Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธาตุแท้ของชัยฏอน

ธาตุแท้ของชัยฏอน

Published by thaiislamlib.com, 2022-06-15 05:07:12

Description: ความชั่วร้ายของรัฐบาลอเมริกาและความเลวต่างๆที่กระทำต่ออิสลาม

Search

Read the Text Version

ดว้ ยพระนามของอลั ลอฮ ผทู้ รงกรุณาปรานี, ผทู้ รงเมตตายงิ่ เสมอ “และจงกล่าวแก่บ่าวท้งั หลายของฉันว่า พวกเขาพูดจาในส่ิงทดี่ ีทสี่ ุด, แน่นอนยงิ่ ซาตานน้ันหว่านความแตกแยก ในหมู่พวกเขาเหล่าน้ัน, แน่นอนยงิ่ ซาตานเป็ นศัตรูทช่ี ัดแจ้งต่อมนุษย์” (อลั -กรุ อาน 17:53)

ธาตุแท้ ของ ชัยฏอน

ธรรมชาติทแี่ ท้จริงของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา “ซาตานตวั ใหญ่” บทท่ีหน่ึง : สองโลกกาํ ลงั ขดั แยง้ กนั 1 - สองแนวความคิด, สองคาํ จาํ กดั ความ, สองโลกท่ีแตกตา่ งกนั 1 - คาํ จาํ กดั ความของคาํ วา่ อารยธรรมจากทศั นะของอิสลาม 3 - แนวความคิดเก่ียวกบั อารยธรรมจากทศั นะของลทั ธิวตั ถุนิยม 5 - เปรียบเทียบระหวา่ งแนวความคิดท้งั สองสาํ นกั น้ี 6 บทท่ีสอง : ธรรมชาติของการสร้างสหรัฐอเมริกา และลกั ษณะ 13 ของอารยธรรมแบบอเมริกนั - วจิ ารณ์ ธรรมชาติของการสร้างอาํ นาจในสหรัฐอเมริกา 15 และฐานะของประชาชนที่ไมใ่ ช่คนผวิ ขาว 34 และชนกลุ่มนอ้ ยทางศาสนา - ธรรมชาติของอารยธรรมแบบอเมริกนั 40 - การทุจริตทางดา้ นศีลธรรมในรัฐบาลสหรัฐอเมริกา และในสังคมอเมริกนั

บทท่ีสาม : การซ่อนเร้นอาชญากรรมและความโหดร้ายทารุณ 44 ของสหรัฐอเมริกา - ประวตั ิศาสตร์โดยสังเขปของความโหดร้ายทารุณ 44 ท่ีกระทาํ โดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาหลงั สงคราม 47 โลกคร้ังที่สอง 49 - อาวธุ ที่เกี่ยวกบั อาหาร และอาหารท่ีเก่ียวกบั อาวธุ 49 บทที่ส่ี : ความโหดร้ายทารุณของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในอิหร่าน 54 - ประวตั ิศาสตร์โดยสงั เขปของอาชญากรรมและ การปลน้ สะดมของสหรัฐอเมริกาในอิหร่าน 58 - อาณานิคมแผนใหม่ของจกั รวรรดินิยมในอิหร่าน 63 - การทาํ ลายลา้ งวฒั นธรรมและความพยายามใน 63 การกาํ จดั วฒั นธรรมที่แทจ้ ริงของอิสลามในอิหร่าน 86 บทที่หา้ : การเคลื่อนไหวไปสู่การยอมรับ และการกลบั คืนสู่อิสลาม - ผรู้ ู้มุสลิม : ผบู้ ุกเบิกในการต่อสู้เพอื่ คดั คา้ นนกั ล่าอาณานิคม บทที่หก : “ซาตานใหญ่” เผชิญหนา้ กบั การปฏิวตั ิอิสลาม

- วเิ คราะห์เกี่ยวกบั การเปล่ียนแปลงรูปแบบซ่ึง 86 ปรากฏอยใู่ นฐานะของสหรัฐอเมริกา เมื่อเผชิญ หนา้ กบั การเปล่ียนแปลงแบบปฏิวตั ิในอิหร่าน 93 - นโยบาย ‘Stick and Carrot’, หรือนโยบายท้งั การ 97 ทหารและการเมืองพร้อมกนั ไป 103 - เหยย่ี วในคราบนกเขา 103 บทท่ีเจด็ : สถานทูตสหรัฐอเมริกา (รังแห่งการจารกรรม) - บทนาํ 104 - วนั ท่ี 4 พฤศจิกายน – วนั สาํ คญั ในประวตั ิศาสตร์ แห่งการต่อสู้ของประชาชนมุสลิมแห่งอิหร่าน 107 - วนั ท่ี 4 พฤศจิกายน 1979 – วนั แห่งการยดึ รัง จารกรรม 110 - การแทรกแซงทางทหารโดยตรงของสหรัฐอเมริกา 118 ในอิหร่าน 118 บทที่แปด : สรุปและฐานะตา่ ง ๆ - บญั ชีงบดุลของอาชญากรรมสหรัฐอเมริกา 124 - สาส์นแห่งการปฏิวตั ิอิสลามแห่งอิหร่านสาํ หรับ ประชาชนผรู้ ักเสรีภาพท้งั มวลของโลก 126 - “ความตายจงมีแก่อเมริกา”, คาํ ขวญั พ้ืนฐานของ การปฏิวตั ิ

- การปรับฐานะของชาวอินเดียนแดงและชาวผวิ ดาํ 128 อเมริกนั โดยสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน 130 - การปรับฐานะแก่ชาติอเมริกนั โดยสาธารณรัฐ อิสลามแห่งอิหร่าน

บทนา จุ ล ส า ร เ ล่ ม น้ี มีจุดมุง่ หมายท่ีจะใหภ้ าพพจนอ์ ยา่ งกวา้ งขวางทวั่ ไปเกี่ยวกบั การรุกรานและบทบาทในการครองควา ม เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง รั ฐ บ า ล ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ใ น อิ ห ร่ า น อี ก ท้ั ง ช้ี ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม สั ม พัน ธ์ ด้ า น ลึ ก ข อ ง ก า ร ป ฏิ วัติ อิ ส ล า ม แ ห่ ง อิ ห ร่ า น , โดยไม่เข้าสู่รายละเอียดในเร่ืองภายในประเทศและความขัดแย่งต่าง ๆ ของการปฏิวัติน้ัน เราจะมุ่งไปสู่การแสวงหาคาํ ตอบต่าง ๆ เกี่ยวกบั คาํ ถามต่อไปน้ี : 1. ทาํ ไมสหรัฐอเมริกาในศตวรรษท่ี 20 น้ีจึงถูกถือวา่ เป็น “ผรู้ ุกราน” 2. ทาํ ไมการเผชิญหนา้ ระหวา่ งการปฏิวตั ิอิสลามกบั ผรู้ ุกรานน้ีจึงเป็ นสิ่งแน่นอนและหลีก เลี่ยงไม่ได?้ 3. ทํ า ไ ม ก า ร ขั ด แ ย้ ง น้ั น จ ะ ต้ อ ง รุ น แ ร ง แ ล ะ น อ ง เ ลื อ ด , และใครเป็นผรู้ ับผดิ ชอบสาํ หรับสิ่งน้ี? 4. ทํ า ไ ม ส ถ า น ทู ต ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า แ ต่ ก่ อ น น้ั น ( รั ง จ า ร ก ร ร ม ) จึงถูกยึดในลกั ษณะของการปฏิวตั ิ และทาํ ไมเอกสารหลกั ฐาน ตลอดท้งั ทรัพยส์ ินต่าง ๆ ของสหรัฐฯ จึงถูกยดึ ? 5. ทาํ ไมกองกาํ ลงั แห่งการปฏิวตั ิก็ดี, บรรดาผทู้ ี่รักสันติภาพอยา่ งแทจ้ ริงก็ดี, กลุ่มต่าง ๆ ของผทู้ ี่ถูกกดข่ีและ

ย า ก ไ ร้ ก็ ดี แ ล ะ แ ม้ ก ร ะ ทั่ ง ก า ร ป ฏิ วั ติ อิ ส ล า ม – ซ่ึ ง ถื อ ว่ า ตั ว มั น เ อ ง เ ป็ น แ ก น นํ า ใ น ก ลุ่ ม นั ก ต่ อ สู้ เ ห ล่ า น้ี – จึ ง ไ ม่ ส น ใ จ ใ ย ดี ใ น อ ง ค์ ก า ร ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ต่ า ง ๆ ที่ถูกจัดต้ังข้ึนโดยกลุ่มผู้โอหังและถือว่าความสัมพนั ธ์ทางด้านการทูตเหล่าน้ัน ตลอดท้งั หลกั การแห่งการปฏิบตั ิท่ีไดก้ าํ หนดข้ึนมาน้นั เป็นแตเ่ พยี งประโยชนเ์ ก้ือกลู แก่ บรรดามหาอาํ นาจผยู้ ะโสโอหงั เท่าน้นั ? 6. ในโลกที่ถูกจดั ต้งั ความสัมพนั ธ์ต่าง ๆ ตามแนวทางของผทู้ ่ีไม่ศรัทธาในพระผเู้ ป็ นเจา้ แ ล ะ ใ น อ ง ค์ ก า ร ต่ า ง ๆ รวมท้งั องค์กรท้งั มวลก็อยู่ภายใต้การควบคุมของบรรดามหาประเทศท่ีหยิ่งยะโส แลว้ จะมีประโยชนอ์ ะไรบา้ งไหมที่จะไดแ้ ก่ชาวโลกที่ถูกกดข่ีและถูกทอดทิ้งจากองคก์ ร ต่ า ง ๆ เ ห ล่ า น้ี ประชาชนท่ีถูกกดข่ีแห่งเลบานอนและปาเลสไตน์มิไดร้ ับประโยชน์อะไรเลยจากกอง กาํ ลงั รักษาสนั ติภาพขององคก์ ารสหประชาชาติเม่ือรัฐสภายิวไซออนิสตไ์ ดเ้ ริ่มรุกราน ขนานใหญแ่ ละทาํ การสงั หารหมู่ในเลบานอน ธาตุแท้ของชัยฏอน

บทท่ีหนึ่ง สองโลกกาลงั ขดั แย่งกัน สองแนวความคิด, สองคาจากดั ความ, สองโลกท่แี ตกต่างกนั เราจะเริ่มอธิบายในท่ีน้ีและทาํ ใหท้ ศั นะแห่งคุณค่าแบบอิสลามท่ีเก่ียวกบั อารยธรรมและเก่ีย ว กั บ โ ล ก ไ ด้ เ ป็ น ที่ ชั ด แ จ้ ง ข้ึ น ต า ม ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ดั ง ที่ จ ะ ก ล่ า ว ต่ อ ไ ป , ซ่ึ ง จ ะ ทํา ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ไ ม่ ม า ก ก็ น้ อ ย ถึ ง ก า ร ป ฏิ วัติ อิ ส ล า ม แ ห่ ง อิ ห ร่ า น , จ ะ ทํ า ใ ห้ เ ข้ า ใ จ ถึ ง ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ ของการปฏิวตั ิและลกั ษณะพเิ ศษตลอดจนถึงความขดั แยง้ ท้งั ภายในและภายนอกประเทศท่ีกาํ ลงั ก่อ ตัวผุดข้ึนมา สิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีจะเข้าใจได้ก็ต่อเมื่อได้ทาํ การศึกษาถึงลักษณะต่าง ๆท่ีเด่นชัด ต ล อ ด ท้ั ง ท่ ว ง ทํ า น อ ง ที่ ป ร า ก ฏ อ ยู่ ใ น ก า ร ป ฏิ วั ติ อั น สู ง ส่ ง น้ี โดยผ่านการรู้จกั อย่างชัดแจง้ เก่ียวกบั พ้ืนฐานของแนวความคิดอิสลามตามแนวทางดังกล่าวน้ี อี ก ท้ั ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ใ น เ รื่ อ ง เ อ ก ภ า พ ข อ ง พ ร ะ ผู้ เ ป็ น เ จ้ า ซ่ึงจะทาํ ใหผ้ ศู้ ึกษาเขา้ ใจถึงเอกลกั ษณ์ทางดา้ นการเมืองและจิตวทิ ยาของการปฏิวตั ิอิสลามไดช้ ดั แจง้ ข้ึน เพราะเหตุวา่ ลกั ษณะดงั กล่าวน้ีไดแ้ ฝงเร้นแทรกซึมอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ และฐานภาพต่าง ๆ ของการปฏิวตั ิการ รวมท้งั การ ญิฮาด ซ่ึงเป็นการตอ่ สู้ดิ้นรน

ทางดา้ นจิตวิญญาณและศาสนาตามแนวทางของพระผเู้ ป็ นเจา้ องคเ์ ดียวในการต่อตา้ นกลุ่มยะโสโอ หั ง ข อ ง โ ล ก ซ่ึ ง นํ า โ ด ย จั ก ร ว ร ร ดิ นิ ย ม ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า สิ่ ง ต่ า ง ๆ เหล่าน้ีจะเป็ นที่เข้าใจได้และมองเห็นได้ก็ด้วยการพิจารณาอย่างถ้วนถ่ีเท่าน้ัน ยิ่งกว่าน้ัน พร้อมด้วยการเข้าใจอย่างลึกซ้ืงเกี่ยวกับโลก, เก่ียวกับอารยธรรมและเกี่ยวกับคุณค่าต่าง ๆ แ บ บ อิ ส ล า ม ใ น ท้ัง ค่ า ย ต ะ วัน ต ก แ ล ะ ค่ า ย ต ะ วัน อ อ ก ต ล อ ด ท้ัง เ ห ตุ ผ ล ต่ า ง ๆ ที่อยเู่ บ้ืองหลงั รากเง่าของความขดั แยง้ และการเผชิญหนา้ อยา่ งถาวรท่ีไม่อาจจะประนีประนอมกนั ไ ด้ ข อ ง ม ห า อํ า น า จ ท้ั ง ส อ ง ค่ า ย ท่ี แ ต ก ต่ า ง กั น น้ี น่ั น ก็ คื อ โ ล ก วัต ถุ นิ ย ม ข อ ง ค่ า ย ต ะ วัน ต ก แ ล ะ ค่ า ย ต ะ วัน อ อ ก กับ โ ล ก วิ ญ ญ า ณ แ ห่ ง อิ ส ล า ม สิ่งเหล่าน้ีกจ็ ะเป็นท่ีเขา้ ใจไดห้ ากศึกษาพิจาณาโดยรอบดา้ น ใ น ด้ า น ว ร ร ณ ก ร ร ม ข อ ง ก า ร ป ฏิ วั ติ อิ ส ล า ม ก็ นั บ ว่ า มี ค ว า ม สํ า คั ญ อ ย่ า ง ยิ่ ง ท่ี จ ะ ต้ อ ง ทํ า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด นบั ต้งั แตใ่ ชค้ วามพยายามในอนั ท่ีจะสรุปยอ่ และสร้างความแจ่มชดั ใหเ้ กิดข้ึนระหวา่ งความแตกต่าง ข อ ง โ ล ก อิ ส ล า ม กั บ ค่ า ย อื่ น ๆ ของโลกโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ แก่ผทู้ ี่ยงั ไมค่ ุน้ เคยกบั วฒั นธรรมแบบอิสลามกส็ ามารถที่จะสรุปยอ่ ให้อยู่ ใ น เ พี ย ง ส อ ง คํ า เ ท่ า น้ั น นั่ น ก็ คื อ “ลั ท ธิ วั ต ถุ นิ ย ม ” แ ล ะ “จิ ต วิ ญ ญ า ณ ” ซ่ึงนบั เป็นความสาํ คญั ท่ีจะตอ้ งช้ีแจงในสองประเด็นน้ี:

1 . อิ ส ล า ม ใ น ท่ี น้ี ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ แ บ บ และจุดสูงสุดของโลกแห่งความเชื่อพระผเู้ ป็นเจา้ องคเ์ ดียว ซ่ึงเป็ นศาสนาอนั สูงส่งจากพระผเู้ ป็ นเจา้ เ พ ร า ะ ฉ ะ น้ัน ใ น ห นัง สื อ เ ล่ ม น้ี อิ ส ล า ม จึ ง ไ ม่ ถื อ ว่ า มี ม า ก่ อ น เ ห นื อ ศ า ส น า อ่ื น ๆ แต่อิสลามเป็นจุดสุดยอดและความสมบรู ณ์สูงสุดของศาสนาท้งั หมดเหล่าน้ี 2. แมว้ า่ ความคิดท่ีเก่ียวกบั คาํ วา่ อิสลามและความไม่ศรัทธาหรือคาํ วา่ ความเช่ือในพระเจา้ องคเ์ ดียวกบั ลทั ธิบูชาพระเจ้าหลายองค์ ท้งั สองคาํ น้ีก็ไม่เหมือนลักษณะของโลกในด้านที่สรุปให้ส้ันที่สุด ฉะน้นั แลว้ คาํ เหล่าน้ีจึงยงั ไมเ่ ป็นท่ีเขา้ ใจไดอ้ ยา่ งดีแก่ทา่ นผอู้ ่านบางคนโดยท่ียงั ไม่ไดใ้ หค้ าํ จาํ กดั ควา มเบ้ืองตน้ และการอรรถาธิบายเพ่ือเป็นการปพู ้ืนฐานใหเ้ กิดความเขา้ ใจโดยเฉพาะแก่ผทู้ ่ีไม่ใชม้ ุสลิม , ค ว า ม ห ม า ย ก ว้ า ง ๆ ทั่ ว ไ ป ข อ ง คํ า ว่ า จิ ต วิ ญ ญ า ณ แ ล ะ ลั ท ธิ วั ต ถุ นิ ย ม ซ่ึงทุกคนยอ่ มเขา้ ใจไดก้ ไ็ ดน้ าํ มาใชใ้ นหนงั สือเล่มน้ีดว้ ย คาจากดั ความของคาว่าอารยธรรมจากทศั นะของอสิ ลาม ความพยายามท้งั มวลของมนุษย์ ตลอดท้งั การเคล่ือนไหวต่าง ๆ ตามทศั นะของคมั ภีร์ อลั - กุรอาน และการดาํ รงอยู่ของมนุษย์แต่ละคน ตลอดท้งั การดาํ รงอยู่ของมนุษย์โดยส่วนรวมน้ัน จะไดร้ ับการพจิ ารณามีคุณค่าและถูกตอ้ งก็ต่อเมื่อมนุษยเ์ หล่าน้นั มุ่งหวงั ไปสู่ความสูงส่งและกระทาํ ใหถ้ ึงพร้อมแห่ง

คุ ณ ค่ า ท า ง ด้ า น ศี ล ธ ร ร ม 1 อั น ส ม บู ร ณ์ อันน้ีนับเป็ นมิติทางด้านจิตวิญญาณของมวลมนุษย์ซ่ึงติดตามาด้วยการรู้จักควบคุมตนเอง2, ร่ างกายและวิญญาณ การเคลื่อนไหวเช่นน้ันนําไปสู่ การกระทําที่ถูกต้องเท่ียงธรรม3 แ ล ะ ใ น ท่ี สุ ด แ ล้ ว ก็ จ ะ นํ า ไ ป สู่ ค ว า ม ใ ก ล้ ชิ ด พ ร ะ ผู้ เ ป็ น เ จ้ า อ ง ค์ เ ดี ย ว ผลท่ีเกิดข้ึนซ่ึงนับเป็ นจุดสําคญั อย่างยิ่งของระบบแห่งความคิดตามแนวทางอิสลามนั่นก็คือ การยกระดับจิตวิญญาณและด้านศีลธรรมให้สู งส่งข้ึนอันเป็ นบ่อเกิดแห่งมาตรการท้ังปวง และเป็ นที่มาของระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในด้านการเมือง สังคม และกิจการทางด้านเศรษฐกิจ แล ะ เป็ นที่ มาของก ารเคล่ื อนไหวท้ังใ นส่ วนบุ คคล แล ะ สังคม ใ นระ บบดังก ล่ าวน้ี คุณค่าเป็นสิ่งที่ตอ้ งมีมาก่อนท่ีจะก่อใหเ้ กิดสภาพทางจิตวิญญาณอนั สูงส่งและคุณค่าที่เลอเลิศแมว้ า่ ความเจริญมนั่ คงและความกา้ วหนา้ ทางดา้ นวตั ถุจะไดร้ ับการจดั สรรไวแ้ ลว้ โดยความเป็ นปึ กแผน่ แ ล ะ ค ว า ม จํ า เ ริ ญ แ ห่ ง คุ ณ ค่ า ข อ ง ค ว า ม เ ป็ น ม นุ ษ ย์ อั น สู ง ส่ ง แ ล้ ว ก็ ต า ม แตม่ นุษยก์ ย็ งั คงมิไดเ้ ขา้ ถึงคุณค่าแห่งอุดมการณ์หรือยงั มิไดค้ รอบครองสภาพของความเป็ นมนุษยท์ ี่ แ ท้ จ ริ ง ต า ม ทั ศ น ะ น้ี มาตรการท้งั หมดในการท่ีจะนาํ มาเป็นเครื่องวดั อารยธรรมน้นั ก็ตอ้ งข้ึนอยกู่ บั ระดบั แห่งความสูงส่ง ทางด้านจิตวิญญาณและอยู่ท่ีการครอบครองคุณสมบัติแห่ งความเป็ นมนุ ษย์ที่ดีท่ีสุ ด การภกั ดีต่ออลั ลอฮ ในความหมายที่แทจ้ ริงแลว้ ก็คือ การขจดั แง่มุม

ด้ า น จิ ต วิ ญ ญ า ณ เ พ ร า ะ เ ห ตุ ว่ า วตั ถุนิยมถือเอาความเจริญมนั่ คงั่ และความร่าํ รวยในทรัพยส์ ินเป็นมาตรการสุดทา้ ยของปัจเจกชนท้งั ม ว ล แ ล ะ ข อ ง ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ต ล อ ด ท้ั ง ค ว า ม พ ย า ย า ม ข อ ง สั ง ค ม ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ใ ด ก็ ต า ม ท่ี มิ ไ ด้ มุ่ ง ไ ป สู่ ก า ร ไ ด้ ม า ซ่ึ ง วั ต ถุ แ ล้ ว ก า ร ดํา เ นิ น ก า ร น้ั น ก็ ถู ก ถื อ ว่ า ล้ ม เ ห ล ว แ ล ะ เ พ้อ ฝั น เ พ ร า ะ ฉ ะ น้ั น ต า ม ทัศ น ะ น้ี สหรัฐอเมริกาในปัจจุบนั จึงได้รับการถือว่าเป็ นประเทศท่ีเจริญที่สุดในโลกน้ี ในขณะท่ีอินเดีย, บงั กลาเทศ, โซมาเลีย และประเทศอื่น ๆ ในอฟั ริกาและในอาเซียยงั อยู่ในสภาพท่ียงั ไม่เจริญ หรื อกล่าวอีกนัยหน่ึงเจริ ญน้อยมาก หรื อเกือบจะป่ าเถ่ือน หากยึดถือตามมาตรการน้ีแล้ว คนอเมริ กันผิวดําและคนผิวดําชาวอัฟริ กันก็ย่อมจะต่ําต้อยด้วยอารยธรรมกว่าคนผิวขาว แ ต่ ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น คนผวิ ขาวท่ียากจนก็ไดร้ ับการพิจารณาวา่ เป็ นผมู้ ีความเจริญนอ้ ยกวา่ คนผวิ ขาวที่ร่ํารวยและมีเกียรติ ห า ก เ ร า ยึ ด ถื อ ก า ร คิ ด เ ช่ น น้ี แ ล้ ว เราก็จะตอ้ งเช่ือวา่ พวกยวิ ไซออนิสตท์ ่ีคลงั่ ไคลเ้ ช้ือชาติและเป็ นอาชญากรน้นั ก็ตอ้ งเจริญกวา่ ชาวปาเ ล ส ไ ต น์ แ ล ะ ช า ว เ ล บ า น อ น แมว้ า่ ประวตั ิศาสตร์อนั ยาวนานแห่งอารยธรรมของบุคคลท้งั สองน้นั จะเต็มไปดว้ ยความเจริญและมั่ งคงั่ ไปดว้ ยวฒั นธรรมที่ดีงามต่าง ๆ ก็ตาม เปรียบเทยี บระหว่างแนวความคิดท้งั สองสานักนี้ ในทศั นะของอิสลามน้นั เร่ืองของการพฒั นาและความ

เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า ท า ง ด้ า น วั ต ถุ ใ น ทุ ก ๆ ด้ า น น้ั น ถื อ เ ป็ น ร อ ง สิ่งเหล่าน้นั จะใหค้ ุณค่าและความน่าเช่ือถือไดก้ ็ต่อเมื่อมนั ควบคู่กนั ไปกบั ความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นคุณค่าของความเป็ นมนุษยแ์ ละคุณลกั ษณะอนั ลึกซ้ึงแห่งมนุษยธรรมเท่าน้นั กล่าวอีกนยั หน่ึง สิ่ งเหล่ าน้ันจะ เป็ นสิ่ งท่ีมี คุ ณค่าก็ต่อเมื่อได้ถู กนไปร่ วมกับก ารปฏิ บัติ ท่ีเที่ย งธรรม ซ่ึงจะก่อให้เกิดชีวิตที่บริ สุทธ์ิและความสงบสุขสําหรับมนุษยชนและมนุษยชาติเท่าน้ัน4 มนั เป็นสิ่งท่ีตรงกนั ขา้ มกบั ระบบทางดา้ นวตั ถุท่ีกาํ ลงั แผค่ ลุมท้งั ค่ายตะวนั ตกและค่ายตะวนั ออกอยู่ ข ณ ะ น้ี นนั่ เป็นเพยี งการเพิ่มพนู ข้ึนของผลิตผลซ่ึงในตวั มนั เองก็ถือวา่ เป็ นวตั ถุประสงคอ์ ยา่ งหน่ึงของความ พ ย า ย า ม , ค ว า ม อุ ต ส า ห ะ แ ล ะ ก า ร ดิ้ น ร น ข ว น ข ว า ย ข อ ง ม นุ ษ ย์ ในทศั นะของอิสลามก็ใหก้ ารยอมรับความสมบรู ณ์มงั่ คงั่ และความผาสุกอนั เกิดจากวตั ถุเหล่าน้ีดว้ ยเ ช่นเดียวกนั มิไดต้ อ่ ตา้ นความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นวตั ถุไปโดยสิ้นเชิงแต่เป็ นการต่อตา้ นทศั นะควา มคิดแบบวตั ถุนิยมโดยสิ้นเชิงเท่าน้นั เอง ก า ร เ พ่ิ ม พู น ค ว า ม เ จ ริ ญ มั่ง คั่ง โ ด ย ป ร า ศ จ า ก พ้ื น ฐ า น ท า ง จิ ต วิ ญ ญ า ณ น้ั น ตามทัศนะอิสลามถือว่าเป็ นการชะงักงันความก้าวหน้า, ความสมบูรณ์พูนสุขของมนุษย์

อิสลามไม่แต่เพียงไม่พิจารณาว่าคนร่ํารวยและคนที่สมบูรณ์มัง่ คั่งกว่าน้ันเจริญกว่าเท่าน้ัน, แตต่ รงกนั ขา้ ม ถา้ ความมงั่ คงั่ น้ีเป็นที่มาของ การจาํ แนกแยกมนุษยแ์ ละก่อใหเ้ กิดการกดขี่แก่คนยากจนแลว้ อิสลามก็ถือวา่ ความมง่ั คงั่ น้นั เป็ นการ ก ด ขี่ แ ล ะ ไ ม่ ใ ห้ ก า ร ย อ ม รั บ มั น ค ว า ม เ จ ริ ญ มั่ น คั่ ง น้ั น เ ป็ น ก า ร ก ด ขี่ และไม่ใหก้ ารยอมรับมนั ความเจริญมนั่ คงั่ น้ีไม่เป็นผลก่อใหเ้ กิดการจาํ แนกแยกมนุษยแ์ ลว้ ความมงั่ คั่ ง อั น น้ั น ก็ ไ ม่ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด โ ท ษ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม แ ม้ว่ า ค ว า ม ม่ัง คั่ง น้ี จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ ว่ า ถู ก ต้อ ง ต า ม ก ฎ ห ม า ย คนร่าํ รวยหรือสังคมท่ีร่ํารวยแบบน้นั กจ็ ะไดร้ ับการตรวจสอบสภาพแห่งความเป็ นอยขู่ องความร่ํารว ยน้ันในท่ามกลางโลกของความยากจน, ความอดอยาก, ความกระวนกระวายและความน่ากลัว บุ ค ค ล เ ช่ น น้ั น ห รื อ ก ลุ่ ม บุ ค ค ล เ ช่ น น้ั น ก็ มิ ไ ด้ รั บ ค ว า ม ปิ ติ ชื่ น ช ม ใ ด ๆ ในด้านการกุศลและคุณสมบตั ิท่ีดีงามใด ๆ (ซ่ึงเราถือว่าเป็ นพ้ืนฐานแห่งอารยธรรม) ยิ่งกว่าน้นั ความตอ่ เน่ืองแห่งสภาพเช่นน้นั คือสภาพที่มีชีวิตอยอู่ ยา่ งมง่ั คงั่ ร่ํารวยในโลกที่หิวโหยน้นั จะเป็ นเห ตุท่ีจะนาํ มนุษยไ์ ปสู่สภาพท่ีไร้ความรู้สึกอนั จะนาํ ไปสู่การไดร้ ับการลงโทษ

เ ร า จ ะ ไ ม่ เ ข้า ไ ป เ กี่ ย ว ข้อ ง กับ ค ํา ว่ า อ า ร ย ธ ร ร ม ใ น ด้า น ค ว า ม คิ ด เ ชิ ง ป รั ช ญ า ใ น ที่ น้ี แต่นบั วา่ เพียงพอที่จะกล่าววา่ ในวรรณกรรมแบบอิสลามน้นั คาํ น้ีโดยพ้ืนฐานแลว้ มิค่อยใช้กนั นกั เพราะ คําว่าอารย ธ รรมน้ันมี รากที่ มาของคําจาก ความหมาย ก ารอยู่อาศัย ใ นเมื อง ซ่ึ ง ต ร ง กั น ข้ า ม กั บ แ น ว ค ว า ม คิ ด แ บ บ วั ต ถุ นิ ย ม อิสลามมิไดใ้ หค้ ุณคา่ แก่มนั มากนกั ในดา้ นน้ีหากจะพดู กนั ถึงความแตกต่างระหวา่ งแนวความคิดท้งั สอง สํ า นัก น้ี เ ก่ี ย ว กับ คํา ว่ า อ า ร ย ธ ร ร ม แ ล้ว ก็ ต้อ ง ใ ช้ ห น้ า ก ร ะ ด า ษ ม า ก ม า ย เ ห ลื อ เ กิ น แต่ในท่ีน้ีเราเพียงแต่จะช้ีใหเ้ ห็นวา่ คาํ เหล่าน้ีเป็นกุญแจที่จะไขความหมายไปสู่การอธิบายลกั ษณะพิเ ศ ษ ข อ ง ก า ร ป ฏิ วั ติ อิ ส ล า ม และรากเหงา้ ของความขดั แยง้ ของมนั กบั ซาตานตวั ใหญ่ซ่ึงการเผชิญหนา้ กบั ผยู้ ะโสโอหงั น้ีที่นาํ โด ยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาผกู้ าํ ลงั สวาปามโลกน้นั มีรากเง่าและสาเหตุตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การเผชิญหน้าระหวา่ งสองแนวความคิดเกี่ยวกบั อารยธรรมและระบบแห่งคุณค่าต่าง ๆ ซ่ึ ง เ ป็ น ก า ร แ ต ก ต่ า ง กั น ใ น โ ล ก ท้ัง ส อ ง น้ี ก ล่ า ว อี ก อ ย่ า ง ห น่ึ ง น้ี คื อ ก า ร ญิ ฮ า ด เพื่อการเผยแพร่สาส์นอิสลามและการกระจายออกไปซ่ึงระบบแห่งวฒุ ิปัญญาท่ีมุ่งไปสู่การปฏิวตั ิให้ เป็ นจริงซ่ึงคุณค่าต่าง ๆ เหล่าน้นั เพราะฉะน้นั ในเวทีท่ีแทจ้ ริงของสมรภูมิน้ีก็คือ ดา้ นวฒั นธรรม,

ด้ า น วุ ฒิ ปั ญ ญ า แ ล ะ ด้ า น อุ ด ม ก า ร ณ์ ทศั นะท่ีประนีประนอมกนั ไม่ไดแ้ ละรุกรบในสมรภูมิน้ีก็เกิดมาจากธรรมชาติของอิสลามท่ีแอนต้ีพ วกที่ไม่นบั ถือพระเจา้ 2 . ก า ร เ ผ ชิ ญ ห น้ า กับ ซ า ต า น ตัว ใ ห ญ่ แ ล ะ ผู้ส ว า ป า ม โ ล ก แ ห่ ง ศ ต ว ร ร ษ น้ี ซ่ึ ง ถื อ เ ป็ น ภ า ร กิ จ ห น้ า ที่ ท า ง ด้ า น สั ง ค ม แ บ บ อิ ส ล า ม ก า ร ขัด แ ย้ง ใ น ด้า น ก า ร เ มื อ ง น้ี เ ป็ น ไ ป อ ย่า ง จ ริ ง จัง แ ล ะ เ ป็ น แ บ บ ป ฏิ วัติ อ ย่า ง ม า ก ในขณะท่ีในดา้ นการทหารน้นั หากจาํ เป็นแลว้ เราอยใู่ นฐานะเป็นฝ่ ายป้ องกนั ตวั เสียมากกวา่ การ ป้ อ ง กั น แ บ บ น้ี ห ม า ย ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร ส นั บ ส นุ น ผู้ถู ก ก ด ข่ี แ ล ะ ผู้ย า ก ไ ร้ ทั่ ว โ ล ก พร้อมกบั ส่งเสริมช่วยเหลือขบวนการปลดปล่อยท้งั หลายอีกดว้ ย 3 . เ ผ ชิ ญ ห น้ า เ พ่ื อ ป้ อ ง กั น ก า ร ดํ า ร ง อ ยู่ , เ กี ย ร ติ ภู มิ แ ล ะ เ อ ก ร า ช ต ล อ ด ท้ั ง ม นุ ษ ย ส ม บั ติ แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ร ว ม ท้ั ง สิ ท ธิ ต่ า ง ๆ ตามกฎหมายและสิ ทธิมนุษยชนของประเทศน้ีเป็ นธรรมดาอยู่เองว่า การเผชิญหน้าน้ี, แต ก ต่ าง จา ก ที่ ไ ด้ก ล่ า ว มา แล้วแ ต่เ บ้ื อง ต้น น่ัน ก็คื อว่า มัน เ ป็ น ก า รป้ อ งกันต นเ อ ง และในเวลาเดียวกนั ก็ดําเนินการอย่างเต็มกาํ ลังเมื่อตอ้ งสูญเสียซ่ึงสิทธิต่าง ๆ อันจะพึงได้รับ

ธรรมชาติของการปฏิบตั ิการอยา่ งเตม็ กาํ ลงั ของการเผชิญหนา้ เช่นน้ีมิไช่เป็นความปรารถนาของสาธ ารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน แต่มนั เป็ นสิ่งที่ผูร้ ุกรานไดห้ ยิบย่ืนให้ซ่ึงเป็ นฝ่ ายก่อการรุกรานก่อน เ ป็ น ต้ น ว่ า การป้ องกนั ทางดา้ นการทหารของอิหร่านเม่ือเผชิญหนา้ กบั การถูกรุกรานโดยกองกาํ ลงั ของรัฐบาลอิ รัก ซ่ึงสิ่งน้ีกเ็ กิดจากธรรมชาติที่แทจ้ ริงของการป้ องกนั ตวั ฉ ะ น้ั น เ ร า ม า ถึ ง บ ท ส รุ ป น้ี ว่ า การปฏิบตั ิการทางดา้ นการทหารและการใชก้ าํ ลงั ของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านน้นั ดาํ เนินการ ก็ แ ต่ ใ น ก ร ณี ท่ี จ ะ ทํ า ก า ร พิ ทั ก ษ์ รั ก ษ า ไ ว้ ซ่ึ ง สิ ท ธิ ต่ า ง ๆ อันชอบธรรมและทําการปกป้ องความปลอดภัย ตลอดท้ังบูรณภาพเหนือพรมแดน เท่า ๆ กนั กบั ทาํ การพิทกั ษป์ ระชาชน บนั ทึกบทท่ีหน่ึง 1. “ฉนั ถูกสั่งใหก้ ระทาํ ใหส้ มบูรณ์ซ่ึงคุณค่าแห่งศีลธรรมและความประพฤติ” วจนะจากท่านศาสดา มุฮมั มดั (ศอ็ ล)

2 . “แ ท้ จ ริ ง ผู้ ที่ มี เ กี ย ร ติ ย่ิ ง ใ น ห มู่ สู เ จ้ า ณ ท่ี อั ล ล อ ฮ น้ั น คือผทู้ ี่ปฏิบตั ิหนา้ ที่ของเขาใหถ้ ึงพร้อมดว้ ยความระมดั ระวงั ที่สุด” (อลั -กุรอาน 49:13) 3. “ผู้ใดก็ตามท่ีกระทําความดี ไม่ว่าชายหรื อหญิง และเขาเป็ นผู้ท่ีมีความศรัทธาแล้ว, เ ร า จ ะ ทํ า ใ ห้ เ ข า มี ชี วิ ต อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข โ ด ย แ น่ น อ น ยิ่ ง , และเราจะใหร้ างวลั แก่พวกเขาสาํ หรับสิ่งที่ดีท่ีสุดที่พวกเขาไดก้ ระทาํ ” (อลั -กรุ อาน 16:97) 4. อลั -กรุ อาน 16:97 ------------------------------ บททส่ี อง ธรรมชาตขิ องการสร้างสหรัฐอเมริกา และลกั ษณะของอารยธรรมของอเมริกนั

“ฉนั ขอยนื ยนั ดว้ ยยามอรุณเบิกฟ้ า และสิบคืนน้นั และเลขคูแ่ ละเลขค่ี และคืนน้นั เมื่อมนั จากไป แทจ้ ริง ในน้นั มีคาํ สาบานหน่ึงสาํ หรับเขาเหล่าน้นั ผซู้ ่ึงมีความเขา้ ใจ เจา้ มิไดพ้ จิ ารณาดอกหรือวา่ พระผเู้ ป็นเจา้ ของเจา้ น้นั ได้ จดั การกบั พวก อา๊ ด อยา่ งไร, (ประชาชาติแห่ง) อิรอม, ผซู้ ่ึงครอบครองบรรดาเคหสถานอนั สูงส่ง, เหมือนอยา่ งน้นั มิไดถ้ ูกสร้างในเมืองอื่น ๆ : และ (กบั ) ชาว ษะมูด, ผซู้ ่ึงไดเ้ จาะหนา้ ผาในหุบเขาน้นั , และ (กบั ) ฟาโรห์, ผซู้ ่ึงต้งั ตนเป็นพระเจา้ ของชาวเมือง, ผซู้ ่ึงไดก้ ระทาํ การออกคาํ สั่งอนั ไมช่ อบธรรมในเมืองเหล่าน้นั , เช่นน้นั แหละ บุคคลเหล่าน้นั ไดก้ ระทาํ ความผดิ อนั ยงิ่ ใหญ่ภายในน้นั มิใช่หรือ? เพราะฉะน้นั พระผอู้ ภิบาลของเจา้ จึงไดล้ งโทษพวกเขาดว้ ยการลงโทษที่รุนแรง แน่นอนยง่ิ พระผอู้ ภิบาลของเจา้ น้นั กาํ ลงั เฝ้ าดูอยู่ และสาํ หรับมนุษยน์ ้นั , เม่ือพระผอู้ ภิบาลของเขาทรง

ทดสอบเขาดว้ ยการใหเ้ กียรติแก่เขา และใหเ้ ขาสู่ชีวติ ท่ีสุขสบาย, เขากจ็ ะกล่าววา่ : พระผอู้ ภิบาลของฉนั ทรงใหเ้ กียรติแก่ฉนั แต่เม่ือพระองคท์ รงทดสอบเขาดว้ ยการทาํ ใหเ้ ขาขดั สน ในปัจจยั ยงั ชีพแลว้ , เขาก็กล่าววา่ : พระผอู้ ภิบาลของ ฉนั ไดท้ าํ ใหฉ้ นั อปั ยศ หามิได!้ แต่สูเจา้ มิไดใ้ หเ้ กียรติเดก็ กาํ พร้าน้นั , สูเจา้ มิไดช้ กั ชวนบุคคลอ่ืนใหใ้ หอ้ าหารแก่คนยากจน, และสูเจา้ กินทรัพยส์ ินมรดก, และจะกละละโมภ (สิ่งต่างๆ) อยา่ งไม่เลือก และสูเจา้ รักทรัพยส์ มบตั ิดว้ ยความรักอยา่ งทว่ มทน้ หามิได!้ เม่ือโลกน้ีถูกทาํ ใหเ้ ป็นผยุ ผง, และพระผอู้ ภิบาลของเจา้ เสด็จมา และพร้อมดว้ ยบรรดา มะลาอิกะฮ์ เป็นแถว ๆ, และนรกถูกทาํ ใหป้ รากฏในวนั น้นั ในวนั น้นั แหละท่ีมนุษย์ จะไดม้ ีความสาํ นึก แต่การสาํ นึกในวนั น้นั จะเกิดผลอะไรเล่าตอ่ เขา เขาจะกล่าววา่ “โอ้ ฉนั น่าจะไดป้ ระกอบ (คุณงามความดี) ล่วงหนา้ ไวเ้ พือ่ ชีวติ ของฉนั เอง” ดงั น้นั ในวนั น้นั ไม่มีผใู้ ดท่ีจะลงโทษ (ผกู้ ระทาํ ผดิ ) เทียบ

กบั การลงโทษของพระองคไ์ ด้ และไมม่ ีผใู้ ดท่ีทาํ การผกู ล่าม (ผกู้ ระทาํ ผดิ ) เทียบพระองคไ์ ด้ โอ้ ชีวติ อนั สงบสุข ! เจา้ จงกลบั คืนสู่พระผอู้ ภิบาลของเจา้ ดว้ ยความปิ ติยนิ ดี อีกท้งั ไดร้ ับความปราโมทย์ (จากพระองค)์ ดงั น้นั เจา้ จงเขา้ ไปในหมูบ่ า่ วท้งั หลายของฉนั และเจา้ จงเขา้ สู่สวนสวรรคข์ องฉนั เถิด (อลั -กุรอาน ซูเราะฮ์ ฟัจญร์ ิ) วจิ ารณ์ธรรมชาติของการสร้างอาํ นาจในสหรัฐอเมริกาและฐานะของประชาชนท่ีไม่ใช่คนผิวขาวแล ะชนกลุ่มนอ้ ยทางศาสนา ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่ 20 น้ี นับว่าเป็ นพยานยืนยันถึงการครอบครองและการขยายกําลังของสหรัฐอเมริ กา ท้ัง ทางดา้ นเศรษฐกิจอาํ นาจทางการเมืองและการทหารออกไปอยา่ งเป็ นระบบทวั่ โลกและไดเ้ ขา้ แทนร ะบบอาณานิคมแต่เก่าก่อนซ่ึงผพุ งั ไปแลว้ โดยใชร้ ะบบกลไกขนาดใหญ่ของลทั ธิทุนนิยมและความโ อหงั ของสหรัฐอเมริกา อยา่ งไรก็ตาม ระบบและอารยธรรมท้งั สองน้ีกส็ มั พนั ธ์เก่ียวขอ้ งกนั อยา่ งมาก ประชาชนจากทวีปยุโรปซ่ึงติดตามการค้นพบโลกใหม่ในปลายปี ศตวรรษท่ี 15 และไดต้ ้งั ถิ่นฐานในทวปี ใหม่น้นั สามารถจาํ แนกไดเ้ ป็นสามกลุ่มสังคมดว้ ยกนั

1. พวกท่ีกระตือรือลน้ ในการแสวงหาความรู้ซ่ึงเป็นชาวยโุ รปรุ่นบุกเบิกท่ีมีสปิ ริตของการผจญภยั 2 . นั ก ก า ร ท ห า ร , ก ลุ่ ม พ่ อ ค้ า , นั ก ธุ ร กิ จ แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น ก ลุ่ ม อ่ื น ๆ ท่ี พ ย า ย า ม อ อ ก ไ ป แ ส ว ง ห า โ ช ค แ ล ะ ช่ื อ เ สี ย ง ซ่ึงกลุ่มเหลา้ น้ีได้รับการสนับสนุนจากบรรดากษตั ริยแ์ ละผูป้ กครองเมืองต่าง ๆ ในทวีปยุโรป, รวมท้งั พวกโจรสลดั และบรรดาเจา้ ของทาสในสมยั น้นั 3. ประชาชนที่ยากจนข้นแค้น ผู้ซ่ึ งไปแสวงหาการทํามาหากินเพื่อเล้ียงชี พ ใ น ร ะ ย ะ เ ร่ิ ม ต้ น น้ั น ก ลุ่ ม น้ี ป ร ะ ก อ บ ข้ึ น ด้ ว ย ป ร ะ ช า ช น ยุ โ ร ป เ ป็ น พ้ื น ฐ า น แตภ่ ายหลงั จากสงครามโลกคร้ังท่ีสองแลว้ ไดร้ วมถึงคนยากจนจากทวปี อื่น ๆ ดว้ ย ในการวิเคราะห์และทาํ การวิจารณ์ประวตั ิศาสตร์สังคมการเมืองของสหรัฐอเมริกาน้ัน บ ท บ า ท ที่ สํ า คัญ ข อ ง ค น ส อ ง ก ลุ่ ม ที่ มี เ อ ก ลัก ษ ณ์ แ ล ะ ลัก ษ ณ ะ พิ เ ศ ษ ท่ี แ ต ก ต่ า ง กัน ซ่ึ ง แ ต ก ต่ า ง ม า ก ก ว่ า ส า ม ก ลุ่ ม เ ห ล่ า น้ี ก็ ไ ม่ ค ว ร ที่ จ ะ ม อ ง ข้ า ม ไ ป อ ย่ า ง ไ ม่ รั บ รู้ ก ลุ่ ม สั ง ค ม แ ล ะ ช า ติ พั น ธุ์ ท้ั ง ส อ ง เ ห ล่ า น้ี คื อ ชาวอินเดียนแดงแห่งอเมริกาซ่ึงนบั วา่ เป็นเจา้ ของท่ีแทจ้ ริงแห่งดินแดนอนั อุดมสมบูรณ์ของสหรัฐอเ มริกา อีกกลุ่มหน่ึงคือ พวกทาสหรือผทู้ ่ีถูกกดข่ีจากทวปี

อ่ืน ๆ ที่อยภู่ ายใตก้ ารยดึ ครองของยโุ รปในขณะน้นั ซ่ึงรวมถึงชาวผวิ ดาํ แห่งอฟั ริกาเป็นส่วนใหญ่ ต า ม ค ว า ม จ ริ ง แ ล้ ว ใ น ก า ร จํ า แ น ก อ ย่ า ง ก ว้ า ง ๆ และในเวลาเดียวกันในฐานะท่ีเป็ นมาตรการน้ันพ้ืนฐานระหว่างความยุติธรรมน้ัน สังคมอเม ริ กันถู ก แบ่ งออก เป็ น ส องก ลุ่ ม น่ันคื อ ค นผิวขาวแ ล ะ คนที่ ไม่ ใ ช่ ผิว ขา ว แมว้ า่ กลุ่มคนผวิ ขาวท้งั สามกลุ่มท่ีไดอ้ า้ งมาแลว้ ต้งั แต่ตน้ จะมีประสบการณ์อยา่ งมากมายอนั เนื่องจา กความด้ังเดิมทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของพวกเขาและความแตกต่างอ่ืน ๆ, ความขดั แยง้ ตลอดท้ังความเป็ นปฏิปั กษ์ซ่ึ งนําไปสู่ การต่อสู้กันในสังคม, และแม้สงครามต่าง ๆ จะเป็นมาจากความแตกตา่ งของสิ่งเหล่าน้ีจะยงั คงยดื เย้อื ต่อไปจนกระทงั่ บุคคลเหล่าน้นั ไดถ้ ึงซ่ึงเอก ร า ช แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ภ า พ แ ห่ ง รั ฐ ใ น ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ประวตั ิศาสตร์ของความขดั แยง้ เหล่าน้ียงั คงช้ีใหเ้ ห็นถึงความขมขื่นทางสังคมอยา่ งถาวรและท่ีไม่อา จ จ ะ ป ร ะ นี ป ร ะ น อ ม กั น ไ ด้ ซ่ึงปรากฏอยอู่ ยา่ งเป็นมูลฐานและอยา่ งอดกล้นั กนั อยใู่ นทุกวนั น้ีระหวา่ งคนผิวขาวในดา้ นหน่ึงและ คนที่ไมใ่ ช่ผวิ ขาวอีกดา้ นหน่ึง ค น ที่ ไ ม่ ใ ช่ ผิ ว ข า ว , ท่ีไมใ่ ช่ชาวยโุ รปและเป็นผอู้ พยพที่ยากจนกอ็ าจจะถือไดว้ า่ อยใู่ นฐานะของชนช้นั ท่ีถูกกดขี่และถูกท อ ด ทิ้ ง ข อ ง อ เ ม ริ ก า ในแนวโนม้ ส่วนกวา้ งของความขดั แยง้ และการบดขย้ใี นสังคมแห่งทวีปใหม่น้ีชนช้นั น้ียงั คงไดร้ ับค วาม

ทุกข์ทรมานอนั เน่ืองจากความยากจนอย่างเหลือหลาย, ถูกจาํ แนกแยกชนช้ันและถูกทอดทิ้ง การปกครองที่กดข่ีที่เกิดข้ึนแก่คนกลุ่มน้ีโดยคนผิวขาวชาวยโุ รปในช่วงแห่งประวตั ิศาสตร์ของชาติ อ เ ม ริ กั น น้ั น นั บ เ ป็ น ค ว า ม อั ป ย ศ แ ก่ อ า ร ย ธ ร ร ม ยุ โ ร ป อ เ ม ริ กั น ท่ี เ ห็ น แ ก่ ตั ว หรือในความเป็นจริงแลว้ ก็คือชาวยโุ รปนนั่ เอง พฤติกรรมอยา่ งข้ีขลาดและขาดมนุษยธรรมของชาวยโุ รปผิวขาวท่ีกระทาํ ต่ออินเดียนแดงแ ล ะ ช น ช า ว ผิ ว ดํ า โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ก า ร ที่ นํ า เ อ า บุ ค ค ล เ ห ล่ า น้ั น ล ง ไ ป เ ป็ น ท า ส ก็ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง อ า ร ย ธ ร ร ม ข อ ง ยุ โ ร ป - อ เ ม ริ กั น ว่ า เ ป็ น อ า ร ย ธ ร ร ม ท่ี ว่ า ง เ ป ล่ า แ ล ะ ข า ด ศี ล ธ ร ร ม อ ย่ า ง ยิ่ ง ประวตั ิศาสตร์ของคนผิวดาํ และอินเดียนแดงชาวอเมริกนั น้ันพิสูจน์ให้เห็นว่าแถลงการณ์ต่าง ๆ ท่ีแสวงหาความยตุ ิธรรมและหลกั การมนุษยธรรมอยา่ งชดั แจง้ ตลอดท้งั คาํ ประกาศของบรรดานกั กา รเมืองอเมริกนั ผวิ ขาวและบรรดาสมาชิกของกองกาํ ลงั ทหารน้นั ไดถ้ ูกวางแผนการไวเ้ พียงเพ่ือท่ีจะห ล อ ก ล ว ง ป ร ะ ช า ม ติ เ ท่ า น้ั น เ อ ง ในปั จจุบันน้ี ประชาชนชาวผิวดําได้ถูกปฏิบัติอย่างต่ําต้อยและเป็ นพลเมืองช้ันสอง แมว้ า่ ความเป็ นทาสจะไดถ้ ูกเลิกลม้ ไปแลว้ ตามกฎหมายในสหรัฐอเมริกาเป็ นเวลาหลายปี มาแล้ว แต่ในด้านการปฏิบัติในสมัยใหม่สภาพความเป็ นทาสในรูปแบบท่ีสลับซับซ้อนยงั คงมีอยู่ สถานการณ์อนั เป็นโศกนาฏกรรมของชาวผวิ ดาํ ในสงั คม

ท่ีถือกันว่าเจริญแล้วของอเมริกาน้ันเป็ นท่ีชัดแจ้งแล้วว่าประชาชาติผูถ้ ูกกดข่ีแห่งโลกท่ีสาม นั บ ต้ัง แ ต่ ป ร ะ ช า ช า ติ เ ห ล่ า น้ั น อ ยู่ เ บ้ื อ ง ห น้ า ข อ ง ก ลุ่ ม ผู้ย ะ โ ส โ อ หั ง ร ะ ดั บ โ ล ก ประชาชาติเหล่าน้นั สนิทแนบแน่นต่อกนั และกนั ในดา้ นจิตวิญญาณและความเป็ นมาในประวตั ิศาส ต ร์ ร่ ว ม กั น ประชาชาติเหล่าน้นั ตอ้ งถูกทาํ ใหอ้ อ่ นแอลงและถูกนาํ ไปใชง้ านโดยกลุ่มยะโสโอหงั ของโลกไม่ทาง ใ ด ก็ ท า ง ห น่ึ ง นั บ ต้ั ง แ ต่ ม ว ล ช น ผู้ ย า ก ไ ร้ แ ห่ ง อ เ ม ริ ก า , อ า เ ซี ย , อฟั ริกาและลาตินอเมริกาไดป้ ระสานร่วมมือกนั โดยยนื ข้ึนเป็นแถวแห่งแนวร่วมต่อตา้ นกลุ่มผอู้ หงั ก า ร แ ล ะ ผู้ ก ด ข่ี แ ห่ ง ท วี ป ยุ โ ร ป แ ล ะ อ เ ม ริ ก า เ พ ร า ะ ฉ ะ น้ั น ผยู้ ากไร้แห่งโลกที่สามจึงเกิดความรู้สึกเห็นอกเห็นใจและใกลช้ ิดกนั ในดา้ นความสํานึกทางชาติพนั ธุ์ แ ล ะ ท า ง ด้ า น วัฒ น ธ ร ร ม เ สี ย ยิ่ ง ก ว่ า ผู้ที่ ถู ก ก ด ขี่ แ ห่ ง ยุ โ ร ป แ ล ะ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า แ ล ะ ม า ก ก ว่ า ม ว ล ช น ช้ั น ก ล า ง แ ล ะ ช้ั น ล่ า ง ข อ ง ส อ ง ท วี ป น้ี นนั่ คือเหตุผลท่ีวา่ ทาํ ไมในการประกาศความเป็ นปึ กแผน่ ของพวกเขากบั การร้องหาความยตุ ิธรรมข อ ง พ ว ก เ ข า น้ั น , ประชาชนแห่งโลกที่สามไดแ้ สดงถึงความรู้สึกเป็ นพิเศษแก่เร่ืองราวของคนผิวดาํ อเมริกนั , ท้งั ๆ ท่ี มิ ไ ด้ มี ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก ล ไ ก อั น ยิ่ ง ใ ห ญ่ ข อ ง ก า ร โ ฆ ษ ณ า ข อ ง ต ะ วั น ต ก , พวกเขากม็ ีความคุน้ เคยกบั ความอยตุ ิธรรมท่ีคนผวิ ดาํ ไดร้ ับมากเสียยงิ่ กวา่ ชนช้นั ล่างของตะวนั ตกเสี ยอีก อนั เน่ืองจากการเพิม่ ข้ึนของการผกู ขาดในดา้ นทรัสตแ์ ละ

คาร์เทลด้านอุตสาหกรรมและด้านการเงิน ซ่ึงเป็ นส่ วนของรัฐบาลท่ีกําลังปกครองอยู่, และอนั เน่ืองจากการครอบครองของวฒั นธรรมท่ีกดขี่และท่ีนิยมเช้ือชาติตลอดท้งั ลทั ธิไซออนิสตน์ ้ั น ทาํ ใหส้ ่ือสารมวลชนประเภทขา่ วของตะวนั ตกมีความสามารถนอ้ ยท่ีจะวางแผนการแทรกซึมเขา้ ไป อ ย่ า ง ไ ม่ เ ป็ น ธ ร ร ม ท่ี อ า ร ย ธ ร ร ม ต ะ วั น ต ก ไ ด้ ป ฏิ บั ติ กั น อ ยู่ และไดน้ าํ สิ่งเหล่าน้ีไปใชเ้ พื่อที่จะทาํ ใหป้ ระชาชนยอมรับอยา่ งราบคาบและทาํ ให้โง่ต่อเหตุการณ์เห ล่ า น้ั น ใ น เ ว ล า เ ดี ย ว กั น ทศั นคติที่ขาดความรู้สึกและท่ีไม่พอใจซ่ึงตะวนั ตกไดร้ ับไปใชโ้ ดยเฉพาะโดยชาวอเมริกนั ที่ต่อตา้ น บุ ค ค ล เ ห ล่ า น้ั น ก็ อ อ ก ม า จ า ก ค ว า ม ย ะ โ ส โ อ หั ง แ ล ะ ค ว า ม เ ห็ น แ ก่ ตัว ที่ ห ล ง เ ช้ื อ ช า ติ ข อ ง พ ว ก เ ข า เ ห ล่ า น้ ั น ตลอดจนถึงเอกลกั ษณ์ของพวกเขาที่เห็นแก่ประโยชนท์ ี่จะไดแ้ ก่ชนช้นั สูงและกลุ่มผปู้ กครองมากเสี ยยงิ่ กวา่ จะออกมาจากความไม่รู้ตามความจริงชนช้นั ล่างของชนช้นั สูงผิวขาวแห่งยโุ รปน้นั ก็ไดม้ ีส่ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ก ด ขี่ น้ี ด้ ว ย และก็ได้รับประโยชน์จากมันด้วยในการปล้นสะดมโภคทรัพย์ของกลุ่มประเทศโลกท่ีสาม ก ล่ า ว อี ก นั ย ห น่ึ ง สงั คมยโุ รปและอเมริกนั ไดแ้ กค้ วามขดั แยง้ สังคมภายในของพวกเขาโดยการสร้างความสูญเสียใหแ้ ก่ ป ร ะ ช า ช า ติ ท้ั ง ห ล า ย ซ่ึ ง ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ น “ช น เ ช้ื อ ช า ติ ช้ั น สู ง ”, ชนช้นั ท่ีหยง่ิ ทะนงเหล่าน้นั สามารถท่ีจะใชป้ ระโยชน์จากคนยากไร้เหล่าน้นั แห่งสังคมของพวกเขา เพอื่ ท่ีจะรักษาแผนการแห่งการกดขี่ขดู รีด

และสภาพอาณานิคมของพวกเขาไวต้ ่อ ๆ ไป, และเฉล่ียการปลน้ สะดมภน์ ้ีไปให้แก่พวกเขาดว้ ย ในขณะเดียวกนั เรื่องต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกบั การจาํ แนกแยกเช้ือชาติ เป็ นตน้ วา่ การสร้างสภาพเมืองข้ึน, ก า ร เ ข้ า ยึ ด ค ร อ บ ค ร อ ง แ ล ะ ก า ร ป ล้ น ส ะ ด ม ภ์ โ ล ก ที่ ส า ม น้ั น ค่ อ ย ๆ ก ล า ย ส ภ า พ ส ลั บ ซั บ ซ้ อ น ม า ก ยิ่ ง ข้ึ น ก ว่ า เ ดิ ม ใ น ศ ต ว ร ร ษ ท่ี 20 ค ว า ม เ ป็ น ท า ส ท่ี ต้ อ ง ตี ต ร า ป ร ะ ทั บ ด้ ว ย เ ห ล็ ก ร้ อ น ๆ น้ั น ไ ม่ มี อี ก แ ล้ ว , แ ต่ ป ร ะ ช า ช น เ ห ล่ า น้ั น ถู ก ตี ต ร า ป ร ะ ทั บ โ ด ย ค ว า ม ย า ก จ น , ค ว า ม แ ร้ น แ ค้ น และต่าํ ตอ้ ยนอ้ ยหนา้ ในโชคชะตาอีกท้งั ยงั ถูกผกู มดั ไวด้ ว้ ยโซ่ตรวนที่มองไม่เห็นนบั เป็นพนั ๆ ว า ร ส า ร ร า ย เ ดื อ น แ ห่ ง ป า รี ส ท่ี ชื่ อ Le Monde Diplomatique ไ ด้อ ธิ บ า ย ถึ ง ส ถ า น ก า ร ณ์ ปั จ จุ บัน ข อ ง ค น ผิ ว ดํา ใ น ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ไ ว้ดัง ต่ อ ไ ป น้ี : “ในช่วงที่เกิดความชะงกั งนั ทางเศรษฐกิจและความลา้ หลงั ทางการเมืองท่ีกาํ ลงั แผค่ ลุมไปทว่ั สหรัฐ อ เ ม ริ ก า น้ั น , ก า ร ป ก ค ร อ ง ข อ ง รั ฐ บ า ล เ ร แ ก น ไ ด้ ตี ส อ ง ด้ า น พ ร้ อ ม ๆ กัน ไ ป คนผิวดาํ อเมริกนั ท่ีไดต้ ่อสู้มาแลว้ ในช่วง 20 ปี ซ่ึงก็ไดร้ ับผลสําเร็จน้อยอนั เน่ืองมาจากสาเหตุ 2 ด้ า น น้ี คื อ จ า ก ด้ า น ห น่ึ ง , โดยผา่ นกระบวนวธิ ีการสร้างมาตรการดา้ นการเงินใหต้ ึงข้ึนดว้ ยการใชว้ ธิ ีการงบประมาณซ่ึงเหย่อื พ ว ก แ ร ก ข อ ง มั น ก็ คื อ ช น ก ลุ่ ม น้ อ ย ท า ง ช า ติ พั น ธุ์ , แ ล ะ จ า ก อี ก ด้ า น ห น่ึ ง ,

ไดใ้ ชว้ ิธีการยกขบวนการแอนต้ีการจาํ แนกแยกเช้ือชาติ ซ่ึงไดเ้ ริ่มข้ึนก็เม่ือประมาณ 20 ปี มาน้ีเอง เพอื่ ที่จะยตุ ิการจาํ แนกแยก เช้ือชาติท่ีชดั แจง้ ที่สุด หรืออยา่ งนอ้ ยก็ช่วยลดความเร่งของมนั ลงมาไดบ้ า้ ง” การใชม้ าตรการทางดา้ นการงบประมาณอยา่ งเขม้ งวดน้นั เป็ นสิ่งท่ีหลีกเล่ียงไม่ไดท้ ี่ลทั ธิจกั ร ว ร ร ดิ นิ ย ม จ ะ นํ า ม า ใ ช้ เ มื่ อ พ บ กั บ วิ ก ฤ ติ ก า ร ณ์ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ใ น เ รื่ อ ง เ ช้ื อ ช า ติ ที่ ไ ด้ เ ห็ น แ ล้ ว ใ น ท่ี น้ี ก็เป็ นสิ่ งที่ไม่จําเป็ นและเป็ นส่ วนที่แยกออกจากกันไม่ได้ของพวกเขา มาตรการต่าง ๆ เหล่าน้ีอาจจะเป็ นสิ่งที่ยตุ ิธรรมถา้ มนั ไดถ้ ูกนาํ ไปสู่ชนช้นั ที่ร่ํารวยและบรรดานายทุนใหญ่ท้งั หลาย หรืออยา่ งนอ้ ยท่ีสุดแก่คนผวิ ขาวมากกวา่ คนผวิ ดาํ ในเม่ือคนผวิ ดาํ น้นั ยงั ถูกกดข่ีและยากไร้อยกู่ วา่ มา ก อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ในดา้ นตรงกนั ขา้ มมนั อาจจะเป็นความจริงและน่ีก็คือแบบพฤติกรรมของผทู้ ่ีไม่เช่ือในพระผเู้ ป็ นเจา้ และเป็นผทู้ ่ียะโสแห่งสงั คมตะวนั ตกท่ีไดแ้ สวงหาทางโยกยา้ ยความขาดทุนสูญเสียและปัญหาของมั น ไ ป ใ ห้ ผู้ อื่ น รั บ ไ ม่ ว่ า มั น เ ป็ น ปั ญ ห า เ ช้ื อ ช า ติ , เร่ืองชาติหรือเร่ืองชนช้นั กต็ ามมนั เป็ นที่แน่นอนอยวู่ า่ บรรดาชาติมหาอาํ นาจผหู้ ยิ่งยะโสเหล่าน้ีจะพ

ยายามอยเู่ สมอท่ีจะผลกั ไสภาระอนั เกิดจากความบกพร่องและปัญหาของพวกเขาไปใหแ้ ก่ผทู้ ี่อ่อนแ อ น้ีแหละเป็ นสิ่งท่ีกําลังเกิดข้ึนในช่วงปัจจุบันในวิกฤตการณ์ทางการเงินในสหรัฐอเมริกา เหมือนอย่างท่ีหนังสือ เลอ มอนด์ ไดร้ ายงานเอาไวใ้ นด้านที่เกี่ยวกับคนว่างงาน, ด้านอนามยั , ดา้ นเคหะท่ีอยอู่ าศยั และดา้ นการบริการอื่น ๆ ท่ีชาวผวิ ดาํ ตอ้ งอยใู่ นฐานะที่เสียเปรียบอยา่ งมาก “อัตราของคนว่างงานในหมู่คนหนุ่มสาวผิวขาวมิได้เปล่ียนแปลงอย่างรุ นแรงนัก, ในขณะที่เปอร์เซ็นต์ของคนว่างงานในหมู่ชาวผิวดาํ ได้เพ่ิมข้ึนจากร้อยละ 26.5 ในปี ค.ศ. 1967 ถึงร้อยละ 40 ..... จํานวนที่แท้จริ งของคนผิวดําที่ว่างงานน้ันมีจํานวนมากกว่า ซ่ึงในจาํ นวนน้ียงั ไมค่ ิดรวมผทู้ ่ียน่ื ใบสมคั รงานอีกเป็นจาํ นวนหลายหม่ืนคนซ่ึงอยใู่ นสภาพสับสนปั่ นป่ วนท่ีจะต้องล้มเลิกความพยายามในการหางานทํา ถ้านับจํานวนเหล่าน้ีเข้าด้วยกัน อัต ร า ค น ว่ า ง ง า น ใ น ห มู่ ช า ว ผิ ว ดํา ก็ จ ะ ข้ึ น ถึ ง ร้ อ ย ล ะ 57 ไ ม่ ใ ช้ ร้ อ ย ล ะ 40 จาํ นวนเปอร์เซ็นตข์ องคนวา่ งงานท่ีมีจาํ นวนสูงน้ี ในเวลาเดียวกนั ก็ยงั เต็มไปดว้ ยปัญหาสังคมอ่ืน ๆ อี ก ม า ก ม า ย เ ช่ น ปั ญ ห า อ า ช ญ า ก ร ร ม , ย า เ ส พ ติ ด แ ล ะ โ ร ค ภั ย ไ ข้ เ จ็ บ ต่ า ง ๆ

เ ร่ื อ ง เ ห ล่ า น้ี เ ห็ น ไ ด้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น ที่ สุ ด ใ น ตํ า บ ล ที่ ย า ก จ น ข อ ง เ มื อ ง ต่ า ง ๆ ซ่ึ ง ก ล า ย เ ป็ น ท่ี สั ญ จ ร ข อ ง ผู้ ย า ก ไ ร้ เ ห ล่ า น้ั น , เป็ นเสมือนคุกหรือไม่ก็ร่อนเร่ไปอยู่ปะปนกันมากมายในหอพกั ที่น่าสมเพท ตาํ บลต่าง ๆ เ ห ล่ า น้ั น ดู เ ห มื อ น ว่ า ไ ม่ มี กํา แ พ ง แ ล ะ ไ ม่ มี ย า ม ค อ ย เ ฝ้ า ดู แ ล แ ต่ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม มนั ก็เป็นการกดขี่แบบอเมริกนั ท่ีสลบั ซบั ซ้อนอยา่ งมากท่ีไดท้ าํ ไปแลว้ แก่ชาวผวิ ดาํ และแก่คนยากจ นอื่น ๆ ในสังคมอเมริ กัน ซ่ึงจะต้องดําเนินชีวิตไปตามขอบเขตของเช้ือชาติของพวกเขา พนั ธะที่จะตอ้ งมีชีวติ อยใู่ นสถานท่ีเช่นน้นั และจะตอ้ งยอมรับพรมแดนท่ีมองไม่เห็นซ่ึงไดก้ ระหน่าํ โจมตีต่อชีวติ ของคนย า ก จ น เ ห ล่ า น้ัน โ ด ย ผ่ า น ค ว า ม บี บ ค้ัน ท า ง ด้า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ , คํา สั่ ง ข อ ง เ มื อ ง น้ัน ๆ , ร ะ เ บี ย บ ก ฎ เ ก ณ ฑ์ ข อ ง พ ล เ มื อ ง ใ น รั ฐ น้ั น ๆ ต ล อ ด ท้ั ง ก า ร ค ว บ คุ ม ข อ ง ฝ่ า ย ตํ า ร ว จ แ ล ะ ฝ่ า ย ต่ อ ต้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย (ความปลอดภยั สาํ หรับคนผวิ ขาวและความไมป่ ลอดภยั สาํ หรับคนที่ไม่ใช่ผวิ ขาว)

“ส่ วนในด้านสุ ขภาพอนามัยน้ันเล่า สถานการณ์ ก็ยิ่งเลวร้ ายลงไปอย่างมาก การบริ การในด้านอนามัยก็ตกต่ําลงจนถึงระดับต่ําท่ีสุ ด ในเดื อนพฤศจิกายน 1980 ในช่วงการเลือกต้งั ประธานาธิบดีของ เรแกน น้นั , นาย เอด็ วาร์ด โคช นายกเทศมนตรีเมืองนิวยอร์ค ได้ตัดสินใจปิ ดโรงพยาบาล ซิเดนเฮมซ่ึงต้ังอยู่ในเขตท่ีอยู่อาศัยของชาวผิวดําแห่ง ฮาร์เล็ม ซ่ึ ง เ ป็ น เ ข ต ท่ี มี อั ต ร า ก า ร ต า ย สู ง ท่ี สุ ด ท้ั ง ป ร ะ เ ท ศ นโยบายน้ีเป็นเพยี งส่วนหน่ึงของนโยบายท้งั หมดท่ีกาํ ลงั แผค่ ลุมไปในทุกแง่ทุกมุมของชีวติ ประจาํ วั นในสหรัฐอเมริกาที่ต่อตา้ นการเรียกร้องเพือ่ ความชอบธรรมของชนกลุ่มนอ้ ยทางชาติพนั ธุ์” ในสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจปัจจุบัน ชาวผิวดําและชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์อ่ืน ๆ ซ่ึงได้รับความทุกข์ทรมานมากที่สุดจากวิกฤติการณ์ด้านท่ีอยู่อาศยั หนังสือพิมพ์ เลอ มอนด์ ไ ด้ ย่ อ ร า ย ง า น ท่ี อ อ ก โ ด ย ซี ต้ี แ อ ฟ แ ฟ ร์ ยู เ น่ี ย น เก่ียวกบั เรื่องเคหะสถานบา้ นที่อยอู่ าศยั ในนิวยอร์คไดต้ ้งั ขอ้ สงั เกตไวว้ า่ “จํานวนของบ้านเช่าได้ลดลง 166,000 ยูนิตจากเม่ือ 10 ปี ท่ีแล้ว, ในขณะเดียวกัน หน่วยท่ีอยอู่ าศยั เพียงส่วนนอ้ ยท่ีไดถ้ ูกสร้างข้ึนมาแทนที่ ค่าก่อสร้างที่แพงมากข้ึน, ในขณะเดียวกนั การเล้ียงชีพของบุคคลท่ีมีรายไดส้ ูงกวา่ ระดบั กลางเท่าน้นั ท่ีสามารถจะเช่าบา้ นพกั ท่ีสร้างข้ึนมาใหม่

ๆ น้ั น ไ ด้ ใ น ข ณ ะ ท่ี ร้ อ ย ล ะ 69 ของครอบครัวท่ีมีรายไดต้ ่าํ ในนิวยอร์คน้นั มาจากชนกลุ่มนอ้ ยชาติพนั ธุ์ตา่ ง ๆ ในด้านการบริการสาธารณะ และอุปกรณ์ท่ีอาํ นวยความสะดวกน้ัน หนังสือพิมพ์ เลอ ม อ น ด์ ไ ด้ บั น ทึ ก ไ ว้ ว่ า , “ก า ร ข น ส่ ง ส า ธ า ร ณ า แ ห่ ง น ค ร นิ ว ย อ ร์ ค น้ั น จ ะ ถู ก ตั ด เ งิ น ช่ ว ย เ ห ลื อ จํ า น ว น ม า ก สํ า ห รั บ ใ น ปี ห น้ า ผลจากการตดั เงินช่วยเหลือน้นั จะทาํ ให้ค่าโดยสารเพิ่มข้ึนและความรวดเร็วของรถบสั และรถไฟใต้ ดินจะลดลงมากข้ึนควรท่ีจะบันทึกไวด้ ้วยว่า เกือบจะถึงร้อยละ 70 ของประชาชน 3.9 ลา้ นที่ใชป้ ระโยชนจ์ ากการบริการสาธารณะน้ีน้นั มาจากชนกลุ่มนอ้ ยชาติพนั ธุ์ตา่ ง ๆ” ค ว า ม เ ล ว ล ง ใ น ส ภ า พ ต่ า ง ๆ ข อ ง สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร บ ริ ก า ร ด้ า น ต่ า ง ๆ น้นั มนั เป็ นสิ่งท่ีเกิดข้ึนพร้อม ๆ กนั ไปกบั ความเลวลงของสถานการณ์ทางการเมือง แผนการต่าง ๆ ทางดา้ นเศรษฐกิจไดถ้ ูกนาํ มาใชเ้ พื่อสร้างความอ่อนแอให้เกิดข้ึนในหมู่ชาวผวิ ดาํ และทาํ การขดู รีดช นก ลุ่ ม น้อ ย เห ล่ า น้ันต่ อ ๆ ไ ปภ า ย ใ ต้สิ่ ง ปก คลุ มท่ี เ รี ย ก ว่า เส รี ภ า พส่ วน บุ คค ล แ ล ะ “สร้างสรรคเ์ ศรษฐกิจแบบ

เ ส รี ” เ พ่ื อ ที่ จ ะ พิ จ า ร ณ า ถึ ง แ ผ น ง า น ต่ า ง ๆ ทางดา้ นสังคมที่เป็นปฏิกิริยาของรัฐบาลท่ีกาํ ลงั ปกครองอยใู่ นสหรัฐอเมริกาน้นั ไดก้ ่อใหเ้ กิดสิ่งท่ีเรี ยกว่า “ขบวนการต่อต้านการปฏิวัติ” ข้ึนในด้านของสิ ทธิต่าง ๆ ของพลเมือง, ส่วนคําน้ี “ต่ อ ต้ า น ก า ร ป ฏิ วั ติ ” ถูกนําไปใช้โดยพวกอนุรักษ์นิยมและฝ่ ายขวาในลอนดอนซ่ึงได้พิมพ์หนังสื อพิมพ์ “The Economist” อ อ ก เ ผ ย แ พ ร่ อิทธิพลและแรงกดดันท่ีพวกฝ่ ายขวาสุดข้ัวในอเมริกาได้นําไปใช้น้ันเป็ นที่ชัดเจนในทุก ๆ โครงการและแผนปฏิบัติการในการบริ หารท่ีใช้กันอยู่, ซ่ึงเป็ นการแสวงหาการจัดต้ัง “ระบบปฏิกิริ ยา” ข้ึนมาในทุก ๆ ความสัมพันธ์ท่ีจะอยู่กับกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆในเร่ื องน้ี หนงั สือพิมพ์ เลอ มอนด์ ไดท้ าํ หารวจิ ารณ์สถานการณ์น้นั ดงั น้ี : “ทาํ เนียบขาวไดเ้ กี่ยวขอ้ งกบั เรื่องของเช้ือชาติโดยไดน้ าํ เร่ืองน้ีเขา้ ไปในสภาคองเกรสโดยมิ ไดซ้ ่อนเร้นจุดหมายของมนั ในการที่จะลดสิทธิในการลงคะแนนเสียงซ่ึงปรากฏอยตู่ ามกฎหมายใน การที่จะนาํ เอากฎหมายเหล่าน้นั ไปใชป้ ฏิบตั ิ ซ่ึงกฎหมายที่วา่ ดว้ นเร่ืองน้ีไดร้ ับการรับรองในปี ค.ศ. 1965 ภายใตแ้ รงกดดนั ของขบวนการประชาชนที่แผก่ วา้ งออกไปในประเทศ” “การขยายกิจกรรมต่าง ๆ ออกไปอยา่ งกวา้ งขวางและ

เ ข้ ม ข้ น ม า ก ข้ึ น โ ด ย ก ลุ่ ม ท่ี เ รี ย ก ว่ า พ ร ร ค น า ซี อ เ ม ริ กั น แ ล ะ ค ลู ค ลั ก ซ์ แ ค ล น ไ ด้ มี ก า ร เ ดิ น ข บ ว น ป ร ะ ท้ ว ง ใ น เ ร่ื อ ง สิ ท ธิ ต่ า ง ๆ ข อ ง พ ล เ มื อ ง พ ร้ อ ม ๆ กันไปกับบรรยากษในเร่ืองเช้ือชาติท่ีสัดโต่ง พวก คลู คลักซ์ แคลน ได้ขยายกิจกรรมต่าง ๆ อ อ ก ไ ป อ ย่ า ง ก ว้ า ง ข ว า ง ท้ั ง ใ น ท า ง ภ า ค เ ห นื อ แ ล ะ ภ า ค ใ ต้ ซ่ึ งเป็ นก ารปฏิ บัติ ท่ี เ พิ่มก ารประ ส านกัน มาก ย่ิงข้ึ นกับฝ่ าย ข้า ราชก ารส่ วนภูมิ ภา ค โดยการจดั องคก์ รเขา้ โจมตีคนชาวผวิ ดาํ ซ่ึงบ่อยคร้ังมกั จะใชอ้ าวธุ ปื นยงิ ชาวผวิ ดาํ เหล่าน้นั ดว้ ย” “ในการเผชิญหน้ากับความเข้มข้นของความน่ากลัวและความรุ นแรงเหล่าน้ีน้ัน บ ร ร ด า ข้ า ร า ช ก า ร ใ น จั ง ห วัด ต่ า ง ๆ พ อ ๆ กั บ รั ฐ บ า ล ก ล า ง แ ล ะ ศ า ล ต่ า ง ๆ ก็ไ ด้แ ส ดง อ อก ถึ งค ว าม อ ดก ล้ันอ ย่าง ม าก ท่ี จ ะ เข้า ไป เ กี่ ย ว ข้อ ง กับ กิ จก ร รม ต่ าง ๆ ของพวกฝ่ ายขวาสุดโต่ง ซ่ึงเป็นการแสดงการใชอ้ าํ นาจใหม่แบบฟาสซิสตอ์ ยา่ งชดั แจง้ ” “ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น ใ น ก ร ณี ที่ ส ม า ชิ ก ข อ ง ก ลุ่ ม ค ลู ค ลั ก ซ์ แ ค ล น ท่ีไดส้ ังหารสมาชิกห้าคนของฝ่ ายรณรงคท์ ่ีแอนต้ีเร่ืองเช้ือชาติในเดือนพฤศจิกายน 1979 ในเมือง ยี น ส์ โบโร แห่งรัฐคาโรไลน่าเหนือกถ็ ูกปล่อยใหเ้ ป็นอิสระไปหลงั จากถูกตดั สินดว้ ยคาํ พิพากษาของศาลที่ประ กอบดว้ ยผพู้ ิพากษา

ชาวผวิ ขาวเหล่าน้นั เป็นเวลาหน่ึงปี ” “ตาํ รวจและเจา้ หนา้ ท่ีฝ่ ายตุลาการ, ไม่แต่เพียงในภาคใตเ้ ท่าน้นั แต่ในทุกส่วนของประเทศ มกั จะใชป้ ระโยชน์จากคาํ ขวญั ในการทาํ การปราบปรามอาชญากรรมและการก่อการร้ายเพ่ือที่จะนาํ เ อาขอ้ อา้ งน้ีไปใชป้ ฏิบตั ิกบั ชาวผวิ ดาํ ในการสงั หารหมู่และในการตามล่าชาวผวิ ดาํ ท่ีเป็ นพวกแอกติวิ สต”์ “จ ะ มี ก า ร ต า ม ค้ น ห า จั บ กุ ม ก ลุ่ ม ช า ว ผิ ว ดํ า ต า ม ตํ า บ ล ต่ า ง ๆ ท่ีเพียงแตท่ างตาํ รวจต้งั ขอ้ สงสัยวา่ คนผวิ ดาํ เหล่าน้นั มีความเช่ือมนั่ ในทางการเมืองและมีความรับผิด ช อ บ ใ น ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม กั น ต่ อ สู้ เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ม า ซ่ึ ง สิ ท ธิ ต่ า ง ๆ ของพลเมืองเทา่ น้นั จุดมุง่ หมายท่ีสาํ คญั ของฝ่ ายตาํ รวจก็คือการตามล่าจบั กุมและฆ่าสมาชิกของกลุ่ม ที่ เ รี ย ก ว่ า “ส า ธ า ร ณ รั ฐ อั ฟ ริ ก า ส มั ย ใ ห ม่ ” จุดมุง่ หมายขององคก์ ารน้ีกเ็ พือ่ ที่จะเรียกร้องใหไ้ ดม้ าซ่ึงสิทธิในการปกครองตนเองสําหรับประชาช น ช า ว ผิ ว ดํ า ยั ง มี อ ง ค์ ก า ร อ่ื น ๆ ที่ แ ส ว ง ห า เ ส รี ภ า พ ต า ม ทํ า เ นี ย บ เป็ นต้นว่าสมาคมแห่งชาติเพื่อความก้าวหน้าของประชาชนสีผิว และ “สันนิบาตชาวเมือง” ซ่ึ ง ป ร ะ ณ า ม แ น ว โ น้ ม ท า ง ก า ร เ มื อ ง ข อ ง รั ฐ บ า ล เ ร แ ก น แ ล ะ ไ ด้ เ ริ่ ม ทํา ก า ร ป ร ะ ท้ว ง คัด ค้า น ห ล า ย ต่ อ ห ล า ย ค ร้ั ง ใ น ก า ร ท่ี รั ฐ บ า ล เ ร แ ก น ไดก้ ดดนั ในดา้ นการเงินซ่ึงนาํ มาใชต้ ่อชาวผวิ ดาํ นอกจากน้นั ยงั มีพรรคการเมืองที่

เ น้ น ช า ติ นิ ย ม แ ล ะ พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง ท่ี ต่ อ ต้ า น น า ย ทุ น เ ช่ น “พรรคการเมืองเอกราชแห่งชาติของชาวผิวดํา” และ “สหแนวร่ วมแห่งชาวผิวดํา” – ซ่ึ ง ไ ด้ จั ด ต้ั ง ข้ึ น ใ น ป ล า ย ปี 1970 – ไดก้ ่อรูปขบวนการปี ซา้ ยข้ึนเพื่อดาํ เนินการชูธงการต่อสู้ของคนผวิ ดาํ ต่อตา้ นการกดขี่และแสวงหาท างมุ่งตรงเขา้ ไปสู่ความโกรธกริ้วของผยู้ ากไร้โดยเฉพาะ” “การต่อสู้ทางการเมืองของชาวผิวดําน้ันกําลังได้รับพลังเร่ งมากข้ึนเร่ื อย ๆ ในปัจจุบนั น้ีสมาคมชาวผวิ ดาํ ไดแ้ สดงออกถึงความเป็ นปึ กแผน่ กบั บรรดาผอู้ พยพชาวไฮติซ่ึงไดถ้ ูก จบั กมุ เป็นหมู่ ๆ ในฟลอริดา และไดถ้ ูกข่ทู ่ีจะเนรเทศ”1 ความอยตุ ิธรรมท่ีเกิดข้ึนแก่ชาวอินเดียนแดงอเมริกนั ซ่ึงเป็ นเจา้ ของที่แทจ้ ริงแห่งทวปี อเมริ กา แต่จากความเป็ น “เช้ือชาติที่สูงส่ง” ของชาวผิวขาวในช่วงสมัยการค้นพบแผ่นดินน้ี จึงทาํ ใหช้ าวผวิ ขาวใชว้ ธิ ีการยดึ พวกเขาใหเ้ ป็นเมืองข้ึนซ่ึงเป็นหลกั ฐานท่ีชดั แจง้ กล่าวโดยสรุปแลว้ ใ น ช่ ว ง เ ว ล า 300 ปี ม า แ ล้ ว น้ั น อิ น เ ดี ย น แ ด ง อ เ ม ริ กัน ไ ด้ถู ก ทํา ล า ย ล้า ง ล ง ไ ป ม า ก ด้ ว ย ก า ร ถู ก ป ร ะ หั ต ป ร ะ ห า ร ส่ ว น ท่ี เ ห ลื อ ก็ อ ยู่ ใ น ฐ า น ะ ลํ า บ า ก เ อ ก ลั ก ษ ณ์ สํ า คั ญ ๆ ของชาวอินเดียนแดงก็ไดถ้ ูกทาํ ลายลา้ งไปอยา่ งมาก ซ่ึงก่อใหเ้ กิดสิ่งต่าง ๆ ต่อไปน้ี 1. ชาวอินเดียนแดงถูกบังคับให้ไปอยู่อาศยั ตามบริเวณท่ีแห้งแล้ง อยู่ในท่ีแคบ ๆ และต้งั คา่ ยพกั อยใู่ นบริเวณที่ถูก

บงั คบั ใหอ้ ยอู่ าศยั เหมือนการเป็นอยตู่ ามธรรมเนียมของพวกเขา 2. โรงเรียนต่าง ๆ ก็อยู่ห่างไกลจากบริเวณท่ีชาวอินเดียนแดงอยู่อาศยั นอกจากน้ัน คนหนุ่มคนสาวชาวอินเดียนแดงกถ็ ูกพาไปอยใู่ นค่ายอื่น ๆ ท่ีห่างไกลจากบิดามารดาของตน 3. มีการบงั คบั ใหเ้ ปลี่ยนภาษา 4. ช่ื อ ข อ ง ลู ก ๆ ช า ว อิ น เ ดี ย น แ ด ง ก็ ต้ อ ง เ ป ลี่ ย น เ ด็ ก ๆ เหล่าน้นั จะตอ้ งต้งั ช่ือใหมห่ ลงั จากที่ผพู้ ชิ ิตชาวผิวขาวไดท้ าํ การสังหารหมู่ชาวอินเดียนแดงหลายคร้ั ง 5. ไ ด้ มี ก า ร ทํ า ใ ห้ ภ า ษ า , ศ า ส น า , ก า ร แ ต่ ง ก า ย , ป ร ะ เ พ ณี และวธิ ีการเป็นอยใู่ นชีวติ ของชาวอินเดียนแดงตกต่าํ ลง 6. มีการบงั คบั ใหเ้ ปล่ียนไปนบั ถือศาสนาคริสเตียนซ่ึงกไ็ ดเ้ ริ่มกระทาํ กนั อยู่ 7. ตํ า รั บ ตํ า ร า วิ ช า ก า ร ต่ า ง ๆ ที่ไดถ้ ูกตีพมิ พข์ ้ึนกม็ ีการบิดเบือนประวตั ิศาสตร์และการตอ่ สู้ของพวกอินเดียนแดง 8. ชาวอินเดียนแดงถูกทอดทิ้งในด้านการศึกษา, วฒั นธรรมด้านสุขภาพอนามัย และในดา้ นสิ่งจาํ เป็นดา้ นสวสั ดิการเช่น ไฟฟ้ าและน้าํ เป็นตน้ 9. ใ น ที่ สุ ด ไ ด้ มี ก า ร ทํ า ห มั น ผู้ ห ญิ ง ช า ว อิ น เ ดี ย น แ ด ง ถึ ง ส่ี ห ม่ื น ค น โดยอา้ งวา่ เป็นการตรวจทางดา้ นการแพทย์ การกดขี่ชาวผวิ ดาํ และชาวอินเดียนแดงในอเมริกาน้นั

เป็ นเพียงตวั อยา่ งหน่ึงของความตกต่าํ แห่งอารยธรรมยุโรป-อเมริกนั ท่ีไดน้ าํ ไปใชใ้ นช่วง 300 ปี แห่งความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นวตั ถุ เพื่อที่จะแกไ้ ขปัญหายุง่ ยากต่าง ๆ นนั่ คือวิธีโยนปัญหาต่าง ๆ ของพวกเขาไปให้ผู้ที่อ่อนแอ สงครามโลกคร้ังที่สองได้เริ่ มข้ึนก็ด้วยเหตุผลในทํานองน้ี อี ก ตั ว อ ย่ า ง ห น่ึ ง ท่ี ชั ด เ จ น ใ น วิ ธี ก า ร เ ช่ น น้ี ซ่ึงทาํ ให้ตะวนั ออกกลางต้องโชกไปด้วยเลือดเป็ นเวลามากกว่าคร่ึงศตวรรษมาแล้วน้ันก็คือ การสร้างรัฐไซออนิสต์ เป็ นเหตุผลประการหน่ึงท่ีอยู่เบ้ืองหลังในการสนับสนุนของตะวนั ตก ( เ ม่ื อ อ า ร ย ธ ร ร ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ถู ก นํ า ม า พิ จ า ร ณ า , สหภาพโซเวียตและยุโรปตะวนั ออกน้ันก็ถือได้ว่าเป็ นส่วนของตะวนั ตกด้วยเช่นเดียวกัน) สํ า ห รั บ ก า ร ส ร้ า ง “ม า ตุ ภู มิ แ ห่ ง ช า ติ สํ า ห รั บ ช า ว ยิ ว ” แ ล ะ ก า ร อ พ ย พ เ พ่ื อ ใ ห้ ช า ว ยิ ว ท้ั ง ห ม ด ไ ด้ ต้ั ง ถ่ิ น ฐ า น อ ยู่ ใ น แ ผ่ น ดิ น ห น่ึ ง นั่นก็เป็ นความต้ังใจของตะวนั ตกที่จะขับไล่ชาวยิวให้ออกไปจากสังคมชองชาวคริสเตียน, สาํ หรับอาชญากรรมและการกดข่ีท่ีอารยธรรมแห่งชาวคริสเตียนตะวนั ตกไดก้ ระทาํ การต่อตา้ นชาว ยิ ว น้ั น ก็ ไ ม่ ไ ด้ น้ อ ย ไ ป ก ว่ า ที่ พ ว ก เ ห ล่ า น้ั น ไ ด้ ก ร ะ ทํ า ม า แ ล้ ว ต่ อ ช า ว ผิ ว ดํ า แม้ว่าจะมีรูปแบบแตกต่างกนั ก็ตาม ชาวยิวแห่งยุโรปจากสหภาพโซเวียตและประเทศต่าง ๆ ใ น ยุ โ ร ป ต ะ วั น อ อ ก ท่ี เ ข้ า ไ ป อ ยู่ ใ น ฝ รั่ ง เ ศ ส แ ล ะ ส เ ป ญ น้ั น ต่างตกอยใู่ นสภาพที่ถูกเกลียดชงั และถูกจาํ แนกแยกพวก อีกท้งั ยงั ไดร้ ับ

ค ว า ม ทุ ก ข์ ท ร ม า น ที่ เ ป็ น ช ะ ต า ก ร ร ม อั น โ ช ค ร้ า ย ม า ก ม า ย แม้แ ต่ ก่ อน ท่ี จ ะ ถู ก สั ง ห า รห มู่ ซ่ึ ง ก ร ะ ทํา โ ดย ลัท ธิ คลั่ง เ ช้ื อช า ติ ข อ งฮิ ต เ ล อร์ ก็ ต า ม สิ่ ง เ ห ล่ า น้ี ก็ เ กิ ด ข้ึ น ภ า ย ใ น ก ร อ บ ข อ ง ง า น ดั ง ก ล่ า ว แล ะ มี ร าก เง่ าข อง มัน มา จาก วัฒ นธ รร มแ ล ะ อา รย ธ ร รมที่ ย ะ โส โอ หัง เช่ นเ ดี ย วกัน ประเทศยุโรปท้ังมวลยินยอมพร้อมใจท่ีจะโยกย้ายปัญหาและความยุ่งยากลําบากต่าง ๆ ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง ต น ใ ห้ ไ ป อ ยู่ น อ ก ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง พ ว ก เ ข า เพราะฉะน้นั ประเทศยโุ รปเหล่าน้นั จึงยนิ ดีใหก้ ารตอ้ นรับกบั แนวความคิดในการสร้างรัฐยวิ ไซออนิ ส ต์ แ ล ะ ใ ห้ ก า ร ย อ ม รั บ อิ ส ร า เ อ ล ม า ต้ั ง แ ต่ เ ร่ิ ม ต้ น ที เ ดี ย ว มั น ไ ม่ มี ค่ า ใ ด ๆ ที่วา่ ในช่วงแรกท่ีความคิดน้ีไดแ้ พร่หลายออกไปในตอนปลายของศตวรรษท่ี 19 น้นั , วา่ ดินแดนอ่ืน ๆ ในอัฟริ กาและในทวีปอเมริ กาก็ได้รับการพิจารณาท่ีจะให้ชาวยิวไปต้ังถิ่นฐานอยู่ แต่ในที่สุดกไ็ ดม้ ีการเลือกให้เอาดินแดนของอิสลามและรัฐของอาหรับปาเลสไตน์เป็ นถิ่นท่ีอยขู่ อง ช า ว ยิ ว ต า ม จุ ด มุ่ ง ห ม า ย น้ี อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม แผนน้ีก็เขา้ กนั ไดอ้ ยา่ งดีกบั เป้ าหมายดา้ นอาณานิคมของประเทศมหาอาํ นาจนกั ล่าอาณานิคมแห่งยโุ รปตะวนั ตก ซ่ึงเป็นจุดหมายที่ทาํ ใหร้ ะบบอเมริกนั ไดบ้ รรลุความสาํ เร็จในภายหลงั ด้ ว ย ส ปิ ริ ต ข อ ง ก า ร ว า ง แ ผ น ล ว ง ข อ ง ต ะ วั น ต ก ป ร ะ ก อ บ กับ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ข อ ง บ ร ร ด า น า ย ทุ น พ่ อ ค้า ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐี ช า ว ยิ ว จึงไดท้ าํ ใหป้ ระชาชนที่ร่อนเร่กระจดั

ก ร ะ จ า ย อ ยู่ น้ี ต้ อ ง ต ก เ ป็ น เ ห ยื่ อ แ ห่ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ า ง ๆ ของพวกเขาในขอ้ อา้ งท่ีจะใหบ้ ุคคลเหล่าน้นั ไดม้ ีท่ีพกั พิงเป็นที่อยอู่ าศยั โดยใชว้ ธิ ีการอา้ งถึงแนวควา ม คิ ด ที่ ก้ า ว ห น้ า ใ น ลั ท ธิ เ ช้ื อ ช า ติ ยิ ว ไ ซ อ อ นิ ส ต์ ชาวยวิ เหล่าน้นั กไ็ ดก้ ลายเป็นเครื่องมือที่ไปก่อใหเ้ กิดการกดขี่และความอยตุ ิธรรมที่ทาํ ใหโ้ ลกอิสลา ม ต้ อ ง ต ก อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ ภ า ว ะ ส ง ค ร า ม เ ป็ น เ ว ล า ม า ก ก ว่ า 5 0 ปี มาแลว้ และพวกเหล่าน้นั ก็จะตอ้ งถูกเผาไหมอ้ ยใู่ นไฟกองน้ีในที่สุดนนั่ เอง ในอีกด้านหน่ึง ในรัฐมุสลิม บรรดาชาวยิวก็ได้เคยมีชีวิตอยู่เหมือนกับคนอ่ืน ๆ และได้รับความเป็ นอยู่ดีท่ีสุดในสิ่งที่เป็ นไปได้ท้ังหลาย ท้ังชาวยิวและประชาชนคนอื่น ๆ ก็ไม่เคยตกอยู่ภายใต้สภาพความรังเกียจในเร่ื องเช้ื อชาติและความรู้ สึ กชาตินิ ยมอย่างรุ นแรง แ ต่ ใ น ปั จ จุ บั น น้ี เมื่อประชาชนชาวเลบานอนและมุสลิมชาวปาเลสไตน์ไดต้ กอยภู่ ายใตก้ ารกดขี่ที่ไร้มนุษยธรรมของ พ ว ก ไ ซ อ อ นิ ก ต์ , ฟ า ลั ง จิ ส ต์ , ก็ ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ค ว า ม ทุ ก ข์ ย า ก ลํ า บ า ก , ส่ ว น ช า ว ยิ ว ท่ี อ ยู่ ใ น รั ฐ มุ ส ลิ ม น้ั น ยั ง ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ อั น เ ท่ า เ ที ย ม กั น กั บ มุ ส ลิ ม ย ก ตั ว อ ย่ า ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ อิ ห ร่ า น น้ั น

สังคมชาวยวิ ท่ีอยใู่ นประเทศก็ไดป้ ระกาศสนบั สนุนการปฏิวตั ิอิสลามและผนู้ าํ ของการปฏิวตั ิในหล ายโอกาสและประกาศซ้าํ กนั หลายคร้ังหลายคราว ลทั ธิเช้ือชาติไมม่ ีส่วนอยใู่ นวฒั นธรรมอิสลามเลย ธรรมชาตขิ องอารยธรรมแบบอเมริกนั ต า ม ท่ี ไ ด้ ถ ก กั น ม า แ ล้ ว แ ต่ เ บ้ื อ ง ต้ น น้ั น , สั ง ค ม อ เ ม ริ กั น ไ ม่ อ า จ จ ะ ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น สั ง ค ม ท่ี เ จ ริ ญ แ ล้ ว , หรื อแม้แต่เป็ นสัญลักษณ์ของความเจริญก้าวหน้า, ความสูงส่งและมนุษยธรรมก็หาได้ไม่ แ ม้ว่ า ค ว า ม เ จ ริ ญ ก้า ว ห น้ า ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ น ช่ ว ง 2 0 0 ปี ที่ผ่านมานับต้ังแต่ได้สถาปนาระบบราชการของสหรัฐอย่างม่ังคั่ง และนับต้ังแต่ช่วง 400 ปี ที่ ผ่ า น ม า ส มั ย เ ม่ื อ ก า ร ค้ น พ บ ท วี ป ใ ห ม่ น้ี โ ด ย ช า ว ยุ โ ร ป และติ ดตามด้วยการอ พยพของคนผิวขาวหลั่งไหลกันไปต้ ังอาณานิ คมในบริ เวณน้ ันก็ตาม , แ ล ะ แ ม้ ว่ า จ ะ มี แ ร ง ก ร ะ ตุ้ น ใ น ด้ า น ค ว า ม รั ก เ ส รี ภ า พ แ ล ะ อุ ด ม ก า ร ณ์ ซ่ึงเห็นเป็ นประจกั ษพ์ ยานว่าแสวงหาความยุติธรรมและสันติภาพ ตลอดท้งั ยงั มีขบวนการต่าง ๆ ท่ี มุ่ ง ป ฏิ บั ติ อ ย่ า ง เ อ า จ ริ ง เ อ า จั ง ใ น แ น ว ท า ง น้ี ก็ ต า ม

ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ไ ด้ ทํา ก า ร ค้น ค ว้า ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จํา น ว น ม า ก และมีความเจริญกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกิจท่ีดีเด่นแต่เราก็เช่ือวา่ เราไม่สามารถที่จะพดู ไดอ้ ยา่ งเตม็ ปากเ ต็มคําว่าน่ันเป็ นอารยธรรมอเมริ กัน บุคคลท้ังหลายซ่ึงมักจะอ้างถึงอารยธรรมอเมริ กัน โดยวางหลกั การบนสโลแกนถึงความรักเสรีภาพของกระแสเหตุการณ์ชาวอเมริกนั ท่ีดิ้นรนต่อสู้ใน ช่วงศตวรรษท่ี 19 หรือตอนตน้ ของศตวรรษท่ี 20 น้นั ก็มกั จะไม่รับรู้ในขอ้ เทจ็ จริง 3 ประการ คือ 1 . มี ค ว า ม อ ยุ ติ ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร ทุ จ ริ ต ค อ ร์ รั ป ชั่ น ภ า ย ใ น สั ง ค ม อ เ ม ริ กั น ซ่ึงเป็นการปฏิเสธคาํ ขวญั ตา่ ง ๆ เหล่าน้ีท้งั หมด 2 . ใ น ส่ ว น ต่ า ง ๆ ข อ ง โ ล ก น้ั น สหรัฐอเมริกาพยายามที่จะเขา้ ไปแทนที่มหาอาํ นาจอาณานิคมรุ่นเก่าและอเมริกาก็กาํ ลงั ใชค้ าํ ขวญั เห ล่าน้ีเพอื่ ความปรารถนาในการขยายอาํ นาจของตนเอง 3. มีการปฏิวตั ิท่ีอยุติธรรมภายในประเทศท่ีเป็ นการต่อตา้ นชนกลุ่มนอ้ ยทางดา้ นเช้ือชาติ, ซ่ึ ง แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ว่า ถ้อ ย คํา ที่ ก ล่ า ว ว่า ม นุ ษ ย ธ ร ร ม แ ล ะ เ ส รี ภ า พ ซ่ึ ง อ ง ค์ก า ร ต่ า ง ๆ ใ น ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ท้ั ง ห น่ ว ย ง า น ร า ช ก า ร แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ก า ร กุ ศ ล ต่ า ง ๆ ไดเ้ อย่ เอ้ือนอยนู่ ้นั ไม่มีอะไรเวน้ แต่เป็ นการหลอกลวง

เม่ือพิจารณาถึงสถานการณ์ของสหรัฐอเมริกาท่ีเขา้ ไปทาํ การแข่งขนั กบั บรรดามหาอาํ นาจอ าณานิคมรุ่นเก่า ตลอดท้ังความพยายามของสหรัฐฯ ที่จะขยายอิทธิพลทางด้านการทหาร, ทางเศรษฐกิจ และการครอบครองทางการเมืองออกไปทั่วโลกน้ัน เราก็จะเห็นได้ทันทีว่า คาํ เอ่ยเอ้ือนสโลแกนเหล่าน้นั โดยรัฐบาลอเมริกนั น้นั มีจุดมุ่งหมายก็แต่เพียงที่จะผลกั ดนั คู่แข่งขนั อ่ื น ๆ ใ ห้ อ อ ก ไ ป จ า ก เ ว ที เ ห ล่ า น้ัน แ ล ะ เ ข้า แ ท น ที่ ม ห า อํา น า จ เ ห ล่ า น้ัน ส รุ ป แ ล้ว คาํ ขวญั ในดา้ นมนุษยธรรมของสหรัฐอเมริกาน้นั เป็นเพียงส่วนหน่ึงของกลยทุ ธในดา้ นแผอ่ าํ นาจจกั รวรรดินิยมนนั่ เอง บุคคลจาํ ตอ้ งใหค้ วามสนใจ ในประเดน็ ต่าง ๆ เหล่าน้ีเพ่อื จะเขา้ ใจเร่ืองราวเหล่าน้ีไดอ้ ยา่ งชดั แจง้ ยงิ่ ข้ึน ชาติอเมริกนั ก็เหมือนกบั ชาติอ่ืน ๆ ท่ีมีประวตั ิศาสตร์ของการต่อสู้มาแลว้ ในศตวรรษที่ 17, 18 และ 19 เพ่ือให้ไดม้ าซ่ึงเอกราชและอิสรภาพ การต่อสู้เหล่าน้ีทาํ ให้เกิดกฎหมายมหาชนข้ึน อี ก ท้ัง ร ะ เ บี ย บ ก ฎ เ ก ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ ท่ี จ ะ ช่ ว ย พิ ทัก ษ์ รั ก ษ า ศัก ด์ิ ศ รี ข อ ง ม นุ ษ ย์เ อ า ไ ว้, แ ต่ สิ่ ง เ ห ล่ า น้ี ก็ มี ไ ว้เ พื่ อ ค น ผิว ข า ว แ ล ะ มี ไ ว้เ พี ย ง เ พ่ื อ ป ก ป้ อ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ า ง ๆ ข อ ง พ ว ก น า ย ทุ น ร่ํ า ร ว ย เ ท่ า น้ั น การกดขี่และความอยตุ ิธรรมในเร่ืองเช้ือชาติที่ไมจ่ บสิ้นกย็ งั ไดร้ ับการปฏิบตั ิกนั อยใู่ นการต่อตา้ นปร ะ ช า ช น ที่ ไ ม่ ใ ช่ ช า ว ยุ โ ร ป ก ล่ า ว คื อ

เสรี ภาพและความเสมอภาคของปัจเจกชนน้ันถูกนํามาใช้ในความหมายของพวกกฏมพี และบรรดาผใู้ ชแ้ รงงานชาวอเมริกนั ท้งั หลายกไ็ ดเ้ สียสละเพ่อื ความเจริญกา้ วหนา้ ของสังคมอเมริกนั โดยการจัดต้ังระบบต่าง ๆ ทางด้านเศรษฐกิจอันสลับซับซ้อนข้ึนตามความเป็ นจริ งแล้ว การรวมตัวกันอย่างเป็ นปึ กแผ่นน้ันก็เพื่อที่จะกีดกันต่อต้านประชาชนท่ีไม่ใช่ชาวยุโรป แ ล ะ โ ด ย วิ ธี ก า ร เ ช่ น น้ี สั ง ค ม ยุ โ ร ป ( ห รื อ อ เ ม ริ กั น ) ก็ ไ ด้ เ ป ลี่ ย น ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ภ า ย ใ น ข อ ง มั น ไ ป ใ ห้ แ ก่ สั ง ค ม อื่ น ๆ , คร้ังแรกจะเห็นได้จากการท่ีมีการวางแผนสังหารหมู่ชาวอินเดียนแดงอเมริกัน และต่อมาก็คือ การทาํ ใหช้ าวผวิ ดาํ อยใู่ นสภาพท่ี เป็ น ทา ส อ ย่าง เป็ นท างก าร ติ ดต ามม าด้วย การ เลิ กร ะ บ บทา ส ต าม ตัวบ ทก ฎห มา ย แ ต่ ก็ ไ ด้เ ข้า ม า สู่ ยุค ข อ ง ก า ร ก ด ขี่ ห รื อ ค ว า ม เ ป็ น ท า ส ท่ี แ ท้จ ริ ง อี ก แ บ บ ห น่ึ ง นั่น คื อ ท า ส ท า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น ข้ั น น้ี ไ ม่ แ ต ก ต่ า ง จ า ก แ บ บ เ ก่ า เ ล ย ใ น ด้ า น เ น้ื อ ห า เพียงแต่ว่ามันเป็ นระบบทาสท่ีเต็มไปด้วยความเฉลียวฉลาดและสับปลับมากข้ึนกว่าเท่าน้ัน โดยการใช้กลไกของระบบทาสสมัยใหม่ท่ีเป็ นการกดขี่ขูดรี ดแบบใหม่แก่มนุ ษย์น้ี

แ ม้ ว่ า ค ว า ม เ ป็ น ท า ส จ ะ ไ ด้ ถู ก ป ร ะ ก า ศ เ ลิ ก ไ ป แ ล้ ว ก็ ต า ม แตม่ นั ยงั คงใชว้ ธิ ีการที่แยบยลมากข้ึนกวา่ ซ่ึงแผข่ ยายออกไปจนกระทงั่ ออกมาเป็ นรูปของพระราชบั ญญตั ิวา่ ดว้ ยการจาํ แนกแยกเช้ือชาติ ส หรั ฐอ เม ริ ก าใ นข ณะ ท่ี เข้าแ ทน ท่ี บ รร ดา มห าอํานา จอ าณ านิ คม รุ่ น เก่ าน้ัน ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า เ อ ง ก็ ไ ด้ เ ส น อ รู ป แ บ บ ใ ห ม่ ข อ ง ลั ท ธิ อ า ณ า นิ ค ม รู ป แ บ บ ใ ห ม่ ข อ ง ลั ท ธิ อ า ณ า นิ ค ม น้ี ก็ เ ห มื อ น กั บ ร ะ บ บ ท า ส มั ย ใ ห ม่ นั่ น ก็ คื อ เ ป็ น ก ล ไ ก ท่ี เ ฉ ลี ย ว ฉ ล า ด แ ย บ ย ล เ ป็ น พิ เ ศ ษ และเป็นการทาํ ใหอ้ าํ นาจอาณานิคมรุ่นเก่าซ่ึงเป็ นไปอยา่ งเรียบง่ายน้นั เขา้ มาสู่รูปแบบท่ีสลบั ซบั ซ้อ นและมีลกั ษณะสบั ปลบั กลบั กลอกซ่ึงจะเห็นไดช้ ดั ในวธิ ีการกลยทุ ธของสหรัฐอเมริกาท่ีใชก้ บั ประเ ทศดอ้ ยพฒั นาอื่น ๆ ในรอบศตวรรษน้ี ใ น รู ป จั ก ร ว ร ร ดิ นิ ย ม แ ผ น ใ ห ม่ น้ี , ลทั ธิอาณานิคมแบบเก่าซ่ึงติดตามไปดว้ ยการเขา้ ยดึ ครอบครองดว้ ยกาํ ลงั ทหารน้นั ไ ม่ ป ร า ก ฏ อี ก ต่ อ ไ ป แมว้ า่ จะยงั คงสมั พนั ธ์อยกู่ บั อาํ นาจทางทหารพร้อมดว้ ยอาํ นาจในการทาํ ลายลา้ งมากข้ึนกวา่ แต่ก่อน

ก็ ต า ม จะเห็นไดจ้ ากการท่ีเขา้ ไปขดู รีดเอาทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานของมนุษยอ์ ยา่ งชดั แจง้ ในการก ระทาํ แต่อดีตที่ผา่ นมาซ่ึงตามรูปแบบแผนใหม่น้นั ไดใ้ ชก้ ลไกอนั แยบยลและละเอียดอ่อนในการกด ข่ี ขู ด รี ด ยิ่ ง ก ว่ า ใ น อ ดี ต นั่ น ก็ คื อ ใชก้ ลไกผา่ นระบบการคา้ ธุรกิจและการลงทุนซ่ึงสหรัฐอเมริกาไดส้ ่งกลุ่มนายทุนเหล่าน้ีเขา้ ไปกอบ โกยผลประโยชน์อยา่ งแยบยลซ่ึงเกิดข้ึนทว่ั ไปในประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก ใ น ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง นั บ ต้ั ง แ ต่ ปี 1 9 1 8 ม า แ ล้ ว น้ั น อั ง ก ฤ ษ ก็ มิ ไ ด้ เ ป็ น ม ห า อํ า น า จ อั น ดั บ ห น่ึ ง ใ น โ ล ก อี ก ต่ อ ไ ป แ ล้ ว ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ซ่ึ ง ไ ด้ ข ย า ย ตั ว ใ น ด้ า น ก อ ง ทั พ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ความเป็นเจา้ ทะเลในสงครามโลกคร้ังท่ีสองไดเ้ ขา้ มาเป็นคู่แข่งขนั กบั กาํ ลงั ของรา ชนาวีองั กฤษ และได้เข้าควบคุมอาํ นาจทางเศรษฐกิจในโลกแทนที่องั กฤษ ฉะน้ันจะเห็นได้ว่า แทนท่ีจะเป็ นกรุ งลอนดอนก็กลับกลายมาเป็ นนิวยอร์คท่ีเป็ นศูนย์เศรษฐกิจใหญ่ของโลก เช่นเดียวกนั ฮอนแลนดท์ ่ีเคยเป็ นมหาอาํ นาจทางเศรษฐกิจมาแลว้ ทวั่ โลกจนกระทงั่ ตอ้ งเกิดสงคราม ส า ม สิ บ ปี กั บ อั ง ก ฤ ษ ห ลั ง ส มั ย น โ ป เ ลี ย น จึ ง ทํ า ใ ห้ ท้ั ง ส อ ง อ่ อ น แ อ ล ง สหรัฐอเมริกาไดม้ ีโอกาสรับประโยชน์อย่างเต็มที่ อนั เป็ นผลมาจากสงครามโลกท้งั สองคร้ังน้นั ฉะน้นั

จึงไดก้ ลายมาเป็นมหาอาํ นาจอนั ดบั หน่ึงของโลก เ ร า จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า เอกลกั ษณ์ทางเศรษฐกิจและการเมืองของสหรัฐอเมริกาน้นั ไดถ้ ูกก่อรูปข้ึนมาโดยสงครามเหล่าน้ีไม่ มีใครที่สามารถจะอา้ งไดว้ า่ สงครามเหล่าน้ีมีจุดมุง่ หมายในการปลดปล่อยมนุษยชาติและพิทกั ษค์ วา ม ยุ ติ ธ ร ร ม ห รื อ ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค ข อ ง ม นุ ษ ย ช น ใ น โ ล ก นั ก ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ว ต ะ วั น ต ก ท้ั ง ห ล า ย ไ ด้ ก ล่ า ว ว่ า สงครามเหล่าน้ีมีจุดมุง่ หมายเพือ่ จะไดร้ ับผลประโยชน์ทางดา้ นวตั ถุซ่ึงเราคิดวา่ คาํ กล่าวน้ีเป็ นจริงถูก ตอ้ งทีเดียว สงครามจึงเป็ นส่วนหน่ึงท่ีขาดเสียมิไดข้ องธรรมชาติแห่งการสวาปามโลกของสหรัฐอเมริ กา แต่สงครามน้นั ไดก้ ระทาํ กนั หลายรูปแบบแตกต่างกนั ออกไปตามยคุ ตามสมยั บางคร้ังมีการแทรกแ ซงทางทหารโดยตรง หรือในบางคร้ังก่อให้เกิดรัฐประหารซ่ึงโยงใยโดยองค์การ ซี.ไอ.เอ. ดังจะเห็นได้จากหลักฐานภายหลังสงครามโลกคร้ังท่ีสองที่เกิดข้ึนในประเทศต่าง ๆ ท้ังในอัฟริ กาและในอาเซีย ตัวอย่างเช่นการรัฐประหารในวันท่ี 19 เดือนสิ งหาคม 1953 ซ่ึงชกั ใยโดยลูกหลานของอดีตประธานาธิบดี รูสเวลท์ แห่งสหรัฐอเมริกาท่ีชื่อ เคอร์มิท รูสเวลท์ ไ ด้ นํ า รั ฐ บ า ล ป า ห์ เ ล วี ท่ี ทุ จ ริ ต ก ลั บ คื น ม า สู่ อํ า น า จ ใ น อิ ห ร่ า น อี ก ค ร้ั ง ห น่ึ ง นนั่ กเ็ ป็นผลงานของสหรัฐอเมริกาซ่ึงนบั เป็นตวั อยา่ งท่ีเห็นไดช้ ดั การรัฐประหาร

ท่ี บ ร ร ลุ ค ว า ม สํ า เ ร็ จ พ ร้ อ ม ด้ ว ย ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ จ า ก ก ลุ่ ม แ ก๊ ง ต่ า ง ๆ และกลุ่มหลอกลวงในอิหร่านสมยั น้นั เช่นเดียวกนั ซ่ึงนกั ประวตั ิศาสตร์ชาวอเมริกนั หลายคนหลงเรี ยกกนั วา่ “ประชาชนแห่งอิหร่าน” ! ตรงน้ีจะเห็นถึงความสัมพันธ์โยงใยระหว่างรัฐบาลอเมริ กันกับกลุ่มกลไกต่าง ๆ เหล่าน้ีซ่ึงเป็ นการเปิ ดเผยให้เห็นนโยบายและลักษณะท่าทีของอเมริ กันได้เป็ นอย่างดี รัฐบาลอเมริกนั ได้เคยติดต่อสัมพนั ธ์อยู่เสมอมาอย่างไรกบั กลุ่มอาชญากรต่าง ๆในทวีปอาเซีย, อฟั ริกา และกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา ? เราจะเห็นแลว้ วา่ สิ่งที่เรียกกนั วา่ “อารยธรรมอเมริกนั ”, ไม่ว่าภายในประเทศน้ันหรื อทั่วโลกมิได้นําสิ่งใดมาเลย นอกจากการกดขี่และการบีบค้ัน น้ีคือส่วนหน่ึงธรรมชาติที่แทจ้ ริงของมนั การทจุ ริตทางด้านศีลธรรมในรัฐบาลสหรัฐอเมริกาและในสงคมอเมริกัน การเพิ่มข้ึนของการทุจริตในดา้ นศีลธรรมในวงรัฐบาลอเมริกนั และในสังคมชาวอเมริกนั น้ั น จะเห็นไดจ้ ากลกั ษณะทา่ ทีทีหยง่ิ ยะโสและการรุกรานซ่ึงนาํ ไปสู่สภาพทว่ั ไปที่ครอบคลุมความสัมพั นธ์ด้านต่าง ๆ ของสังคม ซ่ึงวางอยู่บนหลักการกดขี่ขูดรี ดและทําลายศักด์ิศรี ของมนุษย์ ควบคูก่ นั ไปกบั สภาพของวฒั นธรรมที่มีแต่การบริโภคและการดิ้นรน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook