Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการใช้คู่มือนิเทศแบบมีส่วนร่วมเพื่อการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ในสถานศึกษา

รายงานผลการใช้คู่มือนิเทศแบบมีส่วนร่วมเพื่อการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ในสถานศึกษา

Published by Freedom Top, 2022-08-03 08:23:42

Description: หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา

Keywords: หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา

Search

Read the Text Version

รายงานผลการใชค้ มู่ อื นิเทศแบบมีสว่ นรว่ มเพอ่ื การนำหลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา ไปใช้ในสถานศึกษา ณรงคศ์ ักด์ิ สาลี กลุม่ นเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 18

รายงานผลการใชค้ ู่มือนเิ ทศแบบมสี ว่ นร่วมเพื่อการนำหลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษาไปใช้ในสถานศกึ ษา ณรงค์ศักด์ิ สาลี กลุม่ นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18

กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานการศึกษาผลการใช้คู่มอื นเิ ทศแบบมีส่วนรว่ มเพอ่ื การนำหลกั สตู รต้านทจุ ริตศึกษา ไปใช้ในสถานศึกษาสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับนีส้ ำเร็จไดด้ ว้ ย ความกรุณาของ นายสมศกั ดิ์ ทองเนียม ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18 ท่ไี ดช้ ่วยเหลือแนะนำให้คำปรกึ ษา จนทำใหร้ ายงานฉบบั นี้สมบรู ณ์ ผู้รายงานขอกราบขอบพระคุณเป็น อยา่ งสงู ไว้ ณ ท่ีน้ี ขอกราบขอบพระคุณ ผศ. ดร. สมพงษ์ ปั้นหุ่น อาจารย์ ภาควิชาวิจยั และจิตวทิ ยประยุกต์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา นางสุภาวดี วิลาวัลย์ ข้าราชการบำนาญ อดีตศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 1 ดร.วรศักดิ์ วัชรกำธร นางอัจฉรา เงินราษฎร์ และ ดร. ศุภลักษณ์ สีใส ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ท่ีได้กรุณาตรวจสอบเคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ให้ข้อเสนอแนะแก้ไขข้อบกพร่อง แล ะ เสียสละเวลาในการตรวจทานแก้ไข และใหก้ ำลังใจ การทำรายงานการศึกษาผลการใชค้ ู่มือนเิ ทศแบบ มสี ่วนรว่ มเพ่ือการนำหลักสูตรต้านทุจรติ ศึกษาไปใช้ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 18 ฉบบั นี้ จนสำเร็จลุล่วงดว้ ยดี ณรงคศ์ ักดิ์ สาลี

บทคัดย่อ ช่อื เรอ่ื ง : รายงานผลการใชค้ ่มู ือนิเทศแบบมีส่วนรว่ มเพือ่ นำการนำหลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษาไปใช้ ในสถานศึกษา ผู้รายงาน : ณรงคศ์ ักดิ์ สาลี ตำแหน่ง : ศกึ ษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 การศึกษาผลการใช้คู่มือนเิ ทศแบบมีส่วนรว่ มเพื่อการนำหลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษาไปใช้ใน สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 มวี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ (1) สรา้ งและ หาคุณภาพค่มู ือนเิ ทศแบบมีส่วนรว่ มเพื่อการนำหลักสตู รต้านทจุ ริตศกึ ษาไปใชใ้ นสถานศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (2) เพ่อื ศกึ ษาผลการใช้คมู่ ือนเิ ทศแบบมีส่วนร่วมเพอ่ื การนำหลักสูตรต้านทุจริตศกึ ษาไปใช้ในสถานศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 (3) ศกึ ษาความพงึ พอใจของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครผู ู้สอนต่อคู่มือนิเทศ แบบมสี ่วนร่วม เพ่อื การนำหลกั สตู รต้านทจุ ริตศกึ ษาไปใช้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบตรวจสอบคุณภาพคู่มอื นเิ ทศแบบมีส่วนร่วมเพ่อื การนำ หลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษาไปใช้ในสถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์กิ ่อนและหลังการฝึกอบรมการใช้คมู่ อื นเิ ทศแบบมสี ว่ นรว่ มเพื่อการนำ หลกั สตู รต้านทุจริตศึกษาไปใชใ้ นสถานศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18 และแบบสอบถามความพงึ พอใจต่อคู่มือนิเทศแบบมสี ว่ นรว่ มเพ่ือการนำหลักสตู รตา้ นทจุ ริตศกึ ษาไปใช้ ในสถานศึกษาสงั กัดสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต18 ประชากร ได้แก่ ผู้เชีย่ วชาญ จำนวน 5 คน ผู้บริหารและครู สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ที่เขา้ รว่ ม ฝึกอบรม จำนวน 50 โรงเรียน โรงเรียนละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 150 คน ผลการศกึ ษาพบว่า คุณภาพของคู่มอื นเิ ทศแบบมสี ่วนร่วมเพ่อื การนำหลักสตู รต้านทจุ รติ ศึกษาไปใช้ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18 มคี วามเหมาะสม และความเปน็ ไปได้อยู่ในระดับมากที่สดุ คะแนนทดสอบหลังการฝึกอบรมการใชค้ มู่ ือนิเทศแบบ มีสว่ นร่วมเพ่อื การนำหลกั สตู รต้านทุจรติ ศกึ ษาไปใชใ้ นสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 18 ของครแู ละผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาสูงกว่าคะแนนทดสอบกอ่ นฝึกอบรมอยา่ ง มีนัยสำคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ 0.01 ทำให้สถานศกึ ษามีแนวทางในการนเิ ทศการนำหลักสูตรตา้ นทจุ ริต ศกึ ษาไปใชใ้ นสถานศึกษา และผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครูผูส้ อนมีความพงึ พอใจต่อคู่มือนิเทศแบบ มีสว่ นร่วมเพื่อการนำหลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษาไปใช้ในสถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 18 อยใู่ นระดบั มาก

สารบญั หน้า บทคดั ย่อ .................................................................................................................................... ค สารบญั ....................................................................................................................................... ง สารบัญตาราง ............................................................................................................................. ช สารบัญภาพ ................................................................................................................... ............ ฌ บทท่ี 1 บทนำ .......................................................................................................................... ... 1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา ............................................................ 1 วัตถุประสงค์ของการศกึ ษา ................................................................................ 4 สมมตฐิ านของการศกึ ษา .................................................................................... 4 ขอบเขตของการศึกษา ....................................................................................... 5 ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา ................................................................................ 7 กรอบแนวคดิ ในการศึกษา .................................................................................. 7 นยิ ามศัพท์เฉพาะ ............................................................................................... 9 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ บั ................................................................................. 10 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวข้อง ..................................................................................... 11 สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 18 ............................................... 11 หลกั สตู รต้านทุจริตศึกษา ................................................................................... 15 หลกั การนิเทศการศึกษา .................................................................................... 25 การนเิ ทศแบบมสี ว่ นร่วม .................................................................................... 34 การนเิ ทศแบบช้ีแนะ .......................................................................................... 40 แนวคดิ เก่ยี วกบั การจัดทำคู่มือนเิ ทศ .................................................................. 44 แนวคิดทฤษฎีเกย่ี วกบั ความพงึ พอใจ ................................................................. 53 งานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วข้อง ............................................................................................ 57 3 วธิ ีดำเนินการวจิ ัย ........................................................................................................... 62 การสรา้ งและหาคณุ ภาพคมู่ ือนเิ ทศแบบมสี ว่ นรว่ มเพอื่ การนำหลักสูตร ต้านทุจรติ ศึกษาไปใชใ้ นสถานศึกษาสังกดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 18 ........................................................................................... 62

จ สารบัญ (ตอ่ ) บทท่ี หน้า การทดลองใช้คู่มอื นิเทศแบบมีสว่ นรว่ มเพื่อการนำหลกั สูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา ไปใช้ในสถานศึกษาสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ... 66 การศกึ ษาความพึงพอใจของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาและครผู ูส้ อนต่อคู่มือนิเทศ แบบมีสว่ นรว่ มเพอ่ื การนำหลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษาไปใชใ้ นสถานศึกษาสงั กัด สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ........................................... 87 สถิตทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ........................................................................ 90 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ................................................................................................. 94 การสร้างและหาคณุ ภาพคู่มือนเิ ทศแบบมีส่วนร่วมเพอ่ื การนำหลักสูตร ต้านทุจรติ ศกึ ษาไปใช้ในสถานศกึ ษาสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 18 ......................................................................................... 94 การทดลองใชค้ ู่มือนเิ ทศแบบมสี ่วนรว่ มเพอ่ื การนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ไปใช้ในสถานศึกษาสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 18 ... 97 การศกึ ษาความพึงพอใจของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและครูผู้สอนต่อคู่มอื นเิ ทศ แบบมสี ่วนรว่ มเพ่ือการนำหลกั สูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ในสถานศกึ ษาสังกัด สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 18 ........................................... 98 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ............................................................................. 104 วัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา .............................................................................. 104 สมมติฐานของการศกึ ษา .................................................................................. 104 ขอบเขตของการศึกษา ..................................................................................... 104 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา .............................................................................. 106 วธิ ีดำเนินการศึกษา .......................................................................................... 106 สรปุ ผลการศกึ ษา ............................................................................................. 108 อภิปรายผล ...................................................................................................... 109 ขอ้ เสนอแนะ .................................................................................................... 112 บรรณานกุ รม ............................................................................................................................. 113 ภาคผนวก .................................................................................................................................. 120 ภาคผนวก ก ................................................................................................................ 121

ฉ สารบญั (ตอ่ ) บทท่ี หน้า ภาคผนวก ข ................................................................................................................ 124 ภาคผนวก ค ................................................................................................................ 143 ภาคผนวก ง ................................................................................................................ 158 ภาคผนวก จ ................................................................................................................ 167 ภาคผนวก ฉ ............................................................................................................... 169 ภาคผนวก ช ............................................................................................................... 183 ภาคผนวก ซ ............................................................................................................... 186 ภาคผนวก ฌ .............................................................................................................. 213 286 ประวตั ิย่อของผวู้ ิจยั ...................................................................................................................

สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า 3-1 รปู แบบแผนการทดลองแบบ One Group, Pretest–Posttest Design ................. 68 3-2 การทดลองใช้คมู่ ือนิเทศแบบมีส่วนรว่ มเพอื่ การนำหลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษาไปใช้ใน สถานศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ....................... 69 4-1 คา่ เฉล่ยี ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสม และความเป็นไปไดข้ องคู่มือนิเทศแบบมสี ่วนรว่ มเพ่อื การนำหลกั สตู ร ตา้ นทุจริตศึกษาไปใช้ในสถานศึกษาสงั กัดสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จากผ้เู ชยี่ วชาญ ........................................................................................... 94 4-2 การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์กอ่ นและหลงั การฝกึ อบรมการใช้คมู่ อื นิเทศแบบมี ส่วนร่วมเพอ่ื การนำหลกั สตู รต้านทจุ ริตศกึ ษาไปใชใ้ นสถานศึกษา สังกดั สำนักงาน เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ของครูและผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ................ 97 4-3 คา่ เฉลย่ี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั ความพึงพอใจต่อคู่มือนิเทศแบบมี สว่ นร่วมเพอ่ื การนำหลกั สตู รตา้ นทุจริตศึกษาไปใชใ้ นสถานศึกษาสงั กดั สำนกั งาน เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ของครูและผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ................ 98 ค-1 ผลการหาค่าดัชนคี วามเที่ยงตรงดา้ นเนือ้ หา (IOC) ของแบบตรวจสอบคุณภาพคู่มือ นิเทศแบบมสี ว่ นรว่ มเพ่ือการนำหลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษาไปใช้ในสถานศกึ ษาสงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 โดยผู้เชีย่ วชาญ จำนวน 5 คน .... 144 ค-2 การวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิกับ วตั ถุประสงค์ของการทำคู่มือนิเทศแบบมีสว่ นร่วมเพือ่ การนำหลกั สูตร ตา้ นทจุ ริตศึกษาไปใช้ในสถานศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา มัธยมศึกษา เขต 18 ................................................................................................. 148 ค-3 ผลการหาคา่ ความยากงา่ ยและคา่ อำนาจจำแนกของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ กอ่ นและหลังการฝึกอบรมการใช้คู่มอื นิเทศแบบมสี ว่ นรว่ มเพอื่ การนำหลกั สตู ร ตา้ นทจุ ริตศกึ ษาไปใช้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 18 ................................................................................................. 151

ซ สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางที่ หน้า ค-4 ผลการหาคา่ ดชั นคี วามเท่ียงตรงด้านเนื้อหา (IOC) ของแบบสอบถามความพึงพอใจ ตอ่ คู่มือนิเทศแบบมีสว่ นรว่ มเพือ่ การนำหลักสตู รตา้ นทุจรติ ศึกษาไปใชใ้ น สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 โดยผเู้ ช่ียวชาญ จำนวน 5 คน ............................................................................................................ 154 ง-1 คะแนนผลสัมฤทธ์ิก่อนและหลงั การฝกึ อบรมการใชค้ ่มู ือนเิ ทศแบบมีส่วนร่วม เพือ่ การนำหลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษาไปใช้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18 ................................................................................. 159

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา้ 1-1 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา ........................................................................................... 8

บทที่ 1 บทนำ ความเปนมาและความสำคัญของปญหา ปญ หาการทจุ ริตคอรร ปั ชันถือไดว าเปนปญหาใหญทีเ่ กิดขึ้นในประเทศตาง ๆ ท่วั โลก รวมทั้งประเทศไทย แมวาประเทศไทยจะมีระบบการบรหิ ารราชการสมยั ใหม มีการรณรงคจากองคกร ของรัฐ หรือองคกรอสิ ระตาง ๆ ที่เห็นพองกันวา การทุจริตคอรรัปชันเปนปญ หาทีน่ ำไปสูความยากจน และเปน อุปสรรคทข่ี ดั ขวางการพฒั นาประเทศอยา งแทจรงิ สำหรบั ประเทศไทยนัน้ เปน ที่ทราบกนั ท่ัวไปวา ปญหาเรอ่ื งการทุจริตคอรร ปั ชนั เปนปญหาสำคัญลำดับตน ๆ ทีส่ งผลกระทบตอ การพฒั นา ประเทศเปน อยา งมาก ปญหาดงั กลาวเกิดขึ้นมาชานานจนฝงรากลึก และพบเกอื บทุกกลุมอาชพี ใน สงั คมไทย หรอื กลา วไดว าเปน สว นหนึง่ ของวฒั นธรรมไทยไปแลว สาเหตุของปญหาทีพ่ บ คือ การทุจริตคอรร ปั ชนั เปนประเพณีนยิ มปฏิบตั ิทมี่ ีมาต้ังแตส มัยดัง้ เดิม ยงั คงมอี ิทธิพลตอความคดิ ของ คนในปจจบุ นั อยูคอ นขา งมาก จากการวดั ดัชนีการรับรูก ารทจุ รติ (Corruption Perceptions Index: CPI) ป พ.ศ. 2557-2558 ประเทศไทยไดค ะแนนการประเมิน 38 คะแนน และในป พ.ศ. 2560 ประเทศไทยไดรับคะแนนการประเมนิ 37 คะแนน ซ่ึงแสดงใหเ หน็ วา ประเทศไทยยงั มีการทจุ รติ คอรรปั ชันอยูใ นระดบั สูงซึ่งสมควรไดร ับการแกไขอยา งเรง ดว น ดงั นนั้ คณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามทุจรติ แหงชาติ จงึ ไดหาแนวทางแกไขปญ หาดังกลาว เริ่มต้ังแตการกำหนดยุทธศาสตรช าติ วาดวยการปองกันและปราบปรามทจุ ริตระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2551-2555) ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556-2560) และระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) แนวทางการพัฒนาการปองกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤตมิ ชิ อบ เพ่ือใหส งั คมไทยมีวินยั โปรง ใส ยึดมน่ั ในความซื่อสัตย และยตุ ิธรรม รวมท้ังสราง ความเขมแข็งเปน ภูมิคมุ กันของสังคมไทย ใหครอบคลุมภาครฐั ภาคเอกชน องคก รพฒั นาเอกชนและ ภาคประชาชน พรอ มทงั้ สรางพลังการขบั เคลอื่ นคา นิยม ตอตานการทจุ ริต สามารถดำเนินการไดโ ดย การปลกู ฝงใหค นไทยไมโ กง ภาครฐั ดำเนนิ การสงเสริม สนับสนุนใหท ุกภาคสว นมุง สรางจิตสำนกึ ใน การรกั ษาประโยชนสาธารณะ ทศั นคตเิ ชิงบวก รวมทั้งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงใหกบั ทุกกลมุ ในสังคม ผานกลไกครอบครวั สถาบันการศึกษา สถาบนั ศาสนา สอื่ มวลชน และ เครือขายทางสังคม ควบคูกับการปลกู จติ สำนึกความซ่ือสัตย สุจริตคา นิยมทีถ่ ูกตอ ง สราง ความตระหนักถงึ ภยั รา ยแรงของการทจุ ริตและการรูเทา ทนั การทุจริตของสงั คมไทย โดยอาศยั กลไก ทางสงั คมเปนมาตรการในการลงโทษผกู ระทำผิด หรือผกู ระทำการทุจรติ และประพฤติมิชอบ (สำนักพฒั นานวตั กรรมการจัดการศึกษา, 2561, หนา 1-4)

2 จากยทุ ธศาสตรช าติวา ดวยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560- 2564) ยุทธศาสตรท่ี 1 “สรา งสงั คมที่ไมท นตอการทจุ รติ ” ไดม ุงเนน ใหค วามสำคัญในกระบวนการ ปรับสภาพสังคมใหเ กิดภาวะที่ “ไมทนตอ การทจุ รติ ” โดยเริ่มตง้ั แตกระบวนการกลอมเกลาทางสังคม ในทุกระดบั ชว งวยั ต้ังแตปฐมวัย เพอ่ื สรางวัฒนธรรมตอตา นการทจุ รติ และปลูกฝงความพอเพยี ง มีวนิ ัย ซื่อสัตยส ุจรติ สามารถแยกแยะไดร ะหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสว นรวม เปนการดำเนนิ การผานสถาบันหรือกลมุ ตัวแทนทที่ ำหนาที่ในการกลอมเกลาสังคมใหม คี วามเปน พลเมอื งทดี่ ี มจี ติ สาธารณะ เสียสละเพ่ือสวนรวมและเสริมสรา งใหทกุ ภาคสว นมีพฤติกรรมทไ่ี มย อมรบั และตอ ตา นการทจุ ริตในทุกรูปแบบ และไดกำหนดกลยทุ ธ 4 กลยุทธ ไดแ ก (1) ปรับฐานความคิด ทกุ ชว งวยั ต้ังแตปฐมวยั ใหส ามารถแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนและผลประโยชนสว นรวม (2) สงเสรมิ ใหม รี ะบบและกระบวนการกลอมเกลา ทางสงั คม เพ่ือตานทุจริต (3) ประยุกตห ลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน เครือ่ งมอื ตานทุจริต และ (4) เสริมพลังการมสี วนรว มของชมุ ชน และบรู ณาการทุกภาคสว น เพ่ือตอตานการทจุ รติ โดยกลยุทธท ่ี 1 กลยุทธท ่ี 2 และกลยุทธท ี่ 3 ไดกำหนดใหตองดำเนินการจัดทำหลกั สตู ร บทเรียน การเรียนการสอน การนำเสนอ และรปู แบบ การปองกนั การทุจรติ รวมทั้งการพัฒนานวตั กรรมและสื่อการเรียนรสู ำหรบั ทุกชวงวยั ดังนัน้ สำนักคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานในฐานะองคก ารรับผดิ ชอบการจัดการศึกษาใหแกผเู รยี น ตง้ั แตระดับปฐมวัยจนถึงชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 6 จึงไดจ ดั ทำรายวิชาเพ่มิ เตมิ “การปองกันการทุจรติ ” ประกอบดว ยเนื้อหา 4 หนว ยการเรยี นรู ไดแ ก (1) การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนและ ผลประโยชนส ว นรวม (2) ความละอายและความไมทนตอการทจุ ริต (3) STORNG: จิตพอเพียง ตา นทจุ รติ และ (4) พลเมืองกับความรับผิดชอบตอสงั คม ซ่ึงทงั้ 4 หนวยน้ีจดั ทำเปน แผนการจดั การเรียนรูเพอ่ื ใหสถานศึกษาทุกแหง นำไปใชในการจดั การเรียนการสอน เพื่อปลกู ฝง คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและปองการการทจุ รติ ใหแ กนกั เรยี นทกุ ระดบั เพื่อเปนการสรา งพลเมืองทซี่ ่ือสตั ย สุจริตใหแ กป ระเทศชาติ ปญ หาการทุจรติ คอรร ปั ชันลดลง และดัชนีการรับรูการทจุ ริตของ ประเทศไทย มีคะแนนสงู ขึน้ บรรลเุ ปาประสงคข องยุทธศาสตรชาติวา ดวยการปองกนั และปราบปราม การทจุ ริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560-2564) และนำหลักสตู รตานทุจรติ ศึกษา รายวิชาเพิม่ เติม การปอ งกนั การทุจริตเสนอตอคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ เพื่อนำเสนอ ตอคณะรัฐมนตรีใหความเหน็ ชอบ เม่อื วนั ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 คณะรฐั มนตรีมมี ติเหน็ ชอบ ตามทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอให กระทรวงศึกษาธิการเตรยี มความพรอ มในดานตาง ๆ เชน ตำราเรยี น ครู อาจารย รายละเอยี ดหลักสูตร เพื่อนำหลักสูตรตานทุจรติ ศึกษา ไปปรบั ใชในการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอนของสถานศึกษา ท้งั น้ีในการจดั การเรยี นการสอนหลักสตู รดงั กลาว ให มุงเนน การสรา งความรูความเขาใจท่ีถูกตองเก่ยี วกบั ความหมายและขอบเขตของการกระทำทจุ รติ ใน ลกั ษณะตา ง ๆ ทั้งทางตรงและทางออ ม ความเสยี หายที่เกิดจากการทจุ ริต ความสำคญั ของ

3 การตอตานทุจริต รวมทัง้ จัดใหม ีการประเมนิ ผลสัมฤทธขิ์ องการจดั การเรยี นรตู ามหลักสูตรในแตล ะ ชว งวยั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ในฐานะผูนำนโยบายสูการปฏิบตั ิ จงึ ไดม ีคำสง่ั ท่ี ศธ 04008/ว918 ลงวนั ท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2562 เร่ืองการนำหลกั สตู รตา นทุจรติ ไปปรบั ใชใ น การจดั การเรียนการสอนของสถานศกึ ษา นำไปใชในการเรียนการสอนใหกับนักเรียน นกั ศกึ ษาใน ทุกระดับชน้ั เรียน ทงั้ ในสว นของการศกึ ษาตงั้ แตระดบั ปฐมวยั ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา และ อุดมศึกษา ท้ังภาครัฐและเอกชน เพื่อเปน การปลูกฝง จติ สำนกึ ในการแยกแยะระหวา งผลประโยชน สว นตนและผลประโยชนส วนรวม จติ พอเพียงตานทุจรติ และสรางพฤตกิ รรมทไ่ี มย อมรับและไมท น ตอการทุจริต สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ซึง่ เปนหนว ยงานทต่ี อ งนำหลักสตู ร ตานทจุ ริตศึกษา (Anti-Corruption Education) มาปฏิบัติใหเห็นเปนรูปธรรมในการจดั การเรียน การสอนของสถานศึกษา มงุ เนนการสรางความรู ความเขา ใจท่ถี กู ตอ งเกี่ยวกับความหมาย และ ขอบเขต ของการกระทำทุจริตในลกั ษณะตาง ๆ ทั้งทางตรงและทางออม ความเสยี หายที่เกดิ จาก การทจุ รติ ความสำคัญของการตอ ตา นการทจุ รติ รวมท้ังจัดใหม กี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธิข์ องการจดั การเรียนรตู ามหลกั สูตรในแตละชวงวยั ของผเู รยี น ซ่งึ สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 18 มโี รงเรียนในความรบั ผดิ ชอบ จำนวน 50 โรงเรยี น จากการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผล การจัดการศึกษา พบวา สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 18 ยังขาด ความรู ความเขา ใจ เกี่ยวกบั หลกั สตู ร และการนำรปู แบบ วธิ ีการ ในการนำหลักสูตรตา นทจุ ริตไปใช ในสถานศึกษาใหเหน็ เปนรปู ธรรม เนือ่ งจากเปนหลกั สูตรใหม ดงั น้นั การสรา งความรู ความเขาใจ เก่ียวกับหลักสูตรตานทจุ ริตศึกษา ใหก ับครู และผูบรหิ ารสถานศึกษา จงึ เปน สง่ิ ที่ตอ งไดรบั การพฒั นา อยางเรง ดว นเพอื่ ใหครูสามารถนำความรูไปใชในการบรหิ ารจดั การหลกั สตู รตานทจุ รติ ไปปรับใชใน การจดั การเรยี นการสอนในหองเรียน เพ่ือมงุ เนนการปลูกฝงคุณธรรมจรยิ ธรรม ปอ งกนั การทุจรติ ใหแ กผูเรียนทุกคนในสถานศึกษา เพื่อเปนการสรางพลเมอื งทีซ่ อื่ สตั ยส ุจรติ ใหแกประเทศชาติ จากเหตผุ ลดังกลาวผูร ายงานในฐานะเปนศึกษานเิ ทศกผรู ับผิดชอบการนำหลกั สตู ร ตานทุจรติ ศกึ ษาไปใชใ นสถานศกึ ษาในความรบั ผิดชอบของสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 ตระหนักถึงความสำคัญของการสรา งความรู ความเขาใจ เกีย่ วกบั หลักสตู รตา นทุจรติ ศึกษา ใหกบั ครู และผูบริหารสถานศึกษา เพ่ือใหครูสามารถนำความรไู ปใชในการบริหารจัดการหลักสูตร ตา นทจุ รติ ไปปรับใชใ นการจัดการเรยี นการสอนในหอ งเรยี นใหเห็นเปนรูปธรรม จงึ พยายามหา รปู แบบหรือวิธีการในการนิเทศเพื่อการนำหลักสูตรตานทุจรติ ไปใชในสถานศกึ ษาเพ่ือใหครูผสู อน สามารถนำหลักสตู รตานทจุ รติ ไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหก ับนักเรยี นไดอยางมีคุณภาพ เปนรูปธรรม ดงั นนั้ จงึ ไดจ ัดทำคมู อื การนเิ ทศแบบมสี ว นรว มเพ่ือการนำหลกั สูตรตานทุจริตไปใชใ น สถานศึกษาข้ึนโดยใชห ลกั การนิเทศแบบมีสว นรว มผสานการนเิ ทศแบบช้แี นะ (Coaching) ผาน

4 กระบวนการนิเทศแบบ PDCA (Circle Demming Cycle) ผรู ายงานไดศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วของ คนควา หาความรูจากการอบรม ประชมุ สัมมนา และจากประสบการณการทำงาน จดั ทำ เปน เอกสารคมู อื นเิ ทศแบบมีสว นรว มเพื่อการนำหลักสูตรตานทุจริตศึกษาไปใชใ นสถานศึกษาใน ลกั ษณะการใหองคค วามรเู กยี่ วกับหลักสตู รตา นทจุ ริตในสถานศึกษา แนวทางการดำเนนิ การนเิ ทศ ตลอดจนเคร่ืองมือท่ใี ชในการนิเทศ เพื่อการนำหลักสตู รตานทุจรติ ไปใชใ นสถานศึกษา ดงั นนั้ เพื่อเปน การศึกษาผลการใชคมู ือนเิ ทศแบบมสี ว นรว มเพือ่ การนำหลกั สูตรตานทุจริต ศกึ ษาไปใชในสถานศกึ ษา ผูรายงานจงึ ตองการรายงานผลการใชค มู อื นเิ ทศแบบมีสว นรว มเพื่อการนำ หลักสตู รตานทจุ ริตศึกษาไปใชใ นสถานศึกษาดังกลา วเพือ่ ที่จะไดน ำขอมลู ทีไ่ ดจ ากการศึกษารปู แบบ การนำหลักสตู รตานทจุ รติ ศกึ ษาไปใชในสถานศึกษาไปใชขยายผลการดำเนนิ งานใหกบั โรงเรยี นท้ังใน และนอกสังกัด และผูที่เกย่ี วของตอไป วัตถุประสงคข องการศึกษา 1. เพอ่ื สรางและหาคุณภาพคมู ือนิเทศแบบมีสวนรว มเพื่อการนำหลักสตู รตา นทุจรติ ศึกษา ไปใชในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 2. เพ่ือทดลองใชค ูมือนิเทศแบบมสี วนรว มเพื่อการนำหลกั สูตรตา นทจุ ริตศกึ ษาไปใชใ น สถานศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผบู ริหารสถานศึกษาและครผู ูสอนตอคูมอื นิเทศแบบ มีสวนรวมเพ่ือการนำหลกั สูตรตานทุจรติ ศกึ ษาไปใชในสถานศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 18

5 ขอบเขตของการศกึ ษา 1. การศกึ ษาผลการใชคมู ือนิเทศแบบมสี วนรว มเพ่ือนำหลักสตู รตา นทุจริตศึกษาไปใชใ น สถานศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ผศู กึ ษาไดแบงขอบเขตของ การศกึ ษาออกเปน 3 ขั้นตอน ไดแ ก ขน้ั ตอนท่ี 1 การสรา งและหาคณุ ภาพคมู ือนเิ ทศแบบมสี วนรวมเพอ่ื การนำหลักสตู รตา น ทจุ ริตศกึ ษาไปใชใ นสถานศึกษาสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ปการศึกษา 2562 ขน้ั ตอนท่ี 2 การทดลองใชคูมือนเิ ทศแบบมสี ว นรวมเพื่อการนำหลักสูตรตานทจุ รติ ศึกษา ไปใชใ นสถานศึกษาสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ปการศึกษา 2562 ข้นั ตอนท่ี 3 การศึกษาความพึงพอใจของผูบริหารสถานศึกษาและครูผสู อนตอคมู ือนิเทศ แบบมีสว นรว มเพอื่ การนำหลักสตู รตา นทจุ รติ ศึกษาไปใชในสถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ท่ี การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 ปก ารศึกษา 2562 ในแตล ะข้นั ตอนมีรายละเอียดในการดำเนินการดงั น้ี ขัน้ ตอนที่ 1 การสรา งและหาคณุ ภาพคูม ือนิเทศแบบมสี ว นรวมเพอ่ื การนำหลกั สูตรตาน ทุจริตศกึ ษาไปใชใ นสถานศึกษาสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ปก ารศึกษา 2562 1. เครื่องมือทใี่ ชใ นการศึกษา ไดแก แบบตรวจสอบคุณภาพคูมอื นิเทศแบบมสี วนรว มเพ่ือ การนำหลกั สตู รตา นทุจริตศึกษาไปใชใ นสถานศึกษาสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 2. ประชากร ไดแก ผเู ชี่ยวชาญดา นหลักสตู ร การวัดและการประเมนิ ผล ศกึ ษานเิ ทศก และนกั วิชาการศึกษาท่ีมวี ิทยาฐานะชำนาญการพิเศษ และเช่ยี วชาญ ข้นึ ไป จำนวน 5 คน 3. เน้อื หาท่ีใชใ นการศกึ ษา ไดแ ก เนอื้ หาและกิจกรรมของคูมือนิเทศแบบมีสวนรว มเพื่อ การนำหลกั สตู รตานทจุ รติ ศึกษาไปใชในสถานศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 4. ตัวแปรท่ศี ึกษา ไดแ ก ความเหมาะสมและความเปน ไปไดข องคมู ือนิเทศแบบมสี ว นรว ม เพ่ือการนำหลกั สูตรตานทุจริตศึกษาไปใชในสถานศึกษาสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 18 ขนั้ ตอนท่ี 2 การทดลองใชคูม ือนิเทศแบบมสี วนรวมเพ่ือการนำหลกั สตู รตานทุจรติ ศึกษา ไปใชใ นสถานศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ปการศึกษา 2562

6 1. เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ไดแ ก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธกิ์ อ นและหลังการฝก อบรม การใชค มู ือนิเทศแบบมีสว นรวมเพอ่ื การนำหลกั สูตรตา นทุจรติ ศกึ ษาไปใชใ นสถานศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 ของครูและผบู รหิ ารสถานศึกษา 2. ประชากร ไดแ ก ผบู ริหารและครผู ูรับผดิ ชอบการนำหลักสูตรตานทุจรติ ศึกษาไปใชใ น สถานศกึ ษา สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ที่เขารว มฝกอบรม จำนวน 50 โรงเรียน โรงเรยี นละ 3 คน รวมท้งั สิ้น 150 คน (การศึกษาคร้ังนีใ้ ชประชากรทัง้ หมดใน การทดลองใชค มู ือนิเทศแบบมสี วนรวมเพอื่ การนำหลกั สูตรตานทุจริตศกึ ษาไปใชใ นสถานศึกษา) 3. เน้อื หาทใี่ ชในการศกึ ษา ไดแ ก แนวทางการนเิ ทศแบบมีสวนรวมเพอื่ การนำหลักสตู ร ตานทจุ ริตศึกษาไปใชในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 4. ตัวแปรทศี่ ึกษา ไดแ ก ผลสมั ฤทธ์ิกอนและหลังการฝก อบรมการใชคูมือนเิ ทศแบบมี สว นรวมเพือ่ การนำหลักสูตรตานทจุ ริตศึกษาไปใชในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา มัธยมศกึ ษา เขต 18 ของครแู ละผูบริหารสถานศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การศึกษาความพึงพอใจของผูบ ริหารสถานศึกษาและครูผสู อนตอคูมือนเิ ทศ แบบมีสว นรว มเพ่อื การนำหลักสูตรตา นทุจรติ ศึกษาไปใชในสถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่ การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18 ปการศึกษา 2562 1. เคร่ืองมือทใ่ี ชใ นการศึกษา ไดแก แบบสอบถามความพึงพอใจตอ คมู อื นิเทศแบบมี สวนรว มเพอ่ื การนำหลักสตู รตานทจุ ริตศึกษาไปใชใ นสถานศึกษาสงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา มธั ยมศึกษา เขต 18 2. ประชากร ไดแ ก ผูบริหารและครูผรู ับผดิ ชอบการนำหลักสตู รตานทุจริตศึกษาไปใชใ น สถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ทีเ่ ขา รวมฝกอบรม จำนวน 50 โรงเรียน โรงเรียนละ 3 คน รวมท้ังสิน้ 150 คน (การศึกษาครั้งนี้ใชประชากรท้ังหมดใน การศกึ ษาความพึงพอใจตอ คูมือนเิ ทศแบบมสี ว นรว มเพือ่ การนำหลกั สูตรตา นทุจริตศึกษาไปใชใน สถานศกึ ษา) 3. เน้อื หาที่ใชใ นการศึกษา ไดแ ก ความรสู กึ ความคิดเหน็ และเจตคติของผูใชค มู ือนิเทศ แบบมสี วนรว มเพือ่ การนำหลักสตู รตา นทจุ ริตศึกษาไปใชใ นสถานศกึ ษาสงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 18 4. ตัวแปรที่ศกึ ษา ไดแ ก ความพงึ พอใจของผบู ริหารสถานศกึ ษาและครผู ูส อนตอ คูม ือ นิเทศแบบมสี ว นรวมเพ่ือการนำหลกั สูตรตา นทุจรติ ศึกษาไปใชในสถานศึกษาสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

7 ระยะเวลาที่ใชในการศกึ ษา ปการศกึ ษา 2562 (ระหวา งเดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ถึง กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2563) กรอบแนวคิดในการศกึ ษา การศกึ ษาโดยใชการดำเนินการนิเทศแบบมสี วนรวมและคูมือการนิเทศ ซง่ึ ไดศึกษาและ รวบรวมขอ มลู จากเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วของ โดยกระบวนการนเิ ทศการนำหลักสูตรตา นทุจรติ ศึกษาไปใชใ นสถานศึกษา ประกอบดวย 2 กจิ กรรมหลัก คือ การฝกอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ และการนำสู การปฏิบตั ริ ว มกับการนิเทศติดตามแบบมีสวนรวม ดังนี้ 1. การฝก อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ เปนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู บบมสี ว นรว มที่ใช กระบวนการกลมุ ในการชวยใหผเู ขา อบรมมีสวนรว มสงู สดุ ในการเรยี นรู จึงไมเนน การถา ยทอดทฤษฎี หรือเน้ือหาความรู แตใหผ ูเ ขาอบรมเกิดความรูความเขา ใจจากประสบการณข องตนเองและการมีสวน รวมในกจิ กรรมตาง ๆ ดวยตนเอง โดยวทิ ยากรทำหนาท่ีเปน กลั ยาณมิตร ใหความชว ยเหลือแนะนำ รวมสรุปความรเู พื่อใหผเู ขาอบรมทกุ คนประสบความสำเร็จในการวางแผนแนวทางการนำหลักสูตร ตานทุจรติ ไปใชในสถานศึกษา จดั ทำเน้อื หาสวนทีส่ ำคญั จำเปน ไวใ นเอกสารเพ่ือการอานเพมิ่ เติมใน คมู อื นิเทศ ผูเ ขา อบรมสามารถศกึ ษาไดดว ยตนเอง และมเี ครือ่ งมือแบบนเิ ทศตดิ ตามไวในคูม อื เพ่ือ เตรยี มความพรอมในการรายงานผลการนำหลักสูตรตานทุจรติ ศึกษาไปใชในสถานศกึ ษา 2. การนำสูการปฏิบตั ิ เปนกิจกรรมทผี่ เู ขาอบรมตองกลบั ไปปฏิบตั ใิ นสภาพจรงิ ที่ หองเรียนตามบรบิ ทของสถานศกึ ษาและมีการนเิ ทศตดิ ตามโดยผนู ิเทศไดใหค ำแนะนำครผู ูสอนขณะ ปฏบิ ัติงานในหองเรียน รวมติดตามผลการนำหลักสตู รไปใชในสถานศกึ ษา และรว มกนั แกปญ หาของ ครูในการปฏิบตั งิ าน โดยใชรูปแบบการนิเทศแบบช้แี นะ

8 การฝกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ 1. ศึกษาสภาพปจ จุบนั ปญ หา ความตองการจำเปน 2. สรางนวตั กรรมคูมอื นเิ ทศและเครอื่ งมือนเิ ทศติดตาม การปฏิบัติ ผลทไ่ี ดรับ 1. รูปแบบการนำหลกั สตู รตา นทจุ ริตศกึ ษาไปใชใ สถานศึกษา 2. คูมอื นเิ ทศแบบมสี วนรวมเพ่อื การนำหลกั สูตรตานทุจรติ ศึกษา ไปใชใ นสถานศึกษา 3. ความพงึ พอใจตอคมู อื นเิ ทศ ภาพท่ี 1-1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

9 นยิ ามศัพทเ ฉพาะ 1. หลกั สตู รตานทจุ ริตศึกษา หมายถงึ หลกั สูตรการเรียนการสอนทีส่ ำนกั งาน คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ (ป.ป.ช.) รว มกับสำนกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) ไดจัดทำหลักสตู รตานทจุ รติ ศึกษาสำหรบั ใชในทุกระดับการศกึ ษา ในสวนของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานไดจดั ทำหลกั สูตรตานทุจริตศกึ ษา รายวชิ า เพิม่ เติม “การปองกันการทจุ ริต” ขึน้ และคณะรฐั มนตรมี ีมตเิ หน็ ชอบหลักสตู รตานทจุ รติ ศึกษา เม่อื วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 และใหห นว ยงานท่เี ก่ียวขอ งนำหลกั สตู รตา นทจุ รติ ศึกษาไปปรบั ใชใ นการจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษาโดยมุงเนนการสรางความรคู วามเขาใจที่ถกู ตองเกย่ี วกับ ความหมายและขอบเขตของการกระทำทุจรติ ในลกั ษณะตาง ๆ ทง้ั ทางตรงและทางออ ม ความเสยี หาย ทเ่ี กิดจากการทุจรติ ความสำคัญของการตอ ตานการทุจริต รวมท้งั จดั ใหม ี การประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ของการจดั หลักสูตรในแตล ะชว งวยั ของผูเ รยี นดว ย 2. รายวิชาเพ่ิมเตมิ “การปองกันการทุจริต” หมายถึง เนื้อหาและกจิ กรรมการเรียนการ สอนทส่ี ถานศึกษาทกุ แหง นำไปใชในการจัดการเรยี นการสอนเพ่อื สรางวัฒนธรรมสุจรติ ปลูกฝง คานยิ มและมงุ เนน การปรับพฤติกรรมท่ยี ดึ มั่นความซ่อื สตั ยสจุ ริต ตอตา นการทจุ รติ ใหแ กนกั เรยี น สรา งความตระหนักใหนกั เรียนยดึ ถอื ประโยชนส วนรวมมากกวาประโยชนสวนตน มจี ิตพอเพยี ง ละอายและเกรงกลัวทจ่ี ะทุจริตและไมท นตอการทุจรติ ทกุ รูปแบบ 3. สถานศึกษา หมายถงึ โรงเรยี นในสังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 มี จำนวนทั้งหมด 50 โรงเรียน 4. การทุจรติ หมายถงึ ประพฤตชิ ัว่ คดโกง ไมซ่ือตรง 5. การหาคุณภาพของคูม ือนิเทศแบบมสี วนรว มเพือ่ การนำหลักสตู รตา นทจุ ริตศึกษาไปใช ในสถานศกึ ษาสงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 หมายถึง การหาคุณภาพของ คมู อื ดานความเหมาะสม และความเปน ไปได ของคูมือนเิ ทศแบบมสี ว นรวมเพ่ือการนำหลักสตู รตา น ทุจริตศกึ ษาไปใชในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 6. การทดลองใชคูมอื นเิ ทศแบบมีสว นรว มเพอ่ื การนำหลกั สูตรตานทจุ รติ ศกึ ษาไปใชใน สถานศึกษาสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 หมายถงึ การทดลองใชคูมือนเิ ทศ แบบมสี ว นรว มแกครูและผูน เิ ทศในโรงเรียนเพื่อการนำหลกั สูตรตานทุจริตศกึ ษาไปใชใ นสถานศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 7. การนิเทศการสอน เปน กระบวนการปฏิบัติงานรวมกนั ระหวางผทู ำหนา ท่ีนเิ ทศและ ผรู บั การนิเทศโดยการชวยเหลือ สนบั สนุน สงเสริม ใหค ำแนะนำ เพ่ือท่จี ะพัฒนาหรือปรับปรุง คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนของครู เพือ่ ใหไดมาซง่ึ สัมฤทธิส์ ูงสุดในการเรียนของนักเรียน

10 8. การนเิ ทศแบบมสี ว นรว ม หมายถงึ การนเิ ทศการศึกษาโดยมีผบู ริหารสถานศึกษาและ ครูภายในสถานศึกษาเปนผูนเิ ทศและผูรับการนเิ ทศ มีสวนรว มในการปรกึ ษา การวางแผน การตดั สินใจ การปฏิบตั ิ การตดิ ตามผล และการสรุปและประเมินผล 9. การนิเทศแบบชีแ้ นะ (Coaching) หมายถึง การนิเทศแบบการสอนงานที่ใชทักษะ การสือ่ สารแบบสองทางโดยมีปฏสิ ัมพันธระหวางผนู ิเทศและผรู ับการนิเทศทำใหผนู เิ ทศและผรู ับ การนเิ ทศไดรวมกนั แกป ญ หาตา ง ๆ ที่เกิดข้ึนในการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู ปนวิธกี ารนำกิจกรรม ตา ง ๆ ทางการนเิ ทศไปใชใ นการปฏบิ ัตงิ านอยางเหมาะสมกับบุคคล สถานท่ี เวลาหรือสถานที่นั้น ๆ ชวยใหสามารถเรียนรูไปพรอมๆ กับการปฏิบัติงานอยางมีประสทิ ธภิ าพ โดยผทู ่ีมบี ทบาทสำคญั อาจเปน ศึกษานเิ ทศก หรอื ผูนิเทศ ผูบ ริหารสถานศึกษา รวมทงั้ เครือขา ยการนเิ ทศท่สี ามารถเปน ผชู ้แี นะได ผไู ดรบั การช้ีแนะสวนใหญเ ปน ครูท่ีอยูในสถานศึกษา 10. กระบวนการนิเทศแบบ PDCA (Circle Demming Cycle) หมายถงึ การใช กระบวนการ PDCA ในการดำเนินการนเิ ทศการศกึ ษา โดยแบงออกเปน 4 ข้ันตอน ไดแก การวางแผน การปฏิบตั ิ การตรวจสอบ และการประเมินผล 11. ผนู ิเทศ หมายถงึ ผอู ำนวยการสถานศึกษา หรือรองผูอำนวยการสถานศึกษา หรอื ครู ผรู ับผดิ ชอบกิจกรรมพฒั นาผูเรียน และศกึ ษานเิ ทศก สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18 12. ครผู สู อน หมายถงึ ครูผูสอนที่เปนผนู ำหลักสตู รตา นทุจรติ ไปใชในสถานศึกษาใน สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 13. ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรสู กึ ความคิดเห็น และเจตคติของผูใชค มู ือนเิ ทศแบบ มสี วนรว มเพื่อการนำหลกั สูตรตา นทจุ รติ ศกึ ษาไปใชในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 18 ประโยชนท ี่คาดวาจะไดรับ 1. ไดค ูมือนิเทศหลักสูตรตา นทจุ รติ ศึกษาท่ีมีเนื้อหาสำคัญสามารถศึกษาดว ยตนเองเพือ่ นำไปนเิ ทศตดิ ตามการใชห ลักสูตรตา นทุจริตศกึ ษาในสถานศึกษา 2. ผูนเิ ทศมีแนวทางในการนเิ ทศการเรียนการสอนเพ่ือพฒั นากระบวนการจัดการเรยี น การสอนตามหลักสูตรตา นทุจริตศึกษาไปใชใ นสถานศึกษา 3. ครูมคี วามรู ความเขาใจ และสามารถจดั การเรียนการสอนเพื่อนำหลักสูตรตานทจุ ริต ศึกษาไปใชในสถานศึกษา

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง คมู่ ือนิเทศแบบมีส่วนรว่ มเพ่ือการนำหลกั สตู รต้านทุจริตศึกษาไปใชใ้ นสถานศึกษา สงั กัด สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ไดด้ ำเนินการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง นำเสนอตามลำดับ ดังน้ี 1. สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 18 2. หลกั สตู รตา้ นทุจริตศึกษา 3. หลกั การนเิ ทศการศกึ ษา 4. การนิเทศแบบมสี ว่ นร่วม 5. การนิเทศแบบชแี้ นะ 6. แนวคิดเกี่ยวกบั การจดั ทำคู่มือนิเทศ 7. แนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับความพงึ พอใจ 8. เอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 18 (แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562, หน้า 1-3) 1. ข้อมูลของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 สภาพทางภมู ิศาสตร์ สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง) เปน็ หนว่ ยงานในสังกัด สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มภี ารกิจรบั ผดิ ชอบบรหิ ารจัดการ ในเขตพื้นที่ใน 2 จงั หวดั คือ จังหวดั ชลบรุ ี ไดแ้ ก่ อำเภอเมืองชลบุรี บา้ นบงึ หนองใหญ่ พนัสนคิ ม พานทอง บอ่ ทอง เกาะจันทร์ สตั หีบ บางละมงุ ศรีราชา และเกาะสชี งั จังหวดั ระยอง ไดแ้ ก่ อำเภอเมืองระยอง แกลง บ้านค่าย บ้านฉาง ปลวกแดง นคิ มพฒั นา วังจนั ทร์ และเขาชะเมา ทต่ี ้งั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 (ชลบรุ ี-ระยอง) ตง้ั อยู่เลขที่ 25/11 หมู่ 5 ตำบลอ่างศลิ า อำเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 20000 เว็บไซต์ www.spm18.go.th

12 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับจงั หวัดฉะเชงิ เทรา ทศิ ใต้ ตดิ กบั จังหวัดระยอง ทศิ ตะวันออก ตดิ กับจังหวดั ฉะเชิงเทรา จงั หวดั จันทบรุ ี และจงั หวดั ระยอง ทิศตะวนั ตก ติดกับชายฝ่งั ทะเลตะวนั ออกของอา่ วไทย เขตการปกครอง สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง) แบง่ การปกครองเปน็ 2 จังหวดั ไดแ้ ก่ 1. จงั หวดั ชลบุรี แบง่ เขตการปกครองออกแบง่ เป็น 11 อำเภอ 92 ตำบล 687 หมบู่ า้ น การปกครองส่วนท้องถิน่ ประกอบดว้ ย องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั เทศบาลนคร 1 แหง่ เทศบาลเมือง 9 แหง่ เทศบาลตำบล 29 แห่ง องค์การบริหารสว่ นตำบล 58 แหง่ และมรี ปู แบบการปกครองพเิ ศษ 1 แห่ง คอื เมืองพัทยา แยกจากการปกครองของอำเภอบางละมุง เน่ืองจากเป็นเมืองท่องเท่ียวระดบั นานาชาติ ซึ่งมกี ารเจรญิ เติบโตอยา่ งรวดเร็ว อำเภอทง้ั 11 ของจังหวดั ชลบุรี ได้แก่ อำเภอเมืองชลบุรี อำเภอพนัสนิคม อำเภอพานทอง อำเภอบา้ นบึง อำเภอศรีราชา อำเภอเกาะจันทร์ อำเภอบอ่ ทอง อำเภอหนองใหญ่ อำเภอบางละมุง อำเภอสัตหบี และอำเภอเกาะสีชงั มโี รงเรียนในสังกัดจำนวน 31 โรงเรยี น 2. จงั หวัดระยอง แบ่งเขตการปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ 54 ตำบล 439 หมูบ่ า้ น 80 ชุมชน ส่วนด้านการปกครองท้องถิ่นประกอบดว้ ย องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั 1 แห่ง เทศบาล นคร 1 แหง่ เทศบาลเมอื ง 2 แห่ง เทศบาลตำบล 22 แห่ง และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบล 42 แหง่ อำเภอทั้ง 8 ของจงั หวดั ระยอง ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอเขาชะเมา อำเภอบ้านฉางอำเภอวังจันทร์ อำเภอปลวกแดง อำเภอแกลง อำเภอนิคมพัฒนา และอำเภอบ้านค่าย มีโรงเรยี นในสังกัดจำนวน 19 โรงเรียน 2. การดำเนินงานเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา ของ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษาเขต 18 ไดด้ ำเนนิ โครงการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา (โครงการโรงเรียนสุจรติ ) โดย มีวัตถปุ ระสงค์ เพื่อปลูกฝงั ให้นักเรยี น ครู ผ้บู รหิ าร และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคน มีคุณลกั ษณะ 5 ประการของโรงเรยี นสุจรติ ได้แก่ ทักษะกระบวนการคดิ มวี ินัย ซอื่ สตั ย์สุจริต อยอู่ ย่างพอเพยี ง และ มจี ิตสาธารณะ รวมทงั้ มพี ฤติกรรมร่วมตา้ นการทจุ รติ ทั้งในระดบั สถานศึกษา สำนักงานเขตพืน้ ที่ การศึกษา ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ซึ่งเป็นการดำเนินงานทีส่ อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ

13 ว่าด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560-2564) ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ ที่ 1 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทจุ รติ ผ่านการดำเนินกิจกรรมโรงเรยี นสุจริต ไดแ้ ก่ กจิ กรรมบริษทั สรา้ งการดี กจิ กรรมสรา้ งสำนึกพลเมือง (Project citizen) กจิ กรรมถอดบทเรียน (Best practice) ครแู ละผบู้ รหิ าร เป็นต้น กิจกรรมสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาสจุ ริต และการขับเคล่ือนการนำ หลักสูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา (หลักสตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน) ไปปรับใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนของ สถานศึกษาในสังกัด ในส่วนของยทุ ธศาสตร์ที่ 4 พฒั นาระบบปอ้ งกนั การทจุ ริตเชิงรุก สำนกั งานเขต พืน้ ทก่ี ารศกึ ษา มัธยมศึกษาเขต 18 ไดเ้ ขา้ รว่ มการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการ ดำเนนิ งานของสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online) โดยรับการประเมนิ จาก สำนกั พัฒนานวตั กรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานการดำเนินโครงการ เสรมิ สรา้ งคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าล ในสถานศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 มีรายละเอยี ดโดยสรุป ดงั นี้ 2.1 การเตรียมการ 2.1.1 ส่งผู้แทนเขา้ ร่วมการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารการบรู ณาการความรว่ มมือใน การต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติมิชอบตามแนวทางของแผนแมบ่ ทบรู ณาการป้องกนั ปราบปราม การทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประกอบดว้ ย (1) ผู้รับผิดชอบ โครงการโรงเรียนสจุ ริตในระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (2) ผรู้ ับผิดขอบโครงการสำนกั งานเขต พ้ืนทก่ี ารศกึ ษาสจุ ริต (3) ผู้รบั ผดิ ชอบการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา และ (4) ผ้มู ีความชำนาญในระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ เพ่ือบูรณา การความร่วมมือในการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบในระดับสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา รว่ มกบั ผแู้ ทนจากสำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัด 2.1.2 ดำเนินการจดั ทำแผนปฏบิ ัติการขับเคลื่อนการนำหลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา (หลกั สตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ไปปรับใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนของสถานศึกษาในสังกัด และ แผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั การทจุ ริตของสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพื่อเสนอให้สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพิจารณาโอนจัดสรรงบประมาณใน การขับเคล่ือนการดำเนินกจิ กรรม 2.2 การปฏบิ ตั ิ 2.2.1 ดำเนนิ การขบั เคลื่อนการนำหลักสตู รตา้ นทุจริตศึกษา (หลักสูตรการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน) ไปปรับใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนของสถานศึกษาในสงั กดั 2.2.2 ดำเนนิ การขบั เคล่ือนแผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั การทจุ รติ ของสำนักงานเขตพน้ื ท่ี การศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

14 2.2.3 ขยายผลการดำเนนิ การจดั ทำฐานขอ้ มูลโครงการโรงเรียนสุจริต เพ่ือเตรยี ม รบั การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาในสงั กดั ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 2.2.4 รบั การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของสำนักงานเขต พื้นทกี่ ารศึกษาออนไลน์ (ITA Online) จากสำนกั พฒั นานวัตกรรมการจดั การศึกษา สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2.3 ตดิ ตามการดำเนินโครงการ 2.3.1 นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม แบบบรู ณาการ และการดำเนินการอนื่ ๆ ตามโครงการ โรงเรียนสุจรติ 2.3.2 รายงานผลการขบั เคล่ือนการนำหลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา (หลกั สตู ร การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน) ไปปรับใช้ในการจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษาในสังกดั 2.3.3 รายงานผลการขับเคลื่อนแผนปฏบิ ตั กิ ารป้องกนั การทุจรติ ของสำนักงานเขต พนื้ ทกี่ ารศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2.3.4 รายงานผลการเบิกจา่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจำปี พ.ศ. 2562 แผนงาน บูรณาการต่อตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ ที่ไดร้ ับการโอนจดั สรรจาก สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ผา่ นทางเวบ็ ไซตโ์ ครงการโรงเรยี นสจุ ริต (www.uprightschool.net) 2.4 แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ผลการดำเนนิ โครงการ เขา้ ร่วมกิจกรรม การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ การนำเสนอผลงาน และการประกวดแข่งขนั กิจกรรมการเรียนรู้ ภายใต้โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา (โครงการโรงเรียนสจุ ริต) ระดับภูมภิ าค กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การนำเสนอผลงาน และการประกวดแข่งขนั ฯ กิจกรรมใน โครงการโรงเรียนสุจรติ ประกอบดว้ ย 1) กจิ กรรมสรา้ งสำนึกพลเมือง (Project citizen) โดยคดั เลอื กโรงเรียนสุจริต ตน้ แบบเป็นตัวแทนของสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาเขา้ รว่ มกจิ กรรม 2) กจิ กรรมบริษทั สรา้ งการดี โดยคดั เลือกเครือข่ายโรงเรยี นสจุ รติ ร้อยละ 10 เป็น ตัวแทนของสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาเข้ารว่ มกิจกรรม 3) กจิ กรรมถอดบทเรียน (Best practice) ครู โดยคดั เลอื กเครอื ข่ายโรงเรยี นสจุ รติ ร้อยละ 10 เปน็ ตวั แทนของสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม 4) กิจกรรมถอดบทเรยี น ผบู้ ริหาร โดยคัดเลอื กเครือข่ายโรงเรียนสจุ ริต รอ้ ยละ 10 เป็นตวั แทนของสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาเข้ารว่ มกจิ กรรม

15 หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา (สำนกั พฒั นานวตั กรรมการจัดการศึกษา, 2561) ความเป็นมาของหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษา ปจั จบุ ันปัญหาการทุจริตคอรร์ ัปชนั ถอื ได้วา่ เปน็ ปัญหาใหญท่ ่ีเกิดขน้ึ ในประเทศตา่ ง ๆ ทั่ว โลก รวมทั้งประเทศไทย ซ่ึงปัญหาน้ยี ังไม่มีทที ่าว่าจะหมดไป อีกทง้ั ยังทวีความรนุ แรงและซบั ซ้อนมาก ข้ึนอย่างต่อเน่ือง แม้ว่าประเทศไทยจะกา้ วเข้าส่คู วามทันสมัย มีระบบการบรหิ ารราชการสมยั ใหม่มี การรณรงคจ์ ากองค์การของรัฐ หรือองค์กรอสิ ระตา่ ง ท่เี หน็ พ้องกนั ว่า การทุจรติ คอร์รัปชันเปน็ ปัญหา ท่ีนำไปสู่ความยากจน และเป็นอปุ สรรคทข่ี ัดขวางการพฒั นาประเทศอยา่ งแท้จริง สำหรับประเทศ ไทยนนั้ เปน็ ทท่ี ราบกันทวั่ ไปวา่ ปัญหาเร่อื งการทุจรติ คอรร์ ัปชนั เปน็ ปัญหาสำคัญลำดับต้น ๆ ทสี่ ง่ ผล กระทบตอ่ การพัฒนาประเทศเป็นอย่างมา ปญั หาดงั กลา่ วเกิดข้นึ มานานจนฝงั รากลกึ และพบเกอื บ ทุกกลุ่มอาชีพในสังคมไทย เก่ียวพันกับวถิ ชี วี ติ ของคนไทยมาอยา่ งยาวนาน หรอื กลา่ วไดว้ ่าเป็น สว่ นหนึ่งของวฒั นธรรมไทยไปแลว้ สาเหตุของปัญหาที่พบ คอื การทจุ ริตคอร์รัปชันเป็นประเพณีนยิ มปฏิบัตทิ ่ีมีมาต้ังแต่สมัย ดง้ั เดมิ ยงั คงมอี ิทธิพลต่อความคิดของคนในปัจจุบนั อยู่คอ่ นขา้ งมาก ฉะนั้น พฤติกรรมการปฏิบัติของ ขา้ ราชการจงึ ไม่สอดคล้องกบั แนวความคดิ ของการเปน็ ขา้ ราชการสมยั ใหม่ การฉอ้ ราษฎรบ์ ังหลวง ของข้าราชการด้วยความไม่รู้หรือด้วยความบริสุทธ์ใิ จ จึงยังคงปรากฏอยู่ค่อนข้างมาก นอกจากนี้ การทจุ ริตคอร์รัปชันของขา้ ราชการอย่ทู ี่ตัวขา้ ราชการ ปัญหาที่เกดิ จากความคิด ความไม่มี ประสิทธภิ าพของตวั ระบบ และปญั หาของตัวข้าราชการไม่วา่ จะเปน็ เรอื่ งของรายได้ สวสั ดกิ าร จรยิ ธรรมในการทำงาน ความคาดหวงั และโอกาสในชีวิตของตัวขา้ ราชการ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ เป็นสาเหตทุ ส่ี ำคญั ทส่ี ดุ ประการหน่งึ ของการเกดิ ทจุ รติ คอร์รัปชันในวงราชการ อันนำไปสู่ การสูญเสียเงินรายได้ของรฐั บาล ความไม่เสมอภาคในการให้บรกิ ารของขา้ ราชการแกผ่ ูม้ าตดิ ตอ่ ประชาชนผูเ้ สียภาษไี มไ่ ด้รบั บริการที่มีคณุ ภาพ จากการวดั ดัชนกี ารรับรู้การทุจรติ (Corruption Perceptions Index: CP) ปี พ.ศ. 2557 และปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยได้คะแนนการประเมนิ 38 คะแนน ในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยได้ คะแนนการประเมิน 35 คะแนน และในปี พ.ศ. 2560 ประเทศไทยได้คะแนนการประเมิน 37 คะแนน ซ่งึ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ประเทศไทยยังมกี ารทุจรติ คอร์รัปชันอยู่ในระดับสูงซ่ึงสมควรได้รับ การแก้ไขอยา่ งเรง่ ด่วน ดงั นั้นคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จึงไดห้ าแนวทางในการแก้ไขปญั หาดงั กล่าวมาโดยตลอด เริ่มตง้ั แต่ การกำหนดยุทธศาสตร์ชาตดิ ้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2551-2555) และเม่ือวนั ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 นายกรฐั มนตรีได้สั่งการให้หน่วยงานภาครัฐจดั ทำ ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ให้สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรว์ ่าดว้ ยการป้องกันและ

16 ปราบปรามการทุจรติ ภาครฐั (พ.ศ. 2552-2555) นอกจากน้ัน ยังมกี ลไกที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่งตงั้ ในรูปคณะอนุกรรมการเพ่ือนำยุทธศาสตรช์ าติด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตไปสู่ การปฏบิ ัติในภาคส่วนต่าง ๆ อาทิ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เป็นตน้ เนอื่ งจากตระหนักถึง ความสำคัญของการบรู ณาการความร่วมมอื และสนบั สนนุ จากภาคีทุกภาคสว่ น จากน้ัน คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดจ้ ัดทำยทุ ธศาสตร์ชาติด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ระยะท่ี 2 (พ.ศ. 2556-2560 ) ต่อเนื่อง เพ่อื เป็นกรอบให้ทุกภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้องแปลงยทุ ธศาสตร์ แนวทาง และ มาตรการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตอยา่ งจรงิ จงั โดยในส่วนของภาครัฐนนั้ คณะรัฐมนตรีมมี ติ เมอื่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 เห็นชอบให้แปลงแนวทางและมาตรการตามยุทธศาสตรช์ าติ วา่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556-2560) ไปสกู่ ารปฏิบัติ โดยให้ กำหนดไว้ในแผนปฏบิ ัตริ าชการ 4 ปี และแผนปฏบิ ัติราชการประจำปี รวมถึงการสนับสนุนของ กระทรวงมหาดไทย โดยส่ังการใหม้ กี ารตัง้ คณะกรรมการร่วมเพื่อป้องกันและปราบปรามทุจรติ ระดบั จังหวดั ที่มผี ู้วา่ ราชการจังหวัดเป็นประธานขึ้นในทุกจังหวัด ซ่งึ ถือเปน็ กลไกสำคญั ทีม่ บี ทบาทในการนำ ยุทธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตระยะท่ี 2 (พ.ศ. 2556-2560) ไปสู่ การปฏิบตั ริ ะดบั จังหวดั ในลักษณะบรู ณาการในช่วงระยะเวลาของการใชย้ ทุ ธศาสตร์ชาติวา่ ด้วย การปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556-2560) ทกุ ภาคส่วนของสังคมไทยได้ ตระหนักถึงภัยคุกคามของปัญหาการทจุ ริตทฝ่ี งั รากลึกอยา่ งยาวนาน มีการเปลย่ี นแปลงทางการเมือง ท่ีสำคัญส่งผลใหร้ ฐั บาลที่เขา้ มาบริหารประเทศตอ้ งดำเนนิ การแก้ไชปัญหาการทุจริตอย่างเรง่ ด่วน ตัง้ แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2558 เปน็ ตน้ มา นอกจากน้ี สำนักงาน ป.ป.ช. ไดร้ ับมอบหมายจากรฐั บาล ใหเ้ ปน็ หน่วยงานเจ้าภาพหลักในการจดั ทำแผนงบประมาณลกั ษณะบูรณาการเรื่อง การป้องกนั ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมชิ อบ แผนงบประมาณดังกลา่ ว จงึ เป็นหนงึ่ ในกลไกสำคญั ของ การบูรณาการการป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤตมิ ชิ อบของประเทศไทยจนเม่ือวันที่ 28 มถิ ุนายน พ.ศ. 2559 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ตเิ ห็นชอบให้ยกเลิกยุทธศาสตรช์ าตวิ ่าดว้ ย การป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 2 พ.ศ. 2560 และให้ปรับระยะเวลาของยุทธศาสตร์ ชาตวิ า่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 3 เป็นปี พ.ศ. 2560-2564 โดยยทุ ธศาสตร์ ชาตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต มคี วามสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของแผนพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และเชื่อมโยงไปส่ยู ทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่สำคญั จะ ตอบสนองกับสภาพปัญหาและสถานการณก์ ารดำเนินงานด้านการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ท่เี ปลย่ี นแปลงไปในปัจจบุ ัน และความเปล่ยี นแปลงท่จี ะเกดิ ข้ึนในอนาคตดว้ ยองคค์ วามรแู้ ละ นวตั กรรมการต่อตน้ การทจุ ริตที่ทันสมัย แผนงบประมาณในลกั ษณะบูรณาการ เรอื่ งการป้องกนั ปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบจึงไดร้ บั การทบทวนเป้าหมายแผนงานบรู ณาการ แนวทาง และตัวชี้วดั ของแผนงานบรู ณาการให้สอดคล้องและเชอ่ื มโยงกับร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

17 (พ.ศ. 2560-2579) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยุทธศาสตร์ชาตวิ ่าดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ.2560-2564) ความพยายามบูรณาการการป้องกนั ปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบให้ต่อเน่ืองและ เป็นทิศทางเดยี วกันทงั้ ประเทศ เพอื่ นำไปสกู่ ารบรรลเุ ป้าหมายของการเปน็ ประเทศทีม่ ีมาตรฐาน ความโปร่งใส เทยี บเทา่ ระดับสากล จำเปน็ ต้องดำเนนิ การจัดทำแผนแม่บทบรู ณาการการป้องกนั ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ให้กระทรวงและ ทกุ หนว่ ยงานรว่ มกันกำหนดอนาคตและแก้ปญั หาการทจุ ริตของประเทศไทย ในลักษณะประสาน เช่อื มโยงแบบเครือข่ายท่นี ำไปสู่การบรรลุจดุ มุ่งหมายในแต่ละชว่ งเวลาอยา่ งบรู ณาการ วิสยั ทัศน์ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ของประเทศไทยวา่ ดว้ ยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง หรอื เป็นคติพจน์ประจำชาติ \"มน่ั คง ม่งั ค่ัง ย่งั ยืน\" และแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ สงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบรหิ ารจัดการในภาครัฐ การปอ้ งกันการทุจรติ ประพฤติ มิชอบ และธรรมาภบิ าลในสังคมไทย ว่าดว้ ยการขาดธรรมาภบิ าลในสังคมไทยทำให้มกี ารทุจรติ ประพฤติมชิ อบยังเปน็ ปญั หาสำคัญของประเทศ ในชว่ ง 5 ปี จงึ จำเป็นท่ีต้องเร่งปฏิรปู การบริหาร จัดการภาครัฐให้เกิดผลสมั ฤทธ์ิอย่างจรงิ จงั ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 3 ทั้งการบริหารจัดการภาครัฐใหโ้ ปรง่ ใส มปี ระสทิ ธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อยา่ งเป็นธรรม และ ประชาชนมีสว่ นรว่ ม มีการกระจายอำนาจ และแบ่งภารกจิ รบั ผดิ ชอบท่ีเหมาะสมระหว่างส่วนกลาง ภมู ภิ าค และท้องถน่ิ และวางพนื้ ฐานเพื่อใหบ้ รรลุตามกรอบเปา้ หมายอนาคตในปี 2579 ดังนี้ (1) เพ่ือให้ภาครฐั มีขนาดเล็กมีการบริหารจดั การท่ดี ีและได้มาตรฐาน (2) เพื่อให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถนิ่ มีการบรหิ ารจัดการและใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนในท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ (3) เพื่อลดปญั หาการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบของประเทศ (4) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการทางกฎหมายใหส้ ามารถอำนวยความสะดวกด้วยความรวดเรว็ และเปน็ ธรรมแก่ประชาชน ตามแนวทางการพฒั นา การปอ้ งกนั ปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ เพอ่ื ให้ สังคมไทยมีวนิ ยั โปร่งใส ยดึ มั่นในความช่ือสตั ยส์ ุจรติ และยุติธรรม รวมท้ังสรา้ งความเข็มแข็งเป็น ภมู ิคุ้มกันของสังคมไทย ใหค้ รอบคลมุ ภาครัฐ ภาคเอกชน องคก์ รพฒั นาเอกชนและภาคประชาชน พรอ้ มท้งั สรา้ งพลังการขบั เคล่ือนค่านยิ ม ต่อต้านการทุจรติ ใหด้ ำเนินการโดย 1. ปลูกฝังใหค้ นไทยไมโ่ กง ภาครฐั ดำเนนิ การส่งเสรมิ สนบั สนุนใหท้ ุกภาคส่วนมุ่งสรา้ ง จติ สำนกึ ในการรักษาประโยชนส์ าธารณะทัศนคติเชิงบวก รวมทัง้ คุณธรรม จริยธรรม และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งให้กบั ทุกกลุม่ ในสงั คม ผ่านกลไกครอบครวั สถาบันการศกึ ษาสถาบัน ศาสนา ส่ือมวลชน และเครือข่ายทางสงั คม ควบคู่กับการปลูกจิตสำนึกความช่ือสตั ย์ สุจรติ คา่ นิยมที่ ถูกต้อง สร้างความตระหนกั ถึงภัยร้ายแรงของการทุจริตและการรู้เท่าทันการทุจริตของสังคมไทย

18 โดยอาศยั กลไกทางสังคมเป็นมาตรการในการลงโทษผู้กระทำผิด หรอื ผกู้ ระทำการทุจริตและประพฤติ มิชอบ 2. การปอ้ งกนั การทจุ รติ ภาครัฐได้ดำเนนิ การ ดังนี้ 2.1 ปฏิรูปกฎหมายท่ีเกีย่ วข้องกับการบรหิ ารพัสดแุ ละการจัดซือ้ จดั จา้ งภาครัฐให้มี ระบบท่โี ปรง่ ใสตรวจสอบได้ และมีประสทิ ธิภาพต่อการจดั หาวัสดุ ครุภณั ฑ์ ทีด่ ินและสง่ิ กอ่ สร้าง การจดั ซ้ือ จดั จ้างและการทำสัญญาอืน่ ๆ ที่ภาคเอกชนทำสญั ญากับรฐั ให้มีกฎหมายห้ามมิใหน้ ำ งบประมาณแผน่ ดินไปใช้ประชาสมั พันธ์ตนเองในเชิงหาเสยี ง ไม่ใหม้ ีการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนร่วมในขณะดำรงตำแหนง่ ทส่ี ามารถใชอ้ ำนาจรฐั ได้ และปรบั ปรุง กฎหมายเกี่ยวกบั ขอ้ มลู ข่าวสารสาธารณะ รวมทั้งการลดการใชด้ ลุ พนิ จิ ในการปฏบิ ัติงานของ เจา้ หนา้ ท่รี ัฐ โดยให้มีการกำหนดขน้ั ตอนการดำเนินงาน กระบวนการ และแนวทางการตัดสินใจ ระยะเวลาแล้วเสรจ็ และเอกสารทีใ่ ช้ในการขออนญุ าตหรืออนุมตั จิ ากทางราชการใหร้ ะบบงาน ทง้ั ระบบโปรง่ ใสตรวจสอบได้ โดยเฉพาะโครงการที่มีความเสยี่ งต่อการทุจริตให้มีการจัดทำสญั ญา คุณธรรม และเพม่ิ บทลงโทษภาคเอกชนด้วย 2.2 จัดต้ังกองทนุ สนบั สนุนการต่อต้านการทุจริต การคมุ้ ครองพยานในคดีทุจริตและ ประพฤตมิ ิชอบ และเสริมสรา้ งความรเู้ ก่ียวกับรปู แบบกลไกการทุจรติ และวธิ กี ารเฝา้ ระวังการทจุ รติ รวมถึงแนวทางการสนบั สนนุ กาสร้างกจิ กรรมการป้องกันการทจุ ริตชองภาคประชาชนอยา่ งตอ่ เน่ือง ตลอดจนพจิ ารณารูปแบบการจดั สรรงบประมาณดา้ นการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต ประพฤติ มชิ อบให้มีความเหมาะสมและเพยี งพอกับการปฏบิ ัตงิ านและสถานการณ์การคลังของประเทศ 2.3 เร่งรดั หน่วยงานภาครฐั ให้มกี ารดำเนนิ งานในการกำหนดมาตรการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการทุจรติ และประพฤติมิชอบอย่างเคร่งครัด โดยติดตามผลการดำเนนิ งานตามมาตรการ ป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาการทุจริตและประพฤติมิชอบของหนว่ ยงานของรฐั อยา่ งต่อเนือ่ ง 2.4 เสริมสร้างศกั ยภาพและความเขม้ แข็งให้แก่ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารตอ่ ตา้ นการทุจริตให้ สามารถเปน็ หนว่ ยงานหลักของภาครัฐในการเฝ้าระวงั ปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตและ ประพฤติมิชอบที่บรู ณาการการทำงานร่วมกันอย่างมีกลยทุ ธ์ ยุทธศาสตร์ชาติว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) เป็นห้วงเวลาเดียวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) และเม่อื วนั ท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มมี ติเหน็ ชอบยุทธศาสตรว์ ่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) ฉบับสมบรู ณ์ ทีก่ ำหนดวิสยั ทศั น์ \"ประเทศไทย ใสสะอาด ไทยทัง้ ชาติตา้ นทุจริต\" (Zero Tolerance and Clean Thailand) กำหนด พนั ธกิจหลกั เพ่ือสรา้ งวัฒนธรรมการต่อตา้ นการทุจรติ ยกระดับธรรมาภิบาลในการบรหิ ารจัดการ ทกุ ภาคส่วน และปฏิรูปกระบวนการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ทง้ั ระบบ ใหม้ มี าตรฐาน

19 เทียบเทา่ สากลผ่านยุทธศาสตร์ 6 ดา้ น ได้แก่ (1) สร้างสังคมทไ่ี ม่ทนต่อการทุจรติ (2) ยกระดับ เจตจำนงทางการเมืองในการตอ่ ต้านการทุจรติ (3) สกดั กน้ั การทจุ ริตเชงิ นโยบาย (4) พัฒนาระบบ ปอ้ งกนั การทุจรติ เชิงรุก (5) ปฏริ ูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทจุ ริต และ (6) ยกระดบั ดัชนีการรับรู้ การทุจรติ ของประเทศไทย โดยเป้าประสงคข์ องยทุ ธศาสตรช์ าติฯ ระยะที่ 3 คือ ประเทศไทยมคี า่ ดัชนกี ารรบั รู้การทุจริต (CP) สงู กว่าร้อยละ 50 เพื่อให้เป็นมาตรฐานเป็นทยี่ อมรับ จากทง้ั ภายในและต่างประเทศ รวมทัง้ มีการกำหนดแนวทางและกลไกในการดำเนินงานทีช่ ัดเจน มีประสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ล และตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาการทุจรติ ไดอ้ ย่างทันทว่ งที สำหรับ หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม รวมถึงภาคสว่ นอื่น ๆ ในประเทศไทยสามารถนำไป ปรับใชใ้ นงานการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต เพื่อให้ประเทศไทยของเราสามารถยืนหยดั อยูไ่ ด้ อยา่ งสง่างามท่ามกลางกระแสโลกในปจั จุบัน ทงั้ นี้คณะรัฐมนตรมี ีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาตวิ ่าด้วย การป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) ในการประชุมเมื่อวันที่ 11 ตลุ าคม พ.ศ. 2559 และเห็นชอบใหห้ น่วยงานภาครัฐแปลงแนวทางและมาตรการตามยทุ ธศาสตร์ ชาติว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) สูก่ ารปฏิบตั ิโดย กำหนดไวใ้ นแผนปฏบิ ตั ิราชการ 4 ปี และแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปรี วมทงั้ สนับสนุนงบประมาณ ตามแผนงานบูรณาการการป้องกนั ปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ตง้ั แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป โดยให้หนว่ ยงานภาครฐั ดำเนนิ การสอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี และ แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นต่าง ๆ ดว้ ย ยทุ ธศาสตร์ชาติด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560-2564) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 \"สร้างสังคมท่ีไมท่ นต่อการทจุ รติ \" ได้มุ่งเนน้ ใหค้ วามสำคญั กระบวนการปรับสภาพ สงั คมให้เกิดภาวะที่ \"ไม่ทนต่อการทจุ รติ \" โดยเรมิ่ ตง้ั แต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสงั คมในทกุ ระดบั ช่วงวัย (ตั้งแต่การศึกษาปฐมวัย ถึงระดบั อดุ มศึกษา) เพื่อสร้างวฒั นธรรมต่อตา้ นการทุจริตและ ปลกู ฝงั ความพอเพียงมีวินยั ซ่ือสัตยส์ จุ ริต และมจี ติ สาธารณะ ซึ่งเป็นคุณธรรมจริยธรรมปอ้ งกนั การ ทุจรติ ยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชน์ส่วนตน เป็นการดำเนินการผ่านสถาบนั หรอื กลุ่มตัว แทนทท่ี ำหน้าท่ีในการกล่อมเกลาสังคมให้มคี วามเป็นพลเมืองท่ีดี มีจิตสาธารณะ เสียสละเพื่อสว่ นรวม และเสริมสรา้ งใหท้ ุกภาคส่วนมพี ฤติกรรมท่ีไม่ยอมรบั และต่อต้านการทจุ ริตในทุกรูปแบบ และได้ กำหนดกลยทุ ธ์ 4 กลยุทธ์ กล่าวคือ กลยุทธ์ท่ี 1 ปรบั ฐานความคิดทกุ ข่วงวยั ตั้งแตป่ ฐมวัยใหส้ ามารถ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม กลยุทธท์ ี่ 2 สง่ เสริมให้มีระบบและ กระบวนการกล่อมเกลาทางสงั คมเพือ่ ตา้ นทจุ ริต กลยุทธ์ที่ 3 ประยกุ ตห์ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ เครอ่ื งมือตา้ นทจุ รติ และกลยทุ ธ์ท่ี 4 เสรมิ พลงั การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน (Community) และบรู ณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต คณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงได้มีคำสง่ั ที่ 646/2560 ส่ัง ณ วนั ท่ี 26 เมษายน พ.ศ. 2560 แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ จดั ทำหลักสตู รหรอื ชดุ การเรียนรแู้ ละส่อื

20 ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจรติ ซึ่งประกอบดว้ ย ผ้ทู รงคุณวฒุ หิ รือผเู้ ชี่ยวชาญจาก หนว่ ยงานด้านการศึกษา และหน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้องในการจดั ทำหลกั สูตรการเรียนการสอน จากทั้ง ภายในและภายนอกหน่วยงาน รวมท้ังผทู้ รงคณุ วฒุ ิจากองค์กรภาคเอกชน เพื่อดำเนินการจดั ทำ หลักสตู รหรอื ชุดการเรียนรแู้ ละส่อื ประกอบการเรียนรู้ ด้านการปอ้ งกันการทุจริต นำไปใช้ใน การจดั การเรียนการสอนให้กับผเู้ รยี นนกั ศกึ ษาในทุกระดับชัน้ ทง้ั ในส่วนของการศกึ ษาระดับปฐมวยั ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอดุ มศึกษา ท้ังภาครฐั และเอกชน รวมท้ังอาชีวศึกษา การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยแตล่ ะระดบั การศกึ ษาจัดทำหลกั สตู ร ดงั น้ี (1) หลักสูตร การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (รายวิชาเพิม่ เติม การป้องกันการทจุ ริต) (2) หลักสูตรอดุ มศึกษา (วัยใส ใจสะอาด \"Youngster with good heart\") (3) หลักสูตรตามแนวทางรับราชการ กลมุ่ ทหารและ ตำรวจ (4) หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ ำการเปลย่ี นแปลงสู่สังคมที่ไมท่ นต่อการทจุ ริต และ (5) หลักสตู รโคช้ เพ่ือการรู้คดิ ต้านทจุ รติ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ในฐานะองค์กร รับผดิ ชอบการจดั การศกึ ษาใหแ้ กผ่ เู้ รียนตัง้ แตร่ ะดบั ปฐมวัยจนถงึ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 จึงไดจ้ ัดทำ รายวิชาเพ่ิมเตมิ \"การป้องกันการทจุ รติ \" ประกอบดว้ ยเนื้อหา 4 หน่วยการเรียนรไู้ ดแ้ ก่ (1) การคิด แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม (2) ความละอายและความไม่ทนต่อ การทจุ รติ (3) STRONG: จิตพอเพยี งต้านทจุ ริต และ (4) พลเมอื งกับความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ซ่งึ ท้ัง 4 หน่วยนจี้ ะจัดทำเปน็ แผนการจัดการเรยี นร้ตู ้ังแต่ระดับชน้ั ปฐมวยั จนถึงชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เพ่อื ใหส้ ถานศึกษาทุกแหง่ นำไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน เพือ่ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและ ป้องกนั การทุจริตให้แก่ผูเ้ รยี นทกุ ระดับ ท้งั นเี้ พื่อเป็นการสร้างพลเมืองท่ีซื่อสตั ยส์ จุ รติ ใหแ้ ก่ ประเทศชาติปัญหาการทุจริตคอรร์ ัปชนั ลดลง และดชั นีการรับรูก้ ารทุจรติ ของประเทศไทย มคี ่า คะแนนสูงขึน้ บรรลุตามเป้าประสงคข์ องยทุ ธศาสตรช์ าติวา่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) และนำหลักสตู รต้นทจุ ริตศกึ ษา รายวิชาเพิม่ เติมการป้องกันการทจุ รติ เสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพ่อื นำเสนอต่อคณะรัฐมนตรใี ห้ความเหน็ ชอบ เม่ือวนั ท่ี 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 คณะรฐั มนตรีมมี ตเิ หน็ ชอบตามท่ีคณะกรมกร ป.ป.ช. เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบหลักการเกีย่ วกบั หลกั สูตรตา้ นทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) และให้หน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งนำหลักสูตรดังกล่าวไปพจิ ารณาปรบั ใชก้ ับกล่มุ เป้าหมาย ทัง้ น้ีให้ หน่วยงานที่ตอ้ งนำหลักสตู รไปดำเนนิ การรับความเหน็ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำนกั งาน ก.พ. สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ และฝา่ ยเลขานกุ าร คณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศกึ ษาไปพิจารณาดำเนนิ การต่อไป โดยให้ประสานงานกบั สำนกั งาน ป.ป.ช. อยา่ งใกลช้ ิด เพอื่ ให้การดำเนินการดังกล่าวบรรลวุ ตั ถุประสงคต์ ามท่ีกำหนดไว้ สำหรบั ภาระงบประมาณที่อาจจะเกดิ ขน้ึ ซ่งึ ไม่ได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีรองรบั ไว้ให้ หน่วยงานท่เี กีย่ วซ้องพจิ ารณาปรับแผนการปฏิบตั งิ านและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่าย

21 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ไปดำเนินการในโอกาสแรกก่อน สำหรับปงี บประมาณต่อ ๆ ไป ให้จัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ เพ่อื เสนอขอตั้งงบประมาณรายจ่าย ตามความจำเปน็ และเหมาะสมตอ่ ไป ตามความเหน็ ของสำนกั งบประมาณ 2. ใหก้ ระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธกิ าร สำนกั งาน ก.พ. สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ และหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งหารือร่วมกบั สำนักงาน ป.ป.ช. เพอื่ พิจารณา นำหลักสูตรน้ี ไปปรบั ใช้ในโครงการฝกึ อบรมหลักสูตรข้าราชการ บุคลากรภาครฐั หรอื พนักงาน รฐั วิสาหกจิ ทบ่ี รรจใุ หม่ รวมทง้ั ใหพ้ ิจารณากำหนดกล่มุ เป้าหมายของหลักสตู รโคช้ ใหม้ คี วามชัดเจน โดยใหห้ มายความรวมถึงบุคลากรทางการศึกษา เช่น ครู อาจารย์หรอื ผู้ท่ที ำหนา้ ท่ีเป็นผู้ถา่ ยทอด ความรทู้ ้งั ในหลกั สูตรกาศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และหลักสูตรอดุ มศกึ ษาดว้ ย ทัง้ นเี้ พื่อให้บุคลากรทาง การศึกษาที่เขา้ รบั การอบรมหลักสูตรดังกลา่ วสามารถนำไปใชใ้ นการถา่ ยทอดความรู้หรือชว่ ยใน การจัดการเรียนให้เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน นอกจากน้ใี หก้ ระทรวงศึกษาธิการเรง่ ดำเนนิ การและรายงานผลสัมฤทธ์ขิ องการดำเนินโครงการดังกล่าวใหค้ ณะกรรมการนโยบายและ พัฒนาการศกึ ษาทราบเปน็ ระยะ ๆ ด้วย 3. ใหก้ ระทรวงศึกษาธิการเตรยี มความพร้อมในด้านตา่ ง ๆ เช่น ตำราเรียน ครู อาจารย์ รายละเอียดหลักสูตร เพือ่ นำหลักสตู รต้านทจุ รติ ศึกษา หลักสตู รการศึกษาขนั้ พื้นฐานและหลกั สตู ร อุดมศึกษา) ไปปรับใช้ในการจัดการเรยี นการสอนของสถานศึกษา ท้ังนใี้ นการจัดการเรียนการสอน หลกั สูตรดงั กลา่ วใหม้ ุง่ เนน้ การสร้างความร้คู วามเขา้ ใจท่ีถกู ตอ้ งเกยี่ วกบั ความหมายและขอบเขตของ การกระทำทจุ รติ ในลักษณะต่าง ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ความเสียหายทีเ่ กิดจากการทุจริต ความสำคญั ของการต่อตา้ นการทจุ รติ รวมทงั้ จัดให้มีการประเมินผลสมั ฤทธิ์ของการจัดการเรยี นรู้ตาม หลักสตู รในแตล่ ะช่วงวยั ของผู้เรยี นด้วย วัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา หลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษา มีวัตถุประสงคเ์ พ่ือปลูกฝงั และสร้างวฒั นธรรมตอ่ ต้านการทจุ ริต ใหส้ ามารถแยกแยะได้ว่าส่ิงใดเป็นประโยชน์ส่วนตนสิ่งใดเปน็ ประโยชนส์ ่วนรวมยดึ ถือประโยชน์ สว่ นรวมมากกว่าประโยชนส์ ่วนตน มจี ติ พอเพียงต้านทุจรติ ละอาย และเกรงกลัวทจี่ ะไม่ทจุ รติ และ ไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบผ่านสถาบันการศึกษา ซ่ึงมีความจำเป็นท่ีจะต้องปลกู ฝงั ตั้งแตร่ ะดบั ปฐมวัยประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา ท้ังภาครัฐและเอกชน รวมทง้ั อาชีวศึกษา การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอธั ยาศัย และสถาบันการศกึ ษาอื่นทีเ่ กยี่ วข้อง เชน่ สถาบันการศึกษาในสังกดั องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ กรุงเทพมหานคร สถาบนั การศกึ ษาในสงั กัดสำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ สถาบนั การศึกษาทางทหาร เป็นต้นตอ่ เนื่องไปจนถงึ ระดับอุดมศึกษา เพ่ือให้ครอบคลมุ ทัง้ ระบบ การศึกษา นอกจากนี้ ยังรวมถึงหลกั สตู รฝกึ อบรมสำหรบั บุคลากรของรัฐและพนักงานรฐั วสิ าหกิจใน หนว่ ยงานภาครัฐสำหรบั หลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา มี 5 หลักสตู ร ดังนี้

22 1. หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การป้องกนั การทุจรติ ) เปน็ หลักสูตรที่ ศกึ ษาเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอาย และ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG: จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต รหู้ น้าท่ขี องพลเมืองและรบั ผิดชอบ ต่อสงั คมในการต่อต้านการทจุ ริต โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์จำแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏิบตั ิจรงิ การทำโครงงานกระบวนการเรยี นรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภปิ ราย การสบื สอบ การแกป้ ญั หา ทกั ษะการอา่ น และการเขยี นเพื่อให้มีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการต่อตา้ นและ การป้องกนั การทุจรติ 2. หลักสูตรอดุ มศึกษา (ชือ่ หลกั สตู ร “วยั ใส ใจสะอาด” “Youngster with good heart”) เปน็ หลกั สตู รทศ่ี ึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์ ส่วนรวม ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต รูห้ น้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสงั คมใน การต่อต้านการทจุ ริตและ STRONG: จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต โดยใช้การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ทห่ี ลากหลาย มงุ่ เนน้ ให้นักศึกษาเกิดความรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ เจตคติด้านการป้องกันการทจุ รติ 3. หลักสูตรกล่มุ ทหารและตำรวจ (ชอ่ื หลกั สตู ร “หลักสูตรตามแนวทางรบั ราชการกลมุ่ ทหารและตำรวจ”) เปน็ หลักสตู รทีศ่ กึ ษาเก่ยี วกับการคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับ ผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอาย และความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ STRONG: จิตพอเพียงตอ่ ตา้ น การทุจริต และพลเมืองกับความรับผดิ ชอบต่อการทุจรติ โดยใช้การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย มุง่ เน้นใหผ้ ู้เรยี นเกิดความรู้ทักษะ เจตคติดา้ นการป้องกนั การทจุ รติ และเสริมพลัง คนรนุ่ ใหม่ และนำไปประยกุ ต์ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อหน่วยงาน สงั คม และประเทศชาติ 4. หลักสตู รวิทยากร ป.ป.ช. บุคลากรภาครฐั และรัฐวสิ าหกิจ (ช่ือหลกั สูตร “สรา้ งวทิ ยากร ผนู้ ำการเปลยี่ นแปลงสู่สงั คมทไ่ี ม่ทนต่อการทุจริต”) เปน็ หลกั สูตรท่ีศึกษาเกีย่ วกบั การคิดแยกแยะ ระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอาย และความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG:จิตพอเพียงต่อตา้ นการทจุ ริต โดยใชก้ ารจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ีห่ ลากหลาย มุ่งเนน้ ให้ ผู้เรยี นเกิดความรู้ความเขา้ ใจ เจตคตดิ ้านการป้องกันการทจุ รติ และเกิดทกั ษะการเป็นวทิ ยากร 5. หลักสตู รโคช้ (ชอื่ หลกั สูตร “โคช้ เพ่อื การรคู้ ดิ ตา้ นทุจริต”) เปน็ หลักสตู รที่ศกึ ษา เกยี่ วกบั การสรา้ งโคช้ ที่มีความสามารถและทักษะเพ่ือเปน็ ตัวแทนของสำนักงาน ป.ป.ช. ใน การถา่ ยทอดองค์ความรู้และประสบการณเ์ กย่ี วกบั การคดิ แยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนกับ ผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความละอายต่อการทจุ รติ และหลักการจิตพอเพียงต้านทุจรติ ด้วยเทคนิคและวิธกี ารที่เหมาะสม จะช่วยใหท้ กุ ภาคส่วนมีความตระหนักรูแ้ ละเหน็ ความสำคญั ของ ปญั หาการทุจรติ อนั จะนำไปสูก่ ารเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมและเกดิ ค่านิยมต้านทุจริตให้เกดิ ขึ้นใน สังคมไทยเกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ เจตคติดา้ นการปอ้ งกนั การทุจรติ และเกดิ ทักษะการเป็นวทิ ยากร

23 ความมุ่งหมายของหลกั สูตรต้านทุจรติ ศึกษา 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชนส์ ่วนรวม 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต 3. เพ่ือใหน้ กั เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ STRONG/ จติ พอเพียงต่อตา้ นการทุจรติ 4. เพื่อใหน้ กั เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับพลเมืองและมคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม 5. เพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชน์ สว่ นรวมได้ 6. เพอ่ื ให้นกั เรยี นปฏิบตั ติ นเปน็ ผลู้ ะอายและไม่ทนต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ 7. เพอ่ื ให้นกั เรยี นปฏบิ ัตติ นเปน็ ผทู้ ี่ STRONG/ จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ รติ 8. เพอ่ื ให้นักเรียนปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 9. เพ่อื ใหน้ ักเรยี นตระหนักและเห็นความสำคัญของการต่อตา้ นและป้องกนั การทุจริต หน่วยการเรียนรู้ หลักสตู รต้านทุจรติ ศึกษา รายวิชาเพิม่ เติม “การป้องกนั การทุจรติ ” โดยเร่มิ ปลกู ฝงั ผูเ้ รียน ต้งั แต่ชัน้ ปฐมวัยจนถึงช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ กระบวนการ มี สมรรถนะทส่ี ำคญั และคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ดงั น้ันส่งิ ท่ีผู้เรยี นตอ้ งเรียนรู้ในหลกั สูตรตา้ นทจุ ริต ศกึ ษา ประกอบดว้ ย 4 หน่วยการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม ผ้เู รียนเรยี นรู้เกยี่ วกับระบบคิดฐานสิบ ระบบคดิ ฐานสอง ผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม การคดิ แยกแยะ การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ สว่ นรวมในชมุ ชน สงั คม ประเทศชาติและโลก ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ผู้เรยี นเรยี นรเู้ กีย่ วกับ ความหมายของความละอาย ความไม่ทนต่อการทจุ รติ และพฤติกรรมทแ่ี สดงออกถึงความละอายและ ความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 STRONG: จิตพอเพยี งต้านทุจริต ผเู้ รยี นเรยี นรู้เก่ียวกบั STRONG: จติ พอเพยี งต้านทุจริต ซ่ึงประกอบดว้ ย S (Sufficient): ความพอเพียง หมายถงึ ผเู้ รียนน้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์เป็นหลักในการทำงาน การดำรงชีวิต การพฒั นาตนเองและส่วนรวม รวมถงึ การป้องกนั การทุจรติ อย่างยงั่ ยนื ความพอเพยี งต่อสง่ิ ใดสิง่ หนงึ่ ของมนุษย์ แมว้ ่าจะแตกตา่ งกนั ตามพ้ืนฐาน

24 แต่การตดั สินใจว่าความพอเพียงของตนเองตอ้ งต้งั อยบู่ นความมีเหตุมีผล รวมท้งั ต้องไม่เบียดเบียน ตนเอง ผู้อ่ืน และสว่ นรวม ความพอเพยี งจึงเป็นภมู ิคุ้มกันให้บุคคลนนั้ ไมก่ ระทำการทุจรติ ซึง่ ตอ้ งให้ ความรคู้ วามเข้าใจและปลกุ ให้ตืน่ รู้ T (Transparent): ความโปรง่ ใส หมายถึง ผเู้ รียนต้องปฏิบตั งิ านบนฐานของความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ จงึ ต้องมแี ละปฏิบตั ติ ามหลกั ปฏิบัติ ระเบยี บ ขอ้ ปฏบิ ตั ิกฎหมายความโปรง่ ใส ซ่งึ ตอ้ งให้ ความรู้ความเข้าใจและปลกุ ให้ต่นื รู้ R (Realize): ความตืน่ รู้ หมายถงึ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้า ของปญั หา และภัยร้ายแรงของการทจุ ริตประพฤติมิชอบภายในชมุ ชน และประเทศความตน่ื รจู้ ะ บงั เกิดเมื่อได้พบเห็นสถานการณ์ท่ีเสี่ยงตอ่ การทจุ ริต ย่อมจะมีปฏกิ ริ ิยาเฝ้าระวังและไม่ยินยอมต่อ การทจุ รติ ในที่สุด ซึ่งตอ้ งใหค้ วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์การทุจรติ ทีเ่ กิดขน้ึ ความร้ายแรง และผลกระทบตอ่ ระดบั บุคคลและส่วนรวม O (Onward): ม่งุ ไปข้างหนา้ หมายถงึ ผูเ้ รียนมุ่งพัฒนาและปรับเปลี่ยนตนเองและ สว่ นรวมให้มีความเจรญิ กา้ วหน้าอย่างย่ังยนื บนฐานความโปร่งใส ความพอเพยี งและร่วมสร้าง วฒั นธรรมสุจริตให้เกดิ ข้ึนอยา่ งไมย่ ่อท้อ ซง่ึ ต้องมีความรูค้ วามเขา้ ใจในประเดน็ ดงั กล่าว N (Knowledge): ความรู้หมายถงึ ผู้เรียนตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนำความรู้ ไปใช้วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ไดอ้ ยา่ งถ่องแท้ ในเร่อื งสถานการณ์การทจุ ริต ผลกระทบท่มี ตี ่อ ตนเองและสว่ นรวม ความพอเพียงต้านทจุ ริต การแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ สว่ นรวมท่มี ีความสำคัญยิง่ ตอ่ การลดการทุจรติ ในระยะยาว รวมท้งั ความละอายไม่กล้าทำทจุ รติ และ ความไม่ทนเม่ือพบเหน็ ว่ามกี ารทจุ รติ เกิดข้นึ เพอ่ื สรา้ งสังคมไม่ทนต่อการทุจริต G (Generosity): ความเอ้ืออาทร หมายถงึ ผูเ้ รยี นมีความเอื้ออาทร มีเมตตา มีนำ้ ใจต่อกัน บนฐานของจติ พอเพยี งต้านทุจรติ ไม่เอื้อต่อการรับหรือการให้ผลประโยชนห์ รอื ตอ่ พวกพ้อง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ผเู้ รยี นเรยี นรเู้ กยี่ วกบั หนา้ ทีข่ อง พลเมอื ง ความรบั ผิดชอบของพลเมอื ง ต่อตนเอง ชุมชน สงั คม ประเทศชาติ และโลกการเคารพสิทธิ หนา้ ทีข่ องตนเองและผู้อน่ื การปฏิบตั ิตนตามระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย และการปฏิบัติตนเป็น พลเมืองทีด่ ีในการป้องกันการทจุ ริต แนวทางการนำหลักสูตรตา้ นทุจริตศึกษาไปใช้ ตามทค่ี ณะรฐั มนตรมี มี ตเิ ห็นชอบหลักการเกี่ยวกบั หลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา เมื่อวันท่ี 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ ร่วมกบั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ดำเนินการจัดทำหลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ชุดหลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษา สำหรบั ใช้เป็นเนอ้ื หามาตรฐานแกนกลางใหส้ ถาบันการศึกษาหรือ หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้องนำไปพิจารณาปรบั ใช้ในการเรยี นการสอนให้กบั กลุ่มเปา้ หมายครอบคลุม

25 ทุกระดับชน้ั เรียนเพ่ือปลูกฝังจิตสำนกึ ในการแยกประโยชนสว่ นบุคคลและประโยชนส์ ว่ นรวม จติ พอเพียง การไมย่ อมรับและไม่ทนต่อการทุจรติ โดยใชช้ ่ือว่า หลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา หลักสูตร การศึกษาขัน้ พื้นฐาน ไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาโดยมแี นวทางการนำไปใช้ตาม ความเหมาะสมของแต่ละโรงเรยี นดงั นี้ 1. เปดิ รายวชิ าเพิม่ เติม 2. บรู ณาการการเรยี นการสอนกับกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม 3. บูรณาการการเรียนการสอนกับกล่มุ สาระการเรียนรู้อน่ื ๆ 4. จดั ในกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน 5. จดั เป็นกิจกรรมเสริมหลกั สตู ร 6. บรู ณาการกับวิถีชวี ติ ในโรงเรียน โดยใหส้ ถานศึกษาเป็นผูพ้ จิ ารณาว่าจะดำเนนิ การในแนวทางใด หลกั การนเิ ทศการศึกษา ความหมายของการนเิ ทศการศกึ ษา วัชรา เล่าเรยี นดี (2550, หนา้ 5) กลา่ วว่า การนเิ ทศการศึกษาเปน็ การปรบั ปรุง พัฒนา คณุ ภาพการศึกษาและคุณภาพการสอนโดยเนน้ ความรว่ มมือ ความเป็นประชาธปิ ไตย และเน้นการ ให้บรกิ าร ให้ความชว่ ยเหลือ สนบั สนนุ มากกว่าการบงั คบั ใหป้ ฏบิ ัตติ าม ชารี มณศี รี (2550, หนา้ 27–28) ได้กล่าวถึงสาระของหลักการนิเทศการศึกษาไว้ดังน้ี 1).การนิเทศการศึกษาเปน็ การช่วยกระตนุ้ ประสานงานและแนะนำใหเ้ กิดความเจรญิ งอก งามแก่ครูโดยท่ัวไป 2). การนิเทศต้องอย่บู นรากฐานของประชาธปิ ไตย 3). การนเิ ทศเปน็ กระบวนการส่งเสริมสรา้ งสรรค์ 4). การนเิ ทศกับการปรับปรุงหลกั สตู รเป็นงานทเ่ี กยี่ วพนั กัน 5). การนเิ ทศคอื การสรา้ งมนุษยส์ ัมพนั ธ์ 6).การนเิ ทศมุง่ สง่ เสริมบำรุงขวัญ 7). การนิเทศมจี ุดหมายทจี่ ะขจัดช่องวา่ งระหว่างโรงเรียนและชุมชน โดยเฉพาะในชุมชน หลกั การนเิ ทศการศึกษาควรต้ังอยูบ่ นรากฐานทถี่ ูกตอ้ งตามหลักวิชาการ มีจดุ มุง่ หมายที่ชัดเจน มี การวางแผนอยา่ งเปน็ ระเบยี บเป็นประชาธปิ ไตย รบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ เปดิ โอกาสใหท้ กุ คน ได้แสดงความสามารถเชงิ สร้างสรรคท์ ั้งทางด้านความคิดและการกระทำ ใชห้ ลกั มนุษยส์ ัมพันธ์

26 รวมทัง้ ให้ขวญั และกำลังใจแก่ผู้ปฏิบตั งิ านด้วย จิรวัฒน์ รกั พว่ ง (2552, หน้า 42) ให้ความหมายของการนิเทศการศึกษาวา่ การนิเทศ การศกึ ษาเป็นการแนะนำ พาคดิ พาทำ ระหวา่ งผู้นิเทศทำการนิเทศแบบมีกระบวนการกับครผู รู้ ับ การนเิ ทศ ทำให้พฤตกิ รรมการจดั การเรยี นการสอนของครเู ปลี่ยนแปลงไปในทางท่ดี ี นักเรยี นมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นท่ีสูงข้ึน ฉววี รรณ พันวนั (2552, หนา้ 9) สรปุ ไววาการนเิ ทศการศึกษา หมายถึง กระบวนการ รว่ มกนั ทางการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน และบุคลากรทางการศึกษา เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน ให้มีคณุ ภาพและเกดิ ผลสัมฤทธิส์ งู สดุ แกผ้เู รยี น ทำใหผ้ ู้เรียนไดพฒั นาเต็มตามศักยภาพตามจุดหมาย ของหลักสตู ร นอกจากนี้ วัชรา เล่าเรียนดี (2556, หน้า 7) ไดน้ ิยามการนเิ ทศการศกึ ษาไวว้ า่ การนเิ ทศ การศกึ ษา หมายถงึ กระบวนการของผนู้ เิ ทศ ท่ีมุง่ ให้คำแนะนำและความช่วยเหลือครผู ู้สอน ในการ ปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการเรยี นการสอน เพื่อให้เกิดผลดตี ่อการเรยี นรแู้ ละพฒั นาการของ ผูเ้ รยี น ดังน้ี 1. เพ่ือพฒั นาทางด้านวชิ าการ ความรู้ นวัตกรรมทางการศึกษา หลักสตู ร นโยบายการจัด การศกึ ษามีการปรบั เปล่ยี นอยา่ งรวดเรว็ และต่อเน่ือง 2. เพ่ือให้ทันต่อการเปลย่ี นแปลงสภาวะทางการเมือง เศรษฐกจิ และสังคม มี การปรับเปล่ยี นอยูต่ ลอดเวลา 3. เพื่อแก้ไขปัญหาในการจดั การศกึ ษา เพื่อป้องกนั ความผิดพลาดในการจัดการศึกษา เพื่อกอ่ ให้เกิดความคิดสรา้ งสรรค์ในการจัดการศึกษา 4. เพ่อื ยกระดับมาตรฐานทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน. (2550, หนา้ 1) งานนิเทศการศึกษาเปน็ งานท่ี ปฏบิ ตั ิกบั ครู เพ่ือใหเ้ กดิ ผลต่อคุณภาพผู้เรียนโดยตรง โดยมีจุดมงุ่ หมายท่สี ำคัญ คือ 1. เพอ่ื ชว่ ยพัฒนาความสามารถของครูผู้สอน 2. เพื่อชว่ ยให้ครูสามารถวเิ คราะหป์ ัญหาและหาแนวทางแก้ไขปญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง 3. เพื่อช่วยให้ครูคน้ หาวิธีการทำงานด้วยตนเอง 4. เพ่อื ช่วยให้ครมู ีความศรทั ธาในวชิ าชีพของตน 5. เพอ่ื ชว่ ยให้ครูมีความกา้ วหนา้ ในวิชาชพี 6. เพอื่ ชว่ ยให้ครูมีทักษะในการปฏิบัตงิ าน เชน่ การพัฒนาหลกั สตู ร การปรบั ปรุงการเรยี น การสอน การใช้และผลติ สอ่ื การสอน การวดั และประเมินผล เป็นต้น 7. เพอ่ื ช่วยครใู ห้สามารถทำวิจยั ในช้นั เรียนได้

27 รงุ่ รชั ชดาพร เวหะชาติ (2557, หน้า 37) กล่าวถงึ ความสำคัญของการนเิ ทศการศึกษาไวด้ ังน้ี 1. การศึกษาจำเป็นตอ้ งเปลี่ยนแปลงตามสังคมทเ่ี ปน็ พลวตั ร การนเิ ทศการศึกษาเป็น เคร่ืองมือในการขบั เคลือ่ นการเปลี่ยนแปลงในองค์กรที่เก่ยี วขอ้ งกับการจัดการศกึ ษา 2. สหวทิ ยาการเปลยี่ นแปลงและพัฒนาข้ึนตามความกา้ วหน้าของโลกยุคปัจจบุ นั ส่งผลตอ่ แนวคิดในเรือ่ งการจดั กระบวนการเรียนรู้ที่เกดิ ขึน้ ใหม่ตลอดเวลา การนเิ ทศการศึกษาส่งเสรมิ ให้ครมู ี ความรู้ ตามยคุ สมยั 3. การแกไ้ ขปัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้พฒั นาไดจ้ าก ผู้เช่ียวชาญเฉพาะดา้ นเพื่อชว่ ยแกป้ ัญหาให้สาเร็จ 4. การควบคุมดูแลดว้ ยระบบการนเิ ทศการศึกษาช่วยสง่ เสริมใหก้ ารศึกษาให้เปน็ ไปตาม มาตรฐานการศึกษาของชาติ 5. การนิเทศการศึกษาช่วยลดกิจกรรมทซี่ บั ซ้อนในการจดั การศกึ ษา เพื่อสนบั สนนุ ความ แตกตา่ งด้านความสามารถระหว่างบคุ คลของครผู ูส้ อน 6. การนิเทศการศึกษาส่งเสรมิ ทกั ษะการพัฒนาวชิ าชีพของครูระหวา่ งการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ใี น สถานการณ์จริง 7. ความจำเป็นตอ่ การชว่ ยเหลือครใู นการเตรียมการจัดกิจกรรมเป็นพันธกจิ สำคัญของการ นิเทศการศกึ ษา 8. การนเิ ทศการศกึ ษาสง่ ผลต่อการทาให้ครูมีความพร้อมต่อการเปลีย่ นแปลงทางสงั คม จากการศึกษาแนวคิดของนักการศกึ ษาเกย่ี วกบั ความหมายของการนเิ ทศการศึกษา หน่วยศกึ ษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (2562, หนา้ 2) ได้ กลา่ วถึงการนเิ ทศการศึกษาไวว้ ่า เปน็ กระบวนการทีม่ ีจุดมุ่งหมายเพ่ือชว่ ยเหลือ ชแ้ี นะและพัฒนางาน ใหป้ ระสบความสำเร็จทนั ตอ่ สภาพการเปลีย่ นแปลงท่เี กดิ ขึ้น อกี ทงั้ เป็นองคป์ ระกอบสำคัญท่ี ชว่ ยเหลือสนบั สนุนกระบวนการบริหาร และกระบวนการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ จากความหมายของการนิเทศการศกึ ษาจงึ สรปุ ไดว้ ่า การนเิ ทศการศึกษา หมายถึง เป็น กระบวนการทำงานรว่ มกนั ระหวา่ งผ้นู เิ ทศกับครผู ูส้ อนอย่างมกี ระบวนการข้ันตอน เพ่ือปรับปรุงและ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยความร่วมมือระหว่างผูน้ เิ ทศและผู้รับการนเิ ทศ ทเี่ น้นการใหค้ วาม ช่วยเหลือ แนะนำ และผู้รับการนิเทศยอมรบั เพื่อให้มคี ุณภาพและประสทิ ธภิ าพของการจัดการศึกษา กจิ กรรมทใ่ี ชใ้ นการนิเทศการศึกษา กจิ กรรมต่าง ๆ ทใี่ ชใ้ นการนเิ ทศการศกึ ษาเป็นเคร่ืองมือสำคัญเพื่อสง่ เสริมและพฒั นา การปฏิบตั งิ านของครู ซ่ึงจะช่วยให้การดำเนนิ การนเิ ทศบรรลุเปา้ หมาย กจิ กรรมการนเิ ทศมีมากมาย ซ่ึงผู้นเิ ทศสามารถเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกับจุดมงุ่ หมายของการนิเทศแตล่ ะครั้ง เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์

28 สงู สุดแกค่ รแู ละนกั เรยี น ดังน้ันผ้นู ิเทศจงึ ต้องมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั กจิ กรรมการนิเทศ โดยจะ ขอนำเสนอกิจกรรมการนิเทศทส่ี ำคญั และใช้มาก 23 กจิ กรรม ดงั น้ี 1. การบรรยาย (Lecturing) เปน็ กิจกรรมทเี่ น้นการถ่ายทอดความรู้ ความเขา้ ใจของ ผูน้ เิ ทศไปสูร่ ับการนเิ ทศ ใช้เพียงการพูดและการฟังเทา่ น้ัน 2. การบรรยายโดยใชส้ อ่ื ประกอบ (Visualized lecturing) เปน็ การบรรยายทใี่ ชส้ ื่อเขา้ มา ชว่ ย เชน่ สไลด์ แผนภมู ิ แผนภาพ ฯลฯ ซึ่งจะชว่ ยให้ผู้ฟงั มีความสนใจมากยิ่งข้ึน 3. การบรรยายเป็นกลมุ่ (Panel presenting) เป็นกิจกรรมการให้ข้อมลู เป็นกลมุ่ ท่ีมี จุดเนน้ ทีก่ ารให้ข้อมลู ตามแนวความคดิ หรอื แลกเปล่ยี นความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั 4. การใหด้ ภู าพยนตรห์ รือโทรทศั น์ (Viewing film and television) เปน็ การใชเ้ ครอื่ งมอื ท่ีส่อื ทางสายตา ได้แก่ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วิดีโอเทป เพื่อทำใหผ้ ูร้ บั การนิเทศไดร้ ับความรแู้ ละเกิด ความสนใจมากขึน้ 5. การฟังคำบรรยายจากเทป วิทยุ และเครอื่ งบันทกึ เสียง (Listening to tape, radio recordings) กิจกรรมน้เี ปน็ การใช้เคร่อื งบันทึกเพ่ือนำเสนอแนวความคิดของบุคคลหน่ึงไปสู่ผู้ฟัง คนอ่นื 6. การจดั นทิ รรศการเก่ยี วกับวัสดแุ ละเครอ่ื งมือตา่ ง ๆ (Exhibiting materials and equipment) เป็นกจิ กรรมท่ีช่วยในการฝึกอบรมหรือเปน็ กิจกรรมสำหรบั งานพัฒนาส่ือต่าง ๆ 7. การสงั เกตในชั้นเรียน (Observing in classroom) เป็นกจิ กรรมที่ทำการสงั เกต การปฏิบัติงานในสถานการณ์จริงของบุคลากร เพ่อื วเิ คราะหส์ ภาพการปฏบิ ัติงานของบุคลากร ซงึ่ จะชว่ ยให้ทราบจดุ หรือจดุ บกพร่องของบุคลากร เพ่ือใชใ้ นการประเมินผลการปฏิบัติงานและใชใ้ น การพัฒนาบุคลากร 8. การสาธติ (Demonstrating) เป็นกิจกรรมการใหค้ วามรทู้ ม่ี ุง่ ให้ผู้อื่นเหน็ กระบวนการ และวธิ ีการดำเนนิ การ 9. การสมั ภาษณแ์ บบมีโครงสรา้ ง (Structured interviewing) เปน็ กิจกรรมสัมภาษณ์ ที่กำหนดจุดประสงค์ชดั เจนเพ่ือให้ได้ข้อมลู ตา่ ง ๆ ตามต้องการ 10. การสัมภาษณเ์ ฉพาะเร่ือง (Focused interviewing) เป็นกจิ กรรมการสัมภาษณ์ แบบก่ึงโครงสรา้ ง โดยจะทำการสัมภาษณเ์ ฉพาะโรงเรยี นท่ีผตู้ อบมคี วามสามารถจะตอบได้เท่านั้น 11. การสมั ภาษณแ์ บบไม่ช้ีนำ (Non-directive interview) เป็นการพูดคยุ และอภปิ ราย หรอื การแสดงแนวความคิดของบุคคลที่สนทนาดว้ ย ลกั ษณะการของการสมั ภาษณจ์ ะสนใจกบั ปญั หา และความสนใจของผรู้ บั การสัมภาษณ์ 12. การอภปิ ราย (Discussing) เป็นกิจกรรมท่ผี ูน้ ิเทศและผู้รบั การนเิ ทศปฏิบัตริ ว่ มกนั ซง่ึ เหมาะสมกับกลุ่มขนาดเลก็ มกั ใช้ร่วมกบั กิจกรรมอ่ืน ๆ

29 13. การอ่าน (Reading) เป็นกิจกรรมที่ใช้มากกิจกรรมหนึ่ง สามารถใช้ได้กบั คน จำนวนมาก เชน่ การอา่ นข้อความจากวารสาร มกั ใชร้ ว่ มกับกจิ กรรมอ่ืน 14. การวเิ คราะหข์ ้อมลู และการคิดคำนวณ (Analyzing and calculating) เปน็ กจิ กรรม ทใ่ี ช้ในการติดตามประเมินผล การวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารและการควบคมุ ประสิทธภิ าพการสอน 15. การระดมสมอง (Brainstorming) เป็นกจิ กรรรมทีเ่ กี่ยวข้องกบั การเสนอแนว ความคิด วธิ ีการแกป้ ัญหาหรอื ใชข้ ้อแนะนำตา่ ง ๆ โดยให้สมาชิกแต่ละคนแสดงความคิดโดยเสรี ไม่มี การวเิ คราะหห์ รือวิพากษ์วจิ ารณแ์ ต่อย่างใด 16. การบันทึกวิดโี อและการถา่ ยภาพ (Videotaping and photographing) วดิ ีโอเทป เป็นเครื่องมอื ทแี่ สดงให้เห็นรายละเอยี ดทั้งภาพและเสียง ส่วนการถา่ ยภาพมีประโยชน์มากในการจัด นทิ รรศการ กิจกรรมนมี้ ปี ระโยชน์ในการประเมินผลงานและการประชาสมั พันธ์ 17. การจดั ทำเคร่ืองมือและแบบทดสอบ (Instrumenting and testing) กิจกรรมนี้ เกย่ี วข้องกับการใชแ้ บบทดสอบและแบบประเมนิ ตา่ ง ๆ 18. การประชุมกลุ่มยอ่ ย (Buzz session) เปน็ กจิ กรรมการประชมุ กลุ่มเพ่ืออภิปรายใน หวั ขอ้ เรอื่ งที่เฉพาะเจาะจง มุ่งเนน้ การปฏสิ มั พันธภ์ ายในกลุ่มมากทส่ี ุด 19. การจัดทัศนศึกษา (Field trip) กิจกรรมนเี้ ปน็ การเดินทางไปสถานท่ีแห่งอ่ืน เพ่ือ ศกึ ษาดงู านท่ีสัมพนั ธก์ บั งานที่ตนปฏบิ ัติ 20. การเย่ยี มเยยี น (Intervisiting) เปน็ กิจกรรมท่ีบุคคลหน่ึงไปเยยี่ มและสังเกต การทำงานของอีกบุคคลหนง่ึ 21. การแสดงบทบาทสมมติ (Role playing) เปน็ กิจกรรมที่สะท้อนให้เหน็ ความรู้สึก นึกคิดของบุคคล กำหนดสถานการณ์ข้ึนแล้วให้ผทู้ ำกิจกรรมตอบสนองหรอื ปฏบิ ัติตนเองไปตาม ธรรมชาตทิ ่คี วรจะเป็น 22. การเขียน (Writing) เปน็ กิจกรรมที่ใชเ้ ปน็ สื่อกลางในการนิเทศเกือบทุกชนิด เช่น การเขียนโครงการนิเทศ การบนั ทกึ ข้อมูล การเขียนรายงาน การเขียนบันทึก ฯลฯ 23. การปฏิบัติตามคำแนะนำ (Guided practice) เปน็ กจิ กรรมทเี่ น้นการปฏิบตั ใิ นขณะท่ี ปฏิบัติมีการคอยดูแลช่วยเหลือ มกั ใช้กับรายบคุ คลหรอื กลุ่มขนาดเลก็ กระบวนการในการนิเทศ (Supervisory process) กระบวนการในการนเิ ทศการศึกษา หมายถึง แบบแผนของการนเิ ทศการศึกษาทจี่ ัด ลำดับ ไวอ้ ย่างต่อเนื่อง เปน็ ระเบยี บแบบแผน มีลำดับข้นั ตอนในการดำเนนิ งานไว้ชัดเจน มีเหตุผลและ สามารถดำเนินการได้ โดยมนี ักการศึกษาหลายท่านไดน้ ำเสนอกระบวนการในการนิเทศไวห้ ลายทา่ น แตใ่ นทีน่ ้ีขอนำเสนอกระบวนการนิเทศท่สี ำคัญ ดงั น้ี กระบวนการนเิ ทศของ สงัด อุทรานนั ท์ (2530 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรยี นด,ี 2550,

30 หน้า 21-22) ซ่ึงเปน็ กระบวนการนิเทศทส่ี อดคล้องกับสภาพสังคมไทย 5 ข้ันตอน เรียกวา่ “PIDER” ดงั น้ี 1. การวางแผน (P-Planning) เป็นข้นั ตอนท่ีผบู้ รหิ าร ผนู้ ิเทศและผูร้ บั การนเิ ทศจะทำ การประชมุ ปรึกษาหารือ เพื่อให้ได้มาซึง่ ปัญหาและความตอ้ งการจำเปน็ ที่ต้องมีการนิเทศ รวมทง้ั วางแผนถงึ ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิเกย่ี วกับการนเิ ทศที่จัดข้นึ 2. ให้ความรู้กอ่ นดำเนินการนเิ ทศ (Informing-I) เป็นขั้นตอนของการให้ความรู้ ความเข้าใจถึงสิง่ ทจี่ ะดำเนินการวา่ ตอ้ งอาศัยความรู้ ความสามารถอย่างไรบ้าง จะมีขัน้ ตอนใน การดำเนินการอย่างไร และจะดำเนินการอย่างไรใหผ้ ลงานออกมาอย่างมีคณุ ภาพ ขนั้ ตอนน้ีจำเป็น ทุกครัง้ สำหรับเร่ิมการนิเทศที่จัดข้นึ ใหม่ ไมว่ ่าจะเปน็ เรื่องใดก็ตาม และเม่ือมคี วามจำเป็นสำหรบั งานนเิ ทศทีย่ ังเป็นไปไม่ได้ผล หรอื ไดผ้ ลไมถ่ ึงข้ันท่ีพอใจ ซ่ึงจำเป็นท่ีจะต้องทบทวนใหค้ วามรู้ใน การปฏิบัตงิ านท่ีถกู ต้องอกี คร้ังหน่งึ 3. การดำเนนิ การนิเทศ (Doing-D) ประกอบด้วยการปฏิบัติงาน 3 ลักษณะ คือ การปฏบิ ัติงานของผูร้ บั การนิเทศ (ครู) การปฏิบตั ิงานของผู้ให้การนิเทศ (ผูน้ ิเทศ) การปฏิบตั ิงานของ ผสู้ นบั สนนุ การนิเทศ (ผ้บู รหิ าร) 4. การสร้างเสรมิ ขวญั กำลงั ใจแกผ่ ู้ปฏิบตั ิงานนิเทศ (Reinforcing-R) เปน็ ขน้ั ตอนของ การเสรมิ แรงของผบู้ ริหาร ซึง่ ให้ผรู้ บั การนิเทศมคี วามมน่ั ใจและบงั เกิดความพงึ พอใจในการปฏิบตั งิ าน ข้นั นอ้ี าจดำเนนิ ไปพรอ้ ม ๆ กับผรู้ บั การนเิ ทศทีก่ ำลังปฏิบตั ิงานหรือการปฏบิ ัติงานได้เสร็จส้นิ แลว้ ก็ได้ 5. การประเมินผลการนเิ ทศ (Evaluating-E) เปน็ ขนั้ ตอนที่ผ้นู เิ ทศนำการประเมินผล การดำเนินงานทีผ่ า่ นไปแล้วว่าเปน็ อยา่ งไร หลังจากการประเมินผลการนเิ ทศ หากพบวา่ มีปญั หาหรือ มีอปุ สรรคอย่างใดอย่างหน่ึง ทที่ ำใหก้ ารดำเนนิ งานไม่ได้ผล สมควรที่จะต้องปรับปรุง แก้ไข ซ่ึงการปรับปรุงแก้ไขอาจทำได้โดยการใหค้ วามรู้เพม่ิ เติมในเร่ืองที่ปฏบิ ตั ิใหมอ่ ีกคร้ัง ในกรณีทผี่ ลงาน ยงั ไม่ถึงขนั้ น่าพอใจ หรือไดด้ ำเนินการปรับปรงุ การดำเนินงานท้ังหมดไปแล้ว ยงั ไม่ถึงเกณฑ์ทต่ี ้องการ สมควรทจ่ี ะต้องวางแผนรว่ มกันวเิ คราะห์หาจดุ ท่ีควรพฒั นา หลังใชน้ วัตกรรมดา้ นการเรยี นรูเ้ ข้ามา นเิ ทศ กระบวนการนเิ ทศโดยใชว้ งจรของเดมมงิ (Circle Deming Cycle) การนำวงจรเดมมงิ (Deming circle) หรือโดยท่ัวไปนยิ มเรียกกันว่า P-D-C-A มาใชใ้ นการดำเนนิ การนเิ ทศการศกึ ษา โดย มีขน้ั ตอนทส่ี ำคญั 4 ขนั้ ตอน คอื การวางแผน (P-Planning) การปฏิบตั ิตามแผน (D-Do) การตรวจสอบ (C-Check) และการประเมิน สรปุ ผล และปรับปรงุ แกไ้ ข (A-Act) สจุ นิ ต์ ภญิ ญานลิ (2561, หนา้ 12) ได้ใช้กระบวนการ PDCA ในการดำเนนิ การมีขัน้ ตอน ของการนิเทศที่สำคญั ดังน้ี ขัน้ ตอนที่ 1 ดำเนินการวางแผน เปน็ ข้ันเตรียมการนิเทศโดยศกึ ษาข้อมลู สารสนเทศ

31 ประมวลสภาพปัญหาและความต้องการในการพฒั นาการศึกษา กำหนดจุดมงุ่ หมายการนเิ ทศ จัดทำ แผนการนเิ ทศ กำหนดเน้ือหาการนเิ ทศ ออกแบบการนิเทศ สอื่ นิเทศ จดั เตรยี มเครื่องมือนเิ ทศ กำหนดกรอบการประเมนิ วธิ กี ารตดิ ตามและการรายงานผลการนเิ ทศ และขออนุมตั โิ ครงการ งบประมาณ ขน้ั ตอนท่ี 2 ดำเนนิ การตามแผนนิเทศ โดยประชมุ เพื่อทบทวนจุดมงุ่ หมายการนเิ ทศ แบ่งหน้าทใ่ี นการนเิ ทศ ประสานงานบคุ คลท่ีเกีย่ วข้อง และนเิ ทศตามแผนดว้ ยรูปแบบ เทคนคิ วธิ กี าร ทก่ี ำหนด ขั้นตอนท่ี 3 ดำเนินการตรวจสอบผลการปฏบิ ัติงานว่าเปน็ ไปตามจุดมงุ่ หมายหรอื ไม และ มีสภาพการจดั การเรียนการสอนทค่ี รปู ฏบิ ตั ิจรงิ ปญั หา อปุ สรรค ที่เปน็ ข้อมูลสารสนเทศท่ตี อ้ ง ตรวจสอบดใู หม่ แลว้ ปรบั ปรุงการนิเทศตอไป ขน้ั ตอนที่ 4 การประเมนิ สรปุ ผล นำผลการประเมินมาปรับปรงุ เม่อื สน้ิ สุดผลการนิเทศ แตล่ ะคร้งั ควรรายงานผลให้ผู้บังคบั บัญชาทราบโดยทำเปน็ บนั ทกึ ข้อความ หรือแบบรายงานที่กำหนด ไวในหัวขอ้ ประเดน็ ต่าง ๆ เช่น ผนู้ ิเทศ ผ้รู ับการนเิ ทศ วัน เดือน ปที่นิเทศ กจิ กรรมที่นเิ ทศ เนอ้ื หา สาระทน่ี ิเทศ การประเมนิ ผลของผูรบั การนิเทศ และข้อควรพฒั นา แต่ละขน้ั ตอนมกี ิจกรรมสำคญั ดงั น้ี 1. การวางแผน (P-Plan) 1.1 การจดั ระบบข้อมูลสารสนเทศ 1.2 การกำหนดจุดพฒั นาการนิเทศ 1.3 การจัดทำแผนการนเิ ทศ 1.4 การจัดทำโครงการนิเทศ 2. การปฏบิ ตั ิงานตามแผน (D-Do) 2.1 การปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนตามแผน/ โครงการ 2.2 การกำกับตดิ ตาม 2.3 การควบคุมคณุ ภาพ 2.4 การรายงานความก้าวหน้า 2.5 การประเมินความสำเร็จเป็นระยะ ๆ 3. การตรวจสอบ (C-Check) 3.1 กำหนดกรอบการประเมิน 3.2 จดั หา/ สร้างเคร่ืองมือประเมนิ 3.3 เก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.4 วิเคราะห์ข้อมูล

32 4. การประเมิน สรปุ ผล และการนำผลการประเมินมาปรับปรงุ งาน (A-Act) 4.1 สรปุ ผลการประเมิน 4.2 จัดทำรายงานผลการนิเทศ 4.3 นำเสนอผลการนเิ ทศและเผยแพร่ 4.4 พัฒนาต่อเน่ือง การนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร หลักการสำคญั ของการนเิ ทศแบบกัลยาณมิตร ซ่งึ จะชว่ ยทำให้กระบวนการนิเทศประสบ ผลสำเรจ็ ได้จรงิ ผู้นเิ ทศทีม่ ลี ักษณะความเปน็ กลั ยาณมิตร คือ มคี วามเป็นมิตร ชวนใหเ้ ขา้ ไปหารอื ไตถ่ าม ขอคำปรกึ ษา น่าเคารพ ทำใหผ้ ้รู ับการนิเทศเกดิ ความรูส้ ึกอบอุ่นใจ เป็นท่ีพึ่งได้ นา่ ยกยอ่ งใน ฐานะเปน็ ผูท้ รงคุณวุฒทิ มี่ ีความรูแ้ ละภมู ิปัญญาแท้จริง รู้จกั พูดให้ไดผ้ ล รู้จักชแ้ี จงให้เข้าใจง่าย อดทน ตอ่ ถ้อยคำ พร้อมท่ีจะรับฟงั คำปรึกษา คำเสนอแนะ และคำวิพากษ์วจิ ารณ์ สามารถอธบิ ายเร่อื งท่ี ยุ่งยากและซับซ้อนใหเ้ ขา้ ใจได้ และให้เรยี นรู้เร่ืองราวทล่ี ึกซ้ึงย่ิงขึน้ ไปได้ การนิเทศแบบกัลยาณมติ ร จึงเป็นการช้แี นะและให้ความช่วยเหลือ จุดประสงคข์ องการนิเทศแบบกัลยาณมิตรนี้ ประกอบดว้ ย การเปดิ ใจ การให้ใจ การรว่ มใจ ตง้ั ใจ สร้างสรรค์คุณภาพ และเงื่อนไขที่ไม่เน้นปรมิ าณงาน แต่เน้นคุณภาพ รปู แบบ การนิเทศจะมีลักษณะของความสัมพนั ธท์ างใจเขา้ มาเกี่ยวข้อง โดยจะเป็นการใหก้ ำลงั ใจ ช่วยเหลือ กันอย่างจรงิ ใจเพ่ือให้งานดำเนนิ ไปในทิศทางท่ีถูกต้องตามความตอ้ งการของผนู้ ิเทศและผไู้ ดร้ บั การนิเทศร่วมกัน การนิเทศแบบกัลยาณมิตร จึงเป็นการพัฒนาครูในลักษณะของ INN ซง่ึ เปน็ สูตรของ ศาสตราจารย์นายแพทยป์ ระเวศ วะสี คอื Information/ Node/ Network (สุมน อมรวิวฒั น์, 2547, หน้า 6) การพฒั นา Information คือ พัฒนาความรู้ ข่าวสารขอ้ มลู ต่าง ๆ ใหแ้ ก่ครูของเรา การสร้าง Node คือ จุดที่จะกระจายความรูค้ วามสามารถตอ่ จากเรา ในโรงเรียนต้องมี Node ท่จี ะชว่ ยแบ่งเบา ภาระ เช่น กลมุ่ ครทู ช่ี ำนาญในเรือ่ งต่าง ๆ พร้อมทีจ่ ะกระจายการปฏริ ปู การเรยี นรู้ภายในโรงเรยี น ตอ่ ไป การสรา้ ง Network คือ การขยายเครอื ข่ายของเราออกไปให้มาก การนเิ ทศแบบกัลยาณมิตรเน้น 5 กระบวนการสำคญั ดังน้ี 1. กลั ยาณมิตรนเิ ทศเน้นการนเิ ทศคนไมใ่ ช่นเิ ทศกระดาษ การนเิ ทศครูในโรงเรียนเปน็ การนิเทศคนไม่ใช่การนิเทศกระดาษและอุปกรณ์ เพราะฉะน้นั การนิเทศแบบกลั ยาณมิตรจะเกิดขึ้น ไมไ่ ด้ ถ้าผูน้ เิ ทศไม่สนใจครู ไม่สนใจนกั เรียน การดำเนนิ การควรมกี ารพูดคยุ กับครู สนทนาเปน็ กลมุ่ หรือสนทนาอย่างไม่เป็น ทางการเปน็ การนิเทศคนแล้วเราจะได้ปัญหาและแนวทางแกไ้ ขมากกวา่ นเิ ทศกระดาษ

33 2. กัลยาณมิตรนิเทศ เป็นกระบวนการ “ให้ใจ” และ “รว่ มใจ” การนิเทศคนจะนเิ ทศ ไม่ได้ ถา้ ไม่ได้ใจของเขา เพราะถ้าจำใจแล้วจำเจจะนา่ เบ่ือ อะไรก็ ตามท่ีจำใจทำแลว้ ไม่เกดิ ฉนั ทะ เพราะฉะนน้ั หนา้ ทขี่ อง ผู้นเิ ทศ คือ ทำอย่างไรจะใหค้ รมู ีใจ ไมท่ ำเพราะโดนส่ังใหท้ ำ เพราะฉะนน้ั สง่ิ แรก คอื ทำอย่างไรจงึ จะไดใ้ จเขามา แลว้ ครูทำงานสำเร็จ เป็นความสำเรจ็ จากการรว่ มใจของทุกคน 3. กลั ยาณมติ รเริ่มต้นที่ “ศรัทธา” การท่จี ะได้ใจต้องสร้างศรทั ธา ศรัทธานน้ั สร้างไมย่ าก พอเร่ิมยมิ้ ให้กนั ศรัทธาจะเกิดข้ึน ใช้ผัสสะทัง้ 6 ใหไ้ ด้เห็น ให้ได้ยนิ ให้ไดส้ ัมผัสด้วยกาย วาจา ใจ คอื เปน็ การสรา้ งรอยยิ้มใหเ้ กิดข้ึน อย่างไรกต็ ามเอาน้ำขุ่นไวใ้ นนำ้ ใสไว้นอก แสดงความเอาใจใส่ สรา้ ง ความไว้วางใจ สรา้ งความเช่ือมั่นในทางเสริมแรงกนั 4. กระบวนการกัลยาณมติ รนิเทศ เนน้ การสรา้ งสังคมการเรียนรู้ ผู้นเิ ทศทฉี่ ลาดจะ พยายามค้นหาวา่ ครแู ต่ละคนเขามีดีอะไร แลว้ ใชส้ ิง่ ทีเ่ ขาดีมาแลกเปล่ียนประสบการณ์กนั จะช่วยสรา้ ง ความมั่นใจใหเ้ ขาทีละนดิ ๆ ให้เขาได้มีโอกาสแสดง มโี อกาสคดิ เน้นการส่อื สารกันอยา่ งสมำ่ เสมอ รับฟังความคิดเหน็ มีการสื่อสารกันอย่างเปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการจะทำให้การนิเทศมชี วี ิตชีวา 5. กระบวนการกลั ยาณมิตรนิเทศมาจากฐานปญั ญาธรรม ฐานเมตตาธรรม และฐาน ความเป็นจรงิ ในชีวิต ดังน้ันการนิเทศการศึกษารวมท้งั การนิเทศภายใน ควรจัดเป็นกจิ กรรมดังนี้ 5.1 เป็นกิจกรรมท่ีช่วยให้ผูร้ ับการนเิ ทศ มเี จตคติทดี่ ีต่อวชิ าชีพครู มีขวญั กำลงั ใจ และ มีความรคู้ วามสามารถทีจ่ ะปฏิบัตงิ านให้บรรลตุ ามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียนและมาตรฐานการ เรยี นรทู้ ี่กำหนด รักษาไวแ้ ละยกระดับคณุ ภาพใหส้ งู ขึ้นอยเู่ สมอ 5.2 เป็นกจิ กรรมทด่ี ำเนนิ ไปอยา่ งเป็นระบบ และรองรับด้วยข้อมลู สารสนเทศ 5.3 เป็นกิจกรรมท่ีอยใู่ นบรรยากาศของความร่วมมือร่วมใจ เขา้ ใจอนั ดตี ่อกันระหว่างผู้ นิเทศและผรู้ ับการนเิ ทศ 5.4 เปน็ กิจกรรมทเี่ คารพในความแตกต่างระหว่างบุคคลของผูร้ บั การนเิ ทศ 5.5 เปน็ กิจกรรมที่ดึงศักยภาพของผูร้ บั การนเิ ทศมาใช้และใหก้ ารยกย่อง 5.6 เปน็ กจิ กรรมทีช่ ว่ ยใหผ้ ูร้ ับการนเิ ทศพฒั นาตนเองให้อยู่ในระดบั มาตรฐานวิชาชพี หรอื ระดบั คุณภาพของคุรสุ ภาให้สูงข้ึน และรกั ษาไว้ได้ ดงั น้นั กระบวนการนเิ ทศการศึกษาจะต้องประกอบดว้ ย การวางแผนรว่ มกัน การจดั ทำ โครงการตามประเดน็ ปัญหา และความสนใจท่จี ะพัฒนาการดำเนนิ งานตามแผน การติดตามผล หรอื แนะนำ และการตรวจสอบประเมินผลการนิเทศ โดยไม่ไดม้ ุ่งเน้นการประเมินผลทีเ่ กิดกบั ผู้เรยี น โดยตรง แต่ใหค้ วามสำคัญตอ่ ผลการนิเทศทีเ่ กิดขึน้ กับครูเป็นสำคญั แต่ในการนิเทศการศึกษาเป็น การนิเทศทมี่ ีเป้าหมายเพื่อปรับปรงุ และพฒั นาการเรยี นการสอนในชัน้ เรียนน้นั มคี วามซับซอ้ น มากกวา่ เพราะต้องวเิ คราะห์การสอนของครูและการเรียนของนักเรยี น มีการสังเกตการณสอนใน

34 ช้นั เรยี น เพื่อมงุ่ ปรบั ปรุงพฒั นาประสิทธภิ าพการสอนของครูและผลการเรียนของนักเรียนเป็นสำคัญ ด้วย จงึ ควรต้องมีการประเมินผลการเรยี นรูของนักเรยี น เพราะเป็นตวั บ่งช้ีหนงึ่ ของสมรรถภาพ การสอนของครทู ี่มีการพฒั นาข้ึน การนิเทศแบบมสี ่วนรว่ ม ความหมายของการมีสว่ นร่วม การนเิ ทศแบบมสี ่วนร่วมเป็นการใหค้ วามร่วมมอื กนั ระหว่างผนู้ ิเทศและผรู้ ับการนเิ ทศซง่ึ มี นกั การศึกษาได้กำหนดความหมายของการนเิ ทศแบบมสี ว่ นรว่ มไว้ดงั นี้ ลมโชย อยุ ยะพัฒน์ (2550, หนา้ 100) กลา่ ววา่ การนิเทศแบบมสี ่วนรว่ ม เป็นกระบวนการ ท่เี กิดจากการรว่ มมือกนั ในการพัฒนาประสทิ ธิภาพการปฏิบตั งิ านระหว่างผนู้ เิ ทศเละผรู้ ับการนิเทศ โดยมกี ารกำหนดเป้าหมาย การวางแผน การกำหนดกิจกรรมและวิธกี ารดำเนินงานร่วมกัน ตาม ความต้องการท้ังในระดับบุคคลและกลมุ่ บุคคล เพ่ือการบรรลปุ ระสทิ ธภิ าพของงานท่ีกำหนดไว้ วัชรา เล่าเรยี นดี (2550, หนา้ 137 อ้างองิ จาก Glickman, 1981, p. 6) กล่าวว่าการนิเทศ แบบมีสว่ นรว่ ม เป็นการนิเทศแบบร่วมมอื ท้งั ผูน้ ิเทศและครรู ว่ มกนั ตัดสินใจในวิธกี ารแกป้ ัญหาและ การปฏบิ ัติงานตลอดเวลา ท้ังครูและผู้นเิ ทศจะให้ข้อเสนอแนะแก่กนั และกันเพอื่ รว่ มกันพิจารณา ข้อตกลงรว่ มกนั ในการปฏบิ ัติ พนิดา แกว้ สองมา (2554, หนา้ 63) กล่าวว่า การนเิ ทศแบบมสี ว่ นร่วมเป็นการนเิ ทศท่ี ผ้นู ิเทศและผู้รับการนเิ ทศมสี ว่ นร่วมในการดำเนินงานอยา่ งเป็นระบบตามบทบาทและหน้าท่ีตัง้ แต่ การวางแผนการพฒั นาการกำหนดจุดม่งุ หมายและเป้าหมาย การลงมอื ปฏบิ ตั ิการวางแผนพัฒนา การประเมินผลและปรบั ปรงุ เผยแพร่ ผลงาน จากทกี่ ล่าวมาข้างต้น การนิเทศแบบมสี ่วนร่วมเป็นการนเิ ทศท่ผี นู้ ิเทศและผรู้ ับการนิเทศมี การดำเนนิ งานร่วมกนั ทุกขน้ั ตอน ต้ังแต่กระบวน วางแผนการนเิ ทศ ร่วมจดั ทำเคร่ืองมือนิเทศ ดำเนนิ การนเิ ทศ ร่วมจดั รว่ มทำร่วม รว่ มนิเทศประเมินผล เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลสำเรจ็ ของงานบรรลตุ าม วัตถุประสงค์ท่ตี ้องการ โดยอาศยั บคุ คลทุกฝ่ายท่ีเกีย่ วข้องในการนเิ ทศติดตาม ประเมินผลใน ทุกข้นั ตอน จนทำให้งานประสบผลสำเร็จลุลว่ งไปไดด้ ้วยดี ความมุ่งหมายของการนิเทศแบบมสี ่วนร่วม 1. เพื่อใหส้ มาชกิ หรือครูผู้สอนทุกคนได้มสี ่วนร่วมในการบริหารและการนิเทศภายใน โรงเรียน เช่น การวางแผนจัดทำโครงการตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น การพัฒนาหลกั สูตร การจดั กระบวนการเรยี นการสอน เปิดโอกาสให้ทุกคนเขา้ ร่วมกจิ กรรมเพือ่ ใหก้ ารปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ลตามทค่ี าดหวัง

35 2. เพ่ือพัฒนาศักยภาพหรอื ความสามารถของบุคคลในการพฒั นาตนเองใหม้ ีโอกาส แสดงออกพฒั นาความรู้ เจตคติและทักษะในอาชพี ทำให้เกิดผลดแี กห่ นว่ ยงานควบคุมการทำงาน สรา้ งภาวะผ้นู ำใหเ้ กิดขึน้ ภายในโรงเรยี นและสามารถทำงานแทนกนั ได้ 3. เพ่อื ใหร้ ู้จกั ใช้ทรัพยากรที่มมี ีอยู่อย่างจำกัดภายในโรงเรียนใหเ้ กิดประโยชน์อันสงู สุดต่อ หนว่ ยงาน เช่น กำลังคน งบประมาณ อุปกรณ์และเครอ่ื งมือ และอาคารสถานที่ 4. เพอ่ื ปรบั ปรงุ คุณภาพของผลผลติ ให้สูงขนึ้ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นสงู ข้นึ หลังจากประเมินผลแล้วนักเรียนซ่ึงเปน็ ผลผลิตมคี วามรู้ มเี จตติมีทักษะและมีคุณธรรมเปลีย่ นแปลง พฤติกรรมในทางทีด่ ีขึน้ เปา้ หมายในทางทดี่ ขี ึ้น เป้าหมายของการจดั การเรียนการสอนในปัจจบุ ัน ต้องการให้นักเรยี นมีคุณภาพ การบริหารและการนเิ ทศภายในเน้นกระบวนการเพื่อนำไปสเู่ ป้าหมาย ดังกลา่ วการมีสว่ นรว่ มจงึ เป็นวธิ กี ารช่วยพัฒนาคุณภาพนักเรียนตามนโยบายการจัดการศึกษา 5. เพ่อื สรา้ งเสริมขวญั และกำลังใจในการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากรเละอาจารยผ์ ้สู อน เนอื่ งจากการมสี ว่ นรว่ มในการคดิ การปฏบิ ัติ และการแก้ปัญหารว่ มกนั ทำให้ทกุ คนได้รบั ความพึงพอใจขวัญและกำลงั ดีขึ้น การตดั สนิ ใจในการแกไ้ ขปญั หามาจากความคิดหลาย ๆ คน ทุกคน รับรู้และเขา้ ใจพยายามหาแนวทางร่วมกันก่อใหเ้ กดิ ความสามคั คี ความผูกพันต่อโรงเรยี นตอ้ งการ ทำงานเพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของโรงเรยี น อาจารย์ทุกคนมีความสมั พนั ธก์ ันเปน็ อย่างดี สรปุ ไดว้ า่ การนิเทศแบบมสี ว่ นรว่ มเปน็ วิธีการทางประชาธิปไตย เคารพในความสามารถ ความอิสระเชิงวิชาการ ความรบั ผดิ ชอบตามหนา้ ที่และบทบาทของตนเอง มีจดุ มุ่งหมาย เพ่อื พัฒนา คณุ ภาพของกระบวนการเรยี นการสอนและทำให้นักเรยี นซึ่งเป็นผลผลติ ของระบบโรงเรยี นเกดิ ประสิทธิผล รปู แบบของการนเิ ทศแบบมีสว่ นรว่ ม อญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ (2553) กล่าวถงึ รปู แบบของการนิเทศแบบมีส่วนรว่ มวา่ มี 6 ข้ันตอน ดงั น้ี ไดแ้ ก่ การเตรยี มการนเิ ทศ รูปแบบและแนวทางการนเิ ทศ เคร่ืองมือประกอบการนิเทศ ดำเนินการนิเทศ การประชุม และการประเมนิ ผล 1. การเตรียมการนเิ ทศ กอ่ นท่ีจะดำเนินการนเิ ทศตอ้ งชีแ้ จงนโยบาย แผนงาน โครงการท่จี ะต้องปฏบิ ัติ มอบหมาย งานในหนา้ ท่ี ภารกิจท่ีจะต้องดำเนินการ ศึกษาสภาพความพรอ้ ม บรรยากาศ ขอ้ มูลและอนื่ ๆ โดยมี ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติ ดังน้ี 1.1 จัดต้งั คณะทำงาน จดั ทำนโยบาย แผนงานและโครงการ ทำในรูปของแผนปฏบิ ัติ การประจำปี 1.2 ชแี้ จงใหบ้ คุ ลากรทราบถึงนโยบาย เปา้ หมาย วตั ถุประสงค์ วิธีการดำเนนิ การ การติดตามและประเมนิ ผล ทำความเข้าใจรว่ มกนั ระหวา่ งผู้ทนี่ เิ ทศและผู้รับการนิเทศ เพื่อให้

36 การปฏบิ ตั ิหน้าท่ตี ามภารกิจเป็นไปในแนวเดียวกัน 1.3 ผู้รบั การนิเทศและผนู้ ิเทศเตรยี มข้อมูล ปญั หาของตนเพ่ือร่วมกันวางแผนงาน มอบหมายงานพิจารณาผ้รู ับผิดชอบงานในหนา้ ท่ี โดยคำนงึ ถงึ ความรู้ ความสามารถ ความพึงพอใจ ของผปู้ ฏิบตั เิ พ่อื แสดงถึงการบริหารงานแบบประชาธปิ ไตย เปิดโอกาสใหท้ ุกคนไดแ้ สดงความคดิ เหน็ แสดงเหตุผลหรือความจำเป็น 1.4 นำผลการประชมุ เป็นบรรทดั ฐานใช้เปน็ แนวทางการปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ต้อง ชัดเจนใน การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ 1.5 การจดั การเกี่ยวกบั ทรัพยากร โดยเริ่มตน้ จากส่ิงที่มอี ยู่แล้วค่อย ๆ ดำเนินการ ทีละขัน้ เปลี่ยนแปลงและปรับปรุงทลี ะน้อยแบบค่อยเป็นค่อยไป 1.6 ตงั้ วตั ถปุ ระสงค์ในการนเิ ทศให้ชัดเจน เพื่อบรรลุจุดหมายรว่ มกนั 1.7 ส่งเสริมความคิดริเรม่ิ และสรา้ งสรรค์ เพื่อให้ทุกคนไดแ้ สดงออกตามความถนัดและ ตามความสามารถ อนั จะเป็นประโยชนต์ ่อสว่ นรวม 1.8 รักษามารยาทในการนิเทศ พูดจาไพเราะ มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ 2. รูปแบบและแนวทางในการนิเทศ เมอื่ มโี ครงการทจ่ี ะดำเนินการนิเทศ ในขนั้ ท่ี 1 แล้ว ผูน้ เิ ทศจะต้องดำเนนิ การนเิ ทศ เพอ่ื ท่จี ะได้เกิดการพัฒนา 4 ประการ คือ เพ่ือการพฒั นาคน เพือ่ พฒั นางาน เพื่อสรา้ งการประสาน สมั พนั ธ์ และเพอื่ ขวัญและกำลังใจ การนิเทศการศึกษาที่ดจี ะต้องมีจดุ หมายท้งั 4 ประการดังกลา่ ว ดังน้นั ผนู้ ิเทศและผูร้ ับการนเิ ทศจึงตอ้ งมีภารกจิ รว่ มกัน เพ่อื ใหก้ ารนิเทศเกดิ ประโยชน์สงู สุด และผ้รู บั การนเิ ทศเกิดความพงึ พอใจในการนิเทศ ดำเนินการ ดังนี้ 2.1 ซกั ซอ้ มทำความเขา้ ใจกันระหว่างผ้มู หี น้าที่นเิ ทศและผรู้ บั การนิเทศ 2.2 ปฏบิ ตั ิการเลือกเครื่องมือการนิเทศตามรปู แบบการนเิ ทศทวั่ ไปและกิจกรรม การนเิ ทศ เพื่อให้การปฏบิ ตั หิ นา้ ทีต่ ามภารกจิ เปน็ ไปในแนวเดยี วกันกอ่ นที่จะดำเนนิ การนิเทศ 2.3 ผนู้ เิ ทศและผู้รบั การนิเทศเลือกกำหนด วนั เวลา ในการนิเทศร่วมกนั ทำปฏทิ ินใน การนิเทศให้เป็นระบบอย่างต่อเน่ืองและเปน็ ปจั จุบัน 2.4 การบันทกึ ข้อมูลท่วั ไป ผู้นเิ ทศมอบแบบบนั ทึกใหผ้ ้รู บั การนิเทศ เป็นผ้บู ันทกึ และ เก็บบันทึกน้ีไว้ หากมีข้อมลู ทเ่ี ปลี่ยนแปลงใหบ้ นั ทึกเพ่ิมเติมแนบทา้ ยทุกครัง้ และทำบนั ทึกใหเ้ ป็น ปัจจุบันพรอ้ มท่ผี ู้นิเทศจะนำไปประกอบเป็นข้อมูลในการพิจารณาหาทางช่วยเหลอื ตามแต่กรณี 2.5 บนั ทกึ ข้อมูลเบื้องต้นของผู้รับการนิเทศ ผู้รับการนิเทศเป็นผบู้ นั ทึกรายการของ เครื่องมือและเก็บไวใ้ นแฟม้ ปฏบิ ตั ิงานของตนเอง เมื่อผนู้ ิเทศปฏบิ ตั ิการนิเทศจะสอบถามขอ้ มูล เบ้ืองต้นรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และปัญหาตา่ ง ๆ เพ่ือแก้ไขปญั หาตอ่ ไป หากมีการเปลยี่ นแปลงขอ้ มูลให้ บันทกึ ไว้ทุกคร้งั

37 2.6 รวบรวมข้อมลู เชน่ ข้อมูลทัว่ ไป ขอ้ มลู เบ้อื งตน้ ของผู้รบั การนเิ ทศ ผรู้ บั การนิเทศ จะต้องรวบรวมข้อมูล เพือ่ นำไปใชใ้ นการประเมนิ ผลการนเิ ทศ 3. เครื่องมือประกอบการนเิ ทศ เครอ่ื งมอื ทผ่ี รู้ บั การนิเทศและผู้นิเทศมสี ่วนร่วมในการเลือกใช้เพอื่ การนิเทศในขัน้ ท่ี 2 เป็น เอกสารที่เกี่ยวกับการส่งเสรมิ เผยแพร่ความรู้ ผนู้ เิ ทศตอ้ งมเี อกสาร ตำราอยา่ งเพียงพอ เพ่อื ให้ผู้รบั การนเิ ทศได้ศึกษาทำความเข้าใจในรูปแบบการนเิ ทศแบบต่าง ๆ หรอื อาจจะเชญิ ผ้มู ีความชำนาญใน การนิเทศมาใหค้ วามรเู้ ป็นเร่อื ง ๆ ไป โดยดำเนนิ การ ดงั น้ี 3.1 ให้ความรู้ แนวทางแกผ่ ู้รบั การนเิ ทศ ตามรูปแบบการนิเทศทัว่ ไปและกิจกรรม การนเิ ทศ เช่น จดั การประชุมทางวิชาการ เป็นการกระตุน้ ให้ผ้รู ับการนิเทศทราบถงึ ความสำคญั ของ การแสวงหาความรเู้ พิ่มเติมให้แกต่ นเองและหม่คู ณะ 3.2 มอบหมายงานให้ผ้รู บั การนเิ ทศ ได้ศกึ ษาเอกสารทางวิชาการแลว้ สรปุ เนอื้ หาของ เอกสารและรายงานผู้นเิ ทศ 3.3 รายงานเอกสารทางวชิ าการทุกฉบับเม่ือผา่ นผู้นเิ ทศแลว้ ผูร้ บั การนิเทศนำไป เผยแพร่ให้แกเ่ พ่ือนรว่ มงานท้ังในและนอกสถานศึกษาไดต้ ามความเหมาะสม และเกบ็ ไว้ในแฟม้ งาน ของตนเอง เพือ่ จะได้นำไปประเมนิ เม่ือเสร็จสิ้นภารกจิ อีกคร้งั 3.4 เม่อื มีการปฏิบตั ิการเผยแพรว่ ทิ ยาการและมีผลงานดีเด่น ผูร้ บั การนเิ ทศต้อง ลงบนั ทกึ ผลงานของตนเอง เสนอผนู้ ิเทศทราบเพื่อให้คำเสนอแนะเพ่มิ เติมและเกบ็ ไวใ้ นแฟ้ม เพ่อื การประเมนิ เมื่อเสรจ็ ภารกิจ 4. ดำเนินการนเิ ทศ จากการศึกษาเอกสารการนิเทศตามข้ันที่ 3 แล้ว ผูน้ ิเทศและผู้รับการนิเทศรว่ มมือกนั ท้ัง 2 ฝ่าย ท้ังนเ้ี พื่อใหท้ ราบปัญหาเกย่ี วกบั หลกั สูตรแผนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน การจัดทำ การจัดหา การใช้และการเก็บรักษาสื่อ เพ่ือการเรยี นรู้ การวัดผล และการประเมนิ ผล โดยคำนึงถึงความพงึ พอใจของผรู้ ับการนิเทศดว้ ย โดยดำเนินการ ดังน้ี 4.1 รว่ มกันกำหนดนดั หมายวัน เวลา ท่จี ะนิเทศ เปน็ การล่วงหน้า และผู้รับการนเิ ทศ ตอ้ งส่งแผนการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้นิเทศได้ศกึ ษารายละเอียดก่อนการนิเทศ อย่างน้อย 1 วนั 4.2 ดำเนินการนเิ ทศตามข้ันตอน ท่ผี ู้รบั การนิเทศไดเ้ ลอื กรปู แบบการนิเทศ หรอื ได้ เลือกกจิ กรรมการนเิ ทศไว้ 4.3 แบบบันทึกที่ใหผ้ ้รู บั การนเิ ทศจัดทำข้อมลู ในขน้ั ที่ 2 ผนู้ ิเทศใช้เวลาว่างตรวจสอบ ความจรงิ ความถูกต้อง ทุกรายการหากพบวา่ รายการใดไม่ถกู ต้องขาดความสมบูรณ์ หรือปรมิ าณ

38 การปฏิบัตงิ านนอ้ ยเกนิ ไป หรือมากเกนิ ไป ผูน้ ิเทศต้องเสนอแนะปรับปรุง แก้ไขเพ่มิ เติมตามแต่กรณี โดยมงุ่ หวงั วา่ ใหเ้ กิดผลท้ังในด้านคุณภาพและปรมิ าณ ผู้นเิ ทศบันทกึ เพมิ่ เติมลงท้ายแบบบันทกึ หลงั การพบกล่มุ เพ่ือใหผ้ รู้ ับการนิเทศหาวิธกี ารปรบั ปรุงใหด้ ีข้นึ 4.4 ผู้รับการนเิ ทศ ดำเนินการแก้ไขปรบั ปรงุ งานใหด้ ีข้นึ ตามผู้นิเทศบนั ทึกไว้ ดำเนนิ การปรบั ปรุงแกไ้ ขงานใหบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงค์ เกบ็ รวบรวมไวเ้ ปน็ ข้อมูล เพ่อื เสนอผู้นิเทศให้ ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ ทุกครัง้ 4.5 ภารกิจท้งั หมดเกบ็ ไว้ในแฟ้มงาน เพ่ือการประเมินผลในครัง้ สดุ ทา้ ยเม่ือส้นิ ปี การศึกษา 5. การประชุม เมอ่ื นิเทศตามขั้นตอนท่ี 4 แล้ว นำจดุ เด่น-จดุ ด้อย มาวิเคราะห์รว่ มกันเป็นการส่งเสรมิ ให้ ครูมคี วามรู้ มีการแก้ไขข้อบกพรอ่ ง เพ่อื การทำงานที่มีประสทิ ธภิ าพ โดยดำเนินการดงั นี้ 5.1 ดำเนนิ การประชุม กำหนดใหด้ ำเนินภารกิจต่อจากการพบกลุ่มครงั้ สดุ ท้าย เป็น การนำเอาปัญหาตา่ ง ๆ ที่พบขั้นที่ 4 ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ มาวเิ คราะหป์ ญั หา เพ่อื หาวธิ กี ารแก้ปญั หารว่ มกันทงั้ 2 ฝ่าย 5.2 บันทกึ การจัดกจิ กรรมอยา่ งเป็นระบบ เพอ่ื ใช้เปน็ ข้อมูลสนองความต้องการของ ผู้รบั การนเิ ทศ เช่น ผ้รู บั การนิเทศต้องการเข้ารบั การศกึ ษาอบรม เมื่อมีการจดั อบรมทใ่ี ดก็ใช้ข้อมูลน้ี ส่งให้กบั ครูที่สมัครใจเข้ารับการอบรม 5.3 ทำการสำรวจการบันทึกกจิ กรรมเก่ยี วกับผเู้ รียน เชน่ แบบบันทึกการสง่ เสรมิ ให้ ผเู้ รยี นไดใ้ ช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ กิจกรรมเสริมหลักสตู ร กจิ กรรมเสริมวินัย กจิ กรรมสง่ เสริม จริยธรรม การเข้ารว่ มกิจกรรมทางวิชาการ ฯลฯ ผู้รบั การนิเทศต้องตรวจสอบความถูกต้องทุกครง้ั และนำเสนอผูน้ เิ ทศทุกสน้ิ เดอื นเพอ่ื รับทราบข้อคดิ เหน็ เพิ่มเตมิ 5.4 แบบบันทกึ ต่าง ๆ เก็บไว้ในแฟ้ม รวบรวมสง่ เมื่อเสรจ็ สิ้นภารกิจ วันสุดทา้ ยของ ปกี ารศึกษาหรือปงี บประมาณ 6. การประเมนิ ผล 6.1 การประเมนิ ผลการนเิ ทศการศึกษาตามหลกั สูตร การประเมินผลทางการเรียน การควบคุมดแู ล สังเกตพฤติกรรม ตลอดจนการให้ คำปรกึ ษาต่าง ๆ เป็นการประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น โดยดำเนนิ การดังน้ี 6.1.1 การประเมนิ ผล คือ การประเมินผลตามกระบวนการจัดการเรยี นรู้ท่คี รู ประเมนิ ผลผเู้ รยี นเม่ือปลายภาคเรยี นและปลายปีการศึกษา เปน็ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นท่ใี ชข้ ้อมูล สำหรบั วิเคราะห์และดำเนินการในกระบวนการนิเทศผรู้ บั การนิเทศจะกรอกข้อมลู ลงเก็บในแฟ้มงาน ภาคเรียนละ 1 คร้งั แล้วนำเสนอผู้นิเทศไดท้ ราบและลงความเหน็ เพ่ิมเตมิ ทุกภาคเรียน

39 6.1.2 การทดสอบสมรรถภาพทางการเรยี นของนักเรียนทุกระดับช้นั แต่ละวชิ า ผ้นู เิ ทศตอ้ งดำเนินการสมุ่ ทดสอบนกั ศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ โดยใชว้ ธิ ีการประเมนิ ผลหลากหลาย รูปแบบตามหลักสตู รของระดับน้นั ๆ และผูร้ ับการนเิ ทศได้จัดกิจกรรมการเรยี นรู้แลว้ ผลการประเมิน แจง้ ให้ผ้รู ับการนิเทศทราบเพื่อทีจ่ ะไดเ้ ป็นขอ้ มลู นำไปพัฒนา ปรับปรงุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ อ่ ไป 6.1.3 การควบคุมดแู ล สังเกตพฤติกรรม การใหค้ ำปรึกษาหารอื ท้งั ด้านการศึกษา ปญั หาส่วนตัว ปญั หาสุขภาพ ตลอดจนความประพฤติของนักเรยี น เป็นการดำเนินการของผู้รบั การนิเทศท่มี ุง่ ประสงค์ใหผ้ ้เู รียนเกิดคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคต์ ามหลักสตู ร ผู้ดำเนนิ การบนั ทกึ และ ลงความเหน็ เพ่ิมเตมิ ทุกครัง้ 6.1.4 การดำเนนิ การทุกขัน้ ตอนในภารกจิ น้ี ผ้รู ับการนเิ ทศรวบรวมผล การปฏิบตั ิงานไวใ้ นแฟ้มงานของตนเอง เพ่ือเป็นข้อมูลในการพจิ ารณาเมื่อส้นิ สุดภารกจิ ในวัน ส้ินภาคเรียนตอ่ ไป 6.2 การประเมนิ ผลการนเิ ทศการศึกษาต่อเน่ืองและการศึกษาตามอัธยาศยั โดย การประเมนิ ในเรอื่ งต่อไปน้ี 6.2.1 คณุ ภาพของหลักสตู ร/ กิจกรรม 6.2.2 ประสิทธผิ ลของการจัดการศึกษา 6.2.3 ความพงึ พอใจของผเู้ รยี น/ ผรู้ บั บรกิ าร 6.2.4 คณุ ภาพของการจัดการศกึ ษา การท่ผี ู้นเิ ทศและผรู้ บั การนิเทศ มีสว่ นร่วมในการดำเนนิ การตามข้ันตอนทุกขัน้ ตง้ั แต่ขนั้ ที่ 1 ถงึ ขนั้ ท่ี 6 โดยเฉพาะการเลือกรปู แบบและแนวทางในการนเิ ทศ เป็นแนวทางหนง่ึ ที่จะพฒั นาไปสู่ การนเิ ทศเพ่ือไม่นิเทศ เมอื่ ทั้งสองฝ่ายมีความเข้าใจตรงกัน มคี วามรู้ ความสามารถทจ่ี ะจัดกิจกรรม เพอ่ื ให้เกิดการเรียนรูอ้ ย่างถาวร แก้ปญั หาทเ่ี กิดข้นึ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ผนู้ ิเทศจะได้รับการตอ้ นรับ อย่างดี ผู้รับการนเิ ทศจะเกิดการพึงพอใจในการนเิ ทศ กจิ กรรมทีจ่ ัดจะเกิดความสอดคล้องทำให้ การจดั กจิ กรรมการเรียนรรู้ าบร่ืน นบั ว่าเปน็ การนิเทศท่ปี ระสบผลสำเรจ็ อย่างแท้จริง การดำเนนิ การนเิ ทศตามรปู แบบการนเิ ทศแบบมสี ่วนร่วม การดำเนินการนเิ ทศตามรูปแบบการนเิ ทศการมสี ว่ นร่วม ต้องอาศัยเทคนคิ วธิ กี ารนิเทศท่ี เหมาะสม โดยคำนึงถงึ สภาพแวดล้อม และคำนึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ท่สี ่งผลใหก้ ารนิเทศ ประสบความสำเร็จต้องมีความตอ้ งการของแตล่ ะบคุ คลทมี่ ุ่งหวงั จะพัฒนาด้านการนเิ ทศและผูท้ ี่มี บทบาทในการสง่ เสรมิ รวมทงั้ การพัฒนาท่จี ะให้การนเิ ทศเกิดขึ้นได้คือ ผูบ้ ริหารหรือผู้นิเทศ นอกจากนคี้ วามรว่ มมือจากทุกฝ่ายโดยม่งุ หวังที่จะพัฒนาการจัดการศึกษาและพัฒนาบุคลากรใน สถานศึกษาจะส่งผลให้เกดิ การนิเทศการศกึ ษาและมกี ารพัฒนาการดำเนินการตามรปู แบบการนิเทศ

40 แบบมสี ว่ นร่วมเป็นแนวทางหนึง่ ทีจ่ ะนำเสนอ กำหนดภารกิจท่ีสอดคล้องและประสานสมั พันธ์กนั ในทางปฏิบัติ โดยจดั ทำปฏิทินการนิเทศ ดังนี้ 1. กำหนดภารกจิ ท่จี ะทำการนิเทศ 2. กำหนดเวลาท่ที ำการนเิ ทศ (วัน เดือน ปี) 3. กำหนดเวลาทีท่ ำการนเิ ทศ (เวลา) 4. กำหนดช่อื ผ้นู เิ ทศ 5. กำหนดชื่อผ้รู ับการนิเทศ ตวั ช้วี ดั การนเิ ทศแบบมีส่วนร่วม 1. คุณภาพของการจัดการศึกษา 2. การบรรลวุ ัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของการนิเทศ 3. การมสี ่วนรว่ มของผรู้ บั การนิเทศ 4. ความพงึ พอใจของผรู้ ับการนเิ ทศ การนเิ ทศแบบช้ีแนะ (มยุรี เจรญิ ศิริ, 2558, หน้า 114-127) การนิเทศแบบช้ีแนะ (Coaching) เป็นเทคนิคหนึง่ ของการนิเทศการศกึ ษาทสี่ ำคัญท่ีจะ ช่วยสง่ เสริมการเรยี นรู้ อนั จะเปน็ ตัวจกั รสำคญั ที่จะนำไปสู่ความสำเร็จโดยมุง่ เนน้ ให้บคุ ลากรใน สถานศกึ ษาหรอื องค์กรมีความสามารถในการปฏิบัติงานดีข้ึนและสถานศึกษาหรือองค์กรมคี วามพร้อม ที่จะรบั การเปลีย่ นแปลง เทคนิคการนิเทศแบบช้ีแนะ การนิเทศแบบช้ีแนะเปน็ กระบวนการนิเทศอย่างหนง่ึ บางคร้ังเรียกวา่ การนเิ ทศแบบสอน งานโดยใช้ทักษะการส่ือสารแบบสองทาง (Two way communication) ซง่ึ สามารถทำอย่างเปน็ ทางการและ/ หรือไมเ่ ปน็ ทางการก็ได้ โดยมปี ฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างผู้นเิ ทศและผูร้ ับการนิเทศทำให้ผูน้ ิเทศ และผู้รับการนเิ ทศไดร้ ่วมแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่เี กดิ ขน้ึ ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กอ่ ให้เกดิ ความสัมพันธ์ พนั ธมิตรอนั ดีระหว่างผูช้ ีแ้ นะ (Coach) และผูถ้ ูกช้แี นะ (Coachee) เป็นวธิ กี ารนำ กิจกรรมตา่ ง ๆ ทางการนเิ ทศไปใช้ในการปฏิบตั ิงานอย่างเหมาะสมกบั บคุ คล สถานที่ เวลา หรือ สถานการณ์น้นั ๆ เปน็ วิธกี ารพฒั นาสมรรถภาพ พฒั นาศักยภาพ ผลกั ดันใหเ้ กิดการใชศ้ ักยภาพสูงสุด กระตนุ้ สรรคส์ ร้างความคดิ และพฒั นาวธิ คี ดิ ใหเ้ กิดความเข้าใจความเปน็ จรงิ ในปัจจุบนั นำไปสู่ การพฒั นาหรือการสรา้ งการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกในเชิงพฤตกิ รรม กำหนดวธิ กี ารดำเนนิ การใน การจดั การกบั สถานการณ์ทเี่ กดิ ขึ้นอย่างเหมาะสม ชว่ ยให้สามารถนำความรู้ความเข้าใจทีม่ อี ยู่และ ไดร้ ับการพัฒนาในลักษณะของการเรยี นรู้ไปพรอ้ ม ๆ กับการปฏิบัติงานไปปฏิบตั ไิ ด้ตามเป้าหมาย