Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาศาสตร์ พว31001 ระดับ ม.ปลาย

วิทยาศาสตร์ พว31001 ระดับ ม.ปลาย

Published by สกร.อำเภอหลังสวน, 2020-01-03 00:32:53

Description: วิทยาศาสตร์ พว31001 ระดับ ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

146 เลข สญั ลกั ษณ ชอ่ื ธาตุ ชื่อธาตุภาษาองั กฤษ ชื่อธาตุภาษา หมายเหตุ อะตอม ละตนิ 89 Ac แอคทเิ นียม Actinium 90 Th ธอเรยี ม Thorium 91 Pa โพรแทกทิเนียม Protactinium 92 U ยเู รเนยี ม Uranium 93 Np เนปจเู นยี ม Neptunium 94 Pu พลโู ตเนยี ม Plutonium 95 Am อเมรเิ ซยี ม Americium 96 Cm คเู รียม Curium 97 Bk เบอรค ีเลยี ม Berkelium 98 Cf แคลฟิ อรเนียม Californium 99 Es ไอนสไตเนยี ม Einsteinium 100 Fm เฟอรเ มียม Fermium 101 Md เมนเดลเลเวียม Mendelevium 102 No โนเบลเลียม Nobelium 103 Lr ลอวเรนเซียม Lawrencium 104 Rf รูเทอรฟ อรเดยี ม Rutherfordium 105 Db ดุบเนยี ม Dubnium 106 Sg ซีบอรเ กียม Seaborgium

147 เลข สญั ลกั ษณ ชือ่ ธาตุ ชอ่ื ธาตภุ าษาองั กฤษ ชื่อธาตภุ าษา หมายเหตุ อะตอม ละตนิ 107 Bh โบหเรยี ม Bohrium 108 Hs ฮัสเซียม Hassium 109 Mt ไมตเ นเรียม Meitnerium 110 Ds ดารม สตัดเทยี ม Darmstadtium 111 Rg เรนิ ตเ กเนียม Roentgenium 112 Cn โคเปอรนเิ ซยี ม Copernicium 113 Nh นิโฮเนียม Nihonium 114 Fl ฟลโี รเวียม Flerovium 115 Mc มอสโกเวียม Moscovium 116 Lv ลเิ วอรม อเรยี ม Livermorium 117 Ts เทนเนสซีน Tennessine 118 Og ออกาเนสซอน Oganesson ... ... ... ...

148 เรอื่ งที่ 3 ธาตกุ ัมมันตภาพรงั สี ธาตกุ มั มนั ตรงั สี (Radioactive Element) ธาตุกมั มนั ตรงั สี คอื ธาตทุ ่สี ามารถปลดปลอ ยรงั สอี อกมาไดเองจากธาตุบางชนิด อันเปน ผลมาจากการเกิดการเปลีย่ นแปลงหรือเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าทีน่ ิวเคลียสของธาตุน้ัน ปฏิกิริยาท่ีเกิดการ เปลี่ยนแปลงของนิวเคลียสของธาตุน้ี มีชื่อเรียกเฉพาะวา ปฏิกิริยานิวเคลียร (Nuclear Reation) เฮนรี่ เบคเคอเรล นักฟสิกสชาวฝรั่งเศสเปนผูคนพบกัมมันตภาพรังสีโดยบังเอิญ ในขณะทท่ี ําการวิเคราะหเก่ียวกับรังสีเอกซ กมั มันตภาพรังสีมีสมบัติแตกตางจากรังสีเอกซ คือ มีความเขมนอ ยกวารังสเี อกซ การแผรังสขี องธาตกุ มั มนั ตรังสีเหลานี้เกิดข้ึนในไอโซโทปของธาตุ ที่มจี าํ นวนนิวตรอนมากกวา จาํ นวนโปรตอนมาก ทําใหนิวเคลียสของธาตุไมเสถียรจึงตองมีการ เปลี่ยนแปลงไปเปน ธาตทุ ่ีมีความเสถียรมากขึ้น โดยการสลายตัวเองเพ่ือปลอยอนุภาคภายใน นิวเคลียสออกมาในรูปของการแผรังสี การแผรังสีของธาตุเปนปรากฏการณธรรมชาติ โดย พบวาธาตุตา งๆ ท่ีอยูใ นธรรมชาตทิ ม่ี ีเลขอะตอมสงู กวา 82 สว นใหญจ ะสามารถแผรังสีไดท้ังสิ้น ตัวอยางเชน ธาตุเรเดียม, ยูเรเนียม, ทอเรียม เปนตน การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีจะ เกิดขึ้นไดโดยอะตอมของธาตุมีการปลดปลอยองคประกอบ และพลังงานที่อยูภายในอะตอม ออกมา ทาํ ใหโครงสรา งของอะตอมเปลี่ยนแปลงไป โดยองคประกอบและพลังงานของธาตุท่ีถูก ปลดปลอ ยออกมานั้นจะแผอ อกมาจากธาตุในรูปของรังสีตางๆ สามารถแบงไดเปน 3 ชนิด คือ รงั สแี อลฟา,รงั สีบีตา และรงั สีแกมมา ซ่ึงรงั สีตา งๆจะมีลักษณะและสมบตั ิทแ่ี ตกตางกัน คอื

149 อํานาจการทะลวงของรังสีตาง ๆ วิธีการควบคุมและปองกนั อันตรายจากรังสี 1. กําหนดระดบั ของรังสที ี่ปลอดภัยที่มนุษยสามารถยอมรบั ได 2. การตรวจระดบั รังสที ีร่ างกายไดรับสม่าํ เสมอ 3. ควบคมุ แหลงกําเนิดรังสี ควบคมุ ใหอ ยใู นระดบั ท่ปี ลอดภัยตอ ชมุ ชนและคนงาน 4. ควบคุมระยะเวลาในการสมั ผัสใหเหลือนอยที่สุด 5. มมี าตรการในการเคล่อื นยา ยหรอื เกบ็ ขนใหเ กิดความปลอดภัยมากทสี่ ุด 6. ควบคมุ ระยะหางระหวา งรงั สกี บั ผปู ฏบิ ัติงานใหห า งมากทส่ี ุด ถา ไมจาํ เปนไมตองอยูใกล 7. มฉี ากกาํ บังรังสที แี่ ข็งแรง และสามารถกน้ั รงั สไี ดจ ริง 8. มีการกําจดั กากรงั สอี ยา งถกู วธิ ี การเกิดกัมมนั ตภาพรังสี 1. เกิดจากนวิ เคลยี สในสภาวะพ้นื ฐานไดรบั พลงั งาน ทําใหนิวเคลียสกระโดดไปสูระดับ พลังงานสูงขึน้ กอนกลับสสู ภาวะพ้ืนฐาน นวิ เคลยี สจะคายพลงั งานออกมาในรูปรงั สแี กมมา 2. เกิดจากนิวเคลยี สที่อยูในสภาพเสถียร แตม ีอนภุ าคไมส มดลุ นิวเคลยี สจะปรับตัวแลว คายอนุภาคท่ีไมส มดุลออกมาเปนอนภุ าคแอลฟาหรอื เบตา

150 คณุ สมบตั ขิ องกมั มนั ตภาพรงั สี 1. เดนิ ทางเปน เสนตรง 2. บางชนิดเกดิ การเลยี้ วเบนเมือ่ ผานสนามแมเหลก็ และสนามไฟฟา เชน a, b 3. มอี าํ นาจในการทะลสุ ารตา งๆ ไดด ี 4. เมื่อผานสารตางๆจะสูญเสียพลังงานไปโดยการทําใหสารน้ันแตกตัวเปนอิออน ซ่ึง ออิ อนเหลา นน้ั จะกอใหเ กดิ ปรากฏการณอ น่ื ๆ เชน ปฏิกิรยิ าเคมี เกิดรอยดาํ บนฟล มถา ยรปู 5. การเปล่ียนสภาพนิวเคลียส 5.1 การแผกมั มนั ตภาพรงั สี เปน ผลมาจากการเปล่ียนแปลงนิวเคลียส เม่ือนิวเคลียส ปลดปลอ ยรงั สอี อกมานวิ เคลยี สเองจะเปล่ียนสภาพเปนนวิ เคลียสของธาตุใหม 5.2 การแผรังสีแอลฟา a นิวเคลียสของธาตุเดิมจะเปล่ียนไปโดยท่ีมวล และ นิวเคลยี สเดมิ ลดลงเทากบั มวลของอนุภาคแอลฟา 5.3 การแผร งั สเี บตา b ประจไุ ฟฟาของนวิ เคลยี สใหมจ ะเพ่ิมหรือลดลง 1 e หนวย 5.4 รังสีแกมมา g เกิดจากการเปล่ียนระดับพลังงานของนิวเคลียส จะไมมีการ เปลย่ี นแปลงเลขมวลและเลขอะตอมของนวิ เคลียสท่ีแผร ังสีแกมมาออกมา ประโยชนแ ละโทษของของกมั มนั ตภาพรงั สี 1. ดานธรณีวิทยา มีการใช C-14 คํานวณหาอายขุ องวัตถุโบราณ หรืออายุของซากดึก ดําบรรพการหาอายุวัตถุโบราณและการศึกษาทางธรณีวิทยา ใชธาตุกัมมันตรังสีคารบอน-14 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 5760 ป อัตราสวนของคารบอน-14 ตอคารบอน-12 ในพืชและสัตวมีคาคงตัว ขณะท่ียังมีชีวิตอยู ภายหลังสิ่งมีชีวิตตายไป อัตราสวนน้ีจะลดลง นํามาคํานวณหาอายุวัตถุ โบราณได

151 1.1 เคร่อื งปน ดนิ เผาของบานเชยี ง จงั หวดั อดุ รธานี คํานวณอายุได 6,060 ปทําใหเรา ทราบวา บา นเชยี งในอดตี เคยเปน แหลง อารยธรรมเกาแกของโลก 1.2 หวั หอกทาํ ดวยสาํ ริดของบา นเชียงมอี ายุ 5,600 ป 2. ดานการแพทย ใชร กั ษาโรคมะเรง็ ในการรักษาโรคมะเร็งบางชนดิ กระทาํ ไดโดยการ ฉายรังสีแกมมาทไี่ ดจาก โคบอลต-60 เขา ไปทาํ ลายเซลลมะเร็ง ผูปวยที่เปนมะเร็งในระยะแรก สามารถรกั ษาใหหายขาดได แลวยังใชโซเดียม-24 ท่ีอยูในรูปของ NaCl ฉีดเขาไปในเสนเลือด เพ่ือตรวจการไหลเวียนของโลหิต โดย โซเดียม-24 จะสลายใหรังสีบีตาซ่ึงสามารถตรวจวัดได และสามารถบอกไดวา มกี ารตีบตันของเสนเลือดหรอื ไม การตรวจอวัยวะตา งๆ ภายในรางกายเพื่อตรวจและพสิ จู นสมมตุ ฐิ านของโรค และความ ผดิ ปกตขิ องอวยั วะ มักใชส ารกมั มันตรังสี ทีเ่ ปนของเหลว เชน เทคนิเชียม-99เอ็ม ใชตรวจการ ทาํ งานของระบบอวัยวะ เชน ธัยรอยด กระดูก สมอง ปอด ตับ มาม ไขกระดูก ไต และหัวใจ ไอโอดีน-131และ ไอโอดีน-123 ใชตรวจหาความผิดปกติของตอมธัยรอยดและใชติดตาม ผลการรกั ษา

152 3. ดานเกษตรกรรม มีการใชธาตุกัมมันตรังสีติดตามระยะเวลาการหมุนเวียน แรธ าตใุ นพชื โดยเรม่ิ ตนจากการดดู ซึมท่ีรากจนกระท่ังถึงการคายออกท่ีใบ หรือใชศึกษาความ ตอ งการแรธ าตขุ องพืช 4.ดานอุตสาหกรรม ในอุตสาหกรรมการผลิตแผนโลหะจะใชประโยชนจาก กัมมนั ตภาพรงั สใี นการควบคมุ การรีดแผน โลหะ เพอื่ ใหไดค วามหนาสมํา่ เสมอตลอดแผน โดยใช รังสีบีตายิงผานแนวต้ังฉากกับแผนโลหะที่รีดแลว แลววัดปริมาณรังสีท่ีทะลุผานแผนโลหะ ออกมาดวยเครื่องวัดรังสี ถาความหนาของแผนโลหะที่รีดแลวผิดไปจากความหนาท่ีต้ังไว เครอื่ งวัดรังสจี ะสงสญั ญาณไปควบคุมความหนา โดยสั่งใหมอเตอรกดหรือผอนลูกกลิ้ง เพ่ือให ไดค วามหนาตามตองการการใชวัสดุ กัมมันตรังสี และเทคนิคทางรังสี ซ่ึงเรียกวา “เทคนิคนิวเคลียร” มาใชประโยชน ในระบบวัด และควบคุมตางๆ ของโรงงานอุตสาหกรรม ปจจุบันมีการใชอยางแพรหลาย ในประเทศไทย ซึง่ มีตวั อยา งดงั ตอ ไปนี้ – การใชรังสีแกมมา วัดระดับของไหลหรือสารเคมี ในกระบวนการผลิตเสนใย สงั เคราะห

153 – การใชร งั สแี กมมา วัดระดับเศษไมในหมอนง่ึ เพ่ือการผลติ ไมอดั แผน เรยี บ – การใชรังสีแกมมา วัดความหนาแนนของนํ้าปูนกับเสนใยหิน เพ่ือการผลิตกระเบ้ือง กระดาษ – การใชร งั สีแกมมา วัดและควบคุมความหนาแนนของเน้ือยาง ที่เคลือบบนแผนผาใบ เพื่อผลิตยางรถยนต – การใชร งั สแี กมมาวดั และควบคมุ ความหนาของแผน เหล็ก – การใชรังสบี ีตา วดั และควบคมุ น้าํ หนกั ของกระดาษ ในอตุ สาหกรรมผลิตกระดาษ – การใชรงั สเี อกซ วัดหาปริมาณตะกว่ั และกาํ มะถนั ในการกลน่ั นํา้ มันปโตรเลยี ม – การใชรังสนี วิ ตรอน ในการสํารวจแหลง นา้ํ มนั และกาซธรรมชาตใิ ตดนิ – การใชร งั สแี กมมา ตรวจสอบรอยเช่ือมโลหะ การหารอยร่วั รอยรา วของวสั ดุ – การใชรงั สีแกมมา วดั หาปริมาณเถา ในถา นหนิ บนสายพานลาํ เลียง 5. ดานการถนอมอาหาร ใชรังสีแกมมาของธาตุโคบอลต-60 (Co–60) ปริมาณท่ี พอเหมาะใชท าํ ลายแบคทเี รียในอาหาร จงึ ชวยใหเ กบ็ รกั ษาอาหารไวไดน านขนึ้ ดา นการถนอมอาหาร

154 6. ดานพลังงาน มีการใชพลังงานความรอนที่ไดจากปฏิกิริยานิวเคลียรในเตาปฏิกรณ ปรมาณขู องยูเรเี นยี ม-238 (U-238) ตม นํา้ ใหกลายเปนไอ แลว ผานไอนาํ้ ไปหมุนกังหัน เพื่อผลิต กระแสไฟฟา โทษของธาตุกัมมันตรังสี เน่ืองจากรังสีสามารถทําใหตัวกลางท่ีมันเคล่ือนที่ผาน เกิดการแตกตัวเปนไอออนได รงั สีจึงมอี ันตรายตอมนุษย ผลของรงั สีตอ มนุษยส ามารถแยกไดเ ปน 2 ประเภทคือ 1. ผลทางพันธุกรรม จะมีผลทําใหการสรางเซลลใหมในรางกายมนุษยเกิดการกลาย พนั ธุ โดยเฉพาะเซลลส บื พันธุ 2. ความปวยไขจากรังสี สวนผลท่ีทําใหเกิดความปวยไขจากรังสี เน่ืองจากเม่ืออวัยวะ สว นใดสว นหนึ่งของรางกายไดรับรงั สี โมเลกลุ ของธาตุตางๆ ทป่ี ระกอบเปนเซลลจะแตกตัว ทํา ใหเกดิ อากาปวยไขได การเกิดอันตรายจากรงั สตี อมนุษย อาจแบง ได 2 กลุมใหญ คือ 1. การไดรับรังสีจากแหลงกําเนิดรังสีจากภายนอก (External exposure) ความรุนแรง ของการบาดเจ็บ ขึ้นอยูกับความแรงของแหลงกําเนิดและระยะเวลาที่ไดรับรังสี แตตัวผูที่ไดรับอันตรายไมไดรับสารกัมมันตรังสีเขาไปในรางกาย จึงไมมีการแผรังสี ไปทําอันตรายผอู ื่น 2. การไดรับสารกัมมันตรังสีเขาสูรางกาย (Internal exposure) มักพบในกรณีมีการ รว่ั ไหลของสารกัมมันตรังสีท่ีเปนกาซ ของเหลว หรือฝุนละอองจากแหลงเก็บสารกัมมันตรังสี หรอื ทเ่ี กบ็ กากสารกมั มนั ตรังสีจากการระเบิดของโรงไฟฟานิวเคลยี ร

155 หลกั ในการปอ งกันอนั ตรายจากรงั สี มดี ังน้ี 1. ใชเ วลาเขาใกลบริเวณทีม่ ีกัมมนั ตภาพรังสีใหน อ ยที่สุด 2. พยายามอยใู หห า งจากกมั มันตภาพรงั สใี หมากท่สี ดุ เทาทีจ่ ะทาํ ได 3. ใชต ะกั่ว คอนกรีต นํ้า หรือพาราฟน เปนเครือ่ งกาํ บังบริเวณทีม่ กี ารแผร ังสี กัมมนั ตภาพรงั สีในสงิ่ แวดลอ ม (Radioactivity in Environment) เราอาศยั อยูบนโลกที่มีกมั มันตภาพรังสีในสิ่งแวดลอมอยูทั่วไป สวนใหญเปนรังสีที่มีอยู ตามธรรมชาติ (Natural occurring radiation) และบางสวนเกิดขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย (Man made radiation) ตนกําเนิดของ กัมมันตภาพรังสีในส่ิงแวดลอม แบงออกไดเปน 3 ประเภท ไดแ ก 1. กมั มนั ตภาพรงั สจี ากพ้ืนโลก ซึง่ มาจากแรธาตตุ า งๆ ที่เปนองคประกอบของโลก โดย มีมาตงั้ แต โลกถอื กาํ เนดิ ข้นึ มาแลว มีนิวไคลดกัมมันตรังสี หรือธาตุที่ใหรังสี ที่พบในธรรมชาติ กวา 60 ชนิด เปนตน กําเนดิ ทสี่ าํ คัญของรงั สีทเ่ี ราไดร บั ในแตละวนั 2. กัมมันตภาพจากรังสีคอสมิก เกิดจากรังสีคอสมิกท่ีมาจากนอกโลก และปฏิกิริยา ระหวางรังสีคอสมิก กับธาตทุ ี่อยูในบรรยากาศของโลก 3. กัมมันตภาพรงั สีท่ีมนษุ ยสรางขน้ึ เกิดข้ึนเน่ืองจากกิจกรรมของมนุษย ซ่ึงมีสัดสวนที่ คอนขา งต่ํา เมื่อเทยี บกบั ผลรวมของปริมาณรังสที ง้ั หมดในธรรมชาติ ธาตุทีม่ กี มั มนั ตภาพรงั สี เราเรียกวา ไอโซโทปกมั มันตรังสี หรอื นวิ ไคลดกมั มนั ตรังสี นิว ไคลดร ังสี หรอื อาจเรยี กเพียง นวิ ไคลด ซ่งึ มกี ารตรวจพบแลว มากกวา 1,500 นิวไคลด เรามักใช สัญลักษณของนิวไคลด โดยแสดง สัญลักษณของธาตุและเลขมวล เชน ไอโซโทปรังสีของ ไฮโดรเจน ไดแก ตริเตียม มีเลขมวล 3 เขียนแทนดวย H-3 หรือ 3H หรือไอโซโทปรังสี ของ ยูเรเนียม ซ่ึงมีเลขมวล 235 เขียนแทนดวย U-235 หรือ 235Uนิวไคลดรังสี พบไดทั่วไปใน ธรรมชาติ ในอากาศ ในนํ้า ในดิน รวมท้ังในตัวคนเราดวย เน่ืองจากรางกายของเรา ประกอบดวยแรธาตุ ซึ่งไดรับมาจากส่ิงแวดลอม แตละวัน เรารับประทานอาหาร ด่ืมน้ํา สูดหายใจ เอานิวไคลดรังสี ท่ีมีอยูในอาหาร ในน้ํา และในอากาศเขาไปกัมมันตภาพรังสี ในธรรมชาติ พบไดทวั่ ไปในดนิ และหิน ซึง่ เปนสว นประกอบของเปลือกโลก ในน้ํา ในมหาสมุทร และในวสั ดกุ อสรา งที่เรานาํ มากอสรา งอาคารบานเรือน ในโลกนจี้ งึ ไมมที ไ่ี หนทีเ่ ราจะอยูโดยไมมี รงั สี

156 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 7 ธาตุ สมบัติของธาตุและธาตกุ ัมมันตภาพรงั สี คาํ ชี้แจง จงทําเคร่ืองหมาย X ลงในขอทถ่ี กู ตอง 1. ขอ ใดถูกตอ งเกี่ยวกับแบบจาํ ลองอะตอมของรทั เทอรฟอรด ก. โปรตอนและอเิ ลก็ ตรอนรวมกันเปน นวิ เคลียสของอะตอม ข. นิวเคลยี สมีขนาดเล็กมากและมมี วลมาก ภายในประกอบดวยอนภุ าคโปรตอน ค. นิวเคลยี สเปน กลางทางไฟฟาเพราะประจุของโปรตอนกับของอเิ ล็กตรอนเทา กนั ง. อะตอมของธาตุประกอบดว ยอนุภาคโปรตอนและอเิ ลก็ ตรอนกระจัดกระจายอยู ภายในดวยจํานวนเทา กนั 2. อนุภาคขอ ใดที่มีมวลใกลเ คยี งกนั ก. โปรตอนกับนิวตรอน ข. โปรตอนกบั อเิ ลก็ ตรอน ค. นวิ ตรอนกับอิเล็กตรอน ง. โปรตอน อเิ ลก็ ตรอน และนิวตรอน 3. ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยใู นคาบและหมูละที่เทา ไรของตารางธาตุ ก. คาบ 3 หมู 7 ข. คาบ 7 หมู 3 ค. คาบ 2 หมู 7 ง. คาบ 3 หมู 8

157 4. สงิ่ ท่ีเหมอื นกันในระหวา งธาตตุ า ง ๆ ทีอ่ ยูใ นหมเู ดยี วกนั ในตารางธาตุ คือ ก. มีขนาดใกลเคยี งกันมาก ข. มีการจัดเรยี งตัวของอเิ ลก็ ตรอนเหมือนกนั ค. มคี า พลงั งานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 เทา กัน ง. มีการจัดเรยี งตัวของอิเล็กตรอนของระดับพลังงานช้ันนอกสุดเหมอื นกัน 5. สมบัติทใี่ ชในการจําแนกสารขอ ใดถกู ตองท่ีสดุ ก. อโลหะทุกชนิดไมส ามารถนําไฟฟาได ข. โลหะเปนธาตทุ ่สี ามารถนาํ ไฟฟา ไดท กุ สถานะ ค. ออกไซตข องโลหะเมอ่ื ละลายน้ํามีสมบตั ิเปน เบส ง. โลหะมคี า พลงั งานออิ อไนส เพ่มิ ขนึ้ ตามเลขอะตอม 6. ขอ ใดไมถ ูกตองเกย่ี วกับสมบัตขิ องสารประกอบของธาตุในคาบที่ 2 และ 3 ก. ออกไซดของ L ไมละลายน้าํ ข. ออกไซดข อง C มจี ดุ หลอมเหลวสูงกวา ออกไซดข อง G ค. คลอไรดของ O ละลายน้ําได สารละลายแสดงสมบัติเปนกรด ง. คลอไรดข อง J เกดิ ไดม ากกวา 1 ชนิด สว นคลอไรดของ E เกิดไดเ พยี งชนิดเดยี ว 7. ขอใดกลา วไดถกู ตอ งถึงประโยชนของตารางธาตุ ก. การจัดธาตุเปน หมแู ละคาบ ทาํ ใหท ราบสมบตั ขิ องธาตุในหมูเดยี วกนั ได ข. นาํ ไปทาํ นายสมบัติของธาตตุ าง ๆ ที่ยังไมท ราบในปจจุบันไวลว งหนา ได ค. สามารถทจ่ี ะทราบสมบัตติ าง ๆ จากธาตใุ นหมเู ดยี วกนั จากธาตทุ ีท่ ราบสมบตั ติ า ง ๆ แลว ง. ถูกทุกขอ

158 8. ธาตกุ ัมมนั ตรังสใี ดท่ีใชใ นการคํานวณหาอายขุ องวัตถุโบราณ คอื ก. I-131 ข. P-32 ค. C-14 ง. Co-60 9. รงั สที แี่ ผอ อกมาจากธาตกุ มั มันตรังสี มีกช่ี นดิ อะไรบาง ? ก. 3 ชนิด คอื รังสีแอลฟา รงั สีเบตา รงั สแี กมมา ข. 3 ชนิด คือ รังสแี อลฟา รังสเี บตา รงั สอี นิ ฟาเรด ค. 4 ชนดิ คอื รงั สแี อลฟา รงั สีเบตา รงั สีอินฟาเรด รังสเี อกซ ง. 4 ชนดิ คือ รงั สีแอลฟา รงั สีเบตา รงั สีแกมมา รังสีอินฟาเรด 10. การใชไอโซโทปของธาตุกัมมันตภาพรังสีตรวจหา รอยรั่ว รอยตําหนิ ของโลหะเปนการใช ประโยชนทางดา นใด ก. ธรณวี ทิ ยา ข. การขนสง ค. การแพทย ง. อตุ สาหกรรม

159 บทท่ี 8 สมการเคมแี ละปฏกิ ริ ิยาเคมี สาระสาํ คัญ การเกิดสมการเคมีและปฏกิ ิรยิ าเคมี ปจ จัยท่ีมผี ลตอปฏิกิริยาเคมี ตลอดจนผลท่เี กดิ จาก ปฏิกิริยาเคมตี อ ส่ิงแวดลอ ม ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั 1. อธบิ ายการเกดิ สมการเคมแี ละปฏกิ ิริยาเคมีและดลุ สมการเคมีได 2. อธบิ ายปจ จยั ทม่ี ผี ลตอ ปฏิกิรยิ าเคมไี ด 3. อธิบายผลท่เี กิดจากปฏกิ ริ ยิ าเคมีตอ ชีวติ และส่งิ แวดลอมได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 สมการเคมี เรือ่ งที่ 2 หลกั การเขยี นสมการเคมี เรือ่ งท่ี 3 ปฏิกริ ยิ าเคมที ี่พบในชวี ิตประจําวนั

160 บทท่ี 8 สมการเคมีและปฏกิ ิริยาเคมี เรอ่ื งท่ี 1 สมการเคมี (Chemical equation) ความรพู ื้นฐานของสมการเคมี สมการเคมี คือ กลุมสัญลักษณท่ีเขียนแทนปฏิกิริยาเคมี ใหทราบถึงการเปล่ียนแปลง ทางเคมีท่ีเกิดขึ้นในระบบ สมการเคมีประกอบดวยสัญลักษณ แสดงสารต้ังตน และ ผลิตภัณฑ เง่ือนไขแสดงปฏกิ ิรยิ าเคมีท่ีเกิดขึน้ พรอมดว ยลูกศรทศิ ทางแสดงของปฏกิ ริ ิยา สารต้ังตน ผลิตภัณฑ Zn(s) + 2HCl(aq) ZnCl2(aq) + H2(g) สารทเ่ี ขียนทางซา ยมือของลูกศร เรียกวา สารตัง้ ตน สารทเ่ี ขยี นทางขวามือของลูกศร เรียกวา สารผลติ ภณั ฑ เครอ่ื งหมาย + หมายถงึ ทําปฏกิ ริ ิยากนั เคร่อื งหมาย แสดงการเปลย่ี นแปลงของสารต้งั ตน ไปเปนสารผลิตภณั ฑ สญั ลกั ษณในวงเล็บแสดงสถานะไดแก G (gas) แทน แกส l (liquid) แทน ของเหลว s (solid) แทน ของแข็งหรือตะกอน aq (aqueous)แทน สารทล่ี ะลายนํ้า

161 ประเภทของสมการเคมี สมการเคมีมี 2 ประเภท คอื 1. สมการโมเลกุล (Molecule equation) เปนสมการเคมีของปฏิกิริยาท่ีสารตั้งตน และผลิตภณั ฑเปนรปู อะตอม หรอื โมเลกุล เชน 2NaHCO3(s) Na2CO3(s) + H2O(l) + CO2(g) 2. สมการไอออนิก (Ionic equation) เปนสมการเคมีของปฏิกิริยาท่ีสารต้ังตนและ ผลติ ภัณฑ อยางนอย 1 ชนดิ เปน ไอออน เชน H+(aq) + OH-(aq) H2O(l) สมการเคมีที่สมบูรณ จะตองมีจํานวนอะตอมของแตละธาตุ ทางซายและขวา เทากนั เรียกวา สมดุลเคมี การดุลสมการเคมี วธิ ีการดุลสมการเคมีทวั่ ไป 1. ระบวุ า สารใดเปน สารตั้งตน และสารใดเปน สารผลิตภณั ฑ 2. เขียนสูตรเคมีที่ถูกตองของสารตั้งตนและสารผลิตภัณฑ ซึ่งสูตรเคมีนี้จะไมมีการ เปลย่ี นแปลง 3. ดุลสมการโดยหาตัวเลขสัมประสิทธิ์มาเติมขางหนาสูตรเคมี เพื่อทําใหอะตอมชนิด เดยี วกนั ท้งั ซา ยและขวาของสมการมีจาํ นวนเทากนั 4. ใหคิดไอออนที่เปนกลุมอะตอมเปรียบเสมือนหน่ึงหนวย ถาไอออนนั้นไมแตกกลุม ออกมาในปฏกิ ริ ยิ า ตรวจสอบอกี ครั้งวาถูกตองโดยมีจํานวนอะตอมชนิดเดียวกันเทากันทั้งสอง ขาง

162 ตัวอยาง อะลูมิเนียมซ่ึงเปนโลหะท่ีวองไวตอปฏิกิริยากับกรด เม่ืออะลูมิเนียมทํา ปฏิกิรยิ ากับกรดซัลฟวริกจะเกิดแกส ไฮโดรเจนและอะลมู เิ นียมซลั เฟต จงเขียนและดุลสมการของปฏิกริ ยิ าน้ี วธิ ที ํา (1) เขียนสตู รสารตั้งตน และสารผลติ ภณั ฑ Al + H2SO4 —-> H2(g) + Al2(SO4)3 (2) ดลุ จํานวนอะตอม Al 2Al + H2SO4 —-> H2(g) + Al2(SO4)3 (3) ดลุ จํานวนกลุมไอออน SO42- 2Al + 3H2SO4 —-> H2(g) + Al2(SO4)3 (4) ดุลจาํ นวนอะตอม H 2Al + 3H2SO4 —-> 3H2(g) + Al2(SO4)3 เร่ืองที่ 2 หลกั การเขียนสมการเคมี 1. ตองเขยี นสูตรเคมีของสารต้งั ตน แตล ะชนิดได 2. ตอ งทราบวาในปฏิกิรยิ าเคมีหนง่ึ เกิดสารผลิตภัณฑใดขึ้นบาง และเขียนสูตรเคมีของ สารผลิตภัณฑได 3. เมือ่ เขียนสมการแสดงปฏกิ ริ ิยาเคมไี ดแ ลว ใหทําสมการเคมีใหสมดุลดวยเสมอ คือทํา ใหจาํ นวนอะตอมของธาตุทุกชนิดทางซายเทากับทางขวา โดยการเติมตัวเลขขางหนาสูตรเคมี ของสารน้นั ๆ เชน N2 + H2 —-> NH3 ไมถ กู ตอง เพราะสมการน้ีไมดลุ N2 + 3H2 —-> 2NH3 ถกู ตอง เพราะสมการนด้ี ุลแลว ขอ ควรจํา ในสมการเคมีทด่ี ลุ แลวนจ้ี ะมี จาํ นวนอะตอม โมลอะตอม และมวลสารต้ังตน เทา กับของสารผลิตภัณฑเสมอ สวนจํานวนโมเลกุลหรือจํานวนโมลโมเลกุล หรือปริมาตรของ สารต้ังตนอาจเทากันหรือ ไมเทากับสารผลิตภัณฑกไ็ ด(สว นใหญไมเ ทากัน) ในการเขยี นสมการเคมี ถาใหสมบูรณยิ่งข้ึน ควรบอกสถานะของสารแตละชนิดดวยคือ ถาเปนของแข็ง (solid) ใชตัวอักษรยอวา “s” ถาเปนของเหลว (liquid) ใชอักษรยอวา

163 “l” เปนกาซ (gas) ใชอักษรยอ วา “g” และถา เปน สารละลายในนํ้า (aqueous) ใชอักษรยอวา “aq” เชน CaC2(s) + 2H2O(g) —-> Ca(OH)2(aq) + C2H2(g) 4. การเขยี นสมการบางครัง้ จะแสดงพลังงานขอปฏกิ ิรยิ าเคมีดว ยเชน 2NH3(g) + 93(g) —-> N2(g) + 3H2(g) ปฏิกริ ยิ าดดู พลงั งาน = 93 kJ CH4(g) + 2O2 —-> CO2(g) + 2H2O(l) + 889.5 kJ ปฏิกิริยาคายพลงั งาน = 889.5 ประเภทของปฎิกิรยิ าเคมี พิจารณาลักษณะของอะตอมของธาตุในสารต้ังตนหรือในธาตุของผลิตภัณฑแลว วิเคราะหลักษณะของการเปล่ียนแปลง สูตรของสารต้ังตนมาเปนสูตรของผลิตภัณฑ อาจจําแนกประเภทของปฎกิ ิริยาเคมีไดเ ปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. ปฏิกิริยาการรวมตัว (combination) เปนปฏิกิริยาท่ีเกิดจากการรวมตัวของสาร โมเลกุลเล็กรวมกันเปน สารโมเลกุลใหญ หรือเกิดจากการรวมตัวของธาตุซ่ึงจะไดสารประกอบ เชน 2H2(g) + O2(g)  2H2O(l) 2. ปฏกิ ริ ยิ าการแยกสลาย (decomposition) เปน ปฏกิ ิริยาท่เี กดิ การแยกสลายของสาร โมเลกุลใหญใ หไ ดส ารโมเลกุลเล็กลง เชน 2H2O(l)  2H2(g) + O2(g) 3. ปฏิกิริยาการแทนท่ี (replacement) เปนปฏิกิริยาการแทนที่ของสารหนึ่ง เขาไป แทนทอี่ กี สารหน่ึง เชน MgSO4(aq) + H2(g)Mg(s) + H2SO4(aq) นอกจากนี้ ยังมีปฏิกิริยาแบบอื่น ๆ เชน การจัดเรียงตัวใหม (Rearrangement) ซึ่งยัง ไมก ลา วถงึ ในที่นี้

164 ปจ จัยทีม่ ีผลตออัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ปจจัยที่มีผลตอการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี หมายถึงส่ิงที่จะมีผลทําใหปฏิกิริยาเคมี เกิดขน้ึ เรว็ ขึน้ หรอื ชา ลง ไดแก 1. ความเขม ขนของสารตั้งตน สารละลายท่ีมีความเขมขนมากกวาจะเกิดปฏิกิริยาได เรว็ กวา สารละลายทเี่ จอื จาง 2. พื้นทผ่ี ิว ของแขง็ ท่ีมีพ้นื ทผี่ ิวมากกวาจะเกิดปฏิกริ ยิ าไดเรว็ กวา 3. อณุ หภูมิ ปฏิกริ ิยาเคมี โดยทว่ั ไปแลว จะเกดิ ปฏิกริ ยิ าไดเ รว็ ข้ึนเม่อื อณุ หภมู ิสงู ขึน้ 4. การใชตัวเรงปฏิกิริยา (catalyst) เปนสารท่ีเติมลงไปในปฏิกิริยาแลวทําให ปฏิกิริยา เกิดเร็วขึ้น /ตัวหนวงปฏิกิริยา (Inhibitor) เปนสารท่ีเติมลงไปในปฏิกิริยาแลวทําให ปฏิกิริยาเกดิ ชาลง การเปล่ียนแปลงปจจัยแตละปจ จยั ดงั กลา ว มผี ลตอ อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ า ดังน้ี 1. การเพิ่มความเขมขนของสารตั้งตน เปนการเพ่ิมโอกาสใหโมเลกุลของสาร ต้งั ตน ชนกนั มากขึ้น ปฏกิ ิริยาจึงเกดิ ไดเ ร็วขึ้น 2. การเพิม่ พื้นทผี่ ิว ในกรณีของของแขง็ กเ็ ปนการเพมิ่ โอกาสใหโมเลกุลของสาร ต้ังตนชนกันมากขึน้ ทําใหม โี อกาสในการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ ามากขนึ้ 3. การเพ่ิมอุณหภูมิ เปนการทําใหโมเลกุลของสารต้ังตนมีพลังงานจลนสูงข้ึน จึงมี โอกาส เปลี่ยนแปลงเปน ผลิตภณั ฑไ ดงา ยข้นึ ปฏกิ ริ ยิ าจึงเกิดเรว็ ข้นึ 4. การใชตวั เรงหรือตัวหนวงปฏิกิริยาเปนการทําใหกลไกของปฏิกิริยาเปล่ียนแปลงไป จงึ ทําใหป ฏิกริ ิยาเกิดไดเรว็ ข้นึ (เมอื่ ใชตัวเรง ) หรอื เกิดขน้ึ ไดช าลง (เม่ือใชตัวหนว ง)

165 เร่อื งท่ี 3 ปฏิกริ ิยาเคมีทพ่ี บในชวี ิตประจาํ วนั การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมี คือกระบวนการของสารอยางนอย 2 ชนิดทําปฏิกิริยากัน สาร กอนการเปลี่ยนแปลง เรียกสารนี้วา สารต้ังตน แลวเกิดการเปล่ียนแปลงทําใหเกิดสารใหม เรยี กวา ผลิตภัณฑ โดยสารทีเ่ กดิ ใหมน ั้นจะตองมสี มบัติแตกตางไปจากเดิม · ไมเกิดสารใหม = ไมเ กดิ ปฏิกิรยิ าเคมี การเปลีย่ นแปลงของสารในการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ในขณะเกิดปฏิกิริยาเคมีน้ันสารต้ังตนจะลดลง ผลิตภัณฑจะเพ่ิมขึ้น เชน การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาของน้ํา มีสารตั้งตน เปน ออกซเิ จน และไฮโดรเจน เม่ือเกิดปฏิกิริยาโมเลกุลของ สารตงั้ ตน ทัง้ จะคอ ยๆแตกสลายไป แลวรวมตัวใหมเ ปน โมเลกุลของนา้ํ

166 การเปล่ียนแปลงปฏกิ ิรยิ าเคมีในพลังงาน 1. ปฏกิ ิรยิ าคายความรอ น ปฏิกริ ิยาใชพลงั งานในการยึดเหนยี่ วระหวา งอะตอมนอยกวา พลังงานทถี่ กู ปลอยออกมา ทําใหพลงั งานภายในสารลดลงขณะท่ีภายนอกเพิ่มขึ้น ผลท่ีไดจะได พลังงานถายทอดออกมา สวนใหญจะอยูในรูปของพลังงานความรอน สามารถรูสึกไดถึง อณุ หภมู ิรอบขา งที่จะรอ นขึ้น ตัวอยา งปฏิกริ ิยาการคายความรอน เชน การเผาผลาญเช้ือเพลิง การหายใจ 2. ปฏกิ ิรยิ าดูดความรอ น ใชพลงั งานในการสลายแรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมมากกวา พลังงานท่ีปลอ ยออกมา ดูดความรอนเขาไปมากกวาที่คายออกมา สามารถรูสึกไดโดยอุณหภูมิ รอบขา งจะเยน็ ขึ้น ตวั อยางปฏิกิริยาการดดู ความรอ น เชน การละลายของนาํ้ แข็ง สราง -----------> คาย สลาย -----------> ดดู ปฏกิ ิริยาเคมใี นชีวิตประจําวันและผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอม ปฏกิ ริ ยิ าการสังเคราะหด ว ยแสง

167 ปฏกิ ริ ิยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอรออกไซด ในภาวะปกติไฮโดรเจนเปอรออกไซดสลายตวั เองอยา งชา ๆใหแกสออกซิเจนและนํ้า แต ถาไดรับแสงสวา งและความรอน จะชว ยใหเกิดการสลายตัวไดเ รว็ ขึ้น ปฏกิ ริ ยิ าการสลายตวั ของโซเดยี มไฮโดรเจนคารบอเนตหรือผงฟู

168 ผงฟูใชในการดับไฟปา แตไมนิยมดับไฟเมือง เพราะการสลายตัวของผงฟูนั้นจะเกิด คารบอนไดออกไซดม าก ปฏกิ ิริยาการเผาไหมเชือ้ เพลิง การเผาไหมตอ งมี 1.เช้อื เพลงิ 2.ความรอน 3.ออกซิเจน ผลิตภัณฑการเผาไหมท่ีสมบูรณจะเกิดคารบอนไดออกไซดสะสมในปริมาณมากใน บรรยากาศทําใหเกิดภาวะโลกรอน แตถาการเผาไหมน้ันไมสมบูรณจะเกิดเขมาแกสคารบอน มอนนอกไซดและไอน้ํา นอกจากนั้นเชื้อเพลิงท่ีไดจากซากดึกดําบรรพ เม่ือเกิดการเผา ไหม กํามะถันในเช้ือเพลิงจะทําปฏิกิริยากับออกซิเจนเกิดแกสซัลเฟอรไดออกไซด ซึ่งทํา ปฏิกิรยิ ากับออกซนิ เจนจนเกิดเปนแกสซัลเฟอรไตรออกไซด ดังสมการ 2SO2(g)+O2 2SO2(g)

169 ปฏกิ ิรยิ าฝนกรด เม่ือเกดิ ฝนตกลงมา นา้ํ (H2O) จะละลายแกสตา งๆ ทอี่ ยูใ นอากาศตามธรรมชาติ เชน แกสคารบอนไดออกไซด(CO2) แกส ซัลเฟอรไ ดออกไซด(SO2) แกสไนโตรเจนไดออกไซด(NO2) เม่ือนาํ้ ละลายแกส คารบ อนไดออกไซดในอากาศจะทาํ ใหฝนมีสภาพเปนกรดคารบอนิก(H2CO3) ดังสมการ H2O(l) + CO2(g) H2CO3(aq) ผลกระทบของฝนกรด 1. ทําใหดินเปนกรดเพ่ิมขึ้นมีผลตอการเพาะปลูก เชน ผลผลิตของพืชนอยกวา ปกติ 2. ฝนกรดทําใหด นิ เปรยี้ วจุลนิ ทรียหลายชนิดในดินท่ีมีประโยชนตอ การเจริญเติบโตของ พืชถูกทาํ ลาย ซึ่งจะมีผลกระทบในแงการยอ ยสลายในดินและการเจรญิ เติบโตของพืช 3. ฝนกรดสามารถทําปฏิกิริยากับธาตุอาหารที่สําคัญของพืช เชน แคลเซียม, ไนเตรต,แมกนีเซยี ม และโพแทสเซยี ม ทําใหพืชไมส ามารถนาํ ธาตุอาหารเหลาน้ีไปใชไ ด 4. แกสซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศทําใหปากใบปดซ่ึงจะมีผลกระทบตอการ หายใจของพืช 5. ความเปน กรดทเ่ี พ่ิมขึ้นของนํ้ายังมีผลกระทบดานระบบนิเวศ ท่ีอยูอาศัยรวมถึงการ ดาํ รงชวี ิตอีกดว ย 6. ฝนกรดสามารถละลาย calcium carbonate ในหินทาํ ใหเกิดการสึกกรอน เชน พิรา มิดในประเทศอียิปตและ ทัชมาฮาลในประเทศอินเดียเปนตน นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กัดกรอน ทาํ ลาย พวกโลหะทาํ ใหเ กดิ สนมิ เร็วขนึ้ อีกดวย 7. ฝนกรดทําลายวัสดุส่ิงกอสรางและอุปกรณบางชนิด คือ จะกัดกรอนทําลายพวกโลหะ เชน เหล็กเปนสนมิ เร็วขึน้ สังกะสีมงุ หลงั คา ทใี่ กลๆ โรงงานจะผุกรอนเร็ว สังเกตไดงาย นอกจากนี้ยังทําให แอร ตูเย็น หรือวสั ดอุ ื่นๆ เชน ปูนซเี มนตหมดอายุเร็วขึน้ ผุกรอ นเร็วข้ึน เปน ตน 8. ฝนกรดจะทําลายทรัพยากรธรรมชาติ เชน ปู หอย กุง มีจํานวนลดลงหรือ สูญพันธุไปไดเพราะฝนกรดท่ีเกิดจากแกสซัลเฟอรไดออกไซด และเกิดจากแกสไนโตรเจน ออกไซด จะทําใหน ้าํ ในแมน ํา้ ทะเลสาบ มคี วามเปนกรดเพ่ิมข้นึ ถาเกดิ อยา งรนุ แรงจะทําใหสัตว นํ้าดังกลาวตาย

170 กิจกรรมทายบทท่ี 8 สมการเคมแี ละปฏกิ ริ ยิ าเคมี คําช้แี จง จงทาํ เคร่ืองหมาย X ลงในขอท่ถี กู ตอง 1. ขอใดเปนสารตั้งตน ในปฏิกริ ิยาการสงั เคราะหด วยแสง ก. แกส CO2 และ C6H12O6 ข. แกส CO2 และ CO2 และ H2O ค. แกส O2 และ C6H12O6 ง. แกส O2 และ H2O 2. ปฏิกริ ยิ าการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอรออกไซด จะไดส ารใดเปน ผลติ ภัณฑ ก. H2O2 ข. H2O ค. O2 ง. H2O และ O2 3. ขอใดไมใชเกณฑใ นการตดั สินใจวามีปฏิกริ ยิ าเคมเี กดิ ขน้ึ ก. เกดิ ฟองแกส ข. เกดิ ตะกอน ค. สีของสารละลายเปลี่ยนแปลง ง. เกิดการละลาย 4. ขอ ใดแสดงวา มีปฏิกริ ิยาเคมีเกิดขน้ึ ก. การตมน้ํา ข. การละลายของนํา้ แข็ง ค. การจุดธูป ง. การระเหดิ ของลกู เหมน็ 5. สารเมื่อเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี จะมลี ักษณะในขอใด ก. สผี ิดไปจากเดิม ข. มีสมบตั ิตา งไปจากสารตง้ั ตน ค. สถานะเปล่ยี นไป ง. ไมมกี ารเปล่ยี นแปลง

171 6. ใครมีเหตผุ ลในการเลอื กใชส ารเคมไี ดอยางเหมาะสมทส่ี ุด ก. แปงใชผงซกั ฟอกทําความสะอาดจาน ข. แปว ใชผงซกั ฟอกทาํ ความสะอาดหองนาํ้ ค. ปานใชผงซกั ฟอกทําความสะอาดรถยนต ง. ปว ใชผ งซักฟอกทําความสะอาดเส้ือผา ทส่ี กปรก 7. จงดลุ สมการเคมตี อไปนี้ N2 + 3H2 ก. N2 + H2 —-> NH3 ข. N2 + 3H2 —-> 2NH3 ค. N2 + 2H2 —-> NH3 ง. N2 + H2 —-> 3NH3 8. สารเคมชี นิดใดสามารถดบั ไฟปาได ก. ผงฟู ข. สยี อมผม ค. ยานาํ้ เดือด ง. แกส บวิ เทน 9. ขอ ใดไมใ ชผ ลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ จากฝนกรด ก. ทาํ ใหน ํ้าเคม็ ขึน้ ข. ทาํ ใหดินสึกกรอน ค. กัดกรอ นทาํ ลายโลหะ ง. ทาํ ใหด นิ เปน กรดเพมิ่ ข้นึ 10. ขอ ใดไมใ ชป จจัยท่มี ผี ลตอ อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ก. อุณหภูมิ ข. พ้ืนที่ผิว ค. ความยดื หยนุ ง. ความเขมขน ของสารต้งั ตน

172 บทที่ 9 โปรตนี คารโบไฮเดรต และไขมัน สาระสําคัญ สิ่งมีชีวิตประกอบดวย ธาตุและสารประกอบ ธาตุเปนหนวยเล็กที่สุดของส่ิงมีชีวิต โดยพบวาธาตุที่เปนองคประกอบของส่ิงมีชีวิตในปริมาณมาก คือ คารบอน ไฮโดรเจน และ ออกซเิ จนซงึ่ รวมตัวกันเปน สารประกอบจาํ นวนมากในเซลล สารในเซลลข องสิง่ มชี ีวติ ท่ีมี ธาตุคารบอนและไฮโดรเจนเปนองคประกอบ เรียกวา สารอินทรีย (Organic substance) สวนสารประกอบในเซลลท่ีไมมีธาตุคารบอนเปนองคประกอบ เรียกวา สารอนินทรีย (Inorganic substance) สารอินทรีย (Organic substance) ท่ีพบในธรรมชาติทั้งหลายมีแหลงกําเนิดจาก สิ่งมีชีวิตแทบท้ังสิ้น โมเลกุลของสารอินทรียเหลานี้มีตางๆกัน ตั้งแตขนาดเล็กโครงสรางแบบ งายๆ จนถึงขนาดใหญมีโครงสารางเปนสายยาวๆ หรือขดตัวเปนรูปรางตางๆ โมเลกุลของ สารอินทรียท่ีพบในส่ิงมีชีวิตท่ีจัดเปนสารชีวโมเลกุล (Biological molecule) และมี ความสําคัญในกระบวนการทุกชนิดในสิ่งมีชีวิต ไดแก โปรตีน(Protein) คารโบไฮเดรต (Carbohydrate) และไขมัน(Lipid) ผลการเรียนรูท่ีคาดหวงั 1. อธบิ ายสมบตั ิ ชนดิ ประเภทการเกิด และประโยชนของโปรตนี ได 2. อธบิ ายสมบัติ ชนดิ ประเภทการเกิด และประโยชนของคารโบไฮเดรตได 3. อธบิ ายสมบตั ิ ชนดิ ประเภทการเกิด และประโยชนของไขมันได ขอบขา ยเนื้อหา เรื่องท่ี 1 โปรตีน เรอื่ งที่ 2 คารโ บไฮเดรต เรือ่ งท่ี 3 ไขมัน

173 บทที่ 9 โปรตีน คารโ บไฮเดรต และไขมัน เรือ่ งท่ี 1 โปรตนี โปรตีน (Protein) เปนสารประกอบท่ีมีคารบอน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (O) และ ไนโตรเจน (N) เปนสวนประกอบสําคัญ และนอกจากน้ีโปรตีนบางชนิดอาจประกอบดวยอะตอม ของธาตุอ่ืนๆ อีกเชน กํามะถัน (S) เหล็ก (Fe) และฟอสฟอรัส (P) เปนตน โดยท่ัวไปในเซลลพืช และเซลลส ตั ว มีโปรตีนอยไู มตํา่ กวารอ ยละ 50 ของน้าํ หนักแหง โปรตนี สรางขน้ึ จากกรดอะมโิ นหลายๆ โมเลกุลมาเชื่อมตอกันเปนพอลิเมอรดวยพันธะ เพปไทด (Peptide bond) โมเลกลุ ของโปรตนี อาจประกอบขึ้นดว ยพอลิเพปไทดเพียงสายเดียว หรอื หลายสายเช่อื มโยงตอ กนั ก็ได สมบตั ิของโปรตนี 1. การละลายนา้ํ ไมล ะลายนา้ํ บางชนดิ ละลายนาํ้ ไดเล็กนอย 2. ขนาดโมเลกุล และมวลโมเลกลุ ขนาดใหญมมี วลโมเลกุลมาก 3. สถานะ ของแข็ง 4. การเผาไหม เผาไหมม กี ล่ินไหม 5. ไฮโดรลิซสิ 6. การทําลายธรรมชาติ โปรตีนบางชนิดเม่ือไดรับความรอน หรือเปลี่ยนคา pH หรือ เตมิ ตัวทาํ ลายอินทรียบ างชนดิ จะทาํ ใหเปล่ยี นโครงสรางจับเปน กอนตกตะกอน

174 ลักษณะโครงสรางของโปรตนี โปรตีนประกอบดวยกรดอะมิโนมารวมกัน โดยใชพันธะเพปไทด (Peptide bond) เปนตัวยดึ กรดอะมโิ น มสี ตู รทัว่ ไปคือ H R - C - COOH NH2 - NH2 คอื หมูอะมโิ น (Amino group) - COOH คือ หมูคารบ อกซิล (Carboxyl group) - R คือ ไฮโดรคารบอน (Hydrocarbon) หรือหมูอ่ืนๆกรดอะมิโนตา งชนดิ กันจะแตกตางกัน พันธะเพปไทด คอื พันธะโคเวเลนททีเ่ กิดขน้ึ ระหวาง C อะตอมในหมคู ารบอกซิล ของกรดอะมิโน โมเลกุลหน่ึงยึดกับ N อะตอม ในหมูอะมิโน (-NH2) ของกรดอะมิโนอีกโมเลกุล หนึ่ง แผนภาพแสดงการยึดเกาะของโมเลกุลของกรดอะมโิ น ทม่ี า (โครงสรางของกรดอะมิน. ออน-ไลน. 2552) - สารทีป่ ระกอบดว ยกรดอะมิโน 2 โมเลกลุ เรยี กวา ไดเพปไทด - สารทีป่ ระกอบดวยกรดอะมิโน 3 โมเลกุล เรียกวา ไตรเพปไทด - สารที่ประกอบดวยกรดอะมิโนต้ังแต 100 โมเลกุลขึ้นไป เรียกวา พอลิเพปไทด น้ีวา โปรตนี ดังนั้นโปรตีนชนิดตางๆ จึงข้ึนอยูกับจํานวนและการเรียงตัวของกรดอะมิโน กรดอะมิโนจะมีเพียง 20 ชนิด แตจํานวนและการเรยี งตัวทตี่ างกนั ของกรดอะมโิ น ทําใหจํานวน

175 โปรตีนในรางกายคน มีจํานวนมากถึง 1 แสนกวาชนิด โปรตีนแตละชนิดอาจประกอบไปดวย สายพอลเิ พปไทด 1 สาย หรือหลายสายกไ็ ด แลวแตชนดิ ของโปรตีน เชนโมเลกลุ ของอินซูลินวัว ประกอบดว ยสายพอลเิ พปไทด 2 สาย โมเลกุลของฮีโมโกลบิน ประกอบดวยสายพอลิเพปไทด 4 สาย โครงสรางโมเลกุลของอนิ ซูลนิ โครงสรางโมเลกลุ ของฮโี มโกลบนิ ท่มี า (โครงสรางโมเลกุลของอินซูลิน.ออน-ไลน. 2252) ทม่ี า (โครงสรางโมเลกุลของฮีโมโกลบนิ . ออน-ไลน. 2252) การท่กี รดอะมิโนทั้ง 20 ชนิดตอกันอยางอิสระ ทําใหโปรตีนแตละชนิดมีลําดับจํานวน ของกรดอะมโิ นแตกตางกนั และมีคณุ สมบัติแตกตางกันดวย ชนดิ ของโปรตีน โปรตนี สามารถแบงตามโครงสรา งและรปู รางของโมเลกุลได 3 กลมุ 1. โปรตนี อยางงาย (simple proteins) 2. โปรตีนเชงิ ซอ น (conjugated proteins) 3. อนุพนั ธโปรตีน (derived proteins)

176 ชนิดของโปรตนี : โปรตนี อยา งงาย (simple proteins) - โปรตีนท่ีในโมเลกุลประกอบดวยกรดอะมิโนชนิดตางๆ มาเรียงตอกันดวยพันธะ เพปไทด จํานวนหลายรอย หลายพันโมเลกลุ - ภายหลงั การไฮโดรไลซดวยกรด ดา ง หรอื เอนไซมจะไดเปนกรดอะมโิ นชนิดตางๆ เทานน้ั - แบงออกไดเปน 7 กลุมยอย ไดแก แอลบูมิน (albumins) โกลบูลิน (globulins) กลูเตลิน(glutelins) โพรลามิน(prolamins) สเคิลโรโปรตีน(scleroproteins) ฮิสโตน (histones) และ โปรตามิน (protamines) ชนิดของโปรตนี : โปรตีนเชงิ ซอน (conjugated proteins)  โปรตีนที่เกิดจากการที่โปรตีนอยางงาย รวมตัวกับสารประกอบอ่ืนที่ไมใชโปรตีน เชน รวมกบั ลิพิด กรดนิวคลิอกิ และคารโ บไฮเดรต  ตัวอยางของโปรตีนเชิงซอน เชน ฟอสโฟโปรตีน (phosphoproteins) ไลโพโปรตีน (lipoproteins) นวิ คลโี อโปรตนี (nucleoproteins) ไกลโคโปรตนี (glycoproteins) โครโมโปรตนี (chromoproteins) เมทอลโลโปรตีน (metalloproteins) ชนดิ ของโปรตีน : อนุพนั ธโปรตีน (derived proteins)  เปน โปรตีนที่ไดจากการยอยสลายโปรตีน 2 กลุม แรก ดวยเอนไซม หรือปฏิกิริยาทาง เคมี เชน เจลาตนิ เปนอนุพันธข องโปรตีนทไ่ี ดจากคอลลาเจน  Rennet-coagulated casein ไดจ ากการตกตะกอนโปรตนี ในน้ํานมดวยเอนไซมเรนเนต  โปรตนี ทโี่ ครงสรา งเปล่ยี นแปลงจากจตุรภมู ิหรอื ตติยภมู ิเปนทุตยิ ภมู ิหรอื ปฐมภูมิ ประเภทของโปรตนี การแบง ประเภทของโปรตีนมเี กณฑในการแบง แตกตา งกนั ดงั นี้ 1. เกณฑการแบง ตามหลักชวี เคมี แบง ได 3 ประเภท คอื

177 1.1 โปรตีนเชิงเด่ียว (Simple protein) เปนโปรตีนชนิดที่ไมซับซอนประกอบดวย กรดอะมโิ นเพียงอยางเดียว ไมม ีสารอน่ื เจือปนอยู เชน - serum albumin เปน โปรตนี ในน้าํ เลอื ด - legumin เปน โปรตนี ในเมลด็ ถ่ัว - myosin เปน โปรตีนในกลามเนือ้ - lactoglobulin เปนโปรตีนในขาวสาลี 1.2 โปรตีนเชิงประกอบ (Compound protein) เปนโปรตีนชนิดท่ีซับซอน ประกอบดว ย กรดอะมิโน และมีสารอื่นปนอยูดวย เชน -phosphoprotein เปนโปรตนี ทีม่ ีฟอสเฟตอยูดวย - lipoprotein เปนโปรตนี ทมี่ ไี ขมนั รวมอยดู วยเชน ไขแดง เยอื่ หุมเซลล น้ํานม -glucoprotein เปนโปรตนี ท่ีประกอบดว ยคารโ บไฮเดรต พบใน นา้ํ ลาย 1.3 อนุพันธของโปรตีน ( Derived Protein) เปนโปรตีนชนิดท่ีไดจากการสลายตัว ของ โปรตีนเชิงเดี่ยวและโปรตีนเชิงประกอบ เชน myosan ไดจาก myosin ซึ่งเปน โปรตนี เชิงเดยี่ วในกลา มเนอ้ื 2. เกณฑก ารแบง ตามหนาทีข่ องโปรตีน แบง ได 8 ประเภท คอื 2.1 โปรตีนท่ีทาํ หนาท่ีเปนโครงสราง (Struture protein) คือโปรตีนที่ทําหนาท่ีเปน องคประกอบของโครงสรางของรางกาย เชน เย่ือหุมเซลลประกอบดวยโปรตีนฝงอยูในพื้นที่ ท่ีเปน ไขมัน ไรโบโซม เปนแหลง ทีม่ ีการสงั เคราะหโ ปรตนี ประกอบดวยโปรตีน 50% และ RNA 50% collagen ในกระดูกและเน้อื เยื่อเกย่ี วพนั 2.2 โปรตนี ทท่ี าํ หนาที่ขนสง (Transport protein) คือโปรตีนทําหนาที่ลําเลียงแกส ออกซิเจน และคารบอนไดออกไซด เชน hemoglobin ในเม็ดเลือด ทําหนาท่ีนําออกซิเจนจาก ปอดไปสง ทั่วรา งกาย transferrin ในซีรัม ทําหนา ที่ขนสง ธาตเุ หล็ก 2.3 โปรตีนท่ีทําหนาที่เปนเอนไซม (Enzyme protein) คือ โปรตีนท่ีทําหนาท่ี เก่ียวกับการเรงปฏิกิริยาเคมีตางๆ ในรางกาย เชน catalase เปนเอนไซมที่เรงปฏิกิริยาการ สลายตัวของ H2O2 lipase เปน เอนไซมข องปฏกิ ริ ิยาการสลายไขมัน

178 2.4 โปรตีนท่ีทําหนาที่เก่ียวกับเคลื่อนไหว (Contractile protein) คือ โปรตีนท่ีอยู ในเซลลของกลามเน้อื คอื แอกทิน และไมโอซิน 2.5 โปรตีนที่ทําหนาที่เก็บสะสม ( Storage protein) คือ โปรตีนท่ีทําหนาที่สะสม อาหาร เชน ovalbumin ในไขข าว casein และ lactoglobulin ในนา้ํ นม 2.6 โปรตีนทีท่ ําหนาที่สารพษิ (Toxin) คอื โปรตนี ที่ทําหนา ที่เปนสารมีพิษ พบทั้งใน เช้อื โรค สตั ว และพืช เชน พษิ งู ซ่งึ ประกอบดวยเอนไซมท ่ยี อ ยพวกไขมนั 2.7 โปรตีนท่ีทําหนาท่ีปองกัน (Protective protein) คือ โปรตีนท่ีทําหนาท่ีเปน ภูมิคุมกันโรคใหกับรางกาย เชน immunoglobulin เปนไกลโคโปรตีน ซ่ึงทําหนาที่กําจัดสาร หรือเชอ้ื โรคที่ผา นเขาสรู า งกาย 2.8 โปรตีนที่ทําหนาท่ีควบคุม (Control protein) คือโปรตีนที่ทําหนาท่ีควบคุม การทาํ งานของเซลลใ นรางกาย ไดแก พวกฮอรโมนตา งๆ เชน insulin เปนฮอรโมนที่ควบคุมเม ตาบอลิซึมของกลูโคส parathormone เปนฮอรโมนที่ควบคุมระดับสมดุลของแคลเซียมและ ฟอสฟอรัสในรางกาย growth hormone เปนฮอรโมนท่ีควบคุมและกระตุนการเจริญเติบโต ของเนอ้ื เยอ่ื ตางๆในรางกาย 3. เกณฑการแบงตามหลักโภชนาการ สามารถแบง ได 2 ประเภท คือ 3.1 โปรตีนประเภทสมบูรณ (complete protein) คือโปรตีนที่มีกรดอะมิโน ท่ีจําเปนตอรางกายครบทุกตัว สามารถนํามาสรางและซอมแซมสวนท่ีสึกหรอไดดี ไดแก เน้ือสัตว ไข นม เปนตน 3.2 โปรตีนประเภทไมสมบูรณ (incomplete protein) คือโปรตีนที่มีกรด อะมิโนชนิดจําเปนตอรางกายไมครบทุกตัว ซ่ึงรางกายนํามาสรางและซอมแซมสวนที่ สึกหรอไดไมดี สว นใหญเ ปน โปรตีนจากพืช 4. เกณฑก ารแบง ตามลักษณะโครงรูปทงั้ โมเลกลุ สามารถแบงได 2 ประเภท คอื 4.1 โปรตีนลักษณะแบบเสนใย (fibrous protein) เปนโปรตีนท่ีโมเลกุล มีลักษณะเปนเสนยาว สายพอลิเมอรจะเรียงตัวเปนระเบียบมีความแข็งแรง เหนียว ยืดหยุน ไดมาก และมักจะไมละลายนํ้า เชนโปรตีนในเสนผม โปรตีนในเสนขน โปรตีนในเสนเอ็น โปรตีนในเขาสัตว โปรตีนในเสน ใหม เปน ตน

179 4.2 โปรตีนลักษณะเปนกอน (globular protein) เปนโปรตีนท่ีมีสายพอลิเพปไทด พันไปมา และอัดกั นแนน ทํา ใหมีลักษ ณะเปนกอ น บางส วนของสา ยเพปไท ด อาจทบกันอยางเปนระเบียบ หรือมีลักษณะเปนเกลียว หรือเปนแผน เชน โปรตีน พวกเอนไซม โปรตีนพวกฮีโมโกลบิน โปรตีนพวกฮอรโมน โปรตีนท่ีอยูใกลกลามเน้ือ เปนตน การเกดิ โปรตนี (Protein) - โปรตนี เกดิ จาก polypeptide ของ amino acid ที่ตอกันเปนลําดับเฉพาะตัวสําหรับ โปรตีนแตล ะชนิด - โปรตีนสามารถทํางานได ตอ งมรี ปู รา ง (conformation) ที่เปน ลักษณะเฉพาะตวั - มนษุ ยม โี ปรตีนมากกวา 10,000 ชนดิ แตล ะชนดิ มโี ครงสรางและหนาท่แี ตกตา งกัน Amino acid เปนสารอนิ ทรียที่มีหมู carboxylic และหมู amino ตอกับอะตอมคารบอนที่เปน ศูนยกลาง อะตอมท่ีเปนศูนยกลางยังตอกับอะตอม hydrogen และหมู R group 1 หมูท่ี แตกตา งกนั - Amino acid แบงออกเปน กลมุ ตามคุณสมบตั ขิ อง R group - R group ท่ีแตกตางกันนี้ ทําใหเกิด amino acid แตกตางกัน 20 ชนิด แตละชนิดมี คุณสมบตั ทิ างเคมีและชวี วทิ ยาแตกตา งกัน

180 ความสาํ คัญและประโยชนของสารอาหารประเภทโปรตีนตอส่ิงมีชวี ติ 1. เปนสารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย โดยโปรตีน 1 กรัม จะใหพลังงานประมาณ 4.1 กโิ ลแคลอรี ซ่ึงเทากับสารอาหารประเภทคารโ บไฮเดรต 2. เปนสวนประกอบของเซลล โดยเปนองคประกอบของเย่ือหุมเซลลและ โพรโทพลาสซึมของเซลล 3. เปนโครงสรา งของผิวหนัง เสนผม และขน 4. ชวยในการเจริญเติบโต และซอมแซมสวนท่ีสึกหรอในรางกาย โดยรางกายจะนํา โปรตนี ไปใชใ นการสรางเน้อื เยื่อใหม 5. ชวยในการหดตวั ของกลามเนื้อ ทาํ ใหส ่งิ มีชวี ติ สามารถเคลอ่ื นไหวได 6. เปนสารที่ทําหนาท่ีสําคัญตางๆ ในรางกาย เชน ทําหนาที่ในการลําเลียงออกซิเจน และคารบอนไดออกไซด สรา งภมู ติ า นทานใหแ กรา งกาย ชวยกระตุนการเกิดปฏิกิริยาเคมีตางๆ ในรา งกาย 7. สามารถเปล่ียนเปนคารโบไฮเดรต และไขมันได โดยพบวากรดอะมิโนชนิดหน่ึงอาจ เปล่ียนแปลงไปเปนกรดอะมโิ นอ่ืนๆ ได เร่อื งที่ 2 คารโบไฮเดรต คารโบไฮเดรต (Cabohydrate) เปนสารประกอบอินทรียที่เปนแหลงใหพลังงานและ คารบ อนทสี่ าํ คัญของสง่ิ มชี วี ติ เพ่อื นาํ ไปใชใ นการดํารงชวี ติ และสรางสารอื่นๆตอไป โมเลกุลของ คารโบไฮเดรตประกอบดวยอะตอมของธาตุ คารบอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) โดยมีอัตราสวนของอะตอมไฮโดรเจนตอออกซิเจน เทากับ 2:1 (H:O = 2:1) จํานวนและ การเรียงตัวของอะตอมทั้งสามธาตุน้ีแตกตางกัน จึงทําใหคารโบไฮเดรตมีหลายชนิด เชน นํา้ ตาลกลโู คส (C6H12O6) นาํ้ ตาลซูโครส(C12H22O11) แปง(C6H10O5)n

181 พืชสีเขียวสามารถสรางอาหารข้ึนได โดยกระบวนการสังเคราะหดวยแสง โดยใช คารบอนไดออกไซดและนาํ้ เปนวตั ถดุ ิบในการผลติ กลโู คส นํ้าตาลอื่นๆ แปง เซลลูโลส และสาร อื่นๆ คารโบไฮเดรตท่ีพบในพืช มักอยูในรูปของพอลิแซ็กคารไรด (Polysaccharides) คารโ บไฮเดรตที่เรารูจักกนั ดี คือ นํา้ ตาลชนิดตา งๆ และแปง นา้ํ ตาล มีรสหวานบางคร้ังเรยี กวา แซ็กคารไ รด (Saccharides) มีอยูทั่วไปทั้งในเนื้อเย่ือ ของพืชและสัตว มนุษยและสัตวมีกลูโคสเปนน้ําตาลในเลือด มีไกลโคเจนสะสมเปนกลูโคส สํารองไวใชในเน้ือเย่ือของตับและกลามเน้ือ คารโบไฮเดรตทั้งสองชนิดนี้ เปนสารท่ีเซลลจะ นําไปสลายใหไ ดพ ลังงานที่จาํ เปนสาํ หรับการดํารงชวี ิต สมบัตขิ องคารโบไฮเดรต 1. มสี ตู รท่ัวไปของคารโบไฮเดรต คือ (CH2O)n ขอยกเวน คารโบไฮเดรต บางชนิด ไมมีสัดสวนเหมือนกันได เชน ดีออกซีไรโบส (C5H10O4) สารบางอยางมสี ูตรท่วั ไปเปน (CH2O)n คลายคารโบไฮเดรต แตไมใชคารโบไฮเดรต เชน กรดนา้ํ สม C2H4O2 กรดแลคติก C3H6O3 2. จัดเปนพวกโพลีไฮดรอกซีล 3. คารโ บไอเดรตสวนใหญประกอบไปดวยแปง และนํ้าตาล นํ้าตาลเปนคารโบไฮเดรต โมเลกุลเล็ก มักเรียกลงทายชื่อดวย โอส (-ose) เชน กลูโคส (glucose) มอสโทส (motose) แปง เปนคารโบไฮเดรตโมเลกุลใหญ ไดแ ก ไกลโคเจน (glycogen) เซลลูโลส (cellulose) 4. คารโบไฮเดรตในคน และสัตว สามารถสะสมในรางกายในรูปของไกลโคเจน สวน ใหญเ กบ็ สะสมไวท่ตี ับ และกลา มเน้ือ 5. แปงสามารถเปล่ยี นเปน น้าํ ตาลได โดยใชเ อนไซมทีม่ ีอยูในน้ําลาย

182 ประเภทของคารโบไฮเดรต คารโ บไฮเดรตแบง ออกเปน 3 พวกใหญๆ คือ 1. น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว (Monosaccharides) เปนคารโบไฮเดรตที่มีขนาดเล็กที่สุด เปนโมเลกุลสายเด่ียว ตอกันเปนลูกโซยาวไมแตกก่ิงหรือแขนง ประกอบดวยอะตอมของ คารบอนตั้งแต 3 ถึง 7 อะตอม มีสูตรโครงสรางทั่วไป คือ (CH2O)n โดย n แสดงจํานวน คารบอนอะตอมที่รูจักกันท่ัวๆไปเปนคารโบไฮเดรตท่ีมีคารบอน 6 อะตอม เชน กลูโคส กาแลคโทส และฟรกั โตส โครงสราง ดังภาพ กลูโคส กาแลคโทส ฟรักโตส แสดงโครงสรางของน้ําตาลโมเลกุลเดยี่ ว ทีม่ า (โครงสรางของนาํ้ ตาลโมเลกุลเดย่ี ว. ออน-ไลน. 2552) น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยวทค่ี วรรจู กั ไดแก กลูโคส (glucose , C6H12O6) พบในผักและผลไมท่ัวไป จัดวาเปนน้ําตาลที่สําคัญ เพราะน้ําตาลชนิดนี้เปนสารที่ละลายอยูในเสนเลือดและสามารถลําเลียงไปสูสวนตางๆของ รางกายทนั ที เพื่อสรา งพลงั งานใหแกการทํางานของระบบตางๆของรา งกาย ฟรักโตส (fructose , C6H12O6) พบในผลไม นํ้าผ้ึง สายรก น้ําอสุจิ(semen) เปนนาํ้ ตาลทีม่ คี วามหวานมากกวา น้าํ ตาลชนิดอ่นื ๆ ในธรรมชาติ ละลายนาํ้ ไดดี กาแลคโทส (galactose , C6H12O6) เปนน้ําตาลท่ีไมพบในธรรมชาติแตไดจากการ สลายตัวของน้ําตาลแลคโทส (lactose) เมื่อน้ําตาลแลกโทสซึ่งเปนนาตาลในนมถูกยอยจะได

183 นํ้าตาลกาแลกโทส และกลูโคส เปนสวนประกอบสําคัญในไกลโคลิพิดของเนื้อเยื่อประสาท น้าํ ตาลชนิดนีม้ ีความหวานนอยกวากลูโคส ไรโบส (ribose , C5H10O5) เปนนํ้าตาลท่ีเปนสวนประกอบโครงสรางของกรดไรโบ นิวคลิอิก หรือ RNA ซึ่งมีความสําคัญในกระบวนการสังเคราะหโปรตีน เปนสวนประกอบของ สารพลงั งานสูง คอื ATP (adenosine triphosphate) ดอี อกซไี รโบส (deoxyribose, C5H10O4 ) เปนนาํ้ ตาลที่เปนสวนประกอบโครงสรางของ กรดดีออกซไี รโบนวิ คลีอิก (deoxyribonucleic acid หรือ DNA) ซึ่งเปนสวนประกอบท่ีสําคัญ ในโครโมโซม โดยทําหนาท่ีควบคุมกิจกรรมตางๆของเซลล เชน การถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม ไรบูโลส (ribulose, C5H10O5) เปนนํา้ ตาลทม่ี ีความสาํ คัญในกระบวนการสังเคราะหดวย แสงของพชื โดยทาํ หนาทร่ี บั CO2 ในชวงปฏิกริ ยิ าทีไ่ มใชแ สง 2. โอลิโกแซ็กคาไรด (Oligosaccharides) เกิดจากนํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวตั้งแต 2-10 โมเลกุลมารวมกันดวยพันธะไกลโคซิดิก (glycosidic) มีสูตรทางเคมี คือ C12H22O11 โอลิโกแซ็กคาไรดท่ีพบมากที่สุดในธรรมชาติ คือ พวกไดแซ็กคาไรด (Disaccharides) หรือ น้าํ ตาลโมเลกุลคู น้ําตาลโมเลกุลคู เปนนํ้าตาลที่ประกอบดวยนํ้าตาลโมเลกุลเด่ียว 2 โมเลกุลมารวมกัน ดวยพันธะโควาเลนท กลายเปนไดแซ็กคาไรด(นํ้าตาลโมเลกุลคู) 1 โมเลกุล โดยที่น้ําตาล โมเลกุลเดีย่ วทีม่ ารวมกนั จะเปนโมเลกุลชนดิ เดียวกนั หรอื ตางชนดิ กไ็ ด น้ําตาลโมเลกุลคูทพ่ี บมากทสี่ ดุ ในธรรมชาติ ไดแ ก ซูโครส (sucose , C12H22O11) แตละโมเลกุลประกอบดวยกลูโคสและฟรักโตส อยา งละ 1 โมเลกุล ซโู ครสมลี กั ษณะเปน ผลึกสขี าว ละลายนํ้าไดดี และมีรสหวาน พบในนาํ้ ออ ย มะพราว ตาล ผลไมสุก หัวบีท โดยเฉพาะพบมากท่ีสุดในออย จึงอาจเรียกอีกอยางหน่ึงวา น้าํ ตาลออย ซูโครสที่รูจักกันดีคือ นํ้าตาลหรือนาํ้ ตาลกรวด

184 แสดงโครงสรางของน้ําตาลซูโครส ทีม่ า (โครงสรา งโมเลกลุ น้ําตาลซูโครส. ออน-ไลน. 2552) แลคโตส (lactose,C12H22O11) เปนนํ้าตาลโมเลกุลคูซ่ึงแตละโมเลกุลประกอบดวย กลโู คสและกาแลคโทสอยา งละ1โมเลกุล พบในนํ้านมของคนและสัตว หรืออาจพบในปสสาวะ ของหญิงมคี รรภแ ตไม พบในพชื ดงั น้นั อาจเรยี กอีกอยางวา น้ําตาลนม (milk suger) ละลายน้ํา ไดน อ ยกวา ซูโครส และมีความหวานนอ ยกวา แสดงโครงสรางของนํ้าตาลแลกโทส ทมี่ า (โครงสรา งโมเลกลุ แลกโทส ออน-ไลน. 2552) มอสโทส (maltose,C12H22O11) เปนนํ้าตาลโมเลกุลคูซ่ึงแตละโมเลกุลประกอบดวย กลูโคส 2 โมเลกุลมารวมตัวกัน เปนนํ้าตาลท่ีละลายน้ําไดดี แตความหวานไมมากนัก (มีความ หวานเพยี ง 20% ของนํ้าตาลซูโครส) เปนนํ้าตาลท่ีพบในธัญพืช ไดแก ขาวมอลล แตไมพบใน รปู อสิ ระในธรรมชาติ ไดจ ากการยอ ยสลายแปงและไกลโคเจน

185 แสดงโครงสรางของนา้ํ ตาลมอสโทส ท่ีมา (โครงสรางนาํ้ ตาลมอสโทส ออน-ไลน. 2552) เซลโลไบโอส (cellobiose,C12H22O11) เปนนํ้าตาลโมเลกุลท่ีไมมีรูปอิสระในธรรมชาติ และไมเ ปนประโยชนตอคน ไดจากกการยอยสลายเซลลูโลส แสดงโครงสรา งของเซลโลไบโอส ทมี่ า (โครงสรางของเซลโลไบโอส ออน-ไลน. 2552) 3. พอลิแซ็กคารไรด หรือน้ําตาลโมเลกุลใหญ เกิดจากน้ําตาลโมเลกุลเดี่ยวหลาย ๆ โมเลกุลมารวมกันตั้งแต 11 จนถึง 1,000 โมเลกุล ตอกันเปนสายยาวๆ บางชนิดเปนสายโซยาว ตรง บางชนิดมีกิ่งกานแยกออกไป พอลิแซ็กคารไรด แตกตางกันที่ชนิด และจํานวนของน้ําตาล โมเลกลุ เดย่ี วท่ีเปน องคป ระกอบพอลแิ ซ็กคารไ รดทพ่ี บมากท่สี ดุ ไดแ ก

186 แปง (starch) เปน พอลิแซ็กคาไรดท พี่ ชื สามารถสงั เคราะหได และสะสมในสวนตาง ๆ ของพืชช้ันสูง เชน เมล็ด ราก ผล เปนตน โมเลกุลของแปงแตละโมเลกุลประกอบข้ึนดวย โมเลกุลของกลูโคสตอกนั เปนสายยาว บางสวนแตกก่ิงกานสาขา แสดงโครงสรา งโมเลกลุ ของแปง ทม่ี า (โครงสรา งโมเลกุลของแปง ออน-ไลน. 2552) ไกลโคเจน (glycogen) เปนพอลิแซกคารไรดที่สะสมในเซลลของกลามเนื้อลาย และ เซลลตับ เพอ่ื ใชในเวลาทร่ี างกายขาดแคลนกลูโคส มีบทบาทที่สําคัญในการรักษาระดับน้ําตาล ในเลอื ด โมเลกลุ ของ ไกลโคเจนประกอบดวย หนวยยอยที่เปนกลูโคสเรียงตัวเปนสายยาว ใน รางกายหากมกี ลูโคสเหลือใช ในรางกายถาหากมีกลูโคสเหลือใช รางกายจะเปล่ียนไปเปนไกล โคเจน แลว เกบ็ สะสมไวทตี่ บั กบั กลามเน้ือ เซลลูโลส (cellulose) เปนพอลิแซกคารไรดท่ีเปนองคประกอบที่สําคัญของผนังเซลล พืช โดยเปนสว นท่สี รา งความแขง็ แรงใหแ กเ ซลลพชื โมเลกุลของเซลลูโคสประกอบดวยโมเลกุล ของกลูโคสจํานวนมากมาย ประมาณ 1,200-12,500 โมเลกุล แตมีการเรียงตัวของโมเลกุล กลูโคสแตกตางจากโมเลกุลของแปง และเปนสารที่ไมละลายนํ้าเพราะโมเลกุลใหญมาก คน สัตวเคี้ยวเอ้อื ง เชน วัว ควาย สามารถผลิตเอนไซมเซลลูเลสยอยเซลลูโคสเปนกลูโคสได ไคทนิ (chitin) เปน พอลแิ ซกคารไ รดทีพ่ บในสตั วไมมีกระดูกสนั หลัง ไคทินจะเปนสวนที่ เปน เปลือกแข็งหมุ ตวั สัตว เชน กระดองปู เปลือกกุง เปนตน ไคทินไมละลายนํ้าและไมสามารถ ยอยสลายดว ยน้ํายอ ยของรา งกาย เฮปาริน (heparin) เปนพอลิแซกคารไรดท่ีพบในปอด ตับ มาม ผนังเสนเลือด เฮปารนิ เปนสารทท่ี าํ ใหเ ลอื ดไมแขง็ ตวั

187 ลิกนิน (lignin) เปน พอลแิ ซกคารไรดที่พบในเน้ือเย่ือพืชมีความแข็งแรง โดยจะสะสม ตามผนังเซลลพ ืช เพกทนิ (pectin) เปนพอลิแซกคารไรดท่ีพบในผลไมมีลักษณะคลายวุน ประกอบดวย โมเลกุลของกาแลคโทสหลายๆโมเลกุลมารวมกัน พบในผนังเซลลพืช เปลือกผลไมตางๆ เชน สม มะนาว และยงั พบในสว นของรากและใบทเี่ ปนสีเขยี วของพืชดว ย ความสาํ คญั และประโยชนของสารอาหารประเภทคารโ บไฮเดรตตอ สงิ่ มีชีวิต 1. เปนสารอาหารท่ีใหพลังงานแกเซลล เพ่ือทํากิจกรรมตางๆ และใหความอบอุนแก รางกาย โดยคารโ บไฮเดรต 1 กรมั จะใหพลงั งานประมาณ 4.1 กิโลแคลอรี 2. สามารถนาํ ไปสังเคราะหเ ปน สารในรปู ไกลโคเจนเกบ็ สะสมไวท ่ีตบั และกลา มเน้ือ เพ่ือ ใชในยามขาดแคลน การเก็บสะสมไวใ นรปู ไกลโคเจนมีปรมิ าณจาํ กัด จงึ มีการสะสมไวในรูปของ ไขมนั ไวต ามสว นตา งๆของรางกายเกบ็ ไวใชยามขาดแคลน 3. โอลิโกแซกคารไรด และพอลิแซกคาไรด เปนสวนประกอบของเซลลและเปน โครงสรา งของเซลล 4. ควบคุมเมตาบอลซิ ึมของไขมันและโปรตีนใหเปนปกติ โดยรางกายจะใชคารโบไฮเดรต สําหรับนาํ ไปสรางพลงั งานกอน ถาไมพอจึงจะใชจากไขมัน และมีการปองกันไมใหมีการสลายตัว ของไขมันในตับมาก เพราะหากไขมันในตับไมสามารถสลายตัวไดสมบูรณทําใหเกิดสารคีโตน (ketone body) ซึ่งเปนพิษตอรา งกาย และถาหากขาดแคลนมากๆจึงมีการใชโปรตีน หากโปรตีน ถกู นํามาสรางพลังงานจะมผี ลเสียตอ รา งกาย เนื่องจากบทบาทโปรตีนมีบทบาทสําคัญ เชน สราง เอนไซม สรา งซอ มแซมสว นที่ สกึ หรอ สรางภูมิตานทานเช้อื โรค 5. เปน สาระสําคัญในการสรางสารบางชนิดในรางกาย เชน การสังเคราะห DNA RNA และ ATP จะตอ งใชน า้ํ ตาล 6. ชวยกระตุนการทํางานของลําไสเล็ก ปองกันไมใหทองผูก เชน เซลลูโคสจะทําให รา งกายมกี ากอาหาร

188 เรอื่ งท่ี 3 ไขมัน ไขมนั ( Fats หรือ Lipid) เปนสารอินทรยี ท ไี่ มละลายน้ํา แตละลายไดดีในตัวทําละลาย อนิ ทรีย เชน อีเทอร เบนซีน คลอโรฟอรม คารบอนเตตราคลอไรด อะซิโตน และแอลกอฮอล ประกอบดวย คารบอน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (O) แตอัตราสวนของธาตุเหลานี้ไม เหมือนกับคารโบไฮเดรต (คารโบไฮเดรตอัตราสวนระหวาง H : O = 2 : 1) จํานวนออกซิเจน จะมนี อ ย สว นจาํ นวนคารบอน และไฮโดรเจนน้ันมีตางๆกนั ตามชนิดของไขมนั นั้นๆ ไขมันที่พบในธรรมชาติมักจะไมอยูในสภาพอิสระ แตจะปรากฏอยูกับสาร ชีวโมเลกุลอื่นๆ ถาไขมัน (gyucolipid) ประกอบอยูกับโปรตีน เรียกวา ไลโปโปรตีน (lipoprotein) สมบัตขิ องไขมัน 1. ไขมนั และน้าํ มนั ไมละลายนา้ํ ละลายไดด ีในตวั ทาํ ลายทไ่ี มมีขัว้ เชน เฮกเซน 2. ไขมนั มคี วามหนาแนน ต่าํ กวา น้าํ แตมคี วามหนาแนนสงู กวา เอทานอล 3. ไขมนั และนํ้ามันเกิดกล่ินหืดได โดยนํ้ามันจะเกิดไดงายกวา เพราะเกิดปฏิกิริยากับ O2 ไดง า ยกวา 4. ในกรณีท่ีมีคารบอนอะตอมเทากันการเผาไหมนํ้ามันจะมีเขมามากกวาการเผาไหม ไขมัน 5. ไขมันมีลกั ษณะเปนของแข็งท่ีออ น แตน ้าํ มนั เปนของเหลว ลกั ษณะโครงสรา งของไขมนั acid)แ ล ะ ไขมันทุกชนิดมีสวนประกอบสําคัญ 2 สวน คือ กรดไขมัน(fatty กลีเซอรอล (glycerol) 1. กรดไขมนั (fatty acid) มสี ูตรโมเลกลุ มสี ูตรท่ัวไป ดังน้ี

