Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Brands SO(O-NET)

Brands SO(O-NET)

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-12-09 03:41:57

Description: Brands SO(O-NET)

Search

Read the Text Version

ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร การนบั ศกั ราชแบบไทย ในอดตี ประเทศไทยเคยใชศ ักราชแบบตางๆ ดังนี้ ¾ มหาศกั ราช (ม.ศ.) - เปน การนับแบบโบราณทรี่ ับมาจากอนิ เดีย - เร่มิ ใชใ นอินเดีย ภายหลงั พทุ ธศักราช 621 ป - เผยแพรเขา มาสูสุวรรณภูมผิ า นทางพวกพราหมณและพอ คา - ในไทยพบการใช ม.ศ. มากในศิลาจารึกสมัยสโุ ขทยั และศลิ าจารึกเกา ๆ ¾ จลุ ศกั ราช (จ.ศ.) - เปนการนับแบบศกั ราชทร่ี บั มาจากพมา - การนบั จุลศักราชเร่มิ นับหลังพทุ ธศักราช 1181 ป - ในไทยพบในพงศาวดารลา นนา สโุ ขทัย อยธุ ยา และรัตนโกสนิ ทรต อนตน ¾ รตั นโกสนิ ทรศก (ร.ศ.) - เปน การนับศกั ราชทใ่ี ชเฉพาะในไทย - เริ่มนบั ร.ศ. 1 เมอื่ ป พ.ศ. 2325 ซึ่งเปนปทีส่ ถาปนากรุงรตั นโกสินทร - ไทยเริม่ ใชการนบั แบบ ร.ศ. ในสมยั รัชกาลท่ี 5 และรัชกาลท่ี 6 เปลี่ยนไปใชการนับพุทธศักราชแทน ¾ พุทธศักราช (พ.ศ.) - เปนการนบั ศกั ราชทางพระพุทธศาสนา - ในไทยยดึ หลกั การนับ พ.ศ. 1 เมือ่ พระพทุ ธเจาปรนิ พิ พานไปแลว 1 ป (ในบางประเทศ) เชน พมา และ ศรลี งั กา นบั ปท ปี่ รนิ พิ พานเปน พ.ศ. 1 - ในไทยมีการใช พ.ศ. มาต้งั แตสมัยพระนารายณ แตใชแ พรหลายอยา งเปน ทางการในสมัยรชั กาลที่ 6 ต้งั แต พ.ศ. 2455 สังคมศึกษา (2) _______________________________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010

การนับศกั ราชแบบสากล ¾ ครสิ ศักราช (ค.ศ.) เรมิ่ นับเมื่อพระเยซูประสตู ิ นับเปน ครสิ ตศ กั ราช 1 (ค.ศ. 1) หรอื A.D. 1 - “A.D.” ยอ มาจากคําวา “Anno Domini” หมายถึง “In the year of the Lord” หรอื “ปแหง พระเจา ” - “B.C.” ซง่ึ ยอมาจากคําวา “Before Christ” (กอ นพระเยซปู ระสูต)ิ - การนบั ค.ศ. เลขปจ ะเพิ่มเรอื่ ยๆ เชน 1, 2, 3, ..., 200, ..., 1560, ..., 2010, ... ¾ ฮจิ เราะหศ ักราช (ฮ.ศ.) เปน ศักราชของศาสนาอสิ ลาม เริม่ นับ ฮ.ศ. 1 ในปท ่ีพระนบี มฮู มั หมัดศาสดา ของศาสนาหนอี อกจากเมืองเมกกะหไปยงั เมอื งเมดินะ ตรงกับ 1123 หลักเกณฑก ารเทยี บศักราช พ.ศ. - 621 = ม.ศ. พ.ศ. - 1181 = จ.ศ. ม.ศ. + 621 = พ.ศ. พ.ศ. - 2324 = ร.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. - 543 = ค.ศ. ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. พ.ศ. - 1122 = ฮ.ศ. ค.ศ. + 543 = พ.ศ. ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ. หลกั เกณฑก ารแบง ยคุ สมัยทางประวัติศาสตร ยคุ สมัยทางประวัติศาสตรของไทย แบงเปน 2 สมยั 1. สมยั กอนประวตั ศิ าสตร หมายถึง ยังไมปรากฎหลักฐานเปน ลายลกั ษณอักษร ไดแ ก ยคุ ลักษณะเดน แหลงโบราณคดี 1. หินเกา (700,000–10,000 ป) ¾ พบเครอื่ งมือหนิ กรวดกะเทาะ ¾ บา นแมทะ บานดอนมลู (ลาํ ปาง) 2. หนิ กลาง (10,000 – 4,300 ป) หยาบๆ บา นเกา (กาญจนบรุ ี) เชยี งแสน (เชียงราย) 3. หนิ ใหม (4,300 – 2,000 ป) ¾ พบเครือ่ งมอื หินกะเทาะที่ ¾ ถา้ํ ผี (แมฮองสอน) ประณีตขึ้นและเลก็ ลง ภาชนะดิน ถ้ําไทรโยค (กาญจนบุรี) เผา (ผิวเกล้ยี ง มลี ายเชอื กทาบ) กระดูกสัตว ¾ บานเกา (กาญจนบรุ ี) ¾ รูจักเพาะปลูก เล้ยี งสตั ว บา นเชยี ง (อุดรธานี) ¾ พบเครอ่ื งมือหนิ ขดั (ผิวเรยี บ บา นโนนนกทา (ขอนแกน) มดี า นคม อกี ดานมน) พาชนะ ดนิ เผาชนดิ สามขา (คลา ยกบั ที่พบ ในยคุ หินใหมท ต่ี าํ บลลุงชานของจนี ) โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010 ________________________________ สังคมศกึ ษา (3)

ยคุ ลักษณะเดน แหลงโบราณคดี 4. สําริด (3,500 – 2,500 ป) ¾ นาํ ทองแดงมาผสมดีบกุ = สําริด ¾ บา นโคกพลบั (ราชบุรี) 5. เหลก็ (2,500 ป) ¾ พบเคร่อื งมือเครอื่ งใชสาํ รดิ บานนาดี เครือ่ งประดับ อาวธุ เชน ขวาน บานเชยี ง (อดุ รธานี) มีด กลองสาํ ริด กําไร แหวนสําริด ¾ รจู กั ถลงุ เหล็ก พบเครือ่ งใชที่ แขง็ แรงทนทานกวาสาํ ริด ¾ พบเครื่องประดบั ทีท่ าํ ดวยแกว ¾ บานดอนตาเพชร (กาญจนบรุ )ี เชน ตุม หู ลูกปดทีบ่ านดอนตา บา นกานเหลอื ง (อบุ ลราชธาน)ี เพชร (กาญจนบุรี) แสดงถึงความ อ.โนนสูง (นครราชสมี า) เจริญระดับสูงที่รจู กั ทาํ เครอ่ื งใช ในชวงกอ นประวัติศาสตร 2. สมยั ประวัตศิ าสตรข องไทย มีการคนพบศิลาจารกึ ทแ่ี กท ีส่ ุด ที่ปราสาทเขานอย อาํ เภออรัญประเทศ จงั หวัดสระแกว จดั ทาํ ข้นึ เม่ือ ประมาณ พ.ศ. 1180 (พทุ ธศตวรรษที่ 12) จารึกเปนอักษรปลลวะของอนิ เดยี โบราณ ซ่งึ นกั ประวตั ศิ าสตรไ ทยใหความเหน็ วา ควรนับตัง้ แตการประดิษฐตัวอกั ษรไทยของพอ ขุนรามคาํ แหง พ.ศ. 1826 ตามหลกั ศิลาจารึกหลกั ที่ 1 โดยแบงตามยุคประวตั ศิ าสตร ไดเปน 3 ลกั ษณะ ดังน้ี 1. แบงตามอาณาจกั รหรอื ราชธานี ไดแก สมยั สุโขทยั สมัยอยุธยา สมยั ธนบุรี และสมยั รตั นโกสินทร 2. แบงตามลักษณะการปกครอง แบงได 2 สมยั คอื สมยั สมบูรณาญาสทิ ธิราชยและสมยั ประชาธปิ ไตย 3. แบงตามแนวประวัติศาสตรสากล แบงได 3 สมัย ¾ สมัยโบราณ เรมิ่ กอนสมัยสุโขทัย จนสิ้นรัชกาลที่ 3 แหงกรุงรตั นโกสินทร ¾ สมัยใหม หรอื สมยั ปรับปรุงประเทศ ต้ังแตร ัชกาลที่ 4 เม่อื ไทยเรมิ่ รบั อารยธรรมตะวันตก จนถงึ พ.ศ. 2475 ¾ สมยั ปจ จุบนั เรมิ่ ตงั้ แตก ารเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปจจบุ ัน ยุคสมยั ทางประวัติศาสตรสากล สมัยประวัตศิ าสตรของชาติตะวันตก เรมิ่ ตนเม่ือชนชาวสเุ มเรยี น (Sumerian) ท่อี าศัยอยูในชุมชนของตนที่ เรียกวา “ซเู มอร” (Sumer) แถบลมุ แมน้าํ ไทกรสิ (Tigris) และยูเฟรติส (Euphrates) หรอื ดนิ แดนเมโสโปเตเมยี (Mesopotamia) ซ่ึงเปน ประเทศอิรกั ในปจจุบนั ไดประดษิ ฐต วั อกั ษรของตนขน้ึ เพ่ือใชบนั ทึกเร่ืองราวตางๆ เมอ่ื ประมาณ 3,500 ปก อ นครสิ ตศ ักราช ประวัติศาสตรของชาตติ ะวันตก แบงออกเปน 4 สมยั 1. สมยั โบราณ ประมาณ 3,500 ป กอ นคริสตศกั ราช จนถึง ค.ศ. 476 2. สมัยกลาง อยใู นชวงป ค.ศ. 476 - ค.ศ.1492 3. สมยั ใหม เรมิ่ ในป ค.ศ. 1492 - ค.ศ.1945 4. สมัยปจ จุบัน เรมิ่ ตง้ั แต ค.ศ. 1945 จนถึงปจ จบุ นั (รวมสมัย) สังคมศกึ ษา (4) _______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

การเปรียบเทียบยุคสมยั ระหวา งประวัตศิ าสตรส ากลกบั ไทย ประวตั ิศาสตรส ากล ประวัติศาสตรไทย สมยั โบราณ สมยั โบราณหรอื สมัยกอนสุโขทัย ¾ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี ¾ อาณาจกั รลงั กาสุกะ (พทุ ธศตวรรษท่ี 7-14) ¾ อารยธรรมอียปิ ต ¾ อาณาจักรทวาราวดี (พุทธศตวรรษท่ี 11-16) ¾ อารยธรรมกรีก ¾ อาณาจักรโยนกเชียงแสน (พุทธศตวรรษท่ี 12-19) ¾ อารยธรรมโรมนั ¾ อาณาจกั รตามพรลิงค (พุทธศตวรรษที่ 13-18) สนิ้ สุดสมัยโบราณเม่อื ค.ศ. 476 (พ.ศ. 1019) สมยั กลาง ค.ศ. 476-1492 (พ.ศ. 1019-2035) สมยั สุโขทยั (พ.ศ. 1792-1981) ¾ จักรวรรดโิ รมันตะวนั ออกหรือ จกั รวรรดิไบ- สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893-2310) เซนไทน สน้ิ สดุ ค.ศ. 1453 (พ.ศ. 1996) (สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 1991-2031) ¾ การสรางอาณาจักรคริสเตยี น (Christendom) ¾ การปกครองในระบบฟว ดลั (Feudalism) ¾ การฟน ฟเู มืองและการคา ¾ การฟน ฟูศิลปวิทยาการ ¾ การคนพบทวีปอเมรกิ า โดยครสิ โตเฟอร โคลัมบสั ค.ศ. 1492 สมัยใหม ค.ศ. 1492-1945 (พ.ศ. 2035-2488) สมัยธนบรุ ี (พ.ศ. 2310-2325) ¾ การสํารวจทางทะเล สมัยรตั นโกสินทร (พ.ศ. 2325-ปจจุบัน) ¾ การปฏวิ ตั ิวิทยาศาสตร ¾ สมยั รตั นโกสินทรต อนตน ¾ การปฏิวัติอตุ สาหกรรม ¾ ยุคปรบั ปรุงประเทศ ¾ การปฏิวัตฝิ ร่งั เศส ¾ เปล่ียนแปลงการปกครองเปนระบอบประชาธิปไตย ¾ จกั รวรรดินิยม สิ้นสดุ สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 พ.ศ. 2488 ¾ สงครามโลกครั้งท่ี 1-2 สนิ้ สุดสมัยใหม ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) สมัยปจจบุ ัน / รว มสมยั ค.ศ. 1945 (พ.ศ. ¾ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ภมู พิ ลอดุลยเดช- 2488-ปจจบุ นั ) มหาราช (พ.ศ. 2489-ปจ จุบัน) ¾ สงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991 (พ.ศ. 2488- 2534) ¾ ยุคเทคโนโลยีการสื่อสาร โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 ________________________________ สังคมศกึ ษา (5)

วธิ ีการทางประวัติศาสตรและการศึกษาประวตั ิศาสตรสากล วิธีการทางประวัตศิ าสตร (Historical Method) วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร (Historical Method) คอื กระบวนการศึกษาประวัติศาสตรเ พอ่ื ใหไดค วามรใู หม ทเ่ี ปน จรงิ โดยปราศจากอคติ โดยเร่ิมต้งั แตก ารคน ควาหาหลักฐาน การวเิ คราะหหลกั ฐานหรือขอ มูลและการ นาํ เสนอขอ มูลอยา งมีเหตผุ ล เปนตน ขน้ั ตอนของวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร มี 5 ข้ันตอน ดังนี้ 1. การตัง้ หวั ขอที่จะศึกษา คอื การกาํ หนดหวั ขอ เรอ่ื งทจ่ี ะศกึ ษา เปนการกําหนดเปา หมายท่จี ะศึกษาให ชดั เจน จะศกึ ษาเรอ่ื งอะไร เพราะเหตุใดจึงตอ งศกึ ษา 2. การรวบรวมหลกั ฐาน คือ การสาํ รวจ รวบรวมหลกั ฐานในหวั ขอทตี่ นเองตอ งการศกึ ษา วามมี ากนอย เพียงใดทง้ั หลักฐานช้ันตน (ปฐมภมู )ิ และหลักฐานข้นั รอง (ทุติยภมู )ิ หลกั ฐานชั้นตนมคี วามสําคญั มากกวาหลักฐาน ช้ันรอง แตหลกั ฐานช้นั รองใหประโยชนในลกั ษณะเปนจุดเริ่มตนทด่ี ี 3. การวเิ คราะหและประเมินคุณคาของหลักฐาน เรยี กวา “วพิ ากษวิธีทางประวตั ศิ าสตร” มี 2 ลักษณะ คอื ¾ การวพิ ากษห ลักฐานภายนอก หรือการวเิ คราะหและประเมนิ คุณคาภายนอก โดยวเิ คราะหว า เปน ของจรงิ หรือของปลอม เชน เปนบันทึกขอเขยี นของบุคคลสําคัญผูนน้ั จริงหรอื ไม ¾ การวพิ ากษห ลักฐานภายใน หรอื การวิเคราะหแ ละประเมนิ คณุ คา ภายใน คือ การตรวจสอบเน้ือหา ของหลกั ฐานวา มคี วามนา เชือ่ ถอื ไดม ากนอยเพียงใด และจะใหขอ มลู อะไรแกผคู น ควา ไดบ าง โดยเนน ตรวจสอบ หลกั ฐานในดา นเวลา สถานท่ี และบคุ คล 4. การเลือกสรรและจดั ความสัมพันธของขอมลู คือ การตคี วามหมายจากหลักฐาน เปนชัน้ ท่นี ํา หลักฐานมาวเิ คราะหต ีความหมาย ใหเ ขา ใจวาหลกั ฐานน้ันบอกใหเราทราบขอ มลู หรือเรือ่ งราวอะไร 5. การนาํ เสนอขอ มูล หรอื การสังเคราะหขอ มลู คอื การนําเสนอขอ มูล ท่ีผานกระบวนการขา งตนแลว นาํ มาจัดระเบียบ โดยวเิ คราะหเ พ่ือแยกแยะเปนประเดน็ หรอื หัวขอ ยอ ยๆ เพื่อวางโครงเรื่อง เรยี บเรยี ง และ นาํ เสนอ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร หลกั ฐานทางประวัติศาสตร คอื รอ งรอยการกระทาํ ของมนุษยใ นอดีต เปน ส่ิงท่ีนาํ มาใชเพ่ือศึกษาคน ควา ความจรงิ ในอดตี ประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรไทย แบงเปน 2 ลกั ษณะ 1. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรไทยท่ีเปนลายลกั ษณ ¾ จารึก เปน หลักฐานทีเ่ กา แกทีส่ ดุ ของประเทศไทยและถอื เปนหลกั ฐานชั้นตน ¾ พงศาวดาร จดบันทึกเรือ่ งราวของกษัตริย ตามลาํ ดับเหตกุ ารณ เริม่ มตี ั้งแตส มยั อยุธยา เชน พงศาวดาร ฉบบั กรงุ เกา ฉบบั หลวงประเสริฐ เขยี นในสมเด็จพระนารายณ ¾ ตํานาน เปนเรื่องราวในอดตี ทเ่ี กี่ยวกบั ประวตั บิ คุ คลเลา ตอกนั มา เชน ตํานานสงิ หนวตั ิ ฯลฯ ¾ จดหมายเหตุ มลี ักษณะคลายพงศาวดาร แตจะบนั ทกึ เพียงเหตกุ ารณเดยี ว ผบู ันทกึ อยใู น เหตกุ ารณน ้ัน จดั เปน ชัน้ ตน ไดแก จดหมายเหตุหลวง จดหมายเหตขุ องชาวตา งชาติ ¾ หนงั สอื ราชการ หรือ เอกสารการปกครอง เชน ใบบอก ตราสาร หนังสือกระทรวง รายงานการ ประชมุ สังคมศึกษา (6) _______________________________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010

2. หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไทยท่ไี มเ ปนลายลักษณอ ักษร ¾ หลักฐานทางดา นสถาปตยกรรม ประติมากรรม และจติ รกรรม เปนผลงานทีเ่ กิดจากความ ศรัทธาที่มีผลตอศาสนา เชน ปราสาทหนิ โบสถ วิหาร งานหลอ ปนพระพทุ ธรปู ¾ หลกั ฐานทางดา นนาฎศิลป ดนตรี และเพลงพื้นบา น เปน ศิลปวัฒนธรรมีถ่ ายทอดสบื ทอดตอ กัน มาในอดตี เชน ลิเก ละครนอก หลกั ฐานทางประวัติศาสตรข องชาติตะวนั ตก สมยั โบราณ หลักฐานทางประวตั ิศาสตรของชาติตะวนั ตก สมัยโบราณ มดี งั น้ี 1. หลกั ฐานประเภทลายลกั ษณอ กั ษร เชน ¾ อักษรเฮยี โรกลีฟก (Hieroglyphic) หรืออกั ษรภาพ ของชาวอียปิ ตโบราณ ¾ อกั ษรคูนิฟอรม (Cuneiform) หรืออกั ษรรปู ลิม่ ของชาวสุเมเรียน ¾ ตวั อกั ษรทดี่ ดั แปลงจากตัวอักษรของอียปิ ตแ ละสุเมเรียน ไดแ ก ตัวอักษรฟนเิ ซยี น ตัวอกั ษรกรกี และตัวอักษรโรมนั ซง่ึ ตอมาชาวโรมนั ไดพัฒนามาเปนตวั อักษรภาษาองั กฤษ (Alphabet) 2. งานเขยี นประวัตศิ าสตรส มัยกรกี ระยะแรกเรอ่ื งราวความสมั พันธระหวางเทพเจากบั มนษุ ย เชน มหากาพย อีเลยี ต (Iliad) และโอดีสซี (Odyssey) ของโฮเมอร (Homer) และประวัติศาสตรส งครามเปอรเ ซีย (History of Persian War) ของเฮโรโดตุล (Herodotus) เปน ตน 3. งานเขยี นประวัตศิ าสตรสมยั โรมนั คือ ลิวี (Livy) บรรยายความเจริญรงุ เรืองของจกั รวรรดโิ รมัน ทาํ ใหคนรุนปจจุบนั ไดทราบถึงสภาพการเมืองการปกครองจกั รวรรดโิ รมัน หลักฐานทางประวตั ิศาสตรข องชาติตะวนั ตกสมยั กลาง 1. งานเขียนสะทอ นถงึ ความศรัทธาทม่ี ีตอครสิ ตศ าสนา เกี่ยวขอ งกับครสิ ตศ าสนา เปน ตน โดยใชภ าษา ลาตนิ (Latin) ผลงานท่มี ชี อื่ เสียง คอื ¾ หนงั สือชอื่ “เทวนคร” (The City of God) ของนักบุญออกุสตนิ (St. Augustine) ¾ หนังสอื ชือ่ “ประวัตศิ าสตรข องพวกแฟรงก” (History of the Franks) แตงโดยบาทหลวงเกรกอรี แหง เมอื งตูร (Gregory of Tours) 2. งานเขียนประเภทบนั ทกึ เหตุการณสําคญั ท่เี รยี กวา แอนนัล (Annals) เรมิ่ มีข้นึ ในสมัยครสิ ตศ ตวรรษ ท่ี 9 โดยบาทหลวงเปนผจู ดบนั ทึกเหตุการณส าํ คัญท่เี กิดในแตละป มีลกั ษณะเปนขอเทจ็ จริงลว นๆ ไมมกี ารแสดง ความคิดเห็นของผจู ดบันทึกแตอ ยางไร จงึ นบั วาเปน หลกั ฐานชั้นตน ทม่ี ีคณุ คา โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010 ________________________________ สังคมศึกษา (7)

วิวัฒนาการของประวัติศาสตรไ ทย ถนิ่ เดิมของชนชาตไิ ทย 1. แนวคดิ เกี่ยวกบั ถนิ่ เดิมของชนชาติไทย ¾ แถบเทือกเขาอัลไต (จนี ตอนบน) (ดร.วลิ เลียม คลิฟตนั ดอดด, ขุนวจิ ติ รมาตรา) ความรใู หม (ความนาเช่อื ถอื : มีนอ ย) - สภาพภมู ปิ ระเทศและภูมิอากาศแถบเทอื กเขาอลั ไต - หลักฐานเร่ืองคําในภาษา มีความนาเชือ่ ถือนอยไป ¾ แถบมณฑลเสฉวน (จนี ตอนกลาง) (แตเรยี ง เดอ ลากูเปอรี หลวงวิจิตรวาทการ พระยาอนมุ าน- ราชธน) ความรใู หม (ความนา เชอ่ื ถือ : มีนอ ย) - การตคี วามเรอ่ื งความคลา ยคลงึ ดานภาษาเปนเหตผุ ลทมี่ นี ํ้าหนกั นอยเกินไป - หลักฐานทยี่ ืนยนั วาไมใ ชชนชาตไิ ทย ¾ แถบมณฑลยนู นาน กวางสี และกวา งตงุ (จีนตอนใต) รวมถงึ ตอนบนของภาคพื้นเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตใ นเวียดนาม - ลาว - พมา - ไทย และรัฐอสั สมั ในอินเดีย (อารซบิ ลั อาร คอลนู , วลิ เลี่ยม เจ เกดนีย) ความรใู หม (ความนาเชอ่ื ถือ : มีมาก) - เปนท่ยี อมรบั มากกวาแนวคดิ อืน่ และปจ จบุ นั ก็พบกลมุ ชนทีพ่ ูดภาษาตระกลู ไทในแถบจีนตอนใต มีจาํ นวนมาก (คนไทยจงึ ถอื เปนชนกลุมยอยของชนชาตไิ ทย) - เรอ่ื งอาณาจักรนา นเจาใชถ น่ิ เดิมของคนไทหรอื ไม นาจะเปนไปไดวากษตั รยิ นา นเจา มเี ช้ือสายไท แตเร่ืองมองโกลรุกรานไท ไมใชส าเหตุท่ีทําใหค นไทตอ งอพยพลงใต แตค นไทไดอ พยพมากอ นหนา นั้นแลว ¾ แถบคาบสมทุ รมลายู และหมูเ กาะอนิ โดนีเซยี รธู เบเนดิท (Ruth Benedit), น.พ.ประเวศ วะสี, น.พ.สมศกั ดิ์ พนั ธสุ มบญุ ความรูใหม (ความนา เชอ่ื ถอื : มนี อ ย) - หลักฐานยืนยันทฤษฎนี ี้มีนอ ย และขดั แยงกบั ขอเทจ็ จริง เชน หลักการเคลอื่ นยา ยทาง วฒั นธรรม ¾ ในดินแดนประเทศไทยในปจ จุบนั (ศ.ชิน อยดู ี, ศ.สดุ แสงวเิ ชียร) ความรูใหม (ความนาเชื่อถอื : มีนอ ย) หลักฐานยนื ยันทฤษฎนี ี้มีนอย คนไทยนา จะอพยพมาภายหลงั 2. พัฒนาการจากแควนเปนอาณาจกั รโบราณในดนิ แดนประเทศไทย ¾ สวุ รรณภูมิ (พทุ ธศตวรรษท่ี 3-6) สนั นษิ ฐานวา เปนแควน แรกในเอเชียตะวันออกเฉยี งใตท พ่ี ฒั นา จากชุมชนสมัยกอ นประวัตศิ าสตรเปน เมอื งสมยั ประวัตศิ าสตร อนิ เดยี เรียกดินแดนตะวันออกเฉียงใตว า สวุ รรณภูมิ หมายถึง แผน ดนิ ทองคํา สังคมศกึ ษา (8) _______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

ความเจรญิ ทางอารยธรรม - ศาสนา มีรูปเคารพในศาสนาพราหมณฮนิ ดู และศาสนาพุทธ - เศรษฐกจิ อนิ เดยี นําเครอ่ื งประดับหินและแกว โดยเฉพาะลูกปด มาคาขาย ¾ ฟูนัน (พุทธศตวรรษที่ 7, 8-10) ศนู ยก ลางอาจอยทู ่ลี ุมแมน ํา้ เจาพระยา หรอื อาจจะอยทู างใตข อง เขมรในปจ จบุ นั ความเจรญิ ทางอารยธรรม - วฒั นธรรม คลา ยอนิ เดยี เชน พธิ ีฝงศพ ลูกปด ของทท่ี ําจากงาชา ง ¾ ทวาราวดี (พทุ ธศตวรรษท่ี 12-16) ศูนยก ลางอาจอยูท ่นี ครปฐม สุพรรณบรุ ี ลพบรุ ี ชื่อทวาราวดี นามาจาก คําวา โถ-โล-โป-ติ สันนิษฐานวา ชาวทวาราวดีนา จะเปนชาวมอญ (พบภาษามอญสวนใหญ) และเส่อื มลง เมอ่ื ขอมขยายอทิ ธิพลเขามา ความเจรญิ ทางอารยธรรม - วัฒนธรรม รับวฒั นธรรมจากอินเดียแลว ผสมผสานเปนเอกลักษณข องตนเอง - สงั คมเศรษฐกจิ เนน การเกษตร มกี ารคาขายกับดินแดนอ่ืน เชน อนิ เดีย จนี เปอรเซีย ¾ ละโว (ลพบุรี) (พทุ ธศตวรรษที่ 12-17) - ศูนยกลางอาจอยูแถบลมุ แมน้าํ ลพบรุ ี สนิ้ สุดเมื่อรวมเขากบั แควน อโยธยา และใกลเ คยี งกบั ชว ง ทอ่ี าณาจักรเขมรสนิ้ สดุ ลง ความเจริญทางอารยธรรม - วัฒนธรรม มวี ฒั นธรรมทวาราวดีผสมกบั วฒั นธรรมขอม - การปกครอง ชวงแรกเนน เทวราชาและลทั ธิอวตาร (อิทธิพลจากขอม) ชวงหลงั เนน ธรรมราชา (อิทธพิ ลจากศาสนาพุทธนกิ ายเถรวาท) - ศาสนา ชวงแรกนบั ถอื ศาสนาพราหมณ ตอ มานบั ถอื ศาสนาพุทธนกิ ายเถรวาท - ศลิ ปะ (สถาปต ยกรรม) นยิ มสรา งพระพุทธรปู ศิลาขนาดใหญ รูปธรรมจกั ร (ประติมากรรม) ภาพปูนปน แสดงวถิ ชี ีวิตของคนในสงั คม สรา งพระปรางคส ามยอด ปราสาทหินพมิ าย บาราย หรือสระนา้ํ ขนาด ใหญ อโรคยศาลาหรือโรงพยาบาล ธรรมศาลาหรอื ที่พักผูแ สวงบุญ - ประตมิ ากรรม พระพุทธรปู ปางนาคปรก ¾ หรภิ ญุ ชัย (พุทธศตวรรษที่ 17-19) ผูกอ ตัง้ คือ พระนางจามเทวี ธดิ าเจาเมืองละโว ศนู ยก ลางอยู ที่ลาํ พนู (บริเวณทีล่ ุมแมน ้าํ ปง และวงั หรอื แองท่รี าบเชียงใหม ลําพนู ) มเี มอื งรอง คือ เมืองเขลางค (ลําปาง) ส้นิ สุดเมอ่ื รวมกบั แควนโยนก แลว พัฒนามาเปนอาณาจักรลา นนาในสมยั พระยามังราย (ศนู ยก ลางอยทู เ่ี ชยี งใหม) ความเจรญิ ทางอารยธรรม - ศาสนา นับถือศาสนาพทุ ธนิกายเถรวาทตามแบบลพบุรี - ศิลปะ (สถาปตยกรรม) พระธาตหุ ริภุญชัย จ.ลําพนู ศิลปะแบบลงั กา - ประตมิ ากรรม เครื่องปน ดินเผา ¾ ศรวี ิชยั (พทุ ธศตวรรษท่ี 13-18) ศนู ยก ลางอาจอยูท่ีเมืองไชยา จ. สุราษฎรธ านี หรือเมอื งปาเล็มบัง บนเกาะสมุ าตรา อนิ โดนเี ซยี โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010 ________________________________ สงั คมศึกษา (9)

ความเจริญทางอารยธรรม - ศาสนา ชวงแรกนบั ถอื ศาสนาพราหมณ- ฮนิ ดู ตอ มานับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน และชวง หลังนับถอื ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ลัทธลิ งั กาวงศ - ศลิ ปะ (สถาปต ยกรรม) พระบรมธาตุไชยา (ประตมิ ากรรม) พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร พระพิมพด ินดิบ ¾ ตามพรลงิ ค (นครศรธี รรมราช) (พทุ ธศตวรรษที่ 13-18) ศูนยกลางอาจอยนู ครศรธี รรมราช ตอมาตกอยใู ตอ ํานาจของสุโขทัย และสิ้นสดุ เมอ่ื ถกู รวมเขากับอยุธยา (มีฐานะเปนหวั เมืองชน้ั เอก) ความเจริญทางอารยธรรม - ศาสนา เผยแผศ าสนาพุทธนกิ ายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศไปยังสุโขทยั ในสมยั พอขนุ รามคาํ แหง - ศิลปะ เปนเมอื งทาเรือเชอื่ มการคมนาคมฝงทะเลอันดามันและอาวไทย จุดแวะพักสนิ คา ¾ ลา นนา (ภาคเหนือ) (พุทธศตวรรษท่ี 19-125) พระยามังรายรวบรวมแควน โยนกและหริภุญชยั (ลําพูน) และนครเขลางค (ลาํ ปาง) แลว ต้งั ราชธานใี หม คอื นพบุรีศรนี ครพงิ คเชียงใหม (เชียงใหม) - ตกเปนประเทศราชของไทยสมัยธนบรุ ี และถกู รวมเขากบั สยามในสมยั รัชกาลท่ี 5 ความเจรญิ ทางอารยธรรม - ศาสนา รับศาสนาพทุ ธนกิ ายเถรวาท (จากแควน หรภิ ญุ ชัย สุโขทยั และพมา ) - ตัวอักษร มตี ัวอกั ษรของตวั เอง “อักษรฝกขามและอักษรธรรม” - เศรษฐกิจ ศูนยกลางการคา อยูท ีเ่ มืองเชยี งใหม และเชยี งแสน สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษท่ี 18) สังคมสมยั สุโขทยั มกี ารแบงชนชนั้ ในสังคมออกเปน 2 ชนชัน้ กลา วคือ ¾ ชนชน้ั ปกครอง ไดแ ก พระมหากษตั ริย พระบรมวงศานวุ งศ ขนุ นาง ¾ ราษฎร คอื คนสว นใหญของประเทศ ประกอบดวย - ไพรหรอื ไพรฟา มีหนา ทป่ี อ งกันประเทศยามศึกสงคราม - ทาส คอื พวกขายตนเองแกนายเงนิ หรอื เชลยศกึ - คนตา งชาติ คอื ชาวตา งประเทศทเี่ ขา มาอยใู นสุโขทัยไดร ับการตอนรับอยา งดี - พระสงฆ ไดรับการยกยองวา เปน ผปู ระพฤติดี วัฒนธรรม ศลิ ปวฒั นธรรมทสี่ ําคญั ของสโุ ขทยั ไดช ่อื วาเปน ออู ารยธรรมของไทย สถาปตยกรรม นิยมสรา งเจดียซ ึง่ มี 3 แบบ ¾ เจดียทรงพุม ขาวบณิ ฑ หรอื ดอกบัวตมู ¾ เจดยี ท รงกลม หรอื ทรงลงั กา ¾ เจดียท รงเรอื นธาตุ ซึ่งมฐี านเปนสถูปสเ่ี หลี่ยมแบบศรีวชิ ัย และตอนบนเปนเจดียทรงกลม ประติมากรรม ¾ การสรางพระพทุ ธรปู สํารดิ ¾ การทาํ เครอื่ งเคลือบ ทีเ่ รยี กวา “สังคโลก” วรรณกรรมที่สาํ คัญ ¾ ศลิ าจารกึ สุโขทยั หลักท่ี 1 และหลักที่ 2 (พ.ศ. 1826) พอ ขุนรามคาํ แหงประดิษฐอ กั ษรไทย ¾ หนงั สอื ไตรภมู พิ ระรว ง สงั คมศึกษา (10) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

เศรษฐกิจ ¾ อาชีพท่ีสําคัญ คอื การเพาะปลกู การทําหัตถกรรม การคาขาย ¾ เงินตรา เงนิ ทใี่ ช คอื เบีย้ หอย และเงนิ พดดว ง ¾ การเก็บภาษีอากร ไมมีการเก็บภาษี การปกครองของสโุ ขทัย มลี ักษณะสาํ คัญ คือ ¾ การปกครองแบบพอ ปกครองลูก เนือ่ งจากอาณาจักรไมกวา งขวาง ประชาชนนอ ย กษตั ริยเ ปนผูนาํ ของชมุ ชน ¾ การปกครองแบบทหาร หนา ทีพ่ ลเมอื งตองรักษาความปลอดภัยของชาติ ¾ การปกครองแบบกระจายอาํ นาจ แบง ออกเปน 2 สว น คือ 1. สวนกลาง สุโขทยั จะเปน ศนู ยก ลางการปกครองภายในราชอาณาจกั ร 2. สว นภูมิภาค แบง เปน หัวเมอื งชน้ั ใน ช้นั นอก และประเทศราช กฎหมายและการศาล ไดร ับอทิ ธิพลจากกฎหมายของอินเดีย คือ คมั ภรี พระธรรมนญู ศาสตร ผสมกบั ประเพณไี ทยทส่ี าํ คัญ เชน กฎหมายมรดก กฎหมายทีด่ นิ ความเส่ือมของอาณาจกั รสุโขทัย (พ.ศ. 1921-1962) 1. มีท่ตี ั้งอยหู างไกลจากทะเล 2. มรี ูปแบบการปกครองแบบกระจายอาํ นาจดูแลไมทั่วถึง 3. การกอตง้ั อาณาจกั รอยุธยา ทําใหถูกตัดขาดดา นการคา สมัยอยุธยา การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยา พ.ศ. 1893 ยุทธศาสตร มภี มู ปิ ระเทศเปน เกาะ มแี มน ํา้ 3 สาย ลอ มรอบ คือ แมนํา้ ปา สกั แมน้ําลพบรุ ี และแมนาํ้ เจา พระยา เศรษฐกจิ ¾ เปน ศนู ยกลางการคมนาคม เพราะมีแมน ้าํ 3 สาย ¾ พนื้ ดินอดุ มสมบรู ณเ หมาะแกอาชีพการเกษตร ¾ ตัง้ อยูใกลทะเล เรือเดนิ ทะเลสามารถติดตอ ไดส ะดวก การปกครอง ¾ อยธุ ยามอี ํานาจ 417 ป มกี ษัตรยิ  34 พระองค 5 ราชวงศ คือ 1. ราชวงศอทู อง (พ.ศ. 1893-1913 และ พ.ศ.1931-1952) 2. ราชวงศสพุ รรณภมู ิ (พ.ศ. 1913-1931) และ (พ.ศ. 1952-2112) 3. ราชวงศสโุ ขทยั (พ.ศ. 2112-2172) 4. ราชวงศปราสาททอง (พ.ศ. 2172-2231) 5. ราชวงศบ านพลหู ลวง (พ.ศ. 2231-2310) การปกครองแบง ออกเปนสวนกลาง สว นภูมภิ าค และประเทศราช กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม กฎหมายรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยของบา นเมือง เรยี กวา “พระคมั ภีรธรรมนูญศาสตร” โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _______________________________สังคมศกึ ษา (11)

การคากับประเทศ สนิ คา ท่ตี างประเทศตอ งการ ไดแก เครอ่ื งเทศ ไมห อม ขาว ดีบกุ พริกไทย นา้ํ ตาล เขาสตั ว ประเทศคูคา ไดแก จีน ญ่ปี ุน อนิ เดีย ชวา โปรตุเกส สเปน และฮอลนั ดา ความสมั พนั ธระหวางไทยกบั พมา สมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงวางรากฐานการปกครองของอยุธยาไว ดงั นี้ ¾ จัดการปกครองแบบรวมอาํ นาจเขาสศู นู ยกลาง ¾ แบง แยกหนาทค่ี วามรับผดิ ชอบระหวา งฝา ยทหารกบั ฝายพลเรือน ¾ จัดระเบียบการปกครองหัวเมืองใหม ซึ่งใชส ืบมาจนถงึ สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว (รชั กาลที่ 5) กรงุ ศรอี ยุธยาสถาปนาเม่อื พ.ศ. 1893 เสียกรุงแกพ มาคร้ังที่ 1 เมอื่ พ.ศ. 2112 เสยี กรุงแกพ มาครง้ั ท่ี 2 เม่อื พ.ศ. 2310 และเปนการสน้ิ สดุ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ซง่ึ ยาวนานถึง 417 ป สมัยกรงุ ธนบุรี หลังจากการสญู เสยี อาณาจกั รอยุธยาคร้งั ที่ 2 (พ.ศ. 2310) บคุ คลสําคญั ทก่ี ูเอกราช คือ สมเด็จพระเจา - ตากสินมหาราช ซง่ึ ไดส ถาปนาอาณาจักรธนบุรขี ้นึ บริเวณฝง ขวาของแมนาํ้ เจาพระยา เม่ือ พ.ศ. 2310 และครองราชย- สมบตั ถิ งึ พ.ศ. 2325 เศรษฐกิจชว งแรก ตอ งพระราชทานทรพั ยซ้อื ขา วเล้ียงประชากร การคาไมเจริญ เนอ่ื งจากเกรงภยั สงคราม มีการปรบั ปรุงสถาปต ยกรรมบาง และเกดิ กบฏยดึ อาํ นาจอา งวา พระเจาตากสตฟิ น เฟอ น และอัญเชิญสมเด็จเจา พระยา- มหากษัตริยศึกขนึ้ ครองราชย เปน ปฐมกษตั รยิ ราชวงศจกั รี สมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทรตอนตน รัชกาลท่ี 1-3 (พ.ศ. 2325-2394) การปกครอง ¾ รปู แบบการปกครองทั้งสว นกลางและภมู ภิ าค คลายกับกรุงศรีอยธุ ยา ¾ พยายามสรา งบา นเมืองใหม คี วามเจริญเชน เดยี วกบั อาณาจักรอยธุ ยา ¾ ปรบั ตัวเพอ่ื ปองกนั ตนเองจากการคุกคามของชาติตะวันตก กฎหมาย รวบรวมและปรบั ปรงุ กฎหมายตราสามดวง พระพทุ ธศาสนา ¾ รัชกาลท่ี 1 โปรดเกลาฯ ใหชําระพระไตรปฎก เรียกวา “ฉบับทองใหญ” สรางวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ¾ รัชกาลท่ี 2 มกี ารแลกสมณทูตระหวางไทยกบั ลงั กา ¾ รชั กาลท่ี 3 สถาปนาธรรมยุตกิ นิกาย ปฏสิ ังขรณวัด รวม 53 วดั เศรษฐกจิ ¾ รชั กาลที่ 1 เศรษฐกิจยงั ไมเ จรญิ เทา ท่ีควรเนอื่ งจากการศึกการสงคราม ¾ รัชกาลที่ 2 เศรษฐกจิ เรม่ิ ฟนตัวในปลายสมยั ¾ สมัยรัชกาลที่ 3 เศรษฐกจิ เจริญรุงเรอื ง และไดทําสญั ญาการคากับองั กฤษ เรียกวา “สญั ญาเบอรน”ี พ.ศ. 2369 รายไดหลักจากการเก็บภาษี เชน ภาษผี านดา น การคาสาํ เภาหลวงกบั ตางประเทศ กาํ ไรจากการผูกขาด สังคมศกึ ษา (12) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

โครงสรางชนชน้ั ของสงั คม แบงสมาชกิ ของสงั คม เปนลําดับชนชนั้ ตามระบบศักดินา ไดแ ก พระมหากษตั ริย เจา นาย ขุนนาง ไพร ทาส พระสงฆ ¾ พระมหากษัตรยิ  กษตั ริยท รงเปนที่เคารพรกั สักการะของปวงชน รวมทงั้ การนําเอาลทั ธเิ ทวราชาจากขอม และศาสนา พราหมณ- ฮินดู มผี ลทําใหพ ระมหากษตั รยิ เ ปรียบเสมอื นสมมติเทพ มกี ารเปล่ียนแปลงกฎมณเฑียรบาล พระมหากษัตริยทรงไวซ งึ่ ทศพธิ ราชธรรม และจกั รวรรดวิ ตั ร 12 ประการ ทศพธิ ราชธรรม จักรวรรดวิ ัตร 1. การให (ทาน) พระราชทานทรพั ยสง่ิ ของใหแ ก 1. รกั ษาทางพระราชไมตรีกบั ตา งประเทศ ผูสมควรไดรบั 2. การละเวนจากทาํ บาป (ศลี ) เวน จากการทําบาป 2. อนุเคราะหข าราชบรพิ าร ทัง้ กาย วาจา ใจ 3. การเสียสละ (บริจาค) เสียสละพระราชทรพั ย 3. อนุเคราะหพระญาตวิ งศานุวงศ และความสขุ เพ่อื บา นเมือง 4. ความออ นโยน (มทั วะ) ปฏิบตั ิดว ยความละมุนละไม 4. เก้อื กูลนักปราชญราชบณั ฑติ ไมถือพระองค 5. ความซอ่ื ตรง (อาชวะ) ทรงซอ่ื ตรงทุกกรณี 5. อนเุ คราะหป ระชาชนในชนบทหางไกล 6. ความไมโกรธ (อโกธะ) ระงับอารมณโ กรธ ไมว วู าม 6. อนเุ คราะหผ ูทรงศีล สมณะชพี ราหมณ 7. ความหนกั แนน ม่นั คง (ตปะ) ปฏิบัตหิ นา ท่คี รบถวน 7. อนรุ กั ษส ัตว มใิ หสญู พันธุ 8. ความอดทน (ขันติ) อดทนตอ ความยากลาํ บาก 8. ประพฤติคณุ ธรรมเปนตวั อยา งแกค นทั้งหลาย ในการแกป ญ หาบานเมอื ง 9. ความยุติธรรม (อวโิ รธนะ) ยึดหลักประโยชนส ุข 9. เลีย้ งดคู นยากจนไมใหเบียดเบยี นผอู ื่น ของสวนรวม 10. ความไมเ บียดเบียน (อวิหิงสา) ไมเ บยี ดเบียนให 10. ศกึ ษาพระธรรมคําสง่ั สอนของศาสนา ผูอ่นื เดือดรอ น 11. ไมไปในทอ่ี นั ไมส มควรแกพ ระเจา แผน ดิน 12. ไมโ ลภในลาภอันมคิ วรแกพระเจาแผนดิน ¾ พระราชวงศห รือเจานาย ยศของเจา นาย มี 2 ประเภท คอื 1. สกุลยศ ไดร ับตั้งแตเกิด สกลุ ยศในสมยั อยุธยาตอนตน ใชคําวา “เจา” เชน เจา อาย เจายี่ เจา สาม ตอ มาสมัยพระเอกาทศรถ ไดปรากฏสกลุ ยศของเจานายมี 3 ชัน้ คอื เจาฟา พระองคเ จา และหมอมเจา โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _______________________________สงั คมศึกษา (13)

2. อิสรยิ ยศ ไดรับพระราชทาน เนอ่ื งจากรับใชร าชการแผน ดิน มกั ขน้ึ ตนดว ยคําวา “พระ” เชน พระราเมศวร พระบรมราชา สมัยสมเดจ็ พระนารายณ มี “เจา ทรงกรม” เลกิ ใชในสมยั รัชกาลท่ี 5 ¾ ขุนนาง เปนชนสว นนอ ยในสงั คม ยศ หมายถงึ ฐานะหรือบรรดาศักด์ิ เชน สมเดจ็ เจาพระยา เจาพระยา พระยา พระ หลวง ขุน หมืน่ ตาํ แหนง หมายถึง หนา ท่ที ร่ี ับผดิ ชอบ เชน สมุหพระกลาโหม สมหุ นายก เสนาบดี ปลัดทลู ฉลอง เจา กรม ราชทินนาม หมายถงึ นามทีไ่ ดรบั พระราชทาน เชน มหาเสนายมราช จักรีศรอี งครักษ พลเทพ ศกั ดินา หมายถึง เคร่ืองกําหนดฐานะหรอื ความรับผิดชอบตอ งานราชการ โดยครอบครองที่นา มากนอ ยตามศกั ดนิ า ¾ ไพร เปน พลเมืองสวนใหญข องสงั คมไทยทั้งชายและหญงิ มีศักดนิ าระหวาง 10-25 ไร ตองข้นึ สงั กัดมูลนาย มฉิ ะนนั้ จะไมไ ดรบั การคุม ครองจากกฎหมาย ประเภทของไพร 1. ไพรห ลวง คือ ไพรท ี่สังกัดประจาํ กรม มหี นาทีเ่ ขา เวรรับราชการเขาเดือนออกเดอื น (ปห นึ่ง ทํางาน 6 เดือน) 2. ไพรสม คอื ไพรที่พระมหากษัตริยพระราชทานแกข นุ นาง มหี นา ท่ที าํ งานตามทม่ี ลู นายสง่ั 3. ไพรสวย คอื ไพรส มและไพรหลวงท่ีสงของ (สว ย) มาแทนการใชแรงงาน การเล่ือนฐานะของไพร 1. มคี วามสามารถในการรบ 2. ไพรน ําชา งเผือกมาถวาย 3. ไพรเ ปดเผยการทจุ ริตของขุนนาง 4. ออกบวชและศกึ ษาพระธรรมจนจบเปรยี ญ แลว ลาสกิ ขาบทมารับราชการ สมยั ตน รตั นโกสนิ ทร มกี ารปรับปรงุ ระบบไพร ดังน้ี - รัชกาลที่ 1 เขา เดอื นออก 2 เดือน (หนึ่งปท าํ งาน 4 เดอื น) - รชั กาลท่ี 2 เขา เดือนออก 3 เดือน (หน่งึ ปท าํ งาน 3 เดอื น) ไพรเลือกสงั กดั มูลนายได ไพรทีบ่ วชเม่อื ลาสิกขาบทใหร บั ราชการตามกรมได สังคมศกึ ษา (14) ______________________________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

สมยั ปฏิรูป รชั กาลที่ 4-7 (พ.ศ. 2394-2475) 1. การปกครอง ¾ สมยั รัชกาลท่ี 4 - ทรงทําบานเมอื งใหท นั สมยั เพื่อมใิ หมหาอํานาจตะวันตกใชเง่ือนไขความลา หลงั ดอยพฒั นา เปน ขอ อางใชก าํ ลังเขายึดเปนเมืองข้ึน ดว ยการใชพระบรมราโชบายเพ่ือความอยูร อด คือ ยอมทําสนธิสญั ญา เสยี เปรยี บ เรียกวา “สนธสิ ญั ญาเบาวร งิ ” ¾ สมัยรัชกาลที่ 5 - เสดจ็ ประพาสตน เพอื่ ใหทราบสภาพความเปนอยูของราษฎร - ต้ังสภาทป่ี รึกษา ไดแก สภาทปี่ รึกษาราชการแผน ดิน และสภาที่ปรึกษาในพระองค - เปล่ยี นโครงสรางระบอบการปกครองของประเทศใหม ไดแ ก 1. การบริหารราชการสวนกลาง ยกเลกิ ตําแหนงสมุหกลาโหมและสมหุ นายก และจุสดมภ 4 โดยแบง หนว ยราชการออกเปน 12 กระทรวง 2. การบริหารราชการสวนภูมิภาค ยกเลกิ หวั เมืองชนั้ เอก โท ตรี และจตั วา และฐานะเมอื ง ประเทศราชเปน แบบมณฑล ข้นึ ตรงตอ กระทรวงมหาดไทย 3. การบริหารราชการสวนทอ งถนิ่ มกี ารเลอื กต้ังผใู หญบา นครัง้ แรกทบ่ี างปะอนิ และจดั ตง้ั สุขาภิบาล 2 แหง คอื สขุ าภบิ าลกรงุ เทพ และทตี่ าํ บลทาฉลอม จงั หวัดสมุทรปราการ ¾ สมัยรัชกาลที่ 6 - ทรงวางพื้นฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย 1. จดั ใหม กี ารศกึ ษาภาคบงั คบั 2. จัดต้ังดุสิตธานี (พ.ศ. 2461) 3. ใหเสรภี าพการแสดงความคดิ เห็นของหนังสือพิมพ ¾ สมยั รัชกาลท่ี 7 - เตรยี มจดั การปกครองแบบเทศบาล - เตรียมพระราชทานรฐั ธรรมนูญ 2. กฎหมายและการศาล ¾ รชั กาลท่ี 4 ไทยเสยี สทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต (สนธิสัญญาเบาวริง) และการพิจารณาคดแี บบ จารีตนครบาล ¾ รชั กาลที่ 5 จดั ระเบียบการศาลแบบยโุ รป เชน ศาลฎีกา ศาลอาญา ศาลแพง และศาลตา งประเทศ มี การรา งประมวลกฎหมายอาญา (พ.ศ. 2451) โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010 _______________________________สังคมศกึ ษา (15)

3. การเปลย่ี นแปลงทางสังคมไทยสมัยรัชกาลที่ 4-6 สมัยรชั กาลที่ 4 1. ใหข า ราชการสวมเสื้อเวลาเขา เฝา 2. ออกประกาศรบั ฎกี าจากราษฎรเดือนละ 4 คร้ัง (ทุกวันโกน) 3. ใหเสรภี าพในการนับถอื ศาสนา 4. ประกาศยกเลิกการยิงกระสนุ และอนุญาตใหราษฎรเขา เฝาในเวลาเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ 5. ใหสทิ ธอิ ิสระแกส ตรีสามัญชนในการเลือกคูครอง 6. บตุ รและภรรยามสี ิทธไิ มยอมใหบ ิดาและสามีขายตนเองเปนทาส 7. จางชาวตางชาตมิ าสอนหนังสือแกพ ระราชโอรสและพระราชธดิ า 8. สง นักเรยี นไทยไปศึกษาตอ ตางประเทศ 9. ออกหนังสอื ทางราชการเลมแรก คอื ราชกิจจานเุ บกษา เมือ่ พ.ศ. 2401 และยงั คงมอี ยูถ ึงปจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2398 เรียกวา “สนธิสัญญาเบาวรงิ ” สมยั รชั กาลที่ 5 1. การเลิกไพร รชั กาลที่ 5 โปรดใหดําเนินมาตรการตางๆ จนนาํ ไปสูก ารยกเลิกระบบไพร ดงั น้ี 1. พ.ศ. 2440 ไดโอนกรมพระสรุ ัสวดขี ้นึ กบั กระทรวงกลาโหม 2. การฟนฟูกรมทหารมา โดยใหเ ขา ควบคมุ กําลังคนแทนการใหมูลนายอื่นๆ ควบคมุ ซึง่ โอนไพรสมที่ เจานายสิ้นพระชนมเ ขา มาเปนทหาร และรบั สมคั รคนขอมอื ขาว (ไพรท ไ่ี มส งั กัดมูลนาย) เปนทหารกรมทหารหนา ไดก ลายเปนพ้นื ฐานสําหรับการจัดกองประทพั ประจําการ 3. ไพรโ ยกยา ยไปทีใ่ ดก็โดนยายทะเบียนสาํ มะโนครวั โดยขา ราชการทองถิ่นคอยดแู ลและเปนการ ยกเลกิ การควบคุมไพรผา นมูลนายในทีส่ ุด 4. พระราชบญั ญตั ลิ กั ษณะเกณฑจ าง พ.ศ. 2443 โดยใหค าจางแกผ ถู ูกเกณฑแ รงงาน พ.ศ. 2444 มกี ารประกาศใหพ ระราชบญั ญัตเิ กบ็ เงนิ คา ราชการ เพ่อื เปนกฎหมายแนนอนวา ชายฉกรรจอายุ 18-60 ป ตอ ง เสยี “คาราชการ” ไมเ กินปล ะ 6 บาท 5. พระราชบัญญตั ิลักษณะเกณฑท หาร พ.ศ. 2448 กําหนดใหช ายฉกรรจทุกคนอายุ 18-60 ป ตองเปน ทหาร ผูผานการคัดเลือกตองเปนทหารประจาํ การ 2 ป และไดร ับการฝก ทหารแบบใหม กฎหมายฉบบั น้ี เปนขัน้ ตอนสดุ ทา ยของการยกเลิกการควบคุมไพรแ บบเดิมโดยปริยาย 2. การเลกิ ทาส 1. ลดหยอ นคา ตวั ทาสท่ีเกิดตั้งแต พ.ศ. 2411 ทําใหใ นทสี่ ุดก็พนจากความเปนทาสเม่อื อายุครบ 21 ป 2. เริ่มซ้อื ทาสปลดปลอยใหเ ปน อิสระ 3. ใหลดจาํ นวนบอนเบ้ีย เพราะทรงเห็นวา การพนันเปนท่ีมาของการขายตวั เปนทาสดว ย 4. ในป พ.ศ. 2448 จึงออกพระราชบัญญตั เิ ลกิ ทาสไดสาํ เร็จ การเลกิ ระบบไพรแ ละทาสมผี ลทาํ ใหเกิดแรงงานอสิ ระ และอาํ นาจทางการเมืองของกษัตรยิ มัน่ คง สังคมกา วหนา และทันสมัย สมัยรชั กาลท่ี 6 1. ทรงประกาศพระราชบญั ญัตปิ ระถมศกึ ษา บงั คบั เดก็ ไทยทุกคนตองจบการศึกษาอยางต่ํา ป.4 2. ทรงตงั้ มหาวิทยาลยั แหง แรก (จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั ) สังคมศึกษา (16) ______________________________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010

4. การจัดการศกึ ษา สมยั รชั กาลท่ี 5 เร่ิมจดั การศกึ ษาอยา งจรงิ จงั นําไปสูการศึกษาในระบบโรงเรยี น ¾ ปจ จัยผลกั ดันใหมีการจัดการศึกษา 1. การเขา มาเผยแผศาสนาของมิชชันนารี 2. การเสดจ็ ประพาสตางประเทศของรัชกาลท่ี 5 ซึ่งทาํ ใหพ บเหน็ ความเจริญกาวหนา ของตา งชาติ และเหน็ ความสําคญั ของการจดั การศึกษา 3. ความตองการบุคลากรที่มีความรคู วามสามารถสมัยใหม ¾ การเริม่ ตน จัดการศึกษา พ.ศ. 2414 จัดต้ัง “โรงเรยี นหลวง” ขึ้น แตอยใู นวงศชนชั้นสูง - ตอ มา พ.ศ. 2427 จัดตัง้ โรงเรียนหลวงสําหรับราษฎรขึน้ คอื โรงเรียนวดั มหรรณพาราม - ต้ังโรงเรียนตามมณฑลตางๆ - ตง้ั กรมศึกษาธกิ าร ขึน้ ใน พ.ศ. 2430 เพ่อื ดแู ลการจัดต้งั โรงเรียน จัดทําแบบเรียนหลวงและ การสอบไล - จัดใหทนุ เลาเรยี นหลวง เพือ่ สง คนทม่ี ีการศกึ ษาดไี ปศกึ ษาตอ ตา งประเทศ 5. การเปลย่ี นแปลงสงั คมไทยภายหลงั พ.ศ. 2475 ถงึ ปจจบุ ัน ภายหลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง การเมอื งการปกครองใน พ.ศ. 2475 สภาพสังคมไทยมีการ เปล่ียนแปลงหลายอยาง เชน 1. มกี ารขยายการศึกษากวา งขวาง ไมจาํ กดั เพศ ชาติ ศาสนา ตามกาํ ลงั ภมู ปิ ญญาและทนุ ทรัพย 2. ระบบชนช้นั ถกู ยกเลิก 3. รฐั ธรรมนูญไดก าํ หนดความเสมอภาคกนั ทางกฎหมาย 4. นาํ วฒั นธรรมตะวนั ตกเขา มาใชใ นสงั คมไทย เชน ดา นการแตง กาย การรับประทานอาหาร การ ดํารงชีวติ ประจาํ วนั 5. อดุ มการณสรา งสรรคส ังคมประชาธปิ ไตยสมบูรณข้นึ กอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง กลมุ ชนช้ันกลาง มีบทบาทมากในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หลงั เปล่ียนแปลงการปกครอง คณะราษฎรไดยึดหลกั 6 ประการ ไดแก 1. หลักเอกราช 2. หลกั ความมน่ั คงภายใน 3. การบาํ รงุ ความสุขสมบูรณข องราษฎร หรอื การเศรษฐกิจ 4. หลกั สทิ ธิเสมอภาค 5. หลักเสรภี าพ 6. หลกั การศึกษา นโยบายสําคญั ทกี่ อ ใหเ กดิ การเปลีย่ นแปลงทางสังคม ¾ การขยายการศกึ ษา พ.ศ. 2475 ไดม กี ารประกาศใชแ ผนการศกึ ษาแหงชาติ เพ่ือใหป ระชาชนทกุ คนไมจํากัดเพศ ชาติ ศาสนา ไดร ับการศึกษา เพอ่ื เปน ประโยชนใ นการประกอบอาชีพ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010 _______________________________สังคมศึกษา (17)

พ.ศ. 2477 ไดเ ปดทาํ การสอนระดับอดุ มศกึ ษาท่ีมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร และการเมืองข้นึ ใน ลกั ษณะตลาดวชิ า นอกเหนอื จากจุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั พ.ศ. 2478 ไดประกาศใชพ ระราชบญั ญัติประถมศึกษา ทําใหท ุกตาํ บลมโี รงเรียนและถือเปน การศกึ ษาภาคบังคบั พ.ศ. 2486 ไดมกี ารกอ ต้งั มหาวิทยาลยั ขึ้นอกี 3 แหง ไดแก - มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร (ปจ จุบัน คือ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล) - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร - มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ¾ ความเสมอภาคในสังคม หลงั จากรัฐธรรมนูญประกาศใชเม่ือ วนั ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ไดร บั ความเสมอภาคในทาง กฎหมายและเสรีภาพของประชาชนท่จี ะพดู เขียน ประชมุ ทําใหส ิทธิเสรีภาพของคนในสงั คมไดร ับการคุม ครองตาม กฎหมาย นอกจากน้ีมีการประกาศยกเลกิ บรรดาศกั ดแิ์ ละยศของขา ราชการพลเรอื น ¾ วฒั นธรรม วัฒนธรรมหลังการเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 1. เปลีย่ นแปลงการแตงกาย โดยหันมาสวมกางเกงและสวมเสอื้ นอกผกู ไทแบบตะวันตก 2. ยกเลกิ พธิ ถี ือน้ําพระพิพฒั นสัตยา 3. ยกยอ งสถานภาพสตรีเทา เทียมบุรุษ 4. จัดตั้งสภาวัฒนธรรมแหงชาติ 5. ปรับปรุงวัฒนธรรมดา นภาษาและหนงั สอื สงั คมไทยภายหลงั สงครามโลกคร้ังที่ 2 ผลของสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 เกดิ ปญหาภายในสงั คมมากมาย โดยเฉพาะปญ หาความสงบเรยี บรอย ภายในรฐั บาลแกไขปญ หาพรอ มกบั รบั ความชว ยเหลอื จากตา งประเทศ ไดแ ก สหรฐั อเมรกิ า การเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรมไทย การเปล่ยี นแปลงทางวฒั นธรรมไทย แบงออกไดด ังนี้ 1. อทิ ธพิ ลวัฒนธรรมตา งชาตใิ นวัฒนธรรมไทย 2. วัฒนธรรมสมยั กอ นสุโขทยั 3. วัฒนธรรมสมัยสโุ ขทัยถงึ สมยั รัตนโกสนิ ทร 4. การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมไทย สมยั รัชกาลท่ี 4 ถึง พ.ศ. 2475 5. การเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรมไทยภายใตระบอบรัฐธรรมนญู อทิ ธพิ ลวฒั นธรรมตางชาติในวัฒนธรรมไทย ¾ อินเดีย อารยธรรมอินเดยี แพรสูเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต มสี าเหตุมาจากการเดินทางของชาวอินเดยี ท้ังดาน การติดตอ คา ขาย การแสวงโชค การเผยแผศ าสนา อิทธิพลของวัฒนธรรมอนิ เดยี ทม่ี ตี อวัฒนธรรมไทย คอื การเมอื งการปกครอง ไดแก การปกครองระบอบกษตั ริย เชน เทวราชา ธรรมราชา จักรพรรดริ าช ตามคติความเชอ่ื ของศาสนาพราหมณ และพุทธศาสนา สงั คมศึกษา (18) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

ศาสนาและพธิ ีกรรม เปนแบบผสมผสานอยูในวฒั นธรรมไทยอยา งแยกไมออก ถงึ แมสว นใหญค นไทย จะนบั ถือพุทธศาสนาแตศ าสนาพราหมณก ม็ บี ทบาทในเรอ่ื งพธิ ีกรรมตางๆ เชน พระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระ ราชพธิ ีจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ พธิ ีโสกนั ต พิธมี ุรธาภเิ ษก และการเคารพบชู าองคเ ทพในศาสนาพราหมณ เปนตน ภาษาและวรรณคดี ไดแ ก การใชภาษาบาลแี ละสันสกฤตในภาษาไทย เชน บทสวดทางพระพุทธ- ศาสนาหรือคาํ ศพั ทต างๆ เชน อุทกภยั อัคคภี ยั วาตภยั หรอื ภาษาสันสกฤต เชน กรฑี า หรรษา และวรรณคดี เรื่องมหากาพยรามายณะ เปน ตน ¾ จนี จนี เปน แหลงอารยธรรมทีส่ ําคญั อีกแหงหนึ่งของโลก จีนตดิ ตอกับไทยเปน เวลานาน โดยเฉพาะการ ตดิ ตอ การคาในระบบบรรณาการ การท่คี นจีนจํานวนมากเดินทางสดู ินแดนไทยตอนปลายสมยั อยธุ ยาเปนตนมา ชาวจนี ที่อพยพมาจาํ นวนไมน อ ยไมก ลบั จีน ชาวจนี ท่ีเปน ชายไดแตงงานกับหญิงไทย จงึ มกี ารถายทอดวัฒนธรรมทส่ี ําคญั คอื ศลิ ปกรรม ในงานการกอสรา ง เชน โบสถ วิหาร ท่ีเรยี กวา “แบบพระราชนิยม” ศิลปกรรมแบบจนี เฟอ งฟู สมยั รชั กาลท่ี 3 แบบพระราชนยิ มนนั้ เลิกใชช อฟา ใบระกา หางหงส แตน ําเคร่อื งเคลือบดนิ เผา ถวยชาม จนี มาเปนเครื่องประดบั เชน วัดเฉลมิ พระเกยี รติ จังหวัดนนทบรุ ี วัดราชโอรสาราม กรุงเทพมหานคร ภาษาและวรรณกรรม - ภาษาท่ีใชป นอยูก ับภาษาไทย เชน เซง ยห่ี อ เจง - วรรณกรรม ทแี่ ปลและรูจกั แพรหลายในสมัยรชั กาลที่ 1 คือ เร่อื งสามกก - ประเพณแี ละพธิ กี รรม เชน พิธไี หวเ จา พธิ ีกงเตก พิธเี ชงเมง เปนตน ¾ ชาตติ ะวนั ตก ชาตติ ะวันตกตดิ ตอกับไทยสมยั อยุธยา ชาติแรก คือ โปรตุเกส ติดตอกบั ไทย เมื่อ พ.ศ. 2504 ในสมยั สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี 2 (ครองราชยร ะหวา ง พ.ศ. 2034-2072) วัตถุประสงคท่ีสําคัญของชาตติ า งๆ เหลา นกี้ ็เพือ่ การคาและเผยแผศ าสนาครสิ ต ตัวอยา งเชน โปรตเุ กส ขายอาวุธปน กระสนุ ดินดาํ การแตง เครือ่ งยศ การสรา งปอมคา ย เปน ตน ชาตติ ะวันตกท่เี ขา มาติดตอ กบั ไทย สมยั รชั กาลท่ี 1 แหงกรุงรตั นโกสินทร ไดแ ก - ชาตโิ ปรตุเกส พ.ศ. 2329 - ชาติองั กฤษ พ.ศ. 2364 โดยผสู าํ เรจ็ ราชการจากอินเดียไดสงจอหน ครอวฟอรด (John Crawford) เปน ทูตมาเจรจาและนาํ ไปสูก ารทาํ สนธสิ ัญญากบั ชาตติ างๆ ในสมยั รชั กาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 วัฒนธรรมสมัยอยุธยา ¾ สถาปต ยกรรม ไดแ ก ท่อี ยอู าศัย ซ่งึ มี 2 แบบ คือ แบบเรอื นเครอ่ื งผูกหรอื กระทอ ม กบั แบบ เรอื นเครอื่ งสบั เรอื นปลกู สรางดว ยไม ¾ ประตมิ ากรรม เปนพระพทุ ธรูปสาํ รดิ พระพุทธรูปแบบอยธุ ยามี 2 รุน - รุนท1ี่ เปนลักษณะผสมระหวา งศลิ ปะทวาราวดกี ับลพบรุ ี เรียกกนั วา “รนุ อูทอง” พระพักตร เปน รปู สี่เหลยี่ ม พระนาสกิ คมสนั เสน พระเกศาละเอยี ดทํารัศมเี ปนตอ มกลมบาง พระพทุ ธรูปน่ังขดั สมาธริ าบ - รนุ ที2่ “รนุ อยุธยา” โดยนิยมสรา งพระพทุ ธรปู ทรงเครื่องเยี่ยงกษัตรยิ  มมี งกฎุ และจีวรประดับ อญั มณีหรูหรา ¾ จติ รกรรม เร่อื งราวพุทธประวัติ ไดแ ก ทศชาติ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________________สงั คมศกึ ษา (19)

¾ วรรณกรรม เกี่ยวกบั บุญ-กรรม เชน กาพยม หาชาติ นันโทปนนั ทสตู รคาํ หลวง มหาชาติคําหลวง โองการแชงนํ้า และวรรณกรรมสดุดีความเกงกลา ของพระมหากษัตริย เชน ลลิ ติ ยวนพา ย วรรณกรรมเพอื่ ความ บนั เทิง เชน ลิลิตพระลอ นิราศพระบาท วรรณกรรมคาํ สอน เชน ทศรถสอนพระราม พาลีสอนนอ ง วรรณกรรม ตํารา เชน จนิ ดามณี เปนตน สมยั สมเดจ็ พระนารายณม หาราช เปนยุคทองของวรรณกรรม ¾ นาฏศลิ ปแ ละดนตรี เรียกกันวา “หนัง” ท้ังหนงั ใหญและหนงั ตะลงุ โขน ละครชาตรี ละครนอก ละครใน หุน และใชด นตรีไทยท้ังเครื่องดดี สี ตี เปา ประกอบเรอ่ื งทแี่ สดงมักเปน เร่ืองรามเกียรติ์ สมทุ รโฆษคําฉนั ท พระรถเสน อนริ ุทธคาํ ฉนั ท เปน ตน วัฒนธรรมสมัยธนบุรีและตนรัตนโกสินทร ¾ สมัยธนบุรี ศลิ ปะตางๆ ในสมยั ธนบรุ ียงั คงดําเนนิ ตามแบบอยุธยา เนือ่ งจากอยูในภาวะสงคราม ศิลปะสมยั นี้ แบง ออก ดงั นี้ สถาปตยกรรม ไดแก พระราชวงั เดิม จติ รกรรม ไดแก สมดุ ภาพไตรภมู ิ วรรณกรรม ไดแก เรือ่ งรามเกยี รต์ิ ลลิ ติ เพชรมงกฎุ โคลงยอพระเกียรติพระเจา กรงุ ธนบุรี อเิ หนา คาํ ฉนั ท ¾ สมัยรัตนโกสินทรตอนตน - รชั กาลที่ 1 ยคุ ฟนฟูศิลปวัฒนธรรมทถี่ ูกทําลายต้ังแตเ สียกรุงศรอี ยธุ ยา - สมยั รชั กาลท่ี 2-3 เปน การฟน ฟแู ละมีเอกลักษณเ ฉพาะตวั แตยงั คงแบบสโุ ขทยั อยุธยา ศลิ ปวัฒนธรรมไทยยังคงเปน ศลิ ปะที่เก่ยี วขอ งกบั พระพทุ ธศาสนาเปนสวนใหญ สถาปตยกรรม ไดแ ก พระบรมมหาราชวัง วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม วดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม วดั อรุณราชวราราม (ลักษณะเฉพาะของสถาปตยกรรมแบบตนรตั นโกสนิ ทรน ิยมสรา งเจดยี แ บบปรางค) เชน พระปรางคว ัดอรุณราชวราราม พระปรางคว ดั ระฆังโฆสิตาราม รัชกาลที่ 3 รบั อิทธิพลจากจีนมาผสมไทย เชน วดั ราชโอรสาราม วดั เทพธดิ าราม วัดราชนดั ดา ประตมิ ากรรม เปน ศลิ ปะสบื ทอดจากอยธุ ยา นิยมสรางพระพุทธรูปมีเครื่องทรงมากขึ้น หรือรับแบบ มาจากสโุ ขทยั จติ รกรรม เปน การวาดภาพประดบั ฝาผนัง โบสถ วหิ าร ลักษณะรปู แบบและเทคนคิ ของอยุธยาเนน ภาพมองจากทส่ี ูง การใชสีมีหลากหลายมากทงั้ สีแทแ ละสผี สม นิยมใชส ที องคาํ เปลวเพือ่ ความหรูหรา สวนใหญ เปนภาพเก่ยี วกับพทุ ธประวตั ิ ไตรภมู พิ ระรว ง และชาดก เชน ท่วี ัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม วัดสุวรรณาราม และวัดเครอื วัลยว รวหิ าร วรรณกรรม เชน เร่ืองสมบตั อิ มรนิ ทร ของเจาพระยาพระคลงั (หน) นริ าศสพุ รรณของสุนทรภู รัชกาลท่ี 2 ทรงแตงเติมวรรณกรรมอยธุ ยาใหบ รบิ รู ณในรปู บทละครใชแสดง เชน บทละครรามเกียรติ์ อิเหนา เสภาเรอื่ งขุนชา งขนุ แผน และการแปลวรรณกรรมตา งแดน เชน สามกก ราชาธริ าช เปน ตน สังคมศึกษา (20) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

การเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรมไทยสมยั รัชกาลท่ี 4 ถงึ พ.ศ. 2475 การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมไทย 1. การแผขยายของวฒั นธรรมตะวันตก ผลจากการเขามาเผยแผศาสนาของมชิ ชนั นารี กอ ใหเกดิ การ ปรบั ปรงุ ประเทศใหท นั สมยั แบบตะวนั ตก 2. คนไทยจาํ นวนไมนอยเดนิ ทางไปศกึ ษาในตะวนั ตก พบเห็นความกาวหนา ของชาวตะวันตก และเห็นวา วฒั นธรรมตะวนั ตกเหนือไทย 3. ผูป กครองไทยเหน็ ความจาํ เปนตอ งปรับปรงุ ประเทศตามแบบตะวันตก วฒั นธรรมไทยท่เี ปลีย่ นแปลงในดานศลิ ปกรรม ไดแ ก ¾ สถาปตยกรรม สถาปตยกรรม รบั แบบตะวันตกมาใชในงานกอสรา งอาคารบา นเรือน โดยนํามาผสมผสานกับแบบดั้งเดิม ของไทย เชน พระที่นง่ั จักรีมหาปราสาท ตกึ คณะอักษรศาสตร อนสุ าวรยี ทหารอาสา หอประชุมโรงเรยี นวชริ าวธุ เปน ตน ศลิ ปะกอ สรา งเลียนแบบตะวันตก ไดแ ก การสรา งพระราชวัง เชน พระนครครี ี ทเี่ ขาวัง จ. เพชรบรุ ี พระราชวงั สราญรมย สมยั รชั กาลท่ี 4 พระราชวังนิเวศนท ี่บา นปน จ. เพชรบรุ ี สมัยรัชกาลที่ 5 พระทีน่ ง่ั วโรภาสพมิ าน ในพระราชวงั บางปะอนิ พระนครศรอี ยธุ ยา พระทีน่ ่ังอนนั ต- สมาคม พระราชวังดสุ ิต พระท่นี ัง่ อัมพรสถาน พระทน่ี ง่ั วมิ านเมฆ พระราชวังสราญรมย สมยั รัชกาลท่ี 6 ไดแ ก พระราชวงั สนามจันทร นครปฐม สมยั รชั กาลท่ี 7 ไดแก พระราชวงั ไกลกงั วล ประจวบคีรีขันธ ¾ ประตมิ ากรรม ประตมิ ากรรม ไดแ ก - การสรางรปู ปน เหมือนจริง เชน พระบรมรูปทรงมา พระบรมรปู พระมหาธีรราชเจา ฯลฯ - การสรางพระพทุ ธรปู ทีใ่ สเครือ่ งแบบเทวรูป เชน พระสยามเทวาธริ าช พระสมั พุทธพรรณี พระนิรันตราย ตลอดจนพระพุทธรูปพระประธานของวดั ตา งๆ ¾ จติ รกรรม จติ รกรรม นยิ มวาดภาพเหมอื นจริง ภาพเขียน 2 มติ ขิ องไทยเปลย่ี นเปน 3 มติ ิแทน ตลอดจนภาพเขียน ฝาผนงั ทสี่ ําคญั จะเปนภาพแสดงขนบธรรมเนยี มประเพณที างพระพุทธศาสนา และชีวติ ประจําวนั ของชาวไทย เชน ภาพพระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ภาพพระราชพธิ ีสบิ สองเดอื น และภาพฝงู ชนกําลงั เดนิ ทางไปนมัสการ พระพุทธบาทซ่ึงภาพเขยี นเหลานี้เปนฝม อื ของพระภิกษุ “ขรวั อนิ โขง ” สมยั รัชกาลท่ี 4 อิทธพิ ลศลิ ปะตะวันตกแพรเ ขา สไู ทย ภาพเหมอื นจรงิ ทม่ี ีการแรเงาหรือท่ีเรยี กวา “ทรรศนยี วสิ ัย” ภาพทีท่ านขรวั อนิ โขงเขียนภาพเหมือนภาพแรก คือ พระบรมสาทิสลกั ษณของรชั กาลท่ี 4 ปจจุบัน ประดิษฐานอยูท ีพ่ ิพิธภณั ฑสถานแหง ชาติ ¾ วรรณกรรม สมยั รัชกาลท่ี 4 งานเดนเรอ่ื งแรก คือ นิราศลอนดอน ของหมอ มราโชทยั สมัยรชั กาลที่ 5 มีพระราชนิพนธของรัชกาลท่ี 5 เชน เร่ืองไกลบาน พระราชพิธสี บิ สองเดอื น นอกจากนมี้ กี ารแปลวรรณกรรมจากตา งประเทศ เชน เร่อื งนทิ ราชาคริต ความพยาบาท นอกจากนม้ี งี านเขยี น โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010 _______________________________สงั คมศึกษา (21)

ลกั ษณะวจิ ารณทางการเมืองและสังคม ไดแ ก ผลงานของเทียนวรรณ หรอื ต.ว.ส. วณั ณาโภ ท่ปี รากฏในหนงั สอื ตุลวภิ าคพจนกจิ ศรพิ จนภาค งานดา นหนังสอื พิมพ ดานขาว และวิชาการตา งๆ ที่สาํ คญั ไดแก ดรโุ ณวาท สมัยรชั กาลที่ 6 มกี ารแปลและการเขยี นแบบรอ ยแกว แพรห ลายมากยงิ่ ขน้ึ สว นใหญเปน งานพระราช- นิพนธใ นรัชกาลท่ี 6 เชน เวนิสวานิช โรมโิ อ-จูเลียต พระราชนิพนธบ ทละครราํ เชน สาวิตรี มทั นะพาธา ตลอดจน บทละครพดู เชน หัวใจนักรบ โพงพาง (มัทนะพาธา หรอื ตํานานดอกกุหลาบเปนบทละครพูดคาํ ฉันทเรอ่ื งแรก) สมัยรัชกาลท่ี 7 รปู แบบมลี กั ษณะเปน ไทยมากขน้ึ เปน ยุคเร่ืองสั้น เชน ปราบพยศ สงคราม วรรณกรรมประเภทเรอื่ งส้นั และนวนยิ ายรงุ เรืองจนกระทงั่ สิ้นสุดสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 การเปลยี่ นแปลงวฒั นธรรมดา นการแตงกาย รชั กาลที่ 4 ขุนนางสวมเสอื้ เขาเฝา รชั กาลท่ี 5 ขา ราชการแตง กายชดุ ขา ราชการ หรอื ราชปะแตน การเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมดา นขนบธรรมเนยี มประเพณี รชั กาลท่ี 4 - ใหสิทธแิ กผ หู ญิงในการเลือกคูครอง - ใหช าวตา งชาตริ ว มโตะเสวยอยางไมถ ือพระองค รชั กาลที่ 5 - เลกิ การหมอบคลานเขา เฝา รัชกาลท่ี 6 - สง เสริมใหชายมภี รรยาเดยี ว - ใชคําวา นาง นางสาว นาย เดก็ หญิง เดก็ ชาย นําหนา ชอ่ื - ประกาศใชพระราชบญั ญตั ินามสกลุ - ใชน าฬิกาแทนการใชทุมหรอื โมงแบบโบราณ - ใชพ ทุ ธศกั ราช (พ.ศ.) แทนรตั นโกสินทรศ ก (ร.ศ.) การเปล่ยี นแปลงวัฒนธรรมดานวิทยาการสมยั ใหม - คณะมิชชนั นารี นําความรแู ผนใหมเขามาเผยแพร เชน การแพทย เคมี ฟสกิ ส ฯลฯ - ออกแบบตวั พมิ พอ ักษรไทย และตพี มิ พหนงั สือไทย พรอ มท้งั ตง้ั โรงพิมพในไทย - จําหนา ยหนังสอื พิมพภ าษาอังกฤษ เชน บางกอกรคี อรเดอร คนไทยช้นั สูงไดมโี อกาสรับรู ความกาวหนา - การตงั้ โรงเรียนของคณะมชิ ชันนารี กระตนุ ใหรฐั นําการศกึ ษาในระบบโรงเรยี นมาใชแ ทนการศึกษา ในครอบครัว วงั และวัด ตอมารชั กาลท่ี 6 ไดเริม่ จดั การศึกษาภาคบังคบั ขนึ้ การเปล่ียนแปลงทางวฒั นธรรมไทยภายใตร ะบอบรัฐธรรมนญู แบง ออกเปน ชว งๆ ไดแก ¾ วฒั นธรรมไทยหลัง พ.ศ. 2475 แบง แนวคดิ สาํ คญั 2 ประการ 1. แนวคิดประชาธปิ ไตยหรอื อดุ มการณประชาธิปไตยท่คี ณะราษฎรมุงหวังจะสรางใหสาํ เร็จ 2. แนวคิดในการสรา งชาตใิ หเ ปน มหาอาํ นาจสมัยจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ซง่ึ การกําหนดมาตรการ ตางๆ เรยี กวา “นโยบายรัฐนิยม” สังคมศกึ ษา (22) ______________________________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

¾ นโยบายรัฐนิยมของ จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ไดแก - การเปลี่ยนแปลงวนั ขึ้นปใหมเปนวันที่ 1 มกราคม ใน พ.ศ. 2484 - สงเสริมบทบาทและสถานภาพผหู ญิงใหเทา เทียมชาย - การใหป ระชาชนรูจกั แบงเวลาทํางานและพักผอน - ปรับปรงุ การรบั ประทานอาหารใหเ ปน เวลา ¾ วัฒนธรรมไทยหลังสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 หลงั จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ทาํ รัฐประหารใน พ.ศ. 2490 ไดม กี ารจดั ตัง้ กระทรวงวัฒนธรรมใน พ.ศ. 2495 ควบคกู ับสภาวัฒนธรรมแหง ชาตทิ ี่มีมาต้ังแต พ.ศ. 2485 ซงึ่ สอดคลอ งกับเจตนารมณขององคการ สหประชาชาตทิ จี่ ะสรางความเขาใจอนั ดที างวฒั นธรรมระหวา งชาตติ างๆ เนือ่ งจากปญ หาเศรษฐกจิ สังคม และผลของสงครามทําใหน ักเขียนบางกลุมเสนอวรรณกรรมท่ี ตองการใหม กี ารปรบั ปรุงสังคม ความคดิ เร่ือง “ศลิ ปะเพอื่ ชีวติ ” ¾ วฒั นธรรมไทยภายใตแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ สมยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต เปน นายกรัฐมนตรี ไดย ุบกระทรวงวฒั นธรรมและสภาวัฒนธรรม แหง ชาติ เนอ่ื งจากรฐั บาลเร่มิ ใหความสนใจและพฒั นาดานเศรษฐกิจมากกวาสงั คม และมีการประกาศใชแ ผนพฒั นา เศรษฐกิจแหงชาตฉิ บับแรก เมื่อ พ.ศ. 2504 มีการขยายตัวทางเศรษฐกจิ วถิ ีชวี ิตแบบทนุ นิยมตะวันตกมอี ิทธพิ ลใน สงั คมไทยมากขน้ึ วัฒนธรรมไทยเส่ือมลงทุกขณะ ตลอดจนการเขา มาของทหารอเมรกิ นั ในสงครามเวยี ดนาม จงึ ทาํ ใหร ัฐบาลระยะหลังตอ งใหค วามสนใจฟนฟูศลิ ปวฒั นธรรมมากข้ึน โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010 _______________________________สังคมศกึ ษา (23)

พัฒนาการของมนุษยท างสังคม และวัฒนธรรมของชาติตะวนั ออก อารยธรรมของภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออก (จีนและอินเดยี ) 1. ศิลปวัฒนธรรมของจีน “สมยั กอนประวตั ิศาสตร” ศนู ยก ลางความเจรญิ ของจนี ระยะแรกอยูแ ถบลมุ แมน ํา้ ฮวงโห รองรอย ความเจริญในยคุ หนิ ใหม คือ วฒั นธรรมยางเชา ซง่ึ มีลกั ษณะเดน คือ ภาชนะเคร่ืองปน ดินเผา เขยี นสีแดง ดาํ นาํ้ ตาล และวัฒนธรรมยางเชา ซ่งึ มเี คร่ืองปน ดินเผาสีดําเปนจุดเดน และภาชนะเครือ่ งปน ดนิ เผาชนิดสามขา “สมยั ประวัตศิ าสตรข องจนี ” เรมิ่ ตงั้ แตสมยั ราชวงศซาง (Shang Dynasty) เปน ตนไป โดยแหลง อารยธรรมความเจรญิ ในสมัยราชวงศตา งๆ อยูในบริเวณทร่ี าบลุมแมน าํ้ หวงเหอ (ฮวงโห) และลมุ แมนาํ้ แยงซเี กียง (ภาคตะวันออกของจีน) สรุปได ดังน้ี 1. ชาง (Shang Dynasty) ประมาณ 1766-1122 ป - การใชโลหะสํารดิ ทําเครือ่ งมือเคร่อื งใชตางๆ - การประดษิ ฐตวั อกั ษร - การทาํ นายโชคชะตา - การใชโ ลหะสาํ ริดทาํ เครอื่ งมือเคร่อื งใชต างๆ - การประดษิ ฐตวั อักษร - การทํานายโชคชะตา 2. โจว (Chou Dynasty) ประมาณ 1122-221 ป - แนวความคิดเก่ยี วกับการปกครอง - เร่ิมตนยคุ ศกั ดนิ าของจนี - ความเจรญิ ดานภมู ปิ ญญา ไดถือกําเนิดลัทธคิ วาม เชื่อทางศาสนา 2 ลัทธิ คือ ลัทธิขงจอ๊ื และ ลัทธเิ ตา - ความเจรญิ ทางวัตถุ รจู ักหลอมเหลก็ และนาํ เหล็กมา ใชท ําอาวุธและเครือ่ งมือเครือ่ งใชต างๆ 3. จิ๋นหรอื ฉนิ (Chin Dynasty) ประมาณ 221-206 ป - สรา งกําแพงเมืองจีน - รวบรวมจีนใหเปนจักรวรรดิ ซง่ึ แนวความคดิ นติ ธิ รรมนิยม คอื รวบอํานาจเขา สูสว นกลาง และ ใชกฎหมายอยางเครง ครัด ตอ ตานแนวคิดปราชญ - สุสานซิว่งั ตี่ แสดงถึงความย่ิงใหญข องกองทัพ 4. ฮั่น (Han Dynasty) ประมาณ 206 ปก อน ค.ศ. จนถงึ ค.ศ. 221 - เปนยุคทองดา นการคา ของจีน ไดแก เสนทางสายไหม สนิ คา ทส่ี ําคัญ คอื ผา ไหม คนั ฉอง สาํ รดิ - พระพทุ ธศาสนาเริม่ แพรหลายและเจริญรงุ เรืองในจนี สงั คมศึกษา (24) ______________________________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

- งานเขียนของซอ่ื หมา เจยี น - เคร่อื งเคลือบสเี ขียวมะกอก - สสุ านราชวงศฮ่นั ทําดวยอิฐ มปี ระติกรรมขนาดใหญ 5. ถงั (Tang Dynasty) ประมาณ ค.ศ. 618-907 ป - ความเจรญิ รุงเรอื งในพระพทุ ธศาสนา ไดแ ก พทุ ธศลิ ป เชน พระพุทธรูป เจดยี  วัด พระ โพธสิ ตั ว ภาพพุทธประวตั ิ - การสง เสริมดานการศกึ ษา มีการสอบแขง ขนั เขา ราชการหรือสอบจอหงวน - วรรณกรรม เปนยคุ ทองของกวนี ิพนธจนี (หลีปอ ตวั แทนของเตา) - จิตรกรรม วาดภาพทวิ ทัศน (หวาง ไหว) 6. ซอ งหรือซง (Song, Sung Dynasty) ประมาณ ค.ศ. 960-1279 ป - ไมเ ดนทางดา นการเมือง - มกี ารประดิษฐดินปน - ประดษิ ฐแทน พมิ พก อ นยุโรป 400 ป - การผลิตภาชนะถว ยกระเบอ้ื งสขี าวและสีเขยี วไขกามอี ิทธพิ ลตอสังคโลกของสโุ ขทัย - จิตรกรรม ภาพทิวทศั นท ีส่ มบูรณ (กวอซ)ี - เรม่ิ มปี ระเพณแี ละคา นิยมรัดเทา สตรชี นช้ันสงู ใหเ ล็ก 7. หยวนหรอื หงวน (Yuan Dynasty) ประมาณ ค.ศ. 1279-1368 ป - เปน ราชวงศตางชาติ คอื มองโกล - มคี วามเขม แขง็ ในการปกครอง - มคี วามเจรญิ ในศลิ ปะการละคร โดยเฉพาะง้ิว - วรรณกรรมสามกก - จิตรกรรมภาพมา 8. หมงิ หรือเหมง็ (Ming Dynasty) ประมาณ ค.ศ. 1368-1644 ป - เปน ราชวงศของจีนอยางแทจ รงิ - อนรุ กั ษศ ิลปะเลยี นแบบราชวงศถ งั และซอง - เครอื่ งเคลอื บสีนา้ํ เงิน-ขาว ลายคราม - วรรณกรรม นยิ มภาษาพูดมากกวา ภาษาเขยี น - สถาปตยกรรม สรางพระราชวังกรุงปก กงิ่ หรอื “นครตอ งหาม” 9. ชงิ หรือเช็ง (Ching Dynasty)ประมาณ ค.ศ. 1644-1912 ป - เปนพวกแมนจู ขดั แยงกบั พวกตะวนั ตกในยุคจกั รวรรดินยิ ม - เครือ่ งเคลือบ ไดแก เบญจรงค - จิตรกรรม 2 สํานัก คอื สํานกั ประเพณีนิยม กับ อตั นิยม - วรรณกรรมความฝน ในหอแดง สถาปต ยกรรม มีการสรางพระราชวังฤดรู อนของซสู ีไทเฮา - ค.ศ. 1911 เปนยคุ ท่จี ีนเสือ่ มถอยความเจริญ และถูกลมลา งโดยพวกกก มินตง๋ั เปนระบบ สาธารณรฐั และถกู ปฎวิ ตั ิโดยพรรคคอมมวิ นสิ ต ค.ศ. 1949 และเปนการปกครองแบบคอมมวิ นสิ ต โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________________สงั คมศกึ ษา (25)

2. ศลิ ปวัฒนธรรมของอนิ เดีย แหลงอารยธรรมอนิ เดยี โบราณทเ่ี กา แก ไดแก อารยธรรมลุมแมน้าํ สินธุ (Indus Civilization) ใน ประเทศปากสี ถานในปจจุบนั มีความเจรญิ ในชว งประมาณ 2500-1500 ปกอน ค.ศ. ความเจรญิ ทีส่ าํ คัญ ดังน้ี 1. ซากเมอื งโบราณ 2 แหง คือ เมอื งฮารบั ปา (Harappa) และเมืองโมเฮนโจ-ดาโร (Mohenjo- Daro) เมอื งทง้ั สองต้ังอยูริมฝงแมน ้าํ สินธมุ ีการวางผงั เมอื งอยางเปน ระเบยี บ มตี ลาด เขตท่อี ยูอาศัย และศาสนสถาน 2. พวกทราวิท หรอื ดราวเิ ดียน (Dravidians) คือ กลมุ ชนท่รี ูจกั ใชโลหะ (ทองแดง) ทาํ เครือ่ งมือ เครอ่ื งใชต า งๆ ใชอฐิ กอสรางบาน ทอผา เพาะปลูก สรางระบบการชลประทาน และการเขยี นอักษรรูปภาพ 3. พวกอินโด-อารยนั (Indo-Aryans) เปน ชนเผาเรร อ นอพยพมาจากตอนกลางของทวีปเอเชีย เขา รุกรานอินเดยี เม่อื ประมาณ 1500 ปกอน ค.ศ. โดยขับไลพ วกดราวิเดียนใหถอยรนลงไปทางตอนใต ชนชาติ อารยันจงึ กลายเปนผูสรางสรรคอารยธรรมใหแกอ ินเดียในเวลาตอ มา อารยธรรมอนิ เดยี ในยุคสมยั ตางๆ สรปุ ได ดังน้ี 1. สมยั พระเวท-มหากาพย (ประมาณ C. 5-6 B.C.) ระยะน้ี คือ อารยนั ไดสรางความเจรญิ บรเิ วณลุมนํา้ สนิ ธุ ไดสรา งพื้นฐานความเจรญิ ทางศลิ ปวัฒนธรรม ดงั นี้ ¾ คัมภีรพ ระเวท คอื คมั ภีรศกั ด์สิ ิทธิ์ของพวกอารยัน ไมใชผ ลงานของมนุษยแตเปนผลงาน ของพราหมณ ไดฟงจากโอษฐของพระเจา แบงเปน 4 เลม คือ ฤคเวท สามเวท ยชรุ เวท และอาถรรพเวท เปน คมั ภรี ที่กําหนดวถิ ีการดาํ รงชีวิตของอารยัน และตลอดจนการบูชาเทพเจา หลายองค ตอ มามีการแตง คมั ภรี พ ระเวทอีก คอื พราหมณะ อารณั ยกะ และอุปนิษทั เพ่อื ขยายความ พระเวท และเปนท่ีมาของธรรมเนยี มประเพณี วรรณคดี และปรชั ญาจาํ นวนมาก โดยเฉพาะคมั ภรี อุปนิษัท จะสอน เรื่องปรมาตมนั หรือความจริงที่เทีย่ งแทเ พยี งประการเดยี ว วิญญาณมนษุ ยเ ปนเพียงสวนหน่ึงของปรมาตมันท่เี วียน วายตายเกดิ ไปตามกรรม ¾ ระบบวรรณะ เปน ลักษณะเฉพาะของสังคมอินเดยี ทแ่ี บงออกเปน 4 วรรณะตามหนา ท่ี คอื พราหมณ (นักบวช) กษัตรยิ  (นักรบ) แพศย (พอคา) และศูทร (ผใู ชแ รงงาน) ¾ มหากาพยร ามายณะ และมหาภารตะ เปนวรรณคดีทย่ี งิ่ ใหญของอนิ เดียโบราณเก่ียวกบั การ ทําหนา ทขี่ องมนษุ ยใ หส มบูรณต ามวรรณะตนเอง โดยเฉพาะมหาภารตะเปน เรอื่ งราวของขนบธรรมเนียมประเพณี สถาบนั ทางสังคม และปรัชญา และการดํารงชวี ิต ไดแ ก ตอนภควัทคีตา 2. สมัยมคธ-โมรยิ ะ (ประมาณ C. 5-2 B.C.) ระยะน้มี เี หตกุ ารณท่สี าํ คัญ คือ ¾ เปน สมยั ทอี่ ินเดยี รวมตวั เปนอันหนึง่ อนั เดยี วกัน จากเปนอาณาจักรตา งๆ ในสมัยมคธ จนถงึ อาณาจกั รวรรดิครง้ั แรกของอนิ เดียในราชวงศโมรยิ ะ และนําพระพุทธศาสนามาปกครองและเจรญิ สงู สุด ¾ วทิ ยาการ เชน ดาราศาสตร คณติ ศาสตร การแพทย ภาษาศาสตร ฯลฯ ¾ วรรณคดี ท่สี าํ คญั คือ คัมภรี อรรถศาสตร การปกครอง และอํานาจของพระเจา แผนดนิ เปนหลกั การสําคัญในการปกครอง ¾ พทุ ธศิลป เนือ่ งจากระยะนพ้ี ทุ ธศาสนารงุ เรอื งในอินเดีย เชน เสาหนิ พระเจา อโศก (จารกึ ธรรมะทเี่ สา) สถปู ท่สี าญจิ 3. สมัยกษุ าณะ–อันธระ (ประมาณ C. 2 B.C.–C. 4 A.D.) ราชวงศโ มรยิ ะเสื่อมลง ระยะน้ี อนิ เดียแบงออกเปน 2 พวก คอื ตอนเหนอื ไดแก กุษาณะ (ตางชาต)ิ ซง่ึ มคี วามเจริญมากกวา ตอนใต ไดแก อนั ธระ โดยเฉพาะสมยั พระเจากนษิ กะ สังคมศกึ ษา (26) ______________________________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010

¾ การแยกนิกายในพุทธศาสนา มกี ารสงั คายนาพทุ ธศาสนาและแยกเปน 2 นกิ าย คอื มหายาน และหนิ ยาน ¾ พระพุทธรูป เปนการสรางพระพุทธรปู คร้ังแรก เรยี กวา “พระพทุ ธรูปแบบคันธาระ” ¾ พระโพธิสัตว เปน คตคิ วามเช่อื เกยี่ วกับการเสวยชาตติ อ มาของพระพทุ ธเจา 4. สมัยคุปตะ (C. 4-6 A.D.) เปน ระยะทอี่ ินเดียพยายามฟน ฟูความเปน อินเดยี แท แบบสมยั จักรวรรดโิ มริยะ มีการนาํ เอาความเชือ่ ด้งั เดิมสมยั พระเวทมาปรับปรงุ ใหเขา กับสภาพสงั คมใหม (พฒั นาจากศาสนา พราหมณม าเปน ฮินดู) สมัยนอ้ี าจจะเรียกไดว า เปนยคุ ของ อารยธรรมฮนิ ดู คอื ¾ สถาปต ยกรรม จิตรกรรม และประตมิ ากรรม คือ สถาปต ยกรรมในถาํ้ ซึง่ มกี ารตกแตงดว ย จิตรกรรม และประติมากรรม โดยมที งั้ เรอื่ งในศาสนาพทุ ธ และฮินดู ทีม่ ชี ื่อเสียงมาก คือ ถ้าํ อชันตะ เอลลอรา และเอเลฟน ตา ¾ วรรณกรรม เปน ยุคทองของวรรณคดีสันสกฤต วรรณกรรม คอื บทละคร กวีเอก คอื กาลิทาส ผูแตงเรอื่ ง ศกนุ ตลา ¾ พระพุทธรปู สมยั นแ้ี สดงความออนโยน สงบนิง่ เปน ความงามท่ีเปนอุดมคตแิ บบอินเดยี (มใิ ชเ หมือนจริงตามธรรมชาติ แบบกุษาณะ) เชน พระศกเปนกนหอย จวี รเหมอื นผาเปย กนา้ํ พระกรรณยาว 5. สมยั หลงั คุปตะ-โมกุล (C. 6-16 A.D.) มีเหตุการณสําคัญในอนิ เดยี คอื การเขา มาของ พวก มสุ ลิมเช้ือสายอาหรบั เติรกยึดครองอินเดยี ทางตอนเหนือสวนหน่งึ ซ่ึงมีศนู ยก ลางอยทู ่เี ดลฮี เรียกวา “สมยั สุลตานแหงเดลฮ”ี การสรางสรรคท างศลิ ปวฒั นธรรมนั้นท่สี าํ คัญ คอื การผสมผสานระหวา งศลิ ปวฒั นธรรมฮินดู และ มุสลมิ เชน ¾ ศลิ ปะทมฬิ ปรากฏทางภาคตะวนั ออกเฉยี งใต เปน ศิลปะของพวกดราวเิ ดยี น ลกั ษณะเดน คอื แสดงความต่นื เตน การมอี ํานาจ ความนากลวั สถาปต ยกรรมจะมหี ลังคาซอ นกนั เปนช้ันๆ ¾ ศิลปะอินเดยี ภาคเหนอื และตะวนั ออก อยใู นชวงเวลาใกลเ คยี งกบั ศลิ ปะทมิฬ และมี ลกั ษณะคลายคลงึ กนั แตม คี วามงามออ นชอยกวา และหลงั คาของสถาปตยกรรมเปน แบบโคงสูง ซงึ่ สรา งดว ยการ กออิฐเปน ช้ันๆ ¾ ศลิ ปะแบบปาละและเสนะ สมยั ราชวงศปาละเปน ศิลปะของพทุ ธศาสนามหายานรุนสุดทาย กอนทีจ่ ะถกู ทําลายโดยพวกมสุ ลมิ อยูทางภาคเหนือของอินเดยี โดยมมี หาวิทยาลัยนาลนั ทาอนั รุง เรืองมาตั้งแต สมยั คุปตะ เปน ศนู ยกลางทางศลิ ปวิทยาการ หลงั จากนี้เปนตน ไป ถือวาศาสนาพทุ ธหมดบทบาทในอินเดีย (มหาวทิ ยาลยั นาลันทาถกู พวกมสุ ลิมเผาทาํ ลาย) สว นในราชวงศเสนะ ซึ่งนบั ถอื ศาสนาฮนิ ดูจะเปน ศลิ ปะเนื่องใน ศาสนาฮินดู 6. สมยั โมกลุ (C. 16-18 A.D.) โมกลุ เปนราชวงศสดุ ทา ยของอนิ เดยี กอ นท่ีจะตกอยภู ายใต การ ปกครองขององั กฤษ เปนราชวงศข องพวกมุสลิม (แตเ ปน มสุ ลมิ คนละพวกกับสมัยสุลตา นแหง เดลฮี) มกี าร ผสมผสานระหวา งศลิ ปะฮนิ ดู และมุสลมิ เขา ดวยกนั (ความเจริญรงุ เรืองทางศิลปวฒั นธรรมที่เดนของสมยั โมกลุ คือ สมยั พระเจาอัคบารมหาราช) ในบรรดาศลิ ปะวฒั นธรรมท่ีมผี ลมาจากการผสมผสานนี้ ทเี่ ดน ๆ คอื ¾ สถาปตยกรรม คอื ทชั มาฮาล ¾ วรรณกรรมภาษาเปอรเ ชียผสมกับภาษาอินเดยี กลายเปน ภาษาอรู ดู โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _______________________________สังคมศกึ ษา (27)

พฒั นาการของมนษุ ยทางสงั คม และวฒั นธรรมของชาตติ ะวนั ตก สมัยกอ นประวัตศิ าสตร ยุคหนิ เกา ยคุ หินเกา (Palaeclithic , Old Stone Age) 2.5 ลา นป- 10,000 ป 1. ภาคตะวันออกของทวปี แอฟรกิ า ในประเทศแทนซาเนีย เคนยา และยูกันดา 2. มนษุ ยปก กิ่ง, มนุษยขวา, มนษุ ยนีแอนเดอรทัล (Neandertal) ประเทศเยอรมนี และมนุษยโ ครมันยอง (Cro Magnon) ประเทศฝร่งั เศส ซ่งึ มนุษยโ ครมันยอง เปนมนษุ ยย ุคหินเการนุ สุดทายที่มลี ักษณะเหมือนกับมนุษย ในปจ จบุ ันมาก 3. ประเทศไทย เรยี กช่อื เฉพาะวา “วัฒนธรรมฟง นอยเอียน” (Fingnoian Culture) พบหลกั ฐานเปน เคร่อื งมือหนิ กะเทาะบรเิ วณใกลลาํ แมนาํ้ แควนอ ยและแควใหญ จ. กาญจนบุรี ¾ ดาํ รงชีวิตอยดู วยการลาสัตว จบั ปลา และหาของปา เรรอ นไปตามแหลงอาหารแหงใหมแ ละมกั อาศยั อยูต ามถํ้าและอยูใ กลแ หลง นํ้า ¾ นําหินมาทาํ อาวุธและเครือ่ งมอื เครอ่ื งใชอยางหยาบๆ โดยนาํ มากะเทาะใหแหลมคม เพอ่ื ใชส ําหรับตดั ขุด หรอื เจาะ จึงเรยี กวา “เครือ่ งมือหนิ กะเทาะ” ¾ รูจกั ใชไ ฟ เพ่อื ทําอาหาร ใหแ สงสวาง และปองกนั ภยั จากสัตวตา งๆ ¾ รูจ กั นาํ หนงั สตั วมาทําเครอื่ งนุงหม ¾ มภี าษาพดู มีการฝง ศพ และทําพิธกี รรมเกี่ยวกบั การตาย สะทอนถึงความเช่อื เร่ืองชวี ติ หลังความตาย ¾ มกี ารสรา งสรรคงานศิลปะ เชน ภาพเขยี นสีบนผนังถาํ้ อัลตามิรา (Altamira) ประเทศสเปน และ การแกะสลกั หินเปนรูปคน เปนตน ¾ มกี ารแบงหนาท่ีการทํางานระหวางหญิงกบั ชาย เชน ฝายชายลา สตั ว ทาํ อาวธุ และเคร่อื งมอื เคร่ืองใชต างๆ ฝายหญงิ ทาํ หนา ทีเ่ ล้ียงดูลกู กอไฟ และเก็บหาของปา เปนตน ยคุ หินกลาง ยุคหนิ กลาง (Mesolithic, Middle Stone Age) ประมาณ 8,000 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช 1. วัฒนธรรมโฮบิเนียน (Hobinian Culture) ในประเทศเวียดนาม เปน ตน ¾ รูจ ักการเพาะปลกู อยา งงา ยๆ เลีย้ งสัตว และจบั ปลาดว ยเครือ่ งมอื คลายกับแห ¾ เครือ่ งมือเครอื่ งใชทําดว ยหินกะเทาะมคี วามประณีตมากขน้ึ ¾ มีการรวมกลมุ เปน สังคมกลมุ ใหญ มกี ารตงั้ ถนิ่ ฐานนอกถาํ้ มากขนึ้ ¾ มีการสรา งสรรคผลงานดา นศิลปะ โดยคน พบภาพเขยี นสบี นผนงั ถ้ําหลายแหง มที ั้งภาพคนและสตั ว สะทอ นถงึ ความเชอ่ื ในเร่ืองวญิ ญาณ สงั คมศึกษา (28) ______________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010

ยุคหินใหม ยุคหินใหม (Neolithic , New Stone Age) เกดิ ข้ึนประมาณ 4,000 ป กอนครสิ ตศ กั ราชเปนยุคท่ีมกี าร เปลี่ยนแปลงมากท่ีสุดของยุคหนิ บางทเี รียกวา “การปฏิวตั ยิ ุคหินใหม” 1. วฒั นธรรมยุคหนิ ใหมพ บทัว่ ไปในทกุ ภมู ิภาคของโลก ¾ ทวีปยโุ รป พบอนุสาวรยี ห นิ “สโตนเฮนจ” (Stonehenge) ที่เมอื งซอลสเบอรี (Salisbury) ใน ประเทศอังกฤษ เปนสถาปตยกรรมทางศาสนา สนั นษิ ฐานวา สรา งขน้ึ เพอื่ ใชประกอบพิธกี รรมบชู าดวงอาทติ ยหรอื สงั เกตระยะเวลาความยาวของวัน ¾ ประเทศจนี มีแหลงวัฒนธรรมยางเชา (Yang Shaow) และวฒั นธรรมลุงชาน (Lung Shan) ทางตอนเหนือของประเทศจีน มีการประดิษฐเ ครอื่ งปนดินเผา หมอดนิ เผาสามขา ฯลฯ มกี ารสรางบา นดวยดนิ เหนียว และอาศยั อยรู วมกันเปน หมูบาน เปน ตน ¾ ประเทศไทย พบท่ีบานเกา จ. กาญจนบุรี และบา นเชยี ง จ. อุดรธานี 2. การดาํ เนนิ ชีวิตของมนษุ ยยุคหนิ ใหม ¾ การเพาะปลกู และเลี้ยงสัตว มกี ารรวมตวั กันเปนชมุ ชน เกิดการจัดระเบยี บเพือ่ ควบคุมสงั คม มี ผูนํา มรี ูปแบบการปกครอง มีการแลกเปล่ยี นสินคา และความเจริญในดานตา งๆ ¾ รจู กั ทาํ ภาชนะเคร่อื งปน ดนิ เผา เครอื่ งจักรสาน และทอผา เพ่อื ทําเครื่องนุงหม ¾ รูจักพัฒนาเครอ่ื งมอื เคร่ืองใชใหมีประสทิ ธภิ าพเพ่ิมมากขึ้น โดยนําเครื่องมือหนิ กะเทาะมาขัดและ ฝนใหเ รียบจนกลายเปน “เคร่ืองมือหินขดั ” ยุคโลหะ ยคุ โลหะ แบงเปน 3 ยุค 1. ยคุ ทองแดง (Chalcolithic Age) มนษุ ยเ รม่ิ นําโลหะทองแดงมาทาํ อาวธุ สง่ิ ของเครอ่ื งใชและเคร่ืองประดบั 2. ยคุ สํารดิ (Bronze Age) มนุษยร จู ักนําทองแดงมาหลอมรวมกับดบี ุกกลายเปน โลหะผสม (Alloid) เรียกวา โลหะสําริด 3. ยุคเหล็ก (Iron Age) มนษุ ยรจู ักนําเหลก็ มาถลุงใตเหล็กบรสิ ทุ ธิ์และนํามาใชทาํ อาวุธและเคร่อื งมือ เครอ่ื งใช พัฒนาการความเจรญิ ของมนุษยยุคโลหะ 1. ผคู นดาํ รงชีวติ ดวยการเพาะเปลูกและเล้ยี งสตั ว มีการแลกเปลี่ยนผลผลติ ระหวางชมุ ชนท่อี ยูใ กลเ คยี ง 2. สภาพสงั คมมคี วามเจรญิ เปนสงั คมเมอื ง บางแหงพัฒนาไปถงึ ขนั้ เปน แหลง อารยธรรม (Urban Civilization) เชน อารยธรรมของพวกสเุ มเรยี นในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี (ลมุ แมนํา้ ไทกริสและยูเฟรตสิ ประเทศ อริ ักในปจจบุ ัน) มีการจดั ระเบียบการปกครอง มหี ัวหนาหรอื ผนู าํ วฒั นธรรมยุคโลหะทีส่ ําคัญ ความเจริญของมนษุ ยยุคโลหะ 1. เอเชียตะวันตก วฒั นธรรมยคุ โลหะเกิดขนึ้ ในดนิ แดนลุม แมน ํ้าไทกริส–ยูเฟรตสิ เมือ่ ประมาณ 5,000 ป กอนครสิ ตศกั ราช มแี หลงสาํ คญั อยทู เี่ มือง อลั อเู บอกิ (Al Ubaic) ทางตอนใตข องประเทศอิรกั ในปจ จบุ ัน ตอ มา ชนชาตสิ ุเมเรียน (Sumerian) ไดเขาครอบดนิ แดนแถบนแ้ี ละพฒั นาความเจริญเปนแหลง อารยธรรมเมโสโปเตเมยี เมอ่ื ประมาณ 3,000 ปกอ นครสิ ตศ กั ราช หรอื เมอ่ื 5,000 ปม าแลว ความเจริญของชนชาตสิ ุเมเรยี นที่สําคญั คือ ¾ การทําภาชนะดินเผาดว ยแปน หมุน และทาํ ภาชนะดว ยโลหะทองแดงและเงิน โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _______________________________สังคมศกึ ษา (29)

¾ ใชแรยปิ ซั่มทาํ ซเี มนตเ ชอื่ มหนิ ¾ การกอ สรา ง “ซกิ กแู รต” (Ziggurat) ทําดวยดนิ เหนียวตากแหง ใชประกอบพิธกี รรมทางศาสนา ศูนยก ลางของศิลปหัตถกรรม และโรงพยาบาล 2. เอเชียตะวันออกเฉียงใต วัฒนธรรมยคุ สาํ ริดแหงแรกในดินแดนแถบนี้ คือ วัฒนธรรมดองซอน (Dong Son Culture) บริเวณตอนใตข องจนี มอี ายุประมาณ 3,000 ปมาแลว เปนวัฒนธรรมยคุ สํารดิ (ไมพบยุค ทองแดง) ตอ มาไดแพรเขาไปยงั ดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต หลักฐานของวฒั นธรรมดองซอนทปี่ รากฏในปจจุบัน คือ กลองมโหระทกึ ทําดว ยโลหะสาํ รดิ ผคู นดํารงชีพ ดว ยการเพาะปลูก เลี้ยงสตั ว และการคา ขายแลกเปลย่ี นสนิ คากับชุมชนใกลเคยี ง 3. ยุคโลหะในประเทศไทย พบในดินแดนภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มีการใชท องแดงทําปลายหวั หอกเปน อาวุธ มีอายุประมาณ 4,000 ปม าแลว ซึ่งเกา แกกวา วัฒนธรรมดองซอน ตอ มาในตอนปลายของยคุ โลหะจงึ เร่มิ นํา เหลก็ มาใช ประมาณ 2,500 ปมาแลว แหลง วฒั นธรรมโลหะท่สี ําคญั ในดนิ แดนประเทศไทย คือ ¾ ยุคโลหะทองแดงทบ่ี า นโนนนกทา อาํ เภอคูเวยี ง จ. ขอนแกน ¾ ยุคโลหะสาํ รดิ ที่บา นเชียง อาํ เภอหนองหาน จ. อดุ รธานี การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรมสมัยประวัติศาสตร สมยั ประวตั ศิ าสตรเร่มิ ตน ประมาณ 5000 ปมาแลว เปน สมัยทมี่ นษุ ยรจู กั ประดษิ ฐต ัวอักษรขึน้ ใชเ ปนส่ือ แบงเปน สมัยตางๆ ดังนี้ 1. สมยั โบราณ สมัยโบราณ เริ่มตัง้ แตมนุษยป ระดษิ ฐต วั อักษรขึ้นใชจ นถึงเม่ืออาณาจักรโรมันถกู อนารยชนเผาติวตอนคิ (Teutonic) ซึ่งเปน ชนเผาเยอรมนั ทาํ ลายสูญสน้ิ ไปใน ค.ศ. 0-476 (พ.ศ. 1019) ไดแก อารยธรรมเมโสโปเตเมยี อียิปต และกรีก-โรมัน เมโสโปเตเมยี (3500-626 B.C.) อารยธรรมลุมแมน ํา้ ไทกรีส-ยูเฟรตสิ ¾ สภาพสังคม ต้งั อยูร ะหวา งแมน ํ้า แมนํา้ ไทกริสและยูเฟรตสิ หลายเผาพนั ธุสลับเปล่ียนเขามาสรางสรรคอ ารยธรรม ที่สําคัญประกอบดว ย 1. สุเมเรยี น 2. อัสซีเรียน 3. บาบโิ ลเนียน 4. เปอรเชียน 5. คาลเดยี น 6. ฟเ นเชียน ¾ ลกั ษณะงานศลิ ปะ 1. ประตมิ ากรรมลอยตัว แกะสลกั นนู สงู และนูนตาํ่ (ชนชาตอิ สั ซีเรียน) 2. สถาปต ยกรรมมลี ักษณะสูงคลา ยภูเขา ¾ ผลงาน 1. สถาปตยกรรม เรียกวา “ซกิ กแู รต” (Ziggurat) 2. ทําปฏทิ นิ ทางจนั ทรคติ 1 ป มี 366 12 วัน (ชนเผา คาลเดียน) 3. อักษรล่ิม หรือคูนิฟอรม (Cuneiform) สังคมศกึ ษา (30) ______________________________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010

4. ประมวลกฎหมายฮมั บูราบี 5. ภาพแกะสลักนูนตา่ํ และใชประตโู คง หองสมดุ เนวเิ วห 6. สวนลอยแหง กรงุ บาบิโลน (ชนเผา คาลเดียน) อียปิ ต (3200-525 B.C.) อารยธรรมลุมแมน ้ําไนล ¾ สภาพสังคม 1. เกษตรกรรม บรเิ วณลมุ แมนํ้ามีทะเลทรายลอมรอบทําใหม เี สถยี รภาพ มีฟาโรหเ ปน กษตั ริยกง่ึ เทพและมนษุ ย 2. แบง เปน 3 ชนช้นั - ชนช้ันสูง (พระ, ขุนนาง) - ชนชนั้ กลาง (พอคา , ชางฝม ือ) - ชนชั้นต่ํา (กสิกร, ทาส) ¾ ลักษณะงานศิลปะ 1. มีความม่นั คง ทึบตัน ทนทาน 2. มคี วามเชื่อเกี่ยวกบั ชวี ติ ในโลกหนา ดว ยการสรา งสุสานไวเ ก็บศพ สําหรบั ฟาโรหจะสรางพีระมิดไว เกบ็ ศพ ¾ ผลงาน 1. สถาปตยกรรม คอื การสรางพีระมิด 2. วทิ ยาศาสตร และคณิตศาสตร คือ พบวา π มีคาเทากับ 3.14 3. การแพทย 4. การชลประทาน 5. ศาสนานับถอื เทพเจาหลายองค เทพเจาสําคญั คอื สุริยเทพ (Re หรือ Ra) และเทพโอซิริส ความเช่ือเรื่องอมตะของวญิ ญาณวา จะไมดับสญู ความเชือ่ นี้ทําใหเกดิ การทาํ มัมม่ี เพอ่ื รักษารางผูตายไมใหเ นา เปอ ย 6. อักษรศาสตร คือ เฮยี โรกลฟิ ฟก (Hieroglyphic) 7. คัมภีรม รณะ (Book of the Dead) บนกระดาษปาปร สุ กรีก (600 BC-ค.ศ. 300) คาบสมุทรบอลขา น ¾ สภาพสงั คม 1. ชาวกรีกไดร บั การถายทอดวฒั นธรรมจากอียปิ ตและเอเชยี ไมเนอร 2. ประชาชนมีสิทธเิ สรีภาพมาก 3. ปกครองแบบนครรัฐ มีเอเธนสเ ปนศูนยกลาง ศูนยก ลางนครรัฐอยทู ่ี “อะโครโปลสิ ” สงั คม กรกี มีความเจริญรงุ เรอื งทางการคามาก ทัง้ นเี้ นือ่ งจากต้งั อยรู มิ ฝง ทะเล 4. สังคมกรกี เจรญิ รุง เรืองมองโลกทศั นกวาง มเี หตผุ ล เรียกวา “มนษุ ยนิยม” ¾ ลกั ษณะงานศลิ ปะ 1. ศิลปะไดร ับการยกยองวา งานคลาสสกิ 2. สถาปต ยกรรม สวนใหญท ําดว ยหินออ น มเี สาเรียงแถว เรียบงาย 3. เนนเหตผุ ล และความสมบูรณของมนุษย 4. ประตมิ ากรรมกรกี เนนสรีระรางกายมนุษย รูปเปลอื ย โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010 _______________________________สงั คมศกึ ษา (31)

5. จิตรกรรมประเภทตกแตง บนั ไดและแจกนั ลวดลายท่เี ขยี นเปน ภาพสตั ว เรขาคณติ รปู คน 6. วรรณกรรม มหากาพยอ ีเลยี ด และโอเดสซี ของโฮเมอร 7. ปรญั ญา เชน โสคราตีส และอริสโตเติล ¾ ผลงาน แบงออกเปน 2 ยคุ 1. ยคุ เฮลเลนิค (ศนู ยกลางอยูเอเธนส) - สถาปต ยกรรม หวั เสา 3 แบบ คือ ดอรกิ ไอโอนิค และโครินเธยี น - วิหารพารเ ธนอน - ประตมิ ากรรมเนน สรีระรา งกายมนุษย (นกั ขวางจักร ไมรอน) - วรรณกรรมมหากาพยอ เี ลียด และโอดิสซขี องโฮเมอร - ดา นปรัชญา มนี ักปราชญท โี่ ดงดงั เชน โสเครตสิ เพลโต และอรสิ โตเติล 2. ยคุ เฮลเลนสิ ติค (ผสมผสานศลิ ปะตะวนั ออก) ศนู ยกลางอยูเมืองอเล็กซานเดอร นิยมความ หรูหรา ฟมุ เฟอย ซ่งึ เปนผลมาจากพระเจาอเลก็ ซานเดอรม หาราชยกทัพไปตอี ินเดีย ยคุ เฮเลนนิสติค เปนยคุ ท่ีกรีกเผยแพรว ัฒนธรรมของตนไปยังตะวันออก สมยั พระเจา อเลก็ ซาน- เดอร แหงนครมาซิโดเนยี ไดข ยายจักรวรรดกิ รีกไปยงั ดินแดนซเี รยี ฟนเิ ซีย อียิปต บาบิโลเนยี เอเชยี ไมเนอร และบรเิ วณลุม แมนํา้ สนิ ธุ ศิลปะมลี กั ษณะผสมผสานกบั วัฒนธรรมตะวนั ออก ศลิ ปะเปน แบบความงามท่หี รูหรา โออ า ฉาบฉวย แสดงอารมณร นุ แรง โรมัน (100 B.C.-ค.ศ. 476) คาบสมุทรอติ าลี ¾ สภาพสังคม 1. สภาพสงั คมไดร ับอิทธิพลจากกรกี และชาวอทิ รัสคนั ซ่งึ เปน ชนพ้นื เมือง 2. ระยะแรกปกครองแบบนครรัฐ ตอมาเปนแบบสาธารณรัฐปกครองแบบอภสิ ิทธชิ์ น เรียกวา “ระบอบอภชิ นาธิปไตย” ตอ มาปกครองแบบกษตั ริย 3. ชาวโรมันเปน นกั พัฒนาวฒั นธรรมของชนชาติอืน่ มาเปนของตน มงุ สรางระเบยี บวนิ ยั ความ แข็งแกรงและอํานาจ ¾ ลักษณะงานศิลปะ 1. ศลิ ปกรรมไดแ นวคดิ ศลิ ปะจากชาวอทิ รสั คนั และกรกี 2. เนน ความใหญโต แขง็ แรง คํานึงถึงประโยชนก ารใชสอย เพอื่ แสดงถงึ อํานาจ 3. ศลิ ปะพเิ ศษ คอื พฒั นาโครงสรางสถาปตยกรรม ประติมากรรม จติ รกรรม โดยมุงถงึ ชีวิตความ เปน อยูใ นปจ จบุ นั และชยั ชนะ ¾ ผลงาน 1. สถาปตยกรรม ไดแก สนามกีฬาโคลอสเซยี ม 2. ประตูชยั เพอ่ื อนุสรณแหงชัยชนะมักเปนรปู โคง (Arch) 3. วรรณกรรม เร่ืองอีเนยี ด งานเขียน ของ เวอรจิล 4. กฎหมายของซเิ ซโร สังคมศึกษา (32) ______________________________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

2. สมัยกลาง (ค.ศ. 476-1492) หรอื ยคุ มดื (Dark Age) ¾ สภาพทางสงั คม 1. ลัทธิฟว ดลั หรือระบบศกั ดนิ าสวามิภักด์ิ ซ่ึงคนในสังคมมคี วามสมั พันธแ บบเจา ของท่ดี นิ (Lord) กบั ผรู บั มอบใหถ อื กรรมสทิ ธิ์ทดี่ ิน (Vassal) ทด่ี ินเปนพื้นฐานความผูกพนั ผูรับมอบทด่ี นิ ตอ งรับใชแ ละมคี วาม จงรักภักดีตอเจาของทีด่ นิ สงั คมสมยั กลางประกอบดว ยกลมุ ชน ดงั นี้ - ชนช้ันปกครอง พระมหากษัตรยิ  ขุนนาง อศั วิน ซ่ึงเปนเจาของทีด่ ินมีชีวิตหรูหรา ฟุมเฟอย - สามญั ชน ชาวนาอสิ ระจะมที ี่นาขนาดเลก็ และทาสติดทดี่ นิ (Serf) - พระ มีบทบาทตอ วถิ ชี ีวิตของคนในสงั คม 2. ศาสนาคริสต การสูญสลายของอาณาจกั รโรมัน ทาํ ใหสังคมมลี กั ษณะกระจดั การกระจายเปน ผลใหศ าสนจักรมีอาํ นาจทง้ั ทางการเมือง เศรษฐกจิ และสงั คม และจัดตัง้ สนั ตะปาปาทก่ี รงุ โรม ซ่งึ มีอาํ นาจสูงสดุ มกี ารบพั พาชนียกรรม หรือขับไลคนออกจากศาสนจกั ร คนเหลาน้ีจะถูกตดั ออกจากสงั คมและไมไ ดร บั การคมุ ครอง จากกฎหมาย ¾ สภาพเศรษฐกจิ ระบบแมนเนอร (Manner) พื้นฐานทางเศรษฐกจิ ของสมยั กลางขน้ึ อยูกบั การเกษตรกรรม ทรัพยากรที่สําคัญในสมยั นี้ คอื ท่ดี ินและแรงงาน การผลิตจะผลติ ใหเ พียงพอตอ ความตองการในชุมชนของตน ทาํ ใหไ มมีการตดิ ตอแลกเปล่ยี น สนิ คากับชมุ ชนอนื่ ๆ ¾ สภาพการเมอื งการปกครอง 1. ลกั ษณะการปกครองเปนลกั ษณะการปกครองทข่ี ึ้นอยูก บั ขอตกลง หรือพันธะระหวา งเจาของ ที่ดนิ กับผูร บั มอบใหถ อื กรรมสทิ ธทิ์ ีด่ นิ เปน ผลใหบรรดาพวกขนุ นางมสี ิทธทิ ่ีบงั คบั บัญชาประชาชนทว่ั ไปได 2. ขนุ นางในยุคกลาง มี 3 หนาท่ี คือ เปนผูนําฝา ยทหาร เปนผบู รกิ ารการปกครอง และเปน เจาของท่ีดนิ เพอื่ การเกษตร ¾ ศลิ ปกรรม สะทอ นความเช่ือในเรอื่ งศาสนา 1. ศิลปะไบแซนไทน (ศลิ ปะตะวนั ตกและศลิ ปะตะวันออก) จุดเดน ของสถาปต ยกรรมไบแซนไทน คอื วหิ ารรปู โดม มีการประดบั ประดากระจกสภี ายในวหิ าร วหิ ารสําคัญ คือ วหิ ารเซนตโ ซเฟย ประตมิ ากรรม รูปบชู า เชน พระเยซู นกั บุญ ซง่ึ ขาดสัดสวนทเี่ หมอื นจรงิ สว นใหญเปน งาน แกะสลักงาชา ง จิตรกรรม จดุ เดน เปนเทคนคิ การวาดภาพแบบเฟรสโก (Fresco) ทวี่ าดภาพขณะท่ปี ูน ฉาบ ผนงั ยังเปยกอยู และใชเทคนิคแบบเทมเปอรา (Tempera) ซ่งึ ใชไ ขขาวผสมสใี หไ ดภาพที่คงทนถาวรดว ย จุดเดน ของสถาปต ยกรรม แบบโรมาเนสก คือ การสรางวิหาร มแี ผนผงั เปนรปู ไมก างเขน มี การใชป ระตโู คง หลังคาโคง เพดานโคง และเรียบงาย 2. ศลิ ปะโรมาเนสก (ศตวรรษที่ 11-12 ) สว นใหญเปน งานของพระ สรางขนึ้ เพ่อื สอนศาสนาจงึ เรียบงายกวา ไบแซนไทน ประติมากรรม ประเภทภาพนูน มีท้งั สลกั ดว ยหินและโลหะ ประติมากรรมจะขาดลักษณะ ธรรมชาติ รปู รา งของคนสูงชะลดู และมีการบิดเบ้ยี วกาย โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010 _______________________________สังคมศึกษา (33)

จิตรกรรม ผูกพันกับศาสนาดวยการวาดทั้งแบบธรรมดาและแบบเฟรสโก รปู ทวี่ าดจะมี ลักษณะแขง็ ทื่อไมเปน ธรรมชาติ 3. ศิลปะแบบโกธคิ เปน ศิลปะหลุดจากอทิ ธิพลของศลิ ปะไบแซนไทและโรมาเนส (ครสิ ตศตวรรษท่ี 12-ปลายศตวรรษที่ 15) ประติมากรรม เปน เรอ่ื งราวของคริสตศ าสนา วธิ กี ารสรา งรูปจะลอยออกมาไมติดฝาผนงั รูป คนมอี ารมณ ความรูสกึ เชน ผลงานสลกั หินทวี่ หิ ารชารต ส จิตรกรรม เปนงานประดับกระจกสี การตกแตง จติ รกรรมบนบานกระจก จดุ เดน ของสถาปตยกรรม แบบโกธิค คือ วิหารทางศาสนาจะใชประตโู คง เพดานโคง หลังคา โคง ปลายแหลม ทาํ ใหดอู าคารสงู สงา เชน วหิ ารโนตเตรอดามในปารสี วิหารชารต ส ประเทศฝรงั่ เศส 4. ศลิ ปะแบบอิสลาม สถาปตยกรรม รูปโดม หอคอยรอบๆ สุเหรา จิตรกรรม จะมีการเขยี นลวดลายดอกไม ลายเรขาคณติ และตัวอกั ษร ศิลปะการทาํ พรม การ เขยี นลวดลายลงบนพรม ตลอดจนการทาํ เครอ่ื งปน ดินเผา เครอ่ื งโลหะ เครือ่ งทองเหลอื งท่ลี วดลายงดงาม วรรณกรรม รุไบยาต (Rubaiyat) แตงโดย โอมาร คยั ยาม, อาหรบั ราตรี 5. วรรณกรรม คริสตศ ตวรรษที่ 6-10 เทวนคร ซงึ่ ในภาษาละตนิ โดยนกั บญุ ออกสั ติน เรอ่ื งราวการสรา งโลก ตามทศั นะครสิ ตศ าสนา คริสตศตวรรษที่ 13-14 เกีย่ วกบั มนุษยนิยม เชน ดิไวน คอเมดี ของตงั เต นทิ านแคนเทอรเบอร่ี ของ เจฟฟรีย โซเซอร 6. การศกึ ษา - การศกึ ษาในวดั ทางคริสตศาสนาจะเนนหนักดานเทวนิยม - ต้งั มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยโบโลญญาในอิตาลี ออกซฟอรด และเคมบริดจใ นอังกฤษ และ มหาวิทยาลยั ปารีสในฝรง่ั เศส - ดา นไวยากรณ วาทศลิ ป ตรรกวิทยา เลขาคณติ เรขาคณติ ดาราศาสตร และดนตรี 3. สมัยใหม ต้ังแตครสิ ตศ ตวรรษที่ 15 ยุโรปไดมีการเปลี่ยนแปลง ไดแ ก 1. ความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกจิ เน่ืองมาจากการคา ขายทเี่ กิดข้ึนตามเมอื งตา งๆ ครสิ ตศ ตวรรษที่ 11 ระบบฟว ดลั ในชนบทเร่มิ เสอ่ื มลง ขุนนางถูกลดบทบาท พอคาคนกลางมอี ทิ ธพิ ลแทนท่ี 2. ความตอ งการแสวงหาความเปนอยูท ่ีดีข้นึ และหาความรทู ีน่ อกเหนือไปจากโลกคริสตศาสนา ทาํ ใหผูคนเร่มิ เปล่ยี นแปลงสภาพการดาํ รงชวี ิตและความเช่อื ของตน 3. พระมหากษัตรยิ เร่ิมรวมอํานาจเขา สูศ ูนยกลาง เน่อื งจากความเจริญทางดานการคา เปน ผลให เกิดชนช้ันกลาง เชน พอคา ผูประกอบอาชีพทีใ่ ชค วามรู ไดแก แพทย นกั กฎหมาย 4. ความกาวหนาในการพิมพห นงั สอื เชน โยฮนั น กูเตนเบิรก ชาวเยอรมันท่สี ามารถประดิษฐแทน พมิ พ ไดสําเรจ็ ค.ศ. 1448 (พ.ศ. 1991) สงั คมศกึ ษา (34) ______________________________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

สมัยใหมช วงแรก (ครสิ ตศ ตวรรษที่ 15-18) ¾ เหตกุ ารณทเ่ี ปลย่ี นแปลง 1. การฟน ฟูวทิ ยาการ (Renaissance) (กรีกและโรมนั ) เพราะความเส่ือมของคริสตศ าสนา และการ ขยายตวั ของชนชน้ั กลาง 2. การสํารวจและการคนพบดนิ แดนใหม สมัยแหงการคนพบ (Age of Discovery) 3. การปฏิรปู ศาสนา (C-16) การปฏริ ปู ภายในศาสนจักร และการปฏริ ูปภายนอกศาสนจักรออกเปน โรมันคาทอลิก และนกิ ายโปรเตสแตนต 4. การปฏวิ ตั วิ ิทยาศาสตรแ ละยคุ แหงเหตผุ ล (C-17-18) เกดิ แนวปรชั ญาสาํ คัญ 2 แนว - ปรัชญามนษุ ยนิยม - ปรชั ญาธรรมชาตินยิ ม ¾ ศลิ ปะวฒั นธรรมสมยั ใหมช วงแรก 1. สมัยฟน ฟวู ทิ ยาการ (เปนศิลปะคลาสสิก) โดยมีหลักการ เหตผุ ล ความคิดรูปแบบมากกวาอารมณ สถาปตยกรรม - การใชห ลังคาโคงรูปโดมอยูต รงกลาง การใชประตูโคง การใชเ สาขนาดใหญ เชน วิหารเซนต- ปเตอร ผลงานของ โดนาโต บรามนั เต และไมเคิล แองเจโล ประติมากรรม - เดวดิ เปนรปู แกะสลกั หนิ ออนขนาดใหญเปลือยกาย - รปู ปเอตา ในวิหารเซนตปเ ตอรท ่แี สดงอารมณค วามรูสกึ ที่เศรา โศกเหมอื นมีชีวติ จรงิ จิตรกรรม - เสน แสง เงา ความตื้นลกึ ของภาพ ทีเ่ รียกวา ภาพเปอรส เปกตีฟ จิตรกร คือ ลีโอนารโ ด ดาวนิ ชี ไดแ ก ภาพโมนา ลซิ า และภาพอาหารมอื้ สดุ ทา ย วรรณกรรม - เซอร โทมสั มอร (ยูโทเปย) - วิลเลีย่ ม เชคสเปยร (โรมโิ อและจเู ลียต) 2. บารอคและโรโกโก (ค.ศ. 1600-1750 และ ค.ศ. 1700-1800) หมายถึง ศลิ ปะที่ตกแตง ประดบั ประดาจนเกนิ งามเพือ่ เรยี กรองความศรทั ธาของศาสนากลบั คืนมา จิตรกรรม - คารรัคซี่ (วาดภาพโทเบยี ส, มาดามปอมปาดูร) สถาปต ยกรรม - เนนความหรูหรา ไดแ ก พระราชวังแวรซายด, พระราชวงั ลฟู วว ดนตรี - โยฮนั น เซบาสเตียน บาค ชาวเยอรมัน 3. นโี อคลาสสคิ คอื การใชแสง สี เงา นํา้ หนกั ใหถ กู ตอง ไดส ัดสว นตามความเปน จรงิ ไดแก ภาพ การดื่มยาพิษของโซ คราตีส สมัยใหมช ว งหลัง (C-18-20) โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010 _______________________________สงั คมศกึ ษา (35)

การปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรมเปนการเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ ท่เี กดิ ขน้ึ ในอังกฤษ ต้งั แตครึ่งหลังครสิ ตศตวรรษ ที่ 18 และไดแพรเขาสูภ าคพ้ืนยโุ รป และอเมริกา จดุ เปลี่ยนแปลงสําคัญของประวัตศิ าสตรทําใหย ุโรปกาวเขา สู สมยั ใหมอ ยางแทจรงิ สังคมยุโรปมกี ารเปล่ียนแปลงตา งๆ ดงั น้ี ¾ เหตกุ ารณท ่เี ปลี่ยนแปลง 1. การเปล่ยี นแปลงโครงสรา งทางสงั คม คือ การเกิดขน้ึ ของชนชั้นกลางและชนชนั้ กรรมกร 2. การเตบิ โตของแนวคิดเสรนี ิยม - การเคล่ือนไหวใหมีเสรีภาพทางการเมือง เศรษฐกจิ สงั คม - การเรยี กรองสทิ ธิเสมอภาคตางๆ ทาํ ใหเกิดการปฏิวตั อิ เมริกา ค.ศ. 1776 (พ.ศ. 2319) - การปฏิวตั ใิ นฝรง่ั เศส ค.ศ. 1789 (พ.ศ. 2332) 3. การเติบโตของแนวคิดสงั คมนยิ ม - คารล มารก ซ การปฏิวตั ทิ ีม่ ีอดุ มการณสังคมนิยม เชน การปฏิวตั ิในรสั เซีย ค.ศ. 1917 (พ.ศ. 2460) และจนี ใน ค.ศ. 1949 (พ.ศ. 2492) 4. การเปลีย่ นแปลงวิถีชีวติ การคน พบดินแดนใหมทชี่ าวตะวนั ตกไมเ คยรูจ ักมากอน เชน ทวีป อเมริกาไดม ีผลตอวถิ ีชีวติ ของชาวตะวนั ตกไมน อ ย ในดานการบรโิ ภค สง ผลใหจ ํานวนประชากรเพมิ่ ขึน้ ในศตวรรษ ท่ี 18-19 การเติบโตดา นอตุ สาหกรรม ¾ ศิลปะวัฒนธรรมสมัยใหมชว งหลัง 1. แบบโรแมนตคิ ( เปนศลิ ปะทเี่ กิดจากความเบอ่ื หนา ยการใชเ หตุผล ตอ ตา นการใชเหตผุ ล) สถาปต ยกรรม นิยมแบบโกธิค เชน พระราชวงั เวสทมินสเตอร ที่ใชเหลก็ และกระจก เชน หอไอเฟล (Eiffel) ซึ่ง ออกแบบ โดยอเล็กซานเดอรกสุ ตาฟ ไอเฟล วศิ วกรชาวฝร่ังเศส ประตมิ ากรรม เนนเอารมณ ความรสู ึกและความรกั ชาติ ปน รปู ปนและอนสุ าวรยี  เชน “ประตูชยั ” ทีป่ ารีสของ ฟรองซวั ส รเู ต จิตรกรรม วาดภาพทิวทัศน ภาพคน สตั ว ซงึ่ แสดงอารมณ ความรสู กึ ใชสีสนั ใหความสาํ คัญและเงา เชน ภาพเรอื กลไฟทามกลางพายหุ มิ ะของโจเซฟ เทอรเ นอร ภาพ Liberty Leading the People ของ ยจู นี เดอลา ครัวซ วรรณกรรม เปน เร่อื ง การเสยี สละในความรักชาติ กวนี พิ นธคนสาํ คัญ ไดแก วิลเลียม เวิรดสเวธิ ละคร ละครโรแมนติก เนน อารมณ ความรูสกึ ดนตรี - คีตกวีคนแรก คือ ลุดวิก ฟาน บโี ธเฟน - กวีเปยโน ที่มีชือ่ เสยี ง คือ เฟรดเดอริค, ฟรงั ซวั ส โชแปง ผูถา ยทอดอารมณ ความรสู กึ ชาตนิ ิยม ลงในเสยี งดนตรี สงั คมศกึ ษา (36) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

2. แบบสัจนิยม (เรียลลสิ ม หรอื สังคมนิยม) - แสดงความเปน จรงิ ทีเ่ กิดขึน้ ในสงั คม เชน ชารล โรเบริ ต ดารว นิ (ค.ศ. 1809-1882) ไดเสนอ ทฤษฎีววิ ฒั นาการโดยการเลือกสรรตามธรรมชาติ - นักทฤษฎีสงั คม คือ คารล มารกซ ไดเสนอแนวทฤษฎใี หช นชัน้ กรรมาชพี ปฏิวตั ิลมลา งระบบ ทุนนยิ ม ประตมิ ากรรม สัดสวนเหมือนจรงิ เชน รปู หลอ สํารดิ ชอ่ื “นักคิด” ของออกสุ ต โรแดง จติ รกรรม - กลมุ แบบอมิ เพรสชันนิสม เปน การวาดตามความรสู กึ ทป่ี ระสาทสมั ผสั เทาน้นั การมองเห็นโดย ฉบั พลัน ใชสสี ันและความสาํ คัญกบั แสง ผลงานชัน้ สาํ คัญ เชน ภาพ “ความประทบั ใจยามรุงอรุณ” ของโคลด โมเนต ภาพ “ตอนบายวันอาทติ ยท่เี กาะลากรองแจตต” ของ จอรจ ปแ อรเซอราต นอกจากน้ี - กลุมโพสตอ ิมเพรสชันนสิ ม ใหค วามสาํ คัญกบั ความลึกของภาพ และระยะไกล ใกล ใชสสี ดใส โดยวาดภาพจริง เชน ภาพ “คนกินมนั ฝรง่ั ” ของวนิ เซนต แวนโกะ วรรณกรรม ผลงานของ ชารลส ดกิ เคนส ทีต่ องการปฏิรูปสังคมใหดขี ้ึน จากเรอ่ื ง “โอลิเวอร ทวสิ ต” ผลงาน ของ เอมลิ โซลา จากเรอ่ื ง “พชื พันธุแหง การตอสู” สมัยปจ จุบนั (รวมสมยั ) (1945-ปจ จุบัน) สมยั ปจจุบันเริ่มตนในสมยั สงครามเยน็ หลงั สงครามโลกครั้งท่ี 2 เปนชว งทีม่ ีการประจญั หนากนั ระหวาง ลัทธคิ อมมวิ นิสต ซึง่ มสี หภาพโซเวยี ตเปน ผนู ํามอี ทิ ธิพลเหนือยโุ รปตะวนั ออก กับสหรฐั อเมรกิ าเปน ผูนาํ มีอิทธพิ ล เหนือยุโรปตะวันตก ท้งั สองมหาอํานาจแทรกแซงทางการเมืองในประเทศตา งๆ แตไมมสี งครามระหวา งกัน โดยตรง เพราะตา งเกรงกลัวหายนะจากอาวธุ นวิ เคลยี รส สงครามเย็นเร่ิมยุติลงสมยั ประธานาธิบดกี อบาชอฟใน ค.ศ. 1989 เม่ือกําแพงเบอรลินทสี่ หภาพโซเวยี ตเปนผูสรา งเพอื่ แบง เขตปกครองเยอรมันถูกทาํ ลาย สงครามเยน็ ยุตอิ ยา งเด็ดขาดเมอ่ื สหภาพโซเวียตลม สลาย ในค.ศ. 1991 สถานการณใ นโลกรว มสมัย (contemporary) เปลย่ี นเปนความขดั แยงดา นความคดิ ทางศาสนาและการ ปราบปรามการกอ การราย เชน ความขดั แยง ในตะวันออกกลาง อิสลาเอล- ปาลเสลไตน เหตกุ ารณทส่ี าํ คญั ซ่งึ สงผลกระทบไปท่วั โลก ไดแ ก สหรฐั อเมรกิ าหลังเหตุการณ 9/11 กบั ชาติมสุ ลมิ ในตะวันออกกลาง ไดแ ก อิรกั อัฟกานิสถานและอิหราน เปนตน โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010 _______________________________สงั คมศึกษา (37)

พัฒนาการของแนวคดิ ประชาธิปไตย กําเนิดประชาธิปไตยสมัยใหม (คริสตศ ตวรรษท่ี 17) การกําเนิดประชาธปิ ไตยสมัยใหมม ปี จจัยท่ีสําคญั คือ 1. แบบอยางและอดุ มคตทิ ม่ี าจากสมยั ฟนฟูวทิ ยาการ ทาํ ใหสมัยลัทธิฟว ดลั และอาํ นาจของศาสนจักรหมดไป และหันไปศกึ ษาวรรณกรรม ปรชั ญา แนวคดิ ตา งๆ ของกรกี -โรมัน ถือวา เปน ยุคคลาสสกิ ประเดน็ เกีย่ วกับการ ปกครองประชาธปิ ไตย คือ แนวคิดมนษุ ยนิยม หมายถงึ ทศั นคติท่ยี ึดถือคณุ คา 2. การปฏิรปู ศาสนา ทําใหเกดิ แนวคดิ การกลับไปสูดินแดนพระเจา ไมจําเปน ตองผานศาสนจกั ร หรอื สนั ตะปาปา หรือพิธกี รรม อาํ นาจของศาสนาจักรที่กรงุ โรมถกู บั่นทอน ทําใหแนวคิดวา ดว ยรฐั ธรรมนญู เขามาแทนทเี่ ทวสิทธิ 3. ชนชน้ั กลางกบั การฟนตวั ทางการคา และสงั คมเมอื ง กลายเปนคนสว นใหญของสังคมมีสวนรว มในกิจกรรม ทางการเมือง นกั ปรัชญาทางการเมอื ง (ครสิ ตศตวรรษที่ 17-18) คริสตศ ตวรรษท่ี 18 เปนแหงภูมิธรรม ปญ ญาชนและนักคิดทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอ ประชาธิปไตย ไดแ ก 1. จอหน ล็อค (Jhon Locke ) - อิสระและเสรีภาพเปน สิทธิข้นั พน้ื ฐานของมนษุ ย ทุกคนมีความเทาเทียมกัน - รัฐเกิดขึ้นเนอ่ื งจากความตกลงระหวางผูปกครองและประชาชน - ผูปกครองผิดสญั ญา ประชาชนมีสิทธ์ใิ นการตอ ตานหรอื เปลยี่ นผปู กครองใหมได 2. มองเตสกิเออ (Montesquieu) - การแบง แยกอํานาจทางการเมอื ง ออกเปน 3 สว น คือ นติ บิ ัญญตั ิ บริหาร และตุลาการ - ระบอบกษัตริยไ มเหมาะกบั ประชาชนทตี่ น่ื ตัวทางการเมอื ง 3. วอลแตร (voltaire) - รัฐบาลทดี่ ีตอ งใหเสรีภาพและอิสระประชาชน และปกครองดวยเหตผุ ล - เสรีภาพและอิสระภาพเปน มรดกของมนษุ ย 4. จองฌาค รุสโซ (Rousseau) - การแสดงเจตจาํ นงของปจ เจกชน ซึ่งรัฐบาลตองยอมรับ รฐั บาลอาจถูกเพกิ ถอนไดถาไมปฏบิ ตั ิตาม - แตละคนมเี สรีในการแสดงเจตจํานงและตอ งไมกระทบตอเจตจํานงทวั่ ไป - มอี ิทธพิ ลตอ การปฏวิ ัตฝิ รัง่ เศส คาํ ขวัญของการปฏวิ ัติ คอื เสรภี าพ เสมอภาค และภารดรภาพ 5. โทมัส ฮอบส (Thomas Hobbes) - สภาพธรรมชาตขิ องมนุษยม แี ตความวนุ วาย และการทําสงคราม ดังนน้ั ตองมอบอํานาจท้ังหมดให ผปู กครองมีอาํ นาจเดด็ ขาด - อํานาจของผูป กครองมาจากความยนิ ยอมของประชาชน คือ ระบบกษตั ริย สังคมศกึ ษา (38) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

พัฒนาการของแนวคิดประชาธปิ ไตยในประเทศตะวนั ตก 1. องั กฤษ - แมกนา คารตา (Magna Carta) ค.ศ. 1215 ในกฎบัตรแมกนา คารต า จาํ กัดสิทธ์ิขาดของ กษัตริย ทาํ ใหฐานะกษัตริยอ งั กฤษไมอ ยเู หนือกฎหมายตอ ไป และเปนการรวมตวั กันของรัฐสภา เพื่อเปนการ ถว งดุลอาํ นาจของกษตั ริยในเวลาตอ มา - ระบอบสาธารณรฐั ภายใตการนําของ โอลเิ วอร ครอมเวลส กษัตริยอ งั กฤษพยายามละเมิดกฎ แมกนา คารต า ซง่ึ นาํ ไปสูความขัดแยงระหวา งรัฐสภา จนทาํ ใหเกดิ สงครามกลางเมือง (ค.ศ. 1640-1649) ยงั ผลใหพ ระเจา ชารล ที่ 1 ถกู สําเรจ็ โทษ และเปลย่ี นระบอบการปกครองเปน สาธารณรัฐภายใตการนําของโอลเิ วอร ครอมเวลส จนถึง ค.ศ. 1660 จึงกลบั มาเปน ระบบกษัตริย - การปฏิวัติอันรุง โรจน (The Glorious Revolution) ค.ศ. 1688 ระบบกษัตรยิ กลับมาอีกครงั้ อา งอํานาจเทวสิทธิในการปกครองแบบรฐั สภา ประชาชนจงึ ตอ ตานจนกษตั ริยตอ งสละราชสมบัติ และหนอี อก นอกประเทศ โดยไมม กี ารนองเลอื ด ยังผลใหระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชยสน้ิ สดุ อยางถาวร ค.ศ. 1689 รฐั สภาได ผา นกฎหมาย พระราชบญั ญตั วิ าดวยสทิ ธิ (Bill of rights) วา ดวยสทิ ธิ เสรภี าพ และอํานาจของรัฐสภาทอ่ี ยเู หนือ กษัตรยิ  - ประชาธปิ ไตยอังกฤษปจ จุบนั หวั หนารัฐบาล คอื นายกรัฐมนตรี มรี ัฐธรรมนูญท่ไี มเ ปน ลาย- ลกั ษณอักษร มสี ภาขุนนาง (มาจากศาสนจกั รโดยตําแหนงและสบื ตระกูลขนุ นาง) และสภาสามญั (เลือกมาจาก ประชาชน) 2. สหรัฐอเมรกิ า (ค.ศ. 1776-1783) - การปฏิวัติในยโุ รป สงผลใหอ าณานคิ มอังกฤษในอเมรกิ าเหนอื ไมพ อใจท่รี ฐั บาลองั กฤษตกั ตวง ผลประโยชนดว ยการเกบ็ ภาษี จงึ เรยี กรอ งใหเมอื งแมป ลดปลอยตนเองดว ยการปฏวิ ัตใิ น ค.ศ. 1776 ทาํ ใหเ กิด สงคราม ประกาศอิสรภาพ 7 ป จึงไดร บั เอกราชอยางแทจริง - รัฐธรรมนญู อเมริกา เปน รัฐธรรมนญู ทเี่ ปน ลายลกั ษณอกั ษร ประกาศใชเ มื่อ ค.ศ. 1788 แบง อาํ นาจบรหิ าร นิตบิ ัญญัติ และตุลาการ มพี รรคการเมือง 2 พรรคใหญ คอื เดโมแครต และรพี บั บลกิ นั 3. ฝรั่งเศส - การปฏวิ ัตฝิ ร่งั เศส (ค.ศ. 1789) ไดแ บบอยา งจากอเมริกา และแนวคดิ แบบภูมธิ รรม ซ่งึ ฝรั่งเศส ยงั คงรกั ษาสถานภาพเดมิ คอื กษตั รยิ ใ นระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย จึงเกดิ การปฏวิ ัตลิ มลางพระเจาหลยุ สที่ 16 ขึ้น ใน ค.ศ. 1789 - ความไมม ่นั คงในระบอบประชาธิปไตย ปญ หาภายในและสงครามกบั ประเทศภายนอก ทาํ ให การเมอื งไมม่นั คง และมกี ารเปลยี่ นแปลงเสมอ ค.ศ. 1789-1870 มรี ัฐธรรมนูญ 12 ฉบับ การปกครองจากกษตั รยิ  ภายใตร ัฐธรรมนูญสาธารณรฐั และเผด็จการจนปจจุบัน มีการเลือกตงั้ โดยตรง เน่ืองจากมีการแกไขรฐั ธรรมนญู ค.ศ. 1962 4. การพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศไทย - รชั กาลท่ี 5 คํากราบบงั คมทลู ความเห็นจดั การเปลี่ยนแปลงระเบียบราชการแผน ดนิ ร.ศ. 103 (พ.ศ. 2427) - รัชกาลที่ 6 กบฏ ร.ศ. 130 (พ.ศ. 2454) การเตรียมวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย ไดแ ก ดุสิตธานี - รัชกาลที่ 7 การเตรยี มการปกครองประชาธิปไตย ทรงมีพระราชดาํ ริพระราชทานรัฐธรรมนญู การปฏวิ ัติ พ.ศ. 2475 โดยคณะราษฎรเปล่ยี นแปลงการปกครองเปน ประชาธิปไตย ดวยเหตผุ ลดา นเศรษฐกจิ การเมือง สังคม วนั ที่ 24 มถิ ุนายน 2475 โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________________สังคมศกึ ษา (39)

ยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร เหตกุ ารณสําคัญทม่ี ีผลตอ การเปลีย่ นแปลงของโลก และพัฒนาการ ของมนุษยชาติ ไดแ ก 1. การปฏิวัติเทคโนโลยี (เครื่องพิมพ) (ค.ศ. 1488) 2. การปฏิวัตวิ ิทยาศาสตร (ศตวรรษที่ 16-18) 3. การปฎิวัติอุตสาหกรรม (ค.ศ. 1760 - ปจ จุบัน) 4. การปฎวิ ัตฝิ รั่งเศส (ค.ศ. 1789) 5. การปฎวิ ตั ริ สั เซีย (ค.ศ. 1917) 6. สงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914-1918) 7. สงครามโลกครัง้ ที่ 2 (ค.ศ. 1939–1945) 8. สงครามเยน็ (ค.ศ. 1945-1991) 1. การปฏิวัตเิ ทคโนโลยี (เคร่ืองพิมพ) ¾ ค.ศ. 1488 โยฮนั น กูเตนเบอรก (Johann Gutenburg) ประดษิ ฐแทน พมิ พและตวั หลอ พิมพโลหะ เปน จดุ เร่มิ ตน ของการประดษิ ฐเครือ่ งพมิ พและการพิมพหนงั สอื - การประดิษฐแทน พมิ พและระบบพมิ พแบบใชตวั เรยี ง โดยนาํ โลหะอัลลอย (Alloy) มาหลอ เปน ตัวอกั ษรมขี นาดเทา กันทกุ ตวั เมอื่ จะพมิ พก น็ าํ มาเรยี งเปนคําหรอื ประโยค หนังสอื ทจี่ ัดพิมพโดยวธิ ีน้แี ละรจู ักกันดี คอื “คมั ภรี ไบเบลิ ฉบับกูเตนเบิรก” (Gutenburg Bible) พมิ พเมื่อ ค.ศ. 1454 - คริสตศ ตวรรษท่ี 15 หนงั สอื ประเภทตา งๆ ไดพ มิ พออกมาจาํ นวนมาก ถือวาเปนจดุ เริ่มตนของ “การปฏวิ ตั ภิ ูมปิ ญญา” ของชาติตะวนั ตกอยางแทจ ริง กูเตนเบิรกไดรับยกยองใหเปน “บิดาของการพมิ พ” ¾ จนี เปนชาตแิ รกทีร่ ูจักการพิมพส งิ่ ตพี มิ พด ว ยหมึกบนแผนกระดาษ - คริสตศ ตวรรษท่ี 5ใชวิธีการพิมพท ี่คลายกับการประทับตรายาง คอื นาํ ตรามาจิ้มหมึกแลว ประทบั ลงบนแผนกระดาษ - จนี เปน ชาติแรกทรี่ จู กั ทํากระดาษข้ึนมาใช ตัง้ แตป ค.ศ. 105 - คริสตศ ตวรรษที่ 8 ไดพฒั นามาเปน แมพิมพทําดว ยแผนไมหรือบลอ็ กไม โดยแกะแผน ไมเ ปน ตวั หนังสือ รูปภาพ และลวดลายตา งๆ และพมิ พเ ปนหนังสอื เลมแรก มีลักษณะเปน มวนกระดาษช่อื “วัชรสูตร” (Diamond Sutra) โดย วาง เซยี ะ (Wang Chich) เมือ่ ป ค.ศ. 868 - เทคนคิ การพมิ พบนแมพ ิมพแกะไมของจนี แพรห ลายเขา ไปในยุโรป เม่อื ประมาณครสิ ตศ ตวรรษ ที่ 13 แตไ มเปน ทนี่ ิยมเพราะตองใชเ วลามากในการประดิษฐแมพมิ พแ ผนไม รวมทั้งเสียคา ใชจ า ยสงู ¾ ผลกระทบของการใชน วัตกรรมการพมิ พ 1. การลดตนทุนผลติ หนังสอื 2. ความรแู ละวิทยาการแพรหลายอยา งรวดเรว็ 3. การลดบทบาทความสาํ คญั ของบาทหลวงและครสิ ตจักร 4. การเผยแพรค วามคดิ มนษุ ยนยิ ม (Humanism) กลมุ ความคดิ มนษุ ยน ิยมตระหนกั ถงึ ความสามารถ สังคมศกึ ษา (40) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

และความสําคัญของมนษุ ยท ่ีจะสรา งสรรคส ง่ิ ท่ีดีงามใหเกดิ ขน้ึ แกส ังคม และตอ งการชาํ ระความคิดทางศาสนาให บรสิ ทุ ธิ์ งานเขยี นของกลมุ นักคดิ มนษุ ยนิยม และมอี ิทธิพลตอ ขบวนการปฏริ ปู ศาสนา 5. คริสตศ ตวรรษท่ี 16 โดยมารต นิ ลูเธอร (Martin Luther)จัดพมิ พจุลสารเผยแพรค วามคดิ และขอ เรยี กรองใหค ริสตจกั รและพระสนั ตะปาปา (Pope) มีสํานกั วาตกิ นั แกไขขอ ปฏบิ ตั ใิ หถ กู ตอ งตามคมั ภีรไ บเบิล จน ในที่สดุ เกิดการแยกตัวตงั้ เปน นิกายใหม เรยี กวา “โปรเตสแตนท” (Protestent) ไมขน้ึ ตอครสิ ตจักรคาทอลกิ 2. การปฏิวัตวิ ทิ ยาศาสตร( ศตวรรษที่ 16-18) การปฏวิ ตั ิวิทยาศาสตร หมายถึง วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร ไดแ ก การสงั เกต การตรวจสอบ และการ ทดลองอยา งมหี ลักการและมเี หตุผล ¾ ปจจยั ทีก่ อ ใหเกิดการปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร 1. การฟนฟูศิลปะวิทยาการ 2. การพฒั นาเทคโนโลยีการประดิษฐเ ครอื่ งพมิ พ 3. การสํารวจทางทะเลและการติดตอ กบั โลกตะวนั ออก ¾ ความสาํ คญั ของการปฏิวตั ิทางวทิ ยาศาสตร 1. ทําใหมนษุ ยเช่ือม่นั ในสติปญญาและความสามารถของตน นําไปสูก ารแสวงหาความรูโ ดยไมมสี ้นิ สดุ 2. กอ ใหเ กิดความรแู ละความเจรญิ กา วหนาในวทิ ยาการดา นตา งๆ โดยเนน ศกึ ษาเรื่องราวของธรรมชาติ 3. ทําใหเ กดิ การคน ควา ทดลองและแสวงหาความรู การประดษิ ฐคิดคนส่ิงใหมๆ 4. ทําใหช าวตะวนั ตกมีทศั นคตเิ ปนนกั คดิ ชอบสงั เกต ชอบซักถาม ชอบคนควา ทดลอง ¾ นกั วทิ ยาศาสตร สาํ คัญ 1. กาลิเลโอ ใชก ลอ งโทรทรรศนย ืนยันความถูกตองของระบบสรุ ิยะจกั รวาล 2. เซอร ไอแซค นิวตนั กฎแรงดงึ ดดู ของจกั รวาลและกฎแหง ความโนมถว ง 3. โยฮันเนส เคปเลอร คนพบวงโคจรของดาวเคราะหโดยโลกไมเ ปนศนู ยก ลางจกั รวาล 4. เรอเน เดสการต บิดาแหงเรขาคณิตวเิ คราะหส มัยใหม 5. ปโตรเลมี ศกึ ษาโลกเปนศนู ยก ลางของจักรวาล ¾ ผลจากการปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร ในครสิ ตศตวรรษท่ี 17 1. การปฏิวัติวทิ ยาศาสตรเปนสาเหตุใหเกิดการปฏิวัติอตุ สาหกรรม ในคริสตศ ตวรรษที่ 18 2. ยุโรปพัฒนาความเจริญกา วหนาในดานการผลติ จนกลายเปนประเทศอตุ สาหกรรมชนั้ นาํ ของโลก 3. เกิด “ยคุ ภมู ิธรรม” หรือ “ยคุ แหง การรูแจง” เช่ือม่นั ในเหตผุ ล ความสามารถ และภมู ปิ ญ ญาของตน 3. การปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม ¾ ระยะท่ี 1 (ค.ศ. 1760-1860) (สมัยแหง พลังไอนํ้า) - เทคโนโลยที ีใ่ ชไ มส ลับซบั ซอ น - สว นมากเปน เครือ่ งจกั รอตุ สาหกรรมทอผา - การทําอุตสาหกรรมเหล็ก เปนวัสดุพนื้ ฐานของการทําอุตสาหกรรมอื่นๆ จนไดช ือ่ วา การปฏวิ ตั ิ ยุคเหลก็ - สนิ คาทผ่ี ลติ สว นมากตอบสนองความตอ งการของคนในทวปี ยโุ รป โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________________สังคมศกึ ษา (41)

¾ ระยะที่ 2 (ค.ศ. 1860-1914) (สมัยแหง แกส นํา้ มนั และไฟฟา) - เกดิ อุตสาหกรรมใหมๆ เชน อุตสาหกรรมเคมีและเครอื่ งจกั ร - มีความเจรญิ ดา นอตุ สาหกรรมมากข้นึ จนไดช ่ือวา “การปฏิวัตยิ ุคเหล็กกลา ” - มรี ะบบการลงทุนท่มี สี ถาบันการเงนิ เขา มาควบคมุ กจิ กรรมในฐานะผูถือหนุ รายใหญ ¾ ระยะท่ี 3 (ค.ศ. 1914-ปจจบุ นั ) (สมัยแหง อิเล็กทรอนกิ ส) - ความกาวหนาทางวิทยาการทีเ่ ก่ียวกบั การดําเนินชีวิตประจาํ วันมากทส่ี ดุ - การคนพบไฟฟาเปนผลใหการสอื่ สารไดรับการพัฒนาใหกาวหนามากข้นึ - เปน พืน้ ฐานสูการ “ปฏิวัตคิ อมพิวเตอร” ใน C.21 ¾ สาเหตุทีอ่ ังกฤษเปนผูนาํ ในการปฏิวัติอตุ สาหกรรม 1. มรี ะบบการเงนิ ทีม่ นั่ คง 2. มวี ัตถุดบิ ทีจ่ าํ เปน ตออุตสาหกรรม ไดแ ก เหล็ก ถา นหิน 3. มปี ระชากรเพมิ่ ขน้ึ จากการปฏวิ ตั เิ กษตรกรรมทาํ ใหมีแรงงานเพิม่ มากข้นึ 4. มีความกาวหนาทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 5. มตี ลาดการคา กวา งขวางเนอ่ื งจากมกี ารลาอาณานคิ ม 6. มกี ารคมนาคมขนสง สะดวก ¾ ผลกระทบของการปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม การเมือง 1. เกดิ ลทั ธิจกั รวรรดินิยม 2. บทบาททางการเมืองและการตอ สูของกรรมกร 3. การสถาปนาอํานาจของชนช้นั กลาง เศรษฐกิจ 1. เกดิ ชนช้นั กลาง และชนช้นั กรรมมาชพี 2. เกิดระบบโรงงานแทนการผลติ ในครวั เรอื น 3. เกิดความเหลือ่ มล้ําทางเศรษฐกิจ คอื ประเทศพฒั นาแลว และประเทศกาํ ลงั พัฒนา สงั คม 1. เกิดความเหลือ่ มลาํ้ ทางสงั คม 2. เกดิ การเลือ่ นช้ันทางสังคม 3. ประชากรเพ่ิมข้นึ อยา งรวดเรว็ 4. ชมุ ชนเมอื งเกดิ การขยายตัวอยางรวดเร็ว ภมู ิปญ ญา 1. ลทั ธเิ สรนี ิยม โดย อดมั สมธิ แนวคิด “ใหมกี ารแขง ขันทางเศรษฐกจิ อยา งเสรี โดยรฐั บาลเขา ไปเก่ยี วของกบั กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ นอ ยทสี่ ุด” 2. ลัทธิสงั คมนิยม โดย คารล มารก แนวคดิ “ใหสังคมมคี วามเสมอภาค ลดความแตกตาง ระหวา งชนชัน้ ใหค ิดเห็นสว นรวมมากกวา ” สงั คมศึกษา (42) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

4. การปฏิวัติฝรั่งเศส (ค.ศ. 1789) ¾ สาเหตุของการปฏวิ ตั ิฝรง่ั เศส ค.ศ. 1789 1. ปญหาทางเศรษฐกิจ ระหวา ง ค.ศ. 1776–1781 2. ความเหลือ่ มลํา้ ทางสงั คม 3 ฐานันดร (Estates) ฐานันดรที่ 1 คอื พระและนักบวช ฐานันดรท่ี 2 คือ ขนุ นางและชนชัน้ สูง ฐานันดรที่ 3 คอื สามญั ชน ชาวนาท่ียากจนและถูกขูดรดี ภาษีอยางหนกั 3. ความเสอื่ มโทรมของระบอบการปกครองแบบระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย ¾ จดุ เรม่ิ ตน ของการปฏิวตั ิฝร่งั เศส ค.ศ. 1789 1. การเปดประชมุ รัฐสภา 2. ความขดั แยง จากการประชมุ สภาฐานันดร 3. ฐานนั ดรท่ี 3 แยกตัวออกมาจัดตั้งสมชั ชาแหง ชาติ 4. เหตุการณบ ุกทลายคกุ บาสตยี  (Bastille) (วนั ท่ี 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 ) 5. ความสาํ คญั ของการบกุ ทําลายคุกบาสตีย ¾ การยกเลิกอภิสิทธข์ิ องขุนนางและประกาศสทิ ธมิ นษุ ยชน 1. การเรียกรองของชาวนาในชนบท 2. การยกเลกิ อภสิ ิทธขิ์ นุ นางและชนช้นั สงู - ยกเลกิ ระบบฟวดลั - ระบบอภสิ ิทธิใ์ นการถือครองทดี่ นิ ของพวกขนุ นาง - ยกเลกิ การจา ยภาษีบาํ รงุ ศาสนา - กาํ หนดใหพ ลเมืองทกุ คนมคี วามเสมอภาคเทาเทียมกัน 3. การประกาศหลกั สทิ ธมิ นุษยชนและพลเมอื ง โดยยดึ หลกั การสาํ คญั 3 ขอ ไดแ ก “เสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพ” ¾ การเปลยี่ นแปลงเขา สสู มยั “สาธารณรฐั ฝรัง่ เศส สมยั ที่ 1” 1. ฝรัง่ เศสประกาศใชรฐั ธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศ 2. ปญ หาความยงุ ยากของรฐั บาลใหมภ ายใตร ะบอบรฐั ธรรมนญู เชน พระเจา หลยุ สท ่ี 16 พยายามขอความชว ยเหลือจากประเทศออสเตรเลยี เพ่อื ใหไ ดพระราชอํานาจคืนมา และบรรดาขนุ นางที่สูญเสยี ผลประโยชนหรืออภิสิทธิต์ างๆ พากนั หลบหนีออกนอกประเทศเพอ่ื หาทางโคน ลม รัฐบาล 3. การยกเลิกระบอบกษตั รยิ  สภาคอนเวนช่นั (Convention) เปนสภาทีต่ ัง้ ขน้ึ ใหมเพื่อทําหนาท่ี รางรัฐธรรมนญู ฉบับใหม ไดลงมติยกเลกิ การปกครองระบอบกษตั ริยแ ละประกาศใหฝ รงั่ เศส เขาสู “สมัย สาธารณรฐั สมยั ที่ 1” เมอ่ื วนั ท่ี 21 กันยายน ค.ศ. 1792 และลงมติใหป ระหารชวี ติ พระเจาหลยุ สท ี่ 16 และ ครอบครัวของพระองค ในวนั ที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1793 5. การปฏวิ ัตริ ัสเซีย (ค.ศ. 1917) การปฏิวตั ริ สั เซีย ค.ศ. 1917 มี 2 เหตกุ ารณ คือ 1. การปฏิวัตเิ ดือนกมุ ภาพันธ เปน การปฏวิ ัตโิ คน ลม การปกครองระบอบกษัตรยิ  สงผลใหพระเจา ซาร นิโคลสั ที่ 2 (Tsar Nicholas II) และราชวงศโรมานอฟ (Romanov) ตองลมสลาย 2. การปฏวิ ตั ิเดือนตลุ าคม เปน การปฏิวัตเิ ปล่ียนแปลงการปกครองเขาสรู ะบอบสงั คมนยิ มผนู าํ พรรค บอลเซวกิ (Bolshevik) หรอื พรรคคอมมิวนิสตของรสั เซีย โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010 _______________________________สงั คมศกึ ษา (43)

¾ สาเหตขุ องการปฏวิ ตั ริ ัสเซีย ค.ศ. 1917 1. ความพายแพในสงครามโลก ครงั้ ท่ี 1 2. ปญ หาเศรษฐกจิ และภาวะขาดแคลนอาหารภายในประเทศ 3. ความลมเหลวในการบรหิ ารประเทศและความเส่อื มโทรมของการปกครองระบอบเกา 4. ความวนุ วายภายในประเทศ สืบเนือ่ งมาจากภาวะความขาดแคลนอาหารและน้ํามันเช้ือเพลงิ ในป ค.ศ. 1917 ถงึ ขัน้ ที่รฐั บาลตองใชว ิธีปนสวนอาหารและควบคุมการใชเ ชอ้ื เพลงิ ทําใหเ กิดการชมุ นมุ ประทวง ตอตา นรฐั บาลทวั่ ประเทศ และเกดิ การจลาจลตามเมืองตา งๆ ¾ การปฏวิ ตั เิ ดอื นกมุ ภาพนั ธ ค.ศ. 1917 1. วนั ที่ 23–27 กุมภาพันธ ค.ศ. 1917 เมอ่ื กรรมกรหญิงในกรงุ เปโตรกราดไดจกั ชุมนมุ เรยี กรอง ใหร ัฐบาลยตุ กิ ารเขา รวมในสงครามโลกครั้งที่ 1 และแกไ ขปญ หาความอดอยากขาดแคลนอาหาร รัฐบาลไดใช กาํ ลังทหารและตํารวจปราบปรามฝูงชน 2. พระเจาซาร นิโคลสั ที่ 2 ทรงสละราชบลั ลังก ตามคาํ แนะนําของสภาดมู า (Duma) เมือ่ วันท่ี 1 มนี าคม ค.ศ. 1917 เหตกุ ารณร า ยแรงดังกลา วจงึ ยุติลง เปนการสิ้นสดุ การปกครองของราชวงศโ รมานอฟและการ ลม สลายของระบอบกษตั ริยในประเทศรสั เซีย ¾ การปฏวิ ตั ิเดือนตลุ าคม ค.ศ. 1917 1. ความลม เหลวของรฐั บาลเฉพาะกาลยังคงสนับสนนุ ในการแกไ ขปญหาของประเทศ พรรคบอล- เซวิก (Bolshevik) จงึ ฉวยโอกาสปลุกระดมใหป ระชาชนตอตานการทาํ สงคราม 2. การกอ กบฏของนายพลลาฟร คอรนีลอฟ (Lavr Kornilov) ในเดอื นกนั ยายน ค.ศ. 1917 เพื่อ โคนลม รัฐบาลเฉพาะกาลและจดั ตงั้ ระบบเผด็จการทางทหารขึน้ แทน แตถ ูกรฐั บาลปราบปรามลงไดโ ดยความ ชวยเหลือของพรรคฝา ยซาย 3. วิกฤติทางเศรษฐกิจอันเนอื่ งมาจากการเขารว มในสงคราม รสั เซยี ประสบปญ หาหน้ีสินจากการ เขารว มในสงครามโลกคร้ังที่ 1 เกิดภาวะเงนิ เฟอ อยา งรุนแรง อาหารและสินคา อปุ โภคบรโิ ภคขาดแคลนและมี ราคาสูง ทําใหประชาชนไดร ับความเดอื ดรอ นอยา งหนกั 4. การเดินทางกลับเขาประเทศของผนู ําการปฏิวัติ ซึง่ ลีภ้ ัยการเมอื งอยูนอกประเทศ เชน วลาดมิ รี  ลินนิ ( Vladiir Lenin ) และเลออน ทร็อตสกี (Leon Trotsky) ไดร วมกันวางแผนปฏิวัติโคนลมรัฐบาล และ เปลีย่ นแปลงการปกครองเขา สรู ะบอบสงั คมนยิ ม ¾ ความสาํ คัญของการปฏิวตั เิ ดือนตลุ าคม ค.ศ. 1917 1. เดอื นตลุ าคม ค.ศ. 1917 ของพรรคบอลเซวิก ทาํ ใหร ัสเซียเปน ตนแบบของการปฏวิ ตั สิ ังคม นิยมทป่ี ระเทศอืน่ ๆ นํามาเปน แบบอยา ง 2. การวางแผนพฒั นาความเจรญิ กาวหนาทางเศรษฐกจิ ของพรรคคอมมวิ นสิ ตของสหภาพโซเวียต ทาํ ใหร ัสเซียกลายเปนประเทศอตุ สาหกรรมท่เี ขมแขง็ 6. สงครามโลกครง้ั ที่ 1 (ค.ศ.1917-1918) – วันท่ี 4 สงิ หาคม ค.ศ. 1914 เยอรมนีบกุ เบลเยยี ม – วนั ที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 เยอรมนียอมสงบศึกยตุ ิสงคราม – การลงนามในสญั ญาสันตภิ าพ ฉบับทสี่ าํ คญั ท่ีสุด คือ สนธิสญั ญาแวรซายส (Treaty of Versailles) ทกี่ รงุ ปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมอ่ื วันท่ี 28 มิถนุ ายน ค.ศ. 1919 เปน สนธสิ ัญญาที่บังคบั ใหเยอรมนใี นฐานะชาติ ผูแพตองยอมปฏบิ ตติ ามโดยไมม ขี อโตแยง สังคมศกึ ษา (44) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

– ประเทศคูสงคราม สงครามโลกคร้ังที่ 1 มหาอํานาจ 2 คา ย ไดแ ก 1. มหาอํานาจสมั พันธมติ ร (Allied Powers) เรียกวา “กลมุ สนธสิ ญั ญาไตรภาคี” (Triple Entente) ประกอบดว ย องั กฤษ ฝร่งั เศส และรัสเซีย และอกี 23 ประเทศ รวมทงั้ สหรัฐอเมรกิ า 2. มหาอาํ นาจกลาง (Central Powers) เรียกวา “กลุม สนธิสัญญาพันธมติ รไตรภาค”ี (Triple Alliance) ประกอบดวย เยอรมนี ออสเตรยี ฮังการี และอติ าลี ¾ สาเหตุท่ีนําไปสูส งครามโลกครั้งท่ี 1 1. ลัทธิชาตินยิ ม 2. ลัทธจิ กั รวรรดินยิ ม 3. ลทั ธินยิ มทางทหาร 4. การขยายตัวของระบบพันธมิตรทางทหาร ¾ ชนวนของสงครามโลกคร้ังท่ี และความสาํ คญั 1. กรณีลอบปลงพระชนมเจาชายฟรานซสิ เฟอรดนิ านด (Archduke Francis Fendinand) องค รชั ทายาทของจกั รวรรดอิ อสเตรีย–ฮงั การี ขณะเสด็จประพาสนครหลวงของแควนบอสเนยี เมื่อวันท่ี 28 มถิ นุ ายน ค.ศ. 1914 โดยคนรายที่ถอื สัญชาติเซอรเ บยี ทําใหรฐั บาลออสเตรยี ฮังการี ปก ใจเชอ่ื วา รฐั บาลเซอรเบยี อยู เบ้ืองหลงั 2. ความกาวหนาในเทคโนโลยแี ละอตุ สาหกรรมทางทหาร สงครามโลกครัง้ ที่ 1 แสดงถึง ความกาวหนา ในการประดิษฐอ าวุธรายแรงตางๆ ของประเทศคูสงคราม เชน การนาํ รถถงั มาใชเปนครง้ั แรก การ นาํ เคร่อื งบินรบติดอาวธุ มาทาํ สงครามกลางอากาศเปน ครง้ั แรก และรวมทั้งการใชปนกล ปนใหญ และแกส พษิ เปน ตน 3. การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในยุโรป สงครามโลกครัง้ ที่ 1 มผี ลทาํ ใหจ กั รวรรดิท่ยี ่ิงใหญข อง ยุโรปหลายจักรวรรดิตอ งลม สลาย เชน จกั รวรรดิเยอรมนั จักรวรรดิออสเตรยี –ฮังการี และจักรวรรดอิ อตโตมัน (ตุรกี) เปน ตน และทําใหเ กดิ ประเทศใหมๆ อีกหลายประเทศ เชน โปแลนด ฮงั การี และเซโกสโลวะเกีย ฯลฯ 4. การเกดิ องคการสันนบิ าตชาติ (The League of Nations) ต้ึงข้ึนเพ่อื รกั ษาสันติภาพของโลก 7. สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 (ค.ศ 1939-1945) 1. เรม่ิ วนั ที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1939 เมื่อเยอรมนีบกุ โปแลนด - สน้ิ สดุ วนั ท่ี 14 สงิ หาคม ค.ศ. 1945 เมอื่ ญีป่ ุน ประกาศยอมแพ 2. ประเทศคสู งคราม แบง ออกเปน 2 ฝาย ดังน้ี - กลุมประเทศพันธมิตร ชาติผนู าํ ทส่ี าํ คญั ไดแ ก อังกฤษ ฝรัง่ เศส สหรัฐอเมรกิ าและสหภาพโซเวียต รวมทง้ั ยังมปี ระเทศในภูมภิ าคตางๆ เขา รว มสมทบดว ยอกี จาํ นวนมาก - กลมุ ประเทศฝายอกั ษะ ชาติผนู าํ ท่สี ําคญั ไดแก เยอรมนี ญีป่ ุน และอิตาลี 3. ความสาํ คัญของสงครามโลกครั้งท่ี 2 เปนสงครามทเ่ี กดิ ในเกือบทุกภมู ิภาคของโลก สงครามท่ีสรา ง ความหายนะ เพราะการใชระเบดิ ปรมาณหู รือนิวเคลยี ร (Atomic Bomb) โดยทง้ิ ท่เี มืองฮิโรชิมาและเมอื งนางาซากิ ¾ สาเหตทุ ีน่ ําไปสสู งคราโลก คร้งั ท่ี 2 1. ความลมเหลวขององคก ารสนั นบิ าตชาติ 2. การเติบโตของลทั ธินยิ มทางทหาร 3. ความไมเปนธรรมของสนธสิ ัญญาสนั ตภิ าพ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _______________________________สงั คมศึกษา (45)

4. การแขง ขันทางเศรษฐกิจ 5. ความขดั แยงในอุดมการณท างการเมอื ง - ลัทธิทางทหาร ไดแ ก ฮิตเลอร ผูนาํ ลัทธนิ าซี (Nazism) ของเยอรมนี - มสุ โสลินี ผนู ําลทั ธิฟาสตซ สิ ม (Facism) ของอิตาลี - ใหความสําคญั กับลทั ธิชาตินยิ ม ความเขมแข็งทางทหาร และอํานาจของผูน ํา ¾ ชนวนของสงครามโลก ครั้งท่ี 2 1. กรณเี ยอรมนบี กุ โปแลนด วันท่ี 3 กันยายน ค.ศ. 1939 ทําใหอ งั กฤษและฝรงั่ เศสซง่ึ สนบั สนุน โปแลนด ประกาศสงครามกับเยอรมนที นั ที 2. สงครามขยายตัวในเอเชยี และภูมิภาคอื่นๆ ของโลก เม่ือญ่ีปนุ ซ่ึงเปนพันธมติ รของเยอรมนีได โจมตีฐานทัพเรือของสหรัฐอเมรกิ าท่ีอา วเพิรล หมเู กาะฮาวาย เมอ่ื วนั ท่ี 7 ธนั วาคม ค.ศ. 1941 ทาํ ใหสหรัฐอเมริกา ประกาศเขา รว มสงครามเปน ฝา ยเดียวกบั ชาตพิ ันธมติ รอยางเปนทางการ ¾ ผลของสงครามโลกครั้งท่ี 2 1. ความหายนะจากภยั สงคราม 2. การเกดิ สงครามเย็น (Cold War) ภายหลงั เมอ่ื สงครามโลก ครั้งท่ี 2 ยตุ ลิ ง ในป ค.ศ. 1945 การแขงขันกนั ขยายอํานาจและอิทธพิ ลระหวางสหรฐั อเมรกิ าชาติผูนาํ ของโลกเสรีประชาธิปไตยกับสหภาพโซเวยี ต ประเทศผนู าํ คายคอมมวิ นสิ ต ทาํ ใหโลกเกดิ ภาวะ “สงครามเย็น” หรอื สงครามอุดมการณซ ่งึ คอยๆ แพรข ยาย ขอบเขตจากยโุ รปไปยงั ภูมภิ าคอ่นื ๆ ท่ัวโลกในเวลาตอมา 3. การแบง แยกดุลอํานาจทางการเมอื งในยุโรป เพราะการแขง ขนั อํานาจระหวางชาติมหาอํานาจ สองคา ยซงึ่ มีอุดมการณทางการเมืองทีแ่ ตกตา งกนั 4. การกอ ต้ังองคก ารสหประชาชาติ (United Naitons) กอนท่สี งครามโลกคร้ังท่ี 2 จะยตุ ิลง ประเทศมหาอาํ นาจของโลก เชน สหรฐั อเมรกิ า องั กฤษ และสหภาพโซเวียต ไดร ว มลงนามใน “กฎบัตร แอตแลนตกิ ” (Atlantic Charter) ในป ค.ศ. 1941 จงึ ตง้ั องคก ารสหประชาชาติ (UN) 8. สงครามเยน็ (Cold War) (ค.ศ. 1945-1991) สงครามเย็น เปนความแตกตางของอดุ มการณท างการเมืองระหวา งมหาอํานาจ คอื สหรฐั อเมริกา เปนผูนาํ ฝา ยอุดมการณเ สรีประชาธปิ ไตย และสหภาพโซเวียต สหรฐั อเมรกิ า เปนผนู าํ อุดมการณค อมมวิ นิสตทาํ ให โลกตกอยูภายใตภ าวะตึงเครยี ด เหตกุ ารณสําคญั ชวงการเผชญิ หนา ชวงผอนคลาย ชวงสงครามตัวแทน ชว งสนิ้ สุด ¾ วกิ ฤติการณเบอรลนิ ความตงึ เครียด ¾ รสั เซียบุกอัฟกานสิ ถาน สงคราม ¾ สงครามเวียดนาม ¾ ขัว้ อํานาจ ไดแ ก จึงเกดิ ความตึงเครยี ดกลบั มา ¾ โซเวยี ตลม สลาย ¾ กาํ แพงเบอรลินเปน สหรฐั อเมรกิ า และ อีกครัง้ ¾ เกิด “เครือรัฐ ¾ สญั ลักษณข องสงคราม สหภาพโซเวียต ¾ เกิดโครงการ STAR เอกราช” (CIS) ¾ วกิ ฤตกิ ารณคิวบา ¾ สมัยประธานาธิบดีนิก WAR สมยั โรนลั ด เรแกน ¾ สงครามเกาหลี สนั ทาํ ใหอเมริกาลด บทบาทลงดว ยการ ประกาศ “ลทั ธินกิ สัน” สงั คมศกึ ษา (46) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

ตัวอยา งขอ สอบ (ชุดที่ 1) คําชแ้ี จง : ใหเลือกคําตอบทถ่ี กู ทส่ี ุดเพียงขอเดยี ว 1. พัฒนาการของมนุษยชาติในการคิด สรา ง และทาํ เพอื่ ความอยรู อดในการดํารงชวี ิตเกิดขึ้นครั้งแรกในยคุ ใด 1) ยคุ หนิ เกา 2) ยคุ สาํ ริด 3) ยุคเหลก็ 4) ยุคโลหะ 2. ขอ ใดเปนจุดเร่ิมตน ยคุ ประวตั ิศาสตร 4) รจู ักบนั ทึกขอ ความ 1) รูจกั ใชไ ฟ 2) รูจกั การเพาะปลกู 3) รูจกั ตง้ั ถ่นิ ฐาน 3. หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรใ นขอ ใดไมจัดวาเปนหลักฐานช้ันตน 1) พระพุทธรปู 2) พระไตรปฎก 3) จดหมายเหตวุ นั วลิต 4) เครอ่ื งปน ดนิ เผาบานเชยี ง 4. วิธกี ารในขอ ใดท่ีเปน การนาํ เสนอขอเทจ็ จริงทางประวตั ิศาสตรใ หเ ปนเร่ืองราว 1) การคน ควา และการตคี วาม 2) การวเิ คราะหและการสงั เคราะห 3) การตีความและการสงั เคราะห 4) การรวบรวมขอมูลและการวิเคราะห 5. ขอใดจัดลาํ ดับการบนั ทึกเรื่องราวในอดตี ไดอยางถกู ตอง 1) พงศาวดาร ตํานาน ประวัติศาสตร 2) ตํานาน ประวัตศิ าสตร พงศาวดาร 3) ตาํ นาน พงศาวดาร ประวัติศาสตร 4) พงศาวดาร ประวัติศาสตร ตํานาน 6. “สวุ รรณภมู ิ” ในหลกั ฐานของอินเดียหมายถงึ ภูมิภาคใด 1) เอเชยี ใต 2) เอเชยี ตะวนั ออก 3) เอเชยี ตะวนั ตกเฉยี งใต 4) เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต 7. ขอ ใดเปน มรดกทางอารยธรรมของโรมัน ท่ีถายทอดสูชาตติ างๆ ในโลกยคุ ปจจุบัน 1) ระบอบประชาธปิ ไตย 2) ระบบรฐั ธรรมนญู 3) ระบบกฎหมาย 4) ระบบศกั ดินาสวามิภกั ดิ์ 8. สงครามครเู สด กอ ใหเ กดิ ผลดีตอ สังคมโลกในดานใด 1) ศาสนาครสิ ตเ ผยแผเ ขา มาในทวีปเอเชยี 2) ศาสนาอสิ ลามมโี อกาสเผยแผเ ขา ไปในทวีปยโุ รป 3) ทาํ ใหเ กดิ การผสมกลมกลนื ระหวา งเช้อื ชาตมิ ากขน้ึ 4) ทาํ ใหเ กดิ การขยายตัวทางการคาระหวา งโลกตะวันตกกับโลกตะวันออก 9. ขอใดเปน ปจจัยสําคญั ทีก่ อ ใหเกิดการปฏวิ ัตทิ างวิทยาศาสตร 1) การฟนฟูศลิ ปวทิ ยาการ 2) การขยายตัวทางการคา 3) ความตองการสินคา อตุ สาหกรรม 4) การเพมิ่ ขึน้ ของจาํ นวนประชากร 10. สถาปตยกรรมแบบบารอก ปรากฏในงานกอสรางใด 2) พระราชวงั แวรซ ายส 1) พระราชวงั เวสทมนิ สเตอร 3) มหาวิหารเซนตป เ ตอร 4) มหาวหิ ารเซนตปอล โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010 _______________________________สังคมศึกษา (47)

11. “สรีดภงส” จัดเปน ภูมิปญญาในสมยั ใด 4) อยธุ ยา 1) ทวารวดี 2) สโุ ขทัย 3) เชียงแสน 12. วิธกี ารสบื ทอดวฒั นธรรมและภมู ิปญญาไทยแบบดัง้ เดมิ เปนอยางไร 1) ครถู า ยทอดใหศ ิษยเ ปน หมูคณะตามชุมชนตางๆ 2) ครนู ําหลักธรรมทางศาสนามาประยุกตในการสอน 3) ครรู ับสอนเฉพาะศิษยท ี่เปนคนทอ งถ่ินเดยี วกัน 4) ครูผูมีความชาํ นาญสอนศษิ ยแบบตัวตอ ตวั 13. ระบบศกั ดนิ าสง ผลตอสงั คมไทยสมัยอยธุ ยา และรตั นโกสนิ ทรตอนตน อยางไร 1) เกิดการกระจายการถือครองทดี่ ิน 2) เกิดระบบชนชั้นในสงั คมไทย 3) เกิดการแบง อํานาจการปกครอง 4) เกดิ ระบบการควบคมุ การใชแ รงงาน 14. ขอ ใดเปนคณุ ูปการของหมอบรดั เลยที่มีตอ สังคมไทย 1) การบุกเบิกสิง่ พิมพ และการออกหนงั สือพิมพภาษาไทย 2) การนําพืชสมนุ ไพรไทยมารกั ษาโรคควบคกู บั ยาแผนปจจุบนั 3) การสอนหนังสือควบคูไ ปกับการเผยแผศ าสนาคริสต 4) การเปดโรงพยาบาลรกั ษาโรคดว ยการแพทยสมัยใหม 15. การปลูกกระแสนยิ มความรกั ชาติ และความทนั สมัย เกดิ ขึน้ ในสมยั นายกรฐั มนตรีคนใด 1) จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม 2) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต 3) จอมพลถนอม กิตตขิ จร 4) พลเอกเปรม ติณสลู านนท 16. นโยบายการแกปญ หาเศรษฐกจิ ตกตาํ่ ในสมยั รัชกาลที่ 7 คือขอ ใด 1) ลดคาเงนิ บาท 2) ปลดขา ราชการออก 3) กเู งินจากตา งประเทศ 4) สง เสริมการใชส นิ คาไทย 17. ขอใดเปนเครื่องมอื เคร่อื งใชท แี่ สดงใหเห็นการสรางสรรคอ ันเปนเอกลกั ษณเฉพาะของมนุษยยคุ หนิ ใหมไ ด ชดั เจนทีส่ ุด 1) ขวานหนิ ขดั 2) เครือ่ งดนตรสี ําริด 3) ภาชนะเครอ่ื งปนดนิ เผา 4) การใชกระดกู สตั ว เขาสตั วเ ปนอาวธุ 18. ขอใดเปนจุดเริ่มตนของยุคโลหะ 2) การหลอมทองแดง 1) การหลอมดบี กุ 4) การหลอมสํารดิ 3) การหลอมเหลก็ 19. ถา ในปจจบุ ันประเทศไทยยงั ใชร ะบบศกั ราชแบบรตั นโกสินทรศ ก (ร.ศ.) ปพ ทุ ธศกั ราช 2550 จะตรงกับ รัตนโกสนิ ทรศ กใด 1) ร.ศ. 224 2) ร.ศ. 225 3) ร.ศ. 226 4) ร.ศ. 227 20. ถาตองการวิจยั เร่ือง “เรอื กบั วิถีชวี ติ ชาวเล” จะตอ งใชวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรในขัน้ ตอนใด เพอ่ื ใหไ ด ขอ มลู ทส่ี มบรู ณ 1) การต้ังประเด็นคาํ ถามเรื่องราวที่อยากรู 2) การคน หาและรวบรวมหลกั ฐาน 3) การวิพากษและตคี วามหลักฐาน 4) การสรุปขอเทจ็ จริง สงั คมศกึ ษา (48) ______________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

21. ขอ ใดเปนลักษณะสาํ คัญของจดหมายเหตุ 1) เปนหลักฐานท่เี กย่ี วของกบั ศาสนา 2) เปน บันทึกจากการบอกเลา ตอๆ กันมา 3) เปน ขอมลู ทปี่ ราศจากความคิดเห็นของผบู ันทกึ 4) เปน บนั ทกึ ที่มีเร่ืองของเวลาเขา มาเก่ยี วของ 22. การศึกษาประวตั ิศาสตรแหลง อารยธรรมลมุ แมน ้ําสนิ ธตุ อ งศกึ ษาจากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรข อใด 1) คัมภรี พ ระเวท 2) เมืองโบราณโมเฮนโจดาโรและฮารปั ปา 3) มหากาพยรามายณะและมหาภารตะ 4) เสาศลิ าจารึกของพระเจา อโศกมหาราช 23. ภูมิภาคใดไดร ับอทิ ธพิ ลดานการเมืองการปกครองของอารยธรรมอนิ เดีย 1) เอเชยี กลาง 2) เอเชียตะวันออก 3) เอเชยี ตะวันตกเฉียงใต 4) เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต 24. ขอ ใดไมเ กย่ี วขอ งกบั การฟนฟูศิลปวิทยา 2) การเนน ความเปนปจ เจกชน 1) การยกยอ งความสามารถของมนุษย 4) การคืนกลับมาของอารยธรรมกรีก 3) การรอ้ื ฟนความเช่อื ทางศาสนา 25. สมัยสุโขทัยสามารถเทียบกับสมัยประวตั ิศาสตรส ากลในขอ ใด 1) สมัยแหง การคนพบและสํารวจ 2) สมัยแหงสงครามเพโลพอนนเี ซียน 3) สมยั จกั รวรรดิโรมันตะวนั ตกลมสลาย 4) สมัยจักรพรรดคิ อนสแตนตนิ แหง โรมัน 26. ประวัติศาสตรยโุ รปตะวนั ตกรว มสมัยเร่ิมตนเมือ่ ใด 2) ภายหลังสงครามโลกคร้งั ที่ 2 1) ภายหลงั สงครามโลกครัง้ ที่ 1 3) ภายหลังสงครามเยน็ 4) ภายหลงั การลมสลายของสหภาพโซเวยี ต 27. ความตกลงเชนเกนเก่ียวขอ งกบั เรอื่ งใดในกลุมสหภาพยโุ รป 1) การขอวีซา เขาประเทศ 2) การไมจ ํากัดปรมิ าณสนิ คา นาํ เขา 3) การใหบริการดานสถาบันการเงินขามชาติ 4) การเคลือ่ นยา ยสนิ คาโดยไมตอ งผานศุลกากร 28. “ไพร” ในสงั คมอยธุ ยามฐี านะใกลเ คยี งกบั บุคคลกลุมใดในปจ จุบนั 1) แรงงานรับจาง 2) สามัญชน 3) ทหารเกณฑ 4) กระฎม พี 29. ปญ หาความขัดแยงระหวางไทยกับตา งชาตเิ ร่ืองใดที่รัฐตองตดั สินใจใชวธิ กี ารทางทหารในการแกป ญหา 1) กรณหี วั เมืองมลายกู บั อังกฤษสมัยรัชกาลท่ี 5 2) วิกฤตการณ ร.ศ. 112 กบั ฝรัง่ เศสสมัยรชั กาลท่ี 5 3) ญี่ปนุ เคลือ่ นกองทพั เขา ไทยชว งสงครามโลกครง้ั ที่ 2 4) กรณีพิพาทเรือ่ งเขาพระวหิ ารในชวงหลงั สงครามโลกคร้ังที่ 2 30. วัตถุประสงคท แ่ี ทจ ริงของการกอต้ังขบวนการเสรีไทยในระหวา งสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ตรงกับขอ ใด 1) เพื่อตอ สูกับกองทพั ญ่ีปนุ 2) เพ่ือแสดงออกถึงความรกั ชาติ 3) เพ่อื แสดงตนเปนฝายพันธมิตร 4) เพือ่ ชวยเหลอื คนไทยในอังกฤษและสหรฐั อเมริกา 31. ขรวั อินโขง มผี ลงานเดนดานใด 2) การวาดภาพ 3 มติ ิ 1) การประดษิ ฐลายปนู ปน 4) การปน พระพทุ ธรูป 3) การแกะสลักบานประตูพระอุโบสถ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _______________________________สังคมศกึ ษา (49)

32. บุคคลใดมบี ทบาทสาํ คญั ในการเจรจาแกไ ขสนธิสญั ญาเบาวร ิง 1) ดร.ฟรานซิส บ.ี แซร 2) ดร.แดน บีช บรัดเลย 3) วิลเลียม คลฟิ ตนั ดอดด 4) สมเดจ็ ฯ กรมพระยาเทววงศวโรปการ 33. กิจกรรมใดทีถ่ ือวาเปนการปฏิวัตทิ างเศรษฐกจิ คร้งั แรกของมนษุ ย 1) การประดิษฐค ันไถ 2) การต้ังถนิ่ ฐานและเพาะปลกู 3) การใชเครอ่ื งจักรในระบบการผลิต 4) การประดิษฐเครอื่ งมือเครอ่ื งใชด วยโลหะ 34. พระราชพงศาวดารสมัยอยธุ ยาฉบบั ใดทน่ี ักประวตั ศิ าสตรยอมรับวา มขี อ มลู ถูกตองท่ีสดุ 1) ฉบับบรติ ชิ มวิ เซียม 2) ฉบับพันจันทนมุ าศ (เจิม) 3) ฉบับสมเด็จพระพนรัตน 4) ฉบบั หลวงประเสรฐิ อกั ษรนิต์ิ 35. ขอ ใดคอื ขั้นตอนแรกของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร 1) การคนหาขอ มลู และรวบรวมหลกั ฐาน 2) การต้งั คาํ ถาม และกําหนดประเด็นของการศกึ ษา 3) การอธบิ ายทีม่ ีเหตุผล และมคี ําตอบทช่ี ัดเจน 4) การแสวงหาความหมาย และความสัมพนั ธข องขอ มลู 36. สถาปตยกรรมกรีกที่ไดร ับการยกยอ งมากทีส่ ดุ เปนสถาปตยกรรมประเภทใด 1) วิหารหนิ ออ น 2) โรงมหรสพขนาดใหญ 3) โบสถรูปแปดเหลยี่ ม 4) พระราชวังทีม่ ขี นาดใหญ 37. วรรณกรรมอินเดียที่ชาวยโุ รปรูจกั ในยคุ แรกเขยี นเปน ภาษาใด 4) สนั สกฤต 1) อาหรับ 2) องั กฤษ 3) เปอรเซยี 38. ดินแดนสวนใดของโลกตะวันออกทีม่ ีความกา วหนา ทางวิทยาศาสตรมากทสี่ ดุ ในชว งครสิ ตศตวรรษที่ 8-13 1) จนี 2) อินเดยี 3) เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต 4) เอเชยี ตะวันตกเฉยี งใต 39. ภายหลงั การปฏิวัติโคน ลมราชวงศช ิง จนี ไดเปล่ยี นการปกครองไปสรู ะบอบใด 1) ระบอบสงั คมนิยม 2) ระบอบเผดจ็ การทางทหาร 3) ระบอบคอมมวิ นิสต 4) ระบอบประชาธปิ ไตย 40. โครงสรา งการแบง อาํ นาจในรฐั ธรรมนูญของสหรัฐอเมรกิ า ค.ศ. 1787 ไดร ับอทิ ธิพลจากแนวคดิ ของนกั ปรชั ญา คนใด 1) รสุ โซ 2) วอลแตร 3) จอหน ลอ็ ก 4) มองเตสกเิ ออ 41. ประเทศคใู ดมคี วามขดั แยง กนั เนอ่ื งจากประเดน็ ทางศาสนา 1) เกาหลกี ับญ่ปี ุน 2) สเปนกบั โปรตุเกส 3) ฝรั่งเศสกบั เยอรมนี 4) อินเดียกับปากสี ถาน 42. สงครามโลกคร้งั ที่ 2 แตกตา งจากสงครามโลกคร้งั ที่ 1 อยา งชดั เจนในประเด็นใด 1) การเขารว มสงครามของสหรฐั อเมริกา 2) การทส่ี หภาพโซเวยี ตไมไ ดเขา รว มสงคราม 3) การขยายพืน้ ทขี่ องสมรภูมิและความรายแรงของอาวธุ 4) การยุติความขดั แยง และจดั ตงั้ องคก ารระหวางประเทศ สังคมศกึ ษา (50) ______________________________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook