Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-16 23:35:54

Description: คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Search

Read the Text Version

Page 1 คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จีน กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2551 ISBN 978-974-8062-72-3

Page 2

Page 3 คูมือการใชส มุนไพรไทย-จนี ที่ปรึกษา นายแพทยล ือชา วนรัตน อธบิ ดีกรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก นายแพทยว ชิ ัย โชคววิ ัฒน ผูทรงคุณวุฒิ นายแพทยส มยศ เจรญิ ศักด์ิ ผูท รงคุณวฒุ ิ บรรณาธกิ าร เย็นจติ ร เตชะดํารงสิน คณะทํางาน ทศั นยี  ฮาซาไนน พเยาว เหมือนวงษญาติ อภญิ ญา เวชพงศา รพีพล ภโววาท วิญู เตโชวาณชิ ย วฒุ ิ วุฒธิ รรมเวช สวาง กอแสงเรอื ง สมชาย จิรพินจิ วงศ เบญจนยี  เภาพานิชย ยุพาวดี บญุ ชิต รวนิ ันท กุดทิง เจา ของลขิ สทิ ธิ์: กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข ออกแบบ: เยน็ จิตร เตชะดาํ รงสนิ ถายภาพ: อาวธุ ราชสีหวรรณ อัศวิน นรนิ ทชัยรงั ษี พิมพคร้งั ที่ 1: มีนาคม 2551 จาํ นวน 1,000 เลม พมิ พที่ : สาํ นกั งานกิจการโรงพิมพ องคการทหารผานศึกในพระบรมราชปู ถมั ภ 2/9 ซอยกรุงเทพฯ-นนทบรุ ี 31 เขตบางซ่ือ กรุงเทพมหานคร 10800 ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แหงชาติ เย็นจติ ร เตชะดํารงสนิ (บรรณาธิการ) คูมือการใชสมุนไพรไทย-จีน—กรงุ เทพมหานคร: สํานกั งานกจิ การโรงพมิ พองคการทหารผา นศึกในพระบรมราชูปถมั ภ, 2551. 208 หนา ภาพประกอบ กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ISBN 978-974-8062-72-3

Page 4 ก กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก คํานํา ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีนต้ังอยูในภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางชีวภาพของ ทรัพยากรพชื และสัตว และทรพั ยากรพชื ของท้ังสองประเทศมีจาํ นวนไมน อ ยท่ีเหมอื นกนั ยงั ผลใหส มนุ ไพร ไทยและจนี มบี างสว นทีเ่ หมอื นกนั แตม ชี ่ือเรยี กไทยและจีนตางกนั นอกจากนีส้ าธารณรัฐประชาชนจนี ยัง เปนแบบอยา งทดี่ ปี ระเทศหนึง่ ของโลกทมี่ กี ารใชส มุนไพรในการปอ งกันและรกั ษาโรคตา ง ๆ ใหก บั ประชาชน จนี จาํ นวน 1,300 ลา นคนไดอยา งพอเพียงและมปี ระสทิ ธภิ าพ มกี ารบันทึกการใชส มนุ ไพรอยางเปน ระบบ มานานนับพันป และมแี บบแผนในการใชว ธิ ที างวทิ ยาศาสตรมาสนับสนนุ ภูมิปญญาดง้ั เดิม โดยเปนท่ี ยอมรับของนานาประเทศท่วั โลก ประเทศไทยมีระบบการแพทยแ ผนไทยเชนกัน แตไมมีการบนั ทกึ อยางเปน ระบบมากนกั การแพทย และสมนุ ไพรทงั้ ของไทยและจีนทไี่ ดสบื ทอดเปนภมู ิปญ ญามาแตโบราณกาล มคี วามลมุ ลกึ สขุ ุมและละเอยี ด ประณีตสอดคลอ งกับวถิ ชี วี ติ และวัฒนธรรมอนั ดีงามของคนไทยและคนจีนอยา งแนบแนน เมื่อศกึ ษาใน แนวลกึ จะพบวา การแพทยท งั้ สองแผนตางมจี ดุ เดนของตัวเองและมบี างสว นท่ีคลายคลงึ กัน สามารถนาํ มา ประยกุ ตใ ชใ หเหมาะสม การพฒั นาดา นการแพทยต ามภูมิปญ ญาจะตอ งพฒั นาควบคไู ปกับดา นเภสัชกรรม เพ่ือใหการใชยาสมุนไพรเปนไปอยางถูกตอง ปลอดภัย และมีประสิทธิผล จาํ เปนตองทราบวิธีแปรรูป ตัวยาใหมีคุณภาพและวธิ ใี ชส มุนไพรทถ่ี ูกตอง กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื ก เปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ ท่ีรับผดิ ชอบการถายทอดองคค วามรแู ละเทคโนโลยดี า นการแพทยแ ผนไทย การแพทยทางเลือกและสมนุ ไพร ไดต ระหนักถงึ ความจําเปนของการรวบรวมขอมลู การใชสมุนไพรไทยและจีนเหลา นีไ้ วใ ชป ระโยชน จงึ ได จัดทําหนังสือ “คูม อื การใชส มนุ ไพรไทย-จีน” ขน้ึ โดยไดคัดเลือกสมุนไพรท่ียอมรบั วามปี ระโยชน หาได งายในประเทศไทย และมคี วามสาํ คัญดา นเศรษฐกิจและการสาธารณสุข มีการใชท้ังสองประเทศจาํ นวน 50 ชนิดมารวบรวมไว ซึ่งมีเน้อื หาครอบคลุมทั้งดา นความรทู ่ัวไปและการใชส มนุ ไพรเปน รายชนดิ เพ่อื ให บุคลากรสาธารณสขุ และผสู นใจทั่วไปศกึ ษาและสามารถนําสมุนไพรดงั กลา วไปใชไ ดอ ยางมนั่ ใจ มีเหตุผล และกวางขวางยง่ิ ขึน้ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ขอขอบคุณคณะทํางานทุกทานที่มี ความต้งั ใจและความทมุ เทเสียสละ รว มมอื กันทาํ งานจนหนังสอื เลม นี้สาํ เรจ็ ลลุ ว งไปดว ยดี และหวังเปน

Page 5 คูมอื การใชส มนุ ไพรไทย-จีน ข อยา งย่งิ วา องคความรูด า นสมุนไพรไทย-จนี ในหนังสอื เลม นจี้ ะมสี ว นชว ยสะทอ นใหเห็นการนําขอดขี อง ศาสตรอื่นมาใชใหเกิดประโยชน เพ่ือพัฒนาศาสตรของตนและเกิดความรวมมือกัน มุงหวังให ผลการรักษาโรคมีประสิทธิภาพเพิ่มขนึ้ และสนบั สนนุ การพึง่ ตนเองดา นสุขภาพของประเทศ (นายแพทยลือชา วนรัตน) อธบิ ดกี รมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

Page 6 ค กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก สารบญั หนา คาํ นาํ ก สารบญั ค สารบัญภาพ ฉ ภาพสมนุ ไพรไทย-จีน 1 11 บทนํา 13 21 ความรูท ว่ั ไปเก่ยี วกับสมุนไพร 30 34 การใชย าสมุนไพร 44 45 รสของยาไทยและยาจีน 48 51 การเตรยี มตวั ยาพรอ มใช 55 57 การใชส มุนไพรรายชนดิ 60 - กระวาน : โตวโคว (豆蔻 Doukou) 62 - กะเมง็ : ฮั่นเหลียนเฉา (旱莲草 Hanliancao) 66 - กานพลู : ติงเซียง (丁香 Dingxiang) 69 - ก่ิงหมอ น : ซังจือ (桑枝 Sangzhi) 72 - ก่งิ อบเชยจนี : กุย จอื (桂枝 Guizhi) 76 - เกสรบวั หลวง : เหลยี นซู (莲须 Lianxu) 80 - โกฐขแ้ี มว : ตหี้ วง (地黄 Dihuang) 83 - โกฐเขมา : ชงั จู (苍术 Cangzhu) 86 - โกฐจุฬาลาํ พา : ชิงเฮา (青蒿 Qinghao) 90 - โกฐเชยี ง : ตงั กุย (当归 Danggui) 93 - โกฐน้ําเตา : ตาหวง (大黄 Dahuang) - โกฐสอ : ไปจื่อ (白芷 Baizhi) - โกฐหวั บัว : ชวนซยฺ ง (川芎 Chuanxiong) - ขิง : เจียง (姜 Jiang) - คนทสี อ : มา นจงิ จ่ือ (蔓荆子 Manjingzi) - เฉากว ย : เฉากั่ว (草果 Caoguo)

คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี Page 7 สารบญั (ตอ) ง - ชะเอมเทศ : กนั เฉา (甘草 Gancao) หนา - ดอกคาํ ฝอย : หงฮวา (红花 Honghua) 95 - ดีบัว : เหลยี นจ่ือซิน (莲子心 Lianzixin) 101 - ดีปลี : ปปอ (荜茇 Bibo) 104 - ตน พมิ เสน : ฮวั่ เซยี ง (藿香 Huoxiang) 106 - ตน สะระแหน : ปอ เหอ (薄荷 Bohe) 109 - บวยดาํ : อูเหมย (乌梅 Wumei) 111 - ใบมะขามแขก : ฟานเซี่ยเยี่ย (番泻叶 Fanxieye) 113 - ใบหมอน : ซังเยยี่ (桑叶 Sangye) 116 - เปลือกรากโบตั๋น : หมูตันผี (牡丹皮 Mudanpi) 119 - เปลือกรากหมอ น : ซงั ไปผ ี (桑白皮 Sangbaipi) 122 - โปงรากสน : ฝูหลิง (茯苓 Fuling) 125 - ผลพุดซอ น : จือจื่อ (栀子 Zhizi) 128 - ผลเลยี่ น : ชวนเลี่ยนจื่อ (川楝子 Chuanlianzi) 130 - ผักคาวทอง : ยฺหวีซิงเฉา (鱼腥草 Yuxingcao) 133 - ผวิ สม จีน : เฉินผี (陈皮 Chenpi) 136 - พทุ ราจีน : ตาเจา (大枣 Dazao) 139 - ฟา ทะลายโจร : ชวนซินเหลียน (穿心莲 Chuanxinlian) 142 - เมลด็ บัว : เหลียนจ่ือ (莲子 Lianzi) 144 - เมล็ดฝอยทอง : ทซู ือจ่อื (兔丝子 Tusizi) 149 - ราชดดั : ยาตา นจอ่ื (鸭胆子 Yadanzi) 151 - เรวดง: ซาเหริน (砂仁 Sharen) 154 - ลกู จันทนเ ทศ : โรว โตว โคว (肉豆蔻 Roudoukou) 157 - ลกู เดือย : อี้อี่เหริน (意苡仁 Yiyiren) 160 - เลบ็ มือนาง : ส่ือจฺวินจ่ือ (使君子 Shijunzi) 164 167

Page 8 จ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือก สารบัญ (ตอ ) หนา - วา นพรา ว : เซยี นเหมา (仙茅 Xianmao) 170 - วานนํ้า : จั้งชางผู (藏菖蒲 Zangchangpu) 173 - สายน้าํ ผ้ึง : จนิ อ๋นิ ฮวา (金银花 Jinyinhua) 176 - สเี สยี ด : เออ ฉา (儿茶 Ercha) 179 - หญา คา : ไปเ หมาเกนิ (白茅根 BaiMaogen) 182 - หญาแหวหมู : เซียงฟู (香附 Xiangfu) 185 - หมาก : ปงหลาง (槟榔 Binglang) 189 - โหราเดอื ยไก : ฟูจ่ือ (附子 Fuzi) 192 - อบเชยจนี : โรวกุย (肉桂 Rougui) 196

คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จนี Page 9 สารบัญภาพ ฉ 1. กระวาน : โตวโคว (Fructus Amomi Rotundus) หนา 2. กะเมง็ : ฮั่นเหลียนเฉา (Herba Ecliptae) 1, 45 3. กานพลู : ติงเซยี ง (Flos Caryophylli) 1, 48 4. กง่ิ หมอน : ซังจือ (Ramulus Mori) 1, 51 5. กิง่ อบเชยจีน : กุยจือ (Ramulus Cinnamomi) 1, 55 6. เกสรบวั หลวง : เหลยี นซู (Stamen Nelumbinis) 1, 57 7. โกฐขแ้ี มว : ตี้หวง (Radix Rehmanniae) 1, 60 8. โกฐเขมา : ชังจู (Rhizoma Atractylodis) 2, 62 9. โกฐจฬุ าลาํ พา : ชิงเฮา (Herba Artemisiae Annuae) 2, 66 10. โกฐเชียง : ตงั กยุ (Radix Angelicae Sinensis) 2, 69 11. โกฐนํ้าเตา : ตาหวง (Radix et Rhizoma Rhei) 2, 72 12. โกฐสอ : ไปจ่อื (Radix Angelicae Dahuricae) 3, 76 13. โกฐหวั บวั : ชวนซฺยง (Rhizoma Chuanxiong) 3, 80 14. ขิง : เจยี ง (Rhizoma Zingiberis) 3, 83 15. คนทีสอ : มา นจิงจอื่ (Fructus Viticis) 3, 86 16. เฉากวย : เฉากั่ว (Fructus Tsaoko) 3, 90 17. ชะเอมเทศ : กันเฉา (Radix Glycyrrhiza) 3, 93 18. ดอกคําฝอย : หงฮวา (Flos Carthami) 4, 95 19. ดบี ัว : เหลียนจื่อซนิ (Plumula Nelumbinis) 4, 101 20. ดีปลี : ปปอ (Fructus Piperis Longi) 4, 104 21. ตนพิมเสน : ฮ่ัวเซยี ง (Herba Pogostemonis) 4, 106 22. ตนสะระแหน : ปอเหอ (Herba Menthae) 4, 109 23. บว ยดาํ : อูเหมย (Fructus Mume) 5, 111 24. ใบมะขามแขก : ฟานเซี่ยเยี่ย (Folium Sennae) 5, 113 25. ใบหมอ น : ซังเยย่ี (Folium Mori) 5, 116 26. เปลือกรากโบตัน๋ : หมูตันผี (Cortex Moutan) 5, 119 5, 122

Page 10 ช กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก สารบัญภาพ (ตอ) หนา 27. เปลอื กรากหมอน : ซังไปผี (Cortex Mori) 5, 125 28. โปงรากสน : ฝูหลิง (Poria) 6, 128 29. ผลพดุ ซอน : จือจื่อ (Fructus Gardeniae) 6, 130 30. ผลเลี่ยน : ชวนเล่ียนจ่ือ (Fructus Toosendan) 6, 133 31. ผักคาวทอง : ยหฺ วีซิงเฉา (Herba Houttuyniae) 6, 136 32. ผิวสมจนี : เฉินผี (Pericarpium Citri Reticulatae) 6, 139 33. พุทราจีน : ตา เจา (Fructus Jujubae) 6, 142 34. ฟา ทะลายโจร : ชวนซินเหลียน (Herba Andrographitis) 7, 144 35. เมล็ดบวั : เหลียนจื่อ (Semen Nelumbinis) 7, 149 36. เมลด็ ฝอยทอง : ทูซอื จอื่ (Semen Cuscutae) 7, 151 37. ราชดดั : ยาตา นจ่ือ (Fructus Bruceae) 7, 154 38. เรว ดง : ซาเหริน (Fructus Amomi) 7, 157 39. ลกู จันทนเ ทศ : โรว โตว โคว (Semen Myristicae) 7, 160 40. ลกู เดือย : อ้ีอ่ีเหริน (Semen Coicis) 8, 164 41. เลบ็ มอื นาง : สื่อจฺวินจื่อ (Fructus Quisqualis) 8, 167 42. วา นพราว : เซียนเหมา (Rhizoma Curculiginis) 8, 170 43. วา นน้ํา : จั้งชางผู (Rhizoma Acori Calami) 8, 173 44. สายนาํ้ ผึ้ง : จินอนิ๋ ฮวา (Flos Lonicerae) 8, 176 45. สีเสยี ด : เออ ฉา (Catechu) 8, 179 46. หญาคา : ไปเ หมาเกนิ (Rhizoma Imperatae) 9, 182 47. หญาแหวหมู : เซียงฟู (Rhizoma Cyperi) 9, 185 48. หมาก : ปงหลาง (Semen Arecae) 9, 189 49. โหราเดอื ยไก : ฟูจื่อ (Radix Aconiti Lateralis Preparata) 9, 192 50. อบเชยจนี : โรวกุย (Cortex Cinnamomi) 9, 196

คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จนี Page 11 ภาพสมุนไพรไทย-จีน 1 2 เซนติเมตร 1 เซนติเมตร กระวาน (Fructus Amomi Rotundus) กะเม็ง (Herba Ecliptae) 2 เซนตเิ มตร 1 เซนติเมตร กงิ่ อบเชยจีน (Ramulus Cinnamomi) กิ่งหมอน (Ramulus Mori) 2 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร กานพลู (Flos Caryophylli) เกสรบัวหลวง (Stamen Nelumbinis)

Page 12 2 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก (Radix 2 เซนติเมตร โกฐเขมา (Rhizoma Atractylod2isเ)ซนติเมตร โกฐขี้แมว Rehmanniae) 5 เซนติเมตร ตังกุยเซนิ (Radix Angelicae Sinensis) 2 เซนตเิ มตร โกฐเชยี ง หรือ ตงั กุยเหวย (Radix Angelicae Sinensis) 2 เซนตเิ มตร 3 เซนตเิ มตร ตงั กุยโถว (Radix Angelicae Sinensis) โกฐจุฬาลําพา (Herba Artemisiae Annuae)

คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จีน Page 13 3 2 เซนตเิ มตร โกฐสอ (Radix Angelicae Dahuric2aเeซ)นติเมตร โกฐน้าํ เตา (Radix et Rhizoma Rhei) 3 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร โกฐหวั บัว (Rhizoma Chuanxiong) ขิงแหง (Rhizoma Zingiberis) 0.5 เซนตเิ มตร 1 เซนติเมตร คนทีสอ (Fructus Viticis) เฉากวย (Fructus Tsaoko)

Page 14 4 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 2 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร ชะเอมเทศ (Radix Glycyrrhizae) ชะเอมเทศผัดนา้ํ ผง้ึ (Radix Glycyrrhizae Preparata) 0.5 เซนตเิ มตร 0.5 เซนติเมตร ดอกคําฝอย (Flos Carthami) ดีบัว (Plumula Nelumbinis) 1 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร ดีปลี (Fructus Piperis Longi) ตน พิมเสน (Herba Pogostemonis)

คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี Page 15 5 2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร ตนสะระแหน (Herba Menthae) บว ยดาํ (Fructus Mume) 2 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร ใบมะขามแขก (Folium Sennae) ใบหมอน (Folium Mori) 2 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร เปลือกรากโบต๋ัน (Cortex Moutan) เปลือกรากหมอน (Cortex Mori)

Page 16 6 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก 3 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร โปงรากสน (Poria) ผลพุดซอน (Fructus Gardeniae) 2 เซนตเิ มตร 3 เซนตเิ มตร ผลเลี่ยน (Fructus Toosendan) ผักคาวทอง (Herba Houttuyniae) 2 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร ผวิ สมจีน (Pericarpium Citri Reticulatae) พุทราจีน (Fructus Jujubae)

คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี Page 17 7 2 เซนตเิ มตร 1 เซนตเิ มตร ฟาทะลายโจร (Herba Andrographis) เมล็ดบัว (Semen Nelumbinis) 0.3 เซนติเมตร 0.5 เซนตเิ มตร เมล็ดฝอยทอง (Semen Cuscutae) ราชดัด (Fructus Bruceae) 0.5 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร เรวดง (Fructus Amomi) ลูกจนั ทนเ ทศ (Semen Myristicae)

Page 18 8 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก 0.5 เซนติเมตร 0.5 เซนติเมตร ลูกเดือย (Semen Coicis) เล็บมือนาง (Fructus Quisqualis) 1 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร วานพราว (Rhizoma Curculiginis) วานน้ํา (Rhizoma Acori Calami) 0.5 เซนตเิ มตร 1 เซนตเิ มตร สายนาํ้ ผ้ึง (Flos Lonicerae) สีเสียด (Catechu)

คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี Page 19 9 (Rhizoma 1 เซนติเมตร 1 เซนตเิ มตร หญา คา Imperatae) หญาแหวหมู (Rhizoma Cyperi) 1 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร เมล็ดหมาก (Semen Arecae) โหราเดอื ยไก (Radix Aconiti Lateralis Preparata) 5 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร อบเชยจีน (Cortex Cinnamomi) อบเชยจีน (Cortex Cinnamomi)

Page 20 10 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

Page 21 คูมือการใชส มุนไพรไทย-จีน 11 บทนํา จากการศกึ ษาดูงานดานการแพทยแ ละสมนุ ไพรจนี ในสาธารณรัฐประชาชนจีนของนักวชิ าการไทย พบวา การวจิ ัยและพัฒนายาจากสมนุ ไพรจีนมีความกาวหนามาก และสาธารณรัฐประชาชนจีนมที รัพยากร ดา นสมนุ ไพรและตาํ ราเกย่ี วกบั สมนุ ไพรมากมาย การนําสมนุ ไพรมาใชเปนยารักษาโรคในการแพทยแ ผน จีนนนั้ ไดม กี ารพัฒนาสืบตอกันมานานนับพันป ทง้ั ในชวงทส่ี าธารณรฐั ประชาชนจีนปดประเทศระหวา ง ป ค.ศ. 1949-1990 รวมเวลา 41 ปน้ัน การพัฒนาสมุนไพรไดดําเนินการมาโดยตลอด และไดเพ่ิมการ วิจัยและพัฒนาสมุนไพรในทุก ๆ ดาน ตามนโยบายการเรงรัดการผลิตยาจากสมุนไพรมาทดแทนยาที่ ขาดแคลนซง่ึ ตองนําเขา จากตางประเทศ ทาํ ใหส าธารณรฐั ประชาชนจนี มกี ารใชส มนุ ไพรและยาจากสมุนไพร ในงานสาธารณสขุ ของประเทศอยางกวา งขวาง ขอ มลู การใชแ ละการพัฒนาสมุนไพรในดานตา ง ๆ ไดมีการ บนั ทึกอยา งตอ เน่อื ง โดยใชความรูทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยสี มัยใหมม าศึกษาวิจยั เพ่อื หาขอมลู มา สนบั สนนุ การใชต ามภูมิปญญาดัง้ เดมิ ในป พ.ศ. 2534-2535 กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทยไดรับงบประมาณสนับสนุนจากองคการ อนามัยโลกในการจัดทําโครงการ “Expert Committee, for Transferring Technology and Integration of Knowledge in Chinese and Thai Herbal Medicine” โดยไดด ําเนนิ การในรูปแบบของคณะกรรมการ และไดจดั ต้งั คณะกรรมการผเู ชีย่ วชาญการถายทอดเทคโนโลยีและประสมประสานประโยชนดานการใช สมุนไพร เพอื่ แปลและรวบรวมขอ มลู ท่เี ปน ประโยชนต อการใช การวจิ ัย รวมทัง้ การควบคมุ คุณภาพของ สมุนไพร ซึง่ ขอมูลตาง ๆ เหลานัน้ ไดร วบรวมจากตาํ ราสมุนไพรจีนท่ีนาเช่ือถอื และเปนท่ียอมรับของแพทย แผนจนี จาํ นวน 19 เลม เปนงานทีย่ ังไมมกี ารแปลเปน ภาษาไทยหรอื ภาษาองั กฤษในขณะนั้น โดยใช ขอมลู จากรายงานการศึกษาวิจัยทั้งในและตางประเทศ นํามาประกอบเพ่อื ใหสมบูรณย ่งิ ขน้ึ สมุนไพรท่ีได คดั เลือกเปนสมุนไพรทมี่ ีการใชและมคี วามสําคัญดา นสาธารณสุข ไดแก เรว หมอ น บัวหลวง และพลูคาว แตเนื่องจากมีขอ จํากัดดานงบประมาณจงึ ไมส ามารถดาํ เนนิ การตอ เนือ่ งได และนาเสยี ดายที่ปรมาจารย หลายทา นในคณะกรรมการดงั กลาวไดล ว งลับไปแลว อาทิ ศาสตราจารย ดร.วิเชียร จีรวงศ ดร.มานะ รักวิทยาศาสตร นายเจนกิจ เวชพงศา นายวทิ ิต วณั นาวบิ ูล ทานเหลาน้ันลวนเปนผมู คี วามรภู าษาจนี ดานการแพทยและเภสชั กรรมเปน อยา งดีและไดอ ทุ ศิ เวลาในการศกึ ษา พจิ ารณา แปล และเรยี บเรยี ง เปนภาษาไทย สามารถถายทอดองคความรูที่ถกู ตอ งใหผ ูสนใจนําไปใชประโยชน ผูเขียนโชคดที ่ไี ดมโี อกาส

Page 22 12 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก เปน กรรมการในชุดนน้ั และผูเขียนตระหนกั ดีวาภาษาจนี มศี ัพทเ ทคนิคเฉพาะดา น โดยเฉพาะอยางยงิ่ ทางดานการแพทยและเภสัชกรรม มีศัพทเฉพาะวิชา ไมสามารถสื่อความหมายใหเขาใจไดโดยบุคคล ธรรมดา และไดเห็นประโยชนของการนําองคความรูดังกลาวมาประยุกตใชใหเหมาะสม จึงมีความคิด ท่ีจะสานตอเจตนารมณของปรมาจารยเ หลา นั้น กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือก โดยสถาบันการแพทยไ ทย-จนี เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ในฐานะหนวยงานท่ีรับผิดชอบในการพัฒนาและถายทอดองคความรูดานศาสตร การแพทยแผนจนี ท่ีถูกตอง และผสมผสานการแพทยแ ผนจีนทเ่ี หมาะสมเขา สูระบบสุขภาพ จงึ ไดจ ดั ทาํ หนังสือ “คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน” นข้ี ึ้น โดยมีวตั ถุประสงคเพื่อจัดการความรดู านการใชส มุนไพร ไทย-จนี เผยแพรความรูดา นการใชประโยชนจ ากสมุนไพรไทย-จีน และสนบั สนุนการผลกั ดนั วทิ ยาการ ดา นสมุนไพรใหก า วหนาตอไป เพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ แกคนไทย ในการจดั ทําหนงั สอื “คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี ” นีต้ อ งใชค วามพยายามอยา งสงู ในการสบื คน ขอ มลู จากเอกสารและตําราหลายสิบเลม ทง้ั ภาษาไทยและภาษาจีน โดยขอ มูลเกย่ี วกับสมนุ ไพรไทยไดจ าก เอกสารทีส่ ะทอนภมู ปิ ญ ญาไทยจากหลายแหลง ทัง้ จากตาํ ราแพทยแ ผนไทยและผลงานวจิ ัยตา ง ๆ สว น ขอมลู สมุนไพรจีนไดจ ากเภสัชตาํ รับของสาธารณรัฐประชาชนจนี (Pharmacopoeia of the People’s Republic of China) ตํารายาจนี (Chinese Materia Medica) ตําราการแปรรปู สมุนไพรจีน (Processing of Traditional Chinese Medicine) และตาํ ราวิชาการศาสตรการแพทยแ ผนจีน ซ่ึงตาํ ราเหลา น้สี วน ใหญต พี มิ พเปนภาษาจีน มีศัพทเ ทคนิคเฉพาะมากมาย ทําใหยากลําบากในการแปล และเม่ือแปลเปน ภาษาไทยแลว ตอ งมาเรยี บเรยี งใหมใหเปน ภาษาท่ีเขาใจงายสาํ หรบั ผูอ า นทว่ั ไป รวมทั้งไดจ ัดทาํ ภาพประกอบ ตัวยาแตล ะชนดิ ซ่ึงกวา จะเปนรปู เลม เผยแพรไ ดตอ งใชเวลาและความพยายามมาก หนังสอื “คูมอื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี ” เลมนป้ี ระกอบดวยเน้อื หาที่สําคญั 2 สว น สว นแรก เปนเร่ืองของความรูทว่ั ไปทค่ี วรทราบ เพอ่ื ใหผ ูอา นไดท ราบความรทู ่ัวไปเกยี่ วกับสมุนไพร การใชย าสมนุ ไพร รสของยาไทยและยาจีน และการเตรียมตวั ยาพรอมใช สว นท่สี องเปน เรือ่ งของการใชส มุนไพรรายชนดิ จาํ นวน 50 ชนิด ซ่ึงแตละชนิดประกอบดว ยรายละเอียดของหวั ขอดงั นี้ นยิ าม ช่ือตวั ยา (ไทย จนี อังกฤษ และละติน) การเก็บเก่ียวและการปฏิบัตหิ ลงั การเก็บเกีย่ ว การเตรยี มตัวยาพรอ มใช คุณภาพของ ตัวยาจากลกั ษณะภายนอก สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทยและการแพทยแผนจนี ขนาดท่ีใชและ วธิ ใี ช ขอ หามใช ขอ ควรระวงั และอาการขางเคียง รวมท้ังขอมูลวชิ าการท่เี กย่ี วของและภาพประกอบของ ตัวยา ซ่ึงหวั ขอตา ง ๆ ดังกลาวมคี วามหมายและความสําคัญตอการนาํ สมนุ ไพรมาใชป ระโยชน

Page 23 คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 13 ความรทู ัว่ ไปเก่ยี วกับสมนุ ไพร ประเทศไทยอยูในเขตรอนช้ืนท่มี ีความหลากหลายทางชีวภาพสูงมากประเทศหนึ่งของโลก มี รายงานวา ประเทศไทยมีพชื ประมาณ 15,000 ชนดิ มีสมุนไพรทีใ่ ชเ ปนยาในทองถ่นิ ประมาณ 800 ชนิด และหากมีการสาํ รวจอยา งตอ เนอ่ื งเพิม่ เติมจะตองพบชนดิ พันธใุ หม ๆ อีกมาก คนไทยรจู ักนําสมนุ ไพร มาใชประโยชนกวา 2,000 ป ทั้งเปน ยารักษาโรคและเปน อาหาร นอกจากนี้สมุนไพรยงั สามารถนํามาใช ประโยชนท างดา นอื่น ๆ เชน นาํ มาบรโิ ภคเปนเครื่องด่ืม สีผสมอาหาร สียอ ม และเครื่องสาํ อางอกี ดวย คาํ นิยาม คาํ วา “สมุนไพร” ไดม กี ารใหคาํ นิยามไวหลากหลาย ดงั ตอไปนี้ 1. “สมนุ ไพร” ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 พิมพค รง้ั ที่ 1 พ.ศ. 2546 หนา 1,132 น. ผลิตผลธรรมชาติ ไดจ ากพชื สตั ว และแรธาตุ ท่ใี ชเปนยา หรือผสมกบั สารอนื่ ตามตาํ รบั ยา เพอ่ื บาํ บัดโรค บํารงุ รา งกาย หรือใชเปนยาพษิ เชน กระเทียม นา้ํ ผ้ึง รากดนิ (ไสเ ดอื น) เขากวางออน กํามะถนั ยางนอง โลตน๊ิ 1 2. “ยาสมนุ ไพร” ตามพระราชบญั ญตั ิยา พ.ศ. 2510 ในมาตรา 4 หมายความวา ยาที่ได จากพฤกษชาติ สัตว หรอื แรธาตุ ซ่ึงมไิ ดผสม ปรุง หรือแปรสภาพ2 3. “สมุนไพร” ตามพระราชบัญญตั ิคุมครองและสง เสรมิ ภมู ปิ ญญาการแพทยแ ผนไทย พ.ศ. 2542 หมายความวา พืช สตั ว จุลชีพ ธาตุวตั ถุ สารสกัดดง้ั เดิมจากพืชหรอื สตั ว ที่ใช หรอื แปรสภาพ หรอื ปรุงเปนยา หรอื อาหารเพอ่ื การตรวจวนิ ิจฉยั บําบัด รกั ษา หรือปองกัน หรือสงเสรมิ สขุ ภาพรา งกาย มนุษย หรือสัตว และใหหมายความรวมถงึ ถนิ่ กาํ เนิด หรือถ่ินทอ่ี ยขู องสงิ่ ดงั กลาว3 การเก็บเกยี่ วสมนุ ไพร สมนุ ไพรสว นใหญไ ดมาจากพชื พชื แตล ะชนิดมแี หลง กระจายพนั ธแุ ละถิ่นที่อยแู ตกตา งกนั สง ผล ใหสมุนไพรแตล ะชนดิ มีลกั ษณะเฉพาะตัว มีองคป ระกอบทางเคมี และสรรพคณุ ทางยาแตกตา งกันดวย การเก็บเกย่ี ววัตถุดิบสมนุ ไพรตอ งคํานึงถึง การเกบ็ เกีย่ วใหถกู ชนิดของพืช การเกบ็ เก่ียวใหถ กู สว นทใี่ ช ทาํ ยา และการเก็บเก่ยี วในอายขุ องพชื ชว งเวลาของวนั และฤดกู าลเกบ็ ท่ีเหมาะสม จะไดยาที่มคี ณุ ภาพดี หรอื ไดส รรพคุณทางยาตามตองการ สว นของพชื สมนุ ไพรทใ่ี ชเปนยามี 5 สวน จะเก็บในระยะทีม่ ีปริมาณ 4 ตัวยาในพชื สงู สดุ ดังนี้

Page 24 14 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก 1. รากและหัว (เหงา ลําตน ใตดิน) จะเก็บในระยะท่ีพชื หยุดการเจริญเตบิ โตแลว สวนใหญเปน พชื ลม ลกุ มักจะเกบ็ ตอนตนฤดูหนาว ซง่ึ เปน ชวงทผ่ี ลดั ใบ พชื จะเกบ็ สะสมอาหารไวท ี่รากและหัว 2. ใบหรือท้งั ตน จะเก็บในระยะที่พชื เจริญเติบโตมากที่สุด แตบางชนิดกจ็ ะกําหนดวาตองเก็บ อยา งไร 3. เปลอื กตน และเปลอื กราก จะเก็บในระยะตนฤดฝู น เพราะเปน ชว งท่มี ีตวั ยาสงู และลอกเปลือก งายกวาชวงอื่น ๆ 4. ดอก จะเก็บในระยะดอกเรมิ่ บาน ยกเวนบางชนิดตองเก็บขณะยังตมู อยู 5. ผลและเมลด็ จะเกบ็ ในระยะแกเต็มท่ี วธิ ีการเกบ็ สมุนไพรทถี่ กู ตองน้ัน โดยทั่วไปไมมีอะไรสลบั ซบั ซอ น ประเภทใบและดอก ใชว ิธีเด็ด แบบธรรมดา สวนประเภทราก หัว หรือเกบ็ ทงั้ ตน ใชว ิธีขดุ อยา งระมัดระวัง เพอ่ื ใหไดสวนทเ่ี ปน ยามาก ทีส่ ดุ สําหรบั เปลอื กตนหรือเปลือกราก เน่อื งจากเกี่ยวของกบั การดาํ รงชวี ติ ของตนพืช ดงั นนั้ จึงควรสนใจ วิธีการเก็บดังท่ีไดก ลา วมาแลว ขา งตน 3 เครื่องมอื สําหรบั เกบ็ สมุนไพร เชน มีดขนาดใหญ กรรไกร เล่อื ย และเครอื่ งมือจกั รกลอน่ื ๆ ควรเก็บรักษาใหสะอาด และบาํ รุงรักษาใหอยูในสภาพที่เหมาะสม สวนของเคร่ืองมือท่ีสัมผัสโดยตรง กับวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรท่เี ก็บควรจะตองปราศจากนํ้ามันหลอ ล่ืนและสิ่งปนเปอ นอน่ื ๆ5 การปฏบิ ตั หิ ลังการเกบ็ เกย่ี ว ยาสมุนไพรโดยทว่ั ไปมีท้งั การใชส ดและการใชแ หง การใชส ดนน้ั มีขอดีตรงสะดวก ใชง า ย แต วา ฤทธก์ิ ารรักษาของยาสมุนไพรไมคงท่ี ยาทใ่ี ชส ดมหี ลายอยา ง เชน วานหางจระเข รากหญาคา เปนตน แตการใชยาสมุนไพรสวนมากนิยมใชแหง เพราะจะไดคุณภาพของยาคงท่ี โดยเลือกเก็บยาสมุนไพรท่ี ตองการตามฤดูกาลเก็บพืช แลว นาํ มาแปรสภาพโดยผานกระบวนการท่ีเหมาะสมเพอ่ื เกบ็ ยาไวไดเ ปนเวลา นาน5 การปฏบิ ตั ิหลังการเก็บเก่ยี วหากดําเนินการไมถกู ตอง อาจทําใหส ารสาํ คญั ในสมุนไพรสลายตวั และ วัตถดุ ิบมีคณุ ภาพต่ําลง โดยท่ัวไปการปฏิบัตหิ ลังการเกบ็ เก่ยี วมี 2 ขนั้ ตอน6 คอื 1. การทาํ ความสะอาดและการเตรยี มสมนุ ไพรกอ นทาํ ใหแหง หลังจากเกบ็ เกยี่ วสมุนไพรมาแลว แยกสงิ่ อื่นที่ปะปนออก ลา งสมนุ ไพรดว ยนํ้าสะอาด และตัด หั่น หรอื ฝานใหไดข นาดตามความเหมาะสม สมนุ ไพรบางชนดิ อาจจาํ เปนตองอบ นง่ึ หรือตม ดว ย

Page 25 คูมอื การใชสมุนไพรไทย-จีน 15 2. การทาํ ใหแหง สมุนไพรท่ีมคี วามช้ืนมากเกนิ ไป นอกจากจะทําใหแ บคทีเรียและเชื้อราเจริญ ไดง า ยแลว ยงั จะเรงใหเ กิดการสญู เสยี สารสาํ คัญไดอีกดว ย จงึ จาํ เปน ตองทําใหสมุนไพรแหง โดยกรรมวิธที ่ี เหมาะสม ดงั นี้ - การตาก อาจจะตากในรมหรอื ตากแดด แลวแตช นดิ ของสมนุ ไพร - การอบ ควรใชต ูอบทมี่ ีพัดลมระบายอากาศดวย ควรเลอื กอุณหภมู ใิ หเหมาะกับสว นของ พืช โดยทว่ั ไปความรอนท่ีเหมาะสมตอ สว นของดอก ใบ และตนพืชลม ลุก ประมาณ 35-45 องศาเซลเซยี ส เปลอื กตน เนื้อไม ราก ผลขนาดใหญ ประมาณ 40-60 องศาเซลเซียส การเกบ็ รกั ษาสมนุ ไพร การเก็บรักษายาสมนุ ไพรไวเ ปนเวลานานมักจะเกดิ การขน้ึ รา มีหนอน เปลี่ยนลกั ษณะ สี กลน่ิ ทําใหย าสมนุ ไพรน้ันเสือ่ มคณุ ภาพลง ทําใหม ผี ลไมด ตี อฤทธ์ิการรกั ษาหรอื สญู เสยี ฤทธ์กิ ารรกั ษาไปเลย ดังน้นั จงึ ควรจะมีการจดั การเกบ็ รกั ษาที่ดี เพือ่ จะประกนั คณุ ภาพและฤทธก์ิ ารรกั ษาของยาสมนุ ไพรน้ัน การเก็บรกั ษาควรปฏิบตั 3ิ ดังน้ี 1. ยาทจ่ี ะเก็บรักษาไวจ ะตองทําใหแหง เพอื่ ปองกนั การข้นึ ราและการเปล่ยี นลกั ษณะเกดิ ภาวะ ออกซไิ ดซ ยาทข่ี ้ึนรางายตอ งหมน่ั เอาออกตากแดดเปนประจํา 2. สถานทเี่ ก็บรักษาจะตอ งแหง เย็น การถา ยเทของอากาศดี 3. ควรเก็บแบงเปนสดั สว น ยาที่มพี ิษ ยาท่ีมีกลน่ิ หอม ควรเก็บแยกไวใ นทีม่ ดิ ชดิ ปองกันการ สับสนปะปนกนั 4. ดแู ลปอ งกนั ไฟ หนอน หนู และแมลงตา ง ๆ สารสาํ คัญที่พบในสมนุ ไพร สารสาํ คญั ในพืชมหี ลายชนดิ แตกตางกนั ไปตามสว นตา ง ๆ ของพืช การทราบองคประกอบเคมี ทีส่ าํ คัญจะชว ยใหสามารถนําสมุนไพรมาพฒั นาเปน ยาไดอ ยางเหมาะสม กลุมสารเคมสี ําคัญทีพ่ บในพืช7 มดี งั นี้ 1. คารโบไฮเดรต (carbohydrates) ในพชื มักจะถูกสรา งขึ้นจากการสงั เคราะหแสงและถูกเกบ็ เปน อาหารสะสมของพืช จะถกู นาํ มาใชเ ปนอาหารของคนและสตั ว แบง เปน 2 ชนดิ ใหญ ๆ คือ พวกท่ี เปนน้าํ ตาล และพวกท่ไี มใชนํ้าตาล - พวกท่ีเปนนํา้ ตาล แบงเปน 2 ชนิด คือ น้าํ ตาลเชงิ เดยี่ ว (monosaccharides) และ นาํ้ ตาลเชงิ ซอ น (oligosaccharides)

Page 26 16 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก - พวกทไี่ มใ ชน า้ํ ตาล จะไมม รี สหวานและไมล ะลายนํา้ แบงเปน 2 ชนิด คือ (ก) polysaccharides เชน แปง ไดแก แปง ขาวโพด แปงขา วสาลี แปง มนั ฝรง่ั แปง สาคู มีประโยชนคือ ใชเ ปน ตัวทําเจือจาง (diluent), สารทําใหน ุมและชุม ชนื้ (emollient) และสารชวย แตกตัว (disintegrating agents) ในยาเม็ด และยาผง สว นเซลลูโลส ไดแ ก สาํ ลี ใชส ําหรบั ทําแผล และ เมทลิ เซลลูโลส ใชเ ปนยาระบายเพม่ิ กาก (bulk laxative) และสารชวยแขวนลอย (suspending agent) (ข) polyuronides เชน กมั ใชเ ปนสารทาํ อมิ ัลชัน (emulsifying agent), สารชว ย แขวนลอย สารยดึ ติด (adhesive) และสารยึด (binder) และสารประกอบพวกเปกตนิ ใชเปนสารชว ย แขวนลอย และใชเ ปน สวนประกอบในยาแกทองเสยี เนื่องจากมคี ุณสมบตั ิของการดดู ซึมสารคอลลอยด (colloidal absorption) สามารถดดู ซึมสารที่เปนพิษได 2. โปรตนี (proteins) เปนสารอนิ ทรยี ท ี่มีไนโตรเจนอยูในโมเลกลุ เกิดจากกรดอะมโิ นมาจับ กนั เปน โมเลกลุ ใหญ แบงออกเปน 3 กลมุ คอื - simple proteins เมื่อถกู ยอยจะไดก รดอะมโิ น - conjugated proteins ประกอบดวยโปรตนี จบั กับสวนทีไ่ มใชโ ปรตนี - derived proteins เปนสารท่ไี ดจากการสลายตวั ของโปรตนี 3. ไขมนั (lipids) เปนเอสเทอรท ่เี กดิ จากกรดไขมันชนดิ โมเลกลุ ยาวจับกบั แอลกอฮอล แบง เปน 3 ชนิด คอื - ไขมนั และน้ํามันไมร ะเหย สว นใหญไ ดมาจากสว นเมลด็ มกั นํามาใชเ ปน อาหารและใช ประโยชนทางดานเภสัชกรรม ไขมนั และน้ํามนั ไมระเหยจะแตกตา งกนั ท่จี ุดหลอมเหลว โดยนาํ้ มนั ไมร ะเหย จะมีจุดหลอมเหลวตา่ํ มีสภาพเปน ของเหลวทอ่ี ณุ หภมู ปิ กติ สวนไขมนั จะมีสภาพเปนก่ึงของแขง็ กงึ่ ของเหลว หรือเปน ของแขง็ - ไข เปน สารท่ีใชใ นการเตรียมยาข้ีผ้งึ ครมี เพอ่ื ชวยใหย าขผ้ี งึ้ และครมี ดังกลา วแขง็ ตวั 4. นํา้ มนั หอมระเหย (volatile oils) เปน ของเหลวทมี่ กี ลนิ่ เฉพาะตัว สวนมากจะมกี ล่ินหอม ระเหยไดท่อี ณุ หภูมหิ อง น้ํามันหอมระเหยประกอบดว ยสารเคมีท่สี ําคัญประเภท monoterpenes, sesqui- terpenes และ oxygenated derivatives เชน นํา้ มันกานพลู ใชเ ปน ยาขับลม ฆาเช้ือ และเปนยาชา เฉพาะท่ี ระงบั อาการปวดฟน น้ํามันยคู าลิปตัส ใชเปน ยาขบั เสมหะ และฆาเช้ือจลุ ินทรีย เปน ตน 5. ยางไม (gum) เปน ของเหนยี วทไ่ี ดจากพืช เกดิ ขึ้นเม่อื กรีดหรอื ทําใหพืชน้นั เปนแผล บาง ชนดิ นาํ มาใชป ระโยชนท างยา เชน กัมอาคาเซีย และกัมตาคาคาน ใชใ นการเตรยี มยาพวกอีมลั ชัน

Page 27 คูมือการใชสมนุ ไพรไทย-จีน 17 6. เรซินและบาลซมั่ (resins and balsams) - เรซนิ เปนสารประกอบที่มีรปู รางไมแนน อน สว นมากมักเปราะ แตกงา ย บางชนิดอาจจะ นิ่ม เมอ่ื เผาไฟจะหลอมเหลวไดส ารทใี่ ส ขน และเหนียว เรซนิ เกดิ จากสารเคมีหลายชนิด เชน resin acid, resin alcohol, resene และ ester มเี รซินหลายชนิดนาํ มาใชใ นทางเภสชั กรรม เชน ชันสน (rosin หรือ colophony) เปนสารที่ทาํ ใหยาขีผ้ ง้ึ แขง็ ตวั jalap ใชเปนยาถา ยอยา งแรง เปน ตน - บาลซ่มั เปน resinous mixture ซง่ึ ประกอบดว ยกรดซนิ นามิก (cinnamic acid) หรอื กรดเบ็นโซอิค (benzoic acid) หรือเอสเทอรของกรดทั้งสองชนิดนี้ บาลซ่ัมที่นํามาใชประโยชนทาง เภสัชกรรม ไดแ ก Tolu balsam, storax, กํายาน (benzoin) กํายานที่ใชในตาํ รับยาสว นใหญค อื กํายาน สมุ าตรา ใชข บั เสมหะ 7. แอลคาลอยด (alkaloids) เปนสารท่ีมีรสขม มีไนโตรเจนเปนองคประกอบ มีคุณสมบัติ เปนดา ง และมักมฤี ทธิ์ทางเภสัชวิทยา เชน ควนิ นิ มอรฟน คาเฟอนี เปนตน 8. กลยั โคไซด (glycosides) เปนสารประกอบทม่ี ี 2 สวน คอื สว นทเี่ ปน นํา้ ตาล (glycone) และสว นทไ่ี มเ ปนน้ําตาล (aglycone) กลยั โคไซดห ลายชนดิ มปี ระโยชนท างยา เชน ดจิ ิท็อกซนิ ซึ่งมีผล ตอ ระบบหมุนเวียนของโลหติ และการทาํ งานของหวั ใจ 9. แทนนนิ (tannins) เปนสารประกอบพวกโพลฟี น อลซึ่งเมื่อทําปฏิกิริยากับโปรตนี ในหนัง สตั ว ทาํ ใหห นงั สัตวไ มเ นา เปอ ยไปตามธรรมชาติ แทนนนิ มีรสฝาด มีฤทธเ์ิ ปน ยาฝาดสมาน บรรเทา อาการทองรวง 10. ฟลาโวนอยด (flavonoids) เปน สารประกอบพวกโพลฟี นอล มักจะมสี ี เชน แดง มว ง เหลอื ง หรอื น้าํ เงิน มักจะพบในรปู กลัยโคไซด เชน รูติน หรือ เคอรซ ติ นิ มีฤทธ์ใิ นการลดอาการเสน โลหติ เปราะ 11. สเตียรอยด (steroids) เปนสารทีม่ ีสูตรโครงสรางเชนเดียวกบั ฮอรโมน และยาตา นอกั เสบ เชน เบตา ซโิ ทสเตอรอล ซึ่งพบบอ ยในพืช มีฤทธเ์ิ ปน anticholesteremic 12. ซาโพนิน (saponins) เปนสารประกอบจาํ พวกกลยั โคไซดทม่ี ีสวน aglycone (sapogenin) เปน สารจาํ พวกสเตียรอยด หรอื ไตรเทอรพีนอยด สว นนีจ้ ะจบั กับสว นนํา้ ตาล นา้ํ ตาลทพ่ี บสว นใหญเปน oligosaccharides 1-5 หนว ย ซาโพนินมีคณุ สมบัตบิ างอยางคลา ยสบู เชน สามารถเกดิ ฟองเมอ่ื เขยา กับ นาํ้ เปนสารลดแรงตงึ ผวิ ท่ดี ี และทาํ ใหเม็ดเลือดแดงแตกได เชน ไดออสซิน กลีเซอไรซนิ เปนตน

Page 28 18 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 13. แอนทราควิโนนส (anthraquinones) เปนสารประกอบจาํ พวกควิโนนทพี่ บมากที่สุด และ มีความสําคญั ท่ีสุด พบท้ังในรปู อิสระ และรูปกลยั โคไซด มสี ตู รโครงสรา งพนื้ ฐานประกอบดวย 3-ring system เปนสารที่มสี ีแดง-สม สวน aglycone ของแอนทราควิโนนสล ะลายไดด ีในดาง ใหสชี มพู-แดง เชน อโิ มดนิ อะโลอนิ เปน ตน คณุ ภาพของสมนุ ไพร ในสมัยโบราณ แพทยหรือหมอพื้นบานจะปลกู พืชสมนุ ไพรบางชนิดไวใชเอง แตอีกสว นหนึง่ จะ เก็บจากธรรมชาติ โดยไดร ับการถา ยทอดความรูจากครแู พทยซงึ่ เปน ผมู ปี ระสบการณอนั ยาวนาน สอน ใหรจู ักลกั ษณะของพชื สมนุ ไพรแตละชนดิ สว นทใ่ี ช วิธีเกบ็ และวธิ เี ตรียมตา ง ๆ แตป จจุบนั บางครัง้ เรา ไมสามารถหาสมุนไพรสดมาเตรียมใหแหง ไดเอง จาํ เปนตองซอ้ื จากทองตลาดหรือรา นขายยาแผนโบราณ เกือบท้ังหมด ซ่ึงสมนุ ไพรแหง บางชนิดอาจดูไดย าก การไมรจู กั รูปรางลักษณะของสมุนไพรแหง อาจจะ ซ้ือสมนุ ไพรผิดชนดิ ได เพราะสมุนไพรไทยมีชอื่ พองมาก และบางคร้งั สมนุ ไพรบางชนดิ ราคาแพง ผูขาย บางคนขาดจรยิ ธรรมก็จะใชส มนุ ไพรชนดิ อ่นื ที่มีลักษณะใกลเคียงกนั มาปนปลอม (adulteration) หรือ ทดแทนทง้ั หมด (substitution) สงผลใหย าทไ่ี ดม คี ณุ ภาพลดลงหรอื ไมมีคุณภาพเลยหรอื เกิดผลอนื่ อัน ไมพ ึงประสงค จึงมคี วามจาํ เปน ตอ งตรวจสอบสมุนไพรเพอ่ื ใหแ นใจในความถูกตอง4 เน่อื งจากประสทิ ธผิ ลของยามีความสมั พนั ธโ ดยตรงกับคุณภาพยา ดงั นน้ั การควบคมุ คุณภาพ จงึ เปน เรือ่ งสาํ คญั โดยเฉพาะยาจากสมุนไพร องคป ระกอบท่ีทําใหสมนุ ไพรมีคุณภาพแตกตา งกัน มดี งั น้ี 1. ความแตกตา งของสารประกอบเคมีในพชื (biochemical variation) ซึง่ อาจเกดิ จากพนั ธุ ระยะเวลาในการเกบ็ เก่ยี ว ฯลฯ 2. การเส่อื มสภาพของสมุนไพร (deterioration) เชน การเนาเสีย ก็จะทาํ ใหคุณภาพของ สมนุ ไพรตาํ่ ลงดว ย 3. การใชสมุนไพรอืน่ มาปนปลอม (adulteration) หรอื ทดแทนท้ังหมด (substitution) ในทางการแพทยแผนโบราณมักจะตรวจสอบคณุ ภาพของสมุนไพรโดยดูจากลกั ษณะภายนอก ดมกล่ิน ชิมรส หรือโดยวิธกี ารอน่ื ๆ ตามประสบการณข องภมู ปิ ญ ญาพนื้ บาน สวนการควบคมุ คุณภาพ ของสมนุ ไพรในทางวิทยาศาสตรจ ะทําโดยการจดั ทาํ ขอกําหนดมาตรฐานของสมนุ ไพร หากสมุนไพรชนดิ ใดมขี อ กาํ หนด (specification) ในเภสชั ตาํ รบั ของประเทศตา ง ๆ หรอื ในตาํ รามาตรฐานยาสมุนไพรไทย (Thai Herbal Pharmacopoeia) กส็ ามารถดาํ เนนิ การตามที่กําหนดไวได แตห ากสมุนไพรชนดิ ใดยงั ไม มกี ารจดั ทําขอกาํ หนดมาตรฐานไว จาํ เปน อยางยงิ่ ทีจ่ ะตอ งศึกษาวจิ ยั เพอ่ื จัดทาํ ขอ กาํ หนดคุณภาพ (quality

Page 29 คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน 19 specification) ของสมุนไพรชนดิ น้นั ๆ ไว เพ่อื ใชเ ปน แนวทางในการควบคมุ คุณภาพของวตั ถดุ บิ และ ผลติ ภัณฑย าจากสมุนไพร การอา งองิ ถึงประวตั ิการใชอ นั ยาวนานจากบรรพบุรษุ และไมพ รอ มที่จะมีการ ทดลองทางวิทยาศาสตรนั้นคงทําไมได เนื่องจากสมุนไพรในปจจุบันอยูในสภาพแวดลอมท่ีแตกตา งไป จากเดมิ มาก มีสารพิษ โลหะหนกั ยาฆา แมลง ยาฆาวัชพชื ทตี่ กคางในดินมากมาย ทาํ ใหมีความจําเปน ที่จะตองทดลองใหไดผลแนนอนอีกคร้ังหนึ่ง เพ่ือสรางความมั่นใจใหแกผูบริโภคในดานประสิทธผิ ล และความปลอดภัย4 วัตถุดิบสมุนไพรจะมีคุณภาพดีมากหรือนอยข้ึนอยูกับกระบวนการในการผลิตสมุนไพร ซ่ึง เกี่ยวของกับบคุ ลากรหลายสาขาวชิ าชพี ไดแ ก นกั วิชาการเกษตร เกษตรกร ผูเกบ็ สมนุ ไพรจากแหลง ธรรมชาติ และผคู าวัตถุดิบ สําหรบั การนาํ สมุนไพรมาใชเปน ยาใหม ปี ระสิทธิผลในการรกั ษาทดี่ ี มีความ ปลอดภัยในการใช และมีประโยชนเชิงพาณิชย ตามหลักสากลควรตองทราบรายละเอียดเกี่ยวกับ 4,7 ดงั นี้ สมนุ ไพร 1. ความรูทว่ั ไปเกีย่ วกบั พชื สมุนไพร (general description of the plant): ชื่อทอ งถนิ่ ชอ่ื องั กฤษ ชอื่ วทิ ยาศาสตร ช่ือพอง ลักษณะท่วั ไปของพชื สมนุ ไพร แหลง กระจายพันธุ ถนิ่ ทีอ่ ยู สวนทีใ่ ช เปน ยา และการเตรยี มวัตถดุ บิ สมนุ ไพร 2. ขอ กาํ หนดคุณภาพ (quality specification): บทนยิ าม การตรวจสอบคุณลกั ษณะ การ ตรวจสอบเอกลกั ษณทางเคมี การตรวจสอบความบริสุทธิ์ การวิเคราะหป ริมาณสารสาํ คญั การปนเปอน ดว ยสารหนแู ละโลหะหนกั การปนเปอ นดว ยจลุ ินทรยี  การปนเปอ นดว ยสารพิษตกคาง และการเก็บรักษา 3. ขอ บงใช (indication) 4. ความเปน พิษ (toxicity) 5. ขอ หามใช (contraindication) 6. ขอ ควรระวัง (warning) 7. รปู แบบและขนาดท่ีใช (preparation and dose) สมุนไพรแตละชนดิ ทจ่ี ะนาํ มาใชเปนยา ผบู รโิ ภคและผูผ ลิตควรใหค วามสนใจในเรอื่ ง ขอ บงใช ความเปนพิษ ขอหามใช ขอควรระวัง รูปแบบและขนาดท่ใี ช เพ่ือจะไดรับประโยชนทแ่ี ทจ ริงจากสมุนไพร การพฒั นาสมนุ ไพรจาํ เปน ตอ งใชอ งคค วามรูห ลกั 2 สว น คือ สว นทเ่ี ปนความรูเกยี่ วกบั สมนุ ไพร และการใชต ามภูมิปญ ญา (ethnobotanist) และสว นทเ่ี ปน ความรทู างวทิ ยาศาสตร ซึ่งท้ัง 2 สว น ลว นมี ความสําคญั ในสว นของความรทู างวทิ ยาศาสตรน นั้ การตรวจสอบสมุนไพรนบั วา มคี วามสาํ คญั ย่ิงและ

Page 30 20 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก เปนรากฐานของการพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื กทยี่ ่ังยืน ชวยยกระดบั มาตรฐาน คุณภาพของสมนุ ไพรใหเปนที่ยอมรับในประสิทธิผลการรักษาทสี่ ม่ําเสมอและมีความปลอดภยั เพือ่ สราง ความมน่ั ใจใหกบั ผบู ริโภคและเพิม่ ความยอมรับจากบคุ ลากรทางการแพทย เอกสารอางองิ 1. ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พมิ พค รงั้ ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : ศิรวิ ัฒนาอนิ เตอรพรนิ้ ท, 2546 2. วฒุ ิ วุฒิธรรมเวช. คมั ภรี เภสัชรตั นโกสินทร. พิมพค รั้งที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ศิลปสยามบรรจุภณั ฑแ ละการพมิ พ จาํ กดั , 2547. 3. กนั ทิมา สทิ ธธิ ัญกิจ, พรทพิ ย เติมวิเศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คูมือประชาชนในการดแู ลสุขภาพดว ยการแพทยแ ผนไทย. พิมพครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักงานกจิ การโรงพิมพองคก ารทหารผานศึกในพระบรมราชูปถมั ภ, 2547. 4. วชิ ัย โชควิวัฒน. คุณภาพสมุนไพร. วารสารการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก. 2547; 2(2): 84-91. 5. สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก. หลักเกณฑขององคการอนามยั โลกเก่ียวกบั เกษตร และการเกบ็ เกี่ยวที่ดีเหมาะสมสาํ หรบั พืชสมนุ ไพร. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พอ งคการรบั สง สินคาและพัสดภุ ัณฑ (ร.ส.พ.), 2548. 6. สถาบันวจิ ยั สมนุ ไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. ขมน้ิ ชนั : มาตรฐานสมุนไพรไทย เลม ท่ี 2. พิมพครั้งท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพอ งคก ารรบั สงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.), 2544. 7. เย็นจิตร เตชะดํารงสิน. การตรวจสอบคุณภาพทางเคมีของสมุนไพร. เอกสารประกอบการบรรยายหลกั สูตร “การจัดการอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑจากสมนุ ไพร” จัดโดยสถาบนั วจิ ยั สมนุ ไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย วนั ที่ 28 กันยายน 2543.

Page 31 คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จีน 21 การใชย าสมนุ ไพร การใชย าสมุนไพรดว ยตนเอง เปนการดูแลสขุ ภาพเบ้อื งตน ในอาการของโรคทีเ่ ปนอยูโ ดยทั่วไป และไมเปน โรคทรี่ ายแรง ดว ยสมุนไพรทีม่ ผี ลขางเคียงนอย ใชส ะดวก ประหยดั และปลอดภยั การใชย า สมุนไพรควรใชเ มอื่ มีอาการไมส บายและเมื่อเห็นผลชดั เจนควรหยดุ ใช ไมควรใชเร่อื ย ๆ ไปตลอดเวลา ถาอาการยงั ไมดขี น้ึ หลังจากใชย าแลว ประมาณ 2-3 วัน ควรไปพบแพทย อาการของโรคที่สามารถใชสมนุ ไพรเด่ียวรักษาอาการไดด ว ยตนเอง1 มีดงั นี้ 1. ทองผกู 2. ทองอืดเฟอ แนนจุกเสยี ด 3. ทองเดิน 4. พยาธิในลาํ ไส 5. บิด (ปวดเบง มมี กู อาจมีเลือดปน) 6. คล่ืนไสอ าเจยี น (ไมพุงหรือมเี ลือดออกมาดว ย) 7. ไอและมีเสมหะ 8. ไข 9. ขัดเบา (ปส สาวะขัด ๆ คลอ ง ๆ) 10. กลาก เกลอ้ื น 11. ปวดฟน 12. นอนไมหลบั 13. เบ่อื อาหาร 14. ฝ แผลพุพอง 15. เคล็ด ขัด ยอก 16. ผืน่ คัน แพ อกั เสบ แมลงสตั วก ัดตอ ย 17. ไฟไหม นาํ้ รอนลวก 18. เหา 19. ชันนะตุ 20. โรคกระเพาะอาหาร 21. เจบ็ คอ 22. แผลถลอก ฟกชาํ้ 23. ไลยุงและแมลง 24. ผ่ืนคนั อาการของโรคท่ีไมค วรใชย ารักษาดว ยตนเอง2-4 1. ไขส งู (ตวั รอ นจดั ) ตาแดง ปวดเม่ือยมาก ซึม บางทพี ดู เพอ (อาจเปนไขห วัดใหญห รอื ไขป า ชนดิ ขึ้นสมอง) 2. ไขส งู และดซี า น (ตวั เหลอื ง ฯลฯ) ออ นเพลยี มาก อาจเจ็บในทองแถวชายโครง (อาจเปนโรค ตบั อกั เสบ ถงุ นาํ้ ดอี ักเสบ ฯลฯ) 3. ปวดทอ งแถวสะดือ เวลาเอามอื กดเจ็บมากขน้ึ หนาทองแขง็ อาจทอ งผกู และมไี ขเลก็ นอยหรอื มาก (อาจเปนโรคไสต ง่ิ อักเสบเฉยี บพลนั หรอื ลาํ ไสสว นอ่ืนอกั เสบ)

Page 32 22 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก 4. เจ็บแปลบในทองคลายมีอะไรฉกี ขาด ปวดทองรุนแรงมาก อาจมตี ัวรอนและคลื่นไสอ าเจียน ดวย บางทมี ีประวัตปิ วดทอ งบอ ย ๆ มากอ น (อาจมีการทะลุของกระเพาะอาหารหรอื ลําไส) 5. อาเจียนเปนเลือดหรอื ไอเปน เลือด (อาจเปนโรครายแรงของกระเพาะอาหารหรือปอด) ตอง ใหคนไขพักน่งิ ๆ กอน ถาแพทยอ ยใู กลควรเชิญมาตรวจทบ่ี า น ถาจาํ เปนตอ งพาไปหาแพทย ควรรอให เลอื ดหยุดเสียกอ น และควรพาไปโดยมกี ารกระเทอื นกระแทกนอยทีส่ ุด 6. ทองเดินอยางแรง อุจจาระเปน นาํ้ บางทมี ีลกั ษณะคลา ยน้าํ ซาวขา ว บางทถี ายพุง ถา ยติดตอ กนั อยา งรวดเร็ว คนไขออ นเพลียมาก ตาลึก หนงั แหง (อาจเปนอหิวาตกโรค) ตองพาไปหาแพทยโดยดวน ถาไปไมไ หวตองแจง แพทยห รืออนามยั ทใี่ กลทสี่ ดุ โดยเรว็ 7. ถา ยอุจจาระเปนมูกและเลือด บางทเี กอื บไมม ีเน้อื อจุ จาระเลย ถายบอ ยมาก อาจจะถึงสบิ ครั้งในหนงึ่ ชั่วโมง คนไขเพลียมาก ๆ (อาจเปนโรคบดิ อยางแรง) 8. สาํ หรับเดก็ โดยเฉพาะอายภุ ายใน 12 ป ไขสูง ไอมาก หายใจมีเสยี งผดิ ปกติ คลา ย ๆ กับ มอี ะไรติดอยใู นคอ บางทีมีอาการหนาเขยี วดวย (อาจเปนโรคคอตีบ) ตองรีบพาไปหาแพทยโดยดวนทีส่ ุด 9. อาการตกเลือดเปน เลอื ดสด ๆ จากทางไหนก็ตาม โดยเฉพาะทางชอ งคลอด ตองพาไปหา แพทยโ ดยเร็วทสี่ ุด 10. การใชส มนุ ไพรแกอาการขดั เบาน้ัน ควรใชใ นกรณีทปี่ สสาวะนอย หรือไมส ะดวกโดยไมมี อาการบวม และเมอื่ ปส สาวะคลอ งดีแลวใหหยดุ ใช 11. โรครายแรงหรอื โรคเรอ้ื รงั บางชนิด เชน งพู ิษกัด สุนขั บากดั บาดทะยัก กระดกู หัก มะเร็ง วณั โรค กามโรค ความดันโลหิตสงู เบาหวาน โรคเร้ือน เปน ตน ควรไปพบแพทยรกั ษา เพราะยาสมุนไพร ทีใ่ ชรกั ษาโรคเหลานี้ ยงั ไมทราบผลแนชดั การรกั ษากบั แพทยแ ผนปจจุบนั ไดผ ลแนน อนและปลอดภยั กวา อันตรายท่ีเกดิ จากการรกั ษาตวั เอง2,4 1. เม่ือใชย าตรงกบั โรคแลว แตใชขนาดมากเกินควร เชน ควรจะใชเพยี ง 1 กาํ มอื ใชเขาไปถึง 3 กํามอื หรอื ควรจะกนิ วนั ละ 2 ม้ือ กินเสียวนั ละ 3 มอื้ 2. เมอ่ื ใชย าตรงกับโรค แตใ ชน านเกนิ ระยะกาํ หนด ถึงคราวจะหยดุ แลว ไมหยดุ รางกายไดรบั ยามากเกินไป กรณีนี้เปน เหตใุ หตายบอ ย ๆ 3. เมอ่ื ใชยาไมต รงกบั โรค เชน เอายาแกไขหวดั ไปรกั ษาไขปา (มาลาเรยี ) เอายาแกทอ งเฟอไป รกั ษาโรคทอ งเดนิ

Page 33 คูม อื การใชส มนุ ไพรไทย-จีน 23 4. เม่อื ใชย าไมต รงกับคน โดยใชยาสาํ หรับผูใหญ เอาไปใชกบั เด็ก หรือเอายาสําหรบั ผูชายไป ใชกบั ผหู ญิง (ยาบางอยาง เชน ฮอรโ มน) อาการท่เี กดิ จากพิษของยา1,2 อาการท่เี กดิ จากพษิ ของยา ถาปรากฏขน้ึ ควรหยดุ ใชยาเสียกอ น ถาหยดุ แลว อาการหายไปอาจ ลองใชย าอกี ครง้ั โดยระมัดระวงั ถา อาการอยา งเดมิ เกดิ ขึ้นอกี แสดงวา เปนพษิ ของยาแน ควรหยุดยาแลว ไปปรกึ ษาแพทยโดยเรว็ พษิ ของยาอาจทําใหเกดิ อาการตามขอใดขอ หน่ึงหรือหลายขอ อาจเปน กับคนหน่งึ แตไมเปน กับ คนอืน่ ๆ กไ็ ด อาการท่ชี วนใหส งสยั วา เกิดจากพิษของยา มดี ังตอไปน้ี 1. เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน (หรอื อยางใดอยา งหนง่ึ ) ถา มอี ยกู อนกินยา อาจเปน เพราะโรค 2. ตวั เหลือง ตาเหลือง ปสสาวะสีเหลอื ง เขยา เกดิ ฟองสีเหลอื ง (เปน อาการของดีซาน) อาการ น้ีแสดงถึงอนั ตรายรายแรง ตอ งรบี ไปหาแพทย 3. ผ่ืนขนึ้ ตามผวิ หนงั อาจเปนตมุ เลก็ ๆ ตุม โต ๆ เปนปน หรือเปนเม็ดแบนคลายลมพิษ อาจ บวมที่ตา (ตาปด) หรือรมิ ฝปาก (ปากเจอ ) หรอื มีเพยี งดวงสแี ดงท่ีผิวหนัง 4. หอู ื้อ ตามวั ชาทีล่ ้ิน ชาทผี่ วิ หนงั 5. ประสาทความรูสึกทํางานไวเกินปกติ เชน เพียงแตะผิวหนังก็รูสึกเจ็บ ลูบผมก็แสบหนัง ศรี ษะ ฯลฯ 6. ใจสั่น ใจเตน หรือรสู ึกวูบวาบคลา ยหัวใจจะหยุด และเปนบอ ย ๆ โรคผวิ หนังจาํ พวกเรมิ และงูสวดั ถาเปนแผลเปด ไมค วรใชสมุนไพรที่ตองใสเ หลา2,4 การเตรยี มยาสมุนไพร3,5 การเตรียมยาสมุนไพรใหมีรูปแบบท่ีเหมาะสมเปน รูปแบบทม่ี ปี ระสิทธิภาพในการรักษาโรค ใชไ ด สะดวก มรี สและกลิน่ ชวนรับประทาน รปู แบบยาสมนุ ไพรท่ีนยิ มใช มีดงั น้ี 1. ยาตม เปนรูปแบบยาเตรยี มทีน่ ิยมใชแ ละสะดวกมากท่สี ดุ สามารถใชไดท งั้ ตัวยาสดและแหง ในตัวยาทส่ี ารสาํ คัญสามารถละลายไดใ นนาํ้ การแพทยแผนไทย เตรยี มโดยหั่นหรอื สับสมุนไพรเปนช้ินเล็กพอดี ใสลงในหมอดิน กระเบื้อง หรือภาชนะทีม่ ใิ ชโ ลหะและใสนํา้ ลงไปพอทว มยาเลก็ นอย หากเปนสมุนไพรแหง ใหแ ชน ้ําทง้ิ ไวส กั ครู สมนุ ไพร สดไมต องแชน ้ํา ใชไฟขนาดกลางตม ใหเ ดอื ด หลงั จากเดือดแลว ใหใ ชไฟออ น ควรคนยาสม่ําเสมอมิใหย า

Page 34 24 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ไหม (การตม ยาไทยมกั จะตมแบบ 3 เอา 1 คอื ใสน าํ้ 3 สว น ของปริมาณที่ใชแ ละตมใหเหลอื 1 สว น) ระยะเวลาในการตมขึ้นอยกู บั สว นของพชื สมุนไพร หากเปน สว นของใบ ดอก หรอื ก่ิงขนาดเลก็ ใชเวลา ตม 3-4 นาที หากเปนสว นท่ีแข็ง เชน รากหรอื แกนของลาํ ตนใชเวลาตม 10 นาที ยาตม ไมท ้ิงไวคางคนื ตมและรับประทานใหหมดภายในวนั เดยี ว โดยทั่วไปมักแบงรับประทานเปน 3 ครั้ง กอนอาหาร และ วันรงุ ข้นึ คอ ยเติมนาํ้ และตมใหมอ ีกครง้ั หนงึ่ ยาไทยสมยั กอนนิยมตมในหมอ ดนิ และปากหมอยาใชใ บตอง สด หรอื ผา ขาวบางปด หมอ ยาประมาณคร่งึ หน่งึ เพ่ือความสะดวกในการรินยา และทหี่ มอ ยาจะมี “เฉลว” ซึง่ ทําดวยไมไ ผ จกั เปนตอกสานเปน รูปคลา ยดาว เพอ่ื ปอ งกนั ของรา ยไมใ หม ารบกวน บางทีก็มีการผกู เหรียญสลึงไวท่ีปากหมอ เมื่อคนไขหายแลวก็จะนําเงินนี้มาซื้อของทําบุญเพื่ออุทิศสวนกุศลใหเจาของ ตํารานนั้ การแพทยแผนจีน ใหความสาํ คัญกับวิธีตมยาเปนอยางมาก เน่ืองจากวิธีตมยาสมุนไพรมี ความสมั พนั ธอ ยา งใกลชิดกบั ประสทิ ธิผลในการรกั ษาโรคของยาตํารับ ในการเตรยี มยาทมี่ คี ุณภาพและมี ประสทิ ธิผลในการรักษานน้ั ควรปฏิบตั ิ ดังน้ี 1. ภาชนะทใ่ี ชในการตมยา นิยมใชภ าชนะจําพวกเครื่องปน ดินเผาที่มีฝาปด เพื่อปอ งกันการทํา ปฏิกริ ยิ าขององคประกอบเคมใี นตวั ยากบั ภาชนะทีใ่ ชในระหวา งการตมยา ทําใหประสทิ ธิภาพหรือความแรง ของตัวยาไมสูญเสียไป ไมควรใชภาชนะจาํ พวกเหล็กหรือทองแดง ท้ังนี้เพื่อปองกันการตกตะกอน และ อาจทาํ ปฏิกิริยาทางเคมกี บั ตัวยา ซ่ึงจะทาํ ใหเ กิดผลขา งเคยี งหรือความเปน พษิ ได 2. นา้ํ ท่ใี ชต มยา จะตองเปนน้ําสะอาดและบริสทุ ธิ์ เชน น้าํ ประปา นา้ํ แร และน้ํากลั่น เปน ตน 3. ระดับไฟท่ีใชตมยา ไฟที่ใชตมยาแบงออกเปน 2 ระดับ คือ ไฟออ น และไฟแรง โดยทวั่ ไป การตมยามักจะใชไ ฟแรงกอนแลวจงึ ใชไ ฟออน บางครั้งอาจใชไฟออ นหรือไฟแรงเพยี งอยางเดยี วในการ ตม ยา เชน ใชไฟออนอยางเดยี วในการตมยาประเภทยาบํารุง หรือใชไฟแรงอยา งเดียวในการตมยาประเภท รักษาอาการภายนอก 4. วธิ ตี มยา การตม ยามี 2 วิธี คือ (1) วธิ ที วั่ ไป เตรยี มโดยนําตวั ยาใสใ นภาชนะทม่ี ีฝาปด เตมิ นาํ้ ใหท ว มตวั ยา ตง้ั ทงิ้ ไวป ระมาณ 30-60 นาที เพ่ือใหนาํ้ ซึมเขา ตัวยาอยา งเตม็ ที่ เวลาตม จะใชไ ฟแรงกอ น เมอ่ื เดือดจะใชไ ฟออ น ๆ ตม ตอ เพ่อื ปอ งกันไมใหน ํา้ ยาลนออกนอกภาชนะ หรือไมใหนํ้ายาแหงงวดเรว็ เกินไป ในระหวางตม อยาเปดฝาบอ ย ๆ เพ่ือปองกนั ไมใ หส ารทีร่ ะเหยไดส ญู เสยี ไป ในการตมยาประเภทรักษาอาการภายนอกหรอื ยาลดไข ควรใช ไฟแรงเพื่อปอ งกันไมใหสารสําคัญระเหยไป สําหรับยาบาํ รงุ ควรตม โดยใชไ ฟออน ๆ เพอื่ สกัดสารสาํ คญั

Page 35 คูมือการใชสมนุ ไพรไทย-จนี 25 ออกมาไดอยางสมบรู ณ ตวั ยาทม่ี พี ษิ บางชนิด เชน โหราเดือยไก ควรใชไ ฟออนตมนาน ๆ เพื่อลดพษิ ของ สมนุ ไพร เมือ่ ตมเสร็จ ใหร นิ นํ้ายาเก็บไว เตมิ นา้ํ ลงในกากทีเ่ หลอื แลว ตม ตอ โดยท่วั ไปยาหนง่ึ หอจะตม 2-3 ครง้ั เม่อื ตมเสรจ็ ใหร วมนํา้ ยาท่ีตมไดเขาดวยกนั แลว แบง รบั ประทาน ควรรบั ประทานขณะยายงั อุน ๆ ยกเวน ยาท่เี มื่อรบั ประทานตอนอนุ แลว จะทาํ ใหคลื่นไสอ าเจียน กใ็ หรบั ประทานเม่อื ยาเย็นแลว (2) วธิ ีเฉพาะ เปน วธิ ีทใ่ี ชตม ตัวยาทม่ี ีคณุ ลักษณะพเิ ศษบางชนดิ ซงึ่ จาํ เปนตอ งใชวธิ เี ฉพาะ และ จะตอ งระบุไวในสตู รตํารบั ดว ย ดงั นี้ 1) ใสก อ น มีตัวยา 3 ประเภท ซ่ึงตองตมกอนตวั ยาตัวอ่ืนในตํารับ ไดแ ก - ตัวยาท่มี พี ษิ ใหต ม กอ นตัวยาอ่ืน 30-45 นาที - แรธาตุและเปลอื กหอย เชน เกลือจืด เปนตัวยาทม่ี ลี กั ษณะแข็ง สารออกฤทธ์ิละลาย ออกมาไดยาก จึงตอ งตมใหเดือดประมาณ 15 นาทกี อ น แลวจงึ ใสตัวยาชนิดอ่ืน ๆ ในตํารบั ลงไปตม พรอมกนั - ตัวยาที่มีนา้ํ หนักเบาและใชในปริมาณมาก หากตมพรอมตัวยาอื่น ๆ จะทาํ ใหตัวยา เต็มหมอจนตม ไมไ ด จงึ ใหตมตวั ยาดังกลา ว 20 นาทกี อ น แลว เอาเฉพาะนํ้าท่ตี มไดไ ปใชตมตวั ยาตัวอื่น ในตํารบั ยา 2) ใสหลงั ตัวยาบางชนิดมนี ้ํามันหอมระเหย ควรใสห ลังจากตม ตวั ยาชนิดอ่นื ๆ ในตํารบั ใหเดอื ดแลว ประมาณ 5-10 นาที แลว จึงตมตอ ประมาณ 5 นาที เพ่อื ปองกนั ไมใ หส ารออกฤทธป์ิ ระเภท น้าํ มนั หอมระเหยสลายไป ตวั อยางสมนุ ไพรเหลา น้ี เชน เรว ดง สะระแหน เปน ตน นอกจากน้ี ตัวยาบาง ชนดิ ที่มสี รรพคุณเปน ยาระบายหรือยาถา ย กค็ วรใสท หี ลัง เชน โกฐนา้ํ เตา และใบมะขามแขก เปนตน 3) ใสหอ สมุนไพรบางชนิดมีลักษณะเปนผง หรือมีลักษณะเหนียว หรอื เปน ยาง หรอื มีลกั ษณะเปนขน ควรใสใ นถงุ ผา เพ่ือปอ งกันไมใ หน ํา้ ยาขนุ หรอื เหนียวติดภาชนะที่ใชตม หรือทาํ ใหไม ระคายคอ เชน เมล็ดผักกาดน้าํ เปน ตน 4) แยกตม ตัวยาบางชนดิ มรี าคาแพง เชน โสมคน โสมอเมริกัน เปน ตน ควรแยกตม ตา งหาก หรือตนุ ดว ยหมอ ตนุ 2 ชัน้ นาน 2-3 ชั่วโมง เพอื่ สกัดตวั ยาออกมาใหมากท่สี ดุ อาจแยก รบั ประทาน หรือนํามาผสมกับน้ํายาของตวั ยาชนิดอ่ืนทีต่ มได เพื่อปองกันไมใหส ูญเสยี ฤทธิข์ องยา 5) ชงน้ํารบั ประทาน สมุนไพรบางชนิดไมควรนาํ มาตม แตค วรบดใหเปนผงละเอียดมาก ๆ แลวชงนาํ้ อนุ ด่มื หรอื นําไปชงกับนาํ้ ยาของสมนุ ไพรชนิดอนื่ ที่เตรียมได ตวั อยางสมุนไพรเหลาน้ี เชน อาํ พัน เปนตน

Page 36 26 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 6) แชน ้าํ ตัวยาบางชนิดมีสารออกฤทธห์ิ รือมีองคป ระกอบของน้ํามันหอมระเหยซง่ึ สามารถ ละลายในนํา้ รอนไดง า ย ควรเตรียมยาโดยการนาํ มาแชใ นนาํ้ รอนหรือนาํ้ ยาของตัวยาชนิดอื่นท่ีรอ น เชน อบเชยจีน เปนตน 2. ยาดอง เปนยาทใี่ ชสารละลายหลายชนิด แชส มนุ ไพรแบบเยน็ เชน เหลา นาํ้ มะกรดู น้ําสม เปนตน ยาดองเหลา ในรปู แบบทีใ่ ชบ อย การปรุงยาทําไดโ ดยนําสวนของสมุนไพรที่ใชเ ปนยามาบดเปนผง หยาบและหอดว ยผา ขาวบางหลวม ๆ เผ่อื ยาพองตวั เวลาอมน้ํา ถา หากเปนรากหรอื แกน ของตน ไมใหฝ าน เปน ชน้ิ บาง ๆ เทา ๆ กนั เพอื่ ใหน ้ําเหลา ซึมเขา สยู าไดท วั่ ถงึ ภาชนะทใี่ ชส าํ หรับเตรยี มยาดองเหลา ควร ใชโ ถกระเบ้อื งหรือขวดโหลแกว ที่มีฝาปด สนทิ เมื่อใสย าลงในภาชนะเรยี บรอ ยแลว ใหเ ทนาํ้ เหลา ใหทว ม ยา ต้งั ทิ้งไว 1 สัปดาห และคนยาใหท่ัววันละ 1 ครั้ง ยาดองเหลา เปน ยาท่ีคอนขางแรง ปรมิ าณทใ่ี ชม กั นอ ยกวายาตม และหามใชกบั ผปู วยโรคความดนั โลหิตสงู โรคหัวใจ หญิงมีครรภ และผทู ีแ่ พเ หลา 3. ยาผง ปรุงจากสว นของพืชสมุนไพร บดละเอียดเปนผงชนิดเดยี วหรอื หลายชนิดผสมกัน ยา แผนโบราณหลายตํารบั ปรุงเปน ยาผง เชน ยาหอม ยาเขยี ว เปน ตน เวลารบั ประทาน มักจะใชก บั น้ํา กระสายยา ซงึ่ นาํ้ กระสายยาอาจเปน นาํ้ สกุ น้าํ ดอกมะลิ น้าํ ซาวขาว นํา้ มะนาว นํ้ามะกอก เปนตน 4. ยาชง เปนรูปแบบทมี่ ีการเตรยี มคลา ยการชงชา โดยใชน้าํ เดือดใสล งในสมนุ ไพร โดยทวั่ ไป มกั ใชสมุนไพรตากแหงทาํ เปนยาชง สว นของสมุนไพรทใี่ ชเปนยาอาจเปนใบ กิง่ ผล หรอื เมลด็ หนั่ เปน ชิน้ เล็ก ๆ บาง ๆ หรือบดเปนผงหยาบ ผึง่ แดดใหแ หง บางชนดิ มกี ารนาํ ไปอบกล่นิ หอมกอน ภาชนะท่ใี ช ชงควรเปน กระเบือ้ ง แกว หรอื ภาชนะเคลือบ ไมใ ชภาชนะโลหะ วิธกี ารชงทาํ ไดโดยใชสมนุ ไพร 1 สวน เตมิ น้าํ เดือดประมาณ 10 สว น หรอื ตามปริมาณทร่ี ะบุไวใ นตาํ รบั ยา บางตํารับอาจเตมิ นาํ้ ตาลหรือนํา้ ผึง้ ในการปรงุ รส ปดฝาทิ้งไว 5-10 นาที ยาชงเปนรปู แบบยาที่มีกล่ินหอม ชวนดมื่ ดื่มงาย ปจจบุ นั มีการ พัฒนาผลิตภัณฑยาชง โดยการบรรจุในถุงกระดาษเหนียว ปดสนทิ 1 ซองใช 1 ครั้ง พชื สมนุ ไพรทีใ่ ชใ น รูปแบบยาชงมกั เปนพืชท่มี ีสรรพคุณไมร นุ แรง ใชด่มื ตลอดวนั แทนน้าํ ยาชงนยิ มปรุงและดม่ื ทนั ที ไมทง้ิ ไวน าน สมนุ ไพรท่ใี ชเปน ยาชง เชน ยาชงชุมเหด็ เทศ ยาชงหญาหนวดแมว เปนตน นอกจากนเี้ ครอ่ื งดม่ื สมนุ ไพรหลายชนดิ เชน ขิง มะตูม เกก ฮวย เปนตน ก็ปรุงดวยการชงเชน เดยี วกัน ยาชงเปน วธิ กี ารงา ย สะดวกและเปน ทีน่ ยิ มทั่วไป 5. ยาลูกกลอน การปรงุ ยาลกู กลอนทําไดโดยเอาสว นของสมุนไพร มาห่นั เปน แวนบาง ๆ ผง่ึ แดดใหแหง บดเปนผงละเอยี ด และนําผงมาผสมกบั นํ้าผ้ึง (น้ําผ้ึงที่ใชปน ลูกกลอนมกั ตมใหร อนเพือ่ ขจัด สง่ิ สกปรกกอ น) อัตราสวนผสมระหวา งผงสมุนไพรตอนํ้าผ้งึ เทากับ 1-2 สวน : 1 สว น ท้ังน้ขี ึน้ กบั ลักษณะ

Page 37 คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จีน 27 ของผงสมนุ ไพร เคลาผงยาใหก ลมกลนื ประมาณวา ผงสมุนไพรทผี่ สมนํ้าผง้ึ แลวไมต ิดมอื เปนใชไ ด จากน้นั ปน เปน กอนกลมขนาดเทาปลายน้ิวกอย (เสนผา ศูนยก ลาง 0.8 เซนติเมตร) หรืออาจใชรางไมป น เปน ลกู กลอนก็ได จากนั้นจึงเอาไปอบแหงหรือตากแดดจัด 1-2 วัน และบรรจุภาชนะทปี่ ดมิดชิดและสะอาด นอกจากกรรมวธิ ีปรงุ ยาดังกลาวแลว ยาสมุนไพรยังปรงุ ไดอกี หลายวิธี เชน การรม การพอก การเตรยี มเปนยาประคบ การหงุ ดว ยน้าํ มัน เปนตน การเลอื กกรรมวิธปี รงุ ยาไดเหมาะสมจะทาํ ใหส มุนไพร ออกฤทธิ์ไดเต็มท่ี สง ผลตอการรกั ษาความเจ็บปวยไดอ ยา งถกู ตอ ง คําแนะนําในการใชยาสมุนไพร1-4 1. ใชใหถ ูกตน จะตองพจิ ารณาถงึ รปู ลักษณะ สี กลิ่น รส ชือ่ ของตวั ยาที่จะนาํ มาใชทาํ ยาวา ถกู ตองตรงตามตาํ รับหรอื ขอ บงใชห รอื ไม 2. ใชใ หถกู สวน จะตอ งพจิ ารณาวา ตวั ยาตามขอ บงใชน้ัน กาํ หนดใหใ ชสว นใดของตน พืช เพราะ แตล ะสว นของตน พืชยอมแตกตา งกนั ไป บางตน สรรพคณุ เหมือนกันแตมฤี ทธท์ิ ่ีออ นกวา กนั บางตน มี สรรพคณุ ไมเหมือนกนั 3. ใชใหถูกขนาด จะตองดูวาขอ บง ใช ใหใชตวั ยาน้นั ๆ ในปรมิ าณหรือนา้ํ หนักเทา ใด กนิ ครั้ง ละเทา ใด วนั ละกมี่ ือ้ 4. ใชใ หถูกวธิ ี จะตอ งดูวาขอบงใช ใหบรหิ ารยาโดยวธิ ีใด เชน ตมหรอื ดอง กินหรือทา เปนตน 5. ใชใ หถูกกบั โรค จะตองมีความเขาใจในเรือ่ งอาการของโรค วา เปน โรคนัน้ ๆ จริงหรือไม จะตอ งใชย าท่ีมีสรรพคณุ ตรงตอ โรค มิฉะน้ันแลว ก็อาจเกิดโทษ หรอื ไมสามารถบรรเทาอาการของโรคได ขอหา มใช5 ในการใชย ารกั ษาโรคนน้ั หากใชถ กู กบั โรคจะใหค ณุ หากใชผ ิดจะใหโ ทษ ดงั นั้นการใชยาบางชนดิ จําเปนตองระมัดระวังในการใช เพอ่ื ไมใหเกดิ โทษตอ รางกาย ขอ หามใชมี 4 ประเภท ดังน้ี 1. ขอหามใชใ นกลมุ อาการบางอยาง ตัวยาแตละชนดิ เหมาะกับโรคแตกตางกัน หมายถึงตัวยา แตละชนิดจะใชภายใตเง่ือนไขท่ีกาํ หนดไวเทานั้น เชน หมาหวง มีสรรพคุณเปนยาขับเหง่ือ แกห อบ เหมาะสาํ หรับโรคไขหวัดจากการกระทบลมเยน็ ไมมเี หงื่อ ไอหอบเนอื่ งจากชป่ี อดไมกระจาย จงึ หามใช กับผปู ว ยท่มี อี าการออ นแอ เหงือ่ ออกมาก ไอหอบเนื่องจากปอดพรอ ง เปน ตน 2. ขอ หา มตามหลักการจัดยารว มหรอื ยากลมุ ตัวยาบางชนิดเมอื่ ใชร ว มกันแลว จะทาํ ใหเ กดิ พษิ หรอื เกิดอาการอันไมพ ึงประสงค หรือทําใหเกดิ พิษเพ่มิ ขึน้ หรือทําใหฤทธขิ์ องตัวยาหมดไป ยาเหลา นกี้ ็ไม

Page 38 28 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ควรใชรว มกนั เชน กานพลูถกู ขม ดว ยวา นนางคํา ชะเอมเทศจะลบลางสรรพคุณของสาหรายทะเล เปนตน 3. ขอหามในหญิงมีครรภ ตัวยาบางชนดิ มผี ลตอ ทารกในครรภ ทาํ ใหแทง ลูกได จึงหามใชใ น หญงิ มคี รรภ ซ่ึงตัวยาสว นใหญใ นกลุมนมี้ กั มีพษิ มาก เชน สลอด ตวั ยาบางชนดิ ตองใชอ ยา งระมัดระวัง ในหญิงมีครรภ เนื่องจากเปน ตัวยาทมี่ ีฤทธ์ิกระจายช่แี ละเลอื ด ทาํ ใหเลือดไหลเวยี น เชน เมล็ดทอ ดอก คาํ ฝอย มีฤทธ์ิขับของเสยี ตกคา ง และขบั ถา ยพษิ รอน โกฐน้ําเตา ฤทธร์ิ ะบาย ขบั พษิ รอ น อบเชยจนี มี ฤทธิใ์ หความอบอนุ เสริมหยางระบบไต เปน ตน ดงั นัน้ หากไมจ าํ เปนจริง ๆ ควรหลกี เล่ียงการใชต วั ยา ดงั กลาวในหญิงมีครรภ 4. ขอหา มในชวงเวลาท่รี ับประทานยา นยิ มเรียกวา “ของแสลง” กลาวคือ ในชวงเวลาท่รี บั ประทาน ยา ควรงดดม่ื นํ้าเย็น ของมนั ของคาว อาหารทีย่ อ ยยาก หรือที่มรี สจดั เชน กรณผี ูปว ยที่มไี ขส ูง หาม รบั ประทานของมนั เปนตน ขนาดยาทใ่ี ช5 ขนาดยาทใ่ี ช หมายถึงปริมาณของยาที่ใชใ นผูใหญต อวัน เนื่องจากยาสมุนไพรเปนผลผลติ จาก ธรรมชาติ ดังนั้นปริมาณของตัวยาท่ใี ชจ งึ ไมเขมงวดเหมอื นกบั ยาแผนปจ จบุ ัน ยกเวน ตวั ยาบางชนิด เทา นั้นท่ีตองใชขนาดยาดว ยความระมัดระวัง เพือ่ ปอ งกนั ไมใหเ กิดอันตราย โดยทั่วไปขนาดยาที่ใชค วร คํานึงถงึ ปจจัยดงั ตอ ไปน้ี 1. คณุ ลกั ษณะของยา ตวั ยาที่มฤี ทธแิ์ รงควรใชปรมิ าณนอย หรอื เริ่มใชปริมาณนอยแลว คอย ๆ เพิ่มขึ้น เม่ือผูปวยมีอาการดีขึ้นใหคอย ๆ ลดขนาดยาลงจนหยุดใช สําหรับตัวยาที่มีฤทธิ์ออนมักใชใน ปริมาณมาก โดยทัว่ ไปตวั ยาทีม่ ีความหนาแนน หรอื แข็งมาก เชน แรธ าตุ หรือ เปลือกหอย เปนตน จะใช ในปริมาณมาก สวนตวั ยาท่ีมีนาํ้ หนักเบา เชน ดอก ใบ หรือตวั ยาที่มีนาํ้ มนั หอมระเหย จะใชใ นปรมิ าณนอย 2. การใชยารว มและรปู แบบของยา โดยทัว่ ไปตัวยาเดีย่ วจะใชใ นปรมิ าณมากกวา ยาตาํ รับ และ หากใชเปนยาตม ปรมิ าณที่ใชจ ะมากกวา ยาลกู กลอนหรอื ยาผง และในยาแตล ะตาํ รับ ตวั ยาหลกั จะใชใน ปรมิ าณมากกวา ตวั ยาอืน่ ๆ 3. อาการของโรค รูปราง และอายุของผปู ว ย โดยทั่วไปผปู วยหนัก ผูปวยโรคเฉียบพลัน หรือ ผูปวยที่มีรางกายอวนใหญ จะใชยาในปริมาณมาก สวนผูสูงอายุมีรางกายออนแอ หญิงหลังคลอด หรือเด็ก จะใชยาในปริมาณนอย สําหรับเด็กอายุ 6 ปขึ้นไป ใหใชย าขนาดคร่งึ หนง่ึ ของขนาดที่ใชใน ผใู หญ เดก็ ทีม่ ีอายตุ ่ํากวา 6 ป ใหใชย าขนาด 1 ใน 4 ของขนาดท่ใี ชในผใู หญ

Page 39 คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จีน 29 วธิ รี บั ประทานยา5 วิธีรบั ประทานยา รวมถึงเวลาทีเ่ หมาะสมในการรบั ประทานยา โดยทว่ั ไปปฏิบัติ ดงั นี้ ยาตม ใหรับประทานวันละ 1 หอ หากอาการรุนแรงสามารถรับประทานวันละ 2 หอได ยาหอ หน่ึง ๆ ตมแบงรับประทาน 2-3 คร้ัง โดยกําหนดวาอาการปวยทั่วไปใหรับประทานเชา-เย็น หาก อาการปวยหนกั สามารถรับประทานไดทุก 4 ชั่วโมง ยาประเภทบํารุงควรรบั ประทานกอ นอาหาร แต หากจะใหเหมาะสม ไมวาจะรับประทานกอนหรือหลังอาหาร ใหเวนระยะเวลาหางกันพอสมควร ยา ประเภทฆาพยาธิหรือยาระบายใหรับประทานขณะทองวาง ยารักษาโรคมาลาเรียใหรับประทานยากอน มาลาเรียกาํ เริบ ยาชวยใหจิตใจสงบหรือนอนหลับใหรับประทานกอนนอน โรคเร้ือรังควรกาํ หนดเวลา รบั ประทานยาใหแ นนอน ยาประเภทชาชง ใหร บั ประทานตางน้ําชา จบิ ไดบ อ ย ๆ ใหรับประทานยาตมขณะอุน ๆ แตถาปวยดวยโรคกลุมความรอน สามารถรับประทานยาใน ขณะท่ียาเย็นแลว ถาปวยดวยโรคกลุมความเย็น ใหดื่มขณะรอน ๆ ในอาการทีป่ วยดวยโรคกลุมอาการ เย็นแทรอนเทยี ม ใหร บั ประทานขณะทยี่ าเย็นแลว ถาปว ยดว ยโรคกลมุ อาการรอนแทเ ย็นเทียม ให รับประทานขณะท่ียายังรอนอยู เอกสารอางองิ 1. วฒุ ิ วฒุ ิธรรมเวช. คัมภรี เ ภสัชรตั นโกสินทร. พิมพค ร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท ศิลปส ยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพมิ พ จาํ กัด, 2547. 2. สํานกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. คมู อื การใชสมุนไพร เลม 1. กรุงเทพมหานคร : หจก. เอช-เอน การพิมพ, 2527. 3. กนั ทิมา สทิ ธธิ ัญกิจ, พรทพิ ย เตมิ วเิ ศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คูมอื ประชาชนในการดูแลสุขภาพดวยการแพทยแ ผนไทย. พิมพคร้ังท่ี 2 กรุงเทพมหานคร : สาํ นักงานกจิ การโรงพิมพอ งคก ารทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2547. 4. กองวิจัยและพัฒนาสมุนไพร กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสุข. สมุนไพรพื้นบานฉบับรวม. พิมพครั้งท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : Text and Journal Corperation Co., Ltd., 2533. 5. วชิ ัย โชคววิ ัฒน, ชวลิต สนั ติกิจรงุ เรือง, เยน็ จิตร เตชะดํารงสิน (คณะบรรณาธกิ าร). ตํารบั ยาจีนท่ีใชบอยในประเทศไทย เลม 1. พิมพค ร้ังที่ 1. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั งานกจิ การโรงพิมพองคก ารทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2549.

Page 40 30 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก รสของยาไทยและยาจนี รสของยาไทย รสของตวั ยาจะบอกถึงสรรพคุณของยา สรรพคุณเภสชั ของไทยแบงรสยาออกเปน รสประธาน 3 รส และรสยา 9 รส ดงั น้ี ยารสประธาน 3 รส1 ไดแก 1. ยารสรอ น ไดแ ก ตวั ยาท่ีมรี สรอ น เชน ดอกดปี ลี เมลด็ พริกไทย รากชา พลู เถาสะคา น ราก เจตมูลเพลิง หสั คณุ เปน ตน เมื่อนาํ มาปรงุ เปนยาแลวจะไดย ารสรอ น ยารสรอ นสําหรบั แกใ นทางวาโยธาตุ แกล มกองหยาบ ขบั ผายลม บํารงุ ธาตุ ขับเลอื ด เปนตน ยารสรอ นเปน รสยาประจําในฤดูฝน แสลงกับไขทมี่ พี ิษ 2. ยารสเยน็ ไดแ ก ตัวยาทมี่ ีรสเย็น เชน ใบไมทม่ี ีรสเยน็ เกสรดอกไมท ี่ไมร อ น เขยี้ วสตั ว เขา งา นอ เปน ตน เมอ่ื นํามาปรุงยาแลว จะไดย ารสเยน็ ยารสเยน็ สําหรบั แกในทางเตโชธาตุ แกไ ขพ ษิ ไขกาฬ ดับพษิ รอ น เปน ตน ยารสเยน็ เปน รสยาประจําในฤดรู อน แสลงกับโรคลม 3. ยารสสุขุม ไดแ ก ตวั ยาท่ีมรี สสขุ มุ เชน พวกโกฐตาง ๆ เทียนตาง ๆ กฤษณา กระลําพัก ชะลูด อบเชย ขอนดอก เปนตน เมือ่ นาํ มาปรุงยาแลว จะไดยารสสุขุม ยารสสขุ มุ สําหรบั แกในทางอาโปธาตุ เสมหะและโลหิต แกล มกองละเอยี ด ยารสสขุ มุ เปนรสยาประจาํ ในฤดหู นาว แสลงกบั ไขท ่ีมีพษิ รอนจดั รสยา 9 รส1 นอกจากยารสประธานแลว สรรพคณุ เภสชั ของไทยยงั แบงรสยาออกไปอีกเปน 9 รส ดังน้ี 1. ยารสฝาด ชอบสมาน สรรพคุณ สาํ หรับสมานทั้งภายนอกและภายใน แกบ ดิ ปด ธาตุ แกท องรวง กลอ มเสมหะ สมานแผล ชะลา งบาดแผล ยารสฝาดแสลงกับโรคทองผูก พรรดกึ เชน เปลอื กขอย ใบชา เบญจกานี เปลอื กลูกทับทมิ เปลอื กลกู มังคุด สเี สยี ดไทย สีเสียดเทศ ลูกหมาก เปนตน 2. ยารสหวาน ซึมซาบไปตามเนือ้ สรรพคณุ ซมึ ซาบไปตามเน้ือ ทําเนื้อใหช มุ ชื่น บาํ รุงกาํ ลงั แกออนเพลีย ยารสหวานแสลงกบั โรคเสมหะเฟอ งบาดแผล เบาหวาน ดีซา น เชน เน้อื ฝก คนู ดอกคําฝอย

Page 41 คูม ือการใชส มุนไพรไทย-จีน 31 ชะเอมเทศ ชะเอมไทย รากสามสบิ ออ ยแดง น้ําผงึ้ เปน ตน 3. ยารสเมาเบอ่ื แกพิษ สรรพคุณ สําหรับแกพ ิษ พษิ ดี พษิ โลหติ พษิ เสมหะ พิษไข พิษแมลงสตั วก ดั ตอย ยารสเมาเบ่ือแสลงกับโรคหวั ใจพกิ าร และนาํ้ ดพี กิ าร เชน ใบกระทอ ม เมล็ดกระเบา ขนั ทองพยาบาท เปลอื กขอย รากทบั ทิม ทองพนั ชั่ง ยาดาํ เลบ็ มือนาง กําแพงเจด็ ชั้น เปน ตน 4. ยารสขม แกทางดแี ละโลหิต สรรพคุณ บํารุงโลหติ และดี แกไขเพ่ือดี แกโ ลหิตพกิ าร เจรญิ อาหาร แกรอนในกระหายน้าํ ยารสขมแสลงกบั โรคหัวใจพิการ เชน แกน ขี้เหล็ก รากไครเครือ ชิงชาชาลี บอระเพด็ ใบ มะกา มะระข้นี ก รากราชดัด ใบเสนียด สะเดา หญา ลูกใตใบ เมล็ดมะนาว เปนตน 5. ยารสเผด็ รอ น แกล ม สรรพคณุ แกลมจุกเสยี ด แนนเฟอ ขับผายลม บํารงุ ธาตุ แกธาตพุ กิ าร ขับระดู ยารสเผด็ รอ นแสลงกับไขทมี่ ีพิษรอ น เชน กระชาย กระเทียม กระเพรา ลกู กระวาน ดอก กานพลู ใบแกว ขิง ขา ลูกจันทนเ ทศ ดอกดีปลี ลูกผกั ชลี า ลกู ยอ เปลือกตน มะรมุ ดอกจนั ทน พริกไทย พลิ งั กาสา เปนตน 6. ยารสมัน แกเ สน เอ็น สรรพคุณ แกเสนเอน็ พิการ บาํ รุงเสน เอ็น บาํ รุงรางกาย บาํ รุงไขขอ ทําใหเ กิดความอบอุน แกร างกาย ยารสมันแสลงกบั โรคเสมหะพิการ โรคดีซา น เชน งา เมลด็ ถว่ั ตา ง ๆ เมลด็ บวั ผกั กระเฉด เมลด็ มะขาม รากบวั โกฐกระดกู แกน กรนั เกรา เน้ือฝก กระจบั เปน ตน 7. ยารสหอมเยน็ บาํ รงุ หวั ใจ สรรพคุณ ทําใหช ืน่ ใจ บาํ รงุ หวั ใจ บํารงุ ครรภ ยารสหอมเย็นแสลงกับโรคลม เชน กฤษณา ดอกกระดงั งา ขอนดอก เตยหอม ชะมดเชด็ ชะมดเชียง หญา ฝรัน่ น้ําดอกไมเ ทศ เกสรท้ังหา ใบบวั บก แฝกหอม ดอกลาํ ดวน พิมเสน เปนตน 8. ยารสเคม็ ซมึ ซาบไปตามผวิ หนัง สรรพคุณ ซมึ ซาบไปตามผวิ หนัง แกโ รคผิวหนัง รักษาเน้ือไมใ หเนา ขบั เมือกมันในลาํ ไส ยารสเคม็ แสลงกบั โรคอจุ จาระธาตุพิการ เชน โคกกระสนุ เหงือกปลาหมอ เปลือกตน โกงกาง ผักชะคราม ดเี กลอื ไทย ดนิ ประสวิ รากลาํ พู ล้ินทะเล เปน ตน

Page 42 32 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก 9. ยารสเปรย้ี ว กดั เสมหะ สรรพคุณ แกเ สมหะ ฟอกเลอื ด ระบายอุจจาระธาตุ ยารสเปร้ียวแสลงกบั โรคนา้ํ เหลอื งเสยี บาดแผล ทองรวง เชน ดอกกระเจยี๊ บ ใบมะขาม ใบมะขามแขก นา้ํ ลูกมะกรดู ลกู มะขามปอม สมอไทย สมอเทศ สมปอ ย ลูกมะดัน เปนตน นอกจากรสยา 9 รสนีแ้ ลว แพทยแผนไทยยงั จดั ยารสจืด เพ่มิ อีกหนงึ่ รส ใชส ําหรบั แกใ นทาง เตโชธาตุ แกท างเสมหะ ขบั ปสสาวะ ดับพษิ รอน แกไ ข แกร อ นในกระหายน้าํ แกไ ตพกิ าร ถอนพษิ ผิด สาํ แดง เชน ตาํ ลงึ ฝอยทอง ผกั บงุ รางจดื ผักกระเฉด ผกั กระโฉม หญา ถอดปลอ ง เปน ตน รสของยาจนี คณุ สมบัตแิ ละรสของตัวยาจะบอกถงึ สรรพคุณของยา การแพทยแผนจีนไดแบง คุณสมบัตขิ อง ยาออกเปน 4 อยาง ไดแ ก รอ น-อุน เย็น-เย็นจัด ซ่ึงคุณสมบตั ิของยาจะข้ึนกบั การออกฤทธข์ิ องยา เม่ือยา เขา สรู างกายแลว จะมกี ลไกการออกฤทธแ์ิ ละมีประสทิ ธิผลการรกั ษาแตกตา งกนั ท้งั สองกลมุ มีฤทธต์ิ รงขาม ตัวยาทีม่ คี ุณสมบตั ิเย็นหรือเย็นจดั จะมฤี ทธ์ิระบายความรอน บรรเทาพษิ ไข ใหความชมุ ชน้ื ใช รกั ษาโรคท่เี กดิ จากสภาพหยางมากเกนิ ไป รางกายเกิดการตอบสนองอยางแรงตอโรคภัยไขเจบ็ ทําใหเ กิด อาการรอน เชน มีไข ปากแหง คอแหง กระหายน้ํา ทอ งผกู ปส สาวะขดั และมสี เี ขม สว นตัวยาที่มี คุณสมบัติรอนหรอื อุน มฤี ทธ์ใิ หค วามอบอุน แกรา งกาย ใชร กั ษาโรคที่เกดิ จากสภาพยนิ มากเกินไป รา งกาย บางสวนออ นแอลงกวาปกติ ทําใหเกิดอาการเย็น เชน มอื เทาเย็น ตวั เย็น หนาวสน่ั ไมก ระหายนํ้า2 นอกจากน้ี ยงั เพ่มิ คณุ สมบตั อิ ีกอยาง คอื สขุ ุม (เปนกลาง) ตัวยาบางชนิดคุณสมบตั ริ อน-เย็นไม สามารถแบง ไดช ัดเจน สามารถใชไ ดท้ังโรครอ นและโรคเยน็ แมว าคุณสมบตั ิของตัวยามี 5 อยา งกต็ าม แต สุขุมอาจแบงไดเ ปน สุขมุ คอนขางเย็น และสขุ ุมคอนขางรอ น ซ่งึ แตกตางกัน ดงั น้ันโดยท่ัวไปจะแบง คณุ สมบัติของตัวยาออกเปน 4 อยางเทานั้น2 รสยา หมายถงึ รสชาติของตวั ยา ตัวยาแตล ะชนิดจะมีรสชาตไิ มเ หมอื นกนั เนือ่ งจากมอี งคประกอบ ทางเคมแี ตกตางกัน ทาํ ใหฤทธิท์ างเภสชั วิทยาและประสิทธิผลการรักษาแตกตา งกันดวย ตวั ยาท่มี ีรสชาติ เหมอื นกันจะมีฤทธิท์ างเภสัชวทิ ยาใกลเคยี งกนั แมวา องคป ระกอบทางเคมีบางชนดิ ในตวั ยาเหมือนกัน แตก ไ็ มแนว าจะมรี สชาติเหมอื นกนั ทีเดยี ว ประสาทการรับรสของแตล ะคนอาจไมเ หมอื นกนั แพทยแ ผน จนี แบง รสยาออกเปน 5 2 ไดแ ก รส 1. ยารสเผด็ (ฉนุ ซา ) ชว ยใหกระจาย ทําใหชหี่ มนุ เวียน เพมิ่ การไหลเวยี นของเลอื ด สรรพคุณ ใชร กั ษากลมุ อาการของโรคภายนอก มักพบในระยะแรกของโรคที่เกดิ จากปจ จัย

Page 43 คมู ือการใชสมนุ ไพรไทย-จีน 33 ภายนอก เชน ไขห วัดท่ีเกิดจากการกระทบลมรอ นหรือลมเย็นในระยะแรกของโรค ช่ีตดิ ขัดไมไ หลเวียน เปนตน 2. ยารสหวาน (ชุม ) ชวยบํารุง ชว ยใหผ อนคลาย เสรมิ ใหร างกายแข็งแรง ปรับประสานตวั ยา สรรพคุณ ใชรักษากลมุ อาการของโรคทม่ี ีอาการพรอ ง ระบบภูมิตา นทานของรางกายออนแอ ไอแหง ทองผกู อาการปวด เปน ตน 3. ยารสเปรยี้ ว ฝาดสมาน สรรพคณุ แกโรคเหงือ่ ออกงาย เหงื่อออกมากขณะนอนหลบั ทองเสยี เร้ือรงั ถายบิดเรือ้ รงั หล่งั อสจุ ขิ ณะหลบั หรอื ปสสาวะรดทีน่ อนในขณะหลับ ประจาํ เดือนมามากผดิ ปกติหรือมาทีละนอ ยไมห มด เปนตน 4. ยารสขม ชวยระบายความรอ นชวยใหเลือดเยน็ ระงบั ไอ ตา นอาเจยี น ระบายทอง สรรพคุณ แกพ ิษ ขับพิษ แกไ อ แกอาเจียน แกท องผูก เปน ตน 5. ยารสเค็ม ชวยละลายกอน ระบายการอุดตัน สรรพคุณ แกทองผกู อยา งแรง ละลายน่ิว เปน ตน นอกจากรสยา 5 รสนแี้ ลว แพทยแ ผนจนี ยังจดั ยารสจืด เขาไวใ นยารสหวาน เน่อื งจากท้งั สอง มกั ใชร ว มกัน ยารสจืดมีฤทธ์ขิ ับปสสาวะ ใชรักษาอาการบวมนา้ํ ปส สาวะขัด เปนตน และจัด ยารสฝาด เขาไวในยารสเปร้ียว เน่อื งจากมฤี ทธเ์ิ หมือนกนั เอกสารอางองิ 1. วุฒิ วฒุ ิธรรมเวช. สารานกุ รมสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริน้ ติ้ง เฮาส, 2540. 2. Zhang E. The Chinese Materia Medica. Shanghai: Publishing House of Shanghai University of Traditional Chinese Medicine, 1988.

Page 44 34 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก การเตรียมตัวยาพรอ มใช การเตรียมตัวยาพรอ มใช เปน วธิ เี ตรยี มสมุนไพรใหอ ยใู นรปู แบบที่พรอมใชใ นการเขาตาํ รับยา หรอื การปรุงยา โดยทว่ั ไปถาสว นทใี่ ชของสมุนไพรมีขนาดใหญ หรือหนา หรอื มีเน้ือแขง็ ตองตัดใหเลก็ หรือบางลง เพ่อื ใหสมุนไพรแหง งา ยและสะดวกในการเกบ็ รกั ษา เชน รากหรือลาํ ตน ใตด ิน เปลือกไม หรือผล ควรห่ันหรือฝานเปน ช้นิ บาง ๆ กอนทาํ ใหแหง และการทําสมนุ ไพรใหแหง อาจใชว ิธีตากแดด อบ ในตอู บ หรอื ผงึ่ ในที่รม 1 วัตถดุ ิบสมุนไพรบางชนิดตองการกระบวนการแปรรูปเฉพาะ ทัง้ น้เี พ่อื ทําใหสว นทนี่ ํามาใชมีความ บริสุทธเิ์ พม่ิ ขน้ึ ลดระยะเวลาในการทาํ ใหแหง ปอ งกนั การทาํ ลายจากเชือ้ รา เชอื้ จุลินทรยี อน่ื และแมลง ลดความเปนพิษทม่ี ีอยใู นสมุนไพรลง และทาํ ใหส รรพคณุ ในการรักษาเพิม่ ขนึ้ แนวปฏบิ ตั ิในการแปรรูป เฉพาะทีใ่ ชกนั ทัว่ ไป ไดแ ก การคดั เลอื กเบอ้ื งตน การปอกเปลอื กรากและเหงา การตมในนํา้ การน่งึ การ แชน า้ํ การดอง การกลน่ั การรมควัน การยา ง การหมัก ตามขบวนการธรรมชาติ การใสป ูน และการสับ เปน ชิ้น กระบวนการแปรรปู ท่เี กี่ยวของกับการทําใหมรี ปู รางบางอยาง การมัด และการทําใหแ หง ดวยวธิ ี พเิ ศษอาจมผี ลตอ คุณภาพของวตั ถุดิบสมนุ ไพร2 สาํ หรับตัวยาทมี่ คี ุณในการรกั ษาโรคในขณะเดียวกนั ก็มสี ว นทเ่ี ปนโทษอยดู ว ย และตัวยาบาง ชนิดมฤี ทธ์ิแรงหรือมพี ษิ ดังนั้นการนํามาใชทาํ ยาจะตอ งเขาใจถงึ วธิ ีพเิ ศษในการเตรยี ม เพอ่ื ปองกันไมใ ห เกิดโทษหรอื พิษอันอาจมีอนั ตรายถึงชวี ติ ได จงึ ไดระบุวิธีฆา ฤทธิย์ าอยา งถูกตอ งไว นอกจากนตี้ ัวยาบาง ชนดิ มสี รรพคุณหลายอยา ง หากจะใชใ หไ ดผลตรงตามสรรพคุณทต่ี องการ จาํ เปนตอ งเตรียมใหถกู วธิ ี เชน ชะเอมเทศมสี รรพคุณระบายความรอน ขับพิษ แกไ อ ขับเสมหะ โดยทั่วไปมกั ใชเขา ในตํารบั ยา รกั ษาอาการไอมเี สมหะมาก พษิ จากฝแ ผล คอบวมอักเสบ หรอื พษิ จากยาและอาหาร สว นชะเอมเทศผัด นา้ํ ผึ้งมสี รรพคณุ บาํ รงุ มา มและกระเพาะอาหาร เสรมิ ช่ี ทาํ ใหการเตน ของชพี จรมีแรงและกลบั คืนสภาพ ปกติ โดยทัว่ ไปมักใชเขา ตํารบั ยารกั ษาอาการมามและกระเพาะอาหารออนเพลียไมม ีแรง ชข่ี องหวั ใจ พรอง ปวดทอ ง ชพี จรเตน ไมสมา่ํ เสมอ1 การเตรียมตัวยาพรอ มใชตามศาสตรการแพทยแ ผนไทย การเตรียมตัวยาพรอ มใช โดยท่วั ไปนาํ สวนทีใ่ ชเ ปนยามาแลว ผานการคัดเลือก การลา ง การ ตัดเปน ช้ินทีเ่ หมาะสมแลว ใชความรอนทาํ ใหแหง เพ่ือสะดวกในการเกบ็ รกั ษา วธิ ีเตรียมตัวยาพรอมใชน้ัน

Page 45 คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 35 แตกตางกันไปตามชนิดของพชื สวนท่ีใชเ ปนยาและความเคยชินของแตล ะทองท่ี วิธกี ารที่ใชบ อยโดยแยก กลาวตามสว นทใ่ี ชเ ปนยา3 ดงั น้ี 1. รากและสวนท่อี ยูใ ตดิน กอนอน่ื คดั ขนาดที่พอ ๆ กนั เอาไวด ว ยกนั เพ่อื จะไดส ะดวกในการ แปรสภาพตอ ไป จากนัน้ ลางดนิ และสง่ิ สกปรกท่ีตดิ อยูใหสะอาด เอารากฝอยออกใหหมด หากวาเปน พชื ท่ีมีเนื้อแข็ง แหงไดย าก ตอ งห่ันเปน ช้ินที่เหมาะสมกอ น หากเปนพืชทไี่ มแขง็ นํามาผานกระบวนการให ความรอ นตามแตชนดิ ของพืชนนั้ พชื ทใี่ ชห ัวและรากสว นมากประกอบดว ยโปรตนี แปง เอนไซม หาก ผานการใหความรอ นแบบตม น่ึง จะทาํ ใหสะดวกในตอนทาํ แหง หลงั จากผานความรอ น นํามาตดั เปน ชิ้น แลวอบใหแ หง ในอณุ หภูมิท่ีเหมาะสม 2. เปลือก ห่นั เปน ชน้ิ ขนาดพอดี ตากใหแ หง 3. ใบและท้ังตน ในพชื บางชนดิ ทม่ี นี ้าํ มันหอมระเหย ควรผึง่ ไวในทร่ี ม ไมค วรตากแดด และ กอนที่ยาจะแหง สนิท ควรมัดเปน กําปองกันการหลดุ รว งงาย เชน กะเพราแดง สะระแหน เปน ตน โดยทวั่ ไป เกบ็ ใบหรือลําตนมาลางใหส ะอาด แลว นํามาตากแดดใหแ หงสนทิ จากน้ันจึงเก็บใหมิดชิด ระวังอยา ใหข ึ้น ราได 4. ดอก หลงั จากเกบ็ มาแลว ตากแหงหรอื อบใหแ หง แตควรรกั ษารปู ดอกไวใหสมบูรณไมให ตัวยาถกู ทําลายสูญเสียไป เชน ดอกกานพลู 5. ผล โดยทั่วไปเกบ็ แลว ก็ตากแดดใหแหงไดเลย มีเพียงบางอยา งเทานั้นทต่ี องหั่นเปน ชิ้นกอ น ตาก หรืออบดว ยความรอ นกอ น 6. เมลด็ เก็บผลมาตากใหแ หง แลว จงึ เอาเปลือกออก เอาเมล็ดออก เชน ชุมเห็ดไทย บางอยาง เกบ็ เปน ผลแหง เลยกม็ ี การแพทยแ ผนไทยไดกาํ หนดกระบวนการแปรรูปเฉพาะของสมุนไพร4 ดังน้ี 1. การสะตุ คอื การทําใหต วั ยามีฤทธ์ิออนลง หรอื ทําใหพษิ ของตวั ยานอ ยลง หรือ ทําใหต วั ยา นน้ั สะอาดขึ้น หรอื ทําใหตัวยานนั้ สะอาดปราศจากเช้อื โรค หรอื ทําใหต ัวยานนั้ สลายตัวลง เชน เกลอื เมือ่ สะตุแลว จะละเอียด ผสมยางา ยขน้ึ และฤทธอิ์ อนลง เปน ตน - การสะตุสารสม เอาสารสมมาบดใหล ะเอียด นํามาใสหมอ ดนิ เอาตงั้ ไฟจนสารสม ละลาย ฟขู าวดแี ลว ยกลงจากไฟนํามาใชเ ปน ยาได - การสะตุรงทอง เอารงทองมาบดใหล ะเอียดแลว หอ ดว ยใบบวั หรอื ใบขา 7 ชัน้ นําไปปง ไฟจนสุกกรอบดี จึงนาํ ไปใชป รงุ ยาได

Page 46 36 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก - การสะตุมหาหิงค นํามหาหิงคมาใสภาชนะไว เอาใบกะเพราแดงใสนาํ้ ตม จนเดือด เทนํ้า ใบกะเพราแดงตมรอ น ๆ เทลงละลายมหาหิงค แลว นาํ มากรองใหส ะอาดจึงใชได - การสะตุเปลอื กหอย นําเปลอื กหอยใสใ นหมอดนิ ต้งั ไฟจนเปลือกหอยนน้ั สกุ ดีแลว จงึ ยกลง จากไฟ ท้ิงไวใ หเ ย็น นํามาใชปรุงยาได - การสะตยุ าดาํ นํายาดาํ ใสในหมอ ดนิ เตมิ นํา้ เลก็ นอย ยกข้ึนตงั้ ไฟจนยาดํานน้ั กรอบดแี ลว จงึ นําไปใชป รงุ ยา 2. การประสะ มีความหมายดังน้ี 2.1 การทาํ ใหพิษของตัวยาออนลง เชน การประสะยางสลัดได เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีจะ ประสะใสลงในถว ย ใชน้ําตมเดือด ๆ เทลงไปในตวั ยาน้ัน กวนจนนาํ้ เยน็ แลวเทน้าํ ท้งิ ไปแลว เทนาํ้ เดอื ดลง ไปอกี กวนจนนํ้าเย็น ทําอยา งน้ีประมาณ 7 ครง้ั จนตวั ยาสุกดแี ลวจงึ นาํ ไปปรงุ ยาได 2.2 การทําความสะอาดตวั ยา เชน ลา งเอาส่งิ สกปรกออก ลา งเอาดนิ ออก 2.3 ตวั ยานน้ั มีจํานวนเทายาทั้งหลาย เชน ยาประสะกะเพรา ใสใ บกะเพราหนกั เทาตัวยาอน่ื ๆ ทง้ั หมดรวมกนั เปน ตน 2.4 ใชใ นชอ่ื ของยาทกี่ ระทาํ ใหบ รสิ ทุ ธ์ิ เชน ยาประสะนาํ้ นม เปนยาทชี่ วยทําใหน าํ้ นมมารดา บริสทุ ธิ์ ปราศจากโทษตอ ทารก 3. การฆา ฤทธย์ิ า คอื การทาํ ใหพิษของตัวยาท่มี ีพิษมากหมดไป หรอื เหลืออยูนอยจนไมเ ปน อนั ตรายตอผใู ชย า เชน การฆาสารหนู ทําใหส ารหนทู ม่ี ีพษิ มากหมดพษิ ไป สามารถนําไปใชทํายาได เปนตน - การฆาสารหนู เอาสารหนูมาบดใหล ะเอียด ใสในฝาละมีหรือหมอดนิ บีบนา้ํ มะนาวหรือ นํา้ มะกรดู ลงไปใหท ว มยา ตง้ั ไฟจนแหง ทําใหไ ด 7-8 ครัง้ จนสารหนูกรอบดีแลว จงึ นํามาใชท ํายาได ให นําภาชนะทีใ่ ชแ ลว ทุบทาํ ลาย แลวฝง ดินใหเรยี บรอย (ปจจุบันหามใชป รุงยาแผนโบราณ) - การฆา ปรอท นําทองแดง ทองเหลือง หรอื เงิน ใสไวในปรอท ใหปรอทกินจนอมิ่ (ปรอท แทรกตวั ไปในเนื้อโลหะนั้น ๆ เต็มท่ี) แลว จงึ นาํ ไปใชท ํายา นยิ มทํายาตม (เปนยาอันตราย) - การฆา ลูกสลอด (บางตาํ ราเรยี กวาการประสะลกู สลอด ยาทมี่ ีฤทธแิ์ รง ควรใชคําวาฆา ฤทธ์ิยา) มีหลายวธิ ี เชน (ก) เอาลูกสลอดหอ รวมกบั ขาวเปลอื ก ใสเ กลือพอควร นาํ ไปใสหมอ ดนิ ตม จนขาวเปลอื ก แตกบานทัว่ กัน เอาลกู สลอดมาลา งใหส ะอาด ตากใหแหง จงึ นําไปปรงุ ยาได

Page 47 คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 37 (ข) ปอกเปลือกลูกสลอดออกใหห มด ลา งใหสะอาด หอผา ใสใ นหมอหงุ ขาว กวนจน ขา วแหง ทาํ ใหไ ด 3 ครัง้ แลว เอาลูกสลอดมาค่วั ดวยน้ําปลาอยางดีใหเ กรียม นาํ ไปหอผา ทับเอาน้ํามัน ออก จงึ นาํ มาใชป รุงยาได (ค) เอาลกู สลอดแชน าํ้ ปลารา ปากไหไว 1 คนื แลว เอายดั ใสในผลมะกรูด ใสหมอดิน ปดฝา สมุ ดวยไฟแกลบ เมื่อสุกดีแลว จงึ นําไปใชปรุงยา พรอมทง้ั ผลมะกรูด (ง) เอาลกู สลอดตมกบั ใบมะขาม 1 กํามือ ใบสม ปอย 1 กํามอื เม่ือสุกดแี ลวจึงเอา เน้อื ในลูกสลอดมาใชปรงุ ยา - การฆา ชะมดเช็ด โดยห่ันหวั หอม หรอื ผวิ มะกรดู ใหเปนฝอยละเอียด ผสมกบั ชะมดเช็ด ใสลงบนใบพลู หรือชอนเงิน นําไปลนไฟเทยี น จนชะมดละลายนานพอสมควร หอมดีแลว จึงกรองเอา น้ําชะมดเช็ดไปใชปรงุ ยา 4. การทํายารสรอ นแรงใหฤ ทธ์อิ อ นลง ตัวยาทม่ี ฤี ทธิ์รอ นแรง เชน หัสคณุ ทั้ง 2 เปลาทง้ั 2 รากตองแตก ถา นํามาปรุงยาในปริมาณมาก อาจเปน อันตรายแกค นไขได ควรทําใหฤ ทธอ์ิ อนลงเสยี กอ น โดยสบั ยาใหเ ปนชน้ิ เล็ก ๆ คลุกเคลา สุราใหช มุ ใสก ระทะต้งั ไฟคั่วใหแ หง แลวจึงใชปรงุ ยา การเตรียมตวั ยาพรอ มใชต ามศาสตรการแพทยแ ผนจีน การเตรยี มตัวยาพรอ มใช เปนศาสตรแขนงหนึง่ ในศาสตรก ารแพทยแผนจนี ซ่ึงสามารถอธิบาย และประเมินผลในเชงิ วิทยาศาสตรเ พ่อื ใหเกิดเปนระบบ มีความสมบรู ณ สะดวกตอการศึกษาและสามารถ ประยกุ ตใ ชไดจ รงิ สมนุ ไพรทีผ่ านประบวนการเตรียมโดยวิธีพเิ ศษ จะเกิดการเปลยี่ นแปลงท้ังทางกายภาพ และทางเคมี และผลของการเปลีย่ นแปลงดังกลา วทาํ ใหเ กิดผลการรกั ษาตามตองการได เชน การเตรยี ม ตวั ยาพรอ มใชจ ะชว ยลดพษิ ของยา ชว ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพของยา ชว ยใหฤทธข์ิ องยาสม่ําเสมอและออกฤทธ์ิ ตามตอ งการ ชวยใหส ะดวกใช และชวยในการเก็บรักษาตวั ยา รวมท้งั ชวยขจัดสง่ิ แปลกปลอมที่ไมใ ชสว น ทีใ่ ชท ํายาและขจดั กลน่ิ อันไมพ งึ ประสงค การเตรียมตัวยาพรอ มใชข องสมนุ ไพรแตละชนิดมวี ตั ถุประสงคท ี่ ชัดเจนโดยมที ฤษฎกี ารแพทยแผนจีนชว ยชนี้ ํา และตอ งอาศัยศาสตรท่ีเกี่ยวของอ่ืน ๆ มาสนับสนุน ไดแก เคมี เภสัชวิทยา ชวี โมเลกลุ พนั ธุวิศวกรรม ภมู คิ มุ กันวทิ ยา สถติ ิ ฯลฯ เภสัชตาํ รับของจนี (Pharmacopoeia of the People’s Republic of China) ไดก ําหนดมาตรฐาน การเตรยี มตวั ยาพรอมใช โดยกาํ หนดคํานยิ ามของวิธกี ารเตรยี มตา ง ๆ ท่เี ปน มาตรฐานระดับชาติ ดงั นี้ 1. การทําความสะอาด5 สมุนไพรทไ่ี ดค ัดแยกเอาสวนที่ไมตอ งการออก (เชน ตวั ยาบางชนิดใชเฉพาะเนอื้ ผล สว นผิว

Page 48 38 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ไมใ ช บางชนิดใชเฉพาะราก ไมใชกา น) และนํามาทําความสะอาดแลว เรยี กวา วัตถุดบิ สมุนไพรทส่ี ะอาด ซึง่ จะนาํ ไปห่นั แปรรูปโดยวิธพี เิ ศษ จําหนาย หรือใชป รงุ ยา การทําความสะอาดสมนุ ไพรทําไดโ ดย การคดั เลือก การฝดหรือรอ น การลา ง การห่ัน การ แช ปดดวยแปรง การถู การบด ฯลฯ ตามมาตรฐานคุณภาพที่กาํ หนด 2. การหั่น5-9 นอกจากกําหนดไวว า ห่ันสมุนไพรสดหรอื แหงแลว โดยทัว่ ไปกอนการห่ันสมุนไพร จะตองนํา สมุนไพรไปแชนํ้าสกั ครู ลางนา้ํ ใหละอาด ใสภ าชนะปดฝาไวเพ่ือใหอ อนนุมและทําใหห่นั ไดงาย แตป รมิ าณ น้ําและระยะเวลาทีใ่ ชในการแชมคี วามสาํ คัญมาก เพราะหากใชป รมิ าณน้ํามากหรอื แชนานเกินไปจะทาํ ให ตัวยาสูญเสยี ฤทธ์ิ และหากห่ันช้นิ ใหญห รือหนาเกนิ ไปเวลาตมจะทาํ ใหตัวยาไมละลายออกมาหรือละลาย ออกไมห มด สมนุ ไพรท่หี ่นั แลว ควรรีบทาํ ใหแ หง การห่นั สมนุ ไพรอาจหนั่ เปน แวน เปน ทอน เปน ช้ิน หรือซอยเปน ช้นิ เล็ก ๆ โดยทั่วไปเภสชั ตาํ รบั ของจนี ไดก ําหนดขนาดและความหนาของวตั ถุดบิ สมุนไพรไวด งั น้ี 2.1 การหน่ั เปน แวน แวน บางมากจะมคี วามหนานอยกวา 0.5 มลิ ลิเมตร แวน บางจะมี ความหนาประมาณ 1-2 มิลลิเมตร และแวนหนาจะมีความหนาประมาณ 2-4 มิลลเิ มตร 2.2 การหน่ั เปน ทอน เปนขอ หรอื เปนปลอง ความยาวประมาณ 10-15 มิลลเิ มตร 2.3 การห่ันเปน ชิน้ รปู สเี่ หลีย่ ม ตาง ๆ ขนาดความยาวประมาณ 8-12 มิลลเิ มตร 2.4 การหั่นหรอื ซอยเปน ชนิ้ เลก็ ๆ สาํ หรบั สมุนไพรประเภทเปลือก ขนาดความกวา งประมาณ 2-3 มลิ ลิเมตร และสมุนไพรประเภทใบ ขนาดความกวางประมาณ 5-10 มลิ ลเิ มตร นอกเหนอื จากวิธหี ่ันดังกลา วแลว สมุนไพรบางชนดิ อาจใชว ิธีบด หรือตํา หรือทุบ เปนตน 3. การทําใหแ หง2,6-9 การเตรียมวตั ถุดิบสมนุ ไพรแหงนนั้ ควรรกั ษาปรมิ าณความชื้นของสมนุ ไพรใหตา่ํ สุด เพ่อื ลด การทําลายจากเชือ้ รา และลดการเจริญของเชอื้ จลุ นิ ทรยี อ น่ื ๆ ขอมูลเก่ยี วกบั ปรมิ าณความชนื้ ทีเ่ หมาะสม ของวัตถดุ ิบสมุนไพรแตล ะชนดิ อาจหาไดจ ากเภสัชตํารับหรือจากมอโนกราฟทเ่ี ปน ทางการอน่ื ๆ พชื สมนุ ไพรสามารถทาํ ใหแ หงไดห ลายวิธี ไดแ ก การผึง่ ในทีร่ ม ทอี่ ากาศถา ยเทดี (มีรม เงาบัง ไมใหไดร ับแสงอาทิตยโดยตรง) วางเปน ช้นั บาง ๆ บนแผงตากในหองหรอื ในอาคารที่กรมุ ุงลวด ตาก แดดโดยตรงหากเหมาะสม ทําใหแ หง ในเตาอบ หอ งอบ หรือโดยเครื่องอบแหง พลงั แสงอาทติ ย ใชค วาม รอ นจากไฟทางออ ม การอบ การทําใหแ หง ดวยความเยน็ ถาเปนไปได ใหควบคุมอณุ หภูมิและความชน้ื

Page 49 คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 39 เพื่อหลีกเลี่ยงการสลายตัวของสารเคมีท่ีเปนสารออกฤทธ์ิ วิธีการและอุณหภูมิท่ีใชในการทาํ แหงอาจมี ผลกระทบอยางมากตอคณุ ภาพของวัตถดุ ิบสมุนไพรได เชน การตากในทร่ี ม จะเปน วิธที ด่ี กี วา เพอ่ื รกั ษา หรือลดการจางของสขี องใบและดอกใหนอ ยทสี่ ุด และควรใชอ ุณหภูมิต่าํ ในกรณที ีว่ ตั ถดุ บิ สมุนไพรมีสาร ทีร่ ะเหยได ควรมกี ารบนั ทกึ สภาวะท่ีใชใ นการทาํ ใหแหงดวย ในกรณขี องการผ่ึงใหแ หง ไวใ นท่ีโลง ควรแผว ตั ถดุ ิบสมุนไพรเปนชน้ั บาง ๆ บนแผงตาก และหม่ันคนหรือกลบั บอ ย ๆ เพื่อใหอ ากาศถา ยเททั่วถึง แผงตากควรจะอยูห า งจากพน้ื มากพอ และควร พยายามใหวตั ถดุ บิ สมนุ ไพรแหงอยางสมํา่ เสมอเพอื่ หลกี เล่ยี งการเกดิ เชื้อรา ไมควรตากวัตถดุ บิ สมนุ ไพร บนพ้นื โดยตรง ถา เปน พื้นปูนซเี มนตห รือคอนกรีตควรวางวตั ถดุ บิ สมุนไพรบนผืนผา ใบหรอื ผาชนดิ อื่นที่ เหมาะสม สถานทท่ี ําใหว ตั ถุดบิ แหง ตองไมใหแ มลง หนู นก สัตวร งั ควานอ่นื ๆ หรอื สัตวเ ลี้ยงเขาถงึ ได สาํ หรบั การทําใหแหง ภายในอาคาร ควรกาํ หนดระยะเวลาการทาํ ใหแหง อณุ หภูมิ ความชื้น และสภาวะ อนื่ ๆ โดยคาํ นึงถึงสว นของพชื ท่ีใชเปน ยา (ราก ใบ ลาํ ตน เปลือก ดอก ฯลฯ) และสารธรรมชาติทร่ี ะเหย งา ย เชน นํา้ มันหอมระเหย เปนหลกั 4. 5-9 การแปรรูปโดยวิธีเฉพาะ กระบวนการแปรรปู เฉพาะของสมุนไพร โดยท่วั ไปจะใชไฟเขามาเกีย่ วของ และเปนวิธีท่ใี ช กันมาก ไมวาจะผัดหรอื สะตุ แมดูจะงาย แตหากระดับไฟ (ไฟออน ไฟแรง) ทีใ่ ชไ มเหมาะสม (ผัดใหมี กล่ินหอม หรอื ผัดใหเกรียม) จะสงผลตอ การรกั ษาได เชน ขา ว (กหู ยา) ขาวบารเ ลย (มา ยหยา) หากจะ กระตนุ การทาํ งานของมาม ชว ยใหฤ ทธเ์ิ จรญิ อาหารดีขน้ึ จะตอ งนาํ ไปผัดกอ นใช หรือ ไปจู หากใชด บิ จะ มีสรรพคุณบาํ รุงชี่ เสริมมาม แตฤทธคิ์ อ นขางแรง เมอ่ื รับประทานแลว จะทําใหทองอืดได จงึ ตองนํามาผัด ใหเกรยี มกอนใช นอกจากจะชว ยบาํ รุงชี่และเสรมิ มามแลว ยังไมทาํ ใหเ กดิ อาการทอ งอืดได สาํ หรับตัวยา ประเภทเมล็ดหรือผลเล็ก ๆ ตองนํามาผดั กอนใช เพ่ือใหมกี ลนิ่ หอมและเมือ่ นํามาตม จะทําใหสารสําคญั ออกมางา ย ตวั ยาทีเ่ ปนยาเย็นเมอ่ื นํามาผัดจะทําใหฤทธิ์ของยาไมแ รงเกินไป เปนตน การแพทยแ ผนจีนไดกาํ หนดกระบวนการแปรรปู เฉพาะของสมุนไพร5-9 ดังน้ี 4.1 การผัด (stir-baking) แบง เปน 2 ประเภท คอื การผัดธรรมดา และการผดั โดยใชร ําขาวสาลี (ก) การผดั ธรรมดา หมายถงึ การนาํ วัตถดุ บิ สมนุ ไพรท่ีสะอาดใสในภาชนะที่เหมาะสม ผดั โดย ใชระดับไฟออ น ๆ จนกระท่งั ไดตรงตามขอ กําหนด นาํ ออกจากเตา แลวตง้ั ทง้ิ ไวใ หเ ยน็ หากตองการผัด จนกระทง่ั ไหมเกรียมใหผ ดั โดยใชร ะดบั ไฟแรง ผัดจนกระท่ังผิวนอกเปนสีนํ้าตาลและรอยแตกเปนสเี ขม นาํ ออกจากเตา แลว ต้ังทง้ิ ไวใ หเ ย็น สาํ หรับสมนุ ไพรทต่ี ิดไฟในระหวางการผดั อาจพรมนา้ํ เลก็ นอ ย แลว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook