Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา ม.ปลายรวมเล่ม2

หลักสูตรสถานศึกษา ม.ปลายรวมเล่ม2

Published by paryphichchac61, 2020-03-20 05:29:31

Description: หลักสูตรสถานศึกษา ม.ปลายรวมเล่ม2

Search

Read the Text Version

151 สำระกำรพฒั นำสงั คม สำระกำรพฒั นำสงั คม เปน็ สาระเก่ยี วกับภมู ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ที่พลเมอื ง และการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคมประกอบด้วย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ สาระการพฒั นาสงั คม ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดังน้ี มำตรฐำนที่ 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถงึ ความสาคัญเก่ยี วกับภูมศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง สามารถนามาปรับใช้ในการดารงชวี ิต มำตรฐำนที่ 5.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อ การอยูร่ ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ขุ มำตรฐำนท่ี 5.3 ปฏิบัติตนเป็นพลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสขุ ของ สังคม มำตรฐำนที่ 5.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นความสาคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพฒั นา ตนเอง ครอบครัวชมุ ชน สังคม มำตรฐำนกำรเรยี นร้รู ะดับ และผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั ในแต่ละมาตรฐาน มำตรฐำนท่ี 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคญั เก่ียวกับภมู ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการปกครอง สามารถนามาปรับใชใ้ นการดารงชวี ิต มำตรฐำน มีความรู้ ความเขา้ ใจตระหนกั เกีย่ วกบั ภมู ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ กำรเรียนรรู้ ะดบั การเมือง ก1.ารอปธกิบคารยอขงอ้ ใมนลู โลเกกี่ยวแกลบั ะภนมูามิศาปสตรบัร์ใชป้ใรนะกวาตั รศิ ดาาสเตนรนิ ์ ชเศีวริตษเฐพศือ่าคสวตารม์ มกน่ัารคเงมอื ขงอกงชาราติ ผลกำรเรยี นรู้ ปกครองท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ประเทศต่าง ๆ ในโลก ทค่ี ำดหวงั 2. วิเคราะห์เปรียบเทยี บสภาพภมู ศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ของประเทศต่าง ๆ ในโลก 3. ตระหนกั และคาดคะเนสถานการณร์ ะหว่างประเทศทางดา้ นภูมิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง ทีม่ ผี ลกระทบต่อประเทศ1ไทย และโลกใน อนาคต 4. เสนอแนะแนวทางในการแก้ปญั หา การปองกัน และการพัฒนาทางด้าน การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสงั คม ตามสภาพปัญหาท่ีเกิดขนึ้ เพ่ือความ มัน่ คง ของชาติ

152 มำตรฐำนท่ี 5.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่าและสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพอื่ การอยู่ รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ มำตรฐำน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณขี อง กำรเรยี นรรู้ ะดับ ประเทศในสงั คมโลก ผลกำรเรียนรู้ 1. อธิบาย ประวตั ิ ความสาคัญ หลกั คาสอน ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของ ทค่ี ำดหวงั ประเทศในโลก 2. ยอมรบั และปฏิบตั ติ นเพอื่ การอยู่รว่ มกันอย่างสนั ติสุขในสังคมท่ีมคี วามหลากหลาย ทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 3. เลอื กรับปรบั ใช้วัฒนธรรม ประเพณีที่สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั สังคมใหม่ มำตรฐำนท่ี 5.3 ปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสขุ ของสงั คม มำตรฐำน มีความรู้ ความเข้าใจ ดาเนินชวี ติ ตามวถิ ีประชาธิปไตย กฎระเบยี บของประเทศ ต่าง ๆ กำรเรยี นรรู้ ะดับ ในโลก ผลกำรเรียนรู้ 1. อธิบายความสาคัญและบทบาทหน้าท่ขี ององคก์ รอิสระตามรัฐธรรมนญู ที่คำดหวงั 2. ระบบุ ทบาทองค์กรระหว่างประเทศทมี่ บี ทบาทต่อการเมอื งการปกครองของ ประเทศ ไทย/โลก 3. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบจากการไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายของประชาชนในประเทศต่างๆ 4. เสนอทางเลอื กในการแกป้ ญั หาความไมส่ งบท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั กฎหมายของประเทศไทย และประเทศต่างๆ มำตรฐำนที่ 5.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ ความสาคญั ของหลกั การพฒั นา และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน/สงั คม มำตรฐำน มีความรู้ ความเขา้ ใจ หลกั การพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวเิ คราะหข์ ้อมูล และเปน็ ผนู้ า กำรเรียนร้รู ะดับ ผตู้ าม ในการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม ให้สอดคล้องกบั สภาพการ ผลกำรเรียนรู้ เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณป์ จั จุบัน ท่ีคำดหวงั 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจหลักการพัฒนาชุมชน สังคม 2. บอกความหมายและความสาคัญของแผนชีวิต และชมุ ชน สังคม 3. วิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน/สังคม ดว้ ยเทคนคิ และวิธีการท่ี หลากหลาย 4. จูงใจให้สมาชกิ ของชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการจดั ทาแผนชวี ิต และแผนชมุ ชน สงั คมได้ 5.เป็นผู้นาผู้ตามในการจัดทาประชาคม ประชาพิจารณข์ องชมุ ชน 6. กาหนดแนวทางในการดาเนนิ การเพ่อื นาไปสกู่ ารทาแผนชวี ิตครอบครัว ชมุ ชน สังคม 7. รว่ มพฒั นาแผนชุมชนตามขนั้ ตอน

153 สำระกำรพฒั นำสังคม รำยวชิ ำบังคับ มำตรฐำนท่ี ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย 5.1 สำระ รหสั รำยวิชำ รำยวิชำบังคบั หนว่ ยกติ 5.2 และ 5.3 การพฒั นาสงั คม 3 5.4 สค31101 สังคมศกึ ษา 2 มำตรฐำนที่ สครท02 ศาสนา และหน้าทีพ่ ลเมอื ง 1 5.1 6 5.2 สครท03 การพฒั นาตนเองชมุ ชน สงั คม 5.3 5.4 รวม มำตรฐำนท่ี รำยวิชำเลือกบงั คับ 5.1 5.2 ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย 5.3 สำระ รหัสรำยวชิ ำ รำยวิชำบงั คบั หน่วยกิต 3 สค32029 การเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 3 3 การพฒั นาสังคม สค32034 ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย 3 12 สค32035 ลูกเสอื กศน. สค320032 การเรยี นรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ รวม รำยวชิ ำเลือกเสรี ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย สำระ รหัสรำยวิชำ รำยวชิ ำบังคบั หนว่ ยกิต 3 สค32036 การปอ้ งกันการทุจรติ พัฒนาสงั คม สค03035 สงั คมประชาธิปไตย 3 สค03053 ลกู เสอื วสิ ามัญเสริมสรา้ งคณุ ธรรม 2 รวม 8

154 คำอธบิ ำยรำยวิชำ สค31001 สังคมศึกษำจำนวน 3 หน่วยกิต ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกยี่ วกบั ภมู ศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ ปกครองในโลกและนามาปรับใช้ในการดาเนนิ ชีวติ เพ่ือความมน่ั คงของชาติ ศึกษำและฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกับเร่อื งดังต่อไปน้ี 1. สภาพภมู ิศาสตร์กายภาพ ของประเทศต่างๆ ในทวปี ยุโรป ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอฟริกา ทวีป อเมริกา และปรากฏการณท์ างธรรมชาติที่สาคัญๆ 2. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ แหล่งอารยะธรรมโลก บุคคลสาคัญของโลก เหตุการณ์สาคัญ ของโลกทมี่ ีผลตอ่ ปัจจบุ ัน 3. ระบบเศรษฐกิจ สถาบันการเงนิ และการเงนิ การคลังของประเทศไทย ระบบเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของประเทศตา่ ง ๆ 4. การพัฒนาการ การเมือง การปกครอง ของประเทศไทย และเหตกุ ารณ์สาคัญทางการเมืองการ ปกครองของโลกทสี่ ่งผลกระทบตอ่ ประเทศไทย กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้ 1. จัดใหม้ ีการสารวจสภาพภมู ศิ าสตร์กายภาพประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง ของชุมชน จดั กลุ่มอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ สบื ค้นขอ้ มูลทางกายภาพ จากแหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญา แผนท่ี Website ฯลฯ และสรุปผลการเรยี นรู้ นาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ 2. จัดให้มกี ารศกึ ษาจากส่ือการเรยี นรู้ เช่น เอกสาร ตารา CD แหล่งการเรียนรู้ ภูมปิ ญั ญา สถานทสี่ าคัญ 3. จัดให้มีการสืบคน้ รวบรวมข้อมลู โดยวธิ กี ารตา่ งๆ เช่น การศกึ ษาดูงาน การเก็บขอ้ มูล จากองคก์ ร ฟงั การบรรยายจากผูร้ ู้ จัดกล่มุ อภิปราย การวเิ คราะห์ เสนอแนวคดิ ทางเลือก 4. จดั กิจกรรมการศกึ ษาจากสภาพจรงิ การเลา่ ประสบการณ์ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การค้นคว้าจาก ผ้รู ู้ แหลง่ การเรยี นรู้ ส่อื เทคโนโลยี สอ่ื เอกสาร การจาลองเหตุการณ์ การอภิปราย การวิเคราะห์ สรปุ ผลการ เรยี นรู้ และนาเสนอ ในรปู แบบที่หลากหลาย กำรวดั และประเมนิ ผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมสี ว่ นรว่ มในการทากิจกรรม และการตรวจ ผลงาน ฯลฯ

155 รำยละเอยี ดคำอธบิ ำยรำยวิชำ สค 31001 สังคมศึกษำ จำนวน 3 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรยี นร้รู ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกย่ี วกบั ภมู ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ ปกครองในโลกและนามาปรบั ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิตเพ่ือความม่นั คงของชาติ ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ช้วี ดั เน้ือหำ จำนวน (ชว่ั โมง) 1. ภมู ศิ าสตร์กายภาพ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เก่ยี วกบั 1. สภาพภมู ิศาสตร์กายภาพของ สภาพทางภูมศิ าสตรก์ ายภาพของ ประเทศไทยกับทวีปเอเชยี 15 ประเทศไทยกับทวปี ตา่ งๆ ทวีปยุโรป ทวปี ออสเตรเลยี 2. เปรียบเทียบสภา พ ทวปี แอฟริกา ทวีปอเมรกิ า ภูมิศาสตร์กายภา พของ ประเทศไทยกับทวีปต่า งๆ 2. สาเหตแุ ละลกั ษณะการเกดิ 3. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ใน ปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ี่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติท่ี สาคญั ๆ รวมทงั้ การป้องกัน เกิดขึ้นในโลก อันตรายเมื่อเกิด 4. มที ักษะการใช้เครื่องมือทาง - พายชุ นิดต่างๆ ภมู ศิ าสตร์ทีส่ าคญั ๆ - น้าท่วม - แผ่นดนิ ไหว 5. รวู้ ิธปี อ้ งกันตนเองใหป้ ลอดภัย - ภเู ขาไฟระเบดิ เมอ่ื เกิดภัยจากปรากฏการณ์ - ภาวะโลกร้อน ธรรมชาติ ปรากฏการณ์ เรือนกระจก - อืน่ ๆ 3. วธิ ีใชเ้ คร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ - แผนที่ - ลูกโลก - Website - อ่ืนๆ 4. วิธีปอ้ งกันตนเองจากภัย ธรรมชาติ 5. ปญั หาการทาลาย 6. สามารถวิเคราะห์ แนวโนม้ และ 6. การวเิ คราะหส์ าเหตุการเกิด 15 วกิ ฤตส่งิ แวดลอ้ มทเี่ กิดจากการ ปัญหา และสภาพการทาลาย ทรพั ยากรธรรมชาติ และ ส่ิงแวดลอ้ มทเ่ี กิดจากการกระทา

156 ท่ี หัวเร่ือง ตัวชว้ี ดั เน้อื หำ จำนวน 2 ประวัติศาสตร์ (ชั่วโมง) 7. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการใช้ ของมนุษย์ ในสภาพปัจจบุ ัน และ นวัตกรรม และเทคโนโลยดี า้ น แนวโนม้ ในอนาคต สง่ิ แวดลอ้ มเพอื่ พัฒนา ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละกระทา - ป่าไม้ ของมนุษย์สิ่งแวดลอ้ มทย่ี ่ังยืน - ภูเขา 1. อธบิ ายเหตุการณส์ าคัญทาง - แมน่ ้า ลาคลองหนองบึง ทะเล ประวัติศาสตรข์ องประเทศต่าง ๆ - ดิน ในโลกได้ - สัตวป์ า่ สตั วน์ ้า 2. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบ - แร่ธาตุ เหตุการณส์ าคัญทางประวัตศิ าสตร์ - มลพิษทางอากาศ ของแตล่ ะประเทศในโลก ท่ีมี - ปรากฏการณ์เรือนกระจก ผลกระทบต่อความเปลยี่ นแปลง - อนื่ ๆ ของประเทศตา่ ง ๆ ในโลก - การป้องกันการพงั ทลายของดิน - การพฒั นาดินใหอ้ ดุ มสมบูรณ์ 3. วิเคราะหเ์ หตุการณ์โลกปัจจุบัน เช่น การปลกู ปา่ การปลูกหญ้า และคาดคะเนเหตุการณ์ท่ีอาจจะ แฝก ฯลฯ เกดิ ขน้ึ กบั ประเทศตา่ ง ๆ ใน 7. ความเข้มแขง็ ของภาค อนาคตได้ ประชาชนในการแกป้ ญั หาการ ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และ สงิ่ แวดลอ้ ม (กรณตี วั อย่าง) 1. การแบง่ ชว่ งเวลา และยุคสมัย 30 ทางประวัตศิ าสตร์ 2. แหล่งอารยธรรมโลก - จีน - อนิ เดยี - อียปิ ต์ - เมโสโปเตเมีย - กรกี - โรมัน 3. ประวัติชาตไิ ทย - ธนบรุ ี -รตั นโกสนิ ทร์ - ลกั ษณะการเปล่ียนแปลงการ ปกครอง - เหตุการณ์ปัจจุบันท่ีมีผลต่อ เนื่องมาจากประวัติศาสตรไ์ ทย และประเทศต่างๆ ในโลกที่

157 ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หำ จำนวน 3 เศรษฐศาสตร์ (ชั่วโมง) 1. วเิ คราะห์ปัญหาและแนวโน้ม ส่งผลถึงอนาคต ทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทยได้ 1.1 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ 40 2. เสนอแนวทางการแก้ปัญหา ไทย ทางเศรษฐกิจของปร ะเทศ 1.2 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และ ไทยในปัจจุบันได้ สงั คมแห่งชาติ 2. ปัญหาเศรษฐกจิ ของไทยใน 3. รู้และเขา้ ใจ ตระหนกั ใน ปัจจบุ นั ความสาคัญของการรว่ มกล่มุ 3. ความสาคัญและความจาเปน็ เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ และ ในการรว่ มมือทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศต่าง ๆ ในโลก ประเทศต่าง ๆ 4. รูแ้ ละเขา้ ใจ ในระบบเศรษฐกจิ แบบต่าง ๆ ในโลก 4. ระบบเศรษฐกจิ ในโลก 5. รู้และเขา้ ใจความสัมพันธ์และ ผลกระทบทางเศรษฐกิจระหว่าง 5. ความสัมพันธ์และผลกระทบ ประเทศของประเทศไทยกบั กลุ่ม ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ใน กบั ภูมิภาคตา่ งๆ ท่ัวโลก ภูมิภาค ในโลก 6. วิเคราะห์ความสาคัญของระบบ 6. รูปแบบของระบบเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ และการเลอื กจัด และวิธกี ารเลือกจัดกจิ กรรมทาง กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของประเทศ เศรษฐกจิ ต่างๆ ในโลก และผลกระทบ 7. เข้าใจใจในเร่ืองกลไกราคากบั 7.1 กลไกราคากบั ระบบ ระบบเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ ในปัจจุบัน 7.2 การแทรกแซงกลไกราคาของ 8. รแู้ ละเข้าใจในเรื่องการเงนิ การ รฐั บาลในการสง่ เสรมิ และแกไ้ ข คลัง และการธนาคาร ระบบเศรษฐกจิ 8. ความหมาย ความสาคัญของ 9. เข้าใจในระบบของการ เงนิ ประเภท สถาบันการเงิน และ ธนาคาร สถาบนั ทางการเงนิ 9. การธนาคาร 10. ตระหนักในความสาคัญของ - ระบบของธนาคาร เงิน สถาบนั การเงนิ - ประเภทของธนาคาร - บทบาทหน้าทข่ี องธนาคาร แหง่ ประเทศไทย (ธนาคารกลาง) 10. การคลัง รายไดป้ ระชาชาติ - รายไดข้ องรฐั บาล และการ จดั ทางบประมาณแผน่ ดนิ

158 ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชีว้ ัด เน้อื หำ จำนวน (ชว่ั โมง) - ภาษกี บั การพัฒนาประเทศ - ดลุ การค้า - ดุลการชาระเงิน 11. วิเคราะห์ผลกระทบจากปญั หา 11. ปัญหาเศรษฐกิจในประไทย ทางเศรษฐกิจในเรอ่ื งการเงิน การ ภมู ิภาคต่าง ๆ และโลก คลัง ของประเทศไทย และสงั คม โลกได้ 12. รู้และเขา้ ใจเร่ืองแผนพัฒนา 12.1 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ สังคมแห่งชาติ ฉบับปจั จบุ ัน 12.2 ผลของการใช้แผนพฒั นา เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 4 การเมืองการปกครอง 1. รู้และเขา้ ใจ ระบอบการเมือง 1. การปกครองระบอบ 20 การปกครองต่าง ๆ ทใี่ ช้อยูป่ ัจจุบนั 2. ตระหนกั และเห็นคุณค่าการ 2.1 การปกครองระบอบเผดจ็ การ ปกครองระบอบประชาธิปไตย 2.2 พฒั นาการของระบอบ ประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตยของประเทศต่าง ๆ ในโลก 3. ร้แู ละเข้าใจ ผลท่ีเกิดจากการ 3. เหตุการณ์สาคัญทางการเมือง เปลยี่ นแปลงทางการเมืองการ การปกครอง ของประเทศไทย ปกครอง ของประเทศไทยจากอดีต 4. รแู้ ละเขา้ ใจผลท่ีเกิดจากการ 4. เหตกุ ารณส์ าคญั ทางการเมอื ง เปลีย่ นแปลงการเมอื งการปกครอง การปกครอง ของโลกท่สี ง่ ผล ของโลก กระทบตอ่ ประเทศไทย 5. ตระหนักและเห็นคณุ คา่ ของ 5.1 หลกั ธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาล และนาไปปฏิบตั ิ - นติ ธิ รรม ในชวี ิตจริงได้ - คุณธรรม - ความโปร่งใส - ความคุ้มค่า - รบั ผิดชอบ - ความร่วมมือ 5.2 แนวทางปฏบิ ตั ติ าม หลักธรรมาภบิ าล

159

160 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ สค31002 ศำสนำและหน้ำท่ีพลเมอื ง จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศในสังคมโลก 2. มีความรู้ ความเข้าใจ ดาเนนิ ชวี ิตตามวิถปี ระชาธปิ ไตย กฎระเบียบของประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ศึกษำและฝกึ ทักษะเกี่ยวกับเร่ืองดงั ต่อไปนี้ 1. หลักธรรมสาคัญของแตล่ ะศาสนา และการปฏบิ ตั ติ นใหอ้ ยรู่ ่วมกันอย่างสนั ติสุข 2. วิธีฝกึ ปฏิบัตพิ ัฒนาจิตในแตล่ ะศาสนา 3. วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศไทย และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 4. การสืบทอดทางวัฒนธรรม และประเพณีดงี ามของไทย 5. ค่านิยมท่พี งึ ประสงค์ 6. แนวทางการป้องกนั และการแกป้ ัญหาพฤติกรรมทีไ่ ม่พึงประสงค์ของสังคมไทย 7. บทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนูญทีม่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงทางสงั คมและมผี ลต่อฐานะของประเทศใน สังคมโลก 8. ที่มาและบทบาทหนา้ ที่ ขององค์กรตามรัฐธรรมนญู 9. การปฏิบัติตนใหส้ อดคล้องตามบทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู และสนับสนุนส่งเสริมให้ผูอ้ น่ื ปฏิบัติ 10. การมสี ่วนร่วมทางการเมอื งการปกครอง เพือ่ ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ สงั คมไทย และสังคมโลก 11. สิทธิมนุษยชน และกฎหมายระหวา่ งประเทศทีว่ ่าด้วยการคมุ้ ครองสิทธิด้านบุคคล กำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ จัดให้มีกิจกรรมการศึกษาหาความร้จู ากส่ือเอกสาร สอ่ื เทคโนโลยี ภมู ปิ ัญญา องคก์ ร สถาบัน การฝึก ปฏิบัติ ร่วมกิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี การจัดกลุม่ อภิปราย การวิเคราะห์ การศึกษาดูงาน และ การสรปุ ผลการเรยี นรพู้ ร้อมนาเสนอดว้ ยวิธีทีห่ ลากหลาย กำรวดั และประเมินผล ประเมนิ จากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีส่วนร่วมในการทากจิ กรรมและการตรวจ ผลงาน ฯลฯ

161 รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวชิ ำ สค31002 ศำสนำและหน้ำทพ่ี ลเมอื ง จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดบั 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ของประเทศในสงั คมโลก 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนินชีวิตตามวถิ ีประชาธิปไตย กฎระเบียบของประเทศตา่ งๆในโลก ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ช้ีวัด เนื้อหำ จำนวน (ชั่วโมง) 1. ศาสนา วัฒนธรรม 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ศาสนา 1. ศาสนาต่างๆ ประเพณี ทส่ี าคญั ๆ ในโลก - กาเนิดศาสนาตา่ ง ๆ 20 - ศาสดาของศาสนาต่าง ๆ 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ใน 2. หลักธรรมสาคัญของศาสนา 20 หลักธรรมสาคญั ของแต่ละ ต่าง ๆ ศาสนา - การเผยแพรศ่ าสนาต่างๆ - ความขัดแย้งในศาสนาตา่ ง ๆ 3. เห็นความสาคัญในการอยู่ ซึ่งก่อใหเ้ กิดผลเสียในสงั คม รว่ มกับศาสนาอื่นอยา่ งสันติสุข (กรณีตัวอยา่ ง) 4. ประพฤติปฏบิ ตั ติ นท่สี ง่ ผลให้ 3. การปฏิบตั ติ นให้อยู่รว่ มกนั สามารถอยรู่ ่วมกับศาสนาอื่น อย่างสันตสิ ขุ อย่างสนั ตสิ ุข 4. วธิ ฝี กึ ปฏบิ ตั ิพัฒนาจิตในแตล่ ะ 5. ฝกึ ปฏิบตั ิพฒั นาจติ เพื่อให้ ศาสนา สามารถพฒั นาตนเองให้มี สติปญั ญาในการแกป้ ญั หาตา่ งๆ 5. การพฒั นาสตปิ ัญญาในการ และพัฒนาตนเองครอบครัว แกป้ ัญหาตา่ งๆ และการพัฒนา สงั คม ชุมชน ตนเองครอบครัว ชุมชน สงั คม 6. มีความรู้ ความเขา้ ใจใน (กรณตี วั อยา่ ง) วัฒนธรรมประเพณขี องประเทศ ไทยและประเทศต่างๆในโลก 6. วัฒนธรรมประเพณใี นประเทศ ไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 7. ตระหนักถึงความสาคญั ใน - ภาษา วัฒนธรรมประเพณขี องประเทศ - การแต่งกาย ไทย และประเทศต่าง ๆ ในโลก - อาหาร 8. มสี ว่ นรว่ มสบื ทอดวัฒนธรรม - ประเพณีที่สาคญั ๆ ฯลฯ 7. การอนุรกั ษ์ และสบื ทอด วฒั นธรรมประเพณี (กรณตี วั อยา่ ง) 8. ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการมีสว่ นร่วม สบื

162 ที่ หวั เร่อื ง ตัวช้ีวัด เนื้อหำ จำนวน 2. หนา้ ท่พี ลเมอื ง ประเพณีไทย (ชัว่ โมง) ทอด ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเป็น 9. ประพฤตติ นเป็นแบบอย่าง แบบอย่างในการอนุรกั ษ์ 20 ของผ้ทู ม่ี ีวัฒนธรรมประเพณอี ัน วฒั นธรรมประเพณอี ันดีงามของ ดงี ามของสังคมไทยและเลือกรบั สงั คมไทย ปรบั ใช้วัฒนธรรมจากตา่ งชาติ 9.1 แนวทางในการเลือกรบั ปรับ ได้อยา่ งเหมาะสมกบั ตนเองและ ใช้วัฒนธรรมตา่ งชาตไิ ดอ้ ย่าง สงั คมไทย เหมาะสมกับตนเองและ สังคมไทย (กรณตี วั อยา่ ง) 10.ประพฤติปฏิบัตติ ามค่านิยม 9.2 ค่านยิ มที่พงึ ประสงคข์ อง ท่พี งึ ประสงค์ของสงั คมโลก สังคมไทย 11. เปน็ ผ้นู าในการป้องกัน และ - ความเออื้ เฟอื้ เผื่อแผ่ แกไ้ ขปญั หาพฤตกิ รรมตาม - การย้มิ แย้มแจ่มใส ค่านยิ มทีไ่ ม่พึงประสงคข์ อง - การให้อภัย สงั คมไทย ฯลฯ 1.1 รแู้ ละเขา้ ใจบทบัญญตั ิของ 10. ค่านิยมทีพ่ งึ ประสงคข์ อง รฐั ธรรมนูญ ประเทศต่างๆ ในโลก - การตรงตอ่ เวลา - ความมีระเบียบ ฯลฯ 11. วิธปี ฏิบัติในการประพฤติตน เป็นผนู้ าร่วมในการป้องกัน และ แก้ไขปัญหาพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ในสังคมไทย 1.1 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่ มผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงทาง สังคม และมผี ลตอ่ ฐานะของ ประเทศในสังคมโลก 1.2 ร้แู ละเข้าใจบทบาทหน้าท่ี 1.2 บทบาทหน้าที่องค์กรตาม ขององคก์ รตามรัฐธรรมนญู และ รัฐธรรมนูญและการตรวจสอบ การตรวจสอบอานาจรัฐ การใช้อานาจรฐั 2 .อธิบายความเปน็ มา และการ 2. ความเป็นมา และการ เปลยี่ นแปลงของรัฐธรรมนญู เปลี่ยนแปลงของรฐั ธรรมนญู 3. บอกวธิ ีปฏบิ ตั ติ นตาม รฐั ธรรมนูญ และกฎหมาย 3.1 รฐั ธรรมนูญ และกฎหมาย อื่น ๆ 3.2 การปฏิบัตติ นใหส้ อดคลอ้ ง ตามบทบัญญตั ิของรัฐธรรมนญู และการสนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้ผูอ้ ่ืน

163 ที่ หวั เร่อื ง ตัวชี้วดั เน้ือหำ จำนวน (ชว่ั โมง) ปฏิบตั ิ 4. รูแ้ ละเข้าใจหลักสทิ ธิ 4. หลักสิทธมิ นุษยชนและ 20 มนษุ ยชน บทบาทหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ ของคณะกรรมการสทิ ธ์ิ 5. อธิบายหลกั สิทธิมนุษยชนให้ 5. กฎหมายระหวา่ งประเทศทวี่ ่า ผู้อื่นได้ ดว้ ยการค้มุ ครองสทิ ธดิ ้านบุคคล 6. ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั สิทธิ 6. การปฏิบตั ติ ามหลักสทิ ธิ มนุษยชน มนุษยชน

164 คำอธิบำยรำยวิชำ สค31003 กำรพัฒนำตนเอง ชุมชน สังคม จำนวน 1 หนว่ ยกิต ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั ความรู้ ความเข้าใจ หลกั การพฒั นา ชมุ ชน สังคม สามารถวเิ คราะห์ข้อมูลและเปน็ ผ้นู าผู้ตามในการ พฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม.ให้สอดคลอ้ งกับสภาพการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ปัจจุบัน ศกึ ษำและฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกับเรื่องดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความหมาย ความสาคัญ ของขอ้ มูล ประโยชนข์ องข้อมลู ตนเอง ชุมชน สังคม 2. เทคนิคและวิธีการจัดเก็บขอ้ มลู เช่น การจัดเวทีประชาคม การสารวจขอ้ มูลโดยใช้แบบสอบถาม การสืบคน้ ขอ้ มูลจากแหลง่ ต่างๆ ฯลฯ 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่อื การจดั ทาแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 4. การจดั ทาแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และการนาไปใช้ 5. ความหมายความสาคัญทีม่ าและบทบาทหนา้ ท่ขี องผู้นา ผู้ตามชุมชนด้านการจัดทาแผนพัฒนา ตนเอง ชุมชน สังคม 6. การเปน็ ผูน้ า ผู้ตามในการขับเคลอ่ื นแผนพฒั นาตนอง ชมุ ชน สังคม สกู่ ารปฏบิ ตั ิ กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้ จัดใหผ้ เู้ รียนศึกษาจากการปฏิบัตจิ ริง เขา้ ร่วมสังเกตการณ์ ศกึ ษากรณีตัวอยา่ งชุมชน และผ้นู าชุมชน สร้างสถานการณ์จาลอง จัดทาเวทีประชาคม และการศกึ ษาดูงาน เปรยี บเทียบการจัดทาแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน/สงั คม ระหว่างกลมุ่ ระหวา่ งชมุ ชน กำรวดั และประเมนิ ผล จากผลงาน และการมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม

165 รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวิชำ สค31003 กำรพัฒนำตนเอง ชุมชน สังคม จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจ หลกั การพฒั นา ชุมชน สงั คม สามารถวิเคราะหข์ อ้ มลู และเปน็ ผู้นาผตู้ ามในการ พฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม.ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ปจั จบุ ัน ที่ หวั เรอื่ ง ตัวชี้วัด เนอื้ หำ จำนวน (ชัว่ โมง) 1. พัฒนาตนเอง ชุมชน 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. หลักการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน 20 สังคม หลกั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม สังคม 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และ 2. ความหมาย ความสาคัญ เห็นความสาคัญของข้อมลู ประโยชน์ ของข้อมลู ด้าน ตนเอง ครอบครัว ชุมชนสงั คม - ภมู ิศาสตร์ - ประวัตศิ าสตร์ - เศรษฐศาสตร์ - การเมือง การปกครอง - ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี - หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง - ทรัพยากร สิ่งแวดลอ้ ม - สาธารณสขุ - การศึกษา 3. วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายขอ้ มูล 3. วิธีการจัดเก็บ วิเคราะหข์ ้อมลู ด้วยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย และ เผยแพรข่ อ้ มลู 4. เกดิ ความตระหนกั และมี 4. การมสี ว่ นร่วมในการวางแผน สว่ นรว่ มในการจดั ทาแผนพัฒนา พฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน ชุมชน สงั คม สงั คม 5. สามารถกาหนดแนวทางการ 5.1 เทคนคิ การมีส่วนรว่ มในการ 20 พฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน จัดทาแผน เชน่ สงั คม - การจดั ทาเวทีประชาคม - การประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย

166 ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หำ จำนวน (ชวั่ โมง) - การสมั มนา - การสารวจประชามติ - การประชาพจิ ารณ์ ฯลฯ 5.2 การจัดทาแผน 6. รู้และเข้าใจ บทบาท หน้าที่ -ทิศทาง นโยบาย ของผูน้ าชุมชน - โครงการ 7. เป็นผนู้ า ผตู้ ามในการจดั ทา - ผู้รบั ผดิ ชอบ และขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนา - จดั ลาดบั ความสาคญั ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนสงั คม ฯลฯ 5.3 การเผยแพรส่ ู่การปฏบิ ัติ - การเขยี นรายงาน - การเขยี นโครงงาน ฯลฯ 6. บทบาท หนา้ ทีข่ องผู้นา/ สมาชกิ ท่ีดขี องชมุ ชน สงั คม 6.1 ผ้นู า ผ้ตู ามในการจัด แผนพัฒนา ชมุ ชน สังคม 6.2 ผ้นู า ผู้ตามในการขับเคลือ่ น แผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม

167 คำอธิบำยรำยวชิ ำ สค32029 กำรเงินเพื่อชีวติ 3 จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก เก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในโลก และนามาปรับใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ เพือ่ ความมั่นคงของชาติ ศึกษำและฝึกทักษะเกีย่ วกับเรอ่ื งดังตอ่ ไปน้ี 1. วำ่ ดว้ ยเรือ่ งของเงิน ความหมายและประโยชน์ ประเภทของเงิน เงนิ ฝาก การประกันภัยและการลงทุน การชาระเงิน ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ โครงสร้างระบบสถาบนั การเงนิ ของประเทศไทย 2. กำรวำงแผนกำรเงิน ประเมนิ ฐานะการเงนิ ของตนเอง บันทึกรายรับ-รายจ่าย เป้าหมายการเงนิ ในชวี ติ การออม 3. สนิ เชอื่ การประเมินความเหมาะสมก่อนตัดสินใจก่อหนี้ ลักษณะของสินเชื่อรายย่อย ประเภทและ การคานวณดอกเบยี้ เงนิ กู้ การป้องกนั ปัญหาหนี้ เครดติ บูโร วิธแี กไ้ ขปัญหาหนี้ หน่วยงานท่ีให้คาปรึกษาเร่ือง วธิ แี กไ้ ขปญั หาหน้ี 4. สทิ ธแิ ละหน้ำท่ีของผู้ใชบ้ ริกำรทำงกำรเงนิ สทิ ธิของผู้ใช้บริการทางการเงิน 4 ประการ หน้าท่ีของผู้ใช้บริการทางการเงิน 5 ประการ รู้จักศนู ยค์ ุ้มครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน (ศคง.) และหน่วยงานที่รบั เร่อื งร้องเรียนอ่ืน ๆ การเขียนหนังสือ รอ้ งเรยี นและขน้ั ตอนทีเ่ กี่ยวข้อง 5. ภยั ทำงกำรเงิน ลกั ษณะ การป้องกันตนเอง และแก้ปญั หาภยั ทางการเงนิ กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้ 1. จดั กลมุ่ อภิปรายในเนือ้ หาทีเ่ กีย่ วข้อง 2. ศึกษาจากเอกสารและสื่อทุกประเภททเ่ี ก่ยี วข้อง เว็บไซต์ของธนาคารแห่งประเทศไทย และ เว็บไซตข์ อง ศคง. 3. จดั ทาโครงการนิทรรศการฐานการเรยี นรู้ 4. เชิญวิทยากรผูร้ ู้มาใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกับการกอ่ หนี้อย่างเหมาะสม และการวางแผนการเงินในชวี ติ กำรวดั และประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤติกรรมระหว่างการเรยี นรู้ 2. วัดความรจู้ ากการทากจิ กรรมในใบงาน 3. การวัดผลสัมฤทธ์ิปลายภาค

168 รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ สค32029 กำรเงินเพอื่ ชวี ติ 3 จำนวน 3 หน่วยกติ ระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในโลก และนามาปรบั ใช้ในการดาเนินชีวิต เพอ่ื ความมน่ั คงของชาติ ที่ หัวเรอื่ ง ตวั ชว้ี ดั เน้ือหำ จำนวน 1. ว่ำดว้ ยเรอ่ื งของเงิน ชั่วโมง 1. อธิบายความหมายและ 1. ความหมาย และ 1.1 ควำมหมำยและ ประโยชนข์ องเงนิ ประโยชน์ของเงนิ 24 ชม. ประโยชน์ 2. บอกความหมาย และความ 2. ความหมาย และความ แตกต่างของการใหเ้ งนิ และการ แตกตา่ งของการให้เงินและ 1.2 ประเภทของเงนิ ให้ยืมเงนิ การให้ยมื เงนิ 3. บอกความหมายของเงินเฟอ้ 3. ความหมายของเงนิ เฟ้อ 1.3 เงินฝำก เงินฝดื เงินฝดื กำรประกันภยั และ 1. อธบิ ายวธิ กี ารตรวจสอบ 1. เงนิ ไทย กำรลงทนุ ธนบัตร - ธนบตั ร 2. คานวณอัตราแลกเปลยี่ น - เหรียญกษาปณ์ เงนิ ตราต่างประเทศ 2. เงินตราต่างประเทศ 3. บอกชอ่ งทางแลกเปลี่ยน - สกุลเงินของต่างประเทศ เงนิ ตราต่างประเทศ ที่สาคญั - อตั ราแลกเปลย่ี นและ 4. อธิบายเงนิ เสมือน วิธกี ารคานวณเงินตรา ต่างประเทศ 1. เลือกประเภทเงนิ ฝากท่ี - ชอ่ งทางการแลกเปลี่ยน เหมาะสมกบั ตนเอง เงนิ ตราตา่ งประเทศ 3. เงินเสมอื น (virtual currency) 1. ประเภท ลกั ษณะ ประโยชน์ และขอ้ จากดั ของ การฝากเงิน - บญั ชเี งนิ ฝากออมทรัพย์ - บญั ชีเงินฝากประจา - บญั ชีเงนิ ฝากประจา รายเดือนปลอดภาษี - บญั ชีเงินฝากแบบข้ันบนั ได - สลากออมทรพั ย/์ สลาก

169 ที่ หวั เรือ่ ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หำ จำนวน ชว่ั โมง 1.4 กำรชำระเงนิ ทำง อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2. คานวณดอกเบี้ยเงนิ ฝากแบบ ออมสนิ ทบตน้ - ขอ้ แนะนาในการ ตดั สินใจเลือกประเภทเงนิ 3. อธบิ ายการค้มุ ครองเงนิ ฝาก ฝาก 4. บอกลักษณะการประกันภัย 2. ความหมายและวธิ กี าร แตล่ ะประเภท คานวณดอกเบยี้ เงินฝาก 5. บอกลักษณะการลงทนุ แต่ละ แบบทบต้น ประเภท 3. การคมุ้ ครองเงนิ ฝาก 6. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของ 4. การประกนั ภยั และการ เงนิ ฝาก การประกันภัย และ ลงทุน การลงทนุ 1. บอกความหมาย และ 1. ความหมาย และ ประโยชน์ของการชาระเงนิ ทาง ประโยชน์ของการชาระเงิน อิเลก็ ทรอนิกส์ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 2. บอกลักษณะของบตั ร 2. ลกั ษณะของบัตร ATM ATM บตั รเดบติ บตั รเดบติ บัตรเครดิต บัตรเครดิต Internet Banking Internet Banking และ และ Mobile Banking Mobile Banking 3. บอกกฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ งกับ 3. กฎหมายพน้ื ฐานที่ ระบบการชาระเงนิ ทาง เกย่ี วข้องกับระบบการชาระ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เงนิ ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ 1.5 โครงสรำ้ งระบบ 1. บอกโครงสรา้ งระบบสถาบนั 1. โครงสร้างระบบสถาบนั สถำบันกำรเงินของ การเงนิ ของประเทศไทย การเงนิ ของประเทศไทย ประเทศไทย 2. บอกบทบาทหนา้ ท่ขี อง 2. สถาบนั การเงินและ สถาบนั การเงนิ และหนว่ ยงาน หนว่ ยงานอืน่ ๆ ภายใต้ อนื่ ๆ ภายใตก้ ารกากบั ดแู ลของ การกากบั ดูแลของธนาคาร ธนาคารแห่งประเทศไทย แห่งประเทศไทย 3. บอกบทบาทหนา้ ที่ของ 3. ผูใ้ ห้บริการภายใต้ ผู้ให้บรกิ ารภายใตก้ ารกากบั การกากับดแู ลของหนว่ ยงาน ดูแลของหนว่ ยงานอ่ืน ๆ อืน่ ๆ

170 ที่ หวั เรอื่ ง ตัวชวี้ ัด เน้อื หำ จำนวน ชัว่ โมง 2. กำรวำงแผนกำรเงิน 2.1 ประเมนิ ฐำนะ 1. อธิบายหลกั การประเมนิ 1. หลกั การประเมนิ ฐานะ 30 ชม. กำรเงินของตนเอง ฐานะการเงิน การเงนิ ของตนเอง โดย 2. คานวณฐานะทางการเงินของ คานวณจานวนและ ตนเอง อตั ราสว่ น ดงั นี้ - ความมง่ั ค่งั สุทธิ - อัตราส่วนภาระหน้สี นิ ต่อ รายได้ (ตอ่ เดือน) - จานวนเงินออมเผอื่ ฉกุ เฉิน - อัตราส่วนเงินออมต่อ รายได้ (ตอ่ เดือน) 3. อธบิ ายลกั ษณะของการมี 2. การมสี ุขภาพการเงนิ ทด่ี ี สขุ ภาพการเงนิ ท่ีดี - ความหมาย 4. ประเมินสุขภาพการเงินของ - ลักษณะการมีสุขภาพ ตนเอง การเงนิ ทด่ี ี ได้แก่ - มีภาระชาระหนี้ ไม่เกนิ 1 ใน 3 ของรายไดต้ ่อเดือน - ออมอยา่ งนอ้ ย 1 ใน 4 ของรายได้ต่อเดอื น - มีเงินออมเผอ่ื ฉุกเฉนิ ประมาณ 6 เทา่ ของรายจ่าย จาเป็นต่อเดอื น 2.2 บันทกึ รำยรับ- 1. วิเคราะหค์ วามแตกต่างของ 1. ความแตกตา่ งของความ รำยจ่ำย “ความจาเปน็ ” และ “ความ จาเป็นและความต้องการ 2.3 เป้ำหมำยกำรเงนิ ใน ชีวติ ต้องการ” 2. จัดลาดับความสาคัญของ 2. การจัดลาดบั ความสาคญั รายจา่ ย ของรายจา่ ย 3. บอกลักษณะของการบนั ทกึ 3. ลักษณะและประโยชน์ รายรบั -รายจ่าย ของบนั ทึกรายรับ-รายจ่าย 4. บอกประโยชนข์ องการบันทกึ รายรับ-รายจ่าย 5. จดบนั ทกึ รายรับ-รายจา่ ย 4. วิธีบันทึกรายรับ-รายจา่ ย 6. วิเคราะห์บนั ทึกรายรบั -รายจา่ ย 1. บอกประโยชน์ของการมี 1. ประโยชน์ของการมี เป้าหมายการเงินในชวี ติ เปา้ หมายการเงินในชวี ติ 2. บอกเปา้ หมายการเงินที่ควร 2. เป้าหมายการเงนิ ที่ควรมี มีในชวี ิต ในชวี ิต

171 ท่ี หวั เรื่อง ตัวชวี้ ัด เน้ือหำ จำนวน 2.4 กำรออม ชว่ั โมง 3. สามารถตงั้ เปา้ หมายการเงิน 3. ประเภทของเป้าหมาย ระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะ การเงนิ ยาวตามหลัก SMART - ระยะสั้น (ไมเ่ กนิ 1 ปี) ทเี่ หมาะสมกบั ตนเอง - ระยะกลาง (1 – 3 ปี) - ระยะยาว (มากกวา่ 3 ปี) 4. วิธีการต้ังเป้าหมาย การเงิน ตามหลกั SMART 4. วางแผนการเงนิ ของตนเอง 5. การวางแผนการเงินให้ ทส่ี อดคลอ้ งกับเป้าหมายในชีวติ เป็นไปตามเป้าหมายทตี่ งั้ ไว้ 1. อธิบายความหมายและ 1. ความหมายและประโยชน์ ประโยชน์ของการออม ของการออม 2. ตัง้ เปา้ หมายการออมที่ 2. เปา้ หมายการออม เชน่ เหมาะสมกับตนเอง - ออมอย่างนอ้ ย 1 ใน 4 3. อธิบายหลกั การออมใหส้ าเร็จ ของรายไดต้ ่อเดอื น 4. บอกบทบาทหน้าท่ีและ - ควรออมเพือ่ อะไรบา้ ง หลักการของกองทุนการออม 3. หลกั การออมใหส้ าเรจ็ แห่งชาติ (กอช.) 4. ความร้เู บ้ืองตน้ เกี่ยวกับ 5. บอกความหมายและหลกั การ กองทุนการออมแหง่ ชาติ ของกองทุนสารองเล้ียงชพี (กอช.) และกองทนุ สารอง เลี้ยงชพี 3. สินเชือ่ 1. บอกลักษณะทส่ี าคญั ของ 1. การประเมนิ ความ 36 ชม. สนิ เช่อื ประเภทต่าง ๆ เหมาะสมก่อนตดั สนิ ใจก่อหนี้ 4. สิทธิและหนำ้ ที่ของ 2. ลักษณะของสนิ เช่ือราย ผใู้ ชบ้ ริกำรทำงกำรเงนิ 2. บอกความหมาย บทบาท ยอ่ ยและการคานวณดอกเบ้ยี หน้าที่ และข้อมูลต่าง ๆ ท่ี 3. เครดติ บูโร สาคัญเกี่ยวกบั เครดิตบูโร 3. บอกวธิ ีการปอ้ งกนั ปัญหาหน้ี 4. วิธกี ารปอ้ งกันปัญหาหนี้ 4. บอกวธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาหนี้ 5. วิธีการแกไ้ ขปัญหาหน้ี 5. บอกช่องทางในการให้ 6. หนว่ ยงานทใ่ี ห้คาปรึกษา คาปรึกษาวธิ แี กไ้ ขปัญหาหน้ี 1. บอกสิทธขิ องผูใ้ ช้บริการทาง เกย่ี วกับวิธกี ารแก้ไขปัญหาหนี้ การเงิน 1. สทิ ธขิ องผ้ใู ช้บริการทาง 10 ชม. การเงิน - ได้รับข้อมูลทถ่ี ูกต้อง - เลือกใช้ผลติ ภัณฑ์และ บริการไดอ้ ย่างอสิ ระ - รอ้ งเรียนเพ่ือความเปน็ ธรรม

172 ที่ หวั เรือ่ ง ตวั ชี้วัด เนอื้ หำ จำนวน 5. ภยั ทำงกำรเงิน ช่ัวโมง 2. บอกหนา้ ท่ขี องผ้ใู ช้บรกิ าร - ไดร้ บั การพจิ ารณา ทางการเงิน คา่ ชดเชยหากเกิดความ เสยี หาย 2. หนา้ ที่ของผ้ใู ชบ้ ริการ ทางการเงนิ - วางแผนการเงิน - ติดตามขอ้ มูลข่าวสารทาง การเงนิ อย่างสม่าเสมอ - เข้าใจรายละเอยี ดและ เปรยี บเทยี บขอ้ มลู กอ่ น เลอื กใช้ - ตรวจทานความถกู ต้องของ ธรุ กรรมทางการเงนิ ทุกครั้ง - เม่อื เปน็ หน้ตี ้องชาระหน้ี 3. บอกบทบาทหน้าท่ีของศูนย์ 3. บทบาทศนู ยค์ มุ้ ครอง 20 ชม. คมุ้ ครองผใู้ ช้บริการทางการเงิน ผ้ใู ช้บรกิ ารทางการเงนิ (ศคง.) และหน่วยงานที่รับเรื่อง (ศคง.) และหนว่ ยงานท่รี บั รอ้ งเรียนอื่น ๆ เรือ่ งร้องเรยี นอื่น ๆ 4. ขน้ั ตอนการรอ้ งเรียนและ 4. บอกขัน้ ตอนการรอ้ งเรียน การเขยี นหนงั สือร้องเรยี น 5. บอกหลักการเขียนหนังสือ ร้องเรียน 1. ประเภท ลกั ษณะ การ ปอ้ งกันตนเอง และการ 1. บอกประเภทและลกั ษณะ แก้ปญั หาในเรือ่ งภยั ทาง ของภยั ทางการเงิน และ การเงนิ ยกตัวอย่าง ภัยทางการเงนิ ท่มี ี - หนน้ี อกระบบ ในชมุ ชน - แชรล์ กู โซ่ 2. บอกวิธกี ารปอ้ งกันตนเอง - ภัยใกลต้ วั เช่น การ จากภยั ทางการเงิน หลอกลวงใหจ้ า่ ยเบยี้ ประกนั 3. บอกวธิ ีแก้ปัญหาทเ่ี กิดจาก งวดสุดทา้ ย ตกทอง/ ภัยทางการเงิน ลอ็ ตเตอรี่ปลอม - ภัยออนไลน์ - ภยั ธนาคารออนไลน์ - ภัยบัตรอิเล็กทรอนิกส์

173 คำอธิบำยรำยวชิ ำ สค32034 ประวิติศำสตรช์ ำตไิ ทย จำนวน 3 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรรู้ ะดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในโลก และนามาปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ เพอ่ื ความมั่นคงของชาติ ศึกษำและฝึกทักษะเกีย่ วกบั ความภูมิใจในความเป็นไทย การประยกุ ต์ใชว้ ิธีการทางประวัติศาสตร์ บญุ คุณของแผน่ ดิน มรดก ไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ และการเปลี่ยนแปลงของชาตไิ ทยสมัยรัตนโกสินทร์ กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ การจัดกระบวน การกา รเรียน รู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ เกิดจติ สานึก รัก และภาคภูมิใจในความเป็นไทยท่ีเกดิ จากการแลกเปล่ยี นเรียนรู้จากการอภิปรายกลุ่ม การสอบถาม การสัมภาษณ์ และการสืบค้นข้อมลู โดยใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การคน้ ควา้ อิสระ การใชป้ ญั หาเป็นฐาน โครงงานโครงการจากเอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์ผเู้ ชยี่ วชาญ สือ่ เทคโนโลยี และการเรียนรจู้ ากประสบการณ์ตรงโดยใชส้ ถานการณห์ รือเหตกุ ารณจ์ รงิ และจากแหลง่ เรียนรู้ จากทางประวตั ศิ าสตรท์ ่เี ก่ียวข้องกับชาติไทย กำรวัดและประเมนิ ผล การสอบถาม การสัมภาษณ์ การประเมินชิ้นงาน การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การนาเสนอ ผลงาน การรายงาน การอภปิ ราย แบบบันทึกการเรียนรู้ แบบรายงานตนเอง และแบบทดสอบ

174 รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำ สค32034 ประวตั ศิ ำสตร์ชำตไิ ทย จำนวน 3 หน่วยกิต ระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวิติศาสตร์ เศรษ ฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในโลก และนามาปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวิต เพอ่ื ความมัน่ คงของชาติ ที่ หัวเรอื่ ง ตัวชวี้ ดั เนื้อหำ จำนวน (ช่วั โมง) 1. ความภมู ใิ จ 1. อธิบายความหมาย 1. สถาบันหลักของชาติ 15 ในความเป็นไทย ความสาคัญของสถาบันหลัก 1.1 ชาติ ของชาติ 1.1.1 ความหมาย ความสาคญั 2. อธิบายความเปน็ มาของ ของชาติ ชนชาตไิ ทย 1.1.2 ความเปน็ มาของชนชาติไทย 3. บอกพระปรีชาสามารถ 1.1.3 การรวมไทยเป็นปกี แผ่น ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย 1.1.4 พระมหากษตั ริยไ์ ทย กับการรวมชาติ กบั การรวมชาติ 4. อธิบายความสาคัญของ 2. ศาสนา สถาบันศาสนา 2.1 ศาสนาพุทธ 2.2 ศาสนาคริสต์ 2.3 ศาสนาอสิ ลาม 2.4 ศาสนาซิกส์ 2.5 ศาสนาฮินดู 5. อธบิ ายความสาคญั ของ 3. พระมหากษตั ริย์ สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ 3.1 องค์อปุ ถมั ภ์ของศาสนา 6. อธบิ ายและยกตัวอยา่ ง 3.2 การปกครอง ทีแ่ สดงถงึ ความภาคภูมใิ จ 3.3 การเสยี สละ ในความเปน็ ไทย 3.4 พระปรชี าสามารถ 7. บอกบญุ คณุ ของ 4. บทสรุปสถาบนั พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ไทย เป็นศนู ยร์ วมใจของคนในชาติ

175 ท่ี หัวเรอื่ ง ตวั ชี้วัด เนอื้ หำ จำนวน (ชั่วโมง) 2. การประยกุ ต์ใช้ ต้ังแตส่ มยั สุโขทยั อยธุ ยา 5. บญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย วธิ ีการทาง ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ ตั้งแตส่ มยั สุโขทัย อยธุ ยา ธนบรุ ี และ 36 ประวตั ศิ าสตร์ รัตนโกสินทร์ 1. อธิบายความหมาย 5.1 สมยั สุโขทัย 27 ความสาคญั และประโยชน์ 5.2 สมัยอยุธยา ของวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ 5.3 สมยั ธนบรุ ิ 2. อธบิ ายวธิ กี ารทาง 5.4 สมัยรตั นโกสนิ ทร์ ประวตั ศิ าสตร์ 1. ความหมาย ความสาคัญและ 3. ประยุกต์ใช้วิธกี ารทาง ประโยชนข์ องวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ในการศึกษา เรอ่ื งราวทางประวัตศิ าสตร์ 2. วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ ทส่ี นใจ 2.1 การกาหนดหัวเร่ืองทีจ่ ะศึกษา/ การตง้ั ประเด็นท่จี ะศกึ ษา 2.2 การรวบรวมหลักฐาน/สบื คน้ และ รวบรวมขอ้ มูล 2.3 การประเมนิ คา่ ของหลกั ฐาน/ การวิเคราะห์และตีความข้อมลู ทาง ประวตั ิศาสตร์ 2.4 การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และจดั หมวดหมขู่ อ้ มลู 2.5 การเรียบเรยี งและนาเสนอข้อมลู 2.6 ตวั อยา่ งการนาวธิ กี ารทาง ประวัติตศาสตร์มาใช้ศกึ ษา ประวตั ศิ าสตร์ไทย 3. พระราชกรณยี กจิ 1. อธบิ ายพระราชกรณยี กจิ 1. พระราชกรณียกิจของ ของ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย พระมหากษัตรยิ ์ไทยสมยั พระมหากษตั ริย์ สมัยรตั นโกสนิ ทร์ รัตนโกสนิ ทร์ ไทยสมัย รัตนโกสนิ ทร์

176 ที่ หวั เร่อื ง ตัวชีว้ ัด เนอ้ื หำ จำนวน (ชั่วโมง) 5. การเปล่ยี นแปลง 1.วิเคราะหเ์ หตกุ ารณส์ าคญั ของชาตไิ ทยสมยั ทางประวัติศาสตรท์ ่ีมีผลตอ่ 1. เหตกุ ารณ์สาคญั ทางประวัตศิ าสตร์ 18 รัตนโกสนิ ทร์ การพฒั นาชาตไิ ทย ที่มีผลต่อการพฒั นาชาติไทย 1.1 การสถาปนาอาณาจักร รตั นโกสินทร์ 1.2 สนธสิ ัญญาเบาวร์ ่งิ 1.3 การปฏิรูปการปกครองในสมยั รัชกาลท่ี 5 1.4 การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 1.5 ความเปน็ ชาตไิ ทยสมยั จอมพล ป. พิบลู สงคราม 2. อภปิ รายและนาเสนอ 2. ตัวอย่างการวิเคราะหแ์ ละอภิปราย เหตุการณส์ าคัญทาง ประวตั ิศาสตร์ท่ีมผี ลต่อ เหตุการณ์สาคัญทางประวัตศิ าสตร์ ที่มี การพัฒนาชาติไทย ผลต่อการพัฒนาชาติไทย

177 คำอธบิ ำยรำยวิชำ สค32035 ลกู เสอื กศน. จำนวน 3 หน่วยกติ จำนวน 120 ช่ัวโมง ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนร้รู ะดบั 1. มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนกั เกยี่ วกบั ภูมิศาสตร์ประวตั ิศาสตร์เศรษฐศาสตรก์ ารเมือง การ ปกครองในโลกและนามาปรบั ใชใ้ นการดารงชวี ิตเพ่ือความมัน่ คงของชาติ 2. มคี วามรคู้ วามเข้าใจ เหน็ คุณค่าและสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของประเทศ ในสังคมโลก 3. มคี วามรู้ความเข้าใจ ดาเนินชีวิตตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตยกฎระเบยี บของประเทศต่าง ๆ ในโลก 4. มีความรู้ ความเขา้ ใจหลักการพฒั นาชุมชน สงั คม สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูล และเป็นผู้นา ผตู้ าม ใน การพัฒนาตนเองครอบครวั ชมุ ชน สงั คม ใหส้ อดคล้องกบั สภาพการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ปจั จบุ นั ศึกษำและฝึกทกั ษะเก่ียวกบั เรือ่ งต่อไปน้ี ลูกเสือกับการพัฒนา การลูกเสอื ไทย การลกู เสอื โลก คณุ ธรรม จริยธรรมของลูกเสือ วนิ ัย และความ เป็นระเบียบเรยี บร้อยลกู เสือกศน .กับการพัฒนาลูกเสือกศน.กบั จิตอาสาและการบรกิ าร การเขียนโครงการ เพื่อพฒั นาชุมชนและสงั คม ทักษะลูกเสือความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสือ การปฐมพยาบาล การ เดนิ ทางไกลอยูค่ า่ ยพักแรม และชวี ติ ชาวคา่ ยการฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารเดินทางไกลอยคู่ ่าย พักแรม และชีวิตชาวคา่ ย กำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้ ศึกษาค้นคว้าจากตาราเอกสารแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน สอ่ื เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และ ส่ือท่ี หลากหลาย วิทยากรผูร้ ู้ ปราชญใ์ นชมุ ชน ผทู้ รงคุณวุฒิจดั กลุม่ ศึกษาคน้ คว้าอภปิ รายแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ศกึ ษา นอกสถานท่ี นิทรรศการ สาธิต ฝึกปฏิบัตจิ ริงในพืน้ ที่/ชมุ ชน การฝึกปฏิบัตกิ ารเดนิ ทางไกลอยูค่ ่าย พักแรม และชวี ิตชาวค่ายจัดทาโครงงาน วางแผนและรว่ มกนัศึกษาจดั ทา โครงการแก้ปัญหาจริงในชมุ ชน การฝึก ปฏบิ ัติการเดนิ ทางไกล อยู่ค่ายพกั แรม และชวี ิตชาวคา่ ย

