Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรDLTบรรยายภายใน UET

หลักสูตรDLTบรรยายภายใน UET

Published by chalong TS, 2020-12-08 04:13:18

Description: หลักสูตรDLTบรรยายภายใน UET

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรการอบรมด้านความ ปลอดภยั ในการขนส่ง สาหรับพนักงานขับรถขนส่ ง 1 Revision 1/2018

วตั ถุประสงค์ „เพ่ือเพมิ่ มูลค่า (Value Added) และสร้างบุคลากรโดย ส่งเสริมให้นักขบั รถมคี วามเข้าใจในการตระหนักถึง อนั ตรายทเ่ี กดิ จากอุบัตเิ หตุ „เพ่ือเพม่ิ ศักยภาพของพนักงานควบคุมยานพาหนะแบบ มืออาชีพให้สอดคล้องกบั แผนการลดอบุ ัตเิ หตุ „เพ่ือพฒั นาให้เกดิ ต้นแบบของพนักงานขบั รถมืออาชีพที่ มคี ุณภาพ 2

เป้าหมายดาเนินการ 1. หัวหน้างานทุกหน่วยงาน 2. รถร่วมบริการทุกคนั 3

ความคาดหวงั  ลดอบุ ตั ิเหตุ  ลดความสญู เสยี  สรา้ งความพงึ พอใจ 4

วทิ ยากร : ฉลอง เทียบสา 089-8416337 ประวตั ิการอบรมและการศึกษา : ประกาศนียบตั ร หลกั สูตรการขบั ขี่เชิงป้องกนั อุบตั ิเหตุข้นั พฒั นา 40 ชวั่ โมง (Advanced Defensive Driving) ตาแหน่งปัจจุบนั : รองผจู้ ดั การทว่ั ไปฝ่ ายปรับปรุงงานบริการขนส่ง ประสบการณ์ : งานคลงั สินคา้ และขนส่ง กวา่ 28 ปี 5

วทิ ยากร : พฒั นศกั ด์ิ สงิ ใส 085-0709269 ประวตั กิ ารอบรมและการศกึ ษา : ประกาศนียบตั รหลกั สตู รการขบั ข่เี ชงิ ป้ องกนั อุบตั เิ หตุขน้ั พฒั นา 40 ชวั่ โมง (Advanced Defensive Driving) ตาแหน่งปัจจบุ นั : ผจู้ ดั การฝ่ ายประกนั คุณภาพ ประสบการณ์ : 6

วิทยากร: กิตติภูมิ ทองเขียว : 097-9234254 ประวตั ิการอบรมและศึกษา: ประกาศนียบตั รหลกั สูตรการขบั ข่ีเชิงป้องกนั อบุ ตั ิเหตุข้นั พฒั นา 40 ชวั่ โมง (Advanced Defensive Driving) ตาแหน่งงานปัจจุบนั : ผจู้ ดั การแผนกความปลอดภยั ประสบการณ์ : 7

บทที่ 1 ทศั นคตแิ ละจติ สานึกในการขบั รถ อย่างปลอดภยั 8

ทศั นคตแิ ละจติ สานึกในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั สถานการณ์อบุ ตั เิ หตุทเี่ กดิ จากรถยนต์ เป็ นทที่ ราบกนั ดวี ่า ปัจจยั ทสี่ ่งผลให้เกดิ อบุ ตั เิ หตุทางถนนประกอบด้วย • ความผดิ พลาดของผู้ใช้ถนน • ความบกพร่องของรถ • ถนนและสิ่งแวดล้อม Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 9

ทศั นคติและจติ สานึกในการขบั รถอย่างปลอดภยั สถิติคดีจราจรทางบกของสานักงานตารวจแห่งชาตพิ บว่า มอี บุ ตั ิเหตุทเี่ กดิ จากรถโดยสารและรถบรรทุก ๆ ประเภท จานวนสูงถงึ 4,707 คร้ังในปี 2559 โดยสาเหตุสาคญั อนั ดบั แรกทร่ี ถบรรทุกเป็ นต้นเหตุ • ขับเร็วเกนิ อตั ราทก่ี ฎหมายกาหนด • หลบั ในเพราะร่างกายเหน่ือยล้าทางานต่อเนื่อง ไม่ยอมจอดพกั • ขบั ตามหลงั หรือแซงในระยะกระช้ันชิด 1 Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

ทศั นคติและจติ สานกึ ในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั สาเหตุทเ่ี กดิ จากคู่กรณเี ป็ นต้นเหตุ ส่วนใหญ่เกดิ จาก • ขบั รถเร็ว • ตดั หน้าในระยะกระช้ันชิด • ไม่ชานาญเส้นทาง “หากผ้ขู ับรถทุกคนมี; • ความรู้ทถี่ ูกต้อง • ทกั ษะการขบั รถเชิงป้องกนั อบุ ัติเหตุ • จติ สานึกในการขบั รถอย่างปลอดภยั อบุ ตั ิเหตุทเี่ กดิ ข้ึนควรจะเกดิ จากเหตุสุดวสิ ัยและไม่สามารถ หลกี เลยี่ งได้จริง ๆ เท่านั้น” Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 11

ทศั นคตแิ ละจติ สานึกในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั “ความเร็ว” เพม่ิ โอกาสในการเกดิ อุบตั ิเหตุ ความเร็วทสี่ ูงขน้ึ จะมีระยะทางหยดุ เพม่ิ รถเพม่ิ ขนึ้ เพมิ่ ความเร็วจาก 32 กม.เป็ น 112 กม./ชม. หรือ 3.5 เท่าจะต้องใช้ระยะ หยดุ รถเพมิ่ ขนึ้ ถงึ 8 เท่า นอกจากน้นั ความเร็วยงั เพม่ิ ความรุนแรงของอบุ ตั ิเหตุ 1 Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

ทศั นคตแิ ละจติ สานกึ ในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั ปัจจัยทสี่ ่งผลต่อการเกดิ อบุ ัติเหตุ อุบตั ิเหตุท่ีเกิดข้ึนในการจราจรทางบกน้นั เกิดจากหลายสาเหตุดว้ ยกนั โดยมี 3 สาเหตุหลกั ไดแ้ ก่ • คน • รถ • ถนนและสิ่งแวดล้อม “โดยสาเหตุมากกวา่ ร้อยละ 80 เกิดจากคนหรือผขู้ บั ขี่ ซ่ึงอาจประมาท ขาดความรู้ ขาดทกั ษะในเร่ืองเทคนิคที่ถูกตอ้ ง ขาดจิตสานึกต่อความ ปลอดภยั ” 1 Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

ทศั นคติและจติ สานกึ ในการขบั รถอย่างปลอดภยั สาเหตุทเ่ี กดิ ขึน้ จากผู้ขบั รถ 1 • มีความบกพร่องทางดา้ นร่างกาย เช่น ร่างกายอ่อนเพลีย ง่วงนอนหรือ หลบั ใน สุขภาพไม่ดี เป็นตน้ • มีความบกพร่องทางดา้ นจิตใจและอารมณ์ เช่น กลุม้ ใจ หงุดหงิด • ขาดความรู้ความชานาญและประสบการณ์ในการใชถ้ นน เช่น ขาด ความรู้เร่ืองความเร็วของรถ คาดคะเนความเร็วหรือกะระยะไม่ถูกตอ้ ง ไม่มีความรู้ความชานาญในเร่ืองลกั ษณะของยวดยานที่ใชข้ บั ไม่รู้ กฎจราจร เป็นตน้ • ไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบหรือขอ้ บงั คบั เช่น ขบั รถเร็ว ขบั รถตดั หนา้ ขบั ตามหลงั กระช้นั ชิด ขบั รถฝ่ าฝืนเครื่องหมายจราจร หยดุ รถโดยกระช้นั ชิด • ไม่รู้จกั ป้องกนั ตนเอง เช่น ประมาท เร่งรีบ เสพยา ด่ืมสุรา เป็นตน้ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

ทศั นคติและจติ สานกึ ในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั สาเหตุการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ มอี งค์ประกอบสาคญั 2 ประการ ได้แก่ 1. การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภยั (Unsafe Act) หมายถึงการกระทาหรือปฏิบตั ิ งานของคนท่ีมีผลทาใหเ้ กิดความไม่ปลอดภยั กบั ตนเองหรือผอู้ ่ืน เช่น ขบั รถดว้ ยความเร็ว ซ่ึงมีความเส่ียงในการเกิดอุบตั ิเหตุสูง เป็นการกระ ทาที่ไม่ปลอดภยั 2. สภาวะการท่ไี ม่ปลอดภยั (Unsafe Condition) หมายถึง สภาพแวดลอ้ มท่ี ไม่เหมาะสมเป็นอนั ตรายต่อการปฏิบตั ิงาน เช่น ขบั กลางคืน ฝนตกหนกั ถนนท่ีเป็นอนั ตราย เป็นตน้ 15 Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

ทศั นคตแิ ละจติ สานึกในการขบั รถอย่างปลอดภยั ปรัชญา แนวคดิ และทศั นคติในการขบั รถปลอดภัย “ปรัชญาของการขบั รถปลอดภยั เชิงป้องกนั อุบัตเิ หตุ คือ • การขบั รถเพ่ือหลกี เลย่ี งอบุ ตั ิเหตุ แม้ว่าเหตุแห่งอบุ ตั ิเหตุน้ันจะมาจากความ ผดิ พลาดของตนเอง • หรือจากความผดิ พลาดของผู้อื่น หรือจากสภาวะแวดล้อมทเ่ี ลวร้าย ไม่เอือ้ อานวยสาหรับการขบั ขี่กต็ าม • โดยมีเป้าหมายในการขับไม่ให้ไปชนผู้อื่น ไม่ให้ผู้อ่ืนมาชนเรา ไม่เป็ นเหตุ ให้ผู้อ่ืนชนกนั และถึงทห่ี มายปลอดภัย” Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 16

ทศั นคติและจติ สานกึ ในการขบั รถอย่างปลอดภยั ทัศนคติ หมายถงึ แนวความคดิ เห็นของเราที่มีต่อส่ิงใด ส่ิงหน่ึง ซึ่งจะถูกแสดงออกมาเป็ นความเห็นหรือการกระทา ซึ่งทัศนคติในการ ขับรถปลอดภยั จะเป็ นตัวกาหนดพฤติกรรมของเราทีม่ ตี ่อการขับรถ หลกี เลยี่ งพฤติกรรมเสี่ยงภัย หลีกเลย่ี งการกระทาที่ไม่ปลอดภัย ไม่ยดึ ติดกบั ความถูก – ความผิด รู้จักให้อภัยแก่คนขบั รถผิดกฎจราจร เพอื่ ให้เขา – เรา และทุกฝ่ ายรอดพ้นจากการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ ถ้าปราศจากทศั นคติทถ่ี ูกต้องและ ความมุ่งม่ันทจ่ี ะขบั รถให้ปลอดภยั กอ็ าจจะเป็ นสาเหตุทที่ าให้เกดิ อุบตั ิ เหตุได้ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 17

ทศั นคตแิ ละจติ สานกึ ในการขบั รถอย่างปลอดภยั ทศั นคติในการขับรถปลอดภัยได้แก่ • เอือ้ อาทรต่อผู้ใช้รถใช้ถนนคนอ่ืน ๆ เสมอ • ยอมรับและเตรียมพร้อมสาหรับความผดิ พลาดของผ้อู ื่น • ยอมรับว่าไม่มงี านใดทเ่ี ร่งด่วนจนกระทง่ั ทาให้ต้องขับรถเร็วเกนิ กาหนด • ต้องเข้าใจว่าการขบั รถเป็ นทกั ษะทตี่ ้องประกอบด้วยเทคนิคทถี่ ูกต้อง • ต้องมคี วามพร้อมอยู่เสมอ ท้งั ร่างกายและจิตใจ • เตือนตัวเองเสมอว่ารถไม่สามารถอยู่ในสภาพปลอดภยั ได้ หากขาดการบารุง รักษาอย่างถูกต้อง Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 18

ทศั นคตแิ ละจติ สานึกในการขบั รถอย่างปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขับรถ ปัจจุบนั ปริมาณรถได้เพมิ่ ขนึ้ เป็ นจานวนมาก ในการขบั รถบนท้องถนนโดยทว่ั ไปทาให้ผู้ทข่ี บั รถ มกั เจอสภาพปัญหาต่าง ๆ มากมาย ท้งั ยานพาหนะทเี่ พมิ่ ขนึ้ ปัญหาจราจร ปัญหาอุบตั เิ หตุ รวมท้งั เทคโนโลยี ของรถทที่ าให้รถมคี วามเร็วมากขนึ้ นอกจากน้ันความเร่งรีบของคนขบั รถ กส็ ่งผลต่อการไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎ จราจรหรือบางส่วนยงั ฝ่ าฝื นทาให้บางคร้ังเกดิ อุบตั เิ หตุขนึ้ ทกี่ ล่าวมาข้างต้นล้วนแต่เกดิ จากผู้ขบั รถท้งั สิ้น ดงั น้ัน ถ้าทุกคนมมี ารยาทดี กจ็ ะส่งผลให้ปัญหาด้านการจราจรและอุบตั เิ หตุลดลงได้ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 19

ทศั นคตแิ ละจติ สานึกในการขบั รถอย่างปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขบั รถ (ต่อ) การสร้างมนุษยส์ มั พนั ธใ์ นการขบั รถ พนกั งานขบั รถตอ้ งพบเจอกบั ผคู้ นมากมายคือ ผบู้ งั คบั บญั ชา ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา เพ่ือนร่วมงาน ผใู้ ชบ้ ริการ เพอื่ นร่วมทางบนทอ้ งถนน ดงั น้นั ผขู้ บั รถจะตอ้ งมีการ สร้างมนุษยส์ มั พนั ธก์ บั บุคคลกลุ่มต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1. ผู้บงั คบั บญั ชา 2. ผู้ใต้บงั คบั บญั ชา 3. เพ่ือนร่วมงาน 4. ผู้ใช้บริการ 5. เจ้าหน้าทจ่ี ราจรและเจ้าหน้าทท่ี เ่ี กยี่ วข้อง 6. ผู้ใช้การจราจรร่วมกนั Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 20

ทศั นคติและจติ สานึกในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขบั รถ (ต่อ) ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธก์ บั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี 1. เทคนิคในการสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์กบั ผู้บงั คบั บญั ชา 1.1 ให้ความเคารพนับถือ 1.2 ยกย่องชมเชยให้เกยี รติผู้บงั คบั บญั ชาท้งั ต่อหน้าและลบั หลงั 1.3 ต้ังใจทางานในหน้าทใ่ี ห้ดที สี่ ุด 1.4 ปฏบิ ตั ิตามคาสั่งของผู้บงั คบั บญั ชา เช่ือฟัง และให้ความร่วมมือในการทางานอย่างสมา่ เสมอ 1.5 ไม่สร้างความเป็ นศัตรูกบั ผู้บงั คบั บญั ชา 1.6 พฒั นาตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ 1.7 ทางานตามข้นั ตอนไม่ข้ามการบังคบั บญั ชา 1.8 หลกี เลยี่ งการประจบสอพลอ 1.9 ไม่รบกวนผู้บงั คบั บญั ชา ด้วยเร่ืองเลก็ ๆ น้อย ๆ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 21

ทศั นคตแิ ละจติ สานึกในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขบั รถ (ต่อ) ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธก์ บั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี 1. เทคนิคในการสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์กบั ผู้บงั คบั บญั ชา 1.10 ไม่บ่นถึงความยากลาบากในการทางาน 1.11 ประเมนิ ตนเองอย่างมเี หตุผลและแก้ไขส่ิงทผี่ ดิ พลาด 1.12 ไม่ฉีกหน้าผู้บงั คบั บญั ชา 1.13 มคี วามอดทนและควบคุมอารมณ์ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 22

ทศั นคตแิ ละจติ สานกึ ในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขับรถ (ต่อ) 23 ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธก์ บั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี 2. การสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์กบั ผู้ใต้บงั คบั บญั ชา 2.1 ให้ความเมตา 2.2 เมื่อทาดยี กย่องชมเชยต่อหน้าผู้อ่ืน 2.3 เม่ือทาผดิ สอบถามสาเหตุ หากผดิ จริงว่ากล่าวตักเตือนสองต่อสอง 2.4 รับฟังความคดิ เห็นของผู้ใต้บงั คบั บญั ชา 2.5 ให้คดิ ว่าผู้ใต้บงั คบั บญั ชาเป็ นส่วนหน่ึงของหน่วยงาน 2.6 ให้ความยุติธรรม สมา่ เสมอไม่ลาเอยี ง 2.7 ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ใต้บงั คบั บญั ชาได้พฒั นาความรู้ความสามารถ 2.8 หมนั่ สนใจ ดูแลความเป็ นอยู่ตามโอกาสอนั ควร 2.9 ให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือกจิ ส่วนตัวตามควร 2.10 สุภาพให้เกยี รติในฐานะผู้ร่วมงาน Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

ทศั นคติและจติ สานึกในการขบั รถอย่างปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขับรถ (ต่อ) ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์กบั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี 3. การสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์กบั เพ่ือนร่วมงาน 3.1 ให้เกยี รติเคารพในคุณวุฒิ วยั วุฒแิ ละประสบการณ์ในการทางาน 3.2 ให้ความร่วมมืออย่างเตม็ ทไ่ี ม่ถือเขาถือเรา 3.3 สุภาพ นุ่มนวล ไม่เย่อหยงิ่ 3.4 ให้คาปรึกษาแนะนาด้วยความสุภาพ 3.5 ให้ความเอื้อเฟื้ อเผ่ือแผ่ตามควร 3.6 ไม่อจิ ฉา ริษยา 3.7 ให้คาตชิ มโดยสุจริตใจ 3.8 รับคาตชิ มอย่างใจกว้างอารมณ์เยน็ 3.9 หากมขี ้อขดั แย้งกนั พยายามช่วยกนั แก้ไขกนั เอง ไม่ฟ้องผู้บงั คบั บญั ชา Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 24

ทศั นคตแิ ละจติ สานกึ ในการขบั รถอย่างปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขับรถ (ต่อ) ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธก์ บั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี 4. การสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์ระหว่างผู้ขบั รถกบั ผู้ใช้บริการ หวั ใจของการใหบ้ ริการท่ีดี ผใู้ หบ้ ริการตอ้ งระลึกเสมอวา่ “การบริการคืองานของเรา” การสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์กบั ผใู้ ชบ้ ริการคือ มอบสิ่งท่ีผใู้ ชบ้ ริการตอ้ งการใหม้ ากท่ีสุดเท่า ที่จะทาได้ ดงั น้ี 4.1 ความนุ่มนวลในการขบั รถ 4.2 ความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง 4.3 ความสะดวกสบายในการเดนิ ทาง 4.4 ความสะอาดเรียบร้อยของตวั รถ 4.5 ความสงบเรียบร้อยในการเดนิ ทาง 4.6 ตรงต่อเวลา 4.7 ความรับผดิ ชอบในภาระหน้าท่ี 25 Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

ทศั นคตแิ ละจติ สานึกในการขบั รถอย่างปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขับรถ (ต่อ) ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์กบั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี 4. การสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์ระหว่างผู้ขบั รถกบั ผู้ใช้บริการ (ต่อ) หวั ใจของการใหบ้ ริการที่ดี ผใู้ หบ้ ริการตอ้ งระลึกเสมอวา่ “การบริการคืองานของเรา” การสร้างมนุษยส์ มั พนั ธก์ บั ผใู้ ชบ้ ริการคือ มอบสิ่งท่ีผใู้ ชบ้ ริการตอ้ งการใหม้ ากท่ีสุดเท่า ท่ีจะทาได้ ดงั น้ี 4.8 ความมมี ารยาทและคุณธรรมในการขบั รถ 4.9 ความสะอาด เรียบร้อย และมวี นิ ัยของผู้ขบั รถ 4.10 แสดงความขอบคุณต่อผู้ใช้บริการให้เป็ นนิสัย Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 26

ทศั นคติและจติ สานึกในการขบั รถอย่างปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขบั รถ (ต่อ) ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์กบั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี 5. การสร้างมนุษย์สัมพนั ธ์ต่อเจ้าหน้าทจี่ ราจร หรือเจ้าหน้าทอี่ ่ืน ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง 5.1 ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บ ข้อบงั คบั อย่างเคร่งครัดสมา่ เสมอ 5.2 ยอมรับผดิ เมื่อกระทาผดิ และปฏิบตั ติ ามคาสั่งของเจ้าหน้าทอ่ี ย่างเต็มใจ 5.3 เมื่อเจ้าหน้าทต่ี กั เตือนควรเคารพและเช่ือฟังด้วยความสงบ 5.4 ไม่แสดงความอาฆาตมาดร้ายต่อเจ้าหน้าทเ่ี ม่ือได้รับคาส่ัง หรือกล่าวโทษ 5.5 การซักถามข้อสงสัย ข้อขดั ข้อง หรือขอความเมตตา เห็นใจจากเจ้าหน้าที่ ควรกระทา ด้วยความสุภาพ เรียบร้อย และมเี หตุผลทเ่ี หมาะสมด้วย 5.6 ให้เกยี รติเจ้าหน้าท่ี ไม่เย่อหยงิ่ ยโส อวดรู้ ดูหมน่ิ ดูแคลน เจ้าหน้าท่ี 5.7 มองโลกในแง่ดี ยมิ้ แย้มแจ่มใสอยู่เสมอ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 27

ทศั นคติและจติ สานึกในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขบั รถ (ต่อ) 28 ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์กบั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี 6. การใช้รถใช้ถนนร่วมกนั 6.1 เคารพกฎจราจร 6.2 ให้สัญญาณแตรเท่าทจี่ าเป็ น 6.3 เอือ้ เฟื้ อเพื่อนร่วมทาง 6.4 ช่วยเหลือบุคคลอ่ืนทเ่ี ดือดร้อน 6.5 ให้อภยั เพื่อนร่วมทาง 6.7 ขบั รถด้วยความสุภาพ 6.8 ให้สัญญาณขณะแซง 6.9 หลกี ทางให้ผู้อื่นแซงขนึ้ หน้า 6.10 ไม่ขบั รถจที้ ้าย ในระยะกระช้ันชิด 6.11 ไม่แข่งรถบนทาง Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

ทศั นคตแิ ละจติ สานกึ ในการขบั รถอย่างปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขับรถ (ต่อ) 29 ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธก์ บั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี ความต้ องการของผู้ใช้ บริการทางการขนส่ ง 1. ความตรงต่อเวลาของรถบริการด้านการขนส่ง 2. ความเหมาะสมของจานวนผู้โดยสารหรือส่ิงของต่าง ๆ 3. ความสะอาดเรียบร้อยของรถ 4. ความครบถ้วนของอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่าง ๆ 5. ความมมี ารยาทดี มคี ุณธรรมของผู้ประจารถ 6. ความสงบเรียบร้อยในการเดนิ ทาง 7. ความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง 8. ความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรมของผู้ประจารถ 9. ความมน่ั คงและความรับผดิ ชอบต่อผู้รับบริการ 10. ความสาเร็จเม่ือเสร็จสิ้นในการบริการด้วยความสวสั ดภิ าพ 11. ความถูกต้องครบถ้วนของส่ิงของต่าง ๆ นอกเหนือการบริการ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

ทศั นคติและจติ สานึกในการขบั รถอยา่ งปลอดภยั 1.5 มารยาทและมนุษย์สัมพนั ธ์ในการขบั รถ (ต่อ) ในการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธก์ บั คนท้งั 6 กลุ่มขา้ งตน้ จะตอ้ งใชเ้ ทคนิค ดงั ต่อไปน้ี พฤตกิ รรมทผี่ ู้ประจารถควรเลย่ี ง 1. แต่งกายไม่สุภาพ 2. กวกั มือหรือกดแตรเรียกผู้บงั คบั บญั ชา 3. ล้วง แคะ แกะ เกา หาว หวผี ม ส่องกระจกบ่อย ๆ ขณะปฏบิ ตั หิ น้าที่ 4. พูดจาลวนลาม หรือใช้คาไม่สุภาพ 5. พดู สอดขนึ้ ในขณะทผี่ ู้อ่ืนกาลงั สนทนากนั อยู่ 6. บ้วนนา้ ลาย หรือทงิ้ ส่ิงของลงบนรถและถนน 7. หยุดรถคุยกนั กลางถนน 8. นารถของบริษทั ไปใช้ส่วนตัว 9. ใส่นา้ มนั แต่งผมหรือนา้ หอมทม่ี กี ลนิ่ ฉุน Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 30

ทศั นคติและจติ สานกึ ในการขบั รถอย่างปลอดภยั สรุป ถาม - ตอบ 31 Revision 1/2018

บทท่ี 2 การเตรยี มความพรอ้ มของสภาพ ร่างกายและจติ ใจของผูข้ บั รถ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

การเตรยี มความพรอ้ มของสภาพร่างกายและจติ ใจ สมาธิและความพร้อมของร่างกาย เป็ นปัจจยั และสาเหตุทที่ าให้เกดิ อุบตั ิเหตุ ไม่ว่าจะขบั ข่ีรถมากปี่ ี กล่ี ้าน กโิ ลเมตร มีประสบการณ์ หรือมที กั ษะในการขับข่มี ามากขนาดไหน ถ้าขาด สมาธิ หรือ ความพร้อมทางร่างกายและจติ ใจ ท้งั เผลอ – หลงลืม ประมาท รู้เท่า ไม่ถึงการณ์ อาจพลาดด้วยเหตุผลใดกต็ าม หมายถึง อุบัติเหตุ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 33

การเตรยี มความพรอ้ มของสภาพร่างกายและจติ ใจ ปัจจยั ภายนอกรถและภายในรถทส่ี ่งผลทาให้ผู้ขบั ขข่ี าดสมาธิ มดี งั นี้ ภายนอกรถ ภายในรถ ทวิ ทศั น์ภายนอก อุปกรณ์ตกแต่งภายใน ป้ายโฆษณาต่าง ๆ อบุ ตั เิ หตุต่าง ๆ วทิ ยุ เครื่องเสียง โทรศัพท์มือถือ คนเดนิ เท้า ผู้โดยสาร Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 34

การเตรยี มความพรอ้ มของสภาพร่างกายและจติ ใจ ความพร้อมของร่างกาย ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อความพร้อมของร่างกาย เช่น การพกั ผ่อนไม่ เพยี งพอ มีโรคประจาตัว เมาสุรา ยาบ้า สายตาส้ัน – ยาว อายุมากขนึ้ หิวหรืออมิ่ เกนิ ไป สภาวะทางจิตใจ และอารมณ์ ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อสภาวะทางจติ ใจ และอารมณ์ เช่น มเี รื่องมา รบกวนใจ มเี ร่ืองต้องคดิ มคี วามกดดนั ความเครียด ปัญหาเร่ืองงาน ครอบครัว หนีส้ ิน โกรธ โมโห วติ ก กงั วล หมกมุ่น ฟุ้งซ่าน Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 35

บทที่ 3 การเตรยี มความพรอ้ มของรถ 36 Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560

การเตรยี มความพรอ้ มของรถ รถเป็ นหนึ่งในสาเหตุของการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ ซึ่งเกดิ ขนึ้ จากความบกพร่องของ ระบบการทางานของรถ การตรวจสอบและดูแลบารุงรักษาอย่างสมา่ เสมอ จะช่วยป้อง กนั อบุ ัตเิ หตุ ทาให้ใช้รถอย่างคุ้มค่า ประหยดั นา้ มนั เชื้อเพลงิ ประหยดั ค่าใช้จ่ายในการ ซ่อม ยืดอายุการใช้งาน ถูกต้องตามกฎหมาย และช่วยให้ผ้ขู ับรถเดนิ ทางถงึ ทห่ี มายอย่าง ปลอดภยั ตรงตามกาหนดเวลาอกี ด้วย การดูแลรักษาข้ันพืน้ ฐาน คือ การตรวจความพร้อมของระบบสัญญาณไฟต่าง ๆ ระดบั นา้ มนั เครื่อง ระดบั นา้ หล่อเยน็ ระดบั นา้ ฉีดกระจก ระดบั นา้ มนั เกยี ร์ ระดบั นา้ มนั เพาเวอร์ และทสี่ าคัญคือ การตรวจสอบยางรถยนต์ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 37

การเตรยี มความพรอ้ มของรถ การตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE - WAGON B (Brake) หมายถงึ ตรวจดูระดบั นา้ มนั เบรก นา้ มนั คลตั ช์ มพี อหรือมกี ารร่ัวซึม E (Electric) หมายถึง ระบบไฟฟ้าของรถยนต์ แบตเตอรี่ ไฟหน้า ไฟท้าย ไฟเลยี้ ว แตร W (Water) หมายถึง การตรวจระดบั นา้ ในหม้อนา้ นา้ ฉีดกระจก และใบปัดนา้ ฝน หมายถึง การตรวจลมยางทุกเส้น รวมถงึ ยางอะไหล่ สภาพยางและดอกยาง A (Air) หมายถึง การตรวจระดบั เชื้อเพลงิ และการรั่วซึมของเชื้อเพลงิ G (Gasoline) หมายถงึ การตรวจระดบั นา้ มนั เคร่ือง นา้ มนั เพาเวอร์ นา้ มนั เกยี ร์ หมายถึง การตรวจเสียงทดี่ งั มาจากเครื่องยนต์หรือตวั ถัง O (Oil) N (Noise) Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 38

การเตรยี มความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON B ดูระดบั นา้ มนั เบรก ตอ้ งอยรู่ ะหวา่ งขีดสูงสุดคือ MAX และขีดต่าสุดคือ MIN “ระดบั ของน้ามนั เบรกตอ้ งไม่ต่ากวา่ ระดบั ต่าสุด” Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 39

การเตรียมความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON B ตรวจระยะฟรีและความสูงของแป้นเบรก Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 40

การเตรียมความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON B ตรวจระดบั น้ามนั คลตั ช์ จะตอ้ งอยรู่ ะหวา่ ง ขีดสูงสุด (MAX) และขีดต่าสุด(MIN) Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 41

การเตรยี มความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON E ระบบไฟฟ้า (Electric) ตรวจโดยเปิ ดไฟส่องสวา่ งและสญั ญาณไฟทุกดวงแลว้ เดินดู • ไฟสูง – ไฟต่า • ไฟเล้ียวขวา – เล้ียวซา้ ย • ไฟฉุกเฉิน • แตร • ไฟเบรก ไฟถอยหลงั “หากพบไฟใดผิดปกติ ต้อง ไดร้ ับการแกไ้ ขก่อนนารถออกไปใชง้ าน” Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 42

การเตรียมความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON E ระบบไฟฟ้า (Electric) การพว่ งแบตเตอรี่ 1. ดบั เครื่องยนตค์ นั ไฟเตม็ 2. คีบข้วั บวกของคนั ไฟหมดก่อนคนั ไฟเตม็ 3. คีบข้วั ลบคนั ไฟเตม็ กบั ตวั ถงั หรือโครงเคร่ืองของคนั ไฟหมด (เพ่อื ป้องกนั ประกาย ไฟสปาร์คกบั กา๊ ซไฮโดรเจนท่ีระเหยออกมาดา้ นบนของแบตเตอร่ี) 4. ติดเครื่องคนั ท่ี มีไฟเตม็ ก่อน 5. ถอดสายพว่ งยอ้ นกลบั ข้นั ตอน Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 43

การเตรยี มความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON E ระบบไฟฟ้า (Electric) หลอดไฟและไฟเตือนท่ีแผงหนา้ มาตรวดั (หนา้ ปัด) Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 44

การเตรียมความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใช้งานแบบ BE ‟ WAGON W (Water) ตรวจระดบั นา้ ในหม้อนา้ และหม้อพกั • ระดบั นา้ ในหม้อนา้ ต้องเตม็ และระดบั นา้ ในหม้อพกั อยู่ระดบั FULL • ตรวจสอบฝาปิ ดหม้อนา้ และสปริงลนิ้ ระบายความดนั อยู่ในสภาพดี • ตรวจสอบสายพานปั๊มนา้ ท่อยางหม้อนา้ และรอยรั่วซึมตามจุดต่าง ๆ เคร่ืองยนต์ร้อนอาจมสี าเหตุ ดงั นี้ • ระบบนา้ หล่อเยน็ ร่ัวซึม • สายพานหย่อนหรือขาด • พดั ลมไฟฟ้าไม่ทางาน • ท่อยางหมดอายุ ท่อแตก • สายรัดไม่แน่น • วาล์วนา้ ชารุด • ระดบั นา้ ในหม้อพกั นา้ ต่าเกนิ ไป Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 45

การเตรยี มความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON A (Air) ตรวจสอบยางและแรงดนั ลมยาง • ถ้าแรงดนั น้อยเกนิ ไป เกดิ ความฝื ดระหว่างยางกบั ผวิ ถนนมาก ทาให้สิ้นเปลืองเชื้อ เพลงิ เกดิ ความร้อนสูง แก้มยางฉีกขาดได้ง่ายจากแรงกระแทกและทาให้ขอบท้งั สองด้านสึกหรอเร็วกว่าปกติ ถ้าแรงดนั มากเกนิ ไป ทาให้เกดิ การล่ืนไถลได้ง่าย ความสามารถในการยดึ เกาะน้อยลง และดอกยางตรงกลางสึกหรอเร็วกว่าปกติ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 46

การเตรยี มความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใช้งานแบบ BE ‟ WAGON G (Gasoline) ตรวจสอบระบบนา้ มนั เชื้อเพลงิ • ดูรอยร่ัวซึมต่าง ๆ • นา้ ในหม้อกรองดกั นา้ กรองดกั นา้ เป็ นอุปกรณ์ทใี่ ช้แยกนา้ ออกจากนา้ มนั เชื้อเพลงิ เพราะถ้ามนี า้ ปนจะทาให้ระบบหัวฉีดเสียหาย ตรวจสอบโดยการคลายปลกั๊ ถ่ายนา้ ออก • ไส้กรองอากาศ การทาความสะอาดห้ามเคาะโดยเดด็ ขาดเพราะจะทาให้กรองบดิ เบยี้ ว ให้ใช้ลมเป่ าจากทางด้านในออกมา อย่าเป่ าจากทางด้านนอกเพราะจะทาให้ฝ่ ุน ละอองทะลุเข้าไปด้านใน Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 47

การเตรยี มความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON O น้ามนั หล่อล่ืน (Oil) ตรวจระดบั น้ามนั หล่อล่ืน • ดึงกา้ นวดั ระดบั น้ามนั เครื่องออกมาแลว้ เชด็ ดว้ ยผา้ สะอาด จากน้นั ใหใ้ ส่กา้ นวดั กลบั เขา้ ไปและดึงออก มาอีกคร้ัง • ถา้ ระดบั น้ามนั เครื่องอยใู่ นระดบั ขีดต่าสุดและสูงสุดแสดงวา่ ปกติ ถา้ ระดบั ต่ากวา่ ขีดต่าสุดใหเ้ ติมเพ่มิ แต่อยา่ ใหเ้ กินขีดสูงสุดเพราะจะทาใหเ้ คร่ืองยนตเ์ สียหายได้ Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 48

การเตรียมความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON O น้ามนั หล่อลื่น (Oil) ตรวจระดบั น้ามนั เพาเวอร์ “ระดบั ตอ้ งอยขู่ ีดสูงสุด (MAX) • น้ามนั ที่เติมตอ้ งใชช้ นิดและยหี่ อ้ เดียวกนั เพราะถา้ ผสมหลายยหี่ อ้ จะทาใหซ้ ีลยางชารุดได้ • ถา้ ระดบั น้ามนั สูงเกินไปจะทาใหเ้ กิดฟองอากาศภายในระดบั ดงั น้นั ไม่ควรใหเ้ กินระดบั ขีดสูงสุด Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 49

การเตรียมความพรอ้ มของรถ วธิ ีการตรวจสภาพรถก่อนใชง้ านแบบ BE – WAGON O น้ามนั หล่อลื่น (Oil) ตรวจระดบั น้ามนั เพาเวอร์ “ระดบั ตอ้ งอยขู่ ีดสูงสุด (MAX) • นา้ มนั ทเี่ ตมิ ต้องใช้ชนิดและยห่ี ้อเดยี วกนั เพราะถ้าผสมหลายยหี่ ้อจะทาให้ซีลยางชารุดได้ • ถ้าระดบั นา้ มนั สูงเกนิ ไปจะทาให้เกดิ ฟองอากาศภายในระดบั ดงั น้ันไม่ควรให้เกนิ ระดบั ขดี สูงสุด Revision 1/2018 วณฐั สุข สงวนศิริ www. Advanceddefensives.com อา้ งอิง: กรมการขนส่งทางบก 2560 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook