 S = 680 เมตร ตอบ ระยะทาง 680 เมตร 2. การหกั เหของเสยี ง การหักเหของคลื่นเสียง คือ การเปลี่ยนทิศทางการเคล่ือนที่ของคล่ืนเสียง เมอื่ คล่ืนเสยี งเคล่ือนทจ่ี ากตัวกลางหนึ่งไปอีกตวั กลางหนง่ึ ที่มีความหนาแนนตา งกัน ลักก ารนี้ ใช อธิบ ายเ กี่ย วกับ การ เห็ นฟา แลบ แต ไมไ ดยิน เสี ยงฟ ารอ งไ ด เพราะเม่ือเกิดฟาแลบเกิดเสียง แตอากาศใกลพื้นดินอุณหภูมิสูงกวาอากาศเบื้องบน การ เคลอ่ื นท่ขี องเสียงเคลื่อนที่ไดในอัตราที่ตางกัน คือ เคลื่อนท่ีในอากาศท่ีมีอุณหภูมิสูงไดเร็วกวา ในอากาศท่มี อี ุณหภูมติ ํา่ ดงั นัน้ การเคลอ่ื นท่ขี องเสียงจึงเบนขึ้นทีละนอยๆ จนขามหัวเราไปจึง ทาํ ใหไมไ ดย ินเสยี งฟารอ ง การหกั เหของคลนื่ เสียงเม่ือเดนิ ทางผานตวั กลางตา งชนดิ กัน หรืออณุ หภมู ติ า งกนั จะเปนไปตามกฎการหักเหของ สเนลล (Snell's law) คือ
257 เมื่อ θ1 คือ มุมตกกระทบ θ1 อานวา เซตา1 มุมตกกระทบ) θ2 คือ มุมหักเห (θ2 อานวา เซตา2 มุมหักเห) λ1 , λ2 คือ ความยาวคล่ืนเสียงในบริเวณที่ 1 และ 2 ตามลําดับ (λ1, λ2 อานวา แลมบดา1 มุมตกกระทบ, แลมบดา2 มุมหักเห) v1 , v2 คือ อัตราเร็วคล่ืนเสียงในบริเวณท่ี 1 และ 2 ตามลาํ ดับ T1 , T2 คือ อุณหภูมิของอากาศในบริเวณที่ 1 และ 2 ตามลาํ ดับ การหักเหของเสียงเมื่อคล่ืนเสียงเดินทางในอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิตํ่าไปสู บริเวณที่มีอุณหภูมิสูง คลื่นเสียงจะเบนออกจากเสนปกติ (θ1< θ2) และเมื่อเสียง เดินทางจากในอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปสูบริเวณที่มีอุณหภูมิตํ่า คลื่นเสียงจะ เบนเขาหาเสนปกติ (θ1 > θ2) ตอนกลางวันอากาศเหนือพื้นดินจะมีอุณหภูมิสูงกวาอากาศบริเวณดานบน เสียง จะหักเหขึ้นสูอากาศ ดังรูป รูปแสดงการหักเหของเสียงตอนกลางวัน สวนตอนกลางคืนนั้น อากาศเหนือพื้นดินจะมีอุณหภูมิตํ่ากวาอากาศบริเวณ ดานบน เสียงจะหักเหลงสูพ้ืนดิน ดังรูป รูปแสดงการหักเหของเสียงตอนกลางคืน
258 สําหรับกรณีท่ีเกิดฟาแลบแตเราไมไดยินเสียงฟารองน้ัน เปนเพราะวาในขณะเกิด ฟาแลบ ถาอากาศเบื้องบนมีอุณหภูมิตาํ่ กวาอากาศดานลาง ทาํ ใหทิศทางของเสียงจากฟา รองนั้นเบนออกจากเสนแนวฉาก และเมื่อมุมตกกระทบโตกวามุมวิกฤต(ดูรายละเอียด เพ่ิมเติมไดในเรื่องการสะทอนกลับหมดของคล่ืน) จะทําใหคลื่นเสียงเกิดการสะทอนกลับ หมดไปยังอากาศเบ้ืองบน เราจึงไมไดยินเสียงฟารอง รูปแสดงการหักเหของเสียงทําใหไมไดยินเสียงฟารอง มุมวิกฤต (Critical Angle) และการสะทอนกลับหมดของเสียง (Total Reflection) เม่อื คล่ืนเสียงเคลอื่ นทีจ่ ากบรเิ วณที่มีอุณหภมู ิต่าํ ไปสบู รเิ วณทม่ี อี ุณหภูมสิ งู กวาจะ เกดิ มมุ หกั เห θ2 > θ1 เสมอ ถา มุม θ1 โตจนกระท่ังทําใหมุมหักเห θ2 เทากับ 90 องศาพอดี เราจะเรียกมมุ ตกกระทบท่ที าํ ใหมมุ หักเหเปน 90 องศา วา “มมุ วกิ ฤติ (Critical Angle, θc) ถา มมุ ตกกระทบมคี า มากกวา มุมวิกฤติจะไมเกิดการหกั เหตอไปอีก จะมแี ตการสะทอน กลับอยางเดียวเทาน้ัน เราเรียกปรากฏการณนี้วา “การสะทอนกลับหมด (Total reflection)” หมายเหตุ : มุมวิกฤติจะเกิดจากบริเวณท่ีมีความหนาแนนสูง (Tต่ํา) ไปยังบริเวณที่มี ความหนานแนน ตํ่า (Tสูง) เทานั้น สรปุ คือ เกดิ เมือ่ คลน่ื เสยี งเคลอ่ื นท่ีจาก Tตํา่ => Tสงู เทานัน้
259 ถา มุมตกกระทบโตกวามมุ วกิ ฤต คลื่นเสียงจะไมห ักเหแต จะสะทอนกลบั หมด ตัวอยางการคาํ นวณ คล่ืนเสียงหนึ่งในอากาศวิ่งจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง T1 เขาสูบริเวณที่มีอุณหภูมิ ตา่ํ กวา T2 โดยมุมตกกระทบเทากับ θ1 และมุมหักเหเทากับ θ2 ใหหาคาของอัตราสวน ระหวาง sin θ1 กับ sin θ2 กําหนดวา T1 = 1.0201 T2 เคลวิน วิธีทาํ โจทยกําหนดให T1 = 1.0201 T2 เคลวิน จาก sin θ1 = T1 sin θ2 T2 sin θ1 = 1.0201T2 sin θ2 T2 = 1.0201 ตอบ = 1.01 3. การแทรกสอด คือ ปรากฏการณที่คลื่นเสียง 2 ขบวนเคล่ือนที่เขามาในตัวกลางเดียวกันเกิดการรวม คลน่ื กันข้ึนทําใหเกดิ การเสรมิ กนั และหักลางกนั
260 เมื่อมีคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิด 2 แหลงเคลื่อนที่ไปพบกันจะทําใหเกิดการ รวมกันของคลื่นเปนคลื่นลัพธซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ รวมกันแบบเสริมกันหรือหักลางกัน ตาํ แหนงที่คล่ืนรวมกันแบบเสริมกันเรียกวา ปฏิบัพ (Antinode) ซึ่งตําแหนงนี้เสียงจะดัง และตําแหนงท่ีคล่ืนรวมกันแบบหักลางกัน เรียกวา บัพ (Node) ซ่ึงตําแหนงนี้เสียงจะเบา การรวมคลื่นเสียงแบบหักลางทําใหเสียงเบาลงหรือไมไดยินเลยเปนหลักการ สําคัญของเทคโนโลยีการลดเสียงรบกวน ที่ครอบหูปองกันเสียงดังของนักบินสรางคลื่น เสียงที่เหมือนกับภาพสะทอนของเสียงออกมาเพ่ือหักลางเสียงรบกวน จนทําใหนักบินใน หองเครื่องปลอดภัยจากเสียงรบกวน และการออกแบบทอไอเสียรถยนตใหหักลางกับ เสียงจากทอระบายอากาศในเคร่ืองยนตไดทอไอเสียที่แบบเก็บเสียง 4. การเล้ยี วเบน คอื การทคี่ ลน่ื เสยี งเคล่ือนทีไ่ ปพบสง่ิ กีดขวางแลวสามารถเคล่ือนท่ีออมหลังส่ิงกีดขวาง ไดอ ธบิ ายไดโ ดยใชหลกั ของฮอยเกนต หลักของฮอยเกนส กลาววา “ทุก ๆ จุดบนหนาคล่ืนเสียงเดียวกัน อาจถือวาเปน แหลงกาํ เนดิ คลื่นชุดใหม ท่แี ผอ อกไปทกุ ทิศทางดวยอัตราเร็วเทา เดิม
261 ตวั อยางเชน ถา หอ งสองหองนั้นเช่ือมตอดวยทางเดิน และมีการกําเนิดเสียงที่มุมหนึ่ง ของหองหน่ึง ผูท่ีอยูในอีกหองหนึ่งจะสามารถไดยินเสียงน้ี ราวกับวาเสียงนี้มีจุดกําเนิดอยูท่ี ทางเดนิ ซง่ึ ในความเปนจริงการสัน่ ไหวของอากาศท่ีทางเดินน้ีเปน แหลง กาํ เนิดเสยี งนนี้ ่ันเอง เร่ืองที่ 3 ประโยชนของพลังงานเสยี ง หากใชเกณฑการไดยินเสียงของหูมนุษย เราก็อาจจําแนกคล่ืนเสียงออกไดเปน 3 จาํ พวกดว ยกนั คอื 1. คลน่ื เสยี งที่หมู นษุ ยไดย นิ (Audible waves) ซงึ่ โดยปกตแิ ลว ความถข่ี องเสียงที่หู มนษุ ยไ ดย นิ น้ันมคี า ตัง้ แต 20 ถงึ 20,000 เฮิรตซ อันเปนเสียงจากเครื่องดนตรี เสียงพูดคุยของ มนุษย หรอื เสียงจากลําโพง เปน ตน 2. คลืน่ ใตเ สียง (Infrasonic waves) เปนคลื่นเสียงที่มีความถี่ตํ่ากวาความถี่เสียงที่ มนษุ ยไดย ิน ในธรรมชาติชา งใชเ สียงในระดบั infrasonic น้ี ในการสอื่ สารกับชางตัวอ่ืนๆ ซึ่งอยู ไกลออกไปหลายกิโลเมตร และแนนอนมนษุ ยเ ราไมสามารถไดยินเสียงของชาง เม่ือชางสื่อสาร กนั ดว ยความถเี่ สยี งระดับนี้ 3. คล่ืนเหนือเสียง (Ultrasonic waves) เปนคลื่นเสียงท่ีมีความถ่ีสูงกวาความถ่ี เสียง ท่ีมนุษยไดยิน ตัวอยางของอุปกรณที่ผลิตคลื่นเสียงความถี่สูงระดับนี้ ไดแก นกหวีด ไรเ สียงทใี่ ชเ ปา เรียกสุนขั หรอื แมว (silent whistle) นอกจากน้ี คลนื่ เสียง Ultrasonic ยังถูกนําไปใชประโยชนอยางหลากหลาย อาทิเชน การใชหาฝูงปลาของเรือประมง หรือการใชในทางการแพทยเพ่ือสรางภาพของทารกที่อยูใน ครรภและนอกจากเราจะใชเ สยี งในการสอื่ สารระหวางมนษุ ยด วยกันและกับสัตวอื่น ๆ ยังมีการ ประยกุ ตเอาเสยี งไปใชใ นลกั ษณะตา งๆมากมาย เชน 1. เสียงดานวิศวกรรมและอุตสาหกรรม วิศวกรใชคลื่นเหนือเสียงในการตรวจสอบรอยราวหรือรอยตําหนิในโลหะ แกวหรือ เซรามิก โดยการสง คลืน่ เสยี งทมี่ ีความถใ่ี นชวง 500 กิโลเฮิรตซ ถึง 15เมกะเฮิรตซ ผานเขาไปใน
262 ชิ้นงานทต่ี อ งการตรวจสอบ แลว วิเคราะหล ักษณะของคลื่นสะทอน หรือวิเคราะหลักษณะคลื่น ท่ีรบกวนในคลื่นท่ผี า นออกไป วธิ ีน้นี อกจากจะใชตรวจสอบชิ้นงานประเภทโลหะหลอหรือเซรา มกิ แลว ยังถูกนําไปใชตรวจสอบยางรถยนตท ่ีผลิตใหมด วย เคร่ืองมอื วัดความหนาของแผนโลหะ หรือวสั ดุ ท่ีมคี วามแข็งอ่นื ๆ สามารถทาํ ไดโ ดย ใชค ลืน่ เหนือเสยี ง แมค ลืน่ จะไมสามารถทะลุ ถึงอกี ดา นหนึง่ ของผวิ หนา แผนโลหะนั้นไดก็ตาม เชน การตรวจสอบความหนาของหมอตมน้ํา ความดันสูงสาํ หรับโรงงานอุตสาหกรรมเปนตน คลื่นเหนือเสียงพลังงานสูงยังถูกนําไปใชอยาง กวางขวางในการทําความสะอาดผิวของเคร่ืองใชขนาดเล็ก เชน ชิ้นสวนในนาฬิกาขอมือและ แวนตา เปนตน เพ่ือใหอนุภาคสกปรกท่ีจับเกาะผิวส่ันดวยพลังงานของคลื่นเหนือเสียง เพราะความถ่ีธรรมชาติ ของอนภุ าคสกปรกตรงกันกับความถี่ธรรมชาติคลื่นเหนือเสียง คล่ืนจึง ทาํ ใหอนุภาคสกปรกเหลา น้นั หลดุ จากผิวโลหะไปลอยปะปนไปในของเหลวทโี่ ลหะแชอยู 2. ดา นการแพทย การใชเสียงยานความถี่อัลตราโซนิค(เกิน 20,000 Hz) ในการตรวจวินิจฉัยทาง การแพทย โดยอาศยั หลกั การสง คลื่นเขาไปกระทบกับอวัยวะภายใน แลวอาศัยคุณสมบัติการ สะทอนของเสียงออกมา แลวไปแปลงสัญญาณดวยคอมพิวเตอรเปนภาพใหเห็นไดเชน การตรวจหาเนือ้ งอกในรางกาย ตรวจลกั ษณะความสมบูรณและเพศของทารกในครรภ การตรวจหวั ใจดวยคล่นื เสยี งความถ่สี ูง (Echocardiography) เปนการตรวจหัวใจโดยใชเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพสูงทํางานโดยอาศัยหลักการสง คล่นื เสียงความถ่สี งู ซึง่ สงออกมาจากผลึกแรชนิดพิเศษ และเม่ือรับสัญญานคล่ืนเสียงท่ีสงออก ไปนํามาแปรสัญญาณเปนภาพข้ึนจะทําใหสามารถเห็นการทํางานของหัวใจขณะกําลังบีบตัว และคลายตัวโดยการใชเทคโนโลยีอนั ทนั สมัย ทําใหเราสามารถเห็นการไหลเวียนของเลือดผาน ชองหวั ใจหอ งตา งๆเปน ภาพสี และเหน็ การทาํ งาน ปด -เปด ของลน้ิ หวั ใจท้งั สี่ล้นิ ได
263 3. ดานการประมงและสํารวจใตน าํ้ สงคล่ืนเสียง ลงไปใตนํ้าเพ่ือการตรวจหาฝูงปลา และสิ่งแปลกปลอมกีดขวางภายใต ทะเลลึกและการวดั ความลึกของทองทะเลโดยใชหลักการของการสะทอนเสียง ซึ่งเรียกกันวา\" ระบบโซนาร\" ไมส่ ามารถแสดงรปู นีไดใ้ นขณะนี เรื่องท่ี 4 อันตรายจากเสยี ง เสียงท่ีเราไดยินทุกวันน้ี ชวยใหเราดําเนินกิจกรรมและแสวงหาความเพลิดเพลินใน ชีวติ เสียงท่ีเกิดข้ึนกอใหเ กดิ เสยี งในระดับตาง ๆ กัน อาจเปนอันตรายตอสขุ ภาพได แหลงกําเนดิ เสียงทีส่ ําคัญ ระดบั เสียง (เดซเิ บลเอ)* แหลงกําเนดิ เสยี ง 30 เสียงกระซบิ 50 เสยี งพิมพด ีด 60 เสยี งสนทนาทวั่ ไป 70 - 80 เสยี งจราจรตามปกติ 90 - 100 เสยี งขดุ เจาะถนน 120 เสยี งคอน เครอ่ื งปมโลหะ 140 เสียงเครื่องบนิ ขึ้น
264 เดซิเบลเอ dB(A) คือ สเกลของเครื่องวัดเสียงท่ีสรางเลียนแบบลักษณะการทํางาน ของหมู นุษย โดยจะกรองเอาความถตี่ า่ํ และความถี่สงู ของเสียงทเ่ี กนิ กวามนุษยจะไดย ินออกไป เสียงที่เปนอันตราย องคการอนามัยโลกกําหนดวา เสียงท่ีเปนอันตราย หมายถึง เสยี งทด่ี ังเกิน 85 เดซิเบลเอท่ีทุกความถ่ี สวนใหญพบวาโรงงานอุตสาหกรรมมีระดับเสียงท่ีดัง เกินมากกวา 85 เดซิเบลเอ เปนจํานวนมากซึ่งสามารถกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพทางกาย และจติ ใจ เสียงรบกวน หมายถงึ ระดบั เสยี งท่ีผูฟงไมตองการจะไดยินเพราะสามารถกระทบตอ อารมณความรูสึก ไดแมจะไมเกินเกณฑที่เปนอันตราย แตก็เปนเสียงรบกวนที่มีผลตอผูฟงได การใชความรูสึกวัดไดยาก วาเปนเสียงรบกวนหรือไมเชน เสียงดนตรีที่ดังมากในสถานที่ เตนราํ ไมท าํ ใหผทู ่เี ขา ไปเท่ียวรูส กึ วา ถกู รบกวน แตในสถานท่ีตองการความสงบ เชน หองสมุด เสยี งพดู คุยตามปกติท่มี คี วามดัง ประมาณ 60 เดซิเบลเอ ก็ถือวาเปนเสยี งรบกวนได ผลเสียของเสียงที่มตี อสภาพรา งกายและจิตใจ 1. ทําใหเ กิดความรําคาญ รสู ึกหงุดหงดิ ไมส บายใจ เกดิ ความเครียดทางประสาท 2. รบกวนตอการพกั ผอนนอนหลับ และการตดิ ตอสอ่ื สาร 3. ทําใหขาดสมาธิ ประสทิ ธภิ าพการทํางานลดลง และถาเสยี งดงั มากอาจทาํ ใหทํางาน ผิดพลาด หรือเชือ่ งชาจนเกดิ อบุ ตั ิเหตไุ ด 4. มีผลตอสุขภาพรางกายความเครียดอาจกอใหเกิดอาการปวยทางกาย เชน โรค กระเพาะ โรคความดนั สงู 5. การไดร บั ฟงเสยี งดงั เกนิ กวา กาํ หนดเปนระยะนานเกนิ ไปอาจทาํ ใหส ญู เสียการไดยิน ซ่งึ อาจเปนอยางชั่วคราวหรือถาวรกไ็ ด การปอ งกันและวิธีลดความดังของเสียง 1. ควบคมุ ทีแ่ หลงกาํ เนดิ 1. การออกแบบอปุ กรณ เครอ่ื งมือ เครอื่ งจักรใหมีการทาํ งานท่ีเงยี บ 2. การเลือกใชอุปกรณ เครื่องมือ ควรเลือกประเภทที่มีเสียงดังนอยกวาเชน การใช เครื่องปมโลหะทีเ่ ปน ระบบไฮดรอลิกแทนเครื่องทีใ่ ชร ะบบกล 3. การเปลีย่ นกระบวนการผลิตทไ่ี มทาํ ใหเ กดิ เสยี งดัง
265 4. การจัดหาที่ปดลอมเคร่ืองจักรโดยนําวัสดุดูดซับเสียงมาบุลงในโครงสราง ที่จะใช ครอบหรอื ปด ลอมเครื่องจักร 5. การติดตั้งเคร่ืองจักรใหวางอยูในตําแหนงท่ีมั่นคง เน่ืองจากเสียงเกิดจากการ ส่นั สะเทอื นของเครอื่ งจักร และการใชอปุ กรณกนั สะเทอื นจะชว ยลดเสยี งได 6. การบาํ รุงรักษาอปุ กรณ เครือ่ งมือ เครือ่ งจกั รอยูเสมอ เชน การทําความสะอาดเปน ประจํา การหยอดนํ้ามนั หลอล่นื กนั การเสียดสีของเครอื่ งจกั ร 2. การควบคมุ ที่ทางผา นของเสียง 1. เพม่ิ ระยะหางระหวางเครอ่ื งจกั ร และผูรับเสยี ง ทาํ ใหม ีผลตอระดับเสียง โดยระดับ เสียงจะลดลง 6 เดซิเบลเอ ทุก ๆระยะทางทเ่ี พิม่ ข้นึ เปนสองเทา 2. การทาํ หองหรอื กาํ แพงก้นั ทางเดินของเสียง โดยออกแบบวัสดุเก็บเสียง หรือดูดซับ เสียงท่สี ัมพนั ธกับความถ่ขี องเสียง 3. การปลูกตนไมย ืนตนท่ีมใี บดกบรเิ วณริมร้วั ชวยในการลดเสียงได 3. การควบคุมการรับเสยี งทีผ่ ูฟ ง 1. การใชอ ุปกรณป องกนั ตอ หู เพอ่ื ลดความดังของเสยี งมี 2 แบบคือ ทคี่ รอบหู จะปดหแู ละกระดูกรอบ ๆใบหไู วท ั้งหมด สามารถลดระดับความดงั ของเสียง ได 20-40 เดซิเบลเอ ปลัก๊ อุดหู ทําดวยยาง หรือพลาสติก ใชสอดเขาไปในชองหูสามารถลดระดับความดัง ของเสยี งได 10-20 เดซิเบลเอ การลดระยะเวลาในการรับเสียงของผูที่อยูในบริเวณท่ีมีเสียงดัง เกนิ มาตรฐาน โดยจํากัดใหนอ ยลง เกณฑกําหนดของระดับเสียงทีเ่ ปน อนั ตราย กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย ไดกําหนดมาตรฐานของระดับเสียงในสถาน ประกอบการตา ง ๆ ไวด งั นคี้ ือ 1. ไดร บั เสียงไมเ กินวันละ 7 ช่ัวโมง ตองมีระดับเสยี งตดิ ตอ กนั ไมเกิน 91 เดซเิ บล(เอ) 2. ไดรบั เสียงวันละ 7-8 ชว่ั โมง ตอ งมีระดบั เสียง ติดตอกันไมเกิน 90 เดซเิ บล(เอ) 3. ไดรบั เสียงเกนิ วันละ 8 ช่วั โมง ตองมีระดบั เสยี ง ตดิ ตอกันไมเกนิ 80 เดซิเบล(เอ)
266 4. นายจางใหลูกจางทํางานในที่ ๆ มีระดับเสยี งเกนิ 140 เดซเิ บล(เอ) ไมไ ด องคการอนามัยโลก ไดกําหนดวาระดับเสียงท่ีดังเกินกวา 85 เดซิเบล(เอ) ถือวาเปน อันตรายตอมนุษย กจิ กรรมทายบทที่ 12 แรงและการเคลอ่ื นที่ จงตอบคําถามตอไปนี้ 1. แรงคอื อะไร 2. ความเร็วกับอตั ราเรว็ แตกตา งกนั อยางไร 3. การกระจัดคืออะไร 4. จงอธบิ ายความสมั พันธร ะหวา งสนามโนมถวงและแรงโนม ถวง 5. จงหาความเรง เฉลี่ยของเครื่องบินท่ีเริ่มตนจากจุดหยุดนิ่งเวลา 0 วินาที และบินออก จากรนั เวยเ ม่อื เวลาผา นไป 30 วนิ าที เคร่ืองบินมคี วามเร็วเปน 300 กิโลเมตรตอชั่วโมง 6. จงอธบิ ายการกําเนดิ เสยี ง 7. สมบตั ิของเสียงมกี ีป่ ระการ ประกอบดว ยอะไรบา งจงอธิบาย 8. สมชายตะโกนในหุบเขาไดยินเสียงสะทอนกลับมาในเวลา 6 วินาที ขณะน้ัน อุณหภมู ขิ องอากาศ 20 องศาเซลเซียส จงหาวาเสยี งเดนิ ทางเปน ระยะทางเทา ไร 9.จงบอกประโยชนข องพลังงานเสยี ง 10. จงบอกอนั ตรายทเ่ี กิดจากพลังงานเสยี ง
267 บทที่ 13 เทคโนโลยอี ากาศ สาระสาํ คญั หวงอวกาศเปนสิ่งที่ไกลเกินตัว แตมีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของมวลมนุษย จึงจําเปนตอ งศกึ ษา หว งอวกาศโดยนาํ เทคโนโลยีอวกาศมาใชใหเกิดประโยชน ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั 1. บอกความหมาย ความสาํ คัญ และความเปนมาของเทคโนโลยอี วกาศได 2. อธิบายและระบุประเภทของเทคโนโลยอี วกาศได 3. อธิบายการนําเทคโนโลยีอวกาศไปใชประโยชนได 4. บอกโครงการสํารวจอวกาศทสี่ าํ คัญในปจจุบนั ได ขอบขา ยเนอื้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และความเปน มาของเทคโนโลยีอวกาศ เร่ืองที่ 2 ประเภทของเทคโนโลยอี วกาศ เรอ่ื งที่ 3 ประโยชนของการใชเทคโนโลยอี วกาศ เรอ่ื งที่ 4 โครงการสาํ รวจอวกาศที่สาํ คญั ในปจจบุ ัน
268 บทท่ี 13 เทคโนโลยีอากาศ เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั และความเปนมาของเทคโนโลยอี วกาศ เทคโนโลยอี วกาศ เทคโนโลยีอวกาศ หมายถงึ การนําความรูทีไ่ ดจ ากการสาํ รวจสงิ่ ตา งๆทอ่ี ยูนอกโลกของ เราและสํารวจโลกของเรามาใชประโยชนกับมนุษยโดยอาศัยความรูดานวิทยาศาสตรอวกาศ ซง่ึ เก่ียวกับทางดา นดาราศาสตรและวศิ วกรรมควบคูกัน หรือจะใหความหมายอีกดานหนึ่งไดวา เทคโนโลยีอวกาศ หมายถึง การนําเทคโนโลยีท่ีทําข้ึนเพ่ือใชสํารวจอวกาศโดยมีวัตถุประสงค ของการใชงานในแตล ะครง้ั แตกตางกนั ไปตาม ความตอ งการของมนุษย เชน - โครงการอะพอลโล (Apollo Project) จดุ ประสงคเ พอ่ื สํารวจดวงจนั ทร - โครงการสกายแล็บ (Skylab) จุดประสงคเพื่อคนควาทดลองการอยูในอวกาศใหได นานที่สุดศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ การแพทย ฟสกิ ส - โครงการอะพอลโล- โซยสู (Apollo-Soyuz Test Project: ASTP) จดุ ประสงค เพือ่ ทดสอบระบบนัดพบ และเชือ่ มยานอวกาศ - โครงการขนสง อวกาศจดุ ประสงคเพื่อใชบ รรทกุ สิง่ ของและมนุษยท่ไี ปอวกาศและ\\ เพอื่ ลดการใชจา ยในการใชยานอวกาศ ความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ ความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ มีประโยชนทั้งทางตรงและทางออมกับมนุษย มากมายในหลายดาน เชน การส่ือสารดวยดาวเทียม การใชดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาการใช ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรโลก สํารวจดานการเกษตร การทดลองทางการแพทย และดาน การทหารโดยใชด าวเทยี ม เปน ตน ความเปน มาเทคโนโลยอี วกาศ เร่ิมต้ังแตการสรางกลองโทรทรรศนสองดูวัตถุทองฟา โซเวียตสรางยานสปุตนิก1 (Sputnik 1) ขึ้นไปโคจรรอบโลก ตอมาสหรัฐอเมริกาสงดาวเทียมขึ้นสูอวกาศ เกิดการแขงขัน กันทางดานอวกาศ โดยองคการนาซา ทมี่ ชี ื่อเสียงของสหรัฐอเมริกา มีโครงการตาง ๆ มากมาย สําหรบั การสาํ รวจอวกาศโดยเฉพาะ
269 สิ่งมีชีวิตแรกที่เดินทางไปยังอวกาศ คือสุนัขชื่อไลกาไปกับยานสปุตนิก2 ของโซเวียต และนักบินอวกาศคนแรกของโลกคือ ยูริ กาการิน ไปกับยานวอสตอก1 ของโซเวียต นักบิน อวกาศคนแรกท่ีโคจรรอบโลกคือ จอหน เกลน ของสหรัฐอเมริกา และนักบินอวกาศหญิงคน แรกของโลกชอ่ื วาเลนตนิ า เทเรซโกวา ชาวรสั เซียเดนิ ทางไปกบั ยานวอสตอก ยานอวกาศที่มีมนุษยเดินทางไปยังดวงจันทรเปนของสหรัฐอเมริกา โดย นิลอารม สตรอง เปน คนแรกทีเ่ ดนิ บนดวงจนั ทรไปกับยานอพอลโล 11 เรอื่ งที่ 2 ประเภทของเทคโนโลยอี วกาศ ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศ จาํ แนกไดดงั นี้ 1. ดาวเทยี ม เปนอปุ กรณทางวิทยาศาสตรทีถ่ กู สงขึน้ ไปสอู วกาศใหโคจรอยูรอบโลก เชน 1.1 ดาวเทยี มสื่อสาร ดาวเทียมสื่อสารดวงแรกของไทยชอ่ื ไทยคม 1.2 ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา สงขอมูลภาพถายเมฆ พายุ อุณหภูมิบนโลกและช้ัน บรรยากาศ นํามาวิเคราะหรายงานสภาพอากาศ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาสามารถแบงเปน 2 ชนิด คือ 1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาชนิดโคจรคางฟา 2. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาชนิดโคจร รอบโลก 1.3 ดาวเทยี มสํารวจทรัพยากร สํารวจทรัพยากรธรรมชาติท่มี ีอยู เพือ่ การวางแผน ใชท รัพยากรธรรมชาติไดอ ยา งเหมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ยานสํารวจอวกาศ เปนพาหนะพรอมอุปกรณและเคร่ืองมือท่ีใชออกไปสํารวจ ดวงจันทร และดาวเคราะหดวงตางๆ โครงการสราง ยานอวกาศท้ังประเทศสหรัฐอเมริกาและ รัสเซียไดสรางยานอวกาศเพื่อสํารวจดวงจันทรและดาวเคราะหในระบบสุริยะของเราและ สามารถแบง เปน 2 ประเภท คือ 2.1. ยานอวกาศที่ไมมีมนุษยควบคุมอยูบนยาน สวนใหญสํารวจดวงจันทร ดวงอาทิตย ดาวเคราะห หวงอวกาศระหวางดวงดาว เชน โครงการลูนาออบิเตอรไปถายภาพ พ้นื ผิวรอบดวงจนั ทร 2.2 ยานอวกาศทมี่ มี นษุ ยข บั ควบคุม
270 3. ยานขนสงอวกาศ เปนระบบขนสงอวกาศท่ีออกแบบใหสามารถนําชิ้นสวนท่ีใชไป แลวกลบั มาใชใ หมอีก เพ่ือประหยัดและประสิทธิภาพมากท่ีสุด ประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ จรวดเชอ้ื เพลิงแข็ง 2 ทอน ถังเช้ือเพลิง ภายนอก (ไฮโดรเจนเหลว และออกซิเจนเหลว) และ ยานขนสง อวกาศ ภารกิจขนสงอวกาศมีหลายหนาท่ี เชน ทดลองวิทยาศาสตร สงดาวเทียมและสงกลอง โทรทรรศนอวกาศฮับเบิลเขาสูวงโคจรรอบโลก สงมนุษยอวกาศไปบนสถานีอวกาศครั้งละ 7-10 คนสถานีทดลองอวกาศ เปนสถานีอวกาศท่ีมนุษยใชชีวิตสะดวกสบายเหมือนกับอยูบน โลกสามารถปฏิบตั งิ านทางวิทยาศาสตรไดหลากหลายอยางมีประสิทธิภาพ เริ่มตั้งแตโครงการ สกายแลบ โครงการสถานีอวกาศเมียร โครงการสถานีอวกาศนานาชาติ เปนความรวมมือ ระหวางชาติ 16 ประเทศ ไดแก อเมริกา แคนนาดา ญี่ปุน รัสเซีย ยุโรป (11 ประเทศ) และ บราซิล เรือ่ งที่ 3 ประโยชนของการใชเ ทคโนโลยีอวกาศ ประโยชนของการใชเ ทคโนโลยอี วกาศ มดี ังนี้ 1. ปรากฏการณบ นโลก เชน การใชดาวเทียมส่ือสาร เช่ือมโยงถายทอดสัญญาณไปยังสถานีภาคพื้นดินที่ทําการสง และรับสญั ญาณ ดาวเทียมไทยคมใชพ ฒั นาเครอื ขา ยการสื่อสาร และการกระจายเสียงและภาพ โทรทศั นข องประเทศไทย การใชดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา สํารวจถายภาพการกอตัวของเมฆ วัดอุณหภูมิ ชนั้ บรรยากาศของโลกเปน ประจําทกุ วนั การใชด าวเทยี มสาํ รวจทรัพยากร สาํ รวจถายภาพการใชที่ดิน สํารวจพน้ื ท่ีเพาะปลูกและ พ้นื ที่ปา ไม สํารวจการประมงเพาะเล้ียงสัตวน้ําชายฝง สํารวจแหลงนํ้าและชลประทาน สํารวจ ธรณวี ทิ ยา แหลง แร แหลง เช้อื เพลิงธรรมชาติ เปนตน 2. ปรากฏการณใ นอวกาศ เชน ยานขนสงอวกาศ (Space Shuttle) ใชเปนพาหนะบรรทุกส่ิงของและมนุษยข้ึนลง ระหวา งพน้ื และอวกาศ สถานอี วกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS) ใชเปน หอ งปฏิบัติการ ทดลองและวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร โดยแบง ออกเปน 6 สว น ดังน้ี
271 1. Life Sciences: ศึกษาสิ่งมีชีวิตภายใตสภาวะไรแรงโนมถวง เพื่อเตรียมตัวอยูใน อวกาศในอนาคต 2. Earth Sciences: ศึกษาสภาวะเปลี่ยนแปลงพ้ืนผิวโลก เพื่อนําไปสูการวางแผน การดํารงชีวิตอยขู องมนุษยบนโลกในระยะยาว 3. Space Sciences: ศึกษาอวกาศในทุก ๆ ทิศทางในดานตาง ๆ เพ่ือใหเขาใจอวกาศ มากย่ิงข้ึน 4. Microgravity Science: ศกึ ษาทดลองทฤษฎที างฟส ิกสใ นสภาพไรแ รงโนมถวง 5. Engineering Research and Technology Development: ศึกษาวิศวกรรม และ เทคโนโลยีดา นอวกาศ เพอ่ื ออกแบบ สรา ง และใชงานจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือตนแบบ ใชงานในอนาคต 6. Space product development: ศึกษาความแตกตางที่เกิดขึ้นจากการทดลอง ในสภาวะไรแ รงโนม ถวง กบั สภาวะบนพน้ื โลกวาใหผ ลตางกันอยางไร เร่ืองที่ 4 โครงการสาํ รวจอวกาศท่สี าํ คญั ในปจจบุ ัน โครงการสํารวจอวกาศ มกี ารศึกษาเรอื่ งตา งๆ ดังนี้ - ศึกษาการทดลอง และวิจัยท่ีลดส่ิงรบกวน การทดลองทางฟสิกส การเกิดผลึก การทดลองตวั นาํ ย่งิ ยวด และอื่นๆ การสง กลอ งโทรทรรศนอวกาศ - ศกึ ษา เทคโนโลยตี า งๆ ทจ่ี าํ เปน และเหมาะสม ในการดําเนินชีวิตในอนาคต เชน ทดลอง Biosphere - ศกึ ษาวงการแพทยและสุขอนามัย วิจยั ยาบางอยางในอวกาศ - ศกึ ษา กําเนดิ จุดเริม่ ตนและจดุ จบ โครงสราง หนาท่ีของเอกภพ ซ่ึงนําไปสูความ เขาใจสภาวะและการคงอยขู องเราเอง
272 โครงการสาํ รวจ สถานอี วกาศในอนาคต มกี ารศกึ ษาเรอื่ งตา งๆ ดังนี้ - โครงการสกายแลบและยานขนสงอวกาศของอเมริกา และโครงการสถานีโซยูส ของรสั เซีย ทดลองผลติ บางสิ่งทีท่ าํ ไดย ากบนโลก เชน ผลิตสารประกอบที่เบาแตแข็งแรง ผลิต วคั ซีนใหบ รสิ ทุ ธิ์ เปน ตน - โครงการศึกษา สรางโรงงานอุตสาหกรรมในอวกาศ โดยใชยานขนสงอวกาศ นาํ สวนตา งๆของโรงงานไปตอเขาดว ยกนั ในวงโคจรรอบโลก - โครงการศึกษาสรางเมืองในอวกาศในอนาคต โดยออกแบบสถานีอวกาศ มีลักษณะเปน วงแหวนใหญเสนผานศูนยกลาง 2 ก.ม. ท่ีสามารถหมุนรอบตัวเองได 1 รอบ ในเวลา 1 นาที 3 วนิ าที ทําใหเกดิ แรงหนีศูนยกลางข้ึน ทําใหค นในเมืองอวกาศสามารถเดินที่ ขอบดานในวงแหวนไดโดยศีรษะหันเขาจุดศูนยกลางสถานีอวกาศ และมีบรรยากาศคลายโลก และความดันราวครงึ่ หนึ่งทีร่ ะดับนํ้าทะเลของโลก โครงการอวกาศที่สาํ คัญและนาสนใจ วนั /เดอื น/ป เหตกุ ารณดา นอวกาศทส่ี าํ คญั 4 ตลุ าคม 2500 สหภาพโซเวยี ตสง ดาวเทยี ม สปุตนกิ 1 โคจรรอบโลกเปนคร้ังแรก 3 พฤศจิกายน 2500 จนเสรจ็ สิน้ ภารกิจเมอ่ื 4 มกราคม 2501 31 มกราคม 2501 สหภาพโซเวียตสงดาวเทียม สปุตนิก 2 พรอมสุนัขตัวแรกช่ือ ไลกา ซึ่งถูกสงไปอยู ในอวกาศ ดาวเทียมสปุตนิก 2 หลุดจากวง 5 มนี าคม 2501 โคจรในวันท่ี 13 เมษายน 2501 17 มีนาคม 2501 15 พฤษภาคม 2501 สหรัฐอเมริกาสงดาวเทียมเอกพลอเรอร 1 ข้ึนสูวงโคจรพรอม 1 ตลุ าคม 2501 การทดลองทางวทิ ยาศาสตรเกยี่ วกบั การคนพบแถบรงั สีของโลก 11 ตลุ าคม 2501 สหรัฐฯ ประสบความลม เหลวในการสง ดาวเทยี ม เอกพลอเรอร 2 ดาวเทยี มแวนการด 1 ถูกสงข้ึนไปในวงโคจร ดาวเทียม สปตุ นิก 3 ถกู สง ข้นึ ไปในวงโคจร สหรัฐฯ กอตงั้ องคการนาซา ยานไพโอเนยี ร 1 ของสหรัฐฯ ถกู สงข้นึ ไปท่รี ะดับ 70,700 ไมล
273 วนั /เดอื น/ป เหตกุ ารณดา นอวกาศท่สี ําคญั 2 มกราคม 2502 3 มนี าคม 2502 โซเวียตสง ยานลูนาร 1 ไปโคจรรอบดวงอาทติ ย 12 สงิ หาคม 2502 ยานไพโอเนยี ร 4 ของสหรัฐฯ ถูกสงไปเพ่ือทดสอบเสนทางสูดวง จนั ทร กอนจะเขา สวู งโคจรรอบดวงอาทติ ย 4 ตลุ าคม 2502 โซเวียตสงยานลูนาร 2 ไปสัมผัสพ้ืนผิวของดวง จันทรไดเปนลํา 12 เมษายน 2504 แรก 5 พฤษภาคม 2504 โซเวียตสงยานลูนาร 3 ไปโคจรรอบดวงจันทรและถายรูปดานท่ี หันออกจากโลก ไดขอมลู ประมาณ 70 เปอรเซ็นต 14 ธนั วาคม 2505 16 มถิ นุ ายน 2506 ยูริ กาการิน นักบินอวกาศคนแรกของโซเวียต ถูกสงขึ้นไปโคจร รอบโลกพรอ มกบั ยานวอสตอ็ ก 1 14 กรกฎาคม 2507 16 พฤศจิกายน 2507 สหรัฐฯ สง อลนั เชพารด นกั บนิ อวกาศคนแรกของอเมริกาข้ึนไป กับยานเมอรค วิ รี ฟรดี อม 7 3 กมุ ภาพันธ 2509 ยานมารเิ นอร ของสหรัฐฯ บนิ ผา นดาวศุกร 2 มถิ ุนายน 2509 วาเลนตินา เทอเรชโควา นักบินอวกาศหญิงคนแรกถูกสงขึ้นไป 24 เมษายน 2510 พรอมกบั ยาน วอสตอ็ ก 7 ยานมารเิ นอร 4 ของสหรัฐ ฯ ถายรูปดาวอังคารในระยะใกล ยานวีนัส 3 ของโซเวียต เปนยานลําแรกที่สัมผัสพ้ืนผิวของดาว ศุกร ยานลูนาร 9 ของโซเวียต เปนยานลําแรกท่ีลงจอดบนพื้นผิวของ ดวงจนั ทรอยางน่ิมนวล ยานเซอรเ วเยอร 1 ของสหรัฐฯ ลงจอดบนพื้นผิวดวงจันทรอยาง นม่ิ นวล เกิดโศกนาฏกรรมทางอวกาศกับยานโซยุส 1 ของโซเวียต ทําให วลาดเิ มยี ร โคมารอฟ เสียชีวิตดวยสาเหตุที่ยานกระแทกกับพ้ืน โลกระหวางเดินทางกลับ เน่อื งจากระบบชชู พี ไมท าํ งาน
274 วัน/เดอื น/ป เหตกุ ารณดานอวกาศทส่ี าํ คญั 21 ธนั วาคม 2511 ยานอะพอลโล 8 นํานักบินอวกาศ คนแรกไปโคจรรอบดวง 20 กรกฎาคม 2512 จันทร 28 มกราคม 2529 สหรัฐฯ สง นีล อารมสตรอง และ เอ็ดวิน อลัดริน ขึ้นไปเหยียบ บนพน้ื ผวิ ดวง จันทรเ ปน คร้งั แรก กระสวยอวกาศแชลเลนเจอรระเบิดแตกเปนเสี่ยง ๆ 73 วินาที หลงั ออกบนิ ทาํ ใหสมาชิกลกู เรอื ท้งั เจ็ดคนเสยี ชวี ิต
275 กิจกรรมทา ยบทที่ 13 ใหผูเรียนรวมกันอภปิ รายเรื่องเทคโนโลยอี วกาศ ในหัวขอ ตอ ไปนี้ 1. ความหมายของเทคโนโลยอี วกาศ …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ยานสํารวจอวกาศเปนพาหนะพรอมอุปกรณและเครื่องมือที่ใชออกไปสํารวจนอกโลก ซงึ่ จะแบง ออกเปนก่ีประเภท อะไรบาง พรอมทั้งอธิบาย …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ใหผ เู รยี นบอกถงึ ประโยชนข องเทคโนโลยีอวกาศ ของดาวเทยี มมา 3 ขอพรอ มทง้ั อธบิ าย มาพอสังเขป …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เทคโนโลยอี วกาศมปี ระโยชนตอ ชวี ิตประจาํ วันอยางไรบา ง …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 5.เหตุการณดานอวกาศทสี่ าํ คญั เม่ือวนั ท่ี 28 มกราคม 2529 เกิดเหตุการณอะไรข้ึน …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………
276 จงตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. แรงคืออะไร 2. ความเร็วกบั อัตราเร็วแตกตา งกันอยา งไร 3. การกระจดั คอื อะไร 4. จงอธิบายความสัมพันธระหวางสนามโนมถว งและแรงโนมถวง 5. จงหาความเรง เฉล่ียของเครื่องบินที่เริ่มตนจากจุดหยุดน่ิงเวลา 0 วินาที และบินออก จากรนั เวยเ มอ่ื เวลาผานไป 30 วินาที เครอ่ื งบนิ มคี วามเรว็ เปน 300 กโิ ลเมตรตอ ชวั่ โมง 6. จงอธิบายการกาํ เนดิ เสียง 7. สมบตั ขิ องเสยี งมีกปี่ ระการ ประกอบดวยอะไรบางจงอธิบาย 8. สมชายตะโกนในหุบเขาไดยินเสียงสะทอนกลับมาในเวลา 6 วินาที ขณะน้ัน อณุ หภูมิของอากาศ 20 องศาเซลเซยี ส จงหาวาเสียงเดนิ ทางเปน ระยะทางเทาไร 9.จงบอกประโยชนของพลังงานเสยี ง 10. จงบอกอนั ตรายทเ่ี กดิ จากพลงั งานเสยี ง
277 บทที่ 14 อาชีพชา งไฟฟา สาระสําคญั การเลือกอาชีพชางไฟฟานั้นเปนการประกอบอาชีพท่ีนาสนใจและมีรายไดดีอีกอาชีพ หนึ่ง ชางไฟฟามีหลายประเภท และหนาท่ีของชางไฟฟาก็แตกตางกัน ชางไฟฟาที่ทํางานใน สถานกอสราง ขนาดใหญก ็ใชเ ครอื่ งมือและทักษะทแี่ ตกตางไปจากชา งไฟฟาที่ทํางานในโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ อยางไรก็ดีถาจะกลาวโดยท่ัวๆ ไปแลวชางไฟฟาทุกประเภทจะตองมี ความรูพื้นฐานทางดานไฟฟา มีความสามารถอานแบบพิมพเขียนวงจรไฟฟาและสามารถ ซอ มแซมแกไ ขอปุ กรณเ ครอ่ื งใชไฟฟา ได แหลง งานของชางไฟฟา สวนใหญในปจจุบันน้ันทํางาน ใหก บั ผูรบั เหมางานดานไฟฟา หรือไมก็ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ นอกจากน้ัน มีชางไฟฟาอีกจํานวนไมนอยที่ทํางานอิสระเปนผูรับเหมาเอง และมีชางไฟฟาจํานวนหน่ึงท่ี ทาํ งานใหก ับองคกรของรัฐบาลหรือทางธรุ กิจ ซ่ึงเปน งานทใ่ี หบ รกิ ารแกห นวยงานของตน แมวา แหลงงานของชา งไฟฟาจะมอี ยทู ั่วประเทศ แตแ หลงงานสวนใหญนัน้ จะมอี ยใู นเขตอตุ สาหกรรม หรอื เขตพ้นื ท่ีท่กี าํ ลังพัฒนา ผลการเรยี นรูท่คี าดหวัง สามารถอธิบาย ออกแบบ วางแผน ทดลอง ทดสอบ ปฏิบัติการเร่ืองไฟฟาไดอยาง ถูกตองและปลอดภัย คิด วิเคราะห เปรียบเทียบขอดี ขอเสีย ของการตอวงจรไฟฟาแบบ อนุกรม แบบขนาน แบบผสม ประยุกตและเลือกใชความรูและทักษะอาชีพชางไฟฟา ใหเ หมาะสมกับการบริหารจัดการและการบรกิ าร ขอบขา ยเนื้อหา 1. ประเภทของไฟฟา 2. วัสดุ อปุ กรณเคร่อื งมอื ชา งไฟฟา 3. วัสดุ อปุ กรณทใี่ ชใ นวงจรไฟฟา การตอวงจรไฟฟาอยางงา ย 4. กฎของโอหม 5. การเดนิ สายไฟฟาอยา งงา ย
278 6. การใชเครอ่ื งไฟฟา อยา งงาย 7. ความปลอดภัยและอุบตั เิ หตจุ ากอาชีพชางไฟฟา 8. การบรหิ ารจดั การและการบรกิ าร 9. โครงงานวทิ ยาศาสตรส ูอาชพี 10. คาํ ศพั ทท างไฟฟา
279 บทท่ี 14 อาชีพชา งไฟฟา ประเภทของไฟฟา มอี ะไรบาง ประเภทของไฟฟา มี 2 แบบ ดังนี้ 1. ไฟฟา สถิต ซงึ่ เกิดจากการเสยี ดสขี องวตั ถุ 2 ชนิด มาถกู นั เชน แทง อาํ พันกบั ผาขนสตั ว 2. ไฟฟากระแส เกดิ จากอเิ ลก็ ตรอนจากแหลงกําเนิดไหลผานตัวนําไปยังท่ีตองการใช ไฟฟา มี 2 แบบ ดงั นี้ 1. ไฟฟา กระแสตรง (Direct Current : DC) มีทิศทางการไหล และขนาดคงท่ี เชน แบตเตอรี่ 2. ไฟฟากระแสสลับ (Alternating Current : AC) มีทิศทางการไหลของ กระแสสลับไปสลับมา และขนาดเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ใชภายในบาน เชน โทรทัศน คลิปที่ 1 ไฟฟาสถติ วตั ถปุ ระสงค เพื่อใหผ ูเรียนสามารถอธิบายการเกิดไฟฟา สถิตไดอยา งถูกตอ ง คลิปที่ 2 ไฟฟากระแส วตั ถปุ ระสงค เพ่อื ใหผ เู รยี นสามารถอธิบายการเกดิ ไฟฟา กระแสไดอ ยางถกู ตอง วสั ดุอปุ กรณเ คร่อื งมอื ชา งไฟฟา มอี ะไรบาง วัสดอุ ปุ กรณเ คร่อื งมือชา งไฟฟา มีดงั นี้ 1. ไขควง มี 2 แบบ คอื ไขควงปากแบน และไขควงแบบฟลลิป หรอื ปากสี่แฉก 2. มีด ใชใ นการปอกสาย ตัด ฉนวนสายไฟฟา 3. คมี ใชใ นการบีบ ตดั มวนสายไฟฟา มีหลายแบบ คือ คีมตัด(ปากนกแกว) คีมปาก จิ้งจก คีมปากแบน คีมปากกลม และคมี ปอกสายไฟฟา
280 4. สวาน ใชเ จาะยึดสกรู ยดึ อปุ กรณไ ฟฟา มีสวาน 3 แบบ คือ สวา นขอ เสือ สวาน เฟอ ง และสวา นไฟฟา 5. คอ น ใชตอกตะปู เพ่อื ยึดเข็มขดั รัดสาย วัสดุอุปกรณท ใี่ ชในวงจรไฟฟา มีอะไรบา ง วสั ดุอปุ กรณทใ่ี ชในวงจรไฟฟา มดี ังน้ี 1. สายไฟ เปนตัวนําไฟฟา ไดแก สายไฟแรงสูงทําดวยอะลูมิเนียม สายไฟทั่วไป (สายไฟในบา น)ทาํ ดวยโลหะทองแดง สายทนความรอนมีเปลือกเปนฉนวนทนความรอน สายคู ใชเดินในอาคาร สายเดยี่ วใชเ ดนิ ในทอรอยสาย 2. ฟวส เปนอุปกรณตัดวงจรไฟฟาอัตโนมัติ ไมใหกระแสไฟฟาไหลผานมากเกินไป เชน ฟว สเสน ฟวสแ ผน ฟว สกระเบ้อื ง ฟวสหลอด 3. สวิตช เปนอุปกรณตัดหรือตอวงจรไฟฟา มี 2 ประเภท คือ สวิตชทางเดียว สวิตช สองทาง 4. สะพานไฟ เปนอุปกรณตัดหรือตอวงจรไฟฟา จากมาตรไฟฟาเขาสูวงจรไฟฟา ภายในบา น 5. สตารตเตอร เปนอุปกรณตัดหรอื ตอวงจรอนุ ไสห ลอดไฟนีออน 6. บัลลาสต เปนอุปกรณเพิ่มความตางศักยไฟฟา มี 2 ประเภท คือ บัลลาสต แมเหลก็ ไฟฟา บลั ลาสตอเิ ลก็ ทรอนกิ ส 7. มเิ ตอรไ ฟฟา เปน อุปกรณว ัดกระแสไฟฟาในเสนลวด มีหลายประเภท ดงั น้ี แกลแวนอมิเตอร (Galvanometer) เครื่องมือวัดกระแสตรง แอมมิเตอร (Ammeter) เครือ่ งมือวัดกระแสไฟฟา โวลทม ิเตอร (Voltmeter) เคร่อื งมอื วัดความตางศักยไ ฟฟาระหวา ง 2 จุด
281 มลั ติมิเตอร (Multimeter) เครื่องมือวดั กระแสไฟฟา และความตา งศกั ยไ ฟฟา การตอ วงจรไฟฟา มอี ะไรบา ง การตอวงจรไฟฟาเปนเสนทางเคลื่อนทขี่ องประจุไฟฟา จากแหลงกาํ เนิดพลงั งานไฟฟา เชอ่ื มตอ เสน ลวดตัวนําไปยังอุปกรณไฟฟา เชน สวติ ช หลอดไฟฟา เปนตน การตอวงจรไฟฟา มี 3 แบบ ดงั นี้ 1. แบบอนกุ รม เปนวงจรทมี่ อี ปุ กรณไฟฟาเชื่อมตอกบั แหลงกาํ เนดิ ไฟฟา จากอปุ กรณ หน่งึ ไปยงั อปุ กรณอ ื่นๆโดยตรง มรี ปู แบบเปนวงจรเดียว ขอเสียคือ ถาอุปกรณใดเสียก็จะทําให กระแสไฟฟาหยุดไหล อปุ กรณอ ่ืนๆจะไมสามารถทาํ งานได ภาพ การตอวงจรไฟฟา แบบอนุกรม ลักษณะสาํ คญั ของการตอแบบอนกุ รม คอื 1. หาคาความตานทานไดโ ดยรวมกัน 2. กระแสไฟฟา ไหลผานตัวตานทานแตล ะตัวเทากบั กระแสไฟฟาในวงจร 3. ความตางศักยไฟฟาระหวางปลายท้ังสองของตัวตานทานจะเทากับผลบวกของ ความตางศักยไ ฟฟา ระหวางปลายท้งั สองของตัวตา นทานแตล ะตวั
282 2. แบบขนาน เปนวงจรไฟฟาที่แยกอุปกรณแตละชนิดเช่ือมตอกันกับแหลงกําเนิด ไฟฟา ขอดีคือ ถา อปุ กรณใ ดเสยี อปุ กรณอน่ื ก็ยงั มีกระแสไฟฟา ไหลผา นได ภาพ การตอ วงจรไฟฟา แบบขนาน ลักษณะสาํ คัญของการตอ แบบขนาน คือ 1. ความตา นทานรวมของวงจรมคี านอย และนอยกวาความตานทาน ตัวท่ีนอยที่สุดที่ นํามาตอ ขนานกนั 2. ปริมาณกระแสไฟฟารวมของวงจรมคี าเทา กับผลบวกของกระแสไฟฟาของวงจรยอย 3. ความตางศกั ยร ะหวางปลายทงั้ สองของตวั ตา นทานแตล ะตวั มีคา เทา กนั 3. แบบผสม เปนวงจรเปนวงจรที่นําเอาวิธีการตอแบบอนุกรม และวิธีการตอแบบ ขนานมารวมใหเ ปน วงจรเดียวกนั ซึ่งสามารถแบง ตามลักษณะของการตอได 2 ลกั ษณะดังนี้ 3.1 วงจรผสมแบบอนุกรม-ขนาน เปนการนําเคร่ืองใชไฟฟาหรือโหลดไปตอกันอยาง อนุกรมกอน แลวจึงนําไปตอกนั แบบขนานอกี คร้ังหนงึ่ 3.2 วงจรผสมแบบขนาน-อนุกรม เปนการนําเคร่ืองใชไฟฟาหรือโหลดไปตอกันอยาง ขนานกอ น แลว จึงนาํ ไปตอกันแบบอนุกรมอกี ครั้งหนึ่ง
283 ภาพ การตอวงจรไฟฟา แบบผสม คุณสมบัติที่สําคัญของวงจรผสม เปนการนําเอาคุณสมบัติของวงจรอนุกรม และ คุณสมบัติของวงจรขนานมารวมกัน ซึ่งหมายความวาถาตําแหนงที่มีการตอแบบอนุกรม ก็เอาคุณสมบัติ ของวงจรการตออนุกรมมาพิจารณา ตําแหนงใดท่ีมีการตอแบบขนาน ก็เอาคณุ สมบตั ขิ องวงจรการตอขนานมาพิจารณาไปทีละข้นั ตอน วงจรไฟฟา ภายในครวั เรอื นจะเปนการตอ แบบขนาน และเคร่ืองใชไฟฟาแตละชนิดรับ แรงดันไฟฟาขนาดเดียวกัน หากเคร่ืองใชไฟฟาชนิดหน่ึงเกิดขัดของเน่ืองจากสาเหตุใดก็ตาม เครื่องใชไฟฟา ชนิดอน่ื กย็ ังคงใชงานไดตามปกติ ภาพการตอวงจรไฟฟา ภายในบาน สําหรับประเทศไทย ไฟฟาที่ใชในครัวเรือนเปนไฟฟากระแสสลับที่มีความตาง ศักยไ ฟฟา 220 โวลต (V) (ความตางศักยไฟฟา คือ พลังงานไฟฟาที่ตางกันระหวางจุด 2 จุด) ความถ่ี 50 เฮริ ตซ (Hz) โดยใชส ายไฟ 3 เสน คอื 1) สายไฟ หรือ สาย L (Line) เปนสายที่มีกระแสไฟไหลผานไปยังเคร่ืองใชไฟฟา มี ความตางศักยไฟฟา 220 โวลต
284 2) สายนิวทรัล หรือ สาย N (Neutral) เปนสวนหนึ่งของวงจร มีหนาท่ีทําให กระแสไฟฟาไหลครบวงจร มีความตา งศกั ยไ ฟฟา 0 โวลต 3) สายดิน หรือเรียกวา สาย G (Ground) เปนสายเสนที่ไมมีกระแสไฟฟา ทําหนาที่ รับกระแสไฟฟาที่ร่ัวมาจากเคร่ืองใชไฟฟา เพ่ือปองกันกระแสไฟฟาลัดวงจร และปองกัน อนั ตรายแกบ ุคคล อุปกรณไฟฟาและเครื่องใชไฟฟา กระแสไฟฟาจะสงผานมิเตอรไฟฟามายังแผงควบคุมไฟฟา ซ่ึงแผงควบคุมไฟฟา ทาํ หนา ท่จี ายกระแสไฟฟา ไปยงั อปุ กรณเคร่อื งใชไฟฟา แผงควบคุมไฟฟาประกอบดวยอุปกรณตัดตอนหลัก หรือเรียกวา เบรกเกอร ซ่ึงมี 1 ตอครัวเรือน และอุปกรณตัดตอนยอยหลายตัวไดข้ึนอยูกับจํานวนเครื่องใชไฟฟาที่ใชใน ครัวเรือน นอกจากนี้ยังมีจุดตอสายดินท่ีจะตอไปยังเตารับหรือปลั๊กตัวเมียทุกจุดในครัวเรือน เพอ่ื ตอเขา เครือ่ งใชไฟฟา
285 ภาพ การออกแบบการติดต้งั อปุ กรณไฟฟา ภายในบาน กฎของโอหม คอื อะไร กฎของโอหม กลาววา กระแสไฟฟา ที่ไหลในวงจรจะแปรผันตรงกับแรงดันไฟฟา และ แปรผกผันกับความตานทานไฟฟา เขียนสมการ Current(I) = Voltage(V) / Resistance(R)
286 การเดนิ สายไฟฟา มกี แ่ี บบอะไรบาง การเดินสายไฟฟา มี 2 แบบ คือ แบบเดินบนผนัง และแบบฝง ในผนงั 1. เดินสายไฟบนผนงั การเดินสายไฟแบบน้ีจะมองเห็นสายไฟ อาจทําใหดูไมเรียบรอย ไมสวยงาม หาก ชวงเดินสายไฟไมเรียบตรง ย่ิงเสริมใหดูไมเรียบรอยตกแตงหองใหดูสวยงามยาก มีขอดีท่ี คาใชจ ายถูกกวา แบบฝงในผนังสามารถตรวจสอบและซอมแซมไดงา ย 2. เดินสายไฟฝงในผนัง การเดินแบบฝงในผนังเปนการเดินสายไฟโดยรอยสายผานทอสายไฟซึ่งฝงในผนัง อาคาร ทําใหด ูเรยี บรอยและตกแตงหองไดงายเพราะมองไมเห็นสายไฟจากภายนอก การเดิน ทอรอยสายตองทําควบคูไปพรอมการกอ-ฉาบ ไมควรประหยัดหรือปลอยใหมีการลักไก โดยการเดินสายไฟแบบฝงในผนังโดยไมรอยใสทอรอยสายไฟ เพราะหากเกิดไฟรั่วอาจเกิด อุบัติเหตุกับผูอาศัยเมื่อไปสัมผัสกําแพง การติดตั้งมีคาใชจายสูงกวาแบบเดินสายบนผนัง การติดต้งั มีความยุงยากและซับซอน การเปล่ียนแปลงและซอมแซมภายหลังจากที่ไดติดต้ังไป แลวทําไดย ากและเสียคาใชจ ายมากกวาแบบแรก การใชเ คร่ืองใชไ ฟฟา อยางงาย ปฏบิ ตั ิอยา งไรบา ง การใชเ คร่ืองใชไ ฟฟา อยางงา ย ควรปฏิบัติ ดงั น้ี ไฟฟาแสงสวา ง ตดิ ตัง้ หลอดไฟฟา เทาท่ีจําเปน ใชหลอดไฟฟา ที่ใหแสงสวางมากแตก ิน ไฟนอย พัดลม เลือกขนาดและแบบใหเ หมาะสม เคร่อื งรบั โทรทัศน เลือกขนาดและแบบใหเ หมาะสมกับครอบครัวและพื้นท่ี ถอดปลั๊ก เครื่องทกุ คร้ัง
287 เตารดี ไฟฟา ปรบั ระดบั ความรอ นใหเ หมาะสมกับชนิดเสอื้ ผา หมอชงกาแฟ ใสน า้ํ ปริมาณพอควร ปด สวิตชเม่อื นาํ้ เดือด หมอหงุ ขาวไฟฟา เลอื กขนาดทเ่ี หมาะสมกับครอบครวั ตูเ ยน็ เลือกขนาดทีเ่ หมาะสมกบั ครอบครัว วางใหหางจากแหลงความรอน อาหารที่ รอ นไมค วรเขาตูเย็นทันที เครื่องปรับอากาศ หองที่ใชเครื่องปรับอากาศเพดานควรมีฉนวนกันความรอน ปรับ อณุ หภูมใิ หเ หมาะสมในแตละฤดกู าล บํารงุ รกั ษาและทําความสะอาดอุปกรณใหอยูในสภาพดีอยู เสมอ เครอ่ื งซักผา ควรซกั แตละครงั้ ใหปรมิ าณเสอ้ื ผา พอเหมาะกับขนาดเคร่ือง ควรศึกษา คมู อื การใชเ ครื่องกอ นใชงาน อาชพี ชางไฟฟา ควรปฏบิ ัติงานอยางไร ใหมคี วามปลอดภัยและไมเ กดิ อบุ ัตเิ หตุ เพอื่ ใหมคี วามปลอดภัยและไมเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากอาชีพชา งไฟฟา ควรปฏบิ ตั งิ าน ดงั นี้ - กอ นปฏิบัตงิ านกบั อุปกรณไฟฟา ใหตรวจวัดอุปกรณน้ันมีไฟฟาหรอื ไม - การทํางานกับอุปกรณไ ฟฟา ขณะปดสวิตชแลว ตองตอ สายอุปกรณล งดิน - การจับอุปกรณท มี่ ีไฟฟา ตองอาศัยเครอื่ งมือ อุปกรณ และวิธที ถี่ ูกตอง - คมี ไขควง ตองเปนชนดิ ท่มี ฉี นวนหมุ 2 ช้ันอยางดี - ขณะทํางาน ตองไมม สี วนรางกายหรือเคร่อื งมอื สมั ผสั อปุ กรณท ี่มีกระแสไฟ ขอควรระวงั ในการทาํ งานเกี่ยวกับไฟฟาทัว่ ไป ดังนี้ - เมอ่ื พบกลอ งสวติ ชชาํ รุด ควรรบี ซอ มแซมทนั ที - รกั ษาความสะอาดพนื้ บริเวณติดต้งั สวิทช - ตรวจภายในตคู วบคมุ ไฟฟา ไมใ หม ีเศษผงโลหะนําไฟฟา อยู - กอ นเปลย่ี นฟว ส ตองสบั สวิตชใหวงจรไฟฟาเปด กอ น - สวติ ชแตล ะอัน ควรมปี า ยบอกรายละเอยี ด
288 - ตอ งสับสวิตชใ หว งจรเปด เมื่อตอ งการซอมแซมเครอื่ งจักร - อยาปด-เปดสวิตชข ณะมือเปยกน้าํ - อุปกรณไฟฟาชํารดุ อยาฝนใช ขอ ทไ่ี มควรกระทําในการปฏิบัติงานเก่ียวกบั ไฟฟา ดังนี้ - ไมถอดปลัก๊ ไฟ ดว ยการดึงสายไฟ - ไมค วรใชเครอื่ งมือ หรือปล๊กั ไฟ ทชี่ าํ รดุ - ไมควรตอพว งไฟเกนิ กําลงั - ไมควรตอ ปล๊ักผิดประเภท - ไมควรซอมแซมอปุ กรณไ ฟฟาดว ยตนเอง หากไมม คี วามรอู ยางแทจ ริง ความปลอดภยั เกยี่ วกับตวั ผปู ฏิบัติงาน ดงั น้ี - การแตงกาย ใชเส้ือผาท่ีอยูในสภาพเรียบรอย ไมฉีกขาด เพราะอาจทําใหเขาไปติด เครอ่ื งจกั รได - ไมค วรไวผมยาว ไมค วรใสเคร่ืองประดบั เชน สรอยคอ นาฬิกา แหวน - ใสรองเทา หุมสนเพอื่ ปอ งกันโลหะ - ควรสวมหมวกปอ งกันศีรษะขณะปฏิบัติงาน การบรหิ ารจดั การและการบรกิ ารทด่ี ี คอื อะไร การบริหารจัดการและการบริการที่ดี หมายถึง ความต้ังใจและความพยายามในการ ใหบริการ มีระดับปฏิบตั ิดังนี้ ระดับท่ี 1 สามารถใหบริการ ดวยความเต็มใจ เชน มิตรภาพท่ีดี ขอมูลท่ีถูกตอง แจง ขน้ั ตอนงานใหผูรับบริการประสานงานอยา งตอ เน่อื งและรวดเร็วกบั ผูร ับบริการ ระดับที่ 2 ชวยแกปญหา เชน แกไขปญหาท่ีเกิดขึ้น ไมบายเบ่ียง นําขอขัดของไป พัฒนาการใหบ ริการใหด ีข้ึน
289 ระดับที่ 3 ใหบริการเกินความคาดหวัง ใหเวลาและชวยแกปญหากับผูรับบริการเปน พิเศษ ระดับท่ี 4 เขา ใจและใหบริการทตี่ รงตามความตอ งการท่ีแทจริง ทําความเขาใจเพื่อ ใหบ รกิ ารตรงความตอ งการทีแ่ ทจ ริง ระดับที่ 5 ใหบรกิ ารที่เปนประโยชนอ ยา งแทจริง คํานึงประโยชนของผูรับบริการใน ระยะยาว โครงงานวทิ ยาศาสตรสอู าชีพ คอื อะไร โครงงานวทิ ยาศาสตรส ูอ าชีพ คือ อาชีพจําเปนมากในยุคปจจุบัน และตองปฏิบัติงาน ดวยความรูความชํานาญ ยังสามารถสรางสรรคผลงานไดมากมาย อาทิเชน ประดิษฐโคมไฟ ตกแตงในครัวเรอื น เครอ่ื งเตือนภยั นํา้ ทว ม เปนตน คาํ ศพั ทท างไฟฟา ทคี่ วรรูมี อะไรบาง คาํ ศัพทท างไฟฟา ทค่ี วรรู ดังนี้ ไฟฟา (electricity) : การเคล่ือนทข่ี องอเิ ล็กตรอนผา นตัวนาํ ไฟฟา ตวั นําไฟฟา (conductor) : สสารท่ียอมใหกระแสไฟฟาไหลผา น
290 ฉนวนไฟฟา (insulator) : วัตถุท่ีมคี ณุ สมบตั ติ านทานการไหลของกระแสไฟฟา กาํ ลังไฟฟา (electric power) : อตั ราการผลิตหรอื ใชพ ลังงานไฟฟา ในหนง่ึ หนว ยเวลา วัตต (watt) : พลังงานไฟฟาท่ีอุปกรณแตละตัวในการทํางาน เชน หลอดไฟ 100 วตั ต กโิ ลวัตต- ช่ัวโมง (kilowatt-hour) : หนวยวดั พลังงานไฟฟาในเวลา 1 ช่ัวโมง ตามบานจะ วัดคามี หนว ยเปน กโิ ลวตั ต-ช่วั โมง หรอื ยนู ิต (unit) ไฟฟากระแสสลับ (alternating current) : ระบบไฟฟาที่อิเล็กตรอนวิ่งมีทิศทาง สลับไปมาตลอดเวลา สัญญลักษณ AC ไฟฟากระแสตรง (direct current) : ระบบไฟฟาท่ีอิเล็กตรอนวิ่งมีทิศทางเดียว ตลอดเวลา สญั ญลักษณ DC แอมแปร (ampare) : หนว ยวัดอตั ราการไหลของไฟฟา สัญญลกั ษณ A หรือ amp เฮิรทซ (hertz) : หนวยวัดความถี่เปนรอบตอวินาที ระบบไฟฟาบานมีความถ่ี 50 เฮรต ซ สัญญลกั ษณ Hz โอหม (ohm) : หนวยความตา นทานไฟฟา สัญลกั ษณ โอเมกา (Ω) โวลต (volt) : หนว ยวัดแรงดันไฟฟา สัญลักษณ V เชน พัดลมไฟฟา AC 220V มัลตมิ เิ ตอร (multimeter) : เครอ่ื งมือวดั แรงดันไฟฟา วดั กระแสไฟฟา และวัดความ ตานทาน ในเครือ่ งเดียวกัน เซอรกิตเบรกเกอร (circuit breaker) : อปุ กรณจ าํ กัดกระแสไฟฟาสงู สดุ ในวงจร ฟวส (fuse) : อปุ กรณจ าํ กดั กระแสไฟฟา สูงสดุ ในวงจร (เมื่อกระแสเกินคาจํากัดฟวส จะรอ นละลายขาดจากกนั )
291 กิจกรรมทา ยบทที่ 14 เรอ่ื ง อาชีพชางไฟฟา การทดลองท่ี 1 อุปกรณก ารทดลอง 1. สายไฟ 2. สวทิ ซไฟ 3. หลอดไฟ 4. แหลง จา ยไฟ 5. เครือ่ งมอื ชา งไฟฟา วธิ ีการทดลอง ทําการทดลองการตอ วงจรไฟฟาแบบอนุกรม ปฎบิ ตั ติ ามข้ันตอนที่กําหนดให แลวเขียน ผลการทดลองพรอ มทงั้ สรปุ ผลการทดลอง . .. แหล่งจ่ายไฟฟ้ า ข้นั ตอนที่ 1 ตอวงจรอนุกรมตามภาพ โดยใชสายไฟตอ ใหครบวงจร โดยใสหลอด LED ลงในฐานเสยี บหลอด LED จาํ นวน 3 หลอด จากนน้ั เปดเบรกเกอร และเปดไฟ โดยหลอด LED โดยทกุ หลอดตอ งตดิ หมายเหตุ : หากใสห ลอด LED แลว ไฟไมต ดิ ใหส ลบั ขว้ั หลอด LED ขน้ั ตอนท่ี 2 ทําการถอดหลอด LED ออก 1 หลอด สังเกตการเปลย่ี นแปลงและบันทึกผล ข้นั ตอนที่ 3 ปดเบรกเกอร และสรปุ ผลการทดลอง
292 คาํ ถามทา ยการทดลองท่ี 1 1. จากการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบอนุกรมพบวา …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากการทดลองผเู รยี นสามารถอธิบายหลกั การทฤษฎี จากผลการทดลองไดอ ยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… การทดลองท่ี 2 อปุ กรณการทดลอง 1. สายไฟ 2. สวิทซไ ฟ 3. หลอดไฟ 4. แหลงจายไฟ 5. เคร่อื งมือชางไฟฟา วธิ กี ารทดลอง ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบขนาน ปฎิบัติตามขั้นตอนที่กําหนดให แลวเขียน ผลการทดลองพรอ มทั้งสรุปผลการทดลอง . . . แหล่งจ่ายไฟฟ้ า
293 ขั้นตอนที่ 1 ตอวงจรขนานตามภาพ โดยใชสายไฟตอใหครบวงจร โดย นําหลอดไฟ ท้ังสามประเภท (หลอดไส หลอดตะเกียบ และหลอด LED) มาติดตัง้ กับข้ัวหลอด จากนั้นเปดเบ รกเกอร และเปดสวติ ชไฟ โดยทกุ หลอดตองตดิ หมายเหตุ : หากใสห ลอดไฟแลวไฟไมติดใหข ยับขวั้ หลอด ข้ันตอนท่ี 2 ทําการถอดหลอดไฟ ออก 1 หลอด หรือทดลองปดสวิตชบางตัวบนแผง สาธิต สังเกตการเปล่ยี นแปลงของวงจรไฟฟา และบนั ทึกผลการทดลอง ข้ันตอนที่ 3 ปด เบรกเกอร และสรุปผลการทดลอง คาํ ถามทายการทดลองท่ี 2 1. จากการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบขนานพบวา …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากการทดลองผูเรยี นสามารถอธิบายหลักการทฤษฎี จากผลการทดลองไดอยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… การทดลองท่ี 3 อปุ กรณก ารทดลอง 1. สายไฟ 2. สวิทซไฟ 3. หลอดไฟ 4. แหลงจา ยไฟ 5. เครื่องมือชา งไฟฟา
294 วิธีการทดลอง ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบผสม ปฎิบัติตามข้ันตอนท่ีกําหนดให แลวเขียน ผลการทดลองพรอ มท้งั สรปุ ผลการทดลอง . .. แหลง่ จ่ายไฟฟ้ า ข้ันตอนท่ี 1 ตอ วงจรผสมตามภาพ โดยใชสายไฟตอใหครบวงจร โดยใสหลอด LED ลง ในฐานเสียบหลอด LED จํานวน 3 หลอด จากนั้นทําการเปดเบรกเกอร และเปด สวิตชไฟ โดย หลอด LED ทุกหลอดตองติด ทําการปลดหลอด LED หลอดที่ 1 หรือ 2 ออก สังเกตการ เปลยี่ นแปลง หมายเหตุ : หากใสห ลอด LED แลว หลอดไมติดใหสลบั ขั้วหลอด LED ขนั้ ตอนท่ี 2 ทาํ การปลดหลอด LED หลอดที่ 3 ออก สงั เกตการเปล่ียนแปลง ขนั้ ตอนท่ี 3 บันทึกผลการทดลองและสรุปผลการทดลอง คําถามทา ยการทดลองที่ 3 1. จากการทดลองการตอ วงจรไฟฟาแบบผสมพบวา …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากการทดลองผเู รยี นสามารถอธบิ ายหลกั การทฤษฎี จากผลการทดลองไดอยา งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………
295 เฉลยกจิ กรรมทายบทท่ี 1 1. ค. ทักษะการตั้งสมมตฐิ าน 2. ค. ทักษะการรวบรวมขอ มลู 3. ข. ทักษะการควบคมุ ตัวแปร 4. ค. นายสมชายทาํ Web Page เก่ยี วกับเรอ่ื งซนึ ามิทต่ี นสนใจและศึกษามา 5. ข. แรเงิน 6. ข. ฮตี เตอร (เครือ่ งทําความรอ น) 7. ก. การทาํ ขาวแชจ ดั เปนเทคโนโลยอี ยา งหน่ึง 8. ค. ชนดิ ของอาหารมีผลตอ การเจรญิ เตบิ โตหรอื ไม 9. ก. ตัวแปรอสิ ระ คือ ปรมิ าณผงซกั ฟอก 10. ค. ถา พืชทไ่ี ดรบั แสงสนี ํ้าเงนิ จะโตดกี วา พชื ทร่ี ับแสงสเี ขยี ว 11. ง. ทดสอบสมมตฐิ านทางวทิ ยาศาสตรแลว เปน จรงิ ทกุ ครง้ั 12. ก. แผน ใยขดั ชว ยลดอัตราการไหลของนํา้ 13. ง. ชว ยอํานวยความสะดวกแกน ักวิทยาศาสตรและทําใหผ ลการทดลองเทย่ี งตรง 14. ข. ใชผ งกาํ มะถันโรยลงไปแลว เกบ็ กวาด 15. ค. หองปฎบิ ตั ิการควรใชพ ื้นกระเบอื้ งสีขาวเพอ่ื ใหส ามารถทาํ ความสะอาดไดง าย 16. ก. ประเภททว่ั ไป 17. ค. นางสาวบีเลอื ก Beaker 500 ml. เพอื่ เตรยี มสารละลาย 20 ml. 18. ค. เวอรเนยี 19. ค. เทอรโ มมเิ ตอร 20. ค. ธิติใชเ ทอรโ มมเิ ตอรว ดั อณุ หภมู ิของนํ้า
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317