178 รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำ สค32035 ลูกเสือ กศน. จำนวน 3 หน่วยกติ จำนวน 120 ชัว่ โมง ระดบั มัธยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั 1. มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักเกย่ี วกบั ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตรก์ ารเมือง การ ปกครองในโลกและนามาปรบั ใชใ้ นการดารงชวี ติ เพอื่ ความมั่นคงของชาติ 2. มคี วามรู้ความเข้าใจ เห็นคณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศ ในสงั คมโลก 3. มีความรูค้ วามเขา้ ใจ ดาเนนิ ชวี ติ ตามวถิ ีประชาธปิ ไตยกฎระเบยี บของประเทศต่าง ๆ ในโลก 4. มคี วามรู้ ความเข้าใจหลักการพฒั นาชมุ ชน สังคม สามารถวิเคราะหข์ ้อมูล และเป็นผู้นา ผู้ตาม ใน การพัฒนาตนเองครอบครวั ชมุ ชน สงั คม ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ปัจจุบนั ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ช้วี ัด เนอื้ หา จานวน ช่ัวโมง 1 ลกู เสือ กับการ 1. อธิบายสาระสาคัญของ การ 1. สาระสาคญั ของการลกู เสอื พฒั นา 2 ลูกเสือ 1.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการ พัฒนา ลูกเสอื 1.2 หลกั การสาคัญของการ ลูกเสือ 2. อธิบายความสาคัญของ การ 2. ความสาคญั ของการลูกเสือ ลูกเสือกบั การพัฒนา กบกั ารพฒั นา 2.1 การพฒั นาตนเอง 2 .2 การพฒั นาสัมพนั ธภาพ ระหวา่ งบคุ คล 2 .3 การพัฒนาสัมพันธภาพ ภายในชมุ ชนและสงั คม 3. ลูกเสือกับการพฒั นาความ 3. อภปิ รายความเป็นพลเมือง เป็นพลเมอื งดี ดี ในทัศนะของลูกเสือ 3.1ความหมายของพลเมืองดี 3.2ความเปน็ พลเมอื งดใี น ทศั นะ ของการลูกเสอื 4. นาเสนอผลการสารวจ 4. การสารวจตนเอง ครอบครัว ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ ชุมชน และสังคม เพื่อการ สังคม เพอ่ื การพฒั นา พัฒนา 4.1 การสารวจตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสงั คม 4.2 แนวทางการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และ สังคม

179 ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวช้ีวัด เนอ้ื หา จานวน ชั่วโมง 2 การลูกเสอื ไทย 1. อธบิ ายประวตั กิ ารลกู เสือ 1. ประวัตกิ ารลูกเสอื ไทย 3 ไทย 1.1 พระราชประวัติของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั 1.2 กาเนดิ ลูกเสือไทย 1.3 กิจการลกู เสอื ไทยแต่ละ ยุค 2.อธิบายความรู้ทวั่ ไป เกยี่ วกับ 2. ความรทู้ ว่ั ไปเกี่ยวกบั คณะ คณะลูกเสือแหง่ ชาติ ลูกเสอื แห่งชาติ 2.1 คณะลูกเสือแหง่ ชาติ 2.2 การบริหารงานของคณะ ลกู เสือ แห่งชาติ 2.3 การลูกเสือในสถานศกึ ษา 3 การลูกเสือโลก 1.อธบิ ายประวัตผิ ใู้ หก้ าเนดิ 1. ประวัตผิ ูใ้ ห้กาเนิด ลกู เสือโลก 3 ลูกเสือโลก 2. อธบิ ายความสาคญั ของ 2. องคก์ ารลูกเสือโลก องคก์ ารลกู เสือโลก 3. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ 3. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างลูกเสือ ระหว่างการลกู เสือไทยกับการ ไทย กบั ลกู เสอื โลก ลูกเสือโลก 4 คุณธรรม จริยธรรม 1. อธบิ ายคาปฏญิ าณและกฎ 1. คาปฏิญาณและกฎของ 6 ของ ลกู เสือ ของลกู เสอื ลูกเสือ 2. อธิบายคณุ ธรรม จริยธรรม 2. คณุ ธรรม จริยธรรมจากคา จากคาปฏญิ าณ และกฎของ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ ลูกเสือ 3.ยกตวั อย่างการนาคา 3. การนาคาปฏญิ าณ และกฎ ปฏญิ าณและกฎของ ลูกเสือที่ ของลกู เสอื ทใ่ี ช้ในชวี ติ ประจาวัน ใช้ในชวี ติ ประจาวนั 4 ความสมั พันธ์ระหว่าง 4. อธิบายความสมั พันธ์ ระหวา่ งคุณธรรม จริยธรรม ใน คณุ ธรรม จริยธรรมในคา คาปฏญิ าณและกฎของ ลูกเสอื ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือกบั กับ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง พอเพียง

180 ท่ี หัวเร่ือง ตวั ชวี้ ดั เนอื้ หา จานวน 5 วนิ ัย และความ ช่วั โมง 1. อธบิ ายความหมาย และ 1. วนิ ยั และความเป็นระเบียบ เป็นระเบยี บ ความสาคัญของวนิ ยั และ เรียบร้อย 6 เรยี บรอ้ ย ความเป็นระเบยี บเรียบร้อย 1.1 ความหมายของวินัยและ ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย 6 6 ลกู เสอื กศน.กับ 2. อธิบายผลกระทบจาก 1.2 ความสาคัญของวนิ ัยและ การพัฒนา การขาดวนิ ยั และขาดความ ความเป็นระเบยี บเรียบร้อย 12 เปน็ ระเบียบเรยี บร้อย 2. ผลกระทบจากการขาดวินัย 7 ลูกเสือ กศน. 3.ยกตัวอยา่ งแนวทางการ และขาดความเปน็ ระเบยี บ กับจิตอาสาและ เสรมิ สร้างวนิ ัย และความ เรียบร้อย การบริการ เป็นระเบียบเรียบร้อย 3. แนวทางการเสริมสร้างวนิ ัย 4. อธบิ ายระบบหมลู่ กู เสอื และความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย 5. อธิบายและยกตัวอย่าง การพัฒนาภาวะผนู้ า-ผ้ตู าม 4.ระบบหมู่ลูกเสอื 1. อธบิ ายความเปน็ มา และ 5. การพัฒนาภาวะผูน้ า–ผู้ตาม ความสาคญั ของลกู เสอื กศน. 1. ลูกเสอื กศน. 2. อธิบายลกู เสอื กศน. 1.1ความเป็นมาของลกู เสือ กบั การพัฒนา กศน. 3. ระบบุ ทบาทหนา้ ทข่ี อง 1.2 ความสาคัญของลูกเสือ ลกู เสอื กศน. ท่มี ตี อ่ ตนเอง กศน. ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม 2.ลูกเสอื กศน.กบั การพัฒนา 4. ระบุบทบาทหนา้ ทข่ี อง ลกู เสือ กศน. ทีม่ ตี ่อสถาบัน 3. บทบาทหน้าที่ของลกู เสอื หลกั ของชาติ กศน.ที่มีตอ่ ตนเองครอบครวั 1. อธิบายความหมาย และ ชมุ ชน และสงั คม ความสาคญั ของจิตอาสา 4. บทบาทหนา้ ท่ขี องลกู เสอื และการบริการ กศน. ท่มี ีตอ่ สถาบันหลกั ของ ชาติ 2. อธบิ ายหลักการของ 1.จติ อาสา และการบริการ จติ อาสา และการบรกิ าร 1.1 ความหมายของจติ อาสา 1.2 ความสาคญั ของจิตอาสา 1.3 ความหมายของการ บรกิ าร 1.4 ความสาคญั ของการ บรกิ าร 2. หลกั การของจิตอาสา และ การบริการ 2.1 หลกั การของจิตอาสา

181 ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ช้ีวดั เนอ้ื หา จานวน ชวั่ โมง 2.2 ประเภทของจิตอาสา 2.3 หลักการของการบริการ 2.4 ประเภทของการบริการ 3. ยกตัวอยา่ งกิจกรรม 3. กจิ กรรมจิตอาสาและการ จิตอาสา และการใหบ้ ริการ ใหบ้ รกิ ารของลกู เสือ กศน. ของลูกเสือ กศน. 4. นาเสนอผลการปฏิบัตติ น 4. การปฏิบัติตนในฐานะลกู เสอื ในฐานะลูกเสอื กศน.เพือ่ เปน็ กศน.เพือ่ เปน็ จิตอาสาและการ จติ อาสาและการให้บรกิ าร ใหบ้ รกิ าร อยา่ งน้อย 4 กจิ กรรม 8 การเขยี นโครงการ 1. อธบิ ายความหมาย 1. โครงการเพ่อื พัฒนาชมุ ชน 12 เพ่ือพัฒนาชุมชน ความสาคัญของโครงการ และสังคม และสงั คม 1.1 ความหมายของโครงการ 1.2 ความสาคัญของโครงการ 2. จาแนกลกั ษณะของ 2. ลักษณะของโครงการ โครงการ 3. ระบุองค์ประกอบของ 3. องคป์ ระกอบของโครงการ โครงการ 4.อธบิ ายขนั้ ตอนการเขยี น โครงการ 4.ขั้นตอนการเขยี นโครงการ 5. บอกขนั้ ตอนการ ดาเนนิ งานตามโครงการ 5. การดาเนนิ การตามโครงการ 6. อภิปรายผลการปฏบิ ัตงิ าน ตามโครงการและการเสนอผล 6. การสรุปรายงานผลการ การดาเนินงานตอ่ ท่ปี ระชุม ดาเนนิ งานโครงการเพื่อเสนอ ต่อที่ประชมุ 9 ทักษะลกู เสอื 1. อธิบายความหมายและ 1.แผนท่ี - เข็มทิศ 6 ความสาคญั ของแผนที่ เข็มทศิ 1.1 ความหมาย และ ความสาคญั ของแผนที่ 1.2 ความหมาย และ ความสาคัญของเขม็ ทศิ 2. อธบิ ายส่วนประกอบ 2. วธิ ีการใช้แผนท่ี – เข็มทศิ ของเข็มทศิ 2.1 วิธีการใชแ้ ผนท่ี 2.2 วิธกี ารใชเ้ ขม็ ทิศ 3. อธิบายวธิ ีการใช้ Google 3. การใช้ Google Map และ Map และ Google Earth Google Earth 4. อธิบายความหมายและ 4. เง่อื นเชือกและการผกูแนน่ ความสาคัญของเงือ่ นเชอื ก 4.1 ความหมายของเง่อื นเชอื ก

182 ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จานวน ชวั่ โมง 10 ความปลอดภัยใน และการผกู แนน่ และการผกูแนน่ การเขา้ รว่ ม 5. ผกู เง่อื นเชอื กได้และ 4.2 ความสาคัญของเง่อื นเชือก 6 กิจกรรมลกู เสือ บอกชื่อเงอ่ื นอย่างน้อย 7 และการผกูแน่น เง่อื น 4.3 การผกู เงื่อนเชอื กและ 12 11 การปฐมพยาบาล 6. สาธิตวธิ กี ารผกู แน่น การผกู แนน่ อยา่ งนอ้ ย 2 วิธี 1. บอกความหมายความสาคัญ 1.ความปลอดภัยในการเขา้ ร่วม ของความปลอดภัยในการเขา้ กิจกรรมลกู เสือ รว่ มกจิ กรรมลูกเสอื 1.1 ความหมายของความ ปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 2. บอกหลกั การ วิธกี ารเฝา้ ลูกเสือ ระวังเบือ้ งต้น ในการเขา้ 1.2 ความสาคัญของความ รว่ มกิจกรรมลูกเสอื ปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรม 3. อธิบายสถานการณห์ รือ ลกู เสือ โอกาสทจี่ ะเกดิ ความ 2. หลักการ วธิ กี ารในการเฝ้า ไม่ปลอดภัยในการเขา้ ร่วม ระวังเบ้ืองตน้ ในการเข้ารว่ ม กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมลกู เสอื 3.การชว่ ยเหลือเมอื่ เกดิ เหตุ 1. อธิบายความหมาย และ ความไม่ปลอดภัยในการเขา้ รว่ ม ความสาคญั ของการปฐม กจิ กรรมลกู เสือ พยาบาล 4. การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ความ 2. อธบิ ายและสาธิตวธิ ีการ ปลอดภัย ปฐมพยาบาลกรณตี า่ ง ๆ 1. การปฐมพยาบาล อยา่ งนอ้ ย 3 วิธี 1.1ความหมายของการ 3. อธิบายวิธกี ารวดั สัญญาณ ปฐมพยาบาล ชีพ และการประเมินเบอ้ื งตน้ 1.2ความสาคญั ของการ 4. สาธติ วิธกี ารช่วยชีวิตขัน้ ปฐมพยาบาล พ้นื ฐาน 1.3 หลักการของการปฐม พยาบาล 2.วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณี ต่าง ๆ 3. การวดั สัญญาณชีพและการ ประเมินเบอื้ งต้น 4.วิธกี ารช่วยชวี ิตข้ันพ้นื ฐาน

183 ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ชีว้ ดั เนื้อหา จานวน ชั่วโมง 12 การเดินทางไกล 1. อธบิ ายความหมายของ 1. การเดนิ ทางไกล อยู่ค่ายพกั แรม การเดินทางไกล 1.1 ความหมายของการเดิน 6 และชวี ิตชาวค่าย ทางไกล 1.2 วตั ถุประสงคข์ องการเดิน 40 2. อธิบายความหมายของ ทางไกล การอยคู่ ่ายพกั แรม 1.3 หลักการของการเดิน ทางไกล 3. อธิบายการใชเ้ ครือ่ งมือ 1.4 การบรรจเุ คร่อื งหลงั สาหรบั ชีวติ ชาวค่าย สาหรบั การเดนิ ทางไกล 2.การอยูค่ ่ายพักแรม 4. อธิบายวิธกี ารจัดการ ค่ายพักแรม 2.1ความหมายของการอยู่คา่ ย พกั แรม 13 การฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร 1. วางแผนและปฏบิ ัติ 2.2วัตถปุ ระสงค์ของการอยู่ ค่ายพักแรมพักแรม เดินทางไกล กิจกรรมการเดินทางไกล 2.3 หลักการของการอย่คู ่าย พกั แรม อยู่คา่ ยพกั แรม อยคู่ า่ ยพักแรม และชวี ิต 3. ชวี ติ ชาวค่าย 3.1 เครอ่ื งมอื เครือ่ งใช้ ท่ี และชีวติ ชาวค่าย ชาวคา่ ย ทุกกจิ กรรม จาเป็นสาหรับชีวิตชาวค่าย 2. ใชช้ ีวติ ชาวค่ายรว่ มกบั 3.2 การสรา้ งครวั ชาวค่าย 3.3 การสร้างเตาประเภท ผูอ้ น่ื ในคา่ ยพกั แรมได้อยา่ ง ตา่ ง ๆ 3.4 การประกอบอาหาร สนกุ สนานและมคี วามสขุ แบบชาวคา่ ย 3.5 การกางเตน็ ท์ และการ เก็บเตน็ ท์ชนดิ ต่าง ๆ 4. วิธีการจดั การคา่ ยพกั แรม 4.1 การวางผงั ค่ายพกั แรม 4.2 การสุขาภบิ าลในคา่ ยพัก แรม กิจกรรมการเดินทางไกลอยูค่ ่าย พกั แรม และชีวิตชาวคา่ ย 1. กิจกรรมเสริมสร้างคณุ ธรรม และอุดมการณ์ลกู เสือ 2.กจิ กรรมสร้างคา่ ยพกั แรม 3.กิจกรรมชีวติ ชาวคา่ ย 4.กจิ กรรมฝึกทกั ษะลูกเสือ 5.กิจกรรมกลางแจง้

184 ที่ หวั เรอื่ ง ตวั ชวี้ ดั เนอ้ื หา จานวน ช่ัวโมง 6.กจิ กรรมนนันทนาการและ ชุมนุมรอบกองไฟ 7.กิจกรรมนา เสนอผลการ ดาเนนิ งาน ตามโครงการทไี่ ด้ ดาเนนิ การมาก่อนการเข้าค่าย

185 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ สค32032 กำรเรยี นรู้ส้ภู ยั ธรรมชำติ 3 ระดับ มธั ยมศึกษำตอนปลำย จำนวน 3 หนว่ ยกติ (120 ชั่วโมง) มำตรฐำนกำรเรียนรู้ 5.1 มคี วามรคู้ วามเข้าใจและตระหนักเกีย่ วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ ปกครองในโลก และนามาปรบั ใช้ในการดาเนินชวี ิตเพ่ือความม่ันคงของชาติ มำตรฐำนกำรเรยี นร้รู ะดบั มคี วามรูค้ วามเข้าใจและตระหนักเกยี่ วกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื งการ ปกครองในโลกและนามาปรบั ใช้ในการดาเนินชีวิต เพ่ือความมั่นคงของชาติ ผลกำรเรยี นรู้ทีค่ ำดหวงั 1. อธิบายความหมายของภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถลม่ ไฟป่า หมอกควัน แผ่นดินไหว และสึนามิ 2. บอกประเภทของวาตภัย และไฟป่า 3. บอกสาเหตุ และปัจจัยการเกดิ ภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถลม่ ไฟป่า หมอกควัน แผ่นดินไหว และสึนามิ 4. บอกผลกระทบท่เี กิดจากภัยแล้ง วาตภัย อทุ กภยั ดนิ โคลนถล่ม ไฟป่า หมอกควนั แผน่ ดนิ ไหว และสึนามิ 5. ตระหนักถึงภัยและผลกระทบท่ีเกดิ จากภัยแลง้ วาตภยั อุทกภยั ดนิ โคลนถล่ม ไฟป่า หมอก ควัน แผน่ ดนิ ไหว และสนึ ามิ 6. บอกหว้ งเวลาการเกิดภยั แล้งในประเทศไทย 7. บอกฤดูกาลการเกดิ ไฟป่าในแตล่ ะพ้นื ทข่ี องประเทศไทย 8. บอกพื้นทเ่ี ส่ียงภัยต่อการเกิดภยั แล้ง วาตภัย อุทกภยั ดินโคลนถล่ม แผน่ ดนิ ไหว และสึนามใิ น ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก 9. บอกสัญญาณบอกเหตุก่อนเกดิ อุทกภยั ดินโคลนถลม่ และสนึ ามิ 10.บอกสถานการณภ์ ยั แลง้ วาตภัย อทุ กภัย ดินโคลนถล่มไฟป่า หมอกควัน แผ่นดินไหว และสนึ า มิ ในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 11.วิเคราะห์เปรียบเทยี บสถิติการเกิดภัยแล้ง วาตภัย อทุ กภัย ดินโคลนถล่ม ไฟปา่ หมอกควัน แผน่ ดินไหว และสนึ ามิของประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลกและคาดคะเนการเกดิ ในอนาคต 12.บอกวธิ ีการเตรยี มความพร้อมรับสถานการณก์ ารเกิดภัยแลง้ วาตภยั อทุ กภัย ดินโคลนถล่ม ไฟ ป่า หมอกควัน แผน่ ดินไหว และสึนามิ 13.บอกวธิ กี ารปฏบิ ตั ิขณะเกิดภัยแล้ง วาตภยั อทุ กภัย ดนิ โคลนถลม่ ไฟป่า หมอกควนั แผ่นดนิ ไหว และสนึ ามิ 14.บอกวิธีการปฏบิ ตั หิ ลังเกิดภยั แลง้ วาตภยั อุทกภยั ดิน ไฟโคลนถลม่ ป่า หมอกควัน แผ่นดนิ ไหว และสนึ ามใิ นประเทศไทย 15.เสนอแนวทางการปอ้ งกันและการแกป้ ัญหาผลกระทบทีเ่ กดิ จากภัยตา่ ง ๆ 15.ระบุบุคลากรทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การใหค้ วามชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั ธรรมชาตติ า่ ง ๆ 16.ระบุหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องกบั การให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยธรรมชาติต่าง ๆ

186 ศึกษำและฝกึ ทกั ษะ 1.สถานการณ์การเกดิ ภัยแลง้ วาตภยั อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟปา่ หมอกควนั แผน่ ดนิ ไหว และสึนา มิประเทศไทย 2. การตรยี มความพร้อมรับมือกับภัยแลง้ วาตภัย อุทกภัย ดนิ โคลนถลม่ ไฟป่า หมอกควนั แผน่ ดินไหว และสนึ ามิ 3. สญั ญาณบอกเหตุกอ่ นเกดิ อทุ กภยั และดินโคลนถลม่ และสนึ ามิ 4. ผลกระทบจากการเกดิ ภยั แล้ง วาตภยั อทุ กภัย ดินโคลนถล่ม ไฟปา่ หมอกควนั แผ่นดนิ ไหว และสนึ ามิ 5. บคุ ลากรและหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ งกับการให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั ธรรมชาตติ า่ ง ๆ กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรยี นรู้ 1. ศึกษาจากชัดวิชาการเรียนรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 และจากส่ือการเรยี นรู้อน่ื ๆ เช่น เอกสาร ส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์ แหลง่ เรยี นรใู้ นระบบออนไลน์ ฯลฯ 2. ศึกษาจากสภาพจริงและแหล่งเรยี นรู้ 3. ศึกษาจากผ้รู ู้ การเล่าประสบการณ์ การแลกเปล่ียนเรียนรู้จากผูป้ ระสบภยั สรปุ ผลการเรียนรู้ และนาเสนอในรปู แบบทห่ี ลากหลาย กำรวดั และกำรประเมนิ ประเมินจากแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบกอ่ นเรยี น การสังเกต การมีส่วนรว่ ม การทา กิจกรรม การตรวจผลงาน

187 รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ สค32032 กำรเรยี นรสู้ ้ภู ัยธรรมชำติ 3 ระดับ มัธยมศกึ ษำตอนปลำย จำนวน 3 หน่วยกติ (120 ชว่ั โมง) มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ มคี วามรู้ความเขา้ ใจและตระหนักเกย่ี วกบั ภูมิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ ปกครองในโลกและนามาปรับใชใ้ นการดาเนินชวี ิต เพือ่ ความม่นั คงของชาติ ท่ี หัวเรอ่ื ง ตัวชี้วัด เนอ้ื หำ เวลำ 1 ภัยแล้ง (ชวั่ โมง) 1. อธิบายความหมายของภัยแลง้ 1. ควำมหมำยของภยั แล้ง 2. อธบิ ายความหมายของฝนแล้ง 1.1 ความหมายของภัยแล้ง 15 ฝนท้งิ ช่วง 1.2 ความหมายของฝนแล้ง ฝนท้งิ ช่วง 3. บอกสาเหตุ และปัจจัยการเกิด 2. ลกั ษณะกำรเกดิ ภัยแล้ง ภัยแล้ง 2.1 สาเหตแุ ละปัจจยั การเกดิ ภัยแลง้ 4. บอกผลกระทบท่ีเกิดจากภยั แล้ง 2.2 ผลกระทบท่ีเกดิ จากภัยแล้ง 5. ตระหนกั ถึงภัยและผลกระทบ 2.3 หว้ งเวลาการเกิดภยั แล้ง และพน้ื ท่ี ทีเ่ กดิ จากภัยแล้ง เส่ยี งภัยต่อการเกดิ ภยั แล้งในประเทศไทย 6. บอกหว้ งเวลาการเกิดภัยแล้ง และ และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก พื้นทเี่ ส่ียงภัยตอ่ การเกิดภยั แลง้ ใน ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก 3. สถำนกำรณก์ ำรเกิดภัยแล้ง 3.1 สถานการณภ์ ัยแลง้ ในประเทศไทย 7. บอกสถานการณ์ภยั แลง้ ในประเทศ และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ไทย และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 3.2 สถิตกิ ารเกดิ ภัยแลง้ ของประเทศต่าง ๆ 8. วเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบสถติ กิ ารเกดิ ในโลก ภยั แลง้ ของประเทศต่าง ๆ ในโลกและ คาดคะเนการเกดิ ภัยแลง้ ในอนาคต 4. แนวทำงกำรป้องกนั และกำรแก้ไข ปญั หำผลกระทบท่ีเกิดจำกภัยแล้ง 9. บอกวธิ กี ารเตรียมความพร้อมรับ 4.1 การเตรยี มความพรอ้ มรบั สถานการณ์ สถานการณ์การเกิดภัยแล้ง การเกิดภัยแล้ง 10. บอกวิธีการปฏิบตั ขิ ณะเกิดภยั แลง้ 4.2 การปฏิบตั ขิ ณะเกดิ ภยั แลง้ 11. บอกวธิ กี ารปฏิบัตติ นหลงั เกดิ ภยั 1.4.3 การปฏิบตั ิตนหลงั เกิดภยั แลง้ แลง้ 12. เสนอแนวทางการป้องกนั และการ แก้ไขปัญหาผลกระทบท่ีเกิดจากภัย แลง้

188 ท่ี หัวเรือ่ ง ตวั ชว้ี ัด เนอื้ หำ เวลำ 2 วำตภยั (ชั่วโมง) 1. บอกความหมายของวาตภยั 2.1 ควำมหมำยของวำตภยั 2. บอกประเภทของวาตภยั 2.1.1 ความหมายของวาตภยั 15 2.1.2 ประเภทของวาตภยั 3. บอกสาเหตุ และปัจจยั การเกดิ 2.2 ลักษณะกำรเกดิ วำตภัย วาตภยั 2.2.1 สาเหตุและปัจจยั การเกิดวาตภยั 4. บอกผลกระทบทเ่ี กิดจากวาตภัย 2.2.2 ผลกระทบทเี่ กดิ จากวาตภัย 5. ตระหนักถงึ ภัยและผลกระทบที่เกดิ 2.2.3 พื้นทเี่ ส่ียงภยั ตอ่ การเกดิ วาตภัยใน จากวาตภยั ประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 6. บอกพ้ืนที่เสี่ยงภยั ตอ่ การเกดิ วาตภยั ในประเทศไทยและ ประเทศต่าง ๆ ในโลก 7. บอกสถานการณว์ าตภัยในประเทศ 2.3 สถำนกำรณ์วำตภัย ไทย และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 2.3.1 สถานการณ์วาตภยั ในประเทศไทย 8. วเิ คราะห์เปรียบเทียบสถิติการเกดิ และประเทศต่าง ๆ ในโลก วาตภัยในประเทศไทยและประเทศตา่ ง 2.3.2 สถติ ิการเกิดวาตภัยในประเทศไทย ๆ ในโลกและคาดคะเนการเกดิ วาตภัย และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ในอนาคต 9. บอกวธิ กี ารเตรยี มความพรอ้ มรบั 2.4 แนวทำงกำรปอ้ งกนั และกำรแกไ้ ข สถานการณก์ ารเกิดวาตภยั ปัญหำผลกระทบท่ีเกิดจำกวำตภัย 10. บอกวิธีการปฏิบตั ขิ ณะเกดิ วาตภัย 2.4.1 การเตรยี มความพร้อมรับสถานการณ์ 11. บอกวธิ ีการปฏบิ ัติตนหลังเกดิ การเกดิ วาตภัย วาตภยั 2.4.2 การปฏบิ ัตขิ ณะเกิดวาตภยั 2.4.3 การปฏบิ ัตติ นหลังเกิดวาตภยั 12. เสนอแนวทางการป้องกันและการ แกไ้ ขปญั หาผลกระทบท่ีเกิดจาก วาตภัย

189 ที่ หวั เรือ่ ง ตัวชวี้ ดั เน้อื หำ เวลำ 3 อทุ กภัย (ชัว่ โมง) ดนิ โคลน 1. อธิบายความหมายของอุทกภยั และ 3.1 ควำมหมำยของอุทกภยั และดนิ 25 ถล่ม ดินโคลนถลม่ โคลนถล่ม 4 ไฟปำ่ 2. บอกสาเหตุ และปจั จัยการเกดิ - ความหมายของอุทกภัย และดนิ โคลน อุทกภัย และดนิ โคลนถล่ม ถล่ม 3. บอกผลกระทบทีเ่ กดิ จากอทุ กภยั 3.2 ลกั ษณะกำรเกดิ อทุ กภัย และดนิ และดนิ โคลนถล่ม โคลนถล่ม 4. ตระหนกั ถงึ ภัยและผลกระทบทีเ่ กดิ 3.2.1 สาเหตุและปจั จยั การเกิดอุทกภยั จากอทุ กภยั และดินโคลนถล่ม และดนิ โคลนถลม่ 5. บอกสญั ญาณบอกเหตกุ ่อนเกิด 3.2.2 ผลกระทบทีเ่ กิดจากอทุ กภัย และดนิ อุทกภยั และดนิ โคลนถล่ม โคลนถลม่ 6. บอกพน้ื ทเ่ี สี่ยงภัย 3.2.3 สญั ญาณบอกเหตกุ ่อนเกดิ อทุ กภัย ต่อการเกิดอุทกภยั และดนิ โคลนถลม่ และดนิ โคลนถล่ม ในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ 3.2.4 พน้ื ท่ีเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุทกภยั และ ในโลก ดินโคลนถล่มในประเทศไทยและประเทศ 7. บอกสถานการณอ์ ทุ กภยั และดิน ต่าง ๆ ในโลก โคลนถล่มในประเทศไทย และประเทศ 3.3 สถำนกำรณ์อุทกภัย และดินโคลน ตา่ ง ๆ ในโลก ถล่ม 8. วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บสถติ ิการเกิด 3.3.1 สถานการณ์อุทกภยั และดนิ โคลน อทุ กภัย และดินโคลนถล่มในประเทศ ถล่มในประเทศไทย และประเทศตา่ ง ๆ ไทย และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก และ ในโลก คาดคะเนการเกิดแผน่ ดินไหวในอนาคต 3.3.2 สถติ ิการเกิดอุทกภัย และดนิ โคลน 9. บอกวิธกี ารเตรียมความพรอ้ มรบั ถล่มในประเทศไทย และประเทศต่าง ๆ สถานการณ์การเกดิ อทุ กภยั และดิน ในโลก โคลนถล่ม 3.4 แนวทำงกำรป้องกันและกำรแกไ้ ข 10. บอกวธิ กี ารปฏิบตั ขิ ณะเกดิ อุทกภยั ปญั หำผลกระทบท่ีเกิดจำกอุทกภัย และ และดินโคลนถล่ม ดนิ โคลนถล่ม 11. บอกวธิ ีการปฏบิ ัติตนหลังเกดิ 3.4.1 การเตรยี มความพรอ้ มรับสถานการณ์ อุทกภัย และดินโคลนถลม่ การเกิดอทุ กภัย และดินโคลนถลม่ 12. เสนอแนวทางการปอ้ งกนั และการ 3.4.2 การปฏิบัตขิ ณะเกดิ อุทกภยั และดิน แก้ไขปัญหาผลกระทบทีเ่ กดิ จาก โคลนถลม่ อุทกภยั และดนิ โคลนถลม่ 3.4.3 การปฏิบตั ติ นหลังเกดิ อทุ กภัย และ ดินโคลนถลม่ 1. บอกความหมายของไฟปา่ 4.1 ควำมหมำยของไฟป่ำ 15 2. บอกสาเหตุ และปัจจยั การเกิดไฟป่า - ความหมายของไฟป่า 3. บอกชนดิ ของไฟป่า 4.2 ลกั ษณะกำรเกิดไฟป่ำ 4. บอกผลกระทบที่เกิดจากไฟปา่ 4.2.1 สาเหตุและปจั จัยการเกดิ ไฟปา่ 5. ตระหนักถงึ ภัยและผลกระทบที่เกิด 4.2.2 ชนดิ ของไฟป่า จากไฟป่า 4.2.3 ผลกระทบท่ีเกดิ จากไฟป่า

190 ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวชว้ี ดั เน้อื หำ เวลำ (ชั่วโมง) 6. บอกฤดกู าลการเกดิ ไฟปา่ ในแต่ละ 4.2.4 ฤดกู าลการเกดิ ไฟป่าในแต่ละพืน้ ท่ี พืน้ ทข่ี องประเทศไทยและประเทศ ของประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ต่าง ๆ ในโลก 4.3 สถำนกำรณไ์ ฟป่ำ 7. อธิบายสถานการณไ์ ฟป่าในประเทศ 4.3.1 สถานการณไ์ ฟปา่ ในประเทศไทย ไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก และประเทศต่าง ๆ ในโลก 8. วเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บสถติ ิการเกิด 4.3.2 สถิตกิ ารเกดิ ไฟป่าของประเทศต่าง ๆ ไฟปา่ ของประเทศต่าง ๆ ในโลกและ ในโลก คาดคะเนการเกดิ ไฟปา่ ในอนาคต 4.4 แนวทำงกำรปอ้ งกันและกำรแกไ้ ข 9. บอกวิธกี ารเตรียมความพรอ้ มรบั ปัญหำผลกระทบที่เกิดจำกไฟป่ำ สถานการณ์การเกิดไฟป่า 4.4.1 การเตรียมความพรอ้ มรบั สถานการณ์ 10. บอกวธิ ีการปฏบิ ัติขณะเกิดไฟปา่ การเกดิ ไฟปา่ 11. บอกวธิ ีการปฏิบัตติ นหลังเกดิ ไฟปา่ 4.4.2 การปฏบิ ตั ิขณะเกดิ ไฟป่า 11. เสนอแนวทางการปอ้ งกนั และการ 4.4.3 การปฏบิ ัตติ นหลังเกิดไฟป่า แก้ไขปญั หาผลกระทบทเ่ี กิดจากไฟปา่ 5 หมวกควัน 1. บอกความหมายของหมอกควนั 5.1 ควำมหมำยของหมอกควัน 15 2. บอกสาเหตุ และปัจจยั การเกิด - ความหมายของหมอกควนั หมอกควัน 5.2 ลกั ษณะกำรเกิดหมอกควัน 3. บอกผลกระทบท่ีเกิดจากหมอกควนั 5.2.1 สาเหตุและปจั จยั การเกดิ หมอกควัน 4. ตระหนักถึงภยั และผลกระทบท่เี กดิ 5.2.2 ผลกระทบท่ีเกิดจากหมอกควนั จากหมอกควนั 5.2.3 พื้นทีท่ ่ไี ดร้ ับผลกระทบจากหมอก 5. บอกพื้นทพ่ี ้นื ท่ีที่ได้รับผลกระทบ ควนั ในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ใน จากหมอกควนั ในประเทศไทยและ โลก ประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 5.3 สถำนกำรณ์หมอกควนั 6. บอกสถานการณ์หมอกควนั 5.3.1 สถานการณ์หมอกควนั ในประเทศ ในประเทศไทย และประเทศตา่ ง ๆ ไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ในโลก 5.3.2 สถิตกิ ารเกิดหมอกควันในประเทศ 7. วิเคราะห์เปรียบเทียบสถติ ิการเกิด ไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก หมอกควนั ในประเทศไทยและประเทศ 5.4 แนวทำงกำรป้องกันและกำรแกไ้ ข ต่าง ๆ ในโลกและคาดคะเนการเกิด ปัญหำผลกระทบท่ีเกิดจำกแผน่ ดนิ ไหว หมอกควันในอนาคต 5.4.1 การเตรยี มความพร้อมรับสถานการณ์ 8. บอกวธิ ีการเตรยี มความพร้อมรับ การเกิดหมอกควัน สถานการณก์ ารเกิดหมอกควนั 5.4.2 การปฏิบตั ขิ ณะเกดิ หมอกควัน 9. บอกวิธีการปฏิบตั ขิ ณะเกดิ หมอก 5.4.3 การปฏิบตั ติ นหลังเกิดหมอกควนั ควัน 10. บอกวธิ ีการปฏิบัติตนหลงั เกิด หมอกควนั

191 ที่ หัวเรื่อง ตวั ชี้วัด เนอื้ หำ เวลำ (ชัว่ โมง) 11. เสนอแนวทางการปอ้ งกันและการ แก้ไขปัญหาผลกระทบทเ่ี กดิ จากหมอก ควัน 6 แผ่นดนิ ไหว 1. อธิบายความหมายของแผน่ ดนิ ไหว 6.1 ควำมหมำยของแผ่นดินไหว 15 2. บอกสาเหตุ และปจั จยั การเกิด - ความหมายของแผ่นดินไหว แผน่ ดินไหว 6.2 ลกั ษณะกำรเกิดแผน่ ดินไหว 3. บอกผลกระทบทีเ่ กิดจาก 6.2.1 สาเหตแุ ละปจั จัยการเกดิ แผ่นดินไหว แผน่ ดินไหว 6.2.2 ผลกระทบทเี่ กดิ จากแผ่นดินไหว 4. ตระหนกั ถงึ ภยั และผลกระทบท่ีเกิด 6.2.3 พืน้ ที่เส่ียงภัย จากแผน่ ดนิ ไหว ตอ่ การเกิดแผ่นดนิ ไหวในประเทศไทยและ 5. บอกพน้ื ท่ีเสี่ยงภัย ประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ตอ่ การเกิดแผ่นดนิ ไหวในประเทศไทย 6.3 สถำนกำรณแ์ ผ่นดินไหว และประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 6.3.1 สถานการณ์แผ่นดินไหวในประเทศ 6. บอกสถานการณแ์ ผน่ ดินไหว ไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก ในประเทศไทย และประเทศต่าง ๆ 6.3.2 สถติ กิ ารเกิดแผน่ ดินไหวของประเทศ ในโลก ไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 7. วเิ คราะห์เปรียบเทยี บสถติ ิการเกดิ 6.4 แนวทำงกำรปอ้ งกันและกำรแกไ้ ข แผ่นดนิ ไหวของประเทศไทยและ ปญั หำผลกระทบท่ีเกิดจำกแผน่ ดนิ ไหว ประเทศตา่ ง ๆ ในโลกและคาดคะเน 6.4.1 การเตรียมความพรอ้ มรับ การเกิดแผ่นดินไหวในอนาคต สถานการณ์การเกิดแผ่นดินไหว 8. บอกวธิ กี ารเตรียมความพร้อมรบั 6.4.2 การปฏบิ ัติขณะเกดิ แผน่ ดินไหว สถานการณ์การเกิดแผน่ ดนิ ไหว 6.4.3 การปฏิบัตติ นหลงั เกดิ แผน่ ดนิ ไหว 9. บอกวธิ ีการปฏบิ ตั ขิ ณะเกดิ แผ่นดินไหว 10. บอกวิธกี ารปฏบิ ตั ติ นหลังเกดิ แผน่ ดินไหว 11. เสนอแนวทางการป้องกันและการ แกไ้ ขปัญหาผลกระทบทเ่ี กดิ จาก แผน่ ดินไหว 7 สึนำมิ 1. บอกความหมายของสึนามิ 7.1 ควำมหมำยของสนึ ำมิ 15 2. บอกสาเหตุ และปัจจัยการเกดิ - ความหมายของสนึ ามิ สนึ ามิ 7.2 ลักษณะกำรเกดิ สนึ ำมิ 3. บอกสญั ญาณบอกเหตกุ ่อนเกิด 7.2.1 สาเหตุและปัจจัยการเกิดสึนามิ สนึ ามิ 7.2.2 สญั ญาณบอกเหตกุ อ่ นเกดิ สนึ ามิ 4. บอกผลกระทบทีเ่ กิดจากสนึ ามิ 7.2.3 ผลกระทบท่เี กดิ จากสึนามิ 5. ตระหนกั ถึงภยั และผลกระทบทเ่ี กิด 7.2.4 พื้นท่เี ส่ยี งภยั ตอ่ การเกดิ สนึ ามิใน จากสนึ ามิ ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก

192 ที่ หัวเรอ่ื ง ตัวช้ีวดั เน้ือหำ เวลำ (ชั่วโมง) 6. บอกพนื้ ทเี่ ส่ียงภัย 7.3 สถำนกำรณส์ นึ ำมิ ตอ่ การเกิดสนึ ามใิ นประเทศไทยและ 7.3.1 สถานการณ์สึนามใิ นประเทศไทย ประเทศต่าง ๆ ในโลก และประเทศต่าง ๆ ในโลก 7. บอกสถานการณส์ ึนามใิ นประเทศ 6.3.2 สถิติการเกดิ สึนามิของประเทศไทย ไทย และประเทศต่าง ๆ ในโลก และประเทศต่าง ๆ ในโลก 8. วิเคราะห์เปรยี บเทียบสถติ ิการเกิด 7.4 แนวทำงกำรปอ้ งกันและกำรแก้ไข สึนามขิ องประเทศตา่ ง ๆ ในโลกและ ปญั หำผลกระทบที่เกิดจำกสึนำมิ คาดคะเนการเกดิ สึนามใิ นอนาคต 7.4.1 การเตรียมความพร้อมรบั สถานการณ์ 9. บอกวธิ ีการเตรียมความพร้อมรบั การเกิดสนึ ามิ สถานการณ์การเกดิ สึนามิ 7.4.2 การปฏบิ ัติขณะเกดิ สึนามิ 10. บอกวธิ กี ารปฏิบัติขณะเกดิ สนึ ามิ 7.4.3 การปฏิบตั ิตนหลังเกิดสนึ ามิ 11. บอกวธิ ีการปฏิบัตติ นหลังเกดิ สึนา มิ 12. เสนอแนวทางการป้องกนั และการ แกไ้ ขปญั หาผลกระทบท่เี กิดจากสนึ ามิ 8 บคุ ลากร 12. ระบุบุคลากรที่เกย่ี วข้องกบั การให้ 8.1 บุคลำกรทเี่ ก่ยี วข้องกบั กำรใหค้ วำม 5 และหน่วย ความช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยธรรมชาติ ชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั ธรรมชำติตำ่ ง ๆ งานท่ี ต่าง ๆ 8.2 หน่วยงำนทเ่ี กย่ี วข้องกบั กำรใหค้ วำม เก่ียวข้องกับ 13. ระบุหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งกับการ ชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภัยธรรมชำติต่ำง ๆ การให้ความ ให้ความชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั ช่วย เหลอื ธรรมชาตติ ่าง ๆ การประสบ ภัย ธรรมชาติ

193 คำอธิบำยรำยวชิ ำ สค32036 กำรป้องกันกำรทจุ ริต จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ดาเนนิ ชีวิตตามวิถีประชาธปิ ไตย กฎระเบียบของประเทศต่าง ๆ ในโลก 2. มีความรู้ ความเข้าใจหลกั การพฒั นาชมุ ชน สังคม สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และเป็นผูน้ าผู้ตาม ในการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม ใหส้ อดคล้องกบั สภาพการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณป์ จั จุบนั ศกึ ษำและฝึกทักษะเกยี่ วกบั เรือ่ ง กำรป้องกนั กำรทจุ รติ ดังต่อไปน้ี 1. การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม 2. ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต 3. STRONG / จติ พอเพียงตา้ นการทจุ รติ 4. พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้ ศกึ ษาจากส่อื เอกสาร ส่อื อนิ เทอรเ์ น็ต คลิปวิดโี อต่าง ๆ วิเคราะห์จากกรณศี ึกษาและสภาพปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการทุจริตที่เกิดข้ึนในประเทศ/โลก ทากิจกรรมต่าง ๆ จากใบงาน การแสดงบทบาทสมมติ การอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ กำรวัดและประเมินผล ประเมนิ จากสภาพจรงิ และจากผลการเรยี นรู้ โดยใชแ้ บบใหค้ ะแนน แบบสังเกตพฤตกิ รรม แบบทดสอบ แบบประเมนิ การบันทกึ กจิ กรรม

194 รำยละเอยี ดคำอธบิ ำยรำยวชิ ำ สค32036 กำรป้องกันกำรทจุ รติ จำนวน 3 หนว่ ยกติ ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ ดาเนินชวี ิตตามวิถีประชาธปิ ไตย กฎระเบียบของประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 2. มีความรู้ ความเข้าใจหลกั การพฒั นาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะหข์ อ้ มลู และเป็นผู้นาผตู้ าม ในการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม ใหส้ อดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณ์ปัจจบุ นั ที่ หัวเร่อื ง ตวั ช้ีวดั เน้อื หำ จำนวน (ชว่ั โมง) 1 การคดิ แยกแยะระหวา่ ง 1. อธิบายสาเหตขุ อง การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ 30 ผลประโยชน์ส่วนตนกับ การทจุ รติ และทศิ ทาง ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ผลประโยชน์สว่ นรวม การป้องกนั การทจุ รติ 1.สาเหตุของการทุจรติ และทศิ ทาง การ ในประเทศไทย ป้องกันการทจุ ริตในประเทศไทย 2. อธิบายทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขดั กัน 2. ทฤษฎี ความหมายและรปู แบบของ ระหวา่ งผลประโยชน์ การขดั กนั ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ น ส่วนตนและผลประโยชน์ ตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม (โลก) สว่ นรวม (โลก) 3. อธบิ ายกฎหมายท่ี 3. กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการขัดกนั เกยี่ วขอ้ งกับการขัดกัน ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ระหวา่ งผลประโยชน์สว่ น ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ตนกบั ผลประโยชน์ ส่วนรวม 4. คิด วเิ คราะห์กระบวนการ 4. การคดิ เปน็ “คิดเปน็ ” 5. อธบิ ายบทบาทของรัฐ/ 5.บทบาทของรัฐ/เจา้ หน้าที่ของรฐั เจ้าหน้าทขี่ องรัฐท่เี ก่ยี วข้อง กับการป้องกัน ปราบปราม เก่ียวกับการทุจริต 6. สรุปผลกรณีตวั อยา่ ง 6.กรณีตวั อย่างที่เกยี่ วข้อง ท่เี กี่ยวข้อง 7. สามารถคิด วเิ คราะห์ 7. กิจกรรมทเี่ ก่ยี วข้อง ในการทากิจกรรม - ใบงานการคิดแยกแยะระหว่าง ทเี่ กย่ี วข้อง ผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม (โลก) - ใบงานเกย่ี วกบั การคดิ เปน็ เก่ียวกบั ประโยชนท์ ับซอ้ น - ความแตกตา่ งระหวา่ ง จริยธรรม

195 ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ชวี้ ัด เนอ้ื หำ จำนวน (ชว่ั โมง) 2 ความละอายและความ 1. อธิบายเก่ยี วกบั และการทุจรติ (โลก) ไมท่ นต่อการทจุ ริต รายละเอยี ดการทจุ รติ ของ - ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ 25 ประเทศไทย/โลกได้ ส่วนรวม - ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น และรูปแบบ (โลก) - การขัดกนั ระหว่างประโยชน์ สว่ นตน และผลประโยชนส์ ่วนรวม (โลก) ความละอายและความไม่ทนต่อการ ทุจริต 1. การทุจริต - ความหมายของการทุจรติ - รปู แบบการทจุ ริต - สาเหตุทท่ี าให้เกดิ การทุจรติ - ระดบั การทุจริตในประเทศไทย - สถานการณก์ ารทุจริตของโลก - ผลกระทบของการทุจรติ ต่อ การพัฒนาประเทศ - ทศิ ทางการปอ้ งกันและ ปราบปรามการทจุ ริต 2. อธิบายความละอาย และ - กรณตี ัวอยา่ งผลทเี่ กดิ จาก ความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ได้ การทจุ ริต 2. ความละอายและความไมท่ น 3. สามารถคดิ วิเคราะห์ ในการทากจิ กรรมที่ ตอ่ การทุจรติ เกยี่ วขอ้ งไดถ้ ูกต้อง - ความหมายของความละอายและ ความไมท่ นต่อความทุจรติ - ลกั ษณะของความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต - การลงโทษทางสงั คม - กรณีตวั อย่างความละอายและ ความไมท่ นตอ่ ความทจุ ริต 3. กจิ กรรมทเ่ี ก่ียวข้อง - การทาการบา้ น ชิ้นงาน - การทาเวร ความสะอาด - การสอบ - กจิ กรรมในห้องเรยี น

196 ที่ หัวเร่อื ง ตัวชว้ี ัด เน้ือหำ จำนวน 3 STRONG/จิตพอเพยี ง (ชว่ั โมง) - การรู้จกั กาลเทศะ (การแต่งกาย ตอ่ ต้านการทุจรติ 25 การเขา้ คิว) 4 พลเมอื งกบั ความ 40 รบั ผดิ ชอบต่อสงั คม - การเลือกตั้ง - ความซื่อสัตย์ ความมีวินัย การตรงตอ่ เวลา และความ รับผิดชอบในการทางาน 1. อธิบายเก่ยี วกบั จติ STRONG/จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการ พอเพียงตอ่ ต้านการทจุ รติ ทจุ รติ และปรชั ญาของเศรษฐกิจ 1. จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจริต พอเพยี ง - ความหมายของ “STRONG” 2. อธบิ ายแบบอย่างความ จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต พอเพียงของ - ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พระบาทสมเดจ็ พระ 2. พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร ปรมินทรมหาภมู พิ ล มหาภูมพิ ลอดุลยเดช แบบอย่าง อดุลยเดช ในเรอ่ื งความพอเพียง - นาฬกิ าบนข้อพระกร - ดินสอทรงงาน - หลอดยาสีฟนั พระทนต์ - รถยนต์พระที่น่ัง - ห้องทรงงาน - เครอ่ื งประดับ 3. สามารถคิด วเิ คราะหใ์ น 3. กิจกรรมที่เกย่ี วข้อง การทากจิ กรรมทีเ่ กยี่ วขอ้ ง - ความพอเพียง ประสานเสียง ไดถ้ ูกตอ้ ง ต้านทจุ ริต - ความโปร่งใส ใจสะอาดต้านทุจริต - ความต่นื รู้ ตา้ นทุจรติ - การมุ่งไปข้างหนา้ - ความเอื้ออาทร - การเรียนรเู้ ท่าทันป้องกันการทุจรติ 1. อธิบายความหมายและ พลเมอื งกับความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ท่มี าของคาศพั ทท์ ี่ 1.ความหมายและทม่ี าของคาศัพท์ เก่ียวขอ้ งกับพลเมอื ง ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั พลเมือง 2. อธบิ ายความหมายและ 2.ความหมายและแนวคดิ เก่ยี วกบั แนวคิดเก่ียวกับการศึกษา การศกึ ษาเพ่ือสรา้ งความเป็นพลเมือง เพอื่ สร้างความเป็นพลเมือง 3.องคป์ ระกอบของการศกึ ษาความเป็น 3. อธบิ ายองคป์ ระกอบของ พลเมอื ง การศกึ ษาความเป็นพลเมือง

197 ที่ หวั เร่อื ง ตวั ช้ีวัด เนือ้ หำ จำนวน (ชั่วโมง) 4. บอกแนวทางการปฏิบตั ิ 4.แนวทางการปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมอื งดี ตนการเป็นพลเมืองดไี ด้ 5. อธบิ ายแนวทางการสร้าง 5.แนวทางการสรา้ งเสริมสานึกความ เสรมิ สานึกความเปน็ เป็นพลเมือง : กรณีศกึ ษาประเทศ พลเมือง : กรณศี ึกษา ไทย ประเทศไทย 6. บอกผลการศึกษาเกยี่ วกับ 6.การศึกษาเกย่ี วกับความเปน็ พลเมอื ง ความเปน็ พลเมืองในบรบิ ท ในบรบิ ทต่างประเทศ ต่างประเทศ 7. สามารถคดิ วิเคราะห์ใน 7. กจิ กรรมทีเ่ กยี่ วข้อง การทากิจกรรมทเี่ ก่ียวข้อง - การเคารพสทิ ธหิ น้าท่ตี นเองและ ผอู้ นื่ - ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย - ความรบั ผิดชอบต่อตนเองและ ผอู้ นื่ /สังคม/โลก - ความเปน็ พลเมอื งของประเทศ/ โลก - แนวทางการปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมือง ท่ดี ี - พลโลกท่มี ีความรบั ผิดชอบตอ่ การ ปอ้ งกันการทุจริต - การยกย่องเชดิ ชกู บั คนทท่ี าความดี

198 คำอธบิ ำยรำยวิชำ สงั คมประชำธิปไตย รหสั วชิ ำ สค03035 สำระกำรพฒั นำสงั คม ระดบั ประถมศึกษำ, มัธยมศกึ ษำตอนต้น, มธั ยมศึกษำตอนปลำย จำนวน 3 หนว่ ยกติ (120 ชัว่ โมง) มำตรฐำนท่ี 5.3ปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสขุ ของสงั คม ศึกษำและฝึกทักษะเกย่ี วกบั เรอ่ื งต่อไปนี้ 1. ความหมายของพลเมอื งดีและประชาธิปไตยในชุมชน 2. รูปแบบของประชาธปิ ไตยในชมุ ชน/ท้องถน่ิ 3. การแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับประชาธิปไตยท่ีตนเองมตี ่อชุมชน 4. กฎหมายเก่ียวกับประชาธิปไตย 5. กฎหมายการเลือกตัง้ 6. การปฏิบตั ติ นในการเลอื กต้งั 7. การรณรงค์การเลือกต้งั 8. ความหมาย ความสาคัญของหลักธรรมาภบิ าล 9 หลัก 9. ความเป็นมาของหลักธรรมาภบิ าล 9 หลัก 10. ประโยชน์ของการใชห้ ลกั ธรรมาภิบาล 11. การนาหลักธรรมาภบิ าลไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ จัดให้มกี ารอภปิ รายความหมาย ความสาคญั ของของพลเมืองดี หลกั ธรรมาภิบาล และประชาธิปไตย ในชุมชน จัดนิทรรศการ รปู แบบประชาธิปไตยในชุมชน/ทอ้ งถิน่ ของตนเองพรอ้ ม ให้ผูเ้ รียนจัดทารายงาน และนาเสนอในรปู แบบท่หี ลากหลาย และเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเลือกต้ัง / สงั เกตการณ์เลือกตัง้ ในชมุ ชน/ ท้องถน่ิ รวมท้งั รณรงคใ์ หค้ วามรูแ้ กป่ ระชาชนในทอ้ งถ่นิ /ชุมชน ศกึ ษาเรยี นรู้จากสื่อ สิ่งพิมพ์ เวบ็ ไซดต์ ่าง ๆ เกย่ี วกบั หลกั ธรรมาภิบาล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ ยกตวั อยา่ งการนาหลกั ธรรมาภิบาลไปใช้ในชวี ิตประจาวนั /ไปใช้ในการเลอื กตั้ง กำรวัดและประเมนิ ผล จากการสงั เกต การจดั ทารายงาน ใบงาน การอภปิ ราย การมสี ว่ นร่วม การทดสอบ การยกตวั อย่าง การนาหลักธรรมาภบิ าลไปใช้ในชีวติ ประจาวัน

199 รำยละเอยี ดคำอธิบำยรำยวิชำ สังคมประชำธปิ ไตย รหสั วชิ ำ สค03035 สำระกำรพฒั นำสงั คม ระดบั ประถมศึกษำ, มัธยมศึกษำตอนตน้ , มัธยมศึกษำตอนปลำย จำนวน 3 หน่วยกติ (120 ช่วั โมง) มำตรฐำนท่ี 5.3 ปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย มีจติ สาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสงั คม ที่ หัวเร่ือง ตัวช้ีวดั เนื้อหำ จำนวน (ชวั่ โมง) 1 พลเมืองดี 1. อธบิ ายความหมาย ความ สาคัญ ของ 1. ความหมาย ความสาคญั 20 ตามวิถี พลเมอื งดแี ละประชาธิปไตยในชุมชนได้ ของพลเมืองดแี ละประชาธิปไตย ประชาธปิ ไตย 2. อธิบายเก่ยี วกับรปู แบบประชาธปิ ไตย ในชุมชน ในชุมชน/ทอ้ งถน่ิ ได้ 2. รูปแบบประชาธิปไตยใน 3. บอกประเภทของประชาธิปไตยได้ ชมุ ชน/ท้องถน่ิ 4. บอกประเภทของการเลอื กตงั้ ได้ 3. ประเภทของประชาธิปไตย 20 3.1 ประชาธิปไตยทางตรง 30 5. บอกกฎหมายเกยี่ วกับประชาธปิ ไตยได้ 3.2 ประชาธปิ ไตยทางออ้ ม 6. บอกกฎหมายการเลือกตัง้ ได้ 7. บอกการปฏิบัติตนในการเลอื กต้ัง 4. การเลอื กตัง้ 8. บอกการมีส่วนร่วมในการเลอื กต้งั ของ 4.1 การเลอื กตั้ง สส. ชมุ ชน/ทอ้ งถ่ิน 4.2 การเลอื กตั้ง สว. 9. อธิบายเก่ียวกับการมจี ติ สาธารณะได้ 4.3 การเลือกต้งั ผู้วา่ ฯ 4.4 การเลอื กตั้งแบบท้องถน่ิ 5. กฎหมายเกย่ี วกับประชาธิปไตย 6. กฎหมายการเลือกตงั้ 7. การปฏบิ ตั ติ นในการเลือกต้ัง 2 หลักธรรมาภิ 1. อธบิ ายความหมาย ความสาคัญของ 8. เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเลอื กตงั้ ของชมุ ชน/ทอ้ งถ่นิ บาลสรา้ ง หลักธรรมาภบิ าลได้ 9. การมจี ิตสาธารณะ สังคมสงบสขุ 10. ความหมาย ความสาคญั และ ความเป็นมาของหลักธรรมาภิบาล 9 หลกั 1.1 นติ ิธรรม 1.2 คณุ ธรรม 1.3 โปร่งใส 1.4 คุ้มค่า 1.5 รว่ มมือ 1.6 รับผิดชอบ

ที่ หัวเรือ่ ง ตวั ชี้วัด เน้ือหำ 200 11. บอกประโยชน์ของการนาหลกั ธรร 1.7 ความสอดคล้อง จำนวน มาภบิ าลแต่ละด้านไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั 1.8 ความเสมอภาค (ช่วั โมง) ได้ 1.9 ความมีประสทิ ธภิ าพ 12. เป็นผ้นู าในการนาหลกั หลักธรรมาภิ 11. ประโยชนข์ องหลกั 50 บาลไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างมคี ุณคา่ ธรรมาภิบาลแต่ละดา้ น 12. การนาหลกั ธรรมาภบิ าล แตล่ ะดา้ นไปปรับใชใ้ น ชวี ติ ประจาวนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook