การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่ม 1 รวมบทความนวัตกรรมประเภทชิ้นงานสร้างสรรค์ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม หัวของการจัดงาน “วิจัยและพัฒนา บนพื้นฐานเศรษฐกิจ BCG สู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” และการประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เรื่อง “การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal “ ระหว่างวันที่ 13-14 กรกฎาคม 2566 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
สารบัญ หน้า แบบประเมนิ การประกวดการนำเสนอนวัตกรรม “ประเภทชน้ิ งานสรา้ งสรรค์” 1 เรื่องที่ 1 Hospigator คู่หูนำทาง 2-4 เรื่องที่ 2 HBD Heal by defense 5-9 เรอ่ื งท่ี 3 ประสทิ ธิผลของการใชน้ วตั กรรมรถเขน็ มหัศจรรยแ์ สนสนกุ เพอ่ื สง่ เสรมิ การพัฒนา ทักษะคดิ เชงิ บรหิ ารในเด็กปฐมวยั 10-19 เรอ่ื งท่ี 4 นวตั กรรม “เนือ้ ทียม SimMeat” 20-32 เรอ่ื งท่ี 5 หนุ่ ฝกึ กดนวดหวั ใจทารกแรกเกดิ pumpy doll 33-41 เรอ่ื งท่ี 6 ตะแกรงล้างแผลสุขสบาย 42-51 เรอ่ื งที่ 7 Auto Feeding Bags 52-60 เรอื่ งที่ 8 เคร่ืองควบคุมการใหอ้ าหารทางสายยาง 61-72 เรื่องท่ี 9 ทีน่ อนหลอดซับพอร์ต กนั เปื้อน 73-87 เรื่องท่ี 10 ถังขยะท้ิง Antigen test kit (ATK) และขยะตดิ เชอ้ื 88-101 เรื่องท่ี 11 เสอื้ ชว่ ยพยุง 102-108 เร่ืองที่ 12 นวัตกรรม Little Pigs Edema 109-113 เรื่องท่ี 13 เครอ่ื งหักหลอดแก้วยาอัตโนมตั ิ 114-126 เรอ่ื งท่ี 14 ปฏทิ ินเตือนใจ ต้านภยั ไข้เลือดออก 127-131 เรอ่ื งที่ 15 ผลการใช้ส่ือการเรียนร้ผู ่านแอพพลิเคชนั่ การฉดี ยาทางกลา้ มเน้ือ ตอ่ ความรู้การฉีดยาทาง 132-140 กลา้ มเนือ้ และความพึงพอใจของนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ชั้นปที ่ี 2 เรื่องที่ 16 Necklace สรอ้ ยคอขอเกย่ี ว 141-149 เรื่องที่ 17 นวัตกรรมอปุ กรณ์พยุง ลกุ ข้นึ นงั่ 150-154 เรื่องที่ 18 เบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัวผปู้ ่วย 155-163 เรอ่ื งที่ 19 สเต็ปก้าวลดเท้าชา 164-170 เรอื่ งท่ี 20 นวัตกรรม “ตยู้ าเพือ่ คณุ ” เพอ่ื ผพู้ กิ ารทางสายตา 170-178 เร่ืองที่ 21 นวัตกรรมแคนดล้ี ดชา 179-185 เรื่องที่ 22 มือพยุงอมุ้ ชวี ิต (Innovation : Support life baby) 186-195 เรอ่ื งท่ี 23 กลอ่ งความจำ ไม่รู้ลมื Magic brain magic box 196-207 เรื่องที่ 24 นวัตกรรม ”การพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารศนู ยเ์ ปลออนไลน์ โรงพยาบาลนครปฐม” 208-216 เรอ่ื งท่ี 25 ต้มยาํ สมนุ ไพร: เบาใจ-เบาหวาน 217-223
การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 15 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม หัวข้อการจัดงาน \"วจิ ัยและพฒั นา บนฐานเศรษฐกจิ BCG สู่การพฒั นาประเทศอยา่ งย่ังยนื \" และการประชมุ สาขาพยาบาลศาสตร์ เร่อื ง “การวิจัยเชิงสุขภาพ สรา้ งดุลยภาพชวี ิตในยุค Next Normal” แบบประเมินการประกวดการนำเสนอนวตั กรรม “ประเภทชิ้นงานสรา้ งสรรค์” วันท่ี 14 กรกฎาคม 2566 ชือ่ นวัตกรรม.................................…………………………………………………………………………………… ช่ือผู้นำเสนอ........…………………………………………………………………………………………………………….. สถาบัน.......................................................................................................................................... เกณฑก์ ารประเมิน หมายถึง เห็นด้วยเป็นอยา่ งยงิ่ 4 คะแนน หมายถึง เห็นด้วยมาก 3 คะแนน หมายถึง เหน็ ดว้ ยพอสมควร 2 คะแนน หมายถงึ ไมเ่ หน็ ดว้ ย 1 คะแนน หัวข้อการประเมิน คะแนน 1 4 32 1. มีความนา่ สนใจ ดึงดูดใจในการนำไปใช้ 2. มกี ารใช้วสั ดุและงบประมาณทไี่ ม่สิ้นเปลอื ง 3. มกี ารนำไปทดลองใช้ และเกิดผลลัพธจ์ ากการนำไปใช้ 4. มีความเปน็ ไปไดข้ องการนำไปใช้ 5. เป็นประโยชนต์ อ่ การประเมนิ /การดแู ลสขุ ภาพของผรู้ บั บริการ 6. หลักการและเหตุผลสอดคลอ้ งกบั การพัฒนานวตั กรรม รวม ................................................. () กรรมการผปู้ ระเมนิ วันท่ี .......................................
Hospigator ค่หู นู ำทำง นักศึกษาเลขท่ี 67-771, อ.ดร.จริยา ชน่ื ศิรมิ งคล2* และ อ.ภัทราภรณ์ ศรพี รมมา3 (อาจารย์ทีป่ รกึ ษาประจากลุ่ม) 1นักศกึ ษาช้ันปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2565 คณะพยาบาลศาสตรเ์ กอื้ การณุ ย์ มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช 2,3ภาควชิ าการบรหิ ารการพยาบาลและพ้ืนฐานวชิ าชพี คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการณุ ย์ มหาวทิ ยาลัยนวมนิ ทราธิ ราช *ผูร้ ับผิดชอบบทความ: jariya_ch@nmu.ac.th บทคัดยอ่ การเข้ารับบริการตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในบางคร้ังแพทย์มีความ จาเป็นตอ้ งส่งผู้ปว่ ยไปรบั การตรวจวนิ ิจฉยั เพ่ิมเตมิ เช่น เจาะเลือด ฉายรงั สี ตรวจพิเศษต่าง ๆ สง่ ตอ่ ไปตรวจที่แผนกอ่ืน ๆ และรบั ยา ซึ่งผปู้ ว่ ยอาจไม่คุน้ เคยกับตาแหน่งทตี่ ัง้ ของหน่วยงานเหล่าน้นั ทาให้เดนิ หลงทาง เสยี เวลา หรือหาทางไปแผนกอืน่ ๆ ไม่เจอ ดังน้ัน ผู้จัดทาจึงมีความสนใจในการพัฒนาเว็บไซต์บอกทิศทางบนสมาร์ทโฟน \"Hospigator คู่หูนาทาง” เพ่ือช่วยบอก ทิศทางให้ผู้รับบริการไปจุดบริการต่าง ๆ ในโรงพยาบาลได้อย่างสะดวกสบาย โดยแสดงให้เห็นจุดบริการต่าง ๆ ในรูปแบบแผนที่ แสดงให้เห็นแบบ real time ว่าขณะนั้นผู้รับบริการเดินอยู่ตาแหน่งใด นอกจากนี้ยังมีเสียงบอกให้ผู้รับบริการทราบว่าต้องเลี้ยว ซ้าย-ขวา กดลิฟท์ขึ้นไปชั้นใด คล้าย GPS บอกทิศทางการขับรถ เพ่ือให้ผู้รับบริการท่ีมาใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล สามารถเดินทางไปยังจุดทต่ี อ้ งการรับบริการไดถ้ กู ตอ้ ง มีความสะดวก และรวดเร็วย่งิ ขึน้ คำสำคญั : แผนกผู้ปว่ ยนอกออร์โธปดิ กิ ส์, เว็บไซต์บอกทิศทางบนสมารท์ โฟน, Hospigator ค่หู ูนาทาง 1. ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปัญหำ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล เป็นโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร และเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่ให้บริการดูแล ครอบคลมุ ทุกสาขาหลัก และอนุสาขายอ่ ยรวมทงั้ ระบบสง่ ต่อท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพให้กับประชาชน ทาให้ปรมิ าณผู้ป่วย ท่ีเข้ารับบริการงานผู้ป่วยนอก โดยในปี 2559 มีจานวนมากถึง 611,114 ราย (งานเวช สถิติสานักงานผู้อานวยการโรงพยาบาล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช, 2559) และมีแนวโน้มเพิ่มมากข้ึนทุกปี เนื่องจาก โครงสร้างของ โรงพยาบาลท่ีมีหลายตึก แต่ละตึกประกอบด้วยหลายชั้น ซ่ึงปัญหาที่พบมากอยู่ที่แผนกผู้ป่วยนอก เช่น แผนกผู้ป่วยนอกออร์โธปิ ดิกส์ การที่ผู้ป่วยมาตรวจรักษาโรคทางด้านกระดูก หลังจากการตรวจรกั ษาเสรจ็ ในบางครั้งจะตอ้ งส่งตอ่ หนว่ ยงานอ่ืน เช่น หู ตา คอ จมูก หรือเจาะเลอื ด x-ray หรือส่งตรวจพิเศษตา่ ง ๆ และกลับมาห้องตรวจเพ่ือนาผลตรวจเพ่ิมเติมมาประกอบการรกั ษา และ ให้คาแนะนากอ่ นกลับบ้าน การท่ตี ้องไปติดต่อหลาย ๆ แผนก ผู้ป่วยจงึ อาจไมท่ ราบหรือไมส่ ามารถจาได้ว่า แต่ละแผนกอยู่ที่ตึกใด ชั้นใด ก่อให้เกิดความสับสน ไปติดต่อผิดแผนก หรือหาแผนกท่ีต้องการไม่พบ ทาให้เกิดการเสียเวลา และความไม่พึงพอใจต่อ บริการ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้ถูกพัฒนาไปอย่างมาก และได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนิน ชีวิตประจาวันของเรามากมาย และได้เป็นส่ิงอานวยความสะดวกทาให้ชีวิตเราสะดวกสบายยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยี โทรศัพท์มือถือนั้นได้เข้ามามีบทบาทในการใช้ชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก ซ่ึงโทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนั้น นอกจากจะใช้ในการ โทรหากันแล้วยังสามารถใช้ทาอย่างอื่นได้อีกมากมาย เช่น สามารถถ่ายรูปได้ สามารถถ่ายวีดีโอได้สามารถดูหนัง ฟังเพลงได้ ต่อ อินเทอร์เน็ตได้ สามารถทาธุรกรรมทางการเงินได้ และอื่น ๆ อีกมากมาย และนอกจากนี้ยังสามารถใช้งานได้หลากหลาย
โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันยังมีราคาที่ไม่แพงมาก สาหรับบางรุ่น ด้วยเหตุน้ี จึงทาให้ทุกคนในปัจจุบันมีโทรศัพท์มือถือใช้งาน เพ่ือ ตอบสนองความตอ้ งการในแต่ละคน ดังนั้นผู้จัดทาจึงมีความสนใจในการพัฒนาเว็บไซต์บอกทิศทางบนสมาร์ทโฟน ในหัวข้อเรื่อง \"Hospigator คู่หูนาทาง” โดยโปรแกรมที่ใช้พัฒนา VSCode , Photoshop , Canva ภาษาที่ใช้พัฒนา HTML, CSS, PHP, Ajax, Js script Framework ที่ ใช้พัฒนา Laravel, Bootstrap เพื่อช่วยบอกทิศทางให้ผู้รับบริการไปจุดบริการต่าง ๆ ในโรงพยาบาลได้อย่างสะดวกสบาย โดย แสดงให้เห็นจดุ บรกิ ารตา่ ง ๆ ในรปู แบบแผนทแ่ี สดงใหเ้ หน็ แบบ real time วา่ ขณะนัน้ ผู้รับบริการเดินอยูต่ าแหนง่ ใด นอกจากนี้ยัง มเี สียงบอกให้ผรู้ ับบรกิ ารทราบว่าต้องเลี้ยวซ้าย-ขวา กดลิฟทข์ นึ้ ไปช้ันใด คล้าย GPS บอกทิศทางการขบั รถ เพ่อื ให้ผูร้ บั บรกิ ารท่มี า ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล สามารถเดินทางไปยังจุดที่ต้องการรับบรกิ ารได้ถูกต้อง มีความ สะดวก และรวดเร็วยงิ่ ขนึ้ 2. วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือสร้างเวบ็ ไซตบ์ นสมารท์ โฟน นาทางสาหรบั ผปู้ ว่ ย/ ผรู้ บั บริการ จากห้องตรวจออรโ์ ธปิดกิ ส์ ไปแผนกอนื่ ตอ่ เนือ่ ง ของโรงพยาบาลวชริ พยาบาล 2. เพื่อความรวดเร็ว ลดความสับสน ของผู้ป่วย/ ผู้รับบริการ ในการเดินทางจากห้องตรวจออร์โธปิดิกส์ ไปแผนกอ่ืน ตอ่ เนือ่ ง ของโรงพยาบาลวชริ พยาบาล 3. กลุ่มเปำ้ หมำย ผู้ท่ีเข้าใช้บริการและญาติในแผนกผู้ป่วยนอกห้องตรวจออร์โธปิดิกส์ อาคารทีปังกร โรงพยาบาลวชิรพยาบาล กรุงเทพมหานคร 4. กระบวนกำรพฒั นำ (ตำมขัน้ ตอน plan do check act) 4.1 ขน้ั ตอนกำรวำงแผน 4.1.1 ร่วมกันระดมความคิด ค้นหาปัญหาทีจ่ านาไปสร้างนวตั กรรม 4.1.2 เขียนโครงการเพ่อื ขออนุมัติ 4.1.3 นาเสนออาจารย์ที่ปรกึ ษาโครงการ 4.1.4 วางแผนการสรา้ งนวตั กรรม พร้อมแบง่ หน้าท่กี ารรบั ผิดชอบของสมาชิก 4.2 ข้ันตอนกำรดำเนินงำน 4.2.1 รวบรวมขอ้ มลู ปญั หา แนวทางการแก้ไขปญั หาเพือ่ นามาสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรม 4.2.2 วิเคราะห์ปัญหา หรือความตอ้ งการของเจา้ หนา้ ทีแ่ ผนกผูป้ ว่ ยนอกหอ้ งตรวจออร์โธปดิ กิ ส์ 4.2.3 วางแผนการจัดทานวตั กรรม ( ช่ือเร่ือง) 4.2.4 ปรกึ ษาผเู้ ชยี่ วชาญเกย่ี วกับนวัตกรรม (ชอื่ นวตั ) 4.2.5 นาเสนอรูปแบบโครงสรา้ งของนวตั กรรมต่ออาจารยท์ ีป่ รกึ ษา ครงั้ ที่ ๑ 4.2.6 ตดิ ต่อเจา้ ที่โรงพยาบาลเพ่อื ขอความอนุเคราะห์ในการสร้างนวตั กรรม 4.2.7 จัดทารูปเลม่ และรายละเอยี ดโครงการครั้งที่ ๑ 4.2.8 นาเสนอโครงการเพ่อื ของบประมาณในการจดั ทานวตั กรรม 4.2.9 นาเสนอโครงการตอ่ อาจารยท์ ่ปี รึกษาคร้งั ท่ี ๒ 4.2.10 ลงพนื้ ที่แผนกผู้ป่วยนอก ห้องตรวจออรโ์ ธปิดิกสเ์ พ่อื ปักหมดุ ตาแหนง่ 4.2.11 สรา้ งเวบ็ ไซสส์ าหรับทานวตั กรรม 4.2.12 ลงข้อมูลรายละเอียดของนวัตกรรม
4.3 ขัน้ เสรจ็ สิ้นโครงกำร / ตรวจสอบ 4.3.1 ทดสอบประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรม 4.3.2 จดั ทาการประเมนิ ความพึงพอใจ 4.3.3 ติดตามผลการประเมนิ 5. รำยละเอียดและวิธกี ำรใชง้ ำนนวตั กรรม เมื่อเจ้าหน้าท่ีทราบว่าผู้ใช้บริการต้องไปรับบริการต่อท่ีแผนกใด เจ้าหน้าท่ีห้องตรวจจะนา QR code บอกทิศทางของ หนว่ ยบรกิ ารนั้นให้ผใู้ ช้บริการสแกน ใหผ้ ู้ใชบ้ ริการเดินตามแผนท่แี ละเสียงท่ีบอก 6. ผลกำรทดลองใชน้ วตั กรรมและกำรอภปิ รำยผล จากการพัฒนาเว็บไซตค์ รง้ั แรกพบปัญหา แผนที่ใหญ่กว่าหน้าจอทเ่ี ขยี นไว้ 7. ขอ้ เสนอแนะ การพัฒนาเวบไซต์น้ี นักศึกษาได้ปรึกษากับเพื่อนที่เรียนวิทยาศาสตร์คอมพ์พิวเตอร์ต่างสถาบัน ซึ่งเม่ือพบปัญหาแผนท่ี ใหญก่ วา่ หน้าจอท่เี ขียน การแก้ปญั หาค่อนข้างเกินกว่าความสามารถของนกั ศึกษาและเพอ่ื น 8. เอกสำรอำ้ งองิ W3Schools Online Web Tutorials. HTMI, CSS, PHP, Ajax , Js script. Retrieved October 28,2022, from https://www.w3schools.com/html/tryit.asp?filename=tryhtml5_geolocation. กำรจัดทำรปู ภำพ https://drive.google.com/file/d/1Y2IjZIKhkbqnKFO9RfWg-OtDnJm3cGV8/view?usp=drivesdk
HBD Heal by defense สกลุ ทพิ ย์ สทิ ธยิ ศ, สมรัชนี ชจู ิตรนาวิน, สรอ้ ยฟา้ เกรยี รัมย์ ,สรลั รตั น์ หงษจ์ นั ทร์ นวตั กรรมทางการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เก้อื การณุ ย์ มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช ผ้รู บั ผดิ ชอบบทความ: email 6302101184@nmu.ac.th บทคัดยอ่ ภาวะลิ่มเลือดอุดตนั ในหลอดเลอื ดดำลึก (Deep Vein Thrombosis: DVT) เป็นปัญหาสำคญั ทพ่ี บได้บ่อยในผปู้ ่วยหลงั ผ่าตัด general surgery โดยการตรวจ phlebography อาจพบ DVT สูงถึง ๓๐% และในกลุ่มที่ผา่ ตดั กระดูก อาจพบถงึ 40-50 % หรอื อาจสงู กวา่ (Cohenet al., 2559) จากสถิติในสหรัฐอเมริกามผี ู้ป่วยเป็น Deep Vein Thrombosis สูงถงึ ปีละ 600,000 คน (สุคนธ์ วทิ ธิพันธ,์ 2560) ภาวะลมิ่ เลือดอดุ ตันในหลอดเลือดดำลกึ อาจนำไปสกู่ ารเกดิ ล่มิ เลอื ดอุดตนั ที่ปอด (pulmonary embolism) เปน็ เหตใุ ห้ผู้ป่วยเสยี ชวี ิตแบบกะทนั หันได้ (death without warning) การป้องกนั การเกิดภาวะล่มิ เลือดอดุ ตันหลอดเลอื ดดำสามารถทำไดห้ ลายวธิ ี ซึ่งจากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า การปอ้ งการการเกดิ deep vein thrombosis ในผ้ปู ่วยทม่ี ีขอ้ จำกดั การเคลอ่ื นไหว โดยเฉพาะในผู้ป่วยหลงั ผ่าตัด ส่วนใหญ่ จะใชเ้ คร่ืองอดั ลมปอ้ งกันหลอดเลอื ดดำสว่ นลกึ ท่ีขาอดุ ตนั (Intermittent pneumatic compression: IPC) ซึ่งเป็นวิธกี ารเพม่ิ ความเร็วในการไหลเวียนกลับของ เลอื ดดำเข้าสหู่ วั ใจปอ้ งกนั การเกดิ เลือดคง่ั ซ่ึงเป็นสาเหตขุ อง deep vein thrombosis ไดเ้ ปน็ อย่างดี แตจ่ ากการศึกษาพบวา่ เคร่ืองอดั ลมปอ้ งกันหลอดเลอื ดดำสว่ นลึกที่ขาอุดตนั (Intermittent pneumatic compression: IPC) มขี นาดใหญ่และราคาแพง และผปู้ ว่ ยตอ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่ายในการเบกิ ซอ้ื อุปกรณ์เอง ไมไ่ ด้อย่ใู นสทิ ธบิ ตั รทอง ทำให้ผปู้ ่วยบางราย เขา้ ถึงเคร่ือง IPC ไดล้ ำบาก อกี ท้งั การใชอ้ ุปกรณ์ที่หุ้มขาเป็นระยะเวลานานทำให้เกดิ ความไม่สุขสบายเน่อื งจากเกิดอณุ หภูมทิ ส่ี งู ขนึ้ และทำให้เกิดความชืน้ ไดง้ า่ ยเป็นแหลง่ สะสมของเชอื้ โรคได้อีกด้วย ดังน้ันทางผู้จัดทำไดเ้ ล็งเห็นถงึ ปญั หาดังกลา่ ว จึงได้คดิ ค้นนวตั กรรมชว่ ยปอ้ งกันภาวะลม่ิ เลอื ดอดุ ตันหลอดเลือดดำสว่ นลึกใหม้ ี ขนาดท่เี ล็กลง มนี ้ำหนักเบา พกพาไดส้ ะดวก และระบายอากาศไดด้ ี เพ่ือช่วยใหผ้ ูป้ ว่ ยหรือหนว่ ยงานเข้าถึงอุปกรณใ์ นการปอ้ งกนั การเกดิ ภาวะลิ่มเลอื ดอุดตันเสน้ เลอื ดดำสว่ นลึกได้งา่ ย คำสำคัญ: การป้องกันการเกิดภาวะลิม่ เลือดอดุ ตนั เสน้ เลอื ดดำส่วนลกึ 1. ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา เน่ืองจากการข้ึนฝึกฏบิ ัติบนหอผ้ปู ว่ ยไดพ้ บปญั หาเก่ียวกบั การอดุ ตันของหลอดเลอื ดดำบรเิ วณขาทมี่ าก และมีความ จำเป็นท่ีตอ้ งใชเ้ คร่อื งมือท่ีช่วยลดการอุดต้นและเครอ่ื งมือชนดิ นน้ั คอ่ นขา้ งท่ีจะมีขนาดใหญแ่ ละระบายความร้อนได้ไม่ดนี ัก ดังน้ัน ทางผจู้ ัดทำไดเ้ ลง็ เหน็ ถึงปัญหาของตวั อปุ กรณ์ที่มลี ักษณะใหญ่และพกพายาก คณะผู้จดั ทำจงึ ไดท้ ำอปุ กรณ์ปอ้ งกนั ภาวะลิม่ เลอื ดอดุ ตันหลอดเลอื ดดำให้มขี นาดที่เล็กลงสามารถเคล่อื นย้ายไดส้ ะดวก นำ้ หนักน้อย และผจู้ ดั ทำยังจดั ทำนวตั กรรมการบบี ไลล่ ่มิ เลือด จากปลายขาถงึ ต้นขาใหเ้ ป็นระดบั นอกจากนปี้ ลอกขาท่ใี ส่บีบไล่ลม่ิ เลอื ดอดุ ตนั บรเิ วณขา ต้องใสเ่ ป็นเวลานานอาจทำให้เกิดการ ระบายอากาศไดไ้ มด่ แี ละอาจทำให้เกิดการอบั ชน้ื ผนื่ คนั และเกดิ การกดทับระบบประสาทได้ เชน่ เกดิ อาการชาบริเวณปลายขา ขา เป็นต้น ทางคณะผู้จดั ทำจงึ ไดท้ ำการเปลยี่ นมาใช้วัสดทุ สี่ ามารถระบายอากาศไดด้ ี และราคาไม่แพง
2. วตั ถุประสงค์ เพ่อื ป้องกนั การเกดิ ภาวะลิ่มเลอื ดอดุ ตัน ในหลอดเลือดดำสว่ นลึก(Deep Vein Thrombosis) 3. กลมุ่ เปา้ หมาย ผู้ปว่ ยทีเ่ สยี่ งต่อการเกดิ (Deep Vein Thrombosis: DVT) ทีม่ ี Well Clinical score for DVT ตั้งแต่ ๑-๓ คะแนน จำนวน ๕ ราย 4. กระบวนการพฒั นา (ตามข้นั ตอน plan do check act) แผนปฏิบัตกิ าร ๑. ข้นั ตอนการวางแผน (Plan) ๑.๑ ประชมุ สมาชิกเพอ่ื วางแผนโครงการและเลือกประธานพรอ้ มทง้ั เลอื กหัวข้อเรอ่ื งท่สี นใจและแบ่งสมาชิกเพ่อื สืบคน้ ขอ้ มลู กอ่ น นำเสนออาจารย์ ๑.๒ รวบรวมข้อมลู สืบค้นข้อมลู จากงานวิจยั เกีย่ วกับอบุ ัตกิ ารณ์การเกิดหลอดเลอื ดดำส่วนลกึ ทข่ี าอดุ ตนั สาเหตแุ ละวธิ ปี อ้ งกันการ เกดิ หลอดเลือดดำสว่ นลึกทขี่ าอดุ ตัน ( Deep vein thrombosis: DVT โดยใชเ้ ครื่องอดั ลมปอ้ งกนั หลอดเลือดดำส่วนลึกท่ขี าอุดตนั (Intermittent pneumatic compression: IPC) ๑.๓ วิเคราะหป์ จั จยั เสี่ยงที่ทำใหเ้ กดิ หลอดเลอื ดดำสว่ นลึกทข่ี าอดุ ตนั ๑.๔ วางแผนการจดั ทำนวัตกรรม \"HBD Heal by defence\" ๑.๕ จดั ทำรา่ งโครงการนวัตกรรมเพ่อื เสนออาจารยท์ ี่ปรกึ ษา เพอ่ื ขอคำแนะนำในการทำนวัตกรรม ๑.๖ นำเสนออาจารย์ท่ปี รกึ ษา ๒. ขั้นตอนการดำเนนิ การ (Do) ภายหลังจากไดร้ บั การอนมุ ตั โิ ครงการจากอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาแลว้ จงึ ทำตามขนั้ ตอน ดงั นี้ ๒.๑ ออกแบบและจัดทำนวตั กรรม \"HBD Heal by defence\" ๒.๒ ปรึกษาอาจารย์ผู้เช่ียวชาญเพ่ือขอคำแนะนำในการจัดทำนวตั กรรม ๒.๓ นำผลงานที่ออกแบบสมบรู ณแ์ ล้ว เสนอกบั อาจารย์ท่ีปรึกษา ๒.๔ ปรกึ ษาและประสานงานกบั อาจารยผ์ ู้เชีย่ วชาญเกยี่ วกบั การผลติ นวัตกรรม คณะวทิ ยาศาสตร์เพอื่ หาแนวทางในการทำนวัตกรรมทางการพยาบาล ๒.๕ นำเสนอโครงรา่ งนวตั กรรมและแนวทางการผลิตนวตั กรรมทางการพยาบาล รวมถึงวัสดุ อปุ กรณ์ และคา่ ใชจ้ ่ายโดยประมาณ กับอาจารย์ทปี่ รึกษาโครงการ ๒.๖ จดั เตรียมอปุ กรณแ์ ละผลติ นวัตกรรม HBD Heal by defence ๓. ขั้นเสร็จสิ้นโครงการ/ตรวจสอบ (Check) ต.๑ ทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภยั ของนวัตกรรม HBD Heal by defence
๓.๒ จดั ทำแบบประเมนิ ความพึงพอใจ ต.ต ตดิ ตามประเมินผลโครงการ ๓.๔ นำเสนอโครงงานนวตั กรรมทางการพยาบาล ๔. ขนั้ ประเมนิ ผลการจัดกิจกกรม (Action) ๔.๑ ปรบั ปรุงแกไ้ ขและพฒั นานวตั กรรม \"HBD Heal by defence\" ภายหลังจากนำไปทดลองกับกลมุ่ ตัวอยา่ ง ๔.๒ สรุปข้อปรับปรงุ ท่ีควรแก้ไขและนำไปตอ่ ยอดคร้ังตอ่ ไป หากนวตั กรรมสามารถป้องกนั DVT ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ จะมคี วามคุม้ ค่ามาก เน่ืองจาก ราคาถกู กว่า Pneumatic pump ที่ใชอ้ ยู่ในโรงพยาบาลปัจจบุ ัน 5. รายละเอยี ดและวธิ ีการใชง้ านนวัตกรรม
6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภปิ รายผล จากการดำเนินการได้มกี ารนำนวตั กรรม \"HBD Heal by defence\" ไปทดลองใช้งานกบั กลมุ่ ตัวอย่างนกั ศกึ ษาพยาบาล ชัน้ ปที ่ี 3 จำนวน 5 ราย ณ หอผ้ปู ว่ ยออร์โธปีดิกส์ มหาวชริ าวธุ (มว.7A) พบว่าเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ปอ้ งกนั การเกิดภาวะลม่ิ เลือดอดุ ตนั ในหลอดเลอื ดดำส่วนลกึ ผ้ใู ช้งานไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะมาวา่ ชนิ้ งานนวตั กรรมมีความสะดวกสบาย สามารถพกพาได้ เม่ือ ไดท้ ดลองใชแ้ ลว้ รสู้ กึ ผอ่ นคลายบรเิ วณขา แตค่ วรเพ่ิมแรงบบี มากกวา่ น้พี ่ือเพิ่มความผอ่ นคลายมากย่งิ ข้ึน และจัดทำนวตั กรรมใหม้ ี ความสวยงามมากยงิ่ ขนึ้ พยาบาลวชิ าชพี บนหอผ้ปู ว่ ยมคี วามสนใจชน้ิ งานนวตั กรรมน้ี โดยใชค้ ะแนนความพงึ พอใจในการใช้ นวัตกรรมอย่ทู ร่ี อ้ ยละ 80 โดยประเมินประสิทธภิ าพจากแบบประเมินความพึงพอใจเคร่อื ง HBD Heal by defence ซึง่ อยู่ใน ระดบั ดี 7. ขอ้ เสนอแนะ 1.ระยะเวลาในการบบี ลมควรที่จะมีระยะในการบีขนานขนึ้ เน่อื งจากระยะเวลาท่ตี ั้งไวเ้ รว็ กว่าปกติ 2.ระดับความแรงในการบีบขาควรเพม่ิ แรงบีบมากข้นึ กว่าเดิม 3.ควรปรับปรุงรปู แบบความสวยงามและความกะทดั รดั ของตวั เครื่อง 4.เนอ่ื งจากงบประมาณมีจำกดั ทำให้เรามีการประยุกตใ์ ช้ หากได้งบทเี่ พ่มิ ขนึ้ จะทำใหไ้ ดผ้ ลงานท่กี า้ วไกลกว่าน้ี 5.จากการรวี ิว 100-120 mmHg. ทดสอบจรงิ แรงดันของท่วี อรด์ แรงกว่าของเรา เราต้องการเพิ่มแรงดนั แต่ด้วยงบประมาณที่ จำกัดและมอเตอร์ทีเ่ รามีแรงดันบบี ไดแ้ ค่ 100-110 mmHg. หากจะให้มแี รงดันมากกว่านจ้ี ำเป็นต้องเพม่ิ ขนาดมอเตอร์เพื่อให้มแี รง บบี มากกว่าน้ี 8. เอกสารอ้างองิ เกสร พรมเหลก็ .(๒๕๕๓).การพัฒนาและประเมนิ ผลการใชแ้ นวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเพ่ือปอ้ งกันการเกดิ ภาวะลมิ่ เลือดอุดกนั้ หลอด เลอื ดดำในผู้ป่วยวกิ ฤตอุบตั เิ หตุ (วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญา). สงขลา.มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์. สบื คนั จาก https://core.ac.uk/download/pdf/๑๔๙๗๙๒๕๑.pdf รตั นา เพียรเจรญิ สนิ .(๒๕๕๗).การดแู ลผปู้ ่วยแผลเลือดดำคั่งที่ขาเรือ้ รัง(Nursing Care for Patients with Chronic venous les ulcer) (รายงานผลการวจิ ัย). กรุงเทพฯ:คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. ปิยรตั น์ สรุ พฤกษ.์ (๒๕๔๓). ภาวะล่ิมเลือดอดุ ตนั ในหลอดเลือดดำชนั้ ลึก. วารสารเทคนิคการแพทย์เชยี งใหม่,๓๓(๑),๔๔๑-๔๙. fle:///C:/Users/Home/Downloads/tapapol,+ Journal+manager,+๒o000๑o๔๑.pdf พชั รนิ ทร์สตุ ันตปฤดา, มัชฌมิ า กติ ิศรี.(๒๕๕๘). การพฒั นาแนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลทางคลนิ ิกเพอื่ ป้องกันภาวะ ลมิ่ เลอื ดอดุ ตันหลอดเลือดดำสำหรบั ผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมออรโ์ ธปดี ิกส์โรงพยาบาลนครพงิ ค.์ วารสาร โรงพยาบาลนครพงิ ค์,/๖(๒),/๓o-m๖. fle:///C:/Users/Home/Downloads/suparatk,+.pdf พรทิพย์ สารโี ส, เกศรินทร์ อทุ รยิ ะประสิทธ. (๒๕๕๔). การประยุกต์ใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์เพื่อป้องกันหลอด เลือดดำอุดกัน้ ในผปู้ ว่ ยอายุรกรรม-ศลั ยกรรม. Journal of Nursing Science, ๒a(๒); ๒๗-๓๖.
https://ns.mahidol.ac.th/english/journal_NS/pdf/vol๒๙/issue๒/porntip.pdf ยิ่งยง ชินธรรมมติ ร (๒๕๖๐). การหาสาเหตุของภาวะล่ิมเลอื ดอุดตนั หลอดเลือดในผูใ้ หญ่. วารสารโลหิตวทิ ยาและเวชศาสตรบ์ ริการโลหิต,๒๗/(๔),๔๓๓-๔๓๙ fle:///C:/Users/Home/Downloads/sommaphun_t,+Journal+manager, pdf โรงพยาบาลบำรงุ ราษฎรใ์ นกรงุ เทพ( ๒๕๖๖). ภาวะลมิ่ เลือดอดุ ตันในหลอดเลอื ดดำ. สบื คัน ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๖, https://www.bumrungrad.com/th/conditions/venous-thromboembolism-vte สคุ นธ์ วิสุทธพิ นั ธ.์ (๒๕๔๑). แนวโน้มการเกดิ ล่ิมเลอื ดอดุ ตันในหลอดเลอื ดดำลกึ ในประเทศไทย วารสารโลหิตวทิ ยาและเวชศาสตร์บรกิ ารโลหติ ,๘/(๔),๒๓๘-๒๕๘ http://www.tsh.or.th/fle_upload/fles/v๘%๒on๔9๒o๒๘๓.pdf
ประสิทธิผลของการใชน้ วัตกรรมรถเข็นมหศั จรรย์แสนสนุกเพือ่ สง่ เสริมการพฒั นาทักษะการคดิ เชิงบรหิ าร ในเด็กปฐมวัย The effectiveness of using A fun magic cart to promote the development of executive thinking skills in early childhood กรรณกิ าร์ ทบั ทมิ ทอง , จดิ าภา อังกูรเจริญพร , จิตวสิ ทุ ธิ์ โกมัย , นรินทร ว่องแก้ว , ปรญิ ดา แสงสกุล ,ปวีณธ์ ิดา ด้วงปลี และ รัตนาภรณ์ ทวีศรี อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา อ.ดร.อัจฉราวดี ศรยี ะศกั ด์ิ วทิ ยาลยั พยาบาลพระจอมเกลา้ จังหวัดเพชรบรุ ี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก นรนิ ทร ว่องแกว้ : email 63117301030@pckpb.ac.th บทคัดย่อ การวจิ ยั น้ีมวี ัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เปรียบเทยี บพัฒนาการทักษะการคดิ เชงิ บรหิ ารกอ่ นและหลงั การใชน้ วตั กรรมรถเขน็ มหัศจรรยแ์ สนสนุกเพอ่ื ส่งเสริมการพฒั นาทักษะการคดิ เชิงบริหาร ในเดก็ ปฐมวยั 2) ประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ดแู ลเดก็ ปฐมวัยที่ ใชน้ วัตกรรมรถเข็นมหศั จรรย์แสนสนกุ สง่ เสรมิ พัฒนาทกั ษะการคดิ เชิงบรหิ าร กลมุ่ ตวั อยา่ งไดแ้ ก่ ผูด้ ูแลเด็กและเด็กปฐมวัย (อายุ 3-5 ป)ี ที่เขา้ รับการศกึ ษาในศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ในจังหวัดเพชรบรุ ี แบง่ เป็นกลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคุม โดยกลุ่มทดลองคือ ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บา้ นโพธ์ิ ตำบลบา้ นกมุ่ จงั หวัดเพชรบุรี จำนวน 25 คน และกลุ่มควบคุม คอื ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กวัดอินทราราม (วดั บา้ นขลู)่ จังหวัดเพชรบรุ ี จำนวน 25 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 50 คน โดยศกึ ษาแบบกึ่งทดลอง เกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามขอ้ มลู ทั่วไป แบบประเมินความพึงพอใจและแบบประเมนิ การพฒั นาทักษะการคดิ เชิงบรหิ ารของเด็กปฐมวัย ไป ทดลองใชผ้ ลการศกึ ษาพบวา่ ประสิทธผิ ลของการใชน้ วัตกรรมรถเข็นมหศั จรรยแ์ สนสนุกเพอ่ื ส่งเสรมิ การพัฒนาทักษะการคดิ เชงิ บริหารในเด็กปฐมวยั พบว่า ค่าเฉลย่ี คะแนนทักษะการคดิ เชิงบรหิ ารในเดก็ ปฐมวยั ของกลมุ่ ทดลองภายหลังการใช้นวตั กรรมรถเข็นมหศั จรรยแ์ สนสนกุ พบวา่ มคี ะแนนสูงกวา่ ก่อนใชน้ วัตกรรมอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติ ( p < 0.001 ) และผู้ดูแลเด็กมคี วามพงึ พอใจต่อนวัตกรรมรถเขน็ มหัศจรรย์แสนสนุกเพ่ือสง่ เสริมการพัฒนาทักษะการคดิ เชงิ บรหิ าร โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก ( x̄ = 3.75 , SD = 0.55 ) คำสำคัญ: นวัตกรรม สง่ เสรมิ การพัฒนา ทกั ษะการคดิ เชงิ บรหิ าร เด็กปฐมวัย
1. ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา เด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นเด็กในช่วงวัยที่มีพัฒนาการในด้านต่างๆ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เจริญเติบโตสูงสุด ร่วมทั้งเป็นช่วงวัยที่เซลล์สมองเจริญเติบโตและขยายเครือข่ายในสมองอย่าง รวดเร็ว ซึ่งจะทำใหเ้ ด็กเฉลียวฉลาด มีสติปัญญาดี สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆได้เร็วกวา่ วัยอ่ืนๆ (นันทา โพธิ์คำ, 2563) เด็กในวัยนี้จงึ ควรได้รับการเลีย้ งดู เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา อย่างไรก็ตาม การศึกษา สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทยจากเขตศูนย์อนามัยที่ 5 ในปี พ.ศ.2564 พบว่า เด็กมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 60.61 และ สงสัยลา่ ช้าร้อยละ 39.39 สำหรบั จังหวัดเพชรบรุ ี เด็กมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 75 สงสัยลา้ ชา้ ร้อยละ 25 (ศนู ย์อนามยั ท่ี 5, 2564) ดังทป่ี รชั ญาการศึกษาปฐมวัยในหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 กล่าววา่ การศึกษาปฐมวัย เป็นการพฒั นาเด็กต้ังแต่ แรกเกิดจนถึง 6 ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวมบนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ที่ตอบสนองต่อ ธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเดก็ แต่ละคนในเต็มตามศักยภาพภายใตบ้ ริบทสังคมและวัฒนธรรมทีเ่ ด็กอาศัยอยู่ ด้วยความ รัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู้ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิด คุณค่าในตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จากสำนักนายกรัฐมนตรี ได้กล่าวถึงปัญหาของเดก็ ปฐมวัยวา่ กลุ่มเดก็ ปฐมวัย ยังมีปัญหาในการพัฒนาไม่สมวัยจากประชากรที่มีจำนวนบุตรลดลง ส่งผลให้จำนวนเด็กปฐมวัยลดลงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นเด็กยังเป็นผู้สืบทอดคุณความดีงาม เป็นผู้ซึ่งนำไปสู่การตอ่ ยอดและการเปลี่ยนแปลงความเป็นไปของประเทศชาติใน อนาคต (วรรธนา นนั ตาเขยี น และคณะ, 2564) การส่งเสริมให้เด็กมที กั ษะการคิดเชิงบรหิ าร มคี วามสำคญั อยา่ งมากและตอ้ งเร่ิมตง้ั แต่แรกเกดิ แต่ถา้ จะใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ มากที่สุด คือ ช่วงอายุ 1-6 ปี เพราะเป็นช่วงที่สมองส่วนหน้า มีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะสอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 ( พ.ศ. 2560-2564 ) มกี ารสนับสนุนการพฒั นาศักยภาพเดก็ ทุกช่วงวยั ใหเ้ ตบิ โต เป็นคนที่ดี มีคุณภาพ มีความสุข มีความคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ทำประโยชน์ให้สังคมและประสบ ความสำเร็จในชวี ิต (1) ในเดก็ ปฐมวยั เป็นวยั ทมี่ ีความสำคญั มากอยา่ งย่ิงในการวางรากฐานดา้ นการคดิ และการตดั สินใจทจ่ี ะช่วยให้ เด็กสามารถกำกับตนเองเพื่อให้ไปสู่เป้าหมาย ซึ่งจะมีความสำคัญมาก ต่อความสำเร็จในระยะยาว ทักษะสมองเพื่อบริหารจัดการ ชีวิตให้สำเร็จ หรือ EF (Executive function) ซึ่งมีองค์ประกอบ ทั้งหมด 3 ด้าน 9 ทักษะ ได้แก่ 1) ด้านทักษะพื้นฐาน 2) ด้าน ทักษะปฏิบัติ 3) ด้านการกำกบั ตนเอง ประกอบไปด้วย 9 ทกั ษะ 1) ทกั ษะความจำทน่ี ำมาใช้ (Working Memory) 2) ทักษะยัง้ คิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) 3)ทักษะยืดหยุ่นความคิด (Shift Cognitive Flexibility) 4) การวางแผนจัดระบบดำเนินการ (Planning and Organizing) 5)การมงุ่ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) 6) การริเร่ิมและลงมอื ทำ (Initiating) 7) การใส่ ใจจดจ่อ (Focus) 8) การควบคมุ อารมณ์ (Emotion Control) 9) ตดิ ตามประเมนิ ตัวเอง (Self-Monitoring) ดงั นน้ั จงึ เห็นได้ว่าทักษะสมองเพ่ือบรหิ ารจดั การชีวิตให้สำเร็จ หรอื EF ถือเปน็ พ้นื ฐานของการควบคุมตนเองและการจัด ระเบียบตนเองของเด็ก ผ้ใู ห้การอบรมเล้ียงดเู ด็กปฐมวัย ควรใหค้ วามสนใจในการวางรากฐานท่ีจะช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จใน ชีวิต การทำงาน การเรียน เพื่อให้เด็กพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ที่ไม่ได้เน้นเพีย งแค่เรื่องความจำ ซ่ึง สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 ที่ให้ความสำคัญที่ใกล้เคียงกับการคิดเชิงบริหารไว้ในมาตรฐานที่ 10 คือ ความสามารถในการคิดท่ีเปน็ พ้ืนฐานการเรียนรู้ท่ีกำหนดว่าเด็กต้องสามารถคดิ ตัดสินใจ ในเรื่องงา่ ย ๆ และแก้ปัญหาโดยการลอง ผดิ ลองถกู ด้วยตนเองได้ (ณฐั ธดิ า ฤชากุล และคณะ, 2565)
นวัตกรรมรถเขน็ มหัศจรรย์แสนสนุก เป็นนวตั กรรมท่ีชว่ ยสง่ เสรมิ พัฒนาการการคดิ เชิงบรหิ ารจะโดยการปฏิบัติกิจกรรม ตามด้านตา่ งๆที่มอี ยูใ่ นตัวนวัตกรรมกลอ่ งนวัตกรรมรถเขน็ มหศั จรรยแ์ สนสนกุ เพ่ือสง่ เสรมิ การพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารในเดก็ ปฐมวัย ทำให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความสะดวกสบายตอ่ การนำนวัตกรรมมาใช้งาน ทำให้เด็กเล่นกิจกรรมอย่างหลากหลาย โดนไม่ต้องซ้ือของเล่นแยกหลายๆชิน้ สามารถนำไปประยกุ ต์สร้างนวัตกรรมเพ่ิมขึ้นมาได้ดว้ ยตนเองโดยนำวัสดุที่สามารถหาซ้อื ได้ ง่ายมาประดิษฐ์ และมีความทนทาน ได้แก่ ไม้อัด จิ๊กซอว์ ผ้าบล็อคไม้ กระดานวาดรูป และรูปทรงเลขาคณิต ซึ่งมีราคาถูกและ สามารถหาซือ้ ไดง้ ่าย ชว่ ยส่งเสริมพฒั นาการการคดิ เชิงบรหิ ารของเดก็ ปฐมวยั 2. วัตถปุ ระสงค์ 1.เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการก่อนและหลังการใช้นวัตกรรมรถเข็นมหัศจรรย์แสนสนกุ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะการ คดิ เชงิ บริหาร ในเดก็ ปฐมวยั 2.เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยที่ใช้นวัตกรรมรถเข็นมหัศจรรย์แสนสนกุ ส่งเสริมพัฒนาทักษะการคดิ เชิงบริหาร 3. กล่มุ เปา้ หมาย ผู้ดูแลเด็กและเด็กปฐมวัย (อายุ 3-5 ปี) กลุ่มทดลอง คือเด็กปฐมวัยที่เรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพธิ์ ตําบล บ้านกมุ่ จงั หวัดเพชรบรุ ี จาํ นวน 25 คน และกลุ่มควบคุม คือเดก็ ปฐมวัยทเี่ รยี นท่ีศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ วัดอนิ ทราราม(วัดบ้านขลู่) ตําบล ธงชัย จังหวัดเพชรบุรี จํานวน 25 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 50 คน คำนวณโดยใช้โปรแกรม G-Power กำหนดการทดสอบ t-test แบบวัดค่าเฉลี่ยสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน กำหนด Effect Size 0.72 (สิริพรรณ ลิยะวราคุณ และศศิลักษณ์ ขยันกิจ,2558), α Error Probability 0.05 และ β Error Probability 0.80 ได้ผลการคำนวณได้ค่าอำนาจการทดสอบตามความเป็นจริง (Actual Power of Analysis) = 0.8 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ต้องเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุม่ ละ 25 คน และการป้องกันการสูญ หายและความไม่สมบูรณข์ องข้อมูลจึงเพิ่มกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 20 (ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์, 2556) เป็นกลุ่มละ 25 คน รวมเป็นกลุม่ ตัวอยา่ งจำนวน 50 คน 4. กระบวนการพฒั นา (ตามข้นั ตอน Plan do check act) -Plan ผู้วิจัยได้ออกแบบวางแผนนวัตกรรมกรรมรถเข็นมหัศจรรยแ์ สนสนุกเพือ่ ส่งเสรมิ การพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร ในเด็กปฐมวัย โดยคำนึงถึงความแข็งแรงจึงเลือกวัสดุเป็นไม้ และสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายจึงออกแบบใส่ล้อ และออกแบบรูปลักษณ์ให้มีความ น่าสนใจมากขึ้น สามารถใช้งานได้สะดวกขึ้น โดยมีที่จับและล้อ เพื่อให้สะดวกในการเคลื่อนย้าย และจัดวางกิจกรรมต่างๆไว้รอบ ดา้ นของรถเข็น โดยดา้ นบนจะใช้เปน็ ฐานรองสำหรบั การวาดรูประบายสี
-Do ขัน้ ดาํ เนินการทดลอง ผูว้ ิจัยทาํ การเก็บรวบรวมข้อมูลและดาํ เนนิ การ โดยกลุ่มทดลองจะได้ใช้นวัตกรรมรถเข็นมหัศจรรย์แสนสนุก เพอื่ สง่ เสริมการพัฒนาทักษะการคดิ เชิงบรหิ าร ในเด็กปฐมวัยจาํ นวน 5 กจิ กรรม มีระยะเวลา 8 สปั ดาห์ สปั ดาหล์ ะ 7 ครัง้ คร้ังละ 10 นาที และหลังจากใช้นวัตกรรมมีการติดตามประเมินผลการใช้นวัตกรรมทุกวันศุกร์ของทุกสัปดาห์ กลุ่มควบคุมได้รับการดูแล ตามคูม่ อื เฝ้าระวงั และสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัย กลุ่มทดลอง ผวู้ ิจัยสรา้ งสมั พนั ธภาพแนะนาํ ตวั กับกล่มุ ทดลองอธบิ ายขนั้ ตอนการทดลอง และระยะเวลาของการทาํ วิจยั 1. ดาํ เนินการทดลอง เมอ่ื ช้ีแจงรายละเอียดเสร็จเรยี บร้อย ผูว้ จิ ัยเกบ็ รวบรวมข้อมลู ก่อนเขา้ ร่วมวจิ ยั โดย แบบประเมนิ ประสิทธิผล ของการใช้นวตั กรรมรถเข็นมหัศจรรย์แสนสนุกเพอ่ื สง่ เสรมิ การพัฒนาทกั ษะการคดิ เชิงบรหิ าร ในเด็กปฐมวยั พัฒนาการทักษะการ คิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย ก่อนการใช้นวัตกรรม (Pre-test) ด้วยแบบสอบถามขอ้ มูลทัว่ ไปและ แบบทดสอบวดั ความสามารถใน การพัฒนาทกั ษะการคดิ เชงิ บรหิ ารในเดก็ ปฐมวัย ของเดก็ อายุ 3-5 ปี พรอ้ มเกบ็ คะแนนไวส้ าํ หรบั การวิเคราะหข์ ้อมลู 2. ดําเนินกิจกรรมโดยแบ่งกลุ่มทดลอง 1 คนต่อผู้วิจัย1คนต่อนวัตกรรม 1 ชิ้น ซึ่งนวัตกรรม 1 ชิ้นมีกิจกรรมทั้งหมด 5 กิจกรรม ได้แก่ 1.การต่อจก๊ิ ซอว์ 2. กระดานเขยี นวาดรูป 3. ตอ่ บล็อค 4. แยกสี 5. แยกรูปทรงโดยผู้วจิ ยั สอนวธิ ีการใช้นวตั กรรมใหแ้ ก่ผดู้ แู ล เดก็ ปฐมวัย ใช้ระยะเวลา 60 นาที โดยใหใ้ ชน้ วัตกรรมสัปดาห์ละ 7 ครง้ั ครั้งละ 10 นาที มีระยะเวลา 8 สปั ดาห์ จากน้ันนัดหมาย การตดิ ตามการใชน้ วัตกรรมกบั ผดู้ ูแลล่วงหนา้ โดยนัดหมายกับผูด้ แู ลเพื่อติดตามผลทุกวนั ศุกรใ์ นทุกสปั ดาห์
3.หลังการใช้นวัตกรรมสัปดาห์สุดท้ายกลุ่มทดลองทําแบบทดสอบวัดความสามารถในการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็ก ปฐมวัย ของเด็กอายุ 3-5 ปี เพื่อเก็บรวบรวมคะแนนสําหรับการ วิเคราะห์ข้อมูล และทําแบบประเมินความพึงพอใจหลังการใช้ นวัตกรรม จากน้ันผู้วิจยั กล่าวขอบคณุ และยุติความสมั พนั ธ์ กล่มุ ควบคุม ผ้วู ิจยั สร้างสมั พันธภาพ แนะนำตัวกบั กลมุ่ ทดลอง อธิบายข้นั ตอนการทดลอง และระยะเวลาของการทำวจิ ยั 1. ดำเนินการทดลอง เมื่อช้ีแจงรายละเอียดเสร็จเรียบร้อย ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลก่อนเข้ารว่ มวิจัยโดยแบบตามแบบประเมนิ วดั ทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย ของเด็กอายุ 3-5 ปี ของการใช้ประสิทธิผลของการใช้นวัตกรรมรถเข็นมหัศจรรย์แสนสนุก เพื่อส่งเสรมิ การพฒั นาทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย ก่อนการใช้นวัตกรรม (Pre-test) ด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและ แบบประเมนิ วดั ความสามารถในการใช้การคดิ เชิงบรหิ ารของเดก็ อายุ 3-5 ปี พรอ้ มเก็บคะแนนไวส้ ำหรบั การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 2. ดำเนินกจิ กรรม โดยกลมุ่ ควบคุมได้รับการส่งเสริมพฒั นาการตาม DSPM ตามปกติ 3. หลังกิจกรรมดำเนินเสรจ็ กลุ่มควบคุมทำแบบประเมินประสิทธิผลของการใชน้ วตั กรรมรถเขน็ มหัศจรรยแ์ สนสนกุ เพื่องส่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะการคิดเชิงบริหาร ในเดก็ ปฐมวยั หลงั การใชน้ วตั กรรม (Post-test) ดว้ ยแบบการประเมินทักษะทางสมองเพื่อการ บรหิ ารจัดการชวี ติ ตามแบบประเมนิ วดั ทกั ษะการคดิ เชิงบรหิ ารในเด็กปฐมวัย ของเดก็ อายุ 3-5 ปี จากน้ันผวู้ ิจัยกลา่ วขอบคุณและ ยุตคิ วามสมั พนั ธ์ ขนั้ หลังการทดลอง 1.ประเมินประสิทธิผลของการใชน้ วตั กรรมรถเข็นมหศั จรรย์แสนสนุกเพอื่ ส่งเสรมิ การพฒั นาทักษะการคดิ เชิงบรหิ าร ในเด็กปฐมวัย หลังการทดลอง 2. ประเมนิ ความพึงพอใจหลงั การใชน้ วัตกรรม
-Check ประสทิ ธผิ ลของการใชน้ วัตกรรมรถเข็นมหศั จรรย์แสนสนุกเพื่อสง่ เสริมการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็ก ปฐมวัย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัยของกลุ่มทดลองภายหลังการใช้นวัตกรรมรถเข็นมหัศจรรย์ แสนสนกุ พบวา่ มีคะแนนสงู กวา่ ก่อนใชน้ วตั กรรมอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิ ( p < 0.001 ) -Act นำผลการประเมนิ ความพึงพอใจมาปรับปรงุ เพื่อปรบั นวัตกรรมรถเข็นมหศั จรรย์แสนสนกุ ให้มีประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้ึน 5. รายละเอียดและวิธกี ารใช้งานนวตั กรรม วิธกี ารใชน้ วตั กรรมรถเข็นมหัศจรรย์แสนสนุกเพอ่ื สง่ เสริมการพัฒนาทกั ษะการคดิ เชิงบริหารในเด็กปฐมวยั กิจกรรมท่ี 1 การต่อจิ๊กซอว์ จำนวน 1 รูป โดยจะต่อใหส้ มบูรณ์ เปน็ การพัฒนาทักษะการใส่ใจจดจอ่ (Focus) ความสามารถในการ ใส่ใจจอจ่อ มุ่งความสนใจอยู่กับสิ่งที่ทำอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาหนึ่ง โดยไม่วอกแวกไปตามสิ่งเร้าต่าง ๆ จากภายในตนเองหรือ ภายนอก และพัฒนาทักษะทักษะยัง้ คิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ความสามารถในการควบคุม ความต้องการของตนเองให้ อยู่ในระดับท่ีเหมาะสม และสามารถควบคมุ ส่งิ ลอ่ ใจและส่งิ ทท่ี ำจนเป็นนิสัยได้ กิจกรรมที่ 2 ระบายสบี นกระดาษจำนวน 1 รปู เปน็ การพัฒนาทกั ษะยืดหยุน่ ความคิด (Shift Cognitive Flexibility) ความสามารถ ในการยืดหยุ่นหรือปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ ไม่ตายตัว สามารถใช้ทักษะนี้เพื่อการเรียนรู้ การยอมรับ กฎระเบียบ หรือการทำงานด้วยวิธีที่แตกต่างกันจนกระทั่งงานประสบผลสำเร็จ และพัฒนาทักษะการใส่ใจจดจ่อ (Focus) ความสามารถในการใส่ใจจอจ่อ มุ่งความสนใจอยู่กับสงิ่ ท่ีทำอยา่ งต่อเนื่องในชว่ งเวลาหน่ึง โดยไมว่ อกแวกไปตามส่ิงเร้าต่าง ๆ จาก ภายในตนเองหรอื ภายนอก กิจกรรมที่ 3 ต่อบล็อก เป็นการพัฒนาทักษะยืดหยุ่นความคิด (Shift Cognitive Flexibility) ความสามารถในการยืดหยุ่นหรือ ปรับเปลีย่ นให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ ไม่ตายตัว สามารถใช้ทกั ษะนี้เพื่อการเรียนรู้ การยอมรับกฎระเบียบ หรือการ ทำงานด้วยวธิ ีที่แตกต่างกันจนกระท่ังงานประสบผลสำเร็จ และพฒั นาทักษะการใส่ใจจดจ่อ (Focus) ความสามารถในการใส่ใจจอ จอ่ มุ่งความสนใจอยู่กับส่ิงทีท่ ำอย่างตอ่ เนื่องในช่วงเวลาหนงึ่ โดยไม่วอกแวกไปตามสิง่ เร้าตา่ ง ๆ จากภายในตนเองหรือภายนอก
กจิ กรรมท่ี 4 แยกสี เป็นการพัฒนาทักษะความจำท่นี ำมาใช้ (Working Memory) ทักษะจำหรือเกบ็ ขอ้ มูลจากประสบการณ์ท่ีผ่าน มา และสามารถดงึ มาใชป้ ระโยชน์ได้ตามสถานการณ์ท่ีพบเจอ ทักษะน้คี วรกระต้นุ หรอื ทวนซ้ำใหเ้ ดก็ ไดค้ ิดอยา่ งสมำ่ เสมอเพราะจะ ทำให้จำได้ดีและนาน และพัฒนาทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ความสามารถในการควบคุม ความต้องการของ ตนเองให้อยู่ในระดับทเี่ หมาะสม และสามารถควบคมุ สิง่ ล่อใจและส่งิ ท่ีทำจนเป็นนสิ ยั ได้ กิจกรรมที่ 5 แยกรูปทรง สี เป็นการพัฒนาทักษะความจำที่นำมาใช้ (Working Memory) ทักษะจำหรือเก็บข้อมูลจาก ประสบการณท์ ีผ่ ่านมา และสามารถดงึ มาใช้ประโยชนไ์ ด้ตามสถานการณท์ ีพ่ บเจอ ทักษะน้ีควรกระตนุ้ หรอื ทวนซำ้ ใหเ้ ด็กไดค้ ิดอยา่ ง สม่ำเสมอเพราะจะทำให้จำได้ดีและนาน และพัฒนาทักษะยั้งคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) ความสามารถในการควบคุม ความต้องการของตนเองใหอ้ ยใู่ นระดบั ทเี่ หมาะสม และสามารถควบคมุ สงิ่ ลอ่ ใจและสง่ิ ที่ทำจนเปน็ นสิ ัยได้ 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภิปรายผล เปรียบเทยี บพฒั นาทักษะการคดิ เชงิ บรหิ ารของเดก็ อายุ 3-5 ปี ของกล่มุ ทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการใช้ นวัตกรรมรถเขน็ มหัศจรรยแ์ สนสนุก กลุ่มควบคมุ กลุ่มทดลอง t P value ( N = 25 ) ( N = 25 ) (2-tailed) x̄ SD x̄ SD คา่ เฉลย่ี ทักษะการคดิ เชงิ บรหิ าร กอ่ นเข้าร่วมโปรแกรม 3.64 .700 3.40 .913 -1.043 .302ns หลงั เข้าร่วมโปรแกรม 3.88 .781 4.92 .277 6.275 .000*** คา่ เฉลย่ี คะแนนทกั ษะการคดิ เชงิ บริหารในการใช้นวตั กรรมรถเข็นมหศั จรรยแ์ สนสนกุ ของกล่มุ ตัวอย่างก่อนการใช้ นวัตกรรม มคี ่าเฉลี่ยของกลมุ่ ควบคุมและกลมุ่ ทดลอง ไม่แตกตา่ งกนั แต่หลงั จากการทดลอง พบวา่ คา่ เฉลยี่ คะแนนทกั ษะการคดิ เชิงบรหิ ารหลงั การใชน้ วตั กรรมรถเขน็ มหัศจรรยแ์ สนสนกุ ของกลมุ่ ทดลองสงู กว่ากลมุ่ ควบคุมอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ (p < 0.001)
คะแนนเฉลยี่ ระดบั ความพึงพอใจในการนวตั กรรมรถเข็นมหัศจรรยแ์ สนสนุกเพือ่ สง่ เสรมิ การพัฒนาทกั ษะการคดิ เชงิ บริหาร รายการ x̄ SD ระดบั ความพึง พอใจ 1.ความเหมาะสมของคณุ ภาพวสั ดทุ น่ี ำมาใช้งาน 3.28 0.53 ปานกลาง 2.วสั ดมุ คี วามแขง็ แรง ทนทาน 3.68 0.47 มาก 3.วสั ดุทเี่ ลอื กใชส้ ามารถหาซอื้ ไดง้ า่ ย 3.48 0.50 ปานกลาง 4.ความเหมาะสมของราคาวสั ดุทนี่ ำมาใช้งาน 3.56 0.50 มาก 5.มีความเหมาะสมของรูปร่าง ขนาด ต่อการนำไปใช้งาน 3.80 0.40 มาก 6.มปี ระสิทธภิ าพสามารถนำไปใช้งานได้จริง 3.80 0.40 มาก 7.นวัตกรรมมีความนา่ สนใจ 3.80 0.57 มาก 8.นวัตกรรมไมม่ ีวัสดแุ หลม 4.00 0.49 มาก 9.นวตั กรรมไมม่ สี ารเคมีทก่ี ่อใหเ้ กดิ อนั ตราย 3.40 1.39 ปานกลาง 10.นวตั กรรมสามารถเพ่มิ กระบวนการพัฒนาใหแ้ ก่ผ้เู ข้ารว่ ม 3.96 0.20 มาก 11.ผู้ปกครองสามารถมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนา 4.44 0.64 มาก รวม 3.75 0.55 มาก ผดู้ ูแลเด็กมคี วามพงึ พอใจต่อนวตั กรรมรถเขน็ มหศั จรรยแ์ สนสนกุ เพอื่ สง่ เสรมิ การพัฒนาทกั ษะการคิดเชงิ บริหาร โดย ภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ( x̄ = 3.75 , SD = 0.55 ) เมื่อพจิ ารณารายข้อพบว่านวตั กรรมรถเขน็ มหศั จรรยแ์ สนสนุกเพ่ือสง่ เสรมิ การ พฒั นาทักษะการคดิ เชงิ บริหารชว่ ยทำให้ผู้ปกครองมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาในระดับมาก ( x̄ = 4.44 , SD = 0.64 ) อภปิ รายผล 1. ประสิทธิผลการใช้นวัตกรรมรถเข็นมหัศจรรย์แสนสนุกเพื่อส่งเสรมิ พัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารในเดก็ ปฐมวัย โดย นวัตกรรมที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยใช้แนวคิดภายใต้ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory) ของแบนดูรา (Albert Bandura , 1986) และทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (House, 1981) เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็ก ปฐมวัย ใช้ระยะเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาหท์ ี่ 1 สร้างสัมพันธภาพและให้ความรู้เก่ียวกับความสำคัญของการพัฒนาทักษะการคิดเชิง บริหารในเด็กปฐมวัย พร้อมทั้ง ประเมินทักษะการคิดเชิงบริหารก่อนการใช้นวัตกรรม ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยกลุ่ม ทดลองจะเพิ่มเติมโดยการให้แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 1 คน ต่อนวัตกรรม 1 ชิ้น ซึ่งมีกิจกรรมทั้งหมด 5 กิจกรรม ได้แก่ 1.การ ต่อจิ๊กซอว์ 2.กระดานเขียนวาดรูป 3.ต่อบล็อก 4.แยกสี 5.แยกรูปทรง โดยให้ใช้นวัตกรรมสัปดาห์ละ 7 ครั้ง ครั้งละ 10 นาที ใช้ ระยะเวลา 8 สัปดาห์ โดยนัดหมายกับผู้ดูแลเพื่อติดตามผลทุกวันศุกร์ในทุกสัปดาห์ทางออนไลน์ หลังสิ้นสุ ดการทดลองพบว่า คา่ เฉลีย่ คะแนนทกั ษะการคิดเชิงบรหิ ารในเด็กปฐมวยั ของกล่มุ ทดลองภายหลังการใช้นวตั กรรมพบวา่ สงู กว่าก่อนใชน้ วัตกรรมอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) จุดเด่นของการใช้นวัตกรรมครั้งนี้คอื ผู้ดูแลรู้สกึ ว่าตนเองมีส่วนรว่ มในการสง่ เสรมิ พัฒนาทักษะ การคิดเชิงบรหิ ารกบั บุตรตนเองท่ีบ้านร่วมกับการติดตามของครูที่ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยค่าเฉลี่ยคะแนนทกั ษะการคิดเชิงบริหาร ในเด็กปฐมวัย ในกลุ่มควบคุมที่ได้รับการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหารตามมาตรฐานอย่างเดียว พบว่า ภาพรวมของการพัฒนา
ทักษะการคิดเชงิ บริหารของกลุ่มทดลองท่ีได้รับการใช้นวัตกรรม มีคะแนนทักษะการคิดเชิงบรหิ ารสูงกว่ากลุม่ ควบคมุ ซึ่งแตกตา่ ง กนั อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติ (p < 0.05) 2. ความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมรถเข็นมหัศจรรย์แสนสนุกเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัยพบว่า ผู้ดูแลมีความถึงพอใจอยู่ในระดับมากในภาพรวม และมีความพึงพอใจมากในเรื่อง “การที่ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนา ทกั ษะการคดิ เชงิ บริหารในเด็กปฐมวัย” และน้อยท่สี ดุ ในเร่อื ง “ความเหมาะสมของวสั ดทุ ่นี ำมาใชง้ าน” ในการพฒั นานวัตกรรมชิ้น ตอ่ ไปผ้วู จิ ัยต้องปรบั เปลย่ี นวัสดทุ ี่ใช้งานใหเ้ หมาะสมมากกว่านี้ อยา่ งไรก็ตามผู้ดูแลท่เี ป็นกลุม่ ทดลองเห็นว่านวัตกรรมทำให้ผู้ดูแลมี ส่วนร่วมในการพฒั นาทักษะการคดิ เชิงบริหารในเด็กปฐมวยั เฉลี่ย 4.44 แสดงให้เห็นว่าผูด้ แู ลมีความพึงพอใจต่อประสิทธผิ ลของ การใช้นวตั กรรม 7. ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใช้ 1.ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กใช้นวัตกรรมรถเข็นมหัศจรรย์แสนสนุกในการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริการร่วมกับการพัฒนาตาม มาตรฐาน เพือ่ ใหเ้ กิดการพฒั นาท้ังที่บ้านและสถานศึกษา ขอ้ เสนอแนะในการทำวจิ ัยครงั้ ต่อไป 1.ควรมกี ารเลือดใช้วัสดุท่ีนำมาใช้งานให้เหมาะสม เนื่องจากวัสดุที่ทำมาจากไม้ ทำให้มีน้ำหนักมาก ไม่เหมาะสมกับเดก็ อายุ 3-5 ปี 2.สีที่ใช้ในการทำนวัตกรรม เป็นสีสเปรย์ ซึ่งมีส่วนประกอบของสารเคมี สามารรถสูดดมหรือซึมผ่านผิวหนังได้ อาจ ก่อใหเ้ กิดอันตรายต่อสุขภาพ 8. เอกสารอา้ งอิง ดวงฤทยั เสมคุ้มหอม และคณะ. (2563). การส่งเสริมการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวยั . วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน์, 7(10), 15- 31. ณฐั ธิดา ฤาชากลุ , สิริมณี บรรจง และดิษริ า ผางสงา่ . (2565). การพฒั นาทกั ษะการคดิ เชิงบรหิ ารของนกั เรยี น ชั้นอนุบาลปที ี่ 2/1 โรงเรยี นอนบุ าลสามเสน (สำนกั งานสลากกินแบ่งรัฐบาลอุปถัมภ)์ โดยการจัดกจิ กรรมบทบาทสมมตอิ อนไลน.์ วารสารวชิ าการ ครุศาสตรส์ วนสุนนั ทา, 6(1), 77-86. นนั ทา โพธคิ์ ำ. (2563). ทักษะสมอง EF สำหรบั เด็กปฐมวัย. วารสารมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตร้อยเอด็ , 9(2), 707-721. ปริตา ร้บู ญุ และสกุ านดา พนั ตาเอง. (2565). ผลของการใชช้ ดุ กจิ กรรมบอรด์ เกมสำหรบั เด็กปฐมวัย หนว่ ยการเรียนรู้ชุมชนของเรา ท่ีมตี ่อทักษะการคดิ เชิงบรหิ าร (Executive Functions : EF) ของเดก็ อนบุ าล ชนั้ ปีท่ี 2/5 โรงเรียนอนบุ าลกาฬสนิ ธุ.์ วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา, 1(1), 29-43. ศักด์ิชัย ใจซื่อตรง. (2561). การพฒั นารปู แบบการจัดการปรสบการณศ์ ลิ ปะที่สง่ เสรมิ ทกั ษะการจดั การสมอง (EF) สำหรบั เด็ก ปฐมวัย. ปรญิ ญานิพนธป์ รัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต (การวจิ ยั และพัฒนาหลกั สูตร) กรุงเทพฯ : บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ค รนิ ทรวโิ รฒ.
ศริ าณี อิม่ น้ำขาว และพูลสขุ ศิรพิ ูล. (2563). ทักษะการคิดเชงิ บรหิ ารจดั การชีวติ ในเด็กปฐมวัย: การวิเคราะหม์ โนทศั น์. วารสาร พยาบาลกระทรวงสาธารณสขุ , 30(3), 10-22. Bandura, A., & National Inst of Mental Health. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Prentice-Hall, Inc. House, J. S. (1981). Work stress and social support. Reading, MA: Addison-Wesley.
ไมต่ อ้ งใส่เลขหนา้ นวัตกรรม “เน้ือเทยี ม SimMeat” อาริยา สาระแสน1 พฒั น์นรี ป่ันแก้ว1 สุภัสสร อ่วมสขุ 1 ภทั รนิ ทร์ ปดั ทมุ 1 สภุ าพร ปรารมย์2 1นกั ศกึ ษาชั้นปี 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร 2อาจารย์ทีป่ รึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร *ผู้รับผดิ ชอบบทความ: email supaporn_pra@kpru.ac.th บทคดั ยอ่ ปัญหาการขาดแคลนวสั ดุในการฝกึ ปฏิบัติทกั ษะการฝึกเย็บแผล และราคาของหุ่นฝึกทักษะการเย็บแผลมีราคาสูง การ ยืมอปุ กรณ์ไปใชร้ ่วมกัน มโี อกาสเส่ยี งต่อการแพรก่ ระจายเชอ้ื โควิด -19 ส่งผลให้นักศึกษาขาดทักษะการเย็บแผล ขาดความมั่นใจ ในการปฏบิ ตั ิ จากเดมิ ใช้ฟองน้า และหุ่นจากวัสดุยางพารา ไม่มีความเสมือนจริง จึงต้องการวัสดุที่ สัมผัสเสมือนเน้ือจริง จาก การศึกษา กลเู ตน ซึง่ ผ่านกระบวนการผลติ จากแปงู สาลี แปรรูปให้มีความใกลเ้ คียงกบั ผวิ สัมผสั เนื้อสตั ว์ การรวมตัวของโปรตีน กลู เตนิน และไกลอะดิน จะสร้างพนั ธะไดซัลไฟด์ เกิดเป็นโครงสร้างร่างแหสามมิติ ลักษณะสัมผัสเหมือนเนื้อจริง ดังน้ันผู้วิจัยจึงได้ พฒั นาสตู รเนือ้ เทียม Simeat ขนึ้ มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื พัฒนาเน้ือเทียมฝึกเย็บแผล Simeat และศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพ ของนวตั กรรม Simeat กบั หุ่นยางพาราทใ่ี ช้ในการฝกึ เยบ็ แผล เป็นการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi experimental) นานวัตกรรมไป ศึกษาประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง คือ นักศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร จานวน 30 คน เคร่ืองมือใน การวิจัยประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ 1. นวัตกรรม “Simeat” ที่ได้รับการประเมินคุณภาพจากผู้เช่ียวชาญ มีค่าเฉลี่ยมากกว่า 3.51 สามารถใช้ในการฝึกเย็บแผลได้ 2. แบบประเมินคุณภาพเนื้อเทียม ที่ได้รับการประเมินจากผู้เช่ียวชาญ มีค่า IOC เท่ากับ 0.98 และค่าสมั ปะสทิ ธอ์ ัลฟาครอนบราค เท่ากับ 0.95 3. แบบประเมินความเสมือนจริงในการเย็บแผลและความพึงพอใจของ ผู้ใช้นวัตกรรม ได้รับการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ มีค่า IOC เท่ากับ 0.98 และค่าค่าสัมปะสิทธ์อัลฟาครอนบราค เท่ากับ 0.97 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและสถิตทิ ่ใี ช้ ใชค้ า่ ความถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉล่ีย ใช้ สถิติ Independent T-test ผลการศกึ ษา พบว่า การพัฒนาเนื้อเย่ือเทียมฝึกเย็บแผล Simeat ด้านโครงสร้างเนื้อเทียมเสมือนจริง ระดับมากที่สุด แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสาคัญ .05 และประสิทธิผลของนวัตกรรม Simeat เม่ือนานวัตกรรมไปใช้ และ ประเมินความเสมอื นจรงิ ในการเย็บแผลและความพงึ พอใจของผู้ใช้นวัตกรรม และเม่ือเปรียบเทียบ กลุ่มที่ใช้ฟองน้าแบบเดิมใน การฝึกเย็บแผล กับ กลุ่มท่ีใช้นวัตกรรม Simeatพบว่า ค่าเฉลี่ยโดยรวมกลุ่มที่ใช้นวัตกรรม Simeatมีค่ามากกว่า กลุ่มที่ใช้หุ่น ยางพาราในการฝกึ เย็บแผล แตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ ที่ระดบั นยั สาคัญ .05 คาสาคัญ นวัตกรรม เนื้อเทยี ม วัสดุฝกึ เยบ็ แผลเสมือนจริง
1. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา การศึกษาพยาบาลเปนการศึกษาวิชาชีพที่เนนการดูแลทางสุขภาพโดย มีการปฏิบัติเปนหลัก (practice -oriented discipline) ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติจึงเปนหัวใจสาคัญของหลักสูตรพยาบาลศาสตร ผูเรียนจะเรียนรูจาก ประสบการณตรง โดยการนาความรูทางทฤษฎีมาประยุกตในการปฏิบัติการพยาบาล อันจะกอใหเกิดการ เรียนรูท้ังดานทักษะ ทางปญญา การปฏบิ ตั ิ และทศั นคติ ที่ดตี ่อวชิ าชีพ แมวาการจัดใหผูเรียนไดฝกประสบการณ ตรงโดยการดูแลผูปวยจริงในสถาน บริการจะเปนส่งิ ที่ดี ต่อการเรียนรู อยางไรกต็ ามเมื่อคานงึ ถงึ สทิ ธิผูปวยแลว การใหผูเรยี นฝกลองผิดลองถกู กบั ผูรบั บรกิ ารท่ีเปนบุค คล จึงเปนเร่ืองท่จี ะตองพิจารณาใหรอบคอบ นอกจากนี้ การจดั สถานการณในแตละกิจกรรมเพื่อใหผูเรียนมีโอกาสฝกปฏิบัติจริง บนหอผูปวยยังมขี อจากดั และไมสามารถจะกระทาไดทุกครง้ั ไป (วิภาดา คณุ าวกิ ติ กลุ , 2548) ดงั นั้นการฝกปฏิบตั ใิ นสถานการณ จาลองในหองปฏิบัติการเพื่อใหเกิดประสบการณคลายจริง จึงมี ความจาเปนอยางยิ่ง เพื่อใหผูเรียนมีความรูความเขาใจ เกิด ทกั ษะบางประการ และสรางความมั่นใจใหแกผูเรียน กอนท่ีจะปฏิบัติจริงกับผูปวย อันจะเปนผลดีและ ปลอดภัยแกผูปวยดวย กจิ กรรมการพยาบาลบางอย่าง เชน การวัดสญั ญาณชพี เปนตน ผูเรยี นสามารถฝกปฏิบัติ ไดโดยอาศยั เพ่ือนท่ีเรียนดวยกันเปนสื่อ การเรยี นรูที่เปนตัวแทนผูปวย แตกจิ กรรมการพยาบาลบางอยางเปนเรื่องอันตราย หรือทาใหเกิดความเจ็บปวด เชน การฉีดยา การใหยาและสารละลายทางหลอดเลือดดา การสวนปสสาวะ การตรวจภายใน การเย็บแผล เป็นตน กิจกรรมเหลานี้ไม เหมาะสมที่ จะฝกปฏิบัติได้ ถ้านักศึกษาขาดประสบการณ์และความชานาญ ดังนั้นหุนจาลองจึงเปนส่ิงจาเปนท่ีควรจัดหาใหผู เรียนไดฝกปฏิบัติไดอยางเหมาะสม (สุสัณหา ยิ้มแยม, 2559) ส่ือการสอนในรูปหุนจาลองฝกทักษะการพยาบาลทาใหผูเรียน สามารถเรยี น รแู ละเขาใจไดงาย หุนจาลองเปนสื่อการสอนที่ใชแทนของจรงิ บางครั้งผูสอนไม สามารถนาของจริงมาใชในการ เรียนการสอนในหอง ได นอกจากนีก้ ารใชหุนจาลองยงั มขี อดี ในการสามารถนามาใชฝกไดหลายคร้ัง แต่หุนจาลองที่ ผลิตจากตาง ประเทศมักมรี าคาแพง การบารุงรักษาและซอมแซมทาไดคอนขางลาบาก เน่ืองจากตองอาศยั ช้ินส่วน ท่ีส่ังมาจากตางประเทศ (บงั อร ดวงรัตน, อรณุ ี ยันตรปกรณ, ธัญรดี จริ สินธปิ ก, วนิ ยั สยอวรรณ, นลนิ ภัสร รตนวิบูลยสุข, นวลปราง สาลีเพ็ง, 2552 ; สุสัณ หา ยมิ้ แยม, 2559) การส่ังซื้อหุนจาลองสวนใหญ ตองนาเขาจากตางประเทศ ราคาจึงคอนขางแพง ทาใหมีการใชกันอยางจากัด ปจจุบันมีผพู้ ยายามประดิษฐ์หุ่นเพือ่ เพ่มิ ทักษะและความ ชานาญของวิชาชีพ เช่น การพัฒนาหุนจาลอง แขนฝกทักษะเย็บแผล ชนิดยางพารา ท่ไี ดพฒั นาและ ทดลองใชสาหรับนักศึกษาและอาจารยวิทยาลัยในสังกัด สถาบันพระบรมราชชนก เครือขายภาค กลาง 1 และ 2 (บังอร ดวงรตั น และคณะ, 2551) การพัฒนาหุนจาลองในการฝกเย็บ แผลสาหรับนักศกึ ษาพยาบาล (Kasatpibal, Piyawan, & Whitney, 2016) ซึ่งทาจากยางพารายังไม่เสมือนของจริงเท่าท่ีควรสาหรับการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเย็บแผล หตั ถการทส่ี าคญั อยา่ งหน่งึ ตามขอ้ บงั คับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ (ราชกิจจานุเบกษา ข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการ พยาบาลและการผดงุ ครรภ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ ประกาศ ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2564) คือ การเย็บแผล การเย็บแผลขนาดลึกไม่ เกนิ ชนั้ เนื้อเย่ือไขมนั ใตผ้ วิ หนัง (subcutaneous tissue) ในการตกแต่งบาดแผลผ้ปู ุวย และ การเยบ็ แผลฝีเย็บ ส่ิงเหลาน้ีจึงทาให มีขอจากัดในการฝกปฏิบัติ ดังนั้นหากนักศึกษาไดมีการเตรียมความพรอมโดยการ ฝกปฏิบัติกับหุนจาลองกอนข้ึนปฏิบัติงานบน คลนิ ิก นาจะชวยลดปญหาเหลานไ้ี ด้
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชรเป็นสถาบันการศึกษาหนึ่งซึ่งผลิตนักศึกษาในหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต โดยจดั การเรียนการสอนให้มีความครอบคลมุ ท้ังภาคทฤษฎี ทดลอง และปฏิบัติ โดยเฉพาะในภาคทดลอง ซึง่ ถอื เปน็ จุดเชื่อมโยงความรูใ้ นภาคทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ัติ นักศกึ ษาจะต้องได้รับการฝกึ ปฏิบตั ิทกั ษะทางการพยาบาลทุกทกั ษะก่อนข้ึน ฝึกปฏิบัติงานจริง เพ่ือให้นักศึกษาเกิดความชานาญ ซ่ึงการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน จะต้องมีความพร้อมในด้านของ อุปกรณต์ า่ ง ๆ ให้เพียงพอกบั จานวนนกั ศกึ ษา แตม่ ีขอ้ จากดั ทส่ี าคัญ คือ การขาดแคลนอปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการฝึกปฏิบัติทักษะทางการ พยาบาล และขาดผู้ดูแลซ่อมบารงุ หุ่นท่ีใชใ้ นการฝกึ ทกั ษะทางการพยาบาล โดยเฉพาะหนุ่ ฝกึ การเยบ็ แผล มีจานวน 4 ชน้ิ ในขณะที่ มีจานวนนกั ศกึ ษา 39 คน(ทะเบียนครภุ ัณฑ์ คณะพยาบาลศาสตร,์ 2564) เมอื่ เทียบสัดส่วนพบวา่ จานวนนักศึกษา 9.75 คนต่อหุ่น 1 ชน้ิ ซึง่ ไมเ่ พียงพอ ส่งผลทาให้ขาดการเวน้ ระยะห่าง เสีย่ งตอ่ การติดเชอ้ื ในสถานการณ์โควดิ ได้ อีกท้ังราคาของหุ่นฝึกทักษะการ เย็บแผลทใ่ี ชอ้ ย่ใู นปัจจบุ ันมรี าคาตวั ละ 2,578 บาท ซึ่งเป็นราคาท่สี ูงจงึ มีงบประมาณไมเ่ พียงพอในการจัดซ้ือให้เพียงพอกับจานวน ของนกั ศึกษา ประกอบกบั สถานการณโ์ ควดิ -19 การเล่ือนการฝึกปฏบิ ตั ิบนหอผู้ปุวยนกั ศกึ ษาพยาบาลจาเป็นต้องงดการฝึกปฏิบัติ บนหอผู้ปวุ ย หลายสถาบัน ปรบั เปลี่ยนรปู แบบการฝึกปฏิบัตมิ าเป็นการฝึกปฏิบัติโดยใช้ simulation ฝึกกับสถานการณ์จาลองใช้ กรณีศึกษา อภปิ รายปัญหา แนวทางการพยาบาลร่วมกนั หรือใชห้ อ้ งปฏิบัติการมากข้ึน หาโอกาสชดเชยเม่อื สถานการณ์ปกติ ซ่ึงใน การฝกึ ทกั ษะจากห้องปฏิบัติการนน้ั กต็ อ้ งรกั ษามาตราการเวน้ ระยะห่าง จึงพบปัญหาวา่ อปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการฝึกปฏิบัตินั้นไม่เพียงพอ ต่อจานวนนักศึกษาพยาบาล โดยจากการสารวจพบว่ามีอปุ กรณห์ นุ่ ฝกึ เยบ็ แผลที่หอ้ งศนู ย์การเรียนรู้ทางการพยาบาล มีหุ่นแขนขา สาหรับฝกึ เย็บแผลเพยี ง 4 ชิ้น (ทะเบียนครุภณั ฑ์หุ่นฝึกทกั ษะมหาวิทยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร, 2564) ซึ่งมีขนาดใหญ่ เคลื่อนย้าย ไมส่ ะดวก เสี่ยงตอ่ การชารุดเสียหาย และมีราคาค่อนข้างสูง ประกอบกับไม่มีอุปกรณ์เย็บแผลชิ้นเล็ก ในศูนย์การเรียนรู้ทางการ พยาบาล ทาให้นักศึกษาไม่สามารถยืมไปฝึกเย็บแผลเป็นรายบุคคลได้ อีกท้ังถ้าต้องจัดซ้ือให้เพียงพอกับจานวนนักศึกษา ใช้ งบประมาณค่อนขา้ งสูง และการขาดแคลนอุปกรณใ์ นการฝึกเย็บแผล ในสถานการณ์ COVID-19 อาจส่งผลให้นักศึกษาขาดทักษะ การเยบ็ แผล ขาดความมั่นใจในการทาหัตถการเย็บแผล และการใช้นวัตกรรมหุ่นฝึกเย็บแผลน้ัน เป็นวัสดุที่ทาจากวัสดุยางพารา หรอื ซิลโิ คน พบขอ้ จากัด คือ ไมม่ คี วามคลา้ ยเน้อื เยื่อจรงิ ทาให้ไมร่ ู้สกึ ถึงการสัมผสั เนือ้ เยื่อจริง จากการศกึ ษาวรรณกรรมที่เกีย่ วข้อง พบว่า การผลิตเนื้อเทียมในปัจจุบันที่มีลักษณะคล้ายของจริง คือ มีความยืดหยุ่น โครงรา่ งคลา้ ยเนอื้ จริง ลักษณะการสมั ผสั เสมือนจริง ซึ่งทาจากแปูงสาลีมาผ่านกระบวนการให้ได้เป็นกลูเตน ข้าวสาลีเป็นแหล่ง ของโปรตีนกลูเตนที่นิยม นามาใช้ในการผลิตเน้ือเทียมอีกชนิดหรือท่ีในอดีต เรียกว่า เน้ือ seitan เน่ืองจากโปรตีนกลูเตนมี ความสามารถในการยดื หยุ่น มีความสามารถขึ้นรูปเป็นฟิล์มบาง และพร้อมจะเปล่ียนรูปร่างเป็นลักษณะเส้นใยได้ ความสามารถ ดงั กล่าวเกิดข้นึ จากพันธะไดซัลไฟด์ของโปรตีนกลูเตน ซึ่งเป็นคุณลักษณะสาคัญท่ีทาให้เกิดเป็นโครงสร้างร่างแหสามมิติ โปรตีน กลูเตน จึงถกู ใชเ้ ปน็ วัตถดุ ิบหลักสาหรบั การข้นึ รปู ของ โครงสร้างเส้นใย (Nawrocka et al., 2017; Pietsch et al., 2017; Ooms et al., 2018) ซง่ึ กลเู ตนเปน็ ไกลโคโปรตนี ท่พี บในสว่ นทเี่ ป็นเอนโดสเปริ ์มของธัญพชื (cereal grain) เกิดจากการรวมตัวของโปรตีน (Protein), กลูเตนิน (Glutenin) และไกลอะดิน (Gliadin) ในสัดส่วนเท่า ๆ กัน โดยจะสรา้ งพันธะไดซัลไฟด์ (Disulfide Bond) ทา ใหก้ ลเู ตนมีลักษณะเหนยี ว และยดื หยุ่น ไม่ละลายในน้า ลักษณะสัมผัสเหมือนเน้ือจริง การผลิตนี้ใช้กระบวนการแปรรูปพืชให้มี ความใกลเ้ คียงกบั เน้อื สัตว์ทง้ั ผวิ สมั ผสั และรสชาติ ปรบั ปรุงคุณสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนในพืช ให้คุณสมบัติหลักด้านโครงสร้าง และเนอื้ สมั ผสั ของเนอ้ื เทยี มน้นั ใกลเ้ คยี งกับเนื้อสัตว์ เชน่ การละลายน้า การอมุ้ นา้ การเกิดเจล ความยดื หยุ่น การเกิดอิมัลช่ัน การ ดดู ซับไขมนั (กานต์ธดิ า วดีศิริศักดิ์, 2563) การเกิดโฟม การข้ึนฟู การใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ การซึมผ่านของน้า และอากาศ รวมทั้ง ความสามารถในการจับกับโมเลกุลขนาดเล็กในระบบอาหาร เช่น รงควัตถุ กลิ่น วิตามิน แร่ธาตุ และสารขัดขวางการดูดซึม สารอาหาร (นกั สทิ ธ์ิ ปญั โญใหญ่, 2563) การผลิตเนื้อเทียมสามารถทาได้หลายวธิ ีและใช้เทคโนโลยีท่ีมีระดับการพัฒนาท่ีแตกต่าง
กัน สามารถทาไดโ้ ดยใชว้ ิธกี ารพื้นฐาน โดยการนวดผสมสว่ นผสมให้เข้ากัน ขึ้นรูปเป็นลักษณะคล้ายแปูงโด และอาจจะไปอบแห้ง หรอื นง่ึ ทาให้ไดล้ ักษณะเน้ือสัมผัสของผลิตภัณฑ์ท่ดี ีขนึ้ จะทาใหไ้ ด้เน้ือเทียมที่มีลักษณะโครงสร้างและเนื้อสัมผัสของเน้ือเทียมนั้น ใกลเ้ คยี งกับเนื้อสตั ว์จริง Uppal,A.N., & Saldanha B.S., (2012). ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รูปแบบการฝึกเย็บต้นทุนต่าสาหรับใช้ในประเทศกาลัง พัฒนา พบวา่ การพัฒนาโดยใชฟ้ องน้าสังเคราะห์ท่ีถกู ตัดให้มขี นาดท่ีเหมาะสมและหุ้มด้วยอิลาสโตเมอร์เคลือบให้มีลักษณะเรียบ และบางกับผวิ อะนาล็อก และทาการกรดี และเย็บแผลได้ ซึ่งอิลาสโตเมอรม์ ีลักษณะทีท่ นทานและบาง ยืดหยนุ่ เหมาะสมต่อการเดิน ผ่านของเข็มผ่าตดั และวสั ดกุ ารเย็บแผลได้ดี สามารถควบคมุ การเย็บแผลได้ จากการลองฝกึ ก่อนข้ึนปฏิบัติการ (pre clinic) นั้นได้ ผลลพั ธท์ ่ดี ีข้ึนและเป็นประโยชนส์ ามารถลดอุบัติการณ์ของการบาดเจ็บของแผลและเกิดความชานาญข้ึนจากวัสดุเพียงสองอย่าง Gupta,S., Goel, A., Agarwal, A., Gupta, A.K., & Bhagat, T.S., (2017). ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง นวัตกรรมคณะกรรมการเย็บแผล ผา่ ตัดราคาประหยัด พบว่า การออกแบบกระดานเยบ็ แผลท่ีเรียบง่าย สร้างสรรค์ และประหยัด และพร้อมบริการตลอดเวลาเพื่อ การฝึกฝนและเรยี นรู้ โดยจะใชแ้ ผงไฟฟูาขนาดสเ่ี หล่ยี มผนื ผ้า 24*12 ซม. และแผ่นหนังท่ีใช้สาหรับเย็บและเกี่ยวผูกปม นามายึดไว้ บนกระดาน ซ่งึ แผ่นหนังเป็นแผ่นหนงั พ้นื เมอื ง ทนทานต่อเขม็ และสามารถใช้งานได้หลายเดอื น ราคาประหยดั หาได้ง่าย จาลองผิว คล้ายกับผวิ หนังชน้ั หนงั แท้ ซง่ึ จากการพัฒนาและเรียนรู้ สามารถฝึกเย็บแผลผ่านกล้องและผูกปมได้เช่นกัน Kumaresan, R., & Karthikeyan, P., (2014). ไดศ้ ึกษาวจิ ัยเรือ่ ง โมเดลการฝึกเยบ็ ราคาประหยัด พบว่า การท่ีจะเย็บแผลในช่องปากจะต้องมีเทคนิค การเยบ็ แผลทีเ่ หมาะสมและมีทักษะทางจิตระดับสูงท่ีจาเป็นต่อความเชี่ยวชาญในการเย็บภายในช่องปากสาหรับนักศึกษาทันตก รรม หากมีการเยบ็ ท่ีไม่เหมาะสมนอกจากจะทาให้การรักษาล่าช้ายังส่งผลให้เน้ือเย่ือเสียหายมากขึ้น จึงจาเป็นต้องมีการหาทาง ฝึกฝน ทางออกหนึง่ ก็คือมีการใช้แบบจาลองทม่ี จี าหนา่ ยในท้องตลาดแมว้ ่าจะให้การสมั ผสั ท่ีสมั ผัสได้ดีเยี่ยม แต่กย็ งั ถกู ขดั ขวางด้วย คา่ ใช้จา่ ยทีส่ งู จึงมีการสร้างแบบจาลองทมี่ ีความเรียบงา่ ย คมุ้ ค่า สาหรับการฝึกก่อนขึน้ ปฏบิ ตั ิการจริง โดยใช้เปลือกส้ม วัสดุพิมพ์ ฉาบ และปูนปลาสเตอร์ของปารีส โมเดลการเย็บน้ีสามารถสร้างได้ภายในสิบนาที โดยเริ่มจากการผ่าคร่ึงของส้ม จากน้ันใช้ปูน ปลาสเตอร์ของปารีสปูายในผิวด้านในของส้มเพื่อให้มีฐานที่ม่ันคง และเมื่อแห้งแล้วจะมีลักษณะคล้ายกับฟันหรือกระดูก ส่วน เปลอื กสม้ จะจาลองเป็นผวิ หนังของมนุษย์ ซึง่ เปลือกสสี ม้ จะเป็นผิวหนงั ชนั้ นอกและถดั มาสีขาวจะเป็นเซลล์ใต้ผิวหนัง และมีการผ่า เปลอื กสม้ เพียงเลก็ นอ้ ยซึง่ จะคลา้ ยกับการอา้ ปากคา้ ง จะทาให้รูถ้ ึงการตึงของบาดแผล จากการทดลองใช้งานพบว่ามีข้อเสียคือไม่ สามารถเก็บใช้งานได้เวลาหลายวัน เพราะผิวจะแห้ง สูญเสียความเป็นธรรมชาติและความยืดหยุ่น แต่ก็ชดเชยด้วยการที่ผลิต แบบจาลองท่เี รยี บง่ายและตน้ ทนุ ต่า นอกจากน้กี ารระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นการติดต่อจากคนสู่คน ซึ่งเกิดจากละอองสาร คัดหล่ังจากระบบการหายใจของบคุ คลที่ตดิ เชื้อ ซง่ึ จากการไอ หรือ จาม หรือสารคัดหล่ังท่อี อกจากทางเดินหายใจ การติดต่อหลัก ยังเป็นการอย่ใู กลช้ ดิ ไอจามใส่กัน หรอื มือไปสัมผัสพ้ืนผิวที่ปนเปื้อนเช้ือแล้วนามาสู่ร่างกาย การใช้อุปกรณ์ร่วมกันของนักศึกษา พยาบาลก็เชน่ เดยี วกัน เช่น การฝึกปฏิบัติใช้อุปกรณ์ร่วมกันในศูนย์การเรียนรู้ทางการพยาบาล ถึงแม้ว่าจะมีการปูองกันโดยการ เชด็ แอลกอฮอล์ ใส่หน้ากาก เพื่อปูองกันการแพร่กระจายเชื้อก็ตาม การให้ยืมอุปกรณ์จากคณะพยาบาลไปใช้ หากไม่มีการทา ความสะอาดอุปกรณ์ต่างๆ ใช้อุปกรณ์ร่วมกัน สามารถติดเช้ือได้เช่นเดียวกับการสัมผัสเช้ือจากผู้ปุวยโดยตรง ดังน้ันการไม่ใช้ อปุ กรณร์ ว่ มกันน่าจะเป็นวิธกี ารท่ปี ลอดภัยจากโควดิ ดงั นัน้ ควรหลกี เลี่ยงการใชอ้ ุปกรณ์รว่ มกัน
จากข้อมูลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้คิดประดิษฐ์ในการสร้างและพัฒนาอุปกรณ์ในการฝึกเย็บแผลใช้เองข้ึน โดยการศึกษา โครงสรา้ งเน้ือเทยี ม นามาพฒั นาเนอื้ เทยี มวิธีตา่ งๆ และทดลองใชน้ วตั กรรมเน้อื เทียม รวมถงึ ศึกษาความคดิ เหน็ และความพึงพอใจ ท่มี ีต่อนวตั กรรมเนือ้ เทียม ในการฝึกการเยบ็ แผล ผ้วู จิ ัยคาดหวังว่านวัตกรรมเน้ือเทียม จะใหค้ วามร้สู ึกเสมือนจริง สามารถฝึกซ้าได้ หลายครัง้ เพอ่ื ให้นักศึกษาเกิดทกั ษะในการเย็บแผล ชว่ ยสนองนโยบายการปูองกนั การระบาดของโควิด การเว้นระยะหา่ ง สามารถ ประหยดั งบประมาณในการจัดซ้ือ และสะดวกต่อการฝึกปฏิบัติในการเย็บแผลสามารถเอาไปฝึกเองได้ทุกที่ มีโอกาสฝึกทักษะใน การเย็บแผลมากขนึ้ สามารถฝึกปฏิบตั ไิ ด้เองที่บ้านหรือหอได้โดยไม่มขี อ้ จากัด สง่ ผลให้เกดิ ความเช่ยี วชาญทกั ษะการปฏบิ ตั กิ ารเย็บ แผลท่ดี ไี ด้ตอ่ ไป วัสดุในการฝึกปฏิบตั ทิ ักษะการฝึกเย็บแผลมีความสาคัญอย่างย่ิง เพื่อให้นักศึกษาเกิดความชานาญเชี่ยวชาญในทักษะ การขาดแคลนอุปกรณ์และราคาของหุ่นฝึกทักษะการเย็บแผลมีราคาสูง การยืมอุปกรณ์ไปใช้ร่วมกัน มีโอกาสเส่ียงต่อการ แพรก่ ระจายเช้อื โควดิ -19 ส่งผลให้นักศึกษาขาดทักษะการเย็บแผล ขาดความม่ันใจในการปฏิบัติ จากเดิมใช้ฟองน้า และหุ่น จากวสั ดยุ างพารา ไม่มีความเสมือนจรงิ จึงตอ้ งการวสั ดทุ ่ี สมั ผสั เสมอื นเนอื้ จริง จากการศกึ ษา พบว่า กลเู ตน ซง่ึ ผา่ นกระบวนการ ผลติ จากแปูงสาลี แปรรปู ให้มคี วามใกล้เคียงกับผิวสัมผัสเนอ้ื สัตว์ การรวมตัวของโปรตนี กลเู ตนิน และไกลอะดิน จะสร้างพันธะได ซัลไฟด์ เกิดเป็นโครงสร้างรา่ งแหสามมิติ มีความยืดหยุ่น เส้นใย เหนียว และยืดหยุ่น ไม่ละลายในน้า ลักษณะสัมผัสเหมือนเน้ือ จรงิ ดังนั้นผู้วจิ ยั จึงได้พัฒนาเน้อื เทียม Simeat ท่ผี ลติ จากแปูงสาลีข้ึนทดแทนเนื้อสัตว์ เพื่อใช้ในการฝึกเย็บแผลแทน และศึกษา ผลของนวตั กรรม Simeat ซ่ึงคาดหวงั วา่ นวตั กรรมเนอื้ เทียม จะให้ความรูส้ กึ เสมือนจริง มีความยืดหยุ่น เหนียว ราคาถูก สามารถ ฝึกซ้าได้หลายคร้ัง เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะในการเย็บแผล ช่วยสนองนโยบายการปูองกันการระบาดของโควิด ประหยัด งบประมาณในการจัดซ้ือ และสะดวกต่อการฝกึ ปฏบิ ัติในการเยบ็ แผลสามารถเอาไปฝกึ เองไดท้ กุ ท่ี ผฝู้ ึกปฏิบัติมีโอกาสฝึกทักษะใน การเย็บแผลมากขน้ึ สามารถฝกึ ปฏบิ ตั ิได้เองท่บี ้านหรอื หอได้โดยไมม่ ขี อ้ จากัด ส่งผลใหเ้ กดิ ความเช่ียวชาญทกั ษะการปฏิบตั ิการเย็บ แผลที่ดีได้ต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 1.เพอื่ พฒั นาเนอ้ื เย่ือเทียมฝกึ เยบ็ แผล Simeat 2.เพ่ือศกึ ษาเปรยี บเทยี บประสทิ ธิภาพของนวตั กรรม Simeat กับหนุ่ ยางพาราในการฝึกเย็บแผล 3. กล่มุ เปา้ หมาย นกั ศึกษาช้นั ปที ่ี 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร จานวน 30 คน 4. กระบวนการพัฒนา (ตามขั้นตอน plan do check act) ในการวจิ ัยครัง้ น้ี ใช้กรอบแนวคิดการผลิตนวัตกรรม PDCA ประกอบดว้ ย 1. การวางแผน (plan) ในการวางแผนประดิษฐ์นวัตกรรม ผู้ประดิษฐ์ได้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อออกแบบการ ผลติ นวัตกรรม เพอื่ ใช้เป็นวสั ดใุ นการฝกึ เย็บแผลทเ่ี สมือนจริง ดังน้ี 1.1 กลมุ่ เปูาหมาย คือ นักศึกษาวิชาชพี แพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์และพยาบาลท่ีจบ ใหม่ ซึ่งเป็นวิชาชพี ที่มีบทบาทหนา้ ที่ในการทาหัตถการเย็บแผล 1.2 วิเคราะห์ปัญหาทเี่ กดิ ขนึ้ 1.2.1 ผลจากการขาดแคลนวสั ดใุ นการฝกึ เย็บแผลเสมอื นจรงิ 1.2.2 วัสดุท่ีมใี ช้ทว่ั ไปมีราคาแพง
1.2.3 วัสดุสง่ มาจากตา่ งประเทศ ไม่สะดวกตอ่ การสัง่ ซอื้ 1.2.4 วัสดุฝึกเย็บแผลที่ใช้ทดแทน เดิมใช้ ฟองน้า มีลักษณะสัมผัสท่ีไม่เสมือนจริง ไม่ชุ่มน้า เมอื่ ใช้ฝกึ แล้ว มีร่องรอย ฉกี ขาดงา่ ย 1.2.5 ผลจากสถานการณโ์ ควิด การใช้อุปกรณ์ร่วมกันโดยการยืมอุปกรณ์ของคณะไปใช้ร่วมกัน การสัมผสั สิง่ ของรว่ มกันทาให้เกดิ การระบาดของโรคได้ 1.3 การวเิ คราะห์เอกสาร ( Documentary Analysis ) ผ้ปู ระดษิ ฐ์ได้ศึกษาเอกสารวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง เนอ้ื หาเกยี่ วกับ วัสดุการฝึกเย็บแผล วัสดใุ ช้ทดแทนเน้ือเทียม โครงสร้างของเนือ้ เทยี ม วธิ ีการทาเน้อื เทียม 1.4 ออกแบบการผระดษิ ฐ์นวตั กรรม simeat 1.5 ออกแบบวิธีการประเมินนวตั กรรม แบบประเมนิ นวตั กรรม simeat 2. การลงมือปฏิบัติ (Do) 2.1 เลือกกาหนดวัสดุที่จะใชท้ าเน้ือเทียมตามคุณสมบัตขิ องสารต่างๆ 2.2 ออกแบบสูตรส่วนผสมของนวัตกรรม “Simeat” ซงึ่ ประกอบดว้ ย แปูงเอนกประสงค์ เกลือ สแี ดง ผสมอาหาร นา้ สารกนั บดู และสารเพ่ิมความคงตัว 2.3 ทดลองผลิต นวัตกรรม “Simeat” ตามสตู รสว่ นผสม และกรรมวธิ ีเพอ่ื หาสตู รนวตั กรรม 2.4 จากการออกแบบพบวา่ เนื้อเทยี ม นวตั กรรม “Simet” มีส่วนประกอบดังน้ี 1) แปูงเอนกประสงค์ 2) เกลือ 3) สีแดงผสมอาหาร 4) สารกันบูด 5) น้าเปล่า และ 6)สารเพิ่มความคงตัว เม่ือคลุกเคล้าส่วนผสมเข้ากันแล้วนวด แปูงใหเ้ ขา้ กนั จากนน้ั นาไปแช่นา้ ล้างให้เหลอื แต่สารกลเู ต็น แล้วนาไปนึง่ เพ่ือให้สารกลูเตน็ มคี วามเหนยี วมากขึ้น 3. ข้ันประเมนิ นวัตกรรม (Check) 3.1 เม่อื ประดษิ ฐ์นวตั กรรม “simeat” แลว้ นานวัตกรรมใหผ้ ู้เช่ียวชาญ จานวน 5 ทา่ น ประเมินความ ตรงเชิงเน้ือหา (Content validity) วา่ นวตั กรรมมีความเหมาะสม ถูกต้อง หรือสอดคล้องกับปัญหา เนื้อหาทีต่ ้องการหรือไม่ โดย การประเมนิ พบว่า มคี า่ CVI = 0.98 3.2 การตรวจสอบคุณภาพของนวตั กรรม นานวตั กรรมให้ผูเ้ ช่ียวชาญ จานวน 5 ทา่ น ประเมินคณุ ภาพ ของนวตั กรรม ซ่งึ ประกอบด้วย ด้านโครงสรา้ งเนอ้ื เทียมเสมือนจริง 1). ความแข็งแรง (Hardness) 2).ความทนต่อการกระทา (Chewiness) 3). ความยืดหยนุ่ ของเนอ้ื เทียม (Springiness) 4). ความเปน็ เสน้ ใย (Fibrousness) มคี า่ มากกว่า 3.5 ขน้ึ ไป ถอื วา่ นวัตกรรมนม้ี คี ณุ ภาพ ก่อนทจี่ ะนานวัตกรรม “simeat” ไปใหก้ ลุม่ ตัวอย่างใชฝ้ กึ เยบ็ แผล 4. การวิเคราะห์และปรับปรุงแก้ไข (Act) : นาขอ้ เสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญไปปรบั ปรงุ นวัตกรรม “simeat” และนาไปใช้ โดยนานวตกรรม “simeat” ทผี่ ่านการประเมินคุณภาพจากผเู้ ช่ียวชาญ ไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง โดยก่อนนาไปใชม้ ี การชี้แจงวิธีการใช้ แนวทางการใชน้ วตั กรรม การดูแลรักษา และการปูองกนั ความเส่ยี ง เช่น การแพส้ ารกลูเตน็ แพส้ ่วนผสมของ นวตั กรรม และสอนวิธีการเยบ็ แผล และมกี ารประเมินผลเกยี่ วกับ 1) คณุ ภาพนวัตกรรม “Simeat” 2) ประสทิ ธิภาพความเสมอื นจริงในการเยบ็ แผลของ นวัตกรรม “Simeat” 3) ความพึงพอใจของผใู้ ช้ นวัตกรรม “Simeat”
5. รายละเอยี ดและวิธกี ารใช้งานนวตั กรรม 1. อา่ นคาชแ้ี จงวิธีการใช้ แนวทางการใชน้ วัตกรรม การดแู ลรักษา และการปูองกันความเส่ียง เชน่ การแพส้ ารกลเู ตน็ แพ้ สว่ นผสมของนวัตกรรม ท่ตี ดิ อยู่บรเิ วณซอง 2. เตรยี มอุปกรณ์การเย็บแผล ได้แก่ needle holder เขม็ ด้ายสาหรบั เย็บ 3. ใส่ถงุ มอื 4. เปิดวัสดุ simmeat ฝกึ เย็บแผล และดาเนินการฝกึ เยบ็ แผล 6.ผลการทดลองใช้นวตั กรรมและการอภิปรายผล จากการศกึ ษานวตั กรรม “Simeat” ขอนาเสนอผลการศกึ ษา ดงั น้ี 1. ด้านคุณภาพเนื้อเทียม “Simeat” จากการประเมิน ด้านโครงสร้างเน้ือเทียมเสมือนจริง ความเป็นไปได้ และความ เหมาะสมของ นวัตกรรม “Simeat” ผลการประเมนิ คุณภาพ ดงั ตาราง ตาราง 1 ผลการประเมนิ คุณภาพของ นวัตกรรม “Simeat” รายการประเมนิ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบยี่ งเบน ระดบั ความ () มาตรฐาน(SD) คิดเห็น 1.ด้านโครงสรา้ งเนอ้ื เทียมเสมอื นจรงิ 1) ความแขง็ แรง(Hardness) 4.0 .50 มาก 2).ความทนตอ่ การกระทา (Chewiness) 4.0 .50 มาก 3). ความยืดหยุ่นของเนอ้ื เทียม (Springiness) 4.22 .44 มาก 4). ความเปน็ เสน้ ใย(Fibrousness) 4.66 .50 มากที่สุด 2.ความเป็นไปได้ และความเหมาะสม 4.88 .33 มากท่สี ดุ 1) ความเปน็ ไปได้ 4.88 .33 มากที่สุด 2) ดา้ นความปลอดภัย 4.88 .33 มากที่สุด 3) สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง มคี วามเหมาะสม 4.88 .33 มากที่สุด รวม จากตาราง พบว่า นวัตกรรม “Simeat”ในด้านโครงสรา้ งเนื้อเทียมเสมือนจริง ประกอบด้วย มี ความเป็นเส้นใย อยู่ใน ระดับมากที่สดุ ( ̅ = 4.66, SD= .50) รองลงมา คอื มีความยดื หยุ่น อยใู่ นระดบั มาก ( ̅ = 4.22, SD= .44) มีความแข็งแรง และ ความทนตอ่ การกระทา อย่ใู นระดบั มาก ( ̅ = 4.0, SD= .50) ผลการประเมินคุณภาพด้านความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการใช้งานจริง อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.88, SD= .33) โดยดา้ นความเปน็ ไปได้ ด้านความปลอดภัย และสามารถใช้ประโยชน์ได้จริง มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.88, SD= .33)
2. การประเมนิ ประสทิ ธิภาพของนวตั กรรม “Simeat”เมื่อนานวัตกรรมไปใช้ และประเมินความเสมือนจริงในการเย็บ แผลและความพงึ พอใจของผู้ใชน้ วัตกรรม เปรียบเทียบกบั หุ่นยางพาราในการฝึกเย็บแผล ผลการประเมินประสิทธิภาพ ดังตาราง 2 ตาราง 2 แสดงการเปรียบเทียบประสิทธิภาพกลุ่มนวัตกรรม “Simeat”กับ กลุ่มท่ีใช้หุ่นยางพาราในการฝึกเย็บแผล ของผู้ใช้ นวัตกรรม กล่มุ ท่ใี ช้ Nurse KPRU กลุม่ ทใ่ี ชห้ นุ่ ยางพารา t p Simulated Meat ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบน ค่าเฉลีย่ ส่วน ประสิทธภิ าพ ( ̅ ) มาตรฐาน ( ̅ ) เบย่ี งเบน (SD) มาตรฐาน (SD) 1. ลักษณะวสั ดฝุ กึ เยบ็ แผลเสมอื นจริง 4.9 .25 1.33 .13 12.85 .000 2.ดา้ นความยืดหยนุ่ ของเนอ้ื เทยี ม 4.60 .49 2.33 .13 17.83 .000 3.ด้านความแข็งแรงสามารถใช้แทนเน้ือเทียม 4.16 .52 1.75 .12 12.85 .000 ได้ 4.ด้านความเปน็ ไปได้ของการใชง้ านจริง 5.0 .00 2.33 .13 17.73 .000 5.ดา้ นความคงทน 4.13 .56 1.88 .14 15.09 .000 6.ดา้ นความเปน็ ประโยชน์ของเนื้อเทียม 5.0 .00 1.33 .12 12.85 .000 7.ดา้ นความคมุ้ คา่ คมุ้ ทนุ ของเน้ือเทยี ม 5.0 .00 1.76 .13 15.09 .000 ประสทิ ธิภาพโดยรวม 4.82 .25 2.88 .21 13.81 .00 พบว่า เม่อื เปรยี บเทียบ กลุ่มทใ่ี ช้ฟองนา้ แบบเดิมในการฝึกเย็บแผล กับ กลุ่มท่ีใช้นวัตกรรม “Simeat”พบว่า ค่าเฉล่ีย โดยรวมกลมุ่ ทีใ่ ช้นวตั กรรม “Simeat”มีระดบั ความคิดเห็นตอ่ ประสทิ ธภิ าพนวตั กรรม มากกว่า กลุ่มท่ีใช้หุ่นยางพาราแบบเดิมใน การฝกึ เยบ็ แผล แตกต่างอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ิ ทร่ี ะดบั นยั สาคัญ .05 ซง่ึ ประสิทธิภาพเนือ้ เทียม ประกอบด้วย ลักษณะวัสดุฝึก เย็บแผลเสมือนจริง ความยดื หยนุ่ ของเน้ือเทียม ความแขง็ แรงสามารถใชแ้ ทนเนอ้ื เทียมได้ ความเปน็ ไปได้ของการใช้งานจริง มี ความคงทน และด้านความคมุ้ ค่าคุ้มทนุ ของเน้ือเทยี ม
ตาราง 3 การเปรียบเทยี บความพึงพอใจนวัตกรรม “Simeat”กบั กลุ่มที่ใช้หุ่นยางพาราในการฝึกเย็บแผล ของผใู้ ช้นวตั กรรม กลมุ่ ทีใ่ ช้ Nurse KPRU กลมุ่ ทใี่ ช้หนุ่ ยางพารา tp Simulated Meat ความพงึ พอใจ คา่ เฉลีย่ ส่วนเบยี่ งเบน คา่ เฉล่ีย ส่วน (̅) มาตรฐาน (̅) เบ่ียงเบน มาตรฐาน (SD) (SD) ความพงึ พอใจต่อการฝกึ เย็บแผล 4.9 .25 2.57 .13 12.85 .000 ความมั่นใจในการฝึกเย็บแผลหลังใช้ 4.60 .49 2.33 .13 17.83 .000 นวัตกรรม จากตาราง 3 พบว่า ความพึงพอใจนวตั กรรม “Simeat”มีความพงึ พอใจมากกว่า กล่มุ ท่ีใชห้ ุ่นยางพาราในการฝกึ เย็บ แผล และกลุ่มที่ใชน้ วัตกรรม “Simeat”มีความม่นั ใจในการฝึกเย็บแผลหลงั ใชน้ วตั กรรม มากกว่า กลมุ่ ท่ใี ชห้ ุ่นยางพารา อย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ิ ทรี่ ะดับ .05 สรุปผล อภปิ รายผล และเสนอแนะ 1. คุณภาพเนื้อเย่ือเทียมฝึกเย็บแผล “Simeat”อยู่ในระดับดี หรือมากกว่า 3.51 ขึ้นไป คุณภาพเน้ือเทียม “Simeat”จากการประเมิน ดา้ นโครงสร้างเน้ือเทยี มเสมอื นจรงิ ความเป็นไปได้ และความเหมาะสมของ นวัตกรรม “Simeat”ผล การประเมินคณุ ภาพนวตั กรรมในดา้ นโครงสรา้ งเนอ้ื เทียมเสมอื นจริง ประกอบด้วย มี ความเปน็ เส้นใย อยู่ในระดบั มากที่สุด ( ̅ = 4.66, SD= .50) รองลงมา คือ มีความยืดหยุ่น อยู่ในระดับมาก ( ̅ = 4.22, SD= .44) มีความแข็งแรง และความทนต่อการ กระทา อยใู่ นระดบั มาก ( ̅ = 4.0, SD= .50) ผลการประเมนิ คุณภาพด้านความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการใช้งานจริง อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.88, SD= .33) โดยด้านความเป็นไปได้ ด้านความปลอดภัย และสามารถใช้ประโยชน์ได้จริง มี ความเหมาะสม อยูใ่ นระดบั มากที่สุด ( ̅ = 4.88, SD= .33) ซง่ึ การประดษิ ฐน์ วตั กรรมครั้งนี้มีการศกึ ษา ทานวัตกรรม จากกรอบ ADDIE Model ทาให้มกี ารวิเคราะหน์ วัตกรรมจากปัญหา และศกึ ษาทบทวนนวัตกรรมจากการนากระบวนการผลิตจากแปูงสาลี ได้เป็นกลูเตน แปรรูปให้มีความใกล้เคียงกับผิวสัมผัสเน้ือสัตว์ การรวมตัวของโปรตีน กลูเตนิน และไกลอะดิน จะสร้างพันธะได ซัลไฟด์ เกิดเปน็ โครงสรา้ งรา่ งแหสามมิติ ลักษณะสมั ผสั เหมือนเนือ้ จรงิ การผลติ เน้อื เทยี มในปัจจบุ ันทม่ี ลี ักษณะคล้ายของจริง คือ มีความยืดหยนุ่ โครงรา่ งคลา้ ยเนอ้ื จริง ลักษณะการสัมผสั เสมือนจริง ซึง่ ทาจากแปูงสาลีมาผ่านกระบวนการให้ได้เป็นกลูเตน ข้าว สาลีเปน็ แหล่งของโปรตนี กลูเตนที่นิยม นามาใช้ในการผลิตเน้ือเทียมอีกชนิดหรือท่ีในอดีต เรียกว่า เนื้อ seitan เนื่องจากโปรตีน กลูเตนมีความสามารถในการยืดหยุ่น มีความสามารถขึ้นรูปเป็นฟิล์มบาง และพร้อมจะเปล่ียนรูปร่างเป็นลักษณะเส้นใยได้ ความสามารถดังกลา่ วเกดิ ข้ึนจากพันธะไดซัลไฟด์ของโปรตีนกลเู ตน ซึ่งเปน็ คุณลกั ษณะสาคญั ท่ีทาให้เกิดเป็นโครงสร้างร่างแหสาม
มิติ โปรตีนกลูเตน จึงถูกใช้เป็นวัตถุดิบหลักสาหรับการข้ึนรูปของ โครงสร้างเส้นใย (Nawrocka et al., 2017; Pietsch et al., 2017; Ooms et al., 2018) ซ่ึงกลูเตนเป็นไกลโคโปรตีนที่พบในส่วนที่เป็นเอนโดสเปิร์มของธัญพืช (cereal grain) เกิดจากการ รวมตัวของโปรตีน (Protein), กลูเตนิน (Glutenin) และไกลอะดิน (Gliadin) ในสัดส่วนเท่า ๆ กัน โดยจะสร้างพันธะไดซัลไฟด์ (Disulfide Bond) ทาให้กลูเตนมีลักษณะเหนียว และยืดหยุ่น ไม่ละลายในน้า ลักษณะสัมผัสเหมือนเนื้อจริง การผลิตนี้ใช้ กระบวนการแปรรูปพืชให้มีความใกล้เคียงกับเน้ือสัตว์ท้ังผิวสัมผัสและรสชาติ ปรับปรุงคุณสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนในพืช ให้ คุณสมบัตหิ ลักดา้ นโครงสรา้ งและเนือ้ สมั ผัสของเนือ้ เทียมนน้ั ใกล้เคียงกบั เนอื้ สัตว์ เช่น การละลายนา้ การอมุ้ นา้ การเกิดเจล ความ ยืดหยนุ่ การเกดิ อมิ ัลชัน่ การดดู ซบั ไขมนั (กานต์ธิดา วดศี ิริศกั ดิ์, 2563) 2. ประสิทธิภาพของนวัตกรรม “Simeat”มากกวา่ ห่นุ ยางพาราในการฝกึ เย็บแผล เม่อื เปรียบเทยี บ กลมุ่ ท่ใี ชฟ้ องน้า แบบเดมิ ในการฝกึ เย็บแผล กับ กล่มุ ทใ่ี ชน้ วัตกรรม “Simeat”พบว่า คา่ เฉลีย่ โดยรวมกล่มุ ท่ใี ชน้ วัตกรรม “Simeat”มคี า่ มากกวา่ กลมุ่ ทใี่ ช้หนุ่ ยางพาราแบบเดิมในการฝกึ เย็บแผล แตกตา่ งอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ ทรี่ ะดับนัยสาคัญ .05 3. ความพงึ พอใจของนวตั กรรม “Simeat”มากกว่า ห่นุ ยางพาราในการฝึกเยบ็ แผล ความพึงพอใจนวตั กรรม “Simeat”มคี วามพงึ พอใจมากกว่า กล่มุ ท่ีใชห้ นุ่ ยางพาราในการฝกึ เย็บแผล ของผู้ใช้นวตั กรรม และมีความมน่ั ใจในการฝกึ เยบ็ แผลหลงั ใช้นวตั กรรม กลมุ่ ที่ใชน้ วัตกรรม “Simeat” มากกวา่ อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิ ทีร่ ะดบั .05 7. ข้อเสนอแนะ 1. นานวัตกรรมไปเผยแพรใ่ ชป้ ระโยชนม์ ากข้ึน 2. พฒั นาเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั การยดื อายผุ ลติ ภณั ฑใ์ หน้ านข้ึน 8. เอกสารอา้ งองิ กลั ยา เดชาเสถียร. (2556). การพัฒนาห่นุ Police Wound เพอ่ื ฝกึ ทักษะการจดั การบาดแผล. วารสารพยาบาลตารวจ, 5(1), 45-54. การต์ธิดา วดีศิริศักด์ิ. (2563, มกราคม - มีนาคม). เอ็นไซม์กับการเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของ โปรตีนในอาหาร. วารสาร อาหาร, 50(1) 33-40 ขจีรัตน์ ระร่ืนรมย์, สุนนั ทา ทองทา และจิรวัฒน์ ยงสวสั ดกิ ุล. (2547). ลกั ษณะทางโครงสร้างและเน้ือสัมผัสของเนื้อเทียมจาก โปรตนี ถ่วั เหลือง. 28-29 พฤษภาคม 2547 (หนา้ 1-9). นครราชสีมา : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี. ขจีรัตน์ ระร่ืนรมย์. (2548). ผลของส่วนผสมต่อโครงสร้างทางกายภาพและพันธะเคมีของเน้ือเทียมโปรตีนถั่วเหลือง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นักสิทธิ์ ปัญโญใหญ่. (2563). โปรตีนจากพืช : คุณค่าโภชนาการโครงสร้าง คุณสมบัติเชิงหน้าที่ และการประยุกต์ใช้ใน อตุ สาหกรรมอาหาร. วารสารการเกษตรราชภัฎ, (มกราคม-มถิ ุนายน), 19(1) : 61-68. เนาวนิตย์ สงคราม. (2556). การสร้างนวตั กรรม เปลยี่ นผเู้ รียนใหเ้ ป็นผู้สร้างนวัตกรรม จากงานวิจยั สูก้ ารปฏิบัติ. จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั : สานกั พมิ พ์แห่ง.
บงั อร ดวงรตั น, อรุณี ยันตรปกรณ, ธญั รดี จิรสินธิปก, วนิ ยั สยอวรรณ, นลนิ ภัสร รตนวบิ ลู ยสุข, นวลปราง สาลเี พ็ง. (2552). การ พัฒนาหนุ จาลองแขนฝกทกั ษะเยบ็ แผลชนดิ ยางพารา. วารสารสาธารณสขุ และการพัฒนา, 7(1): 47-60. พนา โลหะทรพั ยท์ วี และคณะ. (2564). ผลของปรมิ าณแปูงสาลแี ละเหด็ นางรมหลวงต่อลกั ษณะเน้อื สมั ผัสของเนื้อเทียม. วารสาร วิทยาศาสตร์ลาดกระบงั , 30(2),1-11. พสธร ผ่องแผ้ว. (2564). องคป์ ระกอบพ้นื ฐานของผลติ ภณั ฑ์เนอื้ เทยี ม. วิชาการ, 51(1), 25-34. ภทั รพรรณ พรหมคช, พูนพชร ทัศนะ และนราวดี หลมิ ศริ ิ. (2564). สภาพและปัญหาการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงโควิด 19 ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และบัณฑิตจบใหม่ สาขาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์. วารสารวิชาการ หลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สกลนคร, 13(37). 33-39. มนญั ญา คาวชิระพิทักษ์. (2564). แนวทางการพัฒนาเน้ือจากพชื ไทย. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคดน โลยี, 2(3), 1-13. มาเรียม นิลพันธุ์. (2555). การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและนิเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. มหาวทิ ยาลัยศิลปากร : กรงุ เทพฯ เยาวลักษณ คุมขวัญ และ ปรยี สลิล ไชยวุฒ.ิ (2557). การพฒั นาหุนจาลองฝกทักษะการดดู เสมหะทาง Endotracheal tube และ Tracheostomy tube. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกลาจนั ทบรุ ี, 25(2): 52-64. รตั นะ บวั สนธ.์ (2562, กรกฎาคม-ธนั วาคม). วิจัยและพฒั นาหลกั สูตร และการเรยี นการสอน. วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตร์วิจัย , 11(2) 1-11. วิภาดา คณุ าวกิ ติกุล. (2548). การเรียนการสอนแบบจาลอง. เชยี งใหม: โชตนา. สภาการพยาบาลแหงประเทศไทย. (2540). พระราชบัญญัตวิ ิชาชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2540. กรงุ เทพฯ: เดอะเบสทกราฟฟคแอนดปริ้ นท. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2553). นวัตกรรม : ความหมาย ประเภท และความสาคัญ ต่อการเป็นผู้ประกอบการ. วารสาร บรหิ ารธรุ กจิ , 33(128), 49-65. สสุ ัณหา ยมิ้ แยม (2559). การพัฒนาหุนจาลองเพอ่ื ฝกทักษะทางคลินิกของนกั ศกึ ษาสาขาวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ. พยาบาลสาร, 43 (2): 142-151. สสุ ัณหา ยม้ิ แยม และ โสภา กรรณสูต. (2556). การพฒั นาหุนจาลองเตานม FON CMU เพ่ือการสอนการเล้ียงบตุ ร ดวยนมมารดา. พยาบาลสาร, 40(4): 58-68. อภนิ ันท สปุ ระเสรฐิ . (2558). หนุ จาลองยางพารา ส่อื ประหยัดเพ่ือการศึกษาไทย. สืบคนเมือ่ 12 ธนั วาคม 2558 จาก http://www.rdi.ku.ac.th/bk/04/04.htm. อับดลอาซดี หนิมสุ า, วรวทิ ย จติ ติถาวร และ เจริญเกียรติ ฤกษเกลี้ยง. (2551). เครอ่ื งมือชวยสอน: หุนฝกใสสาย ระบายทรวงอก. สงขลานครนิ ทรเวชสาร, 26(5): 513-517. Alejandro Rafael Gonzalez-Navarro, Alejandro Quiroga-Garza, Adriana Sharai Acosta-Luna, Yolanda Salinas- Alvarez, Javier Humberto Martinez-Garza, Oscar de la Garza-Castro, Jorge Gutierrez-de la, David de la Fuente-Villarreal, Rodrigo Enrique Elizondo-Omaña, &Santos Guzman-Lopez. (2021). Comparison of
suturing Models: the effect on perception of basic surgical skills. BMC medical Education, 21(250), 1-11. Kasatpibal, N., Sawasdisingha, P., & Whitney, J.D. (2016). Innovation of educational wound models for nursing students. Journal of Nursing Education and Practice, 6(9): 101-109. Krejcie & Morgan (1997). Determing Semple Size For Researoh Activities. Educational and psychological Measurement. 30(3), pp 607-610. ภาพประกอบ ลักษณะนวัตกรรมเนือ้ เทยี ม Simeat
การฝึกเยบ็
ไมต่ อ้ งใส่เลขหนา้ นวัตกรรม “เน้ือเทยี ม SimMeat” อาริยา สาระแสน1 พฒั น์นรี ป่ันแก้ว1 สุภัสสร อ่วมสขุ 1 ภทั รนิ ทร์ ปดั ทมุ 1 สภุ าพร ปรารมย์2 1นกั ศกึ ษาชั้นปี 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร 2อาจารย์ทีป่ รึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร *ผู้รับผดิ ชอบบทความ: email supaporn_pra@kpru.ac.th บทคดั ยอ่ ปัญหาการขาดแคลนวสั ดุในการฝกึ ปฏิบัติทกั ษะการฝึกเย็บแผล และราคาของหุ่นฝึกทักษะการเย็บแผลมีราคาสูง การ ยืมอปุ กรณ์ไปใชร้ ่วมกัน มโี อกาสเส่ยี งต่อการแพรก่ ระจายเชอ้ื โควิด -19 ส่งผลให้นักศึกษาขาดทักษะการเย็บแผล ขาดความมั่นใจ ในการปฏบิ ตั ิ จากเดมิ ใช้ฟองน้า และหุ่นจากวัสดุยางพารา ไม่มีความเสมือนจริง จึงต้องการวัสดุที่ สัมผัสเสมือนเน้ือจริง จาก การศึกษา กลเู ตน ซึง่ ผ่านกระบวนการผลติ จากแปงู สาลี แปรรูปให้มีความใกลเ้ คียงกบั ผวิ สัมผสั เนื้อสตั ว์ การรวมตัวของโปรตีน กลู เตนิน และไกลอะดิน จะสร้างพนั ธะไดซัลไฟด์ เกิดเป็นโครงสร้างร่างแหสามมิติ ลักษณะสัมผัสเหมือนเนื้อจริง ดังน้ันผู้วิจัยจึงได้ พฒั นาสตู รเนือ้ เทียม Simeat ขนึ้ มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื พัฒนาเน้ือเทียมฝึกเย็บแผล Simeat และศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพ ของนวตั กรรม Simeat กบั หุ่นยางพาราทใ่ี ช้ในการฝกึ เยบ็ แผล เป็นการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi experimental) นานวัตกรรมไป ศึกษาประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง คือ นักศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร จานวน 30 คน เคร่ืองมือใน การวิจัยประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ 1. นวัตกรรม “Simeat” ที่ได้รับการประเมินคุณภาพจากผู้เช่ียวชาญ มีค่าเฉลี่ยมากกว่า 3.51 สามารถใช้ในการฝึกเย็บแผลได้ 2. แบบประเมินคุณภาพเนื้อเทียม ที่ได้รับการประเมินจากผู้เช่ียวชาญ มีค่า IOC เท่ากับ 0.98 และค่าสมั ปะสทิ ธอ์ ัลฟาครอนบราค เท่ากับ 0.95 3. แบบประเมินความเสมือนจริงในการเย็บแผลและความพึงพอใจของ ผู้ใช้นวัตกรรม ได้รับการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ มีค่า IOC เท่ากับ 0.98 และค่าค่าสัมปะสิทธ์อัลฟาครอนบราค เท่ากับ 0.97 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและสถิตทิ ่ใี ช้ ใชค้ า่ ความถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉล่ีย ใช้ สถิติ Independent T-test ผลการศกึ ษา พบว่า การพัฒนาเนื้อเย่ือเทียมฝึกเย็บแผล Simeat ด้านโครงสร้างเนื้อเทียมเสมือนจริง ระดับมากที่สุด แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสาคัญ .05 และประสิทธิผลของนวัตกรรม Simeat เม่ือนานวัตกรรมไปใช้ และ ประเมินความเสมอื นจรงิ ในการเย็บแผลและความพงึ พอใจของผู้ใช้นวัตกรรม และเม่ือเปรียบเทียบ กลุ่มที่ใช้ฟองน้าแบบเดิมใน การฝึกเย็บแผล กับ กลุ่มท่ีใช้นวัตกรรม Simeatพบว่า ค่าเฉลี่ยโดยรวมกลุ่มที่ใช้นวัตกรรม Simeatมีค่ามากกว่า กลุ่มที่ใช้หุ่น ยางพาราในการฝกึ เย็บแผล แตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ ที่ระดบั นยั สาคัญ .05 คาสาคัญ นวัตกรรม เนื้อเทยี ม วัสดุฝกึ เยบ็ แผลเสมือนจริง
1. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา การศึกษาพยาบาลเปนการศึกษาวิชาชีพที่เนนการดูแลทางสุขภาพโดย มีการปฏิบัติเปนหลัก (practice -oriented discipline) ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติจึงเปนหัวใจสาคัญของหลักสูตรพยาบาลศาสตร ผูเรียนจะเรียนรูจาก ประสบการณตรง โดยการนาความรูทางทฤษฎีมาประยุกตในการปฏิบัติการพยาบาล อันจะกอใหเกิดการ เรียนรูท้ังดานทักษะ ทางปญญา การปฏบิ ตั ิ และทศั นคติ ที่ดตี ่อวชิ าชีพ แมวาการจัดใหผูเรียนไดฝกประสบการณ ตรงโดยการดูแลผูปวยจริงในสถาน บริการจะเปนส่งิ ที่ดี ต่อการเรียนรู อยางไรกต็ ามเมื่อคานงึ ถงึ สทิ ธิผูปวยแลว การใหผูเรยี นฝกลองผิดลองถกู กบั ผูรบั บรกิ ารท่ีเปนบุค คล จึงเปนเร่ืองท่จี ะตองพิจารณาใหรอบคอบ นอกจากนี้ การจดั สถานการณในแตละกิจกรรมเพื่อใหผูเรียนมีโอกาสฝกปฏิบัติจริง บนหอผูปวยยังมขี อจากดั และไมสามารถจะกระทาไดทุกครง้ั ไป (วิภาดา คณุ าวกิ ติ กลุ , 2548) ดงั นั้นการฝกปฏิบตั ใิ นสถานการณ จาลองในหองปฏิบัติการเพื่อใหเกิดประสบการณคลายจริง จึงมี ความจาเปนอยางยิ่ง เพื่อใหผูเรียนมีความรูความเขาใจ เกิด ทกั ษะบางประการ และสรางความมั่นใจใหแกผูเรียน กอนท่ีจะปฏิบัติจริงกับผูปวย อันจะเปนผลดีและ ปลอดภัยแกผูปวยดวย กจิ กรรมการพยาบาลบางอย่าง เชน การวัดสญั ญาณชพี เปนตน ผูเรยี นสามารถฝกปฏิบัติ ไดโดยอาศยั เพ่ือนท่ีเรียนดวยกันเปนสื่อ การเรยี นรูที่เปนตัวแทนผูปวย แตกจิ กรรมการพยาบาลบางอยางเปนเรื่องอันตราย หรือทาใหเกิดความเจ็บปวด เชน การฉีดยา การใหยาและสารละลายทางหลอดเลือดดา การสวนปสสาวะ การตรวจภายใน การเย็บแผล เป็นตน กิจกรรมเหลานี้ไม เหมาะสมที่ จะฝกปฏิบัติได้ ถ้านักศึกษาขาดประสบการณ์และความชานาญ ดังนั้นหุนจาลองจึงเปนส่ิงจาเปนท่ีควรจัดหาใหผู เรียนไดฝกปฏิบัติไดอยางเหมาะสม (สุสัณหา ยิ้มแยม, 2559) ส่ือการสอนในรูปหุนจาลองฝกทักษะการพยาบาลทาใหผูเรียน สามารถเรยี น รแู ละเขาใจไดงาย หุนจาลองเปนสื่อการสอนที่ใชแทนของจรงิ บางครั้งผูสอนไม สามารถนาของจริงมาใชในการ เรียนการสอนในหอง ได นอกจากนีก้ ารใชหุนจาลองยงั มขี อดี ในการสามารถนามาใชฝกไดหลายคร้ัง แต่หุนจาลองที่ ผลิตจากตาง ประเทศมักมรี าคาแพง การบารุงรักษาและซอมแซมทาไดคอนขางลาบาก เน่ืองจากตองอาศยั ช้ินส่วน ท่ีส่ังมาจากตางประเทศ (บงั อร ดวงรัตน, อรณุ ี ยันตรปกรณ, ธัญรดี จริ สินธปิ ก, วนิ ยั สยอวรรณ, นลนิ ภัสร รตนวิบูลยสุข, นวลปราง สาลีเพ็ง, 2552 ; สุสัณ หา ยมิ้ แยม, 2559) การส่ังซื้อหุนจาลองสวนใหญ ตองนาเขาจากตางประเทศ ราคาจึงคอนขางแพง ทาใหมีการใชกันอยางจากัด ปจจุบันมีผพู้ ยายามประดิษฐ์หุ่นเพือ่ เพ่มิ ทักษะและความ ชานาญของวิชาชีพ เช่น การพัฒนาหุนจาลอง แขนฝกทักษะเย็บแผล ชนิดยางพารา ท่ไี ดพฒั นาและ ทดลองใชสาหรับนักศึกษาและอาจารยวิทยาลัยในสังกัด สถาบันพระบรมราชชนก เครือขายภาค กลาง 1 และ 2 (บังอร ดวงรตั น และคณะ, 2551) การพัฒนาหุนจาลองในการฝกเย็บ แผลสาหรับนักศกึ ษาพยาบาล (Kasatpibal, Piyawan, & Whitney, 2016) ซึ่งทาจากยางพารายังไม่เสมือนของจริงเท่าท่ีควรสาหรับการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเย็บแผล หตั ถการทส่ี าคญั อยา่ งหน่งึ ตามขอ้ บงั คับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ (ราชกิจจานุเบกษา ข้อบังคับสภาการพยาบาล ว่าด้วยข้อจากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการ พยาบาลและการผดงุ ครรภ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ ประกาศ ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2564) คือ การเย็บแผล การเย็บแผลขนาดลึกไม่ เกนิ ชนั้ เนื้อเย่ือไขมนั ใตผ้ วิ หนัง (subcutaneous tissue) ในการตกแต่งบาดแผลผ้ปู ุวย และ การเยบ็ แผลฝีเย็บ ส่ิงเหลาน้ีจึงทาให มีขอจากัดในการฝกปฏิบัติ ดังนั้นหากนักศึกษาไดมีการเตรียมความพรอมโดยการ ฝกปฏิบัติกับหุนจาลองกอนข้ึนปฏิบัติงานบน คลนิ ิก นาจะชวยลดปญหาเหลานไ้ี ด้
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชรเป็นสถาบันการศึกษาหนึ่งซึ่งผลิตนักศึกษาในหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต โดยจดั การเรียนการสอนให้มีความครอบคลมุ ท้ังภาคทฤษฎี ทดลอง และปฏิบัติ โดยเฉพาะในภาคทดลอง ซึง่ ถอื เปน็ จุดเชื่อมโยงความรูใ้ นภาคทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ัติ นักศกึ ษาจะต้องได้รับการฝกึ ปฏิบตั ิทกั ษะทางการพยาบาลทุกทกั ษะก่อนข้ึน ฝึกปฏิบัติงานจริง เพ่ือให้นักศึกษาเกิดความชานาญ ซ่ึงการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน จะต้องมีความพร้อมในด้านของ อุปกรณต์ า่ ง ๆ ให้เพียงพอกบั จานวนนกั ศกึ ษา แตม่ ีขอ้ จากดั ทส่ี าคัญ คือ การขาดแคลนอปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการฝึกปฏิบัติทักษะทางการ พยาบาล และขาดผู้ดูแลซ่อมบารงุ หุ่นท่ีใชใ้ นการฝกึ ทกั ษะทางการพยาบาล โดยเฉพาะหนุ่ ฝกึ การเยบ็ แผล มีจานวน 4 ชน้ิ ในขณะที่ มีจานวนนกั ศกึ ษา 39 คน(ทะเบียนครภุ ัณฑ์ คณะพยาบาลศาสตร,์ 2564) เมอื่ เทียบสัดส่วนพบวา่ จานวนนักศึกษา 9.75 คนต่อหุ่น 1 ชน้ิ ซึง่ ไมเ่ พียงพอ ส่งผลทาให้ขาดการเวน้ ระยะห่าง เสีย่ งตอ่ การติดเชอ้ื ในสถานการณ์โควดิ ได้ อีกท้ังราคาของหุ่นฝึกทักษะการ เย็บแผลทใ่ี ชอ้ ย่ใู นปัจจบุ ันมรี าคาตวั ละ 2,578 บาท ซึ่งเป็นราคาท่สี ูงจงึ มีงบประมาณไมเ่ พียงพอในการจัดซ้ือให้เพียงพอกับจานวน ของนกั ศึกษา ประกอบกบั สถานการณโ์ ควดิ -19 การเล่ือนการฝึกปฏบิ ตั ิบนหอผู้ปุวยนกั ศกึ ษาพยาบาลจาเป็นต้องงดการฝึกปฏิบัติ บนหอผู้ปวุ ย หลายสถาบัน ปรบั เปลี่ยนรปู แบบการฝึกปฏิบัตมิ าเป็นการฝึกปฏิบัติโดยใช้ simulation ฝึกกับสถานการณ์จาลองใช้ กรณีศึกษา อภปิ รายปัญหา แนวทางการพยาบาลร่วมกนั หรือใชห้ อ้ งปฏิบัติการมากข้ึน หาโอกาสชดเชยเม่อื สถานการณ์ปกติ ซ่ึงใน การฝกึ ทกั ษะจากห้องปฏิบัติการนน้ั กต็ อ้ งรกั ษามาตราการเวน้ ระยะห่าง จึงพบปัญหาวา่ อปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการฝึกปฏิบัตินั้นไม่เพียงพอ ต่อจานวนนักศึกษาพยาบาล โดยจากการสารวจพบว่ามีอปุ กรณห์ นุ่ ฝกึ เยบ็ แผลที่หอ้ งศนู ย์การเรียนรู้ทางการพยาบาล มีหุ่นแขนขา สาหรับฝกึ เย็บแผลเพยี ง 4 ชิ้น (ทะเบียนครุภณั ฑ์หุ่นฝึกทกั ษะมหาวิทยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร, 2564) ซึ่งมีขนาดใหญ่ เคลื่อนย้าย ไมส่ ะดวก เสี่ยงตอ่ การชารุดเสียหาย และมีราคาค่อนข้างสูง ประกอบกับไม่มีอุปกรณ์เย็บแผลชิ้นเล็ก ในศูนย์การเรียนรู้ทางการ พยาบาล ทาให้นักศึกษาไม่สามารถยืมไปฝึกเย็บแผลเป็นรายบุคคลได้ อีกท้ังถ้าต้องจัดซ้ือให้เพียงพอกับจานวนนักศึกษา ใช้ งบประมาณค่อนขา้ งสูง และการขาดแคลนอุปกรณใ์ นการฝึกเย็บแผล ในสถานการณ์ COVID-19 อาจส่งผลให้นักศึกษาขาดทักษะ การเยบ็ แผล ขาดความมั่นใจในการทาหัตถการเย็บแผล และการใช้นวัตกรรมหุ่นฝึกเย็บแผลน้ัน เป็นวัสดุที่ทาจากวัสดุยางพารา หรอื ซิลโิ คน พบขอ้ จากัด คือ ไมม่ คี วามคลา้ ยเน้อื เยื่อจรงิ ทาให้ไมร่ ู้สกึ ถึงการสัมผสั เนือ้ เยื่อจริง จากการศกึ ษาวรรณกรรมที่เกีย่ วข้อง พบว่า การผลิตเนื้อเทียมในปัจจุบันที่มีลักษณะคล้ายของจริง คือ มีความยืดหยุ่น โครงรา่ งคลา้ ยเนอื้ จริง ลักษณะการสมั ผสั เสมือนจริง ซึ่งทาจากแปูงสาลีมาผ่านกระบวนการให้ได้เป็นกลูเตน ข้าวสาลีเป็นแหล่ง ของโปรตีนกลูเตนที่นิยม นามาใช้ในการผลิตเน้ือเทียมอีกชนิดหรือท่ีในอดีต เรียกว่า เน้ือ seitan เน่ืองจากโปรตีนกลูเตนมี ความสามารถในการยดื หยุ่น มีความสามารถขึ้นรูปเป็นฟิล์มบาง และพร้อมจะเปล่ียนรูปร่างเป็นลักษณะเส้นใยได้ ความสามารถ ดงั กล่าวเกิดข้นึ จากพันธะไดซัลไฟด์ของโปรตีนกลูเตน ซึ่งเป็นคุณลักษณะสาคัญท่ีทาให้เกิดเป็นโครงสร้างร่างแหสามมิติ โปรตีน กลูเตน จึงถกู ใชเ้ ปน็ วัตถดุ ิบหลักสาหรบั การข้นึ รปู ของ โครงสร้างเส้นใย (Nawrocka et al., 2017; Pietsch et al., 2017; Ooms et al., 2018) ซง่ึ กลเู ตนเปน็ ไกลโคโปรตนี ท่พี บในสว่ นทเี่ ป็นเอนโดสเปริ ์มของธัญพชื (cereal grain) เกิดจากการรวมตัวของโปรตีน (Protein), กลูเตนิน (Glutenin) และไกลอะดิน (Gliadin) ในสัดส่วนเท่า ๆ กัน โดยจะสรา้ งพันธะไดซัลไฟด์ (Disulfide Bond) ทา ใหก้ ลเู ตนมีลักษณะเหนยี ว และยดื หยุ่น ไม่ละลายในน้า ลักษณะสัมผัสเหมือนเน้ือจริง การผลิตนี้ใช้กระบวนการแปรรูปพืชให้มี ความใกลเ้ คียงกบั เน้อื สัตว์ทง้ั ผวิ สมั ผสั และรสชาติ ปรบั ปรุงคุณสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนในพืช ให้คุณสมบัติหลักด้านโครงสร้าง และเนอื้ สมั ผสั ของเนอ้ื เทยี มน้นั ใกลเ้ คยี งกับเนื้อสัตว์ เชน่ การละลายน้า การอมุ้ นา้ การเกิดเจล ความยดื หยุ่น การเกิดอิมัลช่ัน การ ดดู ซับไขมนั (กานต์ธดิ า วดีศิริศักดิ์, 2563) การเกิดโฟม การข้ึนฟู การใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ การซึมผ่านของน้า และอากาศ รวมทั้ง ความสามารถในการจับกับโมเลกุลขนาดเล็กในระบบอาหาร เช่น รงควัตถุ กลิ่น วิตามิน แร่ธาตุ และสารขัดขวางการดูดซึม สารอาหาร (นกั สทิ ธ์ิ ปญั โญใหญ่, 2563) การผลิตเนื้อเทียมสามารถทาได้หลายวธิ ีและใช้เทคโนโลยีท่ีมีระดับการพัฒนาท่ีแตกต่าง
กัน สามารถทาไดโ้ ดยใชว้ ิธกี ารพื้นฐาน โดยการนวดผสมสว่ นผสมให้เข้ากัน ขึ้นรูปเป็นลักษณะคล้ายแปูงโด และอาจจะไปอบแห้ง หรอื นง่ึ ทาให้ไดล้ ักษณะเน้ือสัมผัสของผลิตภัณฑ์ท่ดี ีขนึ้ จะทาใหไ้ ด้เน้ือเทียมที่มีลักษณะโครงสร้างและเนื้อสัมผัสของเน้ือเทียมนั้น ใกลเ้ คยี งกับเนื้อสตั ว์จริง Uppal,A.N., & Saldanha B.S., (2012). ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รูปแบบการฝึกเย็บต้นทุนต่าสาหรับใช้ในประเทศกาลัง พัฒนา พบวา่ การพัฒนาโดยใชฟ้ องน้าสังเคราะห์ท่ีถกู ตัดให้มขี นาดท่ีเหมาะสมและหุ้มด้วยอิลาสโตเมอร์เคลือบให้มีลักษณะเรียบ และบางกับผวิ อะนาล็อก และทาการกรดี และเย็บแผลได้ ซึ่งอิลาสโตเมอรม์ ีลักษณะทีท่ นทานและบาง ยืดหยนุ่ เหมาะสมต่อการเดิน ผ่านของเข็มผ่าตดั และวสั ดกุ ารเย็บแผลได้ดี สามารถควบคมุ การเย็บแผลได้ จากการลองฝกึ ก่อนข้ึนปฏิบัติการ (pre clinic) นั้นได้ ผลลพั ธท์ ่ดี ีข้ึนและเป็นประโยชนส์ ามารถลดอุบัติการณ์ของการบาดเจ็บของแผลและเกิดความชานาญข้ึนจากวัสดุเพียงสองอย่าง Gupta,S., Goel, A., Agarwal, A., Gupta, A.K., & Bhagat, T.S., (2017). ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง นวัตกรรมคณะกรรมการเย็บแผล ผา่ ตัดราคาประหยัด พบว่า การออกแบบกระดานเยบ็ แผลท่ีเรียบง่าย สร้างสรรค์ และประหยัด และพร้อมบริการตลอดเวลาเพื่อ การฝึกฝนและเรยี นรู้ โดยจะใชแ้ ผงไฟฟูาขนาดสเ่ี หล่ยี มผนื ผ้า 24*12 ซม. และแผ่นหนังท่ีใช้สาหรับเย็บและเกี่ยวผูกปม นามายึดไว้ บนกระดาน ซ่งึ แผ่นหนังเป็นแผ่นหนงั พ้นื เมอื ง ทนทานต่อเขม็ และสามารถใช้งานได้หลายเดอื น ราคาประหยดั หาได้ง่าย จาลองผิว คล้ายกับผวิ หนังชน้ั หนงั แท้ ซง่ึ จากการพัฒนาและเรียนรู้ สามารถฝึกเย็บแผลผ่านกล้องและผูกปมได้เช่นกัน Kumaresan, R., & Karthikeyan, P., (2014). ไดศ้ ึกษาวจิ ัยเรือ่ ง โมเดลการฝึกเยบ็ ราคาประหยัด พบว่า การท่ีจะเย็บแผลในช่องปากจะต้องมีเทคนิค การเยบ็ แผลทีเ่ หมาะสมและมีทักษะทางจิตระดับสูงท่ีจาเป็นต่อความเชี่ยวชาญในการเย็บภายในช่องปากสาหรับนักศึกษาทันตก รรม หากมีการเยบ็ ท่ีไม่เหมาะสมนอกจากจะทาให้การรักษาล่าช้ายังส่งผลให้เน้ือเย่ือเสียหายมากขึ้น จึงจาเป็นต้องมีการหาทาง ฝึกฝน ทางออกหนึง่ ก็คือมีการใช้แบบจาลองทม่ี จี าหนา่ ยในท้องตลาดแมว้ ่าจะให้การสมั ผสั ท่ีสมั ผัสได้ดีเยี่ยม แต่กย็ งั ถกู ขดั ขวางด้วย คา่ ใช้จา่ ยทีส่ งู จึงมีการสร้างแบบจาลองทมี่ ีความเรียบงา่ ย คมุ้ ค่า สาหรับการฝึกก่อนขึน้ ปฏบิ ตั ิการจริง โดยใช้เปลือกส้ม วัสดุพิมพ์ ฉาบ และปูนปลาสเตอร์ของปารีส โมเดลการเย็บน้ีสามารถสร้างได้ภายในสิบนาที โดยเริ่มจากการผ่าคร่ึงของส้ม จากน้ันใช้ปูน ปลาสเตอร์ของปารีสปูายในผิวด้านในของส้มเพื่อให้มีฐานที่ม่ันคง และเมื่อแห้งแล้วจะมีลักษณะคล้ายกับฟันหรือกระดูก ส่วน เปลอื กสม้ จะจาลองเป็นผวิ หนังของมนุษย์ ซึง่ เปลือกสสี ม้ จะเป็นผิวหนงั ชนั้ นอกและถดั มาสีขาวจะเป็นเซลล์ใต้ผิวหนัง และมีการผ่า เปลอื กสม้ เพียงเลก็ นอ้ ยซึง่ จะคลา้ ยกับการอา้ ปากคา้ ง จะทาให้รูถ้ ึงการตึงของบาดแผล จากการทดลองใช้งานพบว่ามีข้อเสียคือไม่ สามารถเก็บใช้งานได้เวลาหลายวัน เพราะผิวจะแห้ง สูญเสียความเป็นธรรมชาติและความยืดหยุ่น แต่ก็ชดเชยด้วยการที่ผลิต แบบจาลองท่เี รยี บง่ายและตน้ ทนุ ต่า นอกจากน้กี ารระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นการติดต่อจากคนสู่คน ซึ่งเกิดจากละอองสาร คัดหล่ังจากระบบการหายใจของบคุ คลที่ตดิ เชื้อ ซง่ึ จากการไอ หรือ จาม หรือสารคัดหล่ังท่อี อกจากทางเดินหายใจ การติดต่อหลัก ยังเป็นการอย่ใู กลช้ ดิ ไอจามใส่กัน หรอื มือไปสัมผัสพ้ืนผิวที่ปนเปื้อนเช้ือแล้วนามาสู่ร่างกาย การใช้อุปกรณ์ร่วมกันของนักศึกษา พยาบาลก็เชน่ เดยี วกัน เช่น การฝึกปฏิบัติใช้อุปกรณ์ร่วมกันในศูนย์การเรียนรู้ทางการพยาบาล ถึงแม้ว่าจะมีการปูองกันโดยการ เชด็ แอลกอฮอล์ ใส่หน้ากาก เพื่อปูองกันการแพร่กระจายเชื้อก็ตาม การให้ยืมอุปกรณ์จากคณะพยาบาลไปใช้ หากไม่มีการทา ความสะอาดอุปกรณ์ต่างๆ ใช้อุปกรณ์ร่วมกัน สามารถติดเช้ือได้เช่นเดียวกับการสัมผัสเช้ือจากผู้ปุวยโดยตรง ดังน้ันการไม่ใช้ อปุ กรณร์ ว่ มกันน่าจะเป็นวิธกี ารท่ปี ลอดภัยจากโควดิ ดงั นัน้ ควรหลกี เลี่ยงการใชอ้ ุปกรณ์รว่ มกัน
จากข้อมูลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้คิดประดิษฐ์ในการสร้างและพัฒนาอุปกรณ์ในการฝึกเย็บแผลใช้เองข้ึน โดยการศึกษา โครงสรา้ งเน้ือเทยี ม นามาพฒั นาเนอื้ เทยี มวิธีตา่ งๆ และทดลองใชน้ วตั กรรมเน้อื เทียม รวมถงึ ศึกษาความคดิ เหน็ และความพึงพอใจ ท่มี ีต่อนวตั กรรมเนือ้ เทียม ในการฝึกการเยบ็ แผล ผ้วู จิ ัยคาดหวังว่านวัตกรรมเน้ือเทียม จะใหค้ วามร้สู ึกเสมือนจริง สามารถฝึกซ้าได้ หลายครัง้ เพอ่ื ให้นักศึกษาเกิดทกั ษะในการเย็บแผล ชว่ ยสนองนโยบายการปูองกนั การระบาดของโควิด การเว้นระยะหา่ ง สามารถ ประหยดั งบประมาณในการจัดซ้ือ และสะดวกต่อการฝึกปฏิบัติในการเย็บแผลสามารถเอาไปฝึกเองได้ทุกที่ มีโอกาสฝึกทักษะใน การเย็บแผลมากขนึ้ สามารถฝึกปฏิบตั ไิ ด้เองที่บ้านหรือหอได้โดยไม่มขี อ้ จากัด สง่ ผลให้เกดิ ความเช่ยี วชาญทกั ษะการปฏบิ ตั กิ ารเย็บ แผลท่ดี ไี ด้ตอ่ ไป วัสดุในการฝึกปฏิบตั ทิ ักษะการฝึกเย็บแผลมีความสาคัญอย่างย่ิง เพื่อให้นักศึกษาเกิดความชานาญเชี่ยวชาญในทักษะ การขาดแคลนอุปกรณ์และราคาของหุ่นฝึกทักษะการเย็บแผลมีราคาสูง การยืมอุปกรณ์ไปใช้ร่วมกัน มีโอกาสเส่ียงต่อการ แพรก่ ระจายเช้อื โควดิ -19 ส่งผลให้นักศึกษาขาดทักษะการเย็บแผล ขาดความม่ันใจในการปฏิบัติ จากเดิมใช้ฟองน้า และหุ่น จากวสั ดยุ างพารา ไม่มีความเสมือนจรงิ จึงตอ้ งการวสั ดทุ ่ี สมั ผสั เสมอื นเนอื้ จริง จากการศกึ ษา พบว่า กลเู ตน ซง่ึ ผา่ นกระบวนการ ผลติ จากแปูงสาลี แปรรปู ให้มคี วามใกล้เคียงกับผิวสัมผัสเนอ้ื สัตว์ การรวมตัวของโปรตนี กลเู ตนิน และไกลอะดิน จะสร้างพันธะได ซัลไฟด์ เกิดเป็นโครงสร้างรา่ งแหสามมิติ มีความยืดหยุ่น เส้นใย เหนียว และยืดหยุ่น ไม่ละลายในน้า ลักษณะสัมผัสเหมือนเน้ือ จรงิ ดังนั้นผู้วจิ ยั จึงได้พัฒนาเน้อื เทียม Simeat ท่ผี ลติ จากแปูงสาลีข้ึนทดแทนเนื้อสัตว์ เพื่อใช้ในการฝึกเย็บแผลแทน และศึกษา ผลของนวตั กรรม Simeat ซ่ึงคาดหวงั วา่ นวตั กรรมเนอื้ เทียม จะให้ความรูส้ กึ เสมือนจริง มีความยืดหยุ่น เหนียว ราคาถูก สามารถ ฝึกซ้าได้หลายคร้ัง เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะในการเย็บแผล ช่วยสนองนโยบายการปูองกันการระบาดของโควิด ประหยัด งบประมาณในการจัดซ้ือ และสะดวกต่อการฝกึ ปฏบิ ัติในการเยบ็ แผลสามารถเอาไปฝกึ เองไดท้ กุ ท่ี ผฝู้ ึกปฏิบัติมีโอกาสฝึกทักษะใน การเย็บแผลมากขน้ึ สามารถฝกึ ปฏบิ ตั ิได้เองท่บี ้านหรอื หอได้โดยไมม่ ขี อ้ จากัด ส่งผลใหเ้ กดิ ความเช่ียวชาญทกั ษะการปฏิบตั ิการเย็บ แผลที่ดีได้ต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 1.เพอื่ พฒั นาเนอ้ื เย่ือเทียมฝกึ เยบ็ แผล Simeat 2.เพ่ือศกึ ษาเปรยี บเทยี บประสทิ ธิภาพของนวตั กรรม Simeat กับหนุ่ ยางพาราในการฝึกเย็บแผล 3. กล่มุ เปา้ หมาย นกั ศึกษาช้นั ปที ่ี 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร จานวน 30 คน 4. กระบวนการพัฒนา (ตามขั้นตอน plan do check act) ในการวจิ ัยครัง้ น้ี ใช้กรอบแนวคิดการผลิตนวัตกรรม PDCA ประกอบดว้ ย 1. การวางแผน (plan) ในการวางแผนประดิษฐ์นวัตกรรม ผู้ประดิษฐ์ได้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อออกแบบการ ผลติ นวัตกรรม เพอื่ ใช้เป็นวสั ดใุ นการฝกึ เย็บแผลทเ่ี สมือนจริง ดังน้ี 1.1 กลมุ่ เปูาหมาย คือ นักศึกษาวิชาชพี แพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์และพยาบาลท่ีจบ ใหม่ ซึ่งเป็นวิชาชพี ที่มีบทบาทหนา้ ที่ในการทาหัตถการเย็บแผล 1.2 วิเคราะห์ปัญหาทเี่ กดิ ขนึ้ 1.2.1 ผลจากการขาดแคลนวสั ดใุ นการฝกึ เย็บแผลเสมอื นจรงิ 1.2.2 วัสดุท่ีมใี ช้ทว่ั ไปมีราคาแพง
1.2.3 วัสดุสง่ มาจากตา่ งประเทศ ไม่สะดวกตอ่ การสัง่ ซอื้ 1.2.4 วัสดุฝึกเย็บแผลที่ใช้ทดแทน เดิมใช้ ฟองน้า มีลักษณะสัมผัสท่ีไม่เสมือนจริง ไม่ชุ่มน้า เมอื่ ใช้ฝกึ แล้ว มีร่องรอย ฉกี ขาดงา่ ย 1.2.5 ผลจากสถานการณโ์ ควิด การใช้อุปกรณ์ร่วมกันโดยการยืมอุปกรณ์ของคณะไปใช้ร่วมกัน การสัมผสั สิง่ ของรว่ มกันทาให้เกดิ การระบาดของโรคได้ 1.3 การวเิ คราะห์เอกสาร ( Documentary Analysis ) ผ้ปู ระดษิ ฐ์ได้ศึกษาเอกสารวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง เนอ้ื หาเกยี่ วกับ วัสดุการฝึกเย็บแผล วัสดใุ ช้ทดแทนเน้ือเทียม โครงสร้างของเนือ้ เทยี ม วธิ ีการทาเน้อื เทียม 1.4 ออกแบบการผระดษิ ฐ์นวตั กรรม simeat 1.5 ออกแบบวิธีการประเมินนวตั กรรม แบบประเมนิ นวตั กรรม simeat 2. การลงมือปฏิบัติ (Do) 2.1 เลือกกาหนดวัสดุที่จะใชท้ าเน้ือเทียมตามคุณสมบัตขิ องสารต่างๆ 2.2 ออกแบบสูตรส่วนผสมของนวัตกรรม “Simeat” ซงึ่ ประกอบดว้ ย แปูงเอนกประสงค์ เกลือ สแี ดง ผสมอาหาร นา้ สารกนั บดู และสารเพ่ิมความคงตัว 2.3 ทดลองผลิต นวัตกรรม “Simeat” ตามสตู รสว่ นผสม และกรรมวธิ ีเพอ่ื หาสตู รนวตั กรรม 2.4 จากการออกแบบพบวา่ เนื้อเทยี ม นวตั กรรม “Simet” มีส่วนประกอบดังน้ี 1) แปูงเอนกประสงค์ 2) เกลือ 3) สีแดงผสมอาหาร 4) สารกันบูด 5) น้าเปล่า และ 6)สารเพิ่มความคงตัว เม่ือคลุกเคล้าส่วนผสมเข้ากันแล้วนวด แปูงใหเ้ ขา้ กนั จากนน้ั นาไปแช่นา้ ล้างให้เหลอื แต่สารกลเู ต็น แล้วนาไปนึง่ เพ่ือให้สารกลูเตน็ มคี วามเหนยี วมากขึ้น 3. ข้ันประเมนิ นวัตกรรม (Check) 3.1 เม่อื ประดษิ ฐ์นวตั กรรม “simeat” แลว้ นานวัตกรรมใหผ้ ู้เช่ียวชาญ จานวน 5 ทา่ น ประเมินความ ตรงเชิงเน้ือหา (Content validity) วา่ นวตั กรรมมีความเหมาะสม ถูกต้อง หรือสอดคล้องกับปัญหา เนื้อหาทีต่ ้องการหรือไม่ โดย การประเมนิ พบว่า มคี า่ CVI = 0.98 3.2 การตรวจสอบคุณภาพของนวตั กรรม นานวตั กรรมให้ผูเ้ ช่ียวชาญ จานวน 5 ทา่ น ประเมินคณุ ภาพ ของนวตั กรรม ซ่งึ ประกอบด้วย ด้านโครงสรา้ งเนอ้ื เทียมเสมือนจริง 1). ความแข็งแรง (Hardness) 2).ความทนต่อการกระทา (Chewiness) 3). ความยืดหยนุ่ ของเนอ้ื เทียม (Springiness) 4). ความเปน็ เสน้ ใย (Fibrousness) มคี า่ มากกว่า 3.5 ขน้ึ ไป ถอื วา่ นวัตกรรมนม้ี คี ณุ ภาพ ก่อนทจี่ ะนานวัตกรรม “simeat” ไปใหก้ ลุม่ ตัวอย่างใชฝ้ กึ เยบ็ แผล 4. การวิเคราะห์และปรับปรุงแก้ไข (Act) : นาขอ้ เสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญไปปรบั ปรงุ นวัตกรรม “simeat” และนาไปใช้ โดยนานวตกรรม “simeat” ทผี่ ่านการประเมินคุณภาพจากผเู้ ช่ียวชาญ ไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง โดยก่อนนาไปใชม้ ี การชี้แจงวิธีการใช้ แนวทางการใชน้ วตั กรรม การดูแลรักษา และการปูองกนั ความเส่ยี ง เช่น การแพส้ ารกลูเตน็ แพส้ ่วนผสมของ นวตั กรรม และสอนวิธีการเยบ็ แผล และมกี ารประเมินผลเกยี่ วกับ 1) คณุ ภาพนวัตกรรม “Simeat” 2) ประสทิ ธิภาพความเสมอื นจริงในการเยบ็ แผลของ นวัตกรรม “Simeat” 3) ความพึงพอใจของผใู้ ช้ นวัตกรรม “Simeat”
5. รายละเอยี ดและวิธกี ารใช้งานนวตั กรรม 1. อา่ นคาชแ้ี จงวิธีการใช้ แนวทางการใชน้ วัตกรรม การดแู ลรักษา และการปูองกันความเส่ียง เชน่ การแพส้ ารกลเู ตน็ แพ้ สว่ นผสมของนวัตกรรม ท่ตี ดิ อยู่บรเิ วณซอง 2. เตรยี มอุปกรณ์การเย็บแผล ได้แก่ needle holder เขม็ ด้ายสาหรบั เย็บ 3. ใส่ถงุ มอื 4. เปิดวัสดุ simmeat ฝกึ เย็บแผล และดาเนินการฝกึ เยบ็ แผล 6.ผลการทดลองใช้นวตั กรรมและการอภิปรายผล จากการศกึ ษานวตั กรรม “Simeat” ขอนาเสนอผลการศกึ ษา ดงั น้ี 1. ด้านคุณภาพเนื้อเทียม “Simeat” จากการประเมิน ด้านโครงสร้างเน้ือเทียมเสมือนจริง ความเป็นไปได้ และความ เหมาะสมของ นวัตกรรม “Simeat” ผลการประเมนิ คุณภาพ ดงั ตาราง ตาราง 1 ผลการประเมนิ คุณภาพของ นวัตกรรม “Simeat” รายการประเมนิ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบยี่ งเบน ระดบั ความ () มาตรฐาน(SD) คิดเห็น 1.ด้านโครงสรา้ งเนอ้ื เทียมเสมอื นจรงิ 1) ความแขง็ แรง(Hardness) 4.0 .50 มาก 2).ความทนตอ่ การกระทา (Chewiness) 4.0 .50 มาก 3). ความยืดหยุ่นของเนอ้ื เทียม (Springiness) 4.22 .44 มาก 4). ความเปน็ เสน้ ใย(Fibrousness) 4.66 .50 มากที่สุด 2.ความเป็นไปได้ และความเหมาะสม 4.88 .33 มากท่สี ดุ 1) ความเปน็ ไปได้ 4.88 .33 มากที่สุด 2) ดา้ นความปลอดภัย 4.88 .33 มากที่สุด 3) สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง มคี วามเหมาะสม 4.88 .33 มากที่สุด รวม จากตาราง พบว่า นวัตกรรม “Simeat”ในด้านโครงสรา้ งเนื้อเทียมเสมือนจริง ประกอบด้วย มี ความเป็นเส้นใย อยู่ใน ระดับมากที่สดุ ( ̅ = 4.66, SD= .50) รองลงมา คอื มีความยดื หยุ่น อยใู่ นระดบั มาก ( ̅ = 4.22, SD= .44) มีความแข็งแรง และ ความทนตอ่ การกระทา อย่ใู นระดบั มาก ( ̅ = 4.0, SD= .50) ผลการประเมินคุณภาพด้านความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการใช้งานจริง อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.88, SD= .33) โดยดา้ นความเปน็ ไปได้ ด้านความปลอดภัย และสามารถใช้ประโยชน์ได้จริง มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.88, SD= .33)
2. การประเมนิ ประสทิ ธิภาพของนวตั กรรม “Simeat”เมื่อนานวัตกรรมไปใช้ และประเมินความเสมือนจริงในการเย็บ แผลและความพงึ พอใจของผู้ใชน้ วัตกรรม เปรียบเทียบกบั หุ่นยางพาราในการฝึกเย็บแผล ผลการประเมินประสิทธิภาพ ดังตาราง 2 ตาราง 2 แสดงการเปรียบเทียบประสิทธิภาพกลุ่มนวัตกรรม “Simeat”กับ กลุ่มท่ีใช้หุ่นยางพาราในการฝึกเย็บแผล ของผู้ใช้ นวัตกรรม กล่มุ ท่ใี ช้ Nurse KPRU กลุม่ ทใ่ี ชห้ นุ่ ยางพารา t p Simulated Meat ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบน ค่าเฉลีย่ ส่วน ประสิทธภิ าพ ( ̅ ) มาตรฐาน ( ̅ ) เบย่ี งเบน (SD) มาตรฐาน (SD) 1. ลักษณะวสั ดฝุ กึ เยบ็ แผลเสมอื นจริง 4.9 .25 1.33 .13 12.85 .000 2.ดา้ นความยืดหยนุ่ ของเนอ้ื เทยี ม 4.60 .49 2.33 .13 17.83 .000 3.ด้านความแข็งแรงสามารถใช้แทนเน้ือเทียม 4.16 .52 1.75 .12 12.85 .000 ได้ 4.ด้านความเปน็ ไปได้ของการใชง้ านจริง 5.0 .00 2.33 .13 17.73 .000 5.ดา้ นความคงทน 4.13 .56 1.88 .14 15.09 .000 6.ดา้ นความเปน็ ประโยชน์ของเนื้อเทียม 5.0 .00 1.33 .12 12.85 .000 7.ดา้ นความคมุ้ คา่ คมุ้ ทนุ ของเน้ือเทยี ม 5.0 .00 1.76 .13 15.09 .000 ประสทิ ธิภาพโดยรวม 4.82 .25 2.88 .21 13.81 .00 พบว่า เม่อื เปรยี บเทียบ กลุ่มทใ่ี ช้ฟองนา้ แบบเดิมในการฝึกเย็บแผล กับ กลุ่มท่ีใช้นวัตกรรม “Simeat”พบว่า ค่าเฉล่ีย โดยรวมกลมุ่ ทีใ่ ช้นวตั กรรม “Simeat”มีระดบั ความคิดเห็นตอ่ ประสทิ ธภิ าพนวตั กรรม มากกว่า กลุ่มท่ีใช้หุ่นยางพาราแบบเดิมใน การฝกึ เยบ็ แผล แตกต่างอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ิ ทร่ี ะดบั นยั สาคัญ .05 ซง่ึ ประสิทธิภาพเนือ้ เทียม ประกอบด้วย ลักษณะวัสดุฝึก เย็บแผลเสมือนจริง ความยดื หยนุ่ ของเน้ือเทียม ความแขง็ แรงสามารถใชแ้ ทนเนอ้ื เทียมได้ ความเปน็ ไปได้ของการใช้งานจริง มี ความคงทน และด้านความคมุ้ ค่าคุ้มทนุ ของเน้ือเทยี ม
ตาราง 3 การเปรียบเทยี บความพึงพอใจนวัตกรรม “Simeat”กบั กลุ่มที่ใช้หุ่นยางพาราในการฝึกเย็บแผล ของผใู้ ช้นวตั กรรม กลมุ่ ทีใ่ ช้ Nurse KPRU กลมุ่ ทใี่ ช้หนุ่ ยางพารา tp Simulated Meat ความพงึ พอใจ คา่ เฉลีย่ ส่วนเบยี่ งเบน คา่ เฉล่ีย ส่วน (̅) มาตรฐาน (̅) เบ่ียงเบน มาตรฐาน (SD) (SD) ความพงึ พอใจต่อการฝกึ เย็บแผล 4.9 .25 2.57 .13 12.85 .000 ความมั่นใจในการฝึกเย็บแผลหลังใช้ 4.60 .49 2.33 .13 17.83 .000 นวัตกรรม จากตาราง 3 พบว่า ความพึงพอใจนวตั กรรม “Simeat”มีความพงึ พอใจมากกว่า กล่มุ ท่ีใชห้ ุ่นยางพาราในการฝกึ เย็บ แผล และกลุ่มที่ใชน้ วัตกรรม “Simeat”มีความม่นั ใจในการฝึกเย็บแผลหลงั ใชน้ วตั กรรม มากกว่า กลมุ่ ท่ใี ชห้ ุ่นยางพารา อย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ิ ทรี่ ะดับ .05 สรุปผล อภปิ รายผล และเสนอแนะ 1. คุณภาพเนื้อเย่ือเทียมฝึกเย็บแผล “Simeat”อยู่ในระดับดี หรือมากกว่า 3.51 ขึ้นไป คุณภาพเน้ือเทียม “Simeat”จากการประเมิน ดา้ นโครงสร้างเน้ือเทยี มเสมอื นจรงิ ความเป็นไปได้ และความเหมาะสมของ นวัตกรรม “Simeat”ผล การประเมินคณุ ภาพนวตั กรรมในดา้ นโครงสรา้ งเนอ้ื เทียมเสมอื นจริง ประกอบด้วย มี ความเปน็ เส้นใย อยู่ในระดบั มากที่สุด ( ̅ = 4.66, SD= .50) รองลงมา คือ มีความยืดหยุ่น อยู่ในระดับมาก ( ̅ = 4.22, SD= .44) มีความแข็งแรง และความทนต่อการ กระทา อยใู่ นระดบั มาก ( ̅ = 4.0, SD= .50) ผลการประเมนิ คุณภาพด้านความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการใช้งานจริง อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.88, SD= .33) โดยด้านความเป็นไปได้ ด้านความปลอดภัย และสามารถใช้ประโยชน์ได้จริง มี ความเหมาะสม อยูใ่ นระดบั มากที่สุด ( ̅ = 4.88, SD= .33) ซง่ึ การประดษิ ฐน์ วตั กรรมครั้งนี้มีการศกึ ษา ทานวัตกรรม จากกรอบ ADDIE Model ทาให้มกี ารวิเคราะหน์ วัตกรรมจากปัญหา และศกึ ษาทบทวนนวัตกรรมจากการนากระบวนการผลิตจากแปูงสาลี ได้เป็นกลูเตน แปรรูปให้มีความใกล้เคียงกับผิวสัมผัสเน้ือสัตว์ การรวมตัวของโปรตีน กลูเตนิน และไกลอะดิน จะสร้างพันธะได ซัลไฟด์ เกิดเปน็ โครงสรา้ งรา่ งแหสามมิติ ลักษณะสมั ผสั เหมือนเนือ้ จรงิ การผลติ เน้อื เทยี มในปัจจบุ ันทม่ี ลี ักษณะคล้ายของจริง คือ มีความยืดหยนุ่ โครงรา่ งคลา้ ยเนอ้ื จริง ลักษณะการสัมผสั เสมือนจริง ซึง่ ทาจากแปูงสาลีมาผ่านกระบวนการให้ได้เป็นกลูเตน ข้าว สาลีเปน็ แหล่งของโปรตนี กลูเตนที่นิยม นามาใช้ในการผลิตเน้ือเทียมอีกชนิดหรือท่ีในอดีต เรียกว่า เนื้อ seitan เนื่องจากโปรตีน กลูเตนมีความสามารถในการยืดหยุ่น มีความสามารถขึ้นรูปเป็นฟิล์มบาง และพร้อมจะเปล่ียนรูปร่างเป็นลักษณะเส้นใยได้ ความสามารถดังกลา่ วเกดิ ข้ึนจากพันธะไดซัลไฟด์ของโปรตีนกลเู ตน ซึ่งเปน็ คุณลกั ษณะสาคญั ท่ีทาให้เกิดเป็นโครงสร้างร่างแหสาม
มิติ โปรตีนกลูเตน จึงถูกใช้เป็นวัตถุดิบหลักสาหรับการข้ึนรูปของ โครงสร้างเส้นใย (Nawrocka et al., 2017; Pietsch et al., 2017; Ooms et al., 2018) ซ่ึงกลูเตนเป็นไกลโคโปรตีนที่พบในส่วนที่เป็นเอนโดสเปิร์มของธัญพืช (cereal grain) เกิดจากการ รวมตัวของโปรตีน (Protein), กลูเตนิน (Glutenin) และไกลอะดิน (Gliadin) ในสัดส่วนเท่า ๆ กัน โดยจะสร้างพันธะไดซัลไฟด์ (Disulfide Bond) ทาให้กลูเตนมีลักษณะเหนียว และยืดหยุ่น ไม่ละลายในน้า ลักษณะสัมผัสเหมือนเนื้อจริง การผลิตนี้ใช้ กระบวนการแปรรูปพืชให้มีความใกล้เคียงกับเน้ือสัตว์ท้ังผิวสัมผัสและรสชาติ ปรับปรุงคุณสมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนในพืช ให้ คุณสมบัตหิ ลักดา้ นโครงสรา้ งและเนือ้ สมั ผัสของเนือ้ เทียมนน้ั ใกล้เคียงกบั เนอื้ สัตว์ เช่น การละลายนา้ การอมุ้ นา้ การเกิดเจล ความ ยืดหยนุ่ การเกดิ อมิ ัลชัน่ การดดู ซบั ไขมนั (กานต์ธิดา วดศี ิริศกั ดิ์, 2563) 2. ประสิทธิภาพของนวัตกรรม “Simeat”มากกวา่ ห่นุ ยางพาราในการฝกึ เย็บแผล เม่อื เปรียบเทยี บ กลมุ่ ท่ใี ชฟ้ องน้า แบบเดมิ ในการฝกึ เย็บแผล กับ กล่มุ ทใ่ี ชน้ วัตกรรม “Simeat”พบว่า คา่ เฉลีย่ โดยรวมกล่มุ ท่ใี ชน้ วัตกรรม “Simeat”มคี า่ มากกวา่ กลมุ่ ทใี่ ช้หนุ่ ยางพาราแบบเดิมในการฝกึ เย็บแผล แตกตา่ งอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ ทรี่ ะดับนัยสาคัญ .05 3. ความพงึ พอใจของนวตั กรรม “Simeat”มากกว่า ห่นุ ยางพาราในการฝึกเยบ็ แผล ความพึงพอใจนวตั กรรม “Simeat”มคี วามพงึ พอใจมากกว่า กล่มุ ท่ีใชห้ นุ่ ยางพาราในการฝกึ เย็บแผล ของผู้ใช้นวตั กรรม และมีความมน่ั ใจในการฝกึ เยบ็ แผลหลงั ใช้นวตั กรรม กลมุ่ ที่ใชน้ วัตกรรม “Simeat” มากกวา่ อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิ ทีร่ ะดบั .05 7. ข้อเสนอแนะ 1. นานวัตกรรมไปเผยแพรใ่ ชป้ ระโยชนม์ ากข้ึน 2. พฒั นาเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั การยดื อายผุ ลติ ภณั ฑใ์ หน้ านข้ึน 8. เอกสารอา้ งองิ กลั ยา เดชาเสถียร. (2556). การพัฒนาห่นุ Police Wound เพอ่ื ฝกึ ทักษะการจดั การบาดแผล. วารสารพยาบาลตารวจ, 5(1), 45-54. การต์ธิดา วดีศิริศักด์ิ. (2563, มกราคม - มีนาคม). เอ็นไซม์กับการเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของ โปรตีนในอาหาร. วารสาร อาหาร, 50(1) 33-40 ขจีรัตน์ ระร่ืนรมย์, สุนนั ทา ทองทา และจิรวัฒน์ ยงสวสั ดกิ ุล. (2547). ลกั ษณะทางโครงสร้างและเน้ือสัมผัสของเนื้อเทียมจาก โปรตนี ถ่วั เหลือง. 28-29 พฤษภาคม 2547 (หนา้ 1-9). นครราชสีมา : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี. ขจีรัตน์ ระร่ืนรมย์. (2548). ผลของส่วนผสมต่อโครงสร้างทางกายภาพและพันธะเคมีของเน้ือเทียมโปรตีนถั่วเหลือง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นักสิทธิ์ ปัญโญใหญ่. (2563). โปรตีนจากพืช : คุณค่าโภชนาการโครงสร้าง คุณสมบัติเชิงหน้าที่ และการประยุกต์ใช้ใน อตุ สาหกรรมอาหาร. วารสารการเกษตรราชภัฎ, (มกราคม-มถิ ุนายน), 19(1) : 61-68. เนาวนิตย์ สงคราม. (2556). การสร้างนวตั กรรม เปลยี่ นผเู้ รียนใหเ้ ป็นผู้สร้างนวัตกรรม จากงานวิจยั สูก้ ารปฏิบัติ. จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั : สานกั พมิ พ์แห่ง.
บงั อร ดวงรตั น, อรุณี ยันตรปกรณ, ธญั รดี จิรสินธิปก, วนิ ยั สยอวรรณ, นลนิ ภัสร รตนวบิ ลู ยสุข, นวลปราง สาลเี พ็ง. (2552). การ พัฒนาหนุ จาลองแขนฝกทกั ษะเยบ็ แผลชนดิ ยางพารา. วารสารสาธารณสขุ และการพัฒนา, 7(1): 47-60. พนา โลหะทรพั ยท์ วี และคณะ. (2564). ผลของปรมิ าณแปูงสาลแี ละเหด็ นางรมหลวงต่อลกั ษณะเน้อื สมั ผัสของเนื้อเทียม. วารสาร วิทยาศาสตร์ลาดกระบงั , 30(2),1-11. พสธร ผ่องแผ้ว. (2564). องคป์ ระกอบพ้นื ฐานของผลติ ภณั ฑ์เนอื้ เทยี ม. วิชาการ, 51(1), 25-34. ภทั รพรรณ พรหมคช, พูนพชร ทัศนะ และนราวดี หลมิ ศริ ิ. (2564). สภาพและปัญหาการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงโควิด 19 ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และบัณฑิตจบใหม่ สาขาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์. วารสารวิชาการ หลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สกลนคร, 13(37). 33-39. มนญั ญา คาวชิระพิทักษ์. (2564). แนวทางการพัฒนาเน้ือจากพชื ไทย. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคดน โลยี, 2(3), 1-13. มาเรียม นิลพันธุ์. (2555). การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและนิเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. มหาวทิ ยาลัยศิลปากร : กรงุ เทพฯ เยาวลักษณ คุมขวัญ และ ปรยี สลิล ไชยวุฒ.ิ (2557). การพฒั นาหุนจาลองฝกทักษะการดดู เสมหะทาง Endotracheal tube และ Tracheostomy tube. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกลาจนั ทบรุ ี, 25(2): 52-64. รตั นะ บวั สนธ.์ (2562, กรกฎาคม-ธนั วาคม). วิจัยและพฒั นาหลกั สูตร และการเรยี นการสอน. วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตร์วิจัย , 11(2) 1-11. วิภาดา คณุ าวกิ ติกุล. (2548). การเรียนการสอนแบบจาลอง. เชยี งใหม: โชตนา. สภาการพยาบาลแหงประเทศไทย. (2540). พระราชบัญญัตวิ ิชาชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2540. กรงุ เทพฯ: เดอะเบสทกราฟฟคแอนดปริ้ นท. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2553). นวัตกรรม : ความหมาย ประเภท และความสาคัญ ต่อการเป็นผู้ประกอบการ. วารสาร บรหิ ารธรุ กจิ , 33(128), 49-65. สสุ ัณหา ยมิ้ แยม (2559). การพัฒนาหุนจาลองเพอ่ื ฝกทักษะทางคลินิกของนกั ศกึ ษาสาขาวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ. พยาบาลสาร, 43 (2): 142-151. สสุ ัณหา ยม้ิ แยม และ โสภา กรรณสูต. (2556). การพฒั นาหุนจาลองเตานม FON CMU เพ่ือการสอนการเล้ียงบตุ ร ดวยนมมารดา. พยาบาลสาร, 40(4): 58-68. อภนิ ันท สปุ ระเสรฐิ . (2558). หนุ จาลองยางพารา ส่อื ประหยัดเพ่ือการศึกษาไทย. สืบคนเมือ่ 12 ธนั วาคม 2558 จาก http://www.rdi.ku.ac.th/bk/04/04.htm. อับดลอาซดี หนิมสุ า, วรวทิ ย จติ ติถาวร และ เจริญเกียรติ ฤกษเกลี้ยง. (2551). เครอ่ื งมือชวยสอน: หุนฝกใสสาย ระบายทรวงอก. สงขลานครนิ ทรเวชสาร, 26(5): 513-517. Alejandro Rafael Gonzalez-Navarro, Alejandro Quiroga-Garza, Adriana Sharai Acosta-Luna, Yolanda Salinas- Alvarez, Javier Humberto Martinez-Garza, Oscar de la Garza-Castro, Jorge Gutierrez-de la, David de la Fuente-Villarreal, Rodrigo Enrique Elizondo-Omaña, &Santos Guzman-Lopez. (2021). Comparison of
suturing Models: the effect on perception of basic surgical skills. BMC medical Education, 21(250), 1-11. Kasatpibal, N., Sawasdisingha, P., & Whitney, J.D. (2016). Innovation of educational wound models for nursing students. Journal of Nursing Education and Practice, 6(9): 101-109. Krejcie & Morgan (1997). Determing Semple Size For Researoh Activities. Educational and psychological Measurement. 30(3), pp 607-610. ภาพประกอบ ลักษณะนวัตกรรมเนือ้ เทยี ม Simeat
การฝึกเยบ็
หุน่ ฝกึ กดนวดหวั ใจทารกแรกเกิด pumpy doll pumpy doll newborn heart massage training . สชุ าวดี สีทอง1ตยิ รตั น์ แซล่ อ1 ศิริรัตน์ โคตรกุดสิม1 ศาวกิ า สาราญไพบูลย์1 สรารัตน์ แสงดาวเดน่ 1 สภุ าพร ปรารมย์2 1 นกั ศึกษาช้ันปที ี่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มรภ.กาแพงเพชร 2 อาจารยท์ ่ีปรึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มรภ.กาแพงเพชร *ผู้รบั ผดิ ชอบบทความ: email supaporn_pra@kpru.ac.th บทคดั ย่อ อันตรายจากการทา CPR ผิดวธิ ี โดยเฉพาะการกดหน้าอกนวดหัวใจในทารก การวางมือผิดตาแหน่ง อาจส่งผลทาให้ซี่โครง หักได้ ซง่ึ ถา้ ซโ่ี ครงหกั อาจจะไปทมิ่ แทงโดนอวัยวะทส่ี าคัญ เช่น ปอด ตับ ม้าม แล้วทาให้เกิดการตกเลือด และอาจเป็นอันตรายถึงแก่ ชีวิตได้ การกดหน้าอกด้วยอัตราความเร็วท่ีมากเกินไป เบาเกินไป หรือถอนแรงหลังกดออกไปไม่หมด อาจทาให้มีเลือดไปเลี้ยง อวัยวะตา่ ง ๆ ได้นอ้ ย และทาใหข้ าดออกซิเจนได้ การกดหนา้ อกแรงและเร็วเกินไป อาจทาให้กระดูกหน้าอกขึ้นลงอย่างรวดเร็ว และ อาจทาใหก้ ระดูกหัก หรือหวั ใจชา้ ได้ การกดหนา้ อกลงไปลกึ เกนิ ไป อาจส่งผลให้หวั ใจชา้ ได้ ดังนน้ั ควรมกี ารฝกึ เพ่ือลดภาวะแทรกซ้อน ท่จี ะเกิดข้นึ โดยเฉพาะในทารกแรกเกดิ การขาดแคลนอุปกรณ์ ทาให้ไม่มีสามารถฝึกจนเกิดความชานาญได้ ผู้ประดิษฐ์นวัตกรรม จงึ ได้ประดษิ ฐน์ วตั กรรมหุ่นฝึกกดนวดหวั ใจทารกแรกเกิด pumpy doll ขน้ึ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อผลิตนวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจ ทารกแรกเกิด และศึกษาประสิทธิผลและความพึงพอใจของนวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด กลุ่มตัวอย่าง คือ นกั ศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ช้นั ปีที่ 1 จานวน 30 คน เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ ได้แก่ 1) นวัตกรรมหุ่นฝึก กดนวดหวั ใจให้ทารก 2) แบบประเมินคุณภาพความเหมาะสมนวัตกรรม 3) แบบประเมินประสิทธิผลและความพึงพอใจของผู้ใช้ นวัตกรรม ซ่ึงได้รับการตรวจสอบคุณภาพ ผลการศึกษา พบว่า 1) นวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจให้ทารกแรกเกิด มีคุณภาพ สามารถใช้ฝึกกดนวดหวั ใจแทนทารกแรกเกดิ ได้ สามารถกดนวดหัวใจได้หรือ1.5 น้วิ สามารถแสดงผลจานวนการกดนวดหัวใจ 2) ประสิทธิผลและความพึงพอใจของนวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด ผู้ใช้นวัตกรรมมีความคิดเห็นต่อประสิทธิผลและ ความพึงพอใจต่อการใช้ อยใู่ นระดับมาก ดังนน้ั นวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด จึงสามารถใช้กดนวดหัวใจทารกแรก เกิด เพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพของการชว่ ยฟืน้ คนื ชพี ได้ต่อไป คาสาคญั :ทารกแรกเกิด การนวดหวั ใจ หุ่นฝกึ กดนวดหวั ใจทารกแรกเกิด
1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา Cardiopulmonary Resuscitation หรือ CPR คือ เทคนิคการปฐมพยาบาลท่ีสามารถใช้ได้ในกรณีท่ีมีคนหายใจ ไม่ปกติหรือหัวใจหยุดเต้น จากสาเหตุต่างๆ เช่น หัวใจวายหรือจมนา้ เมื่อผู้ปุวยที่มีอาการหัวใจเต้นผิดปกติหรือหัวใจหยุด เต้นร่างกายจะไม่ได้รับเลือดใหม่ที่มีออกซิเจนไปเล้ียงอวัยวะในร่างกาย การขาดเลือดท่ีมีออกซิเจนในช่วงเวลาไม่กี่นาทีอาจ ทาให้สมองเกิดความเสียหายได้ การทา CPR จะช่วยทาให้เลือดที่มีออกซิเจนไหลเวียนไปยังสมองและอวัยวะส่วนอื่นๆ เพ่ือ รอการรักษาอย่างถูกต้องจากแพทย์ต่อไป การทา CPR เป็นวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อช่วยคืนชีวิตให้กับผู้ปุวย โดย ผสมผสานระหว่างการผายปอด เพื่อช่วยเพิ่มอากาศเข้าไปในปอด การกดหน้าอกบนตาแหน่งหัวใจ เพื่อช่วยให้หัวใจป๊ัมเลือด ทาให้ เลอื ดไหลเวยี นสง่ ตอ่ ออกซิเจนไปยังอวัยวะตา่ ง ๆ ได้ ทา CPR ทันทีภายในเวลา 4 นาทีแรกหลังจากหยุดหายใจ เพราะถ้าเซลล์สมอง ขาดออกซิเจน ก็จะทาให้เซลล์สมองบางส่วนตายไป การฝึกปฏิบัติการ CPR เด็กหรือการเรียนรู้ การปฏิบัติการฟื้นคืนชีพ เป็น เทคนิคในการจัดการในกรณีฉุกเฉินเมื่อเด็กที่มีหัวใจหยุดทางานหรือหยุดหายใจอย่างทันทีทันใด หากได้รับการช่วยเหลืออย่าง ทันท่วงทเี ด็กทารกกจ็ ะมโี อกาสทจี่ ะรอดชีวติ ได้ การนวดหวั ใจเด็กหรอื การ CPR เปน็ เทคนคิ พ้นื ฐานในการช่วยชีวิตยามฉุกเฉินก่อน ถึงมือแพทย์เพอ่ื ให้ทาการรกั ษาต่อไป การกดหน้าอกและการช่วยหายใจ จะช่วยให้มีการไหลเวียนออกซิเจนในเลือดกลับสู่ภาวะ ปกติและปอู งกันเนอ้ื เยอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ อนั ตรายจากการขาดออกซิเจนอย่างถาวร การกดหน้าอกและการช่วยหายใจ ซ่ึงจะช่วยให้มีการ ไหลเวียนออกซิเจน เลือดกลับสู่สภาพปกติ และปูองกันเนื้อเยื้อไม่ให้เกิดอันตรายจากการขาดออกซิเจนอย่างถาวร การทา CPR เพ่ือการช่วยฟื้นคนื ชพี ขัน้ พื้นฐาน (Basic Life Support; BLS) ประกอบด้วย 3 ข้ันตอนได้แก่ 1. ขั้น Chest compression (C) 2. ข้ัน Airway (A) 3. ข้ัน Breathing (B) โดยมีวิธีปฏิบัติเป็น C>B>A ดังน้ี 1. กดหน้าอก (C) จานวน 30 ครั้ง 2. ปิดทางเดินหายใจ (A) 3. ช่วยหายใจ (B) 2 ครั้ง ซึ่งจะเท่ากับ 30:2 ท้ังน้ีให้ทา CPR ไปจนกว่ากู้ชีพจะมาถึงหรือจนกว่าผู้ปุวยจะรู้สึกตัว หรือใน ระหวา่ งการเดินทางเปน็ ตน้ อนั ตรายจากการทา CPR ผดิ วธิ ี โดยเฉพาะการกดหน้าอกนวดหวั ใจในทารก การวางมือผิดตาแหน่ง อาจ ส่งผลทาให้ซ่ีโครงหักได้ ซง่ึ ถา้ ซโี่ ครงหกั อาจจะไปท่ิมแทงโดนอวัยวะท่ีสาคัญ เช่น ปอด ตับ ม้าม แล้วทาให้เกิดการตกเลือด และอาจ เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ การกดหน้าอกดว้ ยอตั ราความเรว็ ท่ีมากเกินไป เบาเกินไป หรือถอนแรงหลังกดออกไปไม่หมด อาจทาให้มี เลอื ดไปเล้ยี งอวัยวะต่าง ๆ ไดน้ ้อย และทาใหข้ าดออกซเิ จนได้ การกดหนา้ อกแรงและเร็วเกินไป อาจทาให้กระดูกหน้าอกข้ึนลงอย่าง รวดเร็ว และอาจทาใหก้ ระดูกหกั หรอื หวั ใจชา้ ได้ การกดหน้าอกลงไปลึกเกินไป อาจส่งผลให้หัวใจช้าได้ ดังน้ันควรมีการฝึกเพ่ือลด ภาวะแทรกซ้อนทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ โดยเฉพาะในทารกแรกเกิด ทารกแรกเกิด คอื ช่วงเวลาตัง้ แต่แรกเกดิ จนถงึ อายุ 28 วนั เป็นช่วงอายทุ ม่ี คี วามสาคญั มากของชีวิตเปน็ กล่มุ ประชากรที่มี อัตราการเจบ็ ปุวยมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับประชากรวัยอ่ืนๆ ทารกแรกเกิดท่ีต้องช่วยกู้ชีพน้ันมีปัญหาภาวะพร่องออกซิเจน แรกคลอด การช่วยกชู้ ีพทารกแรกเกดิ จึงมคี วามสาคัญที่สุดในการให้ทารกแรกเกิด สามารถรอดชีวิตได้และปลอดภัย สาเหตุหลัก ภาวะพร่องออกซิเจน มาจากการทที่ ารกคลอดกอ่ นกาหนด (VLBW/ELBW),ความพิการแต่กาเนิด(Congental amormalies) และ โรคหัวใจชนิดเขียว (CCHD) และภาวะขาดออกซเิ จน ในทารกแรกเกิด (birth asphyxia) เป็นภาวะทเี่ ลือดของทารกขาดออกซิเจน มีคาร์บอนไดออกไซดใ์ นเลือดสงู และมคี วามเปน็ กรดในเลอื ด เนื่องจากการแลกเปล่ียนอากาศท่ีปอด (Pulmonary perfusion) ไม่ เพียงพอหรอื ไม่มี ส่งผลให้อวัยวะท่สี าคญั ขาดออกซิเจนไปหล่อเลี้ยง ถ้าทารกได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี จะช่วยลดอัตรา การตายทารกแรกเกิดได้ ดงั น้ันทุกคนจึงควรฝึกในการชว่ ยฟน้ื คืนชีพเบ้ืองต้น โดยเฉพาะการฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด จะ ทาใหเ้ กดิ ความคุน้ ชนิ เม่อื ตอ้ งปฏบิ ตั งิ านจรงิ และการช่วยฟ้ืนคนื ชพี เบื้องต้นใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น
ในการฝึกช่วยฟ้ืนคืนชีพเบื้องต้นในทารกแรกเกิด ต้องอาศัยอุปกรณ์ หุ่นเพื่อฝึกกดนวดหัวใจ ซึ่งในการกดนวด หัวใจทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ต้องมีความลกึ และอัตราทเ่ี หมาะสม การกดหน้าอกกดหัวใจลงบนกระดูกสันหลงั เป็นการปม้ั เลือดออกจาก หวั ใจ และเพิม่ ความดันเลือดไดแอสโตลิกในหลอดเลือดแดงใหญ่ เอออร์ตาและยังช่วยนาเลือดท่ีมีออกซิเจนสูงไปเล้ียงกล้ามเน้ือ หัวใจ การกดหนา้ อกจะเริ่มต้นขึ้นเมื่ออัตราการเต้นของหัวใจยังคง < 60 คร้ัง/นาที ผู้ทาการกดหน้าอกใช้น้ิวหัวแม่มือทั้งสองกด หน้าอกและมอื โอบรอบทรวงอก ตาแหน่งของมือเมื่อทาการกดหน้าอก วางนิ้วหัวแม่มือลงบนกระดูกหน้าอก (sternum) เหนือ ต่อกระดกู xiphoid และใตร้ าวนม หา้ มวางนิว้ มือลงบนกระดูกซีโ่ ครงหรอื กระดูก xiphoid การใชแ้ รงกดให้กดกระดูกกลางหน้าอก ยบุ ลงโดยกดลึก 1 ใน 3 ของ Antero - posterior diameter ของทรวงอก หรือกดลึก 1.5 น้ิว แลว้ ปล่อยให้กระดกู คืนตวั กลับเอง การขาดแคลนอปุ กรณ์ในการฝึกกดนวดหวั ใจ ทาให้ผทู้ ่ีจะทาการชว่ ยฟืน้ คนื ชพี ขาดทักษะ เกิดภาวะแทรกซ้อนและอันตรายถึงชีวิต ได้ หุ่นทารกแรกเกดิ ชว่ ยฟื้นคืนชีพ มีราคาสูง ซ่ึงในเบ้ืองต้น ถ้าหาอุปกรณ์มาช่วยฝึกกดนวดหัวใจทารกได้เบ้ืองต้น จะช่วยให้ เกิดความชานาญและชว่ ยฟ้ืนคืนชพี ในทารกได้ ดังน้ันทางผู้จัดทาจึงได้ประดิษฐ์นวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิดข้ึนมา เพ่อื ใหน้ ักศึกษาพยาบาลได้ฝึกทดลองการนวดหวั ใจเดก็ ให้ชานาญ ก่อนทจี่ ะฝกึ ในข้ันตอนที่สมบรู ณ์ของการช่วยฟ้ืนคืนชีพได้ต่อไป ซึง่ นวตั กรรมหุน่ ฝึกกดนวดหวั ใจทารกแรกเกิดน้ี เป็นหุ่นเท่าขนาดของจริง ผลิตต้ังการกดที่ลึก 1.5 นิ้ว และมีจานวนคร้ังของการ กดแสดงให้ทราบ เพื่อพฒั นาประสทิ ธิภาพของกดนวดหวั ใจต่อไป อีกทั้งช่วยลดความขาดแคลนอุปกรณ์ในการฝึกช่วยฟื้นคืนชีพ และประหยดั งบประมาณไดอ้ กี ดว้ ย 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1.เพอ่ื ผลิตนวัตกรรมหุน่ ฝึกกดนวดหวั ใจทารกแรกเกดิ 2.เพ่ือประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของนวตั กรรม หุ่นฝึกกดนวดหวั ใจทารกแรกเกิด 3. กลุ่มเปา้ หมาย ประชาชนท่วั ไป เจ้าหน้าทดี่ ูแลผู้ปุวย นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ 4. กระบวนการพฒั นา (ตามข้ันตอน plan do check act) 1.การวางแผน (Plan) ผู้ประดิษฐไ์ ด้วิเคราะหเ์ พอ่ื ออกแบบนวัตกรรมห่นุ ฝกึ กดนวดหัวใจทารกแรกเกดิ pumpy doll ดงั น้ี 1.1 กลุ่มผู้รบั บรกิ าร คือ ประชาชนทั่วไป เจา้ หนา้ ท่ีดูแลผปู้ วุ ย นกั ศึกษาพยาบาล 1.2 ปัญหาที่เกิด 1.2.1 ผลภาวะแทรกซอ้ นของการชว่ ยฟ้นื คนื ชพี 1.2.2 คนทช่ี ว่ ยฟ้นื คืนชีพ กดหน้าอกเพ่อื นวดหัวใจทารกไม่เปน็ 2. การออกแบบ (Do) 2.1 โดยการรวบรวมการทางานเพื่อชว่ ยฟน้ื คืนชพี ทารกแรกเกดิ 2.2 การขาดแคลนอุปกรณ์ทาใหข้ าดการฝกึ ฝน 2.3 คดิ หาวธิ ีการประดษิ ฐ์นวตั กรรมหุน่ ฝกึ กดนวดหวั ใจทารกแรกเกดิ ทดแทน โดยศกึ ษาวรรณกรรมท่ี เกีย่ วขอ้ ง 2.4 จากน้ันประดิษฐ์อุปกรณ์ และศกึ ษาความเปน็ ไปได้ และคณุ ภาพของนวตั กรรมหุ่นฝกึ กดนวดหวั ใจ ทารกแรกเกดิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239