Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore mals

mals

Published by quantum_88, 2021-11-12 08:31:53

Description: mals

Search

Read the Text Version

1



้ำและทะเลทางการปฏบิ ตั ิการฉุกเฉินทางน Maritime and Aquatic Life Support Guide ูค ืมอแนว lines Manual

ชอ่ื หนังสอื : คู่มือแนวทางปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้�ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual พิมพค์ รั้งแรก : พฤศจกิ ายน 2557 จ�ำนวน 1,000 เลม่ ISBN : 978-616-91895-6-5 ทป่ี รึกษา : พลเรือโท พนั เลิศ แกลว้ ทนงค ์ นายอนชุ า เศรษฐเสถียร นาวาเอก ดนยั ปานแดง เรืออากาศเอก อัจฉรยิ ะ แพงมา บรรณาธกิ าร : นาวาเอก ธนษวฒั น์ ชยั กลุ กองบรรณาธกิ าร นาวาเอก ปยิ ะวัฒน์ วงศว์ านชิ นาวาเอก ภสิ ักก์ กอ้ นเมฆ นาวาเอก พสิ ิทธ์ เจริญย่ิง นาวาโท จกั รกฤษณ์ เรียมรกั ษ์ นาวาโท พรพิชิต สวุ รรณศิริ นาวาโท เสฏฐศริ ิ แสงสวุ รรณ นาวาโท ไชยวฒุ ิ เอยี่ มสมยั นาวาตรี ณภัทร มีสมเพิ่ม นาวาตรี สธุ รรม มแี สง นาวาตรี นริ นั ดร์ คงนาน เรือเอก ธนวัฒน์ ศภุ นิตยานนท์ เรือเอก สมคั ร ใจแสน นายเกียรติคุณ เผา่ ทรงฤทธ ์ิ นางสาวณญาดา เผือกข�ำ นางจิรวดี เทพเกษตรกุล นายวัฒนา ทองเอยี นางกรองกาญจน์ บญุ ใจใหญ ่ นางสาวอุรา สุวรรณรักษ์ นายบรรณรกั ษ์ สนองคณุ ออกแบบรปู เลม่ : เรอื โท สมบูรณ์ ปาลกะวงศ์ รูปภาพประกอบ : เรือโท สมบรู ณ์ ปาลกะวงศ ์ เรือตรี เทวฤทธิ์ อทุ ธา นายอภิรกั ษ์ จินดาศริ พิ ันธ ์ จัดพมิ พ์โดย : สถาบนั การแพทยฉ์ ุกเฉนิ แห่งชาติ (สพฉ.) 88/40 หมทู่ ่ี4 ซ. สาธารณสขุ 6 ถนนติวานนท์ ต�ำบลตลาดขวญั อ. เมือง จ. นนทบุรี 11000 พิมพ์ท่ี : บริษทั อัลทเิ มท พรนิ้ ตงิ้ จำ� กดั E-mail : [email protected] คูมอื แนวทางการปฏิบัตกิ ารฉุกเฉินทางน้ำและทะเล

Maritime and Aquatic Life Support Guideline (M.A.L.S.)

สารบัญ 1 2 คำ� น�ำ 3 กติ ตกิ รรมประกาศ 5 สาระส�ำคญั ส�ำหรบั ผูบ้ ริหาร 8 หมวด 1 แนวทางการป้องกันการปว่ ยเจบ็ จากนำ้� และทะเล 24 Aquatic Safety and Prevention Guidelines 33 1.1 อนั ตรายจากน้ำ� และทะเล 47 Hazards of Aquatic Environment 50 1.2 ความปลอดภยั ทางนำ้� และการป้องกนั 58 Aquatic Safety and Prevention 87 1.3 การเตรยี มการของผู้ประสบภัย และการด�ำรงชพี ในทะเล 99 Survival in Aquatic Environment 109 หมวดที่ 2 แนวทางการชว่ ยชีวิตทางน้�ำ 112 Aquatic Rescue Guidelines 118 2.1 หลักการและการช่วยชีวิตทางนำ�้ ขน้ั ตน้ Basic Aqautic Rescue and Principles 2.2 การชว่ ยชวี ติ ทางนำ้� ขั้นสูง Advanced Aquatic Rescue 2.3 การเคลื่อนยา้ ยผูป้ ระสบภัยขึ้นจากนำ�้ Removal Casualties from the Water 2.4 การคน้ หาและชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั ทางน้ำ� Search and Rescue in Aquatic Environment หมวดที่ 3 แนวทางการดแู ลผู้ปว่ ยเจบ็ จากน�้ำ และทะเล Aquatic Casualties Care Guidelines 3.1 หลักการดูแลผูป้ ่วยเจ็บทางนำ�้ Principles of Aquatic Casualties Care 3.2 การปว่ ยเจ็บจากน�้ำ และทะเล Aquatic Casualties คมู อื แนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉนิ ทางน้ำและทะเล

สารบญั หมวดที่ 4 แนวทางการลำ� เลียงและการสง่ ตอ่ ทางนำ้� 145 Aquatic Casualties Evacuation and Transportation Guidelines 148 4.1 ระบบการบริการการแพทย์ฉกุ เฉินทางน�้ำ 156 Emergency Medical System for Aquatic Environment 160 4.2 ระบบการแพทย์ฉุกเฉนิ ทางทะเล 177 Maritime Emergency Medical System 179 4.3 การเคล่ือนย้ายและล�ำเลียงผู้ปว่ ยเจบ็ ทางนำ้� 182 Aquatic Casualties Evacuation and Transportation 185 4.4 ค�ำแนะนำ� การเตรียมพาหนะทางการแพทยฉ์ ุกเฉินทางน้ำ� 186 Recommendation of Aquatic Ambulance 187 188 ภาคผนวก 189 - โครงสร้างหลักสตู รแต่ละหลกั สตู ร และเครอ่ื งหมายประจ�ำหลกั สตู ร 190 - ผังขน้ั ตอนการดแู ลผ้ปู ว่ ยเจบ็ ทางน�้ำ 192 - แผนภมู กิ ารปฏบิ ัตใิ นการรองรับผู้ป่วยเจ็บจากการด�ำนำ้� 193 - สายดว่ นที่เกีย่ วข้องกบั การแพทย์ฉกุ เฉินทางทะเล 194 - ผงั ขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน ปฏบิ ัติการฉกุ เฉินทางนำ้� 195 - ผงั ขั้นตอนการเบกิ จ่ายเงนิ เพื่อชดเชยปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินทางนำ�้ 206 - แบบบนั ทึการปฏิบัติงานบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉนิ ระดับสงู ทางน�้ำ - แบบบนั ทึกการปฏิบตั งิ านหน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับพื้นฐานทางนำ้� - แบบบนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ านหน่วยปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ เบ้อื งตน้ ทางน�ำ้ - แบบฟอรม์ หนงั สอื ส่งหลักฐานประกอบการเบิกจา่ ยการส่งตอ่ ผู้ปว่ ยทางน้ำ� - ระเบยี บคณะกรรมการการแพทยฉ์ ุกเฉนิ วา่ ดว้ ยการรบั เงนิ การจ่ายเงนิ และการเก็บรักษาเงนิ กองทนุ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2556 - ผังขัน้ ตอนการประสานอากาศยาน Maritime and Aquatic Life Support Guideline (M.A.L.S.)

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual

คำ� นำ� ระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ของประเทศไทย ในปัจจบุ นั ได้มีการพฒั นาขน้ึ เปน็ อย่างมาก ตามพระราชบัญญัติ การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 โดยการจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินน้ันเพื่อให้การเข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉิน มีความทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ ได้รับการช่วยเหลือและรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ และทันต่อ เหตกุ ารณ์ ตั้งแตก่ ารรับรู้ถงึ สภาวะการเจบ็ ป่วยฉุกเฉินจนกระทั่งพน้ วกิ ฤติ ในการนพ้ี ืน้ ทพ่ี ิเศษ ท่อี าจเปน็ พนื้ ที่ ทรุ กันดาร พ้นื ท่ีหา่ งไกล พ้นื ทเ่ี กาะ ทีม่ ีความชดั เจนได้แก่ พื้นท่ีทะเล ซง่ึ ปัจจุบันสว่ นหนงึ่ อยใู่ นความรับผิดชอบ ของกองทัพเรือตลอดจนพ้นื ทีน่ ำ�้ ท่ีประกอบรวมอย่กู บั พ้ืนท่ีบกและการคุกคามจากภยั พบิ ตั ทิ างน้ำ� และทางทะเลที่ ดูเหมอื นจะมากขนึ้ ทำ� ให้การแพทยฉ์ กุ เฉินทางน้ำ� มคี วามสำ� คญั ทงั้ ตอ่ ระบบเพื่อให้เกดิ ความครอบคลมุ อย่างทัว่ ถงึ หากแต่ยังมีลักษณะจ�ำเพาะ และท้าทายในการปฏิบัติการในพื้นท่ีทางน�้ำ อันเกิดจากความยากล�ำบาก อาศัย เทคนิค และประสบการณ์ ตลอดจนอาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยส�ำหรับผู้ปฏิบัติการ จึงมีความจ�ำเป็น อย่างยง่ิ ในการดำ� เนินการจดั ทำ� ค่มู อื และแนวทางการปฏบิ ัตกิ ารแพทย์ฉกุ เฉนิ ทางน�้ำ คู่มือและแนวทางการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินทางน้�ำ และทะเล เล่มน้ี พัฒนาข้ึนจากผลการสรุป การประชุมเชิงปฏิบัติการที่จัดข้ึนโดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ เพื่อพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากร ส�ำหรับการปฏบิ ัติการแพทยฉ์ กุ เฉินทางทะเล และชายฝัง่ ณ โรงแรมพกั พิงอิงทาง อ.เมอื ง จ.นนทบุรี เม่อื 21-22 มถิ นุ ายน 2553 และเอกสารคู่มือการอบรมในหลกั สตู รการกู้ชพี และชว่ ยชวี ติ ทางน�้ำส�ำหรับบคุ ลากรสาธารณสขุ ท่ไี ด้ริเรม่ิ จากความร่วมมอื กันระหว่าง สถาบันการแพทยฉ์ กุ เฉินแหง่ ชาตแิ ละกรมแพทยท์ หารเรือ (กองเวชศาสตร์ ใตน้ ำ้� และการบินกรมแพทยท์ หารเรอื )โดยจดั ขนึ้ คร้งั แรกเมอ่ื พ.ศ.2554โดยตอ่ มาไดจ้ ัดอย่างตอ่ เนือ่ งปลี ะ1-2คร้ัง เนอ้ื หาในคมู่ อื และแนวทาง ได้จัดหมวดหมู่ใหมต่ ามปรัชญาของหลกั สูตร 4 ด้าน อันได้แก่ การปอ้ งกนั การเข้าชว่ ย การดูแล และการเคล่ือนย้ายล�ำเลียงในการป่วยเจ็บทางน้�ำท้ังฉุกเฉินและไม่ฉุกเฉินที่มีลักษณะจ�ำเพาะ โดย พยายามรวบรวม จัดเรียบเรียง ประยุกต์ให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศ เน้นขั้นตอนการปฏิบัติเพ่ือให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ อันสร้างให้ผู้ปฏิบัติการเกิดทักษะ และประสบการณ์ โดยอาศัยองค์ความรู้หลักท่ีกรมแพทย์ ทหารเรือใช้ ท้ังในการปฏิบัติการจริง และการฝึก ตลอดจนองค์ความรู้เพ่ิมเติมจากบุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ และสิ่งส�ำคัญการได้รับการระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานเก่ียวข้อง ตลอดจนผู้ปฏิบัติ ท่ีหลากหลาย ทั้งในการสมั มนาพจิ ารณ์ และการนำ� ไปใช้จริงและใหข้ ้อมลู ส่งกลับ เพือ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาคูม่ อื และ แนวทางท่ีถกู ต้อง เหมาะสม และทันสถานการณต์ ่อไปในอนาคต ค่มู อื แนวทางการปฏบิ ัติการแพทยฉ์ ุกเฉนิ ทางนำ้� และทะเล เลม่ นี้ จะเปน็ ก้าวแรกทสี่ ำ� คัญในการพัฒนา การแพทย์ฉกุ เฉนิ ทางน้�ำ และทะเล ต่อไปในอนาคต เพื่อให้การบรกิ ารแพทยฉ์ กุ เฉนิ ครอบคลุมอยา่ งทว่ั ถึง สำ� หรบั พื้นท่ที ะเล พนื้ ท่หี ่างไกล พน้ื ท่ีทุรกนั ดาร และพ้นื ท่ีเกาะ ให้ผู้ปว่ ยฉกุ เฉนิ ไดร้ ับการบริการอย่างทนั ท่วงที และ บคุ ลากรปฏบิ ัติงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และปลอดภยั 1

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual กิตตกิ รรมประกาศ หนังสือคู่มือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้�ำและทะเลเล่มนี้ ส�ำเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือของ หน่วยงานต่างๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งทั้งภายในกองทัพเรือ ได้แก่ กองเวชศาสตรใ์ ตน้ ้�ำและการบิน กรมแพทย์ทหารเรือ กองวิทยาการ ศนู ย์วิทยาการ กรมแพทยท์ หารเรือ โรงเรียนนาวิกเวชกิจ ศนู ย์วทิ ยาการ กรมแพทย์ทหารเรอื กองประดาน้ำ� และถอดท�ำลายอมภัณฑ์ กรมสรรพวุธทหารเรือ กองอตุ นุ ิยมวิทยา กรมอุทกศาสตรก์ องทพั เรือ เป็นต้น และนอกกองทัพเรือ ได้แก่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โดยได้รับความอนุเคราะห์จาก ผ้นู ิพนธ์ หรือใหข้ ้อมูลในการนิพนธ์ ซ่งึ ลว้ นแต่เป็นบุคคลากรทีม่ ีความรคู้ วามสามารถ ประสบการณ์ ตลอดจน ความเชย่ี วชาญในงานการแพทย์ฉุกเฉินการกูช้ ีพและช่วยชีวิตทางนำ�้ ตลอดจนแขนงความรู้ทเ่ี ก่ียวข้อง ขอขอบคุณหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง รวมถึงผู้ทีไ่ ดเ้ ขา้ ร่วมในการประชมุ สัมมนาในการรว่ มนพิ นธ์ ใหข้ อ้ มลู คำ� ปรกึ ษา แนะน�ำ จัดทำ� ปรับปรงุ ระดมความคิดเหน็ รา่ งคู่มือฉบบั น้ี ซึง่ ได้ด�ำเนนิ การอยา่ งเป็นทางการหลายครงั้ รวมถึงการประชุมระดมความคิดเห็นต่อ (ร่าง)คู่มือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้�ำและทะเล เม่ือ  17 มิถุนายน พ.ศ.2557 ณ รร.โรแมนตกิ รีสอร์ทแอนดส์ ปา ต.หมสู ี อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสมี า ท�ำให้หนงั สือคู่มอื ฉบบั น้ีสำ� เรจ็ ลลุ ว่ งไปได้ด้วยดี คณะผจู้ ัดทํา หวังวา่ คูม่ อื แนวทางการปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินทางนำ้� และทะเล เลม่ นี้จะเปน็ ประโยชน์ให้แก่ บุคคลากรและผู้เก่ียวข้องท่ีปฏิบัติหน้าท่ีในการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินทุกท่าน ขออุทิศคุณงามความดีจากการได้รับ ประโยชน์จากหนังสือคู่มือเล่มน้ีหากมีอยู่บ้างให้กับผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้�ำและทะเลทุกท่าน ที่ได้อุทิศชีวิตใน การปฏบิ ัติหนา้ ที่ในอดตี ทผี่ ่านมา เพื่อชว่ ยเหลือชวี ิตผู้ประสบภยั ให้รอดชวี ิต 2

สาระส�ำคัญส�ำหรบั ผบู้ ริหาร การป่วยเจ็บเหตุทางน้�ำพบเป็นสาเหตุที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งของปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศไทย จากข้อมูลสถิติการป่วยเจ็บเหตุทางน้�ำในประชากรทั่วไปเป็นรองเพียงแต่อุบัติเหตุการจราจร การป่วยเจ็บเหตุ ทางน�้ำท่มี ีระดับความรุนแรงมากทีส่ ดุ คอื การจมน�้ำ เหตุการณจ์ มน�ำ้ ท่เี ดน่ ชัดหน่งึ คือ อบุ ตั เิ หตุการจราจรทางนำ้� ตลอดจนภยั พิบัตทิ างนำ้� ซึ่งสามารถมีมาตรการในการจดั การ และปอ้ งกนั ที่มปี ระสิทธิภาพได้ นอกจากการจมน้ำ� การป่วยเจ็บจากการด�ำน�้ำพบมีแนวโน้มสูงขึ้นเนื่องจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและชาวไทยมีกิจกรรมการด�ำน้�ำ ดว้ ยสคูบามากขึ้น และจากขอ้ มูลการรายงานพบมอี ุบตั กิ ารณก์ ารป่วยเจบ็ สูงข้ึนอกี ท้ังการปว่ ยเจบ็ จากการดำ� น�้ำ สคูบา มีความจ�ำเพาะต้องอาศัยองค์ความรู้และทักษะเฉพาะในการจัดการดูแลและน�ำส่งผู้ป่วยไปยังสถาน พยาบาลที่มีห้องปรับแรงดันบรรยากาศสูง ซึ่งปัจจุบันองค์ความรู้ทางด้านนี้ได้รับการแพร่กระจายไปยังหน่วย งานนอกกองทัพเรือเพ่ิมมากข้ึน เช่นเดียวกันกับการป่วยเจ็บจากสัตว์น�้ำหรือสัตว์ทะเลที่เป็นอันตรายซึ่งมีความ จ�ำเพาะและต้องอาศัยองค์ความรู้ในการให้การดูแลก่อนถึงโรงพยาบาลอย่างเหมาะสม แม้จะมีความรุนแรงของ โรคที่ท�ำให้เสียชีวิตต�่ำกว่า จากการวิเคราะห์การป่วยเจ็บเหตุทางน้�ำท่ีเหมาะสมในการฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร ด้านการแพทย์ฉุกเฉินให้สามารถรองรับการป่วยเจ็บเหตุทางน�้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันการเสียชีวิต และทพุ พลภาพ ไดแ้ ก่ การจมนำ้� การป่วยเจ็บจากอุบตั เิ หตุจราจรทางนำ�้ ภยั พบิ ตั ิทางน�้ำเบอื้ งตน้ การป่วยเจบ็ เหตุ ด�ำน�้ำสคูบา การป่วยเจ็บจากสัตว์น้�ำ/ทะเลที่มีอันตราย ซ่ึงการอบรมจะเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ของบุคลากร ด้านการแพทย์ฉุกเฉินให้มีขีดความสามารถสูงข้ึนในการรองรับการป่วยเจ็บที่อาจพบได้ในพื้นที่รับผิดชอบตลอด จนภัยพิบัติทางน�ำ้ ทอี่ าจเกิดขึ้นไดใ้ นอนาคต นอกนยี้ งั พบวา่ บคุ ลากรทางการแพทย์ท่ีปฏบิ ัตหิ น้าท่ีดงั กล่าวมคี วาม เส่ยี งในการปฏิบตั กิ ารทางน้ำ� ในบริบทสาธารณภัยทงั้ อุทกภัย และวาตะภยั ในปัจจบุ นั ซ่งึ อาจเปน็ อนั ตรายถงึ ชวี ติ หากไมม่ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในความปลอดภยั ทางนำ้� ตลอดจนทักษะในการเอาชวี ิตรอด และการชว่ ยชีวิต ข้ันต้น การบูรณาการความปลอดภัยทางน้�ำเข้ากับหลกั สตู รจงึ มีความจ�ำเป็น เช่นเดยี วกนั แหล่งน้�ำสร้างขนึ้ เช่น สระน้ำ�  และแหลง่ น�้ำธรรมชาติ ในแตล่ ะแหง่ ทง้ั ภาคเอกชน หรอื ภาคสาธารณะ การชวี พทิ กั ษ์ (lifeguarding) เป็นอีกหนึ่งบริบทท่ีส�ำคัญในการแก้ไขปัญหาของชายฝั่งของประเทศ ซึ่งพบเห็นได้โดยท่ัวไปเช่นประเทศพัฒนา ท่มี แี หลง่ ท่องเทยี่ วชายฝั่ง การพฒั นาบุคลากรท่ัวไปท้ังท่เี ป็นบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้า หรอื ทมี่ ิใช่ทางการ แพทย์ แต่มที ักษะทางน้ำ� ดี มาฝกึ เปน็ อาสาสมคั รการกูช้ ีพและชว่ ยชีวติ ทางนำ้� อาจเป็นหนทางหนึง่ ในการพฒั นา ระบบการบริการการแพทย์ฉุกเฉินทางน้�ำได้ การพัฒนาการฝึกอบรมให้กับทั้งบุคลากรทางการแพทย์ และ บุคลากรทั่วไปจึงมีความส�ำคัญต่อการแก้ไขปัญหาการป่วยเจ็บเหตุทางน้�ำ ซ่ึงเป็นปัญหาทางสาธารณสุขของ ประเทศไทย 3

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual 4

5

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual 6

หมวดที่ 1 แนวทางการปอ้ งกันการปว่ ยเจ็บจากน้�ำและทะเล Aquatic Safety and Prevention Guidelines Aquatic Safety and Prevention Guidelines 1.1 อนั ตรายจากนำ้� และทะเล (Hazards of Aquatic Environment) - ระบาดวิทยาของการป่วยเจบ็ ทางน�้ำ 8 - ประเภทของแหลง่ นำ�้ ท่ีเส่ียงตอ่ การประสบภยั 10 - ประเภทของอนั ตรายและการประสบภยั ทางน้ำ� 12 • อนั ตรายจากน้�ำวน 13 • อนั ตรายจากคลน่ื 13 • อนั ตรายจากกระแสน�้ำชายฝ่งั 15 • อันตรายจากกระแสน้ำ� ย้อนกลับ หรอื กระแสริป 16 • อันตรายจากสภาพภูมอิ ากาศ 17 • อันตรายจากน�้ำขึน้ ลง 17 • อันตรายจากน�ำ้ ทว่ ม 18 - ภยั พบิ ัตทิ างน�ำ้ 18 1.2 ความปลอดภัยทางน้�ำและการปอ้ งกนั (Aquatic Safety and Prevention) - สาเหตขุ องการเกดิ อุบัตเิ หต ุ 24 - กฎความปลอดภัยทางน้�ำท่ัวไป 24 - ห่วงโซ่การรอดชวี ิตจากจมนำ�้ 25 - อุปกรณล์ อยตัวสว่ นบุคคล 27 - การส่อื สารในพ้ืนทีห่ าด 28 - การป้องกนั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ทางน�้ำในสถานการณต์ า่ งๆ 32 1.3 การเตรยี มการของผู้ประสบภยั และการดำ� รงชพี ในทะเล (Survival in Aquatic Environment) - การฝึกทกั ษะการเอาชวี ิตรอดทางน�้ำขั้นพื้นฐาน 33 • การลอยตวั 33 • การเคลื่อนทเ่ี ขา้ หาสถานทปี่ ลอดภยั 39 • การเอาชวี ติ รอดทางน้�ำจากสาเหตตุ า่ งๆ 42 - การเตรยี มการดำ� รงชพี ในทะเล 44 - ตวั อยา่ งชุดปฐมพยาบาล 46 7

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual 1.1 อันตรายจากน�้ำและทะเล Hazards of Aquatic Environment วตั ถุประสงคด์ ้านความรู้ - อธิบายระบาดวิทยาของการปว่ ยเจบ็ ทางน�ำ้ - อธบิ ายอันตรายจากนำ้� และทะเล - อธิบายแหล่งน�้ำเสยี่ งต่อการประสบภัย - อธิบายอันตรายเฉพาะของน้ำ� ไหลเชย่ี ว คลน่ื ทะเล กระแสน�ำ้ ย้อนกลับ น�้ำเป็นส่วนประกอบส�ำคัญของโลกประเทศไทย มาตรการในการป้องกันได้ การป่วยเจ็บทางน�้ำเป็น มี 23 จังหวัด ท่ีมีพื้นท่ีติดกับทะเลท้ังทางฝั่งอันดามันและ ส่วนหน่ึงของการป่วยเจ็บจากอุบัติเหตุหรืออุบัติภัย อ่าวไทย ความยาวตลอดชายฝั่งรวมทั้งส้ิน 2,667 กม. มี ทางน�้ำ พบว่ามีความส�ำคัญส�ำหรับระบบสาธารณสุขของ ประชากรอยู่อาศัยและประกอบอาชีพไม่น้อยกว่า ประเทศ โดยเฉพาะประเทศไทยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ 12 ล้านคนนอกจากน้ีประเทศไทยยังมีทะเลสาบ แม่น้�ำ ส�ำคัญของภูมิภาคและของโลก มีแนวโน้มในการท่องเที่ยว ล�ำคลองหนองบึงจ�ำนวนมากที่เป็นเส้นเลือดใหญ่ สูงขึ้นตามล�ำดับ คาดว่าจ�ำนวนนักท่องเท่ียวทางน�้ำมากขึ้น หล่อเลี้ยงระบบสังคมเกษตรกรรมของประเทศ มนุษย์ ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ การท่องเที่ยวทางน�้ำดังกล่าว ใช้น�้ำในการอุปโภคและบริโภค การบาดเจ็บและการ มิได้จ�ำกัดอยู่ที่ทะเลหากแต่แหล่งน�้ำธรรมชาติอ่ืนๆ ก็พบมี ป่วยเจ็บเหตุจากน�้ำเป็นส่ิงที่เกิดข้ึนได้และสามารถมี ความนยิ มมากขนึ้ เช่นกัน ระบาดวิทยาของการป่วยเจบ็ ทางน้ำ� การบาดเจ็บที่เกิดข้ึนโดยไม่ได้ต้ังใจของ องค์การอนามัยโลกประมาณการการเสียชีวิต นักท่องเท่ียวต่างชาติพบว่า การจมน้�ำเป็นเหตุที่ท�ำให้ จากการจมนำ�้ 8.4 รายตอ่ แสนราย ประชากรต่อปีสว่ นใหญ่ เสียชีวิตเป็นล�ำดับที่สองรองจากการบาดเจ็บจากเหตุ เกดิ ในประเทศท่ีมรี ายได้ตำ่� -ปานกลาง จราจรที่พบ ท้ังที่ท�ำให้เสียชีวิตและไม่เสียชีวิต การบาดเจ็บ จากรายงานของกรมควบคุมโรค กระทรวง ของนักท่องเท่ียวต่างชาติ ในมลรัฐแห่งหน่ึงชายฝั่ง สาธารณสุข การตกน้�ำ จมน�้ำ เป็นปัญหาส�ำคัญทาง ออสเตรเลียท่ีต้องรับป่วย ไว้ในโรงพยาบาล พบว่าการ สาธารณสุขของประเทศ ขอ้ มลู สถิติ พ.ศ.2545-2556 มี บาดเจ็บเหตุทางน�้ำ (Water-related Injuries) พบเป็น อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน ในทุกกลุ่มอายุอยู่ อนั ดบั สอง (ร้อยละ 17.7) รองเพียงจากอบุ ตั เิ หตุทางจราจร ในชว่ ง 5.8-7.5 โดยเฉล่ียปีละกว่า 4 พนั ราย และพบเป็น (ร้อยละ 21.8) โดยพบว่าประมาณครึ่งหนึ่ง เกิดจากโรค เหตนุ �ำของการเสยี ชวี ติ ในกลุ่มเดก็ อายุต�่ำกวา่  15 ปี (อัตรา จากการลดความกดอากาศ (Decompression Illness) 7.6-11.5) โดยมีอัตราสงู ที่สดุ ในกลมุ่ เดก็ อายุ 5-9 ปี (อัตรา รองลงมา คอื กระดูกหักและข้อเคล่ือน ตามดว้ ยการจมน�้ำ 9.3-15.1) การตกนำ้� จมน�ำ้ มอี ัตราป่วยตาย (case fatality 8

rate) สูงถงึ เกือบร้อยละ 50 ในผเู้ สียชวี ิต พบการเกดิ เหตุ เสียชีวิตจากการจมน้�ำตามสถิติท่ีอ้างถึงก่อน Aquatic Safety and Prevention Guidelines ในแหลง่ นำ�้ ตามธรรมชาติ ร้อยละ 44.4 พบมีความสมั พนั ธ์ แล้ว ท�ำให้ข้อมูลอัตราการเสียขีวิตจากการจมน�้ำน้ัน กบั พฤติกรรมเสี่ยงการดมื่ แอลกอฮอล์ โดยพบสูงถงึ ร้อยละ อาจต�่ำกว่าความเปน็ จรงิ 61.5 ในบางกลุ่มอายุ การน�ำส่งสถานพยาบาล ส่วนใหญ่ ข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (Injury ญาติหรือผู้เห็นเหตุการณ์น�ำส่งร้อยละ 56.9 น�ำส่ง surveillance) ระหว่าง พ.ศ.2541-2550 พบว่า โดยหน่วยบริการการแพทยฉ์ ุกเฉนิ รอ้ ยละ 29.6 จาก อุบัติเหตุท่ีเกิดจากจราจรทางเรือมีแนวโน้มของผู้บาด ต�ำรวจและทหาร ร้อยละ 11.8 พบการเสยี ชวี ติ ก่อนถงึ เจ็บและเสียชีวิตเพ่ิมข้ึน สาเหตุส่วนหน่ึงมาจากการ โรงพยาบาล ร้อยละ 55.5 และเสยี ชีวติ ขณะเข้ารบั การ บรรทุกน�ำ้ หนกั เกนิ เรอื ทีม่ สี ภาพไมป่ ลอดภัย คนขบั รักษาในโรงพยาบาล ร้อยละ 44.5 นอกจากนีภ้ ัยพบิ ัติ เรอื ไมช่ ำ� นาญ และบนเรอื ไมม่ เี ส้ือชูชีพหรือเครอ่ื งชว่ ย ทางนำ�้ เชน่ ธรณจำพี นิบวตันิภแัยลจะอากตั สรึนากาามริ เส(Tยี sชuวี nติ aตmอ่ iป) รวะชาตากภรยั 100ช,ี0ว0ิต0ไมคน่เพจียางกพสอาเ หหตรตุือา่เงดๆินท5 าองนั ใดนบั ชแ่วรงกที่มีพายุคล่ืนลม เคหลต่ืนุสพ�ำาคยัญุซดั แฝล่ังะ(มSีรtoาrยmงานSuผrู้เgสeีย)ชตีวลิตจอจำดแาจกนนกกอารารุทยบกกาภลดัยมุ่ เจอย็บาังยเเปหุ ปน็ตรุะเทสแศร�ำคงไทญั จยทาปที่กีร�ำพาใ.หยศงเ้.สา2ียน5ชพ56วี บิตวจ่าากกากราไมรจส่ มวนมเ้�ำส อ้ื ชแูชลพี ะชเัดปเ็นจปนจักจวัยา่ ทางนำ�้ โดยเฉพาะการจมน้�ำ หากแต่ไมไ่ ดน้ �ำมาคำ� นวณใน ความสามารถในการว่ายนำ�้ อตั ราการ ! จำ� แนกราแยหกลล่งมุ่ขอ้อามยลู ุ :ปภขรา้อะพมเทูลแศมสไรดทณงยบจัตปำ�รนี.พวสน.ำศนแ.ักล2นะ5โอ5ยตั6บราาจยกาแากลรขะเอส้ยมยีทุ ชลูธวีสศติำา� นสตตอ่กั รปน์ รโสยะำบชนาากั กยงราแนล1ปะ0ลย0ัดทุ ,0กธ0รศะ0าทสครตวนรงส์จสาาำ�ธกนาสรกั าณงเาหสนุขตปตุ ลา่ งดั ๆกร5ะทอนรั วดงบั สแารธการณสขุ วเิ คราะห์โดย วิเคราะห์:สสชุ ุชาาดดาา เเกกดิดิ มมงงคคลลกกาารรแแลละะสสม้ ม้ เอเกอเกฉเลฉมิ ลเมิกเียกรยีตริ.ตส.ิำสนำ�กั นโรกั คโไรมคต่ ไิดมตต่ อ่ดิ ตกอ่ รมกครวมบคควุมบโรคคมุ โกรรคะทกรรวะงทสราวธงาสรณาธสาุขรณสขุ รายงานของหนว่ ยงาน DAN Asia Pacific พบวา่ ท่องเท่ียวทางนันทนาการ (Recreational SCUBA ประเทศไทยพบมจี ำ� นวนผปู้ ว่ ยโรคจากการลดความดนั อากาศ diver) โดยเฉลยี่ พบมากกว่าปลี ะ 100 ราย ไมม่ กี าร สูงมาก รองจากออสเตรเลีย เท่าน้ัน จากรายงานของ รวบรวมผู้เสียชีวิตจากการด�ำน้�ำ คาดว่าได้ถูกรวบรวม กองเวชศาสตร์ใต้น้�ำและการบิน กรมแพทย์ทหารเรือ อยูก่ ับการเสยี ชวี ิตจากการจมน้�ำ และจากการติดตอ่ ท่ีท�ำการศึกษาด้านการระบาดวิทยาของโรคที่เกิดจากการ ส่วนบุคคลของเจ้าหน้าท่ีในพื้นที่พบมีจ�ำนวนมาก ลดความดันอากาศที่เกิดจากการด�ำน้�ำด้วยอุปกรณ์  ขึ้น โดยเฉพาะในจังหวัดชายทะเลท่ีมีแหล่งด�ำน�้ำ (Decompression Illness) หรอื น้�ำหนบี พบว่าการรายงาน สคูบา โดยอยู่ระหว่างการรวบรวมอีกคร้ัง เน่ืองจาก ผู้ป่วยน่าจะต�่ำกว่าความเป็นจริงมาก ในปีที่มีการศึกษาพบ ส่วนหนึ่งเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลนอก ว่าอัตราการป่วยเจ็บจะสูงข้ึนเป็นอย่างมาก และพบ กระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะภาคเอกชน ท�ำให้ไม่ มีแนวโน้มสูงข้ึนทุกปี ในปี 2544-2548ในนักด�ำน้�ำ ได้ข้อมูลที่แท้จริงทางระบาดวิทยา นอกจากน้ียังพบมี 9

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual รายงานว่าการดูแลข้ันตน้ หรือการปฐมพยาบาลไม่เหมาะ ในพ้ืนที่ ร่วมกับมีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตจากการสัมผัส สมเป็นจ�ำนวนมากก่อนถึงหน่วยงานที่ใหก้ ารรักษาจำ� เพาะ แมงกะพรุนพิษอย่างน้อย 4 ราย ท้ังสองฝั่งของภาคใต้ การได้รับบาดเจ็บจากสัตว์ทะเลท่ีเข้ารับ ทั้งหมด  เป็นชาวต่างประเทศซึ่งคาดว่าเป็นแมงกะพรุน การรักษา ในแผนกฉุกเฉินในมลรัฐชายฝั่งแห่งหน่ึงใน กล่อง (box jellyfish) ท่ีพบเป็นปัญหาของประเทศ ออสเตรเลียพบว่าอุบัติการณ์ประมาณ 0.025% เกิดจาก ออสเตรเลีย โดยขอ้ มูล รพ.กระบี่ ระหวา่ ง พ.ศ.2553- หนาม และเงี่ยงปลาท่ีมิใช่กระเบน (ประมาณร้อยละ 40) 2556 พบสูงถงึ 62 ราย โดยรอ้ ยละ 48.4 เขา้ ข่ายสมั ผัส จากเงย่ี งกระเบน(รอ้ ยละ20)ทเ่ี หลอื เกดิ จากแมงกะพรนุ พษิ แมงกะพรุนกลอ่ ง และพบรายงานว่า เกาะสมยุ และเกาะ หอยบาด โดนหนามเมน่ ทะเล ฉลามกัด เงีย่ งกงุ้ มังกร พงัน จ.สุราษฎร์ธานี เป็นพื้นท่ีที่พบรายงานการเสียชีวิต และปะการัง ส�ำหรับการรายงานการบาดเจ็บจากส่ิง สูงสุด ซ่ึงคาดว่าเกี่ยวข้องกับแมงกะพรุนกล่อง และมี มีชีวิตในทะเลในประเทศไทยยังคงมีข้อมูลจ�ำกัด จาก รายงานผูป้ ว่ ยบางรายท่ีมอี าการรนุ แรง เช่น น�ำ้ ท่วมปอด การศึกษาทบทวนเวชระเบียนในสถาน พยาบาลจังหวัด รวมถึงการรายงานผู้ป่วยกลุ่มอาการอิรูคันจิ (Irukandji ชายทะเล หลายแห่งพบการสัมผัสแมงกะพรุนพิษในอัตรา Syndrome) จากแมงกะพรนุ กล่มุ อริ ูคันจิ โดยพบมรี ายงาน ประมาณ 0.5-1.5 รายต่อนักทอ่ งเที่ยว 1 ล้านราย และต้อง ผู้ป่วยในประเทศอย่างนอ้ ย 3 ราย มีอาการท่เี ขา้ ได้กบั กลุม่ เขา้ รบั การรกั ษาในสถานพยาบาล0.1รายตอ่ 1,000รายจาก อาการอิรูคันจิ เช่นเดียวกันกับพบแมงกะพรุนขวดเขียว รายงานการเฝา้ ระวังเฉพาะกาล (ad hoc surveillance) (หัวขวด) (Blue Bottle, Portuguese Man-of-War ) ที่ถกู ในการทบทวนเวชระเบยี นรพ.33แหง่ ในจงั หวดั ชายฝง่ั ทะเล พัดเกยชายหาดภูเกต็ โดยพบเป็น Physalia utriculis และ ทง้ั สองฝัง่ ของประเทศ ระหวา่ ง พ.ศ.2546-2552 พบผู้ปว่ ย จากการสัมภาษณ์เจ้าหนา้ ท่ชี วี พิทกั ษ์ พบมีผปู้ ่วยได้รบั พิษ 381รายรอ้ ยละ52เปน็ ชาวต่างชาติมีรายงานเสยี ชวี ติ 1ราย จากแมงกะพรุนดังกล่าว เช่นกัน ในน่านน้�ำไทยยังไม่เคย ผู้ป่วยประเทศไทยยังพบมีรายงานการพบแมงกะพรุนกล่อง พบมรี ายงานผไู้ ด้รบั บาดเจบ็ จากฉลามกดั ทเี่ ชือ่ ถือได้ ประเภทของแหล่งน�้ำทเ่ี ส่ียงต่อการประสบภัย แหล่งน�้ำท่ีอาจก่อให้เกิดสถานการณ์ฉุกเฉินทาง ไม่ทราบอนั ตราย อาจพลดั ตกเขา้ ไปในแหล่งนำ้� น้�ำ มไี ดต้ ง้ั แต่แหลง่ น�ำ้ ธรรมชาติรอบหรอื ละแวกบ้าน เช่น 3. น้�ำในแม่น�้ำและล�ำธาร การไหลของน�้ำไปสู่ แหลง่ น้�ำใต้ถนุ บา้ น แหล่งน้ำ� ขงั รอ่ งนำ้� คนู ำ�้ บ่อน�้ำ แหลง่ น้�ำ ปลายน้�ำท�ำใหเ้ กดิ กระแสน้�ำ โดยอาจทำ� นายยาก อาจเร็ว เพ่อื การเกษตร ลำ� คลอง แมน่ �้ำ หนอง บึง ชายหาด ทะเล และแรง มกี ารเปลี่ยนแปลงฉบั พลัน โดยอาจมองไมป่ รากฏ และทะเลสาบ หรอื กระทง่ั แหลง่ น�้ำในบ้าน ซึง่ กลุ่มเสี่ยง ชัดบนผิวน้�ำ การติดอยู่ในกระแสน้�ำอาจยากในการเข้าสู่ฝั่ง ได้แก่ เดก็ แรกเกดิ ถึง 3 ขวบ เช่น ถังน�้ำ กะละมัง อ่างอาบน�้ำ มวลน้�ำมนี ำ้� หนักประมาณ 1 ตนั /ลบ.ม. กระแสนำ้� ประมาณ เดก็ ทารก โอ่ง ที่น่ังชักโครกในห้องนำ้� สระวา่ ยนำ�้ พลาสตกิ 2 ไมล์/ชม.(3.2 กม./ชม) มแี รงกระทำ� ถงึ 33 ปอนด์ตอ่ สระวา่ ยน้�ำในบ้าน อา่ งเลย้ี งปลา อา่ งบัว เป็นต้น ตารางน้วิ (23.2 ตนั /ตร.ม.) ในขณะท่ีกระแสน�้ำ 8 ไมล/์ ชม. 1. แหล่งน้�ำภายในบ้าน ไม่ควรปล่อยให้เด็ก (12.8 กม./ชม.) มีแรงกระทำ� ถงึ 538 ปอนดต์ อ่ ตารางนว้ิ เล็กอยู่ใกลแ้ หลง่ นำ�้ โดยไมม่ ใี ครดแู ล แมเ้ พยี งชว่ั ขณะ ควร (378.2 ตนั /ตร.ม.) อาจตดิ กบั หากอยู่ระหว่างสิ่งกีดขวางที่ ป้องกันไม่ให้เดก็ เข้าถงึ เชน่ ปิดประตูห้องนำ�้ ปดิ ฝาทนี่ ัง่ ไม่เคลอ่ื นที่ เช่น หนิ การล่องแกง่ จากกรณดี งั กล่าวกระแสนำ�้ ชักโครก ทิง้ น้ำ� ในอ่างอาบนำ้� หรอื กะละมัง หรอื นำ้� เชยี่ วทมี่ นี ยั สำ� คญั คอื นำ�้ เชย่ี วทไ่ี หลเรว็ เกนิ กวา่ 1นอ็ ต 2. แหล่งน้�ำละแวกบ้าน แหล่งน้�ำธรรมชาติ (ประมาณ 1.85 กม./ชม.) โดยอาจสังเกตวัสดุทไ่ี หลลอยน้ำ� หากมีการดูแลและก�ำหนดสถานท่ีเฉพาะโดยเจ้าหน้าที่ หากภายใน 1 นาที ไปไกลเกินกว่า 100 ฟุต หรอื 30 เมตร ชีวพิทกั ษ์ (lifeguard) อาจมีความปลอดภยั แตโ่ ดยทว่ั ไป แสดงวา่ เช่ียวมนี ยั ส�ำคญั มกั ไม่ปรากฏ หลายคร้งั ท่ีเด็กโตมกี จิ กรรมใกลแ้ หล่งน้�ำและ 10

อ่างอาบน้า หรอื กะละมัง เช่น หิน การล่องแก่ง จากกรณีดังกล่าวกระแสน้า หรือน้า 2. แหล่งน้าละแวกบ้าน แหล่งน้าธรรมชาติหากมีการ เช่ียว ที่มีนัยส้าคัญคือ น้าเช่ียวท่ีไหลเร็วเกินกว่า 1 น็อต ดูแลและก้าหนดสถานที่เฉพาะโดยเจ้าหน้าท่ีชีวพิทักษ์ (ประมาณ 1.85 กม./ชม.) โดยอาจสังเกตวัสดุท่ีไหลลอยน้า (lifeguard) อาจมีความปลอดภัย แต่โดยทั่วไปมักไม่ปรากฏ หากภายใน 1 นาที ไปไกลเกินกว่า 100 ฟุต หรือ 30 เมตร แสดงว่าเชี่ยวมีนัยส้าคญั Aquatic Safety and Prevention Guidelines ตารางแสดงก้าลังของกระแสนา้ ทคี่ วามเร็วตา่ งๆ ท่ีกระทา้ ตอ่ ร่างกายและเรือ ความเรว็ กระแส กระทา้ ต่อขา (กก.-ม.) กระทา้ ต่อตัว (กก.-ม.) กระทา้ ต่อเรอื เลก็ (กก.-ม.) 4.82 (2.6 นอ็ ต) 2.32 4.64 23.2 9.62 (5.2 น็อต) 9.29 18.58 92.9 14.48 (7.8 นอ็ ต) 20.87 41.74 208.7 19.3 (10.4 นอ็ ต) 37.19 74.38 371.9 - น็อต = น1อ็ ไตมล=์ท1ะเไลมตล่อท์ ชะ่วั เโลมตงอ่ ช=วั่ โ1ม.1ง5=ไม1ล.1ต์5่อไชม่ัวลโต์มอ่งช=วั่ โม1.ง85= ก1ิโ.8ล5เมกตโิรลตเม่อตชร่ัวตโมอ่ ชงว่ั โมง 1 กก.-ม. หมายถงึ กำ� ลงั -ทใ่ี ช้ใ1นกากร.เ-คมล. อื่หนมยาาย้ ยถวงึ ตั กถ้าุ 1ลงั กทโิ ่ใีลชก้ใรนมั กไปารเะคยละอ่ื ทนายง้า1ยวเมัตตถรุ 1ดกดั โิแลปกลรงัมจไาปกระRยivะeทrาRงe1scเuมeต,รOhio Department of Watercraft 4. เขื่อน หากเปิดน้�ำผ่าน ระดับน้�ำจะขึ้นเร1็ว-3 5. ทะเล เป็นแหล่งน้�ำที่อาจก่อให้เกิด กระแสน้�ำอาจดึงคน หรือเรือท่ีอยู่ผิวน�้ำ ปลายน�้ำมีความ สถานการณ์ฉุกเฉินทางน้�ำไดม้ ากเชน่ คลน่ื กระแสน�้ำยอ้ น อันตราย กระแสน้�ำหมนุ เวียน สามารถดงึ คน และส่ิงของ กลบั รวมไปถึงชายหาดตา่ งๆ ย้อนกลบั ไปที่เข่อื นได้ ใหห้ ลกี เลี่ยงการอยใู่ กลเ้ ข่ือน ประเภทของหาดทะเลท่เี สยี่ งต่อการประสบภยั โดยทั่วไปแล้วมี 5 ประเภทพ้ืนฐาน เรียงจาก - Bar and Rip คล่นื สามารถพัดนักว่ายน้ำ� ไปที่ อนั ตรายจากสงู สดุ มาตำ�่ สดุ ซง่ึ อาจเปลยี่ นไปมาตามฤดกู าลได้ ขอบสันดอนทรายและเข้าส่รู ปิ - Dissipative (Broad Surf Zone) เปน็ หาดที่ -LowTideTerrace เมอ่ื นำ้� ขนึ้ สนั ดอนทรายอาจ มีอนั ตรายสูงสดุ มพี น้ื ท่ีหาดทรายน้อย คล่นื สูงกระทบหาด ถกู ปกคลุมด้วยนำ�้ ลกึ และกระแสรปิ  มักมีกระแสน�้ำขน้ึ ลง คลืน่ และกระแสน้�ำแรง มีสนั ทรายอยูด่ า้ นใน พ้นื ท่คี ลืน่ ซัด ร่วมดว้ ย ฝงั่ กว้างขวาง มกั ไมม่ รี ปิ เกดิ ขึน้ ไดบ้ ่อยขณะมพี ายุ - Reflective มีคล่ืนน้อย ทรายมักหยาบ - Longshore Trough คลื่นหัวแตกขนาดใหญ่ แนวน�้ำลึกมักชัน ทำ� ใหน้ ้�ำลกึ อย่ใู กลฝ้ ่ัง นำ�้ ลึกพบในรอ่ งน�้ำใกลฝ้ ง่ั มกี ระแสรปิ คล่ืนแนวโนม้ มี ขนาดใหญ่ขึ้น 11

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual ประเภทของอันตรายและการประสบภยั ทางน�้ำ อันตรายจากทะเลและแหล่งน�้ำอื่นๆ อาจแบ่ง ได้รับบาดเจ็บทางน�้ำ กิจกรรมในการสัมผัสน้�ำพบว่า อยา่ งงา่ ยไดเ้ ปน็ อนั ตรายจากทางอบุ ตั เิ หตุกายภาพเคมภี าพ อาจมีความส�ำคัญโดยอาจสัมผัสกับน�้ำในระดับที่ และชีวภาพ โดยอันตรายจากอุบัติเหตุที่ส�ำคัญท่ีสุด แตกต่างกัน ตั้งแต่ระดับไม่สัมผัสเลย เช่น อยู่บน ได้แก่ อุบัติเหตุการจมน้�ำ อันตรายทางกายภาพของน�้ำ ยานพาหนะทางน้�ำ อยู่บริเวณชายหาด ระดับสัมผัส ทสี่ �ำคญั ไดแ้ ก่ อณุ หภมู ริ า่ งกายตำ่� การปว่ ยเจ็บจากการ เล็กน้อย เชน่ มอื เทา้ สมั ผัสน�้ำ และระดบั สัมผสั เปลีย่ นแปลงความดันบรรยากาศ เชน่ จากการด�ำน้�ำ รงั สยี ูวี อย่างเตม็ รูป เช่น วา่ ยน�้ำ ด�ำน้�ำ เปน็ ต้น หากแต่ทกุ (ultraviolet) ซึ่งอาจท�ำให้ไหม้แดด ในระยะเฉียบพลัน ระดบั สามารถพบการบาดเจบ็ เหตุทางนำ้� ได้ แต่อาจมี ต้อกระจก และมะเรง็ ผวิ หนงั ในระยะยาว อันตรายทางเคมี ลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันตามกิจกรรมที่พบในกลุ่ม ภาพ ได้แก่ การสัมผัสสารเคมีที่ปนเปื้อนในน�้ำ อันตราย ตา่ งๆ ทางชีวภาพ ได้แก่ สิ่งมีชีวิตในน้�ำที่อาจเป็นอันตราย  การประสบภัยทางน้�ำ และการป่วยเจ็บ รวมถึงสารชีวภาพและเชื้อก่อโรคท่ีอยู่ในน้�ำหรือส่ิงมีชีวิต ป่วยทางน้�ำที่ส�ำคัญส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะเช่น ในน�้ำ นอกจากนี้อุบัติเหตุท่ีแม้อาจไม่เก่ียวกับน�้ำโดยตรง เดียวกันกับการป่วยเจ็บในฝั่ง หากแต่ลักษณะการ เช่น อุบัติภัยจากการจราจรทางน้�ำ อุบัติภัยจากการใช้ ป่วยเจ็บหลายชนิดมีความจ�ำเพาะและต้องการทักษะ ยานพาหนะในการนันทนาการและกีฬาทางน้�ำ เช่น เจ็ตสกี ในการดูแลฉุกเฉินอย่างถูกต้อง เพื่อป้องกันการพิการ เซริ ์ฟ สกนี ้ำ� เรือกลว้ ย การแล่นใบ (sailing) เรอื แคนู หรือกระท่ังเสียชีวิต ส่ิงท่ีส�ำคัญอีกประการหนึ่งผู้ป่วย เรือคายัค ล่องแก่งในล�ำน�้ำจืด เป็นต้น อุบัติภัยจากการ เหล่านี้มักประสบเหตุอยู่ในสถานที่มีข้อจ�ำกัดทาง กระโดดน้�ำศีรษะลงกระแทกพื้น ท�ำให้มีการบาดเจ็บของ ด้านทรัพยากรการแพทย์และห่างไกลทางการแพทย์ ศีรษะ คอ และกระดูกสันหลังพบว่าเป็นเหตุให้เกิดการ ปัจจัยที่ส�ำคัญต่อการรอดชีวิตและไม่พิการส่วนหนึ่ง ป่วยเจ็บในลักษณะท่ีคล้ายกับอุบัติเหตุทางบก นั้นก็อาจ ขึ้นอยู่กับการช่วยชีวิตและการดูแลข้ันต้นในระยะก่อน มีการปว่ ยเจ็บทางน�้ำ เช่น จมนำ�้ เพมิ่ เตมิ ไดเ้ ชน่ กนั และ ถึงสถานพยาบาล การเคล่ือนย้ายและการส่งต่อด้วย มีความส�ำคัญในการด�ำเนินมาตรการในการป้องกันการ พาหนะพิเศษไปยังสถานพยาบาลท่ีมีขีดความสามารถ บาดเจ็บของศีรษะ คอ และกระดูกสันหลังของผู้ป่วยที่ เหมาะสม 12

ประเภทของอนั ตรายและการประสบภยั ทางนำ้� Aquatic Safety and Prevention Guidelines 1. อันตรายจากน�้ำวน (Hydraulics) เกิด 2.อันตรายจากคล่ืน คล่ืน คือการเคล่ือนที่ของ ข้ึนจากการเบี่ยงเบนทิศทางน้�ำไหลของกระแสน้�ำอย่าง พลงั งานผา่ นตวั กลางมกี ารขจดั  (การเคลอ่ื นทส่ี ทุ ธ)ิ  เปน็ ศนู ย์ กะทนั หัน เชน่ กระแสนำ้� ทไี่ หลผา่ น ฝาย หรือเข่อื นเลก็ ๆ คล่ืนจะเกิดข้ึนบริเวณรอยบรรจบ(ผิว)ของตัวกลาง 2 ชนิด หรอื การทีก่ ระแสนำ้� ซ่งึ มที ิศทางท่ตี า่ งกนั ไหลมาบรรจบกัน เช่น ผวิ ทะเลกับบรรยากาศ สาเหตุที่ท�ำให้เกดิ คลืน่ ในทะเล จนทำ� ให้เกิดกระแสน้ำ� ท่ีมีทศิ ทางไหลลงในแนวดง่ิ และอาจ เกิดจาก 3 ปจั จัย ได้แก่ ความแรง ระยะเวลา และระยะทาง มคี วามแรงพอที่จะกดวัตถหุ รอื คนใหจ้ มลง ของลมท่ีพัด ยง่ิ นานและแรงคลน่ื ยง่ิ มีขนาดใหญ่จนกระทงั่ เกิดคล่นื ใต้น้�ำ (swell) ภาพองคป์ ระกอบของคลนื่ - ความยาวคล่ืน (Wave length,L) คือระยะ - Ripple,Wind wave, และ Swell เกดิ จาก ระหว่างยอดคลื่น 2 ยอดทตี่ ดิ กัน ลมตรงรอยต่อระหวา่ งบรรยากาศกบั ผิวน�ำ้ Ripple จะเปน็ - แอมปลจิ ดู  (Amplitude,a) คอื ความสงู ระหวา่ ง คล่ืนพร้ิวขนาดเล็กๆบนผิวน้�ำเกิดจากลมในพ้ืนท่ี Wind ระดบั นำ้� นง่ิ ถงึ ยอดคลนื่  (Crest) หรอื ทอ้ งคลน่ื (Through) Wave คือคล่ืนที่เกิดจากลมโดยท่ัวไปมีคาบและความสูง - ความสูงคล่นื (Height, H) ระยะระหวา่ งยอด คล่นื มากกวา่ Ripple สว่ น Swell คือคลน่ื เนอื่ งจากลม คลนื่ กับทอ้ งคลื่น ท่ีเคลื่อนตัวมาจากทะเลไกล จะมีคาบและความสูงคงที่ - คาบคลน่ื (Period, T) คือเวลาท่ยี อดคล่ืน 2 ลกู ในช่วงที่ลมบริเวณชายฝั่งสงบเราจะเห็น Swell ท่ีเข้า จะเคลอ่ื นท่ผี า่ นจดุ ใดจดุ หนง่ึ ทอี่ ยคู่ งท่ี กระทบฝ่งั ได้อย่างชัดเจน - ความถ่คี ล่นื (Frequency, f) คือจำ� นวนลกู - คลน่ื ซดั ฝง่ั (Surges) แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คล่ืนท่ีผา่ นจุดสังเกตุภายในหนึง่ หนว่ ยเวลา มคี ่าเปน็ สัดสว่ น คือ คล่นื ซ่งึ เกดิ จากพายเุ รียกวา่ Storm Surge และคลนื่ ผกผนั กับคาบเวลา (1/T) ทเ่ี กดิ จากลมรสมุ เรียกวา่ Monsoon Surge ซง่ึ คลนื่ ท้ัง -   ค ว า ม เ ร็ ว ข อ ง ค ลื่ น ค� ำ น ว ณ ไ ด ้ จ า ก 2 ประเภท เป็นลักษณะของคลื่นขนาดใหญ่ท่ีเกิดในทะเล ความยาวคล่นื (L)/คาบคลืน่ (T) และมหาสมุทรขณะที่พายุหรือลมมรสุมก�ำลังเคลื่อนข้ึนฝั่ง - ความชนั ของคลนื่ (Steepness) ถกู ก�ำหนดให้ ความสูงของคล่ืนจะขึ้นอยู่กับความแรงของพายุและลม มคี ่าเทา่ กับ ความสงู คล่ืน(H)/ความยาวคลนื่ (L) มรสุม คลื่นซัดฝั่งนี้มีก�ำลังในการท�ำลายล้างสูงมาก ดังเช่น คล่ืนที่สามารถท�ำให้เกิดอันตรายท่ีส�ำคัญ ได้แก่ ท่ีเคยเกิดท่ีแหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช เม่ือปี อนั ตรายที่เกดิ จากจาก คลืน่ ทเ่ี กิดจากลม (Wind Wave) พ.ศ.2505 ขณะท่ีพายุโซนร้อน “แฮเรียต” เคล่ือนข้ึนฝั่ง คลื่นซัดฝัง่ (Surge) สนึ ามิ (Tsunami) และคลื่นหัวแตก และอีกเหตุการณ์หน่ึงคือท่ี อ�ำเภอท่าแซะและอ�ำเภอปะทิว 13

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual โดยตรงคือ บรเิ วณภาคใตต้ อนล่างฝัง่ ตะวนั ออกต้ังแต่ จงั หวดั ชมุ พร ลงไป ในชว่ งอทิ ธิพลของลมมรสมุ ตะวัน เฉียงใต้ (Northeast Monsoon) ต้งั แต่ เดอื น ตลุ าคม เม่อื ปี พ.ศ.2523 คลื่นซดั ฝั่งนเี้ กดิ ในขณะท่ีพายหุ รือลมมรสมุ ถมึงีท ศิ กทุมาภงเาคพลัน่ือธน์ ขแ้นึ ลฝะั่งในโดชย่วทงำทใหี่พ้เากยดิ ุเคคลลื่น่ือนตัวจากอ่าว ขนาดใหญ่โถมเขา้ ใส่บริเวณทีพ่ กั อาศัยอยู่บรเิ วณชายฝั่งทะเลไเปทน็ยจขำึ้นนสวู่ฝนั่งมในากช่วปงรเะดเือทนศพไทฤยศมจบีิกราิเยวนณถทึงี่ไธดันร้ วบั าคม ความ !ปมจเขังีที ชผฝตเอ้าหพสิศใว่ล่ังทิา่ วยี.สจงงทกศธัดหๆท่บะริพ.าช2ามพ่ีระงลทตยุม5ิเาทเาขะวำมคก2พภยวบณอใาน3าลันุเรหจงพคกอ ่ืทอ้อ เ้ลาคนเลอกย่ีนพกมผมำ้�กลื่อดิขคเลื่ขเอักม่ือนนฉคน้ึลกึ้คนอร่อยีตซวอ่นืลสรงารฝาัวัดเ้นะยุมศ้ัซงหมัจ่งฝฝทู่กพตดันัย าเง่ัั่งับบสอืโะฝาอแกนดยีคยลวทัง่ยออ้ีเยะโนัหุวไ.ี่เู่บา่กปดคกตทาเาวาลริดยฉดิม้ฝยไก�ำืน่ิเตยีใทจแผุวท่นใซนงรนรหายณดังั้ ใขงกงัง“ขแฝ้ตเคชขณคกง่ัเจึ้นก้ือกาเอ.(ลิดน่ชนสะNยยงอ่ืื่นควีบคู่ฝทพฝo์”งรติพัง่ลรจี่พั่งศrา ใแเิtาาื่เนทรยวนาhกคลยธี ุขณขะยชมeรละซุ ณรเรุนหว่aภทื่อดัลมสงsราะารมุฝรนเเtืปอดาเคดัพงั่ขคชMลใ็นคใอืยึ้นลหตมือนจoส์ ่ือฝต้ญม�ำพนิnนทั่งอนรs่ทฤโเตนำoสถมวศ่อีใัวลนoุม่ืมอหจยข่าnเ้ิกู่บึ้นงก)าฝรฝดิทรแจมกยตัง่เิง่ัควุนารวนาตั้ง้ังณลพแกงกาแแะถขืน่ตดคราจวกรงึ อย่ธสนังิมทะล่ชเขันทุงูงดฝอก�่ืำนีวพอวมี่่ังอืล่อิโตพาทงถีคนากาใแคคามะยหยวตลยมตลเขาุขทงั้้เละุซุลม่ืนกแ้นึณครเทัาดแิตดปพฝัพวคะรรฝ่คั่งน็าายจมงเัพกัม่ยวงจคมัง์สวยคารุำซหถลาินาุนมนื์อสัดงึกวื่อดตแวเิน ัดฝจนทกสท่านรชะั่งทุมีตำยงง�มำกจุมล่ีขอภๆัหวใาอ่ะพาอยหาข กามใยทรงพูึ้่นบหย้เาทค�กำันลมเ้ฝรกลรใกิดธงิเาั่งหนัพ่นืิดวไ์คก ปแ้้อเพยณคพล กล์สยวผาาื่ในริดะาินยขนลยิมคสใมซุ้ึนชกุนทฝูวงัด่วอร่ีม ัา่งงะยโมีทคถทู่กเวะมสับบาเขียลคทม้ึนหเวี่แเปกฝาาร็ินมดยั่งง มาก ประเแทสศดไงทคยวมาีบมสริเัมวพณันทธี่ไร์ ดะ้รหับวผา่ ลงรกะรดะบัทคบวจาามกรคุนลแน่ื รซงขดั อฝง่ังพาจยำ�ุ คนววานมมเรา็วกลม และความสงู ของคล่ืนซดั ฝงั่ ระดับความรนุ แรง ความเรว็ ลม (กโิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมง) ความสงู ของคล่ืนซดั ฝ่ัง (Category) (Wind speed km/hr) (Storm surge wave high) 1 119-153 2 154-177 1.2-1.5 3 178-209 1.5-2.4 4 210-249 2.4-3.6 5 >211 3.6-5.4 >5.4 - สึนามิ (Tsunami) เป็นคลื่นยาวเกิดจาก ภาพแสดงประเภทของคลนื่ แผ่นดินส่ันสะเทือนอย่างรุนแรง เช่นรอยแยกเปลือกโลก เคล่ืนตัวแผ่นดินถล่มใต้น�้ำ หรือภูเขาไฟชายฝั่งหรือใต้น�้ำ ระเบิด สึนามิอาจเป็นคลื่นท่ีมีสันเดียว ก่อนสันคล่ืนจะมา อาจมีท้องคลื่นมาก่อนท�ำให้ระดับน้�ำชายฝั่งลดลงมากและ หลังคลื่นใหญ่เคล่ือนท่ีผ่านไปแล้ว จะมีคลื่นขนาดเล็กเกิด ข้ึนต่อท้ายมาตามล�ำดับ สึนามิมีความยาวคล่ืน 100-200 กิโลเมตร ความสูงคล่นื ในทะเลอาจจะเพียง 1-2 เมตร ซึง่ ไม่ สามารถสังเกตุด้วยสายตาเปล่าได้เนื่องจากความยาวคล่ืน ยาวมาก แต่เม่อื เคลือ่ นเขา้ สู่ฝงั่ จะทำ� ให้ระดับนำ�้ สูงข้ึนไดถ้ งึ 15 เมตร ข้ึนอยกู่ ับ ระดบั ความรนุ แรงของแผ่นดินไหว และ ความหา่ งจากศูนยก์ ลางของแผ่นดินไหว 14

! Aquatic Safety and Prevention Guidelines !ภาพแสดงประเภทของคล่นื แต่ละแบบ เ ข้านห้ำาตฝนื้ ั่งม คา- -กวคๆาคลมลื่นคเ่นื หรวห็าวัวมจัวแเะแตรลตก็วดทกลส่ี ((BงันBตrคreeาลaมaน่ื kkคee(วrCr)าr)มeเเลsมมtึกอื่)อ่ื ขคจคอละลงม่นืน่ื นาเเค้�ำคก ลกลเอ่ืวมอื่ นา่น่ือทเข่ที ้าPคอ้หวlงาuคาฝมnลั่งลน่ืgคiาn(วดTาgชrม oันBเuรปrgว็eาhจaน)ะkกลจeลดนrาลใ งนกงคตทาลา่สีร่ืนมแุดคจสตวะันกาแคตมตลัลวก่ืนกึขตจขอัวะองแแงคบตนลบก้ำ่ืนตเเป วัม2็นือ่  วลงัก เษรียณกะวน่า้ี น้�ำตห้ืนมา้ ทากอ้ งๆค คลนื่วาตมวั หเรน็ว้าทล่ีสักนษคณล่ืนะก (าCรrแeตsกt)ต ัวจขะอมงาคกลก่ืนวจ่าะขึ้นเหอมยู่กาะบั แคกวา่กมาลราเดลเ่อนยีกงรขะอดงาชนายโหตา้คดลื่ถนา้  ชถา้ายชหาายดหาดมีความ ที่ทล้อางดคมลาื่นก ค(ลTน่ื roจะuคgอ่hย) ๆจแนตใกนตทวั ่ีสเุดรยีสกันวคา่ ลSpื่นiจllะinแgตBกrตeัaวkeลr าจดะชปันรามกาฏกฟๆอคงลอื่นาจกะาศแบตรกิเตวัณวเสปัน็นคโลฟืน่ มขถณา้ ชะาทย่ีหระาดับน้�ำเพ่ิม หนม้าคีทว้อางมคลลาด่ืนชตันัวปหานน้าก ลลาักงษคลณนื่ ะจกะาแรตแกตตกัวแตบัวบขเอปงน็ ควลงื่นเรียสกงู วขา่ ึ้นP (lCuongllianpgsBinregaBkreeraกkาeรr)แตกกอ่ ตนวั ทข่ีจอะงมคว้ ลน่ืนเป็นวง และถา้ จะข2ึ้นลักอษยณู่กับะนคเ้ีวหามาละาแดกเ่กอาียรงเขลอน่ งกชราะยดหานาโดต ้คถล้าืน่ชาถยา้ หชาดยหาชดามยีคหวาาดมมลีคาดวาชมันชมันากมๆากคๆลื่นคจละื่นแจตะกไมต่แัวเตปก็นตโัวฟแมตข่จณะะเห็นระดับ ลจาะดปไทมมีร่ร่แาะากตดกคกบัฏลตนฟน่ืัว้ำอแจเพตงะอจ่่มิคะาส่อเกูงยหขาๆน็ น้ึศแรบตะ(Cกรดoิเตบั วlวันlณaเ้ำรpสสยี sัูงนกinขคว้นึgา่ล(SBS่ืนpru eirถlagl้าikinnชeggrาB)ยBrกrหee่อaาaนkดkทeeมrีจ่ rี ะ) ม น้ว�ำ้ นสเูงปขน็ น้ึ ว(งSuแrลgะinถgา้ ชBาreยaหkาeดrม) ีความชนั มากๆคลน่ื จะ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง สภาวะทะเล ลกั ษณะของทะเล และความสูงคลนื่ ภาวะทะเล ลักษณะของทะเล ความสงู คลน่ื (Sea State) (เมตร) 0 ทะเลสงบ (เรียบเหมือนกระจก-Glassy) Calm 0 1 ทะเลสงบ (พรว้ิ น้อยๆ – ripples) Calm 0-0.1 2 ทะเลเรียบ (เป็นละลอกน้อยๆ-wavelets) Smooth 0.1-0.5 3 ทะเลมคี ลน่ื เล็กนอ้ ย Slight 0.5-1.25 4 ทะเลมคี ล่นื ปานกลาง Moderate 1.25-2.5 5 ทะเลมีคลนื่ เลก็ จดั Rough 2.5-4 6 ทะเลมคี ลนื่ จดั มาก Very Rough 4-6 7 ทะเลมีคลืน่ ใหญ่ High 6-9 8 ทะเลมคี ลืน่ ใหญม่ าก Very High 9-14 9 ทะเลบ้า Phenomenal >14 อยไ เคม่ิงันลน่ป!(3แตอื่Lาร.ลรoอนนงาอnนัยยยดgา้ยติ่งทsยงิ่ภรนh3่ีเไวาัคอกยากo.ัตยอนนัลิด ลrถจeันโนื่ตจขุายดตคทราcกนิ่งยารลกuเ่ีไกาขยคาก่นืrคดรา้rทยลลยะลeใกจเ่ี่ืหนแ่งิn่ืนกครามญสtะอิดลบก)ขีนทจ่ืนา่่กอซนแบ้ำาจยรยึ่งลากฝ่งิมะเคดะคปม่ังแีขใรกลเีข็นสหป้ันงด่นืนขนญทน็ผาบาบ้�ำ่ีมจดคู้่ด่อวุมะแนใใยนหลทหเใคกฉหญะ�ำญราียมจ้ใั้งร่ง่หยแมทีอเจคล่ิ้ง�ำลเจ่ีะกลนะลงะทิื่อดมาทมำนจีอคใำแหททำใวรหนเ้าี่จรงกเ้าามะก ดิจยิดกทไปครกนอนบีจ่ ะวตา่�้ออ่ะำอาแาณกเยกนมคสมลๆเาถไลนขชัมบใเึงอ่ืาตขำ้นป่เฝยชนขตปขลัฝ่างยอข้ราอยแง่ั้างอะฝเดฝยล กเงั่งRภงั่ทวะ ดิภไiRตัยัศpอหเาiปถไ pาลโยทcขุน็ดจ ขใuนยcจยจนนruาะคrมเาดreงขลนrนอใneต่นืไห้�ำยtปn อ ญต(RtจกSาา i่จึงpับpใแยวมหiช ลtไ่าขีc)้วาดะยตuนย่าก้ดกายฝrาดมัลงrดนงั่ eผปทับใ้�ำูค้nหา่ีปเขขนtกญรน ้าแใเาย่าหฝพมกน่งิจ้ั่งน่รลฎ กมา้ำอมเับละยปงฝจ่า็นั่งะวจขเ่าหน่ยานวอทอ่ืออวนยกยู่ หรือเป็นคสลันื่นทรทา่ีเยขเล้าียกบรชะายทฝบ่งั ฝบั่งริเวปณ็นชมายุมฝเั่งฉทียค่ี งลจ่นื แะตกตวั แล้วนำมวลน้ำเคลือ่ นเข้ามาปะทะกัน เม่ือมวล ท�ำในห้ำ้ไเมก่มิดีทกี่จระไแปสตนา�้มำชายฝัง่ั่งกไจ็หะลไหขนลอาอนกไปนอกกับชชาายยฝฝ่ังเั่งก ิดเปน็ กอ้ นมวลน้ำทีไ่ หลต้ังฉากกับชายฝัง่ เราเรียกว่า (LoRnipgschuorre nctuกrrรeะnแtส) นซำ้ ่ึงนเปจ้ี ะ็นพขัดบพวนาตกะากรอเคนลอื่ออนกทนรอากยชายฝงั่ รวมทง้ั นกั ว่ายนำ้ ทบ่ี งั เอญิ พลัดเขา้ มาอยูใ่ นมวล ไตเปปัวต็นแเขเขหาสลอตมนัน้งวขชอื่นนทอายำ้�ำรยงขกมRาฝออ่ วยiง่ัpงนลเเRกลกนciิดpีน่ยu้�ำเบถrเปcrคงึชeu็นฝลnาrจัง่ื่rอยteแะนฝจnลงเัอ่ึงงtะขว ยอเ้าบ่าม(ามSยรื่อจpกาิเจรวปiลสู้มtณ)บัะึกนตทเชว้ำาขา่าตะม้าอยกาฝปยยฝั่งันาูใ่ไั่กง นอดเทแอยม้ดมี่คา่างัื่อน่ณวทลม่า้�ำื่นป่ีาวย เรแลหขทาตนรตวกือก�้นขำฎอนเปง้ำRก็นiลpขับา่ cวเขuอ้าrยrฝeูบ่ ่ังnอ่ภtยาๆใยหใใน้วน่าปเขยรตนะRำ้เทiขpศนcไาทuนยrกreับnฝt่ังจเพนรอาอะกจนะอก ไม่มีที่จะไปตามชายฝั่งก็จะไหลออกนอกชายฝั่งเกิด เป็นก้อนมวลน�้ำท่ีไหลต้ังฉากกับชายฝั่ง เราเรียกว่า Rip current กระแสน้�ำน้ีจะพัดพาตะกอนออกนอ กชายฝั่งรวมทั้งนักว่ายน้�ำท่ีบังเอิญพลัดเข้ามาอยู่ใน มวลของน้�ำของ Rip current เม่ือรู้สึกว่าอยู่ใน ! 15

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual กระแสน้�ำย้อนกลับ (Rip currents) หรือ หากแต่กระแสน้�ำย้อนกลับไม่จ�ำเป็นต้องพบ กระแสริป พบเป็นสาเหตุการจมน�้ำชายฝั่ง ขณะเล่นน้�ำ ทั้ง 5 สญั ญาณดงั กล่าว และอาจมีเพียง 1-2 อย่างก็ได้ หรือว่ายน้�ำในแต่ละปี กระแสน�้ำนี้คือมวลน้�ำเคล่ือนที่ออก ค่อนข้างยากท่ีคนไม่ได้รับการฝึกอบรมจะช้ีชัดกระแส สู่ทะเล ชอ่ื อ่ืนๆ อาจเรยี กว่า คลน่ื ดอกเห็ด คลนื่ ดดู ออก น�ำ้ ยอ้ นกลบั ได้ และอาจแตกต่างกันไปในแตล่ ะประเภท เปน็ ตน้ เกิดจากน้�ำหาทางออกสูท่ ะเล โดยทวั่ ไปเกดิ จาก ยิ่งมีลมจดั คล่นื เยอะ ยิง่ ชีช้ ัดยาก สันดอนทราย (sand คลื่นชุดใหญ่เข้าถึงหาด ท�ำให้มีมวลน้�ำอยู่ใกล้ฝั่ง น้�ำไหล bars) มักก่อตัวข้นึ ตอ่ กันกับกระแสนำ้� ยอ้ นกลบั กลับคนื สทู่ ะเลในรปู กระแสน้ำ� ยอ้ นกลับนี้ มคี วามเข้าใจผดิ ว่ากระแสน้�ำนี้ดึงคนลงไปใต้น้�ำ หากแต่ความเป็นจริงแล้ว ไม่ได้ดึงคนไปใต้น�้ำ ส่วนใหญ่ผู้คนจะพยายามว่ายต้านจน กระท่ังหมดแรงไม่สามารถลอยตัวต่อไปได้ โดยท่ัวไปอาจ กล่าวได้ว่าย่ิงมีเซิร์ฟขนาดใหญ่ กระแสน�้ำย้อนกลับยิ่งทวี ความรนุ แรง กระแสน�ำ้ ย้อนกลับพบเปน็ ปญั หาสำ� คญั ทเ่ี ป็น เหตุน�ำให้มกี ารเสียชีวิตจากการจม น�้ำ ตามชายหาดที่มชี ่ือ เสียงในประเทศ เช่น หาดแม่รำ� พงึ  จ.ระยอง หาดทรายขาว เกาะชา้ ง จ.ตราด และ หาดกะรน กะตะ จ.ภูเกต็ เปน็ ตน้ เนือ่ งจากไม่มคี วามรู้ หรอื เขา้ ใจธรรมชาติของคล่ืน และการ เอาชวี ติ รอดจากกระแสน้ำ� ภาพแสดงกระแสน้�ำย้อนกลับ (Rip currents) ทห่ี าดแหง่ นง่ึ จ.ภูเกต็ กระแส น�้ำย้อนกลับมักเกิดจากการท่ีมีสันดอน ประเภทของกระแสน�ำ้ ยอ้ นกลบั 4 ประเภท ทราย (sand bar) ก่อตัวขึ้นนอกฝ่งั โดยน�้ำไหลยอ้ นทาง - แบบถาวร (permanent) อยู่ในต�ำแหนง่ ผ่านทางช่องของสันดอนทรายน้ี ส่วนใหญ่กระแสน้�ำจะ เดมิ เป็นเดือน หรอื เป็นปี เกดิ ในทอ้ งทะเลทไ่ี มค่ อ่ ย อ่อนก�ำลังลงเม่ือเลยสันดอนทรายน้ี อันตรายเกิดจาก เปลย่ี นแปลงสภาพ หรอื คงทนเปล่ยี นแปลงนอ้ ยมาก กระแส แรงและเร็ว บ่อยครั้งที่เร็วกว่าจะสามารถว่ายต้าน หรอื มีปัจจยั เอือ้ เช่น รอ่ งหนิ ชายฝั่งปะการัง ทอ่ ระบาย ในหาดทม่ี กี ารเล่นคล่ืนพบไดบ้ อ่ ย ยงิ่ คล่ืนสูง อาจพบได้ น�้ำ หรอื สิ่งก่อสร้างถาวร เชน่ ท่าเรอื กำ� แพงกน้ั คล่ืน นอ้ ยลงแตร่ ุนแรงแรงกวา่ แม้วา่ กระแสนำ�้ มักอ่อนแรงใน ระยะใกลฝ้ ่งั แต่อาจอยใู่ นน้�ำลกึ ท่ีไมส่ ามารถยืนถึง ไมบ่ อ่ ย (jetty)  นักทจ่ี ะไกลเกินกว่า 30 เมตร - แบบประจำ� ท่ี (fixed) อยใู่ นตำ� แหนง่ เปน็ สัญญาณ 5 ชนิด ท่ีพบได้บ่อยที่บ่งช้ีถึงกระแส เป็นชวั่ โมงหรอื หลายเดอื น ขึ้นอยกู่ บั สภาพท้องทะเล  นำ้� ย้อนกลบั  ไดแ้ ก่ - และการเคลื่อนยา้ ยของทราย มักเกดิ จาก - นำ�้ เปลย่ี นเปน็ สีน้ำ� ตาล จากทรายท่ีโดนกวนให้ ชอ่ ง หรอื รางที่ทอ้ งทะเล โดยมีทรายรองรบั ขนุ่ ขึน้ มาจากทอ้ งน�้ำ - แบบวาบ (flash) เกดิ ขน้ึ ชวั่ คราวในทีใ่ ดกไ็ ด้ - โฟมบนผิวน้ำ� ท่ีอยู่ไกลฝั่งไปกว่าคล่นื หัวแตก เกิดจากเซิร์ฟขนาดใหญ่ก่อตัวในห้วงเวลาอันสั้น ท�ำให้ - คลื่นหวั แตก แตกออกทางสองดา้ นของรปิ มวลนำ�้ ไหลกลบั ทะเล เกิดโดยไม่มสี ญั ญาณเตอื น และ - เศษขยะลอยเข้าสู่ทะเล เกดิ คอ่ นข้างส้นั - มีลกั ษณะระลอกคล่ืนเลก็ ๆ ขณะทบี่ รเิ วณรอบ - แบบทอ่ งเท่ยี ว (traveling) รปิ นี้เดนิ ทางไป ด้านสงบ  ตามความยาวของหาดแล้วค่อยๆ ออ่ นกำ� ลังไป เกดิ จาก คลืน่ ชายฝัง่ (littoral current) ท่ีมกี �ำลงั แรง 16

4.อันตรายจากสภาพอากาศ ฝนตกหนักและมีพายุฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงและ Aquatic Safety and Prevention Guidelines สภาพอากาศท่ีเลวร้าย อาจมีผลต่อผู้คนท่ีก�ำลัง อาจปรากฏพายุทอร์นาโด ในขณะตาพายุมาถึงอากาศ ท�ำกิจกรรมในทะเลหรือบริเวณหาด เช่น การเกิดสภาวะ จะโปร่งใสอีกคร้ัง และเม่ือด้านหลังของพายุหมุนมาถึง คลื่นแรง ทศั นวิสัยตำ่� นำ�้ ทว่ ม หรอื กระแสน�้ำแรง ซึ่งส่ิงท่ี อากาศจะเลวร้ายลงอกี ครัง้ และรุนแรงกว่าคร้งั แรก กล่าวมาบางสว่ นนี้อาจจะเปน็ ผลมาจาก ลมทพ่ี ัดแรง หรือ ลมกระโชกแรงเปน็ ครัง้ คราว และฝนที่ตกหนกั เป็นตน้ อันตรายจากสภาพอากาศท่ีส�ำคัญซ่ึงส่งผลต่อ การท�ำกิจกรรมในทะเลหรือบริเวณชายหาด ได้แก่ พายุ หมนุ เขตรอ้ น (Tropical Storm) พายุฟ้าคะนอง (Thun- derstorm) มรสุมท่มี ีกำ� ลังแรง (Monsoon) และรอ่ งมรสมุ (Monsoon Trough) คุณลักษณะของพายหุ มุนเขตร้อน - พายหุ มุนเขตร้อน (Tropical Cyclones) พายุหมุนเขตร้อนเริ่มต้นการก่อตัวจาก พายุหมุนเขตร้อน หมายถึง ลมแรงที่พัดเวียน หย่อมความกดอากาศต�่ำก�ำลังแรงซึ่งอยู่เหนือผิวน้�ำ เข้าหาศูนย์กลาง เป็นภัยธรรมชาติรุนแรงท่ีมนุษย์ประสบ ทะเลในบริเวณเขตร้อนและเป็นบริเวณท่ีกลุ่มเมฆ อยู่ทุกวันน้ี ส่งผลกระทบให้สูญเสียชีวิตและทรัพย์สมบัติ จ�ำนวนมากรวมตัวกันอยู่โดยไม่ปรากฏการหมุนเวียน เป็นอย่างมากเม่ือพายุหมุนเขตร้อนมีก�ำลังลมสูงสุดจะมีช่ือ ของลม หยอ่ มความกดอากาศต่�ำกำ� ลังแรงนี้ เม่อื อยใู่ น เรียกแตกต่างออกไปตามถ่ินท่ีอยู่ เช่น บริเวณมหาสมุทร สภาวะที่เอ้อื อำ� นวยกจ็ ะพฒั นาตัวเองตอ่ ไป จนปรากฏ แปซิฟิคตะวันตกและใต้ เรียกว่า “ไต้ฝุ่น” บริเวณ ระบบหมุนเวียนของลมอย่างชัดเจน ลมพัดเวียนเป็น มหาสมุทรแอตแลนติคและแปซิฟิคตอนเหนือ เรียกว่า วนทวนเขม็ นาฬิกาในซกี โลกเหนือ “เฮอริเคน” บรเิ วณมหาสมุทรอนิ เดยี เรียกว่า “ไซโคลน” และมีบางประเทศใช้ชื่อพิเศษ เช่น บริเวณประเทศ ฟิลปิ ปนิ ส์ เรยี กว่า “บาเกยี ว” และประเทศออสเตรเลยี ฝงั่ ตะวันตกเรียกพายหุ มนุ เขตร้อนว่า “วิลล-่ี วิลล”ี่ พายุหมุนเขตร้อนเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซ่ึง สามารถท�ำความเสียหายได้ รุนแรงและเป็นบริเวณกว้าง มีลักษณะเดน่ คอื มศี ูนย์กลางหรือทเี่ รียกว่า ตาพายุ เป็น บริเวณที่มีลมสงบ อากาศโปร่งใส โดยอาจมีเมฆและฝน บ้างเล็กน้อยล้อมรอบด้วยพื้นที่บริเวณกว้างรัศมีหลายร้อย ภาพการเปล่ยี นแปลงลักษณะของพายหุ มนุ เขตรอ้ นซึ่งถ่ายจาก กิโลเมตร ซ่ึงปรากฏฝนตกหนักและพายุลมแรง ลมแรงพัด ดาวเทียม พายุหมุนในแต่ละช่วงของความรุนแรงและ เวียนเขา้ หาศนู ย์กลาง ดงั น้ันในบรเิ วณท่พี ายหุ มุนเขตร้อน มีคุณสมบัติเฉพาะตัวและเปล่ียนแปลงไปตามสภาวะ เคล่ือนที่ผ่าน ครั้งแรกจะปรากฏลักษณะอากาศโปร่งใส แวดล้อม ดังน้ันสามารถแบ่งชนิดของพายุหมุนเขต เม่ือด้านหน้าของพายุหมุนเขตร้อนมาถึง ปรากฏลมแรง รอ้ นไดด้ ังน้ี 17

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual ประเทศไทยตั้งอยู่ระหว่างบริเวณแหล่งก�ำเนิดของพายุ ประเทศไทยทางฝั่งตะวันออกมากกว่าทางตะวันตก ซ่ึง หมนุ เขตรอ้ นทง้ั สองฝง่ั ทะเล ประกอบดว้ ยฝง่ั ตะวนั ออก ปกติแล้วประเทศไทยจะมีพายุเคล่ือนผ่านเข้ามาได้โดย คือมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้ ส่วนฝั่งตะวันตก เฉลีย่ ประมาณ 3-4 ลูกตอ่ ปี โดยฝั่งทะเลอันดามนั พายหุ มนุ คอื อา่ วเบงกอล และทะเลอันดามัน โดยพายมุ โี อกาส เขตร้อนจะมีผลกระทบในช่วงเดือนพฤษภาคม และในช่วง เคลื่อนจากมหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลจีนใต้เข้าสู่ เดอื นตลุ าคมถงึ ธนั วาคม พายจุ ะเรม่ิ สง่ ผลกระทบตอ่ อา่ วไทย ภาพสรุปลกั ษณะภมู ิอากาศและการเคลอ่ื นตัวของพายุหมุนเขตรอ้ นทมี่ ีผลกระทบตอ่ ประเทศไทย - พายุฟา้ คะนอง (Thunderstorms) พายฝุ นฟ้าคะนอง (Thunderstorm) ส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดสภาพอากาศรุนแรง เช่น ลมกระโชก เกิดจากเมฆท่ีก่อตัวขึ้นในแนวดิ่งขนาดใหญ่ที่เรียกว่า ฟ้าแลบ ฟา้ ผา่ ฝนตกหนัก อากาศปนั่ ป่วนลกู เหบ็ ตก คลนื่ สงู เมฆคิวมูโลนิมบัส  (Cumulonimbus) ซึ่งเป็นสาเหตุ ภาพเมฆควิ มูโลนิมบสั และเมฆท้ัง 10 ชนิด 18

การเกิดพายุฝนฟ้าคะนองมีล�ำดับ 3 ขน้ั ตอน Aquatic Safety and Prevention Guidelines ได้แก่ ข้ันก่อตวั ขั้นเจริญเต็มท่ี และขั้นสลายตัว - ขนั้ ก่อตวั (Cumulus stage) เม่อื กล่มุ อากาศ การเกิดพายุฝนฟ้าคะนองในแต่ละครั้ง  ร้อนลอยตัวขึ้นสู่บรรยากาศ พร้อมกับการมีแรงมากระท�ำ จะกนิ เวลานานประมาณ 1 - 2 ชว่ั โมง ซงึ่ พอจะลำ� ดับ หรือผลักดันให้มวลอากาศยกตัวขึ้นไปสู่ความสูงระดับหน่ึง เหตกุ ารณไ์ ดด้ ังน้ี  โดยมวลอากาศจะเย็นลงเม่ือลอยสูงข้ึนและควบแน่นเป็น 1. อากาศร้อนอบอ้าว เน่ืองจากมวลอากาศ ละอองนำ�้ เล็กๆ เปน็ การก่อตัวของเมมคิวมูลัส ในขณะที่ ร้อนยกตัวลอยขึ้น เมื่อปะทะกับอากาศเย็นด้านบน ความร้อนแฝงจากการกลั่นตัว ของไอน�้ำจะช่วยให้อัตรา แล้วควบแน่นกลายเป็นละอองน้�ำในเมฆ และคลาย การลอยตวั  ของกระแสอากาศภายในกอ้ นเมฆเรว็ มากยง่ิ ขนึ้ ความร้อนออกมาในรูปของรังสีอนิ ฟราเรด  ซึง่ เป็นสาเหตุให้ขนาดของเมฆคิวมูลสั มีขนาดใหญข่ นึ้ และ 2. ท้องฟ้ามืดมัว อากาศเย็น เนือ่ งจากการ ยอดเมฆสงู เพิม่ ขึ้นเป็นลำ� ดับ จนเคลอื่ นท่ขี นึ้ ถึงระดบั บนสดุ ก่อตัวของเมฆคิวมูโลนิมบัสมีขนาดใหญ่มากจนบดบัง แล้ว (จุดอม่ิ ตวั ) จนพฒั นามาเปน็ เมฆควิ มโู ลนิมบสั เราเรยี ก แสงอาทติ ย์ ท�ำให้อุณหภูมิพืน้ ผิวลดต่�ำลง  กระแสอากาศท่ไี หลขน้ึ วา่ “อพั ดราฟต”์ (Updraft)  3. กระแสลมกรรโชกและมกี ล่ินดิน เกิดข้ึน - ขัน้ เจรญิ เต็มที่ (Mature stage) เปน็ ชว่ งที่ เน่ืองจากกระแสอากาศไหลลง(Downdraft) ภายใน กระแสอากาศมที ง้ั ไหลขน้ึ และไหลลง ปรมิ าณความรอ้ นแฝง เมฆคิวมูโลนิมบัสเป่าลงมากระแทกพื้นดินและกลาย ท่ีเกิดข้ึนจากการควบแน่นลดน้อยลง ซ่ึงมีสาเหตุมาจาก เปน็ ลมเฉอื น (Wind shear)  การที่หยาดน�้ำฟ้าที่ตกลงมามีอุณหภูมิต�่ำ ช่วยท�ำให้ 4. ฟา้ แลบ ฟา้ ผา่ ฟา้ ร้อง เน่อื งจากกระแส อุณหภูมิของกลุ่มอากาศเย็นกว่าอากาศแวดล้อม ดังน้ัน ลมพดั ขึน้ และลง (Updraft และ Downdraft) ท�ำให้ อัตราการเคลื่อนที่ลงของกระแสอากาศจะมีค่าเพ่ิมข้ึนเป็น เกิดการเหน่ียวน�ำของประจุไฟฟ้าในก้อนเมฆและบน ล�ำดับ กระแสอากาศท่ีเคลื่อนที่ลงมาซึ่งเรียกว่า  พนื้ ดิน   “ดาวนด์ ราฟต”์ (Downdraft) จะแผข่ ยายตวั ออกด้านขา้ ง 5. ฝนตกหนัก เกิดจากการสลายตัวของ ก่อให้เกิดลมกระโชกรุนแรง โดยเฉพาะส่วนที่อยู่ด้านหน้า ก้อนเมฆเปลี่ยนเป็นหยาดน�้ำฟ้าตกลงมาฝน และใน ของทิศทางการเคลือ่ นท่ขี องพายุฟา้ คะนอง ซึ่งจะกอ่ ใหเ้ กิด บางครั้งมีลกู เห็บตกลงมาด้วย อันตรายต่อเรอื หรอื ผู้ท่ที ำ� กจิ กรรมในทะเลหรอื ชายหาด   6. คล่ืนสูง เกิดจากกระแสลมท่ีพัดด้วย - ข้นั สลายตัว (Dissipate stage) เป็นระยะที่ ความเร็วสูงและลมกระโชกที่รนุ แรง พายุฝนฟ้าคะนองมีกระแสอากาศเคลื่อนที่ลงเพียงอย่าง 7. รุ้งกินน้�ำ เกิดจากละอองน�้ำซึ่งยังตกค้าง เดยี ว หยาดน�้ำฟา้ ตกลงมาอย่างรวดเร็วและหมดไป พร้อมๆ อยู่ในอากาศหลังฝนหยุด หักเหแสงอาทิตย์ท�ำให้เกิด กบั กระแสอากาศทไ่ี หลลงก็จะเบาบางลง สเปกตรัม   19

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual - ลมมรสมุ (Monsoon)    ค� ำ ว ่ า   “ M o n s o o n ”   น้ั น ม า จ า ก ก�ำเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกใต้ บริเวณ ค�ำเดมิ วา่ “Mausim” เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ลม มหาสมุทรอินเดีย เมื่อพัดข้ามเส้นศูนย์สูตร ลมมรสุม ประจำ� ฤดู หรอื ลมตามฤดูกาล ลมมรสุมเป็นระบบลม น้ีจะน�ำเอามวลอากาศชื้นจากมหาสมุทรอินเดีย มาสู่ ขนาดใหญ่ที่พัดครอบคลุมภูมิภาคท่ีกว้างใหญ่ และ ประเทศไทย ท�ำให้มีเมฆมากและฝนตกชุกท่ัวไป โดย มีอิทธิพลต่อลักษณะภูมิอากาศของพื้นท่ีดังกล่าว เฉพาะอย่างย่ิงตามบริเวณชายฝั่งทะเล และเทือกเขา การหมุนเวียนในระบบนี้ ขึ้นอยู่กับการเย็นตัวลง ดา้ นรบั ลมจะมฝี นมากกวา่ บริเวณอน่ื ของพ้ืนแผ่นดินอย่างรวดเร็วในช่วงท่ีเป็นฤดูหนาว - ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หลังจาก และการร้อนขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงฤดูร้อน ผลจาก หมดอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แล้ว ประมาณ กระบวนการดังกล่าวก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความ กลางเดือนตุลาคมจะมีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ กดอากาศเปน็ บรเิ วณกว้าง จากฤดรู อ้ นส่ฤู ดูหนาว และ พดั ปกคลมุ ประเทศไทยจนถงึ กลางเดือนกุมภาพนั ธ ์ มรสมุ เป็นสาเหตุท�ำให้เกิดการหมุนเวียนของกระแสลมกลับ นี้มีแหล่งก�ำเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลก ทิศทางกันในแต่ละฤดูกาลบนพื้นทวีปอันกว้างใหญ่ เหนือแถบประเทศมองโกเลีย และจะพดั เอามวลอากาศ โดยทั่วไปแล้ว ลมมรสุมมักปรากฏเด่นชัดในบริเวณ เย็นและแห้งจากแหล่งก�ำเนิดเข้ามาปกคลุมประเทศไทย พ้ืนท่ีกว้างใหญ่ และมีลักษณะเป็นพ้ืนทวีปอยู่ติดกับ ทำ� ให้ทอ้ งฟ้าโปร่ง อากาศหนาวเย็นและแห้ง โดยเฉพาะ พ้ืนมหาสมุทร อิทธพิ ลของลมมรสุมที่มตี ่อประเทศไทย ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สว่ นภาคใตจ้ ะ - ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ลมมรสุมตะวัน มีฝนชุก โดยเฉพาะภาคใต้ฝงั่ ตะวันออก หรอื อ่าวไทยฝั่ง ตกเฉียงใต้จะพัดปกคลุมประเทศไทย ระหว่างกลาง ตะวันตกทางตอนล่าง เนื่องจากลมมรสุมน้ีจะน�ำความ เดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมโดยมีแหล่ง ชมุ่ ชื้นจากอา่ วไทยเขา้ มาปกคลุม ลักษณะการเกิดมรสมุ ในประเทศไทย - ร่องมรสมุ (Monsoon Trough) บรเิ วณท่ีมคี วามกดอากาศตำ�่ มีกระแสอากาศไหลข้นึ -ลง ร่องมรสุมหรือร่องความกด สลับกนั มเี มฆมากและฝนตกอย่างหนาแนน่ เม่ือร่องน้ี อากาศต�ำ่ หรือในประเทศไทยนิยมเรยี กว่า ร่องฝน มี ประจ�ำอยทู่ ่ใี ด หรือผ่านทใี่ ด มผี ลท�ำให้บริเวณน้นั มีฝน ลักษณะเป็นแนวพาดขวางในแนวทิศตะวันออกถึง ตกอย่างหนาแน่นได้ร่องมรสุมส�ำหรับประเทศไทยและ ตะวนั ตก โดยจะอยู่ในเขตรอ้ นใกล้ ๆ กับเสน้ ศนู ย์สตู ร ประเทศใกล้เคียง เกิดจากการปะทะกันของลมมรสุม ในร่องความกดอากาศต่�ำหรือร่องมรสุม จะเป็น ตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ 20

เมื่อลมมรสุมสองฝ่ายนี้ปะทะกันแล้ว จะท�ำให้กระแส ของดวงอาทิตย์ จะเล่ือนจากเหนือลงไปใต้ผ่านภาค Aquatic Safety and Prevention Guidelines อากาศพุ่งข้ึนเบ้ืองบน จึงท�ำให้เกิดฝนตกเป็นบริเวณกว้าง กลางในตอนกลางเดือนสิงหาคม แต่รอ่ งมรสุมจะเลอ่ื น ร่องมรสุมจะมีความยาวหลายร้อยกิโลเมตร โดยทอดยาว จากเหนือลงไปใต้ผ่านภาคกลางในราวกลางเดือนหรือ จากทิศตะวันตกไปตะวันออก และอาจมีความกว้างทาง ปลายเดอื นกันยายน แนวเหนือและใต้มากกว่าร้อยกิโลเมตร ร่องมรสุมย่ิงแคบ 4.อันตรายจากน�ำ้ ท่วมฉับพลนั ก็ยิ่งมีความรุนแรงมาก โดยจะมีฝนหรือฝนฟ้าคะนองเป็น เป็นสภาวะน�้ำท่วมที่เกิดข้ึนเน่ืองจาก เวลาติดต่อกัน ถ้าหากร่องมรสมุ นพี้ าดประจ�ำท่อี ยหู่ ลาย ๆ ฝนตกหนักในบริเวณพ้ืนท่ีซึ่งมีความชันมากและมี วนั แลว้ จะมีฝนตกหนักมากจนเกดิ ภาวะน้ำ� ท่วมได้ คุณสมบัติในการกักเก็บน้�ำหรือต้านน�้ำน้อย เช่น ร่องมรสุมจะเล่ือนข้ึนลงช้า ๆ ไปทางเหนือ บริเวณตน้ น้�ำซึ่งมีความชันของพื้นท่ีมาก พน้ื ท่ปี ่าทถ่ี กู หรือทางใต้ตามแนวโคจร (Declination) ของดวงอาทิตย์ ท�ำลายไปท�ำให้การกักน�้ำหรือการต้านน�้ำลดน้อยลง  โดยจะล้าหลังหรือช้ากว่าแนวโคจรของดวงอาทิตย์ น้�ำท่วมฉับพลันมักเกิดข้ึนหลังจากฝนตกหนักไม่เกิน อยู่ประมาณ 1 เดือน หรือกว่าเล็กน้อย เช่น แนวโคจร 6 ช่ัวโมงและมกั เกดิ ข้ึนในบรเิ วณที่ราบระหวา่ งหุบเขา ของดวงอาทิตย์จะเลื่อนจากใต้ไปเหนือ ผ่านภาคกลาง เนื่องจากน้�ำท่วมฉับพลันมีความรุนแรงและเคล่ือนท่ี ของประเทศไทยในตอนปลายเดือนเมษายนแล้ว ด้วยความรวดเร็ว โอกาสทจี่ ะป้องกันและหลบหนจี ึงมี แต่ร่องมรสุมจะเล่ือนจากภาคใต้ไปภาคเหนือผ่านภาค น้อย ดงั นนั้ ความเสยี หายจากน้ำ� ท่วมฉับพลันจึงมมี าก กลางในปลายเดือนพฤษภาคม และอีกคร้ังหน่ึงแนวโคจร ทัง้ ชวี ิตและทรัพย์สิน น้ำ� ท่วมขัง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา พ.ศ.2543 นำ�้ ทว่ มฉลับพัน อ.หลม่ สกั จ.เพชรบรู ณ์ พ.ศ. 2544 (ภาพ : หนงั สอื พมิ พก์ รุงเทพธุรกิจ) (ภาพ ซ หนงั สอื พมิ พ์กรงุ เทพธรุ กจิ ) ภัยพบิ ัตทิ างน�ำ้ และทางทะเลท่กี ล่าวข้างตน้ มกั เปน็ สาเหตุของการเสียชีวิตโดยการจมน�ำ้ นอกเหนือไปจาก การบาดเจ็บ 21

 คMูมaือritแimนวeทaาnงdกาAรqปuฏatิบicัตLิกifาeรSฉuุกpเpฉoินrทt าGงuนid้ำeแลlinะทesะเลManual ภัยพิบัติทางน้ำและทางทะเลทกี่ ล่าวข้างต้น มักเปน็ สาเหตุของการเสียชวี ติ โดยการจมนำ้ นอก เหนอื ไปจากการบาสดรเุปจภบ็ ยั ธสรรรุปมชภาัยตธทิ รเี่รกมดิ ชขาน้ึ ตใิทนภ่เี กาดิ คขตน้ึา่ งใๆนภขาอคงตปา่รงะๆเทศขไอทงยประเทศไทย เดือน/ภาค เหนอื ตะวันออก กลาง ตะวนั ออก ใต้ เฉียงเหนอื ฝัง่ ตะวนั ออก ฝั่งตะวนั ตก มกราคม อทุ กภัย ฝนแลง้ กมุ ภาพันธ์ ไฟป่า ไฟปา่ ฝนแล้ง ฝนแลง้ ฝนแล้ง มนี าคม พายุฤดรู ้อน พายุฤดรู ้อน พายฤุ ดูร้อน ฝนแลง้ ฝนแล้ง ฝนแล้ง ไฟป่า ไฟป่า ฝนแลง้ ฝนแลง้ ฝนแลง้ เมษายน พายฤุ ดรู ้อน พายฤุ ดูรอ้ น พายุฤดรู อ้ น ฝนแล้ง ฝนแล้ง ไฟป่า ไฟปา่ ฝนแลง้ ฝนแลง้ ฝนแลง้ พฤษภาคม อทุ กภยั อุทกภัย อทุ กภัย อุทกภัย พายหุ มุนเขตรอ้ น อุทกภยั พายุฤดูรอ้ น พายุฤดรู ้อน พายฤุ ดรู อ้ น อุทกภัย ฝนแลง้ มถิ ุนายน อทุ กภัย อทุ กภัย อุทกภัย อุทกภยั อุทกภัย อุทกภัย ฝนทิ้งช่วง ฝนทิ้งช่วง ฝนทงิ้ ชว่ ง ฝนทงิ้ ช่วง กรกฎาคม พายหุ มุนเขตรอ้ น พายหุ มุนเขตร้อน พายุหมนุ เขตร้อน อทุ กภยั อทุ กภยั อทุ กภยั อุทกภยั อุทกภยั พายุฝนฟา้ ฝนท้งิ ช่วง พายุฝนฟา้ คะนอง พายฝุ นฟา้ คะนอง คะนอง ฝนท้ิงช่วง ฝนทง้ิ ช่วง ฝนทิ้งช่วง สงิ หาคม พายหุ มนุ เขตร้อน พายหุ มุนเขตร้อน พายุหมุนเขตร้อน พายหุ มุนเขตร้อน อุทกภยั อทุ กภัย อุทกภยั อทุ กภยั อุทกภยั อุทกภัย พายุฝนฟา้ คะนอง พายฝุ นฟ้าคะนอง พายุฝนฟา้ พายฝุ นฟา้ คะนอง พายหุ มนุ พายุหมนุ เขตร้อน คะนอง เขตร้อน อุทกภัย อุทกภยั กันยายน พายุหมนุ เขตร้อน พายฝุ นฟา้ คะนอง พายหุ มนุ เขตรอ้ น พายุหมนุ เขตรอ้ น คลน่ื พายุซดั อทุ กภัย อทุ กภัย อุทกภยั ฝง่ั พายฝุ นฟ้าคะนอง พายุฝนฟา้ พายุฝนฟ้าคะนอง แผ่นดินถล่ม คะนอง พายุหมุน เขตรอ้ น ตุลาคม พายุหมนุ เขตร้อน พายุหมุนเขตร้อน อุทกภยั อุทกภยั อุทกภยั อทุ กภัย คลื่นพายซุ ัด พายุฝนฟา้ พายุฝนฟ้าคะนอง ฝัง่ คะนอง แผ่นดินถล่ม อุทกภัย พฤศจิกายน อทุ กภยั ธนั วาคม 22

การป่วยเจ็บเหตุทางน�้ำเป็นปัญหาท่ีส�ำคัญ ป่วยเจ็บสูงข้ึน การป่วยเจ็บจากการด�ำน้�ำสคูบามี Aquatic Safety and Prevention Guidelines อย่างหน่ึงทางสาธารณสุขของประเทศไทย จากข้อมูลสถิติ ความจ�ำเพาะต้องอาศัยองค์ความรู้และทักษะเฉพาะ พบว่าการป่วยเจ็บเหตุทางน้�ำในประชากรทั่วไปเป็นรอง ในการจัดการดูแลและส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาล เพียงแต่อุบัติเหตุการจราจร การป่วยเจ็บเหตุทางน�้ำที่ ที่มีห้องปรับแรงดันบรรยากาศสูง เช่นเดียวกันกับการ มีระดับความรุนแรงมากท่ีสุด คือ การจมน้�ำ ซึ่งพบเป็น ป่วยเจ็บจากสัตว์น�้ำ สัตว์ทะเล ท่ีเป็นอันตรายซ่ึงมี ปัญหาที่ส�ำคัญของสาธารณสุขไทยโดยเฉพาะในเด็ก ความจ�ำเพาะและต้องอาศัยองค์ความรู้ในการให้การ อายุต่�ำกว่า 15 ปี สาเหตุการจมน�้ำท่ีเด่นชัดอย่างหน่ึง ดูแลก่อนถึงโรงพยาบาลอย่างเหมาะสม การจัดการ คือ อุบัติเหตุทางน�้ำ ซึ่งสามารถมีมาตรการในการ การป่วยเจ็บเหตุทางน้�ำท่ีมีประสิทธิภาพจะเป็นการ แภชกมสปคเยขปอกชูาลาญัาย้ั้นัวอาอ่วงว่รกนะรพามตยสเงตดมดขเสเิูรเลบกถสด่า�ำจูรแึ้นียากัันตีียงายู้แน็บลยไ าชิทชลนวทแซ้�กดำจราะก ีวงึ่่าอล่ีพา้มร ตพทมิัตนงกนกาะีปยิแีคนกับ ยกากถจกาลรวษ�้งำรับึวงาาาบะาะาโยะปร่กากมรรนชเสัดางม่ขวฉางจจาพิพ้ลทาีพแรย้พอา้ัดวนบบปทเนธเยมาไกพ้จามิทะ่่ีวภเาวมูลาาส็ปบีใอบยยโีารกะหนคนุ็บนจเาทแทพา้กจูบอล�ั้ำตมเลี่มร่ีมา็บไหอางเิกะสรรีกดีพปมจยปตาตจาูงิจ้ ี่าารคารุสดัอ้ยขรกนงกะะณวักง�ึ้ำงบนเรสสอา อหาาค์กเรเแมัิตทารกนนมัชญามศรดจวธจาพื่รอ่นกัยทู้ง์แานิะภปางบา อเดล่ีสท้า่าจวกกพรงมัแมน�พยำาดาคกาสีลอใเกบร�จะ์ำคาัจตะหุบปกนนตะวรร็บสว้ัตมาา้�้ัอชำ่กวรจ์่งทสริีมกผดงต่ยวทยมูงะจรูาอ้้ปว่อยเข่าอัดเนู้ใรจายผลลึ่นวนกกง�้ณศำ็บสู้ปยดกเาาัแทยทคจ่ว์กเรกาศอ่ีจลเูยบี่กกรายาาปส็งบไใ้กาาวารวรปห็คนูงรร์้ ใสอกสจลมไเจเปกนดัางาาตสหดะาีข่พวมครกกียวส้ตรเีดยปาน้ื์ปคาชด์ูงทปุอครรเใ่วีทน็วว�ำุบ่วะจนถวเิตยากย่ีกนสัตเ็าบสพมแเลาเายี�้ำิเมูงจจนืเลรหรรอชดขหส็็บบตะูท้ปขตันวี้ึน้าวตทอ่จเอกี่ฏุจติมหตใยุายพุทางริบนแารกตสอรบาพาลรกัตาสปุอดจคุงคถละางิยัตฏอุรบูนบสภลาทร ทวงบิัตน้รูซางาาาพุ์นคาตัอขิพเกท ึ่ง์พคง้าหกึงินงกรไ่ีมนหวาลรดตาใทาี้าานปรับนภุ้รจรามโือรกกปารอดงกรสะพาาากย่บาวู้ขัตรรจสไเรายอรวปฉดริรทปรงเม์ทอพ ้่วทแจ่วบธโจงะยาดพาย็ิบภุครเะะเงยเลัจทบลจาจกเนเอ็บปากพยา็บฉา�้ำันกทการ์็ พน จจใรรตจก่ีอสาาะกหทปมรกาัาะตเา้มาา่วนรจปดกรวยงียขป้พา้าา็นต์กนเีดนร่วบซจา่กอก้�ำจค้าย็่ึรบงไายาหมดวดกแเรทรอจ้นราว้สาพป่ีลอ็บืดมยอรำ้�ูงท่วาดอสยยจบกคเ์พจูบราใบ็บหมรา้ เอกสารอ้างองิ 1. Tourist Statistics in Thailand 1998-2007. http://www2.tat.or.th/stat/web/static_index.php, accessed 15 June 2011 2. ธนษวัฒน์ ชัยกลุ . บทนา้ อันตรายจากทะเลบริเวณชายหาดและชายฝง่ั . วารสารเวชศาสตร์ใตน้ ้า. ปที ี่ 3 ฉบับที่ 3 3. Public Safety and Aquatic Rescue 4. American Red Cross. Lifeguarding Manual 5. The United States Lifesaving Association Manual. Open Water Lifesaving. 2nd Ed. Pearson Publishing. 2003 6. NFPA 1006 2013 23

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual 11.2.2คคววาามมปปลลออดดภภัยยั ททาางงนน้�ำา้ แแลละะกกาารรปป้ออ้ งงกกันัน Aquatic Safety and Prevention วตั ถุประสงค์ดา้ นความรู้ - อธบิ ายสาเหตุของการเกิดอบุ ัติเหตุ - อธบิ ายกฎแหง่ ความปลอดภัยทางน้าทว่ั ไป - อธิบายห่วงโซก่ ารรอดชวี ิตจากการจมนา้ - อธิบายอปุ กรณ์ลอยตัวสว่ นบุคคล - อธบิ ายการสือ่ สารในพืนท่หี าด - อธบิ ายการปอ้ งกันเพื่อใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ทางน้าในสถานการณต์ า่ งๆ วัตถุประสงค์ดา้ นทักษะ - ทักษะในการสวมใสช่ ชู ีพ ปัจจยั ทเี่ ปน็ สาเหตุของอบุ ตั ิเหตุ 3 ประการ ประการ สิ่งแวดล้อมบางอย่างบางเวลาก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่ายและ แรกคือ ผู้รับอุบัติเหตุ บุคคลบางประเภทดูเหมือนว่าได้รับ บ่อย ผลจากอุบัติเหตุอาจก่อให้เกิด บาดแผลของผิวหนัง อุบัติเหตุได้ง่ายกว่าบุคคลทั่วไป ต่อมาคือ สิ่งที่เป็นเหตุ หรือ ศีรษะ หรือ สมองบาดเจ็บ กระดูกหัก แผลจากวัตถุระเบิด สิง่ ที่ท้าให้เกิดอุบัติเหตุ ตัวการบางอย่างท้าให้เกิดอุบัติเหตุได้ แผลจากกระสนุ ปนื แผลลวก-ไหม้ เปน็ ตน้ ง่ายและบ่อย สุดท้ายได้แก่ เวลาและสถานท่ีเกิดเหตุ สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ 1. สาเหตุจากตัวบุคคล เป็นสาเหตุที่ส้าคัญท่ีสุดท่ีท้าให้ 2. สาเหตุจากตัวเครื่องมือหรือยานพาหนะ สาเหตุเกิด เกิดอบุ ัตเิ หตุ มีสาเหตเุ กิดจากมีสภาพร่างกาย จิตใจ ไม่พร้อม จากชินส่วนเครื่องจักรกลช้ารุดขาดการบ้ารุงรักษา ขาดการ ขาดความรู้ความช้านาญหรือขาดประสบการณ์ ไม่ ประพฤติ ทดลองตรวจสอบก่อนน้าไปใช้งาน สภาพความพร้อมใช้งาน ตนอยใู่ นกฎระเบยี บขอ้ บังคบั มีความประมาท ไม่ ระมัดระวัง ของเรอื ขาดความรอบคอบ มีความเช่ือในทางท่ีผิด รู้เท่าไม่ถึงการณ์ 3. สาเหตุจากสภาพแวดล้อม สาเหตุเกิดจากสภาพดิน ใช้เครือ่ งมอื หรืออปุ กรณผ์ ิดประเภทของงาน ฟ้าอากาศไมด่ ี สภาพของทางสัญจรไม่ดี หรือ สภาพแวดล้อม อ่นื ๆ ไมด่ ี กฎความปลอดภยั ทางนา้ ทั่วไป 1. ไมวา่ ยนา้ คนเดียว ควรว่ายกับเพ่ือนหรือเป็นกลุ่ม หรือ 3. ไม่ลงวา่ ยนา้ เล่นน้าในเวลากลางคนื ออย่างน้อยมผี อู้ ่ืนรูว่าเรากา้ ลังลงเล่นนา้ อยู่ทใ่ี ด 4. ลงเล่นน้าหรือว่ายน้าในบริเวณท่ีจัดไว้ให้หรือมี 2. ไมวา่ ยน้าออกไปไกลจากฝงั่ ควรวา่ ยน้าขนานฝงั่ เจ้าหน้าท่ีชวี พทิ กั ษ์คอยดูแล 1-924

5. ไม่กระโดดลงน้าในบริเวณน้าตืน น้าขุ่น หรือไม่ทราบ 10. เตรียมอุปกรณ์ส้าหรับช่วยชีวิตไวเ้ สมอ เช่น ห่วงชูชีพ Aquatic Safety and Prevention Guidelines สภาพใต้น้า ไม่ เชือก ฯลฯ 6. ไม่ควรลงเลน่ นา้ หากด่มื สุรา เมายา อดนอน อ่อนเพลยี 11. ระมดั ระวงั ดแู ล รับผิดชอบความปลอดภัย ของตนเอง 7. เตรียมชุดว่ายนา้ ท่ีเหมาะสมสา้ หรับลงเล่นน้า หรือ ว่ายน้า ไม่ควรใส่กางเกงขายาวลงเลน่ นา้ อยู่เสมอ 12. ให้ขึนจากแหลง่ น้าทันที ทเี่ หน็ นา้ ขุ่นแดงไหลผ่าน 8. ไมควรลงเล่นนา้ ขณะมีฝนตก หรอื ฝนฟ้าคะนอง 13. ให้รีบว่ิงหนีขึนท่ีสูงทันทีเมื่อเห็นน้าลดลงจากชายหาด 9. เด็กเล็กทังที่ว่ายน้าเป็นหรือไม่เป็น ตอ้ งมีคนคอยดูแล อยา่ งรวดเรว็ และไกล ตลอดเวลาแมจ้ ะใช้อุปกรณ์ชว่ ยลอยน้า ห่วงโซ่การรอดชีวิตจากจมนา้ (Drowing Chain of Survival) การแก้ไขปัญหาการป่วยเจ็บจากการจมน้า การ 3. ใหล้ อยตัวอยไู่ ด-้ ป้องกันการจมใต้นา้ โดยการ เข้าใจห่วงโซ่ของการรอดชีวิตจากการจมน้าส้าคัญ และการ - พยายามอยา่ ลงนา้ เพอื่ ไม่ให้ผปู้ ระสบภยั จมตัวคณุ แก้ไขจะรวมทังการป้องกัน การรองรับการจมน้า โดยการเข้า - ใชก้ ิง่ ไม้หรือท่อยาวในการย่นื เข้าหาผู้ประสบภัย ช่วย การให้การดูแล การเคลือ่ นยา้ ย และการส่งต่อ ดงั นี - หากคณุ กา้ ลงั จมนา้ อยา่ ตกใจ 1. การป้องกนั -ปลอดภัยทางน้า โดยการ - หากคุณก้าลังจมน้า ให้โบกมือขอความช่วยเหลือ - เดก็ ทีว่ ่ายน้าไม่เป็นต้องอยู่หรือใกล้แหล่งน้าให้อยู่ใน ในทนั ที และลอยตัวไว้ ระยะมอื เอือมถงึ 4. น้าผู้ประสบภัยขึนจากน้า-หากปลอดภัยในการท้า - ว่ายนา้ ในพืนท่ีปลอดภยั ท่ีมีเจ้าหนา้ ท่ชี วี พทิ กั ษ์ โดยการ - ลอ้ มรัว 4 ด้าน ของสระวา่ ยนา้ และสปา - น้าผ้ปู ระสบภัยขนึ จากนา้ โดยไม่จ้าเป็นต้องลงน้า - สวมเสือชูชีพทุกครัง ส้าหรับเด็ก ผู้ท่ีว่ายน้าอ่อน - ช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยบอกทิศทางการออกจาก หรือเมื่อตอ้ งโดยสารเรือ น้า - เรียนรใู้ นการว่ายน้า และทักษะการเอาชีวิตรอดทาง - หากตัวผู้เข้าช่วยปลอดภัย ให้เข้าช่วยโดยใช้อุปกรณ์ น้า ทีล่ อยตัวได้ 2. รจู้ กั อาการคับขนั -ร้องขอความช่วยเหลือ โดยการ 5. ให้การดูแลตามกรณี-เรียกความช่วยเหลือทาง - ผู้ประสบภัยแสดงสญั ญาณทตี่ อ้ งการจะส่ือสาร การแพทย์ โดยการ - ตระหนักเสมอว่าผปู้ ระสบภัยอาจไม่โบกมือ หรือร้อง - หากไม่หายใจ ให้เร่ิมกู้ฟื้นคืนชีพ โดยเร่ิมผายปอด ขอความชว่ ยเหลอื กอ่ นทันที - แจง้ ผู้อื่นไปตามความช่วยเหลือ ขณะท่ีเรายังอยู่เพ่ือ - หากหายใจ ให้อยู่กับผู้ประสบภัยจนกว่าความ ชว่ ยเหลือ ช่วยเหลือทางการแพทย์จะมาถึง ส่งถึงมือแพทย์ หรือ - ขอความช่วยเหลือจากคนรอบข้าง ในขณะเดียวกัน โรงพยาบาล หากมอี าการ อยา่ หลดุ สายตาจากผ้ปู ระสบภยั การป้องกันเพ่ือใหเ้ กิดความปลอดภยั ทางนา้ หลกั การป้องกันอุบัตเิ หตุ ดา้ เนินได้ 3 ประการ คือ 3. ควบคุมแก้ไขสิ่งแวดล้อมท่ีก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น 1. แก้ไขที่ตัวการหรืออุปกรณ์ที่ท้าให้เกิดอุบัติเหตุ จัดการจราจรใหด้ ี ซอ่ มแซมสว่ นที่บกพร่องหักพังให้คืนสภาพ เครื่องมือเคร่ืองใช้ควรออกแบบให้ความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ ส่ิง ดี ส่ิงแวดล้อมใดท่ีมีสถิติเกิดอุบัติเหตุสูงกว่าปกติ ผู้ที่ ใดทช่ี ้ารุดบกพรอ่ งให้รบี ซ่อมแซมแก้ไข เกีย่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยควรวเิ คราะหห์ าหนทางป้องกันแก้ไขโดยเรว็ 2. ให้ความสนใจแก่บุคคลบางจ้าพวกที่เสี่ยงต่อการเกิด อบุ ัตเิ หตุ เชน่ ผู้ด่ืมสรุ า คนท่สี ายตาและร่างกายไม่สมบูรณ์ ผู้ทเ่ี กีย่ วข้องกบั บุคคลเหล่านีควรหาทางป้องกนั เปน็ พเิ ศษ 251-10

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual สหภ5ว่า.งพโใซไตมร่้น่กอ้ารดะชโดวี ดติ ลจงานก้ากใานรบปร่วิเวยณเจน็บ้าทตืนางนนำ้�้า ข(ุ่นwaหtรeือrไ-มre่ทlรaาtบed ไcมa1่ sเ0ชu.อื aเกตltรฯieียลมsฯอsุปuกrvรiณva์สl้า)หรับช่วยชีวิตไวเ้ สมอ เช่น ห่วงชูชีพ 6. ไม่ควรลงเลน่ นา้ หากดื่มสรุ า เมายา อดนอน อ่อนเพลีย 11. ระมัดระวัง ดแู ล รับผดิ ชอบความปลอดภัย ของตนเอง 7. เตรียมชดุ ว่ายนา้ ท่เี หมาะสมสา้ หรับลงเล่นน้า หรือ อยู่เสมอ วา่ ยนา้ ไม่ควรใส่กางเกงขายาวลงเลน่ นา้ 12. ให้ขนึ จากแหล่งน้าทนั ที ทเ่ี หน็ นา้ ขุ่นแดงไหลผา่ น 8. ไมควรลงเล่นน้าขณะมีฝนตก หรอื ฝนฟ้าคะนอง 13. ให้รีบว่ิงหนีขึนที่สูงทันทีเมื่อเห็นน้าลดลงจากชายหาด 9. เด็กเล็กทังที่ว่ายน้าเป็นหรือไม่เป็น ตอ้ งมีคนคอยดูแล อยา่ งรวดเรว็ และไกล ตลอดเวลาเแชม่น้จะใชเด้อียุปวกกรันณก์ชับ่วกยาลรอแยกน้ป้าัญหาการป่วยเจ็บจาก กหา่วรงจโมซน่ก้ำ�า รรอกดาชรีวเขิตา้ จใาจกหจว่ มงโนซา้ ่ข(อDงrกoาwรรinอgดชCีวhติ aจinากoกfารSปu่วrvยiva l) 2. การเข้าช่วยเหลอื (Rescue) เจ็บทางนก�้ำาสรแ�ำกค้ไัญข ปโัญดยหเานกื้อาหรปาส่วายรเจะ็บส�จำคากัญกไาดร้กจลม่านว้าไว้แกยากร 3. ให้ล3อ.ยกตาัวรอดยูแู่ไลดร้-กัปษ้อางก(Cันaกrาeร)จมใต้นา้ โดยการ ตเขา้ามใแจตห่ล่วะงหโซม่ขวอดงใกนาครมู่รืออดฉบชีวบั ิตนจี้ าโดกยกมารหี จวั มขน้อ้าหสล้ากั คดัญังน้ีและการ - พ4ย.า กยาามรอเคยลา่ ื่ลองนนยา้ ้าเพยือ่แไลมะ่ใสห่ง้ผตู้ป่อระ (สTบraภnยั sจpมoตrัวtคaณุ tion แกไ้ ขจะรวม1ท. กังกาารรปปอ้ ้องงกกนั ัน(Pกrาeรvรeอnงรtiับoกnา)รจมน้า โดยการเข้า and Ev-acใuช้กatง่ิ iไoมn้ห)รอื ท่อยาวในการยืน่ เข้าหาผปู้ ระสบภัย ชหว่ 1ว่ย.งกโซา-กราร่ เใรอดหปช็กดก้ ีอ้วทชางพ่ีวรีวก่าดิทิตันยแูักจ-นลปาษ้ากลกไ์ มกอ(าlร่เดาiปfเรภคe็นปยัลgตท่ว่อืu้อยนาaงงเยrอจนdา้ ย็บ้ายiู่หnทโแรgดาืลอ)ยง ะใเกนกกปาล้�ำาร็น ้แร(สอหwง่ีกลaต่งหt่อนeน้าดr่ึงใ-ังบหrนe้รอีlิบยaู่ใทtนed casua--ltหหieาากsกคคsุณุณuกrกvา้ ้าiลvลังaังจlจม)มนน้า้าอยให่าต้โบกใกจมือขอความช่วยเหลือ ทระี่สย�ำะคมัญอื ใเอนอื กมาถรงึ แก้ไขปัญหาของชายฝั่งของประเทศโดย ในทันที และลอยตวั ไว้ เฉพาะ- ปวร่าะยนเทา้ ศในทพ่ีมืนีแทหี่ปลล่งอทด่อภงยั เทท่ีม่ียเี จวา้ชหานย้าฝทั่งช่ี  วีตพัวิทอักยษ่า์งเช่น 4. น้าผู้ประสบภัยขึนจากน้า-หากปลอดภัยในการท้า สหรัฐอ-เมลร้อิกมารัวอ4ังกดฤ้าษน ขออองสสเรตะรวเา่ ลยียน้าเแปลน็ ะตส้นปา หากแตก่ าร โดยการ - น้าผู้ประสบภยั ขึนจากน้า โดยไม่จา้ เป็นต้องลงน้า พัฒนา-ขสอวงชมีวเสพือิทชักูชษีพ์ใทนุกปครระังเทสศ้าหไทรัยบ เจดา็กกผภู้ทา่ีวค่ารยัฐน ม้าีกอ่าอรน - ช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยบอกทิศทางการออกจาก พหัฒรอื นเมาือ่เรต่ิมอ้ ตงโ้นด ยพสบารวเ่ารือมีท่ีจังหวัดภูเก็ต ภายใต้การว่าจ้าง น้า บริษัทข- อเรงยีอนงรคใู้ ์กนรกบารรวิหา่ ายรนส้า่วแนลทะ้อทงักถษิ่นะ กหาารกเอแาตช่ยีวังิตไรมอ่มดีกทาารง - หากตัวผู้เข้าช่วยปลอดภัย ให้เข้าช่วยโดยใช้อุปกรณ์ ปนร้าะสานงานกับระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินอย่าง ท่ีลอยตัวได้ สอ2ด.คลร้อ้จู งักเอหามกาาะรสคมบั ขนักา-รรอ้พงฒั ขนอคารวะาบมบชว่ชยวี เพหทิ ลักอื ษโ์นดับยกเปาน็รอกี 5. ให้การดูแลตามกรณี-เรียกความช่วยเหลือทาง หนึ่งระ-บผบู้ปทรี่มะีคสวบาภมยั สแ�ำสคดัญงส เญั นญ่ืองาจณาทก่ตีข้อ้องมกูลากรจาะรสศ่อืึกสษาารหลาย ทกีไ่ าดรร้ แับพกทายร์ชโว่ดยยเกหาลรือจากผู้เหน็ เหตุการณ์ มีอัตราท่ตี ้องได้ การศึก-ษตารตะ่าหงนใหัก้คเสวมาอมวเ่าหผ็นู้ปสรอะสดบคภลยั้อองากจันไมใน่โบกกามรชือ่วหยรเหือรล้อือง รับการ-กหู้ฟาื้นกคไมืน่หชาีพยถใจึงรใ้อหย้เรล่ิมะก ู้ฟ3้ืน0ค หืนาชกีพมโีรดะยบเรบ่ิมดผังากยลป่าอวด ใขหอ้ผคู้ปวารมะชส่วบยภเหัยลรอื ดชีวิตจากการป่วยเจ็บทางน�้ำ เน่ืองจาก กกาอ่ รนชท่วัยนชทีวติ ประสบความสำ� เรจ็ มีเพียงร้อยละ 0.5 จ�ำเปน็ การเกิด- เหแจตง้ ุนผ้ัน้อู ย่ืนาไปกทตาี่รมะคบวบากมาชร่วแยพเหทลยือ์ฉุกขเณฉินะทจะี่เรเาขย้าังถอึงยหู่เรพือื่อ ต้องไดร้ -ับหการกกหฟู้ าืน้ ยคใืนจชใีพห้อแยลู่ะกเับพผียู้ปงรร้อะยสลบะภ6ัยจเทน่ากนวั้น่าทคี่ตว้อางม ใชหว่ ้กยาเหรชล่วือย เหลือไดท้ นั เวลา ซึ่งสง่ ผลต่ออตั ราการรอดชีวิต นช�ำ่วสย่งเสหถลาือนทพายงากบาลรแ ทพ้ังทนยี้ ์ังจไะมม่นาับถถึงึงกสา่งรถปึง่วมยือเจแ็บพทที่อยา์ จหขรึ้นือ หรือกร-ะขทอั่งคอวัตารมาชท่วี่ตย้อเหงนล�ำือสจ่งาสกถคานนรพอบยขาบ้างาลใน ตขัวณอะยเ่าดงียหวนก่ึงัน กโระงพทยงั่ เาสบียาชลีวหติ าขกอมงีอผาเู้ หก็นารเหตกุ ารณ์และเข้าใหก้ าร ขออยง่ากหาลรดุ ศสึกายษตาา จผามกวผ่าู้ปหราะกสไบมภ่มัยีระบบดังกล่าว ผู้ประสบภัย ชว่ ยเหลอื   การป้องกนั เพอ่ื ให้เกิดความปลอดภัยทางน้า 3. ควบคุมแก้ไขส่ิงแวดล้อมที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น หลกั การป้องกนั อุบัตเิ หตุ ดา้ เนินได้ 3 ประการ คือ 1. แก้ไขท่ีตัวการหรืออุปกรณ์ที่ท้าให้เกิดอุบัติเหตุ จดั การจราจรให้ดี ซอ่ มแซมสว่ นที่บกพร่องหักพังให้คืนสภาพ เครื่องมือเคร่ืองใช้ควรออกแบบให้ความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ ส่ิง ดี ส่ิงแวดล้อมใดที่มีสถิติเกิดอุบัติเหตุสูงกว่าปกติ ผู้ท่ี ใดทีช่ า้ รดุ บกพรอ่ งให้รีบซอ่ มแซมแก้ไข เกีย่ วข้องทกุ ฝ่ายควรวิเคราะหห์ าหนทางปอ้ งกนั แกไ้ ขโดยเร็ว 2. ให้ความสนใจแก่บุคคลบางจ้าพวกท่ีเส่ียงต่อการเกิด อุบตั เิ หตุ เช่น ผู้ดื่มสุรา คนท่ีสายตาและร่างกายไม่สมบูรณ์ ผทู้ เ่ี ก่ียวขอ้ งกับบคุ คลเหลา่ นีควรหาทางป้องกนั เป็นพเิ ศษ 1-2160

ประเภทของอุปกรณ์ลอยตัวส่วนบคุ คล (Personal Floatation Device; PFD) Aquatic Safety and Prevention Guidelines US Coast Guard ได้แบ่งประเภทไว้ตามวัตถุประสงค์ และคุณสมบัติการลอยตัว โดย ประเภท I, II, III และ V เป็น เสอื ชชู ีพ IV เป็นอปุ กรณ์สา้ หรับโยน ประเภท (Type) I เป็นเสือชูชีพท่ัวไปใช้บนเรือห่างชายฝั่ง ท่ีการเข้า ชว่ ยเหลอื อาจล่าชา้ สามารถชว่ ยในการพลิกตวั ผปู้ ระสบภัยที่หมดสติจากท่า ควา้่ หนา้ เป็นทา่ หน้าพ้นนา้ ล้าตวั ตรง ประเภท (Type) II เปน็ เสือชชู ีพท่ัวไปใชบ้ นเรอื ในการนนั ทนาการ ในแหล่ง นา้ บนแผ่นดิน ท่ีการเข้าช่วยเหลือเข้าถึงได้เร็ว ดีส้าหรับน้าน่ิง ยังเหมาะสม สา้ หรบั ใช้ในสระและสวนน้า สามารถช่วยในการพลิกตัวผู้ประสบภัยที่หมด สตจิ ากท่าคว้่าหน้า เป็นท่าหน้าพ้นน้า ล้าตัวตรง หากแต่ลอยตัวได้น้อยกว่า ประเภท I ประเภท (Type) III เป็นเสือชูชีพท่ัวไปใช้ในการแล่นใบ หรือตกปลาใน แหล่งน้าบนแผ่นดิน สามารถช่วยผู้ประสบภัยท่ีรู้สติ อยู่ในท่าหน้าพ้นน้า ล้าตวั ตรง หากแต่ตอ้ งเงยหนา้ เล็กน้อยเพื่อป้องกนั หนา้ คว้่าลงในน้า ประเภท (Type) IV เป็นอุปกรณ์ส้าหรับโยน เช่น เบาะลอย หรือห่วงชูชีพ ทั่วไปใช้ในเรือที่แล่นบนแหล่งน้าภายในแผ่นดิน ที่มีการจราจรคับคั่ง และ การช่วยเหลือพร้อม อาจใช้โยนให้กับผู้ประสบภัยในสถานการณ์ฉุกเฉิน ไม่ สามารถทดแทนการสวมชชู พี ประเภท (Type) V เป็นเสือชูชีพพิเศษ ใช้ส้าหรับกิจกรรมเฉพาะ เช่น การ ลอ่ งแก่ง และการท้างานนอกชายฝ่ังบางอย่าง ยอมรับให้ใช้เฉพาะท่ีก้าหนด ไว้ท่ปี า้ ยแสดง 27 1-11

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual การเลือกใช้ชูชีพ ควรมั่นใจว่าถูกประเภท พิจารณา กระชับ น้าหนักผู้สวมใส่ไม่เกินจ้ากัด สวมใส่แล้วลอยตัวคาง จากความสามารถในการว่ายน้า กิจกรรม และสภาวะแหล่ง พ้นน้า หายใจเข้าออกได้สะดวก ควรสวมใส่บนฝั่งพร้อมรัด น้านันๆ การใช้ต้องตรวจสอบว่าอยู่ในสภาพดี แถบสายรัด สายให้ครบและเรียบร้อยก่อนลงท้าการทดสอบก่อนน้าไปใช้ และตัวล็อคใช้งานได้ดี ไม่ควรมีรอยฉีกขาด รู หรือรอยย่น จรงิ ของวัสดุที่ลอยน้า เลือกขนาดที่เหมาะสม สวมใส่ได้พอดี การส่ือสารในพนื ท่ีหาด ธง และสญั ญาณธง ในบรเิ วณทีม่ ีการเฝ้าระวังจากเจ้าหนา้ ท่ชี ีวพิทกั ษ์ มกี ารใช้สญั ญาณธงเพอ่ื แจ้งให้กับผู้ใชช้ ายหาด ดงั นี ธงแดงและเหลือง - เป็นพืนท่ีที่ปลอดภัยที่สุดบริเวณหาดควรเล่นน้าใน บรเิ วณระหวา่ งธงสญั ญาณนี ธงเหลอื ง - ควรระมัดระวังในการเลน่ นา้ บรเิ วณนี ธงแดง - ปิดหาด ห้ามลงเล่นน้าโดยเดด็ ขาด ธงลายหมากรกุ ดา้ ขาว - พืนท่ีก้าหนดในการเล่นยานพาหนะทางน้า หรือ แผ่นกระดานเซิร์ฟ 1-12 28

นกหวดี Aquatic Safety and Prevention Guidelines - เปา่ หน่ึงครงั – เรยี กความสนใจจากผูเ้ ล่นน้า - เป่าสองครัง – เรยี กความสนใจจากเจา้ หน้าที่ชวี พทิ กั ษอ์ ืน่ - เป่าสามครัง – เหตกุ ารณ์ฉกุ เฉนิ สัญญาณมอื กรณอี ยู่ทห่ี าดเรยี กที่อยใู่ นนา้ ขอควกาามรชเร่วียยกเหกลลือบั ฝั่ง อกอลกับไปเขจา้ ามกาฝั่งอีก ออยอู่กกับไทป่ี ไปทศิ ทางนี เปลี่ยนทศิ ไปทางนี ตรวจสอบวัตถุหรือคนจมน้า รบั ทราบ OK ระยะใกล้ OK ระยะไกล ไมเ่ ข้าใจสัญญาณ นา้ นักวา่ ยนา้ ขึนมา (หมุนแขนไป หยุดอยกู่ ับท่ี รอบๆ แลว้ ชีไปที่จดุ นกั ว่ายน้าอยู่) สัญญาณมือ กรณอี ยใู่ นน้าเรียกทอี่ ยู่บนหาด คน้ หา ไตป้อทงากงาขรวคาวามช่วยเหลือ อไปันทตารงาซย้าย ปลอดภัยทางรสีบะเขด้าวชก่วยเหลอื 291-13

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual ความปลอดภัยในการเดนิ ทางทางน้า 1. สวมเสือชูชีพท่ีเหมาะสมกับขนาดน้าหนักของตัวเอง - หากเป็นไปได้ควรเตรียมอุปกรณ์ส้าหรับช่วยชีวิต ทกุ ครังที่เดินทางทางน้า ตนเองติดตัวไวเ้ สมอ เช่น รองเท้าแตะฟองน้า ขวดน้าด่ืม 2. ไม่ควรใส่เสือผ้าที่หนา หนักหรืออุ้มน้า เช่น กางเกง พลาสติก ถังแกลลอน ฯลฯ ยนี ส์ เสือผ้าหนาๆ - มองหาอุปกรณ์ส้าหรับช่วยชีวิตผู้อื่นไว้เสมอเพ่ือใช้ 3. ลกั ษณะของชชู พี ทเี่ หมาะสมสา้ หรับการใช้โดยท่ัวๆ ไป ช่วยเมอื่ เกดิ เหตุการณ์ เช่น ห่วงชูชีพ ขวดน้าด่ืมพลาสติก ถัง คือ แบบที่ 2 ซึ่งจะช่วยให้หน้าอก ศีรษะและใบหน้าของผู้ แกลลอน เชอื ก ไม้ยาวๆ ฯลฯ สวมลอยอยเู่ หนอื น้าเสมอแม้ผู้ท่ีสวมจะหมดสติ (สลบ) 4. เตรียมความพร้อมขณะทีโ่ ดยสารเรือ ความปลอดภัยในสวนสนุกทางนา้ (water parks) สวนสนุกทางน้าพบได้บ่อยมากขึนในปัจจุบัน มี 5.เชอื่ ฟังป้ายค้าแนะนา้ หากสงสัยให้ปรกึ ษาเจา้ หนา้ ที่ อุปกรณ์และกจิ กรรมหลากหลาย เช่น เครื่องเล่นสไลด์ สระท่ี 6.ตระหนักถึงความลกึ ของน้าและระเบยี บการใช้ มีคล่ืน หรือกระแสน้าไหล อันตรายจากการบาดเจ็บพบได้ 7.เครื่องเล่นสไลด์ควรใช้เท้าน้า ศีรษะอยู่บน หากสไลด์ บ่อย ทังตกลงมาบนพืนแข็ง กระแทก ชนกัน ค้าแนะน้าใน เรว็ ให้ไขวข้ า การปอ้ งกนั มีดงั นี 8.อย่าอนุญาตให้เด็กห้อยตัวกับคนอ่ืนระหว่างใช้เคร่ือง 1. มัน่ ใจวา่ มีผู้ใหญ่คอยดูแล และใหค้ า้ แนะน้าแก่เด็ก สไลด์ 2. เด็กเล็กและผู้ที่ว่ายน้าอ่อน ควรสวมใส่ชูชีพขณะที่อยู่ 9.อยา่ ลงน้าหากทอ้ งเสยี โดยเฉพาะเด็กท่ใี สผ่ า้ ออ้ ม ใกล้ หรอื ในนา้ (บางแหง่ อาจหา้ มใส่) 10. อาบนา้ ลา้ งตัวก่อนลงสวนสนุกน้า 3. สวมใส่เสือผ้าและรองเท้าส้าหรับกิจกรรมทางน้าที่ 11. มั่นใจว่าเด็กๆ มีห้องน้าเข้าอย่างท่ัวถึง เปลี่ยน เหมาะสม และปกปอ้ งแสงแดด ผ้าออ้ มห่างจากสระและสวนน้า 4. อย่าวา่ ยนา้ ลา้ พัง ควรมีเพอ่ื นตลอด ความปลอดภยั ในการใช้เรอื ในทางนันทนาการ 2. อบรมหลักสูตรความปลอดภัยทางเรอื เรือทางนันทนาการมีหลายชนิด เช่น เรือยนต์ ยาน 3. อยา่ ดมื่ แอลกอฮอล์ 4. แจง้ แผนกา้ หนดการให้กับคนบนฝั่ง นา้ สว่ นบุคคล เรือใบ เรือแคนู เรือคายัค เป็นต้น กฎเบืองต้น 5. ตดิ ตามการพยากรณอ์ ากาศ ได้แก่ 1. สวมใสช่ ูชีพตลอดเวลา ความปลอดภัยในการใช้ยานน้าบคุ คล (personal watercraft) เชน่ เจท็ สกี 1. สวมใส่ชูชีพ 4. ใหร้ ะมดั ระวงั ส้าหรับนักว่ายน้า นักเล่นเซิร์ฟ นักด้าน้า 2. ทราบกฎและขอ้ บงั คับในการใช้ และเรืออนื่ ๆ ให้ลดความเรว็ ในพนื ทด่ี งั กล่าว 3. มีมารยาทและสามัญสา้ นึกในการใช้ และให้ความสนใจ 5. ไมข่ ับขีต่ ามลา้ พงั ควรมีกจิ กรรมเปน็ กลุ่ม ส่ิงแวดล้อม ปฏิบัติตามเส้นทางก้าหนด เช่ือฟังเขตที่ห้ามใช้ 6. ผู้ขับขี่ควรสวมสายห้อยคอที่ผูกติดกับสัญญาณดับ ความเร็ว เคร่ืองในระหว่างการขับขี่ 7. แจ้งแผนการใช้เม่อื ออกจากฝัง่ ความปลอดภยั ในการลอ่ งแพยาง 4. ไม่ล่องแพภายหลังฝนตกหนัก หรือสัญญาณเตือนน้า 1. สวมใส่เสอื ชูชพี หลาก 2. ไม่ดม่ื แอลกอฮอล์ 3. ไมบ่ รรทกุ น้าหนกั เกนิ 5. มน่ั ใจวา่ มคั คเุ ทศก์ผา่ นการอบรม 1-1340

6. แจง้ แผนการกับฝ่ัง 7. ตรวจสอบสภาพก่อนใช้ และม่ันใจว่าได้รับการอบรม Aquatic Safety and Prevention Guidelines และมีประสบการณด์ ังกล่าว ความปลอดภยั การตกปลา 4. สร้างสมดุลในเรือเล็ก โดยน่ังต่้าและใช้มือแก้การเสีย 1. สวมใสเ่ สือชูชพี 2. แต่งกายเหมาะสม และมีอุปกรณ์สา้ หรับการยน่ื อยูใ่ กล้ สมดลุ 3. ระวังการวางเทา้ ในพนื ท่ใี กล้กับน้า 5. ไมด่ มื่ แอลกอฮอล์ ความปลอดภัยจากสตั ว์อนั ตราย การป้องกันอนั ตรายจากสัตว์ และสิ่งมีชีวิตในน้าและ 12. หลกี เล่ยี งการหยบิ จับหรือถอื ฟองน้า กลุ่มแมงกะพรุน ทะเล ได้แก่ หอยเตา้ ปูน หมกึ สายลายฟา้ บุง้ ทะเล หรือเม่นทะเลดอกไม้ 1. ไมร่ บกวนสตั ว์ และส่งิ มีชีวติ ในนา้ และทะเล 13. หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดนไฮดรอยด์ ปะการัง และ 2. หลีกเล่ยี งการวา่ ยน้ากลางคืน หรอื ตอนพลบค้่าในพืนท่ี ดอกไม้ทะเล ฉลามชุกชุม 14. หลกี เล่ยี งการว่ายนา้ ในบริเวณที่มแี มงกะพรนุ ขวดเขียว 3. หลกี เล่ียงการวา่ ยนา้ แหล่งฉลาม ทมี่ กี ารทงิ ขยะลงนา้ ชกุ ชุม 4. หลกี เลย่ี งการใสเ่ ครือ่ งประดับที่แวววาวในน้าที่มีฉลาม 15. หากมีแมงกะพรุนชุกชุมให้ว่ายน้าโดยสวมใส่ชุดผ้ายืด หรอื ปลาสาก ปกปอ้ งคลุมทกุ ส่วนเชน่ เดยี วกันกบั นักด้าน้า 5. หลีกเลี่ยงการเก็บปลาท่ีแทงฉมวกได้ติดกับล้าตัวใน 16. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารทะเลดิบโดยเฉพาะ แหลง่ น้าทีม่ ีฉลาม ปลาสาก หรือปลาหมอทะเล ผู้ป่วยภมู ิต่้าหรอื ผ้ปู ว่ ยโรคตับ 6. หลีกเลย่ี งการสวมไฟฉายที่ศีรษะเมื่อตกปลาหรือด้าน้า 17. เก็บรักษาอาหารทะเลที่อุณหภูมิต้่ากว่า 38 องศา ในเวลากลางคนื ในแหล่งท่ีมปี ลากระทุงเหวชุกชมุ ฟาเรนไฮต์ (ประมาณ 3 องศาเซลเซียส) เพ่อื ป้องกันการเนา่ เสีย 7. ให้มองหาปลาหมอทะเล หรือปลาไหลทะเล ก่อนว่าย - เก็บรักษาปลาทู ปลาอินทรีย์ ปลาเก๋า และปลาอีโต้ น้าเข้าในถ้า หรอื ยืน่ มอื เข้าไปในรหู รือรอยแยกระหว่างหิน มอญ (mahi mahi) แช่เย็น เพ่ือป้องกันการสร้างสารฮีสตา 8. หลีกเลี่ยงการว่ายน้าในแหล่งน้ากร่อยท่ีขุ่น ปากแม่น้า มนี หรือดงแสมที่มจี ระเขน้ ้าเคม็ อาศัยอยู่ - หลีกเล่ียงการรับประทานปลาสาก โดยเฉพาะจาก 9. ศึกษาข้อมูลในพืนท่ีเกี่ยวกับสัตว์ทะเลอันตราย และ แหล่งทะเลแครเิ บียน ค้าแนะน้าในการปอ้ งกัน - ตรวจสอบและขอค้าแนะน้ากับเจ้าหน้าท่ีอนามัย 10. สวมใส่รองเท้าที่เหมาะสมเมื่อเดินในบริเวณน้าขึนลง ก่อนเกบ็ หอย หากมีปรากฎการณน์ า้ เปล่ียนสี หรือการเติบโด หรือเดินลุยในแหล่งน้าตืนในการป้องกันเหยียบโดนปลาหิน ของสาหร่ายเซลเดยี ว และ weeverfish - หลีกเลี่ยงการรับประทานปลาหรือหอยที่ใช้เป็น 11. สลับเท้าไปมาเมื่อเดินบนแหล่งน้าเช่ือมต่อกับทะเลท่ี อาหารเหยื่อ เนอ่ื งจากไมถ่ กู สุขลักษณะ เป็นทราย หรอื นา้ ตืนท่มี ปี ลากระเบนชุกชมุ ความปลอดภยั ในการดา้ นา้ สคูบา 1. ประวัติสุขภาพ สมรรถนะสุขภาพ และสมรรถนะทาง 3. มคี วามร้หู ลกั การพืนฐานด้านเวชศาสตรใ์ ต้น้า กาย ปจั จบุ นั อยู่ในเกณฑส์ มบูรณ์ หากสงสัยปรึกษาแพทย์ที่มี 4. ไม่ด้าน้าคนเดียว และควรอยู่ในระยะสายตากับเพื่อน ความช้านาญ ค่หู ู (buddy) นกั ดา้ ตลอดเวลา 2. ผ่านการอบรมหลักสูตรการด้าน้าจากครูฝึก และ 5. อย่าให้ร่างกายขาดน้า หรือดื่มน้ามากเกิน ไม่ด้าน้า โรงเรียนท่ีได้มาตรฐาน และคงทักษะการด้าน้าในด้านต่างๆ หลัง มืออาหารทันที รวมถงึ ขนั ตอนฉกุ เฉิน 311-15

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual 6. ใส่ชุดด้าน้าที่ปกป้องจากสิ่งแวดล้อม ทังอุณหภูมิและ 14. มีความรู้และทักษะในการกู้ชีพ มีอุปกรณ์ช่วยชีวิต สตั ว์ทะเลบางประเภท และออกซิเจนบริสุทธพิ์ ร้อมในพืนที่ 7. ใช้ชุดอุปกรณ์ด้าน้าที่ได้ตรวจสอบด้วยตนเอง และ 15. วางแผนการด้าน้าตามมาตรฐานความปลอดภัย หาก เหมาะสมปลอดภยั เขา้ ใจและใช้งานได้อย่างคล่องแคล่ว เป็นไปได้หลีกเล่ียงการด้าน้าซ้า และหลีกเลี่ยงด้าน้าลึกกว่า 8. อุปกรณ์ด้าน้า ต้องได้รับการบ้ารุงรักษาเป็นอย่างดี 18 เมตร หลังออกก้าลงั อยา่ งหนกั และ อากาศอดั ต้องมั่นใจในคณุ ภาพอากาศ 16. วางแผนการเคล่ือนย้ายไปยังห้องปรับ แรงดัน 9. ไม่ควรด้าน้าจนเกินขีดจ้ากัด หรือเข้าใกล้ขีดจ้ากัด บรรยากาศสงู ในกรณฉี กุ เฉิน สงู สุดของตารางการดา้ น้า และควรเลิกดา้ กอ่ นหมดแรง 18. หลีกเลย่ี งการขนึ บินโดยสาร หรอื ขนึ ในทสี่ ูงหลังการด้า 10. หากรู้สึกไม่สบาย อย่าด้าน้า และหากรู้สึกผิดปรกติ ในวนั เดยี วกัน หลังด้าน้า ให้ปรกึ ษาแพทยห์ รือบุคลากรท่มี คี วามช้านาญ การป่วยเจ็บทางนา้ ไม่อาจหลีกเลย่ี งได้ แม้มีมาตรการความ 11. ไม่ด้าน้าในขณะท่ีมีการออกฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ ยาท่ี ปลอดภัยและการป้องกันดีเพียงใด การวางแผนการรองรับ ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท หรือยาทีท่ า้ ให้งว่ งซมึ การป่วยเจ็บทางน้าเป็นส่ิงส้าคัญ ระบบบริการการแพทย์ 12. ใช้อุปกรณ์ด้าน้ามีระบบพยุงชีพ (Life Support) ที่ ฉกุ เฉินทางนา้ จะเป็นระบบทมี่ เี ช่ือมตอ่ กับแผนการรองรับการ เพียงพอและเหมาะสม โดยมีอุปกรณ์หายใจส้ารอง ป่วยเจ็บจากการด้าน้า หากมีระบบท่ีมีประสิทธิภาพจะช่วย (Alternate Air Source) และเสือชูชีพปรับแรงลอยตัว ลดการสูญเสยี ชวี ิต หรือความพิการท่ีเกิดขึนจากการป่วยเจ็บ (Buoyancy Control Device) ชนดิ ควบคุมดว้ ยมอื ทางนา้ 13. หากใช้ขวดอากาศ อย่าใช้อากาศในขวดจนเกือบหมด ใหเ้ ลกิ กอ่ นตามมาตรฐานความปลอดภยั ในการด้านา้ การวางแผนการรองรบั การปว่ ยเจ็บทางน้า การวางแผนรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินทางน้ามี 3. การก้าหนดบทบาทและหน้าท่ีรับผิดชอบของทีมงาน ความส้าคัญ เนื่องจากเหตุการณ์อาจเกิดได้ตลอดเวลา การ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงขันตอนในการตอบรับ รองรับที่ดีย่อมท้าให้การจัดการการแพทย์ฉุกเฉินทางน้ามี สถานการณ์ ประสิทธภิ าพ การวางแผนทดี่ ีประกอบด้วย 4. แผนการส่ือสารและการประสานงาน ได้แก่ การร้อง 1. การจัดพืนท่ีในการวางอุปกรณ์การช่วยชีวิตและปฐม ขอความช่วยเหลือส้าหรับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ล้าดับการ พยาบาล ในการรองรับการป่วยเจ็บทางน้า การพิจารณา รายงาน เปน็ ต้น ทางเข้าและออกของทีมงาน และยานพาหนะท่ีใช้ในการ 5. ขันตอนหลังเหตุการณ์ฉุกเฉินเสร็จสิน ได้แก่ การ ใหบ้ ริการฉกุ เฉนิ หมายเลขติดตอ่ ในกรณีเหตฉุ กุ เฉิน บนั ทกึ ตรวจสอบจัดเกบ็ อปุ กรณ์ การทบทวนและปฏิบัติตาม 2. อปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ อุปกรณ์ในการช่วยชีวิต อุปกรณ์ในการ ขันตอนที่เกยี่ วขอ้ งตอ่ ไป ปฐมพยาบาลกู้ฟ้ืนคืนชีพ และการป้องกันตนเองท่ีเหมาะสม การฝึกฝนตามแผนที่วางไว้อย่างเป็นระยะ รวมถึง สา้ หรบั บริบทของพนื ท่นี นั ๆ ทบทวนขนั ตอนการกฟู้ ้นื คืนชีพและการดูแลผู้ป่วยเจ็บทางน้า จะท้าให้การรองรับการป่วยเจ็บเป็นไปได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เอกสารอา้ งองิ 1. World Health Organization.Guidelines for safe recreational water environments.Volume 1, Coastal and fresh waters.2003 2. World Health Organization.Guidelines for safe recreational water environments.Volume 2, Swimming pools and similar environments. 2006 3. สา้ นักโรคไม่ติดตอ่ กรมควบคมุ โรคกระทรวงสาธารณสุข (2552) หลักสูตรว่ายน้าเพื่อการเอาชีวิตรอดและคู่มือการสอน นนทบุรี ประเทศไทย http://www.cdc.gov/ncidod/dbmd/diseaseinfo/marinetoxins_g.htm 1-1362

11.3.3กกาารรเตเตรรียแียแลมลมะกะกกกาาาารรรรขขดดออ�ำางงรรผผงงู ป้ชปู้ชีรพรีพะะใใสสนนบบททภภะะเเัลยัยล Aquatic Safety and Prevention Guidelines Survival in Aquatic Environment วตั ถปุ ระสงค์ดา้ นความรู้ - อธบิ ายการแก้ปัญหาตา่ งๆ ทางน้า - อธิบายทักษะทางนา้ ขนั พนื ฐานในการเอาชวี ติ รอด - อธิบายการเตรียมการดา้ รงชพี ในทะเล วตั ถุประสงคด์ า้ นทักษะ - ทกั ษะการลอยตวั แบบหงาย (back float) - ทกั ษะการลอยตัวแบบควา้ (front float) - ทกั ษะการลอยตัวดว้ ยการใชข้ วดน้าพลาสตกิ - ทักษะการลอยตัวเอาชีวิตรอด ด้วยชุดทสี วมใส่ - ทักษะการเคลือนทีดว้ ยการวา่ ยนา้ เอาตวั รอด - ทกั ษะการเอาชีวิตรอดเมอื อยใู่ นน้าหนาวเย็น สิงส้าคัญในการเข้าไปเกียวข้องกับสถานการณ์ฉุกเฉินทางน้า คือ ความปลอดภัยของตนเอง การช่วยเหลือในน้าลึก หรือห่างจากฝัง่ ควรกระทา้ โดยเจ้าหนา้ ทชี ่วยเหลอื ทผี ่านการอบรม การฝึกทกั ษะการเอาชีวิตรอดทางน้าขนั พืนฐาน(Basic aquatic skills) 1. การลอยตัว วิธกี ารฝึกทกั ษะการทดสอบการลอยตัว ชนั ตอนท่ี 1 หายใจปกติจัดอยู่ในท่าเต่า งอตัวและเก็บเข่าชิดหน้าอก กอดเข่า ชิดจนกระทงั ตวั หยุดและนิง ให้สังเกตจมหรอื ลอย แล้วกลับมาทา่ ยนื 33

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual ขันตอนที่ 2 หายใจเข้าเต็มปอด แล้วกลันใจไว้ กลับไปยังท่าเต่าอีกครัง จนกระทังตัวหยุดและนิง ใหส้ ังเกตจมหรอื ลอย แล้วกลบั มาท่ายนื ขันตอนที่ 3 กลับมายังท่าเต่า แล้วค่อยๆ ปล่อยลมออกทางปากและจมูก ให้ สงั เกตวา่ จมลงหรือไม่ แลว้ กลบั มาทา่ ยืน ขันตอนที่ 4 กลบั มายงั ท่าลอยตัวหงายโดยแขนอยู่ข้างล้าตัว ให้สังเกตลักษณะ การลอย เช่น ขา ลา้ ตวั เป็นตน้ แลว้ กลับมาทา่ ยนื หลังการทดสอบการลอยตัวสรุปไดด้ งั นี - ส้าหรับผู้ทีแผน่ หลังลอยเหนอื ผวิ น้าตังแต่ขนั ตอนแรก จะลอยตัวได้ง่าย - ส้าหรับผู้ทีแผ่นหลงั ลอยตัวหลังขนั ตอนที 2 มีแนวโน้มทจี ะลอยตัวได้ในลักษณะท่าทแยง - ส้าหรับผู้ทีจมลงในระหว่างหายใจออกในขันตอนที 3 มีแนวโนม้ ทีจะจมลง - ส้าหรับผู้ทีลอยตวั ไม่เคลือนไหว คนทีลอยตัวได้ดมี ีแนวโนม้ ล้าตัวจะอยใู่ นแนวระนาบในขนั ตอนที 4 วธิ ีการฝกึ ทักษะการลอยตวั แบบหงาย (back float) อาจเรียกวา่ “ท่าแม่ชีลอยน้า” ทกั ษะการลอยตัวแบบนอนหงายหรือท่าแม่ชีลอยน้าเป็นทักษะทีส้าคัญทีสุดในการเอา ชีวติ รอดจากอบุ ตั ภิ ัยทางน้า หากเผยแพร่ให้ทุกคนได้รับรู้และฝึกทักษะการลอยตัวแบบนอนหงายได้จะสามารถแก้ปัญหาการ จมนา้ เสยี ชวี ิตได้ - หันหน้าเข้าหาขอบสระ ปลายเท้าทังสองข้างชิดผนังสระ สองมือจับขอบ สระ หายใจเขา้ ให้เต็มปอด เงยหน้าให้ใบหูปริมน้า เหยียดแขนตรง 34

- หายใจเขา้ เตม็ ปอด ยดื อก ยกพงุ ค่อยๆ ปลอ่ ยมือออกจากขอบสระ Aquatic Safety and Prevention Guidelines - เหยียดแขนตรงแนบข้างล้าตัว ขาเหยียดตรง จัดล้าตัวให้ตรงเหมือนกับ นอนหงายบนทีนอน ล้าตัวจะค่อยๆ ลอยขึนมาขนานผิวน้า หลักส้าคัญคือ เงย หน้ายกคาง เพอื ใช้ปากหายใจ ลา้ ตัวตรง ยดื อก ยกกน้ เอวไมง่ อ วธิ ีการฝกึ ทักษะการลอยตัวแบบคว่า้ (front float) การลอยตวั แบบควา้ มีดว้ ยกันหลายแบบแล้วแต่ความถนัด หรือวัตถุประสงค์ทีต้องการ เช่น การลอยตัวแบบปลาดาว เหมาะส้ารับฝึกใหม่ๆ การลอยตัวแบบแมงกะพรุน (jellyfish float) เป็นพืนฐานของการแก้ตะคิวทีขาในน้าลึก และการ ลอยตัวแบบเต่า( tuck float (เป็นการลดพนื ทใี นการสัมผัสนา้ เพือรักษาอณุ หภูมิของรา่ งกาย - หันหน้าเข้าหาขอบสระ มอื ทงั สองจับขอบสระ เหยียดแขนตรง - หายใจเข้าทางปากให้เต็มปอด แล้วก้มหน้าลงในน้าให้หน้าจมน้า หรือดึง คางให้ใกล้หน้าอกให้มากทีสุด จะช่วยในการลอยได้มาก กลันหายใจไว้นานๆ ล้าตัวจะงอโค้งเลก็ นอ้ ยอยา่ งสบายๆ แขนและขากางออกเพือรกั ษาสมดุล - ในกรณกี ารลอยตวั แบบเต่า ให้กม้ หน้าแล้วจึงดงึ ขาเข้ามากอด 35

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual - เมอื หมดการกลันหายใจและต้องการจะหายใจ ให้เป่าลมหายใจออกทาง ปากให้หมด แล้วใช้ฝ่ามือทังสองผลักน้าเงยหน้าขึน พร้อมอ้าปากหายใจเข้า เมือปากพน้ ระดับน้า แล้วก้มหน้าลงใต้น้า การเป่าลมเพือหายใจให้พยายามท้า อย่างช้าๆ อย่าตกใจ เพือจะไมใ่ หร้ ่างกายจมลงไปใตน้ ้าลกึ เกนิ ไป วธิ กี ารฝึกทกั ษะการลอยตัวด้วยการใช้ขวดน้าพลาสติก การลอยตัวดว้ ยการใช้ขวดนา้ พลาสตกิ เป็นอปุ กรณ์ทหี าไดง้ า่ ย และสามารถมตี ิดตวั ไว้เมอื ต้องเดนิ ทางทางนา้ - ยนื อยู่ในน้า จบั ขวดนา้ ดืมพลาสตกิ เอนตวั ไปข้างหลงั - ยกขาทัง 2 ข้างขึน พยายามให้ล้าตัวขนานกับน้า หูจมน้า หน้าเงย แอ่น หนา้ อก - ยืนบนขอบสระกอดขวดน้าดืมพลาสติกไว้กลางหน้าอก กระโดดลงน้า เตะขาใหต้ ัวลอยขนึ เหนอื นา้ - พลกิ หงายให้ล้าตัวขนานกบั นา้ มอื ทงั 2 ข้าง กอดขวดนา้ ดืมพลาสติก 36

วธิ ีการฝึกทกั ษะการลอยตวั ด้วยการพองลมในเสือเชิตหรือเสือแจค็ เก็ตโดยการเปา่ ลมเข้า Aquatic Safety and Prevention Guidelines - เอาเสือใส่ในกางเกงหรอื ผูกปลายเสือเข้าด้วยกนั รอบเอว - ปลดกระดุมคอเสือ หายใจเข้าลึกๆ ก้มตัวศีรษะไปข้างหน้าใต้น้า แล้วดึง เสือมายงั ใบหนา้ แล้วเป่าลมเข้า - ให้ดา้ นหนา้ ของเสืออยใู่ ตน้ ้า แล้วปิดคอเสือไว้ - ใหท้ ้าซา้ ขนั ตอน เพือเพมิ ลมเข้าไป วธิ ีการฝกึ ทักษะการพองลมในเสอื เชิตหรอื แจค็ เก็ตโดยการตโี ปง่ - ตดิ กระดมุ หรอื ปดิ ซปิ ให้ถึงระดบั คอ - จบั ปลายเสือด้วยมอื อกี ขา้ ง ให้อยรู่ ะดบั ต้ากวา่ ผวิ นา้ พอดี เอนตัวไปดา้ นหลงั เลก็ นอ้ ย - ตีโปง่ โดยการกระแทกนา้ ด้วยมอื เปล่าอกี ขา้ ง พรอ้ มผลักอากาศเข้าไปในเสือ - ให้ดา้ นหนา้ ของเสืออยใู่ ตน้ ้า จบั คอเสอื และปลายเสอื ปดิ ไว้ - หากลมยงั ไมพ่ อใหท้ า้ ซ้าขันตอน เพือเพิมลมเข้าไป วธิ กี ารฝึกทักษะการพองลมกางเกง - หายใจเข้าเต็มปอด ก้มตวั ไปขา้ งหน้าเพือถอดรองเท้า ปลดเขม็ ขัด และเอวกางเกง เงยหน้าหายใจตามตอ้ งการ - หายใจเต็มปอดอีกครัง ก้มตัวไปข้างหน้า ถอดขากางเกงทีละข้าง โดยไม่กลับด้านจะง่ายกว่า เงยหน้าหายใจตาม ต้องการ - ผูกขากางเกงบริเวณปลาเท้าเข้าด้วยกัน หรือมัดปมแต่ละข้างให้ใกล้ปลายขากางเกงทีสุด แล้วติดกระดุมหรือรูดซิปถึง ระดบั เอว - ถือขอบเอวกางเกงทางด้านหลังด้วยมือข้างหนึง อีกข้างตีโป่งโดยกระแทกน้าด้วยมือเปล่าไปยังขอบเอวกางเกงทีเปิด อยู่ใตต้ อ่ ผิวน้า หรืออาจใช้วิธีเป่าลมเขา้ ไปใตน้ า้ ก็ได้ - เมือกางเกงพองลม ให้เอาขอบเอวกางเกงชิดกันด้วยมือ หรือรัดด้วยเข็มขัด หากผูกมัดปลายขากางเกงติดกันให้สอด ศีรษะแทรกระหว่างขากางเกงเอการลอยตัว หากลมไมพ่ อให้ทา้ ซา้ เพอื ให้ลมพองเพมิ เติม 37

- จับปลายเสือด้วยมอื อกี ข้าง ให้อยูร่ ะดบั ตา้ กวา่ ผิวน้าพอดี เอนตวั ไปดา้ นหลงั เล็กน้อย !!!!แววแวแแววธธธิิิธิ กกกกิธ กกีีีีกกีกห้้ห้้หหาาาา---ารรรรรนนนนคMฝฝฝฝฝูตใหกกกึึกึึมกึaา้้้้าาาหีโาทททททือrป้ดททททกiักักัักกกัt่งา้แลimนษนษษษษ่่่ีี่ีีมโห4444ดะวยะะะะeกยนงักกกกท0000ไกaา้าาาาาามรขาnรรรรงพ่พรอdพพพพกกองอรเออออใาAงสหะรงงงงลือqแ้ทลลลลปมอuท้ามมมมกฏยaซกาใู่กกกกtิ้านบตiงขcาาาา้าัน้ตเนังงงงดกา้Lิกเเเเต้วงiกกกกfจยอาeงงงงับมนรือคSฉเเอuพุปกเpอืสลเpฉเอืา่พoอินแมิ rกีลทtลขะามGา้ปงเงลขuนาพา้idย้ไำตก ร ขเเขขขเเร--------ปขขขขeเแอ้อา้อาา้้า้าสลหหหหหหหหlม็ม็ม็ม็งงมiงงงงอื nเเะาาาาาาาาขขขขกผปกททeโโโโยยยยยยยยาดดัััดดัลดิดดดดง้าsะรใใใใใใใใกัเทไยยยยจจจจจจจจลแแแแปวMอลีไไไไเเเเเเเเ้ลลลลาลขขขขตตตตมมมมะ--aกะะะะด้า้าา้า้  ข็มม็็มม็กก่่กก่่nาหหเเเเเเเ้าปปปปลลลลศออออuตตตตขางาเัับบับับaออออ็มวววว็ม็ม็มยขยกกกกlขดดดดดดดปปปปา้ใโใจดัาาาาไดออออ้า้้าาา้จออออปงงงงเยนนนนกกีีกีกีเดดดดแตใเเเเขไจจจจนกกกกคคคคล็มม้กกกกาะะะะเงงงงรรรระก่สปเ้มมม้้ม้งงงง้งั้ังั้งั้เลือเเเเตออ่่าา่่าางงงงตตตตับกกกก็มยยยยวดยยยยววัััวัวมม้้มม้้ดกกกกกปอหหหหไไไไา้าตตตตปปปปววววีกอนนนนนงัวววัััว่่า่าาา่ขขขขคเดาา้าา้้้จไไไไกาา้้้า้ารหหหหเเเเ ปปปปะงงงงง้ังงงงงกงาาาาขขขขยยยยหหหห เ่า้ยยยยมกงา้้า้าา้หหหหยนนนนใใใใยตงงงง้มกนนนนจจจจา้้าา้า้หหหหหัวตวตตตตเเเเา้้้้าาานนนนนไพพพพั่าวหหหหาาาาป้าาาา้า้้้ไ่ือื่ื่ออือ่มมมมาาาาหปขเถถถถยยยยตตตตถถถถงาข้าออออใใใใย้อ้อ้อ้อออย้จจจจงาดดดดหใงงงงดดดดหงตตตตจกกกกรรรรนขขขขหตาาาานออออาาาา้าาาานมมมมารรรร้หงงงงากกกกม้ตตตตาเเเเเาาาาาททททตพ ้ออ้อ้้อยงงงงถอ้า้า้าา้ื่งงงงใอเเเเอจงกกกกกกกถปปปปกดตงงงงาาาาอลลลลาททททาขรรรรรดมดดดดาลีลีีลีละะะะ ตร    ะ้อ----ดงบักหหถผาเูืกอาาอรยขยขวใาใอจจกบเเาขตเงอ้า็มเเกวตปกงม็ อบาปดงรอเิเอกวดีกณงคทกปร้มาลังงตาดัวเ้ากไทนป้ม้าหขตเข้าลัวง้าังไหดดปน้ว้วขยา้ ย้าเกมงพัหนือือนขถห้้าาอรงดือหถรมนออัดึงงดปเ แถขทรรรรขขข----อมาะะะะึงตา้้าา้้้าผผผผีกแรกดดดดงงงง่ลปููกกููกกะขตาใใใใัับัับบบะลด้หหหหา่ลงขขขขขเเเเงดเับะาาาา้้ใใ้้ใใออออก้าตเกกกกขกกกเขงววววงีโอ้าลลลลาาาาทใม็ปว-งหปป้้ปป้้งงงงขีล่งใเเเเ้ใโัดหลลลละผกกกกกดข้ใกูาาาางงงงแลยก้ายยยยขบบบบลก้ปลงขขขขาะรรรรร้ปลกาาาาเิเิิเิเะอโาลววววากกกกแดยวณณณณงาาาาาทยเกยขงงงงกปปปปกไาขาเเเเงมงกกกกนลลลลากบเ่กก้งงงงากาาาาารลดททททางเเเเงเิ ททททับงเ้วว่ส่ีีี่สีส่สเกเณยาา้าา้้้งดกุดุดดดุุ งยเเเเม้างขขขขทปหนือทแแแแ้้้า้าาา่ีลสนจเีลลลลสดดดดาุปด้าะุดวว้วว้้้เว้้้ววห ลทงตตตตแยยยย่าา่าแา้ ลิิดิดิดดยไกกกกยลเป้วใขกกกกนนัันััน้วจยตา้รรรรวตตังดิดหหหห่าะะะะิดาขว้กดดดดรรรรกมอยรเือืออือืมุมุมุุมรตบงกะะมมมม้อหหหหยเันดดองัดััดดัดหรรรรุมกุมวือืออือืปปปปนหาหกหรรรร้ามมมมรรารรหดูููดูดดแแแแืองือือาซซซซเตตตตมรรกยิปิปิปิปูดดัูดลล่ลล่่่ งใถถถถปจซซทะะะะงึึึึงงงติิปปมีเปาถิดมึง อ  ยู่ใต้ตอ่ ผิวน้า หรอื อาจใชว้ ิธเี ปา่ ลมเขา้ ไปใตน้ ้ากไ็ ด้ ศ    ีร-ษะเมแือทกรกางรเะกหงวพ่าองงขลากมางใหเก้เงอเาอขกอาบรลเออวยกตาัวงหเกางกชลิดมกไัมน่พอ ขดโโตโตตตโ----ดดดด้ยา้อวอ่อ่่อ่อถถถถยยยยงยู่ใใผผผผออืออืืืหตตกกกกมวววิิิวิ ต้ี้ขขขขทโือรรรรนนนนปอ่า้อออะะะะ่งำ้ำ้ำำ้้ซผหบบบบแแแแโ้าิวรดททททหหหหเเเเเ-นออออือพยรรรรกกกกำ้�ววววรถือกือืออือืนนนน ัดกกกกใือรหออออห้ำ้ำำำ้้ดาาาาะขราาาาดดดด้ล้วงงงงแออืจจจจมเเเเ้ว้วว้้วยทบกกกกอใใใใยยยยพเชชชชกเขางงงงมมมมออว้ว้้้ววจน็มททททงวืือืออือิธธธธิิิใ้�ำขาาาาเกชเเเเพเีีเเีีดัดงงงงปปปปปปปาว้ มิ้ดดดดวงิธลลลล่่าาาา่่หยเ้้าาา้้าเีตลลลลก่าาา่า่่ปมานนนนิมไไไไมมมมงกือา่หหหหปปปปทเเเเผลเขขขขลลลลยยยยปาูกมาา้าา้้้งัังงงัังังังงัลมเดไไไไดดดดขขขขข่าัดปปปป้า้วว้ว้ว้าออออไปนใใใใปไยยยยบบบบตตตตปลหยมมมมเเเเาน้นน้น้้ใลออออังอืือือืตยขำำ้้้ำำ้งัววววขขขข้นขกกกกดอกกกกาาา้้า้้าำ�้ว็ไ็ไ็ไ็ไบาาาากกงงงงดดดดยเงงงงหหหหาไ็อ้้้้มเเเเดงนนนนกกกกวือเ้ กกงงงง่ึ่ึึงึ่่งงขงททททา้าออออตงงเ่ี่ี่ีเี่เเีีกกีีกกิเดปปปปหกกขขขขิดิดิิดดนงัน้า้า้าา้ทออออึง่ งงงงใยยยย่ีเหตตตตปอูใู่ใ่่ใู่ใู ้สีีโโโีโีิดีกตตตตปปปปอ้้้้ ง่่่่งงงด       ศท มทหทศศหหศศทหท----ีอืรำ� รีรรีรีีรรรำำำำซษเเเเษษษษซซซซือือืืออมมมม้ำ�ะห้ำ้ำ้้ำำรรรระะะะเอื่ออ่ือื่ื่แพรเเเเดัดัดดััแแแแกกกกพพพพือท่ือดดดดททททาาาาร่อ่อืออื่ืื่รใ้ว้ว้้ววรรรรงงงงัดห-กใใใใยยยยเเเเกกกกดหหหหล้รกกกกเเเเเรรรรมว้มขขขขะล้ลล้้ล้งงงงะะะะย่ือพหพพพพ็มม็ม็ม็มมมมหหหหเกอขขขขขวพพพพออออาวววว่ง็มาดััดดดัังงงงอออองา่่า่าา่เงขลลลลเพงงงงงงงขกหหหหัดมมมมเเเเขขขข่มิ งาพพพพาาาาาาาาเพกใใใใกกกกตมิ่ม่ิม่ิ่มิหกกกกหหหหอาผผผผมิเเเเาาาาางง้เ้้เ้เเตตตตกกูููกูกกงงงงออออลเิมิมมิมิเเเเกมมมมผาาาามกกกกงกูดดััดััดขขขขงงงงเมใปปปปออออเเเเหออออดับบบบลลลลกเ้กกกกปอาาาาเเเเาออออาาาาลยยยยารรรรรววววาขลขขขขลลลลยกกกกออาาาาขออออาาาาบกกกกยางงงงยยยยเาาาาตกอเเเเตตตตงงงงกกกกัวาวเเเเวัวัวัวั งงงง งกกกกกหชชชชเาหหหหงงงงกาดิดิดิดิงตตตตงาาาากเกกกกตดิิิดดิดกกกกกลันันันันิดกกกกงลลลลมชกดดดดนัันนันัมมมมไดินัวว้้ว้ว้ใใใใไไไไมกหหหหยยยยมมมมใ่พหนัมมมม่่พ่พ่พพสส้ส้ส้้ ส้อดออืือือือออออออใว้ ดดดดใใใใหดยหหหห้ ้้้้   !!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!     38

2. การเคล่ือนทีเ่ ขา้ หาสถานท่ปี ลอดภยั Aquatic Safety and Prevention Guidelines การเคลือนไหวในน้าเบืองต้น ประกอบด้วยการพุ่ง สามารถศึกษาในคู่มือว่ายน้าโดยทัวไป ทักษะพืนฐานในการ ตัวในน้า (gliding) การตีขา (finning) การตีกรรเชียง เคลือนทเี ข้าหาสถานทปี ลอดภัย ทีปฏบิ ตั กิ นั ไดง้ ่าย มดี งั นี (sculling) และลอยตัวตังตรงในน้า (threading) ทักษะ การเคล่ือนท่ีด้วยการว่ายน้า การว่ายน้าเอาตัวรอด ดังกล่าวเป็นพืนฐานจ้าเป็นเมือร่วมกับจังหวะในการว่าย ควรใช้ร่วมกับการลอยตัวเอาตัวรอด เนืองจากจ้าเป็นต้อง น้าท่าต่างๆ เหมาะส้าหรับผู้ทีต้องลงไปช่วยเหลือในน้า คา้ นึงถึงแรงทียังคงเหลอื วิธกี ารฝกึ ทักษะการเคลอ่ื นท่ีด้วยการวา่ ยน้าเอาตวั รอด - หลังการหายใจ ใหง้ อตวั ไปยังเอว น้าแขนแนบข้างศรี ษะ - แยกขาออกในท่าก้าวเดิน และเหยียดแขนไปด้านหน้า แล้วน้าขาเข้า ชิดกันอกี ครงั เพอื ดนั ตัวทแยงไปยงั ผวิ นา้ - กวาดแขนออกนอกล้าตัวและไปด้านหลังไปยังต้นขาและไถลตัวให้ เกือบขนานกับผิวนา้ - เมือต้องการหายใจ ให้งอขาและดึงเข้าหาล้าตัว และยกมือขึนแนบ ศีรษะอีกครัง ดึงแขนกลบั อยา่ งแรงแลว้ กลบั ไปยังท่าลอยตัวเอาชวี ติ รอด - เหยียดแขนไปข้างหน้า และแยกขาในท่าก้าวเดินอีกครัง เอียงศีรษะ ไปด้านหลังและเตรียมหายใจออกในลักษณะเดียวกันกับการลอยตัวเอา ชีวติ รอด - ท้าซ้าขันตอน 1-5 39

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual วิธกี ารฝกึ ทักษะการเคล่อื นทีแ่ บบลกู หมาตกน้า (Tread water) เป็นทกั ษะทจี ้าเป็นและมีประโยชนม์ าก ควรเริมฝกึ บริเวณน้าระดบั หน้าอก-คาง เมอื ทา้ ได้ดแี ลว้ จึงเพิมระดับความลกึ - หลังการหายใจให้คว้าหน้าลงไปในน้า เหยียดขาตรง แขนท่อนบน แนบชดิ ล้าตัว สว่ นแขนท่อนล่างงอขึนให้ฝ่ามือทังสองคว้าลงเพือการพุ้ย น้า - เตะขาสลับแบบท่าว่ายน้าฟรีสไตส์ หรือท่ากบตามแต่ถนัด มือทัง สองข้างพุ้ยนา้ สลับกันขึนลง คล้ายกบั สุนขั กา้ ลังตะกุยดนิ - เมือต้องการหายใจ ให้เปล่าลมออกทางปาก หรือทางจมูก แรงๆ สนั ๆ ใหห้ มด แลว้ ปดิ ปากไว้ พร้อมกับเงยหน้าขึนเบาๆ ในลักษณะใช้คอ เป็นจุดหมุน เมือปากพ้นน้าให้อ้าปากหายใจเข้า (อย่าหายใจเข้าทาง จมูกจะทา้ ใหส้ ้าลักน้าได้( - หลังจากหายใจเข้าแล้วให้ก้มหน้าลงไปน้า ท้าเช่นนีไปเลือยๆ พร้อมกับเคลือนทีเข้าหาทีปลอดภัย หรือสามารถยกหน้าให้พ้นน้าได้ ตลอดเวลาหากท้าได้ วิธกี ารฝกึ ทักษะการเคลื่อนทแี่ บบผจี นี (Kangaroo jump) การทา้ ทา่ ผจี นี เป็นทักษะการเอาชวี ิตรอดส้าหรับผู้เริมหัดว่ายน้าทีหมดแรงช่วยตัวเองไม่ได้ ในบริเวณน้าลึกประมาณ 1 เทา่ หรอื 1 เท่าครึงของความสูงของตน โดยใช้การฝกึ ทักษะและจังหวะการหายใจในการว่ายน้า - หายใจเข้าทางปากกลันหายใจไว้ ปล่อยตัวลงไปทีพืนล้าตัวให้ตรง ระหว่างทีตัวจมลงไปถึงพืนให้เป่าลมออก (หายใจออกได้ทังทางปาก และจมูก) 40

- พอเท้าทังสองแตะพืนใหย้ ่อเข่าแล้วสปริงข้อเท้าถีบตัวขึนมาให้พ้น Aquatic Safety and Prevention Guidelines ระดับนา้ - ในระหว่างทตี วั กา้ ลังพุ่งขึนสู่ผิวน้าให้ใช้แขนและฝ่ามือทังสองข้าง พุ้ยน้าให้ตวั เคลือนทีไปข้างหนา้ - เมือพ้นผวิ น้าให้อ้าปากหายใจเข้า อย่าหายใจเข้าทางจมกู จะส้าลัก น้าได้ - ท้าซ้าจนกว่าจะเคลือนทีถึงทีปลอดภัย วธิ กี ารฝกึ ทกั ษะการเคลอ่ื นที่ดว้ ยการเตะเทา้ หงาย เปน็ การเคลอื นทไี ปในน้าทผี ิวนา้ ตามแนวนอน - นอนหงายเงยหน้า ล้าตัวเหยียดตรงขนานกับผิวน้า แขนทังสอง เหยียดตรงแนบข้างลา้ ตวั ขาเหยียดตรง - การเตะเท้าหงายให้งอเข่าลงแล้วเตะเท้าขึนบิดปลายเท้าเข้าหากัน เล็กน้อย การเตะเท้าหงายให้เน้นการสะบัดหลังเท้าให้น้าไหลออกไป จากปลายเท้าทางหลังเท้าเพือให้มีแรงส่งล้าตัวให้เคลือนทีไปด้านหน้า เข่างอได้เล็กน้อย แต่อย่างอ หรือยกเข่าขึนจะท้าให้ก้นงอหรือจมลงไป ท้าให้ล้าตัวด้านหลังต้านน้า การเตะเท้าหงาย ปากและจมูกพ้นน้าท้าให้ หายใจได้ตลอด เมือต้องการเคลือนทีไปไกลๆ ให้ใช้มือทีแนบอยู่ข้าง ล้าตัวชว่ ยโบกน้า 41

คูมือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล Maritime and Aquatic Life Support Guidelines Manual 3. การเอาชวี ติ รอดทางนา้ จากสาเหตุต่างๆ กล้ามเนือเป็นตะคริว ลอยไปกับเรือโดยอยู่ต้นน้า และพยายามว่ายเข้าฝั่ง หาก ตะคริวเกิดจากการหดตัวโดยไม่ได้ตังใจของมัด จ้าเปน็ ก็ให้ปล่อยเรอื ไป กล้ามเนือ เกิดขึนเมือกล้ามเนือหมดแรง หรือหนาวเย็น จาก การว่ายน้าหรือกิจกรรมอืน โดยทัวไปเกิดขึนทีแขน เท้า หรือ น่อง หากเกดิ ควรกระท้าดังนี - พยายามผ่อนคลายกล้ามเนือโดยการหยุดกิจกรรม - เริมลอยตัว หรือว่ายเปลียนสโตรก เปลียนท่าของแขน ขา โดยการเหยียดกลา้ มเนือทีเปน็ ตะครวิ - นวดบรเิ วณทเี ป็นตะควิ - หากเป็นทีน้าลึกยืนไม่ถึง ให้หายใจเข้าลึกแล้วม้วนตัว ไปทางด้านหน้า ให้หน้าคว้า และลอยตัวเหยียดขา และงอข้อ เท้า หรือนวิ เทา้ พร้อมกบั นวดกล้ามเนือทเี ปน็ ตะครวิ ภาพการปลอ่ ยให้ไหลไปตามลา้ นา้ โดยใช้เทา้ นา้ รถยนต์จมน้า ภาพที่การแกต้ ะควิ ทีข่ าในน้าลึก ไ ม่ ค ว ร ขั บ ขี ย า น พ า ห น ะ ใ น บ ริ เ ว ณ ที น้ า ท่ ว ม โ ด ย เฉพาะทีมนี ้าหลาก หลังจากยาพาหนะหรือรถตกน้า ปฏิกิริยา การตกน้าท่มี ีกระแส ส่วนใหญ่จะพยายามเปิดประตู แต่เป็นไปได้ยากเนืองจาก แรงดันน้าจากภายนอก การทดสอบพบว่ารถขนาดใหญ่จะจม ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 45 วินาที หลังจากสัมผัสน้า แนะน้าให้ ควบคุมอารมณ์ ปลดสายรัดเข็มขัดนิรภัย ทดลองเปิด หนา้ ตา่ งทีอยู่ใกล้ทีสุด และลอดผ่านทางช่องนัน หากรถก้าลัง จมลงให้ย้ายไปอยู่ส่วนทีอยู่บน หายใจเอาอากาศทีเหลืออยู่ อย่าเปิดประตูออก ให้ใช้ช่องทางหนี ได้แก่ เปิดหน้าต่าง เปิด ประตูด้านทีไม่เสียหาย หรือทุบกระจกหน้าต่างและผลักออก ในขณะทรี ถปริมนา้ และนา้ เกอื บเต็มรถ สถานการณ์ส่วนใหญ่ของคนตกน้า จะตกทังชุดที ภาพการหนเี อาตงั รอดจากรถยนต์จมน้า สวมใส่ และชุดทีสวมใส่อาจมีประโยชน์ เนืองจากช่วยในการ ลอยตัวและยังปกป้องจากความหนาวเย็น หากรองเท้าเบา และลอยน้าก็ให้คงใส่ไว้ หากหนักให้ถอดออก โดยใช้ท่า แมงกะพรุน หากตกลงไปในน้าทีมีกระแส ให้ลอยตัวในท่า หงาย และปล่อยให้ไหลไปตามล้าน้า โดยใช้เท้าน้า พยายาม หลีกให้ห่างจากสิงกีดขวางทีอาจท้าให้เท้าหรือขาเข้าไปติดได้ โดยใช้แขนพุ้ยน้าให้ชะลอตัวลง หรือคัดให้ออกห่างจาก กระแสน้า เมือออกจากกระแสน้าได้ให้ว่ายเข้าฝั่ง พยายาม อย่ายืนเนืองจากอาจท้าให้เท้าติดอยู่ใต้น้าได้ หากเรือคว้าให้ 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook