46 และนา้ํ ออกสูภายนอกเซลล ทําใหส ามารถรกั ษาดุลยภาพของน้าํ ชว ยปองกันไมใหเซลลเตงหรือ บวมมากจนเกินไป สตั วรักษาดุลยภาพอุณหภูมอิ ยางไร การรักษาดุลยภาพอุณหภูมิของสัตวแบงออกเปน 2 ประเภท ตามอุณหภูมิของ รา งกาย ดงั นี้ 1. สัตวเลอื ดเย็น คือ สตั วท ี่มีอณุ หภูมภิ ายในรา งกายไมคงท่ี เพราะจะเปลี่ยนแปลงไป ตามอุณหภูมิของส่ิงแวดลอ มภายนอก 2. สัตวเลือดอุน คือ สัตวท่ีมีอุณหภูมิภายในรางกายคงท่ี ไมเปล่ียนแปลงไปตาม อุณหภูมขิ องสงิ่ แวดลอม จะมกี ลไกการรักษาอุณหภมู ภิ ายในรางกาย ดงั นี้ 2.1 การรักษาอุณหภูมิโดยอาศัยโครงสรางของรางกาย สัตวเลือดอุนจะมีการ พัฒนาโครงสรางของผิวหนงั เพือ่ ปอ งกนั การสูญเสียความรอนของรางกายจากสภาวะแวดลอม ที่มีอุณหภูมิตํ่า เชน การมีชั้นไขมันหนาอยูใตชั้นผิวหนัง การมีขนปกคลุมรางกาย หรือการมี โครงสรางเพือ่ ลดความรอ นของรา งกาย จากสภาวะทมี่ อี ุณหภูมิสูง เชน มีตอมเหง่ือและรูขุมขน ตามรา งกาย สําหรบั ระบายความรอน เปนตน 2.2 การรักษาอุณหภูมิโดยอาศัยการทํางานของระบบตาง ๆ ภายในรางกาย เปนการตอบสนองตออุณหภูมิท่ีเกิดจากการทํางานรวมกันของระบบตาง ๆ ภายในรางกาย โดยมีศนู ยก ลางการควบคมุ อุณหภมู ิอยูท ่สี มองสวนไฮโพทาลามัส ซึง่ กระบวนการทํางานภายใน รางกาย เพื่อตอบสนองตอ อณุ หภมู ิจะมีลาํ ดบั ข้นั ตอนการทํางาน ดงั น้ี 2.2.1การรับรูความรูสึกหนาวหรือรอน จะเกิดขึ้นท่ีตัวรับรูการเปลี่ยนแปลง ของอุณหภมู ิ ซงึ่ มี 2 ชนิด คอื ตัวรับความรูสกึ รอ น สามารถพบไดในผิวหนังทุกสวน จะพบมาก ที่บริเวณฝามือและฝาเทา สวนตัวรับความรูสึกหนาว จะพบไดมากที่บริเวณเปลือกตาดานใน และบรเิ วณเย่ือบใุ นชองปาก 2.2.2 การทํางานรวมกันของศูนยควบคุมในสมองสวนไฮโพทาลามัสจะรับ สั ญ ญ า ณ ค ว า ม รู สึ ก จ า ก ตั ว รั บ รู ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ข อ ง อุ ณ ห ภู มิ ท่ั ว ร า ง ก า ย แ ล ว จั ด ก า ร แปลขอมูล จากนั้นจึงสงกระแสประสาทไปสูอวยั วะหรอื ตวั แสดงการตอบสนองท่ีทําหนาท่ีปรับ
47 ระดับอุณหภูมใิ นรางกาย เพือ่ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลงท่ีจะชวยปรับอุณหภูมิในรางกายใหอยูใน ระดับทเี่ หมาะสม คือ ไมรอนและไมเย็นจนเกินไป 2.2.3 การแสดงการตอบสนอง เมื่อไดรับสัญญาณจากสมองแลว ตัวแสดง การตอบสนองตาง ๆ ในรางกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลง เพ่ือชวยใหระดับอุณหภูมิในรางกาย กลบั เขาสูสมดุล โดยลักษณะการตอบสนองเพ่ือรักษาระดับอุณหภูมิในรางกายอาจมีไดหลาย ลกั ษณะ ดงั นี้ 1.) กระบวนการเมแทบอลิซึม เปนการเผาผลาญสารอาหารใหเกิด พลังงานความรอน โดยเมอ่ื รางกายมีอุณหภูมิลดต่ําลง สมองสวนไฮโพทาลามัสจะสงสัญญาณ ไ ป ก ร ะ ตุ น อ วั ย ว ะ ท่ี ค ว บ คุ ม อั ต ร า เ ม แ ท บ อ ลิ ซึ ม ใ น ร า ง ก า ย เ พ่ื อ เ พ่ิ ม ก ร ะ บ ว น ก า ร เมแทบอลิซึมใหมากข้ึน ทําใหอุณหภูมิรางกายสูงขึ้น แตหากรางกายมีอุณหภูมิสูง สมองสวนไฮโพทาลามัสก็จะสงสัญญาณไปกระตุนอวัยวะตาง ๆ เพ่ือลดกระบวนการ เมแทบอลซิ ึมในรา งกายใหล ดลงทําใหอ ณุ หภมู ริ า งกายลดลงดว ย 2.) เสนเลือด เมื่อรางกายมีอุณหภูมิสูง เสนเลือดจะขยายตัว ทําใหมีการลําเลียงเลือดจากอวัยวะตาง ๆ ภายในรางกายไปยังผิวหนังดีขึ้น ความรอน ในรางกายจึงถายเทออกสูภายนอกไดดีข้ึน ทําใหอุณหภูมิของรางกายลดลง แตถารางกาย มีอุณหภูมิต่ํา เสนเลือดจะหดตัว ทําใหมีการลําเลียงเลือดไปยังผิวหนังนอยลง ความรอนใน รา งกายจึงถายเทออกสูภายนอกไดน อยลง รา งกายจึงเก็บรกั ษาความรอนไวไ ด 3.) การหลั่งของเหงื่อ เปนการระบายความรอนไปพรอมกับหยดน้ํา เหงอื่ ทาํ ใหอุณหภมู ริ า งกายลดลง 4.) การหดตัวของรูขุมขน การหดตวั ของกลามเน้ือโคนขน มีผลทําให รขู ุมขนหดเลก็ ลง จงึ ชว ยลดการสูญเสยี ความรอนทางรูขมุ ขน ทําใหเกดิ การอาการขนลกุ 5.) การหดตัวของกลามเน้ือ ทําใหเกิดอาการส่ันจึงไดพลังงานความ รอ นมาชดเชยความรอ นทสี่ ูญเสยี ไป 2.3 การรักษาอุณหภูมิโดยการปรับเปล่ียนพฤติกรรม ในกรณีที่เกิดการ เปลยี่ นแปลงอุณหภูมขิ องสิ่งแวดลอมอยา งรนุ แรง การรกั ษาอุณหภูมิโดยโครงสรางของรางกาย และการทํางานของระบบตาง ๆ ภายในรา งกายไมเพียงพอตอการรักษาอณุ หภูมิภายในรางกาย สตั วต าง ๆ จงึ มีการปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมบางอยา ง เพือ่ ใหส ามารถใชสภาพแวดลอมเขามาชวย
48 ในการรักษาอุณหภูมิภายในรางกาย เชน การนอนแชนํ้า การอพยพไปยังพ้ืนที่ ท่ีมีอุณหภูมิ เหมาะสมกวาการใสเส้อื กนั หนาวของมนุษย เปน ตน การแบง เซลลของส่งิ มชี วี ติ มีกแี่ บบอะไรบา ง การแบง เซลลของสง่ิ มชี วี ติ มี 2 แบบ ไดแ ก 1. การแบงเซลลแบบไมโทซิส (Mitosis) เปนการแบงเซลลเพื่อเพิ่มจํานวนเซลล รางกาย (somatic cell) ในสิง่ มชี วี ติ หลายเซลล ทําใหมีการเจริญเติบโต และเปนการแบงเซลล เพื่อการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศในส่ิงมีชีวิตเซลลเดียวและหลายเซลล เซลลกอนการแบง เซลลเรียก เซลลแม (mother cell) มีโครโมโซม (chromosome)เปนดิพลอยด (diploid) หรือ 2n เม่ือเซลลแมแบงเซลลแบบไมโทซิสแลวไดเซลลลูก 2 เซลล (daughter cell) โดยแตละเซลลมีโครโมโซม เปน 2n เทากบั เซลลแ ม การแบง เซลลแ บบไมโทซิส มีระยะตา ง ๆ ดังน้ี 1.ระยะอินเตอรเฟส (interphase) เปนระยะท่ีเซลลมี นวิ เคลยี สขนาดใหญ มีเมแทบอลซิ ึมสงู มีการจําลอง โครโมโซมใหมเหมอื นเดิมทุกประการแนบชดิ ตดิ กบั โครโมโซมเดิมเปนเสน บางๆมองเหน็ ไมชัดเจน 2. ระยะโพรเฟส (prophase) โครโมโซมหดตัวสนั้ และหนาขึ้น ทาํ ใหเห็นชดั เจน โครโมโซมแตกออกจากกนั มีเซนโทรเมียรเ ปน ปมเล็กๆ ยดึ ติดกนั เอาไว และโครโมโซมที่แนบชิดกนั เรยี ก โครมา ทดิ เซนทริโอลแยกจากกนั ไปอยตู รงกันขา มหรอื ขัว้ เซลล มเี สนใย สปนเดิล ยึดท่ี เซนโทเมียร ของโครโมโซมและขัว้ เซลล ปลาย ระยะนเ้ี ห็นโครโมโซมแยกเปน 2 โครมาทดิ อยางชดั เจนแตท ี่ เซนโทรเมยี รยดึ ไวยงั ไมห ลดุ จากกนั เยอ่ื หุมนิวเคลียสและ นิวคลโี อลสั คอ ยๆ สลายไป
49 3. ระยะเมทาเฟส (metaphase) ระยะนเ้ี ยอ่ื หมุ นวิ เคลียส และ นิวคลีโอลสั สลายไปหมดแลว โครโมโซมทั้งหมดจะมาเรียงตัวกัน อยูกลางเซลลแตละโครโมโซมมี 2 โครมาทิด ระยะน้ีเซนโทร เมยี รเ ริม่ แยกออกแตยงั ไมหลุดออกจากกัน 4. ระยะแอนาเฟส (anaphase) เสนใยสปนเดิลหดตัว และดึง เซนโทรเมียรใหโครมาทิดท่ีอยูเปนคูแยกออกจากกันไปยังข้ัว เซลลตรงกันขาม 5. ระยะเทโลเฟส (telophase) มีกลุมโครมาทดิ ทแ่ี ยกออกจาก กนั แลว อยูขั้วเซลลท้งั สองขา งเกดิ เยือ่ หุมนวิ เคลียสลอมรอบโคร มาทิดท้ัง 2 กลุม และเกิดนิวคลีโอลัสใน 2 กลุมนั้นดวย โครมา ทิดในระยะนี้ คือ โครโมโซม ดังนั้นในระยะนี้แตละเซลลมี 2 นิวเคลียส แตล ะนวิ เคลียสมโี ครโมโซม เปน 2n เทา เซลลเ ดมิ ถือ วา เปน การเสรจ็ สิ้นการแบงนวิ เคลยี ส 2. การแบงเซลลแ บบไมโอซิส (Meiosis) ไมโอซิสเปนการแบงนิวเคลียสของเซลลท่ีเจริญเปนเซลลสืบพันธุทั้งในเซลลพืชและ เซลลสัตวมีการ เปลี่ยนแปลง 2 ครงั้ ตดิ ตอกันหลังจากแบงเซลลเสร็จแลวไดเซลลใหม 4 เซลล แตละเซลลมีโครโมโซมเพียงคร่ึงหน่ึงของเซลลแม โครโมโซมของเซลลใหมแตละเซลลจึงเปน แฮพลอยด (haploid) หรือ n โครโมโซม คอื มโี ครโมโซมเพยี งชดุ เดียวเทา นนั้ เปนการแบงเซลล เพ่ือสรางเซลลสืบพันธุการแบงเซลลแบบไมโอซิสครั้งแรกและครั้งท่ีสอง ประกอบดวยระยะ ตา งๆ ดังน้ี
50 ก. การแบงเซลลแบบไมโอซสิ คร้งั ท่ี 1 (meiosis I) มีระยะตา งๆ ดงั น้ี 1. ระยะอนิ เตอรเฟส I (interphase I) การเปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดขึน้ ในระยะนม้ี กี ารเตรียม สารตางๆ เชน โปรตีน เอนไซม เพอื่ ใชในระยะ ตอไป จึงมเี มแทบอลิซึมสูง มีนวิ เคลยี สใหญ มกี าร จาํ ลองโครโมโซมใหมแนบชิดกบั โครโมโซมเดิม และเหมอื นเดิมทกุ ประการ โครโมโซมเปน เสน บาง ยาวๆ พันกันเปน กลมุ รา งแห 2.ระยะโพรเฟส I (prophase I) ใชเ วลานาน และซบั ซอ นมากทสี่ ดุ มเี หตกุ ารณท ส่ี ําคญั คอื 1.) โครโมโซมหดสัน้ เปนแทงหนาขนึ้ 2.) โครโมโซมคเู หมือน (homologous chromosome) มาจบั คกู ันเปน คๆู แนบชดิ กนั เรียกไซแนพซสิ (synapsis) คขู องโครโมโซมแตละ คูเรียก ไบวาเลนท(bivalant) แตล ะโครโมโซมที่ เขา คูก ัน มี 2 โครมาทิด มเี ซนโทรเมียรยึดไว ดงั นัน้ 1 ไบวาเลนทมี 4 โครมาทิด 3.) โครมาทิดทแี่ นบชิดกนั เกดิ มีการไขวก นั เรยี ก การไขวเ ปลย่ี น (crossing over) ตาํ แหนง ที่ไขวท ับกันเรียกไคแอสมา (chiasma) 4.) เซนทริโอแยกไปยงั ขั้วเซลลท ้ัง 2 ขา ง 5.) มเี สนใยสปน เดลิ ยดึ เซนโทรเมียรข อง แตล ะโครโมโซม กับข้วั เซลล 6.) โครโมโซมหดตัวสนั้ และหนามากข้ึน เย่ือหมุ นวิ เคลยี สและนิวคลโี อลสั คอยๆ สลายไป 3.ระยะเมทาเฟส I (mataphase I) แตละ ไบวาเลนท ของโครโมโซม มาเรยี งอยูกลางเซลล เย่อื หมุ นวิ เคลียสและ นิวคลโี อลสั สลายไป หมดแลว
51 4.ระยะแอนาเฟส I (anaphase I) โครโมโซมคู เหมอื น ท่ีจบั คกู นั ถกู แรงดึงจากเสนใยสปน เดลิ ใหแ ยกตวั ออกจากกนั ไปยังขว้ั เซลลท อี่ ยตู รงขา ม การแยกนั้นแยกไปทง้ั โครโมโซมทม่ี ี 2 โครมาทิด และการแยกโครโมโซมน้ี มผี ลทาํ ใหก ารสลบั ชิน้ สว นของโครมาทิดตรงบรเิ วณ ที่มกี ารไขว เปลี่ยนชว ยทาํ ใหเ กดิ การแปรผนั (variation) ของลักษณะตาง ๆ ของสง่ิ มีชีวติ ซึง่ มปี ระโยชน ในแงว ิวัฒนาการจากการแยกกันของโครโมโซม ไปยัง ขวั้ เซลลแ ตล ะขางมีโครโมโซมเหลอื เพยี ง คร่งึ หนง่ึ ของเซลลเ ดมิ 5.ระยะเทโลเฟส I (telophase I) ในระยะนจ้ี ะมี โครโมโซม 2 กลมุ แตล ะกลมุ จะมจี าํ นวนโครโมโซม เพียงครง่ึ หนง่ึ ของเซลลเ ดิม แตล ะเซลลมีโครโมโซม เปนแฮพลอยด ข. การแบง แบบไมโอซสิ ครง้ั ที่ 2 (meiosis II) มรี ะยะตางๆ ดงั น้ี ไมโอซิสครั้งท่ี 2 เกิดตอ เน่อื งไปเลยไมมพี กั และผานระยะอินเทอรเฟสไป ไมมีการจําลอง โครโมโซมใหมอกี เริม่ มกี ารเปล่ยี นแปลงดังน้ี 1.ระยะโพรเฟส II (prophase II) แตล ะ โครโมโซมในนวิ เคลยี ส แยกเปน 2 โครมาทดิ มเี ซนโทรเมียรยึดไว เซนทรโิ อลแยกออกไป ข้วั เซลลท ัง้ 2 ขาง มเี สนใยสปน เดลิ ยึดเซนโทร- เมยี รก บั ขั้วเซลล เยื่อหมุ นวิ เคลยี สและนวิ คลีโอลสั สลายไป 2.ระยะเมทาเฟส II (metaphase II) โครโมโซม ท้ังหมดมารวมอยกู ลางเซลล
52 3.ระยะแอนาเฟส II (anaphase II) เสนใยสปน เดิลหดตัวส้ันเขาและดึงใหโครมาทิดของแตละ โครโมโซมแยกออกจากกนั ไปข้ัวเซลลตรงกนั ขาม 4.ระยะเทโลเฟส II (terophase II) เกิดนิวคล-ี โอลสั เยอื่ หมุ นวิ เคลียสลอ มรอบโครมาทดิ กลมุ ใหญ แตล ะโครมาทดิ กค็ อื โครโมโซม นัน้ เอง เมือ่ จบการแบง เซลลในระยะเทโลเฟส 2 แลวได เซลลใ หม 4 เซลล แตละเซลลม โี ครโมโซมเปน แฮพลอยด( n ) การแบงเซลลแ บบไมโทซิสและไมโอซิสแตกตางกนั อยา งไร ตารางแสดงความแตกตางระหวางการแบงเซลลแบบไมโทซิสและไมโอซิส การแบง เซลลแ บบไมโทซิส การแบง เซลลแบบไมโอซสิ 1. โดยทั่วไป เปนการแบงเซลลข องรา งกาย เพอื่ เพมิ่ จํานวน 1. โดยท่วั ไปเปน การแบง เซลล เพอ่ื สรา งเซลลส บื พันธุ เซลล เพอ่ื การเจรญิ เตบิ โต หรอื การสบื พนั ธใุ นส่งิ มีชวี ติ เซลลเ ดยี ว 2. เรม่ิ จากเซลล 1 เซลล แบง คร้งั เดียวไดเซลลใหม 2 เซลล 2. เริม่ จาก 1 เซลล แบง 2 ครงั้ ไดเซลลใหม 4 เซลล 3. เซลลใ หมท่ีเกดิ ข้นึ 2 เซลล สามารถแบง ตวั แบบไมโทซสิ 3. 3.เซลลใหมท เี่ กดิ ขึน้ 4 เซลล ไมส ามารถแบง ตัวแบบไมโอซสิ ไดอกี ไดอ ีก แตอาจแบงตวั แบบไมโทซสิ ได 4. การแบงแบบไมโทซสิ จะเร่ิมเกิดขนึ้ ต้ังแต ระยะไซโกต 4. สวนใหญจะแบง ไมโอซสิ เมอื่ อวัยวะสืบพันธเุ จริญเตม็ ทแี่ ลว และสบื เนอื่ งกันไปตลอดชวี ิต 5. จํานวนโครโมโซม หลังการแบง จะ 5. จาํ นวนโครโมโซม จะลดลงครงึ่ หนงึ่ ของเซลลเดมิ (n) เทาเดมิ (2n) 6. ไมมีไซแนปซสิ ไมมไี คแอสมา และไมม ี ครอสซงิ โอเวอร 6. เกดิ ไซแนปซสิ ไคแอสมา และมักเกิด ครอสซิงโอเวอร 7. ลกั ษณะของสารพนั ธุกรรม (DNA) และโครโมโซมใน 7. ลกั ษณะของสารพันธุกรรม และโครโมโซมในเซลลใหม เซลลใหม ท้ังสองจะเหมอื นกนั ทกุ ประการ อาจเปลี่ยนแปลง และแตกตางกนั ถาเกิดครอสซิงโอเวอร
53 กจิ กรรมทายบทท่ี 3 1. โครงสรา งใดทที่ าํ หนา ท่ีสรา งพลังงานใหแกเซลล ก. กอลจบิ อดี ข. ไรโบโซม ค. ไมโทคอนเดรีย ง. แวควิ โอล 2. โครงสรา งใดทเ่ี ปนแหลง สะสมสารตา งๆซ่ึงในเซลลจ ะมขี นาดตามอายขุ องเซลล ก. กอลจบิ อดี ข. ไรโบโซม ค. ไมโทคอนเดรยี ง. แวคิวโอล 3. โครงสรางกอลจบิ อดมี หี นา ที่ทาํ อะไร ก. เปนแหลง สะสมสารตา งๆซ่งึ ในเซลลจ ะมีขนาดตามอายุของเซลล ข. สรา งพลังงานใหแ กเ ซลล ค. สะสมโปรตีนเพอื่ สงออกนอกเซลล ง. พบทั้งในเซลลพซื และสตั ว 4. โครงสรางใดทีพ่ บทง้ั ในเซลลพ ซื และสัตว ก. กอลจิบอดี ข. ไรโบโซม ค. ไมโทคอนเดรยี ง. แวคิวโอล 5. พซื รักษาสมดลุ ยภาพของน้ําอยา งไร ก. การคายนํ้า ข. การดดู นํา้ ค. ถกู ทง้ั ขอ ก.และ ข. ง. ผดิ ท้ังขอ ก.และ ข.
54 6. ขอ ดีจากการคายนํ้าของพืซ ก. ชวยใหพ ืซมอี ุณหภมู ิลดลง 2-3 องศา ข. ชว ยใหพืซดูดน้าํ และแรธาตเุ ขา สูรากได ค. ชว ยใหพซื ลาํ เลียงนํา้ และแรธ าตไุ ปตามสวนตา งๆของพืซได ง. ถกู ตองขอ 7. อวยั วะใดของสัตวท่ีสําคญั ในการรักษาดลุ ยภาพของนํา้ และสารตางๆในรา งกาย ก. หัวใจ ข. ปอด ข. ตบั ง. ไต 8. มนุษยม ีการรักษาสมดลุ ยภาพของกรด-เบส ในรา งกายอยา งไร ก. การเพมิ่ หรือลดอัตราการหายใจ ข. ระบบบฟั เฟอร ค. การควบคมุ กรดและเบสไต ง. ถูกทุกขอ 9. การรกั ษาดุลยภาพอณุ หภูมขิ องสตั วแ บง ออกเปน ก่ีประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 10. การแบง เซลลของส่งิ มีชีวิตมกี ่ีแบบ ก. 2 แบบ ข. 3 แบบ ค. 4 แบบ ง. 5 แบบ
55 บทท่ี 4 พันธุกรรมและความหลากหลายทางชวี ภาพ สาระสาํ คญั ส่ิงมีชีวิตยอมมีลักษณะเฉพาะของแตละสปชีส ส่ิงมีชีวิตสปชีสเดียวกันยอมมีความ แตกตางกันนอยกวาส่ิงมีชีวิตตางสปชีส ความแตกตางเหลาน้ีเปนผลจากพันธุกรรมท่ีตางกัน สิ่งมชี วี ิตชนดิ เดียวกนั จะมลี ักษณะคลา ยกนั ซ่งึ ความแตกตางเหลาน้ี กอ ใหเ กิดความหลากหลาย ของส่ิงมีชีวติ หรอื ความหลากหลายทางชีวภาพ ผลการเรียนรทู คี่ าดหวัง 1. อธิบายกระบวนการถา ยทอดทางพันธกุ รรม การแปรผันทางพนั ธุกรรม การผา เหลา และการ เกดิ ความหลากหลายทางชวี ภาพ 2. อธิบายลกั ษณะทางพนั ธุกรรมได 3. อธิบายความหลากหลายทางชีวภาพและการจดั หมวดหมสู ่ิงมีชวี ติ ได ขอบขายเนอื้ หา เร่ืองท่ี 1 การถา ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม เร่อื งที่ 2 ความหลากหลายทางชวี ภาพ
56 บทท่ี 4 พันธุกรรมและความหลากหลายทางชวี ภาพ การถายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม เรือ่ งท่ี 1 ลักษณะทางพันธุกรรม ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม หมายถึง ลกั ษณะของส่ิงมชี ีวิตที่สามารถถายทอดไปยังรนุ ตอไป ได โดยผานทางเซลล ลักษณะทางพันธุกรรม ไดแก ลักษณะสีนัยนตา สีผม สีผิว ความสูง นาํ้ หนกั ตัว สติปญ ญา สขี องดอกไม ความถนดั ฯลฯ ลกู แมวไดร ับการถา ยทอดพันธุกรรมจากพอแม ผลไมช นิดตา งๆ ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันยังมีลักษณะที่แตกตางกัน เชน คนมีรูปรางหนาตา กิริยาทาทาง เสียงพูดไมเหมือนกัน เราจึงบอกไดวาเปนใคร แมวาจะเปนฝาแฝดรวมไขท่ีคลายกันมาก เม่ือพิจารณาจรงิ ๆแลว จะไมเ หมือนกันลักษณะของส่ิงมีชีวิต เชน รูปราง สีผิว สีและกลิ่นของ ดอกไม รสชาติของผลไม ลักษณะเหลาน้ีสามารถมองเห็นและสังเกตไดงายแตลักษณะของ ส่ิงมีชีวิตบางอยางสังเกตไดยาก ตองใชวิธีซับซอนในการสังเกต เชน หมูเลือด สติปญญา เปนตน การถา ยทอดทางพนั ธุกรรม
57 ความแปรผนั ของลักษณะทางพนั ธุกรรม (genetic variation) ความแปรผันของลกั ษณะทางพนั ธุกรรม (genetic variation) หมายถงึ ลักษณะ ที่แตกตางกัน เนื่องจากพันธุกรรมที่ไมเหมือนกัน และสามารถถายทอดไปสูรุนลูกได โดยลูก จะไดรับการถา ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรมมาจากพอ ครึง่ หนง่ึ และไดรบั จากแมอ ีกครึง่ หนงึ่ ความแปรผนั ของลกั ษณะทางพันธกุ รรม แบงออกเปน 2 แบบ คอื 1. ลักษณะที่มคี วามแปรผนั แบบตอ เนอ่ื ง (continuous variation) เปนลักษณะทางพนั ธกุ รรม ท่ไี มส ามารถแยกความแตกตางไดช ัดเจน เชน ความสงู นํ้าหนัก โครงรา ง สผี ิว เปน ตน 2. ลักษณะท่ีมีความแปรผันแบบไมตอเน่ือง (discontinuous variation) เปนลักษณะทาง พันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกตางไดชัดเจน เชน ลักษณะหมูเลือด ลักษณะเสนผม ความถนัดของมอื จํานวนชั้นของหนงั ตา เปน ตน รูปภาพลกั ษณะการแปรผันตอ เนื่อง รูปภาพลกั ษณะการแปรผนั ไมตอเนอ่ื ง การศึกษาการถา ยทอดลกั ษณะทางพันธศุ าสตร เกรเกอร เมนเดล ( Gregor Mendel ) \"บิดาแหงวิชาพันธุศาสตร\" เปนบาทหลวงชาว ออสเตรีย ไดศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะภายนอกของถ่ัวลันเตา แตเมนเดลไดเ ลอื กศกึ ษาเพยี ง 7 ลักษณะ โดยแตล ะลักษณะนน้ั มคี วามแตกตางกันอยางชัดเจน เชน ตนสูงกับตนเตี้ย ลักษณะเมล็ดกลมกับเมล็ดขรุขระถ่ัวท่ีเมนเดลนํามาใชเปนพอพันธุและ แมพันธุนั้นเปนพันธแทท้ังคู โดยการนําตนถ่ัวลันเตาแตละสายพันธุมาปลูกและผสมภายใน
58 ดอกเดียวกัน เมื่อตนถั่วลันเตาออกฝก นําเมล็ดแกไปปลูกจากน้ันรอจนกระท่ัง ตนถ่ัวลันเตา เจริญเติบโต จึงคัดเลือกตนท่ีมีลักษณะเหมือนพอแมนํามาผสมพันธุตอไปดวย วิธีการ เชนเดียวกับครั้งแรกทําเชนน้ีตอไปอีกหลาย ๆ รุน จนไดเปนตนถ่ัวลันเตาพันธุแทมีลักษณะ เหมือนพอ แมท ุกประการ จากการผสมพนั ธรุ ะหวางตนถ่ัวลันเตาทม่ี ีลักษณะแตกตา งกนั 7 ลักษณะ เมนเดล ไดผลการทดลองดงั ตาราง ตารางแสดงผลการทดลองของเมนเดล ลักษณะของพอแมท ีใ่ ช ผสม ลักษณะทป่ี รากฏ เมลด็ กลม X เมล็ดขรุ ะ ลกู รนุ ที่ 1 ลูกรนุ ท่ี 2 เมลด็ กลมทุกตน เมลด็ กลม 5,474 เมลด็ เมล็ดขรุขระ 1,850 เมลด็ เมลด็ สีเหลอื ง X เมล็ดสีเขียว เมลด็ สีเหลอื งทุกตน เมล็ดสีเหลือง 6,022 ตน เมลด็ สีเขียว 2,001 ตน ฝกั อวบ X ฝกั แฟบ ฝักอวบทกุ ตน ฝกั อวบ 882 ตน ลกั ษณะของพอแมที่ใชผสม ลกู รนุ ท่ี 1 ฝักแฟบ 229 ตน ลักษณะทป่ี รากฏ ลกู รุน ท่ี 2 ฝักสีเขียว X ฝกั สีเหลือง ฝกั สีเขียวทกุ ตน ฝักสีเขยี ว 428 ตน ดอกเกิดที่ลาํ ตน X ดอกเกิดท่ยี อด ดอกเกดิ ท่ลี ําตน ทุกตน ฝกั สีเหลือง 152 ตน ดอกเกดิ ท่ีลาํ ตน 651 ตน ดอกสีมวง X ดอกสีขาว ดอกสีมว งทกุ ตน ดอกเกิดท่ีเกดิ ยอด 207 ตน ตน สูง X ตนเตยี้ ตนสูงทกุ ตน ดอกสีมว ง 705 ตน ดอกสีขาว 224 ตน ตน สูง 787 ตน ตน เเตยี 277 ตน X หมายถงึ การผสมพนั ธุ เมนเดลเรียกลักษณะตาง ๆ ที่ปรากฏในลูกรุนท่ี 1 เชน เมล็ดกลมตนสูง เรียกวา ลักษณะเดน (dominance) สวนลักษณะท่ีไมปรากฏในรุนลูกที่ 1 แตกลับปรากฏในรุนท่ี 2 เชน เมล็ดขรุขระ ลักษณะตนเตีย้ เรยี กวา ลักษณะดอย (recessive)
59 จากสัญลกั ษณต ัวอักษรภาษาองั กฤษ (TT แทนตนสงู , tt แทนตน เต้ีย) แทนยีนท่ีกําหนด เขียนแผนภาพแสดงยีนท่ีควบคุมลักษณะ และผลของการถายทอดลักษณะในการผสมพันธุ ระหวางถั่วลันเตาตนสูงกับถั่วลันเตาตนเต้ีย และการผสมพันธุระหวางลูกรุนท่ี 1 ได ดงั แผนภาพ พอ แม เซลลส บื พนั ธเุ พศผู เซลลส บื พันธเุ พศเมีย ลกู รนุ ที่ 1 ผลของการผสมพันธรุ ะหวา งถั่วลันเตาตน สงู กบั ถ่วั ลนั เตาตน เตีย้ ในลูกรุนที่ 1 เม่ือยีน T ที่ควบคุมลักษณะตนสูงซ่ึงเปนลักษณะเดน เขาคูกับยีน t ที่ควบคมุ ลกั ษณะตนเตย้ี ซึง่ เปนลักษณะดอย ลกั ษณะที่ปรากฏจะเปนลักษณะท่ีควบคุมดวยยีน เดน ดงั จะเหน็ วา ลูกในรุน ที่ 1 มลี กั ษณะตนสูงท้ังหมด
60 รุน ที่ 1 เซลลส ืบพันธเุ พศผู เซลลส บื พนั ธุเพศเมีย ลกู รนุ ที่2 ผลการผสมระหวางลกู รุน ที่ 1 กฎการถายทอดทางพนั ธศุ าสตรข องเมนเดล กฎขอท่ี 1 กฎแหงการแยกตัว (LAW OF SEGREGATION) “สิ่งที่ควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตท่ีสืบพันธุแบบอาศัยเพศมีอยูเปนคูๆ แตละคูจะแยกจากกัน ในระหวางการสรางเซลลสืบพันธุทําใหเซลลสืบพันธุแตละเซลลมีหนวยควบคุมลักษณะนี้ เพยี ง 1 หนว ยและจะกลบั มาเขาคูอ ีกเมื่อเซลลส บื พันธผุ สมกนั ” ลักษณะที่ปรากฏออกมาจะได ลักษณะเดนและลกั ษณะดอ ยปรากฏออกมาเปน อัตราสว นเดน : ดอ ย = 3 : 1 กฎขอท่ี 2 กฎแหงการรวมกลมุ อยางอิสระ(LAW OF INDEPENDENT ASSORTMENT) “ในเซลลสืบพันธุจะมีการรวมกลุมของหนวยพันธุกรรม ของลักษณะตางๆ การรวมกลุมเหลานี้เปน ไปไดอ ยา งอสิ ระ จงึ ทาํ ใหเ ราสามารถทํานายผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ในรุน ลูกและรุน หลาน” อตั ราสว น 1 : 1 : 1 : 1
61 ลกั ษณะทางพนั ธศุ าสตร 1.ลกั ษณะเดน (Dominance) คอื ลักษณะทป่ี รากฏออกมาในรนุ ลกู หรอื รุนตอ ๆ ไป 2.ลักษณะดอย (Recessive) คือ ลกั ษณะทีไ่ มม โี อกาสปรากฏในรุนตอไป 3.พันธุแท (Hornozygous) คือ ลักษณะเดนหรือดอยเพียงอยางเดียวมีคูยีนที่เหมือนกัน เชน TT หรือ tt 4.พันธุทาง (Horterozygous) คือ ลักษณะเดนหรือดอยอยูดวยกันและลักษณะที่ปรากฏ ออกมาจะเปน ลักษณะมคี ูยนี เชน Tt 5. จโี นไทป (Genotype) คือ ลกั ษณะหรอื แบบแผนของยนี ที่ควบคมุ ลักษณะ 6. ฟโนไทป (Phenotype) คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏออกมา เนื่องจากยีนและ สงิ่ แวดลอ ม หนว ยพนั ธกุ รรม โครโมโซมของสิง่ มชี ีวติ โครโมโซม (chromosome) คอื สารพนั ธุกรรมในรางกายมนุษยเ ปนตัวกาํ หนด ลักษณะตา งๆซง่ึ หนวยพนื้ ฐานท่ีสําคัญของสงิ่ มชี ีวติ คือ เซลลมีสว นประกอบทส่ี ําคัญ 3 สว น ไดแ ก นวิ เคลียส ไซโทพลาสซมึ และเยอ่ื หมุ เซลล ภายในนวิ เคลยี สมโี ครงสรางท่ีสามารถตดิ สี ได เรียกวา โครโมโซม และพบวา โครโมโซมมีความเกยี่ วของกับการถา ยทอดลกั ษณะทาง พนั ธุกรรม โดยทัว่ ไปสิง่ มชี ีวติ แตละชนิดหรือสปชสี ( species ) จะมจี าํ นวนโครโมโซมคงท่ี ดงั แสดงในตาราง ตารางจํานวนโครโมโซมของเซลลร า งกายและเซลลสืบพนั ธุข องสิ่งมชี ีวิตบางชนดิ ชนดิ ของส่งิ มีชวี ติ จำนวน ในเซลลรางกาย ( แทโคงร)โมโซมในเซลลส ืบพนั ธุ ( แทง ) แมลงหว่ี 8 4 ถ่วั ลนั เตา 14 7 ขาวโพด 20 10 24 12 ขาว 80 40 ออย ปลากดั 42 21 คน 46 23
62 ชนิดของสิ่งมชี ีวติ จำนวน ในเซลลรางกาย ( แทโคงร)โมโซมในเซลลสบื พนั ธุ ( แทง ) ชิมแพนซี ไก 48 24 แมว 78 39 38 19 โครโมโซมในเซลลรา งกายของคน 46 แทง นาํ มาจดั คไู ด 23 คู ซ่ึงแบงไดเปน 2 ชนิด คือ 1. ออโตโซม ( Autosome ) คือ โครโมโซม 22 คู ( คูท่ี1 – 22 ) ท่ีเหมือนกันท้ังเพศ หญงิ และเพศชาย 2. โครโมโซมเพศ ( Sex Chromosome ) คือ โครโมโซมอีก 1 คู ( คูที่ 23 ) ในเพศ หญิงและเพศชายจะตางกัน เพศหญิงมีโครโมโซมเพศแบบ XX สวนเพศชายมีโครโมโซมเพศ แบบ XY โดยโครโมโซม Y จะมขี นาดเลก็ กวา โครโมโซม X การเกดิ เพศหญงิ เพศชาย เซลลเ พศทถี่ ูกสรา งขึน้ มาแตละเซลลจ ะมีโครโมโซมเพศเพียงชดุ เดียวโดยทเี่ ซลลสืบพันธุ เพศชาย (สเปรม) จะมีเซลลสืบพันธุซ่ึงมีโครโมโซม 2 ชนิด คือ 22+X หรือ 22+Y สวนเซลลสืบพันธขุ องเพศหญงิ จะมโี ครโมโซมไดเพียงชนดิ เดียวคือ 22+X ดังน้ันโอกาสในการ เกิดทารกเพศหญิง (โครโมโซม 44+XX) หรือทารกเพศชาย (โครโมโซม44+XY) จึงเทากัน ขนึ้ อยูกับสเปร มทเ่ี ขาผสมกับไขจะเปน สเปรม ชนดิ ใด การเกิดเพศหญงิ โครโมโซมเพศเปน x และ x การเกิดเพศชายโครโมโซมเพศเปน x และ y ทีม่ า http://www.thaigoodview.com/
63 ยีนและDNA ยนี (gene) คือ หนวยพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะตาง ๆ จากพอแมโดยผานทางเซลล สืบพันธุไปยังลูกหลาน ยีนจะอยูเปนคูบนโครโมโซม โดยยีนแตละคูจะควบคุมลักษณะที่ ถายทอดทางพันธุกรรมเพียงลักษณะหน่ึงเทาน้ัน เชน ยีนควบคุมลักษณะสีผิว ยีนควบคุม ลกั ษณะลกั ย้มิ ยีนควบคุมลักษณะจํานวนชั้นตา เปนตน ภายในยีนพบวา มีสารเคมีท่ีสําคัญชนิดหน่ึงคือ DNA ซ่ึงยอมาจาก Deoxyribonucleic acid ซ่ึงเปนสารพันธุกรรมพบในส่ิงมีชีวิตทุกชนิดไมวาจะเปนพืช สัตว หรือแบคทีเรียซ่ึงเปน สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เปนตน DNA เกิดจากการตอกันเปนเสนโมเลกุลยอยเปนสายคลายบันได เวียน ปกติจะอยูเปน เกลียวคู ทม่ี า http://www.student.chula.ac.th/ ดเี อน็ เอเปนสารพันธกุ รรมที่อยภู ายในโครโมโซมของส่ิงมชี ีวติ ในส่ิงมีชีวิตแตละชนิดจะมีปริมาณ DNA ไมเทากัน แตในส่ิงมีชีวิตเดียวกันแตละเซลล มปี ริมาณ DNA เทา กัน ไมวาจะเปนเซลลก ลามเน้ือ หวั ใจ ตบั เปน ตน
64 ตารางแสดงจาํ นวนโครโมโซมของเซลลร า งกายของสิ่งมีชวี ติ บางชนดิ ความผดิ ปกตขิ องโครโมโซมและยนี ส่ิงมีชีวิตแตละชนิดมีลักษณะแตกตางกัน อันเปนผลจากการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม แตในบางกรณีพบบุคคลที่มีลักษณะบางประการผิดไปจากปกติเนื่องจากความผิด ปกตขิ องโครโมโซมและยนี ความผิดปกติทางพันธุกรรมท่ีเกิดในระดับโครโมโซมเชน ผูปวยกลุมอาการดาวน มีจํานวนโครโมโซมคูที่ 21 เกินกวาปกติ คือมี 3 แทง สงผลใหมีความผิดปกติทางรางกาย เชน
65 ตาช้ีข้ึน ล้ินจุกปาก ด้ังจมูกแบน น้ิวมือสั้นปอม และมีการพัฒนาทางสมองชา กลุมอาการ คริดูชาต เกดิ จากแขนโครโมโซมคูท่ี 5 หายไป 1 โครโมโซม ลักษณะท่ีพบ คือ มีศีรษะเล็กกวา ปกติ หนากลม ใบหูตํ่ากวา ปกติ ตาหาง มีอาการปญญาออน ลักษณะที่เดนชัดในกลุมอาการน้ี คือ มเี สียงรอ งแหลมเล็กคลายเสยี งแมวรอ ง ก. กลมุ ผูปวยอาการดาวน ข. เดก็ ท่ีมอี าการคริดูซาต ทมี่ า trisomy21. On–line. 2008 ทมี่ า wttp://www.childrenhospital.go.th ค. ผูปวยทเ่ี ปนโรคธาลสั ซเี มีย ง. ภาวะผวิ เผือก ทม่ี า ธาลสั ซีเมยี . ออน-ไลน. 2551) ท่มี า th.wikipedia.org/wiki/
66 ความผิดปกติทางพันธุกรรมท่ีเกิดในระดับยีน เชน โรคธาลัสซีเมีย เกิดจากความ ผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสรางฮีโมโกลบิน ผูปวยมีอาการซีด ตาเหลือง ผิวหนังคลํ้าแดง รางกายเจริญเตบิ โตชา และตดิ เชอ้ื งา ย ตาบอดสี เปนความผิดปกติทางพันธุกรรมในระดับยีน ผูที่ตาบอดสีจะมองเห็นสีบาง ชนิด เชน สีเขียว สีแดง หรือสีน้ําเงินผิดไปจากความเปนจริงคนท่ีตาบอดสีสวนใหญ มักไดรับการถายทอดทางพันธุกรรมจากพอแมหรือบรรพบุรุษ แตคนปกติสามารถเกิด ตาบอดสีไดถา เซลลเกี่ยวกับการรับสีภายในตาไดร ับความกระทบกระเทือนอยางรุนแรง ดังน้ัน คนที่ตาบอดสีจึงไมเหมาะแกการประกอบอาชีพบางอาชีพ เชน ทหาร แพทย พนักงานขับรถ เปน ตน การกลายพนั ธหุ รอื การผา เหลา (mutation) เปนการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขน้ึ กบั สงิ่ มีชวี ติ ทําใหม ลี กั ษณะแตกตางไปจากเดิมบางกรณีมี ผลตอ การถา ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม ทําใหส่ิงมีชีวิตรุนตอๆ ไป มีลักษณะเปลี่ยนไป และ อาจทาํ ใหเกดิ ชนิดพันธุใหมข น้ึ ได ชนิดของการกลายพันธุ จําแนกเปน 2 แบบ คอื 1. การกลายพนั ธขุ องเซลลร างกาย (Somatic Mutation) เม่ือเกดิ การกลายพันธุข้ึนกับ เซลลร างกายจะไมสามารถถายทอดไปยังลูกหลานได 2. การกลายพนั ธขุ องเซลลส บื พนั ธุ (Gemetic Mutation) เม่อื เกดิ การกลายพันธุข ้ึนกับ เซลลสืบพนั ธุ ลกั ษณะทีก่ ลายพันธสุ ามารถถา ยทอดไปยงั ลูกหลานได สาเหตทุ ่ที ําใหเ กดิ การกลายพนั ธุ อาจเกดิ ข้นึ ไดจ าก 3 สาเหตุใหญๆ คอื 1. การกลายพันธุท่ีเกิดขึ้นไดเองตามธรรมชาติ การกลายพันธุแบบนี้พบไดท้ังคน สัตว พืช มักจะเกิดในอัตราท่ีตํ่ามาก และมีการเปลี่ยนแปลงอยางชาๆ คอยเปนคอยไปซ่ึงการ เปล่ยี นแปลงนท้ี าํ ใหเกดิ วิวัฒนาการของสง่ิ มีชวี ิตทําใหเ กดิ สิ่งมีชวี ติ ใหมๆ เกิดขน้ึ ตามวันเวลา
67 2. การกลายพนั ธุท เ่ี กิดจากการกระตุนจากรังสี แสงแดดและสารเคมี รังสีจะทําใหเสน สายโครโมโซมเกิดหักขาดทําใหยีนเปล่ียน สารเคมี เชน สารโคลซิซิน (colchicine) ทาํ ใหช ดุ โครโมโซมเพ่ิมขนึ้ เพ่อื ใหพ ชื มผี ลผลติ ในเวลาไมน าน 3. การจัดเรยี งเบสในกระบวนการสังเคราะหด เี อ็นเอ (DNA replication) ผิดพลาดมีผล ทาํ ใหเ กิดการเพ่ิมหรอื ลดจาํ นวนเบสในคูส าย และทาํ ใหเกดิ การเล่อื นของสาย DNA การกลายพนั ธเุ ปน ปรากฏการณท ่ีเกดิ ขึน้ ในสงิ่ มชี วี ติ 2 ระดับ 1. การกลายพันธุในระดับยีน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเบส (A, T, C, G) หรือ เปลี่ยนตําแหนงลําดับการเรียงตัวของเบสในโมเลกุลของ DNA ซึ่งจะสงผลสะทอนไปถึง ตาํ แหนงการเรยี งตัวของกรดอะมิโนในสายพอลเิ พปไทลท าํ ใหม ีการสรางโปรตีนขึ้นมานัน้ เปล่ียน สมบตั ิทางเคมไี ปจากเดิมหรอื หมดสภาพการทํางานไป 2. การเปล่ียนแปลงรูปรางของโครโมโซม ในแตละโครโมโซมเปนผลทําใหเกิดการ สับเปลี่ยนตําแหนงของยีนที่อยู ในรูปของโครโมโซมนั้นๆ การเปล่ียนแปลงน้ีอาจจะเกิดจาก หลายสาเหตุดังนี้ การขาดหายไปของโครโมโซม การเพิ่มข้ึนมาของโครโมโซม การเปล่ียน ตําแหนง ทศิ ทางของโครโมโซม การยายสลับที่ของโครโมโซม ปจจุบันนักวิทยาศาสตรใชประโยชนจากรังสีเพ่ือเรงอัตราการเกิดการกลายพันธุ โดยการนาํ สวนตางๆ ของพชื มาฉายรงั สี เชน การฉายรังสีแกมมากับเนอ้ื เย่ือจากหนอหรือเหงา ของพุทธรักษาทําใหไดพทุ ธรักษาสายพันธใุ หมห ลายสายพันธุ พืชกลายพันธอุ ่ืนๆ ท่ีเกิดจากการ ฉายรงั สแี กมมา ไดแก เบญจมาศและปทุมมาที่มีกลีบของดอกเปล่ียนแปลงไป ขิงแดงมีใบลาย และตน เตย้ี เปน ตน การเปล่ยี นแปลงทางพนั ธุกรรมทีเ่ กดิ จากการกลายพันธุกอใหเกิดลักษณะ ใหมๆ ซงึ่ ตา งไปจากลักษณะเดิมที่มีอยูและลักษณะดังกลาวสามารถถายทอดไปยังรุนตอไปได กอใหเกิดสิง่ มชี ีวิตรุนลูกที่มีพนั ธุกรรมหลากหลายแตกตางกัน
68 เร่ืองที่ 2 ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพ คอื การทีม่ ีสง่ิ มีชีวิตมากมายหลากหลายสายพันธุและ ชนดิ อยูในบรเิ วณใดบริเวณหนง่ึ ความหลากหลายทางชีวภาพของโลกมีมากมายมหาศาลตลอดเวลา ความหลากหลาย ทางชีวภาพไดเ กอ้ื หนุนใหผูคนดาํ รงชีวติ อยโู ดยมอี ากาศและนํา้ ทส่ี ะอาด มยี ารักษาโรค มีอาหาร เคร่ืองนุงหม เครื่องใชไมสอยตางๆการสูญเสียชนิดพันธุ การสูญเสียระบบนิเวศ การสูญเสีย พันธกุ รรมไมไดเพียงแตท ําใหโ ลกลดความรํา่ รวยทางชวี ภาพลง แตไ ดทําใหประชากรโลกสญู เสีย โอกาสที่ไดอาศยั ในสภาพแวดลอมทสี่ วยงามและสะอาด สญู เสยี โอกาสทจี่ ะไดมียารักษาโรคท่ีดี และสูญเสยี โอกาสทจี่ ะมอี าหารหลอเลี้ยงอยา งพอเพียง ประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพแบง ออกเปน 3 ประเภท ดังน้ี 1. ความหลากหลายของชนิด (Species diversity) เปนจุดเร่ิมตนของการศึกษา เก่ยี วกับความหลากหลายทางชีวภาพ เน่ืองจากนักนิเวศวิทยาไดศึกษาเก่ียวกับกลุมส่ิงมีชีวิต ในพ้ืนท่ีตางๆ รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงกลุมของสิ่งมีชีวิตในเขตพ้ืนที่น้ันเมื่อ เวลาเปล่ยี นแปลงไป 2. ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic diversity) เปนสวนที่มีความเก่ียว เน่ืองมาจากความหลากหลายของชนิดและมีความสําคัญอยางย่ิงตอกลไกวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต การปรากฏลักษณะของส่ิงมีชีวิตทุกชนิดจะถูกควบคุมโดยหนวยพันธุกรรมหรือยีน แ ล ะ ก า ร ป ร า ก ฏ ข อ ง ยี น จ ะ เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ ก า ร ป รั บ ตั ว ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ที่ ทํ า ใ ห ส่ิ ง มี ชี วิ ต น้ั น ดํารงชีวิตอยูได และมีโอกาสถายทอดยีนนั้นตอไปยังรุนหลัง และลักษณะหนึ่งลักษณะ ของส่ิงมีชีวิตคือจะมีหนวยพันธุกรรมมากกวาหนึ่งแบบ จึงทําใหส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกัน มลี กั ษณะบางอยางตา งกัน
69 3. ความหลากหลายของระบบนเิ วศ(Ecological diversity)หรอื ความหลากหลายของ ภูมิประเทศ (Landscape diversity) ในถ่ินกําเนิดตามธรรมชาติมีลักษณะสภาพทางภูมิ ประเทศแตกตา งกันหลายแบบ การจัดหมวดหมูข องส่งิ มชี ีวิต อนกุ รมวธิ าน (Taxonomy) วิชาที่เก่ยี วกับการจดั หมวดหมูข องสิ่งมีชวี ติ ประโยชนของอนุกรมวิธาน เน่ืองจากสงิ่ มชี ีวิตมีจํานวนมาก แตละชนิดก็มีลักษณะแตกตางกันออกไป จึงทําใหเกิด ความไมสะดวกตอการศึกษา จึงจําเปนตองจัดแบงส่ิงมีชีวิตออกเปนหมวดหมูซึ่งจะทําใหเกิด ประโยชนใ นดานตา ง ๆ คือ 1. เพ่อื ความสะดวกทจี่ ะนาํ มาศึกษา 2. เพอื่ สะดวกในการนํามาใชป ระโยชน 3. เพอื่ เปน การฝกทกั ษะในการจดั จาํ แนกสิ่งตา ง ๆ ออกเปน หมวดหมู หลกั เกณฑในการจําแนกส่งิ มีชีวติ ออกเปนหมวดหมู มีดงั น้ี 1. พิจารณาเปรียบเทียบทั้งภายในและภายนอกของสิ่งมีชีวิตวามีความเหมือนหรือ คลายกันเพียงใด ถาโครงสรางที่มีตนกําเนิดเดียวกัน แมจะทําหนาท่ีตางกันก็จัดไวเปนพวก เดียวกัน เชน กระดูกแขนของมนุษย กระดูกครีบของปลาวาฬ ปกนก ขาคูหนาของสัตวส่ีเทา ถา เปนโครงสรางท่ีมีตนกําเนิดตางกัน แมจะทําหนาที่เหมือนกันก็จัดไวคนละพวก เชน ปกนก และปกแมลง 2. พิจารณาจากแบบแผนการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต ต้ังแตแรกโดยอาศัยหลักท่ีวา สิ่งมชี ีวิตทีม่ ีความสมั พันธกนั มากเพยี งใดยอ มมวี ธิ กี ารเจรญิ คลา ยกนั มากเพียงน้ัน 3. ซากดึกดําบรรพ การศึกษาซากดึกดําบรรพของสิ่งมีชีวิตทําใหทราบบรรพบุรุษของ สิง่ มชี ีวิตในปจ จุบันได และส่ิงมีชีวิตท่ีมีบรรพบุรุษรวมกันก็จัดอยูพวกเดียวกัน เชน การจัดเอา นกและสัตวเ ลอ้ื ยคลานไวในพวกเดียวกัน เพราะจากการศึกษาดึกดําบรรพ ของเทอราโนดอน (Pteranodon) ซ่ึงเปนสัตวเล้ือยคลานท่ีบินได และซากของอารเคออพเทอริกส (Archaeopteryx)
70 ซึง่ เปน นกโบราณชนิดหนึง่ มีขากรรไกรยาว มีฟน มีปก มีน้ิว ซง่ึ เปนลกั ษณะของสัตวเล้ือยคลาน จากการศึกษาซากดึกดําบรรพดังกลาวชี้ใหเห็นวานกมีวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษท่ีเปน สัตวเลือ้ ยคลาน 4. พิจารณาถึงกระบวนการเคมีและสรีระวิทยาของสิ่งมีชีวิตท่ีวามีความเกี่ยวของหรือ คลายคลึงกันอยางไรรวมถึงศึกษาถึงการถายทอดกรรมพันธุ ไดแก พลาสติกและ สารโปรตีนทีเ่ ซลลส รางข้ึน ลําดับการจัดลาํ ดบั หมวดหมูข องสิง่ มชี วี ติ อาณาจักร ( Kingdom ) หมวด ( Division ) ในพืช หรือ ( Phylum ) ในสัตว ชน้ั ( Class ) อันดบั ( Order ) วงศ ( Family ) สกลุ ( Genus ) ชนดิ (Species) ชื่อของส่ิงมีชวี ติ ช่ือของสิ่งมชี ีวิตมีการตัง้ ขึน้ เพ่อื ใชเ รยี ก หรอื ระบสุ ่งิ มีชีวิต การตงั้ ชอื่ สง่ิ มีชีวติ มี 2 แบบ คือ 1. ช่อื สามัญ ( Common name ) เปนชื่อของสิ่งมีชีวิตต้ังข้ึนเพื่อใชเรียกส่ิงมีชีวิตแตกตางกันในแตละทองที่ เชน ฝร่ัง ภาคเหนือ ลําปาง เรียก บามั่น ลําพูนเรียก บากวย ภาคกลางเรียกฝรั่ง ภาคใตเรียกชมพู ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักสีดา ฉะน้ันการเรียกช่ือสามัญอาจทําใหเกิดความสับสน
71 ไดงาย การตงั้ ช่อื สามญั มักมหี ลกั เกณฑในการตง้ั ช่อื ไดแ ก ตง้ั ตามลกั ษณะรูปรา ง เชน สาหราย หางกระรอก วานหางจระเข ตง้ั ตามถ่นิ กาํ เนิด เชน ผกั ตบชวา ยางอินเดีย กกยิปต ตั้งตามท่ีอยู เชน ดาวทะเล ทากบก ตงั้ ตามประโยชนท ่ไี ดร บั เชน หอยมุก 2. ช่อื วทิ ยาศาสตร ( Scientific name ) เปนช่ือเพ่ือใชเรียกส่ิงมีชีวิตท่ีกําเนิดขึ้นตามหลักสากล ซ่ึงนักวิทยาศาสตรท่ัวโลกรูจัก คาโรลัส ลินเนียส นักธรรมชาติวิทยา ชาวสวีเดน เปนผูริเร่ิมในการต้ังช่ือวิทยาศาสตรใหกับ สิ่งมีชีวิต โดยกําหนดใหส่ิงมีชีวิตประกอบดวยชื่อ 2 ชื่อ ชื่อแรกเปนช่ือ“จีนัส” ช่ือหลังเปนคําระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต คือช่ือ “สปชีส”การเรียกช่ือซ่ึงประกอบดวยช่ือ 2 ช่ือ เรียกวา “การตงั้ ชอื่ แบบทวนิ าม” หลักการตง้ั ชอื่ 1. เปนภาษาละตนิ (ภาษาละตนิ เปน ภาษาท่ตี ายแลว ไมสามารถเปลย่ี นแปลงได) 2. การเขียน หรือพิมพช่ือวิทยาศาสตร เขียนดวยอักษรภาษาอังกฤษ ช่ือแรก ใหข้ึนตนดวยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญ ช่ือหลังใหขึ้นตนดวยภาษาอังกฤษ ตัวพิมพเล็ก เขียนได 2 แบบ ถาเขียน หรือพิมพดวยตัวเอนไมตองขีดเสนใต เชน ชื่อ วิทยาศาสตรของคน Homo sapiens ถาเขียน หรือพิมพดวยไมใชตัวเอนตองขีดเสนใตชื่อ 2 ชือ่ โดยเสน ท่ขี ดี เสนใตท ้งั สองไมต ิดตอ กัน Homo sapiens 3. อาจมีชอ่ื ยอของผตู ง้ั ช่ือหรอื ผคู น พบตามหลังดว ยก็ได เชน Passer montanus Linn. 4. ชอ่ื วิทยาศาสตรอาจเปลีย่ นแปลงได ถา มกี ารคนพบรายละเอียดเก่ียวกับสิ่งมีชีวิตน้ัน เพ่ิมเตมิ ภายหลงั การต้ังชื่อวทิ ยาศาสตร อาจตัง้ โดยการพจิ ารณาจากสง่ิ ตาง ๆ ท่ีเก่ยี วกับส่งิ มชี วี ิต 1. สภาพทอี่ ยูอ าศัย ผักบุง มชี อ่ื วิทยาศาสตรว า Ipomoca aquatica ช่ือ aquatica มาจาก คาํ วา aquatic ซึง่ หมายถึง นํา้ 2. ถิ่นที่อยูหรือถิ่นกําเนิด มะมวง มีชื่อวิทยาศาสตรวา Mangfera indica ชื่อ indica มาจากคาํ วา India ซึง่ เปน ตนไมท มี่ ตี นกําเนดิ อยใู นประเทศอินเดีย 3. ลักษณะเดนบางอยาง กุหลาบสีแดง มีช่ือวิทยาศาสตรวา Rosa rubra ช่ือ rubra หมายถึง สแี ดง
72 4. ช่ือบุคคลที่คนพบ หรือชื่อผูท่ีเก่ียวของ เชน ตนเสี้ยวเครือ มีช่ือวิทยาศาสตรวา Bauhinia sanitwongsei ชื่อ sanitwongsei เปนช่ือท่ีต้ังใหเปนเกียรติแกผูเก่ียวของซึ่งเปน นามสกลุ ของ ม.ร.ว. ใหญ สนทิ วงค ความหลากหลายของส่งิ มชี วี ติ ส่ิงมีชีวิตไดวิวัฒนาการแยกออกเปนชนิดตางๆ หลายชนิด โดยแตละชนิดมีลักษณะ การดํารงชีวิตตางๆ เชน บางชนิดมีลักษณะงายๆ เหมือนชีวิตแรกเกิด บางชนิดมีลักษณะ ซับซอน บางชนิดดํารงชีวิตอยูในน้ํา บางชนิดดํารงชีวิตอยูบนบก เปนตน ความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิตในปจจุบัน ตามแนวความคิดของ อาร เอช วิทเทเคอร (R.H. whittaker) จําแนก ส่งิ มชี วี ิตออกเปน 5 อาณาจักร คือ การจาํ แนกสงิ่ มชี ีวติ ออกเปน 5 อาณาจกั ร 5. อาณาจกั รสัตว 1. อาณาจักร 2. อาณาจักร มอเนอรา เชน สตั วม ีกระดกู เชน แบคทเี รยี โปรตสิ ตา สันหลัง และสัตว สาหรายสเี ขยี วแกม ไมมกี ระดูกสัน นาํ้ เงิน เชน สาหรา ยสี แดง อะมบี า หลัง อาณาจกั ร พารามีเซียม สิง่ มชี วี ติ 4. อาณาจักรพืช 3. อาณาจกั รเหด็ รา (ฟง ใจ) เชน มอส ตนี ตกุ แก พชื มดี อก เฟรน เชน เหด็ ยีสต
73 1. อาณาจักรมอเนอรา ( Kingdom Monera ) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอราเปนสิ่งมีชีวิตช้ันตํ่า ในกลุมโพรคาริโอต ไมมีเย่ือหุม นวิ เคลียส มีโครงสรา งไมซ ับซอน เปนสง่ิ มีชีวติ เซลลเ ดยี ว สงิ่ มชี ีวติ ในอาณาจกั รน้ีไดแก สาหราย สเี ขียวแกมนํา้ เงิน และแบคทเี รยี ซ่ึงมรี ูปรางตางกันออกไป เชน เปนแทง เกลียว กลม หรือตอ กันเปนสายยาว แบคทีเรียบางชนิดทําใหเกิดโรค เชน โรคบิด บาดทะยัก เร้ือน อหิวาตกโรค คอตีบ ไอกรน บางชนิดพบในปมรากถั่วท่ีเรียกวา ไรโซเบียม ( Rhizobium sp. ) สามารถนํา ไนโตรเจนจากอากาศไปสรา งไนเตรด ซึ่งเปนธาตุอาหารสําคัญของพืช สวนสาหรายสีเขียวแกม นา้ํ เงนิ ทร่ี ูจกั คือ สไปรรู นิ า ( Sprirurina sp. ) ซงึ่ มโี ปรตนี สูง ใชทาํ อาหารเสรมิ 2. อาณาจักรโพรทิสตา ( Kingdom Protista ) ส่ิงมีชีวิตในอาณาจักรโพรทิสตา เปนส่ิงมีชีวิตกลุม ยูคาริโอต มีเย่ือหุมนิวเคลียส สวนใหญเปนส่ิงมีชีวิตเซลลเดียว สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรน้ีมีท้ังประเภทชั้นตํ่า เซลลเดียวหรือ หลายเซลล มีคลอโรพลาสตที่ใชในการสงั เคราะหแ สง ไดแก สาหรา ย ซงึ่ พบในน้ําจืดและน้ําเค็ม บางชนิดไมสามารถมองดวยตาเปลาตองสองดวยกลองจุลทรรศน เชน อมีบา พารามีเซียม ยกู ลีนา นอกจากนนั้ ยงั พบสง่ิ มชี วี ติ ทีเ่ รียกวา ราเมือก ซง่ึ พบตามที่ช้ืนแฉะ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักร โพรทิสตาบางชนิดทําใหเกิดโรค เชน พลาสโมเดียม ( Plasmodium sp. ) ทําใหเกิดโรคไขมาลาเรีย สาหรา ยบางชนดิ ทําอาหารสตั ว บางชนดิ ทําวุน เชน สาหราย สแี ดง
74 3. อาณาจักรฟงไจ ( Kingdom Fungi ) สิ่งมชี วี ิตในอาณาจกั รฟง ไจสวนใหญเปนสง่ิ มชี ีวติ ทีป่ ระกอบดวยเซลลหลายเซลล อาจมี เซลลเดียว เชน ยีสตท่ีทําขนมปง หรือใชในการหมักสุรา ไวน เบียร เปนตน บางชนิดมีหลาย เซลล เชน เห็ด มีการรวมตัวเปนกลุมของเสนใยหรืออัดแนนเปนกระจุก มีผนังเซลลคลายพืช แตไมมีคลอโรฟลล สืบพันธุโดยการสรางสปอร และดํารงชีวิตโดยการยอยสลายสารอินทรีย โดยหล่ังนํ้ายอยออกมายอยอาหาร แลวจึงดูดเอาโมเลกุลท่ีถูกยอยเขาสูเซลล ทําหนาท่ีเปน ผยู อยสลายในระบบนิเวศ 4. อาณาจกั รพชื (Plantae) สง่ิ มีชวี ิตในอาณาจักรพชื เปน สิ่งมีชีวิตหลายเซลลที่ประกอบกันเปนเน้ือเยื่อ และเซลล มีการเปลี่ยนแปลงไปทําหนาที่เฉพาะอยาง เชน ราก ลําตน ใบ มีคลอโรพลาสตซึ่งเปนรงคค วตั ถทุ ่ีใชในการสังเคราะหดวยแสง โดยอาศยั พลังงานแสงจากดวงอาทิตย จึงมีหนาท่ีเปนผูผลิต ในระบบนเิ วศ พบทั้งบนบกและในนํ้า โดยพืชช้ันตาํ่ จะไมม ีทอลําเลยี ง ไดแ ก มอส พืชช้ันสูงจะมี ทอลําเลียง หวายทะนอย หญาถอดปลอง ตีนตุกแก เฟรน สน ปรง พืชใบเลี้ยงคู และพืชใบ เล้ยี งเดี่ยว 5. อาณาจักรสัตว ( Kingdom Animalia ) สง่ิ มชี ีวิตในอาณาจักรสัตว เปน สงิ่ มีชีวิตทีม่ เี นอื้ เยื่อซ่ึงประกอบดวยเซลลหลายเซลล ไม มีผนังเซลล ภายในเซลลไมมีคลอโรพลาสต ตองอาศัยอาหารจากการกินสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืน ๆ ดํารงชีวติ เปนผูบริโภคในระบบนิเวศ ส่ิงมีชีวิตในอาณาจักรนี้มีความสามารถในการตอบสนอง ตอสิง่ เรา บางชนดิ เคล่อื นที่ไมได เชน ฟองนํ้า ปะการัง กลั ปงหา เปนตน
75 สิ่งมชี ีวิตในอาณาจักรสตั วแ บง ออกเปน 2 กลุม คอื สัตวไ มม กี ระดกู สนั หลงั ไดแ ก ฟองนาํ้ กลั ปงหา แมงกะพรนุ พยาธิตาง ๆ ไสเดือน หอย ปู แมลง หมกึ ดาวทะเล สัตวมีกระดูกสันหลัง ไดแก ปลา สัตวคร่ึงบกคร่ึงนํ้า สัตวเล้ือยคลาน สัตวปก สตั วเลยี้ งลกู ดวยนม คุณคาของความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพมคี ุณคา และความสําคญั ตอ การดํารงชีวิตของมนษุ ย ดงั นี้ 1. เปนแหลง ปจ จยั ส่ี ปา ไมซ ง่ึ เปน แหลงรวมของความหลากหลายทางชวี ภาพ เปนแหลงอาหารของมนุษยมา ตั้งแตสมัยดึกดําบรรพ มนุษยไดอาศัยอาหารที่ไดจากปา เชน นําพืช สัตว เห็ด มาเปนอาหาร หรือทํายารักษาโรค มนษุ ยสรา งท่ีอยูอาศัยจากตนไมในปา พืชบางชนิด เชน ตน ฝาย นนุ และไหม ใชทําเปน เครอื่ งนงุ หม เก็บฟนมาทําเช้ือเพลิงเพื่อหุงหาอาหาร และใหความ อบอุน เม่ือจํานวนประชากรเพ่ิมขึ้นและมีเทคโนโลยีสูงขึ้น ทําใหความหลากหลายทางชีวภาพ ของปาไมถูกทําลายลง มนุษยตองการท่ีอยูมากขึ้น มีการตัดไมทําลายปาเพิ่มข้ึน เพ่ือใหมี ผลผลิตเพยี งพอกับความตองการของมนุษย ทําใหการเกษตรและการเลี้ยงสัตวเพียงหนึ่งหรือ สองชนดิ ไดเขาไปแทนที่ความหลากหลายทางชีวภาพของปาไม 2. เปน แหลง ความรู ปาเปนแหลงรวมความหลากหลายทางชีวภาพเปนแหลงรวมพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต จึงเปรยี บเสมือนหองเรยี นธรรมชาติ โดยเฉพาะความรดู านชวี วิทยา นอกจากนน้ั ยังเปนแหลงให การศกึ ษาวิจยั เก่ยี วกับสงิ่ มชี ีวติ ท้ังหลายท่อี ยใู นปา ถา หากปาหรือธรรมชาติถูกทําลายไป ความ หลากหลายทางชีวภาพก็ถูกทําลายไปดวย จะทําใหม นุษยขาดแหลง เรยี นรทู ี่สําคญั ไปดว ย 3. เปน แหลง พกั ผอ นหยอนใจ ความหลากหลายทางชีวภาพกอใหเกิดทัศนียภาพท่ีงดงาม แตกตางกันไปตามสภาวะ ของภมู อิ ากาศ ในบริเวณท่ีภมู ิอากาศเหมาะสมแกการอยอู าศัยก็จะมีพรรณไมนานาชนิด มีสัตว
76 ปา แมลง ผีเส้ือ ชวยใหรูสึกสดช่ืน สบายตา ผอนคลายความตึงเครียด และนอกจากน้ียัง ปรับปรุงใหเปนแหลง ทอ งเท่ียวเชิงอนุรกั ษ ความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศไทยและทองถน่ิ สิ่งมีชีวิตในโลกนี้มีหลากหลายชนิด ในจํานวนน้ีมีอยูในประเทศไทย ประมาณ รอยละ7ประเทศไทยมีประชากรเพียงรอยละหนึ่ง ของประชากรโลก ดังนั้น เม่ือเทียบสัดสวน กบั จาํ นวนประชากร ประเทศไทยจึงนับวามีความหลากหลายของส่ิงมีชีวิตอยางมาก ส่ิงมีชีวิต ในประเทศไทยมหี ลากหลาย เนอ่ื งจากมสี ภาพทางภมู ศิ าสตรท ีห่ ลากหลายและแตละแหลงลวน มปี จ จัยท่เี อ้อื ตอการเจริญเติบโตของส่ิงมีชีวิต นับตั้งแตภูมิประเทศแถบชายฝงทะเล ท่ีราบลุม แมน ํ้า ทร่ี าบลอนคลื่น และภเู ขาทม่ี ีความสูงหลากหลายต้ังแตเนินเขาจนถึงภูเขาที่สูง ประเทศ ไทยจึงเปน แหลง ของปา ไมนานาชนิด ไดแก ปาชายเลน ปาพรุ ปาเบญจพรรณ ปา ดบิ และปาสนเขา ในระยะเวลาทีผ่ านมาประเทศไทยสูญเสียพ้ืนที่ปาเปนจํานวนมหาศาล เนื่องจากหลาย สาเหตุ เชน การเพ่ิมของประชากรทําใหม ีการบกุ เบิกปาเพิม่ ข้ึน การใหสมั ปทานปาไมท่ีขาดการ ควบคุมอยางเพียงพอ การตัดถนนเขาพื้นที่ปา การเกษตรเชิงอุตสาหกรรม การแพรของ เทคโนโลยที ี่ใชทาํ ลายปา ไมไดอยา งรวดเร็วสง ผลใหพชื และสัตวสูญพันธุ รวมท้ังนก สัตวคร่ึงบก ครึ่งน้ํา สัตวเลื้อยคลาน แมลง และสัตวน้ําอีกเปนจํานวนมากการทําลายปาไมกอใหเกิด วิกฤตการณทางธรรมชาติเพิ่มข้ึนเร่ือยๆ แหลงนํ้าท่ีเคยอุดมสมบูรณ เร่ิมลดนอยลง เกิดปรากฎการณน าํ้ ทว มฉับพลนั ยังผลใหเกิดความเสียหายแกเศรษฐกิจ บานเรือน และความ ปลอดภยั ของชวี ติ คนและสตั วเ ปน อนั มาก การอนุรกั ษค วามหลากหลายทางชีวภาพของทองถนิ่ การอนุรกั ษค วามหลากหลายทางชวี ภาพของทอ งถ่ิน ทาํ ไดหลายวิธี ดงั น้ี 1. จัดระบบนิเวศใหใกลเคียงตามธรรมชาติ โดยฟนฟูหรือพัฒนาพื้นที่เส่ือมโทรมให ความหลากหลายทางชวี ภาพไวม ากท่ีสดุ
77 2. จัดใหมีศูนยอนุรักษหรือพิทักษส่ิงมีชีวิตนอกถิ่นกําเนิด เพ่ือเปนท่ีพักพิงชั่วคราวที่ ปลอดภัย กอ นนํากลบั ไปสธู รรมชาติ เชน สวนพฤกษศาสตร ศูนยเพาะเล้ยี งสตั วน ้ําเค็ม 3. สงเสริมการเกษตรแบบไรนาสวนผสม และใชตนไมลอมร้ัวบานหรือแปลงเกษตร เพอ่ื ใหมีพืชและสัตวหลากหลายชนิดมาอาศัยอยูรวมกัน ซึ่งเปนการอนุรักษความหลากหลาย ทางชวี ภาพได กิจกรรมทา ยบทท่ี 4 คําช้ีแจง : ใหน กั ศกึ ษาเลอื กคาํ ตอบท่ถี กู ตอ งเพยี งคําตอบเดียวโดยทําเครือ่ งหมาย × ลงใน ชองวา งทีต่ รงกับตัวอกั ษรทเ่ี ลือกลงในกระดาษคาํ ตอบ 1. ลกั ษณะในขอ ใดทเี่ กิดจากการถา ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม ก. เสือนพเปนโจรเหมอื นพอ ข. พรมลี ักย้ิมเหมอื นแม ค. กมลชอบทานไกทอดเหมือนพอ ง. แดงและแมปว ยเปน โรคกระเพาะ 2. พันธกุ รรม (Heredity) หมายถึงขอ ใด ก. ส่ิงที่ไดร บั การถา ยทอดจากคนทีร่ จู กั ข. ส่งิ ที่ไดรบี การถา ยทอดจากบรรพบุรษุ หรือจากรนุ สูรุน ค. ส่งิ ท่ไี ดร บั การถา ยทอดจากบรรพบรุ ษุ เพยี งรุนเดยี ว ง. ความผดิ ปกติของรา งกาย 3. ลักษณะทางพันธกุ รรมของคนลักษณะใดตอไปนีเ้ ปนลกั ษณะทางพนั ธุกรรมทแี่ ปรผัน แบบตอ เนอ่ื ง 1. สีผม 2. เสน ผม 3. ความสงู 4. หนา ตา 5. สติปญญา 6. ตงิ่ หู ก. 2 , 4 , 6 ข. 1 , 2 , 3 , 4 ค. 1 , 3 , 5 ง. 3 , 4 , 5 , 6
78 4. ขอใดกลา วถงึ คุณสมบัตขิ องถัว่ ลันเตาทที่ าํ ใหเ มนเดลเลือกใชในการศึกษาทางดาน พนั ธศุ าสตร 1. เปน พืชทป่ี ลกู งา ย และยงั ใหเมลด็ ในปรมิ าณท่ีมากดวย 2. เปนพืชทีม่ ลี ักษณะทางพนั ธกุ รรมแตกตางกันชัดเจนหลายลกั ษณะ 3. เปนพืชที่เกิด self- fertilized สามารถสรางพันธุแท หรือเกิด cross-fertilized เพอื่ สรา งลกู ผสมไดง า ย 5. เปนพืชท่เี กิดไดเ ฉพาะ cross – fertilizationซึ่งชว ยใหส ามารถควบคมุ การทดลองใหเ ปนไป ตามแผนได ก. ขอ 1 , 2 , 3 ข. ขอ 1 , 2 , 4 ค. ขอ 2 , 3 , 4 ง. ขอ 1 , 2 , 3 , 4 6. ถา พอ มีหมเู ลือด A มจี โี นไทป i แมมีหมูเลือด B มจี ีโนไทป i ลกู มหี มเู ลอื ดใดไดบ าง ก. เลือดหมู A , B และ O ข. เลอื ดหมู AB , B และ O ค. เลอื ดหมู AB , A และ O ง. เลอื ดหมู AB , A, B และ O 7. กาํ หนดให A คมุ ลกั ษณะเดน a คุมลักษณะดอย ถา ผสม Aa x Aa AA : Aa : aa = 1 : 2 : 1 ผลลพั ธจากการผสมนีแ้ สดงวา ก. ถา มลี ูกจากการผสม 4 ตัว จะไดลกู แสดง ลกั ษณะเดน 3 ตัว และแสดงลกั ษณะดอย 1 ตัว ข. จะมีโอกาสทลี่ กู แสดงลักษณะเดน 3/4 และลักษณะดอ ย 1/4 ค. จะไดลกู ชนิดจโี นไทปเ หมือนพอแม 3/4 ง. จะไดล กู ชนดิ ท่มี ฟี โ นไทปเ หมือนพอ แม 1/2
79 8. ลกั ษณะของสัตวใ นขอใดเปนที่จัดอยูใ นอาณาจักรเดยี วกนั ก. จระเข ปลาชอน เตา ข. ปลามา ปลาตีน มา น้ํา ค. แมเ พรียง ปลงิ ทะเล ดอกไมทะเล ง. ลิง คา งคาว มาลาย 9. ลกั ษณะในขอใดเปนลักษณะเฉพาะตวั ของสัตวสะเทนิ น้าํ สะเทินบก ก. รปู รา งเรยี วยาว ใชเ หงือกในการหายใจ ผวิ หนังเปนเกลด็ ออกลูกเปนไข ข. เปน สัตวเลือดอุน ใชปอดในการหายใจ ปฏสิ นธิภายนอก วางไขในน้าํ และเล้ยี งลกู ดว ยนม ค. หายใจโดยใชเ หงือก ปอด หรอื ผิวหนัง ผวิ หนังมีลักษณะเปย กชื้น วางไขใ นนาํ้ ง. รูปรางเรียวใชเ หงอื กในการหายใจ ตัวออ นเจริญเติบโตอยภู ายในตัวแม 10. ขอ ใดเปนลักษณะเฉพาะตวั ของสิ่งมชี วี ติ ทอ ยูในอาณาจักรพืช ก. สืบพันธโุ ดยการสรา งสปอร ข. เซลลม เี ยอื่ หมุ เซลล ค. มคี ลอโรฟลล ง. สบื พนั ธดุ วยเมล็ด
80 บทท่ี 5 เทคโนโลยชี วี ภาพ สาระสาํ คญั เทคโนโลยีชีวภาพ เปนเทคโนโลยีท่ีนําเอาความรูทางชีววิทยามาใชประโยชน ในชีวิตประจําวันแกมนุษยตั้งแตอดีต เชน การผลิตขนมปง น้ําสมสายชู นํ้าปลา ซีอ้ิว และ โยเกิรต เปน ตน ซงึ่ เปนภมู ิปญญาทองถนิ่ เกี่ยวกบั เทคโนโลยีชีวภาพทัง้ สน้ิ รวมถงึ การผลิต ยาปฏิชีวนะ ตลอดจนการปรับปรงุ พนั ธุพืช และพนั ธสุ ตั วชนิดตา ง ๆ ในปจ จบุ ัน ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวัง 1. อธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ และประโยชนไ ด 2. อธิบายผลของเทคโนโลยีชวี ภาพตอ ชีวติ และส่งิ แวดลอ มได 3. อธิบายบทบาทของภมู ปิ ญญาทองถิ่นเกย่ี วกบั เทคโนโลยีชวี ภาพได ขอบขา ยเนื้อหา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและความสาํ คญั ของเทคโนโลยชี วี ภาพ เรื่องที่ 2 ปจจยั ท่ีมีผลตอ เทคโนโลยีชวี ภาพ เรอ่ื งที่ 3 เทคโนโลยชี ีวภาพในชีวติ ประจําวัน เรอ่ื งท่ี 4 ภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ เกยี่ วกับเทคโนโลยีชวี ภาพ เรื่องท่ี 5 ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยชี ีวภาพ
81 บทท่ี 5 เทคโนโลยชี ีวภาพ เรอื่ งที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยชี วี ภาพ (Biotechnology) หมายถึง การใชค วามรเู กีย่ วกบั ส่งิ มชี ีวติ และผลิตผลของส่ิงมีชีวิตใหเปนประโยชนกบั มนุษย หรือ การใชเทคโนโลยีในการนาํ สิง่ มชี ีวติ หรอื ช้นิ สว นของสิ่งมชี ีวติ มาพฒั นาหรอื ปรบั ปรุงพืช สัตว และผลิตภัณฑอื่นๆ เพ่ือประโยชนเ ฉพาะตามทีเ่ ราตองการ ความสาํ คัญของเทคโนโลยีชีวภาพ ปจจุบนั มีการนาํ เทคโนโลยีชีวภาพมาใชป ระโยชนเพอ่ื หาทางแกป ญหาสาํ คญั ทีโ่ ลกกาํ ลัง เผชิญอยทู ง้ั ดา นการเกษตรกรรม อาหาร การแพทย และเภสัชกรรม ซ่งึ มีความสาํ คญั ดงั น้ี ความสาํ คญั ของเทคโนโลยีชีวภาพ 1. การลดปรมิ าณ 2.เพือ่ เพม่ิ 3. การเพ่ิม 4. การผลติ 5. การคน การใชส ารเคมีใน พื้นที ผลผลติ ทาง อาหารท่ใี ห คิดยา เกษตรกรรม เพาะปลูกของ การเกษตร คุณคา ทาง ปอ งกัน โลกดวยการ ของโลกดว ย โภชนาการ และรักษา เพอ่ื ลดตน เหตุ ปรับปรงุ พันธุ การปรบั ปรุง สงู ข้นึ โรคติดตอ พชื ท่ที นทาน พนั ธุท ี่ หรือโรค ของปญ หาดาน ตอ อณุ หภูมิ ทนทานตอ รา ยแรง สิ่งแวดลอม ดว ย ตางๆ โรค ตางๆ การคิดคนพันธพุ ืช ใหมท่ตี านทานโรค และศัตรพู ืช
82 เรอื่ งท่ี 2 ปจ จยั ท่ีมีผลตอเทคโนโลยชี วี ภาพ ในการผลติ ผลติ ภัณฑทางเทคโนโลยีชวี ภาพ จะตอ งคํานึงถงึ ปจ จัยหลัก 2 ประการ ดังน้ี ปจจยั ที่มีผลตอ เทคโนโลยีชวี ภาพ 1.ตอ งมตี วั เรงทางชีวภาพ 2.ตองมีการออกแบบถงั หมัก (Biological Catalyst) ท่ดี ีทีส่ ุด ซึง่ มี (Reacter) และเครื่องมอื ทใ่ี ชใ นการ ความจาํ เพาะตอการผลติ ผลิตภณั ฑท ี่ ควบคุมสภาพทางกายภาพใน ตองการ และกระบวนการท่ีใชในการ ระหวางการผลติ เชน อุณหภมู ิ ผลิต ไดแ ก เช้ือจลุ ินทรียต างๆ พืช คาความเปนกรด – เบส การให หรือ สตั ว ซึ่งคดั เลือกขึ้นมา และ อากาศ เปน ตน ใหเหมาะสมตอการ ปรับปรงุ พนั ธใุ หด ีขนึ้ สําหรับใชใน ทาํ งานของตวั เรงทางชีวภาพทีใ่ ช การผลติ ผลติ ภัณฑจ าํ เพาะนั้น เรอื่ งท่ี 3 เทคโนโลยชี ีวภาพในชีวติ ประจําวัน การนําเทคโนโลยชี ีวภาพมาใชในชวี ิตประจาํ วนั เปน การนาํ ความรูเกี่ยวกับส่ิงมีชีวิตและ ผลผลติ ของสงิ่ มชี วี ติ มาใชใหเปนประโยชนกับมนุษย ในการดํารงชีวิตตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ซ่ึงมีดงั นี้
83 1.การผลิตอาหาร 2. การผลติ ผงซักฟอก 3. การทําปุยจากวัสดุ เชน น้าํ ปลา ปลารา ชนดิ ใหมทีม่ ีเอนไซม เหลือท้ิง เชน เศษผัก ปลาสม ผกั ดอง อาหาร ฟางขาว 4. การแกไขปญหา เทคโนโลยีชีวภาพท่ีใชใ น 8. การรักษาโรค ส่ิงแวดลอม เชน ชวี ิตประจําวนั และบาํ รุงสขุ ภาพ การใชจุลินทรียใน เชน สมนุ ไพร การกําจดั ขยะ 6 . ก า ร เ พิ่ ม คุ ณ ค า ผลผลิตของอาหารเชน 7. การทาํ ผลติ ภณั ฑ 5. การแกไขปญหา การปรับปรุงคุณภาพ จากไขมัน เชน นม พลังงาน เชน การผลิต นา้ํ มันในพชื คาโนลา เนย น้ํามัน แ ก ซ โ ซ ฮ อ ล เ ช้ื อ เ พ ลิ ง รถยนต
84 เทคโนโลยชี ีวภาพท่นี าํ มาใชป ระโยชนใ นประเทศไทย ประเทศไทยไดมีการคนควาทางดานเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อทําประโยชน ตอประเทศ ซ่งึ สว นใหญจ ะเปน เทคโนโลยที ี่มีประโยชนใ นดานตางๆ ดงั ตอไปนี้ เทคโนโลยชี วี ภาพที่นาํ มาใชประโยชนในประเทศไทย 1. ดา นการเกษตร 2. ดานการแพทย - การเพาะเล้ียงเนอื้ เย่ือ ไดแก การขยายและ - การพฒั นาเทคโนโลยลี ายพมิ พ ปรับปรุงพันธุกลวย กลวยไม ไผ ไมดอก ดีเอน็ เอ ไมประดับ หญา แฝก - การตรวจวินจิ ฉยั โรค เชน - การปรับปรุงพันธุพืช เชน การปรับพันธุพืช โรคไขเ ลอื ดออก (GMO) มะเขือเทศ พริก ถั่วฝกยาวทนตอ - การพฒั นาวธิ กี ารตรวจหาสาร ศตั รูพชื ทนแลง ตอ ตา นมาลาเรยี วณั โรค - การพัฒนาและปรับปรุงพันธุสัตว เชน - การพัฒนาการเล้ยี งเซลลมนษุ ย การขยายพันธุโคนมใหมีน้ํานมสูงและการลด และสัตว การแพรระบาดของโรคสัตว การโคลนนิ่ง การผสมเทียม - การผลติ ปุยชีวภาพ เชน ปยุ คอก ปุยหมัก - การควบคุมโรคและแมลงโดยชีวินทรีย เชน การใชจุลินทรียควบคุมโรคในแปลงปลูก มะเขือเทศ ขิง สตรอเบอรร ่ี
85 เร่อื งที่ 4 ภูมิปญญาทองถน่ิ เกี่ยวกบั เทคโนโลยชี วี ภาพ ภมู ิปญญาทองถนิ่ เกย่ี วกบั เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีการหมัก (Fermentation Technology) โดยนําแบคทีเรียที่มีอยูตาม ธรรมชาติมาใชใ นกระบวนการถนอมอาหาร และแปรรูปอาหาร เชน การทําน้ําปลา ปลารา แหนม นํ้าบูดู เตาเจี้ยว ซีอ๊ิว เตาหูยี้ ผักและผลไมดอง น้ําสมสายชู เหลา เบียร ขนมปง นมเปรี้ยว เปนตน ซึ่งผลติ ภณั ฑทไ่ี ดจากการหมักในลักษณะน้ี อาจจะ มีคุณภาพไมแ นน อน ยากตอการปรับปรุงประสิทธิภาพในการหมัก หรือขยายกําลัง ผลติ ใหสงู ขนึ้ และยงั เสย่ี งตอ การปนเปอ นของเชือ้ โรค หรอื จุลินทรียทีส่ รา งสารพษิ เรือ่ งที่ 5 ประโยชนแ ละผลกระทบของเทคโนโลยชี วี ภาพ ประโยชนข องเทคโนโลยีชีวภาพ 1.ดา นการเกษตร - การผสมพนั ธสุ ตั วและการปรบั ปรงุ พันธุส ตั ว - การปรบั ปรงุ พนั ธพุ ืชและการผลติ พชื พันธใุ หม - การควบคุมศตั รูพืชโดยชวี วิธี 2. ดานอตุ สาหกรรม - การถายฝากตัวออน - การผสมเทียมสตั วบกและสตั วน ํา้ - พันธุวิศวกรรมโดยนําผลผลติ ของยนี มาใชป ระโยชนและผลติ เปนอุตสาหกรรม - ผลิตฮอรโ มนเรง การเจริญเติบโตของสตั ว - ผลิตสตั วแ ปลงพนั ธุใหมีลักษณะโตเรว็ เพมิ่ ผลผลติ
86 3.ดา นการแพทย - การใชยีนบําบัดโรค - การตรวจวินิจฉยั หรือตรวจพาหะจากยีน เพอ่ื ตรวจสอบโรคธาลสั ซีเมยี - การใชป ระโยชนจากการตรวจลายพมิ พจ ากยนี ของส่งิ มชี ีวิต 4.ดานอาหาร - เพิ่มปรมิ าณเนอื้ สตั วท ้งั สัตวบกและสตั วน ํา้ - เพม่ิ ผลผลิตจากสัตว - เพ่ิมผลิตภัณฑท แ่ี ปรรูปจากผลผลิตของสัตว 5.ดานสิง่ แวดลอม - การใชจุลินทรยี ช วยรักษาสภาพแวดลอ ม - การคนหาทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชป ระโยชนแ ละการสรางทรพั ยากรใหม 6.ดานการผลิตพลังงาน - แหลง พลงั งานท่ีไดจ ากชวี มวล คอื แอลกอฮอลช นิดตา งๆ - แกสชวี ภาพ ผลของเทคโนโลยีชวี ภาพดา นการตดั ตอ พนั ธกุ รรม (GMO) การนําเทคโนโลยีการตัดตอพันธุกรรมมาใช เพื่อใหจุลินทรียสามารถผลิตสารหรือ ผลิตภัณฑบางชนิด หรือ ผลิตพืชท่ีตานทานตอแมลงศัตรูพืช โรคพืช และยาปราบวัชพืชและ ปรับปรุงพันธุใหมีผลผลิตท่ีมีคุณภาพดีข้ึน ซึ่งส่ิงมีชีวิตท่ีไดจากการตัดตอพันธุกรรมน้ี เรียกวา จีเอ็มโอ (GMO) เปนชื่อยอมาจากคําวา Genetically Modified Organism พืช จีเอ็มโอ สวนใหญ ไดแก ขาวโพด และฝายท่ีตานทานแมลง ถ่ัวเหลืองตานทานยาปราบศัตรูพืช มะละกอ และ มันฝรั่งตานทานโรค แมวาเทคโนโลยีชีวภาพนั้น มีประโยชนในการพัฒนา พันธุพืช พันธุสัตว ใหมีผลผลิตที่มีปริมาณและคุณภาพสูง และมีตนทุนการผลิตตํ่า ก็ตาม
87 แตก ็ยงั ไมมีหลักฐานที่แนนอนยืนยันไดวาพืชท่ีตัดตอยีน จะไมสงผลกระทบตอสภาพแวดลอม และความหลากหลายทางชีวภาพ การตดั ตอ พนั ธุกรรม (GMO) (Genetically Modified Organism) หมายถึง ส่ิงมีชวี ิตที่ไดจากการตัดตอ พชื จีเอ็มโอ สว นใหญป ระกอบดว ย ฝายตา นแมลง ขา วโพดตา นแมลง มะละกอตา นโรค พืช (GMO) มันฝรงั่ ตา นโรค ถั่วเหลอื งตานยาปราบศตั รพู ชื แมวาเทคโนโลยีชวี ภาพนนั้ มปี ระโยชนในการพัฒนา พันธุพืช พันธุสัตว ใหมีผลผลิตที่ มีปริมาณและคณุ ภาพสงู และมีตน ทนุ การผลิตตา่ํ ก็ตาม แตก็ยงั ไมม หี ลักฐานท่ีแนนอนยืนยันได วา พชื ท่ตี ัดตอ ยนี จะไมสงผลกระทบตอสภาพแวดลอม และความหลากหลายทางชีวภาพ ท้ังน้ี การทดสอบการปลูกพชื จีเอ็มโอ(GMO) มีดงั นี้ การปลูกพืช (GMO) 1.ทนทานตอสารเคมี 2.ทนทานตอยาฆา แมลง 3.ทนทานตอ ไวรสั กําจดั วัชพชื
88 ผลกระทบของการใชเ ทคโนโลยชี ีวภาพ การพฒั นาเทคโนโลยีชีวภาพ ทาํ ใหเกดิ ผลกระทบได ดงั น้ี ผลกระทบของการใชเทคโนโลยชี ีวภาพ 1. สามารถนาํ ไปใชผลิตเชื้อโรคชนดิ 2. สามารถนาํ สารพนั ธุกรรมของพชื รายแรงเพอ่ื ใชในสงครามเชือ้ โรค จากประเทศกาํ ลังพัฒนาเพือ่ หวงั ผล เชน อาวุธเช้อื โรค กาํ ไร ผลกระทบของสิง่ มชี วี ิต จเี อ็มโอ(GMO) สงิ่ มีชวี ติ จีเอ็มโอ สงผลกระทบ ตอชวี ิตและส่ิงแวดลอ มและทางชีวภาพ ไดดังนี้ ผลกระทบของส่งิ มีชวี ติ จเี อ็มโอ (GMO) 1. ผลกระทบตอความหลากหลายทาง 2. ผลกระทบตอ ชีวติ และสิ่งแวดลอม ชีวภาพ พบวา พืชท่ีตัดแตงพันธุกรรมสง ผลกระทบตอ แมลงทชี่ วยผสมเกสร และ ผลกระทบของส่ิงมีชีวิต จีเอ็มโอ ตอ ชีวิตของ พบวาแมลงเตา ทองที่เลี้ยงดวยเพล้ียออน ผูบริโภค นั้น เคยเกิดขึ้นบางแลว โดยบริษัท ที่เล้ียงในมันฝรั่งตัดตอยีน วางไขนอยลง ผลติ อาหารเสริมประเภทวิตามิน บี 2 โดยใช 1 ใน 3และมีอายุสั้นกวาปกติครึ่งหน่ึง เทคนิคพันธุวิศวกรรม และนํามาขายใน เม่ือเปรียบเทียบกับแมลงเตาทองท่ีเล้ียง สหรัฐอเมริกา หลังจากน้ัน พบวามีผูบริโภค ดว ยเพลยี้ ออนที่เล้ยี งดวยมันฝร่งั ท่วั ๆ ไป ปว ยดวยอาการกลามเนื้อผิดปกติ เกือบ 5000 คน โดยมีอาการเจ็บปวด และมีอาการทาง ระบบประสาทรวมดวย ทําใหมีผูเสียชีวิต 37 คน และพิการอยางถาวรเกือบ 1,500 คน
89 กิจกรรมทายบทท่ี 5 เทคโนโลยีชวี ภาพ 1. จงบอกประโยชนของเทคโนโลยชี วี ภาพ .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 2. จงบอกผลกระทบของเทคโนโลยีชวี ภาพ .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. 3. จงบอกการนาํ เทคโนโลยชี ีวภาพไปใชประโยชนในชีวิตประจาํ วัน .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................
90 บทท่ี 6 ทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ ม สาระการเรยี นรู ทรัพยากรธรรมชาติเปนสิ่งท่ีมีความสัมพันธกับชีวิตเราอยางมากมาย ฉะน้ัน เราจําเปนตองศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการใชทรัพยากรธรรมชาติตอส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ในทกุ ระดบั และแนวทางในการแกไ ขปญหาทรพั ยากรธรรมชาติ และการพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติ ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั 1. อธบิ ายกระบวนการเปลย่ี นแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตได 2. อธบิ ายการใชทรพั ยากรธรรมชาติ สภาพปญหาสิ่งแวดลอมในระดับทองถ่ิน ระดับประเทศ และระดบั โลกได 3. อธิบายสาเหตุของปญ หา วางแผน และลงมือปฏบิ ตั ไิ ด 4. อธบิ ายการปอ งกนั แกไข เฝาระวงั อนรุ กั ษแ ละพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมได 5. อธบิ ายปรากฎการณของธรณีวิทยาท่ีมีผลกระทบตอ ชวี ติ และสง่ิ แวดลอม 6. อธิบาย ปรากฎการณ สภาวะโลกรอ น สาเหตุและผลกระทบตอชวี ิตมนุษย ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 การเปลย่ี นแปลงแทนท่ีของส่งิ มชี ีวิต เรอ่ื งท่ี 2 ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources) เร่ืองที่ 3 ผลกระทบตอ ระบบนิเวศและสิง่ แวดลอ มทเ่ี กดิ จากการใชทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ แนวทางปองกันแกไข เร่อื งที่ 4 การอนุรักษแ ละพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม เร่อื งท่ี 5 ปรากฏการณท างธรณีวิทยาทม่ี ผี ลกระทบตอ ชวี ติ และสงิ่ แวดลอม เรือ่ งที่ 6 ปรากฎการณภ าวะโลกรอนและผลกระทบจากตอ ชีวิตและส่งิ แวดลอม
91 บทท่ี 6 ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ ม เร่อื งท่ี 1 การเปล่ยี นแปลงแทนที่ของสิง่ มชี ีวิต การเปลีย่ นแปลงแทนท่ีของส่ิงมีชีวิต หมายถึง การเปล่ียนแปลงของชนิดหรือชุมชนใน ระบบนิเวศตามกาลเวลา โดยเริ่มจากจุดที่ไมมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูเลย จนกระท่ังเร่ิมมีสิ่งมีชีวิต กลุมแรกเกิดข้ึน ซ่ึงส่ิงมีชีวิตกลุมแรกจะเปนกลุมที่มีความทนทานสูง จากนั้นวิวัฒนาการไป จนถึงสง่ิ มีชวี ิตกลุมสดุ ทา ยท่ีเรยี กวา ชมุ ชนสมบรู ณ (Climax stage) การแทนท่ีของสงิ่ มชี วี ิต แบงไดเ ปน 2 ประเภท ดงั นี้ ประเภทท่ี 1 การเกิดแทนที่ขน้ั บกุ เบิก (Primary succession) ทีม่ า https://puengsawitree.files.wordpress.com/2013/05/15.jpg การเกดิ แทนทขี่ น้ั บุกเบิก จะเรม่ิ ขนึ้ ในพื้นทีท่ ่ีไมเ คยมสี ิง่ มชี ีวติ อาศยั อยูมากอ นเลย ซง่ึ แบงออกได 2 แบบ ไดแก แบบที่ 1 การเกิดแทนที่บนพนื้ ที่วา งเปลา บนบก มี 2 ลกั ษณะดว ยกันคอื ลักษณะที่ 1 การเกดิ แทนทบี่ นกอ นหนิ ที่วางเปลา ข้ันแรก เกิดส่ิงมีชีวิตเซลลเดียว เชน สาหรายสีเขียว หรือไลเคน บนกอนหิน หลังจากหินสึกกรอน และเจือปนดวยสารอินทรียของซากส่ิงมีชีวิตสะสมเพ่ิมข้ึน จากนั้นกจ็ ะเกดิ พชื จําพวกมอส ข้ันท่สี อง พืชท่ีเกดิ ตอมาเปนพวกหญา และพชื ลม ลกุ มอสจะหายไป
92 ขัน้ ทีส่ าม เกดิ ไมพมุ และตน ไมเขามาแทนที่ ซงึ่ จะเปน ไมโ ตเร็ว ชอบแดด ข้ันสุดทาย เปนขั้นที่สมบูรณ (climax stage) ตนไมไดวิวัฒนาการ ไปเปนไมใ หญ และมสี ภาพเปนปาท่อี ดุ มสมบรู ณ ลกั ษณะท่ี 2 การเกิดแทนทีบ่ นพนื้ ทรายที่วา งเปลา ขั้นแรก เปนประเภทไม-เลื้อย ทห่ี ยัง่ รากลงในบริเวณทช่ี น้ื ขั้นทีส่ อง เกิดเปน ลําตน ใตดนิ ท่ียาวและแตกก่งิ กา นสาขาไดไกล ขน้ั ทส่ี าม เกิดไมพ ุมและตนไมเ ขามาแทนท่ี ข้ันสดุ ทา ย เปน ขน้ั ทส่ี มบูรณ (climax stage) ตนไมไดวิวัฒนาการไป เปนไมใ หญ และมีสภาพเปน ปาทอ่ี ดุ มสมบูรณ
93 แบบที่ 2 การเกิดแทนทใี่ นแหลง นา้ํ เชน ในบอน้ํา ทะเลทราย หนอง บงึ ภาพการเปล่ยี นแปลงแทนที่ในสระนํ้าจนกลายเปนพ้ืนดิน ที่ ม า http://image.slidesharecdn.com/4-100718023306-phpapp02/95/4-31- 728.jpg?cb=1279420455 ข้ันแรก บริเวณพ้ืนกนสระหรือหนองนํ้านั้นมีแตพื้นทราย สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นคือ สิ่งมีชีวิตเล็กๆ เชน เเพลงกตอน สาหรา ยเซลลเ ดียว ตวั ออนของแมลงบางชนดิ ขัน้ ทส่ี อง เกดิ การสะสมอนิ ทรยี สารข้นึ บริเวณพ้ืนกนสระ จากน้ันก็จะเร่ิมเกิดพืชใตนํ้า ประเภท สาหราย และสัตวเ ลก็ ๆ ข้ันที่สาม มีอินทรียสารทับถมเพ่ิมมากขึ้น เกิดพืชมีใบโผลพนนํ้าเกิดข้ึน เชน กก ออ จากนั้นเกิดมีสตั วจาํ พวก หอยโขง กบ กุง หนอน ไสเ ดอื น ขน้ั ที่ส่ี อินทรยี สารทส่ี ะสมอยทู ่ีบริเวณกน สระเพิม่ มากขึ้น ทําใหส ระเกิดการตื้นเขินข้ึน ในหนา แลง กจ็ ะเกดิ ตนหญาข้ึน สตั วทอ่ี าศยั อยูใ นสระจะเปน สตั วป ระเภทสะเทินนา้ํ สะเทนิ บก ขั้นสุดทาย เปนขั้นสมบูรณ (climax stage) สระน้ําน้ันจะตื้นเขินจนกลายสภาพเปน พื้นดนิ ทาํ ใหเ กดิ การแทนทพี่ ืชบกและสตั วบ กและวิวฒั นาการจนกลายเปนปาไดใ นที่สดุ
94 ประเภทท่ี 2 การแทนทีส่ ิ่งมชี ีวติ ในข้ันทดแทน (Secondary succession) เปนการเกิดการแทนที่ของสิ่งมีชีวิตอ่ืนๆ ในพ้ืนท่ีเดิมที่ถูกเปล่ียนแปลงไป ซึ่งมีท้ังที่ เกิดขน้ึ เองโดยธรรมชาตแิ ละเกดิ จากมนุษย เชน บรเิ วณพื้นท่ีปาไมท่ีถูกโคนถาง ปรับเปนพื้นที่ เพาะปลูกหรือพ้นื ทปี่ าไมทีเ่ กิดไฟปา ท่ีมา http://images.slideplayer.com/26/8762837/slides/slide_10.jpg ลักษณะของ สง่ิ แวดลอ มเดมิ เปลี่ยนแปลงไป (condition change) การเปลี่ยนแปลง แทนที่ ส่ิงมีชีวิตที่เขามาอาศัยอยูนั้นมีการปรับตัวให เหมาะสม (adaptation) การคัดเลือกชนิดท่ีเหมาะสมเปนการคัดเลือก โดยธรรมชาติ (natural selection)
95 รปู แบบของการเปลย่ี นแปลงแทนที่มี 2 รปู แบบ รูปแบบท่ี 1 degradtive succession เปนการแทนท่ีโดยอินทรียวัตถุซากส่ิงมีชีวิต ตาง ๆ ถกู ยอ ยใชไปโดยสัตวกินซาก และจุลินทรีย รูปแบบที่ 2 autotrophic succession เปนการแทนที่ของส่ิงมีชีวิตท่ีสรางอาหาร ขน้ึ เอง และพัฒนาเปนสงั คมใหม ปจ จัยที่ทําใหเ กดิ กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่มี 3 ปจจัยดังนี้ ปจจัยท่ี 1 Facilitation คือ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพทําใหเหมาะสมกับ ส่งิ มีชีวิตชนิดใหมท ่ีจะเขา มาอยไู ด จึงเกดิ การแทนทีข่ ้ึน ปจจัยท่ี 2 Inhibition เปน การแทนท่ีหลังจากการรบกวนทางธรรมชาติ หรือการตาย ของสปชสี เ ดมิ เทา น้นั ปจจัยท่ี 3 Tolerance เปนการแทนท่ีเน่ืองจากสปชีสที่บุกรุกเขามาใหมสามารถทน ตอระดบั ทรัพยากรทีเ่ หลอื นอยแลว น้นั ได และสามารถเอาชนะสปช ีสกอ นนไ้ี ด เรือ่ งท่ี 2 ทรพั ยากรธรรมชาติ (Natural resources) ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources) หมายถึง สิ่งที่ปรากฏอยูตามธรรมชาติหรือ สิ่งท่ีขึ้นเอง อํานวยประโยชนแกมนุษยและธรรมชาติดวยกัน ถาสิ่งนั้นยังไมใหประโยชนตอ มนุษยกไ็ มถอื วา เปนทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ แบง ไดเปน 4 ประเภท 1. ทรพั ยากรธรรมชาติทใ่ี ชแลว ไมห มดสนิ้ (Inexhaustible natural resources) มี 2 ประเภท 1) ประเภทที่คงสภาพเดิมไมเปลี่ยนแปลง (Immutable) ไดแก พลังงานจาก ดวงอาทติ ย ลม อากาศ ฝนุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317