189 R คือ หมูไฮโดรคารบอนท่ีประกอบดวย C กับ H ซ่ึงมีจํานวนแตกตางกันไปตามชนิด ของกรดไขมัน ดังนน้ั กรดไขมนั มอี ยูมากมายหลายชนิด แตล ะชนิดมจี าํ นวนอะตอมของคารบอน และไฮโดรเจนใน R แตกตางกัน เชน R ของกรดปาลม ติ ิก มี C 15 อะตอม และ H 31 อะตอม R ของกรดไลโนเลอกิ มี C 17 อะตอม และ H 31 อะตอม แสดงสตู รโครงสรางของกรดอะมิโนบางชนิด ที่มา (palmitic acid structure. On-line 2009) ถาพิจารณาจากความตองการของรางกาย สามารถแบงกรดไขมันออกเปน 2 ประเภท คือ 1. กรดไขมันท่ีจําเปนตอรางกาย (essential fatty acid) เปนกรดไขมันท่ีมีประโยชน ตอรางกาย แตรางกายไมสามารถสังเคราะหไ ดเ อง จงึ จําเปนตองไดรับจากอาหารโดยตรง กรด ไขมันน้ีมีมากในนํ้านมถ่ัวเหลือง นํ้ามันขาวโพด นํ้ามันดอกคําฝอย นํ้ามันรา ยกเวนนํ้ามัน มะพรา วและนาํ้ มนั ปาลม 2. กรดไขมันท่ีไมจําเปนตอรางกาย (nonessential fatty acid) เปนกรดไขมันท่ี รา งกายสามารถสังเคราะหข น้ึ ไดเ อง มีอยูในอาหารประเภทลิพิดท่วั ไป ถา พิจารณาตามระดบั ความอม่ิ ตวั สามารถแบง เปน 2 ประเภทคือ 1. กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid) เปนกรดไขมันที่อะตอมของคารบอนใน โมเลกุลมีแตพันธะเด่ียว และไมสามารถรับอะตอมของไฮโดรเจนเขาไปในโมเลกุลไดอีก มีจุด หลอมเหลวสูงกวากรดไขมันไมอ่ิมตัว พบมากในไขมันสัตว เนย น้ํามันจากสัตวและนํ้ามันพืช บางชนิด เชน นํ้ามันมะพราว จากการศึกษาทางการแพทยพบวา หากรับประทานอาหารท่ี

190 ประกอบดว ยน้ํามันหรอื ไขมันที่กรดไขมันอิ่มตัวมากเกินไป อาจจะมีผลทําใหเกิดโรคหัวใจขาด เลอื ดและไขมันอดุ ตนั ในเสนเลือดได ภาพแสดงสูตรโครงสรางของกรดไขมนั อม่ิ ตัว ท่มี า (saturated fatty acid. On-line 2009) 2. กรดไขมนั ไมอิม่ ตวั (unsaturated fatty acid) เปนกรดไขมันที่อะตอมของคารบอน บางตวั มีพนั ธะคู (double bond) และสามารถรบั อะตอมของไฮโดรเจนไดอีก มีจุดหลอมเหลว ต่ํา ละลายไดงาย กรดไขมันอ่ิมตัวท่ีมีมากที่สุดคือ กรดโอเลอิก (oleic acid) มีมากในน้ํามัน มะกอก และน้าํ มันพืชทว่ั ไป เชน นํ้ามันถ่ัวเหลอื ง น้ํามันขา วโพด เปน ตน ภาพแสดงสตู รโครงสรางของกรดไขมนั ไมอิ่มตัว ท่ีมา (unsaturated fatty acid. On-line 2009) 2. กลีเซอรอล (glycerol) เปน แอลกอฮอรร ปู หนึ่ง มสี ูตรโครงสรา ง ดังนี้

191 ในการรวมกนั ของโมเลกลุ ของกลีเซอรอลกับแตละโมเลกุลของกรดไขมันน้ันจะไดนํ้า 1 โมเลกุล และเรียกปฏิกิริยาน้ีวา ดีไฮเดชัน (dehydration) เชน เมื่อกลีเซอรอล 1 โมเลกุลรวมกับกรด ไขมนั 3 โมเลกลุ จะเกดิ นา้ํ 3 โมเลกุล กลเี ซอรอล 1 โมเลกลุ กรดไขมัน 3 โมเลกลุ ไขมัน 1 โมเลกลุ นํา้ 3 โมเลกลุ ประเภทของไขมนั ไขมันแบงออกตามลกั ษณะทางเคมีได 3 ประเภท คอื 1. ไขมนั ธรรมดา (simple lipid) เปนลิพิดทปี่ ระกอบข้ึนดวยกรดไขมันกับแอลกอฮอล เกิดจากการรวมตัวระหวางกลีเซอรอล 1 โมเลกุลกับกรดไขมัน 1-3 โมเลกุล แลวแตชนิดของ ไขมันแบง ออกเปน 1.1 ไขมัน (fat) อาจเรียกอีกอยางวา กลีเซอไรด (glyceride) ประกอบดวย กลีเซอรอลกับกรดไขมันชนิดอ่ิมตัว (saturated fatty acid) เปนสวนใหญ (กรดไขมัน 3 โมเลกุล กับกลีเซอรอล 1 โมเลกลุ ) 1.2 น้ํามนั (oil) ประกอบดวยกลีเซอรอลกับกรดไขมันชนิดไมอ่ิมตัว(unsaturated fatty acid) เปนสว นใหญ (กรดไขมัน 3 โมเลกุล กับกลเี ซอรอล 1 โมเลกุล) 1.3 ไขหรือขผ้ี ้ึง (wax) ประกอบดวยกรดไขมนั กบั แอลกอฮอลท ่มี ีโมเลกุลใหญก วา กลีเซอรอล และมีนํ้าหนักโมเลกลุ สงู กวา ดว ย

192 2. ไขมันเชงิ ประกอบ (compound lipid) ประกอบดวยไขมนั รวมกบั สารอนื่ ๆ เชน 2.1 ฟอสโฟลิพิด(phospholipid)หรือฟอสโฟกลีเซอไรด(phosphoglyceride) เปนไขมันธรรมดาที่มีหมูฟอสเฟตเปนองคประกอบโดยเกิดจากการรวมตัวของกรดไขมัน กลเี ซอรอล และหมูฟอสเฟต มโี ครงสรางคลายกบั ไขมนั และน้าํ มนั ตางกนั ทีม่ ีหมฟู อสเฟต ไปแทนกรดไขมันอยูหนง่ึ โมเลกุล ภาพแสดงสูตรโครงสรางของฟอสโฟลพิ ิด ทม่ี า (phospholipid. On-line 2009) ฟอสโฟลิพิดเปนสวนประกอบหลักของเยื่อหุมเซลล เน้ือเย่ือประสาท น้ําเลือด ไขแ ดง โดยเฉพาะสวนของเยอื่ หุมเซลลจะมีการเรยี งตวั กนั เปน แผนบางๆ 2 ชั้นซอนกัน สวนหัว ท่มี ีหมฟู อสเฟตอยูจะเปนบริเวณท่มี ปี ระจเุ มอ่ื อยูใ นตัวกลางทีเ่ ปน น้ํา สวนน้ีจะดึงดูดกับโมเลกุล ของน้าํ เรยี กวา สว นท่ชี อบนาํ้ (hydrophibic part) สวนหางท่ีไมมีประจุจะแยกตัวออกจากน้ํา เรยี กวา สว นทไ่ี มช อบน้ํา(hydrophobic part) 2.2 ไกลโคลิพิด (glycolipid) เปนลิพิดที่มีคารโบไฮเดรตเปนองคประกอบอยูดวย เชน กาแลคโทลิพิด (galactolipid) มีน้ําตาลกาแลกโทสเปนองคประกอบ พบท่ีเยื่อหุมสมอง เสน ประสาท และพบตามอวัยวะตางๆ เชน ตบั ไต มาม เปน ตน 2.3 ลิโปโปรตีน (lipoprotein) เปนลิพิดธรรมดาท่ีมีโปรตีนหรือกรดอะมิโนเปน องคประกอบอยูดวย ลิโปโปรตีนเปนสวนประกอบสําคัญของเยื่อหุมเซลลและ ในนาํ้ เลอื ด ทําหนา ทีล่ าํ เลียงลพิ ดิ ไปยังเซลลตางๆ ทัว่ รางกาย

193 ความสําคญั และประโยชนของสารอาหารประเภทไขมันตอสง่ิ มีชีวติ 1. เปน แหลงพลังงานท่สี าํ คญั ของรา งกาย โดยไขมัน 1 กรัม จะใหพลงั งานประมาณ 9.1 กโิ ลแคลอรี มากกวาสารอาหารประเภทคารโบไฮเดรตและโปรตนี (รา งกายตอ งการประมาณ วันละ 40 กรัม) 2. ใหก รดไขมันทีจ่ ําเปน ตอรางกาย คอื กรดไลโนเลอิก (linoleic) 3. ไขมันในอาหารจะเปนตัวทําละลาย และชวยในการดูดซึมวิตามิน A,D,E,K เขาสู รา งกาย 4. ไขมนั ทสี่ ะสมภายในรางกาย ชวยยึดอวยั วะภายในและปองกันการกระทบกระแทก 5. เปนฉนวนปองกันความรอน ไมใหสูญเสียออกจากรางกายโดยสะสมไวบริเวณใต ผิวหนัง 6. เปนองคประกอบที่สําคัญของเย่ือหุมเซลล และเก่ียวของกับการควบคุมการ เปล่ียนแปลงอณุ หภมู ิของเซลล 7. ควบคุมเมแทบอลิซึมของเซลล เปาหมายที่ถูกคุมโดยพวกสเตรอยดฮอรโมน เชน เอสโทรเจน และโพรเจสเทอโรน ซง่ึ เปน ฮอรโมนในเพศหญิง จะควบคุมเมตาบอลิซึมของเซลล ภายในรงั ไขและมดลกู เปน ตน

194 กิจกรรมทายบทที่ 9 โปรตนี คารโ บไฮเดรต และไขมนั คําชแ้ี จง จงทําเครอื่ งหมาย X ลงในขอทถ่ี กู ตอง 1. หนวยยอยทีโ่ มเลกลุ เล็กทส่ี ดุ ของโปรตีน คอื ก. กรดคารบ อกซิลิก ข. กรดอะมิโน ค. อะมีน ง. เปปไทด 2. สารอาหารในขอ ใด ท่ีใหพ ลงั งานแกร า งกายมากทีส่ ดุ ก. โปรตีน ข. ไขมนั ค. เกลอื แร ง. คารโบไฮเดรต 3. ในโปรตนี 1 กรมั จะใหพ ลังงานแกรางกายของเรา ประมาณก่ีกิโลแคลอรี ก. 1 กโิ ลแคลอรี ข. 2 กิโลแคลอรี ค. 3 กิโลแคลอรี ง. 4 กโิ ลแคลอรี 4. ขอใดกลา วถึงสารพวกคารโบไฮเดรตไดถ ูกตอง ก. มรี สหวาน และละลายไดในน้ํา ข. มสี ูตรโมเลกุลเปน (CHO)n ค. เมื่อเผาผลาญจะใหพ ลังงานมากกวา ไขมนั ประมาณ 2 เทา ง. เปนสารประกอบอัลดไี อดหรือคีโตนที่มหี มูไฮดรอกซลิ ตงั้ แต 2 หมขู ึ้นไป

195 5. ขอใดเปน คารโบไฮเดรตที่ไมล ะลายนํ้า และไมมีรสหวาน ก. คีโตน (Ketose) ข. มอโนแซก็ คาไรด (Monosaccharide) ค. โอลโิ กแซก็ คาไรด (Oligosaccharide) ง. พอลิแซ็กคาไรด (Polysaccharide) 6. สารอาหารประเภทไขมันประกอบดวยธาตุหลกั ดงั ขอใด ก. C H N ข. C H O ค. C H O N ง. C H O P 7. อาหารประเภทโปรตนี เมอื่ กนิ เขาไปแลว จะเกดิ การยอยจนถึงท่สี ุด จะไดสารใด ก. กรดไขมัน ข. กรดอะมิโน ค. กลูโคส ง. กลเี ซอรอล 8. เม่อื บรโิ ภคไขมนั เขา ไป รา งกายจะยอยสลายใหเ ปน ไปตามขอ ใด ก. กรดไขมนั เพียงอยา งเดียว ข. กรดไขมนั และกลเี ซอรอล ค. กรดไขมนั และกรดอะมโิ น ง. กรดไขมนั กรดอะมิโน และกลเี ซอรอล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook