Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสังคมใหม่ 2564

หลักสูตรสังคมใหม่ 2564

Description: หลักสูตรสังคมใหม่ 2564

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และคาสัง่ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาสั่งให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปี การศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ และ ๔ ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็น หลกั สูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเ้ ป็นเป้าหมายและกรอบทิศทาง ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายและเป้าหมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ัดที่กาหนดไว้ในเอกสารน้ี ชว่ ยทาให้หน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง ในทกุ ระดับ เห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถช่วยให้ หน่วยงานที่เก่ียวข้องในระดับท้องถ่ินและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทาให้การจัดทา หลักสตู รในระดบั สถานศกึ ษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงขึ้น อีกทั้งยงั ชว่ ยใหเ้ กดิ ความชดั เจนเรอ่ื งการ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนา หลักสูตรในทกุ ระดับตั้งแต่ระดับชาตจิ นกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชวี้ ัดทก่ี าหนดไว้ในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน รวมทัง้ เป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษา ทกุ รูปแบบ และครอบคลมุ ผู้เรยี นทกุ กล่มุ เป้าหมายในระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน การจดั หลกั สตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐานจะประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายทคี่ าดหวงั ได้ ทุกฝา่ ย ที่ เกีย่ วข้องท้งั ระดบั ชาติ ชมุ ชน ครอบครวั และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยรว่ มกนั ทางานอย่างเป็นระบบ และ ตอ่ เนอื่ ง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไ้ ข เพื่อพัฒนาเยาวชน ของชาติไปสคู่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ท่ีกาหนดไว้ หลกั สูตรสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

สำรบญั เรอื่ ง หน้ำ ส่วนท่ี ๑ วิชำสังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม 4 ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ 16 ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ 29 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ 41 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ 55 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ 68 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ อภิธานศพั ท์ 110 สว่ นท่ี ๒ วิชำประวตั ิศำสตร์ 115 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลางชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ 120 ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒ 125 ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ 131 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ 137 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ 145 อภธิ านศพั ท์ 150 สว่ นที่ ๓ วิชาการปอ้ งกันการทจุ รติ ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ หลักสตู รสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

สำรบัญ(ต่อ) หนำ้ 155 เร่อื ง 161 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ 167 ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ 173 ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ 179 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๖ สว่ นท่ี ๔ เกณฑ์กำรจบกำรศึกษำ ภำคผนวก หลกั สูตรสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

กล่มุ สำระกำรเรียนรู้สงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม ทำไมตอ้ งเรยี นสังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม สงั คมโลกมกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็วตลอดเวลา กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษยด์ ารงชีวติ อย่างไร ทัง้ ในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ รว่ มกนั ในสังคม การปรบั ตวั ตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรทมี่ ีอยูอ่ ยา่ งจากัด นอกจากน้ี ยงั ชว่ ยให้ ผู้เรียนเขา้ ใจถงึ การพฒั นา เปล่ยี นแปลงตามยคุ สมัย กาลเวลา ตามเหตปุ ัจจยั ตา่ งๆ ทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจใน ตนเอง และผู้อ่ืน มคี วามอดทน อดกลัน้ ยอมรับในความแตกตา่ ง และมีคณุ ธรรม สามารถนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ น การดาเนนิ ชวี ิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสงั คมโลก เรยี นรู้อะไรในสงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมวา่ ดว้ ยการอยรู่ ่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อม สัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เปน็ พลเมอื งดี มีความรับผดิ ชอบ มีความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม โดยไดก้ าหนดสาระต่างๆ ไว้ ดังน้ี ศำสนำ ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคดิ พ้นื ฐานเกีย่ วกบั ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมท้ังบาเพ็ญ ประโยชนต์ อ่ สังคมและสว่ นรวม หน้ำทพี่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และกำรดำเนนิ ชีวติ ระบบการเมืองการปกครองในสังคม ปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การ เป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้าน ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าท่ี เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขใ น สงั คมไทยและสงั คมโลก เศรษฐศำสตร์ การผลิต การแจกจา่ ย และการบริโภคสินคา้ และบรกิ าร การบริหารจดั การ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจ พอเพยี งไปใช้ในชีวิตประจาวนั ภมู ศิ ำสตร์ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหลง่ ทรพั ยากร และ ภมู ิอากาศของประเทศไทย และภมู ิภาคตา่ งๆ ของโลก การใช้แผนที่และเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ ความสมั พันธ์ กันของสง่ิ ตา่ งๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพนั ธข์ องมนษุ ยก์ บั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิง่ ทีม่ นุษย์ สรา้ งข้นึ การนาเสนอข้อมลู ภมู ิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิง่ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาท่ยี งั่ ยืน

๑ สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระที่ 1 ศำสนำ ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ และศาสนาอื่น มศี รัทธาท่ีถกู ต้อง ยดึ ม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพือ่ อยู่รว่ มกันอยา่ งสันติสขุ มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนบั ถอื สำระที่ 2 หนำ้ ที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และกำรดำเนนิ ชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ขี องการเป็นพลเมอื งดี มีค่านยิ มท่ีดงี าม และ ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่าง สนั ตสิ ุข มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ สำระท่ี 3 เศรษฐศำสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภคการใช้ ทรพั ยากรที่มอี ยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคมุ้ คา่ รวมทัง้ เขา้ ใจ หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพอื่ การดารงชีวิตอย่างมดี ลุ ยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ และความจาเปน็ ของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก สำระท่ี 5 ภมู ิศำสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลก และความสมั พันธ์ของ สรรพสิง่ ซึ่งมีผล ตอ่ กนั ใชแ้ ผนทแี่ ละเครื่องมอื ทางภูมิศาสตรใ์ น การค้นหา วเิ คราะห์ และ สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง ภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู สิ ารสนเทศอยา่ ง มีประสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างมนุษย์กับสิง่ แวดล้อมทางกายภาพท่ี กอ่ ใหเ้ กิดการ สร้างสรรค์วิถกี ารดาเนนิ ชวี ิต มจี ิตสานกึ และมี ส่วนร่วมในการจัดการ ทรพั ยากร และสิ่งแวดล้อมเพือ่ การพฒั นา ท่ยี ง่ั ยืน หลกั สตู รสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๒ โครงสรำ้ งเวลำเรียน หลักสตู รโรงเรยี นวดั พชื นิมติ (คาสวสั ดิ์ราษฎรบ์ ารงุ ) ไดก้ าหนดเวลาเรียนของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ทีเ่ ปน็ เวลา เรยี นพื้นฐาน เวลาเรยี นเพมิ่ เตมิ และเวลาในการจดั กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น จาแนกแต่ละชนั้ ปี ดังนี้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้/กิจกรรม เวลำเรยี นระดับประถมศกึ ษำ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ • กล่มุ สาระการเรยี นรู้ 200 200 200 ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ภำษำไทย คณติ ศำสตร์ 200 200 200 ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ 120 120 120 สังคมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม 40 40 40 80 80 80 ประวตั ิศำสตร์ 40 40 40 40 40 40 สุขศึกษำและพลศกึ ษำ 40 40 40 80 8๐ 80 ศิลปะ 40 40 40 40 4๐ 40 กำรงำนอำชีพ ๔๐ ๔๐ 40 4๐ 4๐ 40 ภำษำองั กฤษ 160 160 160 120 120 120 รวมเวลำเรียน (พ้นื ฐำน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘4๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘4๐ • รำยวชิ ำเพ่มิ เติม ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 40 40 40 40 40 40 การปอ้ งกันการทุจรติ 40 40 40 40 40 40 รวมเวลำเรยี น (เพ่มิ เติม) 80 80 80 80 80 80 • กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น แนะแนว 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ ลูกเสอื -เนตรนารี 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ชุมนมุ 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ รวมเวลำ กิจกรรมพัฒนำผูเ้ รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลำเรียนตำมโครงสรำ้ งหลักสตู ร ๑,040 ๑,040 ๑,040 ๑,040 ๑,040 ๑,040 คำอธบิ ำยประกอบโครงสร้ำงหลกั สูตร ๑.การจัดโครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ๒.การจัดโครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔-๖ จานวน ๘๐ ชวั่ โมง หลกั สตู รสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๓ สงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม หลักสตู รสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๔ ตวั ชว้ี ดั และสำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง กลุม่ สำระสังคมศกึ ษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม ชั้นประถมศกึ ษำปที ี่ ๑ สำระท่ี มำตรฐำนที่ ตัวชีว้ ดั สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง* สาระที่ ๑ ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจ ๑. บอกพุทธประวัติ หรือประวัติ พทุ ธประวัตโิ ดยย่อ ศาสนา ศีลธรรม ประวัติ ความสาคัญ ของศาสดาทตี่ นนับถอื โดยสงั เขป - ประสตู ิ - ตรสั รู้ จริยธรรม ศาสดา หลักธรรมของ - ปรนิ ิพพาน พระพุทธศาสนาหรือ พุทธสาวก พุทธสาวกิ า - สามเณรบัณฑติ ศาสนาท่ตี นนับถือและ ๒. ชื่นชมและบอกแบบอยา่ งการ ศาสนาอ่นื มีศรทั ธาที่ ดาเนนิ ชีวติ และข้อคดิ จาก ศาสนกิ ชนตัวอย่าง - พระบาทสมเดจ็ พระ ถกู ต้อง ยดึ มน่ั และ ประวตั สิ าวก ชาดก/เร่ืองเลา่ เจ้าอยู่หวั ภมู ิพลอดุลยเดช ปฏิบตั ติ ามหลักธรรม และศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง เพ่ืออยรู่ ่วมกนั อย่าง ตามทีก่ าหนด พระรตั นตรยั สันตสิ ขุ ๓. บอกความหมาย ความสาคัญ - ศรทั ธาพระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ์ และเคารพพระรตั นตรัย ปฏิบัติ โอวาท ๓ ตามหลกั ธรรมโอวาท ๓ ใน - ไมท่ าชัว่ พระพทุ ธศาสนาหรือหลักธรรม - ทาความดี ของศาสนาท่ตี นนับถือตามที่ - ทาจติ ให้บริสทุ ธิ์ กาหนด (บรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญา) ๔. เห็นคณุ คา่ และสวดมนต์ แผ่ - ฝึกสวดมนต์และแผ่ เมตตา มสี ตทิ ่เี ปน็ พ้ืนฐานของ เมตตา สมาธิในพระพทุ ธศาสนา หรอื - ความหมายและ การพัฒนาจิต ตามแนวทางของ ประโยชน์ของสติ ศาสนาท่ตี นนับถือตามที่กาหนด - ฟังเพลงและร้องเพลง อยา่ งมสี ติ ส ๑.๒ เขา้ ใจ ๑. บาเพญ็ ประโยชน์ต่อวัด - เล่นและทางานอยา่ งมสี ติ - ฝึกให้มสี ติในการฟงั การ ตระหนักและปฏบิ ตั ิตน หรอื ศาสนสถานของศาสนาท่ีตน อา่ นการคิด การถามและการ เขยี น เปน็ ศาสนิกชนทีด่ ี นับถือ - การบาเพญ็ ประโยชนต์ อ่ และธารงรักษา วัดหรือศาสนสถาน - การพฒั นาทาความ พระพุทธศาสนาหรือ สะอาด ศาสนาที่ตนนับถือ - การบรจิ าค - การรว่ มกจิ กรรมทาง ศาสนา หลักสตู รสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

๕ สำระที่ มำตรฐำนท่ี ตัวช้วี ัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง* ๒. แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ หรอื แสดงตนเปน็ ศาสนิกชน ของศาสนาท่ตี นนับถือ ๓. ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธี - การปฏบิ ตั ติ นในวนั สาคญั พิธกี รรม และวันสาคัญทาง ทางศาสนา ศาสนา ตามท่ีกาหนดไดถ้ ูกต้อง - เขา้ ร่วมกิจกรรมในวนั สาคัญ - วันวสิ าขบชู า - การบูชาพระรัตนตรัย สาระท่ี ๒ ส ๒.๑ เขา้ ใจและ ๑. บอกประโยชนแ์ ละปฏบิ ตั ิตน การเปน็ สมาชิกท่ีดขี อง หนา้ ที่พลเมือง ปฏิบตั ติ นตามหนา้ ที่ เป็นสมาชกิ ทด่ี ีของครอบครัวและ ครอบครัวและโรงเรียน เชน่ วฒั นธรรม ของการเป็นพลเมอื งดี โรงเรยี น - กตัญญูกตเวทีและเคารพ และการดาเนนิ มีค่านิยมทด่ี งี าม และ ชวี ิตในสงั คม ธารงรักษาประเพณี รบั ฟงั คาสั่งสอนของพ่อ และวัฒนธรรมไทย แม่ ญาติผู้ใหญ่ ครู และผู้ ดารงชีวิตอยูร่ ่วมกันใน มีพระคุณ สงั คมไทย และ สงั คม - รจู้ ักกลา่ วคาขอบคุณ ขอ โลกอย่างสนั ตสิ ขุ โทษ การไหว้ผ้ใู หญ่ - ปฏิบัติตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ของ ครอบครัวและโรงเรียน - มีสว่ นร่วมในกิจกรรมของ ครอบครัวและโรงเรยี น - มเี หตผุ ลและยอมรบั ฟัง ความคดิ เห็นของผู้อ่ืน - มรี ะเบยี บวินัย มีนา้ ใจ ประโยชนข์ องการปฏิบตั ติ นเป็น สมาชิกทด่ี ขี องครอบครัวและ โรงเรยี น ๒. ยกตัวอย่างความสามารถและ ลักษณะความสามารถและ ความดขี องตนเอง ผ้อู น่ื และบอก ลักษณะความดีของตนเองและ ผลจากการกระทานนั้ ผู้อน่ื เช่น ความกตัญญูกตเวที - ความมีระเบียบวินัย - ความรับผิดชอบ - ความขยัน อดทนอดกล้ัน หลกั สตู รสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

๖ สำระที่ มำตรฐำนที่ ตัวช้ีวัด สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง* - การเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ และ สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ ชว่ ยเหลือผอู้ ื่น - ความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ - ความเมตตากรณุ า ผลของการกระทาความดี เชน่ ภาคภมู ใิ จ มีความสขุ ไดร้ ับการ ช่ืนชม ยกยอ่ ง ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบ ๑. บอกโครงสร้าง บทบาทและ - โครงสร้างของครอบครัวและ การเมืองการปกครอง หนา้ ทขี่ องสมาชกิ ในครอบครัว ความสมั พนั ธข์ องบทบาท ในสงั คมปจั จุบนั ยดึ และโรงเรียน หนา้ ทข่ี องสมาชกิ ในครอบครัว- มน่ั ศรัทธา และธารง - โครงสร้างของโรงเรียน รักษาไว้ซึ่งการปกครอง ความสมั พนั ธ์ของบทบาท ระบอบประชาธิปไตย หนา้ ท่ขี องสมาชกิ ในโรงเรยี น อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ - ความหมายและความ ทรงเป็นประมขุ ๒. ระบบุ ทบาท สิทธิ หน้าท่ี แตกต่างของอานาจตามบทบาท ของตนเองในครอบครัว สทิ ธิ หน้าทีใ่ นครอบครวั และ และโรงเรียน โรงเรียน ๓. มีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจและ - การใช้อานาจในครอบครวั ทากิจกรรมในครอบครัวและ ตามบทบาท สทิ ธิ หนา้ ที่ โรงเรยี นตามกระบวนการ - กจิ กรรมตามกระบวนการ ประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตยในครอบครวั เชน่ การแบง่ หน้าทค่ี วาม ส ๓.๑ เข้าใจและ ๑. ระบสุ นิ ค้า และบริการท่ีใช้ รบั ผดิ ชอบในครอบครวั การ สามารถบรหิ ารจดั การ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน รับฟงั และแสดงความคิดเห็น ทรัพยากรในการผลิต - กจิ กรรมตามกระบวนการ และการบริโภคการใช้ ประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น เช่น ทรัพยากรทม่ี ีอยจู่ ากดั เลอื กหัวหนา้ ห้อง ประธาน ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ชมุ นุม ประธานนกั เรยี น - สนิ ค้าและบริการทใ่ี ชอ้ ยใู่ น ชีวติ ประจาวนั เชน่ ดนิ สอ ปากกากระดาษ ยาสฟี นั - สนิ คา้ และบรกิ ารทไ่ี ด้มา จากการใชเ้ งนิ ซื้อ เช่น ซื้อ อาหารจา่ ยคา่ บริการโทรศัพท์ หลกั สตู รสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๗ สำระท่ี มำตรฐำนที่ ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง* - วิธีการใชป้ ระโยชนจ์ าก สาระท่ี ๕ และคุ้มค่า รวมทงั้ สนิ คา้ และบริการ ให้คุ้มค่า ภูมิศาสตร์ - การใชจ้ ่ายเงนิ ใน เข้าใจ หลกั การของ ชีวิตประจาวนั เพ่ือซื้อสนิ คา้ และบริการ เศรษฐกิจพอเพียง ๒. ยกตัวอย่างการใชจ้ ่ายเงินใน - ประโยชน์ของการใช้จา่ ยเงิน เพ่อื การดารงชีวติ อยา่ ง ชวี ิตประจาวันท่ีไม่เกินตวั และเห็น ทไี่ ม่เกนิ ตวั - โทษของการใช้จ่ายเงินเกิน มดี ลุ ยภาพ ประโยชน์ของการออม ตวั - ประโยชน์ของการออม ๓. ยกตัวอยา่ งการใชท้ รัพยากรใน - ทรพั ยากรท่ีใช้ใน ชวี ติ ประจาวันอย่างประหยัด ชีวติ ประจาวันเชน่ ดินสอ กระดาษ เส้อื ผา้ อาหาร ส ๓.๒ เข้าใจระบบ ๑. อธบิ ายเหตผุ ลความจาเปน็ ท่ี ไฟฟ้า น้า - ทรพั ยากรทีเ่ ป็นสมบัติ และสถาบนั ทาง คนต้องทางานอยา่ งสจุ ริต ส่วนรวม เช่น โต๊ะ เกา้ อี้ นกั เรียน สาธารณูปโภคต่าง เศรษฐกิจตา่ ง ๆ ๆ - วิธกี ารใชท้ รพั ยากร ทง้ั ของ ความสัมพนั ธท์ าง สว่ นตวั และส่วนรวมอย่าง ถกู ต้องและประหยัดและ เศรษฐกจิ ค้มุ ค่า - ความหมาย ประเภท และ และความจาเป็นของ ความสาคญั ของการทางาน - ผลของการทางานประเภท การรว่ มมอื กนั ทาง ต่าง ๆ ท่ีมีต่อครอบครัว และ สังคม เศรษฐกจิ ในสงั คมโลก - การทางานอยา่ งสุจรติ ทาให้ สังคมสงบสขุ ส ๕.๑ เข้าใจลกั ษณะ ๑. จาแนกสง่ิ ต่างๆ รอบตวั ที่ - สิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว ท่ีเกิดขน้ึ ทางกายภาพของโลก เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติและท่ี เองตามธรรมชาติและที่ มนุษย์สร้างข้นึ และความสมั พนั ธ์ของ มนุษย์สร้างขึ้น - ความสัมพันธข์ องตาแหนง่ ระยะ ทิศของส่งิ ต่างๆ สรรพสงิ่ ซงึ่ มีผลตอ่ กัน ๒. ระบุความสมั พันธ์ของ รอบตวั เช่น ท่อี ยู่อาศัย บ้าน ใชแ้ ผนท่ีและ เพอ่ื นบ้าน ต้นไม้ ถนน ทุ่ง ตาแหนง่ ระยะ ทิศของสิง่ ต่างๆ เครื่องมือทาง ภมู ิศาสตรใ์ นการค้นหา หลักสตู รสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๘ สำระที่ มำตรฐำนที่ ตวั ชีว้ ดั สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง* วิเคราะห์ และสรปุ นา ไร่ สวน ทร่ี าบ ภเู ขา ข้อมลู ตาม แหลง่ น้า กระบวนการทาง - ทศิ หลัก(เหนือ ตะวนั ออก ภมู ศิ าสตร์ ใต้ตะวนั ตก) และที่ตัง้ ของสิ่ง ตลอดจนใชภ้ ูมิ ตา่ ง ๆ รอบตวั สารสนเทศอยา่ งมี ๓. ใช้แผนผังง่าย ๆ ในการแสดง - แผนผงั แสดงตาแหน่งสิ่ง ประสทิ ธภิ าพ ตาแหน่งของสิ่งตา่ งๆ ใน ตา่ งๆ ในห้องเรยี น หอ้ งเรียน ๔. สังเกตและบอกการ - การเปลี่ยนแปลงของสภาพ เปล่ยี นแปลงของสภาพอากาศใน อากาศในรอบวนั เชน่ รอบวัน กลางวนั กลางคนื ความร้อน ของอากาศ ฝน -เมฆ-ลม ส ๕.๒ เข้าใจ ๑. บอกสงิ่ ต่าง ๆ ทเี่ กิดตาม - สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพที่มี ปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ ง ธรรมชาติทส่ี ง่ ผลต่อความเป็นอยู่ ผลตอ่ ความเป็นอยู่ของมนุษย์ มนษุ ย์กับ ของมนุษย์ เชน่ ทีอ่ ย่อู าศยั เคร่อื งแต่ง สภาพแวดลอ้ มทาง กายและอาหาร กายภาพที่ก่อให้เกดิ ๒. สงั เกตและเปรียบเทยี บการ - การเปลี่ยนแปลงของ การสรา้ งสรรค์วถิ ีการ เปลย่ี นแปลงของส่งิ แวดลอ้ มท่อี ยู่ ส่ิงแวดล้อมท่ีอยรู่ อบตัว ดาเนนิ ชวี ติ มจี ติ สานึก รอบตวั เพ่ือการปฏบิ ัตติ นอยา่ ง - อทิ ธพิ ลของสิง่ แวดล้อมที่ และมสี ว่ นร่วมในการ เหมาะสม สง่ ผลต่อการปฏบิ ัติตนอย่าง จดั การทรพั ยากรและ เหมาะสม ส่ิงแวดล้อม เพ่ือการ ๓. มีสว่ นรว่ มในการดูแล - การปฏบิ ัติตนในการรักษา พัฒนาทีย่ ง่ั ยนื สิง่ แวดล้อมทีบ่ า้ นและชน้ั เรยี น สิง่ แวดล้อมในบา้ นและชั้น เรยี น หลกั สูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๙ โครงสรำ้ งหลกั สูตรช้ันปี โครงสร้ำงหลกั สตู รชัน้ ประถมศึกษำปีที่ 1 รหัส กลุ่มสำระกำรเรียนร้/ู กจิ กรรม เวลำเรยี น(ชม./ปี) รำยวิชำพนื้ ฐำน (๘๔๐) ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย1 ๒๐๐ ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์1 ๒๐๐ ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 8๐ ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 1 4๐ ส ๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ 1 ๔๐ พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 1 ๔๐ ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ 1 ๔๐ ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี 1 ๔๐ อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ1 160 รำยวิชำเพมิ่ เติม (8๐) อ 11201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 40 ส ๑๑2๐3 การปอ้ งกนั การทุจริต 40 กจิ กรรมพฒั นำผ้เู รยี น (๑๒๐) แนะแนว 40 ลกู เสอื -เนตรนารี 40 กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ชมุ นุม 30 ๑,040 รวมเวลำเรียนตำมโครงสร้ำงหลักสูตร หลกั สตู รสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษำ ฯ ๑๐ ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน กล่มุ สำระกำรเรียนรูส้ งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม เวลำ ๔๐ ชั่วโมง ศึกษาพุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง ความหมายความสาคัญ และ เคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ พุทธศาสนสุภาษิต ฝึกสวดมนต์และแผ่เมตตาการบาเพ็ญ ประโยชน์ต่อวัดหรือศาสนสถาน การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ประวัติโดยสังเขปของวันสาคัญทางพระพุทธ ศาสนา การบูชาพระรัตนตรัย การเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน ประโยชน์ของการปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน ลักษณะความสามารถและลักษณะความดีของตนเองและผู้อ่ืน ผลของ การกระทาความดี โครงสร้างของครอบครัวและความสัมพันธ์ของบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว โครงสรา้ งของโรงเรียน ความสมั พนั ธ์ของบทบาท หนา้ ทีข่ องสมาชิกในโรงเรียน ความหมายและความแตกต่าง ของอานาจตามบทบาท สิทธิ หน้าที่ในครอบครัวและโรงเรียน การใช้อานาจในครอบครัวตามบทบาท สิทธิ หน้าท่ี กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยในครอบครัว กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยใน โรงเรียน สินค้าและบริการท่ีใช้อยู่ในชีวติ ประจาวนั สินค้าและบริการที่ได้มาโดยไม่ใช้เงิน ท่ีได้มาโดยใช้เงนิ ซ้ือ วิธีการใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการให้คุ้มค่า การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจาวันเพื่อซ้ือสินค้าและบริการ ประโยชน์ของการใช้จ่ายเงินท่ีไม่เกินตัว ประโยชน์ของการออม โทษของการใช้จ่ายเงินเกินตัว วางแผนการใช้ จ่าย ทรัพยากรท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน ทรัพยากรส่วนรวมวิธีการใช้ทรัพยากรท้ังของส่วนตัวและส่วนรวมอย่าง ถูกต้อง ประหยัดและคุ้มค่า ความหมายประเภทและความสาคัญของการทางาน เหตุผลของการทางาน ผล ของการทางานประเภทต่าง ๆ ท่ีมีต่อครอบครัวและสังคม การทางานอย่างสุจริตทาให้สังคมสงบสุข ส่ิงต่างๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ความสัมพันธ์ของตาแหน่ง ระยะทิศของสิ่งต่างๆ รอบตัว ทิศหลักและทีต่ ั้งของส่ิงต่างๆ การแสดงตาแหน่งของส่ิงต่างๆ ในห้องเรยี น การเปล่ยี นแปลงของสภาพ อากาศในรอบวัน สิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดลอ้ มทอ่ี ยู่รอบตัว การมสี ่วนรว่ มในการดูแลสิ่งแวดลอ้ มทบี่ ้านและช้นั เรยี น โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบาย การ วิเคราะหแ์ ละการอภปิ ราย การใช้กระบวนการเกมเสริมความรู้ และนาเทคโนโลยีเขา้ มาชว่ ยสอน เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการใช้ทักษะ ชีวิต การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจและการแก้ปัญหา เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน สามารถปรับตัวเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มวี นิ ยั รักความเปน็ ไทย ใฝเ่ รียนรู้ มีจติ สาธารณะ และมคี ุณธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม หลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

๑๑ รหัสตวั ชี้วดั ส1.1 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ป 1/4 ส1.2 ป1/1 ป1/2 ส2.1 ป1/1 ป1/2 ส2.2 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ส3.1 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ส3.2 ป1/1 ส4.1 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ส4.2 ป1/1 ป1/2 ส4.3 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ส5.1 ป1/1 ป1/2 ป1/3 ป1/4 ส5.2 ป1/1 ป1/2 ป1/3 รวมท้ังหมด 30 ตวั ชี้วัด หลักสตู รสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๑๒ โครงสร้ำงรำยวิชำ สังคมศกึ ษำศำสนำและวัฒนธรรม กล่มุ สำระกำรเรียนรูส้ ังคมศกึ ษำศำสนำ และวัฒนธรรม รหัสวิชำ ส 11101 ชั้น ป.1 เวลำรวม 40 ชั่วโมง สดั สว่ นคะแนน ระหวำ่ งภำค : ปลำยภำค 70:30 หน่วย ช่ือหน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคญั / เวลำ น้ำหนัก ภำระงำน/ ที่ เรยี นรู้ กำรเรียนรู้ / ควำมคิดรวมยอด (ช่วั โมง) คะแนน ชิ้นงำนรวบ (100) ยอด ตัวชี้วดั 1. หลกั ธรรมนาชีวติ ส 1.1 คนดมี ีคุณธรรม มวี ินัย 3 3 - วิเคราะหผ์ ัง ป 1/3 ปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมของ Diagram แสดง ส 1.2 พระพทุ ธศาสนามงุ่ ทา ภาพคนดีมี ป ½ ประโยชน์ และสร้างส่ิงดีงาม คณุ ธรรมโดยนา ในสงั คมโดยอยรู่ ่วมกนั ใน หลักธรรมมา สังคมอย่างมีความสขุ ประกอบการคดิ ศาสนิกชนของศาสนาที่ - ศกึ ษาพุทธ ตนนับถือยดึ พทุ ธสุภาษิตเพ่ือ สภุ าษิตคาสอน เป็นคาเตอื นในการดาเนินชวี ิต ของ และแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ พระพทุ ธเจา้ หรือศาสดาที่ตน นบั ถือ - วาดภาพพุทธ สภุ าษิตหวั ขอ้ ที่ ศึกษา - บอก ความรู้สึก - ศึกษาวิธกี าร กราบ การไหว้ สวดมนต์ 2. คนดที ห่ี นผู กู พัน ส 2.1 การปฏิบัตดิ ไี ม่ทาใหผ้ ู้อน่ื 3 3 - เขยี นภาพ ป½ เดอื ดรอ้ น สามัคคปี รองดอง การต์ ูนการ เอือ้ อาทร อย่รู ว่ มกนั อย่างมี ปฏบิ ัตติ นท่ไี ม่ ความสุข ทาใหผ้ ู้อืน่ เดือดรอ้ น หลกั สูตรสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

๑๓ หนว่ ย ชื่อหน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคัญ/ เวลำ น้ำหนกั ภำระงำน/ ที่ เรยี นรู้ กำรเรียนรู้ / ควำมคิดรวมยอด (ชัว่ โมง) คะแนน ชน้ิ งำนรวบ ตัวชี้วัด (100) ยอด 3. ทาความดสี ชู่ ีวิต ส 1.2 ปฏบิ ตั ติ นดว้ ยการร่วมกิจกรรม 3 ปฏบิ ัตจิ ริง ป 1/1 ดว้ ยช่วยหรอื เกื้อกูลกนั 3 3 - ตรวจสอบ อุปกรณ์การทา 4. พธิ ีกรรมทางศาสนา ส 1.2 พิธีกรรมทางศาสนาในวนั 3 3 ความสะอาด ของฉนั ป 1/3 สาคญั ตอ้ งปฏิบตั ใิ หถ้ ูกต้อง 3 - ลงมอื ปฏิบตั ิ 3 ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 5. อากาศในรอบวัน ส 5.1 การเปลี่ยนแปลงของสภาพ - 9 วันสาคัญ ป ๑/๒ อากาศในรอบวนั มีความ - ตอบคาถาม แตกต่าง 15 - เลา่ เรอ่ื ง 6. สง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั ส 4.2 ผลของการเปลี่ยนแปลงในสิ่ง - พูดแสดงความ เรา ป 1/1 ต่างๆท่ีอยู่รอบตวั เรา คิดเห็น ส 5.1 ตลอดเวลานัน้ มผี ลต่อการ แสดงความ ป 1/1 ดาเนนิ ชวี ติ ของมนุษย์ ร้สู ึก ส 5.2 Diagram ป 1/1, สว่ นรวม ป 1/2, ส่วนยอ่ ย ป 1/3 โครงการสารวจ (1) Diagram ความเหมือน ความตา่ ง โครงงาน Diagram ความเหมอื น ความต่างของ ส่ิงของสมยั เกา่ สมยั ใหม่ 7. สอบปลายภาคเรียนที่ 1 หลกั สูตรสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๑๔ หนว่ ย ช่ือหน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคญั / เวลำ น้ำหนัก ภำระงำน/ ท่ี เรียนรู้ กำรเรยี นรู้ / ควำมคิดรวมยอด (ช่ัวโมง) คะแนน ชิ้นงำนรวบ 8. รูร้ กั ษาทรัพยากร (100) ตวั ชว้ี ัด รจู้ กั ใชท้ รัพยากร สว่ นตัวและ 3 ยอด 9. ประหยดั ออม ส 3.1 สว่ นรวมอย่าง คมุ้ ค่า 3 โครงงานสารวจ ป 1/3 3 3 ส 3.1 วางแผนการใชจ้ า่ ยในสง่ิ ท่ี - สารวจของ ป 1/1, จาเปน็ ในการดาเนนิ 3 ใชใ้ นบ้าน ป ๑/๒ ชีวติ ประจาวนั ทาให้มีความสุข - ทาบญั ชี 5 รายรับ-รายจ่าย 10. ทศิ และแผนท่ี ส 5.1 สิง่ ของทอี่ ยู่รอบตวั เราสามารถ 3 - บนั ทกึ ความ ป 1/2, จดั ให้สมั พันธ์กบั ตาแหน่งระยะ 2 5 ภาคภูมิใจ ป 1/3, ทศิ ทางของสิง่ ต่างๆ ใหเ้ ปน็ เขยี นแผนผงั จัด ป¼ ระเบยี บไดโ้ ดยใช้แผนผัง 3 ระเบยี บหอ้ ง กาหนดทิศทางท่เี หมาะสม หรือสถานท่ีที่ 11. กติกาของหนู ส 2.1 กฎระเบยี บ กติกา มารยาท นกั เรียน ป 1/1 ของสมาชิกท่ดี ขี องครอบครัว ตดั สินใจเลือก ส 5.2 และโรงเรยี นย่อมนาพามาซึ่ง บทบาทสมมุติ ป 1/3 ความสงบสุขของสงั คม - แสดงละครส้ัน เก่ียวกับการเปน็ 12. บทบาทหนา้ ทเ่ี ด็กดี ส 2.1 สมาชกิ ในสังคมท่ีมี 3 สมาชิกท่ดี ีของ ป 1/1, กระบวนการตามบทบาท 3 สังคม ป 1/2, หนา้ ท่กี จิ กรรมแตกต่างกัน เขยี นแผนภมู ิ ป 1/3 ตามความรับผิดชอบท่เี ป็น โครงสร้าง ประชาธิปไตย - ครอบครวั 13. วฒั นธรรมบา้ นฉนั ส 4.3 ทั้งในระดับครอบครวั และ - โรงเรียน ป 1/2, โรงเรียน ป 1/3 แหล่งวัฒนธรรมมีคุณค่าและ ทาส่อื เลม่ เลก็ ความสาคญั ต่อชุมชนเราพึงรัก และภาคภูมิใจวฒั นธรรมใน ทอ้ งถ่ินของเรา หลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๑๕ หน่วย ชื่อหน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคัญ/ เวลำ นำ้ หนกั ภำระงำน/ ที่ เรยี นรู้ กำรเรยี นรู้ / ควำมคิดรวมยอด (ช่วั โมง) คะแนน ช้ินงำนรวบ (100) ตวั ชว้ี ดั ยอด 6 - Diagram 14. ศาสนาประจาชาติ ส 1.1 ศาสนาพุทธเปน็ สญั ลักษณ์ 3 สายรวม 3 สายย่อย ศาสดาของหนู ป 1/1, ทีส่ าคัญของชาติไทยท่ีมี - ศกึ ษาเนอ้ื หา 70 แสดงละคร ป 1/2 พระพทุ ธเจา้ เปน็ ศาสดาและ 30 บทบาทสมมุติ 100 Diagram ส 4.3 สาวกทีม่ ีรูปแบบการดาเนิน ส่วนรวม ส่วนยอ่ ย ป 1/1 ชวี ติ ท่ีเปน็ แบบอย่างให้คนไทย การสวดมนต์ เปน็ การสร้าง ปฏิบตั ิ สมาธิพัฒนาจิต สรา้ งปญั ญา ประวัติของศาสดาท่ตี นนับ ถอื 15. บริหารจิต เจริญ ส 1.1 การสวดมนตเ์ ป็นการสร้าง 2 ปัญญา ป ½ สมาธพิ ฒั นาจติ สร้างปญั ญา รวมระหว่างภาค 40 ปลายภาคเรยี นท่ี 2 - 40 รวมทั้งรำยวิชำ หลักสูตรสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

๑๖ ตวั ชี้วัดและสำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง กลุม่ สำระสังคมศึกษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๒ สำระท่ี มำตรฐำนที่ ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง* สาระท่ี ๑ ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจ ๑. บอกความสาคัญของ - พระพุทธศาสนาเป็น ศาสนา ศลี ธรรม ประวัติ ความสาคญั พระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตน เอกลกั ษณ์ของ ชาติไทย จรยิ ธรรม ศาสดา หลักธรรมของ นบั ถือ พระพุทธศาสนาหรือ ๒. สรุปพทุ ธประวัติตง้ั แตป่ ระสตู ิ - สรุปพทุ ธประวตั ิ ศาสนาทตี่ นนบั ถือและ จนถึงการออกผนวชหรือประวตั ิ - ประสตู ิ ตรัสรู้ ปรนิ ิพพาน ศาสนาอ่นื มีศรทั ธาท่ี ศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด ถกู ต้อง ยึดมน่ั และ ๓. ชนื่ ชมและบอกแบบอยา่ งการ พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ปฏบิ ัติตามหลกั ธรรม เพอื่ อย่รู ่วมกนั อยา่ ง ดาเนินชวี ิตและข้อคิดจากประวัติ - สามเณรราหลุ สันติสุข สาวก ชาดก/เรอื่ งเลา่ และศาสนกิ ชาดก ชนตัวอย่างตามที่กาหนด - วานรินทชาดก ศาสนกิ ชนตัวอย่าง - สมเด็จพระญาณสังวร - สมเดจ็ พระสังฆราช (เจริญ สวุ ฑฒฺ โน) ๔. บอกความหมาย ความสาคัญ โอวาท ๓ และเคารพพระรัตนตรยั ปฏบิ ัติ - ไมท่ าชว่ั ตามหลกั ธรรมโอวาท ๓ ใน - เบญจศลี พระพุทธศาสนา หรือหลักธรรม ของศาสนาที่ตน - ทาความดี นับถอื ตามท่ีกาหนด - เบญจธรรม - กตัญญูกตเวทีต่อครู อาจารย์ และ โรงเรยี น - ทาจติ ให้บริสุทธิ์ (บรหิ าร จิตและเจริญปญั ญา) ๕. ชนื่ ชมการทาความดีของ ตวั อยา่ งการกระทาความดี ตนเอง บุคคลในครอบครัวและใน ของตนเองและบคุ คลใน โรงเรยี น ตามหลกั ศาสนา ครอบครัว และในโรงเรียน (ตามสาระในข้อ ๔) ๖. เหน็ คณุ คา่ และสวดมนต์ แผ่ - ฝกึ สวดมนตไ์ หวพ้ ระและแผ่ เมตตา มีสตทิ ี่เปน็ พื้นฐานของ เมตตา สมาธิในพระพุทธ-ศาสนา หรือ - ร้คู วามหมายและประโยชน์ การพฒั นาจิตตามแนวทางของ ของสติและสมาธิ ศาสนาทต่ี นนบั ถือ ตามทีก่ าหนด - ฝกึ สมาธเิ บือ้ งตน้ หลกั สตู รสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

๑๗ สำระท่ี มำตรฐำนท่ี ตัวช้วี ดั สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง* สาระที่ ๒ - ฝึกสตเิ บ้อื งตน้ ด้วยกจิ กรรม หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม การเคลอ่ื นไหวอยา่ งมีสติ และการดาเนิน ชวี ติ ในสงั คม - ฝึกใหม้ สี มาธิในการฟัง การ อา่ น - การคดิ การถาม และการ เขยี น ๗. บอกช่อื ศาสนา ศาสดา ชอื่ ศาสนา ศาสดา และคัมภีร์ และความสาคัญของคัมภีร์ ของศาสนาตา่ ง ๆ ของศาสนาทตี่ นนับถือ - พระพทุ ธศาสนา และศาสนาอืน่ ๆ ศาสดา : พระพุทธเจ้า คัมภีร์ : พระไตรปฎิ ก - ศาสนาอสิ ลาม ศาสดา : มุฮัมมัด คมั ภรี ์ : อลั กุรอาน - คริสตศ์ าสนา ศาสดา : พระเยซู คมั ภีร์ : ไบเบลิ ส ๑.๒ เขา้ ใจ ๑. ปฏิบตั ติ นอยา่ งเหมาะสม การฝึกปฏิบตั ิมรรยาทชาวพุทธ ตระหนักและปฏิบัตติ น ตอ่ สาวกของศาสนาที่ตนนับถือ - การพนมมอื เป็นศาสนกิ ชนทดี่ ี ตามท่ีกาหนดได้ถูกต้อง - การไหว้ และธารงรกั ษา - การกราบ พระพุทธศาสนาหรือ - การนงั่ ศาสนาที่ตนนบั ถือ - การยืน การเดนิ ๒. ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพธิ ี การเขา้ ร่วมกจิ กรรมและ พิธกี รรม และวันสาคัญทาง พิธีกรรม ท่เี กยี่ วเนือ่ งกับวัน ศาสนา ตามท่ีกาหนดได้ถูกต้อง สาคัญทางพทุ ธศาสนา - การทาบุญตักบาตร - ประวัติวันอาสาฬหบชู า ส ๒.๑ เขา้ ใจและ ๑. ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา - ขอ้ ตกลง กตกิ า กฎระเบียบ ปฏิบัตติ นตามหนา้ ท่ี กฎ ระเบยี บและหนา้ ทท่ี ่ตี ้อง หนา้ ที่ทีต่ ้องปฏบิ ัตใิ น ของการเป็นพลเมืองดี ปฏบิ ัตใิ นชวี ติ ประจาวัน ครอบครวั โรงเรียน สถานที่ มคี า่ นยิ มท่ดี ีงาม และ สาธารณะ เชน่ โรงภาพยนตร์ ธารงรักษาประเพณี บราณสถาน ฯลฯ และวฒั นธรรมไทย ๒. ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทย - กิรยิ ามารยาทไทยเกย่ี วกับ ดารงชวี ิตอย่รู ว่ มกันใน การแสดงความเคารพ การยนื การเดนิ การนัง่ การพดู การ สังคมไทย และ สงั คม โลกอยา่ งสนั ติสขุ ทักทาย การแตง่ กาย หลักสูตรสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

๑๘ สำระที่ มำตรฐำนที่ ตัวชีว้ ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง* สาระที่ ๓ ๓. แสดงพฤตกิ รรมในการยอมรบั การยอมรับความแตกตา่ งของ เศรษฐศาสตร์ ความคิด ความเชื่อ และการ คนในสังคม เร่ืองความคิด ปฏิบัตขิ องบุคคลอนื่ ทแ่ี ตกต่างกัน โดยปราศจากอคติ ความเชอ่ื ความสามารถ และ การปฏิบตั ติ นของบคุ คลอนื่ ที่ แตกต่างกัน เชน่ - บคุ คลย่อมมีความคิดที่มี เหตุผล - การปฏิบตั ติ นตาม พิธกี รรมตามความเชื่อ ของบุคคล - บุคคลยอ่ มมคี วามสามารถ แตกต่างกัน - ไมพ่ ูดหรือแสดงอาการดู ถกู รังเกียจผู้อน่ื ในเรื่อง ของรปู รา่ งหน้าตา สีผม สี ผิว ทแ่ี ตกต่างกัน ๔. เคารพในสิทธิ เสรีภาพของ สิทธิส่วนบุคคล เชน่ ตนเองและผู้อน่ื - สิทธิแสดงความคิดเหน็ - สิทธเิ สรีภาพในรา่ งกาย - สทิ ธใิ นทรัพย์สิน ส ๒.๒ เข้าใจระบบ ๑. อธบิ ายความสมั พนั ธข์ อง ความสมั พนั ธ์ของตนเอง และ การเมืองการปกครอง ตนเอง และสมาชิกในครอบครัว สมาชกิ ในครอบครวั กบั ชุมชน ในสังคมปจั จบุ ัน ยึด ในฐานะเปน็ สว่ นหนงึ่ ของชมุ ชน เชน่ การช่วยเหลอื กจิ กรรมของ ม่นั ศรทั ธา และธารง ชมุ ชน รกั ษาไว้ซึ่งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ๒. ระบผุ มู้ ีบทบาท อานาจในการ ผูม้ บี ทบาท อานาจในการ อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ ตดั สนิ ใจในโรงเรียนและชมุ ชน ตดั สินใจในโรงเรียน และชุมชน ทรงเปน็ ประมุข เช่น ผบู้ ริหารสถานศึกษา ผนู้ า ท้องถิ่น กานัน ผใู้ หญบ่ า้ น ส ๓.๑ เข้าใจและ ๑. ระบุทรพั ยากรท่นี ามาผลิต - ทรพั ยากรที่นามาใชใ้ นการ สามารถบรหิ ารจัดการ สนิ ค้าและบริการทใ่ี ชใ้ น ผลิตสินค้าและบรกิ ารทใี่ ช้ใน ทรัพยากรในการผลิต ชีวติ ประจาวัน ครอบครวั และโรงเรยี น เช่น และการบรโิ ภค การใช้ ดินสอและกระดาษท่ผี ลิตจาก ทรัพยากร ที่มีอยู่จากัด ไม้ รวมทัง้ เคร่อื งจักรและ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ แรงงานการผลิต หลกั สูตรสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

๑๙ สำระที่ มำตรฐำนท่ี ตวั ช้วี ดั สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง* และคมุ้ ค่า รวมทงั้ - ผลของการใชท้ รัพยากรใน เขา้ ใจหลกั การของ การผลติ ท่ีหลากหลายท่ีมตี อ่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ราคา คณุ คา่ และประโยชน์ เพ่ือการดารงชวี ิตอยา่ ง ของสินค้าและบริการ รวมทั้ง มีดุลยภาพ สิ่งแวดล้อม ๒. บอกทมี่ าของรายไดแ้ ละ - การประกอบอาชีพของ รายจ่ายของตนเองและครอบครัว ครอบครัว - การแสวงหารายได้ท่สี ุจรติ และเหมาะสม - รายไดแ้ ละรายจา่ ยใน ภาพรวมของครอบครัว - รายไดแ้ ละรายจ่ายของ ตนเอง ๓. บนั ทึกรายรับรายจ่ายของ - วิธีการทาบัญชีรายรบั ตนเอง รายจ่ายของตนเองอย่างงา่ ย ๆ - รายการของรายรับที่เปน็ รายไดท้ เี่ หมาะสม และไม่ เหมาะสม - รายการของรายจ่ายท่ี เหมาะสมและไม่เหมาะสม ๔. สรปุ ผลดีของการใช้จา่ ยท่ี - ทมี่ าของรายได้ท่สี จุ ริต เหมาะสมกบั รายไดแ้ ละการออม - การใชจ้ า่ ยท่ีเหมาะสม - ผลดีของการใช้จ่ายที่ เหมาะสมกับรายได้ - การออมและผลดีของการ ออม - การนาเงนิ ทเี่ หลอื มาใชใ้ ห้ เกดิ ประโยชน์ เช่น การ ชว่ ยเหลอื สาธารณกศุ ล ส ๓.๒ เข้าใจระบบ ๑. อธิบายการแลกเปล่ียนสนิ ค้า - ความหมายและความสาคัญ และสถาบนั ทาง และบรกิ ารโดยวิธีต่าง ๆ ของการแลกเปลยี่ นสินค้า เศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ และบริการ ความสมั พนั ธ์ทาง - แลกเปล่ียนสินค้าและ เศรษฐกิจและความ บริการโดยไมใ่ ชเ้ งนิ รวมทั้ง จาเปน็ ของการรว่ มมือ การแบง่ ปัน การชว่ ยเหลือ หลักสูตรสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๒๐ สำระที่ มำตรฐำนที่ ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง* กันทางเศรษฐกจิ ใน - ลกั ษณะการแลกเปลี่ยน สาระท่ี ๕ สงั คมโลก ๒. บอกความสมั พันธร์ ะหว่างผู้ สนิ ค้าและบรกิ ารโดยการใช้ ภมู ิศาสตร์ ซอื้ และผู้ขาย เงนิ ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะ - ความหมายและบทบาทของ ของโลกทางกายภาพ ๑. ระบุสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ ผ้ซู ือ้ และผขู้ าย ผูผ้ ลิตและ และความสมั พนั ธข์ อง กบั ท่มี นุษย์สรา้ งขึ้น ซง่ึ ปรากฏ ผบู้ รโิ ภคพอสงั เขป สรรพสง่ิ ซงึ่ มีผลตอ่ กัน ระหวา่ งโรงเรียนกบั บา้ น - ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผซู้ ื้อ และกัน ในระบบของ ๒. ระบุตาแหน่งและลักษณะทาง และผ้ขู ายในการกาหนดราคา ธรรมชาติ ใช้แผนที่ กายภาพของส่งิ ตา่ งๆ ที่ปรากฏ สินคา้ และบริการ และเคร่ืองมือทาง ในแผนผัง แผนที่ รูปถา่ ย และ - ความสมั พนั ธร์ ะหว่างผู้ซ้ือ ภูมิศาสตร์ในการคน้ หา ลกู โลก และผู้ขาย ทาใหส้ งั คมสงบ วิเคราะห์ และสรุป สขุ และประเทศมน่ั คง ข้อมูลตามกระบวนการ ๓. สงั เกตและแสดงความสัมพันธ์ - สง่ิ ต่างๆ ที่เปน็ ธรรมชาตกิ ับ ทางภมู ศิ าสตร์ ระหวา่ งโลก ดวงอาทติ ยแ์ ละดวง ทมี่ นุษย์สร้างขนึ้ ซึง่ ปรากฏ ตลอดจนใช้ภมู ิ จนั ทร์ ทที่ าใหเ้ กิด ปรากฏการณ์ ระหวา่ งโรงเรียนกับบา้ น สารสนเทศอยา่ งมี - ตาแหน่งอย่างง่ายและ ประสทิ ธิภาพ ๑. อธิบายความสาคญั ของ ลักษณะทางกายภาพของสง่ิ ส ๕.๒ เขา้ ใจ ส่งิ แวดลอ้ มทาง ธรรมชาติและที่ ต่างๆ ทีป่ รากฏในลูกโลก ปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ ง มนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ แผนที่ แผนผัง และภาพถา่ ย มนุษยก์ บั เช่น ภเู ขา ท่ีราบ แมน่ ้า สภาพแวดลอ้ มทาง ๒. จาแนกและใช้ ตน้ ไม้ อากาศ ทะเล กายภาพที่กอ่ ใหเ้ กิด ทรพั ยากรธรรมชาติทใี่ ช้แลว้ ไม่ - ความสมั พันธ์ของ การสร้างสรรค์วถิ กี าร หมดไปและทใ่ี ช้แลว้ หมดไปได้ ปรากฏการณร์ ะหว่างโลก ดาเนนิ ชวี ิต มจี ิตสานึก อย่างคุ้มคา่ ดวงอาทิตย์และดวงจันทรเ์ ช่น และมีสว่ นรว่ มในการ ข้างขึน้ ขา้ งแรม ฤดกู าลตา่ งๆ จดั การทรพั ยากรและ สง่ิ แวดล้อม เพ่ือการ - คุณค่าของสง่ิ แวดล้อมทาง พัฒนาที่ย่งั ยืน ธรรมชาติ เช่น ในการ ประกอบอาชีพ - คณุ คา่ ของสง่ิ แวดล้อมทาง สงั คม เช่น สิง่ ปลูกสร้างเพ่ือ การดารงชพี -ความหมายของ ทรัพยากรธรรมชาติ - ประเภท ทรัพยากรธรรมชาติ - ใช้แลว้ หมดไป เชน่ แร่ หลกั สตู รสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

๒๑ สำระท่ี มำตรฐำนที่ ตวั ชี้วดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง* - ใช้แลว้ ไมห่ มด เชน่ บรรยากาศ น้า - ใช้แล้วมีการเกดิ ขึ้นมา ทดแทนหรือรกั ษาไว้ได้ เช่น ดนิ ป่าไม้ สัตวป์ ่า วิธใี ช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ๓. อธบิ ายความสัมพนั ธข์ อง -ความสมั พนั ธ์ของฤดูกาลกับ ฤดูกาลกบั การดาเนินชีวติ ของ การดาเนินชีวติ ของมนุษย์ มนษุ ย์ ๔. มีส่วนร่วมในการจดั การ - การเปล่ยี นแปลงของ สงิ่ แวดลอ้ มในโรงเรียน ส่งิ แวดล้อมการรักษาและ ฟ้นื ฟูสิง่ แวดล้อม หลกั สตู รสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

๒๒ โครงสรำ้ งหลักสูตรช้ันปี โครงสรำ้ งหลักสูตรชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๒ รหสั กลมุ่ สำระกำรเรยี นร/ู้ กิจกรรม เวลำเรียน(ชม./ป)ี รำยวชิ ำพ้ืนฐำน (๘๔๐) ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย2 ๒๐๐ ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ 2 ๒๐๐ ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 8๐ ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม2 4๐ ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ 2 4๐ พ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา 2 ๔๐ ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ 2 ๔๐ ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ 2 ๔๐ อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ2 160 รำยวชิ ำเพิม่ เติม (8๐) อ 12201 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร2 40 ส ๑22๐3 การป้องกนั การทจุ รติ 2 40 กิจกรรมพฒั นำผู้เรียน (๑๒๐) แนะแนว 40 ลูกเสือ-เนตรนารี 40 กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 ชมุ นุม 30 รวมเวลำเรียนตำมโครงสรำ้ งหลักสตู ร ๑,040 หลกั สูตรสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ส๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษำ ฯ ๒๓ ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๒ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นร้สู งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม เวลำ ๔๐ ช่วั โมง ศึกษาความสาคัญของพระพุทธศาสนา สรปุ พทุ ธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวกิ า ชาดก ศาสนิกชน ตวั อย่าง พระรัตนตรัย โอวาท ๓ พุทธศาสนสภุ าษติ ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเองและบคุ คลใน ครอบครัวและในโรงเรียนฝกึ สวดมนต์ไหวพ้ ระและแผ่เมตตาศาสดาและคัมภรี ์ของศาสนาต่างๆ การฝกึ ปฏบิ ัติ มารยาทชาวพุทธการเข้าร่วมกิจกรรมและพิธกี รรมทเ่ี กี่ยวเนอื่ งกับวนั สาคัญทางพุทธศาสนา ขอ้ ตกลงกตกิ า กฎ ระเบียบ หน้าท่ี ทต่ี ้องปฏิบัตใิ นครอบครวั โรงเรียน สถานทีส่ าธารณะ การปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทยการ ยอมรบั ความแตกต่างของคนในสังคมเร่อื งความคิดความเช่ือ ความสามารถ และการปฏบิ ตั ติ นของบุคคลอนื่ ที่ แตกต่างกัน สทิ ธิเสรีภาพของตนเองและผอู้ ื่น ความสัมพันธข์ องตนเองและสมาชกิ ในครอบครัวกบั ชมุ ชน ผมู้ ี บทบาท อานาจในการตัดสนิ ใจในโรงเรยี นและชุมชน ทรัพยากรท่ีนามาใชใ้ นการผลติ สนิ คา้ และบริการทีใ่ ช้ใน ครอบครวั และโรงเรยี น ผลของการใช้ทรัพยากรในการผลิตทหี่ ลากหลายทีม่ ผี ลต่อราคา คุณค่า และประโยชน์ ของสินค้าและบริการรวมทง้ั สิ่งแวดล้อม การประกอบอาชพี ของครอบครวั การแสวงหารายได้ทสี่ จุ ริตและ เหมาะสมรายได้และรายจา่ ยในภาพรวมของครอบครัว รายได้และรายจา่ ยของตนเอง วธิ ีการทาบญั ชรี ายรบั – รายจ่ายของตนเองอยา่ งง่ายๆ รายการของรายรับทีเ่ ปน็ รายได้ที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมรายการของรายจา่ ย ทเ่ี หมาะสมและไมเ่ หมาะสม ท่มี าของรายได้สจุ รติ การใช้จา่ ยทเ่ี หมาะสม ผลดขี องการใชจ้ ่ายที่เหมาะสมกบั รายได้ การออมและผลดขี องการออม การนาเงินที่ออมมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ความหมายและความสาคัญของ สนิ คา้ และบริการและการแลกเปลี่ยนสนิ คา้ และบรกิ าร ลักษณะของการแลกเปล่ียนสินคา้ และบริการโดยไม้ใช้ เงินรวมท้งั การแบ่งปนั การช่วยเหลือ ลกั ษณะการแลกเปลย่ี นสินคา้ และบริการโดยการใช้เงิน ความหมายและ บทบาทของผู้ซ้ือและผู้ขาย ผผู้ ลติ และผบู้ ริโภคพอสงั เขป ความสัมพนั ธ์ระหว่างผซู้ ้อื และผูข้ ายในการกาหนด ราคาสินค้าและบริการ ความสัมพันธ์ระหว่างผ้ซู ื้อและผูข้ ายทาใหส้ ังคมสงบสขุ และประเทศม่ันคง ส่งิ ต่าง ๆ ที่ เป็นธรรมชาตกิ ับท่ีมนุษยส์ รา้ งขนึ้ ซงึ่ ปรากฏระหวา่ งโรงเรยี นกับบา้ น ตาแหนง่ อย่างงา่ ยและลกั ษณะทาง กายภาพของสงิ่ ต่าง ๆ ท่ปี รากฏในลูกโลก แผนที่ แผนผังและภาพถ่าย ความสัมพนั ธข์ องปรากฏการณร์ ะหวา่ ง โลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ คุณคา่ ของส่งิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ประเภททรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีใช้แลว้ หมด ไปและที่ใชแ้ ล้วไมห่ มดไปความสมั พันธข์ องฤดูกาลกับการดาเนินชีวติ ของมนุษย์การเปลี่ยนแปลงของ สิ่งแวดลอ้ ม การรักษาและฟ้ืนฟูส่ิงแวดล้อมในชมุ ชน โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบคน้ ข้อมูล การอธบิ าย การวิเคราะห์ และการอภปิ ราย วธิ กี ารสอนแบบอปุ นัย การสอนโดยทักษะเกม เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสงิ่ ทีเ่ รยี นรู้ มีความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ การคิดวิเคราะห์ การตัดสนิ ใจและการแกป้ ญั หา เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน สามารถ ปรับตวั เองกับบริบทสภาพแวดล้อม เปน็ พลเมอื งดี มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสตั ย์สจุ รติ มวี นิ ัย รัก ความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ มจี ิตสาธารณะ และมคี ุณธรรมและคา่ นิยมท่เี หมาะสม หลกั สูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

๒๔ รหสั ตัวชี้วดั ส1.1 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ป2/4 ป2/5 ป2/6 ป2/7 ส1.2 ป2/1 ป2/2 ส2.1 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ป2/4 ส2.2 ป2/1 ป2/2 ส3.1 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ป2/4 ส3.2 ป2/1 ป2/2 ส4.1 ป2/1 ป2/2 ส4.2 ป2/1 ป2/2 ส4.3 ป2/1 ป2/1 ส5.1 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ส5.2 ป2/1 ป2/2 ป2/3 ป2/4 รวมท้ังหมด 34 ตัวช้วี ัด หลักสตู รสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

25 โครงสรำ้ งรำยวิชำ สังคมศกึ ษำศำสนำและวัฒนธรรม กลมุ่ สำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศึกษำศำสนำ และวัฒนธรรม รหัสวิชำ ส 12101 ชนั้ ป.2 เวลำรวม 40 ชั่วโมง สัดส่วนคะแนน ระหวำ่ งภำค : ปลำยภำค 70:30 หน่วย ช่ือหน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคญั / เวลำ นำ้ หนัก ภำระงำน/ ที่ เรยี นรู้ กำรเรยี นรู้ / ควำมคิดรวมยอด (ชัว่ โมง) คะแนน ชนิ้ งำนรวบ (100) ตวั ชีว้ ดั ยอด 1. ศาสนาของฉนั ส 1.1 ศาสนาทกุ ศาสนามปี ระวัติ 4 6 Diagram ป 2/1, คัมภีร์ และข้อคิด ใหผ้ ู้นบั ส่วนรวม ป 2/2, ถือไดศ้ ึกษาและปฏิบตั ิตนใน ส่วนยอ่ ย ป 2/3, การดาเนินชวี ติ สบื คน้ ภาพการ ป 2/7 แสดงความเปน็ เอกลกั ษณ์ไทย 2. คณุ ธรรมนาชวี ิต ส 1.1 จริยวัตรของพทุ ธสาวก 4 เขยี น ป 2/4, สาวกิ า เป็นแบบอย่างในการ Mind map ป 2/5, ปฏบิ ตั ิตนในการดาเนนิ ชวี ิต 6 แสดงละคร ป 2/6 ทา Diagram การทาความดมี ีคุณคา่ ตอ่ ส่วนรวม ชวี ติ ของคนอย่างยิ่ง ส่วนยอ่ ย บทสวดมนต์ทาให้มีสมาธิ Diagram ฝกึ จติ ทาให้สงบและพัฒนา สว่ นรวม ปัญหา ส่วนยอ่ ย Diagram ส่วนรวม ส่วนย่อย 3. พิธีกรรมทาง ส 1.2 กจิ กรรมและพิธีกรรม 4 5 - ศกึ ษาเก่ยี วกับ ศาสนา พธิ กี รรมวนั ป 2/1, ทางศาสนามีความสาคัญตอ่ สาคญั ป 2/2 การดารงชีวิต ของคน หลกั สตู รสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

26 หน่วย ช่อื หน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคญั / เวลำ นำ้ หนกั ภำระงำน/ ที่ เรยี นรู้ กำรเรียนรู้ / ควำมคิดรวมยอด (ชว่ั โมง) คะแนน ชิน้ งำนรวบ ตวั ช้ีวัด มารยาทชาวพทุ ธ เช่น ภูมิ (100) ยอด 4. วฒั นธรรม ปัญญาทีฝ่ กึ ปฏบิ ตั ิตามมี 4 ประเพณีไทย ส 2.1 คณุ คา่ ควรแก่การสืบสาน 4 - เข้าร่วม ป 2/2 ตลอดไป กจิ กรรมวนั 5. เดก็ ไทยหัวใจ สาคัญ คณุ ธรรม ส 2.1 มารยาทไทยเป็นภมู ิปัญญาท่ี - กราบพระ ป 2/1, ควรฝึกปฏบิ ัตริ ักษาไวใ้ หค้ ง - สวดมนต์ บูชา ป 2/3, อย่คู ลอดไป พระรัตนตรยั ป 2/4 - ทาบญุ ตัก ปฏิบัตติ ามกฎระเบียบ บาตรการปฏบิ ตั ิ ขอ้ ตกลง ยอมรบั การเปลยี่ น ตามมารยาท เคารพสทิ ธิเสรีภาพของ ชาวพทุ ธใน ตนเองและผ้อู ่ืนในการอยู่ รูปแบบต่างๆ รว่ มกนั 5 - ศกึ ษาเก่ียวกบั วฒั นธรรม ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง ประเพณี การ เคารพความคิดทกุ คน มี ทาความเคารพ สทิ ธเิ ท่าเทียมกนั ทาให้อยู่ อาหาร ของไทย ร่วมกนั อย่างมคี วามสุข - ฝึกปฏิบัติจรงิ กริ ิยามารยาท ไทย 6 - ปฏิบัติตาม ขอ้ ตกลงท่มี สี ว่ น ร่วมในการแสดง ความคดิ เห็น ของห้องเรยี น และโรงเรียน - เขยี นข้อตกลง ในการอยู่ ร่วมกนั ส่วนรวม ส่วนย่อย หลักสตู รสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

27 หนว่ ย ชอ่ื หน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคญั / เวลำ น้ำหนกั ภำระงำน/ ที่ เรียนรู้ กำรเรียนรู้ / ควำมคิดรวมยอด (ชั่วโมง) คะแนน ชนิ้ งำนรวบ (100) ตัวช้วี ดั ยอด 6. สอบปลายภาคเรยี นที่ 1 - 15 7. เศรษฐกจิ พอเพยี ง ส 3.2 การใช้ทรัพยากรมาผลิต 5 6 (1) Mind ป 2/1, สนิ ค้าและการบริการอย่าง Map ป 2/2 ค้มุ คา่ ซ่ึงมีความสมั พันธต์ ่อ (2) Diagram การดารงชีวิต แสดงความ ประจาวันของคนเราจงึ ต้อง เหมือนความ ใช้ความรอบคอบและ ตา่ งในการใช้ พอเพียงในการรักษา ทรพั ยากร ทรพั ยากรส่ิงแวดล้อมน้ันๆ (3) ทาบญั ชี การแลกเปล่ียนสินค้า บนั ทึกการรับ และบรกิ ารโดยวธิ ีการต่างๆ จ่าย มคี วามสัมพนั ธร์ ะหว่างผซู้ อื้ บทบาทสมมุติ กับผขู้ าย ที่แบ่งปนั ช่วยเหลอื เปน็ พอ่ ค้าขาย แลกเปลย่ี น กนั อนั จะนาพา ส่งสินคา้ ใน ไปส่สู ังคมสงบสุขและ ตลาด ประเทศม่นั คงสืบไป 8. ออมอดทน ส 3.1 การทาการบันทึกรายได้ 5 7 แสดงบทบาท ประหยัด อยบู่ ้านน้ี ป 2/2, รายจา่ ยของตนเองและ สมมติเปน็ นกั รวย ป 2/3, ครอบครัวทาใหร้ ู้วา่ การใช้ สารวจนอ้ ย ทา ป 2/4 จา่ ยท่ีเหมาะสมนน้ั เป็นเช่นไร บัญชรี บั จ่าย ตอ่ การออม ส่วนตัว 9 . รรู้ กั ส่ิงแวดลอ้ ม ส 5.1 สิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติและ 5 7 โครงการ ป 2/1, มนุษย์สร้างขน้ึ มคี ุณค่าและ 1.ขนั้ กาหนด ป 2/2 เปน็ ผลกระทบต่อการ ปญั หา ส 5.2 เปล่ียนแปลงต่อชวี ิตของคน 2.กาหนด ป 2/1, ในชุมชนซ่งึ ควรรกั ษาไวแ้ ละ จดุ มุ่งหมายใน ป 2/2., ใชอ้ ยา่ งคุ้มค่า การเรยี น ป 2/4 3.วางแผน วิเคราะห์ โครงงาน หลักสตู รสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

28 หน่วย ชื่อหน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคญั / เวลำ นำ้ หนกั ภำระงำน/ ที่ เรยี นรู้ กำรเรยี นรู้ / ควำมคดิ รวมยอด (ช่ัวโมง) คะแนน ช้นิ งำนรวบ ตัวชีว้ ดั (100) ยอด 10. โลกนา่ รู้ 5 4.ลงมอื ปฏิบตั ิ ส 5.1 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งดวง 7 หรอื แกป้ ัญหา รวมระหว่างภาค ป 2/2, อาทติ ย์และดวงจนั ทร์ส่งผล 5.ขั้น ปลายภาคเรยี นท่ี 2 ป 2/3 ให้เกิดปรากฏการณซ์ ึ่งมีผล ประเมินผล รวมท้ังรำยวิชำ ส 5.2 ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ระหวา่ งปฏิบตั ิ ป 2/3 6.สรปุ รายงาน ผล Diagram วิเคราะห์ ความสมั พันธ์ 40 70 - 30 40 100 หลกั สูตรสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

29 ตวั ช้ีวดั และสำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง กลมุ่ สำระสังคมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี ๓ สำระที่ มำตรฐำนท่ี ตวั ชว้ี ดั สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง* - ความสัมพนั ธ์ของ สาระที่ ๑ ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจ ๑. อธิบายความสาคญั ของ พระพทุ ธศาสนากับการดาเนิน ชีวติ ประจาวัน เช่น การสวดมนต์ ศาสนา ศีลธรรม ประวตั ิ ความสาคญั พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ี การทาบุญ ใส่บาตร การแสดง จรยิ ธรรม ศาสดา หลกั ธรรมของ ตนนับถือ ในฐานะทเี่ ป็น ความเคารพ การใชภ้ าษา - พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการ พระพทุ ธศาสนาหรือ รากฐานสาคญั ของวัฒนธรรม สรา้ งสรรคผ์ ลงานทางวัฒนธรรม ไทยอันเกิดจากความศรัทธา เช่น ศาสนาทีต่ นนับถือและ ไทย วดั ภาพวาด พระพทุ ธรูป ศาสนาอ่นื มีศรัทธาท่ี วรรณคดี สถาปัตยกรรมไทย ถกู ต้อง ยึดม่นั และ - สรปุ พทุ ธประวตั ิ (ทบทวน) - การบาเพญ็ เพยี ร ปฏิบตั ติ ามหลักธรรม - ผจญมาร เพอ่ื อยู่ร่วมกันอย่าง - ตรัสรู้ สนั ติสขุ - ปฐมเทศนา - ปรนิ พิ พาน ๒. สรปุ พทุ ธประวตั ติ ง้ั แต่การ - สามเณรสงั กิจจะ - อารามทูสกชาดก บาเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน - มหาวาณชิ ชาดก - สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (โต พฺร หรือประวตั ิของศาสดาทต่ี นนับ หมฺ รสี) ถือตามทีก่ าหนด - สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช - ความสาคัญของพระไตรปิฎก ๓. ชื่นชมและบอกแบบอยา่ ง เชน่ เปน็ แหล่งอา้ งอิง ของ การดาเนินชวี ติ และข้อคิดจาก หลักธรรมคาสอน ประวตั สิ าวก ชาดก/เรอื่ งเลา่ และศาสนิกชนตวั อย่าง ตามที่ หลักธรรมสาคัญ กาหนด - สติ-สมั ปชัญญะ ๔. บอกความหมาย - สงั คหวตั ถุ ๔ ความสาคญั ของพระไตรปฎิ ก พทุ ธศาสนสุภาษติ หรือคมั ภรี ์ของศาสนาทต่ี นนบั ถือ - อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ ตนแล ๕. แสดงความเคารพพระ เปน็ ท่พี ่ึงของตน รัตนตรยั และปฏบิ ัติตาม หลกั ธรรมโอวาท ๓ ใน พระพุทธศาสนา หรอื หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับ ถอื ตามทกี่ าหนด หลกั สตู รสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

30 สำระที่ มำตรฐำนที่ ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง* ๖. เห็นคณุ คา่ และสวดมนต์ แผ่ - ฝึกสวดมนต์ ไหว้พระ สรรเสรญิ เมตตา มสี ติทเี่ ปน็ พื้นฐานของ คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา สมาธิในพระพุทธศาสนา หรอื - รคู้ วามหมายและประโยชนข์ อง การพฒั นาจติ ตามแนวทางของ สติและสมาธิ ศาสนาทตี่ นนบั ถือตามท่กี าหนด - รู้ประโยชนข์ องการฝกึ สติ - ฝึกสมาธเิ บ้อื งตน้ ด้วยการนับลม หายใจ - ฝึกการยนื การเดิน การน่ัง และ การนอน อยา่ งมีสติ - ฝึกให้มสี มาธใิ นการฟัง การอ่าน การคดิ การถาม และการเขยี น ๗. บอกชอ่ื ความสาคัญและ - ช่ือและความสาคัญของศาสน ปฏิบตั ติ นได้อย่างเหมาะสมต่อ วตั ถุ ศาสนสถานและ ศาสนบุคคล ศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และ ในพระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม ศาสนบคุ คลของศาสนาอืน่ ๆ คริสตศ์ าสนา ศาสนาฮินดู - การปฏิบัตติ นทีเ่ หมาะสมต่อศา สนวัตถุ ศาสนสถานและศาสน บคุ คลในศาสนาอ่นื ๆ ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนกั ๑. บาเพ็ญประโยชนต์ อ่ วดั ฝกึ ปฏิบตั ิมรรยาทชาวพทุ ธ และปฏิบตั ติ นเป็น หรอื ศาสนสถานของศาสนาท่ี - การลุกขึน้ ยืนรับ ศาสนกิ ชนท่ีดี และ ตนนบั ถือ - การตอ้ นรับ ธารงรกั ษา - การรบั สง่ ส่ิงของแก่พระภิกษุ พระพทุ ธศาสนา หรือ - มรรยาทในการสนทนา ศาสนาที่ตนนับถือ - การสารวมกิริยามารยาท - การแตง่ กายทเี่ หมาะสมเม่อื อยู่ ในวัดและพุทธสถาน - การดูแลรักษาศาสนวัตถุ และศาสนสถาน ๒. เหน็ คุณค่าและปฏบิ ตั ติ นใน ปฏิบัติตนในศาสนพิธี ศาสนพธิ ี พธิ กี รรม และวนั - การอาราธนาศลี สาคญั ทางศาสนาตามท่กี าหนด การปฏิบัตติ นในวนั อาสาฬหบูชา ได้ถูกตอ้ ง ๓. แสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ - ความเป็นมาของการแสดงตน หรอื แสดงตนเปน็ ศาสนกิ ชน เป็นพทุ ธมามกะ ของศาสนาท่ตี นนบั ถอื หลกั สูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

31 สำระที่ มำตรฐำนที่ ตัวชว้ี ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง* สาระ ๒ หน้าท่ี ส ๒.๑ เข้าใจและ ๑. สรปุ ประโยชน์และปฏบิ ัติตน - ประเพณีและวัฒนธรรมใน พลเมอื ง ปฏิบตั ติ นตามหนา้ ท่ี วฒั นธรรม และ ของการเปน็ พลเมอื งดี ตามประเพณีและวัฒนธรรมใน ครอบครวั เชน่ การแสดงความ การดาเนินชีวติ มีค่านิยมท่ดี งี ามและ ในสังคม ธารงรกั ษาประเพณี ครอบครวั และท้องถิ่น เคารพและการเชื่อฟังผ้ใู หญ่ การ และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวติ อยรู่ ่วมกนั ใน กระทากจิ กรรมรว่ มกนั ใน สังคมไทยและสงั คม โลกอยา่ งสันติสุข ครอบครัว - ประเพณีและวัฒนธรรมใน ทอ้ งถ่ิน เชน่ การเขา้ รว่ มประเพณี ทางศาสนา ประเพณเี กย่ี วกับการ ดาเนินชวี ติ ประโยชน์ของการ ปฏิบัติตนตามประเพณีและ วัฒนธรรมในครอบครวั และท้องถน่ิ ๒. บอกพฤติกรรมการดาเนิน - พฤติกรรมของตนเองและเพ่ือน ชวี ติ ของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ ๆ ในชีวติ ประจาวัน เช่น การ ในกระแสวฒั นธรรมที่ ทักทาย การทาความเคารพ การ หลากหลาย ปฏิบัติตาม ศาสนพิธี การ รับประทานอาหาร การใช้ภาษา (ภาษาถ่นิ กบั ภาษาราชการ และ ภาษาอื่นๆ ฯลฯ ) - สาเหตุทท่ี าให้พฤตกิ รรมการ ดาเนินชีวติ ในปัจจุบันของนักเรยี น และผอู้ ่นื แตกตา่ งกนั ๓. อธิบายความสาคัญของ วนั หยุดราชการท่สี าคัญ เช่น วนั หยดุ ราชการท่สี าคญั - วนั หยดุ เก่ยี วกบั ชาตแิ ละ พระมหากษัตรยิ ์ เช่น วนั จักรี วนั รฐั ธรรมนญู วนั ฉตั รมงคล วนั เฉลิมพระชนมพรรษา - วันหยดุ ราชการเกี่ยวกบั ศาสนา เช่น วนั มาฆบชู า วนั วสิ าขบชู า วันอาสาฬหบชู าวันเข้าพรรษา - วนั หยุดราชการเก่ียวกับ ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย เชน่ วนั สงกรานต์ วนั พชื มงคล ๔. ยกตัวอย่างบคุ คลซ่ึงมีผลงาน - บคุ คลทมี่ ผี ลงานเปน็ ประโยชน์ ที่เป็นประโยชนแ์ ก่ชมุ ชนและ แก่ชุมชนและท้องถิ่นของตน ทอ้ งถ่นิ ของตน - ลกั ษณะผลงานท่เี ป็นประโยชน์ แกช่ มุ ชนและท้องถิน่ หลักสูตรสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

32 สำระท่ี มำตรฐำนท่ี ตัวชีว้ ดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง* สาระท่ี ๓ ส ๒.๒ เข้าใจระบบ ๑. ระบุบทบาทหน้าที่ของ - บทบาทหน้าท่ีของสมาชิกใน เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง สมาชิกของชุมชนในการมีสว่ น ชุมชน ในสงั คมปัจจุบนั ยึดม่ัน ร่วมในกจิ กรรมต่าง ๆ ตาม - การมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมต่าง ๆ ศรทั ธาและธารงรักษา กระบวนการประชาธปิ ไตย ตามกระบวนการประชาธิปไตย ไวซ้ งึ่ การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย ๒. วเิ คราะห์ความแตกต่างของ - การออกเสยี งโดยตรงและการ อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ กระบวนการการตดั สนิ ใจในช้ัน เลือกตวั แทนออกเสยี ง ทรงเป็นประมขุ เรียน/โรงเรียนและชุมชนโดย วิธกี ารออกเสียงโดยตรงและ การเลือกตวั แทนออกเสยี ง ๓. ยกตวั อย่างการเปลย่ี นแปลง - การตัดสนิ ใจของบุคคลและกล่มุ ในช้นั เรยี น/โรงเรียนและชุมชน ทีม่ ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงในชน้ั ทีเ่ ป็นผลจากการตัดสนิ ใจของ เรียน โรงเรยี น และชมุ ชน บุคคลและกล่มุ - การเปลี่ยนแปลงในชน้ั เรียน เชน่ การเลือกหัวหน้าห้อง กาเลือก คณะกรรมการหอ้ งเรียน - การเปลย่ี นแปลงในโรงเรยี น เชน่ เลือก - ประธานนกั เรียน เลอื ก คณะกรรมการนักเรียน - การเปลย่ี นแปลงในชุมชน เช่น การเลอื กผู้ใหญบ่ า้ น กานนั สมาชกิ อบต. อบจ. ส ๓.๑ เขา้ ใจและ ๑. จาแนกความตอ้ งการและ - สินค้าท่จี าเป็นในการดารงชีวติ ที่ สามารถบริหารจัดการ ความจาเปน็ ในการใชส้ ินคา้ และ เรียกว่าปัจจยั ๔ ทรัพยากรในการผลิต บรกิ ารในการดารงชวี ิต และการบรโิ ภค การใช้ - สินค้าท่ีเปน็ ความต้องการของ มนุษยอ์ าจ เป็นสินคา้ ท่จี าเป็น ทรพั ยากร ท่ีมีอยจู่ ากัด ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ หรอื ไม่จาเป็นตอ่ การดารงชวี ิต - ประโยชน์และคุณค่าของสินค้า และค้มุ คา่ รวมทัง้ และบรกิ าร ท่สี นองความต้องการ เขา้ ใจหลกั การของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือ ของมนษุ ย์ - หลกั การเลือกสินคา้ ท่จี าเป็น การดารงชวี ิตอย่างมี ความหมายของผู้ผลติ และผ้บู รโิ ภค ดลุ ยภาพ ๒. วเิ คราะห์การใช้จา่ ยของ - ใชบ้ ัญชรี ับจ่ายวเิ คราะห์การใช้ ตนเอง จา่ ยท่ีจาเปน็ และเหมาะสม - วางแผนการใช้จา่ ยเงนิ ของตนเอง หลกั สตู รสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

สำระที่ มำตรฐำนที่ ตวั ช้วี ดั 33 สาระที่ ๕ ๓.อธิบายได้วา่ ทรพั ยากรที่มีอยู่ สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง* ภูมิศาสตร์ จากดั มผี ลต่อการผลิตและ - วางแผนการแสวงหารายได้ที่ บริโภคสนิ ค้าและบรกิ าร สจุ ริตและเหมาะสม - วางแผนการนาเงินท่ีเหลือจ่ายมา ส ๓.๒ เข้าใจระบบ ๑. บอกสนิ ค้าและบริการท่รี ฐั ใช้อยา่ งเหมาะสม และสถาบันทาง จดั หาและให้บริการแก่ - ความหมายของผู้ผลติ และ เศรษฐกิจต่าง ๆ ประชาชน ผูบ้ รโิ ภค ความสัมพนั ธ์ทาง - ความหมายของสินคา้ และบรกิ าร เศรษฐกิจและความ ๒. บอกความสาคัญของภาษี - ปัญหาพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ ที่ จาเปน็ ของการร่วมมือ และบทบาทของประชาชนใน เกดิ จากความ หายากของ กนั ทางเศรษฐกจิ ใน การเสียภาษี ทรัพยากรกบั ความตอ้ งการของ สงั คมโลก มนษุ ย์ที่มีไมจ่ ากดั - สินค้าและบรกิ ารท่ภี าครฐั ทุก ๓. อธบิ ายเหตผุ ลการแขง่ ขัน ระดบั จดั หาและให้บริการแก่ ทางการค้า ที่มผี ลทาใหร้ าคา ประชาชน เชน่ ถนน โรงเรียน สินคา้ ลดลง สวนสาธารณะ การสาธารณสขุ การบรรเทาสาธารณภยั ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะ ๑. สารวจขอ้ มลู ทางภูมิศาสตร์ - ความหมายและความสาคัญของ ของโลกทางกายภาพ ในโรงเรียนและชมุ ชนโดยใช้ ภาษีทรี่ ฐั นามาสร้างความเจริญ และความสัมพนั ธข์ อง แผนผัง แผนที่ และรปู ถ่าย เพอ่ื และใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน สรรพสง่ิ ซึง่ มีผลตอ่ กัน แสดงความสมั พนั ธ์ของตาแหน่ง - ตวั อยา่ งของภาษี เช่นภาษีรายได้ และกนั ในระบบของ ระยะ ทิศทาง บคุ คลธรรมดา ภาษีมูลค่าเพิ่ม ธรรมชาติ ใชแ้ ผนท่ี ๒. วาดแผนผังเพอ่ื แสดง ฯลฯ และเครื่องมือทาง ตาแหน่งท่ีต้งั ของสถานทสี่ าคัญ - บทบาทหน้าท่ขี องประชาชนใน ภมู ิศาสตร์ในการคน้ หา ในบรเิ วณโรงเรยี นและชมุ ชน การเสยี ภาษี วเิ คราะห์ และสรปุ - ความสาคัญและผลกระทบของ การแขง่ ขันทางการค้าท่มี ผี ลทาให้ ราคาสินค้าลดลง - ขอ้ มูลทางภมู ิศาสตรใ์ นชุมชน - แผนท่ี แผนผัง และรูปถ่าย - ความสมั พันธ์ของตาแหน่ง ระยะ ทิศทาง - ตาแหนง่ ที่ตง้ั ของสถานที่สาคญั ในบรเิ วณโรงเรยี นและชุมชน เช่น สถานทรี่ าชการ ตลาด โรงพยาบาล ไปรษณีย์ หลักสตู รสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

34 สำระที่ มำตรฐำนที่ ตัวชี้วดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง* ขอ้ มูลตามกระบวนการ ทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมิ สารสนเทศอยา่ งมี ประสิทธิภาพ ส ๕.๒ เข้าใจ ๑. เปรยี บเทียบการ ส่ิงแวดล้อมของชมุ ชนในอดีตกับ ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่าง เปลี่ยนแปลงสง่ิ แวดลอ้ มของ ปจั จุบนั มนุษยก์ บั ชมุ ชนในอดีตกับปัจจุบนั สภาพแวดล้อมทาง - ส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ กายภาพท่ีก่อให้เกิด ๒. อธบิ ายการใช้ประโยชนจ์ าก - สงิ่ แวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น การสรา้ งสรรค์วิถกี าร ส่งิ แวดลอ้ มและ - การใชป้ ระโยชนจ์ ากสิง่ แวดลอ้ ม ดาเนินชีวติ มจี ติ สานกึ ทรพั ยากรธรรมชาติในการ ในการดาเนินชวี ิตของมนุษย์ เช่น และมีส่วนร่วมในการ สนองความต้องการพนื้ ฐานของ การคมนาคม บ้านเรือนและการ จัดการทรัพยากรและ มนษุ ย์ และการประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพในชุมชน สง่ิ แวดลอ้ ม เพ่ือการ - การประกอบอาชีพท่ีเปน็ ผลมา พฒั นาทีย่ งั่ ยนื จากสิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติใน ชมุ ชน ๓. อธิบายสาเหตทุ ี่ทาใหเ้ กิด - ความหมายและประเภทของ มลพษิ โดยมนุษย์ มลพิษโดยมนุษย์ - สาเหตุของการเกดิ มลพิษท่ีเกิด จากการกระทาของมนุษย์ ๔. อธบิ ายความแตกต่างของ - ลักษณะของเมืองและชนบท เช่น ลักษณะเมืองและชนบท สงิ่ ปลูกสรา้ ง การใช้ทดี่ นิ การ ประกอบอาชีพ ๕. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่าง - ภมู ปิ ระเทศ และภมู ิอากาศท่ีมีผล ลกั ษณะทางกายภาพกับการ ต่อการดาเนินชวี ติ ของคนในชุมชน ดาเนินชวี ติ ของคนในชุมชน ๖. มีสว่ นรว่ มในการจดั การ - ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลง ส่งิ แวดล้อมในชมุ ชน ส่ิงแวดลอ้ มท่ีมีต่อชุมชน - การจัดการสิง่ แวดลอ้ มในชมุ ชน หลกั สูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

35 โครงสรำ้ งหลักสูตรชนั้ ปี โครงสรำ้ งหลักสตู รชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๓ รหัส กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลำเรียน(ชม./ป)ี รำยวชิ ำพ้ืนฐำน (๘๔๐) ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย 3 ๒๐๐ ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ 3 ๒๐๐ ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 8๐ ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3 4๐ ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ 3 ๔๐ พ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา 3 ๔๐ ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ 3 ๔๐ ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ 3 ๔๐ อ ๑๓๑๐๓ ภาษาองั กฤษ3 160 รำยวิชำเพิม่ เติม (8๐) อ 13201 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 40 ส ๑32๐3 การป้องกนั การทุจริต 40 กจิ กรรมพฒั นำผู้เรยี น (๑๒๐) แนะแนว 40 ลกู เสอื -เนตรนารี 40 กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 ชมุ นุม 30 รวมเวลำเรยี นตำมโครงสร้ำงหลักสตู ร ๑,040 หลักสตู รสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ส๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษำ ฯ 36 ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๓ คำอธิบำยรำยวชิ ำพื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม เวลำ ๔๐ ชั่วโมง ศึกษาความสัมพันธ์ของพระพุทธศาสนากับการดาเนินชีวิตประจาวัน พระพุทธศาสนากับการดาเนิน ชีวิตประจาวัน พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรมไทยอันเกิดจากความศรทั ธา สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน) พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง ความสาคัญของพระไตรปิฎก พระรัตนตรัย โอวาท ๓ พุทธศาสนสุภาษิต ฝึกสวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา ช่ือ ของศาสนวตั ถแุ ละความสาคัญของศาสนวตั ถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคล ในพระพุทธศาสนา ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาคริสต์และศาสนาฮินดู การปฏิบัติตนท่ีเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคลในศาสนา อ่ืน ๆ ฝึกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธ การปฏิบัติตนในศาสนพิธี ความเป็นมาของการแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ประเพณีและวัฒนธรรม ในครอบครัวและในท้องถ่ิน พฤติกรรมของตนเองและ เพื่อน ๆ ในชีวิตประจาวัน สาเหตุท่ีทาให้พฤติกรรมการดาเนนิ ชีวิตในปจั จบุ นั ของนักเรียนและผู้อนื่ แตกต่างกัน วันหยุดราชการท่ีสาคัญ บทบาทหน้าท่ีของสมาชกิ ในชุมชน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ตามกระบวนการ ประชาธิปไตย การออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง วิธีการเลือกตัวแทนอย่างถูกต้องและ เหมาะสม การตัดสินใจของบุคคลและกลุ่มที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในช้ันเรียน โรงเรียนและชุมชน สินค้าที่ จาเป็นในการดารงชวี ติ ทีเ่ รยี กว่าปัจจยั ๔ สินค้าท่ีเป็นความต้องการของมนุษย์ ประโยชน์และคุณค่าของสินคา้ และบริการที่สนองต่อความต้องการของมนุษย์ หลักการเลือกสินค้าท่ีจาเป็น ใช้บัญชีรับจ่ายวิเคราะห์การใช้ จ่ายท่ีจาเป็นและเหมาะสม วางแผนการใช้จ่ายเงินของตนเอง วางแผนการแสวงหารายได้ท่ีสุจริตและ เหมาะสม วางแผน การนาเงินที่เหลือจ่ายมาใช้อย่างเหมาะสม ความหมายของผู้ผลิตและผู้บริโภค ความหมายของสินค้าและบริการ ปัญหาพ้ืนฐานของเศรษฐกิจท่ีเกิดจากความหายากของทรัพยากรกับความ ต้องการของมนุษย์ที่ไม่จากัด สินค้าท่ีบริการภาครัฐทุกระดับจัดหาและให้บริการแก่ประชาชน ความหมาย และความสาคัญของภาษีที่รัฐนามาสร้างความเจริญและให้บริการแก่ประชาชน ตัวอย่างของภาษี บทบาท หน้าที่ของประชาชนในการเสียภาษี ความสาคัญและผลกระทบของการแข่งขันทางการค้าท่ีมีผลทาให้ราคา สินค้าลดลงการใช้แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย ในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชน แผนผังแสดงตาแหน่ง ที่ตั้งของสถานท่ีสาคัญในโรงเรยี นและชุมชน ความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของ ชุมชน การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน การพ่ึงพาส่ิงแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์และการประกอบอาชีพ มลพิษและการ กอ่ ใหเ้ กิดมลพษิ โดยมนุษย์ ความแตกต่างของชมุ ชนกบั ชนบท การเปลยี่ นแปลงของส่งิ แวดล้อมในชุมชน โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบาย การ วเิ คราะห์และการอภปิ ราย วธิ กี ารสอนแบบอุปนยั ใช้เกมสร้างความรแู้ ละเรียนอยา่ งสนกุ สนาน เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารส่ิงทเี่ รียนรู้ มีความสามารถในการใช้ทักษะ ชีวติ การคิดวิเคราะห์ การตดั สนิ ใจและการแกป้ ญั หา เห็นคณุ คา่ ของการนาความรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวนั หลักสูตรสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

37 สามารถปรบั ตัวเองกับบรบิ ทสภาพแวดลอ้ ม เปน็ พลเมอื งดี มีความรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสตั ยส์ ุจริต มีวินัย รักความเปน็ ไทย ใฝ่เรยี นรู้ มีจิตสาธารณะ และมคี ุณธรรมและค่านิยมทเ่ี หมาะสม รหสั ตวั ชี้วดั ส1.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 ป3/5 ป3/6 ป3/7 ส1.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส2.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 ส2.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส3.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส3.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส4.1 ป3/1 ป3/2 ส4.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส4.3 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ส5.1 ป3/1 ป3/2 ส5.2 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 ป3/5 ป3/6 รวมทั้งหมด 39 ตัวชวี้ ดั หลักสตู รสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

38 โครงสร้ำงรำยวชิ ำ สังคมศกึ ษำศำสนำและวัฒนธรรม กลมุ่ สำระกำรเรียนร้สู ังคมศึกษำศำสนำ และวัฒนธรรม รหสั วชิ ำ ส 13101 ชน้ั ป.3 เวลำรวม 40 ชวั่ โมง สดั ส่วนคะแนน ระหว่ำงภำค : ปลำยภำค 70:30 หน่วย ช่อื หน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคัญ/ควำมคิดรวม เวลำ นำ้ หนัก ภำระงำน/ ที่ เรยี นรู้ กำรเรียนรู้ / ยอด (ช่ัวโมง) คะแนน ช้นิ งำนรวบ (100) ยอด ตวั ช้วี ัด 1. หลักธรรมนาชีวิต ส 1.1 ศกึ ษาคาสอนของศาสนารวม 4 3 ปฏิบัติ ตาม ป 3/5, ทั้งข้อคิดที่ได้จากพุทธศาสนา สถาน การณท์ ่ี ป 3/6 สุภาษติ เพื่อเป็นแนวทาง เลือกใช้ ส 1.2 ปฏบิ ตั ติ นในการดาเนนิ ป 3/1, ชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งสงบสุข ป 3/3 มีคณุ ค่าเป็นแบบ อย่างได้ 2. คนดที หี่ นรู จู้ กั ส 2.1 บุคคลทที่ าคุณประโยชน์ 4 3 - รายงาน ป 3/4 ย่อมไดร้ ับการย่องยกของ การสัง สังคม เคราะห์ คุณ ลักษณะ ของ 3. เศรษฐกจิ พอเพยี ง ส 3.1 ความต้องการจาเป็นของ 4 นายปรีดี ป 3/1 มนษุ ยก์ ่อใหเ้ กดิ การแข่งขนั พนมยงค์ ส 3.2 ดา้ นการคา้ ขาย การบริการ โดยใช้ ป 3/1, ของรัฐและการใชจ้ า่ ยของ Diagram ป 3/3 ตนเอง การคดิ 4. ภาษที ่คี วรศกึ ษา ส 3.2 พลเมอื งดมี ีหน้าทีเ่ สียภาษี 4 10 Diagram ป 3./2 ให้กับรฐั ตามข้อกาหนด 1.ความ สมั พันธ์ 2.สว่ นรวม ส่วนย่อย 3.ความ เหมือน ความต่าง 3 Diagram ส่วนรวม ส่วนย่อย หลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

39 หนว่ ย ช่อื หน่วยกำร มำตรฐำน สำระสำคญั /ควำมคดิ รวม เวลำ น้ำหนกั ภำระงำน/ ท่ี เรยี นรู้ กำรเรียนรู้ / ยอด (ชั่วโมง) คะแนน ชิ้นงำนรวบ (100) 5. วิถีชวี ิตคนดี ตวั ชวี้ ดั การดาเนนิ ชีวติ ของแตล่ ะคน 4 ยอด ส 2.1 แตกตา่ งกับบรรทัดฐานของ 8 รายงาน โดย ป 3/1, ประเพณี วัฒนธรรม ใช้ Diagram ป 3/2 ทสี่ บื ทอดมา ควรรกั ษาไว้สบื ส่วนรวม ต่อไป ส่วนย่อย เปน็ สว่ น ประกอบ 6. พิธีทางศาสนา ส 1.2 พธิ ีกรรมทางศาสนามี คณุ ค่า 4 4 ปฏบิ ัติตาม ป 3/2 ต่อการดารงชวี ติ ของมนุษย์ สถาน การณ์ที่ กาหนด 7. รักษพ์ ิทกั ษ์ ส 3.1 ท่ตี ง้ั ลักษณะทางกายภาพ 4 8 รายงาน สงิ่ แวดล้อม ป 3/3, ชมุ ชนต่างกันทาให้มี - 3 15 ป 3/2 วัฒนธรรมและสงิ่ แวดล้อม 5 - Diagram ส 3.2 ต่างกนั ศึกษาได้จาก แผนที่ สว่ นรวม สว่ นย่อย ป 3/1 แผนผัง ภาพถา่ ย วธิ ีดาเนนิ - แผ่นพบั - สมดุ พธิ ี ส 5.1 ชวี ติ มคี วามสาพนั ธ์กับ - รายงาน - ละคร ป 3/1 สิ่งแวดล้อมควรช่วยกันดูแล ส 5.2 รกั ษาให้คงอยู่ตลอดไป ป 3/1, ป 3/2 , ป 3/4 8. สอบปลายภาคเรียนที่ 1 9. ศาสนา ในประเทศ ส 1.1 ศาสนาเป็นรากฐานของ ไทย ป 3/1, วัฒนธรรมไทยซึง่ มีประวตั ิ ป 3/2, หลกั ธรรมหรอื คมั ภีรใ์ หผ้ นู้ ับ ป 3/4, ถอื ปฏิบตั ิตามด้วยความชืน่ ป 3/7 ชม และแสดงความเคารพ อยา่ งเหมาะสม ต่อสาวก ของ ศาสนา ศาสนสถาน และหลกั ธรรม หลักสตู รสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

40 หนว่ ย มำตรฐำน สำระสำคญั /ควำมคิดรวม เวลำ น้ำหนกั ภำระงำน/ ท่ี ชอื่ หน่วยกำรเรยี นรู้ กำรเรียนรู้ / ยอด (ชัว่ โมง) คะแนน ช้ินงำนรวบ (100) ตวั ช้ีวดั ยอด 10. วันสาคญั ส 2.1 เปรียบเทียบท่ีมาของศักราช 3 5 Diagram ป 3/3, ท่ีปรากฏในปฏิทนิ และ ความเหมอื น เหตกุ ารณ์ท่เี ก่ียวข้องกับ ความต่าง ตนเองเพอื่ การปฏบิ ตั ทิ ี่ ถูกต้องในวันสาคญั ของ วันหยดุ ราช การ วนั หยุดราชการ มี ความสัมพันธ์โดยตรงกับ ชีวิตประจาวนั โดยเทยี บเคียง กนั ศักราชท่ปี รากฏ ตาม ปฏทิ นิ ในเหตุ การณต์ ่างๆ ท่ี เก่ยี วขอ้ ง 11. กฎหมายน่ารู้ ส 2.2 ในฐานะสมาชกิ ของสงั คมต้อง 3 3 รายงาน ป 3/1, ปฏิบัติตามข้อตกลงตาม ป 3/2, กระบวนการประชาธปิ ไตย ป 3/3 12. พทุ ธสาวก พทุ ธ ส 1.1 ประวตั ิและหลัก ธรรมคา 3 3 รายงาน สาวิกา สรา้ ง ป 3/2, สอนของพุทธศาสนา ปรากฏ ศรัทธา ป 3/4 , ในพระ ไตรปิฎกเพ่อื ให้ แก่เรา ป 3/7 ศาสนกิ ชนได้ ศึกษาและ ปฏบิ ตั ิ รวมระหวา่ งภาค 40 70 ปลายภาคเรยี นที่ 2 - 30 รวมท้ังรำยวิชำ 40 100 หลักสตู รสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

41 ตัวชี้วัดและสำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง กลุ่มสำระสังคมศกึ ษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษำปที ี่ ๔ สำระ มำตรฐำน ตวั ชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง* สาระที่ ๑ มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และ ๑. อธิบายความสาคญั ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา ศาสนา ศีลธรรม เข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ จริยธรรม ศาสดา หลักธรรมของ ของพระพุทธศาสนา - พระพุทธศาสนา ในฐานะท่ี พระพทุ ธศาสนาหรือ หรือศาสนาที่ตนนับถือ เป็นเครอ่ื งยึดเหน่ียวจิตใจ ศาสนาทต่ี นนับถือและ ในฐานะเป็นศนู ยร์ วมจติ ใจ - เปน็ ศนู ยร์ วมการทาความดี ของศาสนิกชน และพฒั นาจติ ใจ เชน่ ฝกึ ศาสนาอ่นื มีศรัทธาที่ สมาธิ สวดมนตศ์ ึกษา ถกู ต้อง ยดึ ม่ัน และปฏบิ ตั ิ หลักธรรม ตามหลกั ธรรม เพื่ออยู่ - เป็นที่ประกอบศาสนพิธ(ี การ ร่วมกันอยา่ งสนั ติสุข ทอดกฐนิ การทอดผา้ ปา่ การ เวียนเทียน การทาบุญ) - เป็นแหล่งทากจิ กรรมทาง สังคม เช่น การจดั ประเพณี ทอ้ งถิ่น การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารชมุ ชน และการ ส่งเสรมิ พัฒนาชมุ ชน ๒.สรปุ พุทธประวัตติ ัง้ แต่ - สรุปพุทธประวตั ิ (ทบทวน) บรรลธุ รรมจนถึงประกาศ - ตรสั รู้ ธรรม หรือประวตั ศิ าสดาท่ี - ประกาศธรรม ได้แก่ แสดง ตนนับถือตามท่ีกาหนด โอวาทปาฏิโมกข์ ๓.เห็นคณุ คา่ และปฏิบัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ตนตามแบบอย่างการ - พระอุรเุ วลกัสสปะ ดาเนนิ ชีวิตและข้อคดิ จาก - ชาดก ประวตั ิสาวก ชาดก เรอ่ื ง - กฏุ ิทูสกชาดก เล่าและศาสนิกชนตวั อยา่ ง - ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง ตามที่กาหนด - สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรม ราชชนนี ๔.แสดงความเคารพพระ พระรตั นตรยั o ศรทั ธา ๔ รัตนตรัยปฏิบัตติ าม - พระพุทธ o พทุ ธคุณ ๓ ไตรสิกขาและหลกั ธรรม - พระธรรม o หลกั กรรม โอวาท ๓ ใน - พระสงฆ์ พระพุทธศาสนาหรือ - ไตรสกิ ขา - ศลี หลกั สตู รสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

42 สำระ มำตรฐำน ตัวชว้ี ดั สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง* หลักธรรมของศาสนาทีต่ น - โอวาท ๓ นบั ถอื ตามทก่ี าหนด ไมท่ าชว่ั o ทจุ รติ ๓ ทาความดี o สจุ รติ ๓ - พรหมวิหาร ๔ - กตัญญูกตเวทตี ่อประเทศชาติ - มงคล ๓๘ - เคารพ - ถ่อมตน - ทาความดีใหพ้ ร้อมไว้ก่อน - ทาจติ ใหบ้ ริสุทธิ์ (บรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา) - พทุ ธศาสนสภุ าษติ - สขุ า สงฆฺ สฺส สามคคฺ ี : ความพร้อมเพรียงของหมู่ใหเ้ กิดสขุ - โลโกปตฺถมภฺ กิ า เมตฺตา : เมตตาธรรม คา้ จุนโลก ๕.ชืน่ ชมการทาความดีของ - ตวั อยา่ งการกระทาความดี ตนเองบุคคลในครอบครัว ของตนเองและบุคคลในครอบครวั ใน โรงเรียนและชุมชนตาม โรงเรียนและในชุมชน หลกั ศาสนาพร้อมทง้ั บอก แนวปฏิบตั ิในการดาเนนิ ชีวิต ๖.เหน็ คณุ ค่าและสวดมนต์ - สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสรญิ แผเ่ มตตามีสติที่เป็น คุณพระรัตนตรยั และแผ่เมตตา พืน้ ฐานของสมาธใิ น พระพทุ ธศาสนาหรือการ - ความหมายของ พัฒนาจิตตามแนวทางของ สตสิ ัมปชญั ญะสมาธแิ ละปญั ญา ศาสนาทตี่ นนบั ถือตามท่ี กาหนด ๗.ปฏบิ ัติตนตามหลักธรรม หลกั ธรรมเพือ่ การอยู่ร่วมกันอยา่ ง ของศาสนาท่ีตนนับถือเพื่อ สมานฉันท์ การอยรู่ ่วมกนั เป็นชาติได้ อย่างสมานฉนั ท์ o พรหมวิหาร ๔ หลักสตู รสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

43 สำระ มำตรฐำน ตัวชี้วดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง* ๘.อธบิ ายประวัติศาสดา ประวัติศาสดา ของศาสนาอนื่ ๆ o พระพทุ ธเจา้ (เรยี นในช่วงช้นั ท่ี โดยสังเขป 1) o มฮุ ัมมดั o พระเยซู มาตรฐาน ส ๑.๒ เขา้ ใจ ๑.อภิปรายความสาคัญ ความรู้เบื้องต้นและความสาคัญของ ตระหนักและปฏบิ ัติตน และมีส่วนร่วมในการ ศาสนสถาน เปน็ ศาสนิกชนท่ดี ี และ บารงุ รกั ษา ศาสนสถาน - การแสดงความเคารพต่อ ธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา ของศาสนาทีต่ นนบั ถือ ศาสนสถาน หรือศาสนาทีต่ นนับถือ - การบารุงรักษาศาสนสถาน ๒.มีมรรยาทของความเปน็ - มรรยาทของศาสนิกชน ศาสนกิ ชนทด่ี ีตามที่ o การปฏิบตั ติ นทเี่ หมาะสม กาหนด ต่อพระภิกษุ o การยืน การเดนิ และการนง่ั ที่เหมาะสมในโอกาสตา่ ง ๆ ๓.ปฏบิ ัตติ นในศาสนพิธี - ปฏบิ ัติตนในศาสนพธิ ี พิธกี รรมและวนั สาคัญทาง o การอาราธนาธรรม ศาสนาตามที่กาหนดได้ o การอาราธนาพระปรติ ร ถกู ต้อง o ระเบยี บพธิ ีและการปฏบิ ัติ ตนในวนั ธรรมสวนะ สาระที่ ๒ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจ ๑.ปฏิบัติตนเปน็ พลเมืองดี - การเขา้ ร่วมกจิ กรรม หนา้ ทพ่ี ลเมือง และปฏบิ ัตติ นตามหน้าที่ ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตยของชุมชน เชน่ การ วัฒนธรรม และ ของการเป็นพลเมอื งดี มี ในฐานะสมาชกิ ที่ดีของ การดาเนนิ ชีวติ ค่านยิ มทดี่ ีงาม และธารง ชมุ ชน รณรงค์ การเลือกตั้ง ในสงั คม รกั ษาประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดารงชีวติ - แนวทางการปฏิบตั ติ น อยรู่ ่วมกันในสงั คมไทย เป็นสมาชกิ ที่ดขี องชุมชน เช่น และสงั คมโลกอยา่ งสันติสขุ อนรุ กั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มสาธารณสมบตั ิ โบราณวัตถแุ ละโบราณสถาน การพฒั นา ชมุ ชน ๒.ปฏบิ ัตติ นในการเป็น - การเป็นผนู้ าและผตู้ ามทดี่ ี ผนู้ า o บทบาทและความรับผิดชอบ และผตู้ ามท่ีดี ของผู้นา o บทบาทและความรบั ผิดชอบ ของผู้ตามหรอื สมาชิก o การทางานกลมุ่ ให้มี หลักสูตรสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พุทธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

สำระ มำตรฐำน ตัวชวี้ ัด 44 สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง* ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล และประโยชนข์ องการทางาน เปน็ กลุม่ ๓.วเิ คราะหส์ ทิ ธิพนื้ ฐานที่ - สิทธพิ ื้นฐานของเดก็ เช่น เดก็ ทุกคนพึงได้รบั ตาม สทิ ธิทจ่ี ะมีชวี ิต สทิ ธิทจ่ี ะไดร้ ับ กฎหมาย การปกป้อง สิทธทิ ี่จะได้รบั การพฒั นา สทิ ธิที่จะมีส่วนรว่ ม ๔.อธิบายความแตกต่าง - วัฒนธรรมในภาคตา่ งๆ ของ ทางวฒั นธรรมของกล่มุ คน ไทยท่แี ตกตา่ งกัน เชน่ การแต่งกาย ในทอ้ งถิน่ ภาษา อาหาร ๕.เสนอวิธกี ารที่จะอยู่ - ปญั หาและสาเหตุของการเกิด ร่วมกนั ความขดั แย้งในชีวติ ประจาวัน อยา่ งสันติสุขใน ชวี ติ ประจาวัน - แนวทางการแก้ปญั หาความ ขัดแยง้ ด้วยสนั ตวิ ธิ ี มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจ ๑.อธิบายอานาจอธิปไตย - อานาจอธิปไตย ระบบการเมืองการ และความสาคัญของ - ความสาคญั ของการปกครอง ปกครองในสงั คมปจั จุบัน ระบอบ ตามระบอบประชาธิปไตย ยึดมั่น ศรทั ธา และธารง ประชาธปิ ไตย รกั ษาไวซ้ ่ึงการปกครอง - บทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมี ๒.อธิบายบทบาทหน้าที่ กระบวนการเลือกตั้ง ทัง้ ก่อนการ พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ของพลเมืองใน เลอื กตั้ง ระหว่างการเลือกต้ังและหลงั ประมุข กระบวนการเลือกต้ัง การเลอื กตั้ง สาระที่ ๓ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจ ๓.อธบิ ายความสาคญั ของ - ความสาคญั ของสถาบนั เศรษฐศาสตร์ และสามารถบรหิ ารจัดการ สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ พระมหากษัตรยิ ์ในสงั คมไทย ตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รง - สินค้าและบรกิ าร (ทบทวน) เป็นประมขุ - ปัจจัยทมี่ ีผลตอ่ การเลือกซ้ือ ๑.ระบปุ ัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การ เลือกซื้อสินคา้ และบรกิ าร หลกั สูตรสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

45 สำระ มำตรฐำน ตวั ชีว้ ดั สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง* ทรพั ยากรในการผลติ และ สนิ ค้าและบริการ เชน่ ความพงึ พอใจ การบรโิ ภค การใช้ ของผ้ซู ื้อราคาสนิ คา้ การโฆษณา ทรัพยากรที่มีอยจู่ ากัดได้ คณุ ภาพของสินค้า อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและ คุ้มคา่ รวมท้งั เขา้ ใจ ๒.บอกสิทธิพนื้ ฐานและ - สทิ ธิพืน้ ฐานของผบู้ รโิ ภค หลกั การของเศรษฐกิจ รกั ษาผลประโยชนข์ อง - สินค้าและบรกิ ารที่มี พอเพียง เพ่อื การดารงชวี ิต ตนเองในฐานะผู้บริโภค อยา่ งมดี ลุ ยภาพ เครือ่ งหมายรบั รองคุณภาพ - หลักการและวธิ กี ารเลือก บรโิ ภค ๓.อธบิ ายหลักการของ - หลกั การของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพยี งและ พอเพยี ง นาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ของตนเอง - การประยุกตใ์ ช้ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการดารงชีวติ เช่น การแตง่ กาย การกินอาหาร การใชจ้ ่าย มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจ ๑.อธบิ ายความสมั พนั ธ์ - การพ่ึงพาอาศยั กนั ภายใน ชมุ ชนทางดา้ นเศรษฐกิจ เชน่ ระบบและสถาบันทาง ทางเศรษฐกจิ ของคนใน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย การกู้ เศรษฐกจิ ต่าง ๆ ชมุ ชน หนี้ ยืมสิน ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ และความจาเปน็ ของการ รว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ใน สังคมโลก ๒.อธิบายหนา้ ทีเ่ บื้องตน้ - ความหมายและประเภทของ ของเงิน เงนิ สาระที่ ๕ มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจ ๑. สืบค้นและอธิบาย - หน้าทเี่ บือ้ งต้นของเงนิ ใน ภูมศิ าสตร์ ลักษณะทางกายภาพของ ขอ้ มูลลกั ษณะทาง ระบบ โลก และความสัมพันธข์ อง กายภาพ เศรษฐกิจ - สกุลเงนิ สาคัญท่ีใช้ในการซ้ือ ขายแลกเปล่ยี นระหวา่ ง ประเทศ - ลกั ษณะทางกายภาพของ จังหวดั ตนเอง หลกั สตู รสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook