Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา ม.ปลายรวมเล่ม2

หลักสูตรสถานศึกษา ม.ปลายรวมเล่ม2

Published by paryphichchac61, 2020-03-20 05:29:31

Description: หลักสูตรสถานศึกษา ม.ปลายรวมเล่ม2

Search

Read the Text Version

1

2

3 คำนำ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศใช้หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เมื่อวนั ท่ี 18 กันยายน 2551 เปน็ หลกั สตู รท่ีมุ่งจดั การศกึ ษาเพื่อตอบสนองอดุ มการณ์ การ จัดการศึกษาตลอดชีวิต และสร้างสังคมไทยใหเ้ ป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ตามปรัชญา “คดิ เปน็ ” เพื่อสร้าง คณุ ภาพชีวิตและสังคม โดยให้สอดคลอ้ งกับความต้องการของกลมุ่ ผู้เรียน และความเปลี่ยนแปลงของ เศรษฐกิจและสงั คม เพอ่ื สรา้ งให้ผเู้ รียนมีคุณธรรม จริยธรรม มสี ติปัญญา มีศักยภาพในการประกอบอาชีพ ดารงชีวิตอยู่ในครอบครวั ชุมชน สังคม ได้อยา่ งมคี วามสุข ดงั นัน้ เพอื่ ให้การนาหลกั สูตรไปสูก่ ารจัดการเรยี นรู้ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ กศน.อาเภอสตั หีบ จงึ ได้ พัฒนาและจดั ทาหลักสตู รสถานศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจดั การศกึ ษาที่ มีคุณภาพ เปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ต่อไป (นางสุรัสวดี เล้ยี งสพุ งศ์) ผู้อานวยการ กศน. อาเภอสตั หีบ 6 มีนาคม 2563

สำรบญั 4 เร่ือง คานา หน้ำ สำรบัญ หลกั สตู รสถานศึกษา ตามหลกั สตู รการศกึ ษาระบบระดบั การศึกษาขันพ้นื ฐาน 5 พุทธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 28 บริบทพน้ื ฐาน 28 ปรชั ญา “คิดเปน็ ” 29 วสิ ัยทศั น์ 29 พนั ธกิจ 30 หลกั การ 30 จดุ หมาย 30 กลุ่มเป้าหมาย 30 กรอบโครงสร้าง 30 ระดบั การศกึ ษา 30 สาระการเรียนรู้ 30 กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 30 มาตรฐานการเรยี นรู้ 30 เวลาเรียน 31 หน่วยกติ 31 โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 33 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 43 สาระทักษะการเรยี นรู้ 91 สาระความรู้พนื้ ฐาน 108 สาระการประกอบอาชพี 122 สาระทกั ษะการดาเนนิ ชวี ิต 177 สาระการพฒั นาสงั คม 179 แผนการลงทะเบยี นเรยี น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 180 วิธกี ารจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

สำรบญั (ต่อ) 5 เร่อื ง หน้ำ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 181 มาตรฐานการศึกษาต่อเนอ่ื ง 182 มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศัย 183 บรรณานุกรม 184 คณะผ้จู ดั ทา 185

6 บริบทพน้ื ฐำน บรบิ ทพื้นฐำนจังหวัดชลบรุ ี 1. ควำมเป็นมำของจงั หวดั ชลบรุ ี “ทะเลงำม ขำ้ วหลำมอรอ่ ย อ้อยหวำน จกั สำนดี ประเพณวี ิง่ ควำย” ชลบรุ ี หรือทค่ี นทั่วไปเรยี กกันสั้นๆวา่ “เมอื งชล” เปน็ จงั หวัดทีต่ งั้ อยู่ในทิศตะวันออกของประเทศไทย รมิ ฝัง่ ทะเลด้านตะวนั ออกติดกบั อ่าวไทยมีทรัพยากรธรรมชาติทห่ี ลากหลายท้ังชายฝั่งทะเล หม่เู กาะ ป่าเขา พื้นทีป่ ่าชายเลน ซงึ่ เอ้อื ต่อการประกอบอาชพี เกษตรกรรม ประมง และผลติ สินค้าแปรรูป โดยเฉพาะแหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่มี ศี กั ยภาพเพื่อการทอ่ งเท่ยี ว อาทิ ชายหาดท่ีมชี ือ่ เสียง และเกาะตา่ งๆ สามารถดงึ ดดู นกั ทอ่ งเท่ียวท้ังในและนอกประเทศสร้างรายได้แก่ประชาชนในพน้ื ทแ่ี ละประเทศ นอกจากนี้ จังหวดั ชลบุรียงั มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ท้ังในด้านพาณิชยกรรม และอุตสาหกรรมของประเทศ ศกั ยภาพและ ความโดดเดน่ ในหลายด้านของจงั หวัดชลบรุ ี จึงกลายเปน็ ต้นทนุ ท่สี ง่ ผลให้ชลบรุ ีกลายเป็น “เพชรน้ำเอกแห่งบูรพำทศิ ”ทพ่ี รอ้ มเปิดประตูเพ่ือตอ้ นรบั ระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก ไดอ้ ยา่ งภาคภูมิ ชลบุรี ตามประวัตเิ ป็นเมืองเก่า อยู่ในราวสมัยทวาราวดแี ละสมยั ขอมนั่น เองเขตจังหวดั ชลบุรีมีเมือง ทเ่ี กิดข้นึ ในสมัยน้ัน3 เมือง ดว้ ยกนั คือเมืองพญาเร่ในเขตอาเภอบ่อทอง เมืองพระรถในเขตอาเภอพนัสนิคม และเมืองศรีพะโล ในเขตอาเภอเมืองชลบรุ ี ท้ัง 3 เมืองนี้ มีความสัมพนั ธ์เกี่ยวข้องกันโดยเมืองพญาเรต่ ดิ ต่อกับ เมืองพระรถโดยคลองหลวงปัจจุบันคลองยังอยู่ และเป็นคลองสายท่ีสาคัญ และยาวที่สุดของจังหวัดชลบุรี การทานาในอาเภอพนัสนิคมและอาเภอพานทอง อาศัยน้าจากคลองน้ี ซ่ึงมแี ควหลายแคว แควใหญ่ท่ีสุด คอื แควที่เกิดจากทิวเขาป่าแดง ไหลผ่านตลาดอมพนมและ เมืองพระรถติดต่อกับเมืองศรีพะโลทางถนน (ปัจจุบันแนวถนนยงั มอี ย)ู่ จากการสันนิษฐานโดยอาศัยหลักฐานทางโบราณสถาน และลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประกอบกันเมืองโบราณทั้งสามเมอื งนี้น่าจะเกดิ ข้ึนก่อนหลังกันไม่นานนักกล่าวคือเมืองพญาเร่เกิดข้ึนก่อน จากน้นั เมอื งพระรถเกิดข้ึนและเมอื งศรพี ะโล เกดิ ข้นึ ในระยะต่อมา ซง่ึ อาณาเขตของเมอื งโบราณท้ังสามรวมกัน เป็นพ้นื ทีข่ องจังหวดั ชลบุรีในปัจจุบนั 2.ลักษณะทำงกำยภำพ 2.1 ทีต่ ้งั และอำณำเขตติดต่อ จังห วัดชลบุรีต้ังอยู่ใน ภา คตะวัน ออกของประเทศไทย หรือริมฝ่ังทะเลด้าน ตะวันออกของ อ่าวไทยประมาณเส้นรุ้งที่ 12 องศา 30 ลิบดา–13 องศา 43 ลิบดาเหนือ และเสน้ แวงท่ี 100 องศา 45 ลบิ ดา – 101 องศา 45 ลิบดาตะวันออก ระยะทางจากกรุงเทพมหานครตามเสน้ ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 34 (ถนน สายบางนา - ตราด) รวมระยะทางประมาณ 81 กิโลเมตร และมีเส้นทางหลวงพิเศษ หมายเลข 7 หรือ Motorway (กรุงเทพฯ - ชลบุร)ี ระยะทาง 79 กิโลเมตร ซงึ่ ใช้ระยะเวลาในการเดินทางประมาณ 45 นาที มี พ้ืนทท่ี ้ังจงั หวัด 4,363 ตารางกิโลเมตรหรือ 2,726,875 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.85 ของพื้นท่ีประเทศไทย (พ้นื ท่ี ของประเทศไทยประมาณ 513,115 ตารางกโิ ลเมตรหรือ 320,696,875 ไร)่

7 จังหวดั ชลบุรี มอี าณาเขตติดต่อกบั จงั หวดั ใกลเ้ คยี ง (รูปที่ 1) ดังน้ี ทิศเหนือ ตดิ กบั จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ทิศใต้ ตดิ กบั จังหวัดระยอง ทศิ ตะวันออก ตดิ กับ จงั หวัดฉะเชิงเทรา จังหวดั จันทบุรี และจังหวดั ระยอง ทิศตะวันตก ตดิ กบั ชายฝ่งั ทะเลตะวันออกของอา่ วไทย รูปที่ ๑ แผนทจี่ ังหวัดชลบุรี 2.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ จงั หวดั ชลบุรีมีลักษณะภมู ปิ ระเทศเป็น 4 ประเภท ดังนี้ พ้ืนท่ีสูงชนั และภูเขำ อยู่ตอนกลางและด้านตะวันออกของจังหวัด เป็นแนวยาวจากทศิ ตะวันตกเฉียง เหนือไปยังทิศตะวันออกเฉียงใต้ ต้ังแต่อาเภอเมืองชลบุรี บ้า นบึง ศรีรา ชา หนองใหญ่ และบ่อทอง ทอ่ี าเภอศรีราชาน้ันเป็นต้นน้าของอ่างเก็บน้าบางพระแหล่งน้าอุปโภคบริโภคหลักแห่ งหน่ึงของชลบุรี เขตที่มีความสูงจากระดับน้าทะเลตั้งแต่ 200 เมตรขึน้ ไป จะอยใู่ นเขตอาเภอบ่อทองและอาเภอหนองใหญ่ ในด้านทต่ี ิดกับจังหวัดฉะเชิงเทราและจนั ทบุรี

8 ที่รำบลูกคล่ืนและเนินเขำ ในเขตอาเภอบ้านบึง พนัสนิคม หน องใหญ่ ศรีราชา บางละมุง สัตหีบ และบอ่ ทอง พ้ืนท่ีน้มี ีลกั ษณะสูงๆ ต่าๆ คล้ายลกู ระนาด สว่ นท่ีเป็นท่ีราบลุ่มอยตู่ อนบนของจังหวัดใน เขตอาเภอพานทอง อาเภอพนัสนิคมและแนวกึง่ กลางของดา้ นตะวันตกเป็นพนื้ ท่ีราบลุม่ แมน่ า้ บางปะกง มีลาน้า คลองหลวงยาว 130 กิโลเมตร ต้นน้าอยู่ที่อาเภอบ่อทองและอาเภอบ้านบึง ผ่านพนัสนิคม ไปบรรจบเป็น คลองพานทองไหลลงสู่แมน่ า้ บางปะกง ท่ีรำบช ำยฝั่ง ทะเล ตั้งแต่ปา กแม่น้าบา งปะกงติดกับทะเลอยู่ทางด้า นทิศตะวัน ตกตั้งแต่ อาเภอเมืองชลบุรีจน ถึงอาเภอสัตหีบซึ่งมีความยาวประมาณ 160 กิโลเมตร เว้า แหว่งคดโค้งสวยงา ม เกิดเป็นหน้าผาหิน หาดทรายทอดยาว ปา่ ชายเลน ป่าชายหาดฯลฯ ซึ่งอ่าวหลายแห่งสามารถพัฒนาไปเป็น ท่าจอดเรือกาบังคล่ืนลมได้เป็นอยา่ งดี ประกอบด้วยที่ราบตามชายฝัง่ ทะเลท่ีมีภูเขาเล็ก ๆ สลับเป็นบางตอน ชายฝั่งทะเลบางแห่งมีลักษณะเว้าแหว่งและเปน็ ที่ลุ่มตา่ น้าทะเล ท่วมถึง มีปา่ ชายเลนหรือโกงกางขึน้ ตงั้ แต่ ในเขตอาเภอเมืองชลบุรี ถัดลงไปเป็นอาเภอศรรี าชา อาเภอบางละมุง และอาเภอสัตหีบ มหี าดทรายสวยงาม หลายแหง่ ซงึ่ ไดร้ ับการพฒั นาเปน็ แหล่งท่องเทย่ี วท่ีสาคญั ของจังหวดั ส่วนท่ีเป็นเกำะ อย่หู ่างจากชายฝัง่ ทะเลออกไปประมาณ 10 กิโลเมตร ซึง่ ประกอบด้วยพน้ื ทที่ ่เี ป็นเกาะเลก็ และเกาะใหญป่ ระมาณ 46 เกาะ เกาะทสี่ าคัญท่ีสดุ คือเกาะสีชงั และมีฐานะเปน็ อาเภอ นอกจากน้ียังมเี กาะแสมสาร เกาะลา้ น เกาะครก เกาะสากและเกาะไผ่ เป็นทเ่ี หมาะแกก่ ารทอ่ งเที่ยวและพกั ผ่อน 2.3 ลกั ษณะภูมิอำกำศ โดยท่ัวไปฤดูรอ้ นไม่ร้อนจัด ฤดูหนาวอากาศไม่แห้งแล้งมาก มีฝนตกสลับกั บแห้งแล้งระหว่าง ปี 2556– 2560 วัดปริมาณน้า ฝนได้ 1,368.82 มิลลิเมตร บริเวณใกล้ภูเขามีฝนตกมากกว่าบริเวณ ใกลช้ ายทะเล ลกั ษณะภมู ิอากาศเปน็ แบบมรสุมเมอื งร้อน อุณหภมู ิต่าสุดรายปี 22.70 องศาเซลเซยี ส สงู สุดรายปี 36.10 องศาเซลเซยี ส เฉลีย่ รายปี 29.03 องศาเซลเซียส ความชน้ื สัมพทั ธ์ เฉล่ีย 72.98 เปอร์เซ็นต์ 3.ข้อมูลกำรปกครอง 3.1 กำรปกครอง จังหวัดชลบุรีแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 11 อาเภอ 92 ตาบล 687 หมู่บ้าน โดยมอี าเภอตา่ ง ๆ ดงั นี้ อาเภอเมืองชลบุรี บ้านบงึ บางละมุง พานทอง พนัสนิคม ศรรี าชา สตั หบี หนองใหญ่ บ่อทอง เกาะสชี ัง และเกาะจันทร์ ในสว่ นการปกครองทอ้ งถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 2 แห่ง เทศบาลเมือง 10 แห่ง เทศบาลตาบล 35 แหง่ และองคก์ ารบริหารส่วนตาบล 50 แหง่ และ รปู แบบการปกครองพิเศษ 1 แห่ง (เมอื งพทั ยา) หนว่ ยงานราชการจังหวัดชลบรุ ี ประกอบดว้ ย (1) ส่วนราชการสว่ นกลาง จานวน 123 หนว่ ยงาน (2) สว่ นภมู ิภาค จานวน 33 หน่วยงาน (3) ส่วนทอ้ งถิ่น จานวน 99 หน่วยงาน 3.2 กำรใช้ประโยชน์ทีด่ นิ การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในพน้ื ทีจ่ งั หวดั ชลบุรจี าแนกการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ได้ 9 ประเภท ไดแ้ กก่ ารเกษตร/ ปศุสัตว์ รอ้ ยละ 56.67 รองลงมา เปน็ พื้นท่ีปา่ ไม/้ ปา่ ชายเลน ร้อยละ 11.14

9 2) ประชำกรในเขตเมอื งจังหวัดชลบุรี ได้แก่ เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เมืองพทั ยา เทศบาล นครแหลมฉบัง เทศบาลเมืองหนองปรือ เทศบาลเมอื งบ้านสวน เทศบาลเมืองแสนสุข เทศบาลเมืองอ่างศลิ า เทศบาลเมืองชลบรุ ี เทศบาลเมืองศรีราชา เทศบาลเมืองบ้านบงึ เทศบาลเมืองสัตหีบ และเทศบาลเมือง พนสั นิคม ประชากรรวมทั้งสน้ิ 671,311 คน และมจี านวนครัวเรือน 518,529 ครวั เรอื น ขนาดของครัวเรอื น เฉลยี่ 1.29 คนต่อบา้ น ความหนาแน่น 1,549.51 คนต่อตารางกิโลเมตร 3) ศำสนำ จงั หวดั ชลบรุ มี ีผนู้ ับถอื ศาสนาพทุ ธ จานวน 1,256,081 คน คิดเป็นร้อยละ 97.78 ศาสนาคริสต์ จานวน 7,707 คน คิดเป็นร้อยละ 0.60 ศาสนาอิสลาม จานวน 20,000 คน คดิ เป็นร้อยละ 1.56 และอนื่ ๆ จานวน 800 คน คิดเป็นร้อยละ 0.06 4. ข้อมูลเศรษฐกจิ จากสถิติของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผลิตภัณฑ์มวลรวม ปี 2559 จังหวัดชลบุรี มีมูลค่าผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั 912,498 ลา้ นบาท คดิ เป็นสดั ส่วนร้อยละ 6.28 ของ ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมประเทศ (14,533,465 ล้านบาท) และคดิ เป็นสดั ส่วนร้อยละ 42.43 ของผลติ ภัณฑ์มวลรวม ของกลุ่มจงั หวัดภาคตะวันออก 1 (2,150,527 ล้านบาท) โครงสรา้ งเศรษฐกิจของจังหวดั ชลบรุ ี ข้ึนอยู่กับภาค นอกเกษตรเปน็ หลัก ซ่ึงมมี ูลค่า 895,800 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 98.17 ของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด (1 , 9 8 1 ,4 2 9 ล้ า น บ า ท ) ส่วน ให ญ่ม า จ า กส า ข า อุต สา หก ร ร ม มูล ค่า 4 6 2 , 2 4 2 ล้ า น บา ท และภาคบรกิ ารทส่ี าคัญ ได้แก่ การขายสง่ และการขายปลีกฯ การไฟฟ้า แกส๊ การขนสง่ และสถานท่เี ก็บสนิ ค้า ทพ่ี ักแรม และบริการด้านอาหาร การบริหารราชการฯ สาหรับภาคเกษตร มูลค่า 16,697 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 1.83 ของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั 5.ลักษณะทำงสังคม 5.1 กำรจัดระบบบริกำรสำธำรณสขุ ของจังหวดั ชลบรุ ี 1) สถำนบริกำรสำธำรณสขุ สังกัดกระทรวงสำธำรณสขุ การจัดระบบบรกิ าร จังหวดั ชลบุรี มีโรงพยาบาล 12 แห่ง แบ่งเป็นระดับ A 1 แหง่ รพศ.ชลบุรี ระดับ S 1 แห่ง รพท.บางละมุง ระดับ M2 3 แห่ง รพ.พนัสนิคม (ปรับเป็น M1 รอหนังสือยืนยัน ) รพ.แหลมฉบงั , รพ.บ้านบึง ระดับ F1 3 แห่ง รพ.สัตหีบ , รพ.พานทอง , รพ.บ่อทอง ระดับ F2 3 แห่ง รพ.หนองใหญ่ , รพ.เกาะสีชัง , รพ.วดั ญาณฯระดับ F3 1 แห่ง รพ.เกาะจนั ทร์ (ปรบั เปน็ F2 รอหนังสือยนื ยัน) ศูนยส์ ขุ ภาพชมุ ชนเขตเมอื ง 4 แห่ง และรพ.สต. 118 แห่ง 2) สถำนบริกำรภำคเอกชน สถานบริการภาคเอกชนประกอบด้วยโรงพยาบาลเอกชน 14 แห่ง คลินิกแพทย์ 485 แห่ง คลนิ กิ ทันตกรรม 297 แหง่ ร้านขายยาแผนปจั จุบนั 1,043 แหง่ รา้ นขายยาแผนโบราณ 73 แหง่ รา้ น ขายยาบรรจเุ สรจ็ 139 แห่ง 5.2) อัตรำสว่ นบุคลำกรทำงกำรแพทย์ จ.ชลบรุ ี ปี 25 58 อัตรา ส่วน แพทย์ต่อประชา กร เท่ากับ 1 :4,1 92 อัตรา ส่วน พยาบาลต่อประชากร เท่ากับ 1:859 อัตราเตียงตอ่ พนั ประชากร เทา่ กบั 1 : 22

10 6. โครงสร้ำงพนื้ ฐำน 6.1 ระบบสำธำรณูปโภค 1) ประปำ สานกั งานการประปาสว่ นภูมภิ าคในจงั หวดั ชลบุรี มที ้งั ส้ิน จานวน 7 สานกั งาน ไดแ้ ก่ การประปา สว่ นภมู ิภาคเขต 1 การประปาส่วนภมู ิภาคสาขาชลบรุ ี การประปาส่วนภมู ภิ าคสาขาบ้านบงึ การประปาส่วน ภูมภิ าคสาขาพนัสนคิ ม การประปาสว่ นภมู ิภาคสาขาศรีราชา การประปาส่วนภูมภิ าค สาขาแหลมฉบัง และ การประปาสว่ นภมู ิภาคสาขาพทั ยา 2) ไฟฟ้ำ จงั หวดั ชลบรุ ใี ชไ้ ฟฟา้ ในปี พ.ศ.2557 มีจานวนผู้ใชไ้ ฟฟ้า 612,257 ราย จาหนา่ ยกระแสไฟฟ้า 10,548,631,119.13 กโิ ลวตั ต์ตอ่ ชว่ั โมง พ.ศ.2558 มีจานวนผใู้ ชไ้ ฟฟา้ 648,567 ราย จาหน่ายกระแสไฟฟา้ รวม 10,983,951,879.24 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง พ.ศ.2559 มจี านวนผู้ใชไ้ ฟฟ้า 602,839 ราย จาหน่าย กระแสไฟฟ้า รวม 11,696,007,994.2 กิโลวตั ต์ต่อชว่ั โมง เพมิ่ ข้ึนรอ้ ยละ 6.09 การใช้ไฟฟ้าสาหรับท่ีอย่อู าศยั ในจงั หวดั ชลบุรี ท่มี ีมากเนอื่ งจากความหนาแน่นของประชากรสูง 6.2 สำธำรณูปกำร กำรขนส่ง และกำรเช่ือมโยง (1) กำรคมนำคมขนส่งทำงบก ระบบโครงข่ายถนนเป็นการคมนาคมระบบท่ีสาคัญที่สดุ ของจังหวัดชลบุรีโครงข่ายนี้อยู่ใน รับผิดชอบของกรมทางหลวง จังหวัดชลบุรีมีถนนที่สร้างเสร็จแล้วเป็นระยะทาง 745.497 กิโลเมตร ซ่งึ เปน็ ทางหลวงแผ่นดิน จานวน 8 สาย (2) ระบบโครงข่ำยรถไฟ จังหวดั ชลบุรมี เี ส้นทางรถไฟสายตะวันออก เร่มิ จากกรงุ เทพฯ - จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา – จงั หวัดชลบรุ ี (นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง) ไปสน้ิ สุดที่ (นคิ มอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ ) จังหวัดระยอง เพ่อื รองรบั การขนส่ง สินค้าจากท่าเรือน้าลึกสัตหีบ ทา่ เรือนา้ ลกึ และนิคมอตุ สาหกรรมแหลมฉบัง และขนสง่ สินคา้ จากทา่ เรอื นา้ ลึก และนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด โดยมโี ครงการสร้างทางรถไฟเชื่อมตอ่ 3 สายคือ 1) ทำงรถไฟสำยศรีรำชำ – แหลมฉบัง เปน็ เสน้ ทางรถไฟที่แยกจากรถไฟสายฉะเชิงเทรา – สัตหีบ ที่ บริเวณอาเภอศรีราชา มุ่งเข้าส่ทู ่าเรือน้าลกึ และนคิ มอุตสาหกรรมแหลมฉบัง มีระยะทางยาวทั้งหมด 9.7 กิโลเมตร 2) ทำงรถไฟสำยสัตหีบ – มำบตำพดุ เปน็ เส้นทางรถไฟที่แยกจากสายฉะเชิงเทรา – สัตหบี ทส่ี ถานี เขาชจี รรย์ (ก่อนถงึ สถานรี ถไฟพลูตาหลวง 4 กโิ ลเมตร) ผ่านนคิ มอุตสาหกรรมมาบตาพุด และแยกเข้าสทู่ ่าเรือ น้าลกึ มาบตาพดุ คิดเป็นระยะทางยาวทง้ั หมด 24.07 กิโลเมตร 3) โครงกำรรถไฟควำมเร็วสูง ช่วงสุวรรณภูมิ - อู่ตะเภำ ในเบ้ืองต้น รฟท. ได้กาหนดแผน การปฏิบัตงิ านให้รองรับแผนพัฒนาเขตพเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) ตามยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ 4.0 ของรฐั บาล โดยกาหนดกรอบเวลาตั้งแต่ขั้นตอนการศึกษา การขออนุมัตโิ ครงการ ระยะการก่อสร้าง และระยะเปิด ให้บริการโครงการ

11 รปู ท่ี 3 แนวเสน้ ทำงโครงกำรรถไฟควำมเรว็ สูง - แนวเสน้ ทางโครงการรถไฟความเรว็ สูง ชว่ งสวุ รรณภมู ิ - อูต่ ะเภา มจี ดุ เร่ิมตน้ จากสนามบิน สวุ รรณภมู พิ าดผ่านพ้ืนท่ขี อง 5 จงั หวดั ไดแ้ ก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ระยะทางรวม 165.5 กิโลเมตร โดยแนวเส้นทางส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย และมกี ารปรบั แนวเสน้ ทางบางชว่ งใหม้ รี ศั มีความโคง้ เพื่อรองรบั รถไฟความเรว็ สูง - ความเร็วสูงสุด 250 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง ใช้เวลาเดินทางจากสนามบินสุวรรณภมู ิถึงสนามบิน อู่ตะเภา ประมาณ 1 ช่ัวโมง นักท่องเทย่ี วท่วั โลกสามารถเดนิ ทางระหวา่ งทา่ อากาศยานหลักของประเทศ เข้าสู่เมืองและเขตธุรกิจได้อย่างสะดวก ปลอดภัย และเป็นโครง สร้างพ้ืนฐานที่สาคัญในกา รรองรับ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก EEC - สถานีรถไฟความเรว็ สูง ช่วงสุวรรณภูมิ อูต่ ะเภา มี 6 สถานี ไดแ้ ก่ สถานสี วุ รรณภูมิ สถานี ฉะเชิงเทรา สถานชี ลบุรี สถานีศรีราชา สถานพี ัทยา สถานอี ูต่ ะเภา (3) กำรขนสง่ ทำงทอ่ การขนส่งทางท่อจะช่วยเพ่ิมประสิทธภิ าพและความปลอดภยั จากการขนส่ง นอกจากนี้ยงั ช่วยลด ค่าใช้จ่ายในการขนส่งทางบกและลดปัญหากา รจราจร ภายในจังหวัดชลบุรี และจังหวัดใกล้เคียงได้ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยได้รว่ มลงทนุ กบั โรงกลั่น และบรษิ ทั ขายปลีกน้ามนั สาหรับรถยนต์ สร้างระบบ ขนส่งทางท่อข้ึน 2 โครงการ ไดแ้ ก่ 1) โครงการขนสง่ ทางท่อจากอาเภอศรีราชาไปท่ชี ่องนนทรี กรุงเทพฯ โดยวางทอ่ ตามทางรถไฟ 2) โครงการ ขนส่งน้ามัน ทา งท่อจา กอา เภอศรีรา ชา ผ่าน ลา ลูกกาและส้ินสุดที่สระบุรี โครงการน้ีควบคมุ ระบบขนส่งโดยคอมพิวเตอร์ (4) กำรขนส่งทำงอำกำศ จงั หวัดชลบุรีมีสนามบนิ 2 แหง่ คอื 1) สนำมฝึกบินบำงพระกับสนำมบินอู่ตะเภำ สนามฝึกบินบางพระตั้งอยู่เขตอาเภอศรีราชาเป็น สนามฝกึ ซอ้ มสาหรบั เคร่อื งบนิ ลาเลก็ ซง่ึ ไม่ไดเ้ ปดิ ใหบ้ ริการขนส่งทางอากาศเพื่อการพาณชิ ยท์ ่วั ไป

12 2) สนำมบินนำนำชำติอู่ตะเภำ-ระยอง-พัทยำ ตงั้ อยู่ในพ้ืนท่ีของ 2 จังหวัดคอื เขตอาเภอสัตหีบ จงั หวัดชลบุรี และอาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง อยใู่ นความดูแลของกองทัพเรือ อยหู่ ่างจากเมืองพัทยา เพยี ง 45 กิโลเมตร และมีฐานะเป็นสนามบินพาณิชย์ โดยมีสายการบิน Bangkok Airway เปิดบริการรับส่ง ผโู้ ดยสารไปเกาะสมยุ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี และจงั หวัดภูเก็ต และสายการบิน Air Asia และThai Lion Air เป็นสายการบนิ ท่มี ีเทีย่ วบินท่ีมีท้งั เทย่ี วบนิ ภายใน และระหว่างประเทศ (5) กำรคมนำคมขนสง่ ทำงน้ำ จังหวัดชลบุรีมีสภา พภูมิศาสตร์ท่ีเอ้ืออานวยต่อการขนส่งทางทะเล เนื่องจากด้านตะวันออก ของจังหวัดเป็นชายฝั่งที่มีแนวยาวเป็นระยะทางหลายร้อยกิโลเมตร โดยบางแห่งเป็นชายหาดที่สวยงาม และบางแห่งเหมาะที่จะเป็นทา่ เรอื ทาให้ชายฝัง่ ทะเลของจังหวัดมีทา่ เทยี บเรอื ประมงและท่าเทยี บเรือสินค้า ทัง้ ท่ีเป็นทา่ เทยี บเรือของเอกชน และทา่ เทียบเรือพาณชิ ย์สาหรับขนสง่ สินค้าไปต่างประเทศ และขนสง่ สินค้า เลยี บตามชายฝงั่ ทะเลตะวนั ออกเขา้ สทู่ า่ เรือกรุงเทพฯ โครงกำรเรือเฟอรร์ ี่ (Ferry) เสน้ ทางหวั หนิ -พัทยา-บางปู เปน็ โครงการท่ีเกดิ ขึ้นเพอ่ื ร่นระยะเวลาใน การ เดินทา งข้ ามอ่าวไทย โดยมีบริษัท Royal Passenger Liner เป็นผู้ท่ีได้รับสัมปทานเดิน เรือ ซ่งึ ระยะเวลารวมทใ่ี ช้ในการเดินเรืออยู่ท่ีประมาณ 1-2 ชัว่ โมงเท่านั้น ในขณะท่ถี า้ โดยสารรถยนต์จะใชเ้ วลา ประมาณ 5-6 ชว่ั โมง เปน็ อย่างตา่ ในระยะท่ี 1 เรือเฟอรร์ จี่ ะทาการขนส่งแต่เฉพาะผูโ้ ดยสารเทา่ นน้ั โดยเปิดใหบ้ ริการเฉพาะเส้นทาง พัทยา-หวั หนิ ใชเ้ วลาเดินทาง 1 ช่วั โมง 30 นาที เบ้ืองตน้ มีเรอื บริการ 2 ลา วันละ 2 เที่ยว - ช่วงเชา้ จากหวั หนิ -พัทยา ตั้งแต่เวลา 08.30-09.40 น. - ช่วงเย็นจากพทั ยา-หวั หนิ ตั้งแต่เวลา 15.30-16.40 น. เรมิ่ ให้บริการ 1 มกราคม 2560 และขอใช้ท่าเรือของทางราชการก่อน 2 แห่ง คอื จอดที่ท่าเรือ แหลมบาลีฮาย เมอื งพัทยา และท่าเรอื สะพานปลาท่หี ัวหิน โครงกำรพฒั นำท่ำเรือแหลมฉบัง ขั้นที่ 3 ปัจจุบนั การท่าเรอื ฯ ได้พัฒนาท่าเรือแหลมฉบังข้ันท่ี 1 และขัน้ ท่ี 2 แล้วเสร็จ โดยท่าเรือแหลมฉบังขั้น ที่ 1 ประกอบด้วยทา่ เทยี บเรือชดุ A จานวน 6 ทา่ และท่าเทียบเรอื ชดุ B จานวน 5 ท่า นัน้ ไดเ้ ปดิ ใหบ้ ริการครบ ทกุ ท่าแลว้ ส่วนท่าเรอื แหลมฉบัง ขัน้ ท่ี 2 ซ่งึ ประกอบด้วยท่าเทยี บเรอื ชดุ C จานวน 4 ท่า และท่าเทียบเรอื ชุด D จานวน 3 ท่า ได้เปดิ ใหบ้ ริการท่าเทยี บเรือชดุ C ทุกท่าแล้ว คงเหลือแตท่ า่ เทียบเรือชุด D เทา่ นั้นทอ่ี ย่รู ะหว่างการ กอ่ สรา้ งใหแ้ ลว้ เสรจ็ และคาดวา่ จะสามารถเปดิ ให้บริการไดภ้ ายในปี 2564 โดยเมอ่ื เปดิ ให้บรกิ ารทา่ เทยี บเรอื ใน ข้ันท่ี 1 และ ข้นั ที่ 2 ครบทุกทา่ แล้ว ทา่ เรือแหลมฉบังจะมขี ดี ความสามารถในการรองรบั ตูส้ นิ ค้ารวม 11.10 ล้าน ทอี ยี ูตอ่ ปี และรองรับการการนาเข้าสง่ ออกสนิ คา้ รถยนตไ์ ด้ 2.0 ลา้ นคนั ตอ่ ปี อยา่ งไรก็ตาม การทา่ เรอื ฯ ได้พจิ ารณาขดี ความสามารถของท่าเรือแหลมฉบังท่ีมีอยู่ เปรียบเทยี บกบั การพยากรณ์ปรมิ าณตูส้ นิ คา้ ทีจ่ ะเพ่มิ ข้ึนในอนาคตตามการขยายตวั ของเศรษฐกิ จและการคา้ ของประเทศ การ ท่าเรือฯ จงึ ไดว้ างแผนพัฒนาโครงการกอ่ สร้างท่าเรือแหลมฉบัง ขั้นท่ี 3 เพื่อรองรับการขยายตวั ของปรมิ าณการ ขนส่งสนิ คา้ ทางทะเลดงั กล่าว โดยจะทาการก่อสร้างโครงสร้างพนื้ ฐานทา่ เรือและสิ่งอานวยความสะดวกอืน่ ๆ ตลอดจนโครงขา่ ยและระบบการขนสง่ ตอ่ เนื่องท่จี าเป็นต่างๆ ในเขตพ้ืนท่ีท่าเรือแหลมฉบังที่จะเชื่อมต่อกับ ภายนอกใหเ้ พยี งพอและพร้อมท่ีจะรองรับการขยายตวั ของปริมาณเรอื สินคา้ ประเภทตา่ งๆ ให้ทนั ทว่ งทีเพอ่ื มใิ ห้ ประสบปัญหาความแออัดและเพ่ือไมใ่ หเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ เศรษฐกิจส่วนรวมและขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ

13 รฐั บาลได้ใหค้ วามสาคญั กับการขนส่งสินคา้ ภายในประเทศให้มากข้ึน และไดบ้ รรจโุ ครงการพฒั นา ท่าเรอื แหลมฉบัง ขั้นที่ 3 อยใู่ นโครงการสาคญั ของ EEC และมีนโยบายใหท้ ่าเรือแหลมฉบังปรับแบบศูนย์การ ขนสง่ ตสู้ นิ ค้าทางรถไฟ (SRTO) ของ ทา่ เรือแหลมฉบัง ขั้นที่ 3 ให้รองรบั ต้สู นิ ค้าไดส้ งู สดุ 4 ลา้ นทีอียตู อ่ ปี จากเดมิ ทีอ่ อกแบบใหร้ องรับเพียง 1 ล้านทอี ียูต่อปี เพอ่ื เพิ่มปริมาณสดั ส่วนการขนส่งทางรางข้นึ เปน็ ร้อยละ 30 และเพิ่ม ระบบการจัดการขนตู้สนิ ค้าแบบอัตโนมัติ (Automation) ดังนั้น ท่าเรอื แหลมฉบังจงึ ต้องทาการศกึ ษาทบทวน ความเหมาะสม ดา้ นวิศวกรรม เศรษฐกจิ การเงิน สง่ิ แวดลอ้ ม รวมถึงการออกแบบโครงการทา่ เรือแหลมฉบัง ขั้นท่ี 3 เพอ่ื ใหส้ ามารถรองรับการขนส่งตสู้ ินค้าผ่านท่าได้ 18 ลา้ นทีอยี ูตอ่ ปี และรบั ตู้สินค้าผ่านทางรถไฟได้ ตามทกี่ าหนด รวมถงึ ให้เพิ่มระบบจดั การขนตสู้ ินค้าแบบอัตโนมตั ิ (Automation) ในรูปแบบการรว่ มลงทุน ระหว่างภาครฐั และเอกชน (PPP) วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมาย เพ่ือรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกจิ และการค้า ของประเทศ และเป็นการสนบั สนุนการเพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศอีกทางหน่ึง และเพ่อื ให้มี ท่าเทยี บเรือรองรบั ความต้องการการขนสง่ สินคา้ ทางทะเลระหวา่ งประเทศทเ่ี พ่มิ ขนึ้ ทาใหส้ ามารถรองรบั ปริมาณ ตสู้ นิ ค้าทจี่ ะเพิ่มสงู ข้ึนเกินกวา่ วสิ ยั สามารถในปจั จบุ นั เน่อื งจากการกาหนดวสิ ัยสามารถในการรองรบั ปรมิ าณตู้ สนิ คา้ ของทา่ เทียบเรอื ต่างๆ ในโครงการทา่ เรือแหลมฉบงั ขน้ั ท่ี 1 และขนั้ ที่ 2 มีขดี ความสามารถในการรองรบั ตู้ สินคา้ รวมกัน 11.10 ล้านทอี ียตู ่อปี เมือ่ นาตัวเลขคาดการณ์อัตราการขยายตัวปริมาณต้สู นิ ค้าประมาณ 5 % จะ พบว่าทา่ เรือแหลมฉบงั จาเปน็ ต้องเปิดทา่ เทียบเรือท่าแรกของโครงการท่าเรอื แหลมฉบงั ข้นั ที่ 3 ในปีงบประมาณ 2568 หรือก่อนหน้าหากปริมาณต้สู ินค้าเตบิ โต ในอัตราสงู และเม่ือการก่อสรา้ งท่าเรือแหลมฉบัง ข้ันท่ี 3 แล้ว เสร็จ ท่า เรือแหลมฉบังจ ะมีวิสัยสามา ร ถร องรับตู้สิน ค้า ผ่าน ท่า ร วมกันได้ 1 8 ล้าน ทีอียูต่อปี และรองรับการขนสง่ ตสู้ นิ คา้ ทางรถไฟ 6 ล้านทีอียตู อ่ ปี ที่มา:ทา่ เรือแหลมฉบงั 7.ทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม สถานการณแ์ ละปญั หาดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของจังหวัดในปัจจบุ ันและการจัดลาดับ ความสาคญั ของปญั หา 7.1 ดำ้ นทรพั ยำกรธรรมชำติ 1) ทรพั ยำกรน้ำผวิ ดิน แหล่งนา้ ธรรมชาติบนผิวดินส่วนใหญ่อยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ในเขตอาเภอพนัสนิคม และอาเภอ บ่อทอง เช่น คลองเชดิ คลองใหญ่ คลองหลวง เปน็ ตน้ ซ่ึงได้ไหลไปบรรจบกันเปน็ คลองพานทองแล้วไหลไป ทางทิศตะวันตกไปบรร จบกับแม่น้าบางปะกงในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา นอกจากนั้นมีคลอง บางพร ะ คลองบางละมุง คลองแพร่ง คลองห้วยชากนอกและคลองห้วยใหญ่ เปน็ ตน้ สาหรบั คลองอืน่ ๆ ไดแ้ ก่คลองยายดา คลองบางหกั คลองบางทวิ และคลองบางนาง บริเวณตอนกลางและตอนใต้ของพื้นที่จังหวัดมีทางน้าต่างๆ เช่น คลองร่า คลองปลวกแดง และคลองดอกกราย เปน็ ต้น ไหลมารวมกนั เป็นคลองใหญก่ ่อนท่ีจะไหลมาทางใตล้ งสู่อ่าวไทยทอี่ าเภอเมืองระยอง นอกจากนจี้ ากอาเภอเมืองชลบุรจี นถึงอาเภอสัตหีบ ยงั มที างน้าสั้น ๆ เลก็ ๆ ไหลลงสอู่ ่าวไทย หลายสาย เช่น คลอง บางปลาสรอ้ ย คลองบางละมงุ คลองห้วยใหญ่ และคลองบางเสร่ เปน็ ต้น - แหลง่ น้าธรรมชาติทสี่ าคัญ คือ ลาหว้ ย ลาธาร ลาคลอง 412 สาย ใชง้ านไดใ้ นฤดแู ลง้ 368 สาย มหี นองบงึ 94 แห่ง ใช้ไดใ้ นฤดูแลง้ 48 แหง่ มนี า้ พุ นา้ ซับ 1 แห่ง ใช้ไดใ้ นฤดูแลง้ นอกจากน้ี ยงั มแี หลง่ น้าอ่นื อกี 94 แหง่ ใช้งานได้ในฤดแู ลง้ 88 แหง่

14 - แหลง่ น้าทสี่ ร้างข้ึน เน่ืองจากจงั หวัดชลบรุ ีไม่มีแมน่ ้าขนาดใหญไ่ หลผ่าน จึงต้องมีการสร้างแหล่ง เกบ็ น้า เชน่ อา่ งเก็บน้าในปี พ.ศ.2558 มี 13 อ่างเก็บนา้ เกบ็ น้าไดป้ ระมาณ 294.98 ลา้ นลกู บาศก์เมตร อา่ ง เกบ็ น้าท่ีใหญ่ท่ีสุดคอื อา่ งเกบ็ น้าบางพระ อาเภอศรีราชา เก็บนา้ ได้ 117 ล้านลกู บาศก์เมตร นอกจากนี้ยงั มี โครงการชลประทานขนาดเลก็ อกี ประมาณ 49 แหง่ คลองที่สำคัญของจังหวัด ได้แก่ คลองบางพระ คลองบางละมุง คลองบางเสร่ คลองใหญ่ คลองหลวง และ คลองพานทอง ปรมิ ำณน้ำ - ปรมิ าณน้าฝนเฉล่ยี ในจังหวดั 1,329.70 มม./ปี - ปรมิ าณน้าทา่ 1,313 ล้าน ลบ.ม. - ปริมาณน้าทีเ่ ก็บกักได้ 294.98 ลา้ น ลบ.ม. พื้นทช่ี ลประทำน และพน้ื ทีน่ อกเขตชลประทำน - พ้นื ท่ีชลประทาน 45,690 ไร่ - พน้ื ทน่ี อกเขตชลประทาน 1,545,346 ไร่ ควำมต้องกำรใช้น้ำในด้ำนต่ำง ๆ - ด้านเกษตร 45.35 ลา้ น ลบ.ม. - อตุ สาหกรรม 39.20 ลา้ น ลบ.ม. - อุปโภค-บรโิ ภค 11.37 ลา้ น ลบ.ม. - รกั ษาระบบนิเวศน์ 11.65 ล้าน ลบ.ม. - อืน่ ๆ 14.84 ลา้ น ลบ.ม. สภาพปัญหาของทรัพยากรน้าของจังหวัดชลบุรี ท่ีมีความต้องการ ใช้น้าท้ังอุปโภคบริโภค อตุ สาหกรรม การท่องเที่ยว และเกษตรกรรม ทเี่ พ่ิมมากข้ึนทกุ ปี จงึ ประสบปญั หาตา่ งๆ ดังนี้ 1.การขาดแคลนน้าจากการเจริญเติบโตของชุมชนและพื้นท่ีอุตสาหกรรมที่เป็นไปอย่าง รวดเร็ว ทาให้มคี วามต้องการใช้นา้ มากขนึ้ ประกอบกับพ้ืนทีก่ ักเกบ็ นา้ มีอยูอ่ ยา่ งจากัด 2.คุณภาพแหล่งน้าเส่ือมโทรมท้ังท่ีเกิดจากชุมชน สถานประกอบการและเกษตรกรรม ซงึ่ ระบายน้าทใ่ี ชแ้ ล้วโดยไมผ่ า่ นการบาบัดให้คณุ ภาพนา้ ดีขน้ึ จึงทาให้แหลง่ น้าโดยเฉพาะคลองท่สี า คญั เนา่ เสีย ไม่สามารถนานา้ มาใชป้ ระโยชน์ได้ 3.ศกั ยภาพของนา้ ใตด้ ินมจี ากดั และมคี ณุ สมบัตทิ ่ไี ม่เหมาะสมตอ่ การอปุ โภคบรโิ ภค 2) ทรัพยำกรน้ำใต้ดนิ /น้ำบำดำล จังหวัดชลบุรีจ ะมีลักษณะของหินอุ้มน้า ประเภท Multiple Aquifer คือ จะประกอบไปด้วย กรวด ทราย ทงั้ ชนิดร่วน (Unconsolidated) และชนิดที่จบั กัน (Semi Consolidated) แทรกอยู่ในช้ันดินเหนยี ว ซง่ึ บางแหง่ จะพบวา่ มีชั้นกรวดทรายเป็นแผ่นแทรกอยู่ในชั้นดินเหนียว ความหนาของชั้นน้าอยู่ระหว่าง 10 เมตร ถึง 200 เมตร เนื่องจากช้ันน้ามีลักษณะของดินเหนียวมาก ดังน้ันปริมาณน้าจืดที่สูบได้จึงมี ปริมาณน้อย ซึ่งมอี ัตราการใหน้ ้าบาดาลได้สูงสุด 10 ลูกบาศกเ์ มตร คุณภาพน้าจะเปน็ นา้ กร่อย โดยบริเวณ ทที่ าการศึกษาพบว่ามีปริมาณนา้ ใต้ดนิ อยู่ในพ้นื ทกี่ ว้าง มีน้ามาก และมีคุณภาพดี สภาพน้าใต้ดิน เมอื่ พจิ ารณาจาก แผนท่ีอุทกธรณีวิทยา ของกรมทรัพยากรธรณี พบว่าจังหวัดชลบุรี สามารถแบ่งเขตน้าใต้ดินตามลกั ษณะ ของหินอ้มุ น้า Aquifers และการกกั เก็บน้า ได้ดังนี้

15 (1) เขตบริเวณท่ีมปี ริมาณน้ามาก มีพ้ืนทีก่ ว้างขวาง พบตามทีร่ าบลุ่มดินดอนสามเหล่ียม ปากแม่นา้ และชายฝ่งั ทะเล ความหนาของช้ันหินซง่ึ เป็นดนิ ตะกอนลาน้าประมาณ 30 เมตร ใหน้ ้าต้งั แต่ 10-100 ลกู บาศก์เมตร /ชวั่ โมง แต่น้าบรเิ วณใกล้ทะเลจะเคม็ กร่อย ได้แก่ ทร่ี าบลมุ่ แม่น้าบางปะกง (2) เขตบรเิ วณที่มีปริมาณน้าน้อย มีพื้นที่กว้างขวาง และพบอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลหรือ อยูล่ ึกหา่ งจากฝ่ังทะเลเขา้ ไป ชั้นหนิ ซึ่งเกดิ จากการทับถมบรเิ วณหุบเขา และหินแกรนติ ผุรวมท้ังหินแขง็ ใกลเ้ ขา ความหนาของหนิ น้อยกว่า 50 เมตร ใหน้ ้าระหวา่ ง 2-10 ลูกบาศกเ์ มตร/ชั่วโมง คุณภาพดีพอใช้ นอกจาก ใกล้ฝ่ังทะเล (3) เขตบริเวณทมี่ ีน้าปานกลาง มีบริเวณเล็ก ๆ ทางตอนกลางคอ่ นไปทางใต้ของจังหวัด ช้นั นา้ ไดจ้ ากรอยแยกหรือโพรงหินปนู ให้นา้ ปานกลางระหว่าง 5 - 35 ลูกบาศก์เมตร/ช่ัวโมง คุณภาพดี ปจั จัยด้านความต้องการใช้น้าในปัจจุบันและในอนาคตพิจารณาจาก 3 ปัจจัยหลัก คอื การใชน้ า้ ดา้ นการเกษตรกรรม ด้านการอุปโภคบริโภค และดา้ นอุตสาหกรรม เนอ่ื งจากพน้ื ที่ศึกษาเป็นพ้ืนท่ี ที่ได้รับกา รส่งเสริมให้เป็นทั้งแหล่งอุตสาหกร รมหนัก และอุตสาหกรรมเบา ทาให้เมืองมีการขยา ย ตวั อย่างรวดเร็ว มกี ารอพยพของประชากรเพื่อเข้ามาเป็นแรงงานในแหลง่ อตุ สาหกรรม ทาให้มีความต้องการ ใช้น้ามากข้ึน จึงจาเปน็ ต้องมีการจัดหาแหล่งกักเก็บน้าเพมิ่ ขนึ้ 3) ทรัพยำกรดิน ลักษณะของดินในพนื้ ท่ีจงั หวัดชลบุรปี ระกอบดว้ ยดนิ ชดุ ตา่ งๆ โดยกลุม่ ดินในจังหวดั ชลบรุ สี ามารถ แบ่งได้เป็น 5 ชนิด ได้แก่ กลุ่มดินนา กลุ่มดนิ ไร่ กลุ่มดินตืน้ กลุม่ ดินทราย และพ้ืนทภ่ี ูเขา รายละเอียด ของชดุ ดิน มีดงั นี้ (1) กลุ่มดนิ นำ มอี ยู่ประมาณร้อยละ 10 ของพนื้ ท่ีท้ังหมดของจังหวดั พบมากที่ อาเภอพานทอง และอาเภอพนสั นิคม (2) กล่มุ ดนิ ไร่ มีอยู่ประมาณรอ้ ยละ50 ของพนื้ ทท่ี ง้ั หมดของจังหวัด พบมากในทุกอาเภอ ยกเว้นอาเภอเมอื งชลบรุ ี (3) กลุม่ ดินตืน้ มีอยปู่ ระมาณร้อยละ 5 ของพ้ืนท่ที ้ังหมดของจังหวัด พบมากใน อาเภอบ่อทองและ อาเภอหนองใหญ่ (4) กล่มุ ดินทรำย มีอยปู่ ระมาณรอ้ ยละ 20 ของพน้ื ทท่ี ัง้ หมดของจังหวัด พบมากในบรเิ วณ ใกล้ชายฝ่ังทะเลตะวนั ออก ต้งั แตเ่ ขตอาเภอเมอื งชลบรุ ตี อนเหนอื ลงมาถึงเขตอาเภอสัตหบี ทางตอนใต้ (5) พน้ื ที่ภูเขำ มีอยปู่ ระมาณรอ้ ยละ 15 ของพื้นทีท่ ้ังหมดของจงั หวัด พบมากทอ่ี าเภอสัตหีบ และอาเภอเมืองชลบรุ ี 4) ทรพั ยำกรปำ่ ไม้ สภาพปา่ ไมโ้ ดยทั่วไปของจงั หวดั ชลบรุ ี เดิมเป็นป่าดงดิบและป่าเบญจพรรณ ส่วนป่าชายเลนนา้ เคม็ มีเป็น ส่วนน้อย ปัจจบุ ันปา่ ไม้ถกู ทาลายลงเปน็ จานวนมาก และไม้ท่ีถกู ทาลายมากทีส่ ดุ คอื ไม้กระยาเลย ส่วนใหญเ่ปน็ ไม้ ขนาดเลก็ ถกู นาไปทาหลักเสาเข็ม ในปี 2559 จังหวัดชลบุรีมีเนื้อที่ป่าไม้ 545.58 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 12.10% ของเนือ้ ทีท่ ้ังหมดของจังหวดั และมกี ารใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ ปา่ ไม้ในปี 2556 โดยเปน็ ป่าบกจานวน 541.50 ตาราง กโิ ลเมตร ป่าชายเลนจานวน 7.28 ตารางกโิ ลเมตร มีปา่ สงวนแหง่ ชาติ 9 ป่า ได้แก่ - ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าบางละมุง อยูใ่ นเขตอาเภอบางละมุง อาเภอสัตหีบ มีพ้ืนท่ีประมาณ 103,000 ไร่ อยใู่ นเขตตาบลตะเคียนเต้ีย ตาบลเขาไม้แก้ว ตาบลโป่ง และตาบลห้วยใหญ่ อาเภอบางละมุง และในเขตตาบลสัตหีบ อาเภอสัตหีบ ปัจจุบันไม่มีสภาพป่าเหลืออยู่ ประกาศเป็นป่าสงวน แห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2522 ก่อนหน้านี้ไดป้ ระกาศเป็นปา่ คุม้ ครอง เมือ่ ปี พ.ศ. 2495

16 - ปำ่ สงวนแห่งชำติ ป่ำเขำเขียว อยูใ่ นเขตอาเภอศรีราชา อาเภอบ้านบึง และอาเภอเมอื งชลบรุ ี มี พ้นื ทปี่ ระมาณ 56,000 ไร่ ในเขตตาบลบางพระ อาเภอศรีราชา ตาบลหนองซา้ ซาก ตาบลบงึ ตาบลคลองกิ่ว อาเภอบ้านบงึ และตาบลหนองรี ตาบลหนองขา้ งคอก อาเภอเมอื งชลบุรี มีสภาพป่าสมบรู ณเ์ กอื บท้ังหมด ได้ ประกาศเปน็ ป่าสงวนแห่งชาติ เมอื่ ปี พ.ศ. 2508 - ป่ำสงวนแห่งชำติ ป่ำท่ำบุญมี - บ่อทอง อยู่ในเขตอาเภอพนัสนิคม และอาเภอบ่อทอง มีพน้ื ท่ี ประมาณ 171,000 ไร่ อยู่ในเขตตาบลท่าบญุ มี ตาบลสระสเี่ หลย่ี ม ตาบลหนองปรอื ตาบลหนองเหยี ง และตาบลหวั ถนน อาเภอพนัสนคิ ม และตาบลเกษตรสวุ รรณ อาเภอบ่อทอง มีสภาพปา่ ทีเ่ ส่อื มโทรม เหลอื พน้ื ที่ภูเขาบางสว่ นที่ ยังมีสภาพปา่ เหลืออยู่ ได้ประกาศเปน็ ป่าสงวนแหง่ ชาติ เมือ่ ปี พ.ศ. 2508 - ปำ่ สงวนแห่งชำติ ป่ำคลองตะเคยี น อยู่ในเขตอาเภอบอ่ ทอง มพี ื้นท่ีประมาณ 379,000 ไร่ อยู่ในเขต ตาบลบ่อทอง ตาบลพลวงทอง ตาบลเกษตรสุวรรณ ตาบลธาตุทอง และตาบลกวางทอง สภาพป่าเหลอื อย่แู ต่ พื้นทบ่ี นภูเขา ได้ประกาศเป็นปา่ สงวนแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2511 - ป่ำสงวนแห่งชำติ ป่ำแดง - ชุมชนกลำง อยใู่ นเขตอาเภอหนองใหญ่ และอาเภอบ้านบงึ มพี ้ืนที่ ประมา ณ 16 1,00 0 ไร่ อยู่ในเขตตา บลคลองก่ิว อาเภอบ้านบึง และตาบลคลองพลู ตาบลห้างสูง ตาบลหนองเสอื ช้าง ตาบลหนองใหญ่ อาเภอหนองใหญ่ ไดป้ ระกาศเปน็ ปา่ สงวนแห่งชาติ เมือ่ ปี พ.ศ. 2516 - ป่ำสงวนแห่งชำติป่ำเขำชมภู่ อยใู่ นเขตอาเภอบ้านบึง และอาเภอศรีราชา มพี ้ืนท่ีประมาณ 29,000 ไร่ อยใู่ นเขตตาบลคลองก่ิว อาเภอบ้านบึง และตาบลหนองขาม อาเภอศรีราชา ได้ประกาศเป็น ป่าสงวน แห่งชาติ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2516 - ป่ำสงวนแหง่ ชำติ ป่ำเขำพุ อยู่ในเขตอาเภอเมอื งชลบุรี และอาเภอศรีราชา มีพ้นื ทีป่ ระมาณ 5,500 ไร่ อยู่ในเขตตาบลเหมือง อาเภอเมอื งชลบุรี และตาบลบางพระ อาเภอศรรี าชา มีสภาพปา่ ที่ค่อนข้าง อุดมสมบูรณ์ ได้ประกาศเปน็ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2516 - ป่ำสงวนแห่งชำติ ป่ำเขำหินดำด - เขำไผ่ อยู่ในเขต ตาบลหนองอิรุณ อาเภอบ้านบึง มพี ืน้ ท่ี 2,125 ไร่ สภาพป่าเหลือเพียงพนื้ ทีบ่ นภูเขา ได้ประกาศเป็นป่าสงวนแห่งชาติ เม่อื ปี พ.ศ.2516 - ป่ำสงวนแห่งชำติ ปำ่ เรอื แตก อย่ใู นเขตอาเภอบ้านบึง และอาเภอศรีราชา มีพ้ืนท่ี 1,500 ไร่ สภาพปา่ เหลือเพียงพื้นท่บี นภูเขา ไดป้ ระกาศเป็นปา่ สงวนแหง่ ชาติ เม่ือปี พ.ศ. 2523 รัฐบาลได้ดาเนินการปฏิรูปที่ดินในเขตป่าเศรษฐกจิ เส่ือมสภาพ จานวน 5 แห่ง เน้ือที่รวม 593,017.36 ไร่ เพอื่ ใหป้ ระชาชนไดเ้ ขา้ ครอบครองและประกอบอาชพี ดังน้ี 1. ปา่ บางละมุง อาเภอบางละมุง อาเภอสตั หีบ เน้ือที่ 21,922.86 ไร่ 2. ป่าคลองตะเคยี น อาเภอบอ่ ทอง อาเภอหนองใหญ่ เนอื้ ที่ 288,706.25 ไร่ 3. ปา่ ทา่ บุญมี-บอ่ ทอง อาเภอบ่อทอง อาเภอพนสั นคิ ม เนอื้ ที่ 152,750 ไร่ 4. ป่าแดง-ชุมนุมกลาง อาเภอหนองใหญ่ เนอ้ื ท่ี 127,856.25 ไร่ 5. ปา่ เขาพุ อาเภอเมอื งชลบุรี เนอ้ื ที่ 1,782.00 ไร่ นอกจากนีย้ ังกาหนดเขตอนรุ ักษพ์ ันธุ์สัตว์ป่า ไดแ้ ก่ เขตรักษำพันธุ์สตั วป์ ำ่ มีจานวน 2 แห่ง คอื - เขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั ว์ปา่ เขาเขยี ว – เขาชมพู่ อยู่ทีต่ าบลหนองรี ตาบลหนองข้างคอก อาเภอเมืองชลบรุ ี และตาบลบางพระ ตาบลหนองขาม อาเภอศรรี าชา และตาบลหนองซ้าซาก ตาบลคลองกิ่ว อาเภอบ้านบงึ เนื้อท่ี 90,440 ไร่ - เขตรักษาพนั ธ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน มเี น้ือท่ีประมาณ 674,352 ไร่ อย่ใู นพน้ื ทีร่ อยต่อของ 5 จังหวดั คอื ฉะเชิงเทรา สระแก้ว ระยอง จนั ทบรุ ี และชลบุรี โดยมีพ้ืนทีใ่ นเขตจังหวัดชลบรุ ี 38,375 ไร่

17 เขตห้ำมล่ำสตั วป์ ่ำ มีอยู่ 2 แห่ง คอื - เขตห้ามลา่ สตั ว์ป่าอา่ งเกบ็ น้าบางพระ อยู่ในพืน้ ท่ีตาบลบางพระ อาเภอศรีราชา พื้นท่ี 11,600 ไร่ - เขตหา้ มสตั ว์ป่าเขาชโี อน ตาบลหว้ ยใหญ่ อาเภอบางละมงุ และตาบลหนองจบั เต่า อาเภอสตั หีบ เนอื้ ท่ี 2,299 ไร่ วนอุทยำน มีจานวน 1 แหง่ คือ วนอุทยานน้าตกเขาเจ้าบ่อทอง อยู่ในพ้ืนท่ีตาบลธาตุทอง ตาบลบอ่ กวางทอง อาเภอบ่อทอง ตาบลห้างสงู ตาบลหนองใหญ่ อาเภอหนองใหญ่ เน้อื ท่ี 19,473 ไร่ สวนรุกขชำติ มีจานวน 1 แห่ง คือ สวนรุกขชาติหนองตาอยู่ อยู่ในพื้นที่ตา บลสุรศักดิ์ อาเภอศรรี าชา เนื้อท่ี 483 ไร่ พื้นทปี่ ่ำชำยเลน จงั หวัดชลบุรีมีพืน้ ท่ีป่าชายเลนตามแผนที่เขตจาแนกการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดินใน พนื้ ท่ีปา่ ชายเลนตามมติคณะรฐั มนตรีเม่ือวันที่ 15 ธนั วาคม 2530 และมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2543 รวม 41,313 ไร่ ปจั จบุ ันอยู่ในความดแู ลของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม อยูใ่ นเขตพืน้ ท่ีอาเภอเมอื งชลบุรี และอาเภอพานทอง ในการสารวจจัดทาฐานข้อมูล โดยสถานีพัฒนาทรัพยากร ปา่ ชายเลนที่ 5 (ชลบุร)ี ในปี พ.ศ. 2554 ไดส้ ารวจในพนื้ ท่ีท่ตี ดิ ชายฝ่ังทะเลของจังหวัดชลบรุ ี และพ้นื ที่มสี ภาพ ป่าชายเลนข้ึนอย่มู ี 5 อาเภอ คอื 1. อำเภอเมืองชลบุรี แผนท่เี ขตจาแนกการใช้ประโยชนท์ ่ีดินในพื้นท่ีป่าชายเลนตามมติ คณะรัฐมนตรี มีพ้ืนทปี่ ่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันท่ี 15 ธนั วาคม 2530 ประกาศเป็นพ้ื นที่ป่าชายเลนเขต เศรษฐกิจ คณะรัฐมนตรีมีมติ เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2543 ให้นาพ้ืนท่ปี า่ ชายเลนท่ีจาแนกออกเป็นเขตการใช้ ประโยชนท์ ี่ดินในพนื้ ทปี่ ่าชายเลนตามนยั มตคิ ณะรัฐมนตรี เมอื่ วันท่ี 15 ธนั วาคม 2530 พน้ื ท่งี อกชายฝัง่ ทะเลที่ เกดิ ขนึ้ ใหมใ่ ห้กรมป่าไม้กันไวเ้ ป็นพื้นที่อนุรักษแ์ ละฟนื้ ฟู มารวมเปน็ พืน้ ทเ่ี ขตอนุรักษท์ ้งั หมด ซงึ่ จากการสารวจ จัดทาฐานข้อมูล พบว่าพ้ืนท่ีป่าชายเลนใน เขตจ าแน กมีเอกสา รสิทธิ์การ คร อบครองเป็นส่วน มา ก คงมีพ้ืนท่ีป่าชายเลนท่ีไม่มเี อกสารสิทธิ์ เปน็ ป่าธรรมชาติ และท่ที าการปลูกฟื้นฟู รวมประมาณ 2,500 ไร่ โดย มแี นวโนม้ มีพนื้ ทปี่ า่ ชายเลนเพิม่ ขึ้น เนือ่ งจากในท้องท่ีอาเภอเมืองชลบรุ ี บรเิ วณชายฝ่ังทะเลจะมีการสะสมของ ตะกอนดินจากแม่น้าบางปะกง ทาให้เกิดดินเลนงอกใหมเ่ มอื่ เวลาเหมาะสมก็จะเกิดป่าชายเลนเพ่มิ ขึ้น การ กดั เซาะชายฝ่ัง บริเวณที่มีสภาพป่าชายเลนในเขตพ้ืนท่ีอาเภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบุรี สารวจพบบริเวณ หม่ทู ่ี 6 ตาบลคลองตาหรุ ใกล้ปากแม่น้าบางปะกง มกี ารกดั เซาะชายฝั่งระยะทางยาวประมาณ 1 กม.ปจั จบุ ัน บางพื้นที่ได้รับการแก้ไขป้องกันแล้ว ป่าชายเลนซ่ึงอยู่ในบริเวณตาบลบางทราย ตาบลบางปลาสร้อย ตาบลมะขามหย่ง และตาบลบ้านโขด มีสภาพเป็นปา่ ชายเลนดินงอกใหม่ 2. อำเภอศรรี ำชา พ้ืนท่ปี า่ ชายเลนของอาเภอศรีราชา ไมม่ ีในแผนท่ีเขตจาแนกการใช้ประโยชน์ ทด่ี ินในพื้นท่ีป่าชายเลนตามมตคิ ณะรัฐมนตรี มีพ้นื ทปี่ ่าชายเลนซ่ึงอย่นู อกเขตจาแนกตามมตคิ ณะรัฐมนตรี ตามบริเวณชายฝ่ังเลก็ น้อย และมีพ้ืนที่ปา่ ชายเลนเนื้อท่ีประมาณ 100 ไร่ อยูใ่ นเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง บริเวณพืน้ ทท่ี ่าเรอื แหลมฉบงั อยู่ในการดแู ลของการท่าเรอื แหง่ ประเทศไทย กระทรวงคมนาคม 3. อำเภอบำงละมงุ พนื้ ที่ป่าชายเลนของอาเภอบางละมุง ไม่มีในแผนที่เขตจาแนกการใช้ ประโยชน์ที่ดินในพ้ืนท่ีป่าชายเลน ตามมติคณะรัฐมนตรี มีพื้นท่ีป่าชายเลนซ่ึง อยู่นอกเขตจาแนกตา ม มตคิ ณะรฐั มนตรี ตามบริเวณชายฝั่งเลก็ น้อย และมีพ้ืนทีป่ า่ ชายเลนเน้ือท่ีประมาณ 3 ไร่ อยูใ่ นเขตเมอื งพัทยา โดยเป็นคลองขนาดเล็กมีราษฎรตง้ั บ้านเรือนอยู่อาศัยบริเวณขา้ งคลอง การกดั เซาะชายฝั่งสารวจพบบริเวณ หาดบ้านอาเภอ ตาบลนาจอมเทียน อาเภอบางละมุง จงั หวัดชลบรุ ี ซึ่งสภาพพื้นทีเ่ ป็นหาดทราย บางส่วนได้มี การปอ้ งกันการกดั เซาะโดยใช้เข่อื น และหินทิง้

18 4. อำเภอสตั หบี พืน้ ทป่ี ่าชายเลนของอาเภอสตั หีบไม่มีในแผนที่เขตจาแนกการใชป้ ระโยชน์ ท่ีดินในพื้นที่ป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี มีพ้นื ท่ปี ่าชายเลนซึ่งอยนู่ อกเขตจาแนกตามมติคณะรัฐมนตรี ตามบริเวณชายฝั่งเลก็ น้อย ส่วนในเขตพืน้ ที่ดูแลของฐานทัพเรือ มีพื้นที่ป่าชายเลนเนื้อที่รวมประมาณ 140 ไร่ 5. อำเภอพำนทอง แผนที่เขตจ าแน กการ ใช้ประโยชน์ที่ดิน ใน พื้น ที่ป่าชา ยเลน ตา ม มติคณะรัฐมนตรีมพี ้ืนที่ปา่ ชายเลนตามมติคณะรฐั มนตรี เมื่อวันท่ี 15 ธันวาคม 2530 และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวนั ท่ี 22 สิงหาคม2543 กาหนดพืน้ ทีบ่ างสว่ นของอาเภอพานทองเปน็ พืน้ ที่ปา่ ชายเลน ซ่งึ จากการสารวจจัดทาฐานขอ้ มลู พบวา่ พ้ืนทป่ี ่าชายเลนในเขตจาแนกมีเอกสารสิทธ์การครอบครองเปน็ สว่ นมาก คงมีพ้ืนท่ีป่าชายเลนข้ึนอยู่ บรเิ วณริมคลองเทา่ นนั้ 5) ทรพั ยำกรสัตวป์ ำ่ (1) สัตว์มกี ระดกู สนั หลงั ก. ปลำ (Fishes) จากการสารวจสัตว์ในกลุ่มนี้พบว่ามีปลา 2 ชนิดที่หายาก ได้แก่ ปลาชิวควาย ปลาคอ้ บรเิ วณแหล่งน้าเขตรักษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ เขาเขียว - เขาชมภู่ ข. สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibians) จาการสารวจสัตว์ในกลุ่มน้ี พบว่ามีอยู่ 6 ชนดิ ท่หี ายาก ได้แก่ กบบัง กบนา กบหงอน ปากแคระป่า อ่ึงหลงั จดุ เขียดงูธรรมดา พบตามแหลง่ น้าตาม ธรรมชาต/ิ ลาห้วยลาคลอง แหล่งน้าน่ิง/ขงั ในเขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั ว์ปา่ เขาเขยี ว - เขาชมภู่ ค. สัตว์เล้ือยคลำน (Reptiles) จากการสารวจ พบว่ามีอยู่ 25 ชนดิ ที่หายาก ได้แก่ เต่าหบั จิง้ จกดินลายจุด ตกุ๊ แกปา่ ตะวันออก ก้งิ ก่าเขาหนามยาว กงิ้ กา่ เขาเลก็ จ้ิงเหลนนอ้ ยหางยาว ตะกวด เหีย้ จ้ิงเหลนหางยาว จ้ิงเหลนบา้ น งูดินบ้าน งูเหลอื ม งเู ห่า งูเขียวหัวจิ้งจก งูหัวกะโหลก งูสร้อยเหลือง งหู มอก งูสิง งูลายสอใหญ่ งเู ขยี วดอกหมาก งูลายสาบคอแดง งูเขยี วหางไหม้ทองเหลอื ง งูกะปะ พบตามป่าดงดิบแล้ง ป่า เบญจพรรณ ทงุ่ หญา้ และพนื้ ทีเ่ กษตรกรรม ในเขตรกั ษาพันธสุ์ ัตว์ปา่ เขาเขยี ว - เขาชมภู่ ง. นก (Birds) จากการสารวจ พบวา่ มีอยู่ 54 ชนดิ ทหี่ ายาก ได้แก่ นกยางกอกพนั ธ์ุชวา นกยางควาย นกยางเปยี นกยางเขียว นกยางไฟธรรมดา เหย่ยี วขาว เหยี่ยวนกเขาชิครา เหย่ียวรุง้ นกคุ่มอกลาย นกอัญชัญอกเทา นกกวัก นกเขาไฟ นกเขาชวา นกป้ังรอกใหญ่ นกแสก นกเค้าจุด นกเค้ากู่ นกจาบคาคอสีฟ้า นกแก๊ก นกกก นกโพระดกหน้าผากดา นกหวั ขวานสี่นง้ิ หลังทอง นกหัวขวานป่าไผ่ นกหวั ขวานด่างอกลายจดุ นกพญาไฟใหญ่ นกขมิ้นนอ้ ยธรรมดา นกปรอดหัวโขน นกปรอดคอลาย นกปรอดหนา้ นวล นกปรอดหัวสีเขม่า อกี า นกกินแมลง กระหม่อมแดง นกระวงั ไพรปากเหลือง นกยอดข้าว หางแพนลายนกกระจบิ หญ้าสีเรียบ นกกระจิบหญา้ ท้อง เหลือง นกกระจิบธรรมดา นกกระจบิ คอดา นกกระจิ๊ดธรรมดา นกพงปากหรา นกกางเขนดง นกอีแพรดแถบอกดา นกจับแมลงจุกดา นกแซวสวรรค์ นกอีเสือหวั ดา นกแอ่นพง นกกิ้งโครงคอดา นกเอ้ียงด่าง นกกินปลีคอสีนา้ ตาล นกกระจอกบ้าน นกกระจอกตาล นกกระจาบธรรมดา นกกระต๊ิดตะโพกขาว พบตามป่ าดิบแล้ง ปา่ เบญจ พรรณ ท่งุ หญา้ และพ้นื ทเี่ กษตรกรรม ในเขตรกั ษาพันธ์ุสัตวป์ ่าเขาเขียว - เขาชมภู่ จ. สตั ว์เลีย้ งลกู ด้วยนม (Mammals) จากการสารวจ พบวา่ มอี ยู่ 6 ชนิดทหี่ ายาก ได้แก่ คา้ งคาวมงกุฎเลก็ อีเห็นธรรมดา ชะมดเช็ด พังพอนเล็ก เก้ง หนูบ้าน พบตามทงุ่ หญ้ าและพ้ืนที่เกษตรกรรม ในเขตรกั ษาพนั ธุส์ ัตว์ป่าเขาเขยี ว - เขาชมภู่ และมีสตั ว์สาคัญอยู่ 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ ชา้ งป่าและกระทิง ในเขตรักษา พันธส์ ัตวป์ ่าเขาอา่ งฤาไน

19 (2). สัตวไ์ มม่ กี ระดูกสนั หลัง ผีเสื้อกลางวัน (Batterflies) พบว่ามอี ยู่ 18 ชนิดท่ีหายาก ไดแ้ ก่ ผีเสือ้ เชงิ ลายมหาเทพ ผีเสื้อหางตงิ่ ชะออ้ น ผีเสอ้ื หางตงิ่ นางระเวง ผีเส้ือหางติ่งปารสี ผีเสอ้ื สะพายฟ้า ผเี สื้อหมอนจาปีจดุ แยก ผีเส้ือ หนอนจาปีธรรมดา ผีเส้อื ถุงทองธรรมดา ผีเสอ้ื หนอนใบกุม่ เสน้ ดา ผเี ส้ือปลายปีกสม้ ใหญ่ ผเี ส้ือสายัณห์สตี าล ธรรมดา ผีเส้ือลายข้เี ยยี่ ง ผีเสอ้ื ตาลหางแหลม ผีเสอ้ื สอี ิฐธรรมดา ผเี ส้อื แพนชีตาลไหม้ ผีเส้ือแพนชีสตี าล ผีเสื้อ ปีกไข่เมียเลียน ผีเส้ือหัวแหลมจุดขาว พบตามป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ สังคมไม้รัง ทุ่งหญ้าและพื้นที่ เกษตรกรรม ในเขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั ว์ป่าเขาเขยี ว - เขาชมภู่ ทีม่ ำ : สานกั บริหารพื้นทอ่ี นุรกั ษ์ที่ 2 (ศรีราชา), 2559 6 ) ควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ (1) พ้ืนทล่ี ุ่มน้ำบรเิ วณชำยฝั่งทะเลตะวันออก ต้ังอยเู่ ขตลุ่มน้าประธานสาคัญ 2 ลุ่มน้า ประกอบด้วยล่มุ นำ้ บำงปะกง แบง่ เป็น 4 ลุ่มนา้ ยอ่ ย มีพ้นื ท่ีโครงการลุ่มนา้ ย่อยในเขตจงั หวัดฉะเชงิ เทราและ จังหวัดชลบรุ ี ได้แก่ ลมุ่ นา้ สาขาบางปะกง ลุม่ นา้ สาขาคลองท่าลาด และลุ่มน้าสาขาคลองหลวง ลมุ่ นำ้ ชำยฝ่ัง ทะเลตะวันออก แบ่งเป็น 12 ล่มุ น้า มพี ้ืนที่อยู่ในเขตจังหวัดระยอง และจงั หวัดชลบรุ ี ได้แก่ ลุ่มน้าสาขาจงั หวัดชลบรุ ี และลุม่ น้าสาขาคลองใหญ่ (2) พื้นท่ีชุ่มน้ำตำมนิยำมของอนสุ ัญญำแรมซำร์ หมายถึงพื้นที่ต่าราบลุ่ม พ้ืนท่ีมีน้าท่วม นา้ ขงั พื้นทแี่ หลง่ น้าที่เกิดเองตามธรรมชาติ และมนุษย์สร้างข้ึน มนี ้าทว่ มถาวรและครงั้ คราว ทง้ั ท่เี ป็นแหลง่ น้า นิ่งและน้าไหล นา้ จืดและนา้ กรอ่ ย และนา้ เค็ม รวมไปถึงท่ีชายฝั่งทะเลและพน้ื ท่ขี องทะเลในบริเวณทนี่ า้ ลดลง ต่าสดุ มีความลึกของระดับนา้ ไมเ่ กิน 6 เมตร (3) พน้ื ที่ชุม่ นำ้ ของจังหวัดชลบรุ ี ได้แก่ ก.พ้ืนท่ีชุ่มน้า ใน เขตห้า มล่า สัตว์ป่าอ่า งเก็บน้า บางพระ มีพ้ืน ที่ท้ังหมด 18 .5 6 ตารางกโิ ลเมตร (11,600 ไร่) ตั้งอย่หู มูท่ ่ี 4, 5, 6, 7, 8 และ 11 ตาบลบางพระ อาเภอศรีราชา เปน็ พ้ืนท่ีชุ่มน้าระดับ นานาชาติ ข.พ้ืนที่ชุม่ นา้ อ่าวไทยจงั หวัดชลบรุ ี มพี น้ื ท่ีบางส่วนอยใู่ นพ้ืนที่ชมุ่ นา้ อ่าวไทยเป็นพนื้ ทชี่ ุ่ม นา้ ระดบั ชาติ ค.พน้ื ท่ีชมุ่ นา้ เขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ ่าเขาเขียว – เขาชมภู่ อาเภอเมืองชลบรุ ี อาเภอศรีราชา อาเภอบ้านบงึ พ้ืนท่ี 144.699 ตารางกิโลเมตร (90,436.875ไร)่ เป็นพน้ื ทช่ี มุ่ น้าระดบั ชาติ ง.พื้นที่ช่มุ น้าและเปน็ คลอง/หว้ ย/ลาธาร รวมพื้นที่นาข้าว และชายฝ่ังทะเล บึง หนองน้า/ ที่ล่มุ ช้นื แฉะ จานวน 631 แหง่ พ้ืนท่ี 481.63 ตารางกิโลเมตร (4) เกำะในจังหวัดชลบุรีมจี านวนทั้งส้ิน 47 เกาะ ตั้งอยใู่ น 7 ตาบล 4 อาเภอ มีพ้นื ท่ีรวม ท้ังหมด 41.667 ตารางกิโลเมตร ขนาดพ้ืนท่ีเกาะเรียงตามขนาดใหญ่สดุ 3 เกาะ คอื เกาะคราม เกาะสีชัง และเกาะล้าน เกาะเกือบครึ่งหนึ่งของจงั หวดั ชลบุรอี ย่ภู ายใต้การดูแลของกองทพั เรือ อ่าวสตั หบี เปน็ ทต่ี ้ังของ ฐานทพั เรอื ซ่ึงมกี ารจดั ตั้งพพิ ธิ ภัณฑ์ธรรมชาตวิ ิทยาเกาะและทะเลไทย เกาะท่ีอย่ภู ายใต้การดแู ลของกองทัพเรือ ได้รบั การอนุรกั ษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพเป็นอย่างดี เชน่ เกาะครามเปน็ แหลง่ วางไขเ่ ตา่ ทะเล หน่งึ ในสอง แหล่งท่ีอยู่ในอ่าวไทยในแต่ละปีมีเต่าทะเลมาวางไข่จานวนมาก เกาะขามเป็นเกาะที่ต้ังอุทยานใต้ทะเล อยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของกองทพั เรอื จงั หวัดชลบรุ ีเป็นแหลง่ ท่องเทยี่ วทีส่ าคญั หลายแห่ง ไดแ้ ก่เกาะล้าน เกาะสชี ัง เกาะขามใหญ่ เกาะคา้ งคาว และเกาะขาม

20 (5) วนอทุ ยำนในจงั หวัดชลบุรีมี 1 แห่ง คือ วนอทุ ยานนา้ ตกเขาเจา้ บ่อทอง อย่ใู นทอ้ งทห่ี มทู่ ่ี 2 ตาบลธาตุทอง อาเภอบอ่ ทอง จังหวัดชลบุรี อยู่ในพื้นท่ีปา่ อนุรักษ์ซึ่งเป็นส่วนหนึง่ ของปา่ สงวนแหง่ ชาติ ป่าคลองตะเคียน ท้องที่ตาบลบ่อกวางทอง ตาบลธาตุทอง ตาบลบ่อทอง อาเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี และปา่ สงวนแห่งชาติ ปา่ แดง-ชุมนุมกลาง ทอ้ งที่ตาบลหา้ งสูง ตาบลหนองใหญ่ อาเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบรุ ี มเี นื้อที่ประมาณ 19,473 ไร่ กรมป่าไม้ได้ประกาศจดั ตง้ั เป็นวนอุทยาน เมอื่ วนั ที่ 2 มนี าคม 2540 (6) เขตรักษำพันธุส์ ัตว์จานวน 2 แห่ง ดังน้ี ก. เขตรักษำพนั ธ์ุสัตว์ป่ำเขำเขียว - เขำชมภู่ จังหวัดชลบุรี แต่เดิมได้ประกาศเป็น ปา่ สงวนแห่งชาติ อยใู่ นความควบคุมของสานักงานป่าไม้เขตศรีราชา ตอ่ มามีการจัดตั้งฝ่ายจัดการสัตว์ป่า กองบารุง กรมป่าไม้ขน้ึ จึงได้รว่ มมือกบั สมาคมตา่ งๆ อาทิ สมาคมนยิ มไพร พิจารณาประกาศให้ปา่ เขาเขียว – เขาชมภู่ ซึ่งเป็นผืนป่าสุดท้ายของจังหวัดชลบุรี เป็นเขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ป่า มพี ระราชกฤษฎีกากาหนดทดี่ ินบรเิ วณป่าเขาเขียว และเขาชมภู่ ในท้องท่ีตาบลหนองรี ตาบลหนองข้างคอก อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ตาบลบางพระ ตาบลหนองขาม อาเภอศรีราชา จังหวดั ชลบรุ ี ตาบลหนองซ้าซาก ตาบลบ้านบึง ตาบลคลองก่ิว อาเภอบ้านบึง จงั หวดั ชลบุรี มเี น้อื ทปี่ ระมาณ 144.7 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 90,437.5 ไร่) ประกอบด้วยพนื้ ท่ี 3 สว่ น คอื - ป่ำสงวนแห่งชำติเขำเขียว ท้องท่ีตาบลบางพระ อาเภอศรีราชา ตาบลหนองซ้าซาก ตาบลบ้านบึง และตาบลคลองก่วิ อาเภอบา้ นบึง ตาบลหนองรี ตาบลหนองขา้ งคอก อาเภอเมอื งชลบุรี เนื้อท่ีประมาณ 55,625 ไร่ - ป่ำสงวนแห่งชำติเขำชมภู่ ท้องท่ีตาบลคลองก่ิว อาเภอบ้านบึง และตาบลหนองขาม อาเภอศรีราชา จังหวดั ชลบรุ ี เนื้อท่ปี ระมาณ 28,589 ไร่ - ส่วนผนวกป่ำเขำพระเจดีย์และป่ำเขำคันร่ ม ท้องที่ตาบลบางพระ อาเภอศรีราชา ตาบลหนองขาม อาเภอศรรี าชา ตาบลคลองกว่ิ อาเภอบา้ นบึง จงั หวัดชลบรุ ี เนือ้ ท่ีประมาณ 6,223.5 ไร่ พ้ืนที่ บางส่วนผนวกอยู่ในพน้ื ทขี่ องศนู ยเ์ กษตรกรรมทหารเรือ ข.เขตรักษำพันธ์สัตว์ป่ำเขำอ่ำงฤำไน มีเนื้อที่ 643,150 ไร่ อยู่ในพ้ืนท่ีรอยต่อของ 5 จงั หวดั คอื ฉะเชิงเทรา สระแก้ว ระยอง จันทบุรี และชลบุรี โดยมีพ้ืนทีใ่ นเขตจังหวดั ชลบรุ ี 38,375 ไร่ (7) เขตห้ำมล่ำสตั วป์ ำ่ จานวน 2 แหง่ ดงั นี้ - เขตห้ำมลำ่ สัตวป์ ่ำอำ่ งเก็บนำ้ บำงพระ เดิมเปน็ ทด่ี นิ กรรมสทิ ธข์ิ องกรมชลประทาน ซงึ่ ได้ เวนคืนจากราษฎรเพือ่ สรา้ งขยายอ่างเกบ็ นา้ บางพระ เม่ือปี พ.ศ. 2515 ภายหลังจากการสร้างขยายเขอ่ื นเสร็จ ในปี พ.ศ. 2518 ได้กักเกบ็ น้าเพ่อื ใช้ประโยชน์ดา้ นการอตุ สาหกรรม และทาประปาเพือ่ การบริโภค สามารถเก็บ กกั น้าได้ถงึ 117 ล้านลูกบาศก์เมตร ระบบนิเวศวทิ ยาจึงเปล่ียนแปลงไปตามระดับน้าท่ีเพิม่ ขึ้น ทาให้มีนกน้า นานาชนิดเขา้ ไปหากินและอาศยั อยู่บรเิ วณรอบ ๆ อ่างเก็บน้าบางพระ เชน่ นกเปด็ น้าต่าง ๆ นกยาง นกพริกฯลฯ และนกที่หากนิ ตามท่งุ หญ้าชายปา่ ต่าง ๆ เชน่ นกกวกั นกคุ่ม นกกระแตแตแ้ วด๊ นกตะขาบท่งุ ฯลฯ - เขตห้ำมล่ำสัตว์ป่ำเขำชีโอน พร ะบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงมี พระราชดาริให้กรมป่าไม้ดาเนินการปลกู ป่าบริเวณรอบพน้ื ที่เขาชีโอนท่ีถูกทาลายให้กลับคืนสู่สภาพเดิม พร้อมทัง้ ให้ส่งเสริมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในบรเิ วณพ้นื ทโี่ ครงการให้เป็นวนอุทยานรกั ษาปา่ และ สตั ว์ป่า กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพันธพุ์ ชื (กรมปา่ ไมเ้ ดิม) มเี นอ้ื ที่ 2,299 ไร่ 7) ทรพั ยำกรธรณี ทรัพยากรแร่ เปน็ วัตถดุ ิบพื้นฐานของภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ท่มี ีความสาคัญต่อการพฒั นา เศรษฐกิจของประเทศ เป็นสินค้าส่งออกทีส่ าคญั ของประเทศมาต้ังแต่อดีต จังหวดั ชลบรุ ี พบวา่ มีทรพั ยากรแร่ ที่สาคัญ 8 ชนดิ ซ่งึ กระจายตวั อยใู่ นพ้นื ท่ตี ่าง ๆ ไดแ้ ก่

21 1. เหลก็ ได้มีการสารวจพบทอี่ าเภอพนัสนคิ ม 2. แมงกำนีส ได้มกี ารสารวจพบที่เกาะคราม อาเภอสัตหีบ 3. ตะกัว่ และสังกะสี ได้มกี ารสารวจพบที่อาเภอบา้ นบงึ อาเภอบอ่ ทอง 4. พลวง ไดม้ กี ารสารวจพบทอ่ี าเภอบ่อทอง 5. ทองคำ ไดม้ กี ารสารวจพบทอี่ าเภอบา้ นบงึ อาเภอบอ่ ทอง 6. แบไรต์ ได้มีการสารวจพบท่อี าเภอบอ่ ทอง 7. โดโลไมด์ ไดม้ ีการสารวจพบทอี่ าเภอเกาะสีชงั ซ่ึงจะพบรว่ มกบั หินปนู ยุคต่าง ๆ 8. หินอตุ สำหกรรม ได้แก่ หินปนู หินแกรนิต หินไนส์ และศิลาแลง มกี ารสารวจพบบริเวณ อาเภอสตั หีบ อาเภอบ่อทอง อาเภอเมอื งชลบรุ ี แหล่งแร่ในจงั หวัดชลบุรี สว่ นใหญ่มขี นาดเล็ก ได้แก่ เหล็ก พลวง ทองคา แบไรด์ ดีบุก และแมงกานสี มีปรมิ าณสารองน้อยไม่คุม้ ค่าตอ่ การลงทุนในเชิงพาณิชย์ ยกเว้น แรพ่ ลวง ท่ีมีการทาเหมอื ง อยู่ในพน้ื ที่อาเภอบ่อทอง ปัจจุบนั การทาเหมืองแร่ที่มีการผลิตอย่างต่อเน่ืองมีเพยี งเหมืองแรอ่ ุตสาหกรรม เพอ่ื การก่อสรา้ งเท่านัน้ โดยแยกเปน็ 2 ชนิด คอื หินปนู และหนิ แกรนติ อยา่ งไรก็ตาม แหลง่ แร่สาหรบั เปน็ วัสดุ ก่อสร้างสว่ นใหญจ่ ะอยใู่ นบริเวณภูเขา ซงึ่ เป็นพ้นื ท่ีป่าไม้ ดังนั้นจึงมกี ารบุกรุกและลักลอบเขา้ ไปทาการระเบิดและยอ่ ย หิน กระทรวงมหาดไทยประกาศพื้นท่ีเสือ่ มสภาพ และมีแหล่งหินท่มี ีศกั ยภาพสาหรบั ใช้ประโยชน์ได้ข อง จงั หวัดชลบุรี เพอื่ ใช้เป็นพ้ืนท่ีเพื่อระเบิดและย่อยหนิ ได้หลายแห่ง โดยกระทรวงอุตสาหกรรมประกาศ กาหนดใหบ้ รเิ วณเขาเชิงเทียน เขาพุ อาเภอเมืองชลบรุ ี เขาวังปลา อาเภอสัตหีบ และป่าคลองตะเคียน อาเภอบ่อทอง เปน็ พนื้ ที่ขออนญุ าตประทานบัตรแร่ได้ ขณะน้มี จี านวน 35 ราย รวมพื้นทปี่ ระมาณ 28,739 ไร่ ปัญหาทรัพยากรธรณี พบว่ามีปัญหาการขุดหนา้ ดนิ จากพ้ืนท่ีมกี รรมสิทธิ์ครอบครองท่ไี ม่ ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย จนส่งผลกระทบต่อชุมชนใกล้เคียง ท้ังเรือ่ งของฝุ่นละอองจากการระเบิดและยอ่ ยหิน ปญั หาการพังทลายของดนิ จากการขดุ หนา้ ดินบริเวณ อาเภอสัตหีบ อาเภอบอ่ ทอง อาเภอเมืองชลบุรี เปน็ ต้น 8) ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง จังหวัดชลบุรีมชี ายฝ่ังทะเลยาวประมาณ 171.78 กิโลเมตร จงึ เป็นท่ีรวมของทรัพยากรอัน หลากหลาย ท้ังป่าชายเลน หาดทราย ปะการัง ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรชายฝั่งเหล่านี้เป็นปจั จั ย เกื้อหนุนต่อกิจกรรมตา่ ง ๆ เชน่ การอตุ สาหกรรม,การประมง,การท่องเที่ยว และการเดินเรือ เป็นต้น จึงทาให้ จงั หวัดชลบรุ ีมศี ักยภาพด้านการผลิตทุกด้านทั้งด้านเกษตรและอุตสาหกรรม จงึ ส่งผลให้ประชาชนมีงานทามี รายได้ และจากการท่รี ัฐบาลได้สง่ เสรมิ การพฒั นาพื้นท่ีชายฝั่งทะเลตะวนั ออกท้ังโครงการก่อสร้างท่าเรอื นา้ ลึก นิคมอุตสาหกรรม และการทอ่ งเท่ียว ซง่ึ เปน็ การเพม่ิ ศกั ยภาพของการใชท้ รพั ยากรทม่ี ีอยู่ จึงกอ่ ให้เกดิ ปัญหา ดา้ นต่าง ๆ รวมท้ังสง่ ผลกระทบตอ่ คุณภาพสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรชายฝ่ัง ไดแ้ ก่ 1) ควำมเสือ่ มโทรมของทรพั ยำกรป่ำชำยเลน เน่ืองจากถกู บุกรกุ ใช้พ้ืนที่เพ่ือกิจกรรมต่าง ๆ เชน่ ท่ีอยู่อาศัย สถานทรี่ าชการ สถานทพ่ี ักตากอากาศ จึงส่งผลให้ปา่ ชายเลนลดลงปัจจุบนั มีพ้ืนทีป่ ่าชายเลน 4,695 ไร่ 2) กำรสูญเสียควำมสวยงำมทำงทัศนียภำพ การทอ่ งเที่ยวของจงั หวดั ได้พฒั นาจากเป็นแหล่ง ท่องเท่ยี วระดับท้องถ่นิ มาเป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกท่ีนกั ท่องเทีย่ วเดนิ ทางมาจากทุกมมุ โลกเพอ่ื พกั ผอ่ น และเมื่ออุตสาหกรรมการท่องเทย่ี วของจงั หวัดขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ จึงทาใหเ้ กดิ โรงแรม ภตั ตาคาร ร้านค้า มากขึ้น เพือ่ รองรบั นักท่องเทย่ี วทาใหเ้ กดิ การบุกรกุ พืน้ ที่ชายหาดกอ่ สรา้ งอาคารท่จี ะเป็นการทาลายทศั นียภาพ

22 3) กำรกดั เซำะชำยฝ่งั ปัจจุบันชายฝัง่ ทะเลประสบปญั หาการถูกกัดเซาะในอัตราที่รุนแรงมาก ขน้ึ กอ่ ใหเ้ กิดความสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ ซง่ึ มาจากหลายๆ สาเหตุ ทง้ั เกิดขนึ้ ตามธรรมชาติ และการกระทาของ มนุษย์ พ้ืนที่เสี่ยงภัยต่อการกัดเซาะรุนแรง ได้แก่ พื้นที่ชายฝ่ังบริเวณหา ดวอนน ภา หาดบางพร ะ และหาดบางเสร่ ระยะทาง 17.6 กิโลเมตร สูญเสียพ้ืนที่ไปแล้วประมาณ 122 ไร่ และบริเวณ หมู่ที่ 6 ตาบลคลองตาหรุ อาเภอเมอื งชลบุรี ใกล้ปากแม่น้าบางปะกง มีการกัดเซาะชายฝ่ังระยะทางยาวประมาณ 1 กโิ ลเมตร 7.2) ทรพั ยากรดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรี ท่ีได้รับกา รข้ึน ทะเบียนแล้ว จาน วน 114 แห่ง แบ่งเป็น แหล่งท่องเท่ียวตามธรรมชาติ จานวน 29 แห่ง และแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างข้ึน จานวน 85 แห่ง โดยสามารถจาแนกตามรปู แบบการท่องเที่ยว รายละเอยี ดโดยสังเขปของแหล่งท่องเที่ยวติดอนั ดับของจงั หวัดชลบุรี สถำนท่ีท่องเที่ยว รำยละเอียด ภำพประกอบ ปราสาทสจั ธรรม ปราสาทสัจธรรม (Sanctuary of Truth) ปราสาทไม้ แกะสลักท่ีใหญท่ ่สี ุดในประเทศไทย ต้ังอยูบ่ รเิ วณอ่าว วงพระจนั ทร์ แหลมราชเวช ตาบลนาเกลือ อาเภอ บางละมุง จังหวัดชลบุรี ในเนื้อท่ี 80ไร่ เป็นสถาปตั ยกรรมไม้ขนาดใหญ่ท่สี ดุ ของโลก เจ้าของ ความคดิ และผู้ดาเนนิ การกอ่ สรา้ ง คือ คณุ เลก็ วิริยะ พันธ์ุ (ผู้ก่อตั้งเมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ) ปราสาทสจั ธรรม เร่มิ กอ่ สรา้ งขึน้ เม่ือปี พ.ศ. 2524 จวบจนปัจจุบันก็ยงั ไมเ่ สรจ็ สมบรู ณ์ ตวั ปราสาทสรา้ ง ด้วยไมท้ งั้ หลงั ไมม่ โี ลหะหรอื ปูนเข้ามาปะปน ยกเวน้ ส่วนฐานท่เี ป็นคอนกรตี มกี ารใชร้ ะบบเข้าเดอื ยไมแ้ บบ ไทย หรอื ใสส่ ลักไม้ตามภมู ิปัญญาโบราณ ตวั ปราสาท เป็นทรงจตรุ มขุ สูง 100 เมตร กวา้ ง 100 เมตร แกะสลักลวดลายอยา่ งวิจิตรพสิ ดาร ท้ังภายนอกและ ภายใน สวนนงนุช สวนไมด้ อก ไม้ประดับ นานาชนดิ สวนกลว้ ยไม้ สวน กระบองเพชร และสวนพฤกษชาตอิ นื่ ๆ มบี ริการเรือ ชนดิ ต่างๆ ใหเ้ ช่าพายเล่นในสระ มสี ัตวห์ ลายชนิดเลยี้ ง ไวใ้ ห้ชมมีศนู ย์แสดงศลิ ปวัฒนธรรมไทยสาหรับ นักทอ่ งเทย่ี ว จดั แสดงการฟอ้ นราพืน้ เมือง ศิลปะการ ตอ่ สปู้ ้องกนั ตัว (กระบ่กี ระบอง ฟนั ดาบ) กีฬาพ้นื เมือง และการแสดงของชา้ ง

สถำนที่ทอ่ งเทย่ี ว รำยละเอยี ด 23 เกาะลา้ น เกาะลา้ น เปน็ เกาะในอ่าวไทย อยู่ในเขตเมืองพัทยา ภำพประกอบ จังหวัดชลบุรี ต้ังอย่ใู นแนบขนานกับหาดพัทยา ห่าง จากชายฝงั่ เมืองพทั ยาเพยี งเจด็ กโิ ลเมตร เปน็ ชายหาด ทน่ี ักทอ่ งเทย่ี ว ชอบมาเล่นกีฬาทางนา้ เช่น เรือลาก เรอื สกี ดานา้ ดูปะการัง เกาะล้านเป็นที่นิยมของ นักท่องเท่ยี วทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ อทุ ยานหินล้านปี อุทยานหนิ ล้านปแี ละฟารม์ จระเข้พทั ยาก่อต้ังโดย คุณ และฟาร์มจระเข้ ส่วน พนมวฒั นากุล เปน็ ผู้ที่ชืน่ ชอบธรรมชาติอยา่ ง พทั ยา มากจงึ ได้จดั ต้งั อทุ ยานหินล้านปี เพอ่ื มงุ่ หวงั จะอนรุ กั ษ์ ธรรมชาตไิ ว้ และไดใ้ ชเ้ วลาในการสะสมมากกวา่ 30ปี นบั เป็นส่งิ สาคญั ทางธรรมชาตทิ ีห่ าชมได้ยาก และมี อายเุ กา่ แก่มาก ไม่ว่าจะเป็นไม้ดัดไทยเก่าแก่ ต้นไม้ กลายเป็นหนิ ทีม่ ีอายุนับลา้ นปีหรอื หินลายร้งุ จึงได้ จดั ต้งั อุทยานแหง่ นขี้ ้นึ เพ่อื ให้ลกู หลานคนไทยได้มี โอกาสเรียนรู้ เขาชีจรรย์ เขาชจี รรย์ถูกสร้างข้นึ มาจากพระราชดาริของสมเด็จ เมืองจาลองพัทยา พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆป ริณายก พระพุทธรูปแกะสลักบนหนา้ ผาเขาชีจรรย์ ให้ เป็นปูชนียสถา นสาคัญทางพระพุทธศาสน า เป็น พระพุทธรูปประทับน่ังปางมารวิชัยเลียนแบบ พระ พุทธนวราชบพิตรศิลปะสุโขทัยผสมล้านนา ขนาด ความสูง 109เมตรหน้าตักกวา้ ง 70เมตรฐานบัวหรือ บัวบลั ลงั ค์ สูง 21เมตรรวมความสูงขององค์พระและ บลั ลงั ค์ทั้งสนิ้ 130 เมตร เปน็ แบบนูนต่า เมืองจาลอง เป็นสถานท่ีท่องเท่ียวที่ได้จาลองสถานท่ี และสถาปัตยกรรมที่สาคัญของโลกมารวบรวมไว้ใน อัตราส่วน 1 : 25 เพ่ือแสดงให้นักท่องเที่ยวได้ชม กอ่ ตงั้ โดยคณุ เกษม เกษมเกียรติสกุล ในพนื้ ที่ 30 ไร่

24 แผนพฒั นำจงั หวัดชลบรุ ี 1. บทวเิ ครำะหส์ ภำวะแวดล้อม (SWOT Analysis) 1.1 จุดแข็ง (Strengths) 1. เปน็ ศนู ยร์ วมท่ตี ้ังอตุ สาหกรรมขนาดใหญข่ องประเทศและมแี นวโน้มทีจ่ ะเตบิ โตเปน็ ศูนย์กลาง อุตสาหกรรมสมยั ใหมข่ องภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เนือ่ งจากเปน็ หนึง่ ในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษภาค ตะวนั ออก (EEC) และมีอตุ สาหกรรมหลกั ท่ีสาคัญและมีศักยภาพพรอ้ มตอ่ การพัฒนาอย่ใู นพ้นื ท่ี 2. มีโครงข่ายเส้นทางคมนาคมขนส่งที่เช่ือมโยงกันท้ังทางบก ทางน้า ทางราง และทางอากาศ ซ่ึงในอนาคตสามารถเชือ่ มโยงกันแบบไรร้ อยตอ่ (Seamless Operation) เพื่อช่วยเพม่ิ ศกั ยภาพในการแข่งขัน จากการลดเวลาการเดินทางและประหยดั ค่าขนสง่ 3. เป็น จังหวั ดท่ีมีแหล่งท่องเที่ยวที่หลา กหลา ยปร ะเภท ท้ังแหล่งท่องเท่ียวธรร มชา ติ แหล่งท่องเท่ียวเชิงประวัติศา สตร์ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒน ธรร ม แหล่งท่องเท่ียวกิจ กรร มผจ ญภัย และแหล่งท่องเที่ยวบนั เทงิ สมัยใหม่ และแมเ่ หล็กสาคญั คือ “เมืองพัทยา” ซึ่งเป็นแหล่งทอ่ งเท่ยี วนานาชาติท่ีมี ชอื่ เสยี งระดบั โลก ในแตล่ ะปีมีนักท่องเทย่ี วท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางมาทอ่ งเท่ียวเพิ่มมากขนึ้ อยา่ ง ต่อเนอื่ ง 4. มีทา่ เรอื ขนาดใหญ่ ได้แก่ ทา่ เรือแหลมฉบังซึ่งเป็นทา่ เรือน้าลกึ หลกั ในการขนส่งสินค้าระหว่าง ประเทศ สามารถรองรบั ได้ท้งั เรอื สินค้าท่ัวไปจนถงึ เรือเดินสมุทรขนาดใหญ่พเิ ศษ (Super Post Panamax) รวมทง้ั บรกิ ารพ้ืนฐานต่างๆ ตามมาตรฐานทา่ เรือพาณชิ ย์สากล มีความพร้อมดา้ นโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยง พ้ืนที่อตุ สาหกรรมกบั ทา่ เรอื นา้ ลึกในการขนถ่ายสนิ ค้าไดส้ ะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธภิ าพ 5. มีความพร้อมดา้ นการแพทย์ โดยมีสถานพยาบาลท่ีทันสมัย ครบวงจร เพยี งพอตอ่ ความต้องการ และสามารถรองรับการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรมและการทอ่ งเท่ียวได้ 6. มีสถาบันการศึกษาท่ีมีคุณภาพ สามารถผลิตบุคลากรที่มีคุณสมบัติได้ตรงกับความต้องการ ของตลาดแรงงาน นอกจากน้ีจังหวัดยังไดม้ ีการดาเนินโครงการจั ดการศกึ ษาเพ่ือการมีงานทาเชิงพื้นท่ี ซึ่งเปน็ ความร่วมมือจากทุกภาคสว่ นที่มคี วามเกยี่ วเนือ่ งกับการปฏริ ูปการศึกษาภายในพ้ืนทจี่ ังหวัดชลบุรี ท้ังภาครฐั ภาคเอกชน ภาคท้องถนิ่ ภาควชิ าการ ภาคประชาสังคม ภาคอตุ สาหกรรมและการท่องเที่ยว และ หน่วยงาน ต่า งๆ ที่เก่ียวข้อง โ ดยกาหนดเป้า หมา ยการ พัฒน ากา รศึกษา เพ่ือให้ผู้ท่ีจบการ ศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นได้ศึกษาต่อสาย อาชีพมากขนึ้ เพือ่ ผลิตกาลังคนในอนาคตให้เปน็ แรงงานทมี่ ฝี ีมือเข้า ส่ภู าคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ท่ีมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดการสร้างงานสรา้ งรายได้ทาง เศรษฐกิจ รวมถึงเพิ่มค่าผลติ ภัณฑม์ วลรวม จงั หวดั (GPP) ใหส้ ูงขึ้น ตลอดจนคุณภาพชีวติ ท่ดี ีข้นึ แกป่ ระชาชน ในจงั หวัดชลบรุ ี 7. มีผลิตภัณฑท์ างการเกษตรที่สาคัญ ได้แก่ ยางพารา มนั สาปะหลงั ปาลม์ น้ามัน สับปะรด ออ้ ย ไก่ เน้ือ ไกไ่ ข่ และสกุ ร นอกจากน้ีการมพี ้ืนที่ตดิ ชายฝัง่ ทะเลยังทาให้เกดิ การผลิตในสาขาประมงท่ีมบี ทบาทสาคัญ ต่อระบบเศรษฐกจิ ของพนื้ ท่ี ไดแ้ ก่ การทาประมงนา้ จืด การเพาะเล้ียงสัตวน์ า้ ชายฝง่ั และการทาประมงทะเล 8. เป็นศนู ยก์ ลางการคา้ การลงทนุ และธุรกิจบริการ รวมทั้งมีทพ่ี กั โรงแรมขนาดใหญ่ เหมาะแกก่ าร จดั ประชมุ สัมมนาและให้บรกิ ารนกั ทอ่ งเที่ยว 9. มีโรงงานอุตสาหกรรมแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตรจานวนมาก เช่น โรงงานผลติ นา้ ตาลทราย โรงงานผลิตสับปะรดกระป๋อง โรงงานผลติ น้ามันปาลม์ โรงงานแปรรูปผลติ ภัณฑย์ างพารา โรงฆา่ สัตวเ์ พือ่ การ ส่งออก เป็นต้น

25 1.2 จุดอ่อน (weakness) 1. การขยายตัวของอตุ สาหกรรมและการเปลี่ยนจากสังคมเกษตรเป็นสังคมเมืองและอุตสาหกรรม ทาให้มปี ระชากรแฝงและแรงงานตา่ งด้าวเพ่มิ ขึน้ ในพน้ื ท่ี ก่อให้เกดิ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด ปญั หา การบุกรุกทาลายทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ปัญหาคณุ ภาพชวี ิต ปัญหาดา้ นสาธารณสขุ (โรคติดตอ่ ) รวมถึงปัญหาสขุ ภาพจติ เชน่ ความเครียดจากการทางาน ความรุนแรงในครอบครวั และสงั คม ผ้สู งู อายขุ าดคน ดแู ลเนอื่ งจากลูกหลานตอ้ งไปทางาน เปน็ ต้น 2. การพัฒนาภาคอตุ สาหกรรมในพน้ื ท่ีอย่างรวดเร็วและการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมในพ้ืนทีท่ าให้ ประสบปัญหาการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมและชวี อนามัย เช่น ผลกระทบดา้ นส่งิ แวดล้อม ทัง้ นา้ เสีย มลพิษ ทางอากาศ ขยะมลู ฝอย และของเสยี อันตราย ปญั หาเก่ยี วกบั สุขภาพ การขาดแคลนทรัพยากรนา้ และปญั หา ทรัพยากรธรรมชาติเสอ่ื มโทรม ซึ่งปัญหาต่างๆ เหลา่ นี้ส่งผลให้เกดิ การเรยี กร้องจากประชาชนให้มีการ ดาเนินการแกไ้ ขปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ และการมสี ว่ นร่วมในการรับรขู้ องประชาชน 3. ระบบการศึกษา นักเรียนนักศึกษาส่วนใหญ่ยังมีค่านิยมเน้นการศึกษาสายสามัญมากกว่า สายอาชีพทาใหเ้ กิดปญั หาขาดแคลนแรงงานท่ีมีทักษะฝีมือเฉพาะด้านสาหรับภาคอุตสาหกรรม และการพัฒนา ด้านทกั ษะภาษาเพ่อื รองรับการเป็นเขตพัฒนาพเิ ศษยังไมเ่ ป็นรูปธรรมชัดเจน 4. การบริหารจัดการน้ายังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เนื่องจากควา มต้องการน้าเพิ่มมากข้ึน จากการขยายตัวของภาคอตุ สาหกรรม การท่องเทย่ี วและบริการ รวมถงึ ความตอ้ งการน้าในการอุปโภคบรโิ ภค ของประชาชน ประกอบการปริมาณนา้ ฝนทไ่ี ดไ้ ม่เพียงพอต่อความต้องการและแหล่งน้าสาหรบั กกั เก็บน้ามี จากัดไมส่ ามารถรองรับการขยายตวั ดังกลา่ วได้ ทาให้เกดิ ภาวะขาดแคลนนา้ 5. การจัดการผังเมืองเพื่อกาหนดการใช้ประโยชนใ์ นท่ีดนิ ของจังหวดั ยังไม่ครอบคลุมและสอดรับกับ การพัฒนาพ้ืนท่ีใน เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ส่งผลกระทบไปถึ งการ ส่งเสริมกา รลงทุน และการวางแผนการพัฒนาเมืองในอนาคต และอาจส่งผลให้เกิดการร้องเรียนจากประชาชนผู้ไดร้ ับผลกระทบ จากการพัฒนาอตุ สาหกรรมในพนื้ ที่ดังกลา่ ว 6. เส้นทางการท่องเที่ยวยงั ไม่สามารถเช่ือมโยงแหล่งท่องเทยี่ วทกุ พ้ืนทีเ่ พอื่ ให้เกดิ ความหลากหลาย ของแหล่งทอ่ งเที่ยว การกระจายตัวของนักท่องเท่ียว ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เกดิ การสรา้ งงานสร้างอาชีพ เปน็ การกระจายรายไดใ้ ห้กับชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ รวมถงึ ปลกู จิตสานกึ ใหป้ ระชาชนในชุมชนมคี วามรู้สึกรักและ หวงแหนทรพั ยากรการท่องเที่ยวในทอ้ งถิน่ ของตน 1.3 โอกำส (Opportunities) 1. รฐั บาลมีนโยบายส่งเสรมิ การลงทุนในเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) ซ่ึงจังหวัดชลบรุ ีเป็น หนึ่งใน พื้น ที่ดา เนิน กา รดังกล่า วโดยเป็นศูน ย์กลา งใน กา รลงทุนด้า น อุตสา หกร ร มหลักที่สา คัญ ของประเทศและภูมิภาคอาเซียนท่ีมีความพร้อมและขีดความสามารถในการแข่งขันสูง ด้วยการลงทุน ดา้ นโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบสาธารณปู โภค เพื่อเพิ่มศกั ยภาพรองรบั การลงทุน และการพฒั นากจิ กรรมทาง เศร ษฐกิจและกา รอา นวยควา มสะดวกต่างๆ ในพ้ืนท่ี น อกจ ากนี้ยังมีมาตรกา รเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในรปู แบบ Super Cluster และ Cluster ท่ีให้สิทธิพเิ ศษทางภาษีและผ่อนปรนกฎระเบียบบางประการ เพื่อ ส่งเสรมิ ให้นักลงทนุ เขา้ มาลงทนุ ในพน้ื ท่อี กี ดว้ ย 2. จงั หวัดชลบรุ ีเป็นหนึง่ ในพื้นที่นาร่องการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) โดยเฉพาะพน้ื ท่ีนคิ ม อุตสา หกรร มแหลมฉบังและ 7 ชุมชนโดยร อบ ด้วยกา ร ติดตั้ง Sm ar t Pole หรือเสาประชา รัฐ ซึ่งเป็นเสาที่มีไฟฟ้าเลี้ยงและเช่ือมต่อกับสายส่ือสาร ติดต้ังกล้องวงจ รปิด ใช้ติดตามการจร าจรและ ดแู ลเร่ืองอาชญากรรม ถอื เปน็ Digital Infrastructure ของเมอื ง เพือ่ เป็นการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมอย่าง

26 ยั่งยืน ด้วย Internet of Things (IOT) นอกจากน้ียังมีการพัฒนาเมืองพัทยาให้เป็นเมืองอัจฉริ ยะ โดยการพัฒนาเทคโนโลยีในด้าน Smart Living ดว้ ยการส่งเสริมความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนและ การท่องเทีย่ วด้วยกล้อง CCTV การบรหิ ารจัดการรถขนส่งเที่ยวเปล่าเพื่อลดความแออัดของรถขนส่งและ ลดตน้ ทุนในการขนสง่ (Smart Port) การพัฒนาระบบรอ้ งเรยี น/การตดิ ตามผลการดาเนินงานแก้ไขปัญหาเมอื ง และการให้ขอ้ มลู การท่องเท่ยี วดว้ ย Mobile application 3. จังหวัดชลบุรีได้รับกา รคัดเลือกให้เป็น หนึ่งใน จังหวัดต้นแบบใน การ จัดตั้งเมืองกีฬ า (Sports City) ซง่ึ การเปน็ เมืองกีฬานัน้ จะช่วยสง่ เสริมให้ประชาชนในจังหวัดหนั มาเลน่ กฬี าและออกกาลงั กาย เป็นประจา การพัฒนานกั กฬี าและบุคลากรกีฬาไปสคู่ วามเป็นเลิศ จัดการแข่งขันกฬี าระดับนานาชาติ และ ส่งเสริมอุตสาหกรรมกฬี าในจังหวัดใหเ้ ป็นไปอยา่ งต่อเนอื่ ง โดยสง่ เสรมิ อุตสาหกรรมกฬี าแบบครบวงจร รวมท้ัง ส่งเสริมกีฬาเพื่อการ ท่องเที่ยว (Sports Tourism) ให้เป็นศูนย์กลาง (Hub) ด้านกีฬาของภูมิภา ค ในการเกบ็ ตัวฝกึ ซอ้ มสาหรับนกั กฬี าชาวต่างชาตซิ ึ่งจะสรา้ งรายได้ใหก้ บั จังหวดั อีกด้วย 4. มีระบบขนส่งและโลจิสติกสท์ ี่หลากหลาย ท้ังระบบขนสง่ ทางถนน ระบบราง การขนสง่ ทางน้า อกี ทั้งมีที่ต้ังอยู่ใกล้กับท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ ทาให้มีโอกาสที่จะพฒั นาเปน็ ศูนยก์ ลางการขนสง่ และบรรจุ ภัณฑ์ของภูมิภา คเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ต่อไปใน อนาคต ซึ่งน โยบายการส่งเสริมเขตพัฒน าพิเศษ ภาคตะวนั ออก (EEC) กม็ ีการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานเพือ่ รองรบั การพฒั นาอย่างครอบคลมุ สามารถ เชื่อมโยงทั้งในพื้นที่และระหวา่ งพื้นท่ีได้อย่างประสิทธิภาพ อานวยความสะดวก ลดต้นทุนและเวลาใน การขนส่งสินค้าและการเดนิ ทางของนักทอ่ งเทยี่ ว 5. จังหวดั ชลบรุ ีเปน็ แหล่งผลิตสินค้าทางการเกษตรทสี่ าคัญ เช่น อ้อย มันสาปะหลงั ยางพารา และ ปาล์มนา้ มนั และมีระบบการขนสง่ ท่ีสามารถเชื่อมโยงกับท่าเรือแหลมฉบังไดโ้ ดยสะดวก ซง่ึ สามารถสร้างรายได้ ให้เป็นจานวนมาก จังหวัดจึงได้นานโยบายส่งเสริมการเกษตรดีท่เี หมาะสม (GAP : Good Agricultural Practices , Good Animal Practices , Good Aquatic Practices) มาสง่ เสรมิ การผลติ สินค้าทางการเกษตร ขอ ง จั ง ห วั ด โ ด ย ก า ร ป รั บ ป รุ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต เ พื่ อ ใ ห้ ผ ล ผ ลิ ต ที่ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ มู ล ค่ า เพ่มิ ขึ้น สอดคล้องกบั ความต้องการของผบู้ รโิ ภค ความตอ้ งการของตลาด และขอ้ กาหนดมาตรฐานในเวที AEC และสามารถแข่งขันได้ทัง้ ตลาดภายในประเทศและ AEC 1.4 อุปสรรค/ภัยคกุ คำม (Threats) 1. ในระยะเวลาท่ีผ่านมา การก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีในแง่มุมต่างๆ เป็นไปแบบก้าวกระโดด (Big Bang of Technology) อตั ราการเข้าถึงอินเทอร์เนต็ การเติบโตของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเชิงพาณิชย์ และการเข้าแขง่ ขันของผเู้ ล่นในตลาด ล้วนทาใหเ้ ทคโนโลยเี ขา้ สู่ชวี ติ ประจาวันของคนทวั่ ไปได้งา่ ยขึน้ ว่องไวขึ้น ในราคาที่เอ้อื มถึงไดง้ า่ ยข้นึ และสง่ ผลกระทบต่อเราอย่างหลีกเลย่ี งไมไ่ ด้ ทงั้ ด้านเศรษฐกิจ วิถีชีวิตและสังคม ไป จน ถึงมิติทา งกฎหมา ยและกา รเมือง เปล่ียน วิถีชีวิตของเร าต้ังแต่วิธีกา รส่ือสาร การ ส่ังซื้อสิน ค้า การเรยี กรถโดยสารสาธารณะ การรักษาผู้ป่วย หรือการใช้หุ่นยนต์แทนแรงงานคนในกระบวนการผลิตอยา่ ง กว้างขวาง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดังกล่าวจะทาให้อารยธรรมของมนุษย์เปลี่ยนไปโดยสิ้น เชิง อีกทง้ั ยังคาดว่า ปี 2040 จะเกิดปรากฏการณ์ท่ีเรียกวา่ ‘Singularity’ อันเป็นจุดพลิกประวัติศาสตรข์ อง ม นุ ษ ย ช า ติ เ พ ร า ะ ปั ญ ญ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ จ ะ เ ก่ ง ก ว่ า ม นุ ษ ย์ ดั ง นั้ น ค ว า ม รู้ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า คื อ สง่ิ ท่จี าเป็นในการรับมอื กับการเปลีย่ นแปลงดงั กลา่ ว

27 2. การเปลย่ี นแปลงเชิงโครงสร้างประชากร ปัจจุบนั เรากาลังก้าวเขา้ สูส่ ังคมผู้สูงอายุ เพราะคนเกิด น้อยลงมากและเทคโนโลยีการแพทย์สมัยใหม่ทาให้คนมีอายุยืนขึ้นในปี 2040 หรืออีก 23 ปีข้างหน้า โลกจะมีสัดส่วนประชากรที่อายุสูงกว่า 60 ปี ถึงร้อยละ 20 เทียบกับเพียงร้อยละ 12 ใน ปี 201 5 สงั คมผู้สูงอายุจะเป็นความท้าทายท้ังทางเศรษฐกิจและสังคม จะส่งผลกระทบต่อโครงสรา้ งตลาดแรงงาน โครงสร้างกา รบริโภคการออม ภาระด้าน การคลังและร ายจ่ายด้านสวัสดิการ ตลอดจนคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุท่ตี ้องดแู ลตวั เองในวยั ชรา และท่ีสาคญั สังคมผู้สูงอายจุ ะทาใหบ้ ริบททางการเมืองเปลี่ยนแปลงไป ดว้ ย เน่ืองจากฐานเสียงผสู้ งู อายุจะสาคัญมากข้นึ และจะเนน้ เร่อื งการรักษาสิทธิประโยชนแ์ ละสวัสดิการของ ตนเองเป็นหลัก คานึงถึงอนาคตของคนรุ่นต่อไปน้อยลง การดาเนินนโยบาย ปฏิรูปเศรษฐกจิ และสังคม จะทาไดย้ ากขนึ้ 3. ค่านยิ มทางสังคมท่ีเปล่ยี นแปลงไป ไมว่ ่าจะเกดิ จากความกา้ วหน้าและรวดเรว็ ของสื่อเทคโนโลยี การเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตกไม่ว่าจา กส่ือโทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือ หรืออินเตอร์เน็ตก็ตา ม ทาใหข้ นบธรรมเนยี ม จารีตประเพณี วฒั นธรรมท่ีดีงาม และพฤติกรรมของคนในสังคมไทยเปลย่ี นไป เนอื่ งจาก คนในสงั คมไม่สามารถปรบั ตัวและร้เู ท่าทนั การเปลย่ี นแปลงได้อยา่ งเหมาะสม นอกจากนีส้ ภาพแวดลอ้ มในอดีต กับปจั จบุ ันแตกต่างกนั มาก ในปัจจุบันมสี งิ่ ยว่ั ยุ สถานบนั เทงิ เริงรมยต์ า่ งๆ ศูนย์การคา้ ปัญหาสารเสพติด และ ความรุนแรง ซึ่งส่งผลให้วยั ร่นุ อาจใชช้ ีวิตทีห่ ลงผิด จนอาจก่อให้เกิดเป็นปัญหาอาชญากรรมทางสงั คมได้ ทาให้ มคี ณุ ภาพชีวิตท่ีไม่ดี ยากจน ไมม่ ีโอกาสศึกษาต่อ ต้องหาเล้ียงชพี โดยไมส่ ุจรติ เกิดความฟงุ้ เฟอ้ เพ่ือต้องการให้ ตนเองทัดเทียมกับผู้อื่น และในท่สี ุดก็เกดิ ค่านิยมทางเพศทผี่ ิดๆ เช่น การมีความคิดวา่ การขายบริการทางเพศ เปน็ ส่งิ ท่ีหารายไดใ้ ห้แกต่ นเองไดอ้ ย่างรวดเร็ว เป็นตน้ 4. มาตรการสง่ เสริมการลงทนุ ให้ตา่ งชาติมากกวา่ ไทย ไม่วา่ จะเปน็ ความตกลงด้านการลงทนุ ระหว่าง ประเทศ (International Investment Agreements: IIAs) ความตกลงเพ่ือการส่งเสริมและคุ้มครองการ ลงทุนทวภิ าคี (Bilateral Investment Treaty: BIT) มาตรการลดและยกเวน้ ภาษี มีทง้ั ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ภาษเี งินไดบ้ คุ คลธรรมดา ภาษีธรุ กิจเฉพาะ รวมถงึ ภาษีเงินได้ หัก ณ ทีจ่ ่าย ส่วนมาตรการอื่นทไ่ี ม่ใช่ภาษีและ การอานวยความสะดวกให้กับนกั ลงทนุ เพือ่ เป็นการดงึ ดดู ใหน้ ักลงทุน ต่างชาตเิ ข้ามาจัดตั้งไอเอชควิ และไอทีซี ในประเทศไทยให้มากข้ึนรวมทัง้ รองรับการแขง่ ขันในการค้าระหวา่ งประเทศท่ีเพิ่มขึ้นดว้ ย 5. มาตรการกีดกนั ที่ไม่ใช่ภาษี (Non-Tariff Measures: NTMs) เปน็ กฎระเบียบขอ้ บงั คับที่รฐั บาล ประเทศต่างๆ กาหนดข้ึนเพ่ือเป็นสร้างอุปสรรคตอ่ การส่งออกของประเทศค่คู ้า หรือเพอ่ื กดี กันการนาเข้าทไี่ ม่ สอดคลอ้ งกับความตกลงระหว่างประเทศ โดยท่วั ไปพบวา่ ประเทศต่างๆ นามาตรการทมี่ ิใช่ภาษีมาใช้อย่าง เข้มงวดเกนิ ไป จนทาใหป้ ระเทศอน่ื มองวา่ เป็นมาตรการทไี่ มเ่ ป็นธรรม กลายเปน็ อปุ สรรคทาง การค้าท่ีมิใช่ภาษี เกิดขน้ึ เช่น การกาหนดคุณภาพท่ีเกินมาตรฐานสากลหรือการเข้มงวดในการตรวจสอบมาตรฐานสนิ ค้า และใช้ เวลาในการตรวจสอบนานมากจนอาจทาให้ สินค้าเกดิ ความเสยี หาย ตลอดจนการปฏบิ ัติด้านพธิ ีการศลุ กากรที่ ไม่เป็นธรรม เช่น การบริหารโควตาภาษี (Tariffs Rate Quatas: TRQs) สวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare) มาตรฐานสิ่งแวดลอ้ มทีเ่ กย่ี วข้องกบั การคา้ (Trade-Related Environmental Measures) การปิดฉลากสนิ ค้า ตัดแต่งสารพนั ธุกรรม (Genetically Modified Organisms: GMOs) มาตรฐานแรงงาน (Trade and Labour Standard) เปน็ ตน้ การใช้มาตรการฝา่ ยเดียวและอา้ งวา่ ประเทศคู่คา้ ไม่ปฏิบตั ติ ามความตกลงของ WTO อย่าง มปี ระสทิ ธิภาพ เช่น ประเดน็ ทรพั ยส์ ินทางปญั ญา กฎระเบียบเก่ยี วกบั กระบวนการตรวจสอบสนิ คา้ และพิธกี าร ศลุ กากร เงื่อนไขการลงทนุ และนโยบายการแข่งขนั เป็นต้น

28 6. การเปลย่ี นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ (Crimate change) ไม่ว่าจะเน่ืองมาจากความผันแปรตาม ธรรมชาติหรือกิจกรรมของมนุษย์ ลว้ นส่งผลกระทบตอ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของจังหวัด เช่น กา รเพิ่มสูงข้ึน ของร ะดับน้า ทะเลส่งผลต่อกา ร กัดเซา ะชา ยฝั่ง ทา ให้สูญเสียพ้ืน ดินชา ยหา ดและ แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล รวมถงึ ระบบนเิ วศทางทะเลและชายฝ่งั ซง่ึ เป็นแหล่งผลิตสัตวน์ ้า ความหลากหลาย ทางชวี ภาพ และชีวิตความเป็นอย่ขู องชมุ ชนท้องถนิ่ นอกจากน้อี ิทธิผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยัง ทาให้เกิดปญั หาการขาดแคลนน้าในบางพ้ืนท่ี สง่ ผลต่อภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาด้าน เศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวมอกี ด้วย 2.เปำ้ หมำยกำรพัฒนำจังหวัดชลบุรี ระยะ 5 ปี เมืองนวตั กรรม เศรษฐกิจชั้นนำของอำเซียน 3.ตวั ชี้วดั ควำมสำเร็จตำมเป้ำหมำยกำรพฒั นำจังหวัดชลบรุ ี ตวั ชี้วัด 1.1 มูลคา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมสาขาอุตสาหกรรมจงั หวัดชลบรุ ีเพิม่ ขึ้น ตัวชีว้ ัด 1.2 รายไดจ้ ากการท่องเทีย่ วจังหวดั ชลบุรเี พม่ิ ขน้ึ ตัวชีว้ ัด 1.3 มลู ค่าผลิตภณั ฑม์ วลรวมภาคเกษตรจงั หวดั ชลบรุ ีเพ่ิมขึ้น ตัวชีว้ ัด 1.4 จานวนโครงการถนนทก่ี อ่ สรา้ งและบารงุ รักษาเพมิ่ ขึ้น ตัวชีว้ ัด 1.5 สถานพยาบาลได้รับรองคณุ ภาพ HA เพ่ิมข้นึ เพอื่ รองรับเขตพฒั นาพิเศษ ภาคตะวันออก ตวั ชว้ี ัด 1.6 เดก็ และวัยแรงงานมีความรู้และทักษะเป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงานในเขต พัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ตวั ชีว้ ดั 1.7 สัดส่วนของขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการจัดการอยา่ งถูกต้อง ตวั ชี้วัด 1.8 พนื้ ทปี่ ่าต้นน้าเพ่ิมขนึ้ 4.ประเด็นกำรพัฒนำจงั หวัดชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี มีประเด็นการพฒั นาประกอบไปด้วยทงั้ หมด 6 ประเดน็ การพัฒนา ดงั นี้ ประเดน็ การพัฒนาท่ี 1 ยกระดับการพัฒนานวัตกรรมอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีท่ีเป็นมิตรกับ สิ่งแวดลอ้ ม ประเดน็ การพัฒนาท่ี 2 ยกระดบั ให้เปน็ เมอื งท่องเที่ยวนานาชาติ มมี าตรฐานระดับสากล ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 สรา้ งเสริมนวัตกรรมสู่เกษตรปลอดภัย ประเด็นการพัฒนาที่ 4 พัฒนาปรับปรงุ ด้านผังเมือง โครงสรา้ งพื้นฐาน ระบบ Logistics เป็นเมอื ง นวัตกรรมท่นี ่าอยู่ ประเด็นการพฒั นาท่ี 5 พัฒนาคนและชุมชนใหม้ ีคุณภาพและยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ประเด็นการพัฒนาที่ 6 บรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมให้เกดิ ความสมดลุ อย่างมี สว่ นรว่ ม

29 ขอ้ มลู อำเภอสตั หบี ประวตั คิ วำมเปน็ มำของอำเภอสัตหบี ทต่ี ง้ั อาเภอสตั หบี ทวี่ ่าการของอาเภอสตั หีบต้ังอยทู่ ี่ ถนนเลียบชายทะเล ตาบลสัตหีบ อาเภอสตั หีบ จงั หวดั ชลบรุ ี รหสั ไปรษณีย์ 20180 เมือ่ ปี พ.ศ.2480 ไดก้ อ่ ต้ังเปน็ กิง่ อาเภอ และได้กอ่ ตง้ั ขนึ้ เป็นอาเภอเมือ่ วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2496 โดยมีนายอาเภอคนแรกชอื่ นาย.ชมุ พล อุทยานกิ สัตหีบเปน็ สถานที่สวยงาม ประกอบด้วยภูเขาสูงหลายลูก สลับซับซ้อน อากาศรม่ ร่นื มีทะเลและอ่าวท่ีสวยงามเป็นท่รี จู้ กั ของนักทอ่ งเทีย่ วทั่วไป อาทิเช่น อ่าวดงตาล ( มีต้นตาลขึ้นเปน็ ทวิ แถว )หาดทรายสวยของหาดนางรา หาดทรายแก้ว หรอื เป็นอ่าวเตยงาม หรอื ในชื่อเดิมว่า \" อ่าวตากัน \" อันเปน็ อา่ วทีส่ วยงามสงบเงยี บในปัจจุบนั เป็นสถานท่ีต้ังกองบัญชาการนาวกิ โยธิน ซงึ่ อ่าวเตยงาม แหง่ นม้ี ีเรือ่ งเล่าขานเกา่ แก่วา่ \" ตากัน \" เป็นผู้มาตัง้ รกรากทสี่ ตั หบี คนแรก อดตี บรเิ วณชายทะเลตะวันออก แหง่ น้มี โี จรสลดั ชกุ ชุมคอยปลน้ ฆ่าเรือต่างๆที่สัญจร แต่ตากันเองเป็นผูม้ วี ิชาอาคมและมีความสามารถ ไมเ่ กรงกลวั ต่อเหลา่ โจรสลดั มาต้งั รกรากอย่ทู อ่ี ่าวไก่เตี้ยในสัตหีบแห่งน้ี และตอ่ มาเสดจ็ กรมหลวงชุมพร เขตอุดมศกั ดิ์ ไดเ้ ห็นความเหมาะสมของอาเภอสัตหบี เพื่อปรับปรงุ เป็นฐานทัพเรือ และได้ทรงรจู้ กั กบั ตากัน อกี ทงั้ ยังทรงได้รับเคร่ืองรางของขลังจากตากันหลายอยา่ ง ต่อมาทางทหารเรือต้องการพ้ืนที่ของอ่าวตากัน ท้ังหมดเพื่อทาประโยชนข์ องทหารเรอื ตากันจงึ ต้องมาอยู่บริเวณหลังตลาดสตั หบี ถา้ พิเคราะห์คาว่า\" สัตหีบ \"หลายท่านใหค้ วามเหน็ ว่า \" สัตต \" แปลว่า เจ็ด \" หีบ \"ก็หมายถึงหีบ กน็ า่ จะแปลว่า หีบเจด็ ใบ สอดคลอ้ งกับ ตามประวัตเิ จ้าแม่แหลมเทียนว่าไดน้ าพระราชาลงในหีบเจ็ดใบเพ่อื หลบหนียักษ์ ตามตานานทีไ่ ด้กล่าวขานไว้ ดว้ ยอีกหลักฐานหน่ึงเขยี นไว้ว่า คาว่า “สัตหีบ” หมายถงึ ทก่ี าบงั เจ็ดแหง่ ( สัต -เจ็ด และหบี –ที่บัง ) อัน หมายถึงเกาะต่างๆ กล่าวคอื เกาะพระ , เกาะยอ , เกาะหมู , เกาะเตาหมอ้ , เกาะเณร , เกาะหินฉลาม , และ เกาะเลา คำขวญั อำเภอสตั หีบ อนรุ กั ษเ์ ต่าทะเล เสนห่ ธ์ รรมชาติ อภวิ าทหลวงป่อู ี๋ ขาชจี รรย์พระใหญ่ ไหว้กรมหลวงชุมพร ถ่ินขจรราชนาวี สภาพชุมชน (สภาพเศรษฐกิจ สังคม ประเพณี วฒั นธรรม ความรว่ มมือของชมุ ชนทีม่ ตี อ่ สถานศึกษา) อาณาเขตท่ีตั้งสถานศึกษา: ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับอาเภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบรุ ี ทดิ ใต้ ติดกบั อา่ วไทย ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับอาเภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบุรี และอาเภอบา้ นฉาง จังหวัดระยอง ทศิ ตะวันตก จรดอา่ วไทย สภำพของชุมชนสภำพของชมุ ชน อาเภอสัตหบี มีเขตติดต่อกับเมืองพทั ยาซ่ึงเป็นแหล่งท่องเท่ียวทสี่ าคัญของโลก และสภาพแหลง่ ท่องเท่ียว ทางธรรมชาติของอาเภอสัตหีบได้ ถกู รักษาไว้เป็นอย่างดีเนื่องจากเปน็ เขตหวงหา้ มของทหารเรือ ความกดดันการ ใชพ้ ้ืนที่ค่อนข้างหนาแน่นของเมืองพัทยาทาให้อาเภอสตั หีบเป็นแหลง่ ระบายนักท่องเทย่ี วชาวต่างชาติทีม่ าพัก อาศัยในโรงแรม และท่ีพกั รูปแบบตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ มีส่งิ แวดล้อมท่ดี ี มีสถานท่ีท่องเท่ียวเชงิ คุณภาพใน พื้นทหี่ ลากหลายทีม่ ีชอ่ื เสียงของภาคเอกชน ได้แก่ สวนนงนุช วิหารเซียน และสถานท่ีของทางราชการ เช่น เรือ รบหลวงจักรีนฤเบศร์ อ่าวต่าง ๆ ในเขตฐานทัพเรือสัตหีบ หมบู่ ้านประมงช่องแสมสาร เป็นต้น รวมท้ังการ เดินทางไปสู่แหลง่ ท่องเท่ียวในพัทยาไมไ่ กล นอกจากนี้ทรพั ยากรประมงยังอดุ มสมบรู ณ์กว่าพ้ืนท่ีใกล้เคยี งในภาค ตะวันออก จึงทาใหเ้ หมาะสมในการพกั อาศัย สาหรับคนตา่ งชาติ

30 ลักษณะท่ตี ง้ั อาเภอสัตหบี ตัง้ อยู่ทางทิศใตข้ องจังหวัดชลบุรี ติดชายฝง่ั ทะเลดา้ นทิศตะวันออกของอ่าวไทย อยหู่ า่ ง จากจงั หวัดชลบุรีไปทางทิศตะวันออก ตามทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 3 (ถนนสขุ มุ วิท) ประมาณ 84 กโิ ลเมตร เนือ้ ที่ และประชำกร อาเภอสตั หบี มีเน้ือทร่ี วมท้งั อาเภอประมาณ 348,122 ตารางกโิ ลเมตร คิดเป็นเนือ้ ที่ 217,575 ไร่ ประชากรท้งั สิ้น จานวน 208,117 คน แยกเป็น ชาย 114,144 คนและหญงิ 93,505 คน จานวนครวั เรอื น 48,215 ครัวเรือน ลักษณะภูมปิ ระเทศ สภาพพื้นทข่ี องอาเภอสัตหบี เป็นภูเขาสงู สลับซับซอ้ นล้อมรอบ ไม่มีภูเขาใหญ่ มีภเู ขาขนาดกลางและ ขนาดเลก็ จานวนมาก จึงทาให้พื้นที่อาเภอสตั หีบส่วนใหญ่เปน็ เนนิ สูง และท่ีราบลมุ่ บริเวณติดต่อกบั ทะเลจะมี ลักษณะลาดเอียงจากทิศตะวันออกของอาเภอลงสู่ทิศตะวันตกด้านอ่าวไทย เปอร์เซ็นต์ความลาดเอียง ประมาณ 5 – 10 เปอร์เซ็นต์ ลกั ษณะเชน่ นี้ เมือ่ ฝนตกหนักจะชะลา้ งพังทลายหน้าดนิ ผ่านลงมาทางตะวันตก ของอาเภออยเู่ สมอ ลกั ษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินรว่ นปนทราย ลานา้ สาคัญไมม่ ี มแี ต่ลาห้วย ลาคลองขนาดเล็ก อาเภอสตั หีบยังประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ อีกจานวน 26 เกาะ อยู่ในความรับผิดชอบของกองทัพเรือ เกาะท่ี สาคัญได้แก่ เกาะแสมสาร เกาะแรด เกาะคราม เปน็ ต้น พนื้ ท่ีและกำรใช้ประโยชน์ พน้ื ที่สว่ นใหญ่อยใู่ นเขตทหาร การถือครองทดี่ ินในอาเภอสตั หีบ การออกเอกสารสิทธ์ิให้แกร่ าษฎร มี รายละเอียด ดงั น้ี 1. มีโฉนดที่ดิน จานวน 26,484 แปลง เนือ้ ท่ี 35,285 ไร่ 2 งาน 29 ตารางวา 2.หนงั สือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส.3 ก) จานวน 24,314 แปลง เนือ้ ที่ 25,193 ไร่ 2 งาน 70 ตาราง วา 3.หนงั สอื รบั รองการทาประโยชน์ (น.ส.3) จานวน 2,162 แปลง เนอื้ ท่ี 21,048 ไร่ 3 งาน 90 ตารางวา 4. หนงั สือสาคัญสาหรบั ท่ีหลวง (น.ส.ล.) จานวน 56 แปลง กำรปกครอง แบ่งเขตการปกครองตาม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องท่ี พ.ศ. 2457 เปน็ 5 ตาบล 41 หมบู่ ้าน ดังน้ี 1) ตาบลสัตหบี 9 หมบู่ า้ น 2) ตาบลบางเสร่ 11 หมบู่ า้ น 3) ตาบลพลตู าหลวง 8 หมบู่ ้าน 4) ตาบลนาจอมเทียน 9 หมบู่ า้ น 5) ตาบลแสมสาร 4 หมู่บา้ น ด้ำนกำรเมอื งและกำรปกครอง อาเภอสัตหบี เป็นเขตเลอื กตงั้ ท่ี 8 มีจานวน สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร จานวน 1 คน

31 หน่วยงำนรำชกำรและรัฐวิสำหกิจในพื้นท่ี ดงั น้ี 1. หนว่ ยงำนสังกัดภมู ิภำค ดงั น้ี 1) ทีท่ าการปกครองอาเภอสตั หีบ 2) สานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอสตั หบี 3) สานักงานทีด่ นิ จงั หวดั ชลบรุ ี สาขาอาเภอสัตหีบ 4) สานกั งานเกษตรอาเภอสตั หีบ 5) สานกั งานประมงอาเภอสตั หบี 6) สานักงานปศุสตั วอ์ าเภอสัตหีบ 7) ศูนย์ประสานงานวัฒนธรรมจงั หวดั ชลบรุ ี อาเภอสัตหบี 8) สานักงานสาธารณสขุ อาเภอสตั หบี 9) สานกั งานสัสดีอาเภอสัตหบี 10) สถานตี ารวจภธู รสตั หีบ 11) สถานีตารวจภูธรพลูตาหลวง 12) สถานีตารวจภธู รนาจอมเทยี น 13) สถานีตารวจน้า 3 กองกากับการ 3 14) สานกั งานอยั การประจาศาลจังหวัดพัทยา 15) ท้องถน่ิ อาเภอสตั หบี 2. หนว่ ยงำนสงั กดั ส่วนกลำง 1) สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาสตั หีบ 2) สานกั งานท่ดี นิ จังหวัด สาขาสัตหีบ 3) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหบี 3. หน่วยงำนรำชกำรทหำรเรือข้นึ ตรงกองทัพเรอื 1) ฐานทพั เรอื สตั หีบ 2) หน่วยบญั ชาการนาวิกโยธิน 3) กองเรือยทุ ธการ 4) หน่วยบญั ชาการตอ่ สอู้ ากาศยานและรกั ษาฝ่งั - กรมสรรพาวธุ ทหารเรอื สตั หีบ - กองเรอื ปอ้ งกนั ฝ่ัง - กองเรือภาคท่ี 1 4. หนว่ ยงำนบรหิ ำรรำชกำรสว่ นท้องถ่ิน มีเทศบาล 5 แหง่ คือ 1) เทศบาลเมืองสตั หบี 2) เทศบาลตาบลบางเสร่ 3) เทศบาลตาบลนาจอมเทียน 4) เทศบาลตาบลเกลด็ แกว้ 5) เทศบาลตาบลสัตหีบ

32 มอี งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล 3 แห่ง ดงั นี้ 1) องค์การบริหารส่วนตาบลนาจอมเทยี น 2) องค์การบรหิ ารส่วนตาบลแสมสาร 3) องค์การบริหารสว่ นตาบลพลตู าหลวง 5. สมำชกิ องค์กำรบรหิ ำรสว่ นจงั หวดั ชลบุรี เขตอาเภอสัตหบี ไดแ้ ก่ 1) นาวาโทสทุ ศั น์ วงศป์ รีดี 2) นายทวีศักด์ิ น่ิมอนงค์ 3) นายภิญโญ สายนภา 4) นางปราณี แตง่ แกว้ ด้ำนโครงสรำ้ งพ้ืนฐำน 1. ไฟฟา้ มีหน่วยงาน คอื กิจการไฟฟา้ สวสั ดิการสตั หีบ (เปน็ หน่วยงานของทหารเรือ) 2. ประปา 2.1 การประปาสตั หบี 1 แห่ง 2.2 การประปาชนบท 1 แหง่ ประปาชนบทบ้านเนินสามัคคี ม.3, 9 ต.บางเสร่ 2.3 การประปาหมู่บา้ น 5 แห่ง 3. โทรศัพท์ มีสานักงานบริการ 2 แหง่ คอื สานักบริการโทรศัพท์ สตั หบี และสานักงานบริการ โทรศัพท์บา้ นอาเภอ 4. การคมนาคม 4.1 ทางหลวงแผน่ ดิน 4 สาย 4.2 ทางหลวงชนบท 11 สาย 4.3 ทางหลวงท้องถิน่ 134 สาย 4.4 สถานรี ถไฟ พลตู าหลวง 5. การสอ่ื สารและโทรคมนาคม 5.1 ไปรษณยี ์โทรเลข 2 แห่ง 5.2 ไปรษณยี ฝ์ ากส่ง 3 แห่ง 5.3 สถานวี ิทยุ 1 แห่ง (สทร. 5 สัตหบี ) 5.4 สถานวี ทิ ยุสื่อสารกรมประมง 1 แห่ง (ต.บางเสร่) 5.5 สถานวี ิทยุชุมชน 11 แห่ง 6. แหลง่ น้า สัตหีบเป็นอาเภอที่ขาดแคลนน้าจดื มาก จงึ ต้องอนุรักษแ์ ละสรา้ งแหลง่ เก็บนา้ สารองไวใ้ ช้ในยาม ขาดแคลนเสมอมา ดงั น้ี 6.1 หนองตะเคยี น เน้อื ที่ 241 ไร่ หมู่ที่ 2 ตาบลสัตหีบ มีนา้ ตลอดปี 6.2 อา่ งเกบ็ นา้ ศนู ยฝ์ ึกทหารใหม่ เนื้อที่ 200 ไร่ และ 70 ไร่ หมู่ที่ 5 ตาบลบางเสร่ 6.3 อ่างเกบ็ น้าภตู อิ นันต์ เนื้อท่ี 350 ไร่ หมทู่ ่ี 4 ตาบลพลูตาหลวง มีนา้ ตลอดปี 6.4 อา่ งเกบ็ น้าห้วยตู้ 1 เน้ือท่ี 400 ไร่ หมู่ท่ี 9 ตาบลบางเสร่ มีนา้ ตลอดปี สร้างในโครงการ พระราชดาริ

33 6.5 อ่างเก็บนา้ หว้ ยตู้ 2 เน้อื ท่ี 600 ไร่ หมู่ท่ี 11 ตาบลบางเสร่ มนี ้าตลอดปี สรา้ งในโครงการ พระราชดาริ 6.6 แหล่งน้าอื่น ๆ เช่น บอ่ น้าผิวดิน ประมาณ 12,500 บอ่ ถงั เกบ็ นา้ 21 แห่ง โอ่งนา้ ขนาด ใหญ่ 16,825 ใบ และฝาย 15 แหง่ ดำ้ นเศรษฐกิจ 1. โครงสร้ำงทำงเศรษฐกิจ อาเภอสัตหีบประชากรสว่ นใหญ่ ร้อยละ 60 เปน็ ครอบครวั ทหาร ร้อยละ 40 เปน็ พลเรือน การ ประกอบอาชีพได้แก่ รับราชการ ทาการเกษตร (การเพาะปลูก, การประมง) รบั จา้ งและค้าขาย อาเภอสัตหบี มีคา่ ครองชีพค่อนข้างสงู ประชากรมีรายได้ต่อหัวประมาณ 40,000 บาท/ปี กำรเกษตร อาเภอสัตหีบมีพ้ืนท่ที าการเกษตร 47,275 ไร่ ประชากรประกอบอาชีพทางการเกษตร 2,547 ครัวเรอื น พ้นื ที่การเกษตรปลกู พชื เศรษฐกจิ เช่น ไมผ้ ล ไม้ดอกไมป้ ระดบั และพืชผกั ตา่ ง ๆ ไมม่ รี ะบบ ชลประทาน อาศัยน้าฝน สภาพดินเป็นดินร่วนปนทรายไม่ดูดซบั นา้ เกษตรกรอาศัยนา้ จากแหล่งนา้ ธรรมชาติ และขดุ สระน้าขนาดเล็กไวใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นการประกอบอาชีพการเกษตร พืชเศรษฐกจิ ทป่ี ลูกในพื้นท่ี ได้แก่ 1) มนั สาปะหลงั 2) สบั ปะรด 3) ไมผ้ ล เช่น มะมว่ ง ขนุน กระทอ้ น มะพรา้ วออ่ น 4) ไม้ดอกไม้ประดับ 5) พืชผกั สวนครัว ด้านการตลาด มีตลาดนัดทั่วไป และตลาดนัดเปดิ ท้ายขายของ จานวน 12 แหง่ กำรประมง เน่ืองจากชาวสัตหบี อยใู่ กลช้ ดิ ทะเลมาตลอด จงึ มีผู้ประกอบอาชีพจับสตั วน์ ้าเปน็ จานวนมาก มี เรอื ประมง 650 ลา สะพานปลา 14 แหง่ ครวั เรือนทีป่ ระกอบอาชพี ประมงทะเล 800 ครัวเรือน โรงเพาะ และอนบุ าลสตั ว์น้า 5 แห่ง การเลยี้ งปลาในบอ่ 55 ครวั เรอื น การประมงพนื้ บ้านลงลอบปลาหมึก 30 ลา สว่ นการประมงพาณชิ ย์ มเี รอื อวนลากคู่ 82 ลา อวน ลากแผ่นตะเฆ่ 14 ลา อวนลอ้ มจับ 34 ลา อวนจบั ปลาหมกึ 131 ลา และเคร่ืองมืออื่น ๆ 359 ลา มีท่าเทยี บ เรอื ประมง หรอื สะพานปลาคือ - ทา่ เทยี บเรอื สัตหบี 2 แหง่ - ท่าเทียบเรอื บางเสร่ 4 แห่ง - ทา่ เทยี บเรอื แสมสาร 8 แหง่ ปรมิ าณสตั วน์ า้ ทะเลท่ผี ลิตได้ทั้งหมด 5,940,000 กโิ ลกรมั มูลคา่ 58,650,000 บาท ปรมิ าณสัตวน์ า้ จืดท่ีผลิตได้ท้ังหมด 17,200 กโิ ลกรมั มลู คา่ 7,950,000 บาท

34 ด้ำนปศุสัตว์ - ประชากร เลี้ยง โค กระบือ สกุ ร เป็ด ไก่ แพะ แกะ กำรพำณิชย์และกำรบริกำร - มีสถานบี รกิ ารน้ามนั เชอ้ื เพลงิ ขนาดใหญ่ 15 แห่ง - มธี นาคาร 10 แหง่ ด้ำนอตุ สำหกรรม - มโี รงงานท่ไี ด้รับอนุญาตประกอบการ 34 โรงงาน ดำ้ นกำรท่องเท่ียว สถานทีท่ อ่ งเทย่ี ว อาเภอสัตหบี มสี ถานที่ทอ่ งเทีย่ วมากมาย ไดแ้ ก่ ตำบลสัตหบี 1. วดั หลวงพอ่ อ๋ี เปน็ วดั ราษฎรป์ ระจาอาเภอ 2. อนสุ าวรยี ส์ มเด็จกรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศกั ด์ิ บริเวณสวนกรมหลวงชมุ พรกองทัพเรอื 3. ศนู ย์อนรุ ักษ์พันธ์เุ ต่าทะเล หนว่ ยบญั ชาการต่อส้อู ากาศยานและรักษาฝ่งั ตำบลบำงเสร่ 1. หาดบางเสร่ 2. หาดทรายแก้ว 3. สวนสาธารณะ บางเสร่ ตำบลนำจอมเทยี น 1. หาดทรายทอง 2. หาดจอมเทียน 3. วิหารเซียน 4. พระพทุ ธรูปแกะสลกั เขาชจี รรย์ ในลักษณะพระพทุ ธฉายท่ีใหญ่ทีส่ ุดในโลก เพอื่ ใหเ้ ป็น พระพทุ ธรูปประจารัชกาล 9 ชอื่ วา่ “พระพทุ ธมหาวชิรอตุ ตโมภาสศาสดา” 5. สวนนงนชุ 6. สวนองนุ่ ซลิ เวอรเ์ ลซ ตำบลพลูตำหลวง 1. สนามกอล์ฟพลตู าหลวง 2. สวนอศั วเทวา ตำบลแสมสำร 1. หาดนางรา 2. วิหารหลวงพ่อดา 3. จุดดานา้ บรเิ วณชายเขาหลวงพอ่ ดา 4. หม่บู า้ นชาวประมงแสมสาร 5. เรือหลวงจักรนี ฤเบศร ท่าเรือจุกเสม็ด 6. หาดยาว

35 ด้ำนสังคม ศำสนำ และวัฒนธรรม 1. ดำ้ นกำรศกึ ษำ 1) สถานศึกษาสังกัดกรมอาชวี ศกึ ษา จานวน 2 โรงเรียน 2) สงั กัดกรมสามญั ศึกษา จานวน 23 โรงเรยี น 3) สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา 3 จานวน 15 โรงเรยี น 4) สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน จานวน 13 โรงเรยี น 5) สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2. ด้ำนกำรศำสนำ ส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาพุทธ ประกอบด้วย - วดั 14 แหง่ - สานกั สงฆศ์ าสนาพุทธ 8 แหง่ - โบสถค์ รสิ ต์ 1 แหง่ - ศาลเจา้ 3 แหง่ 3. ด้ำนกำรสำธำรณสขุ จานวนสถานพยาบาลของรฐั ประกอบดว้ ย 1) โรงพยาบาลชมุ ชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 1 แห่ง คอื โรงพยาบาลสตั หีบ ก.ม. 10 (ขนาด 60 เตียง) 2) โรงพยาบาลทวั่ ไป สงั กดั กระทรวงกลาโหม จานวน 2 แห่ง (1) โรงพยาบาลอาภากรเกียรตวิ งศ์ (ขนาด 300 เตยี ง) (2) โรงพยาบาลสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิติ์ (ขนาด 700 เตียง) รวมจานวน 1,060 เตยี ง คดิ เป็นจานวนเตยี ง ต่อ จานวนประชากร เท่ากบั 1:122 3) มสี ถานอี นามัย จานวน 6 แห่ง 4) จานวนสถานพยาบาลเอกชน คลินิก จานวน 26 แหง่ 5) อัตราสว่ นระหว่างแพทย์กบั ประชากร (1) โรงพยาบาลชมุ ชนสตั หบี ก.ม. 10 มแี พทยจ์ านวน 4 คน (2) โรงพยาบาลอาภากรเกียรตวิ งศ์ มแี พทย์จานวน 15 คน (3) โรงพยาบาลสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ิ์ มแี พทยจ์ านวน 115 คน รวมทั้งหมด 134 คน อตั ราสว่ นจานวนแพทยต์ ่อจานวนประชากร 1:1,600 คน ด้ำนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดล้อม 1. แหลง่ น้าธรรมชาติ สตั หีบมีชายฝั่งทะเลยาว ประมาณ 30 กิโลเมตร และรับผิดชอบชายฝ่งั ทะเลทั้งหมด 390 ตารางกโิ ลเมตร นา้ เคม็ เหลา่ นี้ คอื แหล่งทีอ่ ยูอ่ าศยั ของปลา และเป็นอาชีพของชาวประมง ไมม่ แี มน่ ้าใหญเ่ ปน็ สายหลักเลย เพราะไมม่ ีภเู ขาขนาดใหญ่พอทีจ่ ะเปน็ ตน้ น้าลาธารได้ มีเพยี งลาหว้ ยลาคลอง ขนาดเล็ก 2. ปา่ ไม้ อาเภอสัตหบี มพี นื้ ท่ปี ่าไม้ มีเพยี งเขตปา่ สงวนแห่งชาติ ท่ตี าบลพลตู าหลวง จานวน 930 ไร่ เท่านนั้ ซึ่งปจั จบุ ันเป็นป่าเสือ่ มโทรม 3. ดนิ และแร่ธาตุ ไม่มีแร่ธาตสุ าคญั

36 4. ปญั หามลภาวะและสิ่งแวดลอ้ ม อาเภอสตั หบี มปี ัญหาเกย่ี วกบั มลภาวะและสง่ิ แวดล้อมบา้ ง บริเวณชายทะเล ท่มี กี ารปลอ่ ยนา้ เสยี ลงสูท่ ะเลของโรงงาน และโรงแรมตา่ ง ๆ ทตี่ ั้งอยู่บริเวณชายทะเล ตลอดจนการประกอบอาชีพประมง ทาใหม้ ปี ัญหาเก่ยี วกับสิง่ ปฏกิ ลู น้าเสีย และพบว่ามสี ิ่งปนเปือ้ นในน้าทะเล ทไ่ี ม่เหมาะสมกบั การลงเล่นน้าในทะเล ขอ้ มลู สถำนศึกษำ ขอ้ มูลพ้นื ฐาน ประวัติ ทตี่ ง้ั ชื่อสถานศกึ ษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสัตหีบ อยู่ : 1020/7 หมู่ที่ 1 อาเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบรุ ี รหสั ไปรษณีย์ 20180 เบอร์โทรศพั ท์ : 038-439-076 เบอร์โทรสาร : 038-439-076 E-mail ตดิ ตอ่ : [email protected] สงั กดั : ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอสตั หีบ สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดชลบรุ ี สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร ประวตั ิควำมเปน็ มำของสถำนศึกษำ ประวตั ิสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสตั หีบ ประกาศจดั ต้ัง เมอ่ื วันที่ 4 เดือน มนี าคม พ.ศ. 2551 ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรื่อง จดั ตงั้ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศั ย จังหวัดชลบุรี สถานภาพเป็นสถานศึกษาในราชการส่วนกลาง สังกดั สานักงานการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ อาณาเขตท่ตี ้งั สถานศึกษา อาเภอสัตหีบตั้งอยู่ทางทศิ ใต้ของ จงั หวัดชลบุรี ติดชายฝ่ังทะเลด้านทิศตะวนั ออกของอา่ วไทย อยหู่ ่างจากจังหวัดช ลบุรไี ปทางทิศตะวนั ออก ตาม ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3 (ถนนสขุ ุมวทิ ) ประมาณ 84 กิโลเมตร สภำพปจั จุบัน 2.1 บทบาทหนา้ ทขี่ องสถานศกึ ษา (1) จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (2) สง่ เสริม สนบั สนนุ และประสานภาคีเครอื ข่าย เพือ่ การจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตาม อธั ยาศยั (3) ดาเนนิ การตามนโยบายพเิ ศษของรฐั บาลและงานเสริมสร้างความมัน่ คงของชาติ (4) จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศกึ ษาตามโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริ ในพื้นท่ี (5) จัด ส่งเสรมิ สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภมู ิปัญญาท้องถิ่น (6) วจิ ัยและพฒั นาคุณภาพหลกั สตู ร สื่อ กระบวนการเรยี นรู้ และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ (7) ดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน การเทยี บโอนความรูแ้ ลประสบการณ์ (8) กากับ ดแู ล ตรวจสอบ นเิ ทศภายใน ติดตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดาเนินงานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

37 (9) พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (10) ระดมทรพั ยากรเพอื่ ใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (11) ดาเนนิ การประกนั คุณภาพภายใน ใหส้ อดคล้องกับระบบ หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่กี าหนด (12) ปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย โครงสรำ้ งกำรบริหำร

38 ทำเนียบผู้บรหิ ำร ตำแหน่ง ระยะเวลำทีด่ ำรงตำแหนง่ ผอู้ านวยการ 2537 – 2541 ลำดบั ท่ี ชือ่ - สกลุ ผู้อานวยการ 2541 – 2548 1. นายอนชุ า พงษเ์ กษม ผอู้ านวยการ 2548 – 2552 2. นางสาวพวงสวุ รรณ์ พันธม์ ะม่วง ผูอ้ านวยการ 3. นายปฏญิ ญา ภู่พมุ่ ผูอ้ านวยการ ก.พ. 2552 – 14 ต.ค. 2552 4. นายนวิ ตั ิ สุขโพธิ์ ผอู้ านวยการ 15 ต.ค. 2552 – 18 ธ.ค. 2552 5. นายภชุ งค์ ฉิมพาลี (รก.) ผอู้ านวยการ 6. นายไพรตั น์ เน่อื งเกตุ 21 ธ.ค. 2552-9 ม.ค.2561 7. นางสุรสั วดี เลยี้ งสพุ งศ์ 10 ม.ค. 2561-ปจั จบุ นั ครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ตำแหน่ง ทต่ี ง้ั กศน.ตำบล กศน.อาเภอสตั หบี ชื่อ -สกุล ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสตั หีบ ตง้ั อยู่เลขที่ 1020/7 ครู หมทู่ ่ี 1 ตาบลสตั หีบ นางสุรสั วดี เลยี้ งสุพงศ์ ครูอาสาสมัคร กศน. อาเภอสตั หบี จงั หวดั นางสุพัด นาเจริญลาภ ครูผสู้ อนคนพกิ าร ชลบรุ ี นางภัทชา เอย่ี มอาษา เจ้าหน้าทบ่ี นั ทกึ ขอ้ มลู อาคารศนู ย์การเรียนรู้ นางไพลิน ทรัพยป์ ระเสริฐ เทศบาลตาบล นางสาวธญั ชนก สวุ รรณคา ครู กศน.ตาบลสัตหบี เขตรอดุ มศกั ด์ิ ครู กศน.ตาบลสตั หบี นางสาวสุภาวดี บางโสก ครู ศรช.ตาบลสตั หีบ วัดหนองจับเตา่ หมู่ที่ นางสาวปารย์พชิ ชา เจรญิ ศรี ครู ศรช.ตาบลสัตหบี 5 ตาบลนาจอมเทียน นางสาวฐติ มิ า ณ ลาพูน อาเภอสตั หีบ นางสาวเสาวนีย์ สนั ติวงษ์ ครู ศรช.ตาบลสัตหบี องค์การบรหิ ารสว่ น ครู ศรช.ตาบลสตั หบี ตาบลพลตู าหลวง นางสาวนวลจันทร์ นาครกั ษ์ ครู กศน.ตาบลนาจอมเทยี น 92 หม่ทู ี่ 2 ตาบล นางปิยวดี เตชะวงศ์ บางเสร่ อาเภอบางเสร่ นายวรี ากร มณที รัพยส์ ุคนธ์ ครู กศน.ตาบลนาจอมเทยี น จงั หวัดชลบุรี ครู ศรช.ตาบลนาจอมเทียน วดั ชอ่ งแสมสาร นางสาวจิราพร สโี สด ครู กศน.ตาบลพลูตาหลวง นางสาวกุสมุ า เพชรสีนวล หอ้ งสมดุ ประชาชน นางสาวสุภาภรณ์ นวมมา ครู กศน.ตาบลพลตู าหลวง “เฉลมิ ราชกุมารี” ครู กศน.ตาบลบางเสร่ นางสาวเกษนีย์ เดชรกั ษา ครู ศรช.ตาบลบางเสร่ นางสจุ นิ ดา บุพนมิ ติ ร นางสาวอาธสิ า สขุ โขเจริญ ครู ศรช.ตาบลบางเสร่ ครู กศน.ตาบลแสมสาร นาสาวสธุ ิดา เนาวรตั น์ ครู ศรช.ตาบลแสมสาร นางสาวประวณี า ดาวมณี นางสาวทตั พิชา นนทล์ ือชา บรรณารกั ษ์ บรรณารกั ษ(์ อตั ราจ้าง) นางสาวศริ ิทรพั ย์ กิตตภิ ิญโญวฒั น์ นางสาวพรทิพย์ พลอยประไพ

39 อาเภอสตั หบี เปำ้ หมำยกำรจดั กำรศกึ ษำ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมท้ังประชาชนทัว่ ไปไดร้ ับโอ กาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานการศกึ ษาต่อเน่ืองและการศึกษาตาม อัธยาศัยท่มี ีคณุ ภาพอย่างเท่าเทียมและทว่ั ถึงพร้อมทั้งสร้างและส่งเสรมิ ให้มีนิสยั รักการอา่ นเพื่อการแสวงหา ความร้ดู ้วยตนเองเป็นไปตามสภาพปัญหาและความต้องการของแตล่ ะกลุ่มเป้าหมายสร้างเสรมิ และปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรมและความเป็นพลเมอื งอนั นาไปสู่การยกระดบั คุณภาพชวี ิตและเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งให้ ชุมชนเพื่อพฒั นาไปส่คู วามม่นั คงและย่งั ยนื ทางด้านเศรษฐกิจสังคมวฒั นธรรมประวตั ศิ าสตรแ์ ละส่ิงแวดล้อม 2. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคสว่ นร่วมจัดสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการดาเนนิ งานการศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยรวมทั้งการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรยี นรขู้ องชุมชนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและปรชั ญาคิดเปน็ 3. สถานศึกษาพฒั นาสื่อและเสริมทกั ษะเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ในการยกระดบั คุณภาพในการจดั การ เรียนรเู้ พิ่มโอกาสการเรยี นรใู้ ห้กับประชาชนสามารถคดิ วิเคราะห์ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน สง่ เสริมการสรา้ ง มูลคา่ สนิ คา้ ผ่านศูนย์จาหน่ายสินคา้ และผลติ ภณั ฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center - OOCC) รวมท้งั แก้ปญั หาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4. บุคลากรของสถานศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบตั ิงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและระบบการบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล ปรัชญำ “คิดเปน็ ” ปรัชญา “คิดเปน็ ” มีแนวคดิ ภายใต้ความเช่อื ทว่ี า่ “คนเราสามารถพัฒนาการคิด การตดั สินใจ” ให้มี ประสิทธิภาพสงู ข้ึนได้ ด้วยการฝึกทักษะ การใช้ข้อมูลที่หลากหลายทั้งด้านตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และ วิชาการมาวิเคราะห์ เชอ่ื มโยง สัมพันธ์ สร้างสรรค์ เป็นแนวทาง วิธีการ สาหรับตนเอง แล้วประเมินตีค่า ตดั สินใจเพอื่ ตนเอง และชุมชน สังคม ซงึ่ เป็นลักษณะของคน “คิดเป็น” วิสัยทศั น์ ภายในปี พ.ศ. 2564 กศน. อาเภอสตั หีบ การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐานอย่างมี คณุ ภาพให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 พนั ธกิจ เพ่ือให้การดาเนินงานจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เปน็ ไปตามวิสยั ทัศน์ และ สอดคล้องกับปรัชญา “คิดเปน็ ” มพี ันธกจิ ดังน้ี 1. จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานใหก้ ับผู้เรยี นสามารถช้นี าตนเองในการเรียนรู้ เขา้ ส่รู ะบบเศรษฐกจิ พอเพียงไต้ดว้ ยการพัฒนาประสิทธภิ าพการคิดดัดสินใจ 2. จัดการเรียนเพ่ือพฒั นาประสิทธิภาพการคิด ตัดสินใจของผู้เรยี นด้วยการพัฒนาทักษะการ แสวงหาความรู้ และการเรียนรว่ มกนั ของคนในชมุ ชน 3. สนับสนนุ สง่ เสริมให้ภาคีเครือข่ายร่วมมอื จดั การศึกษานอกระบบ เพ่ือตอบสนองความต้องการ พัฒนาการเรยี นรู้ของภาคีเครอื ข่าย ด้วยการใช้องค์ความรู้และปัจจัยดาเนินการของตนเอง ใหส้ อดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้

40 4. พฒั นาประสิทธภิ าพของสถานศกึ ษา ให้สามารถจัดการศึกษาได้ตามปรัชญาและวสิ ัยทัศน์ของ สถานศึกษาดว้ ยการประกันคณุ ภาพการศึกษา หลกั กำร 1. เป็นหลักสูตรท่ีม'ี โครงสร้างยดื หยุน่ ด้านสาระการเรียน! เวลาเรยี น และการจัดการเรียน โดยเน้น การบูรณาการเน้อื หาใหส้ อดคล้องกบั วิถีชีวติ ความแตกตา่ งของบุคคล และชุมชน สังคม 2. สง่ เสริมให้มีการเทียบโอนผลการเรยี นจากการศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษา ตามอัธยาศัย 3. สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นได้พัฒนาและเรียน!อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตโดยตระหนกั ว่าผู้เรยี นมีความสาคัญ สามารถพัฒนาตนเองไดต้ ามธรรมชาติและเต็มศกั ยภาพ 4. สง่ เสริมใหภ้ าคีเครอื ขา่ ยมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา จุดมุ่งหมำย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราชการ 2551 มุ่งพัฒนาใหผ้ ู้เรียนมี คณุ ธรรม จริยธรรม มสี ติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีศกั ยภาพในการประกอบอาชีพ และการเรียนรู้อย่าง ตอ่ เนอื่ ง ซึ่งเป็นลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ที่ต้องการ จงึ กาหนดจุดหมาย ดงั ต่อไปน้ี 1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ มท่ดี ีงาม และสามารถอยู่ร่วมกนั ในสังคมอย่างสนั ตสิ ขุ 2. มคี วามรู้พน้ื ฐานสาหรบั การดารงชีวิต และการเรยี นรตู้ อ่ เนอ่ื ง 3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชพี ใหส้ อดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และตามทัน ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมอื ง 4. มีทักษะการดาเนินชีวิตท่ดี ี และสามารถจดั การกบั ชีวิต ชุมชน สงั คม ได้อยา่ งมีความสุข ตาม ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. มีความเข้าใจประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กฬี า ภูมปิ ัญญาไทย ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมของศาสนา ยดึ มัน่ ในวิถีชีวติ และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข 6. มจี ิตสานึกในการอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 7. เป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ มที ักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และบูรณาการ ความรมู้ าใชใ้ นการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ กล่มุ เปำ้ หมำย กลุ่มเกษตรกร กลมุ่ ผู้ใชแ้ รงงาน กล่มุ ผู้นาท้องถนิ่ กลมุ่ ผู้สูงอายุ กลมุ่ เดก็ ออกกลางคัน กรอบโครงสร้ำง 1. ระดับกำรศกึ ษำ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2. สำระกำรเรยี นรู้ สาระการเรียนประกอบด้วย 5 สาระ ดงั น้ี 1. สำระทักษะกำรเรยี นรู้ เป็นสาระเก่ียวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรยี นรู้ การ

41 จัดการ การคดิ เปน็ และการวิจยั อยา่ งงา่ ย 2. สำระควำมรพู้ ื้นฐำน เป็นสาระเกีย่ วกับภาษา และการสื่อสาร คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 3. สำระกำรประกอบอำชพี เป็นสาระเกยี่ วกบั การมองเห็นช่องทาง และการตัดสินใจประกอบ อาชพี ทกั ษะในอาชพี การจัดการอาชีพอยา่ งมีคณุ ธรรม และการพัฒนาอาชพี ใหม้ ่นั คง 4. สำระทกั ษะกำรดำเนินชีวิต เป็นสาระเกยี่ วกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สุขภาพอนามัย และความปลอดภยั ในการดาเนนิ ชวี ิต ศิลปะและสุนทรียภาพ 5. สำระกำรพฒั นำสงั คม เปน็ สาระท่ีเก่ยี วกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ที่พลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม 3. กิจกรรมพฒั นำคุณภำพชวี ติ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นกิจกรรมที่จดั ขึน้ เพื่อใหผ้ ู้เรียนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม 4. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดมาตรฐาน การเรียนรู้ ตามสาระการเรียนร้ทู ง้ั 5 สาระ ทเ่ี ปน็ ข้อกาหนดคณุ ภาพของผเู้ รยี น ดังน้ี 1. มำตรฐำนกำรเรียนรนู้ อกระบบระดบั กำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน เป็นมาตรฐานการเรยี นรู้ ในแต่ ละสาระการเรียนรู้ เม่ือผู้เรียนเรียนจบหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 2. มำตรฐำนกำรเรียนรรู้ ะดบั เป็นมาตรฐานการเรยี นรู้ในแตล่ ะสาระการเรียนรู้ เม่ือผู้เรียน เรียนจบในแต่ละระดบั ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 5. เวลำเรียน ในแตล่ ะระดับ ใช้เวลาเรยี น 4 ภาคเรียน ยกเวน้ กรณีทีม่ ีการเทยี บโอนผลการเรยี น ท้ังนี้ ผู้เรียน ตอ้ งลงทะเบียนเรียนในสถานศกึ ษาอยา่ งน้อย 1 ภาคเรียน 6. หน่วยกติ ใช้เวลาเรียน 40 ชวั่ โมง มีค่าเท่ากบั 1 หนว่ ยกติ

42 7. โครงสร้ำงหลักสตู รสถำนศกึ ษำ สถานศกึ ษาจัดทาโครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา โดยพจิ ารณาโครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา นอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ดงั น้ี โครงสรำ้ งหลักสูตรสถำนศกึ ษำ ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย หมำยเหตุ ท่ี สำระกำรเรียนรู้ วิชำบงั คบั วิชำเลอื ก เลือกบังคบั เลือกเสรี 1 ทกั ษะการเรียนรู้ 2 ความรพู้ ืน้ ฐาน 5 -- 3 การประกอบอาชพี 4 การดาเนนิ ชีวิต 20 3 - 5 การพฒั นาสงั คม 8 -- รวม กิจกรรมพฒั นำคุณภำพชวี ิต 5 -- 6 9 20 44 12 20 35 32 76 200 ช่ัวโมง หม ำยเหตุ วิชาเลือกใน แต่ละระดับ สถาน ศึกษา ต้ องจัดให้ผู้เรียน เรียน รู้จ า กกา ร ทา โครงงา น จานวนอย่างน้อย 3 หนว่ ยกิต สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ดังน้ี 1. สาระทกั ษะการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 5 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติทด่ี ตี อ่ การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง มาตรฐานที่ 1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติท่ดี ีต่อการใช้แหล่งเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 1.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการจดั การความรู้ มาตรฐานที่ 1.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติทดี่ ตี อ่ การคิดเป็น มาตรฐานท่ี 1.5 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติทีด่ ตี อ่ การวจิ ยั อย่างง่าย 2. สาระความรพู้ ื้นฐาน ประกอบดว้ ย 2 มาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานที่ 2.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะพืน้ ฐานเก่ียวกบั ภาษาและการสื่อสาร มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะพนื้ ฐานเกี่ยวกบั คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

43 3. สาระการประกอบอาชีพ ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ 3.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติทด่ี ีในงานอาชีพ มองเหน็ ชอ่ งทางและตดั สนิ ใจ ประกอบอาชพี ได้ตามความตอ้ งการ และศักยภาพของตนเอง มาตรฐานที่ 3.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะในอาชีพท่ีตัดสนิ ใจเลือก มาตรฐานที่ 3.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั การอาชีพอยา่ งมีคุณธรรม มาตรฐานที่ 3.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการพฒั นาอาชพี ให้มคี วามมัน่ คง 4. สาระทักษะการดาเนนิ ชีวติ ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานท่ี 4.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เจตคตทิ ีด่ เี กยี่ วกับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ สามารถประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิตได้อยา่ งเหมาะสม มาตรฐานท่ี 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคตทิ ดี่ ีเกย่ี วกบั การดูแล ส่งเสริมสขุ ภาพ อนามัยและความปลอดภัยในการดาเนนิ ชวี ติ มาตรฐานท่ี 4.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติที่ดเี ก่ยี วกับศิลปะและสุนทรยี ภาพ 5. สาระการพฒั นาสังคม ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานที่ 5.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนักถงึ ความสาคญั เกีย่ วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนามาปรบั ใชใ้ นการดารงชีวติ มาตรฐานท่ี 5.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณคา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรมประเพณี เพ่ือ การอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข มาตรฐานท่ี 5.3 ปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะเพือ่ ความสงบสุข ของสังคม มาตรฐานท่ี 5.4 มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ ความสาคญั ของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สงั คม หมำยเหตุ สาระการเรียนรู้พนื้ ฐาน มาตรฐานท่ี 2.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจทกั ษะพืน้ ฐานเก่ียวกบั ภาษาและการ ส่ือสาร ซึง่ ภาษาในมาตรฐานน้หี มายถึง ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ

44 สำระทักษะกำรเรยี นรู้ สำระทักษะกำรเรียนรู้ เป็นสาระทเ่ี ก่ียวกับการพัฒนาทกั ษะการเรียนรขู้ องผเู้ รียนในดา้ นการเรียนรู้ ด้วยตนเอง การใชแ้ หล่งเรยี นรู้ การจดั การความรู้ การคิดเป็น และการวิจัยอยา่ งงา่ ย โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่อื ให้ ผ้เู รียนสามารถกาหนดเป้าหมาย วางแผนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง เข้าถงึ และเลือกใช้แหลง่ เรียนรู้ จัดการความรู้ กระบวนการแก้ปัญหาและตดั สินใจอย่างมีเหตุผล ทสี่ ามารถใช้เป็นเครื่องมอื ในการช้นี าตนเองในการเรียนร้ไู ด้ ต่อเนอื่ งตลอดชีวติ สำระทักษะกำรเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 มำตรฐำน ดังนี้ มาตรฐานท่ี 1.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ การเรียนรดู้ ้วยตนเอง มาตรฐานที่ 1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ดตี ่อการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ มาตรฐานที่ 1.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคตทิ ดี่ ตี ่อการจัดการความรู้ มาตรฐานที่ 1.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ตี อ่ การคดิ เป็น มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคตทิ ีด่ ีต่อการวจิ ัยอย่างงา่ ย มำตรฐำนกำรเรยี นรรู้ ะดับ และผลกำรเรยี นรู้ทีค่ ำดหวังในแตล่ ะมำตรฐำน มำตรฐำนที่ 1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติทีด่ ตี อ่ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มำตรฐำน สามารถประมวลความรู้ ทางานบนฐานข้อมลู และมคี วามชานาญในการอา่ น กำรเรยี นร้รู ะดับ ทกั ษะจดบันทกึ เปน็ สารสนเทศอย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว ผลกำรเรยี นรู้ 1. ประมวลความรู้ และสรปุ เป็นสารสนเทศ ท่ีคำดหวัง 2. ทางานบนฐานขอ้ มลู ด้วยการแสวงหาความรจู้ นเปน็ ลกั ษณะนิสยั 3. มคี วามชานาญในทกั ษะการอา่ นทักษะการฟัง และทักษะการจดบนั ทึก อยา่ งคลอ่ งแคลว่ รวดเร็ว มำตรฐำนท่ี 1.2 มีความร้คู วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดตี ่อการใช้แหล่งเรียนรู้ มำตรฐำน สามารถวางแผนและใช้แหล่งเรยี นรูไ้ ดอ้ ย่างคล่องแคล่ว จนเป็นลักษณะนสิ ยั กำรเรียนร้รู ะดับ ผลกำรเรียนรู้ที่ 1. วางแผนการใช้แหลง่ เรยี นรู้ตามความต้องการจาเปน็ ของแต่ละบุคคล คำดหวัง 2. ใชแ้ หลง่ เรียนร้จู ากเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมตามความต้องการจาเปน็ 3. ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้อยา่ งแคล่วคล่องจนเป็นลกั ษณะนสิ ัย

45 มำตรฐำนท่ี 1.3 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ด่ี ีต่อการจัดการความรู้ มำตรฐำน สามารถสรปุ องค์ความรู้ใหม่ นาไปสรา้ งสรรค์สงั คมอุดมปัญญา กำรเรียนรู้ระดบั 1. ออกแบบผลิตภัณฑ์ สรา้ งสูตร สรปุ องค์ความรูใ้ หมข่ องขอบเขตความรู้ ผลกำรเรียนรู้ 2. ประพฤติตนเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรู้ ทคี่ ำดหวัง 3. สรา้ งสรรค์สงั คมอดุ มปญั ญา มำตรฐำนท่ี 1.4 มีความรู้ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ การคิดเป็น มำตรฐำน ความสามารถในการฝกึ ทกั ษะการคดิ เปน็ ท่ีซับซอ้ นเชื่อมโยงกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม กำรเรียนรู้ระดับ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับปรัชญาคดิ เป็น และสามารถระบุถึงปญั หาอปุ สรรคการพฒั นา ผลกำรเรียนรู้ กระบวนการ ทคี่ ำดหวัง คิด1เป. ็นอธแบิ ลาะยกหารรือแทกไ้บขทวนปรชั ญาคดิ เปน็ และการใช้ระบบข้อมลู ทางวชิ าการ ตนเอง และสงั คม สงิ่ แวดล้อม มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อประกอบกระบวนการคิด การ ตัดสนิ ใจ ในการแกป้ ัญหา 2. อธบิ ายและปฏิบัตกิ ารใชเ้ ทคนิควิธีการฝกึ ทักษะการคิดเป็นทซ่ี ับซ้อนและ นาคณุ ธรรม จริยธรรม ท่ีเก่ยี วข้องมาสง่ เสริมกระบวนการคิดเป็นให้มากข้นึ 3. อภปิ ราย ถกแถลงถงึ ปัญหาและอปุ สรรค ในการใช้กระบวนการคดิ เปน็ ประกอบ การแก้ปญั หา 4. เชื่อมโยงปรชั ญา คดิ เป็น กระบวนการเรียนรู้ การศึกษานอกระบบ 5. บอกลักษณะของคนคิดเปน็ ได้อยา่ งนอ้ ย 8 ประการ มำตรฐำนท่ี 1.5 มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติทีด่ ตี อ่ การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย มำตรฐำน สามารถวางแผนการวจิ ัย ดาเนนิ การตามแบบแผนอยา่ งถกู ตอ้ ง กำรเรยี นรู้ระดบั ผลกำรเรยี นรู้ 1. ออกแบบการวิจัย เพ่อื ค้นหาความรู้ ความจริงท่ตี ้องการคาตอบ ที่คำดหวงั 2. ดาเนนิ การตามแบบแผนการวิจัย และวเิ คราะห์ขอ้ มูล สรปุ สารสนเทศความรู้ ความจรงิ ทีต่ ้องการคาตอบ

46 สำระทกั ษะกำรเรียนรู้ รำยวิชำบังคับ มำตรฐำนที่ ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย 1.1-1.5 สำระ รหัสรำยวชิ ำ รำยวิชำบงั คบั หนว่ ยกิต ทักษะการเรยี นรู้ 5 ทร31001 ทกั ษะการเรยี นรู้ 5 รวม

47 คำอธิบำยรำยวชิ ำ ทร31001 ทกั ษะกำรเรียนรู้ จำนวน 5 หนว่ ยกติ ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรรู้ ะดับ 1. สามารถประมวลความรู้ ทางานบนฐานข้อมลู และมคี วามชานาญในการอ่าน ฟัง จดบนั ทึก เป็นสารสนเทศอย่างคลอ่ งแคลว่ รวดเรว็ 2. สามารถวางแผนและใชแ้ หล่งเรียนรไู้ ดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ จนเป็นลักษณะนิสัย 3. สามารถสรุปองค์ความรใู้ หม่ นาไปสร้างสรรค์สงั คมอดุ มปัญญา 4. ความสามารถในการฝึกทกั ษะ การคดิ เปน็ ที่ซับซ้อนเช่อื มโยงกับคณุ ธรรม จริยธรรม ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง กบั ปรชั ญาคดิ เป็น และสามารถระบุถงึ ปัญหาอุปสรรคการพัฒนากระบวนการคิดเป็น และการแก้ไข 5. สามารถวางแผนการวจิ ัย ดาเนนิ การตามแบบแผนอย่างถกู ตอ้ ง ศึกษำและฝึกทักษะเกย่ี วกับเร่อื งดงั ต่อไปน้ี 1. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 1.1 ทบทวนความหมาย ความสาคัญ และกระบวนการของการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 1.2 ฝึกทักษะพื้นฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ ทกั ษะการแกป้ ัญหาและเทคนคิ ในการเรยี นรดู้ ว้ ย ตนเอง ดา้ นการอ่าน การฟงั การสงั เกต การจา และการจดบนั ทกึ 1.3 ทบทวนการวางแผนการเรยี นรู้ และการประเมินผลการเรยี นรู้ด้วยตนเอง มีทกั ษะพื้นฐาน และเทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเองในเร่ืองการวางแผน การประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การวเิ คราะหว์ ิจารณ์ 1.4 ฝกึ ทักษะความรู้ ทกั ษะการพูด และการทาแผนผังความคดิ เจตคติ/ปจั จัย ท่ที าให้การเรียนรู้ ด้วยตน เองประสบควา มสาเร็จ การ เปิดรับโอกา สการ เรียนรู้ การ คิดริเริ่มและเรียน รู้ ด้วยตน เอง การสร้างแรงจูงใจ การสร้างวินยั ในตนเอง การคิดเชิงบวก ความคดิ สร้างสรรค์ ความรักในการเรยี น การใฝร่ ใู้ ฝ่ เรียน และความรบั ผิดชอบ 2. การใช้แหลง่ เรียนรู้ 2.1 ทบทวน ความหมาย ความสาคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้ 2.2 ทบทวนการใชห้ อ้ งสมุดประชาชน การเข้าถงึ สารสนเทศห้องสมุดประชาชน หอ้ งสมดุ อื่น ๆ แหล่งเรยี นรู้อน่ื ๆ ท่สี าคัญเชน่ ผ้รู ้ใู นชุมชน พิพธิ ภัณฑ์ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ สื่อมวลชน รวมท้งั การใช้อินเตอรเ์ น็ต เพือ่ การเรยี นรู้ของตนเอง 2.3 ศกึ ษา สารวจ แหล่งเรียนรู้ภายในชมุ ชน จดั กลุม่ ประเภท และความสาคญั 2.4 ศกึ ษาเรยี นร้กู บั ภูมิปญั ญา ปราชญ์ ผ้รู ้ใู นทอ้ งถ่นิ 3. การจัดการความรู้ 3.1 ทบทวนความหมาย ความสาคัญ หลกั การของการจดั การความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลมุ่ เพ่ือตอ่ ยอดความรู้ การพฒั นาขอบข่ายความรขู้ องกลุม่ การจัดทาสารสนเทศเผยแพรค่ วามรู้ 3.2 ฝึกทักษะกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและดว้ ยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ โดยการ กาหนด เป้าหมายการเรียนรู้ ระบคุ วามรู้ที่ต้องใช้ การแสวงหาความรู้ สรุปองคค์ วามรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ แลกเปล่ียน ความรู้ การรวมกลุ่มปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื ต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่มสรปุ องค์ ความรู้ของกลุ่ม จัดทาสารสนเทศองคค์ วามรู้ใหม่และการนาไปใช้ในการพัฒนาตนเองครอบครัว

48 4. การคดิ เป็น 4.1 ทบทวนความรคู้ วามเข้าใจ และความหมายของความเชื่อพ้ืนฐานทางการศกึ ษา/ การศกึ ษา นอกระบบและเชือ่ มโยงมาสกู่ ระบวนการคิดเป็น 4.2 ทบทวน ความหมาย ความสาคัญของการคิดเป็น กระบวนการคดิ การแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ กระบวนการคิดเปน็ 4.3 ศกึ ษารายละเอยี ดท่หี ลากหลายในเชงิ เปรียบเทียบของลกั ษณะข้อมลู ทางต้านวชิ าการ ตนเอง และ สังคม ส่ิงแวดลอ้ มที่แตกต่างกันไปของชุมชน วฒั นธรรม จารีตประเพณี สถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และ บุคคลเพื่อนามาขยายในการคิด การตัดสินใจอย่างคนคิดเป็น ศึกษาข้อมูลต้านคณุ ธรรม จริยธรรมท่ี เก่ียวข้องกับ บุคคล ครอบครัวและชุมชนมา เสริมควา มหมา ยกา รคิดเป็นให้เกิดสัน ติสุขที่ย่ังยืน ฝึกปฏิบัติการเกบ็ ข้อมลู การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ข้อมลู ในชุมชน เพอ่ื นามาประกอบการคิดการตัดสินใจ 4.4 ฝกึ ปฏิบตั ิการคิดการแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ การคิดเป็นทั้งจากกรณีตัวอยา่ งท่ีซับซ้อน และ หลากหลายโดยนาข้อมลู ต้านคุณธรรม จริยธรรม มาประกอบการคดิ การพจิ ารณาดว้ ย 4.5 ฝกึ การสรุปกระบวนการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการคิดเปน็ จากขอ้ มูลทเี่ กบ็ และวิเคราะหจ์ าก ชมุ ชน 5. การวจิ ยั อยา่ งง่าย 5.1 ทบทวนความหมาย ความสาคัญการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและข้ันตอนของการ ดาเนินงาน สถิติงา่ ย ๆ เพื่อการวจิ ัย เคร่อื งมอื การวจิ ยั และการเขียนโครงการวิจัยอยา่ งง่าย ๆ 5.2 ศึกษา ฝึกทกั ษะ การวิจยั ในบา้ น การเขยี นรายงานวิจยั การนาเสนอและเผยแพรง่ านวิจัย กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ 1. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ควรจดั ในลกั ษณะของการบูรณาการทักษะตา่ ง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณใ์ นการเรยี นรู้ ทห่ี ลากหลาย ซับซ้อน อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือ 1) ฝกึ ใหผ้ ูเ้ รียนไดก้ าหนดเป้าหมาย และวางแผนการเรยี นรู้ 2) เพ่ิมพนู ใหม้ ที ักษะพืน้ ฐานทกั ษะการพูด และการทาแผนผังความคิดโดยการปฏบิ ัติจริง 3) มีเจตคติที่ดตี อ่ การ เรียนรูด้ ้วยตนเองที่ทาให้การเรยี นรดู้ ้วยตนเองประสบผลสาเร็จ และนาความรู้ไปใช้ในวถิ ชี ีวติ ให้เหมาะสมกับ ตนเอง และชมุ ชน/สังคม 2. การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ ให้ผู้เรียนทกุ คนไปสารวจ ศึกษา รวบรวมแหลง่ เรยี นรู้ ภายในชมุ ชน จงั หวดั ประเทศ และโลก รวมทั้งการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สารสนเทศทีส่ นใจ ทาความเข้าใจ บทบาท หน้าที่ ข้อดขี ้อเสยี ของ แหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ 3. การจดั การความรู้ ศึกษาคน้ ควา้ หลกั การ และกระบวนการของการจดั การความรู้ การฝึกปฏบิ ตั จิ ริงโดยการรวมกลุ่ม ปฏบิ ตั ิการ/ชุมชนปฏบิ ตั ิการ (Community of Practice = CoP) สรุปองค์ความรขู้ องกลมุ่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ระหว่างกลุ่ม ยกระดับความร/ู้ สร้างองค์ความรู้ใหม่และจัดทาสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ ด้วยวิธีการท่ี หลากหลาย

49 4. การคดิ เป็น ให้ผู้เรียนได้มกี ารทบทวนทัง้ ความเชือ่ พืน้ ฐานทางการศึกษาผูใ้ หญ่ / กศน. ที่เชื่อมโยงไปส่ปู รัชญา คิดเป็น และกระบวนการคดิ การแกป้ ัญหาท่ีเป็นระบบ กระบวนการคิดเป็นท่ใี ช้ข้อมูลของการคดิ อย่างนอ้ ย 3 ประการ คอื ข้อมูลดา้ นวิชาการ ตนเอง และสังคม สิง่ แวดล้อม ให้ผ้เู รียนไดม้ ีการอภิปรายถกแถลงถึงประสบการณ์ในการคิดของตนเองทีผ่ ่านมาว่ามีการใช้ กระบวนการคดิ เป็น มากน้อยเพยี งใด มผี ลกระทบจากการคิดการตัดสนิ ใจแก้ปัญหาอย่างใด รวมถึงการใช้หลัก คณุ ธรรมจริยธรรมบรู ณาการเข้ากับกระบวนการคดิ เป็น เพอื่ ปรบั กระบวนการ คดิ เปน็ ท่ยี งั่ ยืน ใหผ้ ู้เรียนได้ฝกึ การเก็บขอ้ มูล การเลือกใช้ขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มลู การสงั เคราะห์ขอ้ มูล ใน ชุมชน และนามาฝึกปฏิบัตกิ ารแก้ปัญหา ในลักษณะการคดิ เป็นที่มีขอ้ มลู คุณธรรม จริยธรรม บรู ณาการด้วย เหมือนการคดิ ทยี่ ่ังยนื ให้มกี ารสรุปรายงานการคิดแก้ปัญหาด้วยกระบวนการคดิ เป็น เพื่อจัดทาเป็นร่องรอยในแฟ้ม ผลงาน 5. การวจิ ยั อย่างงา่ ย จดั ให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นควา้ เอกสารที่เก่ยี วข้อง การใช้เทคโนโลยีเพื่อสืบค้นขอ้ มลู ฝึกทักษะ การสังเกตและค้นหาปญั หาท่ีพบในชีวิตประจาวัน/ในการประกอบอาชีพ/ในสาระท่ีเรียนการตงั้ คาถาม การแลกเปล่ียนเรยี นรกู้ ับเพ่ือน/ผรู้ ู้ การคาดเดาคาตอบอย่างมเี หตุผล การปฏิบัติการเขยี นโครงการวิจยั ตาม หลกั การ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การสร้างเครือ่ งมอื การวเิ คราะห์ข้อมลู โดยใช้สถิติอย่างงา่ ย ๆ ที่เหมาะสมกับ ข้อมูล การนา เสนอข้อมูล การสรุปข้อมูลและเขียนรายงานผลตามหลักการ การเผยแพร่ข้อค้นพบ ด้วยวิธีการหลากหลาย กำรวัดและประเมินผล 1. การเรียนรู้ด้วยตนเอง ใชก้ ารประเมินจากสภาพจริงของผเู้ รยี นที่แสดงออกเกยี่ วกับ การกาหนดเป้าหมาย และวางแผน การเรียนรู้ รวมทักษะพื้นฐานและเทคนิคในการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนปจั จัยท่ีทาให้การเรียนรู้ประสบ ความสาเรจ็ 2. การใช้แหล่งเรยี นรู้ ผลงานจากการศกึ ษาสารวจ และการนาไปใชป้ ระโยชน์ 3. การจดั การความรู้ ประเมนิ จากสภาพจรงิ โดย การสงั เกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีสว่ นรว่ ม การให้ ความร่วมมอื ในกล่มุ ปฏิบัตกิ าร ผลงาน/ช้ินงานจากการรวมกลุ่มปฏิบตั ิการ ใชว้ ธิ ีการประเมินแบบมีสว่ นรว่ ม ระหวา่ งครู ผู้เรียน และผูเ้ กย่ี วข้องร่วมกันประเมินตคี ่าความสามารถ ความสาเรจ็ กับเป้าหมายท่กี าหนดไว้ และ ระบุขอ้ บกพรอ่ งท่ตี อ้ งแกไ้ ข สว่ นท่ีทาได้ดีแล้วกพ็ ฒั นาให้ดียง่ิ ขึน้ ต่อไป 4. การคิดเปน็ ประเมินจากการเก็บรวบรวมข้อมลู การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจแก้ปัญหาจากข้อมลู ตาม ขอ้ เท็จจรงิ ประเมินจากการใช้ข้อมลู ท่เี หมาะสม สอดคลอ้ ง เพียงพอ น่าเช่อื ถือ ประเมินจากการมีสว่ นร่วมใน กจิ กรรม และการอภปิ รายถกแถลง และความพอใจในการแกป้ ญั หาด้วยวธิ คี ดิ เปน็ อย่างย่ังยืน 5. การวจิ ยั อยา่ งงา่ ย ประเมินจากสภาพจริงโดย การสงั เกต ความสนใจ การมสี ว่ นร่วม ความร่วมมอื จากผลงาน / ชิ้นงานที่มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติ ในระหวา่ งเรียน และการสอบปลายภาคเรียน

50 รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำ ทร 31001 ทกั ษะกำรเรยี นรู้ จำนวน 5 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั 1. สามารถประมวลความรู้ ทางานบนฐานข้อมลู และมีความชานาญในการอา่ น ฟงั จดบันทึก เป็นสารสนเทศอย่างคลอ่ งแคล่วรวดเรว็ 2. สามารถวางแผนและใช้แหล่งเรยี นร้ไู ด้อยา่ งคล่องแคลว่ จนเปน็ ลกั ษณะนสิ ัย 3. สามารถสรุปองคค์ วามรูใ้ หม่ นาไปสร้างสรรคส์ งั คมอดุ มปัญญา 4. ความสามารถในการฝึกทักษะการคิดเปน็ ท่ซี ับซอ้ นเชอื่ มโยงกับคุณธรรม จรยิ ธรรม ทเี่ กี่ยวข้องกับ ปรัชญาคิดเป็น และสามารถระบุถึงปญั หาอุปสรรคการพัฒนากระบวนการคดิ เป็น และการแกไ้ ข 5. สามารถวางแผนการวิจยั ดาเนินการตามแบบแผนอย่างถูกต้อง ที่ หัวเรอื่ ง ตัวช้ีวัด จำนวน เนื้อหำ (ชว่ั โมง) 1 การเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสาคัญ 1. ความหมาย ความสาคัญ และ 5 10 ด้วยตนเอง และกระบวนการของการเรยี นรู้ กระบวนการของการเรียนร้ดู ว้ ย 15 ดว้ ยตนเอง ตนเอง 10 2. ปฏบิ ัตกิ ารอกี ทักษะพ้ืนฐานทาง 2. ทักษะพนื้ ฐานทางการศึกษาหา การศึกษาหาความรู้ ทักษะการ ความรู้ ทักษะการแก้ปญั หาและ แกป้ ญั หาและเทคนิคในการเรียนรู้ เทคนคิ ในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง ด้วยตนเองและการวางแผนการเรียนรู้ รวมทงั้ การวางแผนการเรียนรู้ และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้วย และการประเมินผลการเรียนรู้ ตนเอง ดว้ ยตนเอง 3. ปฏบิ ัตทิ ักษะการพดู และการทา 3. ทกั ษะการพูดและการทาแผนผงั แผนผังความคิด ความคดิ 4. อธิบายปจั จยั ทท่ี าให้การเรียนรู้ 4. ปจั จยั ที่ทาให้การเรยี นรดู้ ้วย ด้วยตนเองประสบความสาเรจ็ ตนเองประสบความสาเรจ็ 2 การใช้ 1. อธิบายความหมาย ความสาคัญ 1. ความหมาย ความสาคญั ประเภท 10 แหล่งเรยี นรู้ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ การใช้หอ้ งสมุด แหล่งเรียนรู้ เข้าถึงสารสนเทศ และ แหลง่ เรียนร้อู นื่ ๆ แหลง่ เรยี นรู้อนื่ ๆ ท่สี าคัญ รวมท้งั ท่ีสาคัญ รวมทงั้ การใช้อินเทอร์เน็ต การใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต 2. บง่ ช้ขี ้อดขี ้อเสียของแหลง่ เรียนรู้ 3. ปฏิบัติการเรยี นรู้คบั แหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ได้เหมาะสม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook