อัล-มรุ อญติ อาต AL-MURAJIAAT โดย BY ซัยยิด อับดลุ ฮเุ ซน ชรั ฟุดดนี SYED ABULHUSAIN SHARAFUDDIN ซยั ค ซะลมี อัล-บะชะรีย SHAIKH SALEEM AL-BASHRI
ดารฺ อหลฺ ิลบัยตฺ ตู ป.ณ. 7-200 กรุงเทพฯ 10700 Daru Ahl – e – Lbait P.O. Box 7 – 200 Bangkok 10700 ช่ือหนงั สอื อลั -มรุ อญิอาต BOOK’S TITLE : AL-MURAJI’AAT เขยี นโดย : ซยั ยิด อบั ดุลฮเุ ซน ซัรฟุดดีน ซยั ค ซะลมี อัล-บะชะรยี AUTHORS : SYED ABDULHUSAIN SHARAFUDDIN SHAIKH SALLEM AL-BASHRI แปลและเรยี บเรียงโดย : อยั ยุบ ยอมใหญ TRANSLATED BY : AYYUB YOMYAI ผูด าํ เนนิ การจัดพมิ พ : ดารฺ อหลฺ ิลบัยตฺ (อ) PUBLISHED BY : DAR AHLE-LBAIT (A) พมิ พค ร้งั แรกจาํ นวน : 2,000 เลม 1 ST EDITION : 2,000 COPIES ปท ่ีพมิ พ : สงิ หาคม, 2529 DATE OF PUBLICATION : AUGUST, 1986 พิมพท่ี : 14 การพิมพ 452/68-69 ถนนจรลั สนทิ วงศ ซอยวัดบางพลดั บางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 PRINTER : โทร. 4248817 14 MEDIA PRINTING 452/68-69 JARANSNITWONG RD., SOI WATBANGPLAD BANGKOK-NOI BANGKOK 10700 TEL: 4248817
ดวยพระนามของอัลลอฮ ผูทรงกรุณาปรานี ผูทรงเมตตายง่ิ เสมอ บรรดาการสรรเสรญิ เปน กรรมสิทธิข์ องอัลลอฮ พระผอู ภบิ าลแหงสากลพภิ พ ผทู รงกรณุ าปรานี ผทู รงเมตตาย่ิงเสมอ ผูเ ปน เจาแหง วนั ตดั สินตอบแทน พระองคเ ทานนั้ ท่เี ราเคารพภกั ดี (รับใช) และ ยงั พระองคเ ทา นัน้ ทเ่ี ราวงิ วอนขอความชว ยเหลอื โปรดนาํ เราในทางเทีย่ งธรรม ทางบุคคลเหลา นน้ั ผูซึ่งพระองคไดใหความโปรดราน ใหพนจากทางส่งิ พระองคทรงกรว้ิ และไมใชท างของบรรดาผูหลงผิด ****************************************************************************** โอ อัลลอฮ โปรดประทานความโปรดปรานของพระองค ผูเ ปน ศาสดาสุดทายของบรรดาศาสดาของพระองค แดประมุขของบรรดาศาสดาของพระองค มุฮมั มัดและผสู บื ทายาททีส่ ะอาดบริสทุ ธ์ิของทาน และไดโปรดประทานความโปรดปรานของพระองค แดบรรดาศาสดาและผูส ืบทอดเจตนารมณท ง้ั ปวง
ตารางเทยี บอกั ษรภาษาอาหรับ อะลฟี - อ อนี - อ บาอฺ - บ เฆน - ฆ ตาอฺ - ต ฟาอฺ - ฟ ษาอฺ - ษ กอ ฟ - กฺ ญีม - ญ กาฟ - ก หา - ห ลาม - ล คอ - ค มีม - ม ดาล - ด นนู - น ซาฺ ล - ซฺ วาว - ว รอ - ร ฮา - ฮ ซัย - ซฺ ยา - ย สีน - ส เชน - ช สระเสยี งยาว สระเสียงสั้น ศอด - ศ อา อะ ฎอด - ฎ อู อุ ฏอด - ฏ อี อิ ซอฺ - ซฺ ตารางเทยี บอกั ษรภาษาเปอรเซีย P Ch Zh G
บทนาํ หนังสือ “อัล-มุรอญิอาด” ที่ทานผูอานกําลังสัมผัสอยูน้ี เปนหนังสือเลมหนึ่งที่สถาบน ดารฺ อหฺ ลิลบัยตฺ (อ) แหงประเทศไทย มีความภาคภูมิใจเปนอยางย่ิง ที่ไดมีโอกาสดําเนินการจัดแปล เรียบเรียงและจัดพิมพเปนภาษาไทย จนกระท่ังประสบความสําเร็จตามความคาดหวังของกลุมพี่ นองของเราท่ีเรียกรองและแสวงหามาชานาน หลังจากที่หนังสือเลมน้ีไดถูกแปล เรียบเรียงและถูก จัดพิมพเผยแพรเปนภาษาตาง ๆ ไปท่ัวโลก โดยสถาบันสําคัญ ๆ ของอิสลาม ในภูมิภาคตาง ๆ ไป แลว สาระและเง่ือนไขที่เปนเหตุผลสําคัญซึ่งเปนที่มาของหนังสือเลมนี้ไดมีรายละเอียดไป ตามท่ีปรากฏอยูในบทนําเดิม ของผูเปนเจาของหนังสือเลมนี้ทุกประการ ทั้งในสวนที่เปนบทนํา ของผูดําเนินจัดรูปเลมในภาคภาษาอาหรับก็ดี และบทนําของทานผูเปนเจาของ “อัล-มุรอญิอาต” เองก็ดี สวนการแปลจากภาษาอาหรับมาเปนภาษาไทยในคร้ังนี้ ไดดําเนินไปโดยอาศัยหลักการ แปล ท้ังในรูปถอดความและเก็บความเปนหลักใหญ กลาวคือสํานวนในที่เปนสํานวนโวหาร ระดบั สงู ของภาษาอาหรบั ทเี่ ปน การยากแกการเรยี งรอ ยมาใหสละสลวยในภาษาไทย สวนใหญแ ลว ผแู ปลไดถ ือหลกั การจับความของประโยคน้ัน ๆ มาเรียบเรียงโดยคํานึงถึงพ้ืนฐานความเขาใจในรูป สํานวนภาษาไทยเปนหลกั แตอ ยา งไรกด็ ี การแปลท่ีไดดําเนนิ มาทงั้ หมดน้ี ถงึ แมจะเปน งานยากทแี่ สนเขญ็ สกั ปานใดก็ ตาม แตผูดําเนินการแปลก็ไดพากเพียรจนกระทั่งสําเร็จขึ้นมาแลวดวยความการุณยขององคพระผู อภิบาลแหงสากลโลก ซ่ึงมวลการสรรเสริญท้ังหมดน้ันเปนสิทธิของพระองคเสมอ และยอมเปนท่ี ประจักษแกสายตาของนักวิชาการ ผูเช่ียวชาญและผูสนใจในรายละเอียดของปญหาอันย่ิงใหญ (ชอี ะฮฺ-ซนุ น)ี ขอ น้ีของอิสลามแลว วา หนงั สอื เลม นม้ี ีความเปน เลศิ ทางวิชาการเพยี งไร อนึง่ ตวั เลขหนาบท ภาค ของตําราอางอิงทุกแหงท่ีระบุในเชิงอรรถของหนังสือเลมน้ีอาจมี สวนคลาดเคลื่อนกับตําราตัวจริงที่ตีพิมพใหมในสมัยปจจุบัน จึงขอใหทานผูสนใจท่ีจะคนควาได คาํ นึงถึงขอ เท็จจริงอันนดี้ วยวา ตนฉบบั ของหนังสอื นไ้ี ดถ ูกพมิ พมานานไมนอ ยกวา ๕๐ ปม าแลว เราขอวิงวอนจากอัลลอฮฺ (ฮุบห) ไดโปรดประทาน ฮิดายะฮฺ เตาฟก และเราะหฺมะฮฺ แก สงั คมมสุ ลิมของเราโดยทว่ั ถึงกัน
กรรมการฝายขอ เขยี น ฝายการแปล และฝายการพมิ พ ดารฺ อาหลฺ ลิ บบั ตฺ ตู ป.ณ.๗-๒๐๐ กรุงเทพฯ ประเทศไทย ดวยพระนามของอลั ลอฮฺ ผูทรงกรณุ าปรานี ผทู รงเมตตายง่ิ เสมอ มวลการสรรเสริญเปน สิทธขิ องพระผูทรงซึง่ ประทานความโปรดปรานแกบรรดาผูทําการสรรเสริญ พระองค ความจําเริญพึงมีแตผูซ่ึงอัลลอฮฺไดประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทาน น่ันคือ ศาสดาฮัมมัดและลูกหลานของทาน บรรดาผูซ่ึงอัลลอฮฺไดทรงขจัดความมลทินออกไปจากพวกเขา และทรงชาํ ระขัดเกลาพวกเขาทั้งหลายใหส ะอาดบรสิ ทุ ธิ์ การสนทนาเปนการรวมมือกันใหเกิดแนวรวมทางความคิด ทุกส่ิงทุกอยาง ถาไดมีการ รวมมือสนับสนุนกันแลว สังคมก็จะมีพลังท่ีแข็งแกรง มีความเปนปกแผน และเจริญเติบโตขึ้นมา อยางมั่นคงจากพลังอันเด็ดเด่ียวของส่ิงนั้น เพราะวา “คนที่มีสติปญญาคือ ผูท่ีไดนําเอาสติปญญา ของคนทั้งหลายมาประสานกับสติปญญาของตนเอง” และ “ความขาดทุนนั้นยอมเกิดข้ึนมาจาก ความแตกแยก” ดังน้ันผูใดท่ีเขาไดใหความเอื้อเฟอแกบุคคลอ่ืน ความดีงามและชัยชนะยอมจะเปน ของเขาเองสวนผูที่แยกตัวออกมาจากคนอื่นน้ันเปนบอเกิดแหงความเสียหายของตนเอง ฉะน้ัน มนุษยท ่ไี ดวางตนใหมกี ารซมึ ซาบโดยแนวความคดิ และพฤตกิ รรมอยา งน้ี เขาคอื ผซู ่ึงสังคมท้ังหลาย จะตองเปนฐานรองใหแกเขา เพราะแมแตสัตวตาง ๆ ถามันไดเติบโตขึ้นมาจากการซึมซาบโดย แนวความคดิ และพฤติกรรมท่ดี ี มันกจ็ ะสามารถเปลย่ี นจากความดุรายมาเปนสัตวที่เช่ืองได ฉันใดก็ ตามการรวมมือกันเพื่อแสวงหาผลผลิตท่ีเปนหลักเกณฑสําหรับการใชชีวิตก็เปนฉันน้ัน ซึ่งถาหาก วาปราศจากอาศัยวิธีการดังกลาวก็เปนเสมือนกับ เหยาะเมล็ดพันธุขาวสาลีลงบนเศษเหล็ก แตเมล็ด พันธุจะแตกหนอขึ้นมาไดก็ตอเมื่อไดรับนํ้าฝนจากกอนเมฆ และภูเขาไฟแท ๆ ยอมจะสามารถดับ ลงไดในเมอ่ื อยูภายใตการปกคลุมของหมิ ะนาํ้ แข็งทีอ่ ัดแนน ลง
หัวใจสําคัญของการสนทนา กลาวคือการสนทนาเปนส่ิงหนึ่งที่ตองอาศัยแนวความคิดซึ่ง ใหความรวมมือ ทั้งนี้ตองปราศจากการหุนหันพลันแลน และสรุปลงโดยท่ียังไมถึงเวลาอันควร ทัง้ นีก้ ็เพราะวาการผนกึ กนั เขาใหเ ปน เอกภาพเพ่อื การสนทนาจะไดปราศจากความหุนหันพลันแลน และสรุปลงทั้งท่ียังไมถึงเวลาอันควรจะสามารถดําเนินกันไปไดดวยความเสมอภาค ยามใดท่ีการ สนทนามีบรรยากาศซึ่งไมอํานวยตอกัน ผลท่ีออกมาก็คือผลิตผลของความใจเร็วดวนได ดังน้ัน อุปสรรคที่รายแรงก็จะเกิดขึ้นแกผลสรุปของการสนทนา ดวยเหตุนี้บุคคลที่มีความปรารถนาจะได พลังแหงอุดมการณ จึงตองอาศัยการสนทนาที่ดําเนินไปสูขอยุติท่ีสมบูรณ ถาผูรวมการสนทนา ดําเนินการไปดวยความไมประสงคดีแลว ก็จะสงผลกระทบที่เสียหายตาง ๆ ไปสูประชาชน แต เมื่อใดถาผูรวมการสนทนาไดเปดฉากการสนทนานั้น ๆ ดวยเปาหมายท่ีสําคัญดังกลาวแลว การ สนทนาของเขาก็จะเปนผลดีสําหรับประชาชน ปราศจากความเสียหายใด ๆ ทั้งนี้เน่ืองจากวาวิธีการ สนทนาเหลา น้นั เปน จุดหมายปลายทางสาํ หรบั ทกุ ตัวบคุ คลที่จะชวยทําใหเขาไดรูจักสัจธรรม ซึ่งทํา ใหห า งไกลจากผลกระทบทเี่ ลวราย หนังสือเลมน้ีมีช่ือเปนภาษาอาหรับวา “อัล-มุรอญิอาต” เปนหนังสือที่รวบรวมบทสนทนา ที่ดําเนินอยูในรูปแบบของการหาขอยุติที่สมบูรณระหวางทัศนะความเชื่อถือของฝายชีอะฮฺโดยอิ มามผูทรงคุณวุฒิ ซัยยิด อับดุลยุเซน ชัรฟุด-ดีน นักปราชญใหญแหงประเทศเลบานอนฝายหนึ่ง หลักฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวกับหัวขอของการสนทนาเหลานี้ ทานท้ังสองไดอนุญาตยินยอมใหมีการ แพรห ลายได มีคําถามวา เพราะเหตุใดจึงไดนําเอาบทสนทนาท่ีเกี่ยวกับคูกรณีที่ย่ิงใหญท้ังสองฝายนี้มา เสนอ ? มนั ไมใชเพราะเรื่องนี้ดอกหรือท่เี ปนปญ หายึดเย้อื ติดตอ กนั ตลอดมาตงั้ แตสมยั รากเหงาแหง ประวัติศาสตร ? ไมเปนการดีหรือที่ปญญาชนจะไดหลีกหางจากขอพิพาทของคูกรณีท้ังสองนี้ เพ่ือใหประชาชนไดดําเนินไปตามพื้นฐานของประชาชนเอง ถึงแมวาจะเก่ียวของอยูกับสวนนอย ของพื้นฐานทางศาสนา และใหเขาลืมขอขัดแยงตาง ๆ ซ่ึงความผิดพลาดของมันทั้งมวลน้ันไดดับ สูญไป แลวใหเขายืนขึ้นตอหนาพระพักตรแหงพระผูอภิบาลของพวกเขาเอง และใหพระองคทรง ตัดสินความผิดของพวกเขาโดยความยุติธรรม ? การกระทําเชนน้ีหมายถึงความดีงามและความเปน ธรรมแลว หรือ ?
หามิไดอยางเด็ดขาด หากแตความจําเปนในอันที่จะถายทอดการสนทนาของคูกรณีทั้งสอง ฝา ยน้กี ็เพราะวา .... ๑. จําเปนทต่ี องเสนอสนทนาของคูกรณีทั้งสอง ท่ีไมมีการทําลายลางกัน เนื่องจากส่ิงที่เปน สาเหตคุ อยกระตุน อยูข องท้งั สองฝา ย ตา งกเ็ ปน ส่ิงทีม่ ีปรากฏอยูในทรวงอกดวยกันมาโดยตลอด ใน เมื่อไมมีโอกาสไดระบายมันออกไปดวยการสนทนาแลวไซ มันจะปะทุมาในรูปของการทําลายอยู เสมอ....ผูใดเลาที่เขาจะสามารถลืมลง ถาหากเขาไดใชชีวิตอยูในดินแดนแหงการรบพุงซ่ึงรอบดาน มีแตสงครามท่ีสูรบกันอยู ? แมวานั่น จะมิใชเปนเพราะการขัดแยงกัน ในเรื่องของความเช่ือทาง ศาสนาก็ตาม ๒. ถึงแมว า ขอขดั แยง ตาง ๆ จะถูกลบเลือนใหดับสูญไป แตทวาศาสนายอมไมมีวันและไม มีทางที่จะดับสูญได เพราะเราท้งั หลายมีความตอ งการอยางย่ิงกับศาสนา จุดสําคัญขอนี้เองที่ทําใหมี ผูสมคั รใจตองการที่จะใหตนเองไดมีโอกาสยึดเอาศาสนามาดวยวิธีการตาง ๆ และจากจุดนี้เองท่ีทํา ใหม ผี ูนาํ ของบรรดาผสู มคั รใจทีต่ องการยดึ เอาศาสนามาจากความเขา ใจของพวกเขา บุคคลท้ังหลาย ยอมอยูตามพ้ืนฐานความรูที่มีสําหรับตน เขายอมเปนผูมีอุปสรรคอยางย่ิงในอันท่ีจะยึดถือเอา ศาสนาจากคนใดคนหนึ่งมาเปนมาตรฐานได ซ่ึงจากบรรดาบุคคลระดับผูนําทั้งหลายเหลาน้ัน แนนอนที่สุด คนทุกคนจะตองอางคําอธิบายรายละเอียดตาง ๆ วามาจากมาตรฐานท่ีถูกตอง และมา จากผูนําที่มีคุณวุฒิ ท้ังนี้ก็เพราะวาเขาเชื่อมั่นในวิชาการของเขาอยางเต็มที่วามีมาตรฐานที่เด็ดขาด เปน พเิ ศษ นค่ี อื ลกั ษณะของผูล ําพองใจ (มุตะกับบิร) ซึ่งทําใหเกิดทัศนะท่ีผิดพลาดมากกวาเหตุผลท่ี ถูกตอง และบางทีถาเขาไดยึดถือหลักการเพื่อเปนขอเปรียบเทียบกันกับมาตรฐานอื่น ๆ และกับผูที่ เขามคี วามเชย่ี วชาญในเรือ่ งนนั้ ๆ เปน พเิ ศษก็จะสามารถทําใหเ ขามองเห็นความเทย่ี งธรรมได โดยที่ ขอมูลของเขาจะมีเหตุผลที่ถูกตองมากกวาเหตุผลที่ผิดพลาด ทั้งนี้ก็เพราะการสนทนา ดังนั้นบุคคล ใดท่ีวางแผนการสนทนาใหผิดพลาด ความผิดพลาดอันน้ันยอมสงผลกระทบตอตัวเขาเอง สําหรับ ดา นของศาสนาและดา นของผนู าํ ๓. ทําอยา งไรจึงจะสามารถทําใหก รณีพิพาทของท้ังสองฝายสิ้นสุดลงได ? ไมมีทางใดที่จะ สามารถคลี่คลายปญหาใหเปนไปโดยความใสสะอาดไดอีกแลวเชียวหรือ ? ดวยเหตุน้ีการสนทนา ของคูกรณีทั้งสองจึงตองถูกนํามาเปดเผยขึ้น ในรูปของมาตรฐานการสนทนาท่ีแทจริง ท้ังนี้ เพ่ือท่ีจะใหขอมูลปรากฏขึ้นเปนพื้นฐานที่แนนอน โดยเสนอขึ้นมาใหอยูในระดับของตําราทาง
วิชาการท่ีใหแนวความคิด เพ่ือเปนการเปดเผยขอเท็จจริงบางประการของศาสนาซ่ึงอัลลอฮฺไดทรง บัญชาไวในปฏิบัติตาม เปนการสนทนาท่ีดําเนินอยูในพ้ืนฐานทางวิชาการท่ีเสนอแนวความคิดเพ่ือ เปดเผยขอเท็จจริงบางประการของคําสั่งท้ังหลายแหงอัลลอฮฺ ผูทรงสูงสุดเทานั้นมิใชเสนอขึ้นมา เพ่ือกอใหเกิดปญหาใด ๆ หากแตวาส่ิงท่ีจะกอใหเกิดปญหาก็คือ การหลับหูหลับตาใหติดอยูกับ พืน้ ฐานของมวลชนหรอื พื้นฐานทางการเมืองเทาน้ัน และนี่คือส่ิงที่ควรระวังไวอยางเขมงวด เพราะ ไมสามารถบรรลุถึงขอยตุ ทิ ่ีแทจ ริงได ๔. ถาหากวาเราไดทําการปดประตูการพิจารณาขอพิพาทของคูกรณีทั้งสองอยูตลอดไป และเรามาหวงหามกันมิใหเสนอแนวความคิดเพื่อพิจารณากันอยางจริงจังกับปญหาดังกลาวแลว ก็ เทา กบั วาเราไดโยนความผิดพลาดท้ังหมดไปใหแกประชาชาติในอดีต ซ่ึงความผิดพลาดอันน้ันก็จะ สืบเน่ืองตอไปสูประชาชาติในอนาคต ซึ่งก็หมายความวา ความผิดพลาดอันขมขื่นจะตองติดพันไป จนอนุชนรนุ ตอไป ๕. ถาหากเราไมทําการอธิบายถึงเรื่องราวตาง ๆ ที่เปนพระบัญชาของอัลลอฮฺ ผูทรงสูงสุด ในประเดน็ สําคัญตา ง ๆ ของศาสนา ก็เทากบั เรากลาววา “แทจริงเราไดพบวาบรรพบุรุษของเราอยูกับแนวทางหนึ่ง และพวกเราก็เปนผูไดรับ แนวทางตามรองรอยของพวกเขาทงั้ หลาย” (๔๒ : ๒๒) อัลลอฮฺ ผทู รงสูงสดุ จะทรงยอมรับพวกเรากระนัน้ หรอื ถาหากเราจะกลา วแกพ ระองคว า “แทจริงเราปฏิบัติตามหัวหนาและผูอาวุโสทั้งหลายของพวกเรา ดังนั้นพวกเขาจึงไดทําให เราหลงจากทางนาํ ?” (๓๓ : ๖๗) เปนหนาที่ของเราในอันท่ีจะทําการศึกษา ตอส่ิงซึ่งไดสืบทอดเปนมรดกทาดานวิชาการ และมาตรการนําทางตาง ๆ ท่ีมีตอเรา แตทวาดวยวิธีการซึ่งเหมาะสมน่ันคือ การศึกษาท่ีรวมมือกัน อยางจริงจัง และไมเปนการบังควรอยางยิ่งท่ีจะยึดถือเอามรดกทางดานวิชาการเหลาน้ันดวยวิธีของ การแสวงหาผลประโยชนจ ากความเสื่อมเสยี ของบคุ คลอน่ื การสนทนาท่ีหันหนาเขาหากัน ก็เปนประเด็นท่ีสําคัญอันหน่ึง กลาวคือการสนทนากัน ระหวางแกนนําของกลุมท้ังหลาย ยอมจะนําไปสูชองทางท่ีแกปญหาสําหรับฝายหนึ่งที่ยังเปนกลุม ซึ่งอยูบนพ้ืนฐานของความเพอเจอและชองทางอันนี้จะนําไปสูความเขาใจแกทุก ๆ กลุมท่ีอยูใน
นโยบายทางความคิดของแกนนําสําหรับกลุมน้ัน ๆ วิธีการที่ทําใหเกิดความเขาใจเชนนี้ จะนําไปสู การยอมรับของกลุมอื่น ๆ ใหมีปริมาณมากขึ้น ทั้งน้ีหมายความวาปริมาณของกลุมที่หันหนามา เผชิญกันก็จะตองมีไวซ่ึงเจตนาที่ดีงามที่กอใหเกิดอุดมการณท่ีมั่นคงเพื่อเก้ือกูลการรวมมือกันและ เพื่อจํากดั ปริมาณของกลมุ ทแ่ี ตกแยกไวใ หอ ยใู นทางนาํ ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ จากเงื่อนไขของการวางข้ันตอนดวยวิธีการท่ีสูงสงเหลานี้ คือผลสะทอนที่สําคัญของคํา ขวัญแหงเอกภาพ (เตาฮีด) ซ่ึงเปนคําขวัญท่ีย่ิงใหญสําหรับกลุมตาง ๆ ทุกหนแหง หลักการของ ศาสนาจะไมสามารถดํารงไวไดแมแตหลักการเดียว ถาหากไมมีการยึดถือปฏิบัติตามคําขวัญแหง เอกภาพ (เตาฮีด) สาเหตุท่ีทําใหกลุมตาง ๆ ตองประสบกับความลมเหลวลงนั้น มิใชเปนเพราะมาจากวิธีการ ที่กลุม นัน้ ๆ อําพรางการสนทนาและการเผชิญหนากนั อยางจรงิ จังเพียงอยา งเดยี ว หากแตเ ปนเพราะ วธิ ีการควบคมุ บทบาทของสงั คมมใิ หมีการสง เสริมการแสดงทัศนะตอกัน ส่ิงใดก็ตามท่ีมีปรากฏอยู ในพื้นผวิ ของโลก แมน วามนั จะเปนส่ิงท่ีเล็กที่สุดสักปานใดก็ตามยอมไมสามารถที่จะนําออกมาให รับแสงสวางได นอกจากตองอาศัยวิชาการที่เก่ียวกับเร่ืองราวของมัน และกรรมวิธีที่กลมกลืน สอดคลองกันกับสภาพของมัน ฉันใดก็ดีมาตรการซ่ึงนับวาเปนเร่ืองที่ใหญหลวง อยางเชน การวาง พ้ืนฐานเพ่ือเขาสูคําขวัญแหงเอกภาพ (เตาฮีด) จะสามารถปรากฏความเปนจริงข้ึนแกสังคมที่ ลมเหลวไดอยางไร ถาหากเราตางพากันหลบหลีกการสนทนา และมัวแตปดก้ันการหาความรูที่ รว มมือกนั โดยเหตุผลที่จะใหมาตรการอันยิ่งใหญน้ีไดปรากฏความเปนจริงข้ึน เราจึงไดเสนอบท สนทนาระหวางจอมปราชญผูย่ิงใหญแหงประเทศเลบานอนกับจอมปราชญผูย่ิงใหญแหงประเทศ อียิปต ดังมีปรากฏรายละเอยี ดอยใู นหนงั สอื เลม นี้ (อัล-มุรอญิอาต) สําหรับผูทําหนาท่ีอธิบายในหนังสือเลมนี้ กลาวไดวาทานเปนผูมีความรอบรูท่ีมีระดับ ขดี ขน้ั ทางวิชาการที่สูงสง (มัรญีอฺ) มิใชวาเม่ือเราถือวาทานเปนผูปราดเปรื่องเหนือนักวิชาการใด ๆ แลว เราจะผานไปเลยอยางไมสนใจตอชีวประวัติของทาน ก็หามิได หนาที่ของเราจําเปนที่จะตอง ศกึ ษา เพ่ือทาํ ความรูจักกบั คณุ สมบัตติ าง ๆ ตลอดถงึ สถานภาพอันดเี ดนของทา นดวย ทานอิมาม ซัยยิด อับดุลฮุเซน ชัรฟุด-ดีน มีชื่อเดิมวา นัจญอุช ชะรีฟ ยูซุฟ บิน ชะรีฟ ญะ วาด บิน ชะรฟี อิสมาอลี
ทานเกิดท่ีเมืองกาซิมียะฮฺ ประเทศอิรัก เม่ือ ฮ.ศ.๑๒๙๐ ทานสําเร็จการศึกษาทางดาน วิชาการในเมืองกซิมียะฮฺ และเมืองนะญัฟ โดยไดรับการศึกษาจากคณะจารยท่ีมีชื่อเสียงของยุคนั้น บรรดาคณะจารยทั้งหลายตางมีความนิยมชมชื่นในความอุตสาหะพากเพียรและความปราดเปรื่อง ของทา นเปน อยางยิ่ง ลักษณะเหลาน้ันเปนสิ่งบอกเหตุใหบรรดาคณาจารยท้ังหลายทราบวา ทานจะตองเปน นักปราชญท ่ีสาํ คัญคนหนึ่งในอนาคต สําหรับในป ฮ.ศ.๑๓๒๐ ทานไดนําหนังสือ “คัรซุล-คอริจญ” ไปใหแกอาจารยท่ีสําคัญคนหนึ่งในสมัยน้ัน คือ ทานชัยค มุฮัมมัด กาซิม อัล-คุรอซานีย ผูรวบรวม หนังสือ “กิฟายะตุล-อุศูล” ปรากฏวาทานชัยคแหงคุรอซานไดโจมตีทัศนะตาง ๆ ของทาน และได ส่ังหามบรรดานักศึกษามิใหมีการติดตอและสนใจหนังสือเลมนั้น อีกทั้งยังไดสั่งใหนําออกไปเสีย อยูมาวนั หน่ึงทานชัยคก ไ็ ดถามปญ หาแกบรรดานักศึกษา แตแลวก็ไมมีใครสามารถตอบได แตทาน ซัยยิต อับดุลฮเุ ซน ชรั ฟดุ -ดนี เปน ผูม คี วามสามารถตอบปญหาน้ันไดอยางถูกตอง ทานชัยคแหงคุรอ ซานยังไดออกคําส่ังใหทานทําการบันทึกคําอธิบายเหลาน้ันใหดวย ทานซัยยิดไดแสดง ความสามารถกระทําจนกระท่ังสําเร็จ แลวไดนําสิ่งที่ทานบันทึกในหัวขอเร่ืองดังกลาวไปเสนอแก อาจารยของทาน ผูเปนอาจารยไดแสดงความนิยมชมชอบ และอานขอเขียนนั้นใหแกบรรดา นักศึกษาทั้งหลายรับฟง หลังจากนั้นทานก็ไดหันไปยังซัยยิด ชัรฟุด-ดีน พลางกลาววา “อิมามใหญ แหงสถาบัน ชัยคุล-อันศอรีย ไดเขียนหัวขอนี้มากอนแลว แตทัศนะของทานยังไมสามารถเทาเทียม กับทัศนะของเธอได” ตอมาเมื่อทาน ซัยยิด อิมาม ชัรฟุด-ดีน มีอายุได ๓๒ ป ทานไดเดินทางกลับไปท่ีเมือง “ญะ บัล อามิล” ประเทศเลบานอน ซึ่งเปนถิ่นฐานของบิดาและบรรพบุรุษ ชาวเมือง “ญะบัล อามิล” ได ใหการตอ นรบั ทานเปนอยางดี และยังไดม ีโอกาสศึกษากบั บรรดานักปราชญทม่ี ชี ื่อเสยี งอีกมากมาย ชีวิตการตอสูของทานก็มีความสําคัญเปนพิเศษ กลาวคือ เมื่อทานไดรับการศึกษาจน แตกฉาน ทานก็ไดพบเห็นความเปนไปตาง ๆ ท่ีผิดพลาดอยูภายในสังคมมากขึ้น ทานมองเห็น ชองวา งทีเ่ กิดขึน้ ระหวางประชาชน สวนใหญก ับชนชน้ั ผปู กครองทา นไดมองเห็นความเสยี หายของ อารยธรรมตางประเทศ เชน อารยธรรมของฝร่ังเศสไดหล่ังไหลเขามาในบานเมือง ดังนั้นทานจึง วางเปาหมายการอบรมสง่ั สอนบรรดาประชาชนใหทําการตอสูกับอารยธรรมทเี่ สอ่ื มทรามเหลา นัน้ ดว ยเหตุนที้ านจงึ ไดเ ขาไปมบี ทบาทอยใู นองคกรท่มี พี ลังกลุมหนึ่งของบานเมืองเพ่ือทําการ รณรงคเสริมสรางวัฒนธรรมใหมขึ้น น่ันคืออารยธรรมทางศาสนา ซ่ึงขณะนั้นมันกําลังจะจากไป
เปนความหลังของประชาชนในชาติโดยท่ัวไปเสียแลว ปญหาท่ีหนักย่ิงอีกประการหนึ่งก็คือ บุคคล ระดบั ผูนาํ ทางศาสนาจาํ นวนหนึ่งยังอํานวยประโยชนใหกับชนช้ันปกครอง และไดปรักปรําวาทาน ซัยยิดต้ังตัวเปนผูกอปญหาความวุนวายในสังคมและความม่ันคงของการปกครอง และทานไม สามารถที่จะรอดพนจากขอกลาวหาตาง ๆ เหลานี้ของบรรดาผูนําศาสนาประเภทน้ันได แตอยางไร ก็ตาม ประชาชนท้ังหลายรูจักทานและเขาใจถึงพฤติกรรมตาง ๆ และโครงการของทานที่ทานได ดาํ เนินการข้ึนเปนเปา หมายอันสําคญั ดวยเหตุนี้เองนักปกครองที่อยูภายใตการสนับสนุนของฝร่ังเศสไดทําการปดปากเสียงของ ทานซัยยิดเพ่ือมิใหประชาชนมีความนิยมในตัวทานและยังไดมีการปองกันการดําเนินงานของทาน อยางเหนียวแนน โดยฝมือของ “อิบนุ ฮิลาจญ” ซ่ึงเขาไดทําการบีบค้ันตอครอบครัวของทานซัยยิด ดวยการใชกําลังอาวุธ ซ่ึงในขณะน้ันปรากฏวาท่ีบานของทาน เปนท่ีพ่ึงพิงของบรรดาผูศรัทธา ทั้งหลาย ซึง่ พวกอิบนุ ฮิลาจญไมสามารถดําเนินตามแผนรายของเขาใหประสบความสําเร็จได ทาน ซัยยิดไดรบั ความปลอดภยั อยางหวุดหวดิ ซงึ่ นบั วาอลั ลอฮเฺ ปน ผทู รงสนบั สนุนตอภารกจิ ของทาน คร้ันเมื่อฝายปกครองไดประสบความลมเหลวในการท่ีจะปดปากเสียงของทานซัยยิดดวย แผนการครั้งนี้ก็ยิ่งเปนการเปดโปงใหเห็นความเลวรายของนโยบายการปกครองมากข้ึน น่ันก็คือ เจาหนาท่ีฝายปกครองไดทําการเผาสํานักงานใหญของทานในเมือง “ชะหูร” และไดทําการ ปลนสะดมทรัพยสินท่ีบานเรือนของทานในเมือง “ศูร” อีกดวย นอกจากน้ีเอกสารสําคัญตาง ๆ ที่ เปนขอเขียนสําคัญถึงสิบเกาเรื่องก็ไดถูกเผาไปดวย ซึ่งไมสามารถหามาตีพิมพไดอีกตอไป การ วางเพลิงเผาสํานักงานของทานในคราวน้ันเปนรอยแผลท่ีฝากไวในหัวใจของทาน ตราบจนกระทั่ง วาระสุดทายของชีวิต บรรดาขอเขียนท้ังหมดเหลานั้นลวนแตเปนขอเขียนท่ีใหทัศนะตอเยาวชน หนุมสาว สวนหน่ึงก็คือขอเขียนที่ทานไดนํามารวมไวเปนเลมมีชื่อวา “ชะบีลุล-มุอฺมินีน” ซึ่งได ตีพิมพแพรหลายในป ฮ.ศ.๑๓๒๗ เปนหนังสือท่ีทานซัยยิดอาลี มะหฺมูด อัล-อามีน หัวหนา นักวิชาการแหงเมือง “ญะบัล-อามิล” ไดกลาวชมเชยขอเขียนตาง ๆ ของผูเรียบเรียงวา “ตําราของ ทา นจะมคี ุณคายิง่ กวา ตาํ ราใด ๆ ของทา นซัยยิด “มรุ ตะฏอ” จากสาเหตุอันน้ีไดทําใหทาน ซัยยิด ชัรฟุด-ดีน และครอบครัวตองอพยพล้ีภัยไปอยูที่เมือง “ดามัสกัส” ซ่ึงตอมาทานก็ไดยายไปอยูท่ีประเทศปาเลสไตน หลังจากนั้นก็ไดอพยพไปพํานักท่ี ประเทศอียิปต อยางไรก็ดีโครงการสําหรับแนวทางแหงการตอสูของทานก็ยังคงมีอยูตลอดเวลาไม เคยเหือดหาย ทานจึงไดถูกตอตานจากบรรดานักปราชญและผูปกครองของประเทศอียิปต ฉะน้ัน
ทานจึงไดหวนกลับไปพํานักอยูที่ประเทศปาเลสไตนอีกครั้งหนึ่ง ทานไดอาศัยอยูท่ีหมูบานแหง หนึ่งที่มีบรรดานักวิชาการ และมีผูคอยใหความอารักขาแกทาน เนื่องจากตําบลน้ีอยูใกลชายแดน ของประเทศเลบานอน จึงปรากฏวาประชาชนชาวเลบานอนตางก็ไดมาติดตอพบปะใหความ สนับสนุนทานอยูเสมอ ตอมากลุม “มุญาฮิดีน” ไดมีการติดตอกับฝายปกครองเพื่อขอใหไดมีโอกาสเดินทาง กลับไปอาศัยที่บานเกิดเมืองนอน ดวยการเรียกรองสิทธิตาง ๆ จากฝายปกครอง ซ่ึงไดขอใหมีการ ออกคําสั่งนิรโทษกรรมใหแกบรรดากลุมมุญาฮิดีนท้ังหลาย แตทางฝายปกครองไดยินยอมใหแต เพยี งทา นซัยยดิ ชัรฟุด-ดีน ใหเดินทางกลับไปท่ีเมือง “ญะบัล-อามิล” แตผูเดียว ฉะน้ันทานอิมามจึง ไดยืนกรานท่ีจะไมยอมเดินทางกลับภูมิลําเนาของทาน ในขณะท่ีบรรดากลุมมุญาฮิดีนท่ีไดรวม อพยพลี้ภัยไมมีโอกาสไดรับสิทธิอันนั้นดวย ทานจึงไดเดินทางไปอาศัยอยูที่กรุงเบรุต จนกระทั่ง เมื่อไดมีการประกาศนิรโทษกรรมทั้งหมดแลว ทานจึงไดเดินทางกลับไปยังเมืองญะบัล-อามิล พรอ มกับบรรดากลุม มุญาฮดิ นี ซ่งึ ยงั คงยดึ มัน่ อยใู นอดุ มการณและทศั นะอยา งไมหวั่นไหว การเดินทางของทานก็เปนส่ิงสําคัญประการหนึ่ง กลาวคือ ทานอิมามซัยยิด ชัรฟุด-ดีน ได ใชเวลาของการเดินทางในทุกหนแหงของทานเพื่อรับใชอุดมการณของศาสนา สําหรับเหตุการณที่ สําคัญ ๆ ของการเดนิ ทางมดี ังตอไปนี้ ในป ฮ.ศ.๑๓๒๘ ทานไดเดินทางไปยังนครมะดีนะฮฺอันไพโรจน เพ่ือทําการเยี่ยมเยียน สถานที่ฝงรางของทา นนบ(ี ศ) และสุสานของบรรดาอมิ ามผูบ รสิ ทุ ธ์ทิ ี่ “บากีอฺ” ใน ฮ.ศ.๑๓๒๙ ทานไดไปพํานักที่ประเทศอียิปตโดยไดพบปะสังสรรคกับบรรดา นักปราชญชั้นผูใหญและเจาหนาที่ทางวัฒนธรรมชั้นสูง จากบรรดาผูมีเกียรติท้ังหลายเหลานั้นทาน ไดม ีโอกาสพบกบั ทานชัยคของมหาวิทยาลัยอัล-อัซฮัรฺ นั่นคือชัยคซะลีม อัล-บะชะรีย ซ่ึงการติดตอ ระหวางทานผูนี้กับทานซัยยิดไดเกิดการสนทนาท่ีเปนบรรทัดฐานสําคัญ จนไดเปนท่ีมาของ หนังสือ “อลั -มุรอญิอาต” เลมนี้ ในป ฮ.ศ.๑๓๔๐ ทานไดเดินทางไปบําเพ็ญฮัจญท่ี บัยตุลลอฮฺ อัล-ฮะรอมในคราวน้ัน กษัตริยฮุเซน พระเจาแผนดินแหงแควนฮิญาซ ไดทรงใหการตอนรับทาน และทรงแตงตั้งใหทาน เปนอิมามนํานมาซในมัสญิด อัล-ฮะรอม พรอมกับทําหนาที่กลาวคือคุฏบะฮฺในคราวนั้นดวย ซึ่ง นบั วา เปนครั้งแรกท่ีบุคคลระดับอมิ ามของฝา ยชีอะฮฺไดท ําหนาท่เี ปน อิมามนาํ นมาซชาว “ฮุจญาจญ” ในมัสญดิ อัล-ฮะรอม
ใน ฮ.ศ. ๑๓๕๕ ทานไดมีโอกาสไปเยือนประเทศอิรัก ซ่ึงเปนดินแดนแหงหน่ึงสําหรับ ความบริสุทธิ์ ทานเดินทางไปยังนครแบกแดด และกัรบะลาอฺ ดินแดนบริสุทธิ์ ตลอดทั้งเมือง “นะญฟั ” อันมีเกยี รติ ทน่ี ่ันทา นไดม โี อกาสพบกบั บรรดานักปราชญกลุม ตาง ๆ ของบรรดาผูศรทั ธา ไมเกินความจริงแตอยางใดท่ีขาพเจา (ผูเขียนบทนํา) จะกลาววาในเมือง “ญะบัล-อามิล” น้ัน องคกรทางศาสนาท่ีมีมากมายท่ีสุด ก็คือ องคกรของทานเอง ทานวางหลักการเพื่อฟนฟูจิตใจ ประชาชนจนไดผลซึ่งเปนท่ีรูจักกันดีอยางแพรหลาย ทานไดวางโครงการเก่ียวกับบทบาทตาง ๆ ของมัสญิดใหแกประชาชน ท้ังน้ีเนื่องจากวา ผูศรัทธาน้ันคือผลสะทอนท่ีไดมาจากมัสญิด มิใช วามัสญิดเปนผลสะทอนที่ไดมาจากผูศรัทธาดานเดียว ดังน้ันความศรัทธาคือส่ิงเดียวเทานั้นท่ีจะ ปลูกฝงพ้ืนฐานที่ม่ันคงและผูนําข้ึนมาไดบนหนาแผนดิน และดวยอานุภาพของความศรัทธาจึงทํา ใหบ ุคคลยนื หยัดอยไู ด และดว ยอานภุ าพของความศรัทธาอีกเชนกันที่ทําใหกิจการทุกอยางสามารถ ยืนหยดั อยไู ด ดงั มีโองการของอัลลอฮฺตอนหนง่ึ วา “แทจ ริงผูมีเกยี รตยิ ่ิงในหมสู ูเจา ตามทศั นะของอลั ลอฮฺนั้นคอื ผสู ํารวมตนในหมูส เู จา ” (๔๙ : 13) ดังนั้นพ้ืนฐานที่นําไปสูเปาหมายน้ีคือพ้ืนฐานของผูศรัทธา และทุก ๆ โครงการที่ทานได กอตงั้ ขึ้นก็ไดล ุลวงจนประสบความสําเร็จดวยพลังจากสมาชิกของทานที่มีพ้ืนฐานของความศรัทธา ประสิทธิภาพของกลุมองคกรตาง ๆ ท้ังหลายยอมไมมีความสามารถแตอยางใดในอันที่จะกอตั้ง สังคมใหเปนปกแผนท่ีสวยงามได ตราบใดท่ีมันถูกจัดตั้งขึ้นมาดวยวิธีการที่ผลักไสตอแรงของ ความศรัทธา ทานอิมามซัยยิด อับดุล ฮุเซน ชัรฟุด-ดีน ไดคํานึงถึงความสําคัญในขอนี้ของศาสนา ทานจึงพิถีพิถันเปนอยางยิ่งในอันที่จะถือเปนประเด็นสําคัญสําหรับการดําเนินงานทั่ว ๆ ไปของ ศาสนานโยบายดังกลาวนี้ไดประสบผลสําเร็จอยางงดงาม สําหรับการจัดต้ังองคกรเพื่อฟนฟูจิตใจ กลุมชนตาง ๆ จึงไดรับผลสะทอนอยางท่ัวถึงกัน ไมวาในเมืองของทานเองหรือในเมืองอ่ืน ๆ ท่ี ใกลเ คยี งกบั เมือง “ศูร” และเมอื ง “ญะบัล-อามลิ ” ความจริงประการที่หน่ึงซึ่งไดปรากฏข้ึน นั่นคือ กลุมนักวิชาการแหง “ญะบัล อามิล” ที่ได ติดตามทานไปท่ีเมืองนะญัฟไดเลาวา “เม่ือผูทรงคุณวุฒิในเมืองนั้นไดรูจักทาน ก็ไดเขามาเสนอตัว เพื่อรวมดําเนินงานทางดานศาสนา โดยไดขออนุญาตจากผูทรงคุณวุฒิสูงสุดในสมัยน้ัน คือ ซัยยิด อาบู ฮาซัน อศิ – ฟะฮานีย คร้ันเม่อื เขาไดรับอนุญาตแลว ผูทรงคุณวุฒิทานนั้นก็ไดนําทานซัยยิด ชัร ฟุด – ดีน เขาไปพบและปรากฏวาทานผูมีคุณวุฒิสูงสุดไดใหเกียรติและยกใหทานอยูในตําแหนงผู
อาวุโส โดยที่ผูมีคุณวุฒิสูงสุดทานนั้นไดทําการนมาซหลังทานในมัสญิด และไดสั่งใหบรรดาผู ศรัทธาท่ีเปนลูกศิษยของทานวา ใหยึดถือในวิชาการของทานซัยยิด เม่ือประสบกับปญหาใดใน ศาสนาหลงั จากนน้ั ทานก็พาํ นกั อยูกบั บรรดาสานศุ ษิ ยผ ูเ จริญรอยตามทาน” นค่ี ือโอกาสสําคญั ยิ่ง ซึ่งบรรลุผลใหเกิดขึ้นแกการจัดตั้งองคกรในเมือง “ศูร” จนเปนที่รูจัก กันโดยทั่วไป แมแตในสถานท่ีอื่น ๆ หรือกลุมนักปราชญอื่น ๆ ก็ยังตองอาศัยโครงการทางศาสนา ของทานไปดําเนินงานจํานวนองคกรตาง ๆ ท่ีทานไดจัดต้ังข้ึนมีมากมายเสียจนไมสามารถรูจักชื่อ ไดห มด แตสาํ หรับองคก รที่สาํ คญั ๆ ซงึ่ มีชอื่ เสยี งนัน้ มีดงั ตอ ไปน้ี 1. สถาบัน “ฮชิ ยั นยี ะฮฺ” ซง่ึ เปนสถาบนั ฮิชยั นียะฮฺแหงแรกในเมอื ง “ศูร” 2. สถาบัน “ญามือ” ซึ่งเปนสมาคมแหงแรกท่ีจัดตั้งขึ้นในเมือง “ศูร” และอีกหลายเมือง ตราบกระท่งั ทกุ วนั น้ี 3. มหาวิทยาลัย “ญะอฺฟารียะฮฺ” ซึ่งเปนสถานที่อํานวยวิชาการระดับสูงใหแกเยาวชนผูมี วฒั นธรรมชาว “ญะบัล-อามิล” จํานวนมาก นับวาเปนองคกรที่สําคัญอยางย่ิงแหงหน่ึง ที่ชวยใหอนุชนของชาว “ญะบัล-อามิล” พนจากความโงเขลา มหาวิทยาลัย “ญะอฺฟารี ยะฮฺ” ไดดําเนินการสอนสืบตอมาจนกระท่ังไดมีผูรับชวงท่ีสําคัญอีกคนหนึ่ง คือ ทาน ซยั ยดิ ญะอฺฟร ชรั ฟดุ -ดีน 4. สถาบัน “นาคียลุ -อมิ ามศุ -ศอดิก” ซงึ่ ต้งั อยใู นเมือง “ศูร” 5. โรงเรยี นสตรีในเมือง “ศูร” 6. สมาคม “ญัมอียะตุล-บิรริ-วัล-อิพฺชาน” ซ่ึงเปนสมาคมที่มีโครงการพิเศษกวาสถาบัน อื่น ๆในบรรดามัสญิดและสถาบันของฮฺชัยนียะฮฺหลายแหงตางไดสนับสนุนโครงการ ของสมาคมแหงนใี้ นเมอื ง “ญะบลั -อามลิ ” งานเขยี นของทานท่ีสาํ คัญมีดงั ตอไปน้ี ๑. หนังสือ “อัล – มุรอญิอาต” คือบทสนทนาที่ถูกบันทึกไวอยางละเอียด ระหวางทาน ซยั ยิด กับทานชัยค แหงมหาวิทยาลัยอัล – อัซฮัรฺ ชัยค ซะลีม อัล – บะชรีย ท่ีไดปรากฏอยูเบื้องหนา ของทานนี้ ผทู เี่ คยอา นไดล งความเหน็ วา หนังสือน้เี ปนบรรทัดฐานอันสาํ คัญชนิ้ หนึ่งซงึ่ เรียกรอ งเชิญ ชวนไปสูความเปนเอกภาพของอิสลาม โดยไดเสนอแนวทางแหงสัจธรรมท่ีปรากฏไวอยางชัดเจน ซ่ึงไดเปนทีย่ อมรับของบคุ คลจาํ นวนมาก และตางก็แนะนําซึง่ กันและกนั ใหรูจ ักหนังสอื เลมนี้
คร้งั หนงึ่ ทานซยั ยิด ศอ็ ดรดุ – ดีน ชรั ฟดุ – ดีน ไดท ําการรวบรวมหนังสอื เลมน้ขี ้นึ มาตีพมิ พ ใหม แลวไดนําไปอภินันทนาการแกทานอิมามซัยยิด ฮุเซน เฏาะบาเฏาะบาอีย บะรัรดีย เมื่อป ๑๓๘๐ ทานไดกลาวคํายกยองวา “ฉันเคยคิดวากาลเวลาจะเปนหมันเสียแลว เน่ืองจากไมมีผูใด ปราดเปร่อื งเหมอื นทานชัยคลุ มุฟด จนกระทัง่ เม่อื ฉันไดอานหนงั สือ “อัล – มรุ อญิอาต” ทานชัยค อับดุลลอฮฺ อะลายิลียไดชมเชยหนังสือ “อัล – มุรอญิอาต” วา “มันมิไดเปนงานท่ี งายนักสําหรับผูทําการอธิบายขอเท็จจริงตาง ๆ ที่จะนําออกมาเสนอใหไดเหมือนกับหนังสือ “อัล – มรุ อญิอาด” นอกจากวา เขาจะเปน นักปราชญผ ูเ ปย มลน ดวยวิชาการเทานั้น” หนังสือเลมนี้ไดตีพิมพ ขึ้นโดยสํานกั งานอิสลามียะฮฺ จนกระทง่ั บัดนไ้ี ดผา นการตีพมิ พไปแลว ถึง ๑๖ ครง้ั ๒. หนงั สือ “อาบู ฮุร็อยเราะฮฺ” เปนตําราท่ีเกี่ยวของกับชีวประวัติของอาบู ฮุร็อยเราะฮฺ จาก แงมุมของรายละเอียดในดานตาง ๆ ทานชัยคอับดุลลอฮฺ อะลายิลียฺไดเขียนชมเชยหนังสือเลมน้ีวา “ขาพเจาพยายามอยางที่สุด จนไมมีเวลาจะทําธุรกิจอยางอ่ืน ทั้งนี้ก็เพ่ือท่ีจะกลาวหาสักอยางหน่ึงที่ เปนความผิดพลาดของผเู รียบเรยี ง แตแ ลว ก็ตองยอมรบั วา เขาเปนผูที่มีความรูแตกฉานท่ีสุดในทุก ๆ แงของประวัติศาสตรย่ิงกวานักปราชญคนใดท่ีมีความรอบรูในสาขาวิชากวางขวางอยูแลว แตถึง กระนั้นกย็ งั เทียบไมไ ดเ สมอเหมอื นกับวชิ าการอันพรอ มมูลของทาน ซ่ึงทําใหหัวใจมีความกระหาย ใครท่จี ะตดิ ตามอยตู ลอด” “หวงั วา ประชาชนท้ังหลายจะไดเก็บรกั ษารวบรวมวชิ าการตา ง ๆ ของทา นไว ไมตองสงสัย เลยวา ฐานะทางวชิ าการของทานซัยยดิ ผูน ี้ อยูในระดับมาตรฐานของวิชาการท่ีใสสะอาดซ่ึงสามารถ สัมผัสไดโดยสติปญญา เปนผูมีจิตวิญญาณแหงวิชาความรูอันกวางขวาง ในหลักวิชาของแขนงตาง ๆ ทานคือบุรุษท่ีมีวิชาการเพื่อสรางสรรค ในแงมุมตาง ๆ ท่ียังไมเคยมีผูสรางสวรรคซ่ึงมี ความสามารถไดอยางพรอมมูลเชนนี้มากอน นอกจากถาจะมีก็คือผูที่สามารถอธิบายในบางสิ่ง บางอยา งไดโ ดยเฉพาะเทา น้ัน” ๓. หนังสือ “อัล – ฟุศูลลุ – มุฮิมมะฮ”ฺ ๔. หนังสอื “อัจญว ะบะตุ มะซาอลิ มซู า ญารัลลอฮฺ” ๕. หนงั สือ “อลั – กะลมิ ะตุล – ฆอ็ รรออฺ ฟ ตัฟฎีลซุ – ซะอฺรออ”ฺ ๖. หนงั สอื “อัล – มะญาลซิ ุล – ฟาคเิ ราะตุ ฟ มาตมั อดิ เราะติฎ – ฏอฮเิ ราะฮ”ฺ ๗. หนงั สอื “อัน – นุศ วัล – อจิ ญติฮาด” ๘. หนงั สอื “ฟะละซะฟะตลุ – มิษาก วลั – วิลายะฮฺ”
๙. หนงั สือ “ษับบติ ลุ – อษั บาตร ฟ ซิลซลิ ะตริ ริวาฮฺ” ๑๐. หนงั สอื “มะซาอิล – ฟก ฮยี ะฮฺ” ๑๑. หนงั สือ “ริซาละฮฺ กะลามยี ะฮ”ฺ ๑๒. หนังสือ “อลิ ลั – มจั ญม อุ ุล – อะละมิล – อะเราะบีย บคิ ัมชัก” ๑๓. หนงั สือ “บะฆยี ะตรุ – รอฆบิ นึ ” ๑๔. หนงั สอื “รซิ าอลิ วะมะซาอลิ ” ผลงานทุกประเทศเหลาน้ีไดรับความนิยมเปนอยางย่ิง ซึ่งยืนยันไดวาเปนผลงานที่ใหความ สวา งช้ินสําคัญ นับตั้งแตสมัยที่อยูในอารยธรรมของฝร่ังเศส ผลงานเหลานี้ก็ยังคงอยูเพื่อเสริมสราง แนวความคิดทางศาสนาใหรุงโรจนยิ่งข้ึน สิ่งเหลาน้ีไดรับการตีพิมพและตีแผอยางกวาวขวาง นัก ประวัติศาสตรที่มีความประสงคจะไดรับความรูในรายละเอียดของประวัติศาสตร ตางก็ไดอาศัย ผลงานจากขอเขียนเหลานเ้ี ปนแนวทางสําหรบั ตน กรงุ เบรุต ๑๕/๑/๑๓๙๓ ฮาซัน-มะฮฺดีย, อชั -ชยั รอชยี ซัยยิด อบั ดุลฮุเซน ชรั ฟุดดนี
บทนํา หนังสือเลมน้ีมิไดถูกเขียนขึ้นในวาระเดียวกัน และวิชาการตาง ๆ ในหนังสือเลมน้ี ก็มิใช เปนของใหม หากแตเปนขอความท่ีไดรวบรวมไวมาเปนเวลานานกวาหน่ึงในส่ีของศตวรรษ แต เหตุท่ีตองเก็บเอาไวในตอนนั้นจนไดมาเปดเผยในปจจุบัน ก็เพราะเนื่องจากมีปญหายุงยากและมี อุปสรรคที่สรางความลําบากหลายประการ แตแลวก็ไดรับการขอรองจากประชาชนจนตองหา โอกาสรวบรวมรายละเอยี ดตาง ๆ เพอ่ื ดาํ เนินการจดั เปน รูปเลมขน้ึ และเพอ่ื ทจ่ี ะใหเ ปนท่สี มบูรณซึ่ง ส่ิงท่ีไดขาดหายไป ครั้นเมื่อเหตุการณตาง ๆ ไดผานพนไปแลวก็จึงไดดําเนินกาจัดพิมพจนไดรับ ความสําเรจ็ สําหรบั แนวทาของหนงั สอื เลม น้ีเปน ไปตามมาตรฐานเดิมของวิชาการขั้นลึกซึ้ง เนื่องจากมี ความหวังอยูในจิตใจของขาพเจามานานนับต้ังแตอยูในวัยหนุม เปนความหวังที่เหมือนกับมี ประกายแสงเรืองรองอยูในหมอกเมฆและเรารอนอยูในเลือดแหงความคิดที่จะปรับปรุง เปล่ียนแปลง ซ่ึงมันไดเกิดข้ึนดวยความปรารถนาจะหาหนทางที่เที่ยงตรงเพ่ือเปนจุดยืนของบรรดา มุสลิม เพื่อยกเลิกความหลังตาง ๆ ท่ีสรางแตความยุงเหยิงระหวางพวกเขาเหลานั้น เพื่อทําการเปด ฝาท่ีครอบคลุมอันนี้ออกไปจากนัยนตาของพวกเขา เพ่ือพวกเขาจะไดพิจารณามองไปยังชีวิตที่มา จากทัศนะซ่ึงดีกวา น่ันคือ การเปนผูที่หวนยอนกลับไปสูโครงสรางเดิมของศาสนาซ่ึงเปนที่ถูก กําหนดมาแกพวกเขา หลังจากนั้นพวกเขาก็จะไดดําเนินชีวิตเย่ียงผูที่กระหวัดตนเองกับสายเชือก ของอลั ลอฮฺโดยพรอ มเพรียงกนั ภายใตแ สงสวางของสจั ธรรมแหงวิชาการ และพฤติกรรมทั้งมวล มี ความเปน ภราดรภาพทเ่ี ปย มดว ยคุณธรรมซงึ่ มกี ารเก้อื กูลทแ่ี ข็งแกรง แกก นั และกัน เพราะขอเท็จจริงมีอยูวา เหลาบรรดาพ่ีนองรวมพื้นฐานเดียวกันและรวมเจตนารมณแหง ความยึดม่ันเดียวกันเหลานี้ ไดประสบกับความลมเหลวดวยการประจักษใหเห็นถึงการถกเถียงท่ี เขมงวดอยางย่ิง สังคมเดือดพลานอยูแตในเรื่องของการโตแยงถูกครอบงําอยูดวยความ รูเทาไมถึงการณ จนกระทั่ง เสมือนหนึ่งวาการถกเถียงกันนี้เปนแบบแผนท่ีสามารถใหคําอธิบายวา เปน วัฒนธรรมอันหนงึ่ ท่จี ะตองแสดงออกมาใหเ ปนท่ปี ระจกั ษหรอื ไมก็คงจะหมายความวาวิธีนี้ คือ ขัน้ ตอนสูงสุดของหลักการที่จะตองไดรับการเก็บรักษาไวอยางตอเนื่อง และน่ีหรือคือสิ่งที่สามารถ จะยกปญหาความขมข่ืน และมัวหมองออกไปเสียจากสังคมได งานเชนน้ีมีความหมายอยางไรกัน ? บรรทัดฐานที่สรางความเจ็บปวดเหลานี้ไดดํารงอยูมาเปนเวลานับรอยป น่ีคืออุปสรรคท่ีรายแรงย่ิง
ของพวกเรา ไมวาในอนาคตหรือในอดีตไมวาจะอยูในภูมิภาคทางทิศใตหรือทางทิศเหนือ ปริมณฑลใหญนอยเหลานั้นตางมีความเปนอยูดวยทัศนะท่ีตายดาน บางก็ดําเนินงานอยูกับความ ปรารถนาแหงกิเลสของอีกฝายหนึ่ง บางก็ดําเนินบทบาทไปเปนกกเปนเหลาและบางก็ตกเปนเหย่ือ ของผูที่แสวงหาผลประโยชน ทามกลางปรากฏการณเหลานี้จะมีทางใดบางท่ีควรจะนํามา ดาํ เนนิ การปฏบิ ตั ิ ? และหนทางทจี่ ะแกพอมีทางเปนไปไดอยางไร ? .... ทางแกสําหรับเหตุการณน้ีมันคับแคบสิ้นดี ปญหาที่สําคัญอยางยิ่งของมันมีมากเสียจนเต็ม เปย มเกนิ การแกไ ข ครั้นเม่ือขา พเจา ไดม ีโอกาสไปพํานักอยูท่ีประเทศอียิปตเมื่อปลายป ฮ.ศ. ๑๓๒๙ ขาพเจามีความคิดวา ตัวของขาพเจามีทัศนะที่ตรงกันกับบางคน (ชัยค – ชะลีม อัล – บะชะรีย) ซึ่งมี แนวความคิดท่ีสามารถเชื่อมสัมพันธกันได ขาพเจาไดมีโอกาสติดตอแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับ ทาน และขาพเจาไดมีโอกาสรวมกลาวคําปราศรัยกับทาน อัลลอฮฺไดทรงสนับสนุนผลงานของเรา โดยไดรับความรวมมอื จากชาวอียิปตผ มู ีเกยี รติสูงผูน ี้ ซงึ่ ทานเองก็มเี ปาหมายที่สอดคลองตรงกันวา เพื่อเราจะไดดําเนินการรักษาโรครายเหลานี้ท่ีทําลายสังคมมุสลิมจนแตกแยกเปนเสี่ยงและผลก็ได ปรากฏขึ้นแลว มวลการสรรเสริญเปนสิทธิของอัลลอฮฺซ่ึงพระองคไดใหความสมหวังใหแกขาพเจา แนนอนประเทศอียิปตน้ีคือนครหน่ึงที่เปนบอเกิดของวิชาการ เขาผูนี้ไดทําการปลูกฝงตัวเองลงบน หลักการอันบริสุทธิ์ และยอมจํานนตอสัจธรรมของหลักฐานที่ยืนยันอยางแข็งแรง เพชรน้ําเอกของ ประเทศอียิปตผูนี้ มฐี านะท่อี ยเู หนือการเจียระไน เลอื กสรร ใด ๆ ทกุ ประการ น่ีคือสิ่งท่ีถือไดวาเปนความโปรดปรานที่เกิดขึ้นแกสังคม และเปนการคลี่คลายบรรยากาศ ความตงึ เครียดตา ง ๆ ไปได นบั วาเปน โอกาสท่ดี ขี องทุกคน ทานไดรวมกับขาพเจาในการผดุงไวซึ่ง ความดีงาม ดวยวิชาความรทู ีม่ าจากวทิ ยาการตา ง ๆ ดว ยสติปญญาที่เปด กวา ง และดวยอุปนิสัยใจคอ ท่ีสุขุม ดวยการใชชีวิตอยางมีคุณคา อีกท้ังดวยความรอบรูในสวนที่สําคัญของวิชาการและดวย บคุ ลิกภาพอันสูงสง ทา นมีความปรารถนาที่จะยดึ ม่ันตอศาสนา ดว ยสจั ธรรมและความดีงาม นับวาเปนสิ่งที่ดียิ่งกับการท่ีทานไดแสดงความเปนนักปราชญที่มีจิตวิญญาณอันใดสะอาด ออกมาใหเปน ท่ีรูจักวา ทานเปนผูยึดมั่นในคําพูดท่ีแสวงหาความโปรดปรานจากอัลลอฮฺ เปนผูที่ยึด ม่ันอยูในบุคลิกของศาสดา เม่ือใดที่โลกไดมีโอกาสประดับประดาดวยอาภรณอยางน้ี เม่ือนั้นก็ หมายถึงวาไดรับอัญมณีท่ีมีคา ซ่ึงเปนความโปรดปรานท่ีดีงาม ประชาชนก็พลอยไดรับความผาสุก และความเมตตาจากทานไปดวย ไมมีใครแมแตคนเดียวที่จะปฏิเสธตอการยอมรับในทัศนะของ ทา นได
นี่คือวิชาการสําหรับอนาคตขาหนานี้ของประเทศอียิปต ดวยเหตุนี้สมาคมท้ังหลายของเรา ไดแสดงความขอบคุณ ดวยการสาํ นกึ ในบุญคุณน้อี ยางไมม ีวนั สนิ้ สุด ขาพเจาไดทําการเสนอขอมูลของขาพเจาไปยังทาน และทานก็ไดทําการเสนอขอมูลตาง ๆ ของทานมายังขาพเจาในลักษณะเดียวกัน วันเวลาที่ไดติดตอกันระหวางเรา ไดสามารถทําใหเกิด ความคิดข้ึนมาวา อัลลอฮฺกําลังรวมเราทั้งสองดวยวจนะของพระองคแลว ความยุงเหยิงที่ไมเปน ระเบียบของประชาชาติจะส้ินสุดเสียที ดวยสิ่งที่เกิดขึ้นมาจากความเห็นพองตองกันระหวางเราที่มี ตอ ปญหาอนั ย่ิงใหญของทั้งสองฝายคือ ฝายชีอะฮฺและฝายซุนนะฮฺ บรรดามุสลิมท้ังหลายเขามีความ เชื่อมั่นในอันที่จะดําเนินการปฏิบัติตามสัจธรรมของระบอบอิสลามอันบริสุทธิ์ จะยอมรับทุกอยาง เทาที่เปนส่ิงซ่ึงทานศาสนทูตไดนํามาส่ังสอน ไมมีขอแตกตางใด ๆ ระหวางพวกเขาในเร่ืองของ พ้ืนฐานทางศาสนา ดวยการยึดมั่นตอบรรทัดฐานของอิสลามอันทรงเกียรติ และไมมีการขัดแยงใด ๆ ระหวางพวกเขาเหลาน้ัน นอกจากส่ิงซ่ึงเกิดข้ึนมาโดยการวินิจฉัยของบรรดานักปราชญที่ได แสดงทศั นะไวในหลกั การบางอยางท่ีพวกเขามีความขัดแยงกัน ในส่ิงท่ีพวกเขาไมอาจจะคนควาได จากพระคัมภีรหรือจากซุนนะฮฺ (แบบฉบับของทานศาสนทูต) หรือมีความคิดเห็นขัดแยงกันใน ประเด็นของมติท่ีเกิดจากการแสดงทัศนะของนักปราชญ และน่ีคือ ความไมส้ินสุดของอุปสรรคที่ นาเศราใจ และไมมีความสามารถใด ๆ ท่ีจะถมชองวางอันแสนลึกลํ้าชองน้ําได ในเม่ือเรื่องราวการ ถกเถียงเหลาน้มี ันยืดเยอ้ื มีขอบขา ยทรี่ ายแรงจนถึงกับตง้ั ช่ือกลมุ กันข้ึนมาวา “ฝายซุนนฮฺ” และ “ฝาย ชีอะฮ”ฺ ซึ่งเปนความสับสนอยดู ว ยกันทงั้ สองฝายไปจนกระทง่ั ถงึ วาระสดุ ทา ย ถา หากเราใหค วามเปน ธรรมกบั ประวัติศาสตรของอิสลาม โดยที่เราหารายละเอียดกันอยาง แจมแจง ถึงเรื่องราวตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนไมวาจะเปนหรือของหลักการ หรือเร่ืองของการใหทัศนะและ เร่ืองของการใหภาพพจน แนนอนท่ีสุดเราจะสามารถรูไดทันทีวา สาเหตุสําคัญของความขัดแยง เหลานั้นมันคือเรื่องของหลักการทางดานความเชื่อถือ (อะกีดะฮฺ) และการกระตุนท่ีเกิดขึ้นมากจาก ความคิดเห็นหรือการยึดมั่นตอทัศนะของตน แนนอนที่สุดมันเปนความขัดแยงอันย่ิงใหญที่เกิดข้ึน ในหมูประชาชาติอิสลามซึ่งความขัดแยงนั้นเปนเสมือนคมดาบท่ีฟาดฟนลงบนรากฐานของศาสนา อสิ ลาม ซึ่งน่ันกห็ มายความวาไดฟาดฟนลงบนประชาชาติท้ังผองดวย ดังนั้นประชาชาติท้ังหลายจึง ไดรบั แตความขมขน่ื มากยง่ิ ข้นึ เพราะการขยายตวั เพม่ิ ข้นึ ของความขัดแยงเหลาน้ี จนในท่ีสุดปญหา ขอขัดแยงในหมูประชาชาติอิสลามไดทําใหแตละฝายสัมพันธตอกันดวยการถือฝกฝายและการถือ พรรคถือพวก โดยปราศจากการคํานึงถึงขอเท็จจริงใด ๆ แตถาท้ังสองฝายไดพยายามมองใน
ขอเท็จจรงิ ของอกี ฝายหนงึ่ ดว ยการมองของผทู ป่ี รารถนาจะทาํ ความเขา ใจ มิใชม องดวยสายตาของผู ที่ชงิ ชงั แคนเคือง แนนอนท่ีสุดความจริงยอมจะปรากฏใหเห็นอยางชัดเจน และเมื่อนั้นความสวางก็ จะปรากฏแกสายตาท้งั สองได แนนอนท่ีสุดเราไดตั้งขอกําหนดข้ึนมาแกตัวของเราเองวา เราจะทําการปดเปาเยียวยา ปญ หาเหลานี้ดว ยวิชาการซึง่ เปนหลกั ฐานของทง้ั สองฝาย เพ่ือเราจะไดท ําความเขาใจกันทั้งสองฝาย ดวยการทําความเขาใจอยางถองแทถูกตองที่สุดโดยปราศจากการใชทัศนะตามความรูสึกสวนตัว ของเราท่ีมีตนตอมาจากสิ่งแวดลอมพื้นฐานสังคมและการตักลีด (การคลอยตามผูอ่ืน) อีกท้ังเรายัง ตองปลดปลอยทุกสิ่งทุกอยางท่ีแวดลอมอยูในตัวของเรา ไมวาจะเปนความอยากดังอยากเดนหรือ การถอื ฝกฝาย (ตะอัศศบุ ) แลว เรากม็ งุ หนาเขา หาขอเท็จจรงิ ท่มี แี นวทางมาจากบรรทดั ฐานที่เท่ียงแท ดังนั้นเราจึงไดสัมผัสกับขอเท็จจริง ดวยการสัมผัสอยางจริงจังเพ่ือวาสิ่งเหลาน้ีจะสามารถเปนท่ี ยอมรับโดยสติปญญาของบรรดามุสลิม และทําใหบังเกิดความสงบข้ึนในจิตใจของพวกเขาได ดวย อาศัยสัจธรรมซึ่งเกิดมาจากความพากเพียรพยายามของเรา เพื่อเราจะไดบรรลุถึงจุดรวมท่ีสมบูรณ ดว ยกนั อนิ ชาอัลลอฮฺ ความพยายามของเราไดเรมิ่ ตน ขน้ึ มาจากคาํ ถามตาง ๆ ตามที่ทา นประสงค แลวขาพเจาก็ได มีคําตอบใหแกทานดวยขอเขียนของขาพเจาที่ไดวางบนบรรทัดฐานของความเท่ียงแท ที่เขากันกับ สติปญ ญาและหลกั ฐานท่เี ที่ยงธรรมของท้งั สองฝา ย เหตุการณไดผานไปดวยการสนับสนุนของอัลลอฮฺผูทรงสูงสุดท่ีอํานวยใหแกหนังสือ “อัล – มุรอญิอาต” ของเราจนประสบความสําเร็จทุกประการ ในขณะนั้นเรามีความประสงคที่จะ ดําเนินการจัดพิมพ เพ่ือใหผลงานของเราไดเปนประโยชน โดยความบริสุทธ์ิใจท่ีมุงตออัลลอฮฺผู ทรงสูงสุด แตสถานการณในยามน้ันมีเหตุการณที่ยุงยากซึ่งบังคับใหจนไมสามารถดําเนินการให บรรลุถึงความสําเร็จได เหตุนี้ไดทําใหขาพเจาคิดวา “ความสําเร็จซึ่งเกิดไดชาของขาพเจา ยอมเปน สิ่งท่ดี สี ําหรบั ขาพเจา เอง” ขาพเจามิไดดําเนินการใหหนังสือเลมนี้บกพรองหรือขาดตอนเกี่ยวกับหลักฐานตาง ๆ ซึ่ง ไดรวบรวมไวใ นวนั น้ันระหวางเราทง้ั สอง ขอ ความตาง ๆ ของหนงั สอื “มุรอญิอาต” เลมน้ีก็มิไดตัด ใจความใด ๆ แมแตนอย เร่ืองราวท่ีทําใหการพิมพตองลาชาไป สาเหตุหน่ึงก็คืออุปสรรคดังท่ีได กลาวไปแลว จนในท่ีสุดก็ไดเปนหนังสือซึ่งทําหนาที่ตัดสินปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึนระหวาง ขอเท็จจริงของฝายเรากับอีกฝายหนึ่งซ่ึงเปนท่ีทับถมกันมานานอยางไมเคยมีการแกไขมากอน สิ่ง
เหลาน้ันกําลังตองการคําอธิบายที่ใหความถูกตอง ถาหากดําเนินการกันโดยไมบริสุทธ์ิใจแลวก็ไม สามารถทจี่ ะบรรลุถงึ ความเขา ใจทีถ่ ูกตองระหวา งเราได แทจริงสิ่งท่ีขาพเจาหวังอยูในวันนี้ก็ยังคงเหมือนกับสิ่งที่ขาพเจาไดหวังไวในอดีต นั่นคือ ตองการที่จะใหหนังสือเลมนี้ไดกอใหเกิดการฟนฟูปรับปรุงสังคมใหดีงาม ซ่ึงถาหากวามันได สอดคลองตรงกันกับเจตนารมณของบรรดามุสลิมท้ังหลาย ตลอดจนถึงการยอมรับท่ีพวกเขา ทง้ั หลายไดมีตอหนังสือเลมน้ีแลว ก็หมายความวานั่นคือความโปรดปรานที่ไดมาจากพระผูอภิบาล ของขาพเจา และน่ันคือสิ่งที่ขาพเจาไดตั้งความหวังเอาไวกับผลงานช้ินนี้ ขาพเจามิไดมีความ ปรารถนาอื่นใด นอกจากการฟนฟูปรับปรุงสังคมใหดีขึ้นเทาน้ัน ขาพเจาไมมีความสามารถแต ประการใดและความประสงคของขาพเจาก็หามีไม นอกจากโดยอัลลอฮฺ ยังพระองคเทานั้นท่ี ขาพเจา ยนิ ยอมถวายตนและยังพระองคเทา นัน้ ที่ขาพเจาตอ งคืนกลับไปสู บัดน้ีขาพเจาขออภินันทนาการหนังสือเลมนี้ของขาพเจาใหแกปญญาชนแหงสาขาวิชาการ ที่มีความจริงใจตอสัจธรรมทุก ๆ ทาน อีกท้ังมอบใหแกนักบรรยายผูละเอียดถี่ถวน และมอบใหแก วิทยากรผูมีความบริสุทธ์ิใจตอสัจธรรมท้ังหลาย และขอมอบใหแกปรมาจารยผูทรงคุณวุฒิ ผู ปราดเปร่ืองตอหลักฐานตาง ๆ ในจริยวัตรและผลงานทั้งหลายของทานศาสดา อีกท้ังขอมอบใหแก บรรดานักปราชญผ ูมคี วามชาํ นิชํานาญในการอรรถาอธิบายและขอมอบใหแกเยาวชนหนุมสาวผูซึ่ง เปนความหวังของวัฒนธรรมที่จะตองเปนผูนําในภายภาคหนา และเพ่ือท่ีจะหลอหลอมตนใหเขา กันกับวิชาการท่ีมีคุณคา ซ่ึงเปนผูท่ีพวกเราไดตั้งความหวังเอาไววา พวกเขาเหลาน้ันจะไดรับชีวิต ใหมที่ดีย่ิง ถาหากพวกเขาทั้งหลายไดใหการยอมรับ แนนอนยิ่งคุณานุประโยชนจากหนังสือเลมนี้ กจ็ ะเกิดขึ้นแกต ัวของพวกเขาเหลานน้ั เองสาํ หรับขาพเจากม็ ีแตค วามยินดีและมคี วามสุข ขาพเจาไดพยายามท่ีจะใหหนังสือเลมน้ีสําเร็จออกมา โดยขอวิสัจชนาที่ราบรื่นไปดวย หลักฐานท่ีสมบูรณจากแงมุมของวิชาการทุกเงื่อนไข โดยขาพเจามุงหมายดวยเจตนาจะใหเปน หนังสือที่มีเนื้อหาและเหตุผลอยางบริบูรณครบถวนดวยหลักฐานตาง ๆ โดยมิไดละทิ้งแมแตเพียง สวนนอย อีกทั้งมิไดปลอยปญหาใหคางคาไวเปนความมืดมน เปนการเปดเผยถึงหลักเกณฑ (ชุน นะฮฺ) ของทานศาสดาอยางแทจริงเปนรายละเอียดที่ใหขอมูลอยางถูกตอง เพื่อยืนยันวาหนังสือเลม นีเ้ ปน ตาํ ราที่ใหเหตผุ ลจนครบถวนอยางเพียงพอ จึงไดอาศัยตํารับตําราทางวิชาการ อัล – ฮาดีษและ ชีวประวัติ เพื่อมาประกอบกับหัวขอตาง ๆ ที่สําคัญของหนังสือเลมน้ี อีกทั้งยังไดอาศัยปรัชญาท่ีวา ดวยความเที่ยงธรรมของมาตรการอันยุติธรรมทั้งหลายซ่ึงเปนหลักประกันของขอเท็จจริงในทุกแง
ทุกมมุ เปนทางออกท่กี ําหนดขึ้นมาสําหรับผูซ่ึงเคยไดรับแตความเจ็บปวดรวดราวกับปญหานี้มาแต หนหลัง บัดน้ีพวกเขาไดรับผลงานที่สมบูรณพอที่จะเปนผูปฏิบัติตามได นับต้ังแตบรรทัดแรกไป จนกระท่ังบรรทัดสุดทาย น่ันคือขอยุติแหงหลักประกันอันแนนอนที่หนังสือของขาพเจาไดใหแก ผูอาน ซึง่ สิ่งนน้ั ขา พเจา ก็แสวงหาอยแู ละขอสรรเสริญตอ อลั ลอฮเฺ ก่ยี วกบั สงิ่ น้ี ขาพเจาขอสรรเสริญตออัลลอฮฺในความสําเร็จของหนังสือเลมนี้ ซ่ึงเปนความปติยินดีที่ เกิดข้ึนมากจากชีวิตจิตใจของขาพเจา เพราะงานช้ินนี้มันไดกําหนดใหขาพเจาตองฟนฝาอุปสรรค ของชีวิตและความลําบากยากเข็ญจนผานพนไปไดอยางไมแยแสกับความเหนื่อยหนาย แผนการ ของศัตรูนั้นเปนสิ่งที่ขาพเจาจะไมขออุทธรณกับมันเลย นอกจากตออัลลอฮฺผูทรงสูงสุดเทานั้น เพราะพระองคเปนผูทรงตัดสินท่ีเด็ดขาด และทานนบีมุฮัมมัดนั้นเปนมาตรการสําหรับการตัดสิน หนังสอื เลมน้ีจะทําหนาท่ปี ลดปลอยใหพนไปจากทานผูอาน ซึ่งความมัวหมองที่เคยแทรกซึมอยูใน คําสอนของทาน จนกระท่ังมันไดเปนขอทดสอบอันขมขื่นที่กระตุนใหเกิดเปนปญหาอยูทั่วทุกหน ทุกแหงซ่ึงเปนบอเกิดของภัยพิบัติ เปนการผูกมัดสังคมใหติดอยูกับความคับแคน และความมืดมน ขอใหชีวิตในบ้ันปลายของขาพเจาไดเปนชีวิตซึ่งไดรับความเมตตาทั้งในโลกน้ีและปรโลก ดวย คุณคาของหนังสือเลมนี้ ขอใหชีวิตของขาพเจาไดรับความช่ืนชมยินดีตอความสําเร็จของหนังสือ เลมนี้ ขาพเจาหวังตออัลลอฮฺมหาบริสุทธ์ิย่ิงแตพระองค เพื่อใหพระองคทรงรับรองผลงานของ ขาพเจา และขอใหขาพเจาไดพนไปจากความผิดพลาดและความพล้ังเผลอ ขอพระองคใหทรง อาํ นวยคุณคาของหนงั สือเลม น้ใี หเ ปนประโยชนและทางนําสาํ หรบั บรรดามุสลิมท้งั หลาย แทจริงบรรดาผูซึ่งศรัทธาและประกอบการงานท่ีดีน้ัน พระผูอภิบาลของพวกเขาจะทรงนําทางพวก เขาดวยความศรัทธาของพวกเขาเหลานั้น สายน้ําลําธารจะไหลผานเบ้ืองลางของพวกเขาในสวน สวรรคอันบรมสุข เสียงเรียกรองของพวกเขาทั้งหลายในนั้นคือ มหาบริสุทธ์ิยิ่งแดพระองค โออัลลอฮฺและการสดุดีของพวกเขาท้ังหลายในน้ันคือ ความศานติและการเรียกรองของพวกเขา เหลาน้ันมีตลอดไปจนถึงท่ีสุดวามวลการสรรเสริญเปนสิทธิของอัลลอฮฺ พระผูอภิบาลแหงสากล โลก (๑๐ : 9 : 10) ซัยยิด อับดลุ ฮเุ ซน ชัรฟุด-ดนี มุเซาวยี
สารบญั ๑ ๒ อัล-มรุ อญิอะฮฺ ๑ ๑ 4 ๑. การแสดงอัธยาศยั ไมตรที ี่สภุ าพ ๕ ๒. การขออนุญาตเพื่อแสดงทศั นะทางวชิ าการ ๗ ๙ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๒ 4 ๙ ๑. การแสดงอธั ยาศัยไมตรีตอบ ๒. การอนญุ าตเพอ่ื ดาํ เนนิ การแสดงทศั นะทางวิชาการ ๑๐ ภาคการอธบิ าย พน้ื ฐานมชั ฮับ ๑๐ อัล-มรุ อญิอะฮฺ ๓ 11 ๑. ทําไมฝายชีอะฮฺจึงไมย อมรับหลักการของมชั ฮบั ซ่งึ เปน ที่ยดึ ถือของคน ๑๑ สวนใหญ ๑๒ ๒. ความสาํ คัญอยา งยงิ่ ของการรว มอยูในมตทิ เ่ี ปนเอกภาพของบรรดานัก ๑๔ ปราชญ (ฮจิ ญต มิ าอ)ุ ๑๕ ๑๗ ๓. มาตรฐานอ่นื ท่ีนอกเหนือจากขอมลู ของมชั ฮบั ซึง่ เปน ทีย่ ดึ ถือของคน สวนใหญน้นั ยอมไมถกู ตอ ง อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๔ 1. หลกั ฐานทางบทบญั ญตั ขิ องศาสนาไดระบถุ งึ ขอ กาํ หนดท่ีจําเปน ตอ ง ปฏิบัติตามแนวทางแหง อะหฺลุลบัยตฺ ๒. ไมมีหลกั ฐานอ่นื ใดทบี่ ญั ญัติวา จาํ เปนตองยึดถอื ตอบรรดามัชฮับ ซึง่ เปนทยี่ ึดถอื ของคนสวนใหญ ๓. บรรพชนสามรนุ ในอดตี ไมเ คยรจู กั กับมชั ฮับตา ง ๆ เหลาน้นั ๔. ประตแู หง การวนิ ิจฉัยปญหาทางศาสนา (ฮจิ ญต ิฮาค) ยงั คงเปดอยู ๕. แนวทางของอะหลฺ ุลบัยตฺ เปน ขอพิสจู นสําหรับสัจธรรมเสมอ
อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ ๕ ๒๐ 20 ๒๑ ๑. การตอบขอบคณุ ตามคําแถลงของเรา 2. การขอหลกั ฐานเพือ่ พิสจู นโดยละเอียด ๒๓ ๒๓ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๖ ๒๘ ๒๒ ๑. การเปดฉากเพ่อื กา วไปสูหลักฐานที่วา ดว ย “ขอกาํ หนด” (ราญบิ ) ๓๑ ที่จะตองปฏิบตั ิตามผอู ยูใ นเชอ้ื สายของศาสดา ๒. ทานอามีรลุ -มุมินนี เชิญชวนสูมชั ฮบั อะหฺลุลบับตฺ (อ) ๓๑ ๓. ถอยแถลงของอมิ าม “ชัยนุล อาบิดีน” เกยี่ วกับเรื่องน้ี ๓๒ ๓๒ อัล-มรุ อญิอะฮฺ ๗ ๓๑ ๓๓ ๑. ขอหลกั ฐานอันชดั เจนที่มาจากโองการของอัลลอฮแฺ ละรอซูล ๓๓ ๒. บรรดาหลกั ฐานตาง ๆ ทมี่ าจากคํากลา วของอิมามแหง “อะหลฺ ลบัยตฺ” ๓๖ นนั้ ฝายอะฮลฺ ิชชุนนะฮถฺ อื วา อยใู นประเภทนม้ี ขึ ึน้ มาใหม มใิ ชเปน หลัก ฐานเด็ดขาด ๓๙ ๔๐ อัล-มรุ อญิอะฮฺ ๘ ๑. การมองขามเหตผุ ลทเ่ี ราไดชแ้ี จงผานไปแลว ๒. ความเขา ใจผิดวาเปนหลักฐานท่ีอยูใ นเงอื่ นไขสาํ หรบั การไดรับการ ตอบทบทวนพิจารณาไดอ ีก ๓. ฮาดีษท่ีกลา วถงึ สิ่งสําคัญที่มคี ายง่ิ สองประการ ๔. สายสืบท่ีตรงกนั มากมาย ๕. ความหลงผิดของผไู มยดึ มัน่ ตอเช้อื สายทบี่ รสิ ทุ ธิ์ ๓๘ ๖. อปุ มาพวกเขาดัง่ เรือนของนบีนหู เฺ ปนประตแู หง ความเมตตา ๗. ความหมายของคาํ วา “อะหฺลลุ บัยตฺ” ณ ท่นี ี้ ๘. สารบญั ท่วี า ดวยการเปรยี บเทยี บพวกเขาวาเปน เรือนนบีนูหฺและประตู
แหงความเมตตา ๔๑ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๙ ๔๔ ๔๔ ๔๕ • ขอใหเ พิม่ รายละเอยี ดของปญ หาน้ี ๔๕ อัล-มุรอญอิ ะฮฺ ๑๐ ๕๗ • รายละเอียดทจ่ี ม ชัดเปนทเ่ี พยี งพอ ๕๗ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๑๑ ๑. แสดงความชน่ื ชมตอหลกั ฐานตาง ๆ ทีอ่ ธบิ ายไปแลว ๕๗ ๒. แสดงความประหลาดใจในการเสนอรายละเอยี ดทเี่ ขากันไดระหวา ง ๕๘ ๕๙ หลักฐานของนกั ปราชญกลุม ตา ง ๆ ๕๙ ๓. ขอใหแ สดงหลกั ฐานที่สามารถพิสูจนไ ดจากอัล-กุรอาน ๙๕ อัล-มรุ อญิอะฮฺ ๑๒ • หลักฐานตา ง ๆ จากอลั -กรุ อาน ๙๕ อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ ๑๓ ๙๗ • การอนมุ านโดยอาศยั รายงานฮาดษี ฏออฟี มาประกอบใน ๙๗ ๙๘ “อชั บาบุนนุซูล” ของโองการทง้ั หลายเหลา นี้ อัล-มุรอญอิ ะฮฺ ๑๔ 1. การโตแยงโดยหลักอนุมานเชนน้นั เปน ความผิดพลาด ๒. ผูโ ตแ ยงไมไ ดมคี วามรูในความเปนจรงิ ของชีอะฮฺ ๓. ลกั ษณะพเิ ศษของพวกเขาเหลาน้นั เปน การเขม งวด หา มการโกหกใน ฮาดษี อยา งเด็ดขาด ๑๐๐ อลั -มุรอญิอะฮฺ ๑๕ ๑๐๒ ๑. รัศมแี หงสจั ธรรมไดเร่มิ สอ งความสวา ง ๑๐๒
๒. คาํ รองขอรายละเอยี ดตาง ๆ ในหลักฐานท่ีฝายซุนนะฮยฺ อมรับ นกั ปราชญฝ า ยชอี ะฮฺ ๑๐๒ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๑๖ ๑๐๔ • สายสบื ของนกั ปราชญฝ ายชอี ะฮมฺ ีหนง่ึ รอยคน ซ่งึ เปน ที่ยอมรับของฝาย ชุนนะฮฺ ๑๐๔ อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ ๑๗ ๑๘๔ 1. ผูใหทศั นะแสดงความพอใจ ๑๘๔ ๒. การอธิบายทวี่ า ไมม ขี อ หามแกน ักปราชญซ ุนนะฮฺในการจะยอมรับ หลักฐานอันมน่ั คงแข็งแรงจากฝา ยชอี ะฮฺ ๑๘๕ ๓. เรมิ่ มคี วามศรัทธาตอ บรรดาโองการตาง ๆ ทีก่ ลา วถงึ อะหลฺ ลุ บัยตฺ ๑๘๖ ๔. ความหนกั ใจที่เขามีตอ การรวมตัวกนั เพอ่ื ความเขา ใจตอ สิง่ น้นั ๆ ระหวา งเรอื่ งราวเหลานกี้ ับบรรดาอะฮลฺ ิซซนุ นะฮฺ ๑๘๖ อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๑๘ ๑๘๗ 1. กลาวขอบคณุ สาํ หรับการยกยอง ๑๘๗ ๒. ผรู วมแสดงทัศนะมคี วามคลาดเคลอ่ื นในความเขาใจเพราหลกั จาํ กัด ความของอะฮฺลิซซนุ นะฮฺ ๑๘๗
๓. การไมยอมรบั ตอแนวทางอะหลฺ ลุ บัยตนฺ ้ันขน้ึ อยกู ับพน้ื ฐานการเมอื ง ๑๘๘ ๔. อมิ ามทั้งหลายแหง อะหฺลลุ บยั ตฺ (กลา วโดยหลกั ฐานตา ง ๆ ท่สี รปุ ) ๑๘๙ ๕. หลกั การท่ียตุ ธิ รรมอันใดบางทีต่ ดั สนิ วา ผูท่ยี ึดม่ันตอพวกเขาเหลานั้น คอื ผทู ่หี ลงผิด ๑๙๐ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๑๙ ๑๙๑ 1. ไมมบี ทบญั ญตั ิท่ยี ตุ ธิ รรมใด ๆ พิพากษาวาบรรดาผตู ิดตอ อะหฺลุลบยั ตฺ น้นั คือ ผูห ลงผดิ ๑๙๐ ๒. การปฏิบตั ิตามมชั ฮับของพวกเขาเหลานัน้ เทากบั เปนทางหนง่ึ ที่ รอดพนจากความผิดพลาด ๑๙๑ ๓. แทจริง พวกเขาเหลานนั้ กไ็ ดช อ่ื วา เปนผูที่ควรแกก ารปฏิบัตติ าม ๑๙๒ ๔. ขอพิสูจนห ลักฐานตาง ๆ ในเร่ืองคอลีฟะฮฺ ๑๙๒ ภาคการอธบิ าย อมิ าม (หรอื ) คอลีฟะฮฺสบื ตอ จากทา นรอซูลลุ ลอฮฺ (ศ) ๑๙๓ อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๒๐ ๑๙๕ 1. การใหขอ เสนอแนะทีน่ าํ ไปสูห ลกั ฐานโดยสรปุ ๑๙๕
2. รายละเอยี ดบางสวนของ “บานหลงั น้ัน” ในวัน “ตักเตอื น” ที่สําคญั ๑๙๖ 3. ผูบนั ทกึ หลกั ฐานตาง ๆ เหลาน้ีเปน นกั ปราชญฝ ายชนุ นะฮฺ ๑๙๗ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๒๑ ๒๐๑ • ความสงสัยทีม่ ีตอสายสืบของหลักฐานขอนี้ ๒๐๑ อัล-มุรอญอิ ะฮฺ ๒๒ ๒๐๒ 1. มีขอพสิ ูจนท ีช่ ัดแจงสาํ หรบั หลักฐานขอ น้ี ๒๐๒ ๒. ทาํ ไมบคุ คลเหลานน้ั จึงไดพ ากนั ปฏเิ สธจากหลักฐานน้ี ? ๒๐๔ ๓. โดยพฤตกิ รรมตา ง ๆ ของพวกเขาเหลา น้ันที่ไดแสดงออกมาให ประจกั ษ ยอ มไมเ ปนท่ีนา ประหลาดใจแตประการใด ๒๐๔ อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๒๓ ๒๐๖ 1. การยอมรับดวยความศรทั ธาท่ีมีตอหลกั ฐานฮาดีษทแ่ี ข็งแรง ๒๐๖ ๒. ไมมีเหตผุ ลสาํ หรับหลกั ฐานใด ๆ อกี ที่จะมาทาํ การลบลางหลักฐาน ฮาดษี ศอฮอี้ ฺถูกตอ ง ๒๐๖ ๓. หลกั ฐานในเรื่องนีแ้ สดงใหเ ห็นถงึ การเปน คอลีฟะฮฺทเี่ ฉพาะใน เหตุการณหนงึ่ ๆ ๒๐๗
๔. หลกั ฐานนีไ้ มถูกยกเลิก ๒๐๗ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๒๔ ๒๐๘ 1. สาเหตใุ นการอางเหตุผลของเราเพราะไดพ ิสูจนถ งึ ความจริงของฮาดีษ บทน้ี ๒๐๘ ๒. เรื่องของตาํ แหนง คอลฟี ะฮฺที่มีข้ึนเพือ่ เฉพาะเจาะจงแกค รอบครวั น้ัน เปน ที่ปฏิเสธกนั อยา งเอกฉนั ทข องบรรดาผูทรงคุณวฒุ ิแหงมสุ ลิม ทงั้ มวล ๒๐๙ ๓. การยกเลิกในเรือ่ งน้ยี อมเปนสิ่งท่ีเปน ไปไมไ ด ๒๑๐ อัล-มุรอญอิ ะฮฺ ๒๕ ๒๑๑ 1. การยอมรับดว ยความเชอื่ มน่ั ตอรายละเอียดของฮาดษี บทน้ี ๒๑๑ ๒. การแสดงเหตผุ ลของทานเองท่ียืนยนั ถึงหลกั ฐานเรอ่ื งน้ี ๒๑๑ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๒๖ ๒๑๒ 1. หลักฐานที่อธิบายถึงเกยี รติอันสงู สง ของทาน อาลีนน้ั ยังมอี กี ๑๐ ขอความ มิใชเ พียงแตขอ ความเดยี วเทาที่ไดผานไปแลว เทา นนั้ ๒๑๒ ๒. การแสดงเหตผุ ลของทานเองท่ียนื ยันถงึ หลักฐานเร่อื งนี้ ๒๑๖
อัล-มุรอญอิ ะฮฺ ๒๗ 228 ๒๒๑ • ความสงสัยท่ียงั มอี ยูใ นเร่อื งของงานสบื ฮาดษี ทวี่ า ดวยฐานะของทาน อาลี ๒๒๑ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๒๘ ๒๒๒ 1. ฮาดษี ที่วา ดวยตาํ แหนงฐานะของทา อาลีนนั้ เปนขอมลู ทีม่ ีหลกั ฐาน ม่ันคงแข็งแรง ๒๒๒ ๒. ผูสันทัดกรณีท่มี ีคุณวฒุ ติ าง ๆ ไดยนื ยนั สนับสนุนความถกู ตองอยาง สมบรู ณข องฮาดษี นี้ ๒๒๒ ๓. ฮาดีษบทนีไ้ ดถูกนาํ บันทึกโดยนักปราชญฝายซนุ นะฮฺ ๒๒๕ ๔. สาเหตุของการทีน่ กั ปราชญอามิดยี ยฺ งั มคี วามสงสัยในความถกู ตอง ของสายสืบบทน้ี ๒๒๗ อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ ๒๙ ๒๒๘ 1. เชอื่ มน่ั ตามส่ิงท่เี ราไดก ลาวไปแลว ในเร่ืองของสายสบื ฮาดษี ๒๒๘ ๒.ความสงสัยในความหมายของฮาดษี นีว้ า ระบุถงึ เหตกุ ารณโดยท่ัวไป หรอื ไม ๓. ขอ สงสยั ในหลกั ฐานฮาดษี ดงั กลาว ๒๒๙
อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ ๓๐ 232 ๒๓๐ 1. ผสู นั ทัดในหลกั ภาษาตอ งตระหนกั วาเปนฮาดษี ท่ีมใี จความกลา วถงึ เหตกุ ารณโ ดยท่ัว ๆ ไป ๒๓๐ ๒. คํากลาวท่ีวาฮาดีษน้ีมีความหมายระบถุ ึงเหตกุ ารณเฉพาะนน้ั เปน ความผิดพลาด ๓. คาํ กลาวใด ๆ ท่ลี บลางหลกั ฐานของฮาดษี น้ยี อมถือวา เปนโมฆะ ๒๓๔ อลั -มุรอญิอะฮฺ ๓๑ ๒๓๗ • ตองการทจ่ี ะไดพิสูจนกบั ใจความโดยละเอียดของฮาดีษบทนี้ ๒๓๗ อลั -มุรอญิอะฮฺ ๓๒ ๒๓๘ 1. เรื่องราวบางประการทเี่ กดิ ขึน้ เมื่อทานศาสนทูตไดไ ปเยี่ยมอมุ มซุ าลมิ ๒๓๘ ๒. เร่ืองราวของ บินต ฮัมซะฮฺ ๒๔๑ ๓. ตอนที่ทา นศาสนทตู เอนกายทบั ลงบนตัวของทานอาลเี มือ่ ออ นเพลีย ๒๔๑ ๔. การประกาศความเปนพ่นี อ งในครง้ั ทีห่ น่ึง ๒๔๑ ๕. การประกาศความเปน พี่นอ งในคร้งั ทีส่ อง ๒๔๑ ๖. การปดประตทู ้งั หลาย ๒๔๕
๗. ทานนบีไดย กยองวาทา นอาลี และทา นนบีฮารนู น้นั เปนเสมือน ฟรกอดัยน (ดวงดาวอยตู รงบรเิ วณขั้วโลกเหนือซึ่งเปนทสี่ ังเกตของ ชาวเรอื ) ๒๔๗ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๓๓ ๒๔๘ • ทา นศาสนทตู (ศ) ไดทําการอุปมาทา นอาลแี ละนบีฮารนู วาเปน ดาวฟร กอดยั นเ ม่ือไหร ? ๒๔๘ อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ ๓๔ ๒๔๙ 1. เรอื่ งของชะบัร. ชุบัยร. และมุขบิร ๒๔๙ ๒. ในเหตกุ ารณแ หง วนั ประกาศความเปนพี่นอ ง ๒๕๐ ๓. ในเหตุการณแ หงวันประกาศปด กั้นประตทู งั้ หลาย ๒๕๖ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๓๕ ๒๖๓ • ขอพิสูจนหลักฐานอนื่ ๆ ทย่ี ังเหลอื อยู ๒๖๓ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๓๖ ๒๖๔ 1. ฮาดษี ของทานอบิ นุ ฮับบาล ๒๖๔
๒. ฮาดษี ทร่ี ายงานโดยทานอิมรอน ๒๖๕ ๓. ฮาดษี ทรี่ ายงานโดยทา นบรุ ัยตะฮฺ ๒๖๖ ๔. ฮาดษี ที่ระบุถงึ คณุ สมบตั ิ ๑๐ ประการ ๒๗๑ ๕. ฮาดษี ทีร่ ายงานโดยทานอาลี ๒๗๑ ๖. ฮาดีษทร่ี ายงานโดยทานวะฮบั ๒๗๒ ๗. ฮาดีษท่ีรายงานโดยทาน อบนฺ ุ อาบอู าศิม ๒๗๒ อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ ๓๗ ๒๗๔ • คําวา “วะลีย” ทีอ่ ยูใ นประโยคนั้น เปน คาํ ท่มี คี วามหมายรวมกันมาก ดังน้ันขอ พสิ ูจนท ช่ี ดั แจง น้ันอยูที่ไหน ? ๒๗๔ อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ ๓๘ ๒๗๕ 1. การอธิบายความหมายของคําวา “วะลยี ” ๒๗๕ ๒. มีคํายนื ยนั ที่อธบิ ายความหมายคาํ น้ี ๒๗๕ อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ ๓๙ ๒๗๙
• คาํ รอ งขอเพอื่ ประสงคจะทราบถึงโองการ “อัล-วลิ ายะฮฺ” ๒๗๙ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๔๐ ๒๘๑ 1. โองการทีเ่ กย่ี วกบั “อลั -วลิ ายะฮ”ฺ (ผูมีอํานาจในการปกครอง) และ สาเหตกุ ารประทานโองการในเรอื่ งของทา นอาลี ๒๘๑ ๒. หลกั ฐานตาง ๆ เก่ยี วกบั สาเหตกุ ารประทานโองการนี้ ๒๘๒ ๓. เหตผุ ลสําหรับการอา งหลักฐานสําหรับโองการนี้ ๒๘๖ อลั -มุรอญิอะฮฺ ๔๑ ๒๘๘ • คําวา “บรรดาผูศรทั ธาน้ัน” เปนรปู นามท่ีระบใุ นลกั ษณะพหูพจน ฉะนนั้ จะตคี วามในลกั ษณะเอกพจนไดอยางไร ? ๒๘๘ อลั -มุรอญิอะฮฺ ๔๒ ๒๘๙ 1. สํานวนของภาษาอาหรับท่กี ลาวถงึ แลกพจน แตใชรปู ประโยคพหูพจน นัน้ เปนท่ถี อื ปฏิบัติกันไดเสมอ ๒๘๙ ๒. เหตุผลและหลักฐานเก่ยี วกบั ขอนี้ ๒๘๙ ๓. ทา นอิมาม ฏ็อบรอชียไดกลาวถึงเรื่องน้ี ๒๙๒
๔. ทา นขะมคั ชารีย ไดก ลาวถึงเรือ่ งน้ไี วเชน กัน ๒๙๓ ๕. ทศั นะของขา พเจาทจี่ ะขอกลาวถึงเรือ่ งนี้ ๒๙๓ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๔๓ ๒๙๕ • แนวความคดิ ท่อี รรถาธิบายคาํ “วะลยี วา “มิตรรัก” หรือ “ผูชว ยเหลือ” หรืออ่ืน ๆ ๒๙๕ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๔๔ ๒๙๖ 1. แนวความคดิ ซึ่งเปน ขอสังเกตทีแ่ สดงวา คํานี้มิไดม ีความหมายวา “ผชู วยเหลอื ” หรอื “พนั ธมิตร” แตอ ยางใด ๒๙๖ ๒. แนวความคิดอื่นนน้ั ไมม ีนาํ้ หนกั พอท่จี ะเปนหลักฐาน ๒๙๘ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๔๕ ๓๐๑ • ขอยึดการตคี วามคําอธิบายปญ หาน้ตี อ หลกั ฐานอันชดั แจง ของ บรรพชน เพราะเปนสิง่ ทถี่ กู ตองอยางแนน อน ๓๐๑ อลั -มุรอญิอะฮฺ ๔๖ ๓๐๒ 1. ทศั นะของบรรพชนทีไ่ ดอ ธบิ ายโดยถือหลักแหง ความถูกตอ งนน้ั ไม จาํ เปนสําหรบั การตีความอกี ๓๐๒
๒. การอธบิ ายในรายละเอียดของเร่ืองนมี้ อี ปุ สรรคอยา งยิง่ 305 ๓๐๒ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๔๗ ๓๐๔ • ขอพสิ จู นหลกั ฐานอื่น ๆ อกี ๓๐๔ อลั -มุรอญิอะฮฺ ๔๘ ๓๐๕ • หลักฐานฮาดีษ ทอ่ี างอิงสนับสนุนโดยนักปราชญฝ ายซุนนะฮนฺ ้นั จะขอ หยบิ ยกมา ๔๐ ฮาดษี อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๔๙ ๓๒๘ 1. การยอมรบั ในเกียรติยศตา ง ๆ ของทา นอาลี ๓๒๘ ๒. เกียรติยศตา ง ๆ เหลาน้ันมไิ ดเปนเง่ือนไขที่พเิ ศษสาํ หรบั การเปน คอลีฟะฮฺของทาน ๓๓๐ อัล-มุรอญิอะฮฺ ๕๐ ๓๓๑ • บรรดาหลกั ฐานตา ง ๆ ทก่ี ลาวถงึ คณุ สมบัตพิ เิ ศษของทา นอาลี นน่ั แหละท่บี ง บอกถงึ คณุ สมบตั แิ หงการเปนอิมามะฮฺของทา น ๓๓๑ อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ ๕๑ ๓๓๕ • การโตตอบ โดยอา งเหตุผลจากหลักฐาน ฮาดษี ซึง่ กลา วยกยอง
คณุ สมบตั ขิ องบุคคลอ่นื ๆ ๓๓๕ อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ ๕๒ ๓๓๖ • การปฏิเสธท่จี ะตอบโตกบั หลกั ฐานทมี่ ีเหตผุ ล ๓๓๖ อัล-มรุ อญิอะฮฺ ๕๓ ๓๓๘ • คํารองขอหลักฐานฮาดษี ท่ีวาดวยอัล-ฆอดรี ๓๓๘ อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๕๔ ๓๓๙ • ฮาดษี ทีเ่ กย่ี วกับอัล-ฆอดีร เปน ฮาดีษที่มีรายงานปะติดปะตอ ดว ย สายสบื ตาง ๆ มที ้งั ท่ตี อเนอ่ื งกันและไมตอเนื่องกัน ๓๓๙ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๕๕ ๓๔๘ • ทําไมหลกั ฐานฮาดีษที่เก่ียวในเรอื่ ง อัล-ฆอดีร จงึ ไมเปนฮาดีษท่มี สี าย สืบสอดคลอ งตรงกนั ? ๓๔๘ อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๕๖ ๓๔๙ 1. หลักฐานฮาดีษ อัล-ฆอดรี นี้ เปน เรือ่ งท่มี ีหลกั ฐานทีส่ อดคลอ งตรงกนั โดยอางถึงเจตนารมณของบทบัญญัติ ๓๕๐
๒. เปน เรอื่ งทีม่ คี วามสาํ คญั เปนพิเศษของอลั ลอฮฺ ผูทรงอานภุ าพสูงสุด ๓๕๐ ๓. เปน เร่ืองที่มคี วามสําคัญเปนพเิ ศษของทานศาสนทตู แหงอลั ลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความจาํ เริญแดทา นและแดบ รรดาลูกหลาน ของทาน) ๓๕๓ ๔. เปนเรื่องทม่ี คี วามสําคญั เปน พิเศษสาํ หรบั ทา น อามรี ลุ มมุ ินนี ๓๖๐ ๕. เปนเร่อื งท่ีมคี วามสําคัญเปน พิเศษสําหรบั ทาน ฮุเซน ๓๖๐ ๖. เปน เรือ่ งทม่ี คี วามสาํ คัญเปนพเิ ศษสําหรับบรรดาอมิ าม ทงั้ เกา ทาน แหงอะหฺลลุ บยั ตฺ ๓๖๑ ๗. เปน เรือ่ งทมี่ ีความสําคญั เปน พเิ ศษสําหรับฝายชอี ะฮฺ ๓๖๒ ๘. เปนฮาดษี ทมี่ ีสายสืบสอดคลอ งตรงกันจากมาตรฐานฮาดีษท่บี รรดา มุสลิมใหค วามเช่อื ถือ ๓๖๔ อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๕๗ ๓๗๐ 1. อรรถาธบิ ายความหมายของฮาดีษ ฆอดรี -คมุ ๓๗๐ ๒. การอา งเหตุผลประกอบการแกการอธิบายฮาดีษบทนี้ ๓๗๒ อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ ๕๘ ๓๗๔ ๑. ฮาดีษ อัล-ฆอดีร คมุ น้ี ไมมคี วามจาํ เปนใด ๆ ทีจ่ ะตองทาํ การ
อรรถาธบิ ายในทางอ่นื 387 ๓๗๔ ๓92 ๒. เหตผุ ลตามคาํ อธิบายดังกลาวน้นั เปนแบบไมม ีเหตผุ ลและ 392 ความเขา ใจผิด ๓93 ๓๘๐ 393 อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ ๕๙ 409 ๓๘๕ 409 1. ยอมรบั ในหลกั ฐานอนั ชดั แจง ๓๘๕ 409 ๒. การหลกี เล่ยี งอยางมีเลศนยั 409 ๓๘๕ 410 อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ 60 ๓๘7 • คาํ ตอบสําหรับการหลกี เลีย่ งอยา งมีเลศนยั อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ 61 • ขอหลกั ฐานฮาดษี ทีย่ ืนยนั เกี่ยวกบั เรือ่ งนจี้ ากสายสืบทางดานของ นักปราชญฝา ยชอี ะฮฺ อัล-มรุ อญิอะฮฺ 62 • หลักฐานฮาดีษจํานวน 40 บท อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 63 1. ฮาดีษของฝายชอี ะฮนฺ นั้ ถอื เปนหลักฐานไมได 2. ทําไมฮาดีษตา ง ๆ เหลานี้จึงไมถกู นํามารายงานโดยนกั ปราชญกลมุ อื่นบาง ? 3. ขอหลกั ฐานเพ่ิมเติมจากฮาดษี อน่ื ๆ นอกเหนอื จากนี้ อลั -มรุ อญิอะฮฺ 64 1. ความจรงิ แลว เราไดเ สนอหลกั ฐานตา ง ๆ เหลานเ้ี พ่อื เปน การสนอง
ตอบตอคําขอรองของทา น 410 2. หลักฐานตา ง ๆ ท่เี ราไดเ สนอไปแลว น้ลี วนเปน ทีย่ อมรับของกลมุ 410 นักปราชญส ว นใหญแลววา มคี วามถกู ตอ งทกุ ประการ 3. สาเหตุสาํ คัญในดา นของการทีน่ กั ปราชญฝ า ยชีอะฮฺลิซซนุ นะฮฺมิได 411 416 รายงานฮาดีษตา ง ๆ ท่ีมสี ายสบื อยางถูกตองจากฝา ยเรา 417 4. ขอเสนอเพอื่ ไปสหู ลกั ฐานที่วา ดวยเรอื่ งของการแตงตั้งผูสืบมรดก 417 อลั -มรุ อญิอะฮฺ 65 418 • ขอพสิ ูจนหลกั ฐานฮาดษี วาดวยการแตง ต้ังทายาท อลั -มรุ อญิอะฮฺ 66 418 • อาลคี ือทายาทผูสบื มรดกของทานนบี (อัลลอฮทฺ รงประทานความ 423 423 จําเริญแดทา นและแดบรรดาลูกหลานนของทา น) 424 อัล-มรุ อญิอะฮฺ 67 424 432 • ขออธิบายเก่ยี วกบั เรอ่ื งหลักฐานการแตงตงั้ ทายาท 432 อัล-มุรอญิอะฮฺ 68 435 • หลักฐานตา ง ๆ เก่ียวกับฮาดษี ที่วา ดว ยการแตง ตั้งทายาท 435 อัล-มรุ อญิอะฮฺ 6๙ 445 445 • หลกั ฐานทค่ี ัดคานฮาดษี ทว่ี า ดว ยการแตงตั้งทายาทผสู บื มรดก 446 อัล-มุรอญิอะฮฺ 70 448 1. ไมม คี าํ คัดคานใดที่สามารถลบลางหลกั ฐานทว่ี า ดวยเร่ืองการแตงตั้ง 448 ทายาทได 2. สาเหตุท่มี กี ารขดั แยง ในเร่ืองนี้ 3. ผคู ดั คานมิไดมีขอมลู ที่เปนขอ พิสูจนตามส่ิงท่ีพวกเขาไดร ายงานกัน 4. สตปิ ญ ญาและสภาพความเปนจรงิ สามารถพิจารณาตดั สนิ เร่ืองนี้ได อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ 71 • เพราะเหตใุ ดทา นจจึงไดทาํ การปฏเิ สธฮาดีษท่รี ายงานโดย “มารดา ของศรทั ธาชน” ซงึ่ เปน ภรรยาผปู ระเสรฐิ ยิง่ ของทา นนบี ?”
อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ 72 449 1. ทานหญงิ อาอีชะฮฺ มิไดมคี วามประเสรฐิ ย่งิ ไปกวา บรรดาภรรยาทัง้ หลายของทา นนบี (อลั ลอฮทฺ รงประทานความจาํ เรญิ และความสันตสิ ุข 449 แดท านและแดบ รรดาลูกหลานของทาน) 451 2. ภรรยาผมู ีเกียรติที่สดุ ของทา นนบีน้นั คอื ทา นหญิงคอดียะฮฺ 3. คําช้ีแจงเกย่ี วกับเหตุผลซง่ึ เปน สาเหตุท่จี ะตอ งปฏิเสธฮาดษี บทน้ี 452 ของทา นหญงิ อาอีชะฮฺ 453 อัล-มุรอญิอะฮฺ 73 453 • คําขอรอ งใหอ ธิบายในสาเหตทุ ป่ี ฏเิ สธรายงานฮาดีษในเรอื่ งนข้ี องทาน 454 หญงิ อาอชี ะฮฺ 455 อัล-มุรอญอิ ะฮฺ 74 1. การอธิบายถึงสาเหตุท่ีตองปฏเิ สธฮาดษี ซ่งึ รายงานโดยทา นหญิง 462 อาอชี ะฮฺ 2. ขอมูลท่เี กย่ี วกบั เรอ่ื งการแตงตัง้ ทายาทน้นั สามารถใชส ตปิ ญญา 465 พิสจู นได 467 3. ขออา งของทานหญงิ อาอชี ะฮทฺ ว่ี า ทา นนบไี ดว ายชนมในขณะทีอ่ ยู ณ ทรวงอกของนางนัน้ เปนสง่ิ ที่ถกู คัดคาน 467 อัล-มรุ อญิอะฮฺ 75 468 1. ทานหญงิ อุมมุลมุมีนนี อาอชี ะฮฺ มิไดร ายงานฮาดีษไปในทํานองมี เลศนัย 469 2. ความดงี ามและความชั่วนั้นเปน ส่ิงท่สี ตปิ ญ ญาสามารถจําแนกได 470 ท้งั สองประการ 3. ขอคาํ อธิบายถึงสาเหตทุ ต่ี อ งปฏิเสธกับรายงานฮาดษี ของมารดาแหง 470 ศรัทธาชน อัล-มุรอญอิ ะฮฺ 76 1. การรายงานฮาดีษของทา นหญงิ อาอชี ะฮนฺ นั้ เปนไปในลักษณะท่มี ี เลศนยั
2. ความดีงามและความชัว่ นน้ั เปนสงิ่ เลือกไดโดยการใชส ติปญ ญา 474 3. มหี ลักฐานท่ศี อฮฮ้ี ฺ (ถกู ตอง) ที่คัดคา น ฮาดีษทท่ี านหญงิ มารดาแหง 477 ศรทั ธาชนนํามาอา ง 4. รายงานฮาดีษของทา นหญิงอมุ มฺสะละมะฮฺ ไดเ ปน ที่ยอมรับกอ นฮาดษี 482 484 ขอทานหญิงอาอีชะฮฺ อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ 77 484 • ขอใหอ ธบิ ายถงึ สาเหตุทใี่ หก ารยอมรับตอ ฮาดษี ของทา นหญิงอุมมุสะละมะฮฺ 485 ท่รี ายงานคดั คานกบั ฮาดีษของทานหญิงอาอชี ะฮฺ 491 อลั -มุรอญิอะฮฺ 78 491 4๘๕ 492 • สาเหตทุ ่ฮี าดีษของทานหญิงอุมมุสะละมะฮทฺ ค่ี ัดคานฮาดีษทา นหญิง 492 อาอชี ะฮฺไดเ ปน ท่ียอมรบั วานาเชื่อถอื กวา 499 499 อัล-มุรอญิอะฮฺ 7๙ 501 • กลมุ นักปราชญท้ังหมดยืนยนั ถึงความถกู ตองสาํ หรับตําแหนง การเปน 501 คอลีฟะฮฺของทานอาบบู ักรฺ 509 อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 80 509 • ตาํ แหนงการเปน คอลฟี ะฮขฺ องอาบูบักรมฺ ไิ ดเปนมติเอกฉนั ท 510 อัล-มรุ อญิอะฮฺ 81 • มติท่ีเหน็ ชอบเปน เอกฉนั ทแ ลว ถามีการขัดแยง ก็ตองลมลางกัน อัล-มรุ อญิอะฮฺ 82 • การลงมตไิ ดเปน เอกฉนั ท และการขัดแยง กม็ ไิ ดเ ปนการทําลาย อลั -มุรอญิอะฮฺ 83 • จะถอื วา หลักฐานแตงต้งั (ทา นอาลี) และการถอื ปฏิบตั ิของบรรดา สาวกตางกม็ ีความถูกตองดวยกนั ทง้ั สองอยางไดหรอื ? อลั -มุรอญิอะฮฺ 84 1. ถอื วา ทัง้ หลักฐานการแตง ตงั้ (ทา นอาล)ี และการถอื ปฏิบตั ิของบรรดา
สาวก ตา งกม็ ีความถูกตองดว ยกันทั้งสองอยา งได 510 2. เหตผุ ลท่ที านอิมาม อาลี ตอ งวางเฉยกับสทิ ธิของทาน 515 อลั -มุรอญิอะฮฺ 85 519 • ขอพิสูจนหลักฐานทวี่ าบรรดาสาวกมิไดยอมรบั ในคําส่ังตา ง ๆ ของ 519 ทา นนบี (ศ) 521 อัล-มรุ อญิอะฮฺ 86 521 530 • เหตุการณท อ่ี บั โชคเม่อื วนั พฤหัส อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ 87 530 • คําคดั คา นพรอ มกบั ขอ โตแ ยงในเร่ืองท่ีไดช ือ่ วา “ความอบั โชค” 535 คราวน้ัน 543 543 อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 88 543 5๓๕ 544 • คําคัดคานดงั กลา วนน้ั เปนส่งิ ทีไ่ มถ กู ตอง 544 550 อัล-มรุ อญิอะฮฺ 8๙ 1. ยอมรบั วาคาํ คัดคานเหลา นั้นไมถ กู ตอง 552 2. ขอพสิ จู นหลกั ฐานอ่ืน ๆ อกี 554 556 อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๙0 556 • ตาํ แหนง แมทพั ของทานอุลามะฮฺ 559 อลั -มรุ อญอิ ะฮฺ 91 1. คาํ คดั คา นในกรณีท่ีบรรดาสาวกมพี ฤติการณต อตําแหนง แมทพั ของทานอุสามะฮฺ 2. ไมยอมรบั ฮาดีษที่ประณามผขู ัดแยง กบั แมทพั ผูนน้ั อลั -มรุ อญิอะฮฺ 92 1. คําคัดคา นเหลา นนั้ ไมส ามารถปฏิเสธเหตผุ ลทีเ่ ราไดก ลาวไปได 2. เราอา งฮาดษี น้ีมาจากทา นชะฮรฺ ็อสตานยี ฺ ตามที่มรี ะบุอยใู นสายสบื ฮาดีษ
อัล-มรุ อญิอะฮฺ 93 562 • ขอพิสูจนหลกั ฐานอนื่ ๆ อกี 562 563 อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 94 563 • ทานศาสนทูต (ศ) สัง่ ใหส งั หารคนทรยศ 568 568 อัล-มุรอญิอะฮฺ ๙๕ 569 • ขอ อางทมี่ ไิ ดส งั หารคนทรยศ 569 571 อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ 96 571 • คําตอบโตข ออางดังกลาว 572 572 อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ 97 575 • ขอพิสูจนห ลักฐานอื่น ๆ อกี 575 576 อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 98 576 1. แจกแจงใหเห็นเพยี งเรอื่ งราวบางประการ 577 2. ชี้นาํ ไปสรู ายละเอียดดานหน่งึ 577 577 อัล-มรุ อญิอะฮฺ 9๙ 584 1. พฤตกิ รรมของพวกเขาเปนเรอ่ื งของการปรับสภาพไดเขากับสังคม 2. ขอพสิ จู นห ลักฐานอืน่ ๆ อีก 584 585 อัล-มุรอญิอะฮฺ 100 1. ผูรว มสนทนาไดแ สดงเหตผุ ลนอกประเด็น 585 2. สนองตอบการขอหลักฐาน อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 101 • ทาํ ไมทาอาลี จงึ ไมอุทธรณในเหตกุ ารณส ะกฟี ะฮโฺ ดยอางสทิ ธิ การเปนคอลีฟะฮแฺ ละทายาท อัล-มุรอญอิ ะฮฺ 102 1. เหตผุ ลตาง ๆ ท่ียบั ย้งั มใิ หท านอิมาม อาลี อทุ ธรณใ นวันที่แตง ต้งั ทา น อาบบู กั รฺ ณ ตาํ บล สะกฟี ะฮฺ 2. ชแี้ จงไปยงั คําอุทธรณข องทา นและคําอทุ ธรณข องบรรดาปย มติ รของ
ทา น ทั้ง ๆ ทีอ่ ยูสภาพตองยับยงั้ 589 อัล-มุรอญอิ ะฮฺ 103 590 • ซกั ถามถึงคาํ อุทธรณของทา นอิมาม อาลี และคําอุทธรณของบรรดา 590 ปยมติ รของทา น 591 591 อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 104 1. บางสว นจากคาํ อทุ ธรณข องทา นอิมาม อาลี (อ) 598 2. คาํ อทุ ธรณข องทา นหญงิ ฟาฏมิ ะฮฺ อัซ-ซะรอฮฺ (ความสนั ติสุขพงึ มี 601 แตทา น) 601 602 อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 105 602 • ขอพสิ จู นหลกั ฐานอนื่ ๆ อีก 607 607 อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 106 609 1. คาํ อุทธรณของทา นอบิ นุ อับบาส 610 2. คําอุทธรณข องทานอิมาม ฮาซนั (อ) และอิมาม ฮเิ ซน (อ) 610 3. คาํ อุทธรณข องบรรดาชีอะฮฺ ผกู ลาหาญในหมู ศอฮาบะฮฺ (สาวก) 611 4. ช้ีแจงไปยงั คําอุทธรณข องพวกเขาเหลา นนั้ ทอ่ี างถงึ ตาํ แนหง วะศยี ฺ 611 อลั -มรุ อญิอะฮฺ 107 625 625 • พวกเขาเหลานนั้ เคยอางถึงเรื่องตาํ แหนง วะศยี ฺเมอ่ื ใด ? 626 อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 108 626 • คาํ อทุ ธรณต า ง ๆ ท่ีอา งถึงตาํ แหนง วะศยี ฺ 631 อัล-มุรอญอิ ะฮฺ 109 • ขอทราบท่มี าของหลกั การศาสนาจากแนวทางอิมามยี ะฮฺโดยละเอียด อัล-มุรอญิอะฮฺ 110 1. แนวทางของบรรดาชอี ะฮฺ เปนแนวทางที่สอดคลองตรงกันเปน เอกฉันท ของบรรดาอิมาม แหง อะหฺลลุ บยั ตฺ 2. บรรดาชีอะฮมฺ วี ชิ าการท่ลี ้ําหนา มาต้ังแตในสมยั ขอศอหาบะฮฺ 3. ผรู วบรวมตาํ ราใหหมบู รรพชนสมัยตาบิอีน และสมัยสานุศษิ ยของ
ตาบอิ นี 638 อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ 111 657 657 • ยอมรบั ตอสจั ธรรมอนั สมบรู ณและสลดั ทิ้งความอคติทีเ่ คยมตี อ สัจธรรม 659 อลั -มุรอญิอะฮฺ 112 659 • คําสดดุ ีทมี่ ีตอผูรวมเสวนา 662 ตวั บทฮาดีษภาษาอาหรับของทา นศาสนทูตแหงอลั ลอฮ(ฺ ศ) 688 ทไี่ ดเ สนอไวในหนงั สืออลั มุรอญิอาต เชงิ อรรถศัพท อัล-มุรอญอิ าต อัล-มุรอญิอะฮฺ ๑ ๖. ซุล-เกาะอดฺ ะฮฺ ๑๓๒๙ ๑. การแสดงอัธยาศยั ไมตรีท่สี ภุ าพ ๒. การขออนญุ าตเพือ่ แสดงทัศนะทางวชิ าการ ๑. ขอความสันติสุข ความเมตตาของอัลลอฮฺ และความจําเริญของพระองคพึงมีแดทาน ผูท รงคณุ วฒุ ิ อัลลามะฮฺ ชยั ค อบั ดุลฮุเซน ชัรฟุด – ดีน อัล – มุเซาวยี ในอดีตท่ีผานมาขาพเจายังไมเคยมีโอกาสไดทําความรูจักกับขอมูลอันลึกซึ้งของฝายชีอะฮฺ เลย เนื่องจากขาพเจาไมเคยไดคลุกคลีกับสังคมของพวกเขา และไมเคยไดศึกษาอยางเจาะลึกตอ ปญหาความมืดมนตาง ๆ ท่ีมีตอพวกเขา ในฐานะที่ทานเปนนักปราชญนามอุโฆษคนหนึ่งของพวก เขาในยุคปจจุบันน้ี ซ่ึงเปนผูที่มีความกลาหาญในอันที่จะช้ีแจงปญหาตาง ๆ ดวยการใหคําอธิบาย เชิงวิชาการ และเปดเผยขอเท็จจริงตาง ๆ ท่ีอยูในหลักการของพวกเขาเหลานั้นได นับวาเปนการ บันดาลของอัลลอฮฺ ที่ไดทําใหความกระวนกระวายใจของขาพเจาไดมีโอกาสบรรลุถึงจุดที่สงบลง ดวยความรูของทานท่ีมีอยางกวางขวาง โดยขาพเจาจะไดทําการศึกษาวิชาการตาง ๆ เหลาน้ันจาก ทานใหเต็มที่ หวังวาอัลลอฮฺไดทรงแกปญหาใหแก ความไมรูของขาพเจาดวยการใหไดรับความรู
อยางกวางขวางจากทาน ซ่ึงความกระหายหิวของขาพเจาจะไดรับการบรรเทาลง โดยเหตุที่ไดพบ กับแหลงวิชาการของอัลลอฮฺ ในฐานะท่ีบรรพบุรุษของทานผูเปนศาสดาท่ีถูกคัดเลือกจากอัลลอฮฺ น้ันไดชื่อวา “เปนนครแหงความรู” อีกท้ังผูเปนบรรพบุรุษของทานยังมีผูซึ่งไดชื่อวา “ประตูของ นครนั้น” และบรรพบุรุษของทานยังมีผูซึ่งไดชื่อวา “ผูไดรับความโปรดปราน” (มุรตะฏอ) ซ่ึง ขาพเจาเองไมเ คยไดมโี อกาสสัมผสั อยา งดดู ดมื่ กับสายธารแหงวทิ ยปญญาอนั นเี้ ลย ขาพเจาเคยแตไ ด ยินไดฟงเร่ืองราวตาง ๆ ของพวกทาน (ฝายชีอะฮฺ) ทั้งหลาย จากวิชาการที่อยูทางดานพ่ีนองอะฮฺลิซ ซุนนะฮฺของพวกทานเทานั้น ซึ่งขาพเจาไดรูมาวา พวกทานไดรับความอึดอัดใจจากพวกเขาอยาง มากมาย ทาํ ใหพวกทานเหมือนกบั อยกู ันอยา งสันโดษ เดยี วดาย แตขาพเจาเห็นวาทานคือผูที่มีความ สันทัดเปนอยางยิ่งในการเจรจา มีความเชี่ยวชาญในเชิงการใหคําอรรถาธิบาย เปนผูมีคารมท่ีนา ประทับใจย่ิง เปนผูมีชั้นเชิงในการตอบโตอยางเกงกาจ เปนผูมีความออนโยนในการใชโวหาร เปน ผูใหเกียรติตอฝายที่มีทัศนะตรงกันขาม ตลอดทั้งมีความประพฤติที่ควรแกการยกยอง และเปน บุคคลที่ควรแกการสรรเสริญ อีกท้ังเปนบุคคลที่นาเล่ือมใส และเปนผูมีความสุขุมคัมภีรภาพทุก กระเบียดน้ิว ๒. แนนอนขาพเจา ไดตระหนกั ถงึ วิชาการอันลึกซ้ึงท่ีกวางขวางของทาน จึงใครขออนุญาต ทานเกี่ยวกับการศึกษาในวิชาการตาง ๆ แหงกระแสธารน้ี ดังน้ันถาหากขาพเจาไดรับอนุญาต ก็ เทากับเปนลูทางสําหรับแกปญหาความมืดมนท่ีสุมอยูในทรวงอกของขาพเจา ซึ่งมันฝงตรึงอยูเปน เวลานานมาแลว ไมมีทางเลือกอื่นใด นอกจากจะมอบใหเปนธุระของทาน เพราะตามที่ขาพเจาเคย ไดรับฟงการอธิบายท่ีแลว ๆ มานั้น ลวนมีแตความนากังขาหรือไมก็มักจะพบแตความบกพรอง ไม สามารถจะเปน ขอ พิสจู น ซึ่งเพยี งพอแกก ารยอมรับได มันเพียงแตชวนใหขา พเจามองเหน็ ความหลง ผิด สวนวิชาการใดก็ตามถามาจากสัจธรรมจริงแลว แนนอนย่ิงมันจะตองอธิบายถึงหลักสัจธรรม อยางแจมแจง เพราะแนนอนสัจธรรมน้ันคือความจริงที่จะตองไดรับการปฏิบัติตามเสมอ ถาหาก มิไดเปนเชนนั้น เราก็จะไดถือตามคําที่คนเขากลาววา “เราจะถือหลักการของเราและทานก็ถือ หลักการของทาน ความพึงพอใจและความคิดเหน็ ทแี่ ตกตา งกนั ” ขาพเจาจะขอสรุป ดวยการขอใหทานไดรวมมือในการสนทนาของขาพเจาที่ตั้งใจจะให ทา นทําหนาท่ีเปนผูอรรถาธิบายปญหาสองประเด็น ประเด็นท่ีหนึ่งคือเร่ืองของมัซฮับดิมามียะฮฺ ทั้ง ในแงข องพ้นื ฐานและรายละเอียดของเรื่องน้ี ประเด็นทสี่ อง คือ เรื่องของอิมาม (ผูนํา) ทั่วไป น่ันคือ เร่ืองของ คอลีฟะฮฺ (ตัวแทน) ท่ีถัดจากทานศาสนทูตแหงอัลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญ
และความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ท้ังน้ีขาพเจาจะไดลงหมายเหตุไวใน ตอนลางของบทสนทนาทุกคร้ังของขาพเจาดวยอักษร (ซ.) แลวขอใหทานไดลงทายขอความของ ทา นดว ยอกั ษร (ช.) ขาพเจา หวงั ในความเออ้ื เฟอ และโอบออ มอารีทุกประการ(๑) วสั ลาม (ช) (1) ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ผูทรงกรุณาปรานี ผูทรงเมตตายิ่งเสมอ ทานผูน้ีมีความนอบนอม เปนอยางยิ่งในการขออนุญาต เพ่ือทําการเปดฉากเขาสูการอธิบายในหัวขอตาง ๆ ใหแกเรา น่ีคือคุณสมบัติและจริยธรรมท่ีนาประทับใจของทาน หมายเหตุของอักษรยอ (ซ.) น้ัน หมายถงึ ชื่อของทา นท่ยี อ มาจากคาํ วา “ซะลีม” และเปน อกั ษรยอท่มี าจากคําวา “ซนุ น”ี ดว ย สวนอกั ษร (ช) น้ัน หมายถึงชือ่ ท่ยี อมาจากคําวา “ชัรฟุด – ดีน” และหมายถึง คําที่ยอมาจาก “ชอี ะฮ”ฺ ดวย อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๒ ๖. ซลุ เกาะอดฺ ะฮฺ ๑๓๒๙ ๑. การแสดงอัธยาศยั ไมตรตี อบ ๒. การใหอนญุ าตเพ่อื ดาํ เนนิ การแสดงทัศนะทางวิชาการ ๑. ขอความสันติสุข ความเมตตาของอัลลอฮฺ และความจําเริญของพระองคพึงมีแดทาน เมา ลานา ชัยคุล – อิสลาม ทานไดทําการผูกมัดจิตใจของขาพเจา ดวยจดหมายท่ีเต็มไปกับอรรถรสแหงความดีงาม ของทาน และทานไดใหคําชมเชยแกขาพเจาอยางเต็มไปดวยความกรุณา ชางเปนสิ่งท่ีทําใหเกิด ความออนเพลียเสียนี่กระไร สําหรับการสรรหาภาษาแหงการขอบคุณมาใหสมดุลกับสิ่งที่ไดรับมา จากทาน แมเ พยี งสวนหน่ึงของเนือ้ หาแหงการเยนิ ยอเหลานนั้ ชวั่ ชวี ติ ของขาพเจาก็ไมอาจตอบแทน ใหส มบรู ณลงได
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234