Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 04ภาษาไทย ม.1

04ภาษาไทย ม.1

Published by thonglom, 2019-12-02 01:37:06

Description: 04thonglom m.1

Search

Read the Text Version

42 4325 การวัดและประเมนิ ผล วิธีการ เครื่องมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ส่งิ ท่ีต้องการวัด/ประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ดา้ นความรู้ ประเมนิ การคดั ลายมือ แบบประเมิน ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป ๑. ลกั ษณะของการคดั ประเมนิ คุณลกั ษณะ การคดั ลายมือ ลายมือ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์การประเมิน ๒. หลกั การคัดลายมอื คุณลักษณะ ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ดา้ นทักษะ/กระบวนการ คัดลายมอื ตวั บรรจง ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ ครึ่งบรรทัด ระดับ ๒ ดา้ นคณุ ลักษณะ ๑. มวี นิ ัย ๒. ใฝเ่ รียนรู้ ๓. มุ่งมน่ั ในการทางาน ๔. รกั ความเปน็ ไทย ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอปุ สรรค ........................................................................................................................................................... ................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ...................................................................................... ........................................................................................ ลงช่ือ ......................................ผูส้ อน (.......................................................) วนั ที่..........เดือน..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ ......................................ผู้ตรวจ (.........................................................) วันท่.ี .........เดอื น..................................พ.ศ…...….

43 4336 เกณฑก์ ารประเมินช้นิ งานการคัดลายมือตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั ประเด็น ๔ (ดมี าก) ระดับคณุ ภาพ ๑ (ปรบั ปรุง) การประเมนิ ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) คดั ตามแบบ คัดลายมือตาม คดั ลายมอื ตาม คัดลายมือตาม คดั ลายมอื ไม่ แบบตวั อักษรสว่ น แบบตัวอกั ษรไม่ ถูกต้องเปน็ สว่ น ตัวอักษรถกู ต้อง แบบตวั อกั ษรได้ ใหญ่ถกู ต้อง ถูกต้องบางส่วน ใหญ่ ตามทกี่ าหนด ถกู ต้องครบถว้ น ขาดความเปน็ ระเบยี บและ (เนอ้ื หา) การเวน้ ชอ่ งไฟไม่ สม่าเสมอ ความเป็นระเบียบ มคี วามเป็น มคี วามเป็น ขาดความเปน็ การเขยี นสะกดคา ส่วนใหญ่ไมถ่ ูกต้อง ชอ่ งไฟถูกตอ้ ง ระเบียบ มีการเว้น ระเบยี บ ระเบยี บแต่มี อา่ นยาก มีรอยลบ สมา่ เสมอ ช่องไฟอย่าง มกี ารเวน้ ชอ่ งไฟไม่ การเว้นช่องไฟบ้าง ขดี ฆา่ ขาด ความเป็นระเบียบ สม่าเสมอ สมา่ เสมอ การเขียนสะกดคา การเขยี นสะกดคา การเขียนสะกดคา การเขียนสะกดคา ถกู ต้องตามอักขรวธิ ี ถกู ต้องตรงตาม สว่ นใหญ่ถูกต้อง ถกู ต้องบางส่วน อกั ขรวิธคี าควบ เป็นสว่ นใหญ่ กล้าตวั ร ล ตัวสะกด การันต์ ถกู ต้องครบถ้วน อ่านงา่ ย สะอาดและ อา่ นงา่ ย สะอาด อา่ นง่าย สะอาดแต่ มรี อยลบ ขดี ฆ่า เปน็ ระเบยี บ มีความเป็น ขาดความเป็น ขาดความเปน็ ระเบียบ ระเบียบ ระเบยี บเป็นสว่ น ใหญ่ เกณฑ์การตดั สนิ หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๑๓ – ๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙ – ๑๒ หมายถงึ พอใช้ หมายถึง ปรับปรุง คะแนน ๕ – ๘ คะแนน ๐ – ๔

44 3474 แบบประเมิน เร่อื ง การคัดลายมอื ชอ่ื – สกลุ คัดตามแบบ รวม สรุปผล ตัวอักษร ูถกต้อง การประเมนิ ความเ ็ปน ระเ ีบยบ การเ ีขยนสะกด คา ูถกต้อง อ่าน ่งาย สะอาด ๔ ๔ ๔ ๔ ๑๖ ผา่ น ไม่ผา่ น เกณฑก์ ารตดั สนิ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป (๑๓ คะแนนข้นึ ไป) คะแนน ๑๓ – ๑๖ หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๙ – ๑๒ หมายถงึ ดี คะแนน ๕ – ๘ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๐ – ๔ หมายถึง ปรับปรุง ลงช่ือ .............................................ผปู้ ระเมิน (....................................................................)

45 3485 บทอาขยานนิราศภูเขาทอง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ เร่อื ง การคัดลายมอื รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ มาถงึ บางธรณีทวีโศก ยามวิโยคยากใจให้สะอน้ื โอส้ ธุ าหนาแนน่ เป็นแผ่นพืน้ ถงึ สห่ี ม่ืนสองแสนทง้ั แดนไตร เม่อื เคราะห์รา้ ยกายเราก็เท่านี้ ไมม่ ีทพ่ี สุธาจะอาศัย ล้วนหนามเหน็บเจ็บแสบคับแคบใจ เหมือนนกไร้รงั เร่อยเู่ อกา ถึงเกรด็ ย่านบ้านมอญแต่กอ่ นเกา่ ผู้หญงิ เกล้ามวยงามตามภาษา เดีย๋ วน้ีมอญถอนไรจุกเหมือนตุ๊กตา ทั้งผัดหน้าจบั เขมา่ เหมือนชาวไทย โอ้สามัญผนั แปรไมแ่ ท้เที่ยง เหมอื นอย่างเยี่ยงชายหญงิ ทง้ิ วิสัย นหี่ รือจิตคิดหมายมหี ลายใจ ท่จี ิตใครจะเปน็ หนงึ่ อย่าพงึ คดิ ถึงบางพดู พดู ดเี ปน็ ศรีศกั ด์ิ มคี นรักรสถอ้ ยอรอ่ ยจิต แมน้ พูดชั่วตวั ตายทาลายมติ ร จะชอบผดิ ในมนุษยเ์ พราะพดู จา พระสนุ ทรโวหาร (ภู่)

46 3469 ใบงานเรือ่ ง การคัดลายมือ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง การคัดลายมือ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ คาช้แี จง ให้นกั เรยี นคดั ลายมือบทอาขยานเรื่องนิราศภูเขาทองตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบตวั อักษรไทย แบบกระทรวงศกึ ษาธิการ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ....................................................... ...................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................ ...................................... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................ ...................................... .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................ ...................................... ................................................................................................. ............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .................................................................................... .................................................... ...................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. .................................................

47 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๕ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่ือง พ้ืนฐานอ่านเขียน เรือ่ ง การอา่ นจบั ใจความสาคัญ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภวิชาษาภาไาทษยาไทย รายวิชาพพนื้ ้นื ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ขอบเขตเนอื้ หา หลกั การอา่ นจับใจความสาคัญ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขั้นนา ๑. ใบความรู้ เร่ือง การอา่ นจบั ใจความสาคญั ด้านความรู้ มคี วามรคู้ วามเข้าใจหลักการอ่านจับใจความสาคญั ครสู นทนากับนักเรยี นว่าการอ่านมคี วามสาคญั ใน ๒. ใบงาน เร่ือง การอ่านจบั ใจความสาคัญ ด้านทกั ษะกระบวนการ ชีวิตประจาวนั อยา่ งไร ภาระงาน/ชน้ิ งาน จับใจความสาคัญจากเรื่องท่ีอา่ นได้ ข้ันสอน สรปุ ความรูเ้ รอ่ื งการจับใจความสาคญั ลงในสมุด ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๑. แบ่งกลมุ่ นักเรยี นศกึ ษาใบความรู้ เร่อื ง การอา่ น- ๒. ม่งุ ม่นั ในการทางาน จับใจความสาคัญ ใหน้ ักเรยี นอา่ นและวิเคราะห์ ๓. มีมารยาทในการอา่ น หลกั การอา่ นจบั ใจความสาคัญ ๒. ครแู จกใบงาน เร่อื ง การอา่ นจับใจความสาคญั ใหน้ กั เรียนฝกึ อ่านจับใจความสาคัญ จากนน้ั ใหต้ ัวแทน นกั เรียนมานาเสนอผลงานการอา่ นจับใจความสาคญั ๓. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายแสดงความคดิ เห็น ถึงลักษณะของใจความสาคัญทีป่ รากฏในใบงาน ขัน้ สรปุ ครแู ละนักเรียนสรปุ ความร้เู ร่ืองการจบั ใจความสาคัญ พร้อมทั้งปลูกฝังมารยาทในการอ่าน นักเรียนจดบนั ทึก ลงในสมดุ 4470

48 4481 การวดั และประเมนิ ผล ส่ิงทต่ี ้องการวดั /ประเมนิ วธิ กี าร เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ มีความรู้ความเข้าใจ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป หลกั การอ่านจับใจความสาคัญ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ จับใจความสาคัญจากเร่อื งที่ ตรวจใบงาน เร่ือง ใบงาน เรอ่ื ง การอ่าน- ผ่านเกณฑ์การประเมนิ จบั ใจความสาคญั รอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป อ่านได้ การอ่านจบั ใจความ สาคัญ ด้านคณุ ลกั ษณะ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ประเมนิ คุณลกั ษณะ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์คุณภาพ คณุ ลกั ษณะ ระดบั ๒ ๒. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ลงชือ่ ......................................ผ้สู อน (.......................................................) วนั ท่ี..........เดือน..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ......................................ผู้ตรวจ (.........................................................) วนั ท.่ี .........เดือน..................................พ.ศ…...….

49 4429 ใบความรู้เรื่องการอา่ นจับใจความสาคัญ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๕ เร่ือง การอ่านจับใจความสาคญั รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ความหมายของใจความสาคัญ ใจความสาคัญ คือข้อความสาคัญของเรื่อง จะตัดออกไม่ได้ ถ้าตัดออกไปจะทาให้เนื้อความ เปล่ยี นแปลงไปหรือได้ความไม่ครบถ้วน การอา่ นเพ่ือสรปุ ใจความสาคัญ ผู้อ่านต้องมีสมาธิ อ่านอย่างรอบคอบ และผู้อ่านจะต้องทาความเข้าใจเร่ืองท่ีอ่าน ต้องอ่านหลาย ๆ เที่ยว แล้วต้ังคาถามเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอ่านว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน เม่ือใด อย่างไร แล้วตอบคาถามนั้นเพียงสั้น ๆ แต่ให้ได้ใจความชัดเจน จากนน้ั นามาเรยี บเรียง ให้เปน็ ประโยคสน้ั ๆ หลักการอ่านจับใจความสาคญั การอา่ นเพอ่ื จบั ใจความจะต้องพิจารณาทีละย่อหนา้ โดยปกติย่อหน้าแตล่ ะย่อหน้าจะมีใจความสาคัญ ที่สุดอยู่หน่ึงประโยค ข้อความอ่ืน ๆ เป็นส่วนขยายใจความสาคัญให้กระจ่างชัดข้ึน ด้วยวิธีอธิบายความหมาย ยกตัวอย่างเปรียบเทียบหรือแสดงเหตุผล ประโยคใจความสาคัญอาจอยู่ตอนต้นย่อหน้า อยู่ท้ายย่อหน้า กลางย่อหน้า หรืออาจอยู่ทั้งตอนต้นและท้ายย่อหน้า แต่ส่วนใหญ่มักอยู่ตอนต้นย่อหน้า ในบางครั้งประโยค ใจความสาคัญก็ไม่ได้เขียนไว้ชัดเจน ผู้อ่านต้องแยกให้ได้ว่า ข้อความใดเป็นใจความสาคัญ ข้อความใดเป็น ใจความที่ขยายหรอื เสริมใจความสาคัญ ตวั อย่างการอา่ นใจความสาคัญ ความรกั ความเข้าใจ คือสายใยของครอบครัว เป็นคาขวญั ท่ีชนะเลศิ การประกวดคาขวญั วนั ครอบครัว ซึง่ รฐั บาลกาหนดใหว้ นั ท่ี ๑๔ เมษายน ของทุกปเี ปน็ วนั ครอบครัว ประโยคใจความสาคัญ อยู่ตอนตน้ ของข้อความ ได้แก่ ความรกั ความเขา้ ใจ คือสายใยของครอบครัว ประโยคใจความรอง คอื ประโยคที่มาขยาย ไดแ้ ก่ รฐั บาลกาหนดให้วนั ท่ี ๑๔ เมษายน ของทกุ ปี เป็นวันครอบครัว จะเห็นไดว้ า่ ประโยคน้ีใจความสาคัญอย่ตู อนต้นของข้อความ ใจความที่ ๒ เปน็ สว่ นขยาย แมวเปน็ สัตวน์ า่ รกั แตผ่ มไม่เคยผูกพันดว้ ย มันนา่ ราคาญมากในสายตาผม แตเ่ ม่ือคร้งั เปน็ เด็กมาแล้ว เหน็ แมเ่ ลีย้ งแมวมาดว้ ยความรกั แบบหลงใหล หาขา้ วให้มันกนิ จับมันขึน้ มาอุม้ เรยี กมนั ด้วยเสยี งแบบเอ็นดู ท้ังท่ีร้องกวนใจ เคล้าแข้งเคล้าขาเกะกะ และเป็นสัตว์เล้ียงท่ีฉวยโอกาสท่ีแสดงความรักคนเฉพาะเม่ือเวลามัน หวิ อมิ่ แล้วกไ็ ป หรอื ไมก่ น็ อนหลบั เกียจคร้าน บ่อยคร้ังที่ผมอจิ ฉาทคี่ ิดวา่ แม่รักแมวมากกว่าผม (ขอทาน แมว และคนเมา : อศั ศิริ ธรรมโชต)ิ ใจความสาคญั อย่ปู ระเดน็ สดุ ท้าย กล่าวคือ ผูแ้ ต่งอจิ ฉาแมว และคดิ วา่ แม่รกั แมวมากกวา่ เขา สว่ น ประโยคอน่ื ๆ เป็นสว่ นขยายว่าทาไมผ้แู ตง่ จึงอจิ ฉาแมว

50 4530 ใบงาน เรือ่ ง การอา่ นจับใจความสาคญั หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๕ เรือ่ ง การอา่ นจบั ใจความสาคญั รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ กลุม่ ท่ี................ คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นจับใจความสาคญั บทความต่อไปน้ี ๑. การดารงรักษาและสืบสานวัฒนธรรมไทยเป็นสิ่งท่ีคนไทยทุกคนต้องสานึกว่าเป็นเร่ืองสาคัญและ จาเป็นอย่างยงิ่ ท่ีต้องร่วมมอื รว่ มใจกันทา เพราะวฒั นธรรมของเราเป็นสิ่งท่สี วยสดงดงาม น่าหวงแหน และน่า ทะนุถนอมเป็นย่ิงนัก การที่จะปลูกจิตสานึกให้คนไทยได้ระลึกถึงเรื่องน้ีให้ท่ัวถึงกันจาเป็นต้องมีการรณรงค์ อย่างต่อเนื่องกันโดยตลอด มิใช่แค่จะกระทากันเป็นปีๆ แล้วหยุดไป เราเคยได้บทเรียนมาพอสมควรแล้วว่า วัฒนธรรมต่างชาติได้แพร่เข้ามาในบ้านเมืองเราหลายอย่างและหลายทิศทาง เพราะฉะนั้น ถ้าเราไม่พยายาม ปลูกจติ สานกึ ให้คนไทยโดยเฉพาะเยาวชนของเราไดต้ ระหนักถึงความสาคัญในเร่ืองน้ี ก็คงจะเปน็ เรือ่ งที่น่าหว่ ง (พลเอกเปรม ติณสลู านนท์ ๒๕๓๗ : ๑) ใจความสาคญั ...................................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ๒. ในสมัยก่อนเม่ือใกล้วันสารท ชาวบ้านจะนิยมกวนขนมท่ีเรียกกันว่า กระยาสารทกันแทบทุกบ้าน แต่ปัจจุบันทากันในบางท้องถ่ินเท่าน้ัน ผู้ท่ีไม่ได้ทาก็มักเตรียมจัดซ้ือขนมดังกล่าว ซึ่งจะมีขายโดยทั่วไปเม่ือถึง เทศกาลน้ี กระยาสารท คือ ขนมหวานชนิดหนึ่งทาด้วยข้าวเม่า ข้าวตอก ถั่วงา มะพร้าว กวนกับน้าตาล สามารถเก็บไว้ได้นาน เมื่อกวนหรือหาซ้ือมาแล้วก็จัดแบ่งเป็นส่วน ๆ ห่อด้วยใบตอง เป็นจานวนมากน้อยตาม ต้องการเพ่ือนาไปตักบาตร เนื่องจากกระยาสารทเปน็ ขนมท่ีมรี สหวานจัด หากรับประทานกบั กล้วยไข่สุกจะทา ให้รับประทานกระยาสารทได้มาก ผูท้ าบญุ จงึ นิยมนากลว้ ยไข่ไปตักบาตรคู่กบั กระยาสารทเพ่ือใหม้ รี สดีขนึ้ (สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๓๐ : ๕๙) ใจความสาคัญ ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................... ............................................................... เฉลย ๑.การดารงรกั ษาและสืบสานวัฒนธรรมไทยเป็นส่ิงที่คนไทยทกุ คนต้องสานึกว่าเปน็ เร่อื งสาคญั และจาเปน็ อยา่ ง ยงิ่ ทต่ี อ้ งร่วมมือรว่ มใจกนั ทา ๒.กระยาสารท คือ ขนมหวานชนดิ หนึง่ ทาดว้ ยข้าวเมา่ ขา้ วตอก ถ่วั งา มะพร้าว กวนกับน้าตา

51 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง พ้นื ฐานอา่ นเขียน แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๖ เวลา ๑ ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภวิชาษาภาไาทษยาไทย เรื่อง ระบุขอ้ สังเกตงานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ขอบเขตเนื้อหา ความหมายของการโนม้ นา้ วใจ รายวชิ าพพน้ื น้ื ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. คาขวญั ข้อสังเกตของงานเขยี นประเภทโนม้ นา้ วใจ ขั้นนา ครูยกตัวอย่างคาขวญั “ขบั ช้าอกี นดิ ชวี ติ จะ ๒. ใบความรู้ เร่ือง งานเขยี นประเภทโนม้ น้าวใจ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ ปลอดภัย”และให้นกั เรียนแสดงความคิดเหน็ วา่ ๓. ใบงาน เร่ือง งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ๑. บอกความหมายของการโนม้ นา้ วใจ คาขวญั น้ตี ้องการใหผ้ ูอ้ ่านทาอะไร มีความสมเหตุ ๔. กระดาษชาร์ท ๒. บอกข้อสงั เกตงานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ สมผลหรือไม่ ภาระงาน/ชิน้ งาน ขน้ั สอน การนาเสนอผลงานหน้าช้นั เรียน ดา้ นทักษะกระบวนการ ๑. แบ่งกลุม่ นกั เรยี น ๔ กลมุ่ ศกึ ษาใบความรู้ เร่ือง ระบุหรือจาแนกข้อสังเกตและความสมเหตสุ มผล งานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจด้วยการวิเคราะห์ ของงานเขียนประเภทโนม้ น้าวใจได้ ข้อสังเกต แลว้ เขยี นลงในกระดาษชารท์ ดา้ นคณุ ลักษณะ ๑. ซ่ือสัตยส์ ุจริต ๒. ครใู หต้ ัวแทนกลุม่ นาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน ๓. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ข้อสังเกตงานเขียน ๒. มีวินัย ประเภทโนม้ น้าวใจ ๓. ใฝ่เรยี นรู้ ๔. นกั เรยี นทาใบงาน เรื่อง ระบุข้อสังเกตและ ๔. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ความสมเหตุสมผลงานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ๕. มุ่งม่ันในการทางาน 44 51

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง พื้นฐานอ่านเขยี น แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๖ 52 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภวิชาษาภาไาทษยาไทย เรือ่ ง ระบุขอ้ สังเกตงานเขยี นประเภทโน้มน้าวใจ เวลา ๑ ชั่วโมง รายวิชาพพ้ืน้นื ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ๕. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันตรวจใบงาน เร่อื งระบุ ข้อสงั เกตและความสมเหตุสมผลงานเขยี นประเภท โน้มนา้ วใจ ขั้นสรุป ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปงานเขียนประเภท โน้มนา้ วใจเพ่ือนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน 45

53 5436 การวัดและประเมินผล ส่งิ ที่ต้องการวดั /ประเมิน วิธกี าร เคร่อื งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ความหมายของการโน้มน้าวใจ นาเสนอผลงาน แบบประเมนิ นาเสนอ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ผลงาน ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ขอ้ สังเกตของงานเขยี น ประเภท โน้มนา้ วใจ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ระบุข้อสงั เกตและ ตรวจใบงาน เรอ่ื ง ใบงาน เร่ือง งานเขยี น ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ประเภทโน้มน้าวใจ รอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป ความสมเหตุสมผลของงานเขียน งานเขยี นประเภท ประเภทโนม้ น้าวใจ โน้มน้าวใจ ด้านคณุ ลกั ษณะ ประเมินคุณลักษณะ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ ๑. มวี นิ ยั คณุ ลักษณะ ระดบั ๒ ๒. ใฝ่เรยี นรู้ ๓. ม่งุ มน่ั ในการทางาน ๔. มจี ติ สาธารณะ ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข .......................................................................................................... .................................................................... ลงช่ือ ......................................ผูส้ อน (.......................................................) วนั ท่ี..........เดือน..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผูบ้ ริหารหรือผู้ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. ลงชือ่ ......................................ผตู้ รวจ (.........................................................) วนั ท.่ี .........เดอื น..................................พ.ศ…...….

54 4574 ใบความรู้ เร่อื ง งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๖ เรือ่ ง การอ่านจบั ใจความสาคญั รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ความหมายของการโน้มนา้ วใจ การโน้มน้าวใจ คือ การพยายามเปล่ียนแปลง ความเช่ือ ทัศนคติ การกระทาของบุคคลอ่ืนด้วย กลวิธีทเี่ หมาะสม ใหม้ ีผลกระทบใจผู้นัน้ จนเกิดการยอมรบั และเปล่ยี นตามผโู้ น้มนา้ วใจตอ้ งการ ข้อสงั เกตของงานเขยี นประเภทโนม้ นา้ วใจ ๑. การแสดงให้เห็นถึงความน่าเช่ือถือของบุคคลผู้โน้มน้าวใจโดยธรรมดาบุคคล ที่มีคุณลักษณะ ๓ ประการ คือ มีความรู้จริง มีคุณธรรม และมีความปรารถนาดีต่อผู้อื่น ย่อมได้รับความเช่ือถือ จากบุคคล ทั่วไป ๒. การแสดงให้เห็นตามกระบวนการของเหตุผล ผู้โน้มน้าวใจต้องแสดงให้เห็นว่า เรื่องท่ีตนกาลัง โนม้ น้าวใจมีเหตผุ ลหนักแน่น และมคี ณุ ค่าควรแกก่ ารยอมรับอยา่ งแท้จริง ๓. การแสดงให้เห็นถึงความรู้สึกและอารมณ์ร่วม บุคคลที่มีอารมณ์ร่วมกันคล้อยตามกันได้ง่ายกว่า บุคคลท่ีมีความรู้สึกอคติต่อกัน เมื่อใดที่ผู้โน้มน้าวใจค้นพบและแสดงอารมณ์ร่วมออกมา การโน้มน้าวใจก็จะ ประสบความสาเรจ็ ๕. การแสดงให้เห็นทางเลือกทั้งด้านดีและด้านเสีย ผู้โน้มน้าวใจต้องโน้มน้าวผู้รับสารให้เช่ือถือ หรือ ปฏิบัติเฉพาะทางท่ีตนต้องการ โดยชี้ให้เห็นว่าสิ่งน้ัน มีด้านท่ีเป็นโทษ อย่างไร ด้านท่ีเป็นคุณอย่างไร ๖. การสร้างความสุขให้แก่ผู้รับสาร การเปล่ียนบรรยากาศ ให้ผ่อนคลายด้วยอารมณ์ขัน จะทาให้ผู้รับ สารเปลีย่ นสภาพจากการตอ่ ต้านมาเปน็ ความร้สู ึกกลาง ๆ พร้อมทจี่ ะคล้อยตามได้ ๗. การเร้าให้เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า เมื่อมนุษย์เกิดอารมณ์ขึ้นอย่างแรงกล้า ไม่ว่าดีใจ เสียใจ โกรธแค้น อารมณ์เหล่าน้ี มักจะทาให้มนุษย์ไม่ใช้เหตุผลอย่างถี่ถ้วน พิจารณาถึงความถูกต้องเหมาะสม เมื่อมี การตดั สินใจ กอ็ าจจะคลอ้ ยไปตามทผี่ ้โู น้มน้าวใจเสนอแนะได้ง่าย

55 4585 ใบงาน เร่อื ง งานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๖ เรื่อง การอ่านจับใจความสาคัญ รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่เป็นสารโนม้ นา้ วใจทมี่ คี วามสมเหตสุ มผล และขีดเครอ่ื งหมาย X หนา้ ขอ้ ความท่ีไมใ่ ช่สารโน้มน้าวใจ .......... ๑. บา้ นเมอื งสวย ดว้ ยมอื เรา .......... ๒. ปฏบิ ัตติ ามกฎ ลดปัญหาจราจร .......... ๓. ประหยดั น้าวนั น้ี ก่อนทจ่ี ะไมม่ ีน้าใช้ .......... ๔. ใชน้ า้ อยา่ งคุม้ คา่ เพือ่ วนั นี้ เผ่อื วนั หน้า .......... ๕. ท้ิงขยะใหเ้ ป็นท่ี เพ่ิมราศีแกบ่ า้ นเมือง .......... ๖. ห้ามทิ้งขยะบริเวณน้ี ปรบั ทีละสองพัน .......... ๗. ทางรอดของโลกปัจจุบนั นมี้ ีอยทู่ างเดยี วเท่านัน้ .......... ๘. บา้ นสะอาด เมืองสะอาด คนในชาตมิ ีความสุข .......... ๙. อทุ ยานรอบมหาสถานนั้นเล่ากง็ ามไมน่ ้อย เต็มไปด้วยตน้ ไม้นานาพันธุ์ ไมด้ อกและลดาวลั ย์งาม นา่ ทศั นา ..........๑๐. โลหิตคือสายธารแหง่ ชวี ิต ถา้ ร่างกายขาดโลหิตชีวิตกอ็ ยไู่ มไ่ ด้ โลหติ จึงเป็นนา้ หลอ่ เลยี้ ง รา่ งกายท่จี าเป็นอย่างยิง่ เพื่อใหม้ ีชีวติ อยู่ได้ เฉลย ๑.  ๒.  ๓.  ๔.  ๕.  ๖.  ๗. X ๘.  ๙. X ๑๐. X

56 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เร่อื ง พืน้ ฐานอ่านเขียน แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๗ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้วิชาษาภาไาทษยาไทย เรื่อง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ) เวลา ๑ ช่ัวโมง ขอบเขตเนอ้ื หา รราายยววิชิชาาพ้นื ฐานภาษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เสียงในภาษาไทย กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ข้นั นา ๑. แผนภาพอวัยวะทเ่ี กี่ยวข้องกับการออกเสียง ด้านความรู้ ๑. ครใู ห้นักเรยี นดแู ผนภาพอวยั วะทเ่ี ก่ียวข้องใน ๒. ใบความรู้ เรือ่ ง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ) การออกเสียงและรว่ มสนทนากับนกั เรียนว่ามีอวยั วะ ภาระงาน/ช้นิ งาน ๑. อธบิ ายความหมายของเสยี งในภาษาไทยได้ ใดบา้ ง แผนภาพความคดิ ๒. ครใู หน้ ักเรยี นทดลองออกเสียงและสังเกตอวยั วะ ๒. อธิบายท่มี าของเสยี งในภาษาไทยได้ ทีเ่ ก่ียวข้องในการออกเสียงว่ามีลกั ษณะอย่างไร ขณะท่ีออกเสียง ๓. อธบิ ายชนดิ ของเสยี งในภาษาไทยได้ ขนั้ สอน ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ๑. แบง่ กลุม่ นกั เรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง เสียงใน จาแนกเสียงสระได้ ภาษาไทย (เสียงสระ) ในหัวข้อตอ่ ไปน้ี ดา้ นคุณลักษณะ กล่มุ ที่ ๑ ความหมายของเสยี งในภาษา ๑. มวี นิ ัย กลุ่มที่ ๒ กาเนิดของเสยี งในภาษา ๒. ใฝเ่ รียนรู้ กลุ่มท่ี ๓ ความหมายของเสียงสระ ๓. มุ่งมน่ั ในการทางาน กลมุ่ ท่ี ๔ เสยี งสระเดยี่ ว ๔. รกั ความเปน็ ไทย กลุ่มที่ ๕ ลกั ษณะอวยั วะในการออกเสยี ง สระเดีย่ ว 4956

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรอ่ื ง พน้ื ฐานอา่ นเขียน แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๗ 57 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภวิชาษาภาไาทษยาไทย เรือ่ ง เสยี งในภาษาไทย (เสียงสระ) เวลา ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ รายวิชาพพนื้ ืน้ ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย กลมุ่ ที่ ๖ สระประสม กล่มุ ท่ี ๗ ข้อสงั เกตของเสียงสระ ๒. ตัวแทนกล่มุ นาเสนอผลงานหนา้ ช้ันเรียน ๓. นกั เรยี นและครรู ่วมกันแสดงความคดิ เห็น เสนอแนะเพ่ิมเติม ๔. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันตรวจใบงาน ข้ันสรุป ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ เร่ืองเสียงในภาษาไทย เสยี งสระและใหน้ ักเรยี นสรปุ บนั ทกึ เปน็ แผนภาพ ความคิด 50

58 5581 การวัดและประเมินผล สง่ิ ทีต่ ้องการวัด/ประเมนิ วิธีการ เคร่ืองมือทใี่ ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ควคาวมาหมหมามยาขยอขงอเงสเียสงียใงนใน สงั เกตพฤติกรรม พฤติกรรมกลุ่ม ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป ภาษาาไไททยยทมี่ าของเสยี งในภาษาไทย ชนทิดีม่ ขาขอองเงสเสยี ยีงใงนในภภาษาษาไาทไทยย แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ชนิดของเสยี งในภาษาไทย การนาเสนอผลงาน ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ด้านทกั ษะ/กระบวนการ แบบประเมนิ จาแนกเสยี งสระได้ นาเสนอผลงาน คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ระดับ ๒ ด้านคณุ ลกั ษณะ ประเมินคุณลักษณะ ๑. มีวนิ ยั ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๔. รกั ความเป็นไทย ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ......................................................................................................................... ..................................................... ลงชอ่ื ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วนั ที.่ .........เดือน..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื ......................................ผู้ตรวจ (.........................................................) วนั ที่..........เดือน..................................พ.ศ…...….

59 5529 ใบความรู้ เรอื่ ง เสยี งในภาษาไทย (เสยี งสระ) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๗ เรือ่ ง เสียงในภาษาไทย (เสยี งสระ) รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เสียงในภาษา หมายถึง เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อส่ือความหมายระหว่างมนุษย์ด้วยกัน เพื่อสนอง ความต้องการตา่ ง ๆ เช่น เพอื่ ขอความช่วยเหลอื เพอ่ื ขอความรู้ เพอ่ื แสดงความรู้สกึ พอใจหรอื ไมพ่ อใจ เปน็ ต้น กาเนิดของเสยี งในภาษา อวัยวะที่ทาให้เกิดเสียงในภาษา ได้แก่ ปอด หลอดลม กล่องเสียงซ่ึงอยู่ในลาคอตรงลูกกระเดือก ต่อมาก็มีล้ินไก่และส่วนต่าง ๆ ในช่องปาก ได้แก่ เพดาน ล้ิน ปุ่มเหงือก และริมฝีปาก นอกจากน้ีจมูกก็มีส่วน ทาให้เกิดเสียงได้ด้วย อวัยวะต่าง ๆ เหล่านี้ทางานประสานกัน ทาให้เกิดเสียงในภาษาขึ้น เราจะสังเกตได้ว่า อวัยวะท่ีทาใหเ้ กิดเสียงตา่ ง ๆ ยงั ทาหน้าท่สี าคญั อยา่ งอ่ืน ในการดารงชวี ติ อีกด้วย เช่น ปากเรามีไว้รับประทาน อาหาร หลอดลม ปอด มีหน้าทเ่ี กยี่ วกับหายใจ เป็นต้น ชนิดและลักษณะของเสยี งสระในภาษาไทย โดยท่วั ไป เสยี งในภาษามอี ยู่ ๓ ชนดิ ได้แก่ เสยี งสระ เสยี งพยญั ชนะ และเสยี งวรรณยุกต์ เสียงสระ หมายถึง เสียงท่ีเกิดจากลมท่ีออกจากปอดผ่านหลอดลม และกล่องเสียง ท่ีลาคอออกมา พ้นช่องปาก หรือช่องจมูก โดยไม่ถูกสกัดก้ัน ณ ที่หนึ่งท่ีใดในช่องทางของลม แต่ในขณะที่เราออกเสียงสระ สายเสียงท่ีอยู่ในกลอ่ งเสยี งจะปิดและเปดิ อย่างรวดเร็ว สายเสียงจงึ มีความสนั่ สะเทอื น บังเกดิ ความกังวานหรือ ความก้อง และออกเสยี งไดน้ าน เช่น อา อี อัว ฯลฯ เสียงสระในภาษาไทยแบ่งออกได้ ๒๑ เสียง แบ่งเป็นเสียงสระเด่ียว ๑๘ เสียง และเป็นเสียงสระ ประสม ๓ เสียง ดงั นี้ เสียงสระเด่ยี ว มีเสียงสระ ๑๘ เสียง แบ่งเปน็ เสยี งสั้น ๙ เสยี ง และเสียงยาว ๙ เสียงดังนี้ สระเสียงสนั้ สระเสียงยาว /อะ/ /อา/ /อิ/ /อ/ี /อึ/ /อื/ /อ/ุ /อ/ู /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /เออะ/ /เออ/ /โอะ/ /โอ/ /เอาะ/ /ออ/

60 5630 สระเด่ยี ว คือสระท่เี ปล่งออกมาเปน็ เสียงเดียว เกิดจากลมผ่านเสน้ เสยี ง ซง่ึ มีการสะบัดแลว้ ผ่านเลยไป ทางช่องปาก โดยไม่ถูกกัก ณ อวัยวะใดอวัยวะหน่ึง แต่จะถูกล้ินและริมฝีปากทาให้เกิดเสียงในลักษณะใด ลกั ษณะหนึ่ง เมือ่ นักเรยี นออกเสียงสระเดี่ยวจึงมีอวัยวะสาคัญ ได้แก่ ล้นิ และรมิ ฝีปาก ที่ร่วมกนั สรา้ งเสยี งสระ ให้แตกต่างกันออกไป การยกระดับล้ิน ระดับสูง กลาง ต่า ส่วนของล้ิน ล้ินส่วนหน้า ส่วนกลาง ส่วนหลัง ลักษณะของริมฝีปากเหยียด ปกติ ห่อกลม และลักษณะช่องปาก แคบ ปานกลาง กวา้ ง ล้วนแต่ทาให้นักเรียน ออกเสยี งสระข้างตน้ ไดแ้ ตกตา่ งกนั ลักษณะอวยั วะในการออกเสยี งสระ สรปุ ไดด้ งั น้ี สระเสียงส้ัน สระเสยี งยาว ช่องปาก ระดบั ล้ิน ริมฝปี าก อิ อี แคบ สว่ นหน้ากระดกข้นึ สูง เหยียดออก เอะ เอ ส่วนหน้ากระดกปานกลาง เหยยี ดออก แอะ แอ ปานกลาง ส่วนหน้าอยู่ในระดับตา่ เหยียดออก อี อือ กวา้ ง สว่ นกลางกระดกข้ึนสูง เออะ เออ แคบ สว่ นกลางกระดกปานกลาง ปกติ อะ อา ส่วนกลางอยใู่ นระดับตา่ ปกติ อุ อู ปานกลาง สว่ นหลังกระดกขน้ึ สูง ปกติ โอะ โอ กวา้ ง ส่วนหลังกระดกปานกลาง หอ่ กลม เอาะ ออ แคบ ส่วนหลังอย่ใู นระดบั ตา่ หอ่ กลม หอ่ กลม ปานกลาง กว้าง สระประสมหรอื สระเล่อื น เสียงในภาษาไทยนอกจากจะจาแนกเป็นเสียงสระเด่ียวหรือสระแท้ ๑๘ เสียงแล้ว ยังจาแนกเป็น เสียงสระประสมหรือสระเลื่อนอีก ๓ เสียง ที่เรียกว่าสระเลื่อนหรือสระประสมเพราะท่ีเกิดจากลมซึ่งเคลื่อนท่ี ผา่ นอวัยวะในชอ่ งปากท่ีมีการเปลย่ี นหรอื เลื่อนเสยี ง ระหว่างสระเดีย่ ว สระประสม (สระเลือ่ น) มี ๓ เสยี ง คอื เอีย (อี + อา) เอือ (ออื + อา) อวั (อู + อา) ข้อสงั เกต อนึ่งตาราหลักภาษาไทยบางตารานับเสียงสระมี ๒๔ เสียง โดยนับสระเดี่ยว ๑๘ เสียง เสียงสระ ประสม ๖ เสียง ซึ่งนอกจาก เอีย เออื อัว แลว้ ยงั มีสระเสียงสั้นอีก ๓ เสียง เอยี ะ เอือะ และอวั ะ แต่คาทใี่ ช้ สระเหล่านี้พบน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นคาเลียนเสียงธรรมชาติ และคาที่มาจากภาษาถิ่นหรือภาษาต่างประเทศ เชน่ ผวั ะ ยัวะ เกย๊ี ะ เจ๊ียะ มะเมยี เปน็ ต้น นักภาษาศาสตร์จงึ ไม่นบั ว่าสระเหล่านีเ้ ป็นเสยี งสาคญั ในภาษา

61 5641 บางตาราก็นับเสียงสระว่ามี ๓๒ เสียงโดยนับสระเดยี่ ว ๑๘ เสียง ไดแ้ ก่ /อะ/ /อา/ /อ/ิ /อ/ี /อึ/ /อ/ื /อ/ุ /อู/ /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /เออะ/ /เออ/ /โอะ/ /โอ/ /เอาะ/ /ออ/ สระประสม ๖ เสยี ง ได้แก่ เอียะ เอีย เออื ะ เออื อวั ะ อวั สระเกนิ ๘ เสียง ไดแ้ ก่ /อา/ /ไอ/ /ใอ/ /เอา/ /ฤ/ /ฤๅ/ /ฦ/ /ฦๅ/ บางตาราไม่นับสระเกินเพราะถอื วา่ เป็นสระท่ีไม่ใช่สระแทๆ้ มีพยัญชนะมาประสม เช่น อา (อะ+ม) มีเสยี งตัว ม เป็นตวั สะกด ไอ (อะ+ย) มีเสียงตัว ย เป็นตัวสะกด ใอ (อะ+ย) มเี สียงตวั ย เป็นตวั สะกด เอา (อะ+ว) มีเสยี ง ว เป็นตัวสะกด ฤ (รึ) (ร + ื) มีเสยี งพยญั ชนะ ร ฤๅ (รอื ) (ร + ื) มีเสยี งพยญั ชนะ ร ฦ (ล)ึ (ล + )ื มเี สยี งพยัญชนะ ล ฦๅ (ลือ) (ล + )ื มีเสียงพยญั ชนะ ล ฉะนั้นบางตาราจึงนับเสียงสระว่า มีเพียง ๒๑ เสียง โดยไม่นับสระเกิน เพราะถือว่าไม่ใช่เสียงสระ แท้ ๆ มีเสียงพยัญชนะประสมอยู่และไม่นับสระประสม /เอียะ/ /เอือะ/ /อัวะ/ เพราะคาประสมสระเหล่านี้ มนี อ้ ยและเปน็ คายมื จากภาษาอื่น

62 6525 แผนภาพอวัยวะทีเ่ กี่ยงข้องกับการออกเสียง หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๗ เรื่อง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ) รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑

63 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๘ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรื่อง พนื้ ฐานอ่านเขียน เร่ือง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ) เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรียนร้ภูวิชาษาภาไาทษยาไทย รายวิชาพพ้ืนน้ื ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ขอบเขตเน้ือหา กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ เสยี งในภาษาไทย (เสยี งสระ) ขน้ั นา ๑. ใบความรู้ เรอ่ื ง ตาแหนง่ ของสระในภาษาไทย จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ นักเรียนจับคู่เล่นเกมทายซฉิ ันช่ืออะไร ใหน้ ักเรียน ๒. ใบงาน เรอื่ ง เสยี งในภาษาไทย (เสยี งสระ) ด้านความรู้ บอกเสียงสระทปี่ รากฏในชอื่ ของเพื่อน ๆ ๓. แผนภมู ติ าแหนง่ ของสระ อธิบายตาแหนง่ ของสระในภาษาไทยได้ ขนั้ สอน ภาระงาน/ชน้ิ งาน ดา้ นทักษะกระบวนการ ๑. ครูใหน้ ักเรยี นสงั เกตจากแผนภมู ิเก่ยี วกบั ครมู อบหมายใหน้ กั เรียน จาแนกสระในภาษาไทยได้ ตาแหนง่ ของสระท้ัง ๒๑ ตัว ซึง่ แตล่ ะตัวจะอยใู่ น ด้านคุณลกั ษณะ ตาแหนง่ ตา่ ง ๆ กนั เช่น อย่หู นา้ พยัญชนะ ฝึกออกเสียงสระท้งั ๒๑ ตวั ๑. มวี ินยั ๒. ใฝ่เรยี นรู้ หลังพยญั ชนะ บนพยัญชนะ เปน็ ต้น ๓. รกั ความเปน็ ไทย ๒. ครใู ห้นักเรียนระดมความคิดเก่ียวกบั การวางสระ ไมถ่ ูกตาแหน่งจะมผี ลอย่างไรพร้อมศกึ ษาใบความรู้ เรือ่ ง ตาแหน่งของสระในภาษาไทย ๓. ครใู ห้นักเรียนทาใบงาน เร่อื ง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ) ๔. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันตรวจใบงาน ให้ ขอ้ เสนอแนะแก้ไขและชมเชยนักเรียนท่ีทาได้ถูกต้อง 56

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ือง พื้นฐานอ่านเขียน แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๘ 64 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภวิชาษาภาไาทษยาไทย เรื่อง เสยี งในภาษาไทย (เสียงสระ) เวลา ๑ ชั่วโมง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ รายวิชาพพ้นื ืน้ ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย ข้ันสรปุ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ ลักษณะของสระใน ภาษาไทย เพ่ือทาความเข้าใจตรงกนั และนาไปใช้ได้ อยา่ งถูกต้อง 57

65 5685 การวดั และประเมนิ ผล สงิ่ ทต่ี ้องการวัด/ประเมนิ วธิ กี าร เครื่องมอื ที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ตาแหนง่ ของสระในภาษาไทย สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ตรวจใบงาน เรื่อง ใบงาน เรือ่ ง เสียงใน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ จาแนกเสียงสระในภาษาไทย เสยี งในภาษาไทย ภาษาไทย (เสียงสระ) รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ได้ (เสียงสระ) ด้านคณุ ลักษณะ ประเมินคุณลักษณะ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์คุณภาพ ๑. มีวินัย คณุ ลักษณะ ระดับ ๒ ๒. ใฝเ่ รียนรู้ ๓. รักความเปน็ ไทย ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................ผู้สอน (.......................................................) วันที่..........เดอื น..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ......................................ผูต้ รวจ (.........................................................) วนั ท.่ี .........เดอื น..................................พ.ศ…...….

66 5696 ใบความรู้ เรอ่ื ง ตาแหนง่ ของสระในภาษาไทย หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๘ เรอ่ื ง เสียงในภาษาไทย (เสยี งสระ) รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ สระอยู่ท่ใี ด สระ ๒๑ รปู มวี ิธเี ขยี นดังนี้ ๑. เขยี นไว้หน้าหยัญชนะมี ๔ รูป ไดแ้ ก่ เ ใ ไ โ ๒. เขียนไว้หลงั พยัญชนะ ๗ รปู ได้แก่ ะ ๅ ฤ ย ร ว อ ๓. เขียนไว้บนพยัญชนะ มี ๕ รปู ได้แก่ ั ิ ่ ๔. เขยี นไว้ล่างพยญั ชนะมี ๒ รูป ได้แก่ ุ ู ๕. เขียนโดด ๆ ไม่ต้องประสมพยญั ชนะมี ๔ รปู ได้แก่ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ๖. ใช้ไดต้ ามลาพังไมต่ ้องประสมกับรปู สระอ่นื มี ๑๗ รปู ได้แก่ ะ ั า ิ ุ ู เ ใ ไ โ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ร อ ๗. ตอ้ งประสมกับรูปสระอื่นมี ๔ รปู ไดแ้ ก่ ่ ย ว ๘. ใชล้ าพงั กไดใ้ ช้ควบกับพยัญชนะกได้ ออกเสียงคลา้ ยมี ร อย่ดู ว้ ย มี ๑ รูป คอื ฤ (ตัว ฤๅ ฦ ฦๅ ตาม หลักกใช้ควบกบั พยัญชนะได้แตไ่ ม่มีทีใ่ ช้) ๙. ใชเ้ ป็นสระกได้ ใช้เปน็ พยัญชนะกได้ มี ๔ รปู ได้แก่ ย ร ว อ

67 6670 ใบงาน เรอ่ื ง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ) หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๘ เร่อื ง เสยี งในภาษาไทย (เสียงสระ) รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ กิจกรรมที่ ๑ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขยี นเครื่องหมาย ✓หน้าข้อความท่ีถูกตอ้ ง และเขียน เคร่อื งหมาย  หน้าข้อความทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง ........................ ๑. แหล่งเริม่ ต้นของเสียง คือ ปาก ........................ ๒. เสียงสระ และเสียงพยัญชนะนบั เปน็ เสียงในภาษา ........................ ๓. เสียงทมี่ นษุ ย์ใชเ้ พื่อสอ่ื ความหมาย คือเสยี งในภาษา ........................ ๔. เสียงในภาษาเกิดจากลมเดินทางจากปอดผ่านหลอดลมออกมาทางชอ่ งปากหรือจมูก โดยไม่กระทบส่ิงใดเลย ........................ ๕. อวัยวะตา่ ง ๆ ในปาก เช่น ลิน้ ไก่ ลนิ้ ฟัน เพดาน และริมฝีปาก มีส่วนในการทาให้ เกิดเสยี งในภาษาฟังเปน็ เสยี งตา่ งกนั ออกไป กิจกรรมท่ี ๒ คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามลงในชอ่ งวา่ งต่อไปน้ีให้ถูกต้องเหมาะสม ๑. เสียงในภาษาเรม่ิ ต้นที่ .......................................................................................................................... .......... ๒. เสยี งในภาษาไทยแบ่งออกได.้ ............................เสยี ง ไดแ้ ก.่ ........................................................................... ๓. เสียงสระทอี่ ย่ใู นคาเหลา่ น้ี คือ ซู่ ........................... แซง ............................ งอ .......................... วัว .............................. ๔. นักเรยี นจาแนกคาสระเสียงเด่ยี วแท้ลงในชอ่ งวา่ ง กวน จดื กลงึ ตู้ ขลุย่ เบอื่ เตรียม เทพ เกลด็ เพลีย กดั จาน ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ๕. ขดี เส้นใต้คาท่ีมสี ระประสม (สระเล่ือน) ทงุ่ นา ป่าเขา หนองน้า บา้ นเรือน

68 6681 เฉลยใบงาน เรือ่ ง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๘ เรอ่ื ง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ) รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ กิจกรรมที่ ๑ คาชแี้ จง ให้นกั เรียนเขียนเครื่องหมาย ✓หนา้ ข้อความทถ่ี ูกต้อง และเขียน เคร่ืองหมาย  หนา้ ข้อความทีไ่ ม่ถูกต้อง  ๑. แหลง่ เริม่ ต้นของเสยี ง คือ ปาก (ปอด) ✓ ๒. เสยี งสระ และเสยี งพยญั ชนะนบั เปน็ เสียงในภาษา ✓ ๓. เสยี งทม่ี นุษย์ใช้เพื่อสอ่ื ความหมาย คือเสียงในภาษา  ๔. เสยี งในภาษาเกดิ จากลมเดนิ ทางจากปอดผา่ นหลอดลมออกมาทางช่องปากหรือจมูก โดยไมก่ ระทบสิง่ ใดเลย ✓ ๕. อวัยวะต่างๆ ในปาก เช่น ลิ้นไก่ ล้นิ ฟนั เพดาน และริมฝปี าก มสี ่วนในการทาให้ เกดิ เสียงในภาษาฟังเปน็ เสียงต่างกนั ออกไป กจิ กรรมที่ ๒ คาช้ีแจง ให้นกั เรียนตอบคาถามลงในช่องว่างต่อไปน้ใี หถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม ๑. เสียงในภาษาเริ่มตน้ ที่ ลมจากปอด ๒. เสียงในภาษาไทยแบ่งออกได้ ๓ เสียง ไดแ้ ก่ เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ ๓. เสียงสระทอี่ ย่ใู นคาเหล่านี้ คอื ซู่ สระ อู แซง สระ แอ งอ สระ ออ วัว สระ อัว ๔. นกั เรยี นจาแนกคาสระเสยี งเด่ียวแท้ลงในช่องว่าง กวน จดื กลงึ ตู้ ขลยุ่ เบื่อ เตรยี ม เทพ เกลด็ เพลยี กดั จาน จืด (สระอือ) กลึง สระอึ ตู้ สระอู ขลุย่ สระอุ กดั สระ อะ จาน สระ อา เทพ สระเอ เกลด็ สระเอะ (เอยี อัว เอือ ป็นสระประสมหรือสระเล่ือน) ๕. ขีดเสน้ ใต้คาทีม่ ีสระประสม (สระเลอ่ื น) ทุง่ นา ปา่ เขา หนองน้า บ้านเรอื น

69 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรื่อง พ้ืนฐานอา่ นเขียน แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๙ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภวิชาษาภาไาทษยาไทย เรอ่ื ง เสียงในภาษาไทย (เสยี งพยญั ชนะ) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ สอื่ /แหล่งเรียนรู้ ขอบเขตเน้ือหา รายวชิ าพพน้ื ้นื ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย ๑. แผนภมู พิ ยัญชนะ เสียงในภาษาไทย (เสยี งพยัญชนะ) กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา ๒. ใบความรู้ เร่อื ง เสียงในภาษาไทย (เสยี ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ครูให้นักเรยี นฝกึ ออกเสยี งพยัญชนะจากแผนภมู ิ ด้านความรู้ ดงั ต่อไปนี้ พยญั ชนะ) ๑. อธบิ ายความหมายเสยี งพยญั ชนะในภาษาไทย แผนภูมิพยญั ชนะ ๓. ใบงาน เร่ือง เสียงในภาษาไทย (เสยี งพยญั ชนะ) ได้ กขฃคฆง จฉชซฌญ ภาระงาน/ชิน้ งาน ๒. อธิบายลกั ษณะของเสียง พยญั ชนะในภาษาไทย ฎฏฐฑฒณ นกั เรยี นฝึกอา่ นออกเสียงพยญั ชนะ ดตถทธน ได้ บปผฝพฟภม ยรลวศษสหฬอฮ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ จาแนกเสยี งพยัญชนะในภาษาไทยได้ จากนั้นครสู นทนาซกั ถามนักเรยี นเกีย่ วกบั แหลง่ กาเนิดของเสียงพยัญชนะ ด้านคณุ ลักษณะ ขั้นสอน ๑. มวี นิ ัย ๑. นกั เรียนแบ่งกล่มุ ๔ กล่มุ ศกึ ษาใบความรู้ เรือ่ ง ๒. ใฝ่เรียนรู้ เสียงในภาษาไทย (เสยี งพยัญชนะ) ตามหวั ข้อตอ่ ไปนี้ ๓. รกั ความเป็นไทย 62 69

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง พื้นฐานอา่ นเขยี น แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๙ 70 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภวิชาษาภาไาทษยาไทย เรือ่ ง เสียงในภาษาไทย (เสยี งพยัญชนะ) เวลา ๑ ช่ัวโมง รายวิชาพพน้ื น้ื ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ กลุ่มท่ี ๑ ความหมายของเสียงพยัญชนะ กลุม่ ท่ี ๒ เสียงและรูปพยัญชนะ กลมุ่ ท่ี ๓ เสียงพยัญชนะตน้ กลมุ่ ท่ี ๔ เสยี งพยญั ชนะท้ายพยางค์ ๒. แตล่ ะกลุ่มระดมความคดิ และส่งตัวแทนนาเสนอ หนา้ ชั้นเรยี น ๓. ครแู จกใบงานเรื่อง เสยี งในภาษาไทย (เสียง พยัญชนะ) ให้นกั เรยี นทา ๔. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั ตรวจใบงานเสนอแนะแกไ้ ข ใหถ้ ูกต้องและชมเชยนกั เรียนทท่ี าได้ถูกต้อง ข้นั สรุป ครูให้นักเรยี นช่วยกันสรปุ เรอื่ งเสยี งพยัญชนะ เพอ่ื ให้เขา้ ใจตรงกันอีกคร้งั 63

71 7641 การวัดและประเมนิ ผล ส่ิงทตี่ ้องการวัด/ประเมนิ วิธีการ เครอ่ื งมือท่ใี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ๑. อธิบายความหมายของเสยี ง สงั เกตพฤติกรรมกลุม่ แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ พยัญชนะ การทางานกลมุ่ รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ๒. อธบิ ายลกั ษณะของเสยี ง พยัญชนะ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ จาแนกเสยี งพยญั ชนะใน ตรวจใบงาน เรือ่ ง ใบงาน เรือ่ ง ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ภาษาไทยได้ เสยี งในภาษาไทย เสียงในภาษาไทย รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป (เสียงพยญั ชนะ) (เสียงพยญั ชนะ) ดา้ นคุณลกั ษณะ ๑. มวี นิ ยั ประเมนิ คุณลักษณะ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ๒. ใฝ่เรยี นรู้ อนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะอันพึง ระดบั ๒ ๓. รักความเป็นไทย ประสงค์ ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วนั ที.่ .........เดอื น..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ......................................ผตู้ รวจ (.........................................................) วันท.ี่ .........เดือน..................................พ.ศ…...….

72 7625 ใบความรู้ เรอื่ ง เสยี งในภาษาไทย (เสยี งพยัญชนะ) หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๙ เร่ือง เสยี งในภาษาไทย (เสียงพยัญชนะ) รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ความหมาย เสียงพยัญชนะ (เสียงแปร) หมายถึง เสียงท่ีเกิดจากลมท่ีออกจาก ปอด แต่ขณะที่ลมผ่านหลอดลม หรือออกมาทางช่องทางเดินของลมจะถูกสกัดก้ัน ณ ท่ีใดท่ีหน่ึง ตั้งแต่ในลาคอ ในช่องปาก หรือในช่องจมูก และลมอาจถูกสกัดกั้นไว้ทั้งหมด หรือถูกสกัดก้ันเป็นบางส่วน แล้วจึงผ่านออกมาภายนอก ทาให้เกิดเสียง พยัญชนะต่าง ๆ เสียงชนิดนี้ได้แก่เสียงท่ีอยู่ต้นพยางค์ เช่น กะ โค งู ฯลฯ เสียงพยัญชนะในภาษาไทยมี ๒๑ เสียง ๔๔ รูป ดังน้ี เสยี งพยญั ชนะไทย ๒๑ เสยี ง รปู พยญั ชนะไทย ๔๔ รูป ๑. /ก/ ก ๒. /ค/ ข ฃ ค ฅ ฆ ๓. /ง/ ง ๔. /จ/ จ ๕. /ช/ ช ฌ ฉ ๖. /ซ/ ซ ส ศ ษ ๗. /ด/ ด ฎ ๘. /ต/ ต ฏ ๙. /ท/ ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ ๑๐. /น/ นณ ๑๑. /บ/ บ ๑๒. /ป/ ป ๑๓. /พ/ พภผ ๑๔. /ฟ/ ฟฝ ๑๕. /ม/ ม ๑๖. /ย/ ยญ ๑๗. /ร/ ร ๑๘. /ล/ ลฬ ๑๙. /ว/ ว ๒๐. /ฮ/ ฮห ๒๑. /อ/ อ

73 7636 ข้อสังเกต บางครั้งเสียงพยัญชนะเสียงเดียวมีรูปพยัญชนะมากท่ีสุดถึง ๖ ตัว เช่น เสียง ท มีรูป พยญั ชนะ ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ เปน็ ตน้ แตบ่ างเสยี งก็มรี ูปพยัญชนะเพียงรูปเดียวเทา่ นน้ั เสียงพยัญชนะต้น เสยี งพยญั ชนะตน้ แบ่งออกเป็น ๒ ชนดิ คอื ๑. เสียงพยญั ชนะตน้ เดยี่ ว เช่น กนั ขาน คดิ ฉาน ชอบ /ก/ /ข/ /ค/ /ช/ เปน็ เสยี งพยญั ชนะตน้ ๒. เสยี งพยัญชนะควบกลา้ หมายถงึ พยญั ชนะ ๒ เสยี ง ทีอ่ อกเสยี งพรอ้ มกัน เสียงพยัญชนะควบกล้า ในภาษาไทยอยู่ไดใ้ นตาแหน่งตน้ พยางคเ์ ทา่ นั้น เชน่ กราบ ขรึม โคลง ความ /กร/ /คล/ /คว/ เปน็ ตน้ และ ยังมีพยัญชนะควบกล้าซึ่งอยู่ในต้นพยางค์ในคาที่เรารับมาจากภาษาอื่น เช่น อินทรา /ทร/ ฟรี /ฟร/ ฟลุก / ฟล/ เปน็ ตน้ พยัญชนะท้ายพยางค์ ในภาษาไทยเสียงพยัญชนะทั้ง ๒๑ เสียง ใช้เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ไม่ได้ท้ังหมด เรามีเสียง พยญั ชนะท้ายพยางค์ เพียง ๘ มาตราเท่าน้ัน ส่วนพยางค์ทไี่ มม่ ีเสยี งพยัญชนะท้ายพยางค์จัดอยูใ่ นมาตราแม่ ก กา เชน่ จะ มา ตี ครู เหาะ พอ แกะ เตะ เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ มี ๘ มาตรา หรือ ๘ แม่ ในแต่ละมาตราอาจใช้พยัญชนะตัวเดียว พยญั ชนะควบกล้าหรอื พยญั ชนะทมี่ สี ระกากับก็ได้ดงั นี้ ๑. แม่ กก มีเสียง ก เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ก กร ข ค คร ฆ ออกเสียงเหมือน ก สะกด เชน่ ลกู จกั ร เลข นาค สมคั ร เมฆ ๒. แม่ กด มีเสียง ด เป็นเสียงพยัญชนะเป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ จ ช ขร ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ตร ถ ท ทร ธ ส ศ ษ ออกเสียงเหมือน ด สะกด เช่น กัด นิจ ราช เพชร ก๊าซ กฎ ปรากฏ รัฐ ครฑุ พัฒนา รัตน์ ฉัตร รถ พุทธ ภัทร โกรธ รส อากาศ ๓. แม่ กบ มเี สยี ง บ เป็นเสยี งพยัญชนะทา้ ยพยางค์ ใช้ บ ป พ ฟ ภ ออกเสียงเหมอื น บ สะกด เช่น บาป ภาพ กราฟ ลาภ ๔. แม่ กง มีเสียง ง เป็นตัวสะกดหรือพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ง สะกด เช่น จง ยิง สูง สังข์ สงฆ์ ๕. แม่ กน มีเสียง น เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ น ญ ณ ร ล ฬ ออกเสียงเหมือน น สะกด เช่น เงนิ เข็ญ คณุ พร กล จุฬ ๖. แม่ กม มีเสยี ง ม เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ม สะกด เชน่ ผม เค็ม ๗. แม่ เกย มีเสียง ย เปน็ เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ย สะกด เช่น คยุ พาย สวย โอย ๘. แม่ เกอว มีเสียง ว เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ว สะกด เช่น สาว ฉิว เร็ว เปลว แล้ว นอกจากนั้นยังมีคาท่ีประสมสระเสียงสั้นหรือเสียงยาว แต่ไม่มีตัวสะกดเรียกว่า แม่ ก กา เช่น กา จะตี ดุ เสอื หนี

74 7674 ใบงาน เรื่อง เสียงในภาษาไทย (เสยี งพยญั ชนะ) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๙ เรื่อง เสียงในภาษาไทย (เสยี งพยญั ชนะ) รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนออกเสียงคาต่อไปนี้ แล้วเขียนบอกพยญั ชนะต้นเสยี งและพยัญชนะทา้ ยเสียง พยัญชนะต้นเสียง พยญั ชนะท้ายเสียง ๑. คลัง ............................... ............... ........................ .............. ๒. สาว ............................... ............... ........................ .............. ๓. เลน่ ............................... ............... ........................ .............. ๔. เคย ............................... ............... ........................ .............. ๕. มิตร ............................... ............... ........................ .............. ๖. เพลง ............................... ............... ............................... ............... ๗. ศรี ............................... ............... ............................... ............... ๘. กราฟ ............................... ............... ............................... ............... ๙. ครฑุ ............................... ............... ............................... ............... ๑๐. ถ้วย ............................... ............... ............................... ............... ๑๑. ทราม ............................... ............... ............................... ............... ๑๒. บรรยาย ............................... ............... ............................... ............... ๑๓. เตรยี มพรอ้ ม ............................... ............... ............................... ............... ๑๔. ขวนขวาย ............................... ............... ............................... ............... ๑๕. ปราบปราม ............................... ............... ............................... ............... ๑๖. เควง้ ควา้ ง ............................... ............... ............................... ............... ๑๗. พลกิ แพลง ............................... ............... ............................... ............... ๑๘. กลาดเกลอื่ น ............................... ............... ............................... ............... ๑๙. ปลาวาฬ ............................... ............... ............................... ............... ๒๐. เปย่ี มสขุ ............................... ............... ............................... ...............

75 7685 เฉลยใบงาน เรอื่ ง เสียงในภาษาไทย (เสียงพยัญชนะ) หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๙ เรอ่ื ง เสยี งในภาษาไทย (เสียงพยญั ชนะ) รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ คาช้แี จง ให้นักเรียนออกเสยี งคาตอ่ ไปนี้ แลว้ เขียนบอกพยญั ชนะต้นเสยี งและพยัญชนะทา้ ยเสียง ๑. คลงั พยญั ชนะตน้ เสียง พยญั ชนะทา้ ยเสียง ๒. สาว .พ...ย..ัญ...ช...น..ะ...ค..ว..บ...ก..ล..า้... ./..ค..ล.../....... .แ...ม..่ก...ง............... .../..ง../....... .พ...ย..ญั...ช...น..ะ...เ.ด..่ีย...ว........ ./..ส../.......... .แ...ม..่ก...เ.ก..อ...ว......... .../..ว../....... .พ...ย..ญั...ช...น..ะ...เ.ด..ี่ย...ว........ ./..ล../.......... .แ...ม..่ก...น............... .../..น../....... ๓. เลน่ .พ...ย..ัญ...ช...น..ะ...เ.ด..ยี่...ว........ ./..ค../.......... .แ...ม..่เ..ก..ย.............. .../..ย../....... .พ...ย..ญั...ช...น..ะ...เ.ด..ีย่...ว........ ./..ม../.......... .แ...ม..ก่...ด............... .../..ด../....... ๔. เคย .พ...ย..ญั...ช...น..ะ...ค..ว..บ...ก..ล..้า... ./..พ...ล../....... .....แ...ม..ก่..ง................... .../..ง../........ ๕. มิตร ๖. เพลง ๗. ศรี .พ...ย..ญั...ช...น..ะ...ค..ว..บ...ก..ล..้า... ./..ศ../.......... .....แ...ม..ก่....ก..า............... ...-............ .(.ค...ว..บ..ไ..ม..่แ...ท..)้............. ๘. กราฟ .พ...ย..ัญ...ช...น..ะ...ค..ว..บ...ก..ล..า้... ./..ก..ร../........ .....แ...ม..ก่..บ................... .../..บ../........ ๙. ครฑุ .พ...ย..ญั...ช...น..ะ...ค..ว..บ...ก..ล..้า... ./..ค..ร../........ .....แ...ม..่ก..ด................... .../..ด../........ .พ...ย..ญั...ช...น..ะ...เ.ด..ย่ี...ว........ ./..ถ../.......... .....แ...ม..่เ.ก...ย................. .../..ย../........ ๑๐. ถว้ ย .พ...ย..ัญ...ช...น..ะ...ค..ว..บ...ก..ล..้า... ./..ซ../.......... ....แมก่ ม................. .../..ม../........ ๑๑. ทราม ..(..ค..ว..บ...ไ.ม...่แ..ท...้)........... .พ...ย...ญั ...ช..น...ะ..เ.ด...ีย่ ..ว........ ๑๒. บรรยาย .พ...ย...ัญ...ช..น...ะ..ค..ว..บ...ก..ล...้า.. ./..บ..././..ย../.... .....แ...ม..ก่..น....แ...ม..่เ.ก...ย...... .../..น../.../..ย../. ๑๓. เตรียมพร้อม .พ...ย...ัญ...ช..น...ะ..ค..ว..บ...ก..ล...า้ .. ./.ต...ร../.../..พ..ร. / ...........แมก่ ม ........ .../..ม../........ ๑๔. ขวนขวาย .พ...ย...ัญ...ช..น...ะ..ค..ว..บ...ก..ล...้า.. ./..ข..ว../........ ....แมก่ น................ .../..น../........ ๑๕. ปราบปราม .พ...ย...ัญ...ช..น...ะ..ค..ว..บ...ก..ล...า้ .. ./..ป...ร../....... ....แมก่ บ แม่กม..... .../..บ../.../..ม.../ ๑๖. เคว้งควา้ ง .พ...ย...ญั ...ช..น...ะ..ค..ว..บ...ก..ล...้า.. ./..ค..ว.../....... ....แมก่ ง................ .../..ง../........ ๑๗. พลกิ แพลง .พ...ย...ญั ...ช..น...ะ..ค..ว..บ...ก..ล...า้ .. ./..พ...ล../....... .......แม่กก แม่กง.. .../..ก../.../..น../. ๑๘. กลาดเกลอ่ื น .พ...ย...ญั ...ช..น...ะ..ค..ว..บ...ก..ล...้า.. ./..ก..ล.../....... ...แม่กด แม่กน.... .../..ด../...../.น../ ๑๙. ปลาวาฬ .พ...ย...ัญ...ช..น...ะ..เ.ด...ี่ย..ว........ ./..ป...ล../..../..ว. / .....แม่ก กา แม่กน. .../..น../........ .พ...ย...ญั ...ช..น...ะ..เ.ด...ย่ี ..ว........ ./..ป.../.../.ส.../.. .แมก่ ม แม่กก........ .../..ม../../..ก../.. ๒๐. เปี่ยมสขุ

76 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรือ่ ง พืน้ ฐานอ่านเขียน แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑๐ เวลา ๑ ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้วิชาษาภาไาทษยาไทย เร่ือง เสียงในภาษาไทย (เสียงวรรณยุกต์) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ขอบเขตเนื้อหา เสียงในภาษาไทย(เสยี งวรรณยกุ ต)์ รายวชิ าพพนื้ ้ืนฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย สื่อ/แหล่งเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. บตั รคา จุดประสงค์การเรยี นรู้ ข้ันนา ดา้ นความรู้ ครูนาบัตรคา ปา ป่า ปา้ ป๊า ปา๋ เสือ เสอ่ื เส้อื และ ๒. ใบความรู้ เรอ่ื ง เสียงในภาษาไทย (เสยี ง ๑. มคี วามร้คู วามเข้าใจเรอื่ งเสียงวรรณยุกต์ใน ภาษาไทย ให้นกั เรยี นวิเคราะห์คาว่าเมื่อเปลี่ยนเสยี งวรรณยุกต์ วรรณยกุ ต์) ๒. อธบิ ายความสาคญั ของเสียงวรรณยกุ ตใ์ น คานั้นจะมีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร ๓. ใบงาน เรอื่ ง เสยี งในภาษาไทย (เสียงวรรณยุกต์) ข้นั สอน ภาระงาน/ช้นิ งาน ภาษาไทยได้ ๑. แบ่งนักเรยี นออกเป็นกลุ่มศึกษาใบความรู้ เรือ่ ง ครูมอบหมายใหน้ กั เรียน ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ฝกึ ผันอกั ษรโดยกำ�หนดคำ� จาแนกเสยี งวรรณยุกตไ์ ด้ เสยี งในภาษาไทย(เสยี งวรรณยุกต)์ ดงั น้ี แลว้ เปลยี่ นรปู วรรณยุกต์ กล่มุ ที่ ๑ ความหมาย พร้อมยกตัวอยา่ งคา ด้านคณุ ลกั ษณะ ๑. มวี ินยั กลุ่มที่ ๒ ความสาคญั พร้อมยกตัวอยา่ งคา ๒. ใฝ่เรยี นรู้ กลมุ่ ท่ี ๓ รปู และเสยี งวรรณยุกต์ พร้อม ยกตวั อย่างคา ๓. รักความเปน็ ไทย กลมุ่ ที่ ๔ อักษรสามหมู่ (อักษรสูง) กลุ่มท่ี ๕ อักษรสามหมู่ (อกั ษรกลาง) กลุ่มที่ ๖ อกั ษรสามหมู่ (อักษรตา่ ) กลุม่ ท่ี ๗ อักษรสามหมู่ (อักษรต่าคู่ – อักษร เดีย่ ว) 7696

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง พ้ืนฐานอ่านเขียน แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๐ 77 กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้วิชาษาภาไาทษยาไทย เร่ือง เสียงในภาษาไทย (เสยี งวรรณยุกต์) เวลา ๑ ชวั่ โมง รายวิชาพพื้นนื้ ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ๒. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มวเิ คราะหแ์ ละรวบรวมผลงาน ตามหัวข้อที่ได้รบั มอบหมาย ๓. แต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนนาเสนอผลงานกลุ่ม ๔. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เติมเตม็ ผลงานแตล่ ะกลมุ่ ๕. ครูแจกใบงาน เร่อื ง เสียงในภาษาไทย (เสียง วรรณยุกต์) ให้นักเรยี นทาใบงาน ๖. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั ตรวจใบงาน แกไ้ ข เพิม่ เติมให้ถูกตอ้ ง ขั้นสรปุ ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ ความรู้ เรอ่ื ง เสยี ง วรรณยกุ ตใ์ ห้มีความเข้าใจตรงกนั 70 77

78 7781 การวัดและประเมินผล วิธีการ เคร่ืองมอื ที่ใช้ เกณฑ์ สงิ่ ท่ตี ้องการวัด/ประเมิน สงั เกตการทางานกลุม่ แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรู้ การทางานของกลุ่ม ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป อธบิ ายความสาคญั ของเสยี ง วรรณยุกต์ ตรวจใบงาน เรอ่ื ง ใบงาน เรอื่ ง ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ เสยี งในภาษาไทย เสียงในภาษาไทย รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป จาแนกเสยี งวรรณยกุ ตใ์ น (เสยี งวรรณยกุ ต์) (เสียงวรรณยุกต์) ภาษาไทยได้ ประเมนิ คุณลกั ษณะ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ ดา้ นคณุ ลักษณะ คุณลักษณะ ระดับ ๒ ๑. มวี ินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. รักความเป็นไทย ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื ......................................ผู้สอน (.......................................................) วนั ท่ี..........เดือน..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ......................................ผตู้ รวจ (.........................................................) วันที.่ .........เดอื น..................................พ.ศ…...….

79 7729 ใบความรู้ เรือ่ ง เสียงในภาษาไทย (เสียงวรรณยุกต์) หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑๐ เร่อื ง เสียงในภาษาไทย (เสียงวรรณยุกต์) รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ความหมาย เสียงวรรณยุกต์ หมายถงึ เสยี งทมี่ ีระดับสูงต่า และเราจะได้ยินไปพร้อมกับเสยี งสระบางทีเป็นเสียงสูง บางทีก็เป็นเสียงต่า บางทีก็เป็นเสียงที่อยู่ระหว่างเสียงสูงกับเสียงต่า บางทีก็เป็นเสียงต่าแล้วค่อย ๆ เลื่อนขึ้น ไปสู่เสียงสูง เสียงวรรณยกุ ต์ในภาษาไทยนบั ว่ามีความสาคญั เพราะทาให้ความหมายของคาเปลยี่ นแปลงไปได้ เช่น เสือ มีความหมายอย่างหนึ่ง เสื้อ มีความหมายอย่างหน่ึง แต่เสียงท่ีมีระดับสูงต่าในบางภาษาไม่ได้ทาให้ ความหมายของคาเปลี่ยนไป วรรณยุกต์ในภาษาไทย มี ๔ รูป มี ๕ เสยี ง ดงั น้ี รูปวรรณยุกต์ ๑. รปู เอก ( ่ ) เช่น คาทร่ี ปู วรรณยุกต์เอก ในคา ไข่ บ่อ พล่า ๒. รปู โท ( ้ ) เชน่ คาทม่ี ีรปู วรรณยุกต์โท ในคา กลา้ คา้ ม้า ๓. รูปตรี ( ) เช่น คาท่มี ีรปู เสยี งวรรณยุกตต์ รี ในคา โตะ เปรยี๊ ะ กก๊ั ๔. รูปจตั วา ( ) เชน่ คาทีม่ ีรปู เสียงวรรณยกุ ต์จัตวา ในคา เกง แจว กวยเตย๋ี ว เสยี งวรรณยกุ ต์ ๑. เสียงสามญั เช่น คาทมี่ ีเสียงวรรณยกุ ตใ์ นคา คลอง จาน ดาว เฟอื ง ๒. เสียงเอก เช่น คาทม่ี ีเสยี งวรรณยุกตใ์ นคา ไข่ บอ่ กัด จิต ๓. เสยี งโท เชน่ คาทมี่ เี สยี งวรรณยกุ ต์ในคา กลา้ พล่า มาก เมฆ ๔. เสียงตรี เช่น คาทม่ี ีเสยี งวรรณยุกตใ์ นคา ค้า มา้ ลดั เปร๊ยี ะ ๕. เสยี งจตั วา เช่น คาทีม่ เี สยี งวรรณยกุ ตใ์ นคา จา ขอ หมอ เกง ขอ้ สงั เกต เสียงวรรณยกุ ตท์ ี่มีอยู่ในพยางค์หรอื คาตา่ ง ๆ ท่ีเราออกเสียงน้ันมิได้ตรงกับรูปวรรณยุกต์ท่ี เห็นในตัวเขียนเสมอไป เช่น รู้ เปน็ คาทม่ี รี ูปวรรณยุกต์โท แต่ออกเสยี งวรรณยุกต์ตรี ระบบวรรณยุกต์ของไทยมีความสัมพันธ์กับอักษรสูง กลาง ต่า และคาเป็น – คาตาย มาก การศึกษา เรือ่ งวรรณยกุ ต์จึงตอ้ งศึกษาไปพร้อม ๆ กับ อกั ษร ๓ หมู่ หรอื ไตรยางศ์ อักษรสงู มี ๑๑ ตัว ได้แก่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห ผี ฝาก ถุง ขา้ ว (ฃ) สาร เศรษฐี ให้ ฉนั อกั ษรกลาง มี ๙ ตัว ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ ไก่ จิก เด็ก (ฎ) ตาย (ฏ) บน ปาก โอ่ง อักษรต่า มี ๒๔ ตัว แบ่งเป็นอักษรต่าเดยี่ ว มี ๑๐ ตัว ได้แก่ ง ญ น ณ ม ย ร ล ฬ ว งู ใหญ่ นอน อยู่ ณ รมิ วัด โม ฬี โลก

80 7830 อักษรต่าคู่ มี ๑๔ ตัว ไดแ้ ก่ อกั ษรสงู อักษรตา่ ขฃ คฅ ฉ ชฌ ศษส ซ ฐถ ฑฒทธ ผ พภ ฝ ฟ ห ฮ

81 7841 ใบงาน เร่อื ง เสยี งในภาษาไทย (เสยี งวรรณยุกต์) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๐ เรอ่ื ง เสยี งในภาษาไทย (เสียงวรรณยุกต์) รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตอนที่ ๑ คาช้แี จง ให้นักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ใี หถ้ ูกต้องสมบรู ณ์ ๑. เสยี งวรรณยกุ ต์หมายถึง .................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................. ............................................................................................. ๒. วรรณยุกตแ์ บง่ ออกเปน็ ..................รูป ไดแ้ ก่.................................................................................................. ม.ี ..............................เสยี ง ไดแ้ ก่ ......................................................................................................................... ๓. เสียงวรรณยกุ ต์มีความสาคัญแก่คาในภาษาไทยของเราหรือไม่ เพราะเหตุใด .................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................. ............................................................................................. ตอนท่ี ๒ คาชแี้ จง ให้นักเรียนจาแนกรูปและเสยี งของวรรณยุกตค์ าตอ่ ไปนี้ รูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยกุ ต์ นา้ รปู โท เสียงตรี ชาติ - เสยี งโท ๑ โนต้ ............................................................................................................................ ...................... ๒. ยมื .................................................................................................................................................. ๓. จ๋ี ............................................................................................................................. ..................... ๔. หนมุ่ ............................................................................................................................. ..................... ๕. พี่ .................................................................................................................................................. ๖. ฉัน ............................................................................................................................. ........,............ ๗. คา่ .................................................................................................................................................. ๘. ฝงั ............................................................................................................................. ..................... ๙. ช่วย .................................................................................................................................................. ๑๐. น้อง .................................................................................................................................................. ๑๑. พลาง ............................................................................................................................. ..................... ๑๒. หมาย .................................................................................................................................................. ๑๓. ปู่ ............................................................................................................................. ..................... ๑๔. เปียก ............................................................................................................................. ..................... ๑๕. จอย ..................................................................................................................................................

82 8725 เฉลยใบงานเร่ืองเสียงในภาษาไทย (เสียงวรรณยกุ ต)์ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๐ เร่อื ง เสียงในภาษาไทย (เสียงวรรณยุกต์) รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ตอนท่ี ๑ คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ถูกต้องสมบูรณ์ ๑. เสียงวรรณยุกต์หมายถงึ เสยี งท่ีมรี ะดับสูงตำ่ และเรำจะได้ยนิ ไปพรอ้ มกับเสยี งสระบำงทเี ป็นเสยี งสูง บำงทีก็เปน็ เสยี งต่ำบำงทีก็เป็นเสียงท่ีอยูร่ ะหว่ำงเสียงสงู กับเสยี งต่ำบำงทกี เ็ ปน็ เสียงต่ำแล้วค่อยๆ เลื่อนข้นึ ไปสเู่ สยี งสูง ๒. วรรณยกุ ตแ์ บ่งออกเป็น ๔ รูป ได้แก่ รปู เอก ่ รปู โท ้ รปู ตรี รูปจัตวำ มี ๕ เสยี ง ไดแ้ ก่ เสียงสำมัญ เสยี งเอก เสยี งโท เสยี งตรี เสียงจัตวำ ๓. เสยี งวรรณยุกตม์ ีความสาคญั แก่คาในภาษาไทยของเราหรือไม่ มี เพรำะทำ่ ใหค้ วำมหมำยของค่ำ เปลี่ยนแปลงไปได้ เชน่ เสอื มีควำมหมำยอยำ่ งหนึ่ง เส้อื มีควำมหมำยอยำ่ งหนึ่ง ตอนที่ ๒ คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นจาแนกรปู และเสยี งของวรรณยกุ ตค์ าตอ่ ไปน้ี รูปวรรณยุกต์ เสยี งวรรณยุกต์ เสียงตรี น้า รูปโท เสยี งโท ชาติ - เสียงตรี เสียงสำมัญ ๑. โน้ต รูปโท เสียงจตั วำ ๒. ยืม - เสยี งเอก ๓. จ๋ี รปู จตั วำ เสยี งโท ๔. หนุ่ม รปู เอก เสยี งจตั วำ เสยี งโท ๕. พี่ รปู เอก เสยี งจตั วำ ๖. ฉัน - เสียงโท ๗. คา่ รูปเอก เสยี งตรี ๘. ฝัง - เสยี งสำมญั ๙. ชว่ ย รปู เอก เสยี งจัตวำ ๑๐. นอ้ ง รูปโท เสยี งเอก เสียงสำมัญ ๑๑. พลาง - เสียงจัตวำ ๑๒. หมาย - ๑๓. ปู่ รปู เอก ๑๔. เปยี ก - ๑๕. จอย รปู จัตวำ

83 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง พ้ืนฐานอ่านเขียน เรอื่ ง ไตรยางศ์ เวลา ๑ ชัว่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้วิชาษาภาไาทษยาไทย ขอบเขตเน้ือหา รารยาวยชิวาชิ พา้นื พฐ้นื าฐนาภนาภษาษไทายไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ไตรยางศ์ (อักษร ๓ หมู่) กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ด้านความรู้ ขน้ั นา ๑. บตั รคาพยัญชนะ อธบิ ายความสาคญั ของไตรยางคไ์ ด้ ครนู าบตั รคาพยัญชนะ ๔๔ ตวั ใหน้ ักเรียนจาแนก ๒. แผนภูมอิ กั ษรสามหมู่ ด้านทักษะกระบวนการ จาแนกอกั ษรสามหมู่ได้ ออกเปน็ อักษร ๓ หมู่ คืออักษรสงู อักษรกลาง ๓. ใบความรู้ เรือง ไตรยางศ์ ดา้ นคุณลกั ษณะ อักษรตา พร้อมซักถามนักเรยี น การแบ่งพยัญชนะ ภาระงาน/ช้ินงาน ๑. มีวินยั ออกเปน็ ๓ หมู่ ทเี รยี กว่าไตรยางศ์ มีความสาคัญ ศกึ ษาเรืองคาเปน็ คาตาย ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ อยา่ งไร ๓. รักความเปน็ ไทย ขัน้ สอน ๑. ครสู นทนาเรอื งอักษรสามหมู่ โดยติดแผนภมู ิ อักษรสามหมบู่ นกระดานดา ไดแ้ ก่ อักษรสูง อักษรกลาง อักษรตา ครใู ห้นักเรียนฝกึ อ่านออกเสียง พยญั ชนะพร้อม ๆ กนั ๒. ครตู ้งั ข้อสังเกตเวลานกั เรียนเปล่งเสยี งพยัญชนะ จะมคี วามร้สู ึกถึงระดับสูงหรอื ไม่ อยา่ งไร ครูและ นักเรยี นอธบิ ายความรูร้ ว่ มกนั โดยศกึ ษาใบความรู้ เรอื ง ไตรยางศป์ ระกอบ 76 83

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เร่อื ง พ้ืนฐานอา่ นเขียน แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑๑ 84 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภวิชาษาภาไาทษยาไทย เรอ่ื ง ไตรยางศ์ เวลา ๑ ชว่ั โมง รายวิชาพพ้ืนน้ื ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๓. ครูใหน้ ักเรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเปน็ ๓ กลุ่มแล้วจดั กลุ่มพยัญชนะ เปน็ ๓ หมู่ คือ อกั ษรสงู อกั ษรกลาง อกั ษรตา แล้วระดมความคดิ เรยี งความสาคัญของ การจาแนกอักษร ๓ หมู่และนาเสนอผลงาน ข้ันสรปุ ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปลกั ษณะและความสาคญั ของอักษร ๓ หมู่หรอื ไตรยางศ์พร้อมกบั ศกึ ษาเพิมเติม ในเรอื งคาเปน็ คาตายซึงเกียวข้องกบั การผันเสียง วรรณยกุ ต์ 77

85 7885 การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการ เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ สง่ิ ที่ต้องการวดั /ประเมนิ สังเกตพฤติกรรม สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ดา้ นความรู้ ประเมนิ คุณลักษณะ รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป ความสาคัญของไตรยางค์ แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ด้านทักษะ/กระบวนการ รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จาแนกอักษรสามหมู่ได้ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ ด้านคณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะ ระดับ ๒ ๑. มีวินยั ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓. รักความเปน็ ไทย ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ......................................................................................................................... ..................................................... ลงชอื ......................................ผู้สอน (.......................................................) วนั ที..........เดือน..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผูบ้ ริหารหรอื ผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื ......................................ผ้ตู รวจ (.........................................................) วนั ที..........เดือน..................................พ.ศ…...….

86 8769 ใบความรู้ เรื่อง ไตรยางศ์ หหนน่วว่ ยยกกาารรเรเรียยี นนรรู้ทูท้ ่ี ๑ี่ ๑ แแผผนนกกาารรจจัดดั กกาารรเรเรียียนนรรู้ททู้ ี่ ๑ี่ ๙๑ เเรรอ่ื อ่ื งงไไตตรรยยาางงศศ์ ์ รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ไตรยางศ์ คือ อักษร ๓ หมู่ซึงจัดแยกออกมาเป็นพวกๆ จากพยัญชนะ ๔๔ ตัว ได้แก่ อักษรสูง อกั ษรกลาง อักษรตา อกั ษรสงู มี ๑๑ ตัวคือ ข ฅ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห อักษรกลางมี ๙ ตัวคอื ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ อักษรตามี ๒๔ ตวั คอื ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฒ ฑ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ การทีจัดแยกพยัญชนะออกเป็นอักษร ๓ หมู่ (ไตรยางศ์) น้ันก็โดยถือเอาเสียงเป็นสาคัญ คือ พยัญชนะตวั ใดพื้นเสียงทยี ังมไิ ด้ผันดว้ ยรปู วรรณยุกต์ มีสาเนียงอยูใ่ นระดับสูงก็จัดเป็นพวกอักษรสูง พยญั ชนะ ตวั ใดพนื้ เสียงทียังมิไดผ้ นั ดว้ ยรูปวรรณยกุ ต์ มีสาเนียงอย่ใู นระดบั กลางกจ็ ัดเป็นพวกอักษรกลาง พยญั ชนะตวั ใด พ้ืนเสียงทียังมิได้ผันด้วยรูปวรรณยุกต์ มีสาเนียงอยู่ในระดับตาก็จัดเป็นพวกอักษรตา ทีเรียกตัวอักษรตาน่าจะ หมายถึงเสียงตากวา่ อักษรพวกข้างต้น ลองออกเสียงอักษรกลางกับอกั ษรตาเทยี บกันจะรู้สึกในข้อน้ี เพราะล้ิน ทาหน้าทตี า่ งกนั ประโยชนข์ องการจาแนกพยัญชนะออกเป็นอกั ษรสงู อกั ษรกลาง อักษรตา่ ๑. สามารถผันคาให้มีเสียงและรูปต่าง ๆ เมือเสียงและรูปต่างกับความหมายก็ต่างกันด้วย เช่น ไผ ไผ่ ไผ้ ย่อมแสดงความหมายคลคี ลายไปจากเดิมเชน่ เดียวกัน ๒. สามารถนาคาบาลแี ละสันสกฤต มาเป็นแนวสาเนยี งของคนไทย ได้สนทิ สนม เชน่ เลห่ ์ สนเทห่ ์ พุท โธ สมทุ ร ฯลฯ ๓. ไมต่ ้องเขยี นเครืองหมายวรรณยุกต์กากับลงไปทุกคา เช่น “ชา” ไม่ต้องเขียนเปน็ “คา” ทั้งน้ีนบั ว่า ชว่ ยให้การเขียนหนงั สือสะดวกและรวดเรว็ ยงิ ขึ้น

87 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑๒ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เร่อื ง พืน้ ฐานอ่านเขยี น เร่อื ง การผนั วรรณยุกต์ เวลา ๑ ชวั่ โมง กล่มุ สาระการเรยี นรภู้วิชาษาภาไาทษยาไทย ขอบเขตเน้ือหา รายวชิ าพพื้น้ืนฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ การผันวรรณยกุ ต์ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ด้านความรู้ ขัน้ นา ๑. บัตรคา อธบิ ายวิธกี ารผันวรรณยุกต์ ด้านทักษะกระบวนการ ๑. ครูนาบตั รคา คาว่า แม่ ดุ เมฆ นก ตบ กด ฟงั คน ๒. แผนภูมติ ารางผันวรรณยกุ ต์ สามารถผันวรรณยุกต์ของคาในภาษาไทยได้ ยาม เชย พราว ให้นกั เรยี นวเิ คราะห์วา่ คาใดเปน็ คาเปน็ ๓. ใบความรู้ เรื่อง การผันวรรณยกุ ต์ ในภาษาไทยได้ คาตาย ๔. ใบงาน เร่ือง การผนั วรรณยุกต์ ดา้ นคณุ ลักษณะ ๑. มวี ินัย ๒. ครูสนทนากบั นักเรียนวา่ คาเป็น คาตาย มี ภาระงาน/ชิ้นงาน ๒. ใฝ่เรยี นรู้ ความเกี่ยวข้องกับการผนั เสียงวรรณยกุ ตห์ รือไม่อย่างไร ครูมอบหมายให้นกั เรียนฝึกผันวรรณยุกต์ตามอักษร ๓. รกั ความเป็นไทย ขน้ั สอน สามหมู่ ๔. จติ สาธารณะ ๑. ครูตดิ แผนภมู ิตารางผนั วรรณยกุ ต์บนกระดานดา จากนนั้ ใหน้ ักเรียนอา่ นออกเสียง สังเกต ซักถาม ๒. ครแู บ่งกลมุ่ นักเรยี นออกเป็น ๓ กลุ่ม ช่ือกลุ่ม อกั ษรสูง อกั ษรกลาง อักษรต่า ศึกษาโดยใช้ใบความรู้ เรื่อง การผันวรรณยุกต์ นักเรียนสง่ ตัวแทนสรปุ เร่ือง การผนั วรรณยุกต์ในภาษาไทย ตามหัวข้อที่ครู กาหนดให้ ดงั น้ี อักษรสงู อกั ษรกลาง อักษรต่า ผนั วรรณยกุ ต์ได้กเ่ี สยี ง ๓. นักเรยี นทาใบงาน เร่อื ง การผันวรรณยุกต์ 8870

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรื่อง พื้นฐานอา่ นเขยี น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๒ 88 กลุม่ สาระการเรียนรภู้วิชาษาภาไาทษยาไทย เร่อื ง การผนั วรรณยกุ ต์ รายวชิ าพพ้ืน้นื ฐฐาานนภภาาษษาาไไททยย เวลา ๑ ชัว่ โมง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ข้ันสรุป ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปความสาคญั ของรปู และ เสยี งวรรณยุกต์ ขอ้ สงั เกตการผันเสยี งวรรณยุกต์ อกั ษรกลาง คาเป็น อักษรกลาง คาตาย อักษรสงู คาเป็น อักษรสงู คาตาย อักษรต่า คาเปน็ อักษรต่า คาตายสระเสยี งส้ันและคาตายสระเสียงยาว 81

89 8829 การวดั และประเมินผล วธิ กี าร เครื่องมือทีใ่ ช้ เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน สงิ่ ทตี่ ้องการวัด/ประเมิน รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป ดา้ นความรู้ ตรวจใบงาน เรอ่ื ง ใบงาน เร่อื งการผัน การผันวรรณยุกต์ การผนั เสยี งวรรณยุกต์ เสยี งวรรณยุกต์ ผ่านเกณฑ์การประเมิน (อักษรสูง กลาง ตา่ ) รอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป การจาแนกเสยี งวรรณยุกต์ ความสาคัญของการผันเสียง วรรณยกุ ต์ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ผนั วรรณยกุ ตค์ าในภาษาไทยได้ ดา้ นคุณลกั ษณะ ประเมนิ คุณลกั ษณะ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ ๑. มีวินัย คณุ ลักษณะ ระดับ ๒ ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓. รกั ความเป็นไทย ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ......................................................................................................................... ..................................................... ลงชอ่ื ......................................ผสู้ อน (.......................................................) วันท่ี..........เดอื น..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผูบ้ ริหารหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ......................................ผ้ตู รวจ (.........................................................) วนั ที.่ .........เดือน..................................พ.ศ…...….

90 8930 ใบความรู้ เร่อื ง การผันวรรณยกุ ต์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๑๒ เร่ือง การผนั วรรณยกุ ต์ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ การที่ภาษาไทยผันเสียงไล่เสียงได้ นอกจากจะทาให้มีคาใช้มากขึ้นแล้ว ยังทาให้ภาษาไทยไพเราะ เพราะระดับเสียงต่าง ๆ ของคาทาให้เกิดเป็นเสียงอย่างดนตรี การไล่เสียง สูง - ต่านั้นทาให้ความหมาย เปล่ียนไปด้วย เป็นการผันอักษรหรือผันวรรณยุกต์ซ่ึงได้จัดระบบไว้อย่างดี ใช้ง่าย ไม่ยุ่งยากท้ังการเขียนและ การอ่านเพียงแต่ตอ้ งทาความเข้าใจระบบการใชว้ รรณยกุ ต์เทา่ น้ัน คาว่า “ผันวรรณยุกต์” มีตาราหลายเล่มใช้ว่า “ผันอักษร” การผันวรรณยุกต์หรือการผันอักษร คือ การเปลี่ยนระดับเสียงของคาโดยใช้รูปวรรณยุกต์กากับ เราเรียกคาที่ผันแล้วนี้ว่า “วรรณยุกต์มีรูป” คาที่ยัง ไมไ่ ดผ้ ันจงึ เรียกวา่ “วรรณยกุ ต์ไมม่ รี ูป” ซ่ึงก็คอื คาท่ีเป็น “พนื้ เสียง” พระยาอุปกิตศิลปสาร (น่ิม กาญจนาชีวะ ; ๒๔๗๔) อธิบายเร่ืองจาแนกวรรณยุกต์เป็น ๒ ประเภท ดงั นี้ ๑. วรรณยกุ ตม์ ีรปู คือ วรรณยกุ ต์ทีต่ ้องใชร้ ูปวรรณยกุ ตค์ อื ไม่ ่ ้ บงั คบั ข้างบน เช่น กา่ ก้า กา กา, ข่า (ข้า,ค่า) ค้า ดังน้ี เป็นตน้ วรรณยุกต์มีรูปนี้มีแค่ ๔ เสียง คือ เอก โท ตรี จัตวา เท่าน้ัน เสียง สามญั ไมม่ ี ๒. วรรณยุกต์ไม่มีรูป คือวรรณยุกต์ที่ไม่ต้องใช้รูปวรรณยุกต์บังคับข้างบนสังเกตเสียง วรรณยุกต์ได้ด้วยวิธีกาหนดตัวพยัญชนะเป็น สูง กลาง ต่า แล้วประสมกับสระ-พยัญชนะ อ่านเป็นเสียง วรรณยุกต์ไดต้ ามพวก เช่น คาง ขาก คาก คกั ขาง ดังนี้ เป็นต้น วรรณยุกต์ไมม่ รี ูปนี้ มีครบทั้ง ๕ เสยี ง ครบครนั เรื่อง วรรณยุกต์ พศิ ศรี กมลเวชช,๒๕๕๒

91 8941 ตารางการผันวรรณยกุ ต์ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๒ เรื่อง การผนั วรรณยกุ ต์ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ อักษร ๓ หมู่ สามัญ เสียง หมายเหตุ ไตรยางศ์ เอก โท ตรี จัตวา ปา อกั ษรกลาง - ป่า ป้า ป๊า ป๋า คาเปน็ พ้ืนเสยี งสามญั กจฎฏดตบปอ กัด กด้ั กดั๊ ก๋ดั คาตาย พ้ืนเสียงเอก - คาเปน็ ผนั ได้ ๕ เสียง - ข่า ขา้ - ขา คาเปน็ พ้ืนเสยี งจัตวา คาตาย ผันได้ ๔ เสียง ขดั ขด้ั - - คาตาย พน้ื เสยี งเอก คา อักษรสูง - คา่ ค้า - คาเปน็ พนื้ เสียงสามัญ ขฃฉฐถผฝศษสห ถ้ารวมกับอักษรสูงจะผนั ได้ครบ ๕ คาเปน็ ผันได้ ๓ เสียง เสยี ง คาตาย ผันได้ ๒ เสยี ง - คา่ บ ค้าบ คาบ เชน่ คา ข่า ข้า (คา่ ) ค้า ขา - ค่ะ คะ คะ คาตาย พนื้ เสียงเอก อกั ษรตา่ อักษรท่ีเหลอื ๒๔ ตวั คาเปน็ ผันได้ ๓ เสยี ง คาตาย สระเสยี งยาว - คาตาย สระเสียงส้นั - หมายเหตุ คาเปน็ คือ คาทีม่ ลี ักษณะข้อใดขอ้ หนง่ึ ดงั นี้ ๑. คาที่ประสมสระเสียงยาว ไมม่ ีตวั สะกด เช่น ตา มี หมู เมยี ตัว ๒. คาที่มตี ัวสะกดในแม่ กง กน กม เกย เกอว เชน่ คง กนิ นม เนย แลว้ ๓. คาทปี่ ระสมกบั สระ อา ใอ ไอ เอา เช่น จา ใจ ไป เอา คาตาย คอื คาท่มี ีลักษณะข้อใดขอ้ หนึ่งดงั นี้ ๑. คาท่ีประสมสระเสยี งสน้ั ไม่มีตวั สะกด เชน่ พระ ดุ แกะ ๒. คาทม่ี ตี วั สะกดในแม่ กก กบ กด (แม่ กบฏ) เชน่ จาก รถ ศพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook