Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1699-file

1699-file

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-09-03 02:20:57

Description: 1699-file

Search

Read the Text Version

คำนำ คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏริ ปู การศึกษามภี ารกจิ ในการจดั ทาแผนการปฏิรูปประเทศด้าน การศึกษาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ โดยมี ขอบเขตการดาเนินการให้เกิดผลตาม มาตรา ๒๕๘ จ. ประกอบด้วย (๑) การให้สามารถเร่ิมดาเนินการให้ เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพื่อให้เด็กเล็กได้รับ การพัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วนิ ัย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญาใหส้ มกบั วยั โดยไม่เก็บคา่ ใชจ้ ่าย (๒) ให้ดาเนนิ การ ตรากฎหมายเพ่ือจัดตั้งกองทุนตามมาตรา ๕๔ วรรคหก ให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงปีนับแต่วันประกาศใช้ รัฐธรรมนญู น้ี (๓) ใหม้ กี ลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ ให้ได้ ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทง้ั มกี ลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบรหิ ารงานบุคคลของ ผู้ประกอบวิชาชีพครู (๔) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตาม ความถนัดและปรับปรุงโครงสรา้ งของหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องเพื่อบรรลุเป้าหมายดงั กลา่ ว โดยสอดคลอ้ งกันท้ัง ในระดบั ชาติและระดับพนื้ ท่ี ในการจัดทาแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดทาร่างแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาจัดทาร่างแผน ดังกล่าว และได้รับความร่วมมือจากอนุกรรมการคณะต่างๆ ได้แก่ ๑) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจศึกษา แนวทางการจัดทาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ๒) คณะอนุกรรมการเด็กเล็ก ๓) คณะอนุกรรมการ กองทุน ๔) คณะอนุกรรมการครแู ละอาจารย์ ๕) คณะอนุกรรมการการจัดการเรยี นการสอน ๖) คณะอนกุ รรมการ เฉพาะกิจด้านอาชีวศึกษา ๗) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนใน การจัดการศึกษา และ ๘) คณะอนุกรรมการปฏิรูปโครงสร้างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา โดยได้ คานึงถึงกฎหมายว่าด้วยแผนและข้ันตอนการปฏิรูปประเทศที่กาหนดให้ต้องระบุวิธีการ ขั้นตอน กลไก เป้าหมาย การนาแผนไปปฏิบัติในระยะเร่งด่วน ระยะส้ัน และระยะกลาง-ระยะยาว ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ พร้อมทั้งให้มีการติดตามการดาเนินงาน และรายงานต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงในการจัดทา แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาได้ดาเนินการทบทวนบริบทตามข้อกาหนดของรัฐธรรมนูญและ กฎหมายที่เก่ียวข้อง ข้อเสนอการปฏิรูปของสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) รวมถึงสภาวการณ์แนวโน้มสาคัญที่ส่งผลตอ่ การศกึ ษา ความสอดคล้องเช่ือมโยงของยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) และ แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) รวมทั้งรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและ ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียในการจดั การศกึ ษา คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการปฏิรูปประเทศด้าน การศึกษาฉบับน้ีจะเป็นแนวทางชี้นาที่สาคัญในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ อันจะนาไปสู่การพัฒนา การศึกษาให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา และมีศักยภาพในการแข่งขันกับ นานาประเทศต่อไป คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏริ ูปการศกึ ษา



ข หนา ๑ สารบญั ๙ ๑๑ บทสรปุ ผบู รหิ าร แผนการปฏริ ปู ประเทศดา นการศกึ ษา ๒๕ สว นท่ี ๑ ภาพรวมการปฏริ ปู ประเทศดานการศึกษา ๒๙ ๓๐  บทนํา ๔๐  สภาวการณแ ละแนวโนม ๔๑  ความสอดคลอ งกับแผนยุทธศาสตรช าตแิ ละแผนแมบท ๔๓  เปาหมายหรอื ผลพึงประสงคแ ละผลสมั ฤทธิท์ ่คี าดวา จะเกดิ ขึน้ เมือ่ ดาํ เนินการแลว เสร็จ  วงเงนิ และแหลงเงนิ ๖๘ สวนท่ี ๒ เร่อื งและประเดน็ ปฏิรูป ๘๔  เร่ืองและประเดน็ การปฏริ ูปที่ ๑ : การปฏริ ปู ระบบการศึกษาและการเรยี นรโู ดยรวม ๑๑๓ ของประเทศ โดยพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง ชาติ ๑๔๙ ฉบับใหม และกฎหมายลําดบั รอง  เรอื่ งและประเดน็ การปฏิรปู ที่ ๒ : การปฏริ ปู การพฒั นาเด็กเลก็ และเด็กกอนวัยเรียน ๒๑๑  เรื่องและประเดน็ การปฏริ ปู ท่ี ๓ : การปฏริ ูปเพ่อื ลดความเหล่อื มลา้ํ ทางการศกึ ษา  เรือ่ งและประเด็นการปฏิรปู ท่ี ๔ : การปฏริ ูปกลไกและระบบการผลติ คัดกรองและ ๒๒๓ พัฒนาผปู ระกอบวิชาชีพครูและอาจารย  เรือ่ งและประเดน็ การปฏิรูปท่ี ๕ : การปฏิรปู การจดั การเรียนการสอนเพ่อื ตอบสนอง ๒๔๒ การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ๒๔๓  เรือ่ งและประเด็นการปฏริ ูปที่ ๖ : การปรับโครงสรางของหนวยงานในระบบการศึกษา ๒๔๕ เพอ่ื บรรลเุ ปาหมายในการปรับปรงุ การจัดการเรยี น ๒๖๑ การสอน ๒๙๙  เร่อื งและประเดน็ การปฏิรปู ท่ี ๗ : การปฏิรปู การศึกษาและการเรยี นรโู ดยการพลิกโฉม ดว ยระบบดจิ ิทัล อภธิ านศพั ท ภาคผนวก  คําสง่ั คณะกรรมการอสิ ระเพื่อการปฏิรปู การศกึ ษา  คาํ สั่งคณะอนุกรรมการตา งๆ  รายชอื่ ผรู วบรวมขอ มูลในการจัดทํารางแผนการปฏิรปู ประเทศดา นการศึกษา ข



บทสรปุ ผูบ้ ริหำร แผนกำรปฏิรูปประเทศดำ้ นกำรศึกษำ ควำมเปน็ มำ ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๕๘ จ. โดยสรุปได้บัญญัติให้มี การดาเนินการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ครอบคลุมให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับ การศึกษา เพ่ือให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย ให้ดาเนินการตรากฎหมายเพ่ือจัดต้ังกองทุนเพ่ือลดความเหลื่อมลา้ ทางการศึกษา ให้มี กลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของ ความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จรงิ ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและ ประสทิ ธิภาพในการสอน รวมทงั้ มกี ลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบรหิ ารงานบุคคลของผปู้ ระกอบวชิ าชีพครู ให้มีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัดและ ปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งในระดับชาติ และระดับพื้นท่ี ท้ังน้ีบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๖๑ กาหนดให้การปฏิรูปตามมาตรา ๒๕๘ จ. ด้านการศึกษา มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระคณะหน่ึงที่คณะรัฐมนตรีแต่งต้ัง ดาเนินการศึกษาและ จดั ทาข้อเสนอแนะ และร่างกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องในการดาเนนิ การให้บรรลุเป้าหมายเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี ดาเนนิ การตอ่ ไป นอกจากนี้ การปฏิรูปการศึกษายังเป็นส่วนหน่ึงของการปฏิรูปประเทศเพ่ือสนับสนุนการบรรลุ ตามยุทธศาสตร์ชาติที่กาหนดไว้ในด้านต่างๆ เน่ืองด้วยการศึกษาเป็นพ้ืนฐานท่ีสาคัญของการพัฒนา ประเทศ ดังน้ันแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาจึงเป็นองค์ประกอบสาคัญที่จะสนับสนุนการดาเนินการ ตามยุทธศาสตร์ชาติทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ด้านความ เท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม และด้านขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจและ การกระจายรายได้ ปัญหำและควำมท้ำทำยทส่ี ำคญั ในกำรปฏิรปู กำรศึกษำ คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) ได้ดาเนินการศึกษาและทบทวน ผลการศึกษาวิจัย ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปการศึกษาของหน่วยงานต่างๆ ตลอดจนทบทวนผลลัพธ์และ ผลสัมฤทธ์ิของการจัดการศึกษาของประเทศที่มีการทดสอบและสารวจไว้จากแหล่งอ้างอิงทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ รวมถึงสรุปข้อคิดเห็นจากการเยี่ยมพื้นที่และการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นสาธารณะท่ี กอปศ. จัดขึ้นร่วมกับสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษากว่า ๒๐ คร้ัง ร่วมกับข้อคิดเห็นที่ได้รับผ่านทาง เว็บไซต์ของ กอปศ. (www.thaiedreform.org) และสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ ทาให้สรุปปัญหาและความ ท้าทายของระบบการศกึ ษาของประเทศ ได้โดยย่อดังนี้ ๑. ปัญหำของระบบกำรศึกษำของไทยมีควำมซับซ้อนสูง และมีองค์ประกอบในการจัดการ หลายด้าน ทั้งในด้านการเช่ือมโยงกันระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ภาคเอกชน และด้านการดาเนินการท่ีเกี่ยวข้องกับระบบงานของหลายกระทรวงไม่ใชเ่ พียงแต่ กระทรวงศึกษาธิการ การศึกษามีทั้งส่วนที่เป็นการพัฒนาเด็กเล็ก การจัดการศึกษาสาหรับ การพัฒนาผู้เรียนที่เป็นเด็กและเยาวชนท่ีอยู่นอกระบบการศึกษา ครอบคลุมไปถึงการเรียนรู้ 1

๒ ตลอดชีวิตสาหรับประชาชนวัยต่างๆ เพ่ือการประกอบอาชีพและการดารงชีวิตที่ดี ซ่ึงพบว่ามี กฎหมายเฉพาะท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาโดยตรง ท้ังที่เป็นพระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงกฎ ก.ค.ศ. รวมไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ฉบับ และมีหน่วยงานสาคัญของรัฐท่ีได้ศึกษาและจัดทาข้อเสนอเพื่อปฏิรูปการศึกษาไว้แล้วไม่น้อย กวา่ ๔ ชุด ครอบคลมุ ประเดน็ ตา่ งๆ จานวนมาก ๒. คุณภำพของกำรศึกษำต่ำ จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) (๒๕๖๑) ของนักเรียนท่ัวประเทศพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับต่ามาก คะแนน เฉล่ียต่ากว่าร้อยละ ๕๐ ทุกรายวิชา รวมถึงผลการทดสอบจากโครงการประเมินผลนักเรียน ระดับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment : PISA) ในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ พบว่าคะแนนท่ีได้ต่ากว่ามาตรฐานโลก มีผู้สอบได้คะแนนต่ากว่าระดับ “Below minimum” ในวิชาคณติ ศาสตร์ถึงร้อยละ ๕๓.๘ และในวิชาวทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ ๔๖.๗ ๓. ควำมเหล่ือมลำทำงกำรศึกษำสูง พบว่าคะแนนเฉลี่ยการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ในโรงเรียนขนาดใหญ่มีระดับท่ี สูงกว่านักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กอย่างมากในทุกรายวิชา ในขณะท่ีพบว่ามีนักเรียนจาก โ ร งเรี ย น วิทย าศ าส ตร์ แล ะโ ร ง เรี ย น ใ น กลุ่ มโ ร งเ รี ย น ส าธิ ตเ ท่ าน้ั น ที่ มี ค ะ แน น เ ฉลี่ ย ข อ ง ผลการทดสอบ PISA ในด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สูงกว่ามาตรฐานท่ีระดับ ๕๐๐ คะแนน นกั เรยี นของโรงเรียนในสงั กัดองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ต่างๆ มีคะแนนน้อยกวา่ ๔๐๐ คะแนน นอกจากนกี้ ารศึกษาข้อมูลเกย่ี วกับการประกนั คุณภาพศึกษาและการประเมนิ คุณภาพ ในแนวทางทีไ่ ดด้ าเนนิ การผา่ นมาพบว่าไม่ประสบผลสาเรจ็ เทา่ ที่ควร และยงั สรา้ งภาระจานวน มากให้แกค่ รแู ละสถานศึกษา ๔. ปัญหำของระบบกำรศึกษำเป็นอุปสรรคอย่ำงยิ่งต่อกำรสร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำร แข่งขันของประเทศ ทั้งน้ี Global Competitiveness index ๒o๑๗ - ๒o๑๘ ได้จัดให้ประเทศ ไทยอยู่ในอันดับที่ ๓๒ ในภาพรวม แต่การศึกษาตกอยู่ท่ีอันดับ ๕๖ มหาวิทยาลัยของไทย ไม่ติดอันดับใน ๒๐๐ อันดับแรกในการจัดอันดับของ Times World University Rankings และ QS World University Rankings ในปี ๒๕๖๑ ในขณะท่ีมหาวิทยาลัยของไต้หวัน มาเลเซีย และฮ่องกง ติดอันดับและพัฒนาไปในทิศทางที่ดี ย่ิงไปกว่าน้ัน ข้อจากัดต่างๆ ใน ระบบการศึกษาของไทยยังทาให้การจัดการศึกษาไม่สามารถปรับตัวและพัฒนาตาม ความก้าวหน้าของความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้ทัน ไม่เอ้ือต่อการพัฒนาผู้เรียนไปตาม ความถนดั และศักยภาพ รวมถึงไม่สามารถช้ีนาผู้เรียนให้เรียนในสาขาวิชาท่ีตรงกับความต้องการ ของประเทศ โดยเฉพาะอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา โดยข้อมูล ณ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ มีผู้ว่างงานราว ๔๔๙,๐๐๐ คน โดยเป็นผ้จู บการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษาถึงประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ คน ๕. กำรใช้ทรัพยำกรทำงกำรศึกษำยังไม่มีประสิทธิภำพ ประเทศไทยใช้งบประมาณด้าน การศึกษาคิดเป็นสัดส่วนถึงประมาณร้อยละ ๒๐ ของงบประมาณแผ่นดินของประเทศ หรือ ประมาณร้อยละ ๔.๒ ของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (GDP) แต่ผลลัพธ์การศึกษา ท่ีประเมินโดย PISA กลับอยู่ในระดับ “Poor” เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น เวียดนามท่ีมี ค่าใช้จ่ายทางการศึกษาน้อยกว่าไทยครึ่งหนึ่ง แต่ผลการทดสอบ PISA อยู่ในระดับ “Great” ซ่ึงเป็นภาพสะท้อนอย่างดีถึงการใช้ทรัพยากรไม่ตรงประเด็นที่จะส่งผลดีต่อคุณภาพ ทางการศึกษา อีกท้ังยังขาดข้อมูลและสารสนเทศในการจัดการที่ทันการณ์และมีคุณภาพ 2

๓ เพียงพอทจ่ี ะเอื้อต่อการจัดสรรทรัพยากรให้มปี ระสิทธิภาพ ตรงประเดน็ ไม่ซ้าซ้อน และมคี วาม เปน็ ธรรม ๖. กำรกำกับดูแลและกำรบริหำรจัดกำรระบบกำรศึกษำของภำครัฐในด้ำนธรรมำภิบำลเป็น อุปสรรคสำคัญที่บ่ันทอนประสิทธิผลของกำรนำประเด็นกำรปฏิรูปกำรศึกษำสู่กำรปฏิบัติ ในช่วงเวลาสองทศวรรษที่ผ่านมา การจัดโครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในกระทรวงศึกษาธิการไม่เอ้ือต่อการจัดความรับผิดรับชอบต่อผลการดาเนินการ การมี ส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการจัดการศึกษา รวมถึงการตอบสนองอย่างทันการณ์ต่อ ความต้องการของตลาดการจ้างงาน การบริหารจัดการระบบการศึกษามุ่งสร้างมาตรฐานบน ความ “เหมือน” ทั้งท่ีข้อเท็จจริงระบบต้องการ “คุณภาพบนความหลากหลาย” การกระจาย อานาจเป็นไปอย่างจากัด ทาให้สถานศึกษาของรัฐต้องรับภาระจากคาส่ังเพื่อปฏิบัติงานต่างๆ จนทาใหค้ รูไมส่ ามารถใชเ้ วลาในหอ้ งเรยี นไดเ้ ตม็ ที่ ๗. บริบทของประเทศและของโลกกำลังเปล่ียนแปลงอย่ำงรวดเร็ว ท้ังการพัฒนาเศรษฐกิจ การเปล่ียนแปลงทางสังคมตลอดจนนวัตกรรมของเทคโนโลยีต่างๆ มีแหล่งความรู้ใหม่ๆ เกิดข้ึนอย่างหลากหลาย ซ่ึงเหมือนเป็นโอกาสในทางหนึ่ง แต่ในอีกทางหน่ึงการเปลี่ยนแปลง ข้างต้นส่งผลให้ประชาชนต้องมีความสามารถและสมรรถนะในการเลือกเรียนรู้สิ่ งใหม่และ การปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ระบบการศึกษาจึงต้องมุ่งพัฒนา สมรรถนะของผู้เรียน เปิดทางเลือกให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ เชี่ยวชาญ ในเรื่องท่ีถนัด และสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถดูแลสุขภาวะของตนเองและครอบครัว ในขณะเดียวกับท่ียังคงต้องมุ่งเน้นการให้มีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อให้บุคคลเหล่าน้ันเป็น คนดี รับผิดชอบตอ่ สังคมและสามารถอยูร่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข นอกจากนท้ี ศิ ทางของ การพฒั นาประเทศจากการกาหนดยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยงั กาหนด ประเด็นสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรมเพื่อ สร้างคนดี มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม มีการพัฒนาศักยภาพของคน ตลอดช่วงชีวิต ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ตลอดจนสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ด้วย กอปศ. นาข้อสรุปจากปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาของไทยท่ีได้วิเคราะห์ไว้ ใน ข้อเสนอเพ่ือการปฏิรูปการศึกษาจากหน่วยงานต่างๆ ข้อเสนอจากการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ ในภูมิภาคต่างๆ เวทีทางวิชาการ และเว็บไซต์ของ กอปศ. ตลอดจนข้อเสนอเพิ่มเติมจากการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับร่างแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาระหว่างวันท่ี ๑๕ - ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ มาประกอบการพิจารณาปรับปรุงแผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษา ทาให้แผนการปฏิรูป ประเทศด้านการศึกษาน้ีประกอบด้วยวัตถุประสงค์ของการปฏิรูป ๔ ด้าน มแี ผนงานเพือ่ การปฏิรูป ๗ เร่ือง จาแนกในรายละเอียดเปน็ ประเด็นปฏริ ปู รวม ๒๙ ประเด็น 3

๔ วัตถปุ ระสงค์ของการปฏริ ูปการศกึ ษา มีดังน้ี ๑. ยกระดบั คณุ ภำพของกำรจดั กำรศกึ ษำ (enhance quality of education) ครอบคลุม (๑.๑) ผลลัพธ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ (learning outcomes) ทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติท่ถี กู ตอ้ ง และรู้จักดูแลสุขภาพ เพ่ือการจดั การในเรอ่ื งการดารงชีวิตของตนเองและการใช้ชีวิตร่วมกับ ผ้อู ่นื ตามเจตนารมณ์ของรฐั ธรรมนูญมาตรา ๕๔ วรรค ๔ (๑.๒) ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ท่ตี อ้ งเป็นผมู้ ีความรคู้ วามเชยี่ วชาญ ครูมีจติ วญิ ญาณ ของความเป็นครู (๑.๓) หลักสตู รและกระบวนการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ (educational core processes) ท่ียืดหยุ่น หลากหลาย ถูกต้อง ทนั สมัย ทันเวลา และมงุ่ เนน้ การสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ทางสังคมทถี่ ูกต้อง (๑.๔) สถานศึกษาและระบบสนับสนุน (educational institutions and support systems) ที่ตอบสนองต่อความต้องการของการจัดการศึกษา ตลอดจนทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีคุณภาพ ได้แก่ งบประมาณและเทคโนโลยี ๒. ลดควำมเหล่ือมลำทำงกำรศึกษำ (reduce disparity in education) เป็นส่วนหนึ่งของ การสรา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา (equity in education) ประกอบดว้ ย (๒.๑) โอกาสในการเขา้ ถึงการศกึ ษาและเทคโนโลยที ีส่ นับสนุนการเรยี นรู้ (equity in access) (๒.๒) โอกาสในการได้รับทางเลือกในการศึกษาและการเรียนรู้พัฒนาท่ีเหมาะสมกับศักยภาพ ของผ้เู รยี น (equity in choosing Appropriate process in education) (๒.๓) โอกาสในการไดร้ บั ประโยชน์จากการเรยี นรูแ้ ละการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพท่ี เหมาะสมกับศักยภาพตามความถนัดของผู้เรียน (equity in benefiting from aptitude-based quality of education) ทงั้ ในและนอกระบบการศึกษา รวมถงึ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งมีคุณภาพ ๓. มุ่งควำมเป็นเลิศและสร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ ( leverage excellence and competitiveness) หมายถึง การสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนที่มี ศักยภาพสูง มีความเป็นผู้นา ริเริ่มสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ และการผลิตนักวิจัยและนักเทคโนโลยี ชั้นแนวหน้าให้สามารถต่อยอดงานวิจัยที่สามารถตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ การสร้างความร่วมมือและ เชือ่ มตอ่ กับสถาบันวิจัยอ่ืนๆ ทว่ั โลก สอดคลอ้ งกับทิศทางการขบั เคลื่อนทางเศรษฐกิจ สงั คมและส่ิงแวดล้อม ของประเทศ อกี ทง้ั สถาบนั การศึกษาของไทยและระบบการศึกษาไทยต้องไดร้ ับการยอมรับว่าเทยี บเคียงได้ กบั ประเทศชั้นนาอ่ืนๆ ๔. ปรับปรุงระบบกำรศึกษำให้มีประสิทธิภำพในกำรใช้ทรัพยำกร เพ่ิมควำมคล่องตัวใน กำรรองรบั ควำมหลำกหลำยของกำรจัดกำรศึกษำ และสรำ้ งเสริมธรรมำภิบำล (improve Efficiency, agility and good governance) โดยเฉพาะการส่งเสริมและสร้างสมดุลของความคุ้มค่า ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ คุณธรรมและจริยธรรม ทั้งน้ี ระบบการศึกษาของประเทศที่มีธรรมาภิบาลจะเอื้อต่อ การบรรลุต่อวตั ถุประสงคข์ อ้ ๑ - ๓ ขา้ งต้นอย่างครอบคลมุ และสมดลุ (balanced and inclusive achievement) ทั้งนี้ การศึกษาท่ีจะได้รับการปฏิรูปตามวัตถุประสงค์ท่ีกล่าวถึงข้างต้นนี้ จะครอบคลุมถึงการเรียนรู้ ตลอดชวี ิต มไิ ด้จากดั เฉพาะการจดั การศกึ ษาเพื่อคุณวุฒติ ามระดับเทา่ นั้น 4

๕ กอปศ. ได้กาหนดแผนงานเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ๗ เรื่อง เพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ของการปฏิรูป การศึกษาขา้ งตน้ ไวด้ งั นี้ เรอื่ งที่ ๑ : กำรปฏริ ปู ระบบกำรศึกษำและกำรเรียนรูโ้ ดยรวมของประเทศ โดยพระรำชบัญญัติกำรศึกษำ แหง่ ชำติฉบับใหมแ่ ละกฎหมำยลำดบั รอง มีประเด็นปฏิรูป ๕ ประเด็น ได้แก่  การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... และมีการทบทวน จัดทา แก้ไข และ ปรบั ปรงุ กฎหมายทเ่ี ก่ียวข้อง  การสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและเอกชน เพ่ือการจัด การศึกษา  การขบั เคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อการพฒั นาตนเองและการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพือ่ รองรบั การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต  การทบทวนและปรบั ปรุงแผนการศึกษาแหง่ ชาติ  การจดั ตงั้ สานกั งานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแหง่ ชาติ เร่อื งท่ี ๒ : กำรปฏิรูปกำรพฒั นำเด็กเล็กและเดก็ กอ่ นวยั เรียน มปี ระเดน็ ปฏริ ปู ๒ ประเด็น ไดแ้ ก่  การพัฒนาระบบการดูแล พัฒนา และจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญาให้สมกบั วัย  การส่อื สารสงั คมเพ่ือสรา้ งความเข้าใจในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เร่ืองที่ ๓ : กำรปฏริ ูปเพอ่ื ลดควำมเหลอื่ มลำทำงกำรศกึ ษำ มปี ระเดน็ ปฏิรูป ๓ ประเด็น ได้แก่  การดาเนินการเพื่อลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษา  การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลพิการ บุคคลที่มีความสามารถพิเศษ และบุคคลที่มีความ ต้องการการดูแลเป็นพเิ ศษ  การยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในพ้ืนที่ห่างไกล หรือในสถานศึกษาที่ต้องมี การยกระดบั คณุ ภาพอยา่ งเรง่ ดว่ น เร่ืองท่ี ๔ : กำรปฏริ ูปกลไกและระบบกำรผลติ คดั กรอง และพฒั นำผปู้ ระกอบวิชำชีพครู และอำจำรย์ มีประเดน็ ปฏริ ูป ๕ ประเด็น ได้แก่  การผลิตครู และการคดั กรองครู เพื่อใหไ้ ดค้ รทู ม่ี ีคณุ ภาพตรงกบั ความต้องการของประเทศ และมจี ิตวญิ ญาณของความเป็นครู  การพฒั นาวิชาชีพครู  เส้นทางวชิ าชีพครู เพ่อื ให้ครูมคี วามก้าวหนา้ ได้รับค่าตอบแทนและสวัสดิการท่ีเหมาะสม  การพฒั นาผ้บู ริหารสถานศกึ ษา เพื่อยกระดบั คณุ ภาพการจัดการศึกษาในสถานศกึ ษา  องคก์ รวิชาชีพครู และการปรับปรงุ กฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ ง 5

๖ เรื่องที่ ๕ : กำรปฏริ ปู กำรจดั กำรเรียนกำรสอนเพือ่ ตอบสนองกำรเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ ประกอบดว้ ยประเดน็ ปฏิรปู ๘ ประเดน็ ไดแ้ ก่  การปรับหลักสูตร พร้อมกระบวนการจัดการเรียนการสอน และการประเมินเพื่อ พฒั นาการเรยี นรู้ เป็นหลกั สตู รฐานสมรรถนะ  การจัดการศกึ ษาเพือ่ เสรมิ สร้างคณุ ธรรมและจริยธรรม  การประเมินคุณภาพการจัดการศกึ ษาระดบั ชาติและระบบคัดเลอื กเข้าศกึ ษาตอ่  การพฒั นาคณุ ภาพระบบการศึกษา  ระบบความปลอดภยั และระบบสวัสดิภาพของผเู้ รียน  การปฏิรปู อาชวี ศึกษา เพ่อื สร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ  การปฏริ ปู อดุ มศกึ ษาเพื่อยกระดับคุณภาพ เพม่ิ ขดี ความสามารถในการแข่งขัน ประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาลของระบบอดุ มศกึ ษา  การจัดต้ังสถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้แห่งชาติ (National Institute of Curriculum and Learning) เรื่องที่ ๖ : กำรปรับโครงสร้ำงของหน่วยงำนในระบบกำรศึกษำ เพ่ือบรรลุเป้ำหมำยในกำรปรับปรุง กำรจดั กำรเรียนกำรสอน และยกระดับคุณภำพของกำรจดั กำรศึกษำ ประกอบดว้ ยประเด็นปฏริ ูป ๓ ประเด็น ได้แก่  สถานศกึ ษามคี วามเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา  พ้ืนที่นวตั กรรมการศกึ ษา  การปรบั ปรุงโครงสรา้ งของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ืองที่ ๗ : กำรปฏิรูปกำรศึกษำและกำรเรียนรู้โดยกำรพลิกโฉมด้วยระบบดิจิทัล (Digitalization for Educational and Learning Reform) ประกอบดว้ ยประเด็นปฏิรูป ๓ ประเดน็ ได้แก่  การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (Digital Learning Reform: National Digital Learning Platform (NDLP))  ระบบข้อมลู สารสนเทศเพ่อื การศึกษา (big data for education)  การพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล (digital citizenship) ในด้านความฉลาดรู้ดิจิทัล (digital literacy) ความฉลาดรู้สารสนเทศ (information literacy) ความฉลาดรู้ส่ือ (media literacy) เพื่อการรู้วิธีการเรียนรู้ (learning how to learn) ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนการมีพฤติกรรมท่ีสะท้อนการรู้กติกา มารยาท จริยธรรมเก่ียวกับการใช้ส่ือและ การส่ือสารบนอินเทอร์เนต็ การบรรลุผลของการปฏิรูปการศึกษาตามแผนข้างต้น จะแบ่งเป็น ๓ ระยะ คือ (๑) ระยะเร่งด่วน หรือภายในวนั ที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึง่ ครบวาระการทางานของ กอปศ. (๒) ระยะสน้ั หรือภายใน ๓ ปี และ (๓) ระยะกลาง-ระยะยาว หรือภายใน ๕ - ๑๐ ปี ท้ังนี้ประเด็นปฏิรูปท่ีมีลาดับสาคัญสูงสุดและ ตอ้ งดาเนนิ การใหบ้ รรลุผลใหไ้ ด้ในระยะเรง่ ดว่ น มี ๖ ประเด็น ได้แก่ 6

๗ (๑) ยกเคร่ืองระบบการศึกษาโดยการบังคับใช้ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ รวมถึงกฎหมายสาคัญอื่นท่ีเสนอโดย กอปศ. ซ่ึงจะเป็นเครื่องมือสาคัญในการปฏิรูปการศึกษา ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. .... ร่างพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. .... รา่ งพระราชบญั ญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. .... และการจัดตั้งสถาบนั หลักสูตรและการเรยี นรูแ้ ห่งชาติ (๒) บุกเบกิ นวัตกรรมของการจัดการศกึ ษาระดับโรงเรียน กลุ่มโรงเรยี น หรอื การจดั การระดับพ้ืนที่ โดยให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางของการยกระดบั คุณภาพของการศึกษา ผ่านการขับเคล่ือนเร่ืองสถานศึกษาที่ มีความเปน็ อิสระในการบริหารจดั การ และระบบนิเวศทีส่ นับสนนุ การดาเนนิ การของสถานศกึ ษา (๓) นาเสนอแนวทางการปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาในระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐานไปสู่หลักสูตร ฐานสมรรถนะ และรูปแบบการปรับหลักสูตรในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑–๓ จัดตั้งสถาบันหลักสูตร และการเรียนรู้แห่งชาติเพ่ือเป็นเสมือนศูนย์ความเป็นเลิศในการวิจัย พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การจัด การเรยี นการสอน และการประเมนิ ผลการเรียนรู้ สาหรบั การจัดการศึกษาในระดับต่างๆ (๔) สร้าง “ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพ่ือการเรียนรู้แห่งชาติ” ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล นาความรู้ และวิธกี ารเรยี นรู้ไปสู่โรงเรยี น นกั เรียน และครูทวั่ ประเทศ โดยเฉพาะในท้องถ่ินห่างไกล (๕) จัดระบบการผลิตครูให้มีคุณภาพและสมรรถนะความเป็นครู ผ่านการจัดต้ังกองทุนหรือ แผนงานเพ่ือการผลิตและพัฒนาครู สาหรับครูรุ่นใหม่ และพัฒนาบัณฑิตครูท่ีมีอยู่ ให้ตรงตามความจาเป็น ของประเทศ ในระยะแรกเน้นครูปฐมวัย และครปู ระถมศกึ ษา สาหรบั ทอ้ งถ่ินขาดแคลน (๖) ให้มีการแตง่ ตั้งคณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแห่งชาติ ตามทีก่ าหนดไว้ในร่างพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ เพ่ือเป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือนแผนการศึกษาแห่งชาติและการปฏิรูป การศกึ ษาให้เรมิ่ ดาเนนิ การได้ และมีความต่อเนือ่ งในระยะยาว 7

8

สว่ นที่ ๑ ภำพรวมกำรปฏริ ูปประเทศด้ำนกำรศึกษำ 9

10

๑๑ ๑.๑ บทนํา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖๕ กําหนดใหรัฐจัดใหมียุทธศาสตรชาติ เพ่ือเปนเปาหมายระยะยาวในการพัฒนาประเทศ ประกอบกับมาตรา ๒๕๗ และมาตรา ๒๕๙ กําหนดใหม ี การปฏิรูปประเทศเพ่ือวางรากฐานการพัฒนาไปสูประเทศที่มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอยาง ย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหวา งการพัฒนาดานวัตถุกับการพัฒนา ดานจิตใจ ประชาชนในสังคมมีโอกาสทัดเทียมกันและมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งมีสวนรวมในการพัฒนา ประเทศและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข โดยใหมี การดําเนินการปฏิรูปประเทศในดานตางๆ ใหเกิดผล ซ่ึงดานการศึกษาเปนประเด็นหน่ึงที่รัฐบาลให ความสําคัญและเห็นความจําเปนที่จะตองมีการปฏิรูป และไดแตงตั้งคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูป การศึกษาเปน ผดู าํ เนินการ คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาไดดําเนินการจัดทําแผนการปฏิรูปประเทศดาน การศึกษาอยางเปนข้ันตอน โดยทบทวนบริบทตามขอกําหนดของรัฐธรรมนูญ และขอกฎหมายท่เี กี่ยวของ ประมวลผลการศกึ ษา และขอเสนอแนะที่เก่ียวกับการปฏิรูปดานการศึกษาท่ีไดมีการจัดทํามาแลว ท้ังของ สภาปฏิรูปแหงชาติ (สปช.) สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) และหนวยงานอื่นๆ รวมทั้งวิเคราะห สถานการณ แนวโนมภายนอกและภายในที่สําคัญดานการศึกษา พิจารณาความสอดคลองเชื่อมโยงกับ แผนยุทธศาสตรชาติ วเิ คราะหสังเคราะหวางกรอบประเด็นการปฏิรูปการศึกษาที่สําคัญ กําหนดเปาหมาย และผลสมั ฤทธ์ิที่คาดวาจะเกิดข้นึ โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี ๑.๑.๑ บรบิ ทตามขอ กําหนดในรฐั ธรรมนญู รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีขอกําหนดที่เกี่ยวของกับ การศกึ ษาดงั น้ี ๑) หมวด ๔ หนาทข่ี องปวงชนชาวไทย มาตรา ๕๐ กลาวถงึ หนา ท่ีของปวงชนชาวไทย ๑๐ ประการ คือ (๑) พิทักษร กั ษาไวซึง่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (๒) ปองกันประเทศ พิทักษรักษาเกียรติภูมิ ผลประโยชนของชาติ และสาธารณสมบัติของแผนดินรวมท้ังใหความรวมมือในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (๓) ปฏิบัติตาม กฎหมายอยางเครงครัด (๔) เขารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ (๕) รับราชการทหารตามท่ี กฎหมายบัญญัติ (๖) เคารพและไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอ่ืน และไมกระทําการใดท่ีอาจ กอใหเกิดความแตกแยกหรือเกลียดชังในสังคม (๗) ไปใชสิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติอยางอิสระโดย คํานึงถึงประโยชนสวนรวมของประเทศเปนสําคัญ (๘) รวมมือและสนับสนุนการอนุรักษและคุมครอง สิ่งแวดลอมทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งมรดกทางวัฒนธรรม (๙) เสียภาษี อากรตามท่ีกฎหมายบัญญัติ และ ๑๐) ไมรวมมือหรือสนบั สนุนการทจุ รติ และประพฤติมิชอบทกุ รปู แบบ ๒) หมวด ๕ หนาที่ของรัฐ มาตรา ๕๔ รัฐตองดําเนินการดานการศึกษา สรุปไดดังน้ี (๑) ใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปนเวลาสิบสองป ต้ังแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมี คุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย (๒) ใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับการศึกษาตาม (๓) เพ่ือ พัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสมกับวัย โดยสงเสริมและสนับสนุนใหองคกร ปกครองสวนทองถิ่นและภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการดําเนินการดวย (๔) ใหประชาชนไดรับการศึกษา ตามความตองการในระบบตางๆ รวมท้ังสงเสริมใหมีการเรียนรูตลอดชีวิต และจัดใหมีการรวมมือกัน ระหวางรัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหนาท่ี 11

๑๒ ดําเนินการ กํากับ สงเสริม และสนับสนุนใหการจัดการศึกษาดังกลาวมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล (๕) กฎหมายวาดว ยการศกึ ษาแหงชาติ อยางนอยตอ งมบี ทบัญญตั ิเกยี่ วกบั การจดั ทาํ แผนการศึกษาแหงชาติ และการดําเนินการและตรวจสอบการดําเนนิ การใหเปนไปตามแผนการศึกษาแหงชาติดวย (๖) การศึกษา ทั้งปวงตองมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเช่ียวชาญได ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ (๗) ในการดําเนินการใหเด็กเล็กไดรับ การดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือใหประชาชนไดรับการศึกษาตามวรรคสาม รัฐตองดําเนินการให ผูขาดแคลนทุนทรัพยไดรับการสนับสนุนคาใชจายในการศึกษาตามความถนัดของตน (๘) ใหจัดตั้งกองทุน เพ่ือใชในการชวยเหลือผูขาดแคลนทุนทรัพย เพื่อลดความเหลื่อมล้ําในการศึกษา และเพ่ือเสริมสรางและ พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยใหรัฐจัดสรรงบประมาณใหแกกองทุน หรือใชมาตรการหรือกลไก ทางภาษีรวมทั้งการใหผูบริจาคทรัพยสินเขากองทุนไดรับประโยชนในการลดหยอนภาษีดวย ทั้งน้ี ตามท่ี กฎหมายบัญญัติ ซ่ึงกฎหมายดังกลาวอยางนอยตองกําหนดใหการบริหารจัดการกองทุน เปนอิสระและ กาํ หนดใหมีการใชจ า ยเงนิ กองทนุ เพือ่ บรรลุวัตถปุ ระสงคด งั กลา ว ๓) หมวด ๖ แนวนโยบายแหงรัฐมาตรา ๖๙ รัฐพึงจัดใหมีและสงเสริมการวิจัยและ พัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศิลปวิทยาการแขนงตางๆ ใหเกิดความรู การพัฒนา และนวัตกรรม เพื่อความเขมแข็งของสังคม และเสริมสรา งความสามารถของคนในชาติ มาตรา ๗๑ วรรค ๒ รัฐพึงสงเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหเปนพลเมืองที่ดี มีคุณภาพและความสามารถสงู ขน้ึ ๔) หมวด ๑๔ การปกครองสวนทองถิ่นมาตรา ๒๕๐ องคกรปกครองสวนทองถิ่นมี หนาท่ีและอํานาจดูแลและจัดทําบริการสาธารณะ และกิจกรรมสาธารณะเพ่ือประโยชนของประชาชนใน ทองถนิ่ ตามหลกั การพัฒนาอยางย่ังยนื รวมทง้ั สงเสริม และสนับสนุนการจดั การศึกษาใหแกป ระชาชนในทอ งถิน่ ๕) หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ มาตรา ๒๕๘ จ. ไดบัญญัติใหดําเนินการปฏิรูป ประเทศดานการศกึ ษาดังตอ ไปนี้ (๑) ใหสามารถเร่ิมดําเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารบั การศึกษา ตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพอ่ื ใหเด็กเลก็ ไดรบั การพัฒนารางกาย จิตใจ วินยั อารมณ สงั คม และสติปญ ญา ใหส มกบั วยั โดยไมเก็บคา ใชจ า ย (๒) ใหดําเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดต้ังกองทุนตามมาตรา ๕๔ วรรคหก ใหแลว เสรจ็ ภายในหน่งึ ปน บั แตว ันประกาศใชร ฐั ธรรมนญู นี้ (๓) ใหมีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผูประกอบวิชาชีพครูและ อาจารย ใหไดผูมีจิตวิญญาณของความเปนครู มีความรูความสามารถอยางแทจริง ไดรับคาตอบแทน ที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสรางระบบคุณธรรมใน การบริหารงานบุคคลของผูป ระกอบวชิ าชีพครู (๔) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือใหผูเรียนสามารถเรียนไดตาม ความถนัด และปรับปรุงโครงสรางของหนวยงานที่เก่ียวของเพ่ือบรรลุเปาหมายดังกลาว โดยสอดคลองกัน ทง้ั ในระดบั ชาติ และระดับพนื้ ที่ มาตรา ๒๖๑ ในการปฏริ ูปตามมาตรา ๒๕๘ จ. ดา นการศกึ ษา ใหมีคณะกรรมการ ท่ีมีความเปนอิสระคณะหน่ึงท่ีคณะรัฐมนตรีแตงตั้งดําเนินการศึกษาและจัดทําขอเสนอแนะและ รา งกฎหมายท่เี กย่ี วของในการดําเนินการใหบ รรลุเปาหมายเพ่อื เสนอคณะรัฐมนตรีดาํ เนินการตอ ไป 12

๑๓ ใหคณะรัฐมนตรีแตงตั้งคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในหกสิบวัน นับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ และใหค ณะกรรมการดําเนินการศึกษาและจัดทําขอเสนอแนะและราง กฎหมายใหแลวเสรจ็ และเสนอตอคณะรฐั มนตรภี ายในสองปนับแตวันทีไ่ ดร ับการแตงตง้ั ๑.๑.๒ ขอ กฎหมายท่ีเก่ยี วของ จากการทบทวนขอกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการศึกษา พบวา มีกฎหมายที่เกี่ยวของ ประกอบดวย คําส่ังหัวหนา คณะรักษาความสงบแหงชาติ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง และอ่นื ๆ โดยสามารถจดั หมวดหมูได ดงั น้ี ๑) คําสง่ั หัวหนา คณะรักษาความสงบแหง ชาติ  คําสั่ง คสช.ท่ี ๑๐/๒๕๕๙ เร่ือง การขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการในภมู ภิ าค  คาํ สั่ง คสช.ท่ี ๑๑/๒๕๕๙ เร่ือง การบรหิ ารราชการของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในภูมิภาค  คําสัง่ คสช.ที่ ๒๘/๒๕๕๙ เรอ่ื ง ใหจัดการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ๑๕ ป โดยไมเ ก็บคา ใชจ า ย  คําสั่ง คสช.ที่ ๑/๒๕๖๐ เร่ือง การแกไขปญหาการบริหารงานบุคคลของ กระทรวงศกึ ษาธิการ  คําสั่ง คสช.ที่ ๑๖/๒๕๖๐ เรื่อง การบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา  คาํ สัง่ คสช.ท่ี ๑๙/๒๕๖๐ เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมภิ าคของกระทรวงศึกษาธิการ ๒) กฎหมายเก่ยี วกบั โครงสรางการบรหิ าร พระราชบญั ญัติ  พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่ แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. ๒๕๕๓ กฎกระทรวง  กฎกระทรวงแบงสว นราชการสาํ นักงานรัฐมนตรี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖  กฎกระทรวงแบงสว นราชการขององคก รหลกั กระทรวงศึกษาธกิ าร  กฎกระทรวงกําหนดจํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีสรรหา การเลอื กคณะกรรมการ วาระการดํารงตําแหนง และการพน จากตาํ แหนงของกรรมการในคณะกรรมการชุด ตางๆ ภายในกระทรวงศกึ ษาธกิ าร  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการแบงสวนราชการภายในสถานศึกษาท่ีจัด การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน หรอื สวนราชการทเี่ รียกช่ืออยางอ่ืน พ.ศ. ๒๕๔๗  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และลักษณะของงานท่ีจะใหสํานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษา เปนผูรับผิดชอบปฏิบัติงานเฉพาะอยางแทนสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและ สวนราชการทีเ่ รียกชอื่ อยา งอนื่ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกไขเพิม่ เติม พ.ศ. ๒๕๔๙ 13

๑๔  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินความพรอมในการจัด การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานขององคก รปกครองสว นทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๗  กฎกระทรวงวา ดวยการบริหารงานบุคคลของขาราชการพลเรอื นในมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๗  กฎกระทรวงกําหนดจํานวน หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘  กฎกระทรวงกําหนดจํานวน หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการ สงเสรมิ การศึกษาพเิ ศษ พ.ศ. ๒๕๔๘  กฎกระทรวงกําหนดจํานวน หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการ สงเสริมสนับสนุนและประสานความรวมมอื การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. ๒๕๔๘  กฎกระทรวงกําหนดจํานวน หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘  กฎกระทรวงกาํ หนดหลักเกณฑและวิธีการกระจายอาํ นาจการบริหารและการจัด การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓) กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาในระบบ (การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการศกึ ษาเอกชน) ๓.๑ การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พระราชบัญญตั ิ  พระราชบัญญัติการศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. ๒๕๔๕  พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ และทีแ่ กไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๔  พระราชบญั ญตั ิเคร่ืองแบบนกั เรียน พ.ศ. ๒๕๕๑ กฎกระทรวง  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการนับอายุเด็กเพื่อเขารับการศึกษา ภาคบังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕  กฎกระทรวงวาดวยการแบงระดับและประเภทการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖  กฎกระทรวงวา ดว ยสิทธิในการจัดการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานโดยครอบครวั พ.ศ. ๒๕๔๗  กฎกระทรวงวา ดว ยสิทธิของสถานประกอบการในการจัดการศึกษาข้ันพน้ื ฐานใน ศูนยก ารเรยี น พ.ศ. ๒๕๔๗  กฎกระทรวงวาดวยสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยสถาบัน พระพทุ ธศาสนา พ.ศ. ๒๕๔๘  กฎกระทรวงวา ดวยสิทธิขององคกรวิชาชพี ในการจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐานในศูนย การเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๔  กฎกระทรวงวาดวยสิทธิขององคกรเอกชนในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในศูนย การเรยี นรู พ.ศ. ๒๕๕๕  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินความพรอมในการจัด การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานขององคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ พ.ศ. ๒๕๔๗ 14

๑๕  กฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมสําหรับการประกอบกิจการโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๓  กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖  กฎกระทรวงวาดวยสิทธิของบุคคลในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในศูนย การเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๔  กฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมสําหรับการประกอบกิจการโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๓  กฎกระทรวงวาดวยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ํากวาปริญญารูปแบบ วทิ ยาลยั ชุมชนพ.ศ. ๒๕๔๖  กฎกระทรวงกําหนดจํานวน หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการ สง เสริมการศึกษาพเิ ศษ พ.ศ. ๒๕๔๘ ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรี  ระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรวี า ดวยการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๕๙ ประกาศ  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลกั เกณฑ วธิ ีการ และเงอ่ื นไขวาดว ย การสงเสรมิ และพัฒนาสถาบนั ศึกษาปอเนาะจงั หวดั ชายแดนภาคใต ตามโครงการปอเนาะดีตน แบบ ๓.๒ อาชีวศึกษา พระราชบัญญตั ิ  พระราชบัญญัตกิ ารอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ กฎกระทรวง  กฎกระทรวงการรวมสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาเพือ่ จดั ตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา เกษตร พ.ศ. ๒๕๕๖  กฎกระทรวงกาํ หนดเกณฑการแบง สวนราชการของสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๕  กฎกระทรวงกาํ หนดจาํ นวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑการสรรหา การเลือกประธานกรรมการ การประชมุ วาระการดาํ รงตาํ แหนง และการพน จากตาํ แหนง ของคณะกรรมการ วทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๕๓  กฎกระทรวงกาํ หนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการไดมาซ่งึ ผูดาํ รงตําแหนงใน สภาสถาบันการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ ประกาศ  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตร วชิ าชีพช้นั สูง พ.ศ. ๒๕๕๖  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง มาตรฐานคณุ วุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั ิการ พ.ศ. ๒๕๕๖  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ 15

๑๖ ๓.๓ อดุ มศึกษา พระราชบญั ญัติ  พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภฏั และสถาบนั ตา งๆ  พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา ราชการพลเรอื นในสถาบนั อดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗  พระราชบญั ญัติสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ และทแ่ี กไขเพิม่ เติม พ.ศ. ๒๕๕๐  พระราชบัญญัตกิ ารบรหิ ารสว นงานภายในของสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ กฎกระทรวง  กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖  กฎกระทรวงจัดต้งั สว นราชการในมหาวทิ ยาลยั ตาง ๆ  กฎกระทรวงวาดวยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาตํ่ากวาปริญญารูปแบบ วทิ ยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๖  กฎกระทรวงกําหนดลักษณะของมหาวิทยาลัย สถาบัน และวิทยาลัยของสถาบนั อุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงอ่ื นไขในการขอรับใบอนุญาตและ การออกใบอนุญาตใหจ ัดต้ังสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎกระทรวงกําหนดลักษณะและเน้ือที่ดินท่ีจะใชเปนท่ีจัดสถาบันอุดมศึกษา เอกชน พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎกระทรวงวา ดวยหลักเกณฑใหอนุปริญญาสําหรับผูท่ีสอนไวไดครบทุกลักษณะ วชิ าตามหลักสตู รปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎกระทรวงกําหนดชั้น สาขาของปริญญา และหลักเกณฑการใหปริญญากิตติมศักด์ิ ของสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎกระทรวงกาํ หนดลักษณะ ชนดิ ประเภท และสวนประกอบของครุยวิทยฐานะ และเขม็ วิทยฐานะของสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎกระทรวงวาดวยการคุมครองการทํางานและผลประโยชนตอบแทนของ ผปู ฏบิ ตั ิงานในสถาบนั อุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎกระทรวงวา ดว ยการบรหิ ารงานบคุ คลของขา ราชการพลเรือนในมหาวทิ ยาลยั พ.ศ.๒๕๔๗ ประกาศ  ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง มาตรฐานสถาบันอดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง เกณฑม าตรฐานหลักสตู รระดบั อนปุ ริญญา พ.ศ. ๒๕๔๙  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง เกณฑม าตรฐานหลกั สตู รระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง เกณฑมาตรฐานหลกั สูตรระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘  ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง แนวทางการบริหารเกณฑม าตรฐานหลกั สูตร ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘  ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง แนวทางการจดั การศึกษาหลกั สูตรควบระดบั ปรญิ ญาโท ๒ ปริญญา ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาไทย พ.ศ. ๒๕๔๘  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง แนวทางการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี แบบกาวหนาในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙ 16

๑๗  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แนวทางความตกลงรวมมือทางวิชาการ ระหวา งสถาบนั อดุ มศกึ ษาไทยกบั สถาบันอุดมศึกษาตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๐  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒  ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔  ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๔) กฎหมายเกี่ยวกบั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พระราชบญั ญตั ิ  พระราชบัญญัตสิ งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ กฎกระทรวง  กฎกระทรวงวาดวยการแบงระดับและการเทียบระดับการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. ๒๕๔๖  กฎกระทรวงวาดวยการกําหนดคุณสมบัติและลักษณะตองหามของผูบริหาร โรงเรียนนอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๓  กฎกระทรวงกําหนดจํานวน หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการ สง เสรมิ สนับสนนุ และประสานความรวมมอื การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. ๒๕๔๘  กฎกระทรวงการขอรบั ใบอนญุ าตใหจดั ตั้งโรงเรยี นนอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๕  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการสงเสริมและสนับสนุน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสวนราชการ หนวยงานของรัฐท่ีเก่ียวของ และภาคี เครือขา ย พ.ศ. ๒๕๕๕  กฎกระทรวงกําหนดระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาทีจ่ ดั การศึกษานอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๕ ๕) กฎหมายเก่ยี วกบั ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พระราชบญั ญตั ิ  พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ฉบบั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๔๗ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ และฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๓  พระราชบัญญัตสิ ภาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖  พระราชบัญญัติบาํ เหนจ็ บํานาญขา ราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ และทแ่ี กไขเพ่ิมเตมิ  พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจําตําแหนงขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗  พระราชบญั ญัตเิ งินเดอื นและเงินประจําตําแหนง พ.ศ. ๒๕๓๘ และท่แี กไ ขเพิ่มเตมิ พระราชกฤษฎกี า  พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนขาราชการครู และบุคลากรทางการ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๙ และฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๐  พระราชกฤษฎีกาการไดรับเงินประจําตําแหนงของขาราชการ และผูดํารง ตําแหนงผูบ รหิ าร ซ่ึงไมเปนขา ราชการ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗ และ (ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๔๙ 17

๑๘  พระราชกฤษฎีกากําหนดตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาชีพ เฉพาะ และประเภทเชีย่ วชาญเฉพาะ พ.ศ. ๒๕๓๕ และทแ่ี กไขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐  พระราชกฤษฎีกาการปรับเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของขาราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๔ กฎกระทรวง  กฎกระทรวงการประกอบวชิ าชพี ควบคุม พ.ศ. ๒๕๔๙ กฎ ก.ค.ศ.  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยหลักเกณฑและวิธีการไดมาของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ และ กรรมการผแู ทนขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ใน ก.ค.ศ. พ.ศ. ๒๕๔๘  กฎ ก.ค.ศ. วา ดวยหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการไดมาของอนุกรรมการผูทรงคุณวุฒิ และ อนกุ รรมการผแู ทนขาราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใน อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยอํานาจการลงโทษภาคทณั ฑ ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือน พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎ ก.ค.ศ. วา ดว ยการสอบสวนพจิ ารณา พ.ศ. ๒๕๕๐  กฎ ก.ค.ศ. วา ดว ยโรค พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยกรณคี วามผดิ ท่ีปรากฏชัดแจง พ.ศ. ๒๕๔๙  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยการกําหนดระดับตําแหนงและการใหไดรับเงินเดือน และเงิน ประจําตาํ แหนงของบุคลากรทางการศึกษาอน่ื ตามมาตรา ๓๙ ค.(๒) พ.ศ. ๒๕๕๐  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยการสั่งใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจํา สวนราชการหรือสาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๐  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยการเล่ือนข้ันเงินเดือนของขาราชการครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๐  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยการอทุ ธรณแ ละการพจิ ารณาอุทธรณ พ.ศ. ๒๕๕๐  กฎ ก.ค.ศ.วา ดวยการรองทกุ ขและการพิจารณารอ งทุกข พ.ศ. ๒๕๕๑  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยหลักเกณฑและวิธีการไดมาของกรรมการผูทรงคุณวุฒิและ กรรมการผแู ทนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ก.ค.ศ. พ.ศ. ๒๕๕๒ และ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๒  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยหลักเกณฑและวิธีการไดมาของกรรมการผูทรงคุณวุฒิและ กรรมการผแู ทนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ก.ค.ศ.  กฎ ก.ค.ศ. วา ดวยการใหข าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับเงินเดือน สงู กวา หรอื ตาํ่ กวาขนั้ ตํ่า หรอื สูงกวาขัน้ สงู ของอนั ดับ พ.ศ. ๒๕๕๓  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยการส่ังใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาออกจาก ราชการ กรณไี มส ามารถปฏิบตั ิราชการใหม ีประสิทธิภาพเกดิ ประสิทธิผล พ.ศ. ๒๕๕๓  กฎ ก.ค.ศ. วาดวยหลักเกณฑ และวิธีการไดมาของกรรมการผูทรงคุณวุฒิและ กรรมการผูแทนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ก.ค.ศ. (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ขอ บังคับ  ขอบงั คับครุ สุ ภาวาดวยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๔๘  ขอ บงั คับครุ สุ ภาวาดว ยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๗  ขอ บังคับคุรสุ ภาวาดวยการพิจารณาการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๕๓ 18

๑๙  ขอ บงั คับครุ ุสภาวา ดว ยแบบแผนพฤตกิ รรมตามจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖) กฎหมายเก่ยี วกับทรัพยากรและการเงินเพ่อื การศึกษา พระราชบัญญัติ  พระราชบญั ญตั กิ องทุนเงินใหกูย ืมเพ่ือการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ พระราชกฤษฎีกา  พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบบั ที่ ๒๘๔) พ.ศ. ๒๕๓๘ (ฉบับท่ี ๔๒๐) พ.ศ. ๒๕๔๗ (ฉบบั ที่ ๔๒๗) พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๔๓๗) พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบบั ที่ ๔๗๖) พ.ศ. ๒๕๕๑ และ (ฉบับท่ี ๕๒๖) พ.ศ. ๒๕๕๔  พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรวาดวยกําหนดกิจการท่ีไดร ับ ยกเวน ภาษธี ุรกิจเฉพาะกิจ (ฉบับที่ ๓๘๖) พ.ศ. ๒๕๔๔  พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวน ภาษีมลู คา เพ่มิ (ฉบบั ที่ ๔๒๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ กฎกระทรวง  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการจัดสรรเงินกองทุนพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ ประกาศ  ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เร่ือง กําหนดหลักเกณฑ วธิ ีการ และเงื่อนไข เพ่ือ ยกเวนภาษเี งินได ภาษมี ลู คา เพม่ิ ภาษธี รุ กิจเฉพาะ และอากรแสตมป สําหรับเงนิ ไดที่จายเปนคา ใชจ า ยเพื่อ สนบั สนนุ การศกึ ษา ๗) กฎหมายเก่ยี วกับเดก็ เยาวชน คนพิการ ผสู ูงอายุ พระราชบัญญัติ  พระราชบัญญตั คิ ุม ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖  พระราชบัญญัตผิ สู งู อายุ พ.ศ. ๒๕๔๖  พระราชบัญญตั สิ ง เสริมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐  พระราชบญั ญตั กิ ารจัดการศกึ ษาสาํ หรบั คนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๑ กฎกระทรวง  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการใหคนพิการมีสิทธิไดรับส่ิงอํานวย ความสะดวก สื่อ บรกิ าร และความชวยเหลอื อ่ืนใดทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๐  กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการจัดสรรงบประมาณทางการศึกษา สําหรับคนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร  ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง กําหนดประเภทและหลักเกณฑของคนพิการ ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการจัดทําแผนการ จัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคลระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒  ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง การปฏบิ ัติหนา ทอ่ี น่ื ของศูนยการศกึ ษาพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๓ 19

๒๐ ๘) กฎหมายอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วของ พระราชบัญญัติ  พระราชบัญญัติสถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี พ.ศ. ๒๕๔๑ และทแ่ี กไ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘  พระราชบญั ญัตวิ าดว ยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวตั กรรมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑  พระราชบัญญตั ลิ ูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑  พระราชบัญญตั กิ ารพัฒนาดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม พ.ศ. ๒๕๖๐ พระราชกฤษฎกี า  พระราชกฤษฎีกาจดั ตง้ั สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๘  พระราชกฤษฎีกาการจัดต้ังสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา (องคกรมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๓  พระราชกฤษฎกี าจัดตง้ั โรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ พ.ศ. ๒๕๔๓  พระราชกฤษฎีกาจัดตง้ั สถาบันคณุ วุฒวิ ิชาชีพ (องคการมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๔  พระราชกฤษฎีกาจัดต้งั สํานกั งานนวตั กรรมแหง ชาติ (องคก ารมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๒  พระราชกฤษฎีกาจดั ตงั้ สาํ นกั งานบรหิ ารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๗ แกไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ และแกไขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑ กฎกระทรวง  กฎกระทรวงวาดว ยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ. ๒๕๔๗  กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธิ ีการประกันคุณภาพทางการศึกษาพ.ศ. ๒๕๕๓  กฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศ  ประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง การกําหนดสถานศึกษาหรือสถานฝกอบรม วชิ าชีพท่ีรบั ลกู จางของบรษิ ทั หรอื หา งหุนสว นนิติบคุ คลเขา ศึกษาหรือฝกอบรม ๑.๑.๓ ผลการศึกษาและขอเสนอแนะทเ่ี กี่ยวกับการปฏริ ปู การจดั ทาํ แผนการปฏิรูปประเทศดานการศกึ ษา ไดนํารายงานผลการศกึ ษาและขอเสนอแนะ ที่เกีย่ วของกบั การศึกษาจากหนวยงานตา งๆ มาประกอบการพจิ ารณาสรปุ ไดด ังนี้ ๑) ขอเสนอของคณะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย สภาปฏริ ูปแหงชาติ คณะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย สภาปฏิรูปแหงชาติ กําหนดวาระปฏิรูป ๓ วาระ คือ การปฏิรูประบบการจัดการศึกษา การปฏิรูประบบการคลังดานการศึกษา (ดา นอุปสงค) และการปฏริ ปู ระบบการเรยี นรู ซงึ่ มีรายละเอยี ดขอ เสนอดงั นี้ ๑) ขอเสนอการปฏิรูประบบการจัดการศึกษา ประกอบดวย การปฏิรูปโครงสรางและ ระบบการศึกษา การเตรยี มการและการรับผูเขา เรยี น การบรหิ ารจัดการบคุ ลากรทางการศกึ ษา การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา และการสรา งระบบธรรมาภิบาล ๒) ขอเสนอการปฏิรูประบบการคลังดานการศกึ ษา (ดานอุปสงค) ดวยการปรับเปล่ียนวิธกี าร จดั สรรงบประมาณเพื่อการศึกษา การจัดทาํ คปู องการศึกษา และการจัดสรรงบดําเนนิ การท่ีตองการเพ่ิมพิเศษ 20

๒๑ ๓) ขอเสนอการปฏิรูประบบการเรียนรู ดวยการปฏิรูปหลักสูตร วิธีการจัดการเรียน การวดั ผลการศกึ ษา และการสรางองคความรใู หม ๒) ขอเสนอของคณะกรรมาธิการการศกึ ษาและการกีฬา สภานติ ิบญั ญัตแิ หง ชาติ (สนช.) คณะกรรมาธิการการศึกษาและการกีฬา สภานิติบัญญัติแหงชาติ ไดพิจารณาศึกษา ประเด็นตางๆ เก่ยี วกบั แนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา สรปุ สาระสําคัญไดด ังนี้ ๑.๑ คณะอนุกรรมาธิการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไดผลักดันประเด็นตางๆ ที่สําคัญ อาทิ ๑) การกระจายอํานาจดานการศึกษาลงไปในระดับจังหวัด ๒) การปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนการสอน ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยเสนอใหมีองคกรกลางพัฒนาหลักสูตรการเรยี นการสอนแหงชาติ ๓) การ ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูเพ่ือใหไดครูที่มีคุณภาพ ๔) การปรับระบบการคัดเลือกและประเมิน ผบู ริหารสถานศึกษา ๕) ระบบเครือขายเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศึกษาข้นั พน้ื ฐานโดยใหส ถาบนั อุดมศึกษา เขามามีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ๖) การกําหนดมาตรฐานสถานศึกษาระดับขั้น พนื้ ฐาน และ ๗) การปฏริ ูประบบโภชนาการเพ่ือสุขภาวะและการเจริญเติบโตของนกั เรยี น เปนตน ๑.๒ คณะอนุกรรมาธิการการอาชีวศึกษา ไดผลักดันประเด็นตางๆ ที่สําคัญ อาทิ ๑) ขอเสนอเชิงนโยบายในการแกไขปญหาการอาชีวศึกษา ๒) แนวทางในการจัดการศึกษาอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ๓) ขอเสนอเชิงนโยบายในการบริหารจัดการศูนยขอมูลกาํ ลังคนอาชีวศึกษา (v-cop.net) ๔) แนวทางในการแกไขปญหาการบริหารจัดการสถาบันการอาชีวศึกษา ๕) แนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวม หลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ๖) ขอเสนอแนะในการปฏิรูปการอาชีวศึกษา และ ๗) เง่อื นไขหลักของความสําเรจ็ ในการจดั การศึกษาระบบทวิภาคี ทั้งนี้ รายงานการพจิ ารณาศกึ ษาของ คณะอนุกรรมาธิการ ท้ัง ๗ เรื่อง กระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดรับ ประเด็นขอสงั เกตและขอเสนอแนะไปดาํ เนินการ และอยรู ะหวางการดําเนนิ การทุกเรื่อง ๑.๓ คณะอนุกรรมาธิการการอุดมศึกษา ไดผลักดันประเด็นตางๆ ที่สําคัญ อาทิ ๑) แนวทางการจัดอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ของสถาบันอุดมศึกษา ๒) การปฏิรูปอุดมศึกษา เชน การสรางพลเมืองคุณภาพเพ่ือเพ่ิมศักยภาพการแขงขัน การวิจัย การกระจายโอกาสและการลด ความเหล่ือมลํ้าทางการศึกษา เปนตน ๓) แนวทางการบริหารการอุดมศึกษา : การจัดต้ังกระทรวง การอดุ มศึกษา และ ๔) การจัดตงั้ กองทนุ ตามมาตรา ๕๔ วรรคหก ของรัฐธรรมนูญ นอกจากน้ี ไดใหขอเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตรปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยไว ๑๔ ประเด็น โดยจัดเปน ๕ กลุม ตามลักษณะยุทธศาสตร ไดแก “เรง รว ม เริ่ม เพมิ่ พฒั นา” ดังน้ี “เรง” ปรับปรุงกฎหมายและโครงสรางการปฏิรูปการศึกษา ปรับปรุงระบบหลักสูตรและ การจัดการเรียนรู พัฒนาอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาชาติ และสนับสนุนและสงเสริมโรงเรียน นิติบุคคล (รูปแบบใหม) “รวม” พฒั นาชมุ ชนและสังคมการเรยี นรู และพัฒนาการศกึ ษาสปู ระชาคมอาเซียน “เริม่ ” ปรับกระบวนทัศนค นไทยใหพ อเพยี ง และจัดระบบการคลงั ทางการศกึ ษา “เพ่ิม” พัฒนาเทคโนโลยีและเครือขายการเรียนรู และกระจายโอกาสและการมีสวนรวม ทางการศกึ ษา “พัฒนา” พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรท้ังระบบ พัฒนาประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็ก พัฒนาระบบประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา และพัฒนาระบบการศึกษาตลอดชว งชวี ิต 21

๒๒ ๓) ขอเสนอของคณะกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา สภาขบั เคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศ (สปท.) คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศ มีขอเสนอแนะการปฏิรูปการศึกษา ๔ เรื่อง ประกอบดวย ๑) การปฏิรูประบบการเรียนรู ๒) การ ปฏิรปู ระบบการจดั การศกึ ษา ๓) การปฏริ ปู ระบบมาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศกึ ษา และ ๔) การ ปฏิรูประบบวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และการวจิ ยั เพอื่ นวตั กรรม โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี ๑) การปฏิรูประบบการเรียนรู โดยมีแผนการปฏิรูปเพ่ือสรางคนไทยใหวินัยเดน สรางคน ไทยใหเ ปนงาน สรางคนไทยใหชาญวิชา สรางคนไทยใหคิดเปนเนนวิทยาศาสตร และสรางคนไทยใหถาม เปน เนน นวตั กรรม ๒) การปฏิรูประบบการจัดการศึกษา โดยจะดําเนินการปฏิรูประบบการจัดการศึกษา ปฐมวัยและขนั้ พ้ืนฐาน การอาชีวศกึ ษา การอดุ มศกึ ษา และการปฏริ ปู ระบบการจดั การศกึ ษาทงั้ ระบบ ๓) การปฏิรูประบบมาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพการศึกษา โดยปฏริ ูประบบประเมิน และประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ปรับปรุงระบบประเมินคุณภาพการศึกษาโดยกรอบมาตรฐาน คุณวฒุ กิ ารศกึ ษา ๔) การปฏริ ปู ระบบวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวจิ ัยเพอื่ นวัตกรรม โดยมีแนวทางให มี พ.ร.บ. เพื่อสรางความรวมมือระหวางบัณฑิตศึกษาในมหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา และปรับทิศ ทางการกําหนด นโยบายวิจัยเพ่ือนวัตกรรม ใหสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ/สํานักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) สํานักงาน พฒั นาการวิจยั การเกษตร (สวก.) และสถาบนั วิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) มภี าระเชงิ นโยบาย นอกจากน้ี คณะกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา ไดจัดทําวาระ การปฏิรูปทสี่ าํ คญั และเรง ดวน ในป ๒๕๖๐ เรอื่ ง “ปฏิรปู การศึกษา” สรปุ สาระสาํ คญั ไดดงั นี้ ๑. การปฏิรูปกฎหมายการศึกษา และรา งพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. .... ๒. การจัดการศึกษาตลอดชีวติ และรา งพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาตลอดชวี ิต พ.ศ. .... ๓. แผนปฏิรูปเรงดวนในการแกไขปญหาความลาชาการบริหารงานบุคคลของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และรางพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทาง การศึกษา (ฉบับที่ ...) พ.ศ. .... โดยมีขอเสนอใหตั้งคณะอนุกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทาง การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (อ.ก.ค.ศ. สพฐ.) และแกไขพระราชบัญญัติ ระเบียบขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ๔. การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กเพื่อแกปญหาครูไมครบชั้นเรียน โดย การควบรวมโรงเรยี นขนาดเลก็ ๕. การพฒั นาครดู ว ยการปรับการเรียนการสอนแบบคิดวิเคราะห (Active Learning) ๖. การขับเคล่อื นการปฏริ ูประบบการอาชีวศึกษาสอู าชวี ศกึ ษาทวภิ าคี ๗. การแกไขปญหาทเี่ กิดจากการประเมนิ คณุ ภาพโดยหนวยงานตน สงั กดั และหนวยงานภายนอก ๘. การปฏิรูประบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเสนอระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาระบบใหมท่ีเหมาะสม ๙. การปฏิรูประบบการเรียนรูเพ่ือสรางคนไทยใหเปนพลเมืองดี วินัยเดน ภูมิใจในชาติ มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ 22

๒๓ ๑๐. การปฏิรปู ระบบวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวิจัยเพอ่ื นวัตกรรม ๑๑. การปฏริ ปู ระบบการอุดมศกึ ษา ๑๒. การปฏริ ูปการจัดการดูแล พฒั นา และจดั การศึกษาปฐมวัยใหมมี าตรฐานและเอกภาพ ๑๓. ขอ เสนอใหย กเลกิ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อุดมศกึ ษา (TQF) (มคอ. ๓ - ๗) ๑๔. การปรบั โครงสรางกระทรวงศกึ ษาธิการ ๑๕. การแกไขพระราชบัญญัติและกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา ใหส อดรับกบั ระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาใหม ๑๖. การปฏริ ปู ระบบการเงิน การคลัง เพื่อการศึกษาดา นอุปสงค (Demand-side Financing) ๑๗. การปฏิรูประบบการเรยี นรูภาษาอังกฤษ ๑๘. การประเมินและเล่ือนวทิ ยฐานะขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๙. การปฏิรูประบบบรหิ ารจดั การสถานศึกษา สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ๒๐. การปฏิรปู ธรรมาภิบาลในระบบการศกึ ษา ๒๑. ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity) ๒๒. การจัดตง้ั สถาบันวทิ ยาศาสตรฮ าลาลแหงชาติ ๒๓. การปฏริ ูปกฎหมายการศึกษาสาํ หรับผพู กิ าร ผสู ูงอายุ และผดู อยโอกาส ๒๔. การศึกษาวิถพี ุทธ ๒๕. การพัฒนากําลังคนดา นวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปสูป ระเทศท่ยี ง่ั ยนื ๒๖. แนวทางการขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปการศกึ ษา (Social Movement) ๔) ขอเสนอในแผนการปฏิรูปประเทศ ๑๑ ดาน แผนการปฏิรูปประเทศ ๑๑ ดาน ไดแก ดานการเมือง ดานการบริหารราชการแผนดิน ดานกฎหมาย ดานเศรษฐกิจ ดานทรัพยากรและส่ิงแวดลอม ดานสาธารณสุข ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานสังคม ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดานกระบวนการยุติธรรม และ ดา นพลังงาน มปี ระเด็นท่ีเกีย่ วขอ งกบั การพฒั นาการศึกษา ดังน้ี ๑. ดานการเมือง มีประเด็นท่ีนําสูการพัฒนาทางการศึกษา คือ สรางจิตสํานึกในการเรียนรู ความเปนพลเมืองไทย และพลเมืองโลกท่ีดี โดยเนนในผูเรียนทุกระดับต้ังแตเด็กปฐมวัย กระท่ังถึง ระดบั อุดมศึกษา เพือ่ ใหม ีการเสริมสรางวัฒนธรรมทางการเมืองและการมีสว นรว มของประชาชนในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข โดยใหผูสอนมีการจัดกิจกรรมปลูกฝงจิตสํานึกเกี่ยวกับ หนาที่ ความมีระเบียบวินัย และความรับผิดชอบการเปนพลเมืองท่ีดี และผูเรียนมีความเขาใจเก่ียวกับ ระบอบประชาธิปไตย และการมจี ิตสํานึกในการเปน พลเมอื งโลกทด่ี ี ๒. ดานการบริหารราชการแผนดิน มีประเด็นทางการศึกษา คือ การสรางและพัฒนา โรงเรียนใหเปนโรงเรียนตนแบบ (Public School) โดยเริ่มตนจากโรงเรียนตนแบบ ๗๗ แหง ในภาค การศึกษาท่ี ๑/๒๕๖๑ ซึ่งไดดาํ เนินการแลว จงึ มกี ารแตงต้ังคณะกรรมการเพ่ือแกไ ขระเบยี บท่ีเปนอุปสรรค เพ่อื การขยายผลและตดิ ตามผลตอไป ๓. ดานกฎหมาย มีประเด็นนําสูการพัฒนาการศึกษา คือ การสงเสริมใหผูเรียนเปน start up รุนเยาว และการจัดตั้งสถาบันการศึกษาเพ่ือรองรับการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมขนาดกลาง ขนาดยอม และ start up ตลอดจนการจัดหลักสูตรฝกอบรมความรูท่ีเกี่ยวของกับวิชาชีพตางๆ ท่ีเปนไป ตามความตองการของตลาดสนบั สนนุ ใหเ พ่มิ ขดี ความสามารถในการแขงขันของประเทศใหส ูงขน้ึ 23

๒๔ ๔. ดา นเศรษฐกจิ พบประเด็นทเ่ี ก่ียวขอ งกับการพฒั นาการศกึ ษาคอนขา งมาก โดยเฉพาะ ในสวนของผูเรียนในระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา ท่ีจะพัฒนาผูเรียนไปสูทักษะการประกอบ อาชพี โดยประเดน็ ท่เี ก่ียวขอ งจะเปนในสว นของการพัฒนามาตรฐานคุณภาพหลักสูตร การพฒั นาผูเรียนใน ทุกระดับตั้งแตระดับพ้ืนฐานจนกระทั่งถึงระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะในการเนนการสรางนวัตกรรม และ การทําวิจัยในผูเรียนทุกระดับ การสงเสริมโรงเรียนอาชีวะตนแบบ โครงการทวิภาคี และสิ่งที่สําคัญท่ีตอบ โจทยแผนพัฒนาเศรษฐกิจคือ การพัฒนาทักษะดานดิจิทัลใหแกผูเรียน โดยรวมกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสงั คม ซง่ึ ถือเปน การสนับสนนุ และการเพ่ิมระดับการแขง ขนั ในระดับชาตใิ หส ูงขึน้ ๕. ดา นทรัพยากรและสิ่งแวดลอม มปี ระเด็นทเ่ี ก่ยี วของกับการพฒั นาการศึกษา คือ เนน การสงเสริม โครงการ Zero waste ใหแกสถานศึกษา ใหผูสอนและผูเรียนมีสวนรวมในการดําเนินงานใน การลดขยะท่ีเปนมลพิษ และการนําสิ่งที่ใชประโยชนไดมาแปรรูปใหเปล่ียนเปนคาเงินในสวนที่สามารถ จัดการไดใหเปนระบบในสถานศึกษาทุกระดับ และในสวนอื่นๆ คือ การสอดแทรกเนื้อหารายวิชาที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาหลักสตู ร การทําวิจัยท่ีเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติ ใหไดเรียนรูธรรมชาติจริง และ สงิ่ ท่เี กิดขน้ึ จริงจากทฤษฎลี งสกู ารปฏบิ ตั ิ ๖. ดานสาธารณสุข มีประเด็นสําคัญท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาการศึกษา คือ การเขาถึง เทคโนโลยีทางการศึกษาทางสาธารณสุขไดอยางทั่วถึง และมีความปลอดภัย ลดการละเมิดสิทธิทางส่ือ สังคม โดยจะเนนการเพ่ิมสมรรถนะผูเรียนระดับอุดมศึกษาสําหรับสายการแพทย การมีแหลงฝกทาง การแพทยท่ีมีมาตรฐานและปลอดภัย สําหรับผูเรียน รวมถึงการสงเสริมระบบการพัฒนาหลักสูตรเด็กกอน ปฐมวยั และเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นา กาย จิต สงั คม ทพี่ รอ ม เขา สูเดก็ วัยเรยี น ๗. ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ มีประเด็นท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาการศึกษาในสวนของ ความสามารถในการเขาถึงเทคโนโลยีทางการศึกษาของผูเรียนในทุกระดับ และทุกภาคสวน โดยเนนถึง ความปลอดภยั รูเ ทาทันส่อื และลดการละเมิดสทิ ธทิ างส่ือสงั คมในผเู รยี นทุกระดบั ชั้น ๘. ดานสังคม มีประเด็นท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาการศึกษา เนนผูเรียนใหเปนผูมีทักษะ ชีวิตในการดาํ รงชวี ติ นอกเหนือจากสงั คมในโรงเรียนไดอยางเหมาะสม และมีความสุข เปนผูมีปญญาควบคู การมีคุณธรรม จริยธรรมในการใชชีวิตในสังคม การเปนผูมีจิตอาสา การสงเสริมใหผูเรียนมีความกระหาย ตองการท่ีจะเรียนรูตลอดชีวิต และสิ่งที่สําคัญคือ การสรางจิตสํานึกรักบานเกิดในการนําความรูท่ีศึกษา นวตั กรรม และทําวิจัยทองถน่ิ กลบั มาเปลีย่ นแปลงถ่นิ กาํ เนดิ ของตนเอง ใหเ กิดการพฒั นาอยา งสงู สดุ ๙. ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดําเนินการภายใต กรอบรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ท่ีไดใหความสําคัญกับการปองกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบอยางมาก ซ่ึงไดกําหนดไวในบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญหลายสวน โดยเฉพาะ หมวดที่ ๔ หนาที่ของปวงชนชาวไทย มาตรา ๕๐ (๑๐) ท่ีกําหนดใหบุคคลมีหนาท่ีไมร วมมือหรือสนับสนุน การทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชแผนดินและ การปฏิรูปและกฎหมายท่ีเก่ียวของอ่ืนๆ อาทิ คําส่ังคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี ๖๙/๒๕๕๗ เร่ือง มาตรการปองกัน และแกไขปญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ ประเด็นท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาการศึกษา คือ สงเสริมการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตรพระราชาไปใชในการดําเนินชีวิต และ การสรางทัศนคติ ความรูและปลูกฝงเยาวชนในสถานศึกษาทุกระดับ ใหรังเกียจการทุจริตและตระหนักถึง โทษภัยของการทจุ รติ คอรร ัปชัน สาํ หรับการปฏริ ูปประเทศอกี ๒ ดา น คอื ดา นกระบวนการยตุ ธิ รรมและดา นพลงั งาน ไมม ี ประเดน็ ท่เี ก่ียวของกบั การพัฒนาการศกึ ษาทช่ี ัดเจน 24

๒๕ ๑.๒ สภาวการณและแนวโนม การศึกษาเปนกลไกสําคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีคุณภาพ และมีบทบาทสําคัญใน การสรางความไดเปรียบในการแขงขันและยืนหยัดในเวทีโลก คนไทยตองมีศักยภาพใหมีทักษะ ความรู ความสามารถ และสมรรถนะใหพรอมรับมือตอแรงกดดันภายนอกจากกระแสโลกาภิวัตน และแรงกดดัน ภายในประเทศท่ีเปนปญหาและวิกฤตท่ีตองเผชิญอยางหลีกเลี่ยงไมได ท้ังน้ี สภาวการณและแนวโนม ภายนอกและภายในทส่ี ําคัญ รวมทั้งสภาวการณก ารจัดการศกึ ษาที่ผา นมา มปี ระเดน็ ดังตอไปน้ี ๑.๒.๑ สภาวการณแ ละแนวโนม ภายนอก ๑) การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ความกาวหนาดานเทคโนโลยีดิจิทัลแบบ กาวกระโดด การเขาสูยุคอินเทอรเน็ตแหงสรรพสิ่ง (Internet of Things) สงผลตอการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการเรียนรูและวิถีการดําเนินชีวิตของมนุษยไปโดยฉับพลันสิ้นเชิง (Disruption) เกิดเปนความทาทาย ของกระแสโลกาภิวัตนรอบใหมท่ีทุกประเทศในโลกจะตองเตรียมพรอมเพ่ือรับมือใหทัน และสามารถ สรางสรรคประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศท่ีมีอยูอยางมหาศาล เพื่อความเปนตอทางดาน เศรษฐกจิ ภายใตก ารแขง ขันอยางเสรีและไรพ รมแดน ๒) การรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน สงผลตอระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และความมั่นคงของประเทศ โดยดานเศรษฐกิจมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว การรวมเปน ตลาดเดียวและฐานการผลิตเดยี ว มกี ารไหลเวียนอยา งเสรีของแรงงาน สินคา บริการ การลงทุน และเงินทุน ดานสังคมและวัฒนธรรม เกิดเปนสังคมพหุวัฒนธรรม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูวัฒนธรรม และเทคโนโลยี ระหวางกัน ดานการเมืองและความม่ันคง มีการเปดชายแดนและการเคล่ือนยายประชาชนขามแดน ซึ่ง การเปล่ยี นแปลงดังกลา วทาํ ใหไทยตองเตรยี มพรอ มทจี่ ะเรยี นรู และปรบั ตัว ทงั้ ทักษะท่ีจาํ เปน สมรรถนะใน การทาํ งานภาษา และพรอ มรบั ภยั คกุ คามขา มชาตทิ ่ีอาจเกดิ ขน้ึ โดยการศกึ ษาจะเปน ปจ จยั สาํ คญั ท่ีชว ยเพม่ิ ศกั ยภาพของคนเพื่อรองรบั ตอ การเปล่ียนแปลงดังกลาว ๓) การเขา สวู ิกฤตสงั คมสูงวัย ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทางการแพทย และสาธารณสุขทําใหประชาชนมีอายุยืนยาวมากข้ึน ประกอบกับอัตราการเกิดท่ีลดลง สงผลกระทบตอระบบ เศรษฐกิจและสังคม เกิดปญหาขาดแคลนแรงงานภายในประเทศ และการเคล่ือนยายแรงงานตางดาวมากขึ้น อกี ท้ังแนวโนมความตองการสนิ คา และบริการสําหรับผสู ูงอายเุ พิ่มมากขึ้น การศึกษาจงึ จําเปนตองวางแผนการ พฒั นาทรพั ยากรมนุษยของประเทศใหมีทักษะและสมรรถนะสูง ผา นการเรียนรูตลอดชีวิตเพื่อใหพรอมรับการ เปล่ียนแปลง ลดภาวการณพึ่งพงิ และเปนอกี หน่งึ กาํ ลงั สาํ คญั ในการพฒั นาประเทศอยา งตอเน่ือง ๔) การเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่ทวีความรุนแรง การขยายตัวของ อุตสาหกรรมและชุมชนเมือง สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติถูกทําลายและเสื่อมโทรมอยางรวดเร็ว สราง มลพษิ เกิดภาวะโลกรอ น ตลอดจนเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติที่มีความถ่ีและความรุนแรงมากข้ึน นํามาซ่ึง ความสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคมที่ประมาณคามิได การศึกษาจึงตองสามารถถายทอดกระบวน การเรียนรูของการเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมไปสูเด็กและเยาวชน ใหรูเทาทันการเปล่ียนแปลง บริหารและ จัดการ หาทางปอ งกันภัยธรรมชาติ และรกั ษาสง่ิ แวดลอ มเพอื่ คุณภาพชวี ติ และสังคมที่ดตี อ ไป ๑.๒.๒ สภาวการณแ ละแนวโนม ภายใน ๑) คุณภาพของคนไทยทุกกลุมวัย ปจจัยที่สงผลสวนหนึ่งมาจากการจัดการศึกษาท่ีไม สามารถเตรียมและพัฒนาคนใหมีทักษะและคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของแตละกลุมวัย เชน เด็กเล็ก (๐ - ๓ ป) มีพัฒนาการไมสมวัย ซ่ึงสงผลตอระดับสติปญญา บุคลิกภาพและความฉลาดทางอารมณในระยะ ยาว วัยเรียนเนนเรยี นในสายสามัญ ใหคุณคากับคุณวฒุ ิทางการศึกษา โดยไมมงุ เปา หมายการศึกษาและเรียนรู 25

๒๖ เพื่อการดํารงชีวิต วัยแรงงานมีปญหาผลิตภาพแรงงานตํ่าเนื่องมาจากทักษะและสมรรถนะไมสอดคลองกับ ความตอ งการของตลาดงาน และผสู ูงวยั สว นใหญเ ปน วยั พึง่ พิง ทงั้ ในเชงิ เศรษฐกจิ สงั คม และสขุ ภาพ ๒) คุณลักษณะท่ีพึงประสงคของคนไทย ปจจุบันคนไทยขาดคุณธรรม จริยธรรม ความมี วินัย ความซื่อสัตยสุจรติ และจิตสาธารณะ มีคานิยมท่ียึดตนเองเปนหลักมากกวา การคํานึงถึงสงั คมสวนรวม รักสนุกและความสบาย ขาดความอดทน วัตถุนิยม ยอมรับคนท่ีฐานะมากกวาความดี มีคุณธรรม แสดงให เห็นวา คนไทยยังขาดทักษะในการคัดกรองและเลือกรับวัฒนธรรมท่ดี ี ละท้ิงคานิยมอันดีงาม และลดคุณคา ของความเปนไทย การศกึ ษาจําเปนตอ งใหค วามสาํ คญั ตอ การวางรากฐานบนคานยิ มทด่ี ีของสังคมไทย ๓) การวางแผนเพ่ือรองรับประเทศไทย ๔.๐ รัฐบาลมีนโยบายสําคัญเพ่ือเตรียมพรอม ขับเคล่ือนการเปลี่ยนแปลงของประเทศไปสู “ประเทศไทย ๔.๐” มีการจัดทําแผนระดับชาติท่ีสําคัญ คือ ยุทธศาสตรช าติระยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ท่ีกําหนดวิสัยทัศน คือ ประเทศมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) มีวัตถุประสงคเพื่อใหคนไทยทกุ ชวงวัยมี ทักษะ ความรูความสามารถ และพัฒนาตนเองไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต ซ่ึงทุกหนวยงานไดมีการจัดทํา แผนและกาํ หนดเปาหมายการดาํ เนนิ งานที่สอดคลอ งกับแผนดงั กลาวทส่ี อดคลอ ง เปนไปในทศิ ทางเดียวกัน ๑.๒.๓ สภาวการณการจดั การศึกษา ๑) คณุ ภาพการศกึ ษา ผลการพัฒนายังไมเ ปนที่นา พอใจ จากผลการประเมนิ ในระดบั ชาติ และนานาชาติ พบวา ผลคะแนนเฉลี่ยการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) (๒๕๖๑) ของนักเรียนทั่วประเทศอยูในระดับตํ่ามาก โดยพบวาผลคะแนนเฉลี่ยในป พ.ศ. ๒๕๖๑ ในภาพรวมของ ประเทศ ไมมีรายวิชาใดไดคะแนนเกินรอยละ ๕๐ สวนผลการทดสอบโครงการประเมินผลนักเรียนรวมกบั นานาชาติ (Programme for International Student Assessment : PISA) (๒๐๑๕) ซึ่งมุงเนนการประเมิน ความสามารถของนักเรียนในการนําความรูดานวิทยาศาสตร การอาน และคณิตศาสตร จากการเรียนรูไป ประยุกตใชเพ่ือแกปญหาในชีวิต คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนไทยอายุ ๑๕ ป ต่ํากวาคาเฉลี่ยนานาชาติ (OECD) ทุกวชิ า โดยเมอ่ื พิจารณาจากคะแนนเฉล่ียมาตรฐานโลก คอื ๕๐๐ คะแนน พบวา ประเทศไทยมีผู ที่ไดคะแนนเฉลี่ยต่ํากวามาตรฐานโลกในวิชาคณิตศาสตรมากถึงรอยละ ๕๓.๘ และวิชาวิทยาศาสตร รอยละ ๔๖.๗ ซ่ึงเม่ือเทียบกับประเทศเวียดนามพบวามีความแตกตางกันอยางชัดเจน คือเวียดนามมีผูทีไ่ ด คะแนนเฉล่ียต่ํากวามาตรฐานโลกเพียง รอยละ ๗.๘ และรอยละ ๕.๙ ในวิชาคณิตศาสตรและวิชา วิทยาศาสตร ตามลําดับ รวมทั้งยังมีความเหลื่อมล้ําสูงมากเม่ือพิจารณาตามประเภทของสถานศึกษา โดย โรงเรียนวิทยาศาสตรและโรงเรียนสาธิต สวนใหญมีคาคะแนนเฉลี่ยมากกวา ๕๐๐ คะแนน แตในโรงเรียน ทัว่ ไป ทงั้ สงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐานและองคกรปกครองสว นทองถิ่น พบวา ยงั มีคา คะแนนเฉล่ียตํ่ากวา ๕๐๐ คะแนน อีกเปนจํานวนมาก มีคะแนนเพียง ๓๖๐ – ๔๒๐ คะแนนเปนสวนใหญ และการศึกษาแนวโนมการจัดการศึกษาคณติ ศาสตรและวิทยาศาสตรของนักเรียนไทยเทียบกับนานาชาติ (Trends in International Mathematics and Science Study : TIMSS) (๒o๑๕) ซึ่งประเมินความรู และทักษะคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรของนักเรียน มีคะแนนเฉล่ียตํ่าทง้ั สองวิชา ทั้งระดบั ประถมศึกษาป ท่ี ๔ และมัธยมศึกษาปที่ ๒ ๒) การบรหิ ารจัดการ โครงสรา งของกระทรวงศึกษาธิการ ซงึ่ รับผดิ ชอบการจัดการศึกษา สวนใหญของประเทศมีขนาดใหญ มีการปรับเปลี่ยนผูบริหารบอยครั้งทําใหการดําเนินการตามนโยบายไม ตอเน่ือง มีการบริหารแยกสวนในแตละองคกรหลัก ขาดการบูรณาการกันอยางแทจริง รวมทั้งมีการรวม อาํ นาจและสง่ั การจากสว นกลางคอนขา งมาก ไมม กี ารแบง แยกความรับผดิ ชอบแตละหนวยงานอยางชัดเจน 26

๒๗ ท้ังดานนโยบาย (Policy) ดานกํากับดูแลสงเสริม (Regulator) ดานการสนับสนุน (Supporter) และดาน การดําเนินการหรือการปฏิบัติการ (Operator) ทําใหขาดประสิทธภิ าพในการบริหารจัดการ ทั้งการจัดการ ภาพรวมของสถานศกึ ษา หลกั สตู ร และชั่วโมงเรียน มีกระบวนการในการบงั คับบญั ชาหลายระดับชั้น สงผล ใหการดําเนินการลาชา ไมคลองตัว สถานศึกษาขาดความเปนอิสระในการบริหารจัดการใหสอดคลองกับ บริบทความแตกตางกันของพ้ืนท่ี การมุงเนนการบริหารตามกฎ ระเบียบ มากกวาการบริหารเพื่อบรรลุ เปาหมาย และการขาดความเช่ือมโยงกับการกระจายอํานาจและความรับผิดชอบตามหลักธรรมาภิบาล สงผลใหเกิดความสูญเปลาและความไมมีประสิทธิภาพของระบบการศึกษา อาทิ จํานวนโรงเรยี นขนาดเลก็ ท่ีเพ่ิมมากข้ึนตามโครงสรางประชากรวัยเรียนที่ลดลง เปนตน รวมท้ังขาดฐานขอมลู ทางการศกึ ษาภาพรวม ของประเทศที่มีคุณภาพ เปนปจจุบัน สามารถใชงานรวมกันไดในทกุ หนวยงานที่เกี่ยวของ ทําใหขาดขอมูล ประกอบการตดั สนิ ใจเชิงนโยบายในภาพรวม ๓) การประเมินคุณภาพการศึกษา ยังไมสะทอนผลการจัดการศึกษาอยางแทจริง เปน การประเมินที่เนนเอกสาร และรายงาน ทําใหเปนการเพิ่มภาระใหกับสถานศึกษาและครู ควรใหความสําคัญ กับการประเมินเพื่อพัฒนา การใชขอมูลเชิงประจักษ การประเมินการทํางานจากสภาพจริง เนนท่ี ผลสัมฤทธ์ิของผูเรียนเปนสําคญั และมีกลไกการปฏิบัติท่ีเอ้ือตอการดาํ เนินการตามมาตรฐานการศึกษาของ แตล ะระดับ และเกิดประสิทธิภาพ ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ๔) งบประมาณทางการศึกษา ในภาพรวมระดับกระทรวงไดรบั การสนับสนุนงบประมาณสูง แตส ว นใหญเปนสวนของคาตอบแทนบุคลากร (เงินเดือน) เหลอื ในสวนที่ใชจา ยเพ่ือพัฒนาผูเรียน การเรียน การสอน และครูคอ นขางนอย ขาดกลไกการบริหารระบบการเงินเพื่อการศึกษาที่เหมาะสม สอดคลองกับ สถานการณป จจุบัน รวมทั้งขาดการสง เสริม การสรางแรงจูงใจ และมีกฎระเบียบบางประการท่เี ปนอปุ สรรค ในการมสี วนรว มของทุกภาคสว นในการจัดและสนบั สนนุ การศึกษาอยางเปนรูปธรรม ๕) กระบวนการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู การจัดการเรยี นการสอนสวนใหญ เนนเนื้อหาสาระและความจํามากกวา การพัฒนาทักษะและสมรรถนะ สงผลใหผูเรียนขาดการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด ท้ังการคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรค อีกท้ังขาดทักษะการแกปญหา การต้ังคําถาม และ แสวงหาความรู รวมท้งั ขาดการพัฒนาทกั ษะการจดั การขอ มูลสารสนเทศ ซง่ึ เปน ทกั ษะที่จาํ เปน สําหรับโลก ศตวรรษท่ี ๒๑ ทม่ี ีขอ มูลใหสามารถเขา ถึงไดจ ํานวนมาก หลากหลายชอ งทาง จําเปน ตอ งมคี วามสามารถใน การวเิ คราะห สังเคราะห เพ่ือเลือกใชประโยชน และถา ยทอดอยา งถูกตอง เหมาะสม ๖) โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ในภาพรวมยังคงมีความเหลื่อมลํ้าสูง ผูเรียนไดเขาเรียนไมครบทุกคน มีปญหาการออกกลางคัน และผูที่มีความตองการจําเปนพิเศษ ทั้งผูพิการ ผูดอยโอกาส และผูมีความสามารถพิเศษ ยังไมไดรับการพัฒนาอยางเหมาะสม ประชากรวัยแรงงานยังมี การศึกษาต่าํ กวา ระดับมัธยมศึกษาตอนตนเปนจาํ นวนมาก รวมท้ังมีความแตกตา งในเชงิ คุณภาพของแตล ะ โรงเรียน ท้ังเร่ืองขนาด ที่ตั้ง (ในเมือง/นอกเมือง) ผูบริหาร ครู และสื่อการเรียนการสอน การใชความ ไดเปรียบทางเศรษฐกิจและสังคมของกลุมครัวเรือนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจในการเขาถึงสถานศึกษาที่ดีและ มีคุณภาพ ย่ิงทําใหโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษามีความเหลื่อมลํา้ สงู ขึ้น อีกท้ังโอกาสที่ไดรบั น้นั ยังอยูบนฐานของคุณภาพท่ีแตกตางกัน นําไปสกู ารสรางความเหลื่อมล้ําในการกระจายรายไดท ี่เพิ่มมากขึ้น ในระยะยาว ๗) ความสามารถในการแขงขันของประเทศ จากผลการประเมินในหลายรายการพบวา สมรรถนะดานการศึกษาของประเทศไทยในเวทีสากลยังอยูในระดับไมนาพึงพอใจ ท้ังดานโอกาสและ ความเสมอภาคทางการศึกษา ดานคุณภาพ และดานประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ท้ังผลการจัดอันดับ 27

๒๘ ของ World Economic Forum (WEF) (๒o๑๗-๒o๑๘) ที่ตัวช้ีวัดดานการศึกษามีอันดับลดลง และผล ความสามารถในการแขงขันดานการศึกษาของ IMD ซ่ึงอันดับลดลงเชนกัน รวมท้ังผลการจัดอันดับ มหาวิทยาลัยโลก โดยนิตยสาร TIMES (๒o๑๘) และ QS World University Ranking (๒o๑๘) ไมมี มหาวิทยาลยั ของไทยติด ๒๐๐ อนั ดับแรกของโลก ๘) ทิศทางการจัดการศึกษาของไทยในอนาคต จากแนวโนมสภาวการณการเปลย่ี นแปลง ในศตวรรษที่ ๒๑ ที่เปลี่ยนแปลงอยา งรวดเร็ว อันเปนผลมาจากความเจริญกา วหนาในดานตา งๆ โดยเฉพาะ อยางย่ิงดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถเชอ่ื มโยงขอมูลทั่วโลกเขาไวดวยกัน ขอมูลและความรูมากมาย มหาศาลสามารถเขาถึงไดโดยงาย และเทคโนโลยีถูกนํามาใชประโยชนในดานตางๆ แทนแรงงานมนุษย สังคมปจจุบันจึงตองการแรงงานท่ีมีความสามารถท่ีแตกตางไปจากอดีต คือ ตองมีทักษะที่รองรับ การเปลยี่ นแปลงของสภาวการณปจจุบันได อาทิ การปรับตัว การคดิ วิเคราะห การทํางานเปน ทีม ความคดิ สรา งสรรค สามารถจดั การกบั งานและปญ หาไดดวยตนเอง การพัฒนาประเทศจําเปนตอ งใหความสําคญั กับ การพัฒนาทุนมนุษย การใชและตอยอดองคความรู การวิจัยและพัฒนา ทั้งดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม การจัดการศึกษาจึงตองปรับเพื่อเตรียมคนใหพรอมรองรับกับสภาวการณดังกลาวเชนกัน ทั้งการจัดระบบการเรียนรูที่ตองเนนการสรางสังคมแหงปญญา เปลี่ยนการเรียนรูแบบทองจํา (Passive Learning) ไปสูการเรียนรูแบบเชิงลึก (Active Learning) และตอยอดดวยการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหเกิด นวัตกรรม สงเสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิต และเนน การเรยี นเพือ่ การมอี าชพี และดํารงชีวติ อยา งมคี วามสุข ซ่ึง อาจมีรูปแบบท่ีหลากหลายตามความแตกตางและความพรอ มของแตละบุคคล วัฒนธรรม และบริบทของ พน้ื ที่ รวมทง้ั มีการปรับใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่เี หมาะสม การจัดการศึกษาในสถานการณปจจุบันตองมุงสรา งบัณฑติ ท่ีมีความรู ความสามารถที่จะรับมือกับ สภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงได ดังนั้น ระบบการศกึ ษาแบบเกาที่มีแนวคิดวา บัณฑิตที่มีคุณภาพ คือ บัณฑิต ท่ีมีความรูในเชิงเนื้อหาดีท่ีสุด เปนผูท่ีสอบผลการทดสอบสูงที่สุด และระบบการเรียนการสอนที่มุงเนน เนื้อหาท่ีอยูในหลักสูตร ตําราเรียน มากกวาการฝก ใหเด็กมีทักษะท่ีตองใชในชีวิตประจําวัน จึงไมสามารถ สรางบัณฑิตเพื่อรับมือกับสภาพสังคมปจจุบันได แนวคิดในการจัดการศึกษาจึงตองปรับเปลี่ยนตาม ท้ังโครงสรางของหนวยงานท่ีจัดการศึกษาท่ีตองปรับบทบาทจากการเปนผูจัดการศึกษา เปนการสนับสนนุ สงเสริม กํากับ ติดตาม และควบคุมทิศทางในภาพรวม และเปดโอกาสในภาคเอกชนเขามามีสวนรวมมากขึ้น การจัดการเรียนการสอนตอ งเนน ใหผ ูเรยี นไดมีทักษะการคดิ วิเคราะห คดิ แกป ญ หา ไดลงมอื ปฏิบัตมิ ากกวา การทองจําจากตํารา และไมเพียงเนนพัฒนาทักษะทางวิชาการเทานั้น แตตองพัฒนาทักษะดานอ่ืนๆ เชน ดนตรี ศิลปะ กีฬา รวมท้ังคุณธรรม จริยธรรม ควบคูกันไปดวย ใหเปนทั้ง “คนเกง และคนดี” และคํานึงถึง ความตองการจําเปนท่ีแตกตางของผูเรียนแตละคน เพื่อเพ่ิมโอกาสในการศึกษาและเรียนรู และลด ความเหล่ือมลํ้าทางการศึกษาใหมากท่ีสุด สวนผูประกอบวิชาชีพครูและอาจารย ซึ่งจะเปนเบาหลอมท่ีสําคัญ ในการพัฒนาคุณลักษณะและทักษะของผูเรียน ตองเปนผูท่ีไดรับการบมเพาะผานทางกลไกและระบบ การผลิต คัดกรอง และพัฒนาที่มีคุณภาพ ซ่ึงประเด็นดังกลาวสอดคลองกับขอเสนอของกรรมาธิการ การศกึ ษาและการกีฬา สภานติ บิ ญั ญตั ิแหง ชาติ ท่ีมจี ุดเนนดา นการพฒั นาในประเด็นพฒั นาครแู ละบคุ ลากร ทั้งระบบ พัฒนาประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็ก พัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษา และพัฒนาระบบ การศึกษาตลอดชีวิต (สนช. ๒๕๖๐) รวมท้ังขอเสนอของคณะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย สภาปฏิรูปแหงชาติ (สปช. ๒๕๖๐) ท่ีไดเสนอขอเสนอการปฏิรูปการจัดการศึกษาใน ประเด็นตางๆ อาทิ การปฏิรูปโครงสรางและระบบการศึกษา การเตรียมการและการรับผูเขาเรียน การบริหารจัดการบุคลากรทางการศึกษา เปนตน ท้ังน้ี การดําเนินงานจะสําเร็จไดตองอาศัยความรวมมือ 28

๒๙ จากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เพื่อใหการศึกษาเปนกลไกใน การพฒั นาคน และพฒั นาชาติอยา งย่ังยนื ตอ ไป ๑.๓ ความสอดคลองกบั แผนยุทธศาสตรชาติและแผนแมบท เปา หมายของการปฏิรปู ประเทศดานการศกึ ษามีความสอดคลอ งกับแผนจํานวน ๓ แผน คอื ๑) รา งแผน ยุทธศาสตรช าติระยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ๒) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) และ ๓) แผนการศกึ ษาแหงชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) ดังรายละเอียดตอไปนี้ ๑. ความสอดคลองของการปฏิรูปประเทศดานการศึกษากับ (ราง) แผนยุทธศาสตรช าติระยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) การปฏิรูปประเทศดานการศึกษามีแนวทางสอดคลองและครอบคลุมทุกประเด็นของยุทธศาสตร ที่ ๓ การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ที่มุงพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปน คนดี เกง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพรอมท้ังกาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบดานและมี สุขภาวะท่ีดีในทุกชว งวยั มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสงั คมและผูอ่ืน มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินยั รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกตอง มีทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษท่ี ๒๑ มีทักษะ ส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี ๓ และอนุรักษภาษาทองถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรูและการพัฒนาตนเอง อยา งตอเน่ืองตลอดชวี ิต สกู ารเปนคนไทยท่ีมีทักษะสงู เปน นวัตกร นักคดิ ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหม และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง และสอดคลองกับยุทธศาสตรที่ ๔ การสรางโอกาส ความเสมอภาคทางสังคมในประเด็นของการสรา งโอกาสการเขาถึงบริการทางสังคมอยางทั่วถึง นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับยทุ ธศาสตรที่ ๒ การสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ ในประเด็นการพัฒนา ภาคผลิตและบริการ โดยยกระดบั การผลิตเพ่อื สรางมูลคาเพ่ิม การสรางผปู ระกอบการ เพ่ือพัฒนาประเทศ ไทยไปสปู ระเทศพฒั นาแลวดว ยนวัตกรรมและเทคโนโลยีแหงอนาคต ๒. ความสอดคลองของการปฏิรูปประเทศดานการศึกษากับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง ชาตฉิ บับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) การปฏิรูปประเทศดานการศึกษามีแนวทางสอดคลองและครอบคลุมยุทธศาสตรท่ี ๑ การเสรมิ สราง และพัฒนาศักยภาพทุนมนษุ ย ท่ีมีเปาหมายสรางคนไทยสว นใหญใหมีทัศนคติและพฤตกิ รรมตามบรรทัดฐานทด่ี ี ของสังคม คนในสังคมไทยทุกชวงวัยมีทักษะ ความรู และความสามารถเพ่ิมข้ึน คนไทยมีการศึกษาท่ีมี คุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความสามารถเรียนรูดวยตนเองอยางตอเน่ือง คนไทยมีสุขภาวะท่ีดีขึ้น และสถาบันทางสังคมมีความเขมแข็งและมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศเพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะสถาบัน ครอบครวั สถาบนั การศกึ ษา สถาบันทางศาสนา ชมุ ชน ส่ือมวลชน และภาคเอกชน นอกจากน้ีมีบางเปาหมายที่สอดคลองกับยุทธศาสตรท่ี ๒ การสรางความเปนธรรมและลดความ เหลื่อมล้ําในสังคม ท่ีมุงเพ่ิมโอกาสการเขาถึงบริการพ้ืนฐานทางสังคมของภาครัฐ และยุทธศาสตรท่ี ๓ การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางย่ังยนื ตามเปา หมายการเพิ่มผลิตภาพการผลิตของ ประเทศ ยุทธศาสตรท ี่ ๕ การเสรมิ สรางความม่นั คงแหงชาติเพื่อการพฒั นาประเทศสคู วามม่ังค่ังและย่งั ยนื ตามเปาหมายที่ใหประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใตมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินมีโอกาสใน การศึกษาและการประกอบอาชีพท่ีสรางรายไดเพ่ิมข้ึน รวมทั้งยุทธศาสตรท่ี ๘ การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วจิ ัย และนวตั กรรม ตามเปาหมายเพื่อเพิ่มความเขมแข็งดา นวิทยาศาสตรและเทคโนโลยขี องประเทศ 29

๓๐ ๓. ความสอดคลองของการปฏริ ูปดานการศึกษากบั แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) การปฏิรูปประเทศดานการศึกษามีแนวทางสอดคลองและครอบคลุมกับทุกยุทธศาสตรของ แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) ซ่ึงประกอบดวย ยุทธศาสตรท่ี ๑ การจัดการศึกษาเพ่ือ ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และ นวัตกรรมเพือ่ สรางขดี ความสามารถในการแขงขันของประเทศ ยุทธศาสตรท่ี ๓ การพฒั นาศักยภาพคนทุก ชวงวัยและการสรางสังคมแหงการเรียนรู ยุทธศาสตรท่ี ๔ การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความ เทา เทียมทางการศกึ ษา ยทุ ธศาสตรท ่ี ๖ การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศึกษา จากสภาวการณและแนวโนมที่จะเกิดข้ึนในอนาคต ประเทศไทยจําเปนตองไดรับการพัฒนาอยาง เรงดวน เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแขง ขันดานการศกึ ษาของประเทศไทยใหทดั เทยี มกบั นานาประเทศ ในการจัดทําแผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษาจึงไดดําเนินการใหมีความสอดคลองกับรางแผนยุทธศาสตร ชาติระยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) และแผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) นอกจากน้ี แผนการปฏิรูปประเทศดาน การศึกษายังมีขอบเขตการดําเนินการใหเกิดผลตาม มาตรา ๒๕๘ จ. ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกอบดวย (๑) การใหสามารถเรม่ิ ดําเนนิ การใหเด็กเล็กไดรบั การดูแลและพัฒนากอน เขารับการศึกษาตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพื่อใหเด็กเล็กไดรับการพัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาในสมกับวัยโดยไมเก็บคาใชจาย (๒) ใหดําเนินการตรากฎหมายเพ่ือจัดต้ังกองทุนตาม มาตรา ๕๔ วรรคหก ใหแลวเสร็จภายในหน่ึงปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญน้ี (๓) ใหมีกลไกและระบบ การผลิต คัดกรอง และพัฒนาผูประกอบวิชาชีพครูและอาจารย ใหไดผูมีจิตวิญญาณของความเปนครู มี ความรูความสามารถอยางแทจริง ไดรับคาตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการ สอน รวมทั้งมีกลไกสรา งระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผูประกอบวิชาชีพครู (๔) ปรับปรุงการ จัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือใหผูเรียนสามารถเรียนไดตามความถนัดและปรับปรุงโครงสรางของ หนวยงานทเ่ี ก่ียวของเพื่อบรรลเุ ปา หมายดังกลาว สอดคลอ งกันทัง้ ในระดบั ชาติและระดบั พนื้ ที่ ๑.๔ เปาหมายหรอื ผลอันพึงประสงคแ ละผลสัมฤทธ์ทิ คี่ าดวา จะเกดิ ข้ึนเมอ่ื ดาํ เนินการแลว เสรจ็ คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา กําหนดเร่ืองและประเดน็ การปฏิรูปไวทั้งส้ิน ๗ เรื่อง ประกอบดวย (๑) การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรูโดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติฉบับใหมและกฎหมายลําดับรอง (๒) การปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็กกอนวัยเรียน (๓) การปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมลํ้าทางการศกึ ษา (๔) การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และ พัฒนาผูประกอบวิชาชีพครูและอาจารย (๕) การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนอง การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ (๖) การปรบั โครงสรางของหนว ยงานในระบบการศึกษา เพอ่ื บรรลุเปาหมาย ในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน และ (๗) การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูโดยการพลิกโฉมดวย ระบบดจิ ิทัล ๑.๔.๑ วตั ถปุ ระสงครวม ในภาพรวมเชิงระบบของการปฏิรูป ๗ เร่ืองดังกลาว กําหนดวัตถุประสงคโดยรวมของการปฏิรูป การศึกษาไว ๔ ดานดังนี้ ๑. ยกระดบั คุณภาพของการจัดการศึกษา (enhance quality of education) ครอบคลมุ (๑.๑) ผลลัพธทางการศึกษาและการเรียน (learning outcomes) ท้ังดานความรู ทักษะ เจตคติท่ีถูกตอง และ รจู กั ดแู ลสขุ ภาพ เพื่อการจัดการในเรื่องการดํารงชวี ิตของตนเองและการใชชีวิตรวมกบั ผูอื่นตามเจตนารมณ 30

๓๑ ของรัฐธรรมนูญมาตรา ๕๔ วรรค ๔ (๑.๒) หลักสูตรและกระบวนการจัดการศึกษาและการเรียนรู (educational core processes) ท่ียืดหยุน หลากหลาย ถูกตอง ทันสมัย ทันเวลา และมุงเนนการสราง เสริมคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมทางสังคมท่ีถูกตอง และ (๑.๓) สถานศึกษาและระบบสนับสนุน (educational institutionsand support systems) ท่ีตอบสนองตอความตองการของการจัดการศึกษา ตลอดจนทรัพยากรดานการศึกษาที่มีคุณภาพ ไดแก ครูและบุคลากรทางการศึกษา งบประมาณและ เทคโนโลยี ๒. ลดความเหล่ือมล้ําทางการศึกษา (reduce disparity in education) เปนสวนหน่ึงของ การสรางความเสมอภาคทางการศึกษา (equity in education) ประกอบดวย (๒.๑) โอกาสในการเขาถึง การศึกษาและเทคโนโลยที ่ีสนับสนุนการเรียนรู (equity in access) (๒.๒) โอกาสในการไดรับทางเลือกใน การศึกษาและการเรียนรูพัฒนาท่ีเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน (equity in choosing appropriate process in education) และ (๒.๓) โอกาสในการไดรับประโยชนของการเรียนรูและพัฒนาทักษะใน การประกอบอาชีพเหมาะสมกับศักยภาพตามความถนัด ของผูเรียน (equity in benefiting from aptitude-based quality of education) ท้ังในและนอกระบบการศึกษา รวมถึงการเรียนรูตลอดชีวิต อยา งมีคณุ ภาพ ๓. มุงความเปนเลิศและสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ (leverage excellence and competitiveness) หมายถึง การสรางสมรรถนะและคุณลักษณะของผูเรียนที่มี ศักยภาพสูง มีความเปนผูนํา รเิ ริ่มสรางสรรคนวตั กรรมใหมๆ ผลิตนักวิจัยและนักเทคโนโลยีชน้ั แนวหนาให สามารถตอยอดงานวิจัยท่ีสามารถตอบโจทยการพัฒนาประเทศ การสรางความรวมมือและเชื่อมตอกับ สถาบันวิจัยอื่นๆ ท่ัวโลก สอดคลองกับทิศทางการขับเคล่ือนทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอมของ ประเทศ อีกท้ังสถาบันการศึกษาของไทยและระบบการศึกษาไทยตองไดรับการยอมรับวาเทียบเคียงไดกบั ประเทศช้ันนาํ อืน่ ๆ ๔. ปรับปรุงระบบการศึกษาใหมีประสิทธิภาพของการใชทรัพยากร เพ่ิมความคลองตัวใน การรองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษา และสรางเสริมธรรมาภิบาล (improve Efficiency, Agility and Good governance) โดยเฉพาะการสงเสริมและสรางสมดุลของความคุมคา ความโปรงใส ความรับผิดชอบ คุณธรรมและจริยธรรม ท้ังน้ีระบบการศึกษาของประเทศท่ีมีธรรมาภิบาลจะเอ้ือตอ การบรรลุตอวัตถุประสงคขอ ๑-๓ ขางตนอยางครอบคลุมและสมดุล (Balanced and inclusive achievement) ๑.๔.๒ เปาหมายรวมและตวั ชวี้ ดั แผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา ไดกําหนดเปาหมายรวมและตัวช้ีวัด ของการพัฒนา การศกึ ษาในแตล ะเรื่อง ดังน้ี เร่อื งท่ี ๑ : การปฏริ ูประบบการศกึ ษาและการเรียนรูโ ดยรวมของประเทศ โดยพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหงชาติ ฉบบั ใหมและกฎหมายลาํ ดบั รอง เปาหมายรวม ๑. ประเทศไทยมกี ารบงั คับใชกฎหมายที่เก่ยี วของกบั การศึกษาเปนกลไกสําคญั ตอ การบริหาร และจดั การศึกษาที่มปี ระสิทธภิ าพอยา งเหมาะสม สอดคลอ งกับ (ราง) พ.ร.บ. การศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. .... ๒. ภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และภาคเอกชนมีความรวมมือในการจัดการศึกษา อยา งสมดลุ และภาคเอกชนมีสว นรวมในการจัดการศึกษาในรูปแบบตางๆ เพ่มิ ขนึ้ 31

๓๒ ๓. คนไทยทุกชวงวัยสามารถเรียนรูตลอดชีวิตไดตามความตองการผานการจัดการศึกษา เพื่อการพัฒนาตนเองและการศึกษาเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต ผานชองทางตางๆ เพื่อใหเปนคนไทยท่ีมี ศักยภาพ ทกั ษะ และความเชี่ยวชาญเฉพาะดานตามความถนัด และสามารถเทียบมาตรฐานสมรรถนะไดต าม กรอบคณุ วฒุ วิ ิชาชีพ ๔. การศึกษาไทยมีทิศทางและการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพและเปนเอกภาพ ตามแผน การศกึ ษาแหง ชาติ เพือ่ ใหส ามารถยกระดบั คุณภาพ ลดความเหลื่อมลาํ้ และสามารถแขง ขนั ได ๕. สํานักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแหงชาติ เปนหนวยงานท่ีมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในระดับสูง เพื่อการดําเนินการตามหนาท่ีและอํานาจที่กําหนดไวใน (ราง) พ.ร.บ. การศึกษา แหง ชาติพ.ศ. .... ตวั ช้วี ดั ๑. กฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการศึกษาท่ีไดรับการจัดทํา ปรับปรุง แกไข ใหสอดคลองกับ พ.ร.บ. การศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. .... มผี ลบังคบั ใช (ภายใน ๒ ป) ๒. กฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาโดยภาคเอกชนและองคกรปกครองสว นทองถ่ิน ตามเปาหมายไดร ับการแกไ ขหรอื ปรบั ปรงุ ครบถว นตามท่รี ะบไุ วต ามเปา หมายระยะส้ัน ๓. สัดสวนของการจัดการศึกษาในระดับตางๆ โดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน หรือ ภาคเอกชน หรือโดยความรวมมือระหวางรัฐ กับองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือภาคเอกชนท้ังในดาน สัดสวนของจํานวนผูเรียน จํานวนสถานศึกษา และมูลคาของทรัพยากรท่ีใชเ พื่อสนับสนุนการจดั การศกึ ษา เพิ่มขน้ึ อยางมีนยั สาํ คัญตามเปาหมายระยะสัน้ ๔. มีการพัฒนาดัชนีการศึกษาเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิตของระบบการศึกษาไทย และผลการ ดาํ เนินการตามดชั นีมรี ะดับเพ่มิ ข้นึ อยางมีนัยสําคัญ ๕. การศึกษาไทยมีทิศทางและการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพและเปนเอกภาพ ตามแผนการศึกษาแหงชาติ เพอื่ ใหส ามารถยกระดับคุณภาพ ลดความเหล่อื มลํ้า และสามารถแขง ขนั ได ๖. แผนการศึกษาแหงชาติ (ฉบับปรับปรุง) ที่มีความสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ พ.ร.บ. การศึกษา แหงชาติ พ.ศ. .... ปจจัยดานความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม ความกาวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ของประเทศและของโลก สถานการณการศึกษาของประเทศ ยุทธศาสตรชาติ และแผนปฏิรูปประเทศ และ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ไดรับความเหน็ ชอบและมผี ลบงั คับใช (ภายในป พ.ศ. ๒๕๖๓) ๗. ความสอดคลองของแผนระดับตางๆ ของสวนราชการท่ีเกี่ยวของกับการศึกษา (ภายในป พ.ศ. ๒๕๖๕) ๘. มีการจัดต้งั สาํ นกั งานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแหง ชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ืองที่ ๒ : การปฏิรปู การพัฒนาเด็กเลก็ และเด็กกอนวัยเรียน เปา หมายรวม ๑. เด็กปฐมวัย ท้ังเด็กกลุมท่ัวไป และกลุมท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษ สามารถเขาถึง และ ไดร ับการดแู ลและการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั อยา งเหมาะสม มคี ณุ ภาพ ทว่ั ถงึ และเทาเทียมกัน รวมถึงมรี ะบบ คัดเลือกเด็กเขาเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ และการจัดการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับชวงวัย มีระบบ ฐานขอ มูลทเ่ี ออ้ื ตอ การดูแลทีเ่ ชอ่ื มโยงกนั ไดร ะหวา งหนวยงาน และมกี ารพฒั นาบุคลากรทีเ่ กีย่ วขอ ง มกี ลไก ขบั เคลอ่ื นและบรู ณาการการทาํ งานระหวา งกระทรวงและหนว ยงานทีเ่ ก่ยี วของใหส อดคลอ ง เปน เอกภาพ 32

๓๓ ๒. พอ แม ผูปกครอง และบุคลากรท่ีเก่ยี วของไดร บั ปรบั เปลีย่ นกรอบคิด (Mindset) เก่ียวกับ ความรคู วามเขาใจท่ีถูกตอ งในการเตรียมความพรอมกอนการต้งั ครรภ การเลีย้ งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตวั ช้วี ดั ๑. รอยละของเด็กปฐมวยั ท่สี ามารถเขาถึงและไดรับการดแู ลและการศกึ ษาระดับปฐมวัยอยา ง เหมาะสม มีคณุ ภาพ ทว่ั ถึง และเทาเทียมกนั ๒. รอยละของพอแมท่ีไดรับการพัฒนาบทบาทการเปนพอแม และการเตรียมความพรอม กอ นต้งั ครรภ ๓. รอยละของพอ แม ผปู กครองท่มี คี วามรคู วามเขา ใจท่ถี กู ตอ งในการเลยี้ งดู ดแู ล และพฒั นา เดก็ ปฐมวัย เรื่องที่ ๓ : การปฏริ ปู เพื่อลดความเหล่อื มลํ้าทางการศึกษา เปาหมายรวม ๑. เดก็ เยาวชน และประชาชน ท่ขี าดแคลนทุนทรพั ยหรือดอยโอกาส ทุกคนมคี วามเสมอภาค ในโอกาสพัฒนาตนเองตามศักยภาพและเขาถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ รวมถึงเสริมสรางพัฒนาครูและ สถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพและคุณภาพ ตลอดจนวิจัยพัฒนาองคความรูท่ีนําไปใชไดจริงเพ่ือยกระดับ ความสามารถของคนไทยไดอยางย่งั ยืน ๒. บุคคลพิการ บุคคลท่มี คี วามสามารถพิเศษ และบคุ คลท่มี ีความตองการการดูแลเปนพิเศษ ไดรับการพฒั นาอยา งท่วั ถงึ เต็มศกั ยภาพ และสามารถดาํ รงชีวิต อยใู นสังคมไดอ ยางมคี วามสุขและมีศกั ดิศ์ รี ๓. โรงเรยี นขนาดเล็กในพื้นที่หางไกลและโรงเรยี นขนาดกลางท่ีตองการการยกระดับคณุ ภาพ ของการจัดการศึกษาอยา งเรงดวน ไดร ับการแกปญหาอยางเปน ระบบ ๔. ครู บุคลากรทางการศึกษา ไดรับเงินเดือน คาตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน เกื้อกูลอ่นื ทเ่ี หมาะสม โดยใหค าํ นงึ ถงึ การปฏบิ ัติงานทมี่ ีความยากลําบาก หรอื การปฏบิ ัติงานในพ้นื ที่ที่เส่ียงภัย หรือหางไกล ๕. ครูและผูเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กในพ้ืนท่ีหางไกลและโรงเรียนขนาดกลางท่ีตองการ การยกระดับคณุ ภาพของการจดั การศึกษาอยา งเรงดว นสามารถเขาถงึ การสนับสนุนทางวิชาการไดอยางเพียงพอ ตวั ชว้ี ัด ๑. รอยละผูขาดแคลนทุนทรพั ยและดอยโอกาสในระบบการศึกษาท่ีไดรับการอุดหนุนเงินทุน เพ่ือบรรเทาอุปสรรคการเขาถึงการศึกษาที่สอดคลองกับความจําเปนรายบุคคลจนสําเร็จการศึกษาและ การพฒั นาไดเ ต็มตามศักยภาพ ๒. รอยละของเด็กเล็กในครอบครัวท่ีขาดแคลนทุนทรัพย หรือมีลักษณะเฉพาะไดรับ การอุดหนนุ ใหสามารถดูแลเด็กเล็กไดดี มีพัฒนาการสมวยั และมคี วามพรอมเขาสรู ะบบการศึกษา (School Readiness) ๓. สัดสวนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไดร ับโอกาสการเขาสูการศึกษามัธยมศึกษา ตอนปลาย /ปวช.-ปวส. ของเยาวชนในครอบครวั ทีม่ ฐี านะยากจนเพ่ิมขน้ึ ๔. อตั ราการเขาเรยี นสุทธิระดับกอนวยั เรียน ๑) รอยละ ๘๐ ภายใน ๓ ป ๒) รอ ยละ ๙๐ ภายใน ๑๐ ป 33

๓๔ ๕. อัตราการเขาเรยี นสทุ ธิระดับประถมศกึ ษา ๑) รอยละ ๙๕ ภายใน ๓ ป ๒) รอ ยละ ๙๙ ภายใน ๑๐ ป ๖. อตั ราการเขาเรยี นสุทธิระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ๑) รอ ยละ ๙๐ ภายใน ๓ ป ๒) รอยละ ๙๕ ภายใน ๑๐ ป ๗. ดัชนีการพัฒนามนุษย (Human Development Index) ของประเทศไทย ดัชนีการพัฒนา คุณภาพทรัพยากรมนุษยของประเทศไทยจากการประชมุ เวทเี ศรษฐกิจโลก (The World Economic Forum: WEF) และตวั ชี้วัดทางการศึกษาของเปาหมายการพฒั นาทยี่ ั่งยืนของโลก (SDG4) ของประเทศไทยมีแนวโนม ดีข้นึ สกู ารบรรลุเปาหมายในป ๒๐๓๐ ๘. การจัดสรรงบประมาณดานศึกษาของประเทศเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (Equity-based budgeting) มีสัดสว นไมต ํ่ากวา รอยละ ๕ ภายใน ๓ ป ๙. ระบบฐานขอมลู ขนาดใหญ (Big Data) ท่ีเชื่อมโยงและบูรณาการ ๖ กระทรวง ๑) ครอบคลุมขอมูลเด็กเยาวชนผูขาดแคลนทุนทรัพยและดอยโอกาสมากกวารอยละ ๗๕ ของประเทศภายใน ๓ ป ๒) ครอบคลุมขอมูลเด็กเยาวชนผูขาดแคลนทุนทรัพยและดอยโอกาสมากกวารอยละ ๙๐ ของประเทศภายใน ๑๐ ป ๑๐. ความครอบคลุมของระบบคัดกรองและกลไกการคัดกรองบุคคลที่มีความบกพรองตาง ๆ บคุ คลทม่ี คี วามสามารถพิเศษและบคุ คลที่มคี วามตองการการดแู ลเปน พิเศษ ๑๑. รอยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาที่เก่ียวของท่ีมีความเขาใจเกี่ยวกบั การจัดการศกึ ษา สําหรับบคุ คลพิการ บุคคลผมู ีความสามารถพิเศษ และบุคคลท่ีมีความตอ งการการดแู ลเปน พเิ ศษ ๑๒. จํานวนผูเรียนทไี่ ดร ับการคัดกรอง วนิ ิจฉยั สงตอ และชว ยเหลือ ๑๓. ความกาวหนาของการดําเนินการตามขอเสนอแนะตอรัฐบาลวาดวยยุทธศาสตร เพ่ือแกป ญ หาโรงเรียนขนาดเลก็ ในพืน้ ที่หา งไกล ๑๔. ความกาวหนาของการดําเนินการตามขอเสนอแนะเพื่อแกปญหาโรงเรียนขนาดกลาง ท่ีตอ งการการยกระดบั คุณภาพของการจดั การศึกษาอยา งเรง ดว นอยางเปน ระบบ ๑๕. รอยละของสถานศึกษาท่ีเปน กลุมเปาหมายไดร บั การพฒั นาคณุ ภาพ ๑๖. จํานวนครูทีไ่ ดร ับการบรรจุและแตงต้ัง กระจายตัวออกไปในพน้ื ที่ท่ีมีความขาดแคลนครู ๑๗. อัตราการยายออกของครใู นพนื้ ที่หา งไกลนอยลง ๑๘. จํานวนครูและผูเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กในพ้ืนที่หางไกลและโรงเรียนขนาดกลาง ที่สามารถเขา ถึงการสนับสนนุ ทางวชิ าการ เร่ืองที่ ๔ : การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผูประกอบวิชาชีพครูและอาจารย เปา หมายรวม ๑. มีแผนการผลิตและพัฒนาครูตามความตองการของประเทศ (demand-side financing) โดยมีวัตถุประสงคเพอื่ คัดกรองผูท ี่มคี ุณสมบัติเหมาะสม สนับสนุนทุนการศึกษา คัดเลือกสถาบันการศกึ ษา ที่มีคุณภาพในการผลิตครูเพื่อใหผูรับทุนเขาศึกษา เพ่ือใหไดครูที่มีสมรรถนะตรงกับความตองการของ ประเทศ ดาํ เนินการโดยสํานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ในระยะเวลาอยา งนอย ๑๐ ป 34

๓๕ ๒. ไดครูสมรรถนะสูงและตรงตามความตองการของประเทศ ท่ีจบการศึกษาจากสถาบันท่ใี ช หลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีทําใหนิสิตนักศกึ ษาครูมีความศรัทธาตอวิชาชีพครู มีจติ วิญญาณของความเปนครู มีความรูความสามารถอยางแทจริง ไดรับประสบการณด านวิชาชีพครูและการนิเทศที่มีประสิทธิภาพอยา ง ตอ เนอื่ งตลอดหลกั สตู ร ๓. ไดครูอาชีวศึกษาที่มีจิตวิญญาณความเปนครู มีสมรรถนะสูง มีความเช่ียวชาญในการจัด การเรียนการสอน ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ัติ ๔. ครู บุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาความรูและทักษะ และสมรรถนะในการปฏิบัติ หนา ท่ีของตนอยางตอเน่ือง เพอ่ื ความกา วหนาทางวชิ าชพี ดวยระบบและวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม ในการพัฒนาแตละกลุม โดยคํานึงถึงการปฏิบัติงานในพนื้ ทีห่ างไกล เส่ยี งภัย ยากลําบาก และทุรกันดารให ไดร ับความสะดวกในการพฒั นา ๕. ครู บุคลากรทางการศึกษา มีความกาวหนาในการประกอบอาชีพ ไดรับคาตอบแทนท่ี เหมาะสมกับความสามารถ ประสิทธิภาพในการสอน และผลลัพธในการพัฒนาผูเรียน โดยคํานึงถึง ผูป ฏบิ ัติงานในพ้ืนที่หางไกล เส่ยี งภยั ยากลาํ บาก และทรุ กันดาร ๖. ผูบริหารสถานศึกษามีคุณสมบัติ สมรรถนะ และความรูความเช่ียวชาญ ประสบการณ และจัดหรือสนบั สนุนใหผูบริหารสถานศึกษาไดรบั การพัฒนาความรู สมรรถนะ และประสบการณท่ีจําเปน สําหรับการปฏิบัติหนาที่ รวมไปถึงการพัฒนาผูท่ีมีโอกาสจะไดรับการคัดเลือกหรือสรรหาเปนผูบริหาร สถานศกึ ษาและผทู ่ีไมผา นการประเมนิ ๗. ใหคุรุสภาเปนองคกรวิชาชีพครูท่ีมีหนาท่ีกําหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของ วิชาชีพ ควบคุมความประพฤติและการดําเนินงานของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมท้ังสงเสริม สนับสนนุ ยกยอง และผดุงเกยี รติผูประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ๘. ใหระบบงานในการบริหารครูและบุคลากรทางการศึกษาภาครัฐ เปนระบบที่มี การดําเนินการเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล มีความคลองตัว มีการกระจายอํานาจท่ีเหมาะสมเอื้อตอ การบริหารสถานศึกษาทมี่ คี วามเปนอิสระ ตวั ชวี้ ดั ๑. การจัดสรรเงินในแผนการผลิตและพัฒนาครูของประเทศไทย เปนไปตามเปาหมาย การดําเนนิ งานของแผน อยา งนอ ยรอยละ ๘๐ ๒. ผลการสบื คนขอมูลครจู ากระบบขอมูลครู (Teacher Data System) เพือ่ นํามาใชพ ยากรณ ขอมูลการผลิต การใช และการคาดการณอัตรากําลังครูในสาขาที่ขาดแคลน มีความนาเช่ือถือและถูกตอง สอดคลอ งกบั สภาพการณจ ริง อยางนอ ยรอ ยละ ๘๐ ๓. จํานวนสถาบนั การผลติ ครูมีการนํากรอบมาตรฐานสมรรถนะของวิชาชีพครแู ละมาตรฐาน สมรรถนะของวชิ าชพี ครอู าชีวศึกษามาใชในการจดั ทาํ หลกั สตู รการผลิตครู อยางนอ ยรอยละ ๘๐ ๔. จํานวนสถาบันการผลิตครูมีการนําหลักสูตรการผลิตครูไปใช โดยปรับใหสอดคลองกับ บรบิ ทของแตล ะสถาบันการศกึ ษา รอ ยละ ๑๐๐ ๕. จาํ นวนอาจารยท ่ีสอนในสถาบันทม่ี กี ารผลติ ครู มคี ุณสมบัติตามเกณฑท ีก่ าํ หนด ๖. จํานวนการผลิตและพัฒนาครู บุคลากรดานการศึกษาพิเศษท่ีครอบคลุมทั้งกลุมพิการ กลุม ผูมคี วามสามารถพเิ ศษ และกลมุ ที่มีความตอ งการการดูแลเปน พิเศษ ๗. รอยละของสถานศึกษาหรือสถานประกอบกิจการมีผูเช่ียวชาญหรือผูมีประสบการณดาน การปฏิบัติมาเปน ครฝู กอาชวี ศึกษา 35

๓๖ ๘. รอยละของครูอาชีวศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติ และมีโอกาสเรียนรูในสถาน ประกอบการจริง ๙. รอยละของครูและบุคลากรทางการศึกษามีแผนในการพัฒนาทางวิชาชีพที่เหมาะสม ๑๐. รอยละของครูและผูบริหารที่ผานเกณฑการพัฒนาดวยระบบ National Professional Teacher Platform (NPTP) ๑๑. จาํ นวนศูนยฝก อบรมและพฒั นาครอู าชีวศกึ ษา ในแตล ะภูมิภาค ๑๒. รอยละ ๘๐ ของจํานวนครูท่ัวประเทศท่ีเขารวมมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขับเคลื่อน เครอื ขายครู National Professional Teacher Platform (NPTP) ๑๓. รอยละของผูบริหารสถานศึกษาที่ผานการประเมินมาตรฐานสมรรถนะหลักและ มาตรฐานการปฏบิ ัติงานของผบู ริหาร ๑๔. ดัชนีการปฏิบัติหนา ท่ีของครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรฐานและจรยิ ธรรมวชิ าชพี ๑๕. อตั ราการผลิตครเู ปนไปตามตามแผนอัตรากําลังที่วิเคราะหจ ากระบบขอมลู ครู ๑๖. อตั ราการบรรจุขาราชการครตู ามความตองการจําเปนของพืน้ ที่ ๑๗. ดัชนีความเชื่อมั่นของขาราชการครูในเรื่องความกาวหนาทางวิชาชีพอยางเปนธรรม บนผลลัพธท่ีเกิดขึ้นกับผูเรียน และระบบการเลื่อนวิทยฐานะเปนไปอยางถูกตองเปนธรรม ตอบสนอง การพัฒนาของผเู รยี น ๑๘. ดัชนีความเชื่อมั่นในระบบสวัสดิการของครูและบุคลากรทางการศึกษาในดาน ประสิทธิภาพ สจุ ริต โปรงใส เปนธรรมและทว่ั ถึง ๑๙. ดัชนีการออมและการใชจ ายของครตู ามแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง เรือ่ งท่ี ๕ : การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ เปา หมายรวม ๑. การจัดการศึกษาทุกระดับใชหลักสูตรที่เปนหลักสูตรฐานสมรรถนะ และแนวทางการจัด การเรยี นรเู ชงิ รกุ และการวดั ประเมินผลเพอื่ พฒั นาผูเรยี น ๒. ผูเรียนไดรับการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อเปนคนดีของสังคม มีวินัยและภูมิใจ ในชาติ ๓. มีระบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติที่ไดรับการปรับปรุงใหสามารถประเมินคุณภาพ การศึกษาเพื่อใชประโยชนในการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาอยางมีสัมฤทธ์ิผล และมีแนวทางใน การคดั เลือกผเู รยี นเขา ศกึ ษาตอ ดวยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เพอ่ื ลดความเหลือ่ มลํ้าทางการศึกษา ๔. สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล โดยมี การสงเสริมใหเ กิดการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องและไดรับการสนับสนุนท่ีเหมาะสมกับบริบทเพื่อพฒั นา คุณภาพการจัดการศึกษาทุกระดับตามปรัชญาและเปาหมายของสถานศึกษาและมีระบบความรับผิดชอบ ทางการศกึ ษา (Educational Accountability) บนพ้ืนฐานสมรรถนะหลักของผูเรยี น ๕. สถานศึกษาระดับตางๆ มีระบบคุมครองดานความปลอดภัย สุขภาพ และสวัสดิภาพอยาง เหมาะสม ๖. เพิ่มจํานวนผูเรียนอาชีวศึกษาในสาขาท่ีสอดคลองกับความตองการของภาคเอกชนและ ประเทศ และผจู บอาชีวศึกษามีงานทํา 36

๓๗ ๗. ผูเรียนอาชีวศึกษามีความรู ทกั ษะ เกง ปฏบิ ัติ มสี มรรถนะเปน ทย่ี อมรับ หรือผานการศกึ ษา อาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี และการฝกงานในสถานประกอบการ ๘. ผูเรยี นท่จี บการศกึ ษาอาชวี ศกึ ษามีความสามารถทจี่ ะเปนผปู ระกอบการไดเ อง ๙. บัณฑิตในระดับอุดมศึกษามีสมรรถนะสอดคลอ งกับความตองการของตลาดแรงงาน เพิ่ม การผลติ ในสาขาทปี่ ระเทศตอ งการ และลดการผลิตบณั ฑติ ในสาขาท่ีไมต รงกับความตองการของตลาด ๑๐. สถาบันอุดมศึกษาของไทยสามารถตอบสนองความตองการของประเทศไปในอนาคต ทั้งในดานการพฒั นาคน การวิจัย และสรา งสรรคนวัตกรรม ตลอดจนทาํ ใหสถาบันอดุ มศึกษาไทยสามารถปรับตวั และแขงขันไดใ นโลก หรือเปน สถาบนั ท่ีสามารถสนับสนุนการพัฒนาชมุ ชนและสงั คมไดอยา งมปี ระสทิ ธิผล ๑๑. ลดปญหาความเหล่ือมลํ้าทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเปดโอกาสใหผูที่มี ศกั ยภาพในการเรยี นในระดับอุดมศกึ ษา สามารถเขาเรยี นในสาขาทต่ี นถนดั ไดอ ยางเตม็ ศกั ยภาพ ๑๒. เพ่ิมประสิทธิภาพของการใชงบประมาณของรัฐในการสนับสนุนการจัดการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาของประเทศ รวมถงึ ปรับปรุงธรรมาภิบาลในการจัดการระบบอุดมศึกษาและธรรมาภิบาล ภายในสถาบันอุดมศึกษา ใหการจัดการมีความรับผิดชอบ ความโปรงใส ตรวจสอบไดและสง เสริมการมสี วนรวม อยา งเหมาะสม ๑๓. มสี ถาบนั หลักสูตรและการเรยี นรูแหงชาติเปนหนวยงานของรัฐทีไ่ มเ ปนสวนราชการหรือ รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวธิ ีการงบประมาณหรอื กฎหมายอื่น เปนหนวยงานที่ไมแสวงหาผลกําไร ทําหนาที่เปนองคกรกลางในการพัฒนาหลักสูตร วิธีการจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผล ในระดับ การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน รวมทั้งการจัดทํา สง เสรมิ สนบั สนุนการนําหลกั สูตรไปใช ตลอดจนตดิ ตามผล ตัวชว้ี ดั ๑. หลกั สูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. .... เปนหลักสูตรฐานสมรรถนะซึง่ กาํ หนดความชัดเจน เกี่ยวกับสมรรถนะหลักที่คาดหวังในแตละระดับการศึกษาของผูเรยี น กําหนดโครงสรางเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนเพิม่ เติม และรูปแบบการตัดสินผลการเรียนรายวชิ าของกลมุ สาระการเรียนรู ๒. จํานวนครูทมี่ ีสมรรถนะในการจัดการเรียนรูเชิงรุก แนวทางการจัดการเรียนรูเชิงรกุ และ การวัดประเมนิ ผลเพ่อื พฒั นาผูเรียนใหม ุงเนน สมรรถนะ รวมถึงแนวทางการพัฒนาผเู รยี นใหเ ปนคนดี มีวนิ ยั และภมู ิใจในชาติ ๓. รปู แบบการเกดิ ปญ หาอาชญากรรม และปญหาทจุ ริตประพฤตมิ ชิ อบในสงั คมไทย ๔. ระบบการทดสอบระดับชาติท่ีสามารถประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาที่ตรงตาม เปาหมายของหลักสูตรฐานสมรรถนะ ๕. วิธีการจัดสรรโอกาสและการคัดเลือกผูเรียนเขาศึกษาตอท่ีหลากหลาย มีความเปนธรรม และสามารถลดความเหล่ือมลํา้ ทางการศกึ ษา ๖. รอยละของสถานศึกษาที่มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเน่ือง สรางความเช่ือม่ัน ใหแ กผูมสี ว นเก่ียวของ และสาธารณชนวา สามารถจัดการศึกษาไดอ ยางมคี ุณภาพ และบรรลเุ ปา ประสงคใน การพัฒนาผเู รียนใหมคี ุณภาพ ๗. รอยละของสถานศึกษาท่ีมีระบบคุมครองผเู รยี น ทั้งดา นความปลอดภยั สุขภาพ และสวสั ดิภาพ ๘. อตั ราสว นผเู รยี นอาชวี ศกึ ษาเทียบกับผูเรยี นสามญั ศึกษาสูงขึ้น ๙. รอ ยละของผเู รียนอาชีวศึกษาท่เี รียนในระบบทวภิ าคีในสถานประกอบการที่มมี าตรฐานเพิ่มขึ้น ๑๐. รอยละของสถานประกอบการ ท่ีมีความพึงพอใจตอสมรรถนะของผูสําเร็จการศึกษา ระดับอาชีวศกึ ษา 37

๓๘ ๑๑. รอยละของสถาบนั การศึกษาท่จี ัดการศึกษารปู แบบทวิภาคี/หลักสตู รโรงเรยี นในโรงงาน ตามมาตรฐานทีก่ ําหนดเพ่มิ ข้ึน ๑๒. อัตราการไดงานทํา/ประกอบอาชีพอิสระของผูสําเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษา และ ระดบั อุดมศกึ ษา (ไมนบั ศึกษาตอ) ภายในระยะเวลา ๑ ป เพม่ิ ขนึ้ ๑๓. มกี ารประกาศใชพระราชกฤษฎีกาจดั ต้ังสถาบันหลกั สตู รและการเรยี นรูแ หง ชาติ เรื่องท่ี ๖ : การปรับโครงสรางของหนว ยงานในระบบการศกึ ษา เพ่ือบรรลเุ ปาหมายในการปรับปรงุ การจัด การเรยี นการสอนและยกระดบั คุณภาพของการจัดการศกึ ษา เปาหมายรวม ๑. สถานศึกษาของรัฐมีความเปนอิสระและมีธรรมาภิบาลในการบริหารและจัดการศึกษา ครอบคลุมดานการบริหารวิชาการ ดานการบริหารงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคลากร ดานการ บรหิ ารงานทว่ั ไป และมีความรับผดิ ชอบตอคณุ ภาพของการจัดการศกึ ษา ๒. ผูเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพ เหมาะสมสอดคลองกับ อตั ลกั ษณของชุมชนและพนื้ ท่ี ๓. มีการเรียนรูและขยายผลของนวัตกรรมท่ีไดจากพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาสูการจัด การศึกษาในพื้นทอี่ ืน่ ๆ ๔. กระทรวงศกึ ษาธิการมีโครงสรา งท่ีแบง แยกหนา ทีแ่ ละอาํ นาจเพือ่ รองรับรปู แบบใหมท่ีแยก ความรับผิดชอบในดานนโยบาย (Policy) ดานกํากับดูแลสงเสริม (Regulator) ดานการสนับสนุนตางๆ (Supporter) และดานการดําเนนิ การหรือการปฏิบัติการ (Operator) มุงเนนการกระจายอํานาจ ธรรมาภิบาล รับผดิ ชอบตอการสนับสนุนสถานศึกษาและมีบทบาท หนา ทแี่ ละอาํ นาจสอดคลอ งกับบทบัญญัตใิ นกฎหมาย วา ดว ยการศกึ ษาแหง ชาติ ตัวช้วี ดั ๑. จํานวนสถานศึกษาท่ีมีความเปนอิสระในการบริหารและจัดการศึกษาท่ีดําเนินการไดจริง ตามหลักเกณฑท ีก่ าํ หนด ๒. รอยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มข้ึน สอดคลองกับเปาหมายของพื้นท่ี นวัตกรรมการศกึ ษา ๓. จํานวนเรอ่ื งของนวัตกรรมการศึกษาดานตางๆ ท่ีมีการขยายผลมาสูพ้ืนที่อ่ืนๆ หรือนํามา ประยุกตใชใ นระดบั ประเทศ ๔. มีการปรบั โครงสรางกระทรวงศึกษาธกิ าร ภายในกรอบเวลาที่กําหนด เร่ืองที่ ๗ : การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูโดยการพลิกโฉมดวยระบบดิจิทัล (Digitalizationfor Educational and Learning Reform) เปาหมายรวม ๑. เพ่ือพัฒนาระบบดิจิทัลแพลตฟอรมเพื่อการเรียนรูแหงชาติ (National Digital Learning Platform) ในการปรบั เปลย่ี นระบบการศึกษา สรางคุณภาพ ลดความเหลอ่ื มลํา้ และสรา งความสามารถใน การแขงขัน เพื่อใหกาวกระโดดทันกับพัฒนาการในโลก ตามแผนยุทธศาสตรชาติในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย โดยมเี ปา หมายจาํ เพาะ ดังน้ี 38

๓๙ (๑) เพื่อใชประโยชนจากแหลงขอมูลความรูต างๆ ที่มีอยูและจะมีการสรางขน้ึ ตอไป ทั้งใน ประเทศ และตางประเทศ ใหสามารถใชประโยชนไดอยางกวางขวางและทั่วถึง ท้ังเปนที่รวบรวมขอมูลส่ือ การเรียนรูเดมิ ที่มอี ยูแ ลว (๒) เปนกลไกในการรวบรวม คัดกรอง พัฒนาส่ือการเรียนรูที่มีคุณภาพ ใหอยูในรูปแบบท่ี สามารถใชป ระโยชนไ ดอยา งกวางขวาง และท่ัวถงึ ตลอดจนมกี ลไกในการเขา ถึงและคดั เลอื กส่งิ ที่ตองการไดโ ดยงา ย (๓) เปน เวทีทีม่ กี ารเขา มาแลกเปล่ยี นเรียนรูในลักษณะชุมชน นําไปสูการเปด โอกาสใหทุกคน เขามาเรียนซ่ึงจะลดความเหลื่อมล้ํา และนําแหลงขอมูลสื่อการเรียนรูใหมเขามาได และมีการแลกเปลี่ยน เรียนรกู นั ตลอดจนเปน เวทีทีม่ กี ารใหบ รกิ ารเพือ่ การเรยี นรู (service) ตา งๆ (๔) เพ่ือเรงรัดแกปญหาความเหล่ือมล้ําและสรางเสริมคุณภาพการศึกษา ท้ังระบบ การศึกษาโดยเฉพาะอยา งยิ่งสําหรบั ผูที่อยูในทองถน่ิ หา งไกล หรือผดู อยโอกาส หรือผทู ีม่ คี วามจําเปน พิเศษ อนั เปนการสรา งพลังใหก บั ผูเรียน ครู และโรงเรยี น (๕) เพ่ือพัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา ใหสามารถปรับบทบาทใหเปน ผูอํานวยการเรียนรู (facilitator) โดยเนนใหผูเรียนมีวิธีหาความรูในโลกแหงความรูอันมากมายมหาศาล ใหเทาทันกับความเปลย่ี นแปลงของยุคดิจทิ ลั ในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. มีระบบขอมูลและสารสนเทศเพอื่ การบริหารจัดการระบบการศึกษา ครอบคลุมการจัดทํา ขอมูลรายบุคคลของผูเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษา หนวยงาน และกระบวนการที่ เก่ียวขอ งในทุกระดบั การศึกษาและทุกระบบการศกึ ษา ๓. คนไทยมีความฉลาดรู มีความเขาใจ สามารถตัดสินใจและตอบสนองตอการใชส่ือและระบบ ดิจทิ ัลไดอยางเหมาะสมในแตล ะชวงวยั ตัวชีว้ ัด ๑. แพลตฟอรมการเรียนรูดวยดิจิทัลที่เกิดจากการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในลักษณะ Social Enterprise และคนทุกชวงวัยนําไปใชอยางแพรหลาย เกิดเครือขายทั่วประเทศและนําไปสูการ เรียนรตู ลอดชวี ิตและการยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของคนไทยไปสูส ากล ๒. รอ ยละความสาํ เร็จของฐานขอ มลู กลางดา นการศึกษา ครอบคลมุ อยางนอยในเรอ่ื งตอไปนี้ ๑) ฐานขอมลู รายบุคคลนักเรียน นกั ศกึ ษาและผูเรยี น ๒) ฐานขอมูลรายบุคคลครู คณาจารยแ ละบุคลากรทางการศึกษา ๓) ฐานขอ มลู รายบุคคลขาราชการพลเรือนและบุคลากรอื่น ๔) ฐานขอ มลู ทะเบียนสถานศกึ ษาและหนวยงานทางการศกึ ษา ๕) ฐานขอ มูลรายบุคคลผูส าํ เร็จการศึกษา ๖) ฐานขอ มูลหลักสตู ร ๗) ฐานขอ มลู ดา นงบประมาณของหนว ยงานทเ่ี กีย่ วของ ๘) ฐานขอ มูลครุภณั ฑแ ละสงิ่ กอสรา ง ๙) ฐานขอมูลดานทุนการศึกษา ๑๐) ฐานขอมลู เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการศึกษา ๑๑) ฐานขอ มลู แผนงานโครงการและงบประมาณการศึกษา ๑๒) ฐานขอมูลความสมั พันธร ะหวางประเทศดา นการศกึ ษา ๓. รอยละของคนไทยมีระดับสมรรถนะดานดิจิทัลและการรูเทาทันสื่ออยูในระดับดีมาก เหมาะสมสาํ หรับแตล ะชวงวยั 39

๔๐ ๑๑๕ ลา นบาท ๑.๕ วงเงนิ และแหลงเงนิ ๒,๖๓๐ ลานบาท ๑.๕.๑ วงเงินรวมท้งั สิ้น ๑๐๗,๐๖๖.๗ ลานบาท ประกอบดว ย ๘๙,๔๑๐.๐ ลา นบาท  เรอ่ื งที่ ๑ : การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรยี นรูโดยรวม ๗,๓๐๓.๕ ลา นบาท ของประเทศ โดยพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง ชาติ ๖,๒๕๖.๕ ลา นบาท ฉบับใหมแ ละกฎหมายลําดบั รอง  เรือ่ งท่ี ๒ : การปฏริ ูปการพฒั นาเดก็ เล็กและเด็กกอนวยั เรียน ๑๗๓.๕ ลานบาท  เรอื่ งที่ ๓ : การปฏิรูปเพอื่ ลดความเหล่อื มล้าํ ทางการศึกษา  เรอ่ื งท่ี ๔ : การปฏิรูปกลไกและระบบการผลติ คัดกรอง และ ๑,๑๗๘.๒ ลา นบาท พัฒนาผูประกอบวิชาชพี ครูและอาจารย  เรอ่ื งที่ ๕ : การปฏิรปู การจดั การเรียนการสอนเพื่อตอบสนอง การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑  เรื่องที่ ๖ : การปรับโครงสรางของหนวยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลเุ ปา หมายในการปรับปรงุ การจดั การเรียน การสอน  เรื่องที่ ๗ : การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรโู ดยการพลกิ โฉม ดวยระบบดิจทิ ัล ๑.๕.๒ แหลง เงนิ จากงบประมาณแผนดนิ 40

ส่วนท่ี ๒ เรือ่ งและประเดน็ ปฏริ ปู 41

42

๔๓ เร่ืองและประเดน็ การปฏริ ปู ที่ ๑ : การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรูโดยรวมของประเทศ โดยพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง ชาติฉบบั ใหมและกฎหมายลําดับรอง ประเด็นการปฏิรูปที่ ๑.๑ : การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. .... และมีการทบทวน จัดทาํ แกไ ข และปรับปรงุ กฎหมายท่เี กี่ยวของ ๑. เปา หมายหรือผลอันพึงประสงคแ ละผลสัมฤทธ์ิ เปา หมายรวม ประเทศไทยมีการบังคับใชกฎหมายที่เก่ียวของกับการศึกษาเปนกลไกสําคัญตอการบริหาร และจดั การศึกษาทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพอยา งเหมาะสม สอดคลอ งกบั (ราง) พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. .... เปาหมายเรง ดว น มกี ารจัดทํา แกไข และปรับปรงุ (ราง) กฎหมายลําดับรองทมี่ ีความสาํ คัญเรง ดวนทส่ี ดุ และ เรง ดว นใหสอดคลองกบั (ราง) พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. .... ท่มี กี ารกาํ หนดดาํ เนนิ การภายใน ๑ ป เปาหมายระยะส้นั มีการจัดทํา แกไข และปรับปรุง (ราง) กฎหมายลําดับรองที่มีความสําคัญ และ (ราง) พ.ร.บ. การศกึ ษาภาคบังคับ พ.ศ. .... ใหส อดคลองกับ (รา ง) พ.ร.บ. การศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. ....ทม่ี ีการกําหนด ดําเนนิ การภายใน ๒ ป เปาหมายระยะกลาง - ระยะยาว - ๒. กรอบระยะเวลาในการดําเนินการ ระยะเรง ดว น ภายในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒ ระยะสน้ั ภายในป ๒๕๖๔ ๓. ตัวช้วี ดั กฎหมายที่เกี่ยวของกับการศึกษาที่ไดรับการจัดทํา ปรับปรุง แกไข ใหสอดคลองกับ พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. .... มีผลบงั คับใช (ภายใน ๒ ป) ๔. วงเงนิ และแหลงเงนิ ๑๐ ลานบาท หรือ ใหเปนไปตามความจําเปนเพื่อดําเนินการใหบรรลุตามเปาหมายขางตน เพอ่ื ศกึ ษารายละเอียด รบั ฟงความคดิ เหน็ และจดั ทํารางกฎหมาย 43

๔๔ ๕. ขัน้ ตอนการดําเนินการ แผนการปฏิรปู ประเทศดานการศกึ ษา เรอ่ื งท่ี ๑ : การปฏริ ปู ระบบการศกึ ษาและการเรียนรูโดยรวมของประเทศ โดยพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาตฉิ บบั ใหม และกฎหมายลาํ ดบั รอง ประเด็นปฏริ ปู ท่ี ๑.๑ : การมพี ระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. .... และมีการทบทวน จัดทํา แกไข และปรบั ปรงุ กฎหมายท่เี ก่ียวขอ ง ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) วงเงิน กจิ กรรม ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผรู บั ผดิ ชอบ ลา น เปาหมาย ตวั ชว้ี ดั ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ บาท แหลง เงนิ กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ ง กับการศึกษาท่ีไดร ับ กจิ กรรม ศธ. (สกศ. ๑๐ งบประมาณ ประเทศไทยมี การจดั ทํา ปรับปรุง การจัดทาํ แกไข และปรับปรงุ สป.) แผน ดิน การบงั คับใช แกไข กฎหมาย ใหสอดคลอ งกับ กฎหมายท่ี ใหส อดคลองกบั พ.ร.บ. การศึกษาแหง ชาติ เก่ยี วของกับ พ.ร.บ. การศกึ ษา พ.ศ. .... การศึกษาเปน มผี ลบังคับใช กลไกสําคญั ตอ การบริหารและ มี (รา ง) กฎหมาย 44 จดั การศึกษาที่มี ลําดับรองทม่ี ี ความสาํ คญั เรงดวน วธิ ีการ ประสิทธิภาพ มี (รา ง) กฎหมายลาํ ดับ รองที่มีความสําคญั ๑) ยกรางกฎหมายลําดบั รอง ศธ. (สกศ. เรงดว น ทีม่ ีความสําคัญเรงดว นท่สี ุด สป.) รับฟง ความคิดเหน็ และเสนอ รา งกฎหมายฯ ๒) ยกรางกฎหมายลําดบั รอง ศธ. (สกศ. ที่มีความสําคัญเรง ดวน รบั ฟง สป.) ความคิดเหน็ และเสนอราง กฎหมายฯ

๔๕ แผนการปฏริ ูปประเทศดานการศกึ ษา เรื่องที่ ๑ : การปฏริ ปู ระบบการศกึ ษาและการเรยี นรโู ดยรวมของประเทศ โดยพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหงชาตฉิ บบั ใหม และกฎหมายลาํ ดบั รอง ประเด็นปฏริ ูปท่ี ๑.๑ : การมีพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. .... และมกี ารทบทวน จัดทาํ แกไข และปรบั ปรงุ กฎหมายท่ีเกีย่ วขอ ง ระยะเวลา (พ.ศ./ไตรมาส) วงเงนิ กจิ กรรม ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ผรู บั ผดิ ชอบ ลา น เปาหมาย ตวั ชว้ี ดั ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ ๑ ๒ ๓ ๔ บาท แหลง เงนิ (รา ง) กฎหมายลาํ ดบั รองทีม่ ีความสําคญั ๓) ยกรางกฎหมายลําดบั รอง ศธ. (สกศ. และ(ราง) พ.ร.บ. ทีม่ ีความสาํ คัญและ พ.ร.บ. สป. สพฐ.) การศกึ ษาภาคบังคบั การศึกษาภาคบังคับ พ.ศ .... อปท. พ.ศ. .... ไดร บั ความ รับฟงความคิดเห็น และเสนอ เห็นชอบ และมผี ล รา งกฎหมายลาํ ดบั รองทีม่ ี บังคบั ใช ความสาํ คญั 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook