Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-16 23:35:54

Description: คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Search

Read the Text Version

Page 50 40 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ผดั จนกระทงั่ ตัวยาแหง (ข) การผดั โดยใชร ําขาวสาลี หมายถงึ การนํารําขาวสาลใี สล งในภาชนะท่เี หมาะสม แลวให ความรอนจนกระทัง่ มคี วันออกมา เติมวตั ถุดิบสมุนไพรทส่ี ะอาดลงไป คนอยางรวดเรว็ จนกระท่งั ผวิ ของ ตวั ยาเปนสเี หลืองเขม นําออกจากเตา แลวรอนเอารําขาวสาลอี อก โดยทวั่ ไปใชร ําขา วสาลี 10 กโิ ลกรัม ตอ สมุนไพร 100 กโิ ลกรมั 4.2 การคัว่ (scalding) หมายถงึ การนาํ ทรายท่ีสะอาดหรือเปลือกหอยท่ีบดเปนผงใสในภาชนะที่ เหมาะสม แลว ใหความรอ นท่อี ณุ หภมู ิสงู เติมวตั ถุดบิ สมนุ ไพรท่สี ะอาดลงไป คนอยางสม่ําเสมอ จนกระท่งั ตัวยากรอบ เอาออกจากเตา รอนเอาทรายออก ตัง้ ทิง้ ไวใหเ ยน็ 4.3 การสะตุ (calcining) แบง เปน 2 ประเภท คอื การสะตแุ บบเปด และการสะตแุ ลว จุม ใน ของเหลวทก่ี าํ หนด (ก) การสะตุแบบเปด หมายถงึ การนําวัตถดุ ิบสมนุ ไพรทสี่ ะอาดมาทบุ ใหแ ตกเปนช้นิ เลก็ ๆ แลว นําไปวางบนเปลวไฟทไี่ มมคี วนั หรอื ใสใ นภาชนะทเ่ี หมาะสม สะตุจนกระทงั่ ตัวยากรอบ เปราะ หรือ รอนแดง จากนนั้ นําออกจากเตา ต้งั ทงิ้ ไวใ หเย็น แลว บดเปน ผงละเอยี ด สาํ หรบั ตวั ยาประเภทเกลอื อนินทรีย ท่มี ีนาํ้ ผลกึ ไมจ ําเปน ตอ งสะตุจนรอนแดง แตใหน าํ้ ผลกึ ระเหยออกอยางสมบูรณ (ข) การสะตุแลวจุมในของเหลวทก่ี าํ หนด หมายถงึ การนําวัตถดุ บิ สมุนไพรท่สี ะอาดมาสะตุ จนกระท่ังตัวยารอนแดง แลวนาํ ไปจุมลงไปในของเหลวที่กําหนดเพื่อลดอุณหภูมิจนกระทั่งตัวยากรอบ เปราะ (ทาํ ซา้ํ ถา จําเปน ) นาํ ตวั ยาไปทาํ ใหแหง บดเปนผงละเอียด 4.4 การเผาใหเ ปนถาน (carbonizing) หมายถึงการเผาสมุนไพร (ระวงั อยาใหเ ปนขี้เถา) โดย รักษาคณุ ภาพของตวั ยาไว หากเปนการเผาโดยวิธผี ดั ใหใสวัตถดุ ิบสมนุ ไพรท่สี ะอาดลงในภาชนะทีร่ อ น แลวผัดโดยใชระดับไฟแรง จนกระทงั่ ผวิ นอกของตวั ยามสี เี ขม และเน้ือในเปลยี่ นเปน สเี หลอื งเขม พรมน้ํา เล็กนอย เอาออกจากเตา แลวนาํ ไปตากแหง หากเปน การเผาโดยวิธีสะตุ ใหใ สว ัตถดุ ิบสมนุ ไพรท่สี ะอาด ลงในภาชนะสาํ หรบั สะตุท่ีมฝี าปด มดิ ชิด อบตัวยาใหทว่ั ตัง้ ทง้ิ ไวใ หเย็น แลว เอาตวั ยาออกมาใช 4.5 การน่งึ (steaming) หมายถึงการนําวัตถดุ บิ สมุนไพรท่ีสะอาดมาคลกุ เคลา กับสารปรุงแตง ทเ่ี ปนของเหลวใหเขากัน นาํ ไปใสในภาชนะนึ่งท่ีมีฝาปดมิดชิด น่ึงจนกระท่ังสารปรุงแตงท่ีเปนของเหลว แทรกซมึ เขาในเนือ้ ตวั ยา แลวนาํ ไปตากแหง 4.6 การตม (boiling) หมายถึงการนําวตั ถุดบิ สมุนไพรทส่ี ะอาดมาตม กับนํ้าหรอื สารปรุงแตง ท่ีเปน ของเหลว จนกระทงั่ น้าํ หรือสารปรุงแตง แทรกซมึ เขาเนอ้ื ในตัวยา แลวนําไปตากแหง

Page 51 คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 41 4.7 การตุน (stewing) หมายถึงการนําวัตถดุ บิ สมนุ ไพรที่สะอาดมาตุนกับสารปรงุ แตง ท่เี ปน ของเหลวในภาชนะตุนทม่ี ีฝาปดมิดชดิ ตุนจนกระท่งั สารปรงุ แตงซมึ เขาไปในตัวยาอยา งทว่ั ถงึ นําออกมา ทาํ ใหแ หง 4.8 การลวกดว ยนาํ้ เดือด (blanching in boiling water) หมายถึงการนําวตั ถดุ ิบสมุนไพรท่ี สะอาดใสล งในนาํ้ เดือด คนสักครแู ลว นาํ สมนุ ไพรออกจากนา้ํ (สําหรบั สมุนไพรบางชนิดเปลือกเมลด็ ช้ันนอก มีลักษณะยนและแหง จะตองใสน้าํ เดือดคนจนกระทั่งเปลือกเมล็ดพองตัวและมีผิวเรียบสามารถแยก ออกมาได) จากนน้ั นาํ ไปแชใ นนา้ํ เย็นเพอ่ื ลอกเอาเปลอื กเมล็ดชนั้ นอกออก แลวนําไปตากแดด 4.9 การแปรรูปโดยใชเ หลา (processing with wine) หมายถึงกระบวนการแปรรปู โดยใชเหลา เปน สารปรุงแตง (ปกตจิ ะใชเ หลา เหลือง) ไดแ ก การผดั การตนุ การนงึ่ ฯลฯ 4.10 การแปรรปู โดยใชน า้ํ สม (processing with vinegar) หมายถงึ กระบวนการแปรรูปโดย ใชน ํ้าสมเปน สารปรุงแตง (ปกตนิ ํา้ สม ทใี่ ชม กั ทํามาจากการหมกั กล่ันขา ว หรอื ขา วสาลี หรอื ขา วเกาเหลยี ง หรอื หัวเหลา) ไดแก การผดั การตม การนง่ึ ฯลฯ 4.11 การแปรรปู โดยใชนาํ้ เกลอื (processing with salt-water) หมายถงึ กระบวนการแปรรูป โดยใชนํ้าเกลือเปน สารปรงุ แตง ไดแก การผดั การน่งึ ฯลฯ 4.12 การผดั ดวยนาํ้ ขิง (stir-baking with ginger juice) หมายถงึ การผดั วตั ถดุ ิบสมุนไพรท่ี สะอาดโดยใชน าํ้ ขงิ เปนสารปรุงแตง ซง่ึ อาจใชน าํ้ คน้ั ขิงสด หรอื นํ้าตมจากขงิ แหง (ใชข งิ แหง บดแลวตม นํ้า 2 ครัง้ รวมน้าํ ตม จะไดนา้ํ ขิง) เตรียมโดยเติมน้ําขิงลงบนวตั ถดุ บิ สมุนไพรท่สี ะอาด คลุกเคลาใหเขา กนั นําไปผดั ในภาชนะทเ่ี หมาะสมดวยไฟออน ๆ จนกระท่ังนํา้ ขิงซมึ เขาเน้อื ในตัวยา นาํ ออกมาตากแหง ปกติ ใชข งิ สด 10 กิโลกรมั หรือ ขิงแหง 3 กโิ ลกรมั ตอ สมนุ ไพร 100 กิโลกรัม 4.13 การผดั ดว ยนา้ํ ผ้ึง (stir-baking with honey) หมายถึงการผดั วตั ถดุ ิบสมนุ ไพรท่ีสะอาด โดยใชน้าํ ผงึ้ เปนสารปรุงแตง เตรยี มโดยนํานาํ้ ผงึ้ บรสิ ุทธ์ิมาเจอื จางดว ยน้าํ ตม ในปรมิ าณท่เี หมาะสม ใส วตั ถุดิบสมุนไพรทสี่ ะอาด แลวคลุกเคลา ใหเขากัน หมกั ไวสกั ครเู พอ่ื ใหน ํา้ ผึ้งซมึ เขา ไปในตัวยา จากนนั้ นําไปผดั ในภาชนะทเ่ี หมาะสมโดยใชไ ฟออน ๆ ผัดจนกระท่ังมสี เี หลืองเขมและไมเหนยี วติดมือ นําออก จากเตา แลว ตง้ั ท้งิ ไวใหเย็น ปกตใิ ชนาํ้ ผ้ึงบรสิ ุทธิ์ 25 กิโลกรัม ตอ สมุนไพร 100 กโิ ลกรมั 4.14 การเตรยี มผงสีขาวเหมอื นนาํ้ คา งแข็ง (frost-like powder) หมายถงึ การขจดั น้ํามนั ออก จากสมนุ ไพรโดยการบดวตั ถุดบิ สมนุ ไพรทสี่ ะอาดจนมลี กั ษณะเหมอื นแปงเปย ก แลว ใหความรอ นโดยใชไฟ ออ น ๆ จากนนั้ บบี นา้ํ มันในสมุนไพรออกสว นหนึง่ จนกระทั่งไดต วั ยาทมี่ ีลักษณะเปนผงสีขาวละเอียด

Page 52 42 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก 4.15 การบดดว ยนา้ํ ใหล ะเอียด (levigating) หมายถึงการบดสมนุ ไพรใหเ ปนผงละเอยี ดโดย การเตมิ นา้ํ ลงในวตั ถุดิบสมนุ ไพรท่ีสะอาด ดําเนนิ การบดใหเปนผงละเอียด แลว เติมนํา้ เพ่ิมอีก คนใหท ่วั จากนัน้ ตักเอาเฉพาะตะกอนที่แขวนลอยอยูในนา้ํ ออกมาเก็บไว ใหทาํ ซา้ํ หลาย ๆ คร้ังจนกระทั่งสามารถ แยกสง่ิ แปลกปลอมออก นาํ ตะกอนแขวนลอยทเี่ กบ็ ไวมารวมกนั ตั้งท้ิงไวใ หน อนกน แยกเอาเฉพาะตะกอน นาํ ไปตากแหง บดเปนผงละเอียดมาก 5. 5-9 สารปรงุ แตง ทีใ่ ชบอ ยในกระบวนการแปรรปู เฉพาะของสมนุ ไพร สารปรุงแตง มี 2 ประเภท คือ สารปรงุ แตงทใ่ี ชใ นการผลิตยารปู แบบตา ง ๆ ซึ่งสารปรุงแตง ประเภทนีค้ อ นขา งเสถยี รหรอื มีความคงตวั และไมม ีผลตอตวั ยาหลกั ในการแตกตวั การดูดซมึ หรือปริมาณ สารสําคัญ สว นสารปรุงแตง อีกประเภทหนงึ่ จะมีผลตอตวั ยา เชน เสรมิ ฤทธ์ิหรอื ลดพิษของตวั ยา ลดอาการ ขางเคียงของตัวยา และมีผลตอ การเปลี่ยนแปลงทง้ั ทางกายภาพและทางเคมีของตัวยาได สารปรุงแตงมี ทง้ั รปู แบบที่เปน ของเหลวและเปนของแขง็ โดยท่ัวไปสารปรงุ แตง ท่ีใชบอ ยมดี งั นี้ 5.1 เหลา ในยุคโบราณใชเ หลาเหลอื ง ปจ จุบนั ใชเหลา เหลอื งและเหลา ขาว เหลามีคุณสมบัติ รอ นแรง รสหวานเผด็ มสี รรพคณุ เพมิ่ การไหลเวียนของเลือด ขับความเย็นสลายลม ดับกลนิ่ และรสของ สารตา ง ๆ และยงั ชว ยใหสารอนนิ ทรียบางอยา งแตกตัวและละลายนา้ํ ไดด ีขึ้น 5.2 นาํ้ สม มคี ุณสมบัติอนุ รสเปร้ียวขม เปน ตวั นําพาใหต ัวยา (กระสายยา) เขา ตบั ไดด ี มี สรรพคุณชว ยใหช ไ่ี หลเวยี น หา มเลอื ด ลดบวม แกป วด ชว ยปรับกลิ่นและรสใหด ีขนึ้ กรดน้ําสม จะจับ ตัวกับแอลคาลอยดไดสารประเภทเกลอื ทาํ ใหล ะลายน้าํ ไดด ี เม่ือตมจะทําใหตวั ยาละลายออกมาเรว็ 5.3 นาํ้ ผง้ึ มคี ุณสมบัติเยน็ รสหวาน สรรพคุณขบั พิษรอ น ลดไข หากนํามาตมใหสกุ มี คุณสมบตั ิอนุ รสหวานกลมกลอ ม สรรพคุณบํารุงจงเจยี ว (หมายถึงสว นกลางของรา งกาย ตงั้ แตส ะดือ ขึน้ ไปจนถึงล้นิ ป ไดแก กระเพาะอาหาร ตับ ถงุ น้ําดี และมา ม) สามารถขจดั พิษและใหค วามชุมช้นื แก ปวด ชว ยปรบั กลิน่ และรส เหมาะในการรกั ษาอวยั วะทง้ั หลาย นํา้ ผ้ึงจึงมคี ุณสมบตั ิชวยปรบั ประสานตัว ยาในตํารบั ใหเขากนั 5.4 เกลอื มีคณุ สมบัติเย็น รสเค็ม สรรพคณุ เสริมเอ็นกระดกู ใหแ ขง็ แรง ชว ยสลายตมุ กอ น ใหออนลง ขจดั รอนทาํ ใหโลหติ เย็น แกพ ษิ ปอ งกนั การเนา ตวั ยาท่ีแปรรปู โดยใชเกลือจะทาํ ใหค ณุ สมบตั ิ ของตวั ยาเปลีย่ นไปและเพ่มิ ฤทธ์ิของยาใหด ขี ้ึน 5.5 ขิง (น้ําขิงสด) สว นมากจะใชนํา้ คน้ั ขงิ สด มคี ุณสมบัติอนุ รสเผ็ด สรรพคุณกระจาย ลมตามผิวหนัง ดังน้นั จึงใชร กั ษาระยะแรกของโรคท่ีเกดิ จากปจจยั ภายนอก สลายความเย็น อุนจงเจยี ว

Page 53 คูม อื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 43 แกอาเจยี น ขบั เสมหะ ตวั ยาท่แี ปรรูปโดยใชน้าํ ขิงสามารถยบั ยงั้ คุณสมบัติเย็นและลดพษิ ของตวั ยาได 5.6 นา้ํ ชะเอมเทศ มีคุณสมบัตเิ ปนกลาง รสหวาน มีสรรพคุณบํารงุ มา ม บํารงุ ชี่ แกพ ิษไข แกไ อขบั เสมหะ บรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน ตัวยาทแี่ ปรรูปโดยใชนํ้าชะเอมเทศจะชว ยปรับคณุ สมบตั ิ ของตวั ยาใหส ขุ มุ และลดพิษของตัวยาได 5.7 นา้ํ ถวั่ ดํา มีคณุ สมบตั ิเปนกลาง รสหวาน สรรพคุณชว ยใหเลอื ดไหลเวียน ขับนาํ้ แกพษิ บาํ รุงตับและไต ตัวยาทแ่ี ปรรูปโดยใชน า้ํ ถว่ั ดําจะชว ยใหส รรพคณุ ของตวั ยาดีข้นึ และลดพิษหรอื ผลขางเคียง ของตัวยาได 5.8 นํ้าซาวขาว มคี ุณสมบัตเิ ยน็ รสหวาน สรรพคุณบํารุงช่ี ลดอาการกระวนกระวาย แก กระหายนาํ้ ขจดั พิษ นาํ้ ซาวขา วยังสามารถดูดซับไขมนั ไดดี จงึ มักใชก ับตวั ยาท่มี ีไขมันมากและตวั ยาที่มี รสเผด็ จะชวยบาํ รงุ มา ม ปรับธาตุไดด ี 5.9 น้ํามนั งา มคี ณุ สมบัติเยน็ เลก็ นอ ย รสหวาน สรรพคุณขจัดความรอ น ทาํ ใหชุมชน้ื ชว ย สรางเน้อื เยื่อ เนือ่ งจากนํา้ มันงามจี ุดเดอื ดสงู จึงมักนํามาแปรรปู ตวั ยาทมี่ เี ปลือกแขง็ มากหรือมีพษิ เพ่ือ ทาํ ใหต วั ยากรอบและลดพิษของตวั ยา เอกสารอางอิง 1. วชิ ัย โชคววิ ฒั น, ชวลิต สนั ติกิจรุง เรอื ง, เยน็ จิตร เตชะดํารงสิน (คณะบรรณาธิการ). ตาํ รับยาจีนท่ใี ชบอยในประเทศไทย เลม 1. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั งานกิจการโรงพิมพองคการทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2549. 2. สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก. หลักเกณฑขององคการอนามัยโลกเก่ียวกบั เกษตร และการเกบ็ เก่ยี วท่ีดเี หมาะสมสําหรบั พืชสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พองคการรับสง สินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.), 2548. 3. กันทิมา สิทธธิ ัญกจิ , พรทพิ ย เติมวเิ ศษ (คณะบรรณาธิการ). คมู ือประชาชนในการดแู ลสุขภาพดว ยการแพทยแผนไทย. พิมพค รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักงานกจิ การโรงพิมพองคการทหารผานศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ, 2547. 4. วฒุ ิ วุฒธิ รรมเวช. คัมภีรเภสัชรัตนโกสนิ ทร. พิมพครงั้ ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ศิลปส ยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพมิ พ จํากัด, 2547. 5. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 6. Xu CJ, Ye DJ. Zhongyao Paozhi Xue. 18th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 2003. 7. Ye DJ, Zhang SC, Huang WL, Pan SH, Gong QF, Chen Q. Zhongyao Paozhi Xue. 7th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 2001. 8. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 9. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005.

Page 54 44 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก การใชส มนุ ไพรรายชนดิ

Page 55 คูมือการใชสมุนไพรไทย-จนี 45 กระวาน : Doukou (豆蔻) กระวาน หรือ โตวโคว คือ ผลสุกของพืชท่ีมีช่ือวิทยาศาสตรวา Amomum kravanh Pierre ex Gagnep. หรือ A. compactum Soland ex Maton วงศ Zingiberaceae1 1 เซนติเมตร ลูกกระวาน (Fructus Amomi Rotundus) ชือ่ ไทย: กระวาน (จนั ทบรุ ี, ปต ตาน)ี ; ปลากอ (ปต ตาน)ี ; กระวานขาว, กระวานโพธิสตั ว (ภาคกลาง)2 ชื่อจีน: โตวโคว (จีนกลาง), เตาโขว (จีนแตจิ๋ว)1 ช่ืออังกฤษ: Round Cardamon Fruit1 ช่ือเครื่องยา: Fructus Amomi Rotundus1 การเกบ็ เก่ยี วและการปฏบิ ัตหิ ลังการเกบ็ เก่ียว: เก็บเกีย่ วผลสกุ ระหวางฤดรู อ นกบั ฤดใู บไมร ว ง แยกสง่ิ ทีป่ ะปนมาออก ตากแดดหรอื ทาํ ใหแ หงท่ี อณุ หภูมติ ่ํา เกบ็ รักษาผลแหง ในกระสอบปา นหรอื ถุงพลาสติก เกบ็ ไวใ นท่มี ีอากาศเย็นและแหง มีการ ระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรยี มตัวยาพรอ มใชมี 3 วธิ ี ดังน้ี วธิ ที ่ี 1 ผลกระวาน เตรียมโดยนําวัตถุดิบสมนุ ไพรมาคดั เอาสง่ิ ปนปลอมและกา นผลทง้ิ รอนเอา เศษเลก็ ๆ ออก ทุบใหแตกกอ นใช3 ,4

Page 56 46 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก วิธที ่ี 2 เนื้อผลกระวาน เตรียมโดยนาํ ตวั ยาท่ไี ดจากวิธที ่ี 1 มากะเทาะเอาเปลือกผลออก ใช 3,4 เฉพาะสวนเน้ือผล ทุบใหแตกกอนใช วิธที ่ี 3 เปลอื กผลกระวาน เตรยี มโดยนําเปลอื กผลท่ไี ดจากวิธที ่ี 2 มาใช 3,4 โดยทบุ ใหแตกกอนใช คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาท่ีมีคุณภาพดี ผลตองมีขนาดใหญ มีเน้ือมาก เปลือกผลบางและไมแตก สีขาวสะอาด กล่ินหอมฉุน3-5 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: ผลกระวาน รสเผ็ด อุน มีฤทธิ์สลายความชื้น ทาํ ใหชีห่ มุนเวียน แกอาการจุกเสียด แนน ล้ินป เบือ่ อาหาร และมีฤทธิ์ใหความอบอุนแกก ระเพาะอาหารและลําไส แกอ าเจยี น1 เน้ือผลกระวาน รสเผด็ เยน็ มีกลิ่นหอม มสี รรพคณุ เหมอื นผลกระวาน3,4 เปลอื กผลกระวาน รสเผด็ มีกลน่ิ หอมออน ๆ มสี รรพคณุ เหมอื นผลกระวาน แตค ณุ สมบตั อิ ุน นอยมาก และฤทธิข์ องยาออนมากเชน กนั 3,4 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนไทย: ผลกระวาน รสเผ็ดรอนหอม ใชแกอาการทองอืด ทองเฟอ และแนนจุกเสียด เปนยาขับ เสมหะ บาํ รุงธาตุ กระจายเลือดและลมใหซาน ผสมยาถายอื่น ๆ ปองกันไมใหจุกเสียดและไซทอง6,7 ขนาดที่ใชและวิธีใช: การแพทยแ ผนจนี ใช 3-6 กรัม ตมเอานาํ้ ดื่ม (ถาตมกับยาอ่ืนควรใสทีหลัง)1 การแพทยแผนไทย ใชผลแกจัดบดเปนผงรับประทานคร้ังละ 1.5-3 ชอนชา (1-2 กรัม) ชง กับน้ําอุน หรอื นาํ มาแชในแอลกอฮอลไ ดน าํ้ ยาสแี ดง รบั ประทานบาํ รงุ ธาตุ แกธาตพุ กิ าร อาหารไมย อ ย ทองอืดทองเฟอ8-10 ขอมูลวิชาการท่ีเก่ียวของ: 1. ผลแกข องกระวานประกอบดว ยนา้ํ มนั หอมระเหย 5-9% ซึง่ มีสารสาํ คญั คอื borneol, camphor, 1,8-cineole, linalool, pinene เปนตน มฤี ทธิ์ขับลม ลดการบีบตวั ของลาํ ไส จากการทดลอง พบวามคี วามปลอดภยั และไมมีฤทธกิ์ อกลายพนั ธุ9 2. สารสกดั เอทานอลและสารสกดั คลอโรฟอรม มีฤทธ์ิตา นเชือ้ รา Microsporum gypsicum, Trichophyton rubrum, Epiderphyton floccosum, Candida albicans และ Cryptococcus neoformans11

Page 57 คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 47 3. การทดสอบพิษเฉยี บพลนั ของสารสกัดดวย 40% เอทานอล น้าํ เหลาจากเมล็ดกระวานใน หนูถีบจกั ร โดยปอ นสารสกัดเขม ขน เทยี บเทา 0.5 กรมั ผงกระวาน/มลิ ลลิ ติ ร ในขนาด 1, 2 และ 10 มิลลิลติ ร/นํ้าหนกั ตวั แกหนูถบี จักรไมพบอาการพษิ และทดสอบพิษกง่ึ เฉยี บพลันโดยใหในขนาด 2 มิลลิกรัม/กโิ ลกรมั แกห นขู าวเพศผู เปนเวลา 14 วัน พบวา ไมทาํ ใหสตั วท ดลองตาย สว นพษิ เฉียบพลัน ของนา้ํ มนั หอมระเหยเมื่อใหทางปากแกห นูถบี จักร มีคา LD50 เทา กบั 2.52 และ 2.65 กรมั /กิโลกรมั ใน เพศผูและเพศเมียตามลาํ ดบั อาการพษิ ท่ีพบเมือ่ ใหในขนาดสงู คือ นํา้ ลายฟูมปาก ชักเกรง็ หายใจ กระตกุ หยุดหายใจและตายในท่ีสดุ 10 และยงั พบวา เม่ือใหส ารสกดั ผลแหงดวยแอลกอฮอลในขนาด 2 มลิ ลิลติ ร/กิโลกรัม เปนเวลา 2 สปั ดาห 12 ไมพ บพษิ เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.1. English Edition. Beijing: Chemical Industry Press, 2000. 2. ลีนา ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บุญทวคี ณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ชือ่ พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินันทน ฉบบั แกไ ขเพ่มิ เติม พ.ศ. 2544). สํานกั วชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กดั , 2544. 3. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 4. Lei GL, Dun BS. Zhongyao Paozhi Jishu Zhinan. 1st ed. Xi-an: World Library Publishing House, 2002. 5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 6. ลดั ดาวลั ย บุญรัตนกรกจิ . สมนุ ไพรนา ใช เลม 1. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ แทนทองปรนิ้ ต้ิงเซอรวิส, 2535. 7. สํานักงานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ . คูมือการใชส มุนไพร เลม 1. กรงุ เทพมหานคร : หจก. เอช-เอน การพิมพ, 2527. 8. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช. คัมภีรเภสัชรตั นโกสินทร. พมิ พค ร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ศิลปสยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพิมพ จาํ กัด, 2547. 9. กนั ทิมา สทิ ธธิ ัญกิจ, พรทพิ ย เตมิ วิเศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คูมอื ประชาชนในการดูแลสุขภาพดว ยการแพทยแ ผนไทย. พมิ พครัง้ ท่ี 2 กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั งานกิจการโรงพิมพองคการทหารผา นศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2547. 10. พรอ มจิต ศรลัมภ, วงศส ถติ ย ฉว่ั กุล, สมภพ ประธานธุรารกั ษ (คณะบรรณาธิการ). สมนุ ไพรสวนสิรีรุกขชาติ สารานกุ รมสมุนไพร เลม 1. พมิ พครง้ั ท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท อมรินทรพร้ินติ้งแอนดพับลิชชิง่ จาํ กัด (มหาชน), 2543. 11. กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . เอกสารวิชาการสมนุ ไพร. นนทบรุ ี : สถาบันวิจยั สมุนไพร, 2543. 12. Kwanjaipanich S, Likitaporn T, Wongkrajang Y, Jaiarj P, Wacharakup O. Toxicity test of Amomum krervanh Pierre. Undergraduate Special Project Report, Fac Pharm, Mahidol Univ 1989.

Page 58 48 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก กะเมง็ : Hanliancao (旱莲草) กะเม็ง หรือ ฮ่ันเหลียนเฉา คือ สวนเหนือดินแหงของพืชท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรวา Eclipta prostrate L. วงศ Compositae1 1 เซนติเมตร ตนกะเม็ง (Herba Ecliptae) ชื่อไทย: กะเม็ง, กะเม็งตัวเมีย, คัดเม็ง (ภาคกลาง); หญาสับ, ฮอมเก่ียว (ภาคเหนือ)2 ชื่อจีน: ฮั่นเหลียนเฉา (จีนกลาง), อั่วโหนยเชา (จีนแตจ๋ิว)1 ชื่ออังกฤษ: Yerbadetajo Herb1 ช่ือเครื่องยา: Herba Ecliptae1 การเกบ็ เกยี่ วและการปฏิบตั หิ ลังการเกบ็ เก่ียว: เก็บเกี่ยวสวนเหนือดินในระยะออกดอก ตากแดดหรือตากในที่รมใหแหง เก็บรักษาไวใ นที่มี อากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: หลงั เก็บเกยี่ วสมนุ ไพรแลว แยกสงิ่ อน่ื ท่ีปะปนออก ลางนาํ้ อยา งรวดเรว็ ใหส ะอาด ผ่ึงไวใ หแหง หมาด ๆ นํามาหนั่ เปนทอน ๆ ตากใหแหง1,3 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาท่ีมีคุณภาพดี ตองมีลําตนกลมสีเขียวเขม มีลายเสนตามแนวยาว เมื่อนําลําตนและใบ มาแชน้ําจะมีสีเขียวผสมสีหมึก3

Page 59 คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน 49 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: กะเมง็ รสเปรยี้ วอมหวาน เย็น มีฤทธบ์ิ ํารุงตับและไต ใชแกอ าการมนึ ศรี ษะ ตาลาย ผมหงอก เร็ว ปวดเม่ือยบริเวณเอวและหัวเขา หูอ้ือ ฝนเปยกจากภาวะยินของตับและไตพรอง และมีฤทธิ์หาม เลือด ทาํ ใหเลือดเย็น ใชแกอาการเลือดออกเพราะภาวะยินพรอง ทําใหเลือดรอน เชน เลือดกําเดา ไหล ไอเปนเลือด ปสสาวะ ถายเปนเลือด ตกเลือดในสตรี1 สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแ ผนไทย: ตน กะเม็ง รสขมเฝอ นเย็น สรรพคณุ แกล มใหกระจาย แกจกุ เสียดแนน เฟอ หา มเลือด บํารุง เลอื ด แกโ รคโลหติ จาง แกไ อเปน เลอื ด อาเจียนเปนเลอื ด ปสสาวะเปนเลือด อุจจาระเปน เลอื ด แกไอ กรน แกรดิ สดี วงทวาร แกเ จบ็ ตา แกเ จบ็ คอ ใชทาพอก แกผ ืน่ คนั แกฝพุพอง รักษาแผลตกเลอื ด4 ขนาดท่ใี ชแ ละวธิ ใี ช: การแพทยแผนจีน ใช 6-12 กรัม ตมเอาน้ําด่ืม1 ขอหามใช ขอ ควรระวัง และอาการขา งเคยี ง: การแพทยแผนจนี หา มใชใ นผูปว ยทมี่ ามพรอง ไตยินพรอ ง และพวกปส สาวะบอย ๆ ไมห ยดุ หรือถา ยเปน นา้ํ มาก ๆ5 ขอ มลู วิชาการทเี่ ก่ียวขอ ง: 1. มีรายงานวาสารสกัดนํ้าและสารสกัดบิวทานอลมีฤทธ์ิตานเช้ือ Staphylococcus aureus และ Escherichia coli ในหลอดทดลอง และสารสกดั มฤี ทธ์ิปกปอ งตับจากสารพษิ carbontetrachloride 5,6 ในหนตู ะเภาเพศเมียไดผ ลดี ยาตมจากตนกะเมง็ มสี รรพคณุ แกโรคบดิ โดยทัว่ ไปรบั ประทานคร้งั เดียว ก็เรมิ่ เห็นผล6 2. ตนกะเม็งผงมีฤทธห์ิ ามเลือดในสุนัขเม่ือใชภ ายนอกไดผ ลดี และยงั ชว ยใหก ารไหลเวียนของ เลือดไปเลี้ยงหวั ใจของหนตู ะเภาดีขึ้น เมอื่ ใหห นูขาวทไ่ี ดรับสาร cyclandelate ขนาด 100 มลิ ลกิ รมั / กโิ ลกรัม รบั ประทานสารสกัดแอลกอฮอลใ นขนาด 0.4 มิลลลิ ติ ร เทยี บเทา กับผงสมนุ ไพร 60 กรัม/ กิโลกรมั ทุกวนั ตดิ ตอ กนั 4 วัน พบวา จํานวนเซลลเ มด็ เลอื ดขาวเพม่ิ ขนึ้ 483 เซลล/ตารางมิลลเิ มตร แสดงวาสารสกดั แอลกอฮอลสามารถลดฤทธิ์ของ cyclandelate ตอ การลดจาํ นวนเซลลเมด็ เลือดขาวได6 3. การศึกษาพษิ เฉยี บพลนั โดยใหผงยาทางปากหนูถีบจักร พบวา คา LD50 มีคา เทากบั 163.4 กรัม/กโิ ลกรัม6

Page 60 50 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก 4. การทดลองทางคลนิ กิ พบวา เมอ่ื ใหผ ูปวยโรคหวั ใจรบั ประทานสารสกัดตนกะเมง็ ในขนาด 15 กรมั /คร้ัง (เทียบเทาผงยา 30 กรมั ) วันละ 2 คร้ัง ตดิ ตอกนั นาน 1 เดือน พบวา สารสกดั ดงั กลาว สามารถบรรเทาอาการวงิ เวียนศรี ษะ ปวดเคนอก ปวดหลงั หายใจขดั หรือแนนหนา อกไดผ ลดี นอกจากนี้ ตน กะเม็งมสี รรพคุณลดไขใ นเดก็ สามารถใชรบั ประทานหรือตมน้ําอาบก็ได6,7 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.1. English Edition. Beijing: Chemical Industry Press, 2000. 2. ลนี า ผูพัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวีคุณ (คณะบรรณาธิการ). ชอื่ พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินันทน ฉบบั แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2544). สํานักวชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพครั้งท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กัด, 2544. 3. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 4. วุฒิ วฒุ ิธรรมเวช. คัมภีรเภสชั รัตนโกสินทร. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ศลิ ปสยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพิมพ จาํ กัด, 2547. 5. ชยั โย ชัยชาญทพิ ยทุ ธ, วชิรา แดนตะวัน, สนุ ทรี วิทยานารถไพศาล, สําลี ใจดี, วบิ ูลย โชคชยั วัฒนพร, นภาพร วิทิตภัทรภาคย, ขวญั จิต ภสู าระ. การใชส มุนไพร เลม 1: รายงานการรวบรวมขอ มลู เบือ้ งตน สาํ หรับงานวจิ ยั ของโครงการพฒั นาเทคนคิ การทาํ ยา สมนุ ไพร. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั , 2522. 6. Zhang Y, Lin ZB. Herba Ecliptae: mo han lian In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 7. Institute of Medicinal Plant Development and Institute of Materia Medica, Chinese Academy of Medicinal Sciences. Chinese Materia Medica. Vol. IV. 2nd ed. Beijing: Renmin Weisheng Publishing House, 1988.

Page 61 คูมอื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 51 กานพลู: Dingxiang (丁香) กานพลู หรอื ติงเซียง คอื ดอกตูมแหงของพืชทีม่ ีช่ือวทิ ยาศาสตรวา Syzygium aromaticum (L.) Merr. et Perry. วงศ Myrtaceae1 2 เซนติเมตร กานพลู (Flos Caryophylli) ช่ือไทย: กานพลู (ภาคกลาง)2,3 ชื่อจีน: ติงเซียง (จีนกลาง), เต็งเฮีย (จีนแตจ๋ิว)1 ช่ืออังกฤษ: Clove1 ช่ือเครื่องยา: Flos Caryophylli1 การเก็บเกย่ี วและการปฏบิ ตั หิ ลงั การเกบ็ เก่ียว: เก็บเกี่ยวดอกตมู เม่ือกานดอกเร่ิมเปล่ียนจากสเี ขียวเปน สีแดงอฐิ ตากแดดใหแหง เก็บรกั ษาไว ในทีม่ ีอากาศเย็นและแหง มกี ารระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: นําวัตถุดิบสมุนไพรมาคัดแยกเอาสิง่ ปนปลอมออก รอ นเอาเศษเล็ก ๆ ออก ทบุ ใหแตกกอ นใช1 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาทม่ี คี ณุ ภาพดีตองเปนดอกขนาดใหญ แหงสนิท สแี ดงอมมวง มนี ้ํามันมากและมไิ ดส กดั เอานํ้ามันออก (กานพลทู ีผ่ า นการสกัดเอานํ้ามนั ออกแลว จะมีสรรพคุณทางยาตาํ่ ) กลิน่ ฉนุ รสเผ็ดจัด3-5

Page 62 52 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: กานพลู รสเผด็ อนุ มฤี ทธ์ิใหค วามอบอุนแกกระเพาะอาหาร กระจายความเยน็ ระงบั ปวด สรรพคณุ แกอาเจียน แกส ะอกึ เน่อื งจากความเย็น แกปวดทองนอ ยเน่ืองจากระบบกระเพาะอาหารเย็น นอกจากนีย้ งั มฤี ทธ์ใิ หค วามอบอนุ แกระบบไต เสริมหยาง แกอ วยั วะเพศไมแขง็ ตัว มดลูกเยน็ เปน ตน1 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนไทย: ดอกกานพลแู หง ทย่ี งั ไมไ ดสกัดเอานํ้ามนั ออก รสเผ็ดรอ น กลิ่นหอมจดั สรรพคณุ แกท องเสยี ขบั ลม แกท อ งอดื ทอ งเฟอ ใชด ับกลน่ิ ปาก นา้ํ มนั กานพลใู ชเ ปน ยาขบั ลม ยาฆา เชือ้ โรค ใสฟ น ฆา เชอื้ และเปน 6,7 ยาชาเฉพาะที่ ชว ยระงับอาการปวดฟน ใชแ กโ รคราํ มะนาด ใชระงับกลิน่ ปาก ขนาดที่ใชและวิธีใช: การแพทยแ ผนจนี ใชขนาด 1-3 กรมั ตม เอานาํ้ ดมื่ 1 การแพทยแผนไทย ใชดอกแหง 5-8 ดอก (0.12-0.16 กรัม) ตมเอาน้ําดม่ื หรอื บดเปน ผง ชง นา้ํ ดื่ม หรือเคี้ยวกานพลูแหง 1-2 ดอก หลงั อาหาร เพื่อชวยลดกล่นิ ปาก ชวยใหป ากสะอาด และชว ยลด อาการทอ งอดื จากอาหารไมย อ ย นอกจากนีด้ อกกานพลยู ังชว ยปอ งกันไมใ หเด็กออ นทอ งอืดทอ งเฟอได โดย ใชดอกแหง 1 ดอก แชไ วใ นกระตกิ นํ้ารอ นทีใ่ ชชงนมใหเด็กออน การใชน าํ้ มันกานพลูเปนยาแกป วดฟนทํา โดยใชสําลชี บุ นาํ้ มันกานพลูอุดตรงฟน ที่ปวด หรอื ใชดอกแหง ตําพอแหลก ผสมเหลา ขาวเล็กนอย ใชส ําลี ชุบอุดรูฟน 4,6,8,9 ขอหามใช ขอควรระวัง และอาการขางเคียง: หา มใชใ นผูเปน ไข อาเจียน รอ นใน และหา มใชก านพลูรว มกับวา นนางคาํ เน่ืองจากกานพลจู ะถกู ขม ดวยวา นนางคํา (การแพทยแ ผนจีน)1,9 ขอมูลวิชาการที่เกี่ยวของ: 1. นํ้ามนั หอมระเหยซึง่ สกัดจากดอกกานพลูดว ยการกล่นั มีฤทธต์ิ านเช้ือแบคทเี รียได 25 ชนดิ (ประกอบดวยแบคทีเรียแกรมลบ 9 ชนดิ และแกรมบวก 16 ชนิด ซงึ่ เปน แบคทีเรยี ท่ีกอ ใหเ กิดโรคใน สัตว พชื และแบคทีเรียท่ีทําใหอาหารเนา เสยี ) โดยความกวางของโซนท่ยี บั ยงั้ การเจริญของเชอื้ อยูใ นชว ง 7-28 มิลลเิ มตร10 2. สารสกัดเมทานอลจากดอกตูมของกานพลูมีฤทธิ์ตานเชื้อจุลินทรียตอ oral pathogen ท่ี ทําใหเ กิดฟน ผุและโรคเหงือกและฟนได 2 ชนดิ คือ Prevotella intermedia และ Porphyromonas gingivalis โดยมีคา MIC เทากบั 156 และ 625 ไมโครกรมั /มิลลลิ ิตร ตามลําดับ แตสารสกดั ดังกลาว

Page 63 คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน 53 ไมมีฤทธิต์ อแบคทเี รยี ทท่ี ําใหฟ นผุอกี 2 ชนิดคือ Streptococcus mutans และ Actinomyces viscosus (MIC > 2.5 มิลลกิ รมั /มิลลลิ ติ ร)10 3. สาร eugeniin ทไ่ี ดจากสารสกัดกานพลมู ีฤทธ์ิในการตานเชือ้ ไวรสั ชนดิ wild herpes virus type 1 โดยมคี า EC50 เทากบั 5 ไมโครกรมั /มิลลิลติ ร และสามารถตา นเชือ้ ไวรัสชนิด acyclovir- phosphonoacetic acid-resistant herpes virus type 1, thymidine kinase-deficient herpes virus type 1 และ wild herpes virus type 2 ไดดว ย10 4. สารสกัดเมทานอลจากดอกกานพลูมีฤทธ์ยิ บั ยงั้ IL-8 ไดม ากกวา 50% ซึ่ง IL-8 เปน neutrophil chemoattractant และเกี่ยวขอ งกบั กระบวนการอกั เสบได ดังนนั้ สารสกัดกานพลนู จี้ งึ อาจมี ฤทธต์ิ า นการอกั เสบ แตอยา งไรกต็ ามกระบวนการอกั เสบเปนกระบวนการทเ่ี กีย่ วของกบั สารหลายชนดิ ดว ยกนั ดงั นนั้ การยับย้งั สารเพียงชนิดใดชนดิ หน่งึ จงึ ยงั ไมส ามารถบงชถ้ี งึ ประสิทธภิ าพในการตา นการ อกั เสบได10 5. สาร eugenol บรสิ ุทธิ์ มคี า LD50 ในหนขู าว เทา กบั 1.93 กรัม/กโิ ลกรัม อาการพิษที่พบ ไดแก อมั พาตทข่ี าหลงั และกรามลาง เฉ่อื ยชา เคลือ่ นไหวชา หรอื เคลอ่ื นไหวไมไ ดเ ลย กลัน้ ปสสาวะไมไ ด มปี ส สาวะเปนเลอื ด และโคมา ซง่ึ จะมีอาการหายใจขัด และหัวใจวาย10 6. จากการศกึ ษาพิษเฉยี บพลันในหนถู ีบจักรของสารสกัด 50% แอลกอฮอลจ ากดอกกานพลู พบวา คา LD50 มคี า มากกวา 10 กรมั /กิโลกรัม เมือ่ ใหโดยการปอนหรือฉดี เขา ใตผวิ หนัง11 7. จากการศึกษาในหนขู าวพบวา สารสกัดนาํ้ จากดอกกานพลสู ามารถยบั ยั้งการเกิด systemic anaphylaxis โดยมีคา IC50 เทากบั 31.25 มิลลิกรัม/กโิ ลกรมั และสามารถยบั ย้ังการเกดิ local Ig E- mediated passive cutaneous anaphylaxis reaction ได โดยมคี า IC50 เทากับ 17.78 และ 19.81 มลิ ลิกรัม/กิโลกรมั เมือ่ ใหโ ดยฉีดเขา เสน เลือดดํา และใหทางปาก ตามลาํ ดับ และจากการศึกษาในหลอด ทดลอง สารสกดั นีย้ ังสามารถลดการหลงั่ ฮสี ตามนี จาก RMPC ไดอ กี ดว ย ดังนน้ั สารสกดั กานพลูน้มี ี ประสิทธิภาพในการลดการเกดิ ภูมิคุมกนั ไวเกนิ ไดจากการศึกษา model ดงั กลา ว10 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผพู ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวคี ุณ (คณะบรรณาธิการ). ช่อื พรรณไมแหง ประเทศไทย (เต็ม สมติ ินนั ทน ฉบับแกไ ขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2544). สาํ นักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กัด, 2544. 3. ชยนั ต พเิ ชียรสนุ ทร, แมน มาส ชวลติ , วิเชียร จีรวงศ. คําอธิบายตาํ ราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พค ร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สํานกั พิมพอมรนิ ทร, 2548.

Page 64 54 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก 4. กองวจิ ัยและพัฒนาสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . สมุนไพรพนื้ บา นฉบับรวม. พิมพค รงั้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : Text and Journal Corporation Co., Ltd., 2533. 5. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 6. กนั ทิมา สิทธิธัญกิจ, พรทิพย เติมวิเศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คูมอื ประชาชนในการดแู ลสุขภาพดว ยการแพทยแผนไทย. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกิจการโรงพิมพองคการทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2547. 7. พเยาว เหมือนวงษญ าต.ิ สมนุ ไพรกาวใหม. พิมพค รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ท.ี พ.ี พร้ิน จํากดั , 2537. 8. วนั ดี กฤษณพันธ, เอมอร โสมนะพันธุ, เสาวณี สุริยาภณานนท. สมุนไพรในสวนครัว. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักพิมพเมดคิ ัล มเี ดยี , 2541. 9. บริษัท หลกั ทรัพยจัดการกองทนุ กสกิ รไทย จํากดั . มหัศจรรยสมนุ ไพรจนี . กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ซีเอ็ดยเู คชั่น จํากัด มหาชน, 2550. 10. บพติ ร กลางกัลยา, นงลักษณ สขุ วาณิชยศ ลิ ป. รายงานผลการศึกษาโครงการการประเมนิ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา จากสมุนไพร. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท เอส อาร พรนิ้ ติง้ แมสโปรดกั ส จํากัด, 2544. 11. มงคล โมกขะสมิต, กมล สวัสดีมงคล, ประยทุ ธ สาตราวาหะ. การศึกษาพษิ ของสมนุ ไพรไทย. ใน: ปราณี ชวลิตธํารง, ทรงพล ชีวะพัฒน, เอมมนัส อัตตวิชญ (คณะบรรณาธิการ). ประมวลผลงานวจิ ัยดา นพษิ วิทยาของสถาบันวจิ ัยสมุนไพร เลม 1. พิมพครั้งท่ี 1. กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พก ารศาสนา, 2546.

Page 65 คูม ือการใชสมุนไพรไทย-จนี 55 ก่งิ หมอน : Sangzhi (桑枝) กิ่งหมอน หรือ ซังจือ คือ ก่ิงออนที่ทําใหแหงของพืชท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรวา Morus alba L. วงศ Moraceae1 1 เซนติเมตร ก่ิงหมอน (Ramulus Mori) ช่ือไทย: กิ่งหมอน (ทั่วไป)2 ช่ือจีน: ซังจือ (จีนกลาง), ซึงกี (จีนแตจิ๋ว)1 ช่ืออังกฤษ: Mulberry Twig1 ช่ือเครื่องยา: Ramulus Mori1 การเก็บเกี่ยวและการปฏบิ ตั หิ ลงั การเก็บเก่ียว: เก็บเกี่ยวกิ่งออนไดตลอดป แตระยะที่เหมาะสมควรเก็บตอนตนฤดูรอน ริดใบออก ตาก แดดใหแหง เกบ็ รกั ษาไวในท่ีมีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1,3 การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรยี มตวั ยาพรอมใชม ี 3 วธิ ี ดังน้ี วิธที ี่ 1 กิง่ หมอน เตรยี มโดยนําวัตถุดิบสมุนไพรทีป่ ราศจากส่ิงปนปลอมมาลางนํ้าใหส ะอาด ใส ภาชนะหมักไวสกั ครเู พอ่ื ใหอ อ นนุม หั่นเปนแวนหนา ๆ นําไปตากแดดใหแหง1,4 วิธีท่ี 2 ก่ิงหมอนผัด เตรียมโดยนาํ ตัวยาที่ไดจากวิธีท่ี 1 ใสกระทะ นาํ ไปผัดโดยใชไฟระดับ ปานกลาง ผดั จนกระทัง่ ตวั ยามสี ีเหลือง นําออกจากเตา ตากใหแ หง ในทรี่ ม1,4 วิธีท่ี 3 ก่ิงหมอนผัดเหลา เตรียมโดยนาํ ตัวยาที่ไดจากวิธีที่ 1 ใสในภาชนะที่เหมาะสม เติม

Page 66 56 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก เหลา เหลืองปริมาณพอเหมาะ แลว คลกุ เคลาใหเ ขา กนั จนกระทั่งเหลา แทรกซมึ เขา เนื้อของตวั ยา จากนน้ั นาํ ไปผัดโดยใชไ ฟระดับปานกลาง ผัดจนกระทง่ั ตวั ยามสี เี หลอื ง นาํ ออกจากเตา ตากใหแ หง ในที่รม (ใช เหลาเหลือง 12 กิโลกรมั ตอ ตวั ยา 100 กิโลกรมั )1,4 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาท่มี ีคณุ ภาพดีตองเปนกิง่ ออ น ดานหนาตดั สีขาวอมเหลือง แขง็ และเหนียว3,5 สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน: ก่ิงหมอน รสขม สุขุม มีฤทธ์ิขับลม ทําใหเสนลมปราณคลองตัว ใชรักษาอาการปวดขอ เสน เอ็น หรือกลามเนื้อ และมีฤทธิ์คลายอาการขัดของขอตอ ใชแกอาการมือเทาเปนตะคริว1 กิง่ หมอ นผัด มฤี ทธ์ชิ วยใหเสน ลมปราณแขนขาไหลเวียนดี สว นใหญใ ชร กั ษาอาการปวดเมื่อย และชาตามหวั ไหลแ ละแขน1,4 กิ่งหมอนผัดเหลา มีฤทธิ์แรงในการขับลมและระบายความช้ืน ชว ยใหเสนลมปราณไหลเวยี น และระงับปวดไดด ี ใชรกั ษาอาการปวดขอ ตอ แขนขาหดเกร็งหรือชกั กระตุก4 ขนาดที่ใชและวิธีใช: การแพทยแผนจีน ใช 9-15 กรัม ตมเอานํ้าด่ืม1 ขอมูลวิชาการที่เก่ียวของ: มีรายงานการวิจยั วา สารสกัดก่งิ ออนหมอนมฤี ทธย์ิ ับย้ังเอนไซม tyrosinase และการสรา ง melanin แตไมมผี ลยบั ยงั้ การสรางเอนไซมห รือตอ gene expression ของเอนไซม สารสกดั นี้สามารถ ลดการสราง melanin บนผวิ หนตู ะเภาท่ีไดรบั รังสี UV ได โดยสารสาํ คญั ท่ีออกฤทธิค์ ือ 2,3’,4,5’- tetrahydroxystilbene (2-oxyresveratrol) IC50 มีคา เทากบั 0.23 กรมั /มิลลลิ ติ ร ผลการทดสอบความ เปนพิษของสารสกดั พบวา ไมทาํ ใหเ กดิ พษิ เมอ่ื ทดสอบพษิ เฉียบพลนั การระคายเคืองผวิ หนงั การกอใหเ กดิ อาการแพ สาร 2-oxyresveratrol มีฤทธิย์ ับยง้ั tyrosinase ไดแรงกวา resveratrol (3,4’,5- trihydroxy- stilbene) 150 เทา6 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บุญทวีคุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่ือพรรณไมแหง ประเทศไทย (เตม็ สมิตินันทน ฉบับแกไ ขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2544). สํานักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค รงั้ ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จํากัด, 2544. 3. กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . สมุนไพรไทย-จนี . กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พก ารศาสนา, 2547. 4. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 6. Lee KT, Lee KS, Jeong JH, et al. Inhibitory effects of Ramulus mori extracts on melanogenesis. J Cosmet Sci 2003, 54(2): 133-42.

Page 67 คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จีน 57 กง่ิ อบเชยจีน : Guizhi (桂枝) ก่งิ อบเชยจีน หรอื กุย จือ คอื กิง่ ออ นแหง ของพืชทีม่ ีชือ่ วทิ ยาศาสตรว า Cinnamomum cassia Presl วงศ Lauraceae1 2 เซนตเิ มตร ก่งิ อบเชยจนี (Ramulus Cinnamomi) ช่ือไทย: ก่ิงอบเชยจีน2 ชื่อจีน: กยุ จอื (จีนกลาง), กุย กี (จีนแตจ ว๋ิ )1 ช่ืออังกฤษ: Cassia Twig1 ชื่อเคร่ืองยา: Ramulus Cinnamomi1 การเก็บเกี่ยวและการปฏิบตั หิ ลงั การเกบ็ เก่ียว: เก็บเกย่ี วก่ิงออ นในฤดใู บไมผ ลแิ ละฤดูรอ น แยกเอาใบออก ตากแดดใหแหง เกบ็ รกั ษาไวใน 1 สถานทม่ี อี ากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรียมตวั ยาพรอมใชมี 2 วธิ ี ดงั น้ี วธิ ที ่ี 1 ก่งิ อบเชยจนี เตรียมโดยนาํ วัตถุดิบสมุนไพรทีไ่ ด มาลางดวยนํ้าสะอาด แชน้าํ สักครู เพื่อใหออนนุม หั่นเปน แวนหนา ๆ และนาํ ไปทาํ ใหแ หง ท่ีอณุ หภูมิหอ ง1,3 วิธีท่ี 2 กิ่งอบเชยจีนผัดนา้ํ ผ้งึ เตรียมโดยนาํ น้ําผึ้งบริสุทธิ์มาเจือจางดวยน้ําตมในปริมาณที่ เหมาะสม ใสตวั ยาทไ่ี ดจ ากวิธีท่ี 1 แลว คลุกใหเ ขา กนั หมักไวส ักครูเพือ่ ใหนาํ้ ผงึ้ ซมึ เขาในตัวยา จากนั้น นําไปผดั ในกระทะโดยใชร ะดับไฟปานกลาง ผดั จนกระทงั่ มสี เี หลอื งเขมและไมเ หนยี วติดมือ นาํ ออกจาก

Page 68 58 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก เตา แลว ตงั้ ทิง้ ไวใหเยน็ (ใชน้าํ ผง้ึ บริสุทธ์ิ 15 กโิ ลกรมั ตอตัวยา 100 กิโลกรมั )3 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาที่มคี ณุ ภาพดี หนา ตดั มีสขี าวอมเหลือง แข็ง เหนียว และเปราะ4 สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนจีน: กงิ่ อบเชยจีน รสเผ็ดอมหวาน อนุ มีฤทธิข์ บั เหงอื่ ผอ นคลายกลา มเน้อื ใหค วามอบอุน ชวยให เลือดหมุนเวยี น เสริมหยาง ปรบั ชี่ สรรพคุณแกหวัดจากการกระทบความเย็น แกปวดจากการกระทบ ความเยน็ เลอื ดค่ัง ขับเสมหะ ความช้นื และของเหลวตกคาง แกใ จสนั่ หัวใจออน1 ก่งิ อบเชยจนี ผัดนาํ้ ผึง้ รสเผ็ดจะลดลง มีฤทธิ์บาํ รงุ และใหความอบอุนแกสว นกลางของรางกาย (ตงั้ แตสะดอื ขนึ้ ไปถงึ ล้นิ ป ไดแก กระเพาะอาหาร ตับ ถุงน้ําดี และมาม) และมีฤทธ์ิสลายความเยน็ ระงับ ปวด ใชเปนยาบาํ รงุ สําหรับสตรหี ลังคลอดแลว รางกายออนแอ3 ขนาดท่ีใชและวธิ ใี ช: การแพทยแ ผนจีน ใช 3-9 กรัม ตม เอานาํ้ ดมื่ 1 ขอ หามใช ขอ ควรระวัง และอาการขางเคยี ง: การแพทยแผนจนี ระมดั ระวังในการใชใ นผปู ว ยที่รอนในมาก ตกเลอื ดงาย1 ขอมูลวิชาการท่เี กยี่ วของ: 1. สารสกัดนํา้ มีฤทธล์ิ ดไขแ ละระบายความรอนอยา งออ น ๆ ในหนถู บี จกั รและกระตาย เมอ่ื ใช รวมกับหมาหวงจะเพ่มิ ฤทธ์ขิ ับเหงื่อของหมาหวงใหแ รงขนึ้ ในหนขู าว สารสกดั ขนาดเทียบเทา ผงยา 0.01- 0.2 กรัม มีฤทธ์ิตานการแข็งตัวของเลอื ดในหลอดทดลอง สารสกดั นํ้ายงั มฤี ทธิต์ านเช้อื แบคทีเรยี และเชอ้ื ไวรสั บางชนิด5 2. โดยทว่ั ไปกง่ิ อบเชยจีนมกั ไมใชเดีย่ ว สวนใหญจะเปน สว นประกอบในตํารับยาตา ง ๆ เชน ยา รักษาอาการไขหวัดจากการกระทบลมเย็นภายนอก โรคติดเช้ือระบบทางเดินหายใจในเด็ก อาการหอบ เน่อื งจากหลอดลมอักเสบ เปน ตน6 3. การศกึ ษาพษิ เฉียบพลันโดยฉีดสารสกัดน้ําที่มีสวนประกอบของนาํ้ มันหอมระเหยเขาชองทอง หนถู ีบจักร พบวา ขนาดของสารสกัดทท่ี ําใหห นูถบี จกั รตายหมด ตายรอ ยละ 50 (LD50) และไมมตี ัวใด ตาย เม่อื ใหส ารสกัดในเวลากลางวัน มีคาเทากับ 1,400, 624.7 และ 200 มลิ ลกิ รมั /กโิ ลกรัม ตามลําดับ แตเม่อื ใหส ารสกัดในเวลากลางคนื มคี า เทากับ 1,600, 773.6 และ 400 มิลลกิ รมั /กโิ ลกรมั ตามลาํ ดับ แสดงใหเหน็ วา ชวงเวลาของวันมีผลตอการออกฤทธิ์ของสารสกดั 6

Page 69 คูมอื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 59 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ชยนั ต พิเชียรสนุ ทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จรี วงศ. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พคร้ังที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั พมิ พอมรนิ ทร, 2548. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. Bensky D, Gamble A. Chinese herbal medicine: Materia medica. Revised edition. Washington: Eastland Press, 1993. 6. Ma JK. Ramulus Cinnamomi: gui zhi. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 70 60 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก เกสรบวั หลวง : Lianxu (莲须) เกสรบวั หลวง หรอื เหลียนซู คอื เกสรตวั ผูที่ทาํ ใหแ หง ของพืชทมี่ ีชือ่ วทิ ยาศาสตรวา Nelumbo nucifera Gaertn. วงศ Nymphaeaceae1 2 เซนติเมตร 1 เซนติเมตร เกสรบัวหลวง (Stamen Nelumbinis) ชอ่ื ไทย: เกสรบัวหลวง, เกสรบัว (ทว่ั ไป); เกสรสัตตบงกช, เกสรสัตตบษุ ย (ภาคกลาง)2 ชื่อจีน: เหลียนซู (จีนกลาง), โหนยชิว (จีนแตจ๋ิว)1 ช่ืออังกฤษ: Lotus Stamen1 ชื่อเครื่องยา: Stamen Nelumbinis1 การเก็บเกีย่ วและการปฏบิ ตั หิ ลังการเก็บเก่ียว: เก็บดอกบัวท่ีบานเต็มที่ในวันที่ทองฟาแจมใสในฤดูรอน แยกเอาเฉพาะเกสรตัวผู คลุมดวย กระดาษ ตากแดดหรือผ่ึงใหแหงในที่รม เกบ็ รักษาไวในท่ีมีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรยี มตัวยาพรอ มใช: นําวตั ถุดบิ สมุนไพรมาคดั แยกเอาสง่ิ ปนปลอมออก รอ นเอาฝุนและเศษเล็ก ๆ ออก3,4 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาที่มีคุณภาพดี เกสรตองแหงและไมแตกหัก สีเหลืองออน เหนียวนุม มีนาํ้ หนักเบา3,4 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: เกสรบัวหลวง มีสรรพคุณแกอาการฝนเปยก เลือดกําเดาไหล ประจําเดือนมามากกวาปกติ

Page 71 คูม อื การใชส มุนไพรไทย-จีน 61 แกระดูขาว และแกอาการทองเสีย3 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนไทย: เกสรบัวหลวง มีกล่ินหอม รสฝาด สรรพคุณเปนยาบํารุงหัวใจ ทําใหชุมชื่น บาํ รุงปอด บํารุง ตับ บํารุงกําลัง คุมธาตุ แกลม บํารุงครรภ และแกไข3 ขนาดที่ใชและวิธีใช การแพทยแผนจีน ใช 3-5 กรัม ตมเอาน้าํ ด่ืมหรือบดเปนผงรับประทาน1 การแพทยแ ผนไทย ใชเ กสรบวั หลวงสดหรอื แหงประมาณ 1 หยบิ มือชงกบั นาํ้ รอ น 1 แกว (ประมาณ 240 มลิ ลิลติ ร) แชท ้ิงไว 10-15 นาที ดืม่ ขณะทีย่ ังอนุ อยู วันละ 3-4 คร้ัง ๆ ละ 1 แกว หรอื ใชเ กสรบวั หลวงแหง บดเปน ผง รบั ประทานครั้งละ 0.5-1 ชอนชา ชงนํา้ รอนดม่ื แกลม3 ขอมูลวิชาการท่ีเกี่ยวของ: 1. จากการศกึ ษาพษิ เฉียบพลนั ในหนถู ีบจักรของสารสกดั 50% แอลกอฮอลจ ากเกสรแหง พบวา คา LD50 มีคามากกวา 10 กรัม/กิโลกรมั เมื่อใหโดยการปอนหรอื ฉดี เขาใตผ ิวหนัง5 2. สารสกัดน้ําจากเกสรบวั หลวงสามารถตา นเชอ้ื Staphylococcus aureus ไดอ ยางออ น5 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บญุ ทวคี ณุ (คณะบรรณาธิการ). ช่อื พรรณไมแ หงประเทศไทย (เต็ม สมติ ินันทน ฉบบั แกไขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2544). สํานกั วชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค ร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ประชาชน จํากดั , 2544. 3. กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . สมนุ ไพรไทย-จีน. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พการศาสนา, 2547. 4. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 5. บพติ ร กลางกัลยา, นงลักษณ สขุ วาณชิ ยศลิ ป. รายงานผลการศกึ ษาโครงการการประเมนิ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา จากสมุนไพร. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท เอส อาร พรน้ิ ติ้ง แมสโปรดกั ส จํากัด, 2544.

Page 72 62 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก โกฐขแ้ี มว: Dihuang (地黄) โกฐขี้แมว หรือ ตหี้ วง คือ รากสดหรอื แหง ของพชื ทม่ี ีชื่อวทิ ยาศาสตรว า Rehmannia glutinosa (Gaertn.) Libosch. วงศ Scrophulariaceae1 2 เซนตเิ มตร โกฐขี้แมวน่ึงเหลา (Radix Rehmanniae2Pเrซeนpติเaมrตaรta) โกฐขแ้ี มว (Radix Rehmanniae) ชอ่ื ไทย: โกฐขแ้ี มว (ทั่วไป)2 ชือ่ จีน: ตหี้ วง (จนี กลาง), ตอ่ี ึ๊ง (จนี แตจ วิ๋ )1 ชอ่ื องั กฤษ: Rehmannia Root1 ชื่อเครือ่ งยา: Radix Rehmanniae1 การเก็บเกย่ี วและการปฏบิ ตั หิ ลังเกบ็ เกย่ี ว: เก็บเกยี่ วรากในฤดูใบไมร ว ง แยกเอารากแขนงและดนิ ออก นาํ ไปปง ไฟออน ๆ จนกระทงั่ เนือ้ ในเปล่ียนเปน สดี าํ และเกอื บแหง เก็บรักษาไวในท่ีมีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรยี มตวั ยาพรอมใช: การเตรียมตวั ยาพรอมใชมี 5 วธิ ี ดังนี้ วธิ ที ่ี 1 โกฐขีแ้ มวสด เตรียมโดยนาํ รากโกฐขีแ้ มวสด มาแยกเอารากแขนงและดินออก ลา งน้ํา ใหส ะอาด กอ นใชใ หน าํ มาหน่ั เปนชนิ้ หนา ๆ หรือคน้ั เอาน้าํ มาใช3 วิธที ี่ 2 โกฐขแ้ี มว เตรยี มโดยนําสมุนไพรที่ไดจากการเกบ็ เก่ียวและการปฏิบตั ิหลังการเก็บเกี่ยว มาลางนา้ํ ใหส ะอาด ใสภาชนะปด ฝาไวเพื่อใหอ อ นนมุ หน่ั เปนชิ้นหนา ๆ และนําไปทําใหแหง 1,3 วิธีที่ 3 โกฐข้ีแมวน่ึงเหลา เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจากวิธีที่ 1 เติมเหลาเหลืองหรือเหลาขาว คลุกเคลาใหเ ขากนั แลวใสใ นหมอ นึง่ ทม่ี ีฝาปดมดิ ชิด นึ่งจนกระทั่งเหลาแทรกซึมเขาในเนือ้ ตวั ยา สงั เกต

Page 73 คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จีน 63 ไดจากสีของสมนุ ไพรจะเปล่ียนเปน สีดาํ เขมมาก เปน มัน และมรี สออกหวาน หลงั จากน้นั นําไปตากแดด จนกระทง่ั ผวิ นอกคอนขา งแหง ไมเ หนยี วตดิ มือ หั่นเปนชิ้นหนา ๆ แลว นาํ ไปทําใหแ หง (ใชเ หลา เหลือง หรอื เหลาขาว 30 กิโลกรมั ตอตวั ยา 100 กโิ ลกรัม)1,3,4 นอกจากการนึง่ เหลา แลว โกฐข้ีแมวยงั สามารถนึ่งโดยไมตอ งใชสารปรงุ แตง เตรียมโดยนําตัวยา ทไี่ ดจ ากวธิ ีท่ี 1 มาใสใ นภาชนะน่งึ ทีม่ ีฝาปด มิดชิด นึง่ จนกระทั่งตัวยาดานนอกและเนือ้ ในมสี ดี ํา นําออก จากเตา และนําไปทาํ ใหแ หงประมาณ 80% ห่ันเปนชนิ้ หนา ๆ แลวนําไปทําใหแ หง1,3 วิธีที่ 4 โกฐข้ีแมวถาน เตรียมโดยนาํ ตัวยาที่ไดจากวิธีที่ 2 ใสกระทะ ผัดโดยใชไฟแรง ผัด 3 จนกระทงั่ ผิวนอกของตวั ยามีสดี าํ เกรยี มและพองตวั นําออกจากเตา ต้ังทิง้ ไวใหเยน็ วิธที ี่ 5 โกฐข้ีแมวน่ึงเหลา ถา น เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจากวิธีท่ี 3 ใสกระทะ ผัดโดยใชไฟแรง ผัดจนกระทง่ั ผวิ นอกของตวั ยามสี ดี ําเกรยี มและพองตวั นาํ ออกจากเตา ตง้ั ทงิ้ ไวใ หเย็น3 คณุ ภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาท่มี ีคณุ ภาพดจี ะตองมีนาํ้ หนัก ออ นนุม ชุมช้นื เปน มัน ดา นหนา ตัดสีดาํ และมรี สหวาน5 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนจีน: โกฐขี้แมวสด รสอมหวาน ขม เยน็ มีฤทธ์ริ ะบายความรอ น เสริมธาตุนํ้า ทาํ ใหเ ลอื ดเยน็ และ หามเลอื ด รกั ษาโรคทีม่ อี าการยินพรองทาํ ใหล น้ิ แดง กระหายนาํ้ เปนจํ้าเลือด และอาเจียนเปนเลอื ด3 โกฐขี้แมว รสอมหวาน ขม เย็น มีฤทธ์ิระบายความรอน ทําใหเลอื ดเยน็ รักษาโรคที่ความรอนเขา กระแสเลือด (เชน ปากแหง ลนิ้ แดง) เลือดรอ นและออกนอกระบบ (เชน ตกเลือด จํา้ เลอื ด อาเจียนเปน เลอื ด เลือดกําเดาไหล) มีฤทธเิ์ สรมิ ยนิ และธาตนุ าํ้ รกั ษาโรคที่เสียธาตนุ ํา้ (รอ นใน กระหายนา้ํ คอแหง )6 โกฐขีแ้ มวน่ึงเหลา มรี สอมหวาน อนุ เล็กนอย มฤี ทธบ์ิ าํ รุงเลือด เสริมยิน รักษาโรคท่ีเลอื ดพรอ ง (ซีดเหลือง วงิ เวยี น นอนไมห ลบั ประจําเดือนไมป กติ ตกเลือด) ยินของไตพรอง (เหง่ือออกตอนหลับ ฝนเปยก กระหายนาํ้ ) และมฤี ทธิ์บํารุงธาตนุ า้ํ และไขกระดกู รกั ษาโรคท่ีธาตุน้าํ และเลือดของตับและไตพรอ ง (เอวและเขาปวดเมอื่ ยออนแรง วงิ เวยี น หอู ือ้ หนวดและผมขาวกอ นวัย)3,6 โกฐข้ีแมวถา น จะชว ยใหต วั ยาเขา สรู ะบบเลอื ด มีฤทธท์ิ าํ ใหเลอื ดเย็นและหา มเลอื ด เหมาะสําหรบั ผูปวยท่ีมีอาการอาเจียนเปนเลือด เลอื ดกําเดาไหล ปส สาวะมีเลอื ดปน และประจาํ เดือนมามากผิดปกติ3 โกฐข้ีแมวนง่ึ เหลาถา น มฤี ทธบิ์ ํารุงเลอื ดและหา มเลอื ดเปนหลัก เหมาะสําหรับสตรที ี่ประจาํ เดือน มามากผิดปกติ3

Page 74 64 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ขนาดทีใ่ ชแ ละวธิ ใี ช: การแพทยแผนจีน ใชข นาด 9-15 กรมั ตม เอานํา้ ด่มื 1 ขอหา มใช ขอควรระวงั และอาการขา งเคยี ง: ควรระมดั ระวงั ในการใชในผปู วยท่มี ีภาวะกระเพาะและมา มเยน็ พรอ ง ถายเหลว การรับประทาน โกฐข้ีแมวในปริมาณสูง อาจทําใหผูปวยบางรายเกิดอาการปวดทอง ทองเสีย วงิ เวียนศรี ษะ ออนเพลีย และใจสน่ั หากรับประทานยาไประยะหน่ึง อาการดงั กลา วจะคอ ย ๆ ลดลง (การแพทยแผนจนี )6 ขอมูลวิชาการทีเ่ ก่ยี วของ: 1 สารสกัดนํ้าโกฐขแ้ี มวมีฤทธยิ์ บั ยง้ั การลดลงของคอรท ิโคสเตอโรน (corticosterone) ในซรี ัม ของกระตา ยเมอ่ื ฉดี ยาเดกซาเมทาโซน (dexamethasone) และปอ งกนั เนือ้ ตอมหมวกไตฝอ นอกจากนี้ สารสกัดน้าํ ยงั มฤี ทธ์ิชะลอความแกแ ละเสริมภูมคิ ุม กันในหนูขาว เพ่ิมการไหลเวยี นของเลือดไปเลยี้ งหวั ใจ ในหนูถีบจกั ร และตา นเชอ้ื Staphylococcus aureus หรอื Escherichia coli ในหลอดทดลอง6,7 2 เม่ือใหผูปวยโรคไขขออักเสบรับประทานโกฐขี้แมว ขนาด 60-90 กรัม พบวามีผลเพิ่มภูมิ 6 ตานทาน บรรเทาอาการปวด ลดบวม และแกโรคผวิ หนัง 3. เม่อื นาํ โกฐข้ีแมวไปนง่ึ กับเหลา จะทําใหสารกลมุ อริ ดิ อยดไ กลโคไซด (iridoid glycosides) แตกตวั เปนอริ ดิ อยดและนํา้ ตาลเชงิ ซอน ซึง่ นา้ํ ตาลเชิงซอ นบางสวนจะแตกตวั ตอ ไปเปน นํา้ ตาลเชิงเด่ียว ทาํ ใหปริมาณนาํ้ ตาลเชงิ เดย่ี วในโกฐขแี้ มวน่งึ เหลาสูงกวา โกฐขแ้ี มว 2 เทา นอกจากนโ้ี กฐขแี้ มวนง่ึ เหลา จะมี ปริมาณกรดอะมิโนลดลง แตป รมิ าณแรธาตุและสารสําคญั ในสมุนไพรไมแตกตา งกนั 6 มีรายงานวาเม่ือ รับประทานโกฐขี้แมวนงึ่ เหลา อาจทาํ ใหเกดิ อาการขางเคยี งเล็กนอ ย เชน ทอ งเสยี ปวดทอ ง วงิ เวยี นศีรษะ ออ นเพลยี เปนตน แตอาการดังกลาวจะหายไปเมอื่ รบั ประทานยาอยา งตอเนอ่ื ง8 4. สารสกัดนํา้ ในขนาด 25.0 ไมโครลติ ร/มลิ ลิลิตร แสดงฤทธิต์ า นเช้ือไวรสั hepatitis B ใน เซลลเพาะเลยี้ ง และสารสกัด 80% เมทานอลในขนาด 1.0 มิลลิกรัม/มิลลลิ ติ ร สามารถปกปองตบั ของ หนูขาวจากสารพิษ carbontetrachloride ได9 5. สารสกัดน้ํา (สกดั โดยไมใ ชค วามรอน) หรอื สารสกดั เมทานอลเมอื่ ใหทางกระเพาะอาหารหนู ขาวในขนาด 111.5 หรอื 200.0 มลิ ลกิ รมั /กโิ ลกรมั แสดงฤทธลิ์ ดนํา้ ตาลในเลอื ดในสตั วทดลองทถี่ กู ทําใหเ ปน เบาหวานจาก streptozocin อยา งไรก็ตามสารสกัดนํา้ ท่สี กัดโดยวิธีใชค วามรอน เมื่อใหท างปากหนูขาวที่ถูก ทาํ ใหเ ปน เบาหวานในขนาด 1.6-2.0 กรัม/กโิ ลกรัม ทกุ วัน ติดตอกนั นาน 8 วนั ไมแ สดงฤทธิ์ดังกลา ว แสดงใหเ ห็นวาสารสาํ คญั ทีแ่ สดงฤทธิล์ ดนาํ้ ตาลในเลอื ดเปนสารทีไ่ มทนความรอน9

Page 75 คมู ือการใชสมนุ ไพรไทย-จนี 65 6. เม่ือใหสารสกดั น้ําทางกระเพาะอาหารหนูถบี จักรในขนาด 60 กรัม/กโิ ลกรัม วันละครงั้ ตดิ ตอ กันนาน 3 วนั ไมพบอาการผดิ ปกติใด ๆ และไมมสี ตั วท ดลองตวั ใดตาย และเมื่อใหสารสกัด ดงั กลา วในขนาด 18 กรมั /กโิ ลกรัม วันละครั้ง ติดตอกันนาน 45 วนั ไมท ําใหเกิดการเปล่ยี นแปลงของ น้าํ หนักตัวและเอนไซมข องตับ เม่ือใหส ารสกดั 90% เมทานอลทางกระเพาะอาหารหนถู บี จกั รในขนาด 600.0 มลิ ลกิ รมั /กิโลกรัม วนั ละครั้ง ตดิ ตอกนั นาน 4 วนั ไมพ บอาการพษิ ใด ๆ และไมทาํ ใหน าํ้ หนักตวั ลดลง นอกจากนี้ยงั พบวาขนาดของสารสกดั 70% เมทานอลท่ที ําใหหนถู ีบจักรตายรอยละ 50 (LD50) เม่อื ใหโดยการปอนมีคามากกวา 2.0 กรัม/กโิ ลกรัม9 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผูพฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวคี ุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ชือ่ พรรณไมแ หงประเทศไทย (เต็ม สมติ ินันทน ฉบบั แกไขเพ่มิ เติม พ.ศ. 2544). สาํ นกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พคร้งั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กดั , 2544. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 4. Ye DJ, Zhang SC, Huang WL, Pan SH, Gong QF, Chen Q. Processing of traditional Chinese medicine. 7th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 2001. 5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 6. Hou JY. Radix Rehmanniae: di huang. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 7. มานพ เลิศสุทธิรักษ, ผจงจิต เลศิ สุทธริ ักษ (คณะบรรณาธกิ าร). ยาสมุนไพรจีน. [เอกสารประกอบการฝก อบรมหลักสูตรยาและ สมุนไพรจนี วันท่ี 12-24 มิถนุ ายน 2547]. สถาบนั การแพทยไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและ การแพทยท างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร : รานพุม ทอง, 2547. 8. Bensky D, Gamble A. Chinese herbal medicine: Materia medica, Revised edition. Washington: Eastland Press, 1993. 9. World Health Organization. WHO monographs on selected medicinal plants. Volume 3. Geneva: World Health Organization, 2002.

Page 76 66 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก โกฐเขมา: Cangzhu (苍术) โกฐเขมา หรอื ชงั จู คือ เหงา แหงของพชื ที่มชี อื่ วทิ ยาศาสตรว า Atractylodes lancea (Thunb.) DC. หรือ A. chinensis (DC.) Koidz. วงศ Compositae1 2 เซนตเิ มตร 1 เซนตเิ มตร โกฐเขมา (Rhizoma Atractylodis) ช่ือไทย: โกฐเขมา (กรุงเทพฯ)2,3 ช่ือจีน: ชงั จู (จีนกลาง), ชังตกุ (จีนแตจ ว๋ิ )1 ช่ืออังกฤษ: Atractylodes Rhizome1 ช่ือเคร่ืองยา: Rhizoma Atractylodis1 การเกบ็ เก่ยี วและการปฏบิ ตั หิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว: เกบ็ เก่ียวเหงาในฤดูใบไมผ ลแิ ละฤดูใบไมร ว ง แยกเอาดนิ และทรายออก ตากแดดใหแ หง แลว ตัดรากฝอยทิ้ง เก็บรกั ษาไวใ นท่ีมีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรยี มตวั ยาพรอมใชม ี 3 วธิ ี ดังน้ี วิธีที่ 1 โกฐเขมา เตรียมโดยนําวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรทไ่ี ดม าแชน ํา้ สกั ครู ลางนา้ํ ใหสะอาด ใสภ าชนะ ปด ฝาไวเ พอ่ื ใหอ อ นนุม หนั่ เปน แวนหนา ๆ และนําไปทําใหแ หง1,4 วธิ ที ่ี 2 โกฐเขมาผดั รําขา วสาลี เตรียมโดยนําราํ ขาวสาลใี สล งในภาชนะที่เหมาะสม ใหค วามรอ น โดยใชระดับไฟปานกลางจนกระท่ังมคี วันออกมา ใสต ัวยาทไี่ ดจากวธิ ีที่ 1 ลงไป คนอยางรวดเรว็ จนกระทง่ั ผวิ ของตัวยาเปน สเี หลืองเขม นาํ ออกจากเตา แลวรอ นเอารําขาวสาลอี อก ตัง้ ทงิ้ ไวใ หเ ย็น4

Page 77 คูมือการใชส มุนไพรไทย-จีน 67 วธิ ที ี่ 3 โกฐเขมาผดั เกรยี ม เตรยี มโดยนาํ ตัวยาทไ่ี ดจากวิธที ่ี 1 ใสกระทะ ผัดโดยใชไ ฟระดับ ปานกลาง ผัดจนกระทัง่ ผวิ นอกของตวั ยามีสีนา้ํ ตาลไหม พรมนา้ํ เล็กนอ ย แลว ผัดตอโดยใชไฟออ น ๆ ผัดจนตัวยาแหง นําออกจากเตา ตง้ั ทง้ิ ไวใ หเย็น แลว รอ นเอาเศษเลก็ ๆ ออก4 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาทมี่ คี ุณภาพดี ตองมีคุณสมบัตแิ ขง็ และเหนยี ว หนาตดั มจี ดุ สีแดงจาํ นวนมาก (สแี ดงเหมอื น สารซนิ นาบาร cinnabar) มกี ลน่ิ หอมมาก5 สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน: โกฐเขมา รสเผ็ดขม อุน มฤี ทธิ์ขับความช้ืน เสริมระบบการยอ ยอาหาร สรรพคุณแกค วามชื้น กระทบสวนกลาง (จกุ เสยี ด อดึ อดั ลิ้นป อาเจียน เบอ่ื อาหาร ทองเสยี ) และมีฤทธขิ์ ับลมและความชน้ื แก ปวดขอ และกลา มเนื้อ บรรเทาอาการไขหวดั จากลมเยน็ หรือความช้ืน (จับไข หนาว ๆ รอน ๆ ปวดศีรษะ ปวดเมอื่ ยตัว)1,6 โกฐเขมาผัดราํ ขา วสาลี รสเผด็ จะลดลง แตคุณสมบัติแหงจะนมุ นวลข้นึ และมกี ลิน่ หอม เพิม่ ฤทธิช์ ว ยใหก ารทาํ งานของมามและกระเพาะอาหารดีขึ้น ใชรกั ษาอาการของมามและกระเพาะอาหารทาํ งานไม สัมพันธก ัน (กระเพาะอาหารทําหนาทยี่ อ ยอาหารจนไดส ารจาํ เปน สวนมา มทําหนาท่ลี าํ เลียงสารจาํ เปนนี้ ไปใชท วั่ รางกาย) แกเ สมหะเหนยี วหนืด แกตอ หนิ แกต าบอดกลางคนื 4 โกฐเขมาผดั เกรยี ม รสเผด็ และคุณสมบัติแหง จะลดลงมาก มีฤทธ์ิชว ยใหก ารทาํ งานของลําไส แข็งแรง แกท อ งเสียเปนหลกั ใชร กั ษาอาการทอ งเสยี เนอื่ งจากมา มพรอ ง โรคบดิ เร้อื รัง4 สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย: โกฐเขมา มีกลิ่นหอม รสรอน ใชเปนยาบํารุงธาตุ แกโรคเขาขอ แกโรคในปาก เปนยาเจริญ อาหาร ยาขับปสสาวะ แกโรคในปากในคอ ระงับอาการหอบ แกหวัดคัดจมูก แกไข แกเหงื่อออกมาก และแกไขรากสาดเร้ือรัง6 ขนาดท่ีใชและวิธีใช: การแพทยแผนจีน ใชขนาด 3-9 กรัม ตมเอานํ้าด่ืม1 ขอมูลวิชาการท่ีเก่ียวของ: 1. สารสกดั นา้ํ มฤี ทธกิ์ ระตนุ ระบบภมู คิ ุม กันในหนทู ีท่ ําใหต ดิ เช้ือ Candida albicans ทาํ ให หนูมชี ีวิตรอดมากข้ึน และสารสกัดดงั กลาวมฤี ทธิ์ทําใหอาหารอยูในกระเพาะนานขน้ึ 7,8

Page 78 68 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 2. สาร β-eudesmol มีฤทธิต์ านปวดในหนทู ดลอง และพบวา มผี ลตอ กลามเนื้อของหนูทเ่ี ปน เบาหวานมากกวา หนปู กต9ิ ,10 3. จากการศกึ ษาพิษเฉยี บพลนั ในหนูถบี จักรของสารสกัด 50% แอลกอฮอลจ ากเหงา โกฐเขมา พบวา คา LD50 มคี า มากกวา 10 กรัม/กิโลกรัม เม่อื ใหโดยการปอนหรอื ฉดี เขา ใตผิวหนงั 11 น้ํามันหอม ระเหยเปน พษิ ตอหนถู บี จกั รเมือ่ ฉีดเขาใตผ วิ หนัง12 ขนาดของสารสกัดดวยนํา้ รอ นทีท่ าํ ใหหนูถีบจักรหรือ หนูขาวตายคร่ึงหนึ่งของจาํ นวนทง้ั หมดมคี าเทากับ 15 กรัม/กโิ ลกรมั เมือ่ ใหกนิ 13 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผูพฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บุญทวีคณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่ือพรรณไมแหงประเทศไทย (เตม็ สมิตินนั ทน ฉบับแกไ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2544). สํานกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รัง้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กดั , 2544. 3. ชยนั ต พเิ ชยี รสุนทร, แมน มาส ชวลติ , วเิ ชียร จีรวงศ. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั พิมพอมรินทร, 2548. 4. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 6. เย็นจติ ร เตชะดํารงสิน. การพฒั นาสมนุ ไพรแบบบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกจิ การโรงพมิ พ องคการทหารผา นศกึ ใน พระบรมราชปู ถมั ภ, 2550. 7. Inagaki N, Komatsu Y, Sasaki H, Kiyohara H, Yamada H, Ishibashi H, Tansho S, Yamaguchi H, Abe S. Acidic polysaccharides from rhizomes of Atractylodes lancea as protective principle in Candida-Infected mice. Planta Med 2001; 67(5): 428-31. 8. Nakai Y, Kido T, Hashimoto K, Kase Y, Sakakibara I, Higuchi M, Sasaki H. Effect of the rhizomes of Atractylodes lancea and its constituents on the delay of gastric emptying. J Ethnopharmacol 2003; 84(1): 51-5. 9. Kimura M, Diwan PV, Yanagi S, Kon-No Y, Nojima H, Kimura I. Potentiating effect of β-eudesmol-related cyclohexylidene derivatives on succinylcholine-induced neuromuscular block in isolated phrenic nerve-diaphragm muscles of normal and alloxan-diabetic mice. Biol Pharm Bull 1995; 18(3): 407-10. 10. Kimura M, Kimura I, Moroi M, Tanaka K, Nojima H, Uwano T. Different modes of potentiation by beta-eudesmol, a main compound from Atractylodes lancea, depending on neuromuscular blocking actions of p-phenylene- polymethylene bis-ammonium derivatives in isolated phrenic nerve-diaphragm muscles of normal and alloxan- diabetic mice. Jpn J Pharmacol 1992; 60(1): 19-24. 11. มงคล โมกขะสมิต, กมล สวัสดีมงคล, ประยทุ ธ สาตราวาหะ. การศกึ ษาพิษของสมนุ ไพรไทย. ใน: ปราณี ชวลิตธํารง, ทรงพล ชีวะพัฒน, เอมมนัส อัตตวิชญ (คณะบรรณาธกิ าร). ประมวลผลงานวจิ ัยดานพษิ วิทยาของสถาบันวิจัยสมุนไพร เลม 1. พิมพคร้ังท่ี 1. กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพก ารศาสนา, 2546. 12. Kim S. The pharmacological action of the essential oils from Atractylis ovata Thunb. Acta Med Keijo 1928; 11:83- 104. 13. Aburada M, Takeda S, Ito E, Nakamura M, Hosoya E. Protective effects of juzentaihoto, dried decoction of 10 Chinese herbs mixture, upon the adverse effects of mitomycin C in mice. J Pharmacobio Dyn 1983; 6(12): 1000-4.

Page 79 คูมือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน 69 โกฐจฬุ าลําพา: Qinghao (青蒿) โกฐจุฬาลําพา หรือ ชิงเฮา คือ สวนเหนือดินแหงของพืชที่มีช่ือวิทยาศาสตรวา Artemisia annua L. วงศ Compositae1 โกฐจุฬาลาํ พา (Herba Artemisia3eเซAนตnิเnมuตรae) ชื่อไทย: โกฐจุฬาลําพา (ภาคกลาง)2,3 ช่ือจีน: ชิงเฮา (จีนกลาง), แชเฮา (จีนแตจ๋ิว)1 ชื่ออังกฤษ: Sweet Wormwood Herb1 ชื่อเครื่องยา: Herba Artemisiae Annuae1 การเก็บเก่ยี วและการปฏบิ ัตหิ ลังการเกบ็ เก่ียว: เก็บเกี่ยวสวนเหนือดินในระยะออกดอก คัดแยกเอาลาํ ตนแกทิ้ง ทําใหแหงในที่รม เก็บรักษา 1 ไวในทีม่ ีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี การเตรียมตัวยาพรอมใช: นาํ สมุนไพรวตั ถดุ บิ มาพรมนํา้ ทิง้ ไวสกั ครู เพอ่ื ใหอ อ นนุม หั่นเปนทอน ๆ ขนาดพอเหมาะ และ นําไปตากแหง 1 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาท่ีมีคุณภาพดี ตองมีสีเขียว มีปริมาณใบมาก กล่ินหอมฉุน4 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: โกฐจุฬาลําพา รสเผ็ดขม เย็น มฤี ทธร์ิ ะบายความรอ นพรอ ง (รอนใน) ใชแ กไ ขจ ากยินถกู กระทบ

Page 80 70 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก (รอ นตอนกลางคืน ชวงเชา ไขล ด ไขเซือ่ งซึม) แกไขเ ร้ือรงั เน่ืองจากยินพรอง (ตวั รอ น ไขเ รอ้ื รงั ผอมแหง 5 มไี ขต อนบาย) แกไ ขจ ากกระทบความรอนอบอา วระอุ (ปวดศรี ษะ ตวั รอน คอแหง) และแกไ ขมาลาเรีย สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย: โกฐจุฬาลาํ พา รสสุขมุ หอม รอ น ใชแกไ ขเ จรยี ง (ไขจับวนั เวนวนั เปนไขจ บั ส่ันประเภทหนึง่ ) แกไขเพ่ือเสมหะ แกหืด แกไอ เปนยาขับเหงื่อ5 ขนาดท่ีใชและวิธีใช: การแพทยแผนจีน ใชขนาด 6-12 กรัม ตมเอานาํ้ ดื่ม1 ขอมูลวิชาการท่ีเก่ียวของ: 1. สาร artemisinin และอนุพนั ธ จะถกู เปลยี่ นแปลงในรา งกายเปน dihydro-artemisinin ที่ มีฤทธิ์ตา นเชื้อมาลาเรยี โดยออกฤทธิฆ์ าเช้อื มาลาเรยี ในระยะทเี่ ปน blood schizont สารกลมุ นอี้ อกฤทธ์ิ ตอ เชือ้ Plasmodium ทกุ species ทั้งทีด่ ้ือและไมด อื้ ตอยาคลอโรควิน6 สารสกัดตน โกฐจุฬาลาํ พาดวย แอลกอฮอลม ีพษิ ตอหนถู บี จักรเม่ือฉดี เขาทางชอ งทองหนถู ีบจกั รในขนาด 400 มิลลกิ รัม/กโิ ลกรมั 7 ในปจ จบุ นั สารกลมุ นไี้ ดมีการศกึ ษาอยางกวา งขวาง ทั้งในสัตวทดลองและการทดลองทางคลินิก ท้ังสร่ี ะยะ จนไดร ับการอนมุ ัติจากองคก ารอาหารและยาของหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยใหใ ชร กั ษา โรคมาลาเรียท่ีเกดิ จากเชอ้ื Plasmodium falciparum ท่ดี อื้ ตอยาคลอโรควิน ซึ่งพบมากในประเทศไทย6 2. มรี ายงานการศึกษาพิษเฉียบพลนั ของสารสกัดหยาบจากตนโกฐจฬุ าลําพาในหนถู ีบจกั ร เม่ือ ใหส ารทางชองทอ งหรอื ใหทางปาก พบวา คา LD50 มากกวา 5 กรมั /กโิ ลกรมั เมื่อใหทางปาก และ 0.8485 กรัม/กิโลกรัม เม่ือใหท างชอ งทอ ง ในหนถู บี จกั รทั้งสองเพศ6 การให artemether ฉดี เขา กลา มเน้ือ ทคี่ วามเขมขน 25 มิลลกิ รัม/กิโลกรมั /วนั ในหนขู าว ทาํ ใหพ ยาธิสภาพตอ brainstem โดยพบวา auditory nuclei ถูกทาํ ลาย6 มกี ารศึกษา teratogenic effect ในหนู เมือ่ ให artemisinin ในขนาด 1/200-1/400 ของคา LD50 โดยใหห ลงั gestation 6 วัน พบวายาน้ีทาํ ใหเกิด foetal resorption6 แตเมือ่ นาํ มาใชกบั คน มรี ายงานการเกิดอาการขางเคียงนอ ยมาก และเปน อาการขางเคยี งทไ่ี ม รุนแรง อาการทพ่ี บคอื มีไข คลืน่ ไส อาการที่พบนอยคอื เมด็ เลอื ดแดงลดลง มกี ารเปลย่ี นแปลงของ คลืน่ ไฟฟา หัวใจ (EKG) คือ หัวใจเตน ชาลง6 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

Page 81 คูมือการใชสมุนไพรไทย-จีน 71 2. ลนี า ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวคี ุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ชอื่ พรรณไมแ หงประเทศไทย (เตม็ สมติ ินันทน ฉบบั แกไ ขเพิม่ เตมิ พ.ศ. 2544). สํานักวชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค ร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ประชาชน จาํ กัด, 2544. 3. ชยนั ต พิเชียรสุนทร, แมน มาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงศ. คาํ อธิบายตาํ ราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พครั้งที่ 2. กรงุ เทพมหานคร: สาํ นกั พมิ พอมรนิ ทร, 2548. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. เยน็ จติ ร เตชะดาํ รงสิน. การพฒั นาสมนุ ไพรแบบบูรณาการ. กรงุ เทพมหานคร : สํานักงานกจิ การโรงพมิ พ องคการทหารผา นศึกใน พระบรมราชปู ถัมภ, 2550. 6. บพิตร กลางกลั ยา, นงลักษณ สขุ วาณิชยศิลป. รายงานผลการศึกษาโครงการการประเมนิ ประสิทธภิ าพและความปลอดภัยของยา จากสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส อาร พรน้ิ ติ้ง แมสโปรดกั ส จาํ กดั , 2544. 7. Fransworth NR, Henry LK, Svoboda GH, Blomster RN, Yates MJ, Euler KL. Biological and phytochemical evaluation of plants. I. Biological test procedures and results from 200 accessions. Lloydia 1966; 29: 101-22.

Page 82 72 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก โกฐเชียง: Danggui (当归) โกฐเชยี ง หรือ ตังกยุ คือ รากแหงของพืชท่มี ชี ื่อวิทยาศาสตรว า Angelica sinensis (Oliv.) Diels วงศ Umbelliferae1 5 เซนตเิ มตร ตังกุยเซนิ (Radix Angelicae Sinensis) 2 เซนติเมตร โกฐเชียง หรือ ตังกุยเหวย (Radix Angelicae Sinensis) 2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร ตังกุยโถว (Radix Angelicae Sinensis) ชอื่ ไทย: โกฐเชยี ง (ภาคกลาง)2-4 ชื่อจีน: ตงั กยุ (จีนกลาง, จีนแตจ ว๋ิ )1 ชือ่ องั กฤษ: Chinese Angelica1 ชอ่ื เครอ่ื งยา: Radix Angelicae Sinensis1 การเกบ็ เกย่ี วและการปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว: เก็บเก่ียวรากปลายฤดใู บไมรวง แยกเอารากแขนงและดนิ ออก ทําใหแ หงหมาด ๆ มัดเปนมัดเล็ก ๆ วางไวบนชน้ั แลว รมควนั ใหแหง เก็บรักษาไวในท่ีมีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1

Page 83 คูมือการใชสมนุ ไพรไทย-จนี 73 การเตรียมตัวยาพรอ มใช: การเตรยี มตัวยาพรอ มใชมี 7 วธิ ี ดงั น้ี วิธีที่ 1 ตงั กุย (ทง้ั ราก หรอื ทุกสวน) เตรยี มโดยนําวตั ถดุ บิ สมุนไพรทไ่ี ด มาลางนา้ํ ใหส ะอาด ใสภ าชนะปด ฝาไวเพ่อื ใหอ อ นนมุ ฝานเปนแผนบาง ๆ และนาํ ไปทําใหแหง โดยใชอ ุณหภมู ิตํา่ 1,5 วธิ ที ี่ 2 ตังกยุ โถว (สว นหัว หรือ สวนเหงา อวบส้นั ทอ่ี ยตู อนบนสดุ ) เตรยี มโดยนําวัตถดุ ิบสมนุ ไพร ทไ่ี ด มาลางนา้ํ ใหสะอาด ใสภาชนะปดฝาไวเ พอื่ ใหออนนุม แลว ตดั เอาเฉพาะสว นหัวมาฝานเปนแผนบาง ๆ ประมาณ 4-6 แผน ตอหัว (หรอื อาจฝานตามยาวเปน แผนบาง ๆ) นําไปทําใหแหง โดยใชอ ณุ หภูมิตาํ่ 5 วธิ ที ่ี 3 ตังกยุ เซนิ หรืออาจเรยี กวา ตังกุย (สว นรากแกวหลกั ) เตรยี มโดยนาํ วตั ถุดิบสมนุ ไพร ท่ีได มาลา งน้าํ ใหสะอาด ใสภาชนะปดฝาไวเ พอ่ื ใหออนนุม ปอกเอาเปลอื กรากทิ้ง เอาเฉพาะสวนรากแกว หลัก นาํ มาฝานเปน แผน บาง ๆ นาํ ไปทําใหแหง โดยใชอ ณุ หภูมติ า่ํ 5 วิธที ี่ 4 โกฐเชยี ง หรือ ตงั กยุ เหวย (สว นหาง หรือ สว นรากฝอย) เตรยี มโดยนาํ วตั ถดุ บิ สมนุ ไพร ทีไ่ ด มาลา งน้ําใหสะอาด ใสภ าชนะปดฝาไวเพอ่ื ใหอ อนนุม แยกเอาเฉพาะสวนรากฝอย ฝานเปนแผน และ นาํ ไปทําใหแหง โดยใชอุณหภมู ติ ํา่ 5 วิธีท่ี 5 ตงั กุยผดั เหลา เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจากวิธีที่ 3 ใสในภาชนะท่ีเหมาะสม เติมเหลา เหลอื งปริมาณพอเหมาะ แลว คลุกเคลา ใหเขากนั จนกระทง่ั เหลา แทรกซึมเขา ไปในเนื้อตวั ยา จากนั้นนาํ ไป ผดั โดยใชไ ฟระดับปานกลาง ผัดจนกระทงั่ ตวั ยามสี ีเหลอื งเขม นําออกจากเตา ตากใหแหงในทีร่ ม (ใช เหลา เหลอื ง 10 กิโลกรัม ตอตวั ยา 100 กโิ ลกรมั )5 วิธที ่ี 6 ตังกุยผัดดิน (เปนดินทีอ่ ยูในเตาเผาไฟเปนระยะเวลานานมาก มักมีฤทธิ์เปน ดางออ น คน จีนเรียกดนิ ชนิดน้ีวา ฝหู ลงกาน) เตรยี มโดยนาํ ดินใสใ นภาชนะท่เี หมาะสม ผัดจนกระทั่งดินรอน ใสตัวยาที่ ไดจากวิธีที่ 3 ลงไป ผัดจนกระทั่งดินเกาะติดตัวยาจนท่ัว นําออกจากเตา รอนเอาดนิ ออก นําตัวยาท่ีได ไปวางแผออก ตั้งทิ้งไวใหเ ยน็ (ใชด นิ ฝูหลงกาน 30 กโิ ลกรัม ตอ ตัวยา 100 กโิ ลกรัม)5 วธิ ที ่ี 7 ตงั กยุ ถา น เตรียมโดยนําตัวยาท่ไี ดจากวิธีที่ 3 ใสก ระทะ ผดั โดยใชไ ฟระดับปานกลาง ผัดจนกระทัง่ ผิวนอกของตัวยามีสดี าํ จาง ๆ นาํ ออกจากเตา ตากใหแ หง ในทรี่ ม5 คณุ ภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาท่มี คี ุณภาพดี ผิวนอกตอ งมสี ีน้ําตาลเหลอื ง ชมุ ชืน้ เปนมนั ดานหนา ตัดสีขาวอมเหลอื ง และ 6 มกี ลน่ิ หอมกรนุ สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน: ตงั กุย มรี สเผด็ อมหวาน อนุ มีฤทธิ์บาํ รงุ เลือด ทําใหเ ลอื ดหมนุ เวียน รกั ษาโรคที่เลือดในระบบ

Page 84 74 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก หัวใจและตับพรอง (มีอาการหนาซีดเหลือง วิงเวียน ใจสั่น) การไหลเวียนของเลือดติดขัด (มีอาการ ประจําเดือนไมปกติ ปวดประจําเดือน ประจําเดอื นไมมา) เลือดพรองตาง ๆ เชน การไหลเวยี นของเลือด ติดขัดและมีความเยน็ จบั (มีอาการเลือดคงั่ ฟกชํ้า ชํา้ ใน ปวดไขขอ ไขขออกั เสบ) ใหค วามชมุ ช้ืนกับลําไส (ลาํ ไสแ หง รอน ทอ งผูก) และมีฤทธิร์ ะงับปวด รักษาโรคแผลฝหนอง ลดอาการบวม แกป วด เปนตน7 นอกจากนีแ้ พทยแ ผนจนี นยิ มใชใ นตํารบั ยาเกย่ี วกบั โรคทางนรีเวช เชน ใชเปนยาขับระดู แกรกตี ขึน้ ขบั รกและแกไ ขใ นเรอื นไฟ ยาเกยี่ วกบั อาการเลือดออกทุกชนดิ แกห วัด แกทอ งขึน้ ทอ งเฟอ ตกมกู เลือด4 ตังกยุ โถว มสี รรพคณุ บํารงุ เลือด4 โกฐเชยี ง หรือ ตังกยุ เหวย มสี รรพคุณชว ยใหก ารไหลเวยี นของเลือดไมตดิ ขัด4 ตังกยุ ผดั เหลา จะชวยเพิม่ ฤทธิก์ ารไหลเวยี นของเลือดดขี ึน้ เหมาะสําหรับผปู ว ยทม่ี ีอาการเลือด พรอง เลอื ดไหลเวียนไมส ะดวก สตรปี ระจาํ เดือนไมปกติ โรคปวดไขขอ และไขขออักเสบ7 ตงั กยุ ผัดดนิ (ดนิ ฝูหลงกาน) จะชว ยใหต ัวยาเขา สูมามไดด ขี ึ้นโดยมฤี ทธิบ์ ํารงุ เลอื ด เหมาะสําหรับ 5 ผปู วยทีม่ อี าการเลือดพรอ งถายเหลว ปวดทอง ตงั กุยถา น มีฤทธิห์ ามเลือดและบาํ รุงเลือด เหมาะสําหรบั ผูปวยทมี่ ีอาการตกเลือดจากมดลกู และ สตรปี ระจําเดอื นมามากผดิ ปกติ5 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทย: โกฐเชียง (สวนรากฝอย) มกี ลนิ่ หอม รสหวานขม สรรพคุณแกไ ข แกสะอกึ แกไ อ แกเสยี ด 8 แทงสองราวขา ง ขนาดทีใ่ ชแ ละวิธใี ช: การแพทยแ ผนจนี ใชขนาด 6-12 กรมั ตมเอาน้าํ ดม่ื 1 ขอหามใช ขอควรระวัง และอาการขา งเคียง: สตรมี คี รรภหรือใหนมบุตร หรือผูท ่รี ะบบขบั ถา ยไมดี ทอ งเสยี บอ ย รอ นใน อาเจยี นเปน เลอื ด ไมควรรับประทาน9 ขอมลู วชิ าการท่เี กย่ี วขอ ง: 1. สารสกัดนํ้ามฤี ทธิ์ยับย้ังการรวมตวั ของเกลด็ เลอื ดและการปลอยสาร serotonin ในหนขู าว10 เมอ่ื ฉดี สารสกัดน้ําเขาหลอดเลอื ดดําสุนัขในขนาดเทยี บเทาผงยา 10 กรัม/กโิ ลกรมั พบวามีฤทธ์ิกระตนุ การหดตวั ของกลา มเน้อื เรียบกระเพาะปส สาวะ ลําไสแ ละมดลกู เมื่อฉีดสารสกดั นํ้าและสารสกดั แอลกอฮอล

Page 85 คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จีน 75 เขา หลอดเลือดดําแมว หนูขาว และกระตา ย พบวา มีฤทธิ์เพมิ่ การหดตัวของกลามเนอ้ื เรยี บของมดลกู นอกจากนยี้ ังพบวา สาร polysaccharides มฤี ทธใ์ิ นการสรางเมด็ เลอื ด11 2. เม่ือใหส ารสกัดนํ้าครั้งละ 5 มลิ ลลิ ิตร วันละ 3 ครัง้ ตดิ ตอ กันนาน 1 สัปดาห จะลดอาการ ปวดประจาํ เดือน และชว ยขับประจาํ เดือน จึงไมค วรใชก บั ผปู ว ยทใี่ ชยาปอ งกันเลอื ดแขง็ ตวั สารสกัดนา้ํ ยังมฤี ทธิก์ ระตนุ กลามเนอ้ื เรียบของมดลกู และลดความหนดื ของเลอื ดในสตรี และเมอื่ ฉดี สารสกัดนํา้ เขา หลอดเลือดดาํ ผูปว ยจํานวน 40 ราย ในขนาด 240 มิลลลิ ติ ร/คน/วนั ติดตอ กนั นาน 30 วัน ไมทําใหเ กิด อาการผิดปกตใิ ด ๆ11 3. มรี ายงานการวจิ ัยพบวา โกฐเชยี งชว ยยบั ยัง้ การเจริญของเนอ้ื งอกและเซลลม ะเรง็ ตานการ อักเสบ และรักษาโรคหอบหดื 9 4. เมือ่ ฉดี สารสกดั เขา หลอดเลือดดําหนูถบี จักร ขนาดสารสกดั เทียบเทาผงยาทท่ี าํ ใหห นูถีบจักร ตายรอยละ 50 (LD50) มีคาเทากับ 100.6 กรัม/กิโลกรมั 12 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผูพ ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บุญทวีคณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ชอื่ พรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมติ ินันทน ฉบบั แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2544). สํานักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พคร้ังท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ประชาชน จํากัด, 2544. 3. ชยนั ต พเิ ชียรสุนทร, แมนมาส ชวลติ , วเิ ชียร จรี วงศ. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พค ร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : สาํ นักพิมพอมรินทร, 2548. 4. เย็นจิตร เตชะดาํ รงสิน. การพัฒนาสมนุ ไพรแบบบรู ณาการ. กรุงเทพมหานคร : สํานกั งานกจิ การโรงพมิ พ องคการทหารผานศกึ ใน พระบรมราชูปถมั ภ, 2550. 5. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 6. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 7. Ye DJ, Zhang SC, Huang WL, Pan SH, Gong QF, Chen Q. Processing of traditional Chinese medicine. 7th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 2001. 8. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช. คัมภรี เภสัชรตั นโกสินทร. กรงุ เทพมหานคร: บริษัท ศลิ ปสยามบรรจุภัณฑและการพิมพ จํากดั , 2547. 9. บรษิ ัท หลักทรพั ยจดั การกองทนุ กสกิ รไทย จาํ กัด. มหัศจรรยสมนุ ไพรจนี . กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ซเี อ็ดยูเคช่นั จํากดั มหาชน, 2550. 10. Tang W, Eisenbrand G. Chinese drugs of plant origin. 1st ed. Berlin Heidelberg: Springer-Verlag, 1992. 11. World Health Organization. WHO monographs on selected medicinal plants. Vol.2. Geneva: World Health Organization, 2002. 12. Ru K, Jiang JM. Siwu tang. In: Xia M (ed.). Modern study of the medical formulae in traditional Chinese medicine. Vol.1. 1st ed. Beijing: Xue Yuan Press, 1997.

Page 86 76 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก โกฐน้ําเตา: Dahuang (大黄) โกฐนํา้ เตา หรือ ตาหวง คือ รากและเหงาแหงของพืชท่ีมีชอื่ วทิ ยาศาสตรว า Rheum palmatum L. หรือ R. tanguticum Maxim. ex Balf. หรอื R. officinale Baill. วงศ Polygonaceae1 2 เซนตเิ มตร โกฐนาํ้ เตา (Radix et Rhizoma Rhei) ชื่อไทย: โกฐนาํ้ เตา (ภาคกลาง)2 ชื่อจีน: ตาหวง (จีนกลาง), ต่ัวอึ๊ง (จีนแตจ๋ิว)1 ชื่ออังกฤษ: Rhubarb1 ช่ือเคร่ืองยา: Radix et Rhizoma Rhei1 การเกบ็ เก่ยี วและการปฏบิ ตั หิ ลังการเกบ็ เกี่ยว: เกบ็ เก่ียวรากและเหงาปลายฤดใู บไมรว งเม่ือลาํ ตน และใบเห่ยี วหรอื เกบ็ เกย่ี วในฤดใู บไมผ ลถิ ัดไป กอ นแตกหนอ แยกรากฝอยและเปลือกนอกทิ้ง นําสมุนไพรมาหนั่ เปนแวน หรือเปน ทอ น ๆ ตากแดดให แหง เก็บรักษาไวในสถานทม่ี ีอากาศเยน็ และแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรยี มตวั ยาพรอมใช: การเตรยี มตวั ยาพรอ มใชม ี 5 วธิ ี ดังนี้ วิธที ี่ 1 โกฐนา้ํ เตา เตรยี มโดยนาํ วตั ถดุ ิบสมุนไพรท่ีไดม าแชน ้าํ สกั ครู ลางน้ําใหส ะอาด ใสภ าชนะ ปด ฝาไวเพอื่ ใหอ อนนมุ ห่นั เปน แวน หนา ๆ หรือหน่ั เปนชิน้ ๆ และนาํ ไปทําใหแ หง 1,3 วิธีที่ 2 โกฐนาํ้ เตาผัดเหลา เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจากวิธีที่ 1 ใสในภาชนะท่ีเหมาะสม เติม เหลา เหลืองหรือเหลาขาวปรมิ าณพอเหมาะ แลวคลกุ เคลาใหเขา กัน จากน้ันนาํ ไปผัดโดยใชไ ฟออ น ๆ ผัด

Page 87 คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 77 จนกระทั่งตวั ยาแหง และมสี เี ขม นําออกจากเตา ตากใหแ หง ในท่ีรม (ใชเ หลาเหลอื งหรือเหลา ขาว 10 กิโลกรมั ตอ ตัวยา 100 กิโลกรมั )1,3 วิธีที่ 3 โกฐน้ําเตา ผดั น้ําสม เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจากวิธีที่ 1 ใสในภาชนะที่เหมาะสม เติม น้าํ สม (ซงึ่ ไดมาจากการหมกั กลน่ั ขาว) ปริมาณพอเหมาะ แลว คลุกเคลาใหเขา กนั จนกระทง่ั น้ําสม แทรกซึม เขาไปในเนื้อตัวยา จากน้ันนาํ ไปผัดโดยใชไฟระดับปานกลาง ผัดจนกระท่ังตัวยาแหง นําออกจากเตา ตากใหแ หงในทร่ี ม (ใชน า้ํ สม 15 กิโลกรัม ตอ ตัวยา 100 กิโลกรัม)1,3 วิธที ี่ 4 โกฐนา้ํ เตา ถาน เตรียมโดยนําตัวยาทไ่ี ดจ ากวธิ ที ี่ 1 ใสก ระทะ ผดั โดยใชไ ฟระดบั แรง ผดั จนกระทั่งผิวนอกของตวั ยามีสดี าํ เกรยี มเล็กนอย ภายในเปลยี่ นเปนสีน้าํ ตาลเขม พรมน้ําเลก็ นอ ย นาํ ออกจากเตา ตากใหแหงในทร่ี ม 1,3 วิธที ี่ 5 โกฐนาํ้ เตานึ่งเหลา เตรยี มโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจ ากวธิ ที ี่ 1 มาคลกุ เคลาใหเ ขา กันกบั เหลา เหลอื งปรมิ าณพอเหมาะ หมักทิ้งไวป ระมาณ 1-2 ชว่ั โมง จนกระท่งั เหลาแทรกซมึ เขาไปในเนอื้ ตวั ยา แลว ใสใ นภาชนะนึ่งทม่ี ีฝาปดมิดชิด นง่ึ ประมาณ 24-32 ชั่วโมง จนกระทัง่ มสี ดี าํ ท้งั ดานนอกและเน้ือในของ ตวั ยา นาํ ออกจากเตา และนาํ ไปทาํ ใหแ หง (ใชเ หลา เหลอื ง 30 กโิ ลกรัม ตอ ตวั ยา 100 กโิ ลกรมั )1,3 นอกจากการนงึ่ เหลาแลว โกฐน้ําเตา ยังสามารถนึ่งโดยไมตอ งใชส ารปรุงแตง เตรียมโดยนําตัวยา ทีไ่ ดจ ากวธิ ีท่ี 1 มาใสในภาชนะน่งึ ท่ีมีฝาปด มิดชดิ น่งึ จนกระทง่ั ตวั ยาดานนอกและเนื้อในมสี ดี าํ นาํ ออก จากเตา และนาํ ไปทาํ ใหแ หง1,3 หมายเหต:ุ เหลา เหลอื งผลติ จากขาว ขาวสาลี ขา วโพด มปี รมิ าณแอลกอฮอล 15-20% และเจือ ปนดวยนา้ํ ไขมนั กรดอะมิโน และแรธ าตุอ่ืน ๆ สว นเหลาขาวผลติ จากขาว ขา วสาลี มนั ฯลฯ โดยการ กลัน่ โดยมีปรมิ าณแอลกอฮอล 50-60% และเจือปนดว ยกรดอินทรยี  ไขมัน ฯลฯ1 คณุ สมบัติของเหลารอ นแรง รสหวานเผด็ สรรพคุณเพิ่มการไหลเวยี นของเลอื ด ขับความเยน็ ดับกลิน่ และรส ชวยใหสารอินทรยี บางอยางละลายแตกตวั ไดด ขี น้ึ โดยทัว่ ไปเหลา ขาวใชในการเตรยี มยา ดอง เหลา เหลอื งมักใชใ นการเตรียมตัวยาพรอ มใช1 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาท่ีมีคุณภาพดี ผิวนอกตองมีสีน้าํ ตาลเหลือง มีนํา้ หนัก มีคุณสมบัติแข็งและเหนียว มี ลายเสน และมีจดุ ลักษณะเหมือนดาวชดั เจน มีน้าํ มัน มกี ล่นิ หอมจรงุ ใจ รสขมแตไ มฝ าด เมื่อเค้ยี วจะมี ลักษณะเหนยี ว4

Page 88 78 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแ ผนจีน: โกฐนา้ํ เตา รสขม เย็น มฤี ทธ์ิระบาย ขบั ของเสยี ตกคาง สรรพคุณแกข องเสยี ตกคา งภายใน กระเพาะอาหารและลาํ ไส (ทองผูกจากภาวะรอ น ตวั รอนจดั ) หยางของระบบมามไมเ พยี งพอ มีของเสยี และความเยน็ ตกคา ง ทําใหท อ งผกู อาหารตกคาง ปวดทองนอย ถายไมส ะดวก และมฤี ทธิ์ระบายความ รอน ขบั พษิ รอ น ขับพษิ ใชในผูปวยท่ีมีระบบโลหิตรอน (อาเจยี นเปน เลอื ด เลอื ดกําเดา ตาแดง คอบวม เหงือกบวม) ขบั พษิ รอน แผลฝห นองบวม นอกจากนี้ยงั มฤี ทธิช์ วยใหเลือดหมุนเวียน กระจายเลอื ดค่ัง ใชแกส ตรีประจาํ เดอื นไมมาเน่ืองจากมเี ลือดคัง่ แกฟกช้ํา ชาํ้ ใน เลอื ดคง่ั ปวด บวม เปนตน 1 โกฐนาํ้ เตาผัดเหลา มสี รรพคุณขบั พิษรอนในเลือด โดยเฉพาะสว นบนของรางกาย (ตัง้ แตล นิ้ ป ข้นึ ไป ไดแ ก ปอด หัวใจ)1 โกฐนาํ้ เตาผดั นาํ้ สม มีสรรพคณุ ขับของเสยี ตกคา งภายในกระเพาะอาหารและลําไส3 โกฐนา้ํ เตาถา น มสี รรพคุณระบายความรอ นในระบบเลอื ด ชว ยใหเ ลือดหมนุ เวยี น และหามเลอื ด1 โกฐนา้ํ เตาน่ึงเหลา มีสรรพคุณระบายความรอนและขับสารพิษ ชวยลดฤทธิ์ถายที่รุนแรงให 1 นอยลง สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย: โกฐน้าํ เตา รสฝาดมนั สุขมุ สรรพคณุ บาํ รุงธาตุ แกธ าตพุ กิ าร อาหารไมย อย ระบายทอง รูถา ย รูปด เอง แกท องเสยี ขับลมในลาํ ไส ขบั ปส สาวะและอจุ จาระใหเ ดนิ สะดวก แกต าเจบ็ แกรดิ สดี วงทวาร เปน ยาระบายท่ีดี ไมม ฤี ทธร์ิ ะคายเคืองลาํ ไส และยงั ชวยสมานลาํ ไสไ ดอ ีกดว ย5 ขนาดทใี่ ชและวธิ ีใช: การแพทยแ ผนจนี ใชขนาด 3-30 กรมั ตม เอาน้าํ ดมื่ 1 เนือ่ งจากโกฐนํ้าเตามฤี ทธ์ถิ ายรุนแรง ดงั น้นั เวลาตม ใหใสท หี ลงั และหากนําไปนึง่ กบั เหลา จะทาํ ใหฤทธ์ิถา ยนอยลง แตช ว ยปรบั การหมุนเวยี นของเลอื ดใหดีขน้ึ 1 ขอหา มใช ขอควรระวงั และอาการขางเคยี ง: การใชโกฐน้ําเตาเกินขนาดอาจทาํ ใหเกิดอาการปวดเฉียบพลันและมวนเกร็งในลําไสใหญและ อจุ จาระเหลวเหมือนนํา้ ดงั นน้ั ควรใชโ กฐนํ้าเตา เฉพาะเมอ่ื ไมส ามารถแกอ าการทองผกู ไดดว ยการปรับเปลย่ี น โภชนาการ หรอื ใชย าระบายชนิดเพิม่ กาก ในกรณที ีใ่ ชโ กฐนํ้าเตาแลว มีเลอื ดออกทางทวารหนัก หรอื เมื่อ ใชใ นขนาดสูงแลว ลําไสยังไมม ีการเคลอ่ื นไหว อาจบงถงึ ภาวะรุนแรงท่ีอาจเกิดอันตรายได นอกจากนน้ั การใชติดตอ กนั เปน เวลานานเกนิ กวาทก่ี ําหนดยงั อาจจะทาํ ใหล าํ ไสเ กดิ ความเคยชนิ ได และหา มใชโ กฐน้าํ เตา ในผปู ว ยทม่ี อี าการปวดเกรง็ หรอื ปวดเฉยี บพลนั ในชองทอง ไตอกั เสบ หรอื มอี าการปวดทอ ง คล่ืนไสอ าเจยี น

Page 89 คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี 79 โดยไมท ราบสาเหต6ุ -8 ขอมูลวชิ าการท่เี ก่ยี วของ: 1. สารสาํ คัญในโกฐน้ําเตาโดยเฉพาะสารเซนโนไซด (sennosides) และสารเรอนิ โนไซด (rheinosides) มฤี ทธิเ์ ปน ยาถา ยโดยออกฤทธกิ์ ระตุนการบบี ตวั ของลาํ ไสใ หญ ชวยเรง การขบั กากอาหารออกจากลาํ ไสใหญ และเพ่มิ การซมึ ผา นของของเหลวผานเยอ่ื เมอื กลาํ ไสใ หญ ทาํ ใหมีปริมาณนาํ้ ในลาํ ไสใ หญมากขึน้ 9,10 และ แทนนนิ ในโกฐนาํ้ เตามีฤทธิฝ์ าดสมาน ทาํ ใหห ยดุ ถาย6 2. โกฐนาํ้ เตามีสรรพคณุ รกั ษาอาการทอ งผูก เลือดออกในระบบทางเดนิ อาหารสว นบนกระเพาะ อาหารและลําไสอ ักเสบเฉียบพลัน11 3. เม่อื ปอนสารสกดั โกฐนา้ํ เตาดวย 70% เมทานอลใหห นถู ีบจกั ร พบวาขนาดทที่ าํ ใหส ัตวท ดลอง ตายเปน จาํ นวนครึ่งหน่งึ มคี า มากกวา 2.0 กรมั /กิโลกรัม12 เมื่อคนรับประทานสารสกดั ดว ยนาํ้ ในขนาด 5 มิลลิลติ ร ไมพบพษิ ตอ ตับ13 เมื่อปอ นสารสกดั ใหหนูถีบจักรหรอื หนขู าวในขนาด 200 มลิ ลกิ รมั /กิโลกรมั ไมพ บพิษ14 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผูพัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวีคุณ (คณะบรรณาธิการ). ช่ือพรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินันทน ฉบับแกไขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2544). สํานกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กดั , 2544. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. วฒุ ิ วุฒธิ รรมเวช. คัมภรี เภสชั รตั นโกสินทร. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ศิลปส ยามบรรจภุ ัณฑและการพิมพ จํากัด, 2547. 6. World Health Organization. WHO monograph on selected medicinal plants. Vol. 1. Geneva: World Health Organization, 1999. 7. Reynolds JEF (ed.). Martindale: The extra pharmacopoeia. 30th ed.. London: Pharmaceutical Press, 1993. 8. Blumenthal M, Busse WR, Goldberg A, Gruenwald J, Hall T, Riggins CW, Rister RS (eds.) The complete German Commission E monographs, Therapeutic guide to herbal medicine. Austin (TX): American Botanical Council, 1988. 9. Leng-Peschlow E. Dual effect of orally administered sennosides on large intestine transit and fluid absorption in the rat. J Pharm Pharmacol. 1986; 38: 606-10. 10. De Witte P. Metabolism and pharmacokinetics of anthranoids, Pharmacology. 1993; 47 (Suppl. 1): 86-97. 11. Li R, Wang BX. Radix et Rhizomarbei: da huang. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 12. Lee EB. Teratogenicity of the extracts of crude drugs. Korean J Pharmacog 1982; 13: 116-21. 13. Yang SH. Influence of Artemisia-Rheum-Gardeniae (A.R.G.) and Coptidis Rhizoma on neonatal jaundice in Chinese newborn infants-preliminary observations. Thesis-MS, College Trad Chinese Med 1982; 24 pp. 14. Brocq-Rousseau D. Rhubarb poisoning. Bull Acad Med 1941; 124: 605-11.

Page 90 80 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก โกฐสอ: Baizhi (白芷) โกฐสอ หรือ ไปจื่อ คือ รากแหงของพชื ที่มีชือ่ วทิ ยาศาสตรว า Angelica dahurica (Fisch.ex Hoffm.) Benth. et Hook. f. หรือ A. dahurica (Fisch.ex Hoffm.) Benth. et Hook. f. var. formosana (Boiss.) Shan et Yuan วงศ Umbelliferae1 2 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร โกฐสอ (Radix Angelicae Dahuricae) ชื่อไทย: โกฐสอ (ท่ัวไป); โกฐสอจีน2,3 ช่ือจีน: ไปจ ่ือ (จนี กลาง), แปะจี้ (จนี แตจ ิ๋ว)1 ช่ืออังกฤษ: Dahurian Angelica Root1 ช่ือเคร่ืองยา: Radix Angelicae Dahuricae1 การเก็บเกีย่ วและการปฏิบัตหิ ลังการเกบ็ เก่ียว: เก็บเกี่ยวรากในฤดรู อ นถึงฤดใู บไมร วงเมื่อใบเรมิ่ เปลีย่ นเปน สีเหลือง แยกเอารากแขนง ดนิ และ 1 ทรายออก ตากแดดหรือทาํ ใหแ หงที่อณุ หภูมิตาํ่ เกบ็ รกั ษาไวใ นทม่ี อี ากาศเยน็ และแหง มกี ารระบายอากาศดี การเตรยี มตัวยาพรอมใช: นําวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรทไ่ี ดม าลางนาํ้ ใหสะอาด แลวแชน ้ํานานประมาณ 1-2 ชว่ั โมง นําออกมาผ่งึ ใหแหงหมาด ๆ หนั่ เปนแวนหนา ๆ และนําไปทําใหแ หง 1,4 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาที่มคี ณุ ภาพดี ตอ งมสี ขี าว เนื้อแข็ง มนี ํา้ หนกั มีแปงมาก มีกลิ่นหอม รสชาติเขม ขน 5

Page 91 คูมือการใชสมุนไพรไทย-จนี 81 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: โกฐสอ รสเผ็ด อุน มฤี ทธข์ิ บั เหงอื่ แกอาการหวดั จากการกระทบลมเย็นภายนอก (ปวดศรี ษะ คดั จมกู ) มฤี ทธิ์เปด ทวาร บรรเทาปวด แกอ าการปวดศรี ษะ (โดยเฉพาะอาการปวดศีรษะดา นหนา ) ปวด ฟน ลดอาการคดั จมูกจากไขหวดั หรอื โรคโพรงอากาศอกั เสบ นอกจากนี้ยงั มฤี ทธ์ลิ ดบวม ขบั หนอง แก พษิ แผลฝห นอง บวมเปน พษิ 1,6 สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแผนไทย: โกฐสอ มกี ลิ่นหอม รสขมมนั มีสรรพคณุ แกไข แกห ืด แกไอ บาํ รงุ หวั ใจ แกเ สมหะเปนพิษ แก 6-8 สะอกึ แกห ลอดลมอกั เสบ แกไ ขจ บั สนั่ ขนาดท่ีใชและวิธีใช: การแพทยแผนจีน ใชข นาด 3-9 กรัม ตม เอานํ้าดื่ม1 ขอมลู วิชาการท่เี กย่ี วของ: 1. สาร byakangelicol และ imperatorin ทแ่ี ยกไดจากโกฐสอมีฤทธต์ิ า นการอักเสบในหนู 9,10 สว นสาร byakangelicol, byakangelicin, oxypeucedanin และ imperatorin มีฤทธิ์ ทดลอง ปกปอ งตับจากสาร tacrine ในหลอดทดลอง11 2. สาร angelicotoxin ทแ่ี ยกไดจากโกฐสอ เมื่อใชใ นปริมาณนอ ยมฤี ทธกิ์ ระตุนศนู ยก ารหายใจ และประสาทสว นกลาง ทาํ ใหอ ตั ราการหายใจเร็วขึ้น ทาํ ใหความดันโลหติ สงู ขนึ้ และทาํ ใหอ าเจยี น และ หากใชในปรมิ าณมากจะทําใหช ักและเกดิ อมั พาต12 3. จากการศกึ ษาพิษเฉียบพลันในหนถู ีบจักรของสารสกดั 50% แอลกอฮอลจ ากเหงาโกฐสอ พบวาคา LD50 มีคามากกวา 10 กรมั /กิโลกรัม เมอ่ื ใหโ ดยการปอนหรือฉีดเขาใตผ ิวหนงั 13 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผูพ ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บุญทวคี ุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่ือพรรณไมแ หง ประเทศไทย (เต็ม สมิตินนั ทน ฉบบั แกไ ขเพม่ิ เติม พ.ศ. 2544). สํานกั วชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กดั , 2544. 3. ชยันต พเิ ชียรสนุ ทร, แมน มาส ชวลติ , วิเชยี ร จรี วงศ. คาํ อธิบายตาํ ราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พค รั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สํานกั พิมพอมรนิ ทร, 2548. 4. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 6. เยน็ จิตร เตชะดาํ รงสิน. การพัฒนาสมุนไพรแบบบรู ณาการ. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักงานกจิ การโรงพิมพ องคการทหารผานศึกใน พระบรมราชูปถมั ภ, 2550.

Page 92 82 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก 7. เสง่ียม พงษบ ุญรอด. ไมเ ทศ เมอื งไทย. กรุงเทพมหานคร : เกษมบรรณากิจ, 2514. 8. วฒุ ิ วุฒิธรรมเวช. คัมภรี เภสชั รัตนโกสนิ ทร. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ศิลปสยามบรรจุภัณฑแ ละการพิมพ จํากัด, 2547. 9. Lin CH, Chang CW, Wang CC, Chang MS, Yang LL. Byakangelicol, isolated from Angelica dahurica, inhibits both the activity and induction of cyclooxygenase-2 in human pulmonary epithelial cells. J Pharm Pharmacol 2002; 54(9): 1271-8. 10. Kang OH, Lee GH, Choi HJ, Park PS, Chae HS, Jeong SI, Kim YC, Sohn DH, Park H, Lee JH, Kwon DY. Ethyl acetate extract from Angelica Dahuricae Radix inhibits lipopolysaccharide-induced production of nitric oxide, prostaglandin E2 and tumor necrosis factor-alphavia mitogen-activated protein kinases and nuclear factor-kappa B in macrophages. Pharmacol Res 2007; 55(4): 263-70. 11. Oh H, Lee HS, Kim T, Chai KY, Chung HT, Kwon TO, Jun JY, Jeong OS, Kim YC, Yun YG. Furocoumarins from Angelica dahurica with hepatoprotective activity on tacrine-induced cytoxocity in Hep G2 cells. Planta Med 2002; 68(5): 463-4. 12. Yeung HC. Handbook of Chinese Herbs (Chinese Materia Medica). California: Los Angeles County, 1996. 13. มงคล โมกขะสมิต, กมล สวัสดีมงคล, ประยุทธ สาตราวาหะ. การศึกษาพิษของสมุนไพรไทย. ใน: ปราณี ชวลิตธาํ รง, ทรงพล ชีวะพัฒน, เอมมนัส อัตตวชิ ญ (คณะบรรณาธกิ าร). ประมวลผลงานวิจัยดา นพิษวิทยาของสถาบันวิจัยสมนุ ไพร เลม 1. พมิ พคร้ังที่ 1. กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพก ารศาสนา, 2546.

Page 93 คูมือการใชส มุนไพรไทย-จนี 83 โกฐหัวบัว: Chuanxiong (川芎) โกฐหัวบวั หรอื ชวนซฺยง คอื เหงาแหง ของพชื ท่มี ีช่ือวิทยาศาสตรวา Ligusticum chuanxiong Hort. วงศ Umbelliferae1 3 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร โกฐหัวบัว (Rhizoma Chuanxiong) ชือ่ ไทย: โกฐหวั บัว (ทัว่ ไป)2,3 ชอ่ื จนี : ชวนซยฺ ง (จีนกลาง), ชวนเกยี ง (จนี แตจิ๋ว)1 ชอ่ื อังกฤษ: Szechwan Lovage Rhizome1 ชอ่ื เครอ่ื งยา: Rhizoma Chuanxiong1 การเก็บเก่ยี วและการปฏิบตั หิ ลงั การเก็บเกี่ยว: เก็บเกยี่ วเหงาสดในฤดูรอ นเมอ่ื ตาของลําตนเรมิ่ เหน็ เปนตมุ ชดั เจนและมีสมี ว งออ น ๆ แยกลาํ ตน ใบ และดนิ ออก นําไปตากในทรี่ มจนตวั ยาแหง ประมาณรอ ยละ 50 แลวนําไปปงไฟออ น ๆ จนกระท่งั แหง แยกเอารากฝอยท้งิ เก็บรักษาไวในทม่ี อี ากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรยี มตวั ยาพรอมใช: การเตรยี มตวั ยาพรอ มใชมี 2 วธิ ี ดงั น้ี วิธีที่ 1 โกฐหัวบัว เตรียมโดยนําวัตถุดิบสมุนไพรที่ได มาแชนํา้ สักครู ลางนา้ํ ใหสะอาด ใส 1,4 ภาชนะปดฝาไวเพื่อใหออนนมุ หน่ั เปนแวน บาง ๆ และนําไปทําใหแหง วธิ ีที่ 2 โกฐหวั บวั ผดั เหลา เตรยี มโดยนําตวั ยาทไ่ี ดจ ากวธิ ีที่ 1 ใสใ นภาชนะที่เหมาะสม เตมิ เหลา เหลืองปริมาณพอเหมาะ แลว คลกุ เคลาใหเ ขากนั หมกั ไวจนกระทงั่ เหลาแทรกซมึ เขา ในเนือ้ ตัวยา จากนั้น

Page 94 84 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก นําไปผดั โดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง ผัดจนกระทั่งตวั ยามสี เี หลืองอมนํ้าตาล นําออกจากเตา ตากใหแ หงใน ทีร่ ม (ใชเหลาเหลอื ง 10 กโิ ลกรมั ตอ ตวั ยา 100 กโิ ลกรมั )1,4 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาที่มคี ณุ ภาพดี ตองเปน แวน ขนาดใหญ อวบอิม่ เนอื้ แขง็ มีกล่นิ หอมฉุน และมีนํ้ามันมาก5 สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน: โกฐหัวบัว รสเผ็ด อุน มีฤทธ์ิชวยการไหลเวียนของชี่และเลือด รักษาอาการปวดจากเลือดคั่ง กระจายการตบี ของเสนเลอื ด (ประจาํ เดอื นมาไมเ ปนปกติ ปวดประจาํ เดือน ขับนํา้ คาวปลาหลงั คลอด เจบ็ ชายโครง เจบ็ บริเวณหวั ใจ เจ็บหนาอก เจบ็ จากการฟกช้าํ ชาํ้ บวมจากฝห นอง) และมีฤทธข์ิ บั ลม บรรเทา ปวด รกั ษาอาการปวดศรี ษะ อาการปวดจากการค่ังของชีแ่ ละเลอื ด1,4 โกฐหวั บวั ผัดเหลา จะชว ยนําตวั ยาขึ้นสว นบนของรางกาย มฤี ทธแิ์ รงในการระงบั ปวด ชวยใหการ ไหลเวยี นของเลอื ดและชีภ่ ายในรางกายดีขน้ึ โดยทว่ั ไปใชร กั ษาอาการปวดศรี ษะจากการค่ังของเลอื ด และ โรคไมเกรน4 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนไทย: โกฐหัวบัว มีกล่ินหอม รสมัน สรรพคุณแกลมในกองรดิ สีดวง และกระจายลมทง้ั ปวง (หมายถึง ลมทีค่ ั่งอยูใ นลําไสเ ปนตอน ๆ ทาํ ใหผ ายหรอื เรอออกมา) ยาไทยมักไมใชโกฐหัวบัวเดี่ยว แตมักใชรว มกับ ยาอ่ืนในตาํ รับ3 ขนาดท่ีใชและวธิ ีใช: การแพทยแ ผนจนี ใชข นาด 3-9 กรมั 1 ตมเอานํา้ ดื่ม ขอ มลู วชิ าการท่เี กีย่ วขอ ง: 1. สารสกัดนํ้าเม่อื ใหทางปากหนขู าวในขนาดเทียบเทาผงยา 25-50 กรมั /กิโลกรมั มีฤทธส์ิ งบ ประสาท และจะเห็นผลชัดเจนขึ้นในหนถู บี จกั ร สารสกัดมีฤทธิ์ลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด6 โกฐหัวบวั ในขนาดตาํ่ ๆ มฤี ทธ์ิกระตุน การบบี ตัวของมดลกู ของกระตา ย แตเ มอ่ื ใหใ นขนาดสงู จะยับย้งั การบีบตัว อยา งสมบูรณ7 2. โกฐหัวบวั มปี ระสิทธภิ าพในการยบั ย้งั การรวมตัวของเกลด็ เลือด8 บรรเทาอาการปวดหลงั คลอด ชวยใหร กหรือเนอ้ื เยอ่ื ของมดลกู ท่ีตายแลว ถกู ขบั ออกมาไดดี สารสกดั มีฤทธ์ิเพม่ิ การบีบตวั ของมดลูก ทําให ประจาํ เดอื นมาเร็วขนึ้ จงึ ไมแ นะนาํ ใหใ ชข ณะมีอาการปวดประจาํ เดือน หรือโรคทีเ่ ก่ียวกบั การตกเลอื ดอ่นื ๆ3

Page 95 คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 85 3. การศกึ ษาพษิ เฉยี บพลันโดยฉดี สารสกดั น้ําเขาชอ งทองและกลา มเน้ือหนูถีบจกั ร พบวาขนาด ของสารสกัดท่ีทาํ ใหห นถู บี จกั รตายรอยละ 50 (LD50) มีคาเทากับ 65.86 และ 66.42 กรมั /กิโลกรมั ตามลาํ ดับ9 กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ ไดศึกษาพษิ เฉียบพลนั ในหนูถบี จกั รของ สารสกัด 50% แอลกอฮอลจากเหงา โกฐหวั บวั พบวาคา LD50 มีคา มากกวา 10 กรมั /กิโลกรมั เม่อื ให โดยการปอนหรือฉดี เขาใตผวิ หนัง10 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ชยนั ต พิเชยี รสุนทร, แมน มาส ชวลิต, วเิ ชียร จีรวงศ. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พคร้ังที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักพิมพอมรินทร, 2548. 3. เย็นจติ ร เตชะดํารงสิน. การพฒั นาสมนุ ไพรแบบบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกจิ การโรงพิมพ องคก ารทหารผานศกึ ใน พระบรมราชปู ถัมภ, 2550. 4. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 6. Huang KC. The pharmacology of Chinese herbs. 2nd ed. Boca Raton: CRC Press, 1993. 7. Bensky D, Gamble A. Chinese herbal medicine: Materia medica, Revised edition. Washington: Eastland Press, 1993. 8. Ye DJ, Zhang SC, Huang WL, Pan SH, Gong QF, Chen Q. Processing of traditional Chinese medicine. 7th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 2001. 9. Li R. Rhizoma Chuan Xiong. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 10. มงคล โมกขะสมิต, กมล สวัสดีมงคล, ประยุทธ สาตราวาหะ. การศกึ ษาพิษของสมุนไพรไทย. ใน: ปราณี ชวลิตธํารง, ทรงพล ชีวะพัฒน, เอมมนัส อตั ตวชิ ญ (คณะบรรณาธิการ). ประมวลผลงานวจิ ัยดานพิษวิทยาของสถาบันวจิ ัยสมุนไพร เลม 1. พิมพค ร้ังที่ 1. กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, 2546.

Page 96 86 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ขิง: Jiang (姜) ขงิ หรือ เจียง คือ เหงา ของพชื ทมี่ ีชอ่ื วทิ ยาศาสตรว า Zingiber officinale (Willd.) Rosc. วงศ Zingiberaceae1 ขิงสด (Rhizoma Zingiberis Recens3)เซนตเิ มตร 3 เซนติเมตร ขิงแหง (Rhizoma Zingiberis) 2 เซนตเิ มตร ขิงปง (Rhizoma Zingiberis Preparatum) ชอื่ ไทย: ขิง, ขงิ แกลง, ขิงแดง (จันทบุร)ี ; ขงิ เผอื ก (เชียงใหม) ; สะเอ (กระเหรี่ยงแมฮองสอน)2 ชอ่ื จีน: เจยี ง (จีนกลาง), เกีย (จีนแตจว๋ิ )1 ชื่ออังกฤษ: Zingiber (Dried Ginger)1 ช่ือเครอ่ื งยา: Rhizoma Zingiberis1 การเกบ็ เก่ียวและการปฏบิ ตั หิ ลังการเก็บเก่ียว: เก็บเกย่ี วเหงา ในฤดหู นาวเม่อื ใบเห่ยี วเฉา แยกเอาใบ รากฝอย ดินและทรายออก ตากแดดหรอื ทาํ ใหแ หง ท่ีอณุ หภมู ติ าํ่ เก็บรักษาไวใ นที่มอี ากาศเยน็ และแหง มีการระบายอากาศด1ี

Page 97 คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จีน 87 การเตรยี มตัวยาพรอมใช: การเตรยี มตวั ยาพรอมใชมี 3 วธิ ี ดงั นี้ วิธีท่ี 1 ขิงแหง เตรยี มโดยนําวัตถุดิบสมุนไพรมาลางนํ้าใหส ะอาด หมกั ไวจนกระทั่งนํ้าแทรกซึม เขาไปในเนอ้ื ตัวยา หัน่ เปน แวน หนา ๆ หรือเปนช้นิ ๆ นําไปตากใหแ หง ในท่รี ม 1,3 วิธีที่ 2 ขิงปง (ขิงคั่ว) เตรียมโดยนาํ ทรายที่สะอาดใสในภาชนะที่เหมาะสม ใหความรอนท่ี อุณหภูมสิ ูง เตมิ ตัวยาที่ไดจากวธิ ที ่ี 1 ลงไป คนอยา งสมา่ํ เสมอ จนกระทัง่ ตวั ยากรอบ ผิวดา นนอกเปน สีนา้ํ ตาลดาํ นาํ ออกจากเตา ต้ังทง้ิ ใหเ ยน็ 3 วิธที ่ี 3 ขิงถา น เตรียมโดยนําตวั ยาที่ไดจ ากวธิ ที ี่ 1 ใสก ระทะ นําไปผดั โดยใชไ ฟแรง ผดั จนกระทง่ั ผิวนอกของตัวยามสี ีดาํ ไหม เน้อื ในเปลีย่ นเปน สีน้าํ ตาลเขม พรมน้ําเลก็ นอ ย นําออกจากเตา ท้งิ ไวใ หเยน็ 3 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: 4 ตวั ยาที่มีคณุ ภาพดี จะตองเปนชน้ิ ใหญ สมบูรณ และอวบหนา สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแ ผนจีน: ขงิ สด รสเผด็ อนุ มฤี ทธิข์ บั เหง่ือ กระทงุ พิษ สรรพคณุ แกห วัดจากการกระทบความเย็น มฤี ทธ์ิ ใหค วามอบอุนแกกระเพาะอาหาร แกอาการคลน่ื ไสอ าเจยี นจากภาวะท่ีกระเพาะมคี วามเย็นสงู มฤี ทธใ์ิ ห ความอบอนุ แกปอด ระงับไอ แกไอจากการกระทบความเย็น1 ขิงแหง รสเผ็ด รอน มฤี ทธิเ์ สรมิ ความอบอนุ ขบั ความเยน็ และฟนฟหู ยางชีข่ องมามและกระเพาะ อาหาร สมานระบบกระเพาะอาหารทาํ ใหชี่ลงต่ํา ระงับอาการคลนื่ ไสอ าเจียน1,3 ขิงปง รสเผ็ด อนุ มีฤทธิ์ใหค วามอบอุนแกเสนลมปราณ หามเลือด ใชร กั ษาอาการเย็นพรองแลว อาเจยี นเปน เลือด ถายเปนเลือด ตกเลือดทง้ั เฉียบพลันและเรอ้ื รัง นอกจากนย้ี ังมฤี ทธใ์ิ หความอบอนุ แก กระเพาะอาหาร แกป วด หยดุ ถาย1,3 ขิงถา น รสขม อุน มีฤทธิ์หามเลือดแรงกวา ขงิ ปง แตฤทธ์ิใหความอบอุนแกเ สนลมปราณออนกวา 3 ขงิ ปง จงึ ใชร ักษาอาการเยน็ พรอ งแลว ทําใหเลอื ดออก เชน เลอื ดออกมาก และเลือดออกชนดิ เฉียบพลัน สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทย: ขิงสด รสหวาน เผ็ดรอ น มีสรรพคุณแกปวดทอง บาํ รุงธาตุ ขบั ลมในลําไสใหผ ายออกและเรอ5,6 ขงิ แหง รสหวาน เผ็ดรอน สรรพคณุ แกไ ข แกล ม แกจกุ เสยี ด แกเ สมหะ บํารุงธาตุ แกค ลื่นเหยี น อาเจียน5,6 ขนาดท่ีใชแ ละวธิ ใี ช: การแพทยแผนจนี ใชข นาด 3-9 กรัม ตมเอาน้ําด่ืม1

Page 98 88 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก การแพทยแ ผนไทย ใชเ หงา แก 5 กรมั ทบุ พอแตก ฝานเปน แวน ๆ ชงนํา้ รอน 1 ถว ย ปดฝา ไว 5 นาที ใชนา้ํ ท่ีชงไดดมื่ วนั ละ 3 ครง้ั หลังอาหาร หรือใชผงขงิ แหง 0.6 กรัม ชงน้ําดม่ื หลังอาหาร แก คลน่ื ไสอาเจียน แกจุกเสยี ด แนนเฟอ ใชเ หงาสดตาํ คั้นเอาน้ําผสมกบั มะนาว เติมเกลือเลก็ นอย ใชกวาด คอหรือจิบแกไ อ ขบั เสมหะ5,7,8 ขอหา มใช ขอควรระวัง และอาการขางเคยี ง: น้าํ ขิงทีเ่ ขมขน จะออกฤทธติ์ รงขา มกนั ควรใชใ นปรมิ าณทไ่ี มเ ขม ขนเกนิ ไป (การแพทยแ ผนไทย)5 ขอมลู วชิ าการทเี่ กีย่ วขอ ง: 1. นํ้าค้นั ขิงสดมีฤทธติ์ า นการอาเจียนไดผ ลดี และนาํ้ คนั้ ในระดบั ความเขมขน ตา่ํ ๆ จะเพมิ่ แรง บบี ตัวของลําไสห นูโดยไมท าํ ใหค วามตงึ ตวั ของลําไสเ ปลยี่ นแปลง แตในระดบั ความเขม ขน สงู ๆ จะลดแรง 7 บบี ตวั และความตึงตัวของลาํ ไสอ ยา งชัดเจน รวมท้ังสามารถเพมิ่ แรงบีบตวั ของลาํ ไสเล็กสนุ ัข นอกจากน้นี ํ้า คนั้ ขงิ แกย งั มฤี ทธิ์ยบั ยงั้ เช้อื ราในชอ งปาก9 2. เมอ่ื ใหสารสกัด 50 % แอลกอฮอลท างปากหนูถบี จักรในขนาด 25 มิลลกิ รมั /กิโลกรัม เปน เวลาติดตอ กัน 7 วัน พบวา มีฤทธิ์กระตุน ภมู คิ ุมกัน เม่อื ใหในขนาด 200 มลิ ลิกรัม/กิโลกรัม พบวามีฤทธ์ิ ระงับปวดไดอยางมีนัยสําคัญ และเม่ือใหสารสกัดดังกลาวทางปากกระตายในขนาด 500 มิลลกิ รัม/ กิโลกรัม พบวามฤี ทธ์ลิ ดไขมันในเลือดและมฤี ทธ์ติ านการเกิดภาวะหลอดเลอื ดแข็ง สารสกัดอะซีโตนหรอื 50% แอลกอฮอล เมอ่ื ใหแกส ุนัขทางปากในขนาด 25, 50, 100 และ 200 มิลลิกรัม/กโิ ลกรมั สามารถลด จาํ นวนคร้งั ของการอาเจยี นท่ีเกิดจากยาตา นมะเรง็ ได สวนผลตอ การชะลอการเร่ิมเกิดการอาเจยี นครั้งแรก นั้น เฉพาะสารสกดั อะซโี ตนขนาด 100 มิลลิกรมั /กโิ ลกรมั หรือสารสกดั 50% แอลกอฮอลข นาด 25, 50 และ 100 มลิ ลิกรัม/กิโลกรัม เทาน้นั ท่สี ามารถชะลอการเริม่ เกดิ การอาเจยี นไดอยา งมีนยั สําคัญ10 3. ขิงสดมีสรรพคณุ รักษาโรคไขห วดั จากการกระทบลมเย็น แกคลื่นไสอ าเจยี น แกกระเพาะ อาหารอักเสบเรื้อรงั แกทองเสยี 11 4. ผงขิงในขนาด 940 มิลลิกรัม มีประสิทธิภาพในการปองกันและลดอาการเมารถเมาเรอื ไดดี เม่ือใหห ญิงมคี รรภร บั ประทานขงิ ผงบรรจแุ คปซลู ขนาด 1 กรัม นาน 4 วัน ใหผลในการตานการ อาเจียนเน่ืองจากตง้ั ครรภ และไมพบอาการขางเคียงแตประการใด8 นอกจากน้ียังพบวาขงิ ชวยบรรเทา อาการปวดและลดการบวมของขอ และยงั ทําใหก ารทํางานของขอ ฟนตัวดขี นึ้ ในผปู ว ยโรคปวดขอรูมาตอยด และผูปวยที่มอี าการปวดหลังเรอ้ื รัง11 5. การทดสอบความเปน พษิ พบวา เมอื่ ฉีดนํ้าคนั้ ขิงสดที่มีความเขมขน 20% เขาหลอดเลือดดาํ หนูถีบจกั ร ขนาดท่ที าํ ใหห นูถบี จักรตายรอยละ 50 (LD50) มคี า เทา กบั 1500 มลิ ลกิ รัม/กิโลกรัม อาการ

Page 99 คูม ือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน 89 พิษที่ทําใหส ตั วต าย คอื ชกั และหยดุ หายใจ12 เมอ่ื ปอนสารสกัด 80% แอลกอฮอล ขนาด 3 กรมั /กโิ ลกรัม 13 การใชส ารสกัด 50% หรือ 90% แอลกอฮอล ฉีดเขา ชอ งทองหนู จะทาํ ใหเกิดอาการพิษในหนูถบี จกั ร ถีบจกั ร ขนาดที่ทําใหสตั วท ดลองตาย 50% เทา กับ 178 และ 1,000 มลิ ลิกรมั /กิโลกรมั 14,15 ตามลาํ ดบั การฉดี สารสกดั 90% แอลกอฮอลเขาหลอดเลอื ดดํากระตายขนาด 2 มิลลลิ ติ ร ทําใหกระตายตาย16 สาร สกัดดว ยอเี ทอรเ ม่อื ใหผ ูใหญรบั ประทานมีอาการพษิ เกดิ ข้นึ ได1 7 6. ยังไมพบรายงานเก่ียวกับการเกิดพิษจากการใชขิงแหงเพียงอยางเดยี ว และผลการศึกษา ทางคลินิกในผปู ว ยกลมุ ตาง ๆ ไมพบวาขงิ กอใหเ กดิ อาการพิษแตอยา งใด เม่อื ใหส ารสกดั ขงิ ดว ยน้าํ มันงา ในขนาดสงู ถงึ 1 กรัม/กิโลกรัม แกหนูขาวทตี่ ง้ั ทองในชว งที่ตวั ออ นมีการสรางอวยั วะ ไมพบพิษตอ ตวั แม และตัวออ นในทอง10 7. ขิงสดปงมีสรรพคณุ แกค ลน่ื ไสอาเจยี น แกกระเพาะอาหารอกั เสบเร้ือรัง แกท องเสีย11 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผูพฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บญุ ทวีคณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่ือพรรณไมแ หงประเทศไทย (เต็ม สมติ ินันทน 3. ฉGบoบัnแgกQไ ขFเ.พม่ิ Zเตhoิมnพgy.ศa.o2P5a4o4z).hiสXํานuักeว. ชิ 2าnกdาeรdป.า ไมB. eiกjiรnมgป: าNไมat. ioพnิมalพCคhรi้ังnทeี่ s2e. กTรrุงaเdทiพtioมnหaาlนMครe:diบcรinิษeัทPปuรbะlชisาชhนingจําHกดัou, s2e5,4240.03. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช. คัมภีรเภสชั รตั นโกสินทร. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ศลิ ปส ยามบรรจุภัณฑแ ละการพิมพ จํากดั , 2547. 6. ชยนั ต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลติ , วิเชียร จีรวงศ. คาํ อธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พครง้ั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พอมรินทร, 2548. 7. สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ . คูมอื การใชสมุนไพร เลม 1. กรงุ เทพมหานคร : หจก. เอช-เอน การพิมพ, 2527. 8. วนั ดี กฤษณพันธ, เอมอร โสมนะพันธุ, เสาวณี สุรยิ าภณานนท. สมนุ ไพรในสวนครวั . กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั พิมพเ มดคิ ัล มีเดีย, 2541. 9. สรอยศิริ ทวีบูรณ. ขงิ . ใน: บพติ ร กลางกลั ยา นงลกั ษณ สขุ วาณิชยศ ลิ ป (คณะบรรณาธิการ). รายงานผลการศึกษาโครงการ การ ประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาสมนุ ไพร. นนทบรุ ี : บริษทั เอส อาร พริ้นตง้ิ แมสโปรดกั ส จาํ กัด, 2544. 10. นงลักษณ สุขวาณิชยศลิ ป. ขิง. ใน: บพิตร กลางกัลยา นงลักษณ สุขวาณิชยศ ิลป (คณะบรรณาธกิ าร). รายงานผลการศึกษาโครงการ การประเมนิ ประสทิ ธิภาพและความปลอดภยั ของยาสมุนไพร. นนทบรุ ี : บริษัท เอส อาร พร้ินตง้ิ แมสโปรดกั ส จํากัด, 2544. 11. Zhao GB. Rhizoma Zingiberis Recens: sheng jiang. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 12. สถาบนั วจิ ัยสมนุ ไพร. เอกสารวิชาการสมุนไพร. นนทบุรี : กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข, 2543. 13. Mascolo N, Jain R, Jain SC, Capasso F. Ethnopharmacologic investigation of ginger (Zingiber officinale). J Ethnopharmacol 1989; 27(1/2): 129-40. 14. Aswal BS, Bhakuni DS, Goel AK, Kar K, Mehrotra BN, Mukherjee KC. Screening of Indian plants for biological activity: Part X. Indian J Exp Biol 1984; 22(6): 312-32. 15. Woo WS, Lee EB, Han BH. Biological evaluation of Korean medicinal plants. III. Arch Pharm Res 1979; 2: 127-31. 16. Emig HM. The pharmacological action of ginger. J Amer Pharm Ass 1931; 20: 114-6. 17. Weber ML. A follow-up study of thirty-five cases of paralysis caused by adulterated Jamaica-ginger extract. Med Bull Vet Admin 1937; 13: 228-42.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook