Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาศาสตร์ พว31001 ระดับ ม.ปลาย

วิทยาศาสตร์ พว31001 ระดับ ม.ปลาย

Published by สกร.อำเภอหลังสวน, 2020-01-03 00:32:53

Description: วิทยาศาสตร์ พว31001 ระดับ ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

296 เฉลยกิจกรรมทายบทที่ 2 1. โครงงานวทิ ยาศาสตรมกี ีป่ ระเภท จงอธิบาย ตอบ โครงงานวทิ ยาศาสตร มี 4 ประเภท 1. โครงงานประเภทสาํ รวจรวบรวม ผูทําโครงงานเพยี งตองการสาํ รวจและรวบรวมขอมูล แลว นาํ ขอ มูลน้ันมาจําแนกเปนหมวดหมู และนําเสนอในรูปแบบตางๆ เพ่ือใหเห็นลักษณะหรือความสัมพันธใน เร่ืองที่ตองการศึกษาไดช ัดเจน 2. โครงงานประเภททดลอง เปน โครงงานท่มี ีการออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาของตัวแปรหนึ่ง ท่ีมีตอแปรอีกตัวหน่ึงท่ีตองการศึกษา โดยควบคุมตัวแปรอื่นๆ ที่อาจมีผลตอตัวแปรที่จะตองการศึกษา เอาไว 3. โครงงานประเภทการพัฒนาหรือประดิษฐ เปนโครงงานท่ีเก่ียวกับการประยุกตทฤษฎีหรือ หลักการทางวทิ ยาศาสตรมาประดิษฐ เคร่ืองมือ เครอื่ งใช หรืออุปกรณ เพ่ือประโยชนใชสอยตางๆ ซึ่งอาจ เปน การคดิ ประดษิ ฐส ่ิงของใหม หรือปรบั ปรงุ เปล่ยี นแปลงของเดมิ ท่มี อี ยแู ลว ใหมีประสทิ ธภิ าพสูงข้นึ ก็ได 4. โครงงานประเภทการสรางทฤษฎีหรืออธิบาย เปนโครงงานเกี่ยวกับการนําเสนอ ทฤษฎี หลกั การ หรอื แนวความคิดใหมๆ ซึ่งอาจอยูใ นรูปของสูตร สมการ หรอื คาํ อธิบายโดยผูเสนอไดตั้งกติกาหรือ ขอ ตกลงเอง แลวเสนอทฤษฎี หลักการแนวความคิด หรือจินตนาการของตนเองตามกติกา หรือขอ ตกลงนัน้ 2. ขน้ั ตอนการทาํ โครงงานวิทยาศาสตรม ีอะไรบาง จงอธิบาย ตอบ ข้นั ตอนท่ี 1 การคดิ และเลอื กหวั เร่ือง เปนการหาหัวขอ ในการทดลอง ในการทีจ่ ะอยากรู อยากเหน็ ข้ันตอนท่ี 2 การศึกษาเอกสารที่เก่ียวของรวมไปถึงการขอคําปรึกษา หรือขอมูลตางๆจาก ผทู รงคุณวฒุ ิท่ีเก่ยี วขอ ง ข้ันตอนท่ี 3 การเขยี นเคาโครงของโครงงาน ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติโครงงาน เปนการดําเนินงานตามแผน ท่ีไดกําหนดไวในเคาโครงของ โครงงาน และตองมีการจดบันทึกขอมูลตางๆไดอยางละเอียด และตองจัดทําอยางเปนระบบ ระเบียบ เพ่ือท่จี ะไดใ ชเปน ขอมูลตอไป ขน้ั ตอนที่ 5 การเขียนรายงาน ควรใชภ าษาท่เี ขาใจงาย กระชบั ชัดเจน และครอบคลมุ ประเด็น สําคญั ของโครงงาน โดยสามารถเขยี นใหอ ยใู นรูปตางๆ เชน การสรปุ รายงานผล ซึง่ ประกอบไปดวยหัวขอ ตา งๆ เชน บทคัดยอ บทนํา เอกสารท่เี กีย่ วขอ ง

297 ขั้นตอนท่ี 6 การแสดงผล การแสดงผลงาน เปนการนําเสนอผลงาน สามารถจัดไดหลาย รูปแบบ เชน การจัดนิทรรศการ หรือทําเปนสิ่งตีพิมพ การสอนแบบเพื่อนสอนเพ่ือน ตามแตความ เหมาะสมของโครงงาน 3. การเขียนรายงานโครงการวทิ ยาศาสตร มีขั้นตอนอยางไร จงอธิบาย ตอบ 1. ช่ือโครงงาน เปนส่ิงสําคัญประการแรก เพราะชื่อโครงการจะชวยโยงความคิดไปถึง วัตถปุ ระสงคของการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร และควรกําหนดชื่อโครงการใหสอดคลองกับวัตถุประสงค หลกั ดวย 2. ชือ่ ผูจัดทําโครงงาน การเขยี นชอ่ื ผรู ับผิดชอบโครงงานวทิ ยาศาสตร เปน ส่ิงดีเพื่อจะไดทราบ วา โครงงานนัน้ อยใู นความรบั ผดิ ชอบของใครสามารถตดิ ตามไดทีใ่ ด 3. ชอ่ื อาจารยท่ีปรึกษาโครงงานการเขียนช่ือผูใหคําปรึกษาควรใหเกียรติยกยองและเผยแพร รวมท้ังขอบคุณท่ไี ดใหค ําแนะนําการทาํ โครงงานวิทยาศาสตรจ นบรรลุเปาหมาย 4. บทคดั ยอ อธิบายถงึ ทมี่ าและความสาํ คัญของโครงงาน วัตถปุ ระสงค วิธีดําเนินการและผลท่ี ไดตลอดจนขอ สรปุ ตางๆ อยางยอ ประมาณ 300-350 คํา 5. กิตตกิ รรมประกาศ (คําขอบคณุ ) สว นใหญโครงงานวทิ ยาศาสตรมกั จะเปนกิจกรรมที่ไดรับ ความรวมมือจากหลายฝายดังนั้นเพ่ือเปนการเสริมสรางบรรยากาศของความรวมมือ จึงควรไดกลาว ขอบคุณบุคลากรหรือหนว ยงานตาง ๆ ทีม่ ีสวนชว ยใหโครงงานนีส้ ําเร็จดวย 6. ที่มาและความสําคัญของโครงงาน ในการเขียนที่มาและความสําคัญของโครงงาน วทิ ยาศาสตร ผทู ําโครงงานจําเปนตองศึกษา หลักการทฤษฎีเก่ียวกับเร่ืองที่สนใจจะศึกษา หรือพูดเขาใจ งาย ๆ วาเรอื่ งท่ีสนใจจะศึกษาน้นั ตองมีทฤษฎแี นวคิดสนับสนุน 7. วัตถุประสงคของการทําโครงงาน เปนการกําหนดจุดมุงหมายปลายทางท่ีตองการใหเกิด จากการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร ในการเขียนวัตถุประสงค ตอ งเขยี นใหช ัดเจน อา นเขา ใจงายสอดคลอ งกับ ช่ือโครงงาน หากมีวัตถุประสงคหลายประเด็น ใหระบุเปนขอๆ การเขียนวัตถุประสงคมีความสําคัญตอ แนวทาง การศึกษา ตลอดจนขอความรูท่ีคนพบหรือสิ่งประดิษฐที่คนพบนั้นจะมีความสมบูรณครบถวน คอื ตอ งสอดคลองกบั วัตถปุ ระสงคทุกๆ ขอ 8. สมมติฐานของการศึกษา เปนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ผูทําโครงงานตองให ความสําคญั เพราะจะทาํ ใหเ ปนการกาํ หนดแนวทางในการออกแบบการทดลองไดช ดั เจนและรอบคอบ ซึ่ง สมมติฐานกค็ ือ การคาดคะเนคําตอบของปญหาอยางมีหลักและเหตุผล ตามหลักการ ทฤษฎี รวมท้ังผล การศึกษาของโครงงานที่ไดท ํามาแล

298 9. ขอบเขตของการทําโครงงาน ผทู ําโครงงานวทิ ยาศาสตร ตองใหความสําคัญตอการกําหนด ขอบเขตการทาํ โครงงาน เพือ่ ใหไดผลการศึกษาที่นาเช่ือถือ ซึ่งไดแก การกําหนดประชากร กลุมตัวอยาง ตลอดจนตัวแปรทศ่ี กึ ษา 10. วิธดี ําเนนิ การ เปน วิธกี ารท่ชี ว ยใหงานบรรลุตามวตั ถุประสงคของการทําโครงงานตั้งแตเริ่ม เสนอโครงการกระทงั่ สิ้นสุดโครงการ 11. ผลการศึกษาคน ควา นําเสนอขอมูลหรือผลการทดลองตาง ๆ ที่สังเกตรวบรวมได รวมทั้ง เสนอผลการวเิ คราะหขอ มูลท่วี ิเคราะหไ ดดว ย 12. สรปุ ผลและขอเสนอแนะ อธบิ ายผลสรปุ ทไ่ี ดจากการทําโครงงาน ถา มีการ ตงั้ สมมติฐาน ควรระบุดว ยวา ขอมูลทีไ่ ดส นบั สนนุ หรือคัดคา นสมติฐานท่ีต้ังไว หรอื ยังสรุปไมได นอกจากนี้ ยงั ควรกลาวถึงการนําผลการทดลองไปใชประโยชน อปุ สรรคของการทําโครงงานหรือขอ สงั เกตทสี่ ําคญั หรอื ขอ ผิดพลาดบางประการทเี่ กิดขึน้ จากการทาํ โครงงานน้ี รวมทั้งขอเสนอแนะเพอื่ การปรับปรงุ แกไ ข หากมีผู ศกึ ษาคน ควา ในเรือ่ งที่ทํานองนต้ี อ ไปในอนาคตดว ย 13. เอกสารอางอิง เอกสารอางอิง คือ รายช่ือเอกสารที่นํามาอางอิงเพื่อประกอบการทํา โครงงานวทิ ยาศาสตร ตลอดจนการเขียนรายงานการทําโครงงานวิทยาศาสตร ควรเขียนตามหลักการท่ี นยิ มกนั 4. จงอธิบายวธิ ีการนาํ เสนอโครงงานวทิ ยาศาสตร ตอบ การนาํ เสนอผลงานโครงงานวทิ ยาศาสตร อาจทําไดใ นแบบตาง ๆ กนั เชน การแสดงในรูป นิทรรศการ ซง่ึ มที ้งั การจดั แสดงและการอธบิ ายดว ยคาํ พูด หรือในรูปแบบของการรายงานปากเปลาไมวา การนําเสนอผลงานจะอยูในรูปแบบใด ควรครอบคลุมประเด็นสําคัญคือ มีความชัดเจน เขาใจงายและมี ความถูกตองในเนอื้ หา การแสดงผลงานนัน้ อาจทาํ ไดห ลายรปู แบบ เชน การแสดงในรปู นิทรรศการ ซง่ึ มที ้ังการจัดแสดง และการอธบิ ายดวยคําพูด หรือในรูปแบบของการจัดแสดงโดยไมมีการอธิบายประกอบหรือในรูปแบบของ การรายงานปากเปลา ไมวาการแสดงผลงานจะอยูในรูปแบบใด ควรจัดทําใหครอบคลุมประเด็นสําคัญ ดังตอไปนี้ 1. ช่อื โครงงาน 2. ชอ่ื ผูทาํ โครงงาน 3. ชื่ออาจารยท ป่ี รึกษาโครงงาน 4. ความเปนมาและความสาํ คญั ของโครงงาน 5. วธิ ดี าํ เนินการ

299 6. การสาธิตหรอื แสดงผลท่ไี ดจากการทดลอง 7. ผลการสังเกตและขอ มูลเดน ๆ ทไ่ี ดจ ากการทําโครงงาน 5. จงอธิบายถึงประโยชนทไ่ี ดรบั จากการทําโครงงานวิทยาศาสตร ตอบ โครงงานวิทยาศาสตรม คี วามสาํ คัญและกอประโยชนโ ดยตรงแกผูเรียนโดยตรงเปนการฝก ใหผ เู รยี นรูจักศกึ ษาคนควา ดวยตนเอง สรางความสัมพนั ธอ นั ดกี ับครกู ับเพื่อนรว มงาน รจู ักทาํ งานอยางเปน ระบบใชวธิ ีการทางวิทยาศาสตรใ นการแกปญหาและใชเวลาวางใหเปนประโยชน เฉลยกจิ กรรมทายบทที่ 3 1. ค. ไมโทคอนเดรีย 2. ง. แวคิวโอล 3. ค. สะสมโปรตีนเพ่ือสงออกนอกเซลล 4. ข. ไรโบโซม 5. ก. การคายน้าํ 6. ง. ถกู ตองขอ 7. ง. ไต 8. ง. ถกู ทกุ ขอ 9. ก. 2 ประเภท 10. ก. 2 แบบ เฉลยกิจกรรมทา ยบทที่ 4 1. ข 2. ข 3. ข 4. ก 5. ง 6. ข 7. ง 8. ค 9. ค

300 เฉลยกจิ กรรมทา ยบทที่ 5 1. จงบอกประโยชนข องเทคโนโลยีชวี ภาพ 1. ดานการเกษตร - การผสมพันธสุ ตั วและการปรบั ปรงุ พนั ธุสัตว - การปรับปรุงพนั ธุพชื และการผลิตพืชพันธใุ หม - การควบคมุ ศัตรพู ชื โดยชวี วธิ ี 2. ดา นอุตสาหกรรม - การถา ยฝากตัวออน - การผสมเทยี มสตั วบกและสตั วน ้ํา - พันธุวิศวกรรม - ผลติ ฮอรโมนเรง การเจรญิ เตบิ โตของสัตว - ผลิตสัตวแปลงพันธใุ หม ลี กั ษณะโตเร็ว เพ่มิ ผลผลติ 3. ดา นการแพทย - การใชย ีนบําบัดโรค - การตรวจวนิ ิจฉัยหรอื ตรวจพาหะจากยนี เพ่อื ตรวจสอบโรคธาลสั ซีเมยี - การใชประโยชนจ ากการตรวจลายพิมพจากยนี ของสง่ิ มีชวี ติ 4. ดา นอาหาร - เพม่ิ ปรมิ าณเนอื้ สตั วทงั้ สตั วบ กและสัตวนาํ้ สตั วบ ก - เพม่ิ ผลผลิตจากสตั ว - เพิ่มผลิตภณั ฑทแี่ ปรรปู จากผลผลิตของสัตว 5. ดานส่งิ แวดลอ ม - การใชจุลนิ ทรียช ว ยรกั ษาสภาพแวดลอ ม - การคน หาทรพั ยากรธรรมชาติมาใชป ระโยชนแ ละการสรา งทรัพยากร 6. ดา นการผลติ พลงั งาน - แหลงพลังงานทไ่ี ดจากชีวมวล คอื แอลกอฮอลช นดิ ตา งๆ 2. จงบอกผลกระทบของเทคโนโลยีชวี ภาพ 1. สามารถนําไปใชผ ลติ เชอ้ื โรคชนิดรา ยแรงเพอ่ื ใชใ นสงครามเช้อื โรค 2. สามารถนําสารพันธกุ รรมของพชื จากประเทศกาํ ลังพฒั นาเพื่อหวังผลกาํ ไร

301 3. จงบอกการนาํ เทคโนโลยีชีวภาพไปใชป ระโยชนใ นชวี ติ ประจาํ วัน 1. การผลิตอาหาร เชน น้าํ ปลา ปลารา ปลาสม ผกั ดอง 2. การผลิตผงซักฟอกชนดิ ใหมทีม่ ีเอนไซม 3. การทาํ ปุย จากวสั ดุเหลือทงิ้ เชน เศษผกั อาหาร ฟางขา ว 4. การแกไขปญ หาสิ่งแวดลอม เชน การใชจ ลุ ินทรียใ นการกาํ จัดขยะ 5. การแกไ ขปญหาพลงั งาน เชน การผลติ แกซ โซฮอล 6. การเพมิ่ คุณคาผลผลิตของอาหารเชน การปรบั ปรงุ คุณภาพน้ํามนั ในพชื คาโนลา 7. การทาํ ผลิตภณั ฑจากไขมนั เชน นม เนย นํา้ มัน 8. การรกั ษาโรค และบํารงุ สขุ ภาพ เชน สมุนไพร เฉลยกจิ กรรมทายบทที่ 6 1. ง 2. ก 3. ง 4. ข 5. ค 6. ก 7. ก 8. ก 9. ค 10. ก เฉลยกิจกรรมทายบทที่ 7 1. ข 2. ก 3. ก 4. ง 5. ค 6. ง 7. ง 8. ค 9. ก 10. ง เฉลยกจิ กรรมทายบทท่ี 8 1. ก 2. ง 3. ข 4. ง 5. ข 6. ง 7. ข 8. ก 9. ก 10. ค เฉลยกจิ กรรมทายบทที่ 9 1. ข 2. ข 3. ง 4. ง 5. ง 6. ข 7. ข 8. ข 9. ก 10. ข 11. ง 12. ข

302 เฉลยกิจกรรมทา ยบทท่ี 10 1. ค 2. ก 3. ก 4. ง 5. ก 6. ข 7. ก 8. ข 9. ง 10. ง เฉลยกิจกรรมทายบทที่ 11 กจิ กรรมการทดสอบหาคาความเปนกรด-เบส (pH) ของสารเคมที ใี่ ชใ นชวี ิตประจาํ วัน ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง ผลการทดสอบคา ความเปนกรด-เบส (pH) ของสารเคมที ใ่ี ชในชวี ติ ประจําวนั ชนดิ ของสารเคมี คากรด-เบส pH การเปลี่ยนสีของกระดาษลติ มัส สแี ดง สีนาํ้ เงิน 1. น้ําอัดลม 3 ไมเ ปลยี่ นสี เปลยี่ นเปน สีแดง 2. นาํ้ มะนาว 2-3 ไมเ ปลย่ี นสี เปลีย่ นเปน สีแดง 3. นาํ้ สม สายชู 1-2 ไมเ ปลย่ี นสี เปลี่ยนเปน สีแดง 4. น้ํายาลางหอ งนํา้ 1 ไมเปลยี่ นสี เปล่ยี นเปนสแี ดง 5. นํ้าเปลา 7 ไมเปล่ยี นสี ไมเปลยี่ นสี 6. น้ําเช่ือม 7 ไมเปลย่ี นสี ไมเปลยี่ นสี 7. สารละลายสบู 8 เปลย่ี นเปนสีนํา้ เงิน ไมเ ปล่ยี นสี 8. สารละลายยาสฟี น 8 เปล่ียนเปนสีน้าํ เงิน ไมเ ปล่ียนสี 9. สารละลายยาสระผม 8 เปลีย่ นเปนสนี า้ํ เงนิ ไมเปล่ยี นสี 10. สารละลายน้ําปูนใส 12 เปลย่ี นเปน สีน้ําเงิน ไมเ ปลีย่ นสี

303 คาํ ถามจากการทาํ กิจกรรม 1. จงเรียงลาํ ดับสารเคมีทม่ี คี า กรด-เบส (pH) จากนอยไปหามากพรอ มบอกคา pH น้าํ ยาลางหอ งนา้ํ pH=1 นา้ํ สมสายชู pH=1-2 นา้ํ มะนาว pH=2-3 น้ําอดั ลม pH=3 . นา้ํ เชื่อม pH=7 นํ้าเปลา pH=7 สารละลายยาสระผม pH=8 สารละลายสบู pH=8 . สารละลายยาสีฟน pH=8 สารละลายนา้ํ ปนู ใส pH=12 . 2. มีสารละลายใดบางท่ีเปนกรด และสารละลายใดบางที่เปนเบส นักศึกษาทราบ ไดอยางไร จงอธบิ าย เปนกรด ไดแก นํา้ อัดลม นํา้ มะนาว นํ้าสมสายชู น้าํ ยาลา งหอ งนาํ้ . เปน เบส ไดแก สารละลายสบู สารละลายยาสีฟน สารละลายยาสระผม นาํ้ ปูนใส . เปนกลาง ไดแก น้ําเปลา น้ําเช่อื ม . ดจู ากคา กรด-เบส (pH) ถา มคี า pH นอยกวา 7 เปน กรด ถามีคา pH มากกวา 7 เปน เบส . และสารทมี่ คี า pH = 7 เปนกลาง . 3. นักศึกษาคิดวาจากการทํากิจกรรมการทดสอบคากรด-เบสของสารเคมีท่ีใชในชีวิตประจําวัน สามารถนําไปใชใ นชีวติ ประจาํ วันไดอยางไร การใชสารท่ีฤทธ์ิเปนกรดในชีวิตประจําวันจะตองใชอยางระมัดระวัง โดยเฉพาะภาชนะที่ นํามา บรรจสุ ารละลายที่มีฤทธ์ิ เปนกรด เชน นํ้าสมสายชู นํ้ามะนาว นํ้ามะขามเปยก ควรใชภาชนะท่ีเปนแกว หรอื กระเบอื้ งเคลือบไมควรใชภาชนะบรรจุท่ีเปนโลหะและพลาสติก เนื่องจากกรดสามารถกัดกรอนโลหะ สงั กะสี อลูมเิ นียม และสแตนเลสได . สารที่มีฤทธิ์เปนดางตองใชดวยความระมัดระวัง และใชใหถูกวิธี เชนผงซักฟอกไมควร นํามาใชลางจาน เพราะอาจจะมีสารเคมีตกคางจากผงซักฟอกซึ่งอาจเปนอันตรายเมื่อบริโภค เขาไป และไมควรนํามาใชสระผม เพราะดางมีฤทธ์ิกัดกรอนโปรตีนทําใหเกิดการอักเสบอยางรุนแรงได เชน กัน . นอกจากน้กี ารใชสารปรงุ แตง อาหาร เราตองแนใจวาสารนั้นไมมีอันตราย เพราะผูผลิตบางรายนํา กรดกํามะถันซึ่งเปนกรดท่ีมีฤทธิ์กัดกรอนสูงมาเจือจางดวยน้ําแลวนํามาปลอมปนขายแทนนํ้าสมสายชู เม่อื บริโภคเขาไปจะทําใหส ารเคลือบฟน ถูกกดั กรอ นกระเพาะอาหารและลําไสจะถกู กรดกัดกรอนเปนแผล ดงั นั้น การใช มะขามหรือนํ้ามะนาวมาปรุงแตงรสเปร้ียวของอาหารแทนนํ้าสมสายชูจะมีความปลอดภัย มากกวา .

304 เฉลยกิจกรรมทายบทท่ี 12 1. แรง (Force) หมายถึง ส่ิงท่ีมากระทําหรือพยายามกระทําตอวัตถุแลวทําใหวัตถุเกิดการ เปลีย่ นแปลงสภาพ เชน ถามแี รงมากระทาํ กบั วตั ถซุ งึ่ กําลังเคลอื่ นท่ี อาจทาํ ใหวตั ถนุ ้นั เคลอื่ นที่เรว็ ขึ้น ชา ลง หรอื หยุดนง่ิ หรือเปลยี่ นทิศทาง แรงเปนปริมาณเวกเตอร คือ ตอ งบอกขนาดและทศิ ทาง มหี นว ยเปน นิวตนั (N) 2. ความเร็ว (Velocity) คือ อตั ราการเปลยี่ นแปลงการกระจัด หรอื การกระจดั ท่ีเปล่ยี นแปลงไป ในหนงึ่ หนว ยเวลา การกระจัด ( ⃑) เปน ปริมาณเวกเตอร มหี นวยเปน เมตรตอ วนิ าที (m/s) สวนอัตราเร็ว (Speed) คือ ระยะทางที่วัตถุเคล่ือนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา ใชสัญลักษณ คือ V เปน ปรมิ าณสเกลาร มหี นวยเปน เมตรตอ วินาที (m/s) 3. การกระจัด (Displacement) คือ ความยาวเสนตรงท่ีเชื่อมโยงระหวางจุดเริ่มตนและจุด สุดทายของการเคลอื่ นท่ี การกระจดั ใชส ญั ลักษณ ⃑ เปนปริมาณเวกเตอร มีหนว ยเปน เมตร (m) 4. แรงโนม ถวงและสนามโนมถว ง เมอื่ เราปลอ ยวัตถุ วตั ถจุ ะตกลงสูพ้ืน แสดงวามีแรงกระทําตอ วตั ถุ โดยแรงนั้นเกดิ จากแรงทีโ่ ลกดงึ ดูดวตั ถุ เรียกวา แรงโนมถวง (Gravitational force) และวัตถุอยูใน สนามของแรงโนมถวง เรียกสนั้ ๆ วา สนามโนมถว ง (Gravitational field) โดยสนามโนมถวงเปนปริมาณ เวกเตอร มที ศิ ทางเขา สูศูนยก ลางทเี่ ปนตน กาํ เนดิ สนาม เชน สนามโนม ถวงของโลกมีทศิ เขาสูศ นู ยก ลางของ โลก สว นสนามโนมถวงของดาวดวงใดก็มที ิศเขาสศู นู ยกลางของดาวดวงนั้น 5. วิธที ํา จากสมการ ⃑av = ∆⃑ ∆ ในทน่ี ้ี ∆v = 300 -0 = 300 กิโลเมตรตอชัว่ โมง = = 83 เมตรตอ วินาที ∆t = t2 – t1 = 30 – 0 = 30 วนิ าที ดงั นนั้ ⃑av = เมต รตอ วนิ าที วิน าที = 2.8 เมตรตอวนิ าที2 ความเรง เฉล่ียของเครอื่ งบิน เทา กับ 2.8 เมตรตอวินาที2

305 6. จงอธิบายการกําเนดิ เสยี ง เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุเสียงจะเคลื่อนท่ีออกจากแหลงกําเนิดของเสียง ทุก ทิศทาง.โดยเดินทางผา นตัวกลาง 3 ชนดิ คอื ของแข็ง ของเหลว และกา ซ 7. สมบตั ิของเสยี งมกี ่ีประการ ประกอบดว ยอะไรบา งจงอธิบาย สมบตั ิของเสยี ง ประกอบดวย 4 ประการ ไดแ ก การสะทอ น การหกั เห การแทรกสอด และการเลีย้ วเบน การสะทอ นของเสียง เสยี งเคลอื่ นทจี่ ากตัวกลางจะมกี ารสะทอนของคลน่ื เสียงเกดิ ขน้ึ การหักเหของเสยี ง การหักเหของคล่ืนเสียง คอื การเปล่ียนทศิ ทางการเคลอ่ื นท่ีของคล่นื เสียง เมอ่ื คลนื่ เสยี งเคลื่อนท่ีจากตัวกลางหนึง่ ไปอกี ตัวกลางหน่ึงทม่ี ีความหนาแนนตางกัน การแทรกสอด คอื ปรากฎการณที่คล่ืนเสยี ง 2 ขบวนเคลอื่ นที่เขามาในตัวกลางเดียวกัน เกดิ การรวมคลืน่ กันข้นึ ทาํ ใหเ กิดการเสริมกนั และหักลางกัน การเลี้ยวเบน คือ การท่ีคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปพบส่ิงกีดขวางแลวสามารถเคลื่อนที่ออม หลังสง่ิ กดี ขวางได 8. สมชายตะโกนในหุบเขาไดยินเสียงสะทอนกลับมาในเวลา 6 วินาที ขณะนั้นอุณหภูมิของ อากาศ 20 องศาเซลเซยี ส จงหาวา เสยี งเดินทางเปน ระยะทางเทาไร เสยี งเดินทางไป - กลบั ใชเ วลา 6 วนิ าที เสยี งเดนิ ทางเทยี่ วเดียวใชเ วลาเพยี งครงึ่ หน่งึ เวลา = 3 วนิ าที อัตราเร็วของเสียงในอากาศ เมือ่ อณุ หภมู ิ 20 องศาเซลเซียส 1. วธิ ีทํา อัตราเร็วของเสียงในอากาศใชส ูตร Vt = 331+0.6 t (t=อณุ หภมู ิ) แทนคา Vt (เวลา) = 331 + 0.6 t (อณุ หภมู )ิ Vt = 331 + 0.6 x 20 = 331 + 12 = 343 เมตรตอ วินาที (m/s) หาระยะทางทีเ่ สียงเดินทางเท่ียวเดียว ,เวลา (t) = 3 วินาที จากสมการ S = Vt แทนคา S = 343x3 S = 1,029 เมตร ตอบ ระยะทาง 1,029 เมตร

306 9.จงบอกประโยชนของพลงั งานเสียง 1.ประโยชนของเสียงทางดา นวศิ วกรรมอุตสาหกรรม 2.ประโยชนทางการแพทย 3.ประโยชนทางการประมง 10. จงบอกอนั ตรายที่เกดิ จากพลงั งานเสียง เสียงทีด่ ังเกิน 85 เดซิเบล (เอ) กอ ใหเกิดอันตรายได เฉลยกจิ กรรมทา ยบทที่ 13 ใหน ักศกึ ษารวมกันอภิปรายเร่อื งเทคโนโลยอี วกาศ ในหวั ขอตอ ไปน้ี 1. ความหมายของเทคโนโลยีอวกาศ ตอบ การนําความรทู ีไ่ ดจากการสํารวจสิ่งตา งๆทอี่ ยนู อกโลก และสํารวจโลกของเรามาใช ประโยชนก บั มนุษย โดยอาศัยความรูวิทยาศาสตรและอวกาศ ซงึ่ เกย่ี วกบั ดานดาราศาสตร และวิศวกรรม ควบคูกนั 2. ยานสํารวจอวกาศเปน พาหนะพรอมอปุ กรณและเครื่องมือทใ่ี ชออกไปสาํ รวจนอกโลก ซง่ึ จะแบง ออกเปนกป่ี ระเภท อะไรบา ง พรอมท้งั อธิบาย ตอบ 2 ประเภท คอื 1. ยานอวกาศท่ีไมมีมนุษยค วบคมุ อยบู นยาน สวนใหญส ํารวจ ดวง จันทร ดวงอาทิตย ดาวเคราะห หว งอวกาศระหวางดวงดาว เชน โครงการลูนา ออบเิ ตอรไ ป ถายภาพพื้นผวิ รอบดวงจนั ทร 2. ยานอวกาศที่มมี นุษยขับควบคมุ อยบู นยาน เชน โครงการ เมอคิวร่มี นุษยอ วกาศขนึ้ ไปโคจรรอบโลกคร้ังละ 1 คน โครงการเจมนิ ีมนุษยอวกาศขน้ึ ไป เชื่อมตอ กบั ยานลาํ อื่นครั้งละ 2 คน เปนตน 3. ใหนกั ศกึ ษาบอกถงึ ประโยชนข องเทคโนโลยีอวกาศ ของดาวเทยี มมา 3 ขอพรอ มทงั้ อธบิ ายมาพอ สังเขป ตอบ 1. ใชดาวเทียมส่อื สาร เช่ือมโยงถายทอดสญั ญาณไปยังสถานีภาคพ้ืนดินที่ทําการสงและ รับสัญญาณ ดาวเทียมไทยคมใชพัฒนาเครือขายการสื่อสาร และการกระจายเสียงและภาพ โทรทัศนข องประเทศไทย 2. การใชดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา สํารวจถายภาพการกอตัวของเมฆ วัดอุณหภูมิ ชั้น บรรยากาศของโลกเปน ประจาํ ทุกวัน

307 3. การใชดาวเทียมสาํ รวจทรัพยากร สํารวจถายภาพการใชท่ีดิน สํารวจพื้นที่เพาะปลูก และพน้ื ทปี่ า ไม สาํ รวจการประมงเพาะเลยี้ งสตั วนํ้าชายฝง สํารวจแหลงนํ้าและชลประทาน สาํ รวจ ธรณีวิทยา แหลง แร แหลง เชื้อเพลิงธรรมชาติ เปน ตน 4. เทคโนโลยีอวกาศมปี ระโยชนต อชีวติ ประจาํ วนั อยางไรบาง ตอบ 1. ชว ยในการตรวจสอบสภาพอากาศและสามารถวางแผนการดาํ เนนิ ชวี ิตประจาํ วนั ได 2. ดาวเทียมสอ่ื สารชว ยในการรบั - สง สัญญาณโทรศัพท และสญั ญาณโทรทัศน ทาํ ให เราสาสมารถรบั รขู าวสาร เหตกุ ารณท เ่ี กดิ ข้นึ ในปจ จบุ ัน ได 5. เหตุการณด า นอวกาศทสี่ ําคัญ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2529 เกิดเหตุการณอ ะไรขึ้น ตอบ เกิดโศกนาฏกรรมทางอวกาศกบั กระสวยอวกาศแชลเลนเจอรร ะเบิดแตกเปนเสย่ี ง ๆ 73 วินาทหี ลงั ออกบิน ทําใหส มาชิกลกู เรือทงั้ เจด็ คนเสียชีวิต เฉลยกิจกรรมทายบทท่ี 14 แนวคาํ ตอบการทดลองที่ 1 1. จากการทดลองการตอวงจรไฟฟา แบบอนุกรมพบวา - เมื่อทําการถอดหลอด LED ออก 1 หลอด พบวา หลอด LED ท่ีเหลือจะดับ 2. จากการทดลองผูเรียนสามารถอธิบายหลกั การทฤษฎี จากผลการทดลองไดอยา งไร - การตอวงจรแบบอนุกรม คือ การตอวงจรดวยอุปกรณไฟฟาต้ังแต 2 ตัวขึ้นไปเรียงตอกัน โดยกระแสไฟฟา จะไหลจากแหลง จายผานไปยังอุปกรณไฟฟาตัวท่ี 1 ผานอุปกรณไฟฟาตัวท่ี 2 และผาน ตัวตอ ๆ ไป จนกลับมาครบวงจรที่แหลงจายไฟ เมื่ออุปกรณตัวใดตัวหนึ่งขาดหรือหลุดจากวงจร จึงเปรียบเสมือนวาวงจรขาด กระแสไฟฟาไมสามารถไหลไดครบวงจร ทําใหอุปกรณท่ีเหลือในวงจร ไมส ามารถทาํ งานไดเชน กัน จากการทดลองเมอ่ื ทาํ การถอดหลอด LED ออก 1 หลอด จงึ เปนเหตุใหหลอด LED ทเ่ี หลือดบั แนวคําตอบการทดลองท่ี 2 1. จากการทดลองการตอวงจรไฟฟา แบบขนานพบวา - เม่อื ถอดหลอดไฟออกหนง่ึ หลอด หรอื ปด สวทิ ชบางตวั บนแผงสาธิต หลอดไฟทเ่ี หลือยงั คงตดิ อยู 2. จากการทดลองผเู รยี นสามารถอธิบายหลักการทฤษฎี จากผลการทดลองไดอยางไร - การตอวงจรแบบขนาน เม่อื อปุ กรณไฟฟา ตัวใดชํารดุ หรือหลดุ ออกจากวงจร อปุ กรณไฟฟา ท่ีเหลอื ยังสามารถทํางานได เนื่องจากกระแสในวงจรขนานไหลแยกกนั แตล ะวงจร

308 แนวคําตอบการทดลองที่ 3 1. จากการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบผสมพบวา - เมือ่ ทําการถอดหลอด LED หลอดท่ี 1 หรอื 2 ออก พบวา หลอด LED ทเ่ี หลือยังคงติดอยู - เมือ่ ทําการปลดหลอด LED หลอดท่ี 3 ออก หลอด LED ท่ีเหลือดบั 2. จากการทดลองผูเ รยี นสามารถอธิบายหลกั การทฤษฎี จากผลการทดลองไดอยา งไร - วงจรไฟฟาแบบผสม คือ การตอวงจรไฟฟารวมกันระหวางวงจรไฟฟาแบบอนุกรมและ วงจรไฟฟา แบบขนาน - จากการทดลอง เมื่อปลดหลอด LED หลอดที่ 1 หรือ 2 ออกพบวา หลอด LED ท่ีเหลือ ยังคงสวา งอยู เนอ่ื งจากเปน สวนของวงจรขนาน ซ่งึ กระแสไฟฟาสามารถไหลครบวงจรได แตเ ม่ือ ทําการปลดหลอด LED หลอดท่ี 3 ออก พบวาหลอด LED ท่ีเหลือดับทุกหลอด เน่ืองจาก เปนสว น ของวงจรอนกุ รม ทาํ ใหก ระแสไฟไมสามารถไหลไดครบวงจร

309 ทีป่ รกึ ษา คณะผูจดั ทาํ นายสรุ พงษ จาํ จด นางตรีนุช สขุ สุเดช เลขาธิการ กศน. นายวมิ ล ชาญชนบท ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศึกษา กศน. ด.ต.ชาตวิ ุฒิ เพช็ รนอ ย ผูอานวยการ สถาบัน กศน. ภาคกลาง รองผอู านวยการ สถาบนั กศน. ภาคกลาง ผูส รปุ เนื้อหา ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ครู(สาขาเคม)ี นายเชวงศักด์ิ มาโชค สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา นางสาวจตุพร เกาะเกตุ ครูอาสาสมัคร(สาขาชวี วทิ ยาประยุกต) นางสาวอรุณรัตน จิตรม่ัน สํานกั งาน กศน. จังหวัดประจวบคีรขี ันธ นางสาวจุรรี ัตน ผลงาม ครอู าสาสมัคร(สาขาชวี วิทยาประยุกต) นางสาวชดาพร ฤทธม์ิ ังกร สํานกั งาน กศน. จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ นางสาวปานทพิ ย แสงจันทร ครู กศน.ตาํ บล(วทิ ยาศาสตรส ่งิ แวดลอ ม) นางสาวจุรพี ร ไปไล สํานกั งาน กศน. จงั หวดั ปทุมธานี นางสาวณัฐชดุ า บตุ รศรี ครู กศน.ตําบล(วิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม) นางกมลรัตน กรรณสูต สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดปทมุ ธานี นางสาวอรณสั ภ บรรจงจดั ครู กศน.ตาํ บล(สาขาชวี วิทยา) สํานักงาน กศน. จงั หวดั ปทุมธานี ครู กศน.ตาํ บล(สาขาชีววิทยาประยกุ ต) สาํ นกั งาน กศน. จังหวดั ปทุมธานี ครู กศน.ตาํ บล(สาขาเคม)ี สาํ นักงาน กศน. จงั หวัดปทมุ ธานี ครู กศน.ตําบล(สาขาอารกั ขาพชื เอกโรคพชื วิทยา สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดสุพรรณบุรี ครู กศน.ตาํ บล(สาขาเคมี) สาํ นักงาน กศน. จงั หวดั ปทมุ ธานี

310 ผสู รปุ เน้อื หา ผตู รวจและบรรณาธกิ าร(ตอ) นายทรงพล รงั ผง้ึ ครู กศน.ตําบล(สาขาเกษตร-พืชศาสตร) สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา นางสาวเกษสวุ รรณ ทองเดอื น ครู กศน.ตําบล(สาขาเคมอี ตุ สาหกรรม) สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา นางสาวปนดั ดา จาํ นงคศิลป ครู กศน.ตาํ บล(สาขาวิทยาศาสตรท ว่ั ไป) สํานกั งาน กศน. จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา นายธนพล สมภกั ดี ครู กศน.ตําบล(สาขาวิทยาศาสตรท่ัวไป) สํานักงาน กศน. จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา นายสุทธิ ปราศรัย ครู กศน.ตําบล(สาขาการไฟฟา ) สํานักงาน กศน. จังหวดั สมุทรสาคร ผพู มิ พต น ฉบับ นางสาวอรณุ โรจน ทองงาม ครู สถาบัน กศน.ภาคกลาง นางสาวอรณุ วรรณ แสงทอง ครู สถาบนั กศน.ภาคกลาง นางสาวโชตกิ า ชยั ชนะ ครูผชู วย สถาบนั กศน.ภาคกลาง นางเหมอื นฝน ยองเพชร ครูผูช ว ย สถาบนั กศน.ภาคกลาง นายธนากร ไชยโพคา ครูผชู ว ย สถาบนั กศน.ภาคกลาง นางสาวเพญ็ ชลติ า ขาํ สุนทร เจา หนาทค่ี อมพิวเตอร สถาบัน กศน.ภาคกลาง ผอู อกแบบปก กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

311

312


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook