Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปี 2564

แผนปี 2564

Published by ary.thip, 2021-12-22 06:39:32

Description: แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2564

Keywords: สรุปผลโครงการ

Search

Read the Text Version



ข การอนุมัติแผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ 2564 กศน.ตำบลไร่ขิง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสามพราน เพื่อให้การ ส่ง เ สริ มการ จั ดก าร ศึกษ า บรรล ุเ ป้ าประ สง ค์ต าม ยุ ทธศ า สตร ์แ ละ จุด เ น้ น การดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสาม พราน และของกศน.ตำบลไร่ขงิ จงึ ได้จัดทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กศน. ตำบลไรข่ งิ ซงึ่ ประกอบด้วย ขอ้ มลู พื้นฐานของ กศน.ตำบลไรข่ ิง ข้อมูลพืน้ ฐานเพ่อื การวางแผน ทิศ ทางการดำเนินงาน รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ของ กศน. ตำบลไร่ขิง ซึ่งคณะกรรมการ กศน. ตำบลไรข่ ิง ได้พิจารณาเห็นชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กศน. ตำบลไรข่ งิ และไดน้ ำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังกล่าว ใช้ เป็นกรอบในการดำเนนิ งานของ กศน. อำเภอสามพรานต่อไป ทงั้ นี้ ตัง้ แต่ เดอื น ตลุ าคม 2563 ลงช่ือ.....................................................ผู้เห็นชอบ (นายจำรัส ตงั้ ตระกูลธรรม) ประธานคณะกรรมการ กศน.ตำบลไร่ขิง ลงช่อื ……….…………………………………ผู้อนุมัติ (นายสมมาตร คงชน่ื สนิ ) ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอสามพราน

ค คำนำ แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตำบลไร่ขงิ จัดทำขนึ้ เพอ่ื เปน็ แนวทาง ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 โดยยึด แนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม และยุทธศาสตร์และจุดเน้น การดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสามพราน ตลอดจนบรบิ ท ความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายในพ้นื ท่ีเพ่ือกำหนดเป็นแนวปฏบิ ัตแิ ละแนวทางในการดำเนินงาน กศน. ตำบลไรข่ งิ ให้ เป็นไปตามเป้าหมายที่ต้ังไว้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน. ตำบลไร่ขิง เล่มนี้ สำเร็จ ลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และผู้เกี่ยวข้องร่วมกันระดมความคิดเห็น โดยนำ สภาพปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรงุ เพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน. ตำบลไร่ขิง เพื่อสนองตอบความต้องการของประชาชนในพื้นที่ อย่างแทจ้ ริง คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน. ตำบลไร่ขิง เล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้การจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีคุณภาพตาม เป้าหมาย ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ต่อไป กศน. ตำบลไรข่ ิง ธนั วาคม 2563

ง บทสรปุ ผบู้ ริหาร ในการจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสามพราน กศน.อำเภอสามพราน เป็นสถานศึกษาที่จัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย โดยมีระบบประกันคุณภาพภายใน ที่ใช้หลักการบริหาร และปฏิบัติงานตามวงจรคุณภาพ PDCA รองรบั กระบวนการดำเนินงานที่ตอ้ งมีแผนปฏิบตั ิงานทช่ี ดั เจน บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษามี สว่ นรว่ มคดิ รว่ มทำ และรว่ มรบั ผดิ ชอบ กศน.อำเภอสามพราน ไดจ้ ดั ทำแผนปฏิบตั ิการประจำปี 2564 โดยการประชมุ บคุ ลากร เพอ่ื วิเคราะห์นโยบายสำคัญที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์และจุดเน้น การดำเนนิ งาน สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนักงานส่งเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดนครปฐม ยุทธศาสตรจ์ งั หวัดนครปฐม พร้อม ท้งั ได้นำข้อเสนอแนะจากการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ของ สมศ. ผลการประเมินคุณภาพ สถานศึกษาโดยต้นสังกัด และผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในปีงบประมาณ 2563 เป็น ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาและปรับปรุงผลการดำเนินงาน ภายใต้ทิศทางการดำเนินงานของ แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสามพราน พ.ศ. 2562 – 2565 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) ดังนี้ ปรัชญา เรยี นรู้ตลอดชวี ติ คิดเป็น เน้นพอเพียง วิสัยทัศน์ ภายในปี 2565 ผู้เรียน และผู้รับบริการของ กศน. อำเภอสามพราน ได้รับบริการ การศึกษาตลอดชีวิตที่มีมาตรฐาน สามารถดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่าย ชมุ ชน เกิดสงั คมแห่งเรียนรู้อยา่ งทั่วถงึ และเทา่ เทยี มกัน อตั ลกั ษณ์ เรยี นรู้ มจี ิตอาสา เอกลักษณ์ องค์กรแห่งการเรยี นรู้

จ พันธกจิ 1. จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้ผเู้ รียน และผรู้ ับบรกิ าร มี มาตรฐาน และสามารถดำเนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. พฒั นากระบวนการจดั การเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ทส่ี ง่ เสรมิ การเรียนร้ทู ี่เน้น ผ้เู รียนเป็นสำคัญ 3. พัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ทกั ษะในการออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั 4. พัฒนาหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการ และการ เปลี่ยนแปลงของสังคม 5. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการให้มีประสิทธิภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล และการ มีสว่ นรว่ มของภาคเี ครือขา่ ย ชมุ ขน 6. สง่ เสริมใหภ้ าคเี ครือข่าย ชุมชน ร่วมจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 7. รวบรวมองค์ความร้ใู นท้องถนิ่ และเผยแพร่ประชาสมั พันธ์สชู่ มุ ชน

ฉ เป้าประสงค์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์ 1. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม 1. ผู้เรยี นและผรู้ ับบรกิ ารมีความรู้ ทกั ษะ และมี อัธยาศยั ให้ผู้เรยี น และผู้รับบรกิ าร มมี าตรฐาน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามมาตรฐานที่ และสามารถดำเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของ สถานศกึ ษากำหนด เศรษฐกิจพอเพยี ง 2. พัฒนากระบวนการจดั การเรียนรู้ และส่อื การ 2. ผเู้ รยี นมีทกั ษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้ ทสี่ ่งเสรมิ การเรียนร้ทู เ่ี น้นผเู้ รียนเป็น กระบวนการคดิ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ สำคัญ ตอ่ การพัฒนาตนเองได้อยา่ งต่อเน่ือง 3. พฒั นาครผู สู้ อนใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะในการ 3. ครูผู้สอนมคี วามรู้ ทักษะในการออกแบบการ ออกแบบ การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู เ่ี นน้ ผู้เรียน จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญได้ เป็นสำคัญ อย่างมีคณุ ภาพ 4. ครผู ู้สอนมีความรู้ ทกั ษะในการจัดกิจกรรม การเรียนรูท้ ีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญไดอ้ ย่างมี คุณภาพ 4. พฒั นาหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาให้มีคุณภาพ 5. หลกั สูตรการจัดการศกึ ษามคี ุณภาพสอดคลอ้ ง สอดคลอ้ งกับความต้องการ และการเปลี่ยนแปลง กบั ความตอ้ งการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ของสงั คม 5. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสิทธภิ าพ 6. สถานศึกษามรี ะบบบริหารจัดการตามหลัก โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของ ธรรมาภิบาล ภาคเี ครือข่าย ชุมขน 6. สง่ เสรมิ ใหภ้ าคีเครือขา่ ย ชุมชน รว่ มจดั การ 7. ภาคีเครือข่าย ชุมชน ร่วมจัดการศกึ ษานอก ศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 7. รวบรวมองคค์ วามรู้ในท้องถ่นิ และเผยแพร่ 8. สถานศึกษาเปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้ ประชาสัมพนั ธ์สู่ชมุ ชน กลยุทธ์ 1. พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 2. พัฒนาบุคลากร 3. การบรหิ ารจัดการ โดยในแต่ละกลยุทธ์ได้กำหนดวตั ถุประสงคก์ ลยทุ ธไ์ ว้ดงั น้ี

ช โครงการทบ่ี รรจุในแผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ 2564 1. โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานสำหรบั คนพกิ าร 3. โครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น 4. โครงการจดั หาหนงั สอื เรียน 5. โครงการการศึกษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวิต 6. โครงการการศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน 7. โครงการการเรียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 8. โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน 9. โครงการสง่ เสรมิ การศึกษาตามอัธยาศัย (กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านของ กศน.ตำบล) 10. โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดิจิทัล 11. โครงการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของภาคเี ครอื ขา่ ยในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั 12. โครงการส่งเสริมบทบาทหน้าทข่ี องคณะกรรมการกศน.ตำบลไร่ขงิ 13. โครงการประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่องค์ความรู้ และกิจกรรม กศน.สชู่ มุ ชน รวมทั้งสิ้น 13 โครงการ ซึ่งความสำเร็จของโครงการ ดังกล่าว แสดงถึงความสำเร็จของ การดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

ซ สารบญั หนา้ การอนุมตั แิ ผนปฏบิ ัติการ.............................................................................................................. ก คำนำ............................................................................................................................................. ข บทสรปุ ผู้บรหิ าร............................................................................................................................ ค สารบัญ……………………………………………………………………………………..…………………………………… ช ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู พื้นฐานของ กศน. อำเภอสามพราน............................................................... 1 ความเปน็ มา................................................................................................................ 1 ท่ตี ้ัง……………………………………………………………………………………..………………………. 1 บทบาทหน้าที่ภารกจิ กศน. ตำบล............................................................................ 2 คณะกรรมการ กศน. ตำบล....................................................................................... 5 อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอา่ น........................................................................................ 6 บุคลากรใน กศน. ตำบล............................................................................................ 6 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานเพ่อื การวางแผน.................................................................................. 9 สภาพท่ัวไปของตำบล……………………………………………………………………………………. 9 ข้อมูลดา้ นประชากร……………………………………………………………………………………….. 12 ขอ้ มลู ดา้ นสงั คม เศรษฐกิจ.......................................................................................... 14 ข้อมูลดา้ นการศึกษา……………………………………………………………………………………….. 24 นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 2563...... 15 ยุทธศาสตรจ์ งั หวัดนครปฐม 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564)............................................. 31 สว่ นท่ี 3 ทิศทางการดำเนินงาน................................................................................................ 33 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กศน. อำเภอสามพราน (SWOT Analysis).................. 33 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน........................................................................ 33 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก..................................................................... 35 แนวทาง/กลยทุ ธ์การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ของ กศน.อำเภอสามพราน................................................................................... 36 ตารางแสดงโครงการตามพันธกิจ เปา้ ประสงค์และกลยทุ ธ์ ในปีงบประมาณ 2564.. 39 ตารางแสดงความสอดคลอ้ งของโครงการ ในปีงบประมาณ 2564 41 กบั มาตรฐาน ตัวบง่ ชีก้ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ................... 47 งบประมาณทไี่ ด้รบั การจดั สรร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564............................... 44

ฌ สารบญั (ตอ่ ) หนา้ ส่วนท่ี 4 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ.................................................................................. บญั ชสี รุปแผนการจดั กิจกรรมกลมุ่ เปา้ หมายและการใช้จา่ ยงบประมาณ ประจำปี 46 งบประมาณ พ.ศ. 2564.................................................................................................................. โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564....................................... 50 โครงการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน................................... 51 โครงการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐานสำหรับคนพิการ......... 75 โครงการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน................................................................................ 88 โครงการจัดหาหนังสือเรยี น..................................................................................... 110 โครงการการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต................................................................. 116 โครงการการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน........................................................ 123 โครงการการเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง…………………………………….. 132 โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน………………………………………………………………………… 140 โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศยั (กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นของ 150 กศน. ตำบล)…………………………………………………………………………………………… โครงการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมดจิ ิทัล............……………………………………………. 161 โครงการสง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ……………………………………………………………………….. 169 โครงการส่งเสรมิ บทบาทหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการกศน.ตำบลไร่ขงิ ......................... 174 โครงการประชาสมั พันธ์ เผยแพร่องค์ความรู้ และกิจกรรม กศน. สู่ชุมชน.............. 179 ภาคผนวก........................................................................................................................................... 184 คำสั่งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการจัดทำแผนปฏบิ ัติการ ประจำปงี บประมาณ 2564............... 185 คณะผู้จดั ทำ........................................................................................................................................

1 สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู พื้นฐาน กศน.ตำบลไรข่ ิง 1. ข้อมูลพน้ื ฐาน กศน.ตำบลไรข่ งิ 1.1 ทต่ี ้ัง/การติดตอ่ 51/4 หมู่ 2 ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม 73210 โทรศพั ท/์ มอื ถือ 089 – 6843024 e-mail. [email protected] ลักษณะอาคาร เปน็ เอกเทศ มีไฟฟ้าสอ่ งสว่าง ห้องนำ้ 3 หอ้ ง - ตทู้ ำน้ำเยน็ จำนวน 1 ตู้ - คอมพิวเตอร์ จำนวน 7 เครื่อง - เครอ่ื ง Print จำนวน 2 เครอื่ ง - โทรทัศน์ จำนวน 2 เคร่อื ง - เครื่องเลน่ จำนวน CD/DVD 1 เครื่อง - มรี ะบบ WiFi ตำบล - กล่องรบั สัญญาณดาวเทยี ม จำนวน 1 กลอ่ ง รูปภาพ กศน.ตาบลไรข่ งิ รปู ภาพ กศน.ตาบลไร่ขงิ 1.2 สงั กัด ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสามพราน สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั นครปฐม สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ 1.3 ประวัติ กศน.ตำบลไรข่ ิง เดมิ อาศัยอยู่ อาคารห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อำเภอสามพราน ชัน้ 2 ห้องการ เรียนรู้ ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม ตอ่ มา กศน ตำบลไร่ขงิ ได้ย้ายมาที่ 51/4 หมู่ 2 ตำบลไร่ขงิ อำเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม โดยจัดตงั้ ขึน้ ตามนโยบายของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพือ่ เป็นแหลง่ การเรียนรูส้ ำหรับประชาชนในระดับตำบล กศน.อำเภอสามพราน ไดข้ ออนมุ ตั เิ ชา่ ท่ีดิน ของวดั ไร่ขิง จำนวน 2 งาน และไดร้ ับจัดสรรงบประมาณ ปี 2554 แผนงาน: ขยายโอกาสและพัฒนา การศกึ ษา เพอื่ เปน็ ค่ากอ่ สรา้ ง กศน.ตำบลไรข่ งิ ปัจจบุ ันการกอ่ สรา้ งแล้วเสร็จ มกี ารจัดกศนงตำบลไร่ ขิงใหเ้ ป็นมุมคอมพวิ เตอร์ มมุ วิทยาศาสตร์ มุมรักการอา่ น มมุ ประชาธิปไตย มมุ สคบ. และอน่ื ๆ

2 บทบาทหนา้ ที่ภารกิจ กศน. ตำบล กศน.ตำบล เป็นหน่วยงานในสังกัด กศน.อำเภอ มีฐานะเป็นหน่วยจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนและการสร้างสังคมแห่งการ เรียนรูใ้ นชุมชน กศน.ตำบล มภี ารกิจที่สำคัญ ดังน้ี 1. จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน ชุมชน 2. สร้างและขยายภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยในชมุ ชน 3. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในชมุ ชนของ ภาคเี ครอื ข่าย ทงั้ ในแงข่ องความเขม็ แขง็ และความตอ่ เนื่องในการมสี ่วนรว่ มและศกั ยภาพในการจดั 4. จัดทำระบบข้อมลู สถิติ และสารสนเทศ เกี่ยวกับประชากรกลุ่มเปา้ หมายและผลการจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาและแผนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ทง้ั ในระดับชุมชนหรอื ระดบั จุลภาค ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และ ภาพรวมระดับประเทศของสำนักงาน กศน. 5. จดั ทำแผนงาน โครงการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจำปงี บประมาณ เพอื่ จดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหก้ ับประชาชนกลมุ่ เป้าหมายและชุมชน และ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามกรอบจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. สำนักงาน กศน.จังหวัด และ กศน.อำเภอ ที่สังกัดเพื่อการสนับสนุนงบประมาณจาก กศน.อำเภอ ท่ี สังกัด โดยในกรณีของการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ยึดค่าใช้จ่ายรายหวั ตามที่มตคิ ณะรฐั มนตรี กำหนดคูณด้วย จำนวนนักศึกษา 60 คน สำหรับกิจกรรมอื่นๆนั้น จัดทำแผนงาน โครงการเพื่อเสนอ ขอ งบประมาณให้ดำเนินการตามที่ไดร้ บั มอบหมายจาก กศน.อำเภอ 6. ประสานและเชื่อมโยงการดำเนินการจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนและภาคีเครือขา่ ยในตำบล โดยมีการประสานแผนการดำเนินงานภายในตำบลที่ รับผิดชอบและ กับ กศน.อำเภอท่ีสังกัดตามกรอบจุดเนน้ การดำเนนิ งานบนพื้นฐานของความเปน็ เอกภาพ ดา้ นนโยบายและความหลากหลายในการปฎิบตั ิ 7. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในความรับผิดชอบ ตามระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อรับรองการประกันคุณภาพภายนอกของ กศน.อำเภอ ที่ สังกัด 8. รายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ต่อ กศน.อำเภอ ท่ีสงั กดั ตามแผนหรือขอ้ ตกลงที่กำหนดไว้ 9. ปฏิบัติภารกจิ อ่นื ๆท่ดี รี บั มอบหมายจาก กศน.อำเภอ สำนักงาน กศน.จังหวัด หรือ สำนกั งาน กศน. และตามทก่ี ฎหมายกำหนด

3 กจิ กรรมหลกั ของ กศน. ตำบล การจัดตั้ง กศน. ตำบล มีความมุ่งหมายที่จะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนใน ชุมชน ดังน้นั จึงอาจแบ่งกิจกรรมหลกั ของ กศน. ตำบลไดด้ งั นี้ 1. ศูนยข์ อ้ มลู ขา่ วสารของชมุ ชน (Information Center) เปน็ แหล่งที่รวบรวมข้อมูลขา่ วสารต่างๆ ของ ชุมชน เชน่ ข้อมลู เกยี่ วกับจำนวนประชากร ขอ้ มลู ทางดา้ นภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ชมุ ชน ข้อมูลทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง การศึกษา สาธารณสุข ซึ่งเป็นข้อมูลเดียวกันกับของ องคก์ ารปกครองส่วนท้องถิ่น เปน็ สถานที่ทคี่ นท่ัวไปจะมาศึกษาข้อมูลพนื้ ฐานของชุมชนได้ในขณะเดียวกัน ก็จะให้ข้อมูลท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อการเรียนรู้อื่นๆ ด้วยเช่น ข้อมูลเกี่ยวกบั ภมู ิปัญญาท้องถิ่น ข้อมูลเกีย่ วกับ การประกอบอาชีพ การทำมาหากิน ในขณะเดียวกันก็จะเปน็ แหล่งกระจายขา่ วสารข้อมลู ของภาครฐั ผ่าน เสยี งตามสาย หรืออาจเป็นสถานีวทิ ยุชุมชน เพอื่ กระจายข้อมูลขา่ วสารของชมุ ชนดว้ ย 2. ศูนย์สร้างโอกาสการเรียนรู้ (Opportunity Center) เป็นสถานที่ที่จัดให้บริการเพื่อสร้างเสริม โอกาสเรียนรู้ที่ตอบสนองความต้องการของคนในชุมชน เช่น กิจกรรมศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน ( Fit it Center) ของวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาทป่ี ระชาชนสามารถมาใช้บริการซอ่ มอุปกรณไ์ ฟฟ้า วิทยุ เคร่อื งยนตข์ นาด เล็ก กจิ กรรมส่งเสริมคุ้มครองผ้บู ริโภค กจิ กรรมใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยแพทย์เคล่ือนที่ ฯลฯ ดงั น้ันกจิ กรรมนีจ้ งึ เปน็ เสมือนทนี่ ัดพบระหว่างประชาชนกับหน่วยใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ ของรฐั หรอื องค์กรอน่ื ๆ เพือ่ สรา้ งโอกาสการ เรยี นร้ขู องประชาชน 3. ศูนย์การเรียนชุมชน (Learning Center) เป็นสถานที่จัดกิจกรรมเรียนรู้ต่างๆ ที่ตอบสนองความ ต้องการของประชาชน เช่น การศึกษาเทียบเท่าการศึกษาข้ันพื้นฐานเพือ่ ยกระดับการศึกษาของประชากร วัยแรงงานซึง่ จัดโดย กศน. การศึกษานอกระบบที่จัดหลักสูตรการทำมาหากินในรูปของหลกั สูตรระยะส้ัน ต่างๆ รวมทั้งเป็นที่จัดฝึกอบรมประชาชนในหลักสตู รที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนต่างๆ และการ ถ่ายทอดความรู้ที่จำเปน็ สำหรับประชาชน เช่นการเรยี นรู้เกี่ยวกบั การอยู่ในประชาคมอาเซียน การเรียนรู้ เก่ยี วกบั การเป็นพลเมอื ง (Civic Education) การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ต้น นอกจากนย้ี งั จดั พนื้ ท่ีเป็นหอ้ งสมุดชุมชนเพื่อส่งเสรมิ การอ่านของประชาชน และจดั ใหม้ เี คร่อื งรบั โทรทัศน์ และรับสัญญาณ ดาวเทยี มเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูผ้ ่านเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษาตา่ งๆ ดว้ ย 4. ศนู ย์ชุมชน (Community Center) เป็นสถานทีม่ ีคนในชมุ ชนจะมาทำกิจกรรมรว่ มกัน เชน่ การจัด เวทีชาวบ้าน เวทีประชาคม หรือใช้เป็นสถานที่พบปะเสวนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือแม้แต่เป็นที่ \"โสเล\" หรือ \"เขลง\" กนั ในชมุ ชน กศน.ตำบล จึงทำหน้าที่คลา้ ยศาลาประชาคมไปพรอ้ มกันด้วย กิจกรรมของ กศน.ตำบลเหล่านีจ้ ึงมีครู กศน.ตำบล ซง่ึ เปน็ พนกั งานราชการในสังกัดสำนักงาน กศน. เป็นผู้ดำเนินงานจัดให้มีกิจกรรมเหล่านี้ขึ้น โดยเป็นการทำงานร่วมกันกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ทั้ง อบต. , อบจ., เทศบาล ตลอดจนหนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน รวมท้ังมีอาสาสมัครตา่ งๆ ในชุมชน เช่น อาสาสมัคร สาธารณสุข (อสม.) อาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครส่งเสริมการอา่ นตลอดจนภูมิปญั ญาท้องถิ่น ข้าราชการ บำนาญ เยาวชนผู้นำท้องถิน่ ต่างๆ เข้ามารว่ มกันทำงานเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิตในชุมชน

4 โครงสรา้ งการบรหิ าร โครงสร้าง กศน.ตำบลไร่ขิง นางสาวอมรรตั น์ ธนธนานนท์ คณะกรรมการ กศน. ครูอาสาสมคั รฯ ตาบล นาวอารยี ์ ศรีทิพย์ (หวั หน้า..กศน.ตาบล) .......................... นายมานพ ปราชญอ์ ภิญญา นายธนานาจ พวงสุข นายชเู กรี ติ คลา้ ยสุบรรณ นางสาววินิ ดา ศรช.บา้ นเอ้อื อาทร สาย 5 ศรช.รร.วดั ไร่ขิง ศรช.วดั ท่าพูด 2 ครผู สู้ อนคนพิการ นางอารยี ์ ศรีทิพย์ ครู กศน. ตำบลไรข่ ิง

คณะกรรมการ กศน. ตำบลไร่ขิง 5 รปู ถา่ ย ชอื่ – สกุล บทบาท ทปี่ รกึ ษา พระเทพศาสนาภบิ าล ประธานกรรมการ าย นายจำรัส ตั้งตระกูลธรรม นายชาตรี สุขถาวร กรรมการ นางวิรติ า พูลสุข กรรมการ นางจฑุ ารตั น์ จีนประชา กรรมการ นายพีรพศั โหถ้ นอม กรรมการ นายบุญรอด โพธิแ์ ดง กรรมการ นางสาววิราภรณ์ ทองยัง กรรมการ นางสาวนุสรา บวั สมบรู ณ์ กรรมการ นางอารีย์ ศรที ิพย์ กรรมการและเลขานุการ

6 อาสาสมัคร กศน. ตำบล ร่งุ สว่าง 1. นางพมิ พว์ มิ ล ทัดแช้ม 2. นายสมศกั ด์ิ ปถั วี 3. นายบญุ มา วรรณสวา่ ง 4. นางสาวนชุ นาท ขุนทรง 5. นางสาวสมหญิง บุคลากรในตำบล จำนวน (คน) หมายเหตุ ท่ี ตำแหน่ง 1 1. ครูอาสาสมัครฯ 1 2. ครูกศน.ตำบลไรข่ ิง 3 3. ครูศรช. 1 4 ครูผสู้ อนคนพกิ าร 6 รวม แหลง่ เรียนร/ู้ เครือข่าย 1 ศูนย์การเรียนชุมชน (ศรช.) ท่ี ชอ่ื ท่ีตง้ั ผ้ดู แู ล/รบั ผดิ ชอบ วดั ท่าพดู 1. ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนวดั ทา่ พูด 1 ชุมชนบา้ นเอื้ออาทร สาย 5 อ.ชเู กียรติ คลา้ ยสุวรรณ โรงเรยี นไรข่ ิง (สุนทรอทุ ศิ ) อ.มานพ ปราชญ์อภญิ ญา 2. ศนู ย์การเรียนชมุ ขนบา้ นเออื้ อาทร อ.ธนานาจ พวงสุข ศูนยฝ์ กึ อาชพี หญิงตาบอด 3. ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนโรงเรียน อำเภอสามพราน วัดไร่ขงิ 4. ศูนยฝ์ กึ อาชพี หญิงตาบอดอำเภอ สามพราน 2 บ้านหนังสอื อัจฉริยะ ท่ี ชอื่ หมบู่ า้ น ท่ีต้ัง ผดู้ แู ล/รับผดิ ชอบ 1. วัดท่าพดู รพ.ส.ต.บา้ นท่าพดู นางสาวพมิ พว์ มิ ล รุ่งสวา่ ง

7 3 ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ความสามารถและ ที่ตั้ง ประสบการณ์ ท่ี ชื่อ-สกลุ ม.10 ต.ไร่ขิง อ.สามพราน ทำของเลน่ โบราณ ม.3 ต.ไร่ขิง อ.สามพราน 1. นายบุญรอด โพธแิ์ ดง ม.7 ต.ไร่ขิง อ.สามพราน 2. นายบญุ มา ปัถวี เกษตรอนิ ทรีย์ ม.5 ต.ไร่ขิง อ.สามพราน 3. นางประไพ โพธแิ์ ดง ม.10 ต.ไรข่ งิ อ.สามพราน 4. น.ส.นุชนาท วรรณสว่าง ขนมหวาน ม.3 ต.ไรข่ ิง อ.สามพราน 5. นายอภิมขุ ชูเทียน 6 นายประกิต สุนประชา หตั ถกรรม เบญจรงค์ การทำนา อินทรีย์ 4 แหล่งเรียนรู้อนื่ ๆ ท่ี ช่ือ ทีต่ ั้ง ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ 1 วัดไร่ขิง ศาสนา 51 ม.2 ต.ไรข่ ิง อ.สามพราน 2 วัดท่าพดู จ.นครปฐม พิพธิ ภัณฑ์ ม.9 ต.ไรข่ งิ อ.สามพราน 3 กลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชน จ.นครปฐม เกษตรอนิ ทรีย์ ม.3 ต.ไร่ขิง อ.สามพราน 4 หอ้ งสมุดประชาชน จ.นครปฐม การศกึ ษา วรรณคดีไทย “เฉลิมราชกมุ าร”ี วดั ไร่ขงิ ม.2 ต.ไรข่ ิง อ.สามพราน จ.นครปฐม การนวดแผนไทย การรอ้ ย 5 ศนู ย์ฝึกอาชีพหญงิ อำเภอ ม.5 ต.ไร่ขงิ อ.สามพราน ลูกปดั สามพราน จ.นครปฐม  ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน จำนวน 1 แหง่ รายละเอยี ดดังนี้ ท่ี ศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน ที่ตัง้ ผู้รับผิดชอบ ตำแหน่ง นางอารยี ์ ศรีทพิ ย์ ครู กศน.ตำบล 1. ศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน กศน. ตำบลไร่ขิง ม.2 ตำบลไรข่ งิ ต.ไร่ขิง

8 ภาคเี ครอื ขา่ ย กิจกรรมท่ดี ำเนนิ การ สนบั สนุนการดำเนนิ งาน ของ กศน.อำเภอ และ กศน. ท่ี หนว่ ยงาน ตำบล 1. วัดไร่ขิง สนับสนุนการดำเนินงาน ของ กศน.ตำบล จดั กจิ กรรมการศึกษาต่อเนอื่ ง 2. วัดทา่ พดู สนับสนนุ ดา้ นงบประมาณ อาคาร สถานท่ี สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 3. เทศบาลเมืองไร่ขงิ ส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมการศึกษาต่อเนอื่ ง ร่วมจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น 4. โรงเรยี นวดั ไรข่ งิ (สนุ ทรอุทิศ) ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น 5. โรงเรยี นวดั ไรข่ ิงวิทยา ส่งเสริมการจดั กิจกรรมการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 6. ศูนยฝ์ ึกอาชพี หญงิ ตาบอด จัดกิจกรรมการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง อำเภอสามพราน สนับสนนุ การดำเนินงานของ กศน.ตำบล 7. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ จดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั จดั กิจกรรมการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ตำบลบา้ นท่าพูด(ไรข่ ิง) 8. กลมุ่ สตรีอาสาพัฒนาและกลุม่ จดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น แม่บา้ น จดั กจิ กรรมเพอื่ พัฒนาทักษะชีวิต 9. กลมุ่ ผู้สงู อายุแต่ละตำบล จดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง สง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ามอัธยาศัย 10. กลุ่ม อสม. แตล่ ะตำบล จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 11. ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กตำบลไร่ขงิ 12. วทิ ยาลยั การอาชพี นครปฐม ร่วมจดั กิจกรรมการศกึ ษาต่อเนื่อง 13 กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนเกาะลัดอี สนับสนุนการจัดการศกึ ษาต่อเนอื่ ง แท่น 14. กลุ่มวสิ าหกิจชุมชนโรงสีขา้ ว สนับสนุนการจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชพี 15. นางสาวอัญชนา ชชู าติ นติ ิบุคคลหมูบ่ ้าน แฟคตอร่ี แลนด์ 1

9 ส่วนที่ 2 ข้อมลู พ้นื ฐานเพ่ือการวางแผน 1. สภาพแวดลอ้ มตำบลไรข่ ิง ตำบลไร่ขงิ ตงั้ ขึ้นเม่อื ใดไม่ปรากฏแน่ชัดทราบเพยี งวา่ มีราษฎรชาวจนี มาตงั้ ถ่ินฐานบ้านเรือน ในบริเวณนี้และได้ประกอบอาชพี ทำไร่ขิงเน่อื งจากมีพื้นทที่ ่ีเหมาะแกก่ ารทำไร่และทำกันเป็นจำนวน มากจึงทำให้ราษฎรบริเวณใกลเ้ คยี งเรียกพื้นนี้ตดิ ปากกนั ว่าตำบลไร่ขิง ในปี พ.ศ. 2537 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลไร่ขิงจึงได้จัดตั้งขึน้ เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลไร่ขิง เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2538 โดยมีนาย ชาตรี สุขถาวร กำนันตำบลไร่ขิง เป็นประธานกรรมการบริหารคนแรก และนายยวด คำทวี ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 11 เป็นประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลคนแรก ต่อมาองค์การบริหารส่วน ตำบลไร่ขิงได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไร่ขิง ในวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 โดยมีนายจำรัส ต้ัง ตระกูลธรรม นายกเทศมนตรีเมืองไร่ขิง ได้ดำเนินการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของ ประชาชนชาวตำบลไรข่ งิ ข้ึนเป็นเทศบาล 1.1 สภาพทางกายภาพของตำบลไรข่ ิง 1.1.1 ทต่ี ้งั มี สำนกั งานต้งั อยู่ ณ เลขท่ี 99 หมู่ 2 ถนนไรข่ งิ – ทรงคนอง ตำบลไรข่ งิ อำเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม 1.1.2 เนอ้ื ที่ มพี ้นื ท่ีประมาณ ๒๕๔ ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ 15,872 ไร่ 1.1.3 เขตการปกครอง แบ่งเขตการปกครองตาม พรบ. ลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 เป็นตำบลและหมูบ่ ้าน ประกอบดว้ ย 14 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บา้ นไรข่ ิง หมทู่ ี่ 8 คลองผีเส้ือ หมูท่ ่ี 2 บา้ นไร่ หมทู่ ่ี 9 คลองวดั ทา่ พดู หม่ทู ี่ 3 คลองใหม่ หมู่ที่ 10 คลองบางซอ่ื หมทู่ ่ี 4 คลองมะนาว หมูท่ ี่ 11 ทา่ เกวยี น หมู่ที่ 5 บางพรา้ ว หม่ทู ี่ 12 คลองฉาง หมทู่ ี่ 6 คลองตาจ่นุ หมู่ท่ี 13 คลองบางยาง หมูท่ ี่ 7 ประชาร่วมใจ หมู่ท่ี 14 คลองรางเตย ปจั จุบนั เทศบาลเมอื งไร่ขงิ ได้ประกาศจัดตัง้ เป็นชมุ ชนยอ่ ยทง้ั สิน้ 28 ชุมชน เม่อื วันที่ 27 พ.ค. 2552 ดังน้ี 1. ชมุ ชนบ้านไรข่ งิ 2. ชมุ ชนไร่ขิง-บ้านไร่ 3. ชุมชนบา้ นไร่ศรีเถยี ร 4. ชุมชนบ้านไรข่ งิ

10 5. ชมุ ชนบา้ นคลองมะนาว 6. ชมุ ชนบ้านคลองบางพรา้ ว-ศรีเถยี รรนุ่ 6 7. ชุมชนบา้ นคลองบางพรา้ ว-ศรีเถียรรนุ่ 9 8. ชุมชนบา้ นคลองบางพรา้ ว 9. ชมุ ชนบ้านคลองตาจุ่น 10. ชมุ ชนบ้านคลองผีเส้ือ 11. ชุมชนบ้านคลองรางเตย 1 12. ชุมชนบ้านคลองรางเตย 2 13. ชุมชนบ้านถ่าน 14. ชมุ ชนบ้านโรงหล่อ 15. ชมุ ชนบา้ นประชาร่วมใจ 14. ชุมชนวัดทา่ พดู 17. ชมุ ชนวังมณี 18. ชุมชนบา้ นเอือ้ อาทรเพลนิ เพชรฃ 19. ชมุ ชนคลองวัดท่าพูด 20. ชุมชนบ้านคลองบางซ่ือ 21. ชุมชนกลาโหม 22. ชุมชนหมู่บา้ นสิวารัตน์ 2 23. ชุมชนบา้ นท่าเกวียน 24. ชุมชนคลองฉาง 25. ชุมชนบ้านคลองยายสา แฟค 1 26. ชุมชนบ้านเอ้อื อาทรพุทธมณฑลสาย 27. ชุมชนหม่บู า้ นพฤกษา 5 28 ชุมชนบา้ นบางยาง 1.1.4 อาณาเขตติดต่อ ตดิ ต่อ ตำบลไรข่ ิง, ตำบลบางเตย • เหนือ • ทิศใต้ ตดิ ตอ่ ตำบลไรข่ งิ , ตำบลท่าขา้ ม • ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ ตำบลกระทมุ่ ล้ม • ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ ตำบลท่าตลาด, ตำบลทรงคนอง 1.1.5 ลกั ษณะทางกายภาพ 1) สภาพภมู ปิ ระเทศ สภาพพน้ื ทใ่ี นเขตเทศบาลเมืองไร่ขงิ มีสภาพเป็นพืน้ ท่ีราบลมุ่ กว้างใหญ่ มที ่ีดิน อุดมสมบูรณ์ มแี ม่น้ำทา่ จีนไหลผา่ นและมีลำคลองหลายสาย จงึ เหมาะสมแก่การ ประกอบอาชีพทางดา้ นเกษตรกรรม เดมิ ประชากรสว่ นใหญใ่ ชพ้ ื้นทีท่ ำการเกษตรได้ผลดี แตป่ จั จุบนั พื้นที่ทางการเกษตรลดลงมากเนื่องจากมกี ารกอ่ สร้างโรงงานอตุ สาหกรรม หมูบ่ า้ นจดั สรรและอาคารพาณิชย์ตา่ ง ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก 2) สภาพภูมอิ ากาศ ฤดรู อ้ น เรม่ิ ตง้ั แต่ เดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม ฤดูฝน เร่มิ ตั้งแต่ เดอื นมถิ ุนายน – กันยายน ฤดูหนาว เริม่ ตง้ั แต่ เดอื นตุลาคม – มกราคม

11 1.1.6 สภาพโครงสรา้ งพน้ื ฐาน 1) ดา้ นการประปา แหล่งผลิตน้ำประปา 19 แห่ง ปริมาณการผลิตน้ำต่อวัน 12,262 ลบ.ม. จำนวนครวั เรอื นที่ใช้น้ำประปาของเทศบาลเมืองไร่ขิง 2,900 ครัวเรือน และมีบางส่วนใช้นำ้ ประปา ส่วนภูมิภาค 2) ด้านไฟฟา้ การบริการไฟฟ้าในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อยู่ในความรับผิดชอบของการ ไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค สาขาสามพราน และสาขาอ้อมน้อย สามารถใหบ้ ริการไดค้ รอบคลุมทงั้ พน้ื ที่ 3) ด้านการสอ่ื สาร - โทรศัพท์ มีบริการโทรศัพท์ขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย TOT และบรษิ ัทเทเลคอมเอเชีย TA ใหบ้ ริการโทรศพั ทพ์ น้ื ฐานในพืน้ ท่ี - เสียงตามสาย/หอกระจายข่าว จำนวน 14 แห่ง และมเี สยี งไร้สาย จำนวน 34 ชดุ - การไปรษณีย/์ โทรเลข มีการดำเนินงานโดยการสื่อสารแห่งประเทศไทย มที ่ีทำการไปรษณีย์ โทรเลข จำนวน 1 แห่ง 1.1.7 การคมนาคม เนื่องจากเทศบาลเมืองไร่ขิงตั้งอยู่บนถนนทางหลวงแผ่นดินที่สำคัญ ได้แก่ ถนน พทุ ธ-มณฑลสาย 5 ซึง่ เป็นถนนทเ่ี ช่อื มตอ่ ระหว่างถนนเพชรเกษมกับถนนสายบรมราชชนนี(ปนิ่ เกล้า – นครชัยศรี) จึงทำให้มกี ารจราจรท่ีคับคงั่ เนื่องจากเปน็ เสน้ ทางลัดและผ่านเข้าออกระหว่างจังหวัด นครปฐมกับกรุงเทพมหานคร และระหว่างจังหวัดสมุทรสาครกับกรุงเทพมหานคร โดยมีถนนทาง หลวงหมายเลข 3316 (ไร่ขิง – ทรงคะนอง) ผ่านกลางตำบลไรข่ ิง เลาตามแม่น้ำนครชัยศรี โดยเริ่ม จากถนนเพชรเกษมสน้ิ สดุ ท่ีถนนบรมราชชนนี จากกรุงเพทฯ สามารถใชเ้ สน้ ทางสู่เทศบาลเมืองไร่ขิง ได้ 2 เส้นทาง คือ เส้นทางที่ 1 ถนนเพชรเกษมผ่านสำนักงานเทศบาลเมืองอ้อมน้อย จนถึงถนน พุทธมณฑลสาย 5 เลี้ยวขวาเข้าถนนพุทธมณฑลสาย 5 ผ่านตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบบ ประมาณ 1 กโิ ลเมตร ถึงเขตเทศบาลเมืองไรข่ ิง เส้นทางที่ 2 ถนนปิ่นเกล้า-นครชัยศรี ผ่านโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์กาญจนา ภเิ ษก ถึง ถนนพุทธมณฑลสาย 5 เล้ียงซา้ ยผ่านเข้าถนนพุทธมณฑลสาย 5 ประมาณ 3 กโิ ลเมตร ถึง เขตเทศบาลเมืองไรข่ ิง

12 1.2 ขอ้ มูลด้านประชากร จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพืน้ ทต่ี ำบลตำบลไร่ขงิ มจี ำนวน 19,103 ครัวเรอื น จำแนกตามช่วงอายุ ลำดับ ช่วงอายุ จำนวน รอ้ ยละของประชากรท้ังหมด 1 0-5 ปี 2,662 2 6-14 ปี 3,318 3 15 -39 ปี 7,086 4 40-59 ปี 12,351 5 60-69 ปี 1,273 6 70-79 ปี 627 7 80-89 ปี 231 8 90 ปี ขน้ึ ไป 24 รวม 27,572 จำแนกตามคณุ ลกั ษณะเฉพาะทางสังคม-ประชากรท่เี กย่ี วเนือ่ งกับการเข้าสู่โอกาสทาง การศึกษา 1) กลุม่ ท่ีมีเงื่อนไขข้อจำกดั ในการเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษา/การเรยี นรู้ 1.1) กลุม่ ผูด้ อ้ ยโอกาส ลำดับ รายละเอยี ด ชาย หญงิ รวม 1 กลมุ่ ผพู้ กิ าร 132 156 288 2 กลุม่ ผู้ประกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ 5,753 3,752 9,505 1.2) กลุ่มผ้พู ลาดโอกาส ลำดบั รายละเอยี ด ชาย หญิง รวม 1 กลุ่มเด็ก/เยาวชนที่ออกกลางคนั จากระดบั การศกึ ษาภาคบังคบั - - - 2 กลมุ่ ผจู้ บการศกึ ษาภาคบังคับแต่ไม่ไดเ้ รียนต่อ -- - 3 กลุ่มทหารกองประจำการทย่ี งั ไมจ่ บการศึกษาภาคบังคบั -- - 4 กลุ่มเดก็ /เยาวชนเรร่ อ่ น/ไรบ้ า้ น -- - 5 กลุ่มเด็ก/เยาวชน/ลกู กรรมกรก่อสรา้ ง -- - 6 กลมุ่ เดก็ /เยาวชนที่มีความพรอ้ มแต่ไม่ตอ้ งการรับการศึกษาใน - - - ระบบปกติ 7 กลุ่มผู้สงู อายุ 897 1,258 2,155

13 2) กลุม่ ท่ไี ม่มเี งอื่ นไขข้อจำกดั ในการเข้าถงึ โอกาสทางการศกึ ษา/การเรียนรู้ ลำดบั รายละเอยี ด ชาย หญิง รวม 1 กลมุ่ บุคคลผู้เป็นภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น/ภมู ิปัญญา 22 27 49 พื้นบา้ นหรือปราชญ์ชาวบ้าน 2 กลุ่มผ้นู ำชมุ ชนทั้งท่ีเปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ 59 48 107 ทางการ 3 กลุ่มนักเรียน/นักศกึ ษาในระบบโรงเรียนท่ีสนใจ เติมเตม็ ความรู้ 4 กลมุ่ ประชาชนทั่วไป 8,653 9,755 18,408 1.3 ขอ้ มูลดา้ นสงั คม 1. ประเพณที ้องถน่ิ - ตกั บาตรและสวดมนตข์ ้ามปี ในวนั ปีใหม่ - ประเพณสี งกรานต์ รดน้ำขอพรผู้สงู อายุ - ประเพณีวันลอยกระทง - งานประจำปี “หลวงพ่อวดั ไรข่ ิง” - งานเทศนม์ หาชาติ 2. การละเลน่ พ้นื บ้าน - การแขง่ ขนั เรอื ยาว - การแขง่ ขนั นกเขาชวา 1.4 สภาพทางเศรษฐกจิ ประชากรในตำบลไร่ขิง มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี จำนวน 48,000 บาท และมีอาชีพหลัก ดงั น้ี ลำดับท่ี อาชพี จำนวน 1 ทำนา 159 2 ทำสวน 112 3 ทำไร่ - 4 เลย้ี งสตั ว์ - 5 ปลูกผัก 97 6 ประมง - 7 คา้ ขาย 678 8 รับจ้าง 11,262 9 รบั ราชการ 327 10 อื่นๆ -

14 กลุ่มอาชีพเศรษฐกิจชมุ ชน การดำเนินการกลุ่มอาชีพเศรษฐกิจชุมชนมีการจัดตั้งกลุ่ม การรวมกลุ่มอาชีพ กลุ่ม เกษตรกร และการก่อเกิดอาชีพอย่างหลากหลายในตำบล โดยหลายภาคส่วนได้ส่งเสริมสนับสนุน กลมุ่ อาชพี ในหมบู่ ้าน ในการพฒั นาทงั้ ทกั ษะ/ความรู้ และข้อมูลการพฒั นางานหรอื ผลติ ภัณฑ์ของทุก กลุม่ ในตำบล ทำให้เกิดการร่วมกลุ่มอาชพี ข้ึนหลายกลมุ่ ดังนี้ 1. กลมุ่ ออมทรพั ย์ (เครดิตยูเนีย่ น) 2. กลมุ่ แมบ่ ้านตำบลไรข่ ิง 3. กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชนตำบลไร่ขิง 4. กองทนุ หมู่บ้าน 5. กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี 6. กลุ่มผู้สงู อายุ เทศบาลเมอื งไร่ขงิ 7. กลมุ่ ป๋ยุ ชวี ภาพ

15 2.5 นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ 2563 วสิ ัยทศั น์ คนไทยไดร้ บั โอกาสการศกึ ษาและการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ อยา่ งมคี ณุ ภาพ สามารถ ดำรงชวี ติ ท่เี หมาะสมกับชว่ งวัย สอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมที ักษะที่ จำเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21 พนั ธกิจ 1. จดั และส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ทีม่ ีคุณภาพ เพ่ือ ยกระดบั การศึกษา พัฒนาทกั ษะการเรียนร้ขู องประชาชนทุกกล่มุ เปา้ หมายให้เหมาะสมทุกช่วงวยั พร้อมรบั การเปลีย่ นแปลงบริบททางสังคม และสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมสี ่วนร่วมจัดการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต รวมท้งั การดำเนนิ กิจกรรมของศูนยก์ าร เรียนและแหลง่ เรียนรอู้ น่ื ในรปู แบบต่าง ๆ 3. สง่ เสริมและพฒั นานำเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใชใ้ ห้เกดิ ประสทิ ธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหก้ บั ประชาชนอย่างทั่วถงึ 4. พฒั นาหลกั สูตร รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวตั กรรม การวดั และ ประเมนิ ผลในทกุ รูปแบบใหส้ อดคล้องกับบริบทในปัจจุบนั 5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธิภาพ เพอ่ื ม่งุ จดั การศึกษาและ การเรยี นรทู้ มี่ คี ณุ ภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผ้ดู ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้งั ประชาชนทั่วไปได้รบั โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทม่ี ีคณุ ภาพอยา่ งเทา่ เทียมและทวั่ ถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความ ตอ้ งการของแต่ละกลมุ่ เป้าหมาย 2. ประชาชนได้รบั การยกระดบั การศึกษา สรา้ งเสริมและปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม และ ความเป็นพลเมอื ง อันนำไปส่กู ารยกระดับคุณภาพชวี ติ และเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ให้ชมุ ชน เพอื่ พัฒนาไปสคู่ วามมนั่ คงและยงั่ ยืนทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสิ่งแวดล้อม 3. ประชาชนไดร้ บั โอกาสในการเรยี นรู้ และมเี จตคติทางวทิ ยาศาสตร์แลเทคโนโลยีที่ เหมาะสม สามารถคดิ วเิ คราะห์ และประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน รวมท้ังแก้ปัญหา และพฒั นา คณุ ภาพชีวติ ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ 4. ประชาชนไดร้ บั การสรา้ งและสง่ เสรมิ ใหม้ ีนิสัยรักการอ่านเพือ่ การแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคเี ครอื ขา่ ยทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนบั สนุนการดำเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมทัง้ การขับเคลื่อนกจิ กรรมการเรียนรขู้ องชุมชน 6. หน่วยงานและสถานศกึ ษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้ใน การยกระดับคณุ ภาพในการจัดการเรียนรู้และเพ่มิ โอกาสการเรียนรู้ใหก้ บั ประชาชน

16 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือแกป้ ัญหาและ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ที่ตอบสนองกับการเปล่ยี นแปลงบรบิ ทดา้ นเศรษฐกจิ สั่งคม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ ตามตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบที่หลากหลาย 8. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการท่ีเป็นไปตามหลกั ธรรมมาภบิ าล 9. บคุ คลของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาเพื่อเพมิ่ สมรรถนะในการ ปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยา่ งมีประสิทธิภาพ ตัวชีว้ ัด ตวั ชวี้ ัดเชงิ ปรมิ าณ 1. จำนวนผู้เรยี นการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานท่ีไดร้ ับการสนบั สนุน ค่าใช้จา่ ยตามสิทธิท่ีกำหนดไว้ 2. จำนวนคนไทยกลมุ่ เป้าหมายตา่ ง ๆ ที่เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้/ไดร้ ับบรกิ ารกิจกรรม การศึกษาตอ่ เน่อื ง และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ 3. ร้อยละของกำลงั แรงงานทสี่ ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ข้นึ ไป 4. จำนวนภาคเี ครอื ขา่ ยทีเ่ ข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศกึ ษา (ภาคี เครือขา่ ย: สถานประกอบการ องคก์ ร หนว่ ยงานท่มี าร่วมจัด/พฒั นา/สง่ เสริมการศึกษา) 5. จำนวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพ้ืนท่ีสงู และชาวไทยมอแกน ในพน้ื ท่ี 5 จงั หวัด 11 อำเภอ ได้รับการบริการการศกึ ษาตลอดชีวิตจาก ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนสังกดั สำนักงาน กศน. 6. จำนวนผ้รู ับบรกิ ารในพืน้ ทเ่ี ปา้ หมายไดร้ ับการส่งเสรมิ ดา้ นการรหู้ นังสือ และการพฒั นา ทกั ษะชวี ิต 7. จำนวนนกั เรยี น/นกั ศกึ ษาทไ่ี ดร้ บั บรกิ ารการตวิ เข้มเต็มความรู้ 8. จำนวนประชาชนทไี่ ด้รับการฝกึ อาชพี ระยะสัน้ สามารถสรา้ งอาชีพเพอื่ สร้างรายได้ 9. จำนวนครู กศน. ตำบล จากพืน้ ท่ี กศน. ภาค ไดร้ บั การพัฒนาศกั ยภาพดา้ นการจัดการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร 10. จำนวนประชาชนท่ีได้รับการฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารด้านอาชพี 11. จำนวนผสู้ ูงอายุภาวะพ่ึงพิงในระบบ Long Term Care มีผ้ดู แู ลท่มี ีคุณภาพและ มาตรฐาน 12. จำนวนประชาชนที่ผ่านการอบรมจากศนู ยด์ ิจิทัลชมุ ชน 13. จำนวนศูนย์การเรยี นชมุ ชน กศน. บนพน้ื ทีส่ ูง ในพื้นท่ี 5 จงั หวดั ที่สง่ เสริมการพฒั นา ทกั ษะการฟงั พูดภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร ร่วมกนั ในสถานศึกษาสังกดั สพฐ. ตชด. และ กศน. 14. จำนวนบคุ ลากร กศน. ตำบลทส่ี ามารถจัดทำคลังความรไู้ ด้ 15. จำนวนบทความเพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชีวิตในระดบั ตำบลในหัวขอ้ ตา่ ง ๆ 16. จำนวนหลกั สูตรและสอ่ื ออนไลนท์ ใี่ ห้บริการกับประชาชน ทั้งการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง และการศึกษาตามอธั ยาศัย

17 ตวั ชวี้ ัดเชงิ คณุ ภาพ 1. รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบการศกึ ษาระดบั ชาติ การศกึ ษานอกระบบ (N- NET) ทุกรายวชิ าทกุ ระดับ 2. ร้อยละของผูเ้ รียนทไ่ี ด้รบั การสนับสนนุ การจดั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานเทียบกบั ค่า เป้าหมาย 3. รอ้ ยละของประชาชนกล่มุ เปา้ หมายที่ลงทะเบยี นในทกุ หลกั สตู ร/กจิ กรรมการศกึ ษา ต่อเนอ่ื งเทยี บกับเปา้ หมาย 4. ร้อยละของผูผ้ า่ นการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะส้ันสามารถนำความรู้ไปใช้ใน การประกอบอาชพี หรือพัฒนางานได้ 5. ร้อยละของผู้เรยี นในเขตพ้นื ทจ่ี ังหวัดชายแดนภาคใต้ทไ่ี ดร้ บั การพัฒนาศักยภาพ หรือ ทกั ษะด้านอาชพี สามารถมงี านทำหรอื นำไปประกอบอาชพี ได้ 6. ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กจิ กรรมที่สามารถนำความรคู้ วามเข้าใจไปใช้ได้ตาม จุดม่งุ หมายของหลกั สูตร/กจิ กรรม การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง 7. รอ้ ยละของประชาชนที่ไดร้ ับการบริการมีความพึงพอใจการบริการ/เข้ารว่ มกจิ กรรม การเรียนรกู้ ารศกึ ษาตามอธั ยาศยั 8. ร้อยละของประชาชนกลมุ่ เป้าหมายทีไ่ ด้รับบริการ/เขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีมีความรคู้ วาม เขา้ ใจ/ เจตคต/ิ ทักษะ ตามจุดมงุ่ หมายของกิจกรรมทีก่ ำหนด ของการศึกษาตามอธั ยาศัย 9. รอ้ ยละของนกั เรียน/นกั ศกึ ษาทมี่ ผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นในวชิ าที่ได้รบั บรกิ ารติวเข้ม เตม็ ความรู้เพิ่มสูงข้นึ 10. ร้อยละของผู้สงู อายุทเี่ ปน็ กล่มุ เปา้ หมาย มโี อกาสมาเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตลอด ชีวติ

18 นโยบายเร่งด่วนเพอื่ รว่ มขับเคล่ือนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 1. ยุทธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง 1.1 พฒั นาและเสริมสร้างความจงรกั ภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและสร้าง ความตระหนักรู้ถงึ ความสำคัญของสถาบนั หลักของชาติ รณรงคเ์ สริมสร้างความรักและความ ภาคภูมิใจในความเปน็ คนไทยและชาตไิ ทย น้อมนำและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดำริตา่ ง ๆ 1.2 เสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจทีถ่ ูกต้อง และการมสี ว่ นร่วมอยา่ งถูกตอ้ งกับการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ในบริบทของไทย มีความเป็น พลเมืองดี ยอมรบั และเคารพความหลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์ 1.3 สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาเพือ่ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาภยั คุกคามใน รูปแบบใหม่ ทั้งยาเสพตดิ การค้ามนษุ ย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ัติใหม่ ฯลฯ 1.4 ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและสรา้ งเสริมโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศกึ ษา การ พฒั นาทกั ษะ การสร้างอาชีพ และการใชช้ วี ิตในสังคมพหวุ ฒั นธรรม ในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และพนื้ ท่ชี ายแดนอ่ืน ๆ 1.5 สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจในขนมธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรมของประเทศเพอ่ื น บา้ น ยอมรับและเคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกลุม่ ชาติพันธุ์ และชาวต่างชาติทีม่ ีความ หลากหลาย ในลักษณะพหุสงั คมทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั 2. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2.1 เร่งปรับหลักสูตรการจดั การศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อยกระดบั ทักษะด้านอาชีพของ ประชาชนใหเ้ ปน็ อาชพี ที่รองรับอตุ สาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - curve และ New S - curve) โดยบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาและเสริมทักษะใหม่ด้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถงึ มงุ่ เนน้ สรา้ งโอกาสในการสรา้ งงาน สรา้ งรายได้ และตอบสนองต่อความต้องการของ ตลาดแรงงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพื้นที่เขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขต พัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ สำหรับพื้นที่ปกติให้พัฒนาอาชีพที่เน้นการต่อยอด ศกั ยภาพและตามบริบทของพืน้ ที่ 2.2 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้ จบการศึกษาอย่างน้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนำวุฒิที่ได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชพี รวมทั้งพฒั นาทักษะในการประกอบอาชีพตามความตอ้ งการของประชาชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ตอบสนองต่อบริบทของสังคมและชุมชน รวมทั้งรองรับการพัฒนาเขตพื้นที่ระเบียบเศรษฐกิจภาค ตะวันออก (EEC) 2.3 พฒั นาและส่งเสริมประชาชนเพ่ือตอ่ ยอดการผลิตและจำหนา่ ยสินคา้ และผลิตภัณฑ์ ออนไลน์ 1) เร่งจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Brand กศน. เพื่อยกระดับ คุณภาพของสินค้าและผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการที่ครบวงจร (การผลิต การตลาด การส่งออก และสร้างชอ่ งทางจำหน่าย) รวมท้ังสง่ เสริมการใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในการเผยแพร่และ จำหน่ายผลติ ภัณฑ์ 2) พัฒนาและคัดเลือกสุดยอดสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ในแต่ละจังหวัด พร้อมท้งั ประสานความร่วมมือกับสถานีบริการน้ำมันในการเป็นช่องทางการจำหน่ายสุดยอดสินค้าและ ผลติ ภณั ฑ์ กศน. ใหก้ ว้างขวางยิง่ ข้นึ

19 3. ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 3.1 พฒั นาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เช่ือมโยง ความรู้กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงของสังคม และเป็น “ผู้อำนวยการการเรียนรู้” ที่สามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรม และการเรียนร้ทู ีด่ ี 1) เพม่ิ อัตราข้าราชการครใู หก้ บั กศน. อำเภอทุกแหง่ โดยเรง่ ดำเนินการเรื่องการหา อัตราตำแหน่ง การสรรหา บรรจุ และแตง่ ตัง้ ขา้ ราชการครู 2) พฒั นาข้าราชการครใู นรูปแบบครบวงจร ตามหลักสตู รที่เช่ือมโยงกบั วิทยฐานะ 3) พฒั นาครู กศน. ตำบลให้สามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยเนน้ เรอ่ื ง การพฒั นาทักษะการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาต่างประเทศ ทกั ษะการจดั กระบวน การเรยี นรู้ 4) พฒั นาศึกษานิเทศก์ ใหส้ ามารถปฏบิ ัติการนิเทศได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 5) พฒั นาบคุ ลากร กศน. ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรเู้ ร่อื งการใช้ประโยชน์ จากดิจิทลั และภาษาตา่ งประเทศที่จำเปน็ 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความ พรอ้ มในการใหบ้ ริการกจิ กรรมการศกึ ษาและการเรยี นรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะท่ีง่ายต่อการ เข้าถึง มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นที่การเรียนรู้สำหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอำนวย ความสะดวก มีบรรยากาศสวยงาม มชี ีวิต ทีด่ ึงดดู ความสนใจ และมคี วามปลอดภยั สำหรับผ้ใู ช้บริการ 1) เรง่ ยกระดับ กศน.ตำบลนำร่อง 928 แห่ง (อำเภอละ 1 แห่ง) ใหเ้ ป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม ที่ประกอบด้วย ครูดี สถานที่ดี (ตามบริบทของพื้นที่) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมี นวัตกรรม การเรียนรู้ท่ดี ีมปี ระโยชน์ 2) จัดให้มีศูนย์การเรยี นรู้ต้นแบบ กศน. เพื่อยกระดับการเรียนรู้ ใน 6 ภูมิภาค เป็น พ้ืนท่ี การเรียนรู้ (Co-Learning Space) ทีท่ นั สมยั สำหรบั ทุกคน มคี วามพรอ้ มในการให้บริการต่าง ๆ อาทิ พื้นที่สำหรับการทำงาน/การเรียนรู้ พื้นที่สำหรับกิจกรรมต่าง ๆ มีห้องประชุมขนาดเล็ก รวมทั้งทำงานร่วมกับห้องสมุดประชาชนในการให้บริการในรูปแบบห้องสมุดดิจิทัล บริการ อินเทอร์เน็ต สอ่ื มัลติมีเดีย เพอ่ื รองรับการเรยี นรู้แบบ Active Learning 3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เป็น Digital Library โดยให้มี บริการหนังสอื ในรปู แบบ e – Book บรกิ ารคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เนต็ ความเร็วสูง รวมทงั้ Free Wi-Fi เพอ่ื การสืบคน้ ขอ้ มูล 3.3 สง่ เสริมการจัดการเรียนรทู้ ี่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เออ้ื ต่อการเรียนรู้สำหรับทุก คน สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของ ชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรูข้ องประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนใน การร่วมกิจกรรม การเรียนรเู้ พอื่ เช่ือมโยงความสัมพนั ธ์ของคนในชมุ ชนไปสู่การจัดการความรู้ของ ชุมชนอยา่ งย่งั ยืน 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความ รับผิดชอบต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับ บุคลากรในองคก์ ร

20 2) จัดให้มีหลักสูตรลูกเสือมัคคุเทศก์ โดยให้สำนักงาน กศน. จังหวัดทุกแห่ง/กทม. จัดตัง้ กองลูกเสอื ท่ีลูกเสือมีความพร้อมด้านทักษะภาษาต่างประเทศ เปน็ ลูกเสอื มคั คุเทศก์จังหวัดละ 1 กอง เพ่ือสง่ เสริมลูกเสือจติ อาสาพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วในแต่ละจังหวดั 3.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเี ครอื ข่าย ประสาน ส่งเสริมความรว่ มมอื ภาคเี ครือข่าย ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น รวมทั้งสง่ เสรมิ และสนับสนุนการมี สว่ นร่วมของชุมชน เพือ่ สร้างความเข้าใจ และใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ในการสง่ เสริม สนับสนุน และจัดการ ศกึ ษาและการเรยี นรู้ให้กบั ประชาชนอย่างมคี ุณภาพ 1) เร่งจัดทำทำเนียบภมู ิปัญญาท้องถ่ินในแตล่ ะตำบล เพอ่ื ใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญา ท้องถิ่นในการสร้างการเรียนรู้จากองค์ความรู้ในตวั บุคคลให้เกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญา สร้างคุณค่า ทางวัฒนธรรมอย่างยง่ั ยืน 2) สง่ เสริมภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ สูก่ ารจดั การเรียนรูช้ มุ ชน 3) ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพ่ือการขยายและพัฒนาการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยให้เข้าถึงกลมุ่ เป้าหมายทกุ กลมุ่ อย่างกว้างขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลมุ่ ผ้สู งู อายุ กลมุ่ อสม. 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพอ่ื ประโยชนต์ อ่ การจัดการศึกษาและกลุ่มเปา้ หมาย 1) พฒั นาการจดั การศกึ ษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน การ พฒั นาทกั ษะชีวิตและทกั ษะอาชพี การศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมท้ังการพฒั นาชอ่ งทางการค้าออนไลน์ 2) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการปฏบิ ัตงิ าน การบริหารจัดการ และการจัดการ เรียนรู้ 3) ส่งเสริมใหม้ ีการใชก้ ารวจิ ัยอยา่ งงา่ ยเพ่ือสรา้ งนวตั กรรมใหม่ 3.6 พฒั นาศักยภาพคนด้านทกั ษะและความเข้าใจในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดจิ ิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือ พฒั นารปู แบบการจดั การเรียนการสอน 2) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความ เขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลทส่ี ามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน รวมท้ังสรา้ งรายได้ให้กับ ตนเองได้ 3.7 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว รวมท้ังพฒั นาสือ่ การเรยี นการสอนเพ่ือส่งเสรมิ การใชภ้ าษาเพอื่ การส่อื สารและการพัฒนาอาชพี 3.8 เตรียมความพรอ้ มการเขา้ สู่สังคมผสู้ งู อายทุ ีเ่ หมาะสมและมีคุณภาพ 1) ส่งเสริมการจัดกจิ กรรมให้กับประชาชนเพือ่ สรา้ งความตระหนักถงึ การเตรยี มความ พร้อมเขา้ สู่สงั คมผู้สูงอายุ (Aging Society) มคี วามเข้าใจในพัฒนาการของชว่ งวยั รวมทั้งเรียนรู้และ มีส่วนรว่ มในการดูแลรับผิดชอบผ้สู งู อายใุ นครอบครัวและชุมชน 2) พัฒนาการจดั บรกิ ารการศกึ ษาและการเรยี นร้สู ำหรับประชาชนในการเตรียมความ พรอ้ มเข้าสวู่ ัยสงู อายุทีเ่ หมาะสมและมคี ุณภาพ

21 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพ กายและสุขภาพจติ และร้จู กั ใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนกั ถงึ คุณค่าและศักด์ิศรีของผู้สูงอายุ เปดิ โอกาสให้มีการเผยแพร่ ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ และให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับ หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องในทกุ ระดบั 3.9 การส่งเสริมวิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษา 1) จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุก และเน้นให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่ายกับ ประชาชนในชมุ ชน ทง้ั วิทยาศาสตร์ในวิถชี ีวติ และวทิ ยาศาสตรใ์ นชีวติ ประจำวนั 2) พัฒนาสื่อนิทรรศการและรูปแบบการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ให้มี่ความ ทันสมยั 3.10 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนใน เขตพ้ืนท่สี ูง ให้สามารถฟงั พดู อา่ น และเขียนภาษาไทย เพอื่ ประโยชน์ในการใช้ชวี ิตประจำวันได้ 4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและเสมอภาคทางสงั คม 4.1 จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สำหรับทุกช่วงวัย ที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่สามารถ ให้บริการประชาชนได้ทุกคน ทุกช่วงวัย ที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการ เรียนรู้ในแต่ละวัย และเป็นศูนย์บริการความรู้ ศูนย์การจัดกิจกรรมที่ครอบคลุมทุกช่วงวัย เพื่อให้มี พฒั นาการเรยี นรทู้ เี่ หมาะสม และมีความสขุ กบั การเรียนรตู้ ามความสนใจ 1) เรง่ ประสานกบั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจดั ทำฐานข้อมูล โรงเรียนท่ถี ูกยุบรวม หรือคาดว่าน่าจะถกู ยบุ รวม 2) ใหส้ ำนกั งาน กศน. จงั หวัดทกุ แหง่ ที่อยใู่ นจงั หวดั ทีม่ โี รงเรยี นที่ถูกยบุ รวม ประสาน ขอใช้พ้นื ทเี่ พื่อจดั ต้ังศนู ย์การเรียนร้สู ำหรบั ทกุ ชว่ งวัย กศน. 4.2 สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การศึกษาและการเรียนรสู้ ำหรบั กลุม่ เปา้ หมายผู้พกิ าร 1) จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ และ การศกึ ษาตามอัธยาศัย โดยเน้นรปู แบบการศกึ ษาออนไลน์ 2) ให้สำนกั งาน กศน. จงั หวัดทกุ แหง่ /กทม. ทำความร่วมมือกบั ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัด ในการใช้สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ด้านการศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัด การศกึ ษาและการเรยี นรูส้ ำหรบั กลุ่มเปา้ หมายผู้พิการ 4.3 ยกระดบั การศกึ ษาให้กบั กลุ่มเป้าหมายทหารกองประจำการ รวมทงั้ กลุ่มเป้าหมาย พิเศษอื่น ๆ เช่น ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ใหจ้ บการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน สามารถนำความรู้ท่ไี ด้รบั ไปพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเน่ือง 4.4 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบรบิ ทของพน้ื ที่ และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผ้รู บั บริการ 5. ยทุ ธศาสตรด์ ้านสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม 5.1 ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารใหค้ วามรู้กบั ประชาชนในการรบั มือและปรับตัวเพือ่ ลดความเสียหาย จากภัยธรรมชาติและผลกระทบท่ีเก่ียวข้องกบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ

22 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสำคญั ของการสร้างสังคมสีเขยี ว ส่งเสริมความรูใ้ ห้กบั ประชาชนเกี่ยวกับการคัดแยกตั้งแตต่ ้นทาง การกำจัดขยะ และการนำกลับมาใช้ซ้ำ เพื่อลดปริมาณ และต้นทุนในการจดั การขยะของเมือง และสามารถนำขยะกลบั มาใชป้ ระโยชน์ไดโ้ ดยงา่ ย รวมท้งั การ จัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ลด การใช้ทรพั ยากรที่สง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใชถ้ ุงพลาสติก การ ประหยัดไฟฟา้ เป็นตน้ 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการ ทุจริตและประพฤติมิชอบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์มีความ โปร่งใส 6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหารและ พัฒนางาน สามารถเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมทั้งพัฒนา โปรแกรมออนไลนท์ ่ีสามารถเช่ือมโยงข้อมูลต่าง ๆ ทที่ ำใหก้ ารบริหารจัดการเป็นไปอย่างต่อเน่ืองกัน ต้งั แต่ตน้ จนจบกระบวนการ และให้ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายสามารถเข้าถงึ บริการไดอ้ ย่างทนั ที ทุกที และทุกเวลา 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตาม มาตรฐานตำแหนง่ ให้ตรงกบั สายงาน ความชำนาญ และความตอ้ งการของบคุ ลากร

23 ภารกจิ ตอ่ เน่ือง 1. ด้านการจัดการศกึ ษาและเรยี นรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย การดำเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียนการสอนอย่างทั่วถึงและพอพียง เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึง บริการทางการศึกษาทม่ี ีคุณภาพโดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวดั และประเมนิ ผลการเรียน ผ่านการเรียน แบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรยี น และการจัดการศึกษาทางไกล 3) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถ ตอบสนองความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมายไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้า ร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กจิ กรรมเกีย่ วกบั การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด การบำเพญ็ สาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรม ลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาส ให้ผเู้ รยี นนำกิจกรรมการบำเพญ็ ประโยชน์อื่น ๆ นอกหลกั สูตร มาใชเ้ พมิ่ ชัว่ โมงกจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนจบ ตามหลกั สูตรได้ 1.2 การส่งเสรมิ การรู้หนงั สือ 1) พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ผ้ไู ม่รหู้ นงั สือ ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกต้อง ทนั สมยั และ เป็นระบบเดยี วกนั ท้ังส่วนกลางและสว่ นภมู ิภาค 2) พฒั นาหลกั สตู ร ส่ือ แบบเรยี น เครือ่ งมอื วดั ผลและเครอื่ งมอื การดำเนินงานการ ส่งเสรมิ การรู้หนังสือทส่ี อดคลอ้ งกับสภาพแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย 3) พฒั นาครู กศน. และภาคีเครือขา่ ยทรี่ ว่ มจดั การศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะการจดั กระบวนการเรยี นร้ใู ห้กับผไู้ ม่รู้หนงั สืออย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และอาจ จัดใหม้ ีอาสาสมคั รสง่ เสรมิ การรหู้ นังสือในพ้ืนที่ท่ีมคี วามต้องการจำเป็นเปน็ พิเศษ 4) สง่ เสรมิ สนับสนุนให้สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การร้หู นงั สือ การคงสภาพ การรหู้ นงั สอื การพฒั นาทกั ษะการรูห้ นังสือใหก้ ับประชาชนเพือ่ เป็นเครอื่ งมือในการศึกษาและเรยี นรู้ อยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ ของประชาชน 1.3 การศึกษาต่อเนือ่ ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอย่างยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัด การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชพี เฉพาะทาง หรอื การบริการ รวมถึงการเน้นอาชพี ช่างพ้นื ฐาน ทีส่ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพของ ผเู้ รยี น ความต้องการ และศกั ยภาพของแต่ละพนื้ ท่ี ตลอดจนสรา้ งความเข้มแขง็ ให้กับศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน โดยจัดใหม้ ีหนง่ึ อาชีพเด่นตอ่ หนง่ึ ศนู ย์ฝกึ อาชีพ รวมท้งั ใหม้ ีการกำกับ ตดิ ตาม และรายงานผล การจัดการศกึ ษาอาชพี เพอื่ การมงี านทำอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง

24 2) จัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมี ทักษะการดำรงชีวติ ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการ บริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ี เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสำคญั ต่าง ๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมที่พึง ประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ ชวี ติ การจัดต้งั ชมรม/ชมุ นมุ การส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษต่าง ๆ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัด กระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่น ๆ ท่ี เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นที่ เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับ ความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้ง สังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัด กระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การ สรา้ งจิตสำนึกความเป็นประชาธปิ ไตย การเคารพในสทิ ธิ และรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ทคี่ วามเปน็ พลเมือง ดี การส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม การบำเพญ็ ประโยชน์ในชมุ ชน การบรหิ ารจัดการนำ้ การรบั มือกับ สาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการ พัฒนาสงั คมและชุมชนอยา่ งยง่ั ยืน 4) การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งผ่านกระบวนการ เรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมคิ ุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้ อย่างม่นั คง และมกี ารบริหารจดั การความเส่ียงอยา่ งเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสูค่ วาม สมดุลและย่งั ยืน 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศยั 1) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตำบล เพื่อการถ่ายทอดองค์ ความรู้ และจดั กจิ กรรม เพ่อื เผยแพร่องคค์ วามรใู้ นชมุ ชนได้อยา่ งทัว่ ถงึ 2) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนา ความสามารถใน การอา่ น และศักยภาพการเรยี นรู้ของประชาชนทุกกลมุ่ เปา้ หมาย 3) ส่งเสรมิ ใหม้ ีการสร้างบรรยากาศ และสง่ิ แวดลอ้ มที่เออื้ ต่อการอ่านให้เกิดขึ้นใน สังคมไทย โดยสนบั สนนุ การพัฒนาแหล่งการเรยี นรู้ให้เกิดขน้ึ อยา่ งกว้างขวางและทวั่ ถงึ เชน่ พัฒนา ห้องสมุดประชาชน ทุกแห่งให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่พร้อม อปุ กรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านและ การเรียนร้ทู ีห่ ลากหลาย ให้บรกิ ารกับประชาชนใน พื้นท่ีตา่ ง ๆ อย่างทวั่ ถงึ สม่ำเสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพรอ้ มในด้านส่อื อปุ กรณ์ เพอ่ื สนบั สนุนการ อ่าน และการจัดกจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย 4) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ตลอดชวี ิตของประชาชน และเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วประจำทอ้ งถิน่ โดยจดั ทำ และพัฒนา นทิ รรศการ สื่อและกิจกรรม การศกึ ษาท่ีเน้นการเสรมิ สรา้ งความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ สอดแทรก วธิ ีการคิดและปลกู ฝงั เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผา่ นการฝึกทกั ษะกระบวนการทบ่ี ูรณาการความรู้ด้าน

25 วิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมทั้งสอดคล้องกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงระดับภูมิภาค และระดับโลก เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ มีทักษะที่จำเป็นใน โลกศตวรรษที่ 21 มคี วามสามารถในการปรบั ตวั รองรบั ผลกระทบ จากการเปลย่ี นแปลงในอนาคตได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ และสามารถนำความรแู้ ละทักษะไปประยุกต์ใช้ใน การดำเนนิ ชีวติ การพัฒนา อาชพี การรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม การบรรเทาและป้องกนั ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ 1.5 พัฒนา กศน. ตำบล สู่ “กศน.ตำบล 4G” 1) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการ เรียนรู้ : Good Teacher ให้เป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงความรู้กับผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมือ อาชีพ” มีจิตบรกิ าร มคี วามรอบรู้และทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม เปน็ ผูจ้ ดั กจิ กรรมการเรียนรู้ และบริหารจดั การความรทู้ ่ดี ี รวมทง้ั เป็นผู้ปฏิบตั ิงานอย่างมีความสุข 2) พัฒนา กศน.ตำบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเอ้ือต่อการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง : Good Place Best Check-In มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการ เรียนรู้ เป็นแหล่ง ข้อมูลสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง และสะดวกต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่าง สรา้ งสรรค์ มีส่งิ อำนวยความสะดวก ดงึ ดูดความสนใจ และมีความปลอดภยั สำหรบั ผู้รบั บริการ 3) ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตำบล : Good Activities ให้มี ความหลากหลาย น่าสนใจ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของ ประชาชน รวมทง้ั เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามาจดั กจิ กรรมเพ่อื เช่อื มโยงความสัมพันธข์ องคนในชมุ ชน 4) เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย : Good Partnership ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสง่ เสริมและสนับสนนุ การมีส่วนร่วมของชมุ ชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการ เรียนรใู้ ห้กบั ประชาชนอย่างมีคุณภาพ 1.6 ประสานความรว่ มมือหนว่ ยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มแี หลง่ เรียนรูอ้ ื่น ๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ ศนู ย์เรียนรู้ แหลง่ โบราณคดี ห้องสมดุ เพือ่ สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้มีรปู แบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน 2. ดา้ นหลกั สตู ร ส่อื รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล งานบรกิ าร ทาง วชิ าการ และการประกนั คณุ ภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตร ท้องถ่นิ ทส่ี อดคล้องกับสภาพบรบิ ทของพื้นท่ี และความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายและชุมชน 2.2 สง่ เสริมการพัฒนาสอื่ แบบเรียน สอ่ื อิเล็กทรอนิกสแ์ ละสอื่ อื่น ๆ ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ของผ้เู รียน กลมุ่ เป้าหมายท่วั ไปและกลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ 2.3 พัฒนารปู แบบการจดั การศกึ ษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและ การควบคมุ การสอบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ

26 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะ หลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบการ สอบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการ เรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล และเผยแพรร่ ปู แบบการจัด สง่ เสริม และสนับสนุนการจดั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้มีการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการ พัฒนาให้เหมาะสมกบั บริบทอยา่ งต่อเนอื่ ง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการ ประเมิน คณุ ภาพภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของ ระบบการประกัน คุณภาพ และสามารถดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่าง ต่อเน่ืองโดยใช้การประเมิน ภายในด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่ีเล้ียงเข้าไปสนับสนุน อย่างใกล้ชดิ สำหรับสถานศกึ ษาท่ียังไมไ่ ดเ้ ขา้ รับการประเมินคุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการ จดั การศึกษาให้ได้คณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกำหนด 3. ด้านเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาให้เชื่อมโยงและ ตอบสนองต่อการจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือ กระจายโอกาสทางการศึกษาสำหรับกลุม่ เป้าหมายต่าง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลาย และมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองให้รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ รายการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุ ศกึ ษา สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์เพ่อื การศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอร์เนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่าน ระบบ เทคโนโลยดี ิจิทัล และชอ่ งทางออนไลนต์ ่าง ๆ เชน่ YouTube Facebook หรอื Application อื่น ๆ เพื่อส่งเสริมให้ครู กศน. นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พฒั นาสถานีวิทยุศกึ ษาและสถานโี ทรทัศน์เพอ่ื การศึกษา เพอื่ เพิม่ ประสิทธิภาพการ ผลิต และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่าง ตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต โดยขยายเครอื ขา่ ยการรบั ฟงั ให้สามารถรบั ฟงั ไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา ครอบคลุมพื้นทีท่ ่ัว ประเทศ และเพิ่มช่องทาง ให้สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พรอ้ มทจ่ี ะรองรับการพัฒนาเป็นสถานวี ิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา สาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่น ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา และการเรียนรู้ไดต้ ามความต้องการ 3.5 สำรวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง และนำผลมาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษา และการเรียนรตู้ ลอดชีวิต ของประชาชนได้อยา่ งแท้จรงิ

27 4. ด้านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอันเกีย่ วเนื่องจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หรือ โครงการอนั เก่ยี วเนือ่ งจากราชวงศ์ 4.2 จัดทำฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ ที่สามารถนำไปใช้ในการวางแผน การติดตาม ประเมินผล และการพฒั นางานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้มีความพร้อมในการจัด การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหน้าทท่ี ่กี ำหนดไว้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4.5 จัดและส่งเสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถชี วี ิตของประชาชนบนพืน้ ท่ี สงู ถ่นิ ทรุ กนั ดาร และพื้นที่ชายขอบ 5. ดา้ นการศึกษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พ้นื ที่เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ และพ้ืนทบ่ี รเิ วณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกจิ กรรมส่งเสรมิ การศกึ ษาและการเรียนรทู้ ี่ตอบสนอง ปญั หา และความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย รวมทงั้ อัตลักษณ์และความเป็นพหวุ ัฒนธรรมของพื้นที่ 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและ ต่อเนื่อง เพอื่ ให้ผเู้ รยี นสามารถนำความรทู้ ี่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริง 3) ใหห้ นว่ ยงานและสถานศกึ ษาจัดให้มมี าตรการดูแลรกั ษาความปลอดภยั แก่บุคลากร และนักศึกษา กศน. ตลอดจนผมู้ าใช้บริการอย่างทั่วถงึ 5.2 พัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทำแผนการศึกษาตาม ยุทธศาสตร์ และบรบิ ทของแตล่ ะจังหวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ 2) จัดทำหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการ ของตลาด ให้เกดิ การพฒั นาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพนื้ ที่ 5.3 จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ ชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนใหเ้ ป็นศูนยฝ์ ึกและ สาธิต การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนว พระราชดำริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง สำหรับประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธีการเรียนรู้ที่ หลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุกเพ่ือ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัด อบรมแกนนำดา้ นอาชีพ ที่เนน้ เร่อื งเกษตรธรรมชาติท่ีสอดคลอ้ งกับบริบทของชมุ ชนชายแดน ให้แก่ ประชาชนตามแนวชายแดน

28 6. ด้านบคุ ลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดับ ทุกประเภทให้มสี มรรถนะสูงข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง ท้งั กอ่ นและ ระหวา่ งการดำรงตำแหนง่ เพือ่ ให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัตงิ าน สามารถปฏบิ ัติงานและบริหารจัดการ การดำเนนิ งาน ของหน่วยงานและสถานศึกษาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั สง่ เสริมให้ขา้ ราชการใน สังกัดพัฒนาตนเอง เพื่อเลื่อนตำแหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชิง ประจักษ์ 2) พฒั นาศกึ ษานเิ ทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จำเปน็ ครบถ้วน มคี วามเปน็ มืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยในสถานศึกษา 3) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตำบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน. ตำบล/แขวง และการปฏิบัตงิ านตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยเน้นการเปน็ นัก จัดการความรู้และผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มปี ระสิทธิภาพ อย่างแท้จรงิ 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถ จัดรูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทำแผนการ สอน การจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล และการวิจัยเบอ้ื งต้น 5) พัฒนาศักยภาพบคุ ลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศกึ ษาและการเรียนรู้ ให้มี ความรู้ ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพในการจัดบริการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน 6) ส่งเสรมิ ใหค้ ณะกรรมการ กศน. ทกุ ระดบั และคณะกรรมการสถานศกึ ษา มีส่วน รว่ มในการบรหิ ารการดำเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อย่างมีประสิทธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทำหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคี เครือข่าย ทั้งในและต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่ม ประสทิ ธิภาพในการ ทำงานร่วมกนั ในรปู แบบทีห่ ลากหลายอย่างต่อเนอ่ื ง 6.2 การพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานและอัตรากำลัง 1) จัดทำแผนการพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานและดำเนินการปรับปรุงสถานที่ และวัสดุ อปุ กรณ์ ให้มีความพรอ้ มในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 2) บริหารอัตรากำลังท่ีมอี ยู่ ทงั้ ในส่วนท่ีเปน็ ข้าราชการ พนกั งานราชการ และลูกจ้าง ใหเ้ กิด ประสทิ ธภิ าพสูงสุดในการปฏิบตั งิ าน 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อ นำมาใช้ในการปรับปรุงโครงสรา้ งพน้ื ฐานใหม้ คี วามพร้อมสำหรับดำเนนิ กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย และการสง่ เสริมการเรยี นรู้สำหรบั ประชาชน

29 6.3 การพฒั นาระบบบริหารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันท่ัว ประเทศ อย่างเป็นระบบ เพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือ สำคัญในการบรหิ าร การวางแผน การปฏบิ ตั ิงาน การตดิ ตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกำกับ ควบคมุ และเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณให้เปน็ ตามเป้าหมายทก่ี ำหนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนกั ศึกษา กศน. ใหม้ คี วามครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชอื่ มโยงกนั ทว่ั ประเทศ สามารถสบื คน้ และสอบทานได้ทันความต้องการเพ่อื ประโยชน์ในการจัด การศึกษา ใหก้ บั ผเู้ รยี นและการบริหารจัดการอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้ง การศึกษาวิจัย เพื่อสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาประสิทธภิ าพการดำเนนิ งานที่สอดคล้องกับความ ต้องการของประชาชน และชุมชนพร้อมทัง้ พัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแขง่ ขันของหนว่ ยงานและ สถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนา และส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการเรียนร้ตู ลอดชีวติ 6) ส่งเสริมการใช้ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เปน็ ตน้ 6.4 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงาน การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เชื่อมโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคี เครือข่ายทงั้ ระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดำเนินงานตาม นโยบายในแต่ละเรอ่ื ง ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 3) ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร และสอ่ื อนื่ ๆ ทเ่ี หมาะสม เพอ่ื การ กำกับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการประจำปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏบิ ัติ ราชการประจำปี ของสำนักงาน กศน. ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาท่กี ำหนด 5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอก องค์กร ตั้งแต่ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพื่อความเป็น เอกภาพในการใชข้ ้อมูล และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

30 2.6 ยุทธศาสตรจ์ ังหวัดนครปฐม 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) วิสัยทัศน์ (Vision) “เมอื งเกษตรและอตุ สาหกรรมปลอดภยั แหล่งทอ่ งเท่ยี วเชงิ ประวตั ิศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม ศนู ยก์ ลางการศกึ ษา และประชาชนมคี ุณภาพชีวติ ที่ดี” พันธกจิ (Misson) เพ่ือใหก้ ารพัฒนาจังหวัดนครปฐมมงุ่ สูก่ ารเปน็ “เมืองเกษตรและอตุ สาหกรรมปลอดภัย แหล่งทอ่ งเท่ยี วเชิงประวัตศิ าสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม ศนู ย์กลางการศกึ ษา และประชาชนมีคณุ ภาพ ชีวิตทด่ี ี” ภารกจิ หลักและการมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น ซงึ่ จะนำไปสูก่ ารพฒั นาเพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนและการพัฒนาอย่างยง่ั ยนื มดี ังนี้ 1. สง่ เสรมิ พัฒนามาตรฐานด้านคุณภาพและความปลอดภยั ของผลผลิตทางการเกษตร และอุตสาหกรรมตลอดห่วงโซ่คุณค่า 2. ส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี วเชิงประวตั ิศาสตร์ ศาสนา และวฒั นธรรมใหม้ ีคุณภาพตาม เกณฑ์มาตรฐานการท่องเทย่ี ว 3. พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต สร้างความมัน่ คงทางสงั คม ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา และ บริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอยา่ งยงั่ ยนื เป้าประสงคร์ วม (Overall Goals) 1. มูลคา่ การจำหน่ายผลผลติ การเกษตร และสินค้าเกษตรปลอดภยั เพมิ่ ขน้ึ 2. จำนวนแปลง/ฟารม์ ท่ีผา่ นการรับรองมาตรฐานเกษตรปลอดภยั (GAP) และเกษตร อินทรยี ์ 3. จำนวนโรงงานท่ผี ่านเกณฑต์ ัวชว้ี ัดอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศเพม่ิ ขึ้น 4. รายไดจ้ ากการท่องเที่ยวเพิม่ ข้นึ และมีแหล่งท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และ วัฒนธรรมท่ไี ด้รบั การพฒั นาตามเกณฑ์มาตรฐานการทอ่ งเทีย่ วเพม่ิ ข้ึน 5. การพัฒนาคณุ ภาพทางการศึกษาใหม้ ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสงู กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน ในระดับประเทศ 6. ประชาชนมีคุณภาพชวี ิตที่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สิน และคุณภาพ สง่ิ แวดลอ้ มอย่ใู นเกณฑ์มาตรฐานท่กี ำหนด ประเดน็ ยุทธศาสตร์ (Strategy Issues) 1. พัฒนาการจดั การห่วงโซ่คุณค่าสนิ ค้าเกษตร อาหารปลอดภยั และสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ 2. ยกระดบั การท่องเทย่ี วเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และวฒั นธรรมใหม้ คี ณุ ภาพตาม เกณฑม์ าตรฐานการทอ่ งเทยี่ ว 3. พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและความม่ันคงทางสังคม ยกระดบั การศึกษา และบริหารจัดการ ส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งย่ังยืน

31 เป้าประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ และกลยุทธ์ 1. ประเด็นยทุ ธศาสตร์ 1 พฒั นาการจดั การหว่ งโซค่ ณุ ค่าสนิ คา้ เกษตร อาหารปลอดภยั และส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ 1.1 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1 มูลค่าสินคา้ เกษตรและอาหารปลอดภัยเพิ่มข้ึน และอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศไดร้ ับการสง่ เสริมอยา่ งตอ่ เน่อื ง 1.2 กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ 1 พัฒนาศักยภาพเกษตร ปัจจยั พนื้ ฐาน และเทคโนโลยนี วตั กรรมทเ่ี อ้อื ต่อ การผลติ กลยทุ ธ์ 2 พัฒนามาตรฐานการผลิต การแปรรปู การลดตน้ ทนุ และสง่ เสริม อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ กลยุทธ์ 3 สรา้ งมูลคา่ เพมิ่ แกผ่ ลผลิตและพัฒนาความแตกตา่ งของผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์ 4 ส่งเสริมการค้า การตลาด และเชื่อมโยงเครอื ขา่ ยผู้ประกอบการทั้งในและ ตา่ งประเทศ 2. ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และ วัฒนธรรมให้มคี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการทอ่ งเทยี่ ว 2.1 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 2 การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และ วฒั นธรรมไดร้ ับการพัฒนาและยกระดบั ใหม้ ีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการท่องเท่ยี ว 2.2 กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ 5 พฒั นาโครงสรา้ งและปจั จยั พนื้ ฐานทีเ่ ออ้ื ตอ่ การทอ่ งเทยี่ ว และพฒั นาแหล่ง ท่องเทยี่ ว กจิ กรรมสนิ คา้ ด้านการท่องเที่ยว กลยุทธ์ 6 พฒั นามาตรฐานและบริหารจัดการแหล่งทอ่ งเท่ยี วอย่างมีประสทิ ธภิ าพ กลยุทธ์ 7 พฒั นาการตลาดและประชาสมั พันธก์ ารทอ่ งเท่ยี วเชงิ รุก 3. ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงทางสังคม ยกระดับ การศึกษา และบรหิ ารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยงั่ ยืน 2.1 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 3 ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมเข้มแข็ง การศึกษามคี ณุ ภาพ และบริหารจดั การสง่ิ แวดลอ้ มอย่างย่งั ยืน 2.2 กลยุทธ์ กลยุทธ์ 8 พัฒนาโครงสรา้ งและปจั จัยพื้นฐานรองรบั เศรษฐกิจและคุณภาพชีวติ ท่ดี ี กลยุทธ์ 9 เสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยในชีวติ ทรัพย์สินของประชาชน และสร้าง ความเขม้ แข็งทางสงั คม กลยทุ ธ์ 10 พัฒนาการใหบ้ รกิ ารทางการศึกษาและสาธารณสขุ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ กลยทุ ธ์ 11 บรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอยา่ งยัง่ ยืน

32 ส่วนท่ี 3 ทิศทางการดำเนนิ งาน การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม กศน. อำเภอสามพราน (SWOT Analysis) สถานศึกษาได้ประชุมบุคลากรเพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา โดยใช้ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแขง็ และจุดอ่อนจาก สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก สถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำผลไปใช้ในการกำหนดทิศ ทางการดำเนินงานของสถานศกึ ษา ซงึ่ ไดผ้ ลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา ดงั นี้ 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน 1.1 จดุ แขง็ ของ กศน. อำเภอ (Strengths - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล/อำเภอ คณะกรรมการ กศน.ตำบล/อำเภอ) ด้าน งบประมาณ ด้านอาคารสถานที่ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และด้านโครงสร้างองค์กร/การบริหารจัดการ คา่ นยิ มองคก์ ร ดา้ นหลักสูตร 1. มีหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ทม่ี โี ครงสรา้ งยดื หยดุ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และการจดั การเรยี นรู้ และมกี ารปรับปรุง 2. มีหลกั สูตรการศึกษาต่อเนือ่ งท่ีไดร้ บั การรับรองจากสำนักงาน กศน.และจาก หน่วยงานอนื่ ๆ เชน่ สำนกั งานทดสอบฝีมือแรงงาน วิทยาลัยในวงั เปน็ ต้น 3. ครสู ่วนใหญส่ ามารถจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย โดยมุ่งเนน้ ผู้เรียนเป็น สำคัญ 4. พนื้ ท่อี ำเภอสามพรานมีวทิ ยากร การศึกษาตอ่ เนือ่ งอย่างเพยี งพอตอ่ การจดั กจิ กรรม 5. วทิ ยากรการศกึ ษาต่อเนอ่ื งมคี วามรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอดความร้แู ละ ทกั ษะให้กับกล่มุ เป้าหมายเป็นอย่างดี 6. ผเู้ รยี นเมือ่ จบการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ได้นำวุฒิการศกึ ษาไปพฒั นาตนเอง เชน่ เรยี นตอ่ ในระดบั ที่สงู ขน้ึ หรือ มีทางเลอื กในการประกอบอาชีพมากขน้ึ 7. ผูเ้ รียนการศึกษาตอ่ เนื่อง เมอ่ื เรยี นจบหลกั สูตรสามารถนำความรูไ้ ปประกอบ อาชพี พฒั นาอาชีพ และดำรงชีวิตได้ ด้านครู / บุคลากร 8. ผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษามคี วามรู้ ความสามารถและ ประสบการณใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน 9. บคุ ลากรมีความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทมี่ ีความสามัคคี ทำงานเปน็ ทมี และมีจิต สาธารณะ 10. บคุ ลากรไดร้ ับการอบรมและพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง และนำมาใช้ในการพัฒนา งาน 11. บุคลากรมที ักษะในการประสานงานและทำงานรว่ มกับภาคีเครอื ข่าย 12. บุคลากรปฏบิ ัตหิ น้าที่โดยยึดหลักธรรมภบิ าลและดำเนนิ ชีวิตตาม หลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง

33 13. บุคลากรมกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละถา่ ยทอดความรู้ ประสบการณ์ร่วมกัน อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ด้านงบประมาณ 14 ไดร้ บั งบประมาณในการจัดกิจกรรมอย่างเพยี งพอ 15. ภาคีเครอื ขา่ ยสนับสนุนค่าสาธารณูปโภค ดา้ นบริหาร 16. มีโครงสร้างการบรหิ ารงานท่ชี ัดเจน และมอบหมายงานตามโครงสร้าง 17. มภี าคีเครอื ขา่ ยคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะกรรมการ กศน. ตำบล ส่งเสริมสนับสนนุ การจัดการศกึ ษา 18. มีแผนการปฏิบตั งิ านที่ชัดเจน สามารถปฏบิ ัติงานได้ตามแผนอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ 19. กศน.อำเภอสามพราน และ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิราชกมุ าร”ี อำเภอสาม พราน ตัง้ อย่ใู นแหล่งชุมชน การคมนาคมสะดวก 20. หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอสามพรานเป็นแหลง่ รวบรวม องคค์ วามร้ทู ห่ี ลากหลายเอื้อต่อการจัดกิจกรรมและใหบ้ ริการแก่กลุ่มเป้าหมาย 21. มี กศน.ตำบล ครบทกุ ตำบลสามารถจดั การศึกษาให้ประชาชนไดอ้ ยา่ งท่ัวถงึ 22. มวี ัสดุ อปุ กรณ์ส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและเพยี งพอตอ่ การจัดกิจกรรม 23. มีการนเิ ทศ ติดตามผลในทกุ กจิ กรรม 1.2 จุดออ่ นของ กศน. อำเภอ (Wesknesses - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล/อำเภอ คณะกรรมการ กศน.ตำบล/อำเภอ) ด้าน งบประมาณ ด้านอาคารสถานที่ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และด้านโครงสร้างองค์กร/การบริหารจัดการ ค่านยิ มองคก์ ร ดา้ นหลกั สตู ร 1. การประเมินหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 และหลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ืองยงั ไม่เปน็ ระบบ ดา้ นบคุ ลากร 2. ครบู างคนมีความสามารถในการออกแบบการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ เ่ี น้น ผู้เรียนเปน็ สำคญั ในรายวิชาหลกั คอ่ นขา้ งนอ้ ย 3. ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นปลายภาค รายวชิ าหลกั ได้แก่ วิชา ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์คอ่ นข้างต่ำ 4. บุคลากรบางสว่ นยงั ขาดความรู้และทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีท่ีทันสมัยในการ จดั การเรยี นรูท้ ี่เหมาะสมกับผู้เรียน 5. ครบู างคนไมไ่ ดน้ ำสื่อทเ่ี ปน็ รูปแบบนวตั นกรรมใหม่ ๆ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่งผลให้ผ้เู รยี นไม่สนใจเท่าที่ควร 6. สถานศกึ ษายังขาดการอบรมวิทยากรการศกึ ษาตอ่ เนื่อง ดา้ นงบประมาณ 7. ไมไ่ ดร้ ับการจัดสรรเงนิ งบประมาณในการจัดหาครุภัณฑส์ ำนักงานการจัดการ เรยี นการสอนและการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย

34 8. สำนกั งาน กศน. จัดสรรงบประมาณ การศึกษาตามอธั ยาศัย มาแบบไม่ตรงกบั ความต้องการ รับรสู้ อ่ื ของผ้รู บั บริการยุคใหม่ เช่น ค่าวารสารหนังสอื พิมพ์หอ้ งสมดุ ด้านบริหารงาน 9. กศน.อำเภอสามพราน และ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลริ าชกุมารี” อำเภอสาม พราน มสี ถานท่ไี มเ่ ป็นเอกเทศ คอื ใช้รว่ มกบั หนว่ ยงานอืน่ ทำใหไ้ มส่ ามารถบริหารจัดการไดอ้ ยา่ ง คลอ่ งตวั 10. กศน. ตำบลบางแหง่ ไมเ่ ปน็ เอกเทศทำใหไ้ มส่ ามารถจดั กิจกรรมตามภารกิจ บางกิจกรรมได้อยา่ งคลอ่ งตัว 11. สถานศกึ ษายังไม่ไดน้ ำผลการนิเทศติดตามมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการจดั กจิ กรรมอยา่ งเป็นระบบ 2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities - O) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม- วัฒนธรรม ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดตอ่ ส่อื สาร และดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม 1. บางพน้ื ทขี่ องอำเภอสามพรานเป็นลักษณะของชมุ ชนทีเ่ ข็มแข็ง 2. ภาคเี ครอื ข่ายและผูน้ ำชมุ ชนส่วนใหญใ่ หค้ วามรว่ มมือเป็นอยา่ งดี และใหก้ าร สนับสนุนด้านตา่ ง ๆ เชน่ สถานท่ี บคุ ลากร วสั ดุอุปกรณ์ และ การประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรม กศน. 3. ประชาชนสว่ นใหญ่ยงั ไมม่ ีการนำเทคโนโลยมี าใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การ ดำรงชวี ิต และการประกอบอาชีพ 4. พน้ื ทอ่ี ำเภอสามพราน มีแหล่งเรียนรู้ ภูมิปญั ญาท้องถ่ินทห่ี ลากหลายทง้ั ด้าน การเกษตร ศิลปวัฒนธรรม สาธารณสขุ ด้านการศึกษาตลอดด้านการปกครอง และอืน่ ๆ 5. พ้นื ที่อำเภอสามพรานบางพน้ื มปี ระเพณี วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ 6. มีเครอื ข่ายใหบ้ รกิ ารอินเตอรเ์ นต็ ครอบคลุมทุกพ้นื ทที่ ำใหป้ ระชาชนเขา้ ถึง ขอ้ มลู ได้ง่ายและเกดิ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 6. พนื้ ท่ีของอำเภอสามพราน เป็นพ้ืนทเี่ กษตรกรรมมผี ลผลติ มาก ทำใหร้ าคา สนิ ค้าเกษตรตกต่ำ 7. อำเภอสามพราน บางพ้นื ทเ่ี ป็นเขตอตุ สากรรมทำใหม้ ีประชากรแฝง ค่อนข้างมากและส่วนใหญ่ตอ้ งการวฒุ ิการศกึ ษา เพอ่ื นำไปใชใ้ นการประกอบอาชพี 8. ลกั ษณะพน้ื ทใ่ี นบางพ้ืนที่เป็นการอยู่ร่วมกนั เปน็ ชุมชน 9. พื้นที่อำเภอสามพรานเข้าสู่สังคมผ้สู งู อายุ 2.2 อปุ สรรค/ความเสีย่ ง (Threats - T) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม- วฒั นธรรม ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นเทคโนโลยี/การคมนาคม ตดิ ต่อสอ่ื สาร และดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม 1. พ้ืนทอี่ ำเภอสามพรานเปน็ ลักษณะกงึ่ เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม ทำให้การ รวมตัวของคนในชุมชนบางชุมชน ในการจดั กิจกรรม กศน. ทำไดย้ าก 2. ประชาชนท่ีเป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรมยา้ ยถ่ินฐานบอ่ ย 3. ครู กศน.ตำบลไดร้ ับมอบหมายภารกิจจากต้นสังกดั หลายด้าน และภารกจิ จาก หนว่ ยงานอน่ื ที่ทำ MOU รว่ มกนั ทำให้มีปริมาณของงานมาก แต่คุณภาพของงานไม่สมบรู ณเ์ ท่าทค่ี วร 4. ผูน้ ำชมุ ชน/ทอ้ งถิน่ บางพนื้ ท่ี ไมส่ นบั สนนุ การจัดกิจกรรมของ กศน.

35 5. หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มี รายวิชาเลอื กจำนวนมาก เปน็ อปุ สรรคในการบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรยี นรู้ 6. ลกั ษณะพืน้ ทใ่ี นบางพนื้ ที่เปน็ ลกั ษณะกระจาย 7. ประชาชนสว่ นใหญม่ ีอาชพี หลกั 8. สถานประกอบการบางแหง่ ไมส่ นบั สนุนแรงงานในสถานประกอบการศึกษาต่อ หรอื ไม่ใหผ้ ้เู รยี นเขา้ กจิ กรรม แนวทาง/กลยุทธ์การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน. อำเภอ วสิ ยั ทศั น์ ภายในปี 2565 ผู้เรียน และผู้รับบริการของ กศน. อำเภอสามพราน ได้รับบริการ การศึกษาตลอดชีวิตที่มีมาตรฐาน สามารถดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่าย ชมุ ชน เกดิ สงั คมแห่งการเรยี นรอู้ ยา่ งทัว่ ถึง และเท่าเทยี มกนั ปรชั ญา เรยี นรตู้ ลอดชีวติ คิดเปน็ เนน้ พอเพียง อตั ลกั ษณ์ เรียนรู้ มีจิตอาสา เรียนรู้ คอื ผเู้ รียนสามารถและแสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเอง ผ่านช่องทางต่าง ๆ จติ อาสา คือ ผู้เรยี นช่วยเหลอื สถานศึกษา ชมุ ชน สงั คม โดยไม่หวงั ผลตอบแทน เอกลกั ษณ์ องคก์ รแห่งการเรียนรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ หมายถงึ สถานศึกษา ภาคเี ครือข่าย รวมรวมองคค์ วามรู้ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพอื่ ให้เกิดการเรยี นรู้รว่ มกัน พันธกจิ 1. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้ผเู้ รยี น และผู้รบั บริการ มี มาตรฐาน และสามารถดำเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นรู้ และส่อื การเรียนรู้ ทีส่ ง่ เสริมการเรยี นรูท้ เี่ น้น ผู้เรียนเปน็ สำคัญ 3. พัฒนาครูผสู้ อนใหม้ คี วามรู้ ทักษะในการออกแบบ การจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั 4. พฒั นาหลักสตู รการจดั การศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพสอดคลอ้ งกบั ความต้องการ และการ เปล่ยี นแปลงของสังคม 5. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธิภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล และการ มสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครอื ข่าย ชมุ ขน 6. ส่งเสรมิ ใหภ้ าคเี ครอื ข่าย ชมุ ชน รว่ มจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 7. รวบรวมองค์ความรู้ในท้องถิ่น และเผยแพร่ประชาสมั พันธส์ ่ชู มุ ชน

36 เป้าประสงค์ พันธกจิ เป้าประสงค์ 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม 1. ผู้เรียนและผูร้ บั บรกิ ารมีความรู้ ทักษะ และ อธั ยาศยั ให้ผู้เรียน และผ้รู ับบรกิ าร มีมาตรฐาน มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามมาตรฐานที่ และสามารถดำเนนิ ชีวิตตามหลักปรชั ญาของ สถานศึกษากำหนด เศรษฐกิจพอเพยี ง 2. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ และสอื่ 2. ผเู้ รียนมีทักษะการแสวงหาความรู้ การเรยี นรู้ ท่สี ง่ เสริมการเรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็น กระบวนการคดิ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ สำคญั ตอ่ การพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง 3. พฒั นาครผู ูส้ อนให้มคี วามรู้ ทักษะในการ 3. ครูผู้สอนมคี วามรู้ ทกั ษะในการออกแบบ ออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ เี่ นน้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็น ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั สำคญั ได้อย่างมคี ณุ ภาพ 4. ครูผู้สอนมคี วามรู้ ทกั ษะในการจัดกจิ กรรม การเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ได้อยา่ งมี คณุ ภาพ 4. พฒั นาหลักสูตรการจดั การศึกษาใหม้ ีคุณภาพ 5. หลกั สูตรการจดั การศึกษามคี ุณภาพสอดคลอ้ ง สอดคล้องกับความตอ้ งการ และการเปล่ียนแปลง กับความตอ้ งการ และการเปลย่ี นแปลงของสังคม ของสังคม 5. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ี 6. สถานศกึ ษามีระบบบรหิ ารจดั การตามหลกั ประสิทธิภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล และ ธรรมาภิบาล การมีส่วนรว่ มของภาคเี ครือขา่ ย ชุมขน 6. สง่ เสริมให้ภาคเี ครือขา่ ย ชุมชน รว่ มจดั การ 7. ภาคเี ครือขา่ ย ชมุ ชน ร่วมจดั การศึกษานอก ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 7. รวบรวมองคค์ วามรใู้ นทอ้ งถิ่น และเผยแพร่ 8. สถานศึกษาเปน็ องค์กรแหง่ การเรียนรู้ ประชาสัมพันธ์ส่ชู ุมชน กลยุทธ์ 1. พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 2. พัฒนาบุคลากร 3. การบริหารจดั การ โดยในแตล่ ะกลยทุ ธ์ได้กำหนดวัตถุประสงคก์ ลยทุ ธ์ไว้ดงั นี้

37 ท่ี กลยทุ ธ์ วตั ถุประสงคก์ ลยุทธ์ 1 พฒั นาคณุ ภาพ 1. เพอ่ื ให้ผู้เรียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ผเู้ รียน 2. เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนมที ักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้อย่างตอ่ เนอ่ื ง และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชวี ิต 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ทิ างการศกึ ษาตามนโยบายสถานศกึ ษา กำหนด 4. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียน หรอื ผรู้ บั บริการมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะใน การประกอบอาชีพ 5. เพือ่ ให้ผู้เรยี น หรือผู้รับบรกิ ารปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 6. เพื่อใหผ้ ู้เรียน หรอื ผูร้ บั บรกิ ารสามารถใช้เทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม 7. เพ่อื ให้ผูร้ ับบริการไดร้ บั ความรแู้ ละ/หรอื ประสบการณจ์ ากการเขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2 พฒั นาบุคลากร 1. เพอื่ ให้บุคลากรเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ 2. เพอ่ื ให้บุคลากรสามารถออกแบบการจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็น สำคญั 3. เพ่ือใหบ้ ุคลากรมคี วามรู้ ทกั ษะการจดั การเรียนรทู้ เ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั 4. เพื่อใหบ้ ุคลากรมคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถพัฒนาหลักสตู ร การจัดการศึกษาใหม้ คี ุณภาพสอดคล้องกบั ความตอ้ งการและการ เปลีย่ นแปลงทางสงั คม 3 การบรหิ ารจัดการ 1. เพอ่ื ให้สถานศกึ ษามรี ะบบสารสนเทศสำหรบั การบริหารและจดั การศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ หลกั ธรรมาภบิ าล 2. เพอื่ ให้บุคลากร ภาคเี ครอื ข่าย และคณะกรรมการสถานศกึ ษามีส่วน ร่วมในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา 3. เพื่อพัฒนาระบบการปฏบิ ตั งิ านให้มกี ารติดตาม ประเมินผล ตาม วงจรคุณภาพ PDCA 4. เพอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรอ่ งค์ความรู้ และกิจกรรม กศน. ส่ชู มุ ชน

ตารางแสดงโครงการตามพันธกจิ เปา้ ป พันธกิจ เป้าประสงค์ กล 1. จดั การศึกษานอกระบบและ 1. ผู้เรยี นและผู้รบั บรกิ ารมีความรู้ 1. พัฒ คุณภา การศึกษาตามอธั ยาศยั ให้ผู้เรยี น ทักษะ และมีคุณลักษณะอันพึง และผู้รบั บริการ มมี าตรฐาน และ ประสงค์ตามมาตรฐานทีส่ ถานศึกษา สามารถดำเนินชวี ติ ตามหลกั กำหนด ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. พัฒนากระบวนการจัดการ 2. ผเู้ รยี นมที กั ษะการแสวงหาความรู้ 2. พฒั เรียนรู้ และส่ือการเรยี นรู้ ที่ กระบวนการคดิ และสามารถนำไปใช้ บคุ ลา ส่งเสริมการเรียนรูท้ ่เี น้นผู้เรยี น ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองได้ เปน็ สำคญั อยา่ งต่อเนอื่ ง

ห ประสงคแ์ ละกลยุทธ์ ในปงี บประมาณ 2564 ลยุทธ งาน/โครงการ/กิจกรรม ฒนา 1. โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน าพผู้เรียน 2. โครงการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานสำหรบั คนพิการ 3. โครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 4. โครงการจัดหาหนังสอื เรียน 5. โครงการการประเมินเทียบระดบั การศกึ ษา 7. โครงการการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทักษะชีวิต 8. โครงการการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชุมชน 9. โครงการการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 10. โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน 11. โครงการส่งเสริมการศกึ ษาตามอัธยาศยั (กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น ของห้องสมดุ ประชาชน) 12. โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศัย (กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น ของ กศน.ตำบล) 13. โครงการภาษาอังกฤษเพือ่ การสอื่ สารด้านอาชพี 14. โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ฒนา 15. โครงการพฒั นาบคุ ลากร ากร 38

พันธกิจ เป้าประสงค์ กล 3. พัฒนาครูผสู้ อนใหม้ คี วามรู้ 3. ครูผู้สอนมีความรู้ ทกั ษะในการ 2. พัฒ ทักษะในการออกแบบ การจดั ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี บุคลา กิจกรรมการเรยี นรูท้ ีเ่ นน้ ผูเ้ รียน เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ไดอ้ ยา่ งมี เป็นสำคัญ คณุ ภาพ 4. ครูผู้สอนมีความรู้ ทักษะในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญได้อย่างมีคุณภาพ 4. พัฒนาหลักสตู รการจัด 5. หลกั สูตรการจดั การศึกษามีคุณภาพ 2. พฒั การศึกษาให้มีคุณภาพสอดคล้อง สอดคล้องกับความต้องการ และการ บคุ ลา กับความต้องการ และการ เปลย่ี นแปลงของสังคม เปลี่ยนแปลงของสงั คม 5. พฒั นาระบบบริหารจัดการให้ 6. สถานศกึ ษามรี ะบบบริหารจดั การ 3. กา มปี ระสิทธิภาพ โดยยึดหลกั ธรร ตามหลกั ธรรมาภิบาล จดั กา มาภบิ าล และการมสี ่วนร่วมของ ภาคเี ครือข่าย ชุมขน 6. ส่งเสรมิ ใหภ้ าคีเครอื ข่าย ชุมชน 7. ภาคีเครือข่าย ชุมชน รว่ มจดั การ 3. กา รว่ มจัดการศึกษานอกระบบและ ศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม จดั กา การศกึ ษาตามอัธยาศยั อธั ยาศยั 7. รวบรวมองค์ความรู้ในท้องถ่ิน 8. สถานศึกษาเปน็ องคก์ รแหง่ การ 3. กา และเผยแพร่ประชาสมั พนั ธส์ ู่ เรียนรู้ จดั กา ชุมชน

ฬ ลยทุ ธ งาน/โครงการ/กิจกรรม ฒนา 15. โครงการพัฒนาบุคลากร ากร ฒนา 15. โครงการพฒั นาบคุ ลากร ากร ารบริหาร 6. โครงการส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบ าร 16. โครงการพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศ 17. โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 18. โครงการนิเทศตดิ ตามผลการจัดการศกึ ษา ารบริหาร 19. โครงการส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของภาคเี ครือข่ายในการจดั การศึกษา าร นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 20. โครงการสง่ เสริมบทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ารบริหาร 21. โครงการประชาสัมพนั ธ์ เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ และกิจกรรม กศน. สู่ าร ชุมชน 39


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook