นางกั้น เชาวพอ้ ง 199
ขัน้ ตอนการถา่ ยทอดการร�ำ โนราของโนราก้นั บันเทิงศิลป์ โนราก้ันได้ถ่ายทอดการแสดงโนราให้แก่ ๔. เมอ่ื ลกู ศษิ ยร์ �ำครบได้ ๑๒ ทา่ กจ็ ะฝกึ หดั ลกู ศษิ ยโ์ ดยมปิ ดิ บงั อ�ำพรางและไมเ่ ลอื กทรี่ กั มกั ทชี่ งั ขบั บทเปน็ กลอนส่ี ตัง้ ใจทุม่ เทถา่ ยทอดความรใู้ ห้ลกู ศิษย์ดว้ ยความรัก ซงึ่ โนรากนั้ จะมีวธิ ีการสอนโนราใหล้ กู ศษิ ย์ ดังนี้ ๕. เมื่อลูกศิษย์ว่ากลอนสี่ได้แล้วก็จะสอน การวา่ กลอนหก และต่อด้วยบทผนั หนา้ ๑. เม่ือลูกศิษย์สนใจจะมาฝากตัวเป็นศิษย์ ฝึกหัดร�ำโนรา โนรากั้นจะยินดีต้อนรับเสมอด้วย ๖. ต่อจากนั้นเป็นการถ่ายทอดคาถาต่างๆ ความเต็มใจ โดยจะให้ลูกศิษย์น�ำพานดอกไม้ ท่ีใช้แสดงโนราและป้องกันตัว รวมท้ังให้คนนิยม หมากพลู ธูปเทียน มาขอฝากตัวเป็นศิษย์ฝึกหัด ต่อจากนั้นโนราก้ันยังได้สอนลูกศิษย์ในเร่ืองการ ร�ำโนราในวันพฤหัสบดี ครองตัวครองตน การปฏิบัติตนเมื่อเป็นโนราหรือ การแสดงโนราสอนให้ลูกศิษย์มีน้�ำใจ เสียสละ ๒. ตอ่ จากนนั้ โนรากนั้ จะเรม่ิ สอนโดยยกมอื อดทน ซ่ือสัตย์ต่อหน้าท่ี ท�ำตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ให้ลกู ศิษยห์ ดั ร�ำทา่ สอดทา่ และทา่ เขาควาย ใหม้ ีความกตัญญูกตเวทตี อ่ ผ้มู ีพระคณุ ๓. ต่อจากนัน้ จะร�ำทา่ ทุกท่า 200 ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (โนรา)
ขนบธรรมเนียมการแสดงโนรา ของโนราก้ัน บนั เทิงศิลป์ จากการทโ่ี นรากน้ั บนั เทงิ ศลิ ป์ แสดงโนรา โดยยังคงรักษารูปแบบการแสดงท่ีเป็นเอกลักษณ์ ของโนราโบราณขนานแท้ การแสดงทุกขั้นตอน ของโนรากั้นยังคงรูปแบบเดมิ เอาไว้ คือ ๑. เม่ือมีผู้มารับโนราไปแสดง เมื่อถึงบ้าน เจ้าภาพก่อนแสดงจะท�ำการเบิกโรง ซ่ึงมีดอกไม้ หมากพลู ธูปเทยี น และเงินจ�ำนวน ๑๐๙ บาท ๒. จากนั้นกลา่ วถึงบทท่ีเรยี กวา่ “กาศคร”ู หรอื บทไหวค้ รโู นรา ซง่ึ ใชบ้ ท “ขานเอ” เปน็ หลกั ๓. ตอ่ จากนนั้ กลา่ วถงึ อารมั ภบทหรอื ขบั บท หนา้ ฉากโนรา ๔. เมื่อขับบทหน้าฉากเสร็จก็ออกร�ำแม่ท่า ซงึ่ บางครัง้ ออกร�ำคนเดียวบา้ ง หลายคนบ้าง ๕. ต่อจากน้ันจะร�ำเดี่ยวต่อพร้อมขับบท เป็นกลอนผันหน้า กลอนส่ีบ้าง กลอนหกบา้ ง หรือ กลอนแปดบ้าง ๖. หลังจากนั้นจะร�ำไปเร่ือยๆ และต่อท้าย ด้วยการออกพราน ซ่ึงจะมีการขับบทพรานด้วย สว่ นมากแสดงเรอ่ื งนยิ ายจกั รๆ วงศๆ์ เชน่ พระสธุ น มโนราห์ ๗. การร�ำแทงเข้ การร�ำคล้องหงส์ จะเป็น การร�ำของโนราผู้ชาย และโนราก้ันซึ่งเป็นโนรา ผ้หู ญงิ จะร�ำไมไ่ ด้ตามธรรมเนยี ม แต่โนราก้ันยังคง รักษาการร�ำนี้เอาไว้ โดยจัดให้โนราผู้ชายในคณะ ที่ร�ำได้เป็นผู้ร�ำ เช่น โนราชุ่ม ค�ำหวาน โนรารุ่ม ค�ำหวาน นางกน้ั เชาวพ้อง 201
เกยี รตคิ ณุ ทีเ่ คยไดร้ บั ตลอดระยะเวลาทโ่ี นรากน้ั บนั เทงิ ศลิ ป์ เขา้ สวู่ งการการแสดงโนรา มผี ลงานการแสดงมากมาย จึงไดร้ บั เกยี รติและรางวลั ต่างๆ เชน่ - ได้รับฉากโนรา ๑ ชุด จากวดั ไทรขาม อ�ำเภอท่าศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช ในโอกาสชนะเลศิ แขง่ ขนั โนรา ๓ คณะ - ได้รับฉากโนรา ๑ ชุด จากวัดจันพอ ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ในโอกาสชนะเลศิ งานทอดกฐนิ - ไดร้ ับเชญิ จากโรงเรียนวัดทอนหงส์ เป็นวทิ ยากรสอนการร�ำโนรา - ได้รับเชิญเป็นวิทยากรสอนร�ำโนราให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านหน้าทับ อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช - ไดร้ บั เชญิ เป็นวิทยากรสอนร�ำโนราใหแ้ ก่นกั เรยี นโรงเรียนวดั จันพอ ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช - ไดร้ บั เกยี รตบิ ตั รจากจงั หวดั นครศรธี รรมราช ในโอกาสไดม้ สี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมศลิ ปนิ พน้ื บา้ น เทิดพระเกียรติ ๕ ธันวามหาราชา เม่ือวันท่ี ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ณ สนามหน้าเมือง นครศรีธรรมราช - ได้รับถ้วยเกียรติยศศิลปินดีเด่นจากสมาคมศิลปินพ้ืนบ้าน จังหวัดนครศรีธรรมราช เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๘ - ไดร้ บั รางวลั เกยี รตบิ ตั รชมเชย จากการประชนั โนราชงิ ถว้ ยพระราชทานสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานเดือนสิบ พ.ศ. ๒๕๔๙ ณ สนาม หน้าศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช - ได้รับเกียรติบัตรจากจังหวัดนครศรีธรรมราช ในโอกาสได้เข้าร่วมประชันโนราชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี “งานเดอื นสิบ เมืองนครศรีธรรมราช ๒๕๕๐” เทดิ ไท้ ๘๐ พรรษา มหาราชา - ได้รับเกียรติบัตรจากจังหวัดนครศรีธรรมราชในโอกาสได้ร่วมสนับสนุนการจัดกิจกรรมแสดง หนงั ตะลงุ เฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ๕ ธันวา มหาราชา เมือ่ วันท่ี ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ - ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๒ การประชนั โนราชงิ ถว้ ยพระราชทาน สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานเดือนสิบเมืองนครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๕๕๒ - ได้รับเงินรางวัล ๕,๐๐๐ บาท จากการประชันโนรา ๓ คณะ ซึ่งโนราก้ันได้รับรางวัลชนะเลิศ ท่ีวัดไทรขาม ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอท่าศาลา จงั หวัดนครศรธี รรมราช นอกจากน้ีโนราก้ันยงั ไดร้ ับเชญิ จากองค์กรภาครัฐ เอกชน หนว่ ยงานต่างๆ รว่ มประชุม อบรม สมั มนาในเรื่องศิลปวฒั นธรรมและเรื่องตา่ งๆ อยสู่ ม�ำ่ เสมอ 202 ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (โนรา)
นางกั้น เชาวพอ้ ง 203
การท�ำ คุณประโยชนเ์ พอื่ สงั คมส่วนรวม อุดมการณ์ในการแสดง นางกน้ั เชาวพอ้ ง เปน็ บคุ คลทผ่ี คู้ นทวั่ ไปตา่ งให้ โนรากั้น บนั เทงิ ศลิ ป์ ได้ตง้ั ปณิธานอย่างแนว่ แน่ การยอมรับว่ามีพฤติกรรมต้ังม่ันอยู่ในศีลธรรมอันดี ท่ีจะร�ำโนราจนกว่าจะร�ำไม่ไหวหรือข้ึนโรงโนราไม่ได้ มาโดยตลอด มคี วามรบั ผดิ ชอบทง้ั ตอ่ ครอบครวั องคก์ ร จะยึดการแสดงโนราแบบโบราณอย่างแท้จริง และจะ ชุมชน สังคมส่วนรวมด้วยความเสียสละ ได้อุทิศตน ถ่ายทอดการร�ำโนราให้แก่ลูกหลานเยาวชนรุ่นหลัง เพื่อท�ำงานสร้างสรรค์สังคม ชุมชนส่วนรวม เช่น ได้สืบสานมรดกของบรรพบุรุษไวต้ ลอดไป การก่อต้ังสมาคมศลิ ปินพ้ืนบา้ นนครศรีธรรมราช และ เป็นกรรมการสมาคมก่อตั้งชมรมหนังตะลุง โนรา เพลงบอก และได้รับเลือกให้เป็นกรรมการชมรม และโดยเฉพาะอย่างย่ิง การแสดงโนราของนางก้ัน จะสอดแทรกปลูกฝังธรรมะให้กับผู้ดูผู้ชมเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะแสดงที่ใด โดยจะสอดแทรกธรรมะในการ บรรยาย การร้องบทอย่างสม่�ำเสมอ ตลอดถึงการ พดู คยุ ทกั ทายคนดู ในขณะแสดงกจ็ ะใหข้ อ้ คดิ คตธิ รรม แกค่ นดูในการด�ำเนนิ ชีวติ ตลอดเวลา นางก้ันจะให้ความส�ำคัญกับวัดวาอาราม อยู่เสมอ ยามว่างจากการแสดงโนราก็จะไปดูแล วัดจันพอ ซ่ึงเป็นวัดในหมู่บ้าน จัดข้าวจัดของ ปัดกวาดท�ำความสะอาดอาคาร บรเิ วณวัด และจะให้ ความส�ำคัญกับการท�ำบุญ ท�ำพุ่มกฐิน - ผ้าป่าไปทอด ตามวดั ต่างๆ เป็นประจ�ำทุกปี ปลี ะหลายๆ วดั ซึ่งเปน็ บคุ คทต่ี ง้ั มน่ั อยใู่ นศลี ธรรม ประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ ง ทีด่ แี กค่ นทว่ั ไป อาทิ - จัดพุ่มทอดผ้าป่า วัดคลองดิน อ�ำเภอ หัวตะพาน อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช และส�ำนักสงฆ์วังลุง อ�ำเภอพรหมคีรี จังหวัด นครศรธี รรมราช - บริจาคเงินช่วยเหลือสมาคมศิลปินพ้ืนบ้าน นครศรีธรรมราช - บริจาคอุปกรณ์ให้ส�ำนักงานชมรมหนังตะลุง โนรา เพลงบอก นอกจากนั้นยังอุทิศเวลาช่วยเหลือสังคม สว่ นรวมตา่ งๆ อยตู่ ลอดเวลา เชน่ งานวดั งานโรงเรยี น และงานชมุ ชนตา่ งๆ อย่เู สมอ 204 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (โนรา)
ชีวิตปัจจบุ ัน ปจั จบุ นั โนรากนั้ บนั เทงิ ศิลป์ ยงั คงรบั งานแสดงโนรา และเมื่อ มีโอกาสแสดงช่วยเหลืองานการกุศลและสังคมส่วนรวมได้ก็จะยินดีช่วย เสมอ ยามว่างจากการแสดงโนราก็จะมีผู้มาขอให้ช่วยร้อยลูกปัดให้ เปน็ ชดุ โนราบา้ ง รอ้ ยลกู ปดั หนา้ จอหนงั ตะลงุ บา้ ง โนรากน้ั ไมไ่ ดเ้ รยี กรอ้ ง ค่าจ้างใดๆ แล้วแต่เขาจะมีน�้ำใจให้ และส่วนใหญ่จะช่วยร้อยลูกปัดให้ โดยไม่คิดค่าตอบแทน ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายในสังคมชนบท และยัง ฝึกสอนให้ลูกศิษย์ที่มาฝึกหัดอยู่ตลอด ด้วยอยู่ในวัยชราอายุถึง ๘๖ ปี แตก่ ็ไมส่ ามารถท�ำให้โนรากน้ั หยุดการร�ำโนราได้ เพราะจิตและวิญญาณ คือ ศิลปินอยา่ งแทจ้ รงิ ทีอ่ ย่ปู ัจจุบัน เลขท่ี ๒๘/๑ หมู่ ๒ ต�ำบลดอนตะโก นางก้นั เชาวพอ้ ง 205 อ�ำเภอท่าศาลา จังหวดั นครศรีธรรมราช
206 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผ้ปู ระพันธเ์ พลงไทยสากล)
ค�ำประกาศเกียรติคณุ นางสคุ นธ์ พรพิรุณ ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผ้ปู ระพนั ธเ์ พลงไทยสากล) พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ นางสคุ นธ์ พรพิรณุ ปจั จบุ นั อายุ ๘๔ ปี เกดิ เมื่อวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๔๗๘ ทีจ่ ังหวัดราชบุรี ในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ เข้าศึกษาท่ีวิทยาลัยพยาบาลโรงพยาบาลหญิง กรมการแพทย์ (ราชวิถีปัจจุบัน) พ.ศ. ๒๔๙๖ ศึกษาการดนตรี ได้รับแต่งต้ังเป็นหัวหน้าวงดนตรีคนแรกของโรงพยาบาลหญิง ในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ อบรมวิชาการทหารจากกรมการ รักษาดินแดน เพื่อเข้าทำ�งานในกองดุริยางค์ทหารบก รวมถึงได้เรียนรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ในขณะน้ันเป็นเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ทางดนตรี โปรแกรมรนุ่ แรก คอื Encore และโปรแกรม Sibelius และในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดร้ บั ปรญิ ญา กติ ติมศักด์คิ รศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาดนตรศี กึ ษา จากสถาบนั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา นางสุคนธ์ พรพิรุณ หรือ “พรพิรุณ” คือช่ือที่ครูสมาน กาญจนะผลิน ได้ต้ังให้เพ่ือใช้ในการประพันธ์เพลง พรพิรุณเป็นผ้มู ีความรู้ความสามารถในการแต่งเพลงไดต้ ง้ั แต่อายุยังนอ้ ย โดยในปี พ.ศ. ๒๔๙๒ (อายุ ๑๔ ปี) เรม่ิ เขยี น เพลงไทยสากลเพลงแรก “มนตจ์ นั ทร”์ ให้กับคณะละครวทิ ยุ “พันตรศี ิลปะ” ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็นนกั เขยี นแตง่ เพลง อิสระ เขียนเพลงส่งครูสมาน กาญจนะผลิน ในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ได้เข้าทำ�งานในวงสุนทราภรณ์ เป็นนักแต่งเพลง ส่งเพลงให้ครเู อื้อ สนุ ทรสนาน ซึ่งพรพริ ณุ มพี รสวรรค์ทีส่ ำ�คัญที่ครเู พลงทง้ั หลายในยุคน้นั รูก้ ันดี คือ สามารถอา่ นโนต้ ปากเปล่าได้ทุกบันไดเสียง โดยไม่ต้องอาศัยเคร่ืองดนตรีใดๆ ทำ�เสียงให้ ถือเป็นปรมาจารย์ทางดนตรีสากล ท้ังในด้านการเป็นนักประพันธ์เพลง โดยเฉพาะการประพันธ์คำ�ร้องและทำ�นอง รวมแล้วมากกว่า ๓,๐๐๐ เพลง ผลงานเพลงท่ีสรา้ งชอ่ื เสียง อาทิ ขอให้เหมอื นเดมิ ใครกไ็ ดถ้ ้ารกั ฉนั จรงิ น้ําตาเพื่อนใจ ด้านการเป็นนักรอ้ ง พรพิรุณ สามารถร้องได้หลายภาษา ท้ังเพลงไทยสากล เพลงสากล และเพลงจีน ด้วยน้ําเสียงหวานก้องกังวาน ความชัดเจน ในการเปล่งเสียง อักขระ ตัวควบกล้ํา และอารมณ์ท่ีแทรกอยู่ในบทเพลง ล้วนนำ�มาเป็นแบบอย่างเพ่ือถ่ายทอดแก่ ชนรนุ่ หลงั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ด้านการเปน็ นักดนตรี ได้ฝึกฝนและเรยี นรทู้ ฤษฎโี น้ตสากล รวมทัง้ ฝกึ ปฏิบัติเป่าแซกโซโฟน เปยี โน เครอ่ื งคยี บ์ อรด์ อนื่ และการดดี กตี ารฮ์ าวาย ดา้ นการเปน็ ครดู นตรี ไดเ้ ปน็ วทิ ยากรถา่ ยทอดใหก้ ารอบรมครดู นตรี ต้ังแต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาจนถึงอุดมศึกษา ให้แก่โรงเรียน มหาวิทยาลัยท้ังในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด นบั เปน็ ครผู ู้อทุ ศิ ตน สร้างคุณูปการใหแ้ กว่ งการเพลงไทยสากลโดยแท้จริง นางสุคนธ์ พรพิรุณ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์ เพลงไทยสากล) พุทธศักราช ๒๕๖๑ นางสคุ นธ์ พรพิรณุ 207
นปราะวงตั สิชุควี ติ นแธละ์ ผพลงรานพริ ณุ ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผปู้ ระพนั ธเ์ พลงไทยสากล) 208 ศิลปินแห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผปู้ ระพันธเ์ พลงไทยสากล)
นางสุคนธ์ พรพิรณุ นามเดมิ นางสุคนธ์ กสุ ุมภ์ เกิดเมือ่ วนั ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ทจี่ ังหวัดราชบุรี เปน็ บตุ รของ พนั เอกจรสั กุสุมภ์ และนางสาคร กสุ มุ ภ์ ชีวิตครอบครวั สมรสกับนายไพบลู ย์ จลุ การ (ถึงแก่กรรม) มีบตุ รชาย ๑ คน ชอ่ื นายบัณฑิตพงศ์ พรพริ ณุ ประวตั กิ ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๔๘๙ จบชน้ั ประถมศกึ ษาจากโรงเรยี นอาจศกึ ษา จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา พ.ศ. ๒๔๘๙ เขา้ เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ โรงเรยี นเทเวศรว์ ทิ ยาลยั (สเี่ สาเทเวศร)์ พ.ศ. ๒๔๙๒ เรยี นรอ้ งเพลงประสานเสยี งในโบสถ์ (โบสถบ์ า้ นญวน สามเสน) พ.ศ. ๒๔๙๕ จบชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ จากโรงเรยี นเซนตฟ์ รงั ซสี ซาเวยี รค์ อนแวนต์ นางสคุ นธ์ พรพิรณุ 209
พ.ศ. ๒๔๙๕ ศกึ ษาทวี่ ทิ ยาลยั พยาบาล โรงพยาบาลหญงิ กรมการแพทย์ (ราชวถิ ปี จั จบุ นั ) ไดร้ บั การสอนทางดา้ นดนตรจี ากครเู พลงหลายทา่ น ดงั นี้ ๑) ครนู ารถ ถาวรบตุ ร (ราชาเพลงมารช์ ) ไดถ้ า่ ยทอดวชิ าการเขยี นเพลงมารช์ ซ่ึงนางสุคนธ์ พรพิรุณ ได้น�ำความรู้ที่ได้รับมาแต่งเพลงมาร์ชให้กับสถาบัน ตา่ งๆ ถงึ ปจั จบุ นั ๒) ครเู กษม มลิ นิ ทจนิ ดา สอนกลองและไวโอลนิ ๓) ครสู มาน นภายน (ใหญ)่ สอนกตี ารส์ เปนชิ ๔) ครอู าวธุ เมฆเวยี น สอนทรมั เปต็ ๕) ครชู ติ สามลฤกษ์ สอนอลั โตแซกโซโฟน ๖) ครสู มศกั ด์ิ นกพง่ึ สอนเบส ๗) ครอู รา่ ม ขาวสะอาด สอนแอคคอเดยี น และกลอง ๘) ครปู ระจมิ ภมู ศิ กั ด์ิ สอนกตี ารฮ์ าวาย พรพริ ณุ สนใจเครอื่ งดนตรนี มี้ าก (แอบดแู ลว้ จ�ำมาปฏบิ ตั เิ อง สามารถเลน่ ไดจ้ นถงึ ปจั จบุ นั ) ๙) ครจู ริ ะ แกว้ สมยั สอนไวโอลนิ ๑๐) ครมู งั กร ปแ่ี กว้ สอนกลอง ๑๑) ครสู มาน กาญจนะผลนิ ซงึ่ ครสู มานเปน็ ผทู้ ตี่ งั้ ชอ่ื ใหว้ า่ “พรพริ ณุ ” 210 ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผูป้ ระพันธเ์ พลงไทยสากล)
พ.ศ. ๒๔๙๘ จบการศกึ ษาจากวทิ ยาลยั พยาบาล โรงเรยี นพยาบาลหญงิ กรมการแพทย์ กรงุ เทพฯ และได้ติดต่อกับครูสอนดนตรีเสมอ โดยเฉพาะครูนารถ ถาวรบุตร ซ่ึงท่านได้ ถา่ ยทอดวชิ าการเขยี นเพลงมารช์ ในรปู แบบตา่ งๆ ให้ พ.ศ. ๒๔๙๙ เรยี นลลี าศกบั อาจารยบ์ ญุ เลศิ กระบวนแสง พ.ศ. ๒๕๐๐ เรยี นรแู้ ละฝกึ การท�ำงานดา้ นการบอกบทการแสดง การก�ำกบั เวที กบั คณะละคร “กญั ชลกิ า” ของคณุ กณั ฑรยี ์ และคณุ ฉลอง สมิ ะเสถยี ร พ.ศ. ๒๕๐๑ เรียนเปียโนที่โรงเรียนสยามดนตรีสายสมร หลังวัดสระเกศ ตามท่ีครูสมาน กาญจนะผลนิ แนะน�ำ เพื่อจะไดม้ ีความรู้ด้านดนตรอี ีกชนิดติดตัวไปไว้ประกอบ อาชพี ได้ พ.ศ. ๒๕๐๕ เรยี นโหราศาสตรแ์ ละดาราศาสตร์ กบั พระอาจารยท์ องอยู่ และตอ่ มาไดศ้ กึ ษาตอ่ กบั พระอาจารยเ์ สนาะ ชตุ ทิ นิ โน วดั ดสิ หงสาราม วดั มกั กะสนั พ.ศ. ๒๕๐๘ เรียนวิชาการทหารจากกรมการรักษาดินแดน เพ่ือเข้าท�ำงานในกองดุริยางค์ ทหารบก พ.ศ. ๒๕๓๓ ศึกษาต่อวิชา “โหราศาสตร์ยูเรเนียน” ได้รับประกาศนียบัตรของเยอรมนี (ค.ศ. ๑๙๙๑) พ.ศ. ๒๕๓๗ และ พ.ศ. ๒๕๔๑ เรยี นรเู้ ทคโนโลยสี มยั ใหม่ คอมพวิ เตอรท์ างดนตรี โดยโปรแกรม รนุ่ แรกคอื Encore และ Sibelius พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดร้ บั ปรญิ ญากติ ตมิ ศกั ดคิ์ รศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าดนตรศี กึ ษา สถาบนั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา นางสคุ นธ์ พรพริ ุณ 211
ประวัติการท�ำ งาน นางสคุ นธ์ พรพริ ณุ หรอื “ครพู รพริ ณุ ” เปน็ ผมู้ คี วามสามารถแตง่ เพลงไดต้ ง้ั แตอ่ ายยุ งั นอ้ ย และยังคงท�ำงานแต่งเพลงมาอย่างต่อเน่ืองจนถึงปัจจุบัน มีผลงานหลายพันเพลง จนได้รับการ ยอมรับวา่ เปน็ ปรมาจารย์คนส�ำคัญด้านการแต่งเพลงคนหนึ่งของประเทศ ประจักษ์พยานแห่งความยิ่งใหญ่และคุณค่าของผลงานยังคงไพเราะและพล้ิวไหวอยู่ใน ทว่ งท�ำนองและเนื้อร้องที่ครูพรพิรุณบรรจงสร้างขึ้นมา ด้วยระยะเวลาแห่งการท�ำงานท่ียาวนาน ต่อเนื่อง ให้ความสุขกับผู้คนตลอดมา บทเพลงไพเราะเหลา่ นน้ั ยงั คงให้ความร่นื เรงิ และพลงั ชีวิต กบั ผู้คนในสังคม นอกจากนน้ั เพลงมาร์ช เพลงประจ�ำสถาบนั ต่างๆ ซง่ึ มีอย่างมากมาย จนท�ำให้ ไดร้ บั ฉายาวา่ “เจา้ แมแ่ หง่ เพลงสถาบนั ” ยงั คงศกั ดศิ์ รแี หง่ ความไพเราะ งดงาม และสงา่ ลำ�้ ยนื ยง ยงิ่ ใหญผ่ ่านกาลเวลามาอยา่ งงดงามสมความภาคภูมใิ จ ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานเพลงของพรพิรุณ โดดเด่น มีความไพเราะ มเี อกลกั ษณ์ ซงึ่ ระยะเวลายาวนานทผ่ี า่ นมาไดพ้ สิ จู นใ์ หเ้ หน็ ใหไ้ ดย้ นิ ไดฟ้ งั รวมถงึ มคี วามเปน็ สากล สามารถเผยแพร่สู่สายตาประชาชนท้ังในประเทศและต่างประเทศ น�ำความภาคภูมิใจให้กับ ประเทศไทยไดอ้ ยา่ งสมศกั ดศ์ิ รี ดังจะเห็นได้จากการสร้างสรรค์ผลงานอย่างตอ่ เน่ือง ดังน้ี พ.ศ. ๒๔๙๒ ประพนั ธเ์ พลงไทยสากลเพลงแรก ชอ่ื “มนตจ์ นั ทร”์ ใหก้ บั คณะวทิ ย“ุ พนั ตรศี ลิ ปะ” ซงึ่ มนี รศิ อารยี ์ เปน็ นกั แสดงและนกั รอ้ งประจ�ำคณะ พ.ศ. ๒๔๙๔ ประพนั ธเ์ พลง “ไรอ้ าวรณ”์ และอกี หลายเพลงใหก้ บั วงดนตรโี ฆษณาการ พ.ศ. ๒๔๙๕ รบั ราชการเปน็ พยาบาลทโ่ี รงพยาบาลหญงิ (โรงพยาบาลราชวถิ ปี จั จบุ นั ) ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ หวั หนา้ วงดนตรคี นแรกของโรงพยาบาลหญงิ พ.ศ. ๒๔๙๙ เปน็ ครสู อนกตี ารใ์ หก้ บั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๗ - ๘ โรงเรยี นวฒั นาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๐๕ ประพนั ธเ์ พลงใหก้ บั บรษิ ทั ภาพยนตรแ์ ละแผน่ เสยี งศรกี รงุ พ.ศ. ๒๕๐๑ รว่ มเลน่ ดนตรี พ.ศ. ๒๕๐๓ เปน็ นกั ประพนั ธอ์ สิ ระ ไดป้ ระพนั ธเ์ พลงใหแ้ กค่ รสู มาน กาญจนะผลนิ พ.ศ. ๒๕๐๔ เข้าท�ำงานในวงดนตรีสุนทราภรณ์ โดยเป็นนักแต่งเพลง ส่งเพลงให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน ซึ่งครูพรพิรุณมพี รสวรรคใ์ นการอา่ นโนต้ ปากเปล่าไดท้ ุกบนั ไดเสียง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องดนตรีใดๆ ท�ำเสียงให้ ดังนั้น การรับงานจากครูเอ้ือ จึงเป็นไปอย่างรวดเร็ว ไม่จ�ำเป็นต้องเจอตัว เพียงครูเอื้อโทรศัพท์และผิวปาก เป็นเสียงให้พรพิรุณฟัง พรพิรุณก็สามารถจดโน้ตท่ีครูเอื้อต้องการให้พรพิรุณ เขยี นค�ำรอ้ งไดโ้ ดยไมผ่ ดิ เพยี้ น พ.ศ. ๒๕๐๙ รับราชการในกองดุริยางค์มณฑลทหารบกที่ ๑ และลาออกจากราชการทหาร ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ พ.ศ. ๒๕๑๓ สอนดนตรที โี่ รงเรยี นอนบุ าลเซนตจ์ อหน์ และโรงเรยี นมารวี ทิ ยา 212 ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผูป้ ระพันธเ์ พลงไทยสากล)
พ.ศ. ๒๕๒๔ สอนดนตรีให้กับคณะครูที่จังหวัดนราธิวาสและโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัด ปตั ตานี พ.ศ. ๒๕๒๕ รว่ มจดั รายการ “ใตร้ ม่ เยน็ ” ทางสถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์ ชอ่ ง ๑๐ หาดใหญ่ พ.ศ. ๒๕๒๖ สอนดนตรใี นโรงเรยี นเซนตจ์ อหน์ พ.ศ. ๒๕๓๐ สอนดนตรแี ละภาษาองั กฤษทโ่ี รงเรยี นปราโมชวทิ ยา และอนบุ าลปราโมชพฒั นา พ.ศ. ๒๕๓๘ เปน็ อาจารยพ์ เิ ศษ ภาควิชาดนตรี สถาบนั ราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นอาจารย์พิเศษ ที่ศูนย์ประยุกต์และบริการวิชาการ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เปน็ ทป่ี รกึ ษาวงดนตรกี รมประชาสมั พนั ธ์ เปน็ ทปี่ รกึ ษาวทิ ยาลยั ดรุ ยิ างคศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เป็นท่ีปรึกษาสมาคมนักร้องแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พ.ศ. ๒๕๔๕ เปน็ อาจารยพ์ เิ ศษ สาขาวชิ าดนตรตี ะวนั ตก คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ และสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจา้ พระยา นางสคุ นธ์ พรพริ ณุ 213
การสรา้ งสรรค์ผลงาน นางสุคนธ์ พรพิรุณ ได้สร้างสรรค์ผลงานการประพันธ์เพลงไว้มากกว่า ๓,๐๐๐ เพลง โดยเป็นเพลงประจ�ำสถาบันต่างๆ ทั่วประเทศ ทั้งภาครัฐและเอกชน ประมาณ ๑,๕๐๐ เพลง บทประพนั ธล์ ว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ งานทม่ี คี ณุ คา่ สรา้ งสรรคส์ งั คม มคี วามสละสลวย ไพเราะ งดงาม และ สือ่ ความหมายที่เขา้ ใจง่าย ชดั เจน ถูกหลักไวยากรณ์ เปน็ ผลงานที่สาํ คญั ทีส่ รา้ งสรรค์ขึน้ มาใหม่ แบ่งออกเป็นกลุ่มๆ ได้ดังน้ี กลุ่มผลงานเพลงที่เก่ียวกับชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ กลุ่มผลงานเพลงสถาบัน กลุ่มผลงานเพลงโรแมนติก กลุ่มผลงานเพลงสนุกสนานร่ืนเริง กล่มุ ผลงานเพลงส่งเสรมิ การเรียนรู้ ผลงานทโ่ี ดดเดน่ และมเี อกลกั ษณ์เฉพาะตวั แนวคิดและแรงบันดาลใจในการแต่งเพลง ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นบทเพลงอมตะท่ีมีชื่อเสียง ยาวนาน ได้แก่ ๑. มนต์จนั ทร์ (ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ขณะอายุ ๑๔ ป)ี เปน็ เพลงแรกทแี่ ต่งเฉพาะค�ำร้องใหก้ บั คณะละครวิทยุท่ีมีชื่อเสียงโด่งดัง “พันตรีศิลปะ” เพราะได้ฟังการแสดงละครคณะนี้ทุกบ่าย วันพฤหัสบดี ซึ่งเป็นวันหยุดเรียนของโรงเรียนคาทอลิก ภายหลังคุณอธึก นิลจันทร์ นักดนตรี กรมประชาสัมพันธ์ เป็นผู้ให้ท�ำนอง และคุณนริศ อารีย์ พระเอกของคณะเป็นผู้ขับร้อง ต่อมา มกี ารบนั ทกึ เสยี ง โดยครสู มศักด์ิ เทพานนท์ นักดนตรีและนักร้องกรมประชาสัมพนั ธ์ เป็นผ้รู อ้ ง ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ๒. เสียดาย (ปี พ.ศ. ๒๕๐๑) เป็นเพลงที่ครูสมาน กาญจนะผลิน มอบให้พรพิรุณแต่ง หลงั จากครสู มานใหท้ �ำนองเพลงแล้ว ให้คุณรวงทอง ทองล่นั ทม เปน็ ผูร้ ้องบนั ทกึ เสียง เมือ่ เพลง วางตลาดในเวลาตอ่ มาก็ต้องใช้ค�ำว่า “ดงั ระเบดิ เถดิ เทิง” และจากเพลงน้ี ครูสมานจึงไดต้ ้ังช่อื ให้ วา่ “พรพริ ณุ ” โดยได้จากช่อื ม้าแขง่ ตวั เกง่ ของคอก KS 214 ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผู้ประพนั ธ์เพลงไทยสากล)
๓. ฉันยังคอย เป็นเพลงท่ีแต่งต้ังแต่ยังเด็ก (เก็บไว้ในความทรงจ�ำตลอดมา) จนกระท่ังเม่ือ ครปู ระจิม ภมู ิศกั ด์ิ ครูสอนกตี าร์ฮาวายไดพ้ าไปพบครเู ออื้ สุนทรสนาน ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ไดเ้ ขยี น ท้ังโน้ตเพลงและเนื้อเพลงบางตอนให้ครูเอ้ือได้ตรวจดู แก้ไข รวมท้ังแนะน�ำวิธีเขียนให้เป็นรูปแบบ ของการเขียนเพลง ซึ่งพรพิรุณได้จดจ�ำหลายอย่างที่ได้รับในวันนั้นไว้ และยึดถือเป็นแบบอย่าง ในการเขยี นเพลงอ่ืนๆ ด้วยตลอดมา ไดบ้ ันทึกเสยี งในปีน้นั ด้วย โดยครเู อื้อร้องเอง ไดร้ ับความนยิ ม อย่างมาก ยังมีผู้รู้จักเพลงน้ีจนถึงปัจจุบัน นับว่าเป็นเพลงแรกท่ีสอบผ่านเข้าวง “สุนทราภรณ์” อย่างสงา่ งาม เพราะเป็นการเขยี นตอ่ หน้าครูเอ้ือ และได้เรียนให้ครูเออ้ื ทราบว่าพรพิรณุ นนั้ ดงั มาแล้ว จากการสนับสนนุ และการต้ังช่ือของครสู มาน กาญจนะผลิน ซง่ึ ท่านก็เข้าใจและไม่ขัดข้องทพ่ี รพิรณุ จะแตง่ เพลงให้แก่ครสู มานดว้ ยตามปกติ ๔. กว่าจะรักกันได้ เป็นเพลงที่แต่งต่อตามมาเป็นล�ำดับ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ได้เข้าไปอยู่ใน เหตุการณ์ของหนุ่มสาวคู่หน่ึง ซึ่งกว่าความรักจะสมหวัง ฝ่าฟันอุปสรรคมากมายจากบิดามารดา ของฝา่ ยหญงิ แตก่ ส็ มหวงั ในท่ีสดุ เป็นเพลงซงึ่ ฝ่ายหญิงเตอื นใหฝ้ า่ ยชายนกึ ถงึ อดีตในยามทผี่ ิดใจกัน ๕. ฝนหยาดสุดท้าย เป็นช่วงท่ีได้เข้ารับราชการในหน่วยสงเคราะห์แม่และเด็ก เทศบาล นครกรุงเทพ (กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) ได้มีเพ่ือนร่วมงานเป็นแพทย์ พยาบาลมากมาย เป็นช่วงที่ท�ำงานราชการ และเป็นพยาบาลพิเศษเฝ้าไข้ตามโรงพยาบาลต่างๆ จึงมีรายได้มากพอ ทจ่ี ะไปสถานบนั เทงิ เริงรมย์ตา่ งๆ เพือ่ ฟงั เพลงจากนกั ร้องต่างประเทศ ๖. ฝนเอย วงดนตรี “สุนทราภรณ์” เป็นวงเต้นร�ำ ครูเอ้ือจึงเขียนท�ำนองในจังหวะ Quick Waltz ขึ้น เพื่อให้คุณวรนุช อารีย์ ร้อง ซึ่งในขณะนั้นเพิ่งเขียนเพลงฝนหยาดสุดท้าย ดงั นั้น จึงเขียนเพลง “ฝนเอย” ได้อย่างรวดเรว็ เมือ่ น�ำไปส่ง ไมม่ กี ารแก้ไข ๗. ใจชายใจหญิง เพลงน้ีครูเอื้อได้ประพันธ์ท�ำนองไว้แล้ว โดยครูเอ้ืออธิบายว่า “เพลงนี้ จังหวะบกี ิน เรว็ ขนาดเตน้ ร�ำนะ อยากได้เนอ้ื เพลงทีม่ คี �ำเปรยี บเปรยหรือค�ำพังเพย ไปลองเขียนมา” ซ่ึงการเขียนค�ำร้องใส่ใต้ตัวโน้ตท่ีเป็นลายมือยุ่งๆ ของครูเอ้ือนั้น จึงเกิดมีเร่ืองข�ำ ครูเอื้อเขียน กย็ งุ่ พอแรงแล้ว คร้ันเมอ่ื “พรพิรุณ” เขยี นค�ำร้องซึง่ ลายมือยุ่งย่งิ กวา่ ... แล้วเพลงก็ดังมาจนทุกวนั น้ี ๘. ขอปนั รกั ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ (แผน่ เสยี งทองค�ำ ประเภทเรยี บเรยี งเสยี งประสาน ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ครูสมาน กาญจนะผลิน เปน็ ผไู้ ด้รบั รางวัล) เพลงน้รี อ้ งโดยนกั รอ้ ง (ลูกผ้นู ้อง) ชอื่ เสกสรร กสุ มุ ภ์ ๙. อยากรักคนท่พี ลาดรกั เพลงนีบ้ ันทึกเสยี งรอ้ งโดยครูสุเทพ วงศ์ก�ำแหง (ปี พ.ศ. ๒๕๐๔) ค�ำร้องมากอ่ นท�ำนอง ซ่งึ ครสู มาน กาญจนะผลนิ เป็นผู้ใหท้ �ำนอง และเรียบเรียงเสียงประสานดว้ ย แรงบันดาลใจได้จากไปเฝ้าไข้พิเศษที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และได้สังเกตเห็นแพทย์และพยาบาล ทั้งคู่ก�ำลังอยู่ในความเสียใจเพราะความรักที่ไม่สมหวัง เหมือนคนอกหัก จึงจุดประกายความคิดว่า ถ้าคนอกหักทงั้ คู่ ไดช้ ว่ ยรักษาแผลใจใหก้ นั และกันไดค้ งจะดี จึงเกดิ เพลงนี้ ๑๐. อ้อมรักเพ็ญจันทร์ เป็นเพลงซึ่งแปลเน้ือหาตรงตามความหมายของเพลงสากลท่ีช่ือ “Full Moon and Empty Arms” แปลเป็นภาษาไทย ตรงความหมายกับค�ำร้องภาษาอังกฤษ ทกุ วรรคตอนและใช้ท�ำนองดัง้ เดิม ครสู ุเทพ วงศ์ก�ำแหง ขับร้องเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ๑๑. บางที เพลงน้ีแต่งในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ เชน่ กัน ได้แนวคิดมาจากเพลง “Perhap, Perhap, Perhap ซึ่งแปลว่า “บางท”ี ครูสุเทพ วงศ์ก�ำแหง ขบั ร้อง และได้รับความนยิ มมากจนถึงปจั จุบนั นางสคุ นธ์ พรพริ ุณ 215
๑๒. ขอให้เหมือนเดิม ครูเอ้ือ สุนทรสนาน ให้แนวคิดและช่ือเพลงด้วย บันทึกเสียง ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ มาโด่งดังมากในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ท�ำนอง - ค�ำรอ้ งเป็นของ “พรพิรณุ ” ครเู อือ้ แก้ไข บางจดุ และรอ้ งบนั ทกึ เสยี งเอง เพลงนต้ี อ่ มาไดเ้ ขยี นค�ำรอ้ งเปน็ ภาษาองั กฤษ โดย Mr.Rick Hardy นกั ทอ่ งเทย่ี วชาวองั กฤษ โดยคณุ กลุ ชาติ เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา นกั จดั รายการเปน็ ผชู้ กั น�ำใหบ้ นั ทกึ เสยี งใหก้ ับหา้ งสถติ ภษู า เพลงนีด้ ังตลอดมาจนถึงปจั จบุ นั ๑๓. หาดผาแดง เขียนในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ โดยได้ไปแสดงดนตรีลีลาศท่ี “หาดผาแดง” ศรีราชากับคณะดนตรี “ธนิตสรณ์” ของครูธนิต ผลประเสริฐ หลังจากดนตรีเลิก “พรพิรุณ” ไปน่ังท่ีระเบียงหน้าห้องพักเพราะกลัวความมืดและเสียงคลื่น ฝืนใจดูทะเลที่ไกลออกไป เห็นเกาะสีชังไกลๆ มีศาลบนเนินเขาใกลๆ้ มีตกุ๊ ตาบูชาไว้ ดูน่ากลัวมาก ด้วยแรงบนั ดาลใจน้ีน�ำไป แตง่ เพลง โดยให้คณุ ประพนั ธ์ สุนทรจามร เป็นผู้ร้องเพลง “หาดผาแดง” เพลงนี้ดงั จนถงึ ทุกวันน้ี ๑๔. รอยมลทิน เพลงละครโทรทัศน์ ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ครูสมาน (ใหญ่) นภายน ไดแ้ นะน�ำ ให้รู้จักคุณบรรยง เสนาลักษณ์ (เทิง สติเฟื่อง) ซึ่งต้ังคณะศรีไทยการละคร (ก�ำลังออกอากาศ ละครเร่ือง คุณหญิงพวงแข) พรพิรุณจึงได้แต่งเพลง “วรุณ ยุพา” ร้องโดย ธวัชชัย สุทธิมา (ปัจจุบันคือ สุวัจชัย) และละครเรื่อง รอยมลทิน ของทมยันตี ซ่ึงเพลงแต่งหลังจากละคร ออกอากาศแล้ว ๑๕. ไม่อยากให้เหมือนเดิม ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ เหตุเพราะเพลง “ขอให้เหมือนเดิม” ดังเป็นพลุ ท�ำให้นายห้างสถิต นิรฉัตรสุวรรณ (เจ้าของบริษัท ฉัตรชัยพาณิช ส่ังท�ำเพลง) อยากใหม้ ีเพลงแก้กนั จึงไดแ้ ต่งเพลง “ไม่อยากใหเ้ หมือนเดมิ ” ร้องโดยคณุ รวงทอง ทองลน่ั ทม ซง่ึ ดงั ทัง้ เพลงและท้ังคนร้อง ๑๖. เสยี แรงคดิ ถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ จากแนวคดิ ทมี่ ชี ายคนหนง่ึ คดิ ถงึ แตห่ ญงิ สาวทเี่ คยรจู้ กั มานานหลายปี และเฝ้ารอพบ กลับจ�ำชายคนนั้นไมไ่ ด้ จงึ เขียนเพลง “เสยี แรงคิดถงึ ” ซ่ึงสะท้อน จากชวี ิตจริงของต�ำรวจนายหนึ่งที่มาเรียนเปยี โนทโ่ี รงเรียนสอนดนตรี ๑๗. ท่แี ลว้ มาคิดวา่ เปน็ ทาน ซ่ึงไดแ้ นวคดิ จากประสบการณ์ชวี ิตตนเองท่ีถกู หลอกเพราะ ท�ำแผน่ เสยี งเอง ให้บรษิ ัทแผ่นเสยี งชอื่ ดังจัดจ�ำหนา่ ยหาทนุ บูรณะวดั “นก-ออก” อ�ำเภอปักธงชัย จงั หวดั นครราชสีมา ท�ำใหส้ ะใจตวั เองทีเ่ ชือ่ คนงา่ ย จงึ แตง่ เพลงนใ้ี ห้คุณรวงทองขับรอ้ ง ๑๘. ผิดด้วยหรือถ้าเราจะรกั กนั ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ และเพลง “นำ้� ตาเพื่อนใจ” เม่อื เพลง ออกวางตลาดไม่นานนกั ก็ขายดี ปจั จบุ นั ยังมีการพดู ถงึ กนั อยู่ ๑๙. ใครก็ได้ถ้ารักฉันจริง เพลงน้ีเขียนต่อเนื่องจาก เพลง “ที่แล้วคิดว่าเป็นทาน” ด้วยแนวคิดที่ว่า เม่ือผิดหวังแล้ว ก็ไม่สนใจอะไรอีก ใครรักก็จะรักด้วย เรียกว่าประชดชีวิต คุณรวงทอง ร้อง กด็ งั อกี เช่นกนั ๒๐. รักครงึ่ ทาง ปี พ.ศ.๒๕๑๖ ได้เหน็ ความผดิ หวงั ของครหู ญิงคนหนึ่งท่สี อนอยโู่ รงเรียน เดียวกบั พรพิรุณ เพลงนเ้ี ขยี นเสร็จ “มนตรี สหี เทพ” ขอไปท�ำแผน่ เสยี งเอง ซึง่ แต่เดิมต้ังใจเขยี น ให้ผหู้ ญงิ ร้อง เมือ่ เป็นผู้ชายรอ้ ง จงึ ต้องเปลยี่ นถ้อยค�ำบางจดุ เพลงน้ดี งั มากอกี เชน่ กนั 216 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผปู้ ระพนั ธเ์ พลงไทยสากล)
นางสุคนธ์ พรพริ ุณ 217
ขอใหเ้ หมือนเดิม ขบั ร้อง เอื้อ สุนทรสนาน ค�ำรอ้ ง พรพิรุณ ท�ำนอง เออ้ื สนุ ทรสนาน 218 ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผู้ประพนั ธเ์ พลงไทยสากล)
กว่าจะรกั กนั ได้ ขับร้อง พนั ธ์พร วัฒนเรอื งไร ค�ำรอ้ ง พรพริ ณุ ท�ำนอง เอ้อื สุนทรสนาน นางสคุ นธ์ พรพิรุณ 219
รางวัลชวี ิต ขับร้อง ชชั ฎาภรณ์ รักษนาเวศ ค�ำร้อง พรพริ ุณ ท�ำนอง ใหญ่ นภายน 220 ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผปู้ ระพนั ธเ์ พลงไทยสากล)
รอยมลทิน ท�ำนอง ใหญ่ นภายน ขบั ร้อง รวงทอง ทองลนั่ ทม ค�ำรอ้ ง พรพริ ณุ นางสุคนธ์ พรพิรุณ 221
ใครกไ็ ด้ถ้ารกั ฉันจรงิ ขบั ร้อง รวงทอง ทองลัน่ ทม ค�ำรอ้ ง / ท�ำนอง พรพริ ุณ 222 ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผปู้ ระพนั ธ์เพลงไทยสากล)
ฝนหยาดสุดทา้ ย ขับร้อง บษุ ยา รังสี ค�ำรอ้ ง พรพิรณุ ท�ำนอง เอือ้ สนุ ทรสนาน นางสุคนธ์ พรพิรณุ 223
การสร้างสรรค์และเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณชน ผลงานด้านการแสดงและการสร้างสรรคผ์ ลงานเผยแพร่ อาทิ ในประเทศ เพลงกาญจนาภิเษก ในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพ่ือใช้ในงานของสมาคมศึกษาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมการศึกษาเอกชน เมือ่ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ เพลงบารมีพระแม่ฟ้า รว่ มกบั วงดนตรีสนุ ทรภรณ์ เพอ่ื บรรเลง ในวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ เพลงสยามราชนั ย์ โดยทายาทครเู ออ้ื สนุ ทรสนาน ทไ่ี ดป้ ระพนั ธ์ ท�ำนองไว้ตั้งแต่สมัยที่ยังมีชีวิต ต่อมาให้พรพิรุณประพันธ์ค�ำร้องใหม่ ซึ่งเพลงนี้ คุณชัยรัตน์ ค�ำนวณ เป็นผู้ขับร้อง ในโอกาสงานเฉลิมฉลอง พระราชพิธกี าญจนาภิเษก เพลงจากราชบุรีสู่ราชบัลลังก์ พรพิรุณเป็นผู้ให้ท�ำนองเพลง รว่ มกบั นคร ถนอมทรพั ย์ โดยค�ำรอ้ งมาจากค�ำกลอนทชี่ นะการประกวด ของ ส.เช้ือหอม เพื่อใช้ในการจัดงาน “คีตนิทัศน์ เพ่ือมูลนิธิปฐม บรมราชานสุ รณ์” ในวันท่ี ๒๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ ณ ศนู ยว์ ฒั นธรรม แหง่ ประเทศไทย ส�ำนกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร จดั ขึ้น ร่วมแสดงดนตรีไทยสากล ในวันพฤหัสบดีท่ี ๑๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ณ ศาลาร้อยปี กระทรวงศึกษาธกิ าร เพ่อื ให้ข้าราชการและ ลกู จา้ งของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดร้ บั ความซาบซงึ้ และรกั ในศลิ ปวฒั นธรรม ของไทย ฯลฯ การสบื ทอดใหก้ บั ครกู เ็ ปน็ อกี ทางหนงึ่ ทจี่ ะสามารถชว่ ยกนั อนรุ กั ษ์ การสร้างสรรค์เพลงไทยที่มีคุณค่า ครู “พรพิรุณ” จึงรับเป็นวิทยากร ให้การอบรมครูสอนวิชาดนตรี รวมถึงเป็นอาจารย์สอนพิเศษให้กับ สถาบนั ตา่ งๆ อกี หลายแหง่ ตา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้รบั เชิญไปรว่ มงานเทศกาลประเทศไทย ๒๐๐๖ ในเยอรมนี ชาวไทยต่างแดนร่วมเทิดไท้ในหลวง (Thailand Festival 2006 in Germany) ณ ศูนย์การประชุมนานาชาติ หลุยส์ อัลเบิร์ต เมืองออเบอร์ฮาวสัน สหพันธรฐั เยอรมนี ระหว่างวนั ท่ี ๕ - ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ 224 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผ้ปู ระพนั ธ์เพลงไทยสากล)
นางสุคนธ์ พรพริ ุณ 225
รางวลั อนรุ ักษม์ รดกไทย รางวลั มณีพลอยร้อยแสง รางวลั และเกียรตคิ ุณที่ได้รับ พ.ศ. ๒๔๙๙ ไดร้ ับรางวลั ชนะเลศิ การประกวดรายการ “แมวมอง” ไทยโทรทศั นช์ อ่ ง ๔ บางขนุ พรหม พ.ศ. ๒๔๓๗ ได้รับพระราชทาน “เข็มมณีพลอยร้อยแสง” การประพันธ์ทํานองเพลง ฟงั เพลงกวี จากสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พ.ศ.๒๕๔๓ เขา้ รบั พระราชทานปรญิ ญาครศุ าสตรบณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา จากพระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พ.ศ. ๒๕๔๔ รบั พระราชทานเขม็ อนรุ กั ษม์ รดกไทยดเี ดน่ จากสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พ.ศ.๒๕๔๗ รับพระราชทานบัตรประกาศเกียรติคุณ “ศิษย์เด่นดีศรีเซนต์ฟรัง” และ เหรยี ญทององคส์ มเด็จพระบรมราชชนนีพันปหี ลวง พ.ศ.๒๕๕๒ รับพระราชทานบัตรประกาศเกียรติคุณ “อัครราชา ราชินี ศรีสยาม” จากสมเดจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง พ.ศ.๒๕๕๒ รับพระราชทานบัตรประกาศเกียรติคุณ “อัครราชา ราชินี ศรีสยาม” จากสมเดจ็ เจา้ ฟ้าฯ กรมพระศรสี วางควัฒน วรขัตติยราชนารี พ.ศ.๒๕๕๒ รับพระราชทานบัตรประกาศเกียรติคุณ “อัครราชา ราชินี ศรีสยาม” จากพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โสมสวลี กรมหมน่ื สทุ ธนารนี าถ พ.ศ.๒๕๕๕ ไดร้ บั รางวลั บคุ คลดเี ดน่ ของกรมประชาสมั พนั ธ์ พ.ศ.๒๕๕๕ ไดร้ บั รางวลั ปชู นยี บคุ คลดา้ นภาษาไทย ผใู้ ชภ้ าษาไทยดเี ดน่ ประจ�ำปี ๒๕๕๕ จากกรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม 226 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผ้ปู ระพนั ธ์เพลงไทยสากล)
นางสุคนธ์ พรพริ ุณ 227
228 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผ้ปู ระพันธเ์ พลงไทยสากล)
การท�ำ คุณประโยชน์เพอื่ สังคม ครูพรพิรุณเป็นผู้ท่ีเปี่ยมล้นด้วยความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ ได้แต่งเพลงในวาระท่ีส�ำคัญๆ ถวายอยู่เป็นประจ�ำ รวมท้ัง เป็นผู้อ�ำนวยการแสดงมาแล้วหลายรายการ นอกจากน้ียังเป็นท่ีรู้กันโดยท่ัวไปว่า ครูพรพิรุณเป็นผู้อุทิศตัวและท�ำ คุณประโยชน์เพื่อสังคมมาโดยตลอด ไม่ว่าใครจะจัดงานหรือต้องการ ความช่วยเหลือ ท้ังด้านงานเพลง ด้านการแสดง เม่ือขอความร่วมมือมาครั้งใด จะใหค้ วามรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื อยา่ งเตม็ ที่ รวมถงึ การท�ำนบุ �ำรงุ ศาสนาและส่งเสริม การจัดกิจกรรมทางวฒั นธรรม อาทิ จัดย้อนยุคเพลงอมตะ ครัง้ ที่ ๑ - ๗ เพือ่ น�ำ รายไดส้ มทบกองทนุ อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมไทย รวมถงึ หนว่ ยงานตา่ งๆ และทนุ การศกึ ษา เพื่อการช่วยเหลือสงั คมอย่างตอ่ เนอ่ื ง ปจั จบุ นั ครูพรพิรุณใช้ชีวิตอยู่กับลูกชายคนเดียวของท่าน คือ นายบัณฑิตพงศ์ พรพริ ณุ และครพู รพริ ณุ ยงั คงใชว้ ชิ าความรดู้ า้ นการประพนั ธเ์ พลง แตง่ เพลงใหก้ บั สถานศกึ ษา องคก์ ร ที่ขอความอนุเคราะหม์ าอยา่ งสมำ�่ เสมอ รวมถึงเปน็ วทิ ยากร ให้ความรู้ตามสถานศึกษาต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง มหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เป็นท่ีปรึกษาด้านดนตรีของวงหัสดนตรี กรมประชาสัมพนั ธ์ และรว่ มกิจกรรมการกศุ ลในบางโอกาส ทอี่ ยูป่ ัจจุบนั บ้านเลขที่ ๙๙๙/๒๒ หมู่บ้านศรเี จริญ ถนนเทพารักษ์ ต�ำบลส�ำโรงเหนือ อ�ำเภอเมือง จงั หวัดสมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ นางสุคนธ์ พรพิรุณ 229
230 ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผู้สรา้ งสรรค์งานบนั เทิงและดนตรีไทยสากล)
คำ� ประกาศเกียรติคุณ นายประภาส ชลศรานนท์ ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผ้สู รา้ งสรรคง์ านบันเทิงและดนตรีไทยสากล) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ นายประภาส ชลศรานนท์ ปัจจบุ ันอายุ ๕๙ ปี เกิดเม่ือวนั ท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๐๓ ท่จี ังหวดั ชลบุรี จบการศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี จากคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และไดร้ บั ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ สาขาวทิ ยกุ ระจายเสยี งและวิทยโุ ทรทัศน์ จากมหาวิทยาลยั ศรีปทมุ เมอื่ วันท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ นายประภาส ชลศรานนท์ เร่ิมแต่งเพลงขณะเป็นนิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพลงท่เี ขียนถูกรวบรวมเป็นอัลบ้มั ของเฉลยี ง ชดุ แรก ชื่อ “ปรากฏการณ์ฝน” ในระหว่างเรยี นอยปู่ สี ุดท้ายไดม้ โี อกาสเขยี นบท และแต่งเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องวัยระเริงของเป๊ียก โปสเตอร์ และเม่ือจบการศึกษาเข้าทำ�งานในบริษัทผลิตรายการ โทรทัศน์และบริษัทผลิตเพลง เร่ิมแต่งเพลงท่ีเป็นท่ีรู้จักไว้มากมายหลายเพลง อาทิ พี่ชายที่แสนดี รุ้งอ้วน รู้สึกสบายดี เทย่ี วละไม อ่ืน ๆ อีกมากมาย ฯลฯ และได้แตง่ เพลงอย่างจริงจัง ในหนา้ ท่ฝี ่ายดแู ลการผลติ บริษัท คีตา แผ่นเสยี งและเทป จ�ำ กดั และ บริษัท มูเซอร์ มิวสิค เซอร์วิส จำ�กัด สรา้ งเพลงยอดนยิ มหลากหลายรุ่น หลายแนว ทัง้ ป๊อบ แจ๊ซ สามช่า และร็อก ซึ่งผลงานเพลงที่แต่งไม่ว่าจะเป็น รักเป็นดั่งต้นไม้ อื่นๆ อีกมากมาย ใจพเนจร เจ้าภาพจงเจริญ ยังมี ฯลฯ และเพลงของ นายประภาสยังได้สร้างนักร้องให้เป็นท่ีรู้จักมากมาย อาทิ เฉลียง หนุ่มเสก พงษ์พัฒน์ วงโคโคแจ๊ส สามโทน นีโน่ ฯลฯ นอกจากน้ียังแต่งเพลงในแนวแปลกใหม่เพ่ือเป็นทางเลือกแก่ผู้ฟังตั้งแต่เมืองไทยยังไม่รู้จักคำ�ว่า “เพลงอัลเทอร์เนทีฟ” เช่น เพลงของวงทีโบน มาม่าบลูส์ และได้ทำ�หน้าที่อำ�นวยการผลิตรายการโทรทัศน์ แต่งเพลงนำ�รายการ เพลงประกอบละคร เพลงประกอบโฆษณา เช่น เพลงลมหายใจของกันและกัน และเมื่อได้ริเร่ิมทำ�รายการคุณพระช่วย ได้มุ่งม่ันนำ�ดนตรีไทยมา ประยกุ ตร์ ว่ มกบั ดนตรสี ากลอยา่ งจรงิ จงั ดว้ ยการกอ่ ตงั้ วงดนตรคี ณุ พระชว่ ยออเครสตรา้ ขน้ึ มาเพอื่ บรรเลงเพลงไทยแบบรว่ มสมยั ทมี่ กี ลน่ิ อายของความเปน็ ไทยอยเู่ ตม็ เปยี่ ม และทสี่ �ำ คญั ไดแ้ ตง่ เพลงประกอบละครเทดิ พระเกยี รตแิ ละกจิ กรรมเฉลมิ พระเกยี รติ ไว้มากมาย รวมถึงแต่งเพลงเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระบรม วงศานุวงศ์ อาทิ เพลงครองแผ่นดินโดยธรรม เพลงแมข่ องแผน่ ดนิ ฯลฯ รวมถงึ ไดแ้ ตง่ เพลงเฉพาะกจิ ใหส้ ถาบันต่างๆ ซึ่งจาก อดตี จนถึงปัจจบุ นั ไดแ้ ต่งเพลงมาแล้วมากกว่า ๒๐๐ เพลง แต่ละเพลงลว้ นได้รับความนยิ มอยา่ งตอ่ เนื่อง อีกท้งั ยงั สะท้อนถงึ มมุ มอง ปรัชญาการใชช้ ีวติ ความคดิ และความเชือ่ ไดอ้ ยา่ งประทับใจผ้ฟู ัง หากจัดอนั ดับ ๑๐๐ เพลงทปี่ ระทับใจของคนไทย ในชว่ ง ๒๕ ปที ีผ่ า่ นมา เชื่อวา่ ตอ้ งมีเพลงจากปลายปากกาของนายประภาสรวมอย่ดู ว้ ยไม่นอ้ ย นายประภาส ชลศรานนท์ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างสรรค์ งานบนั เทิงและดนตรไี ทยสากล) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ นายประภาส ชลศรานนท์ 231
ปนราะวยัตปิชีวริตะแภละาผสลงาชนลศรานนท์ ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างสรรค์งานบนั เทิงและดนตรไี ทยสากล) 232 ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผสู้ รา้ งสรรค์งานบันเทงิ และดนตรไี ทยสากล)
นายประภาส ชลศรานนท์ เกดิ เม่ือวันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๓ ทจ่ี งั หวดั ชลบรุ ี ปัจจบุ ันอายุ ๕๙ ปี ประวัติการศกึ ษา : ระดบั ชนั้ ประถม โรงเรยี นวดั กลางดอน : ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นแสนสุข : ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษา : ระดับอดุ มศึกษา - ปรญิ ญาตรี คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย : ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบณั ฑิตกิตตมิ ศักดิ์ สาขาวิชาวทิ ยุกระจายเสยี งและวิทยโุ ทรทศั น์ มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ ประวตั กิ ารท�ำ งาน พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๔๓ : ก่อตงั้ และประพนั ธ์เพลงใหก้ ับ “เฉลยี ง” วงดนตรที ี่พูดถงึ ความส�ำคญั ของจินตนาการ ความรู้สกึ รักหวงแหนธรรมชาติ ตลอดจนการมองเห็นคณุ ค่าความเป็นมนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๓ : กอ่ ตงั้ และเป็นบรรณาธิการ นติ ยสารไปยาลใหญ่ นติ ยสารส�ำหรับกลมุ่ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ทกี่ ระตนุ้ ความคดิ สรา้ งสรรค์ สง่ เสรมิ งานเขยี นของคนร่นุ ใหม่ และสอดแทรกแนวคดิ อนรุ กั ษ์ความเป็นไทย พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๕ : ดูแลการผลติ เพลงให้กับนกั ร้องและวงดนตรขี องบริษัทคีตาแผน่ เสยี งและเทป และไดแ้ ตง่ เพลงให้กบั ศิลปนิ ในยคุ น้ันมากกว่า ๒๐๐ เพลง พ.ศ. ๒๕๓๒ : รว่ มกับนายปัญญา นิรันดรก์ ลุ กอ่ ตั้งบรษิ ัท เวิร์คพอยท์ เอน็ เทอรเ์ ทนเมนท์ จ�ำกดั เปน็ ผ้คู ดิ คน้ รายการที่เปน็ ต้นฉบับของคนไทยและขยายสู่เวทีโลก เช่น อัจฉรยิ ะขา้ มคืน แฟนพันธุ์แท้ เกมจารชน เกมทศกัณฐ์ สู้เพ่อื แม่ ไมคห์ มดหนี้ ฯลฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๓๗ : กอ่ ตั้งและประพนั ธ์เพลงให้กับบริษทั มเู ซอร์ มวิ สคิ เซอรว์ สิ ค่ายเพลงทางเลอื กใหมใ่ นยุคนั้น พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๔๙ : คอลมั น์ “คยุ กบั ประภาส” หนงั สอื พมิ พ์ “มตชิ น” รายวนั ฉบบั วนั อาทิตย์ คอลมั นต์ อบจดหมายเพือ่ การถกเถยี ง ตคี วามกระตุน้ จนิ ตนาการ และตอ่ ยอดความคดิ ของผอู้ า่ นทกุ วยั นบั ตง้ั แตเ่ รอ่ื งเลก็ ๆ ในครวั การเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี ว ศลิ ปะ ศาสนา ไปจนถงึ เรอ่ื ง ของดวงดาวในจกั รวาลอนั กวา้ งใหญ่ นายประภาส ชลศรานนท ์ 233
พ.ศ. ๒๕๔๒ : ความคิดของการด�ำเนินชีวิตในปัจจุบัน และตั้งค�ำถามกับ ก่อตั้งกลุ่มกระดาษพ่อดินสอแม่ เพ่ือเขียนบทละคร ผูอ้ ่านให้ฉกุ คิดในทุกๆ ตอน เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช พ.ศ. ๒๕๕๓ : มหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระบรมราชชนนี อ�ำนวยการผลิตและประพันธ์เพลงให้กับภาพยนตร์เร่ือง พนั ปีหลวง สงิ่ เล็กๆ ทเี่ รยี กวา่ รกั พ.ศ. ๒๕๔๙ : พ.ศ. ๒๕๕๕ : ผลติ สารคดดี นตรเี ลา่ เรอ่ื ง “นำ�้ คอื ชวี ติ ” สารคดที บี่ อกเลา่ ถงึ อ�ำนวยการผลิต เขียนบท ก�ำกับ และแต่งเพลงประกอบ รายละเอียด ความเป็นมา และแรงบันดาลใจที่มีต่อผู้คน ในภาพยนตร์แอนิเมชันสัญชาติไทยที่ได้ถูกน�ำฉายออก จากโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำรเิ กยี่ วกบั การบรหิ าร ในหลายประเทศทวั่ โลก เรอ่ื งยกั ษ์ (Yak : The Giant King) จดั การน้�ำ โดยท�ำหนา้ ท่ีทั้งอ�ำนวยการผลติ เขียนบท และ พ.ศ. ๒๕๕๗ : ประพันธเ์ พลงทงั้ หมด รวมก่อตั้งสถานีโทรทัศน์ช่องเวิร์คพอยท์และเริ่มน�ำ พ.ศ. ๒๕๕๑ : รายการท่ีคิดค้นและผลิตโดยคนไทยเผยแพร่ออกไปยัง ก่อตั้งและแต่งเพลงให้กับวงคุณพระช่วยออร์เคสตรา ตลาดโลก วงดนตรีขนาดใหญ่ที่ผสมผสานเครื่องดนตรีสากลกับ พ.ศ. ๒๕๕๘ : เครื่องดนตรีไทย โดยบรรเลงทั้งเพลงไทยสากลที่แต่งข้ึน กอ่ ตั้งทมี Workright เพอ่ื สร้างสรรคก์ ารน�ำเสนอเร่ืองราว มาใหมแ่ ละน�ำเพลงไทยเดมิ มาเรยี บเรยี งเสยี งประสานใหม่ ของการเกษตรไทยในศาลาไทย ในงาน World Expo 2015 ให้รว่ มสมัย Milano ท่ปี ระเทศอติ าลี พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๘ : เขยี นคอลมั น์ “นทิ านลา้ นบรรทดั ” ลงในนติ ยสารรายเดอื น aday เป็นงานเขียนเร่ืองสั้นประเภทนิทานที่ซ่อนนัย 234 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผสู้ รา้ งสรรคง์ านบันเทิงและดนตรีไทยสากล)
พ.ศ. ๒๕๕๔ ประพันธแ์ ละควบคมุ การบันทกึ เสียง เพลงครองแผน่ ดนิ โดยธรรม นายประภาส ชลศรานนท ์ 235
ผลงานสร้างสรรค์ด้านเพลงและดนตรี ต่างประเทศ : การแสดงเพลงไหวแ้ ละเพลงนาคสามฤดู ในงานวันชาติ ทจี่ ัดแสดงในเวทีกลาง ของ World Expo 2015 เมอื งมลิ าน ประเทศอติ าลี (พ.ศ. ๒๕๕๘) : เพลงน�ำและเพลงประกอบภาพยนตร์ทถ่ี ูกน�ำฉายออกไป ในหลายประเทศท่ัวโลก เร่ือง รถไฟฟ้ามาหานะเธอ (พ.ศ. ๒๕๕๒) สงิ่ เลก็ ๆ ทเ่ี รียกวา่ รกั (พ.ศ. ๒๕๕๓) YAK (พ.ศ. ๒๕๕๕) FEED (พ.ศ. ๒๕๕๗) ฯลฯ : เพลงน�ำและเพลงประกอบละครโทรทศั น์ที่ชนะรางวัล ในเวทีนานาชาติ อาทิ ละครเรื่องชีวิตทีพ่ อเพียง (รางวัล เอเชียนเทเลวิช่ันอวอรด์ ) ผหู้ ญิงท่ีอยากกอดตลอดชวี ิต (รางวลั แมกมลิ เล่ียนอวอร์ด) ฯลฯ : เพลงมวยไทย ท่ีใชเ้ ปดิ ในรายการแขง่ ขันมวยไทยนานาชาติ ถ่ายทอดสดไปท่วั โลกหลายครง้ั : เพลงอาเซียนร่วมใจ เพลงประจ�ำการประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน คร้งั ท่ี ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๕๒) 236 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผสู้ ร้างสรรค์งานบันเทงิ และดนตรไี ทยสากล)
ในประเทศ เพลงประกอบหนงั ละคร และรายการโทรทศั น์ : เพลงประกอบภาพยนตร์เรอื่ งวัยระเริง (พ.ศ. ๒๕๒๕) ได้แก่ เพลงจากวนั นั้นถึงวันนี้ ชวี ติ นข้ี องใคร ยโุ รป เฮฮาปารต์ ้ี ฯลฯ : เพลงน�ำรายการ พลกิ ล็อค (พ.ศ. ๒๕๒๕) : เพลงน�ำและเพลงประกอบละครโทรทัศน์ คุณยายกายสทิ ธิ์ (พ.ศ. ๒๕๒๖) : เพลงน�ำและเพลงประกอบละครโทรทัศน์ นายแพทย์สนุกสนาน (พ.ศ. ๒๕๒๗) : เพลงประกอบรายการ น�ำ้ แขง็ ใส่นำ้� หวาน (พ.ศ. ๒๕๒๗) : เพลงประกอบรักตะลมุ บอน (พ.ศ. ๒๕๒๘) : เพลงน�ำและเพลงประกอบละครโทรทศั น์ เทวดาตกสวรรค์ (พ.ศ. ๒๕๒๙) : เพลงน�ำและประกอบรายการ ค่ทู รหด (พ.ศ. ๒๕๓๔) : เพลงน�ำและเพลงประกอบละครโทรทัศน์ ระเบิดเถิดเทงิ (พ.ศ. ๒๕๓๙) : เพลงน�ำละคร พีช่ ายทแ่ี สนดี (พ.ศ. ๒๕๔๐) : เพลงน�ำและเพลงประกอบละครชดุ พอ่ เพอ่ื เทดิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เนื่องในโอกาสทรงเจรญิ พระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ (พ.ศ. ๒๕๔๒) : เพลงน�ำละคร Autumn in My Heart (พ.ศ. ๒๕๔๔) : เพลงน�ำและเพลงประกอบละครเทดิ พระเกียรติฯ ผูห้ ญิงทอ่ี ยากกอดตลอดชีวติ (พ.ศ. ๒๕๔๗) : เพลงน�ำและเพลงประกอบสารคดี ดนตรีเล่าเรื่อง น�้ำคือชีวิต (พ.ศ. ๒๕๔๙) : เพลงน�ำและเพลงประกอบละครเทิดพระเกยี รตฯิ ชัยชนะของแม่ (พ.ศ. ๒๕๔๙) : เพลงในละครเวที เรื่อง ชายกลาง โศกนาฏกรรมในจังหวะแทงโก้ (พ.ศ. ๒๕๕๐) : เพลงน�ำละคร ศึกวันชูใจ (พ.ศ. ๒๕๕๒) : เพลงน�ำละคร แววมยุรา (พ.ศ. ๒๕๕๕) : เพลงในละครเวที เรอ่ื ง เดอะ เลเจนด์ ออฟ เรข่ ายฝนั เฉลยี ง เดอะ มวิ สคิ ลั (พ.ศ. ๒๕๕๒) : เพลงในละครเวที เรอ่ื ง โหมโรงเดอะมวิ สคิ ลั (พ.ศ. ๒๕๕๘) : เพลงในละครเวที เรอ่ื ง นิทานห่ิงห้อยเดอะมวิ สิคัล (พ.ศ. ๒๕๖๐) : เพลงในละครเวที เร่ือง รองเทา้ ของพอ่ (พ.ศ. ๒๕๖๐) ฯลฯ นายประภาส ชลศรานนท์ 237
238 ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผู้สรา้ งสรรค์งานบนั เทิงและดนตรีไทยสากล)
พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๓๔ : แต่งเพลงและเป็นโปรดิวเซอร์ให้วงเฉลียง ได้แก่ เทยี่ วละไม อ่นื ๆ อีกมากมาย กล้วยไข่ เกบ็ ใจ ตน้ ชบา กบั คนตาบอด กลว้ ยไข่ ร้สู กึ สบายดี เธอหมุนรอบฉนั ฉันหมุนรอบเธอ เร่ขายฝัน ยังมี นายไข่เจียว โลกยังสวย นิทานห่ิงห้อย เอกเขนก แบกบาล เรื่องตลก ฯลฯ พ.ศ. ๒๕๒๕ - ปัจจบุ ัน : อาทิ เพลงไม้ขีดไฟกับดอกทานตะวัน เพราะอะไร แต่งเพลงใหน้ กั รอ้ งและวงดนตรี ได้แก่ คาราบาว ทโี บน เจ้าภาพจงเจริญ ขบวนการโป๊งโป๊งช่ึง ป่าประท้วง สุรสีห์ สุรชัย จันทิมาธร บี พีระพัฒน์ หนุ่มเสก เรามาจากไหน ควายไทย ช้างชูไทย ว่ิงควาย ปา้ ง นครนิ ทร์ ไมโคร โคโคแจซ๊ พงษพ์ ฒั น์ วิยะดา สิ่งลึกลับซับซ้อนในจักรวาล รักเธอแต่เธอไม่รู้ รักเป็น ปาน ธนพร อังศนา ช้างเศวต ภัสสร ออ้ ม สนุ ิสา นโี น่ ด่งั ตน้ ไม้ อยากใหเ้ ธอบอก เสือ พ่ีชายทแี่ สนดี รงุ้ อว้ น สามโทน มามาบลูส์ บุรินทร์ ผุสชา ตู่ ภพธร คืนวันที่ผ่านไป มองเห็นได้ด้วยใจ นั่งลงตรงที่เดิม นพ พรช�ำนิ แสตมป์ วา่ น ปอ๊ ด โมเดริ น์ ดอ๊ ก กษาปณ์ หนึ่งในหลาย เสียงนั้นเสียงหนึ่ง ฟั่นเฟือน สักคร้ัง มะลลิ า บราซเิ ลย่ี น อารม์ กรกนั ต์ จนิ ตหรา ปุ๊ อญั ชลี จะไม่ลืมพระคุณ พูดจาภาษาไทย ความสุขเล็กๆ ปัน่ ไพบูลย์เกยี รติ ศรณั ย่า แนน สาธดิ า ปุ้ย ดวงพร สเี ดยี ว มีบางส่งิ บางอยา่ งน�ำทางใหเ้ รากลบั มา ฯลฯ วงสครบั นนท์ สิงโต น�ำโชค เจนนเิ ฟอร์ ค้มิ กอ้ ง สหรฐั ฯลฯ นายประภาส ชลศรานนท ์ 239
พ.ศ. ๒๕๕๑ : การแสดงทนี่ ำ� เพลงของนายประภาสมาบรรเลงทง้ั งาน “คอนเสิรต์ เพลงประภาส” ณ ศนู ย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ : คอนเสริ ์ตเพลงประภาส ๒” ท่ีโรงละครเคแบงก์สยามพฆิ เนศ สยามสแควรว์ นั 240 ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผูส้ ร้างสรรค์งานบันเทิงและดนตรไี ทยสากล)
เปน็ ผอู้ �ำนวยการผลิตและแต่งเพลงให้กับคอนเสิรต์ : คอนเสิรต์ เรือ่ งราวบนแผ่นไม้ โดยเฉลียง (พ.ศ. ๒๕๔๓) : คอนเสริ ์ตเหตุเกิดที่เฉลียง (พ.ศ. ๒๕๕๐) : คณุ พระช่วยส�ำแดงสด ๑ ณ โรงละครอกั ษรา (พ.ศ. ๒๕๕๒) : คณุ พระช่วย ส�ำแดงสด ๒ ตอน แผ่นดินทอง ณ โรงละครอกั ษรา (พ.ศ. ๒๕๕๓) : จ�ำอวดคุณพระ โดยคุณพระชว่ ย (พ.ศ. ๒๕๕๔) : คอนเสริ ์ต ผู้หญิงทอ่ี ยากกอดตลอดชีวิต ทีโ่ รงละครอกั ษรา (พ.ศ. ๒๕๕๔) : คุณพระชว่ ย ส�ำแดงสด ๓ ตอน คุณพระช่วยส�ำแดงสด ๓ ฤดู ท่ีโรงละครอักษรา (พ.ศ. ๒๕๕๕) : คอนเสิร์ตคณุ พระชว่ ยส�ำแดงสด ๔ รวมแผน่ ดนิ ท่โี รงละครอกั ษรา (พ.ศ. ๒๕๕๖) : คอนเสิร์ตสบิ ปีคุณพระชว่ ย กิน นอน เกิด แต่ง ส�ำแดงวัฒนธรรม ท่ีโรงละครเคแบงกส์ ยามพฆิ เนศ (พ.ศ. ๒๕๕๘) : คอนเสริ ต์ คณุ พระช่วยส�ำแดงสด ๖ ยกสยาม ทีโ่ รงละครเคแบงกส์ ยามพฆิ เนศ (พ.ศ. ๒๕๕๙) : คอนเสิร์ตคณุ พระชว่ ยส�ำแดงสด ๗ นาคฟ้อน มังกรระบ�ำ ทีโ่ รงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ (สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐) : คอนเสิร์ตคณุ พระช่วยส�ำแดงสด ๘ “ฟ้นื อโยธยา” ที่โรงละครเคแบงก์สยามพฆิ เนศ (สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑) : คอนเสริ ์ต เดอะแมสซงิ เกอร์ ท่ีไบเทค บางนา (พ.ศ. ๒๕๖๐) ฯลฯ นายประภาส ชลศรานนท์ 241
การเผยแพรผ่ ลงานเพลงและดนตรีผา่ นสื่อสิง่ พมิ พ์ : รวมเลม่ ผลงานเพลง “ประภาส ชลศรานนท์ เพลงเขยี นคน ดนตรเี ขียนโลก” (พ.ศ. ๒๕๓๗) : รวมเลม่ ผลงานเพลง “เปลยี่ นฉาก ๑” (พ.ศ. ๒๕๕๐) : รวมเลม่ ผลงาน “เพลงเขียนคน ดนตรเี ขียนโลก ฉบบั ปี ๒๕๕๑” : รวมเล่มผลงานเพลง “เปลีย่ นฉาก ๒” (พ.ศ. ๒๕๕๖) : นิทานหิ่งหอ้ ยออรเ์ คสตรา (พ.ศ. ๒๕๕๑) 242 ศลิ ปินแหง่ ชาติ
ผลงานดา้ นการประพันธบ์ ทความ เรอ่ื งสั้น และนวนิยาย : รวมเร่อื งสน้ั “ขอชอ่ื สธุ สี ามสชี่ าต”ิ (พ.ศ. ๒๕๓๐) : เขียนแบบถาปดั (พ.ศ. ๒๕๔๘) : ห้องครวู ิไลตึกใหมช่ ัน้ สอง (พ.ศ. ๒๕๓๑) : เท่าดวงอาทติ ย์ (พ.ศ. ๒๕๔๘) : คยุ กับประภาส (พ.ศ. ๒๕๔๒) : มังกรไฟไมเ่ รยี นหนังสอื (พ.ศ. ๒๕๔๘) : รวมเลม่ บทละครพอ่ “วัคซีน” (พ.ศ. ๒๕๔๒) : แมงกะพรุนถนดั ซา้ ย (พ.ศ. ๒๕๔๙) : รวมเล่มบทละคร “เหมอื นแม่ครง่ึ หน่ึงกพ็ งึ ใจ” (พ.ศ. ๒๕๔๒) : สมุดขบ (พ.ศ. ๒๕๕๐) : ใจประทับใจ (พ.ศ. ๒๕๔๓) : แมเ่ ภา (พ.ศ. ๒๕๕๓) : เหมอื นไขมัน (พ.ศ. ๒๕๔๓) : นิทานล้านบรรทัด ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔) : ตัวหนังสือคยุ กัน (พ.ศ. ๒๕๔๓) : นิทานลา้ นบรรทดั ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๕) : กบเหลาดินสอ (พ.ศ. ๒๕๔๔) : อภินิหารพระดิน (พ.ศ. ๒๕๕๔) : มะเฟืองรอฝาน (พ.ศ. ๒๕๔๕) : โปรดและปัน (พ.ศ. ๒๕๕๕) : สุธีเสมอ (พ.ศ. ๒๕๔๕) : ประโยคย้อนแสง (พ.ศ. ๒๕๕๖) : เชือกกลว้ ยมัดตน้ กลว้ ย (พ.ศ. ๒๕๔๖) : นิทานล้านบรรทัด ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗) : ยอดมนุษย์ล�ำลอง (พ.ศ. ๒๕๔๗) : ผจญภยั ในความรัก (พ.ศ. ๒๕๕๗) : รวมเล่มบทละคร “ผู้หญิงทีอ่ ยากกอดตลอดชีวติ ” (พ.ศ. ๒๕๔๗) : Making of YAK (พ.ศ. ๒๕๕๘) : หลังตู้เย็น (พ.ศ. ๒๕๔๗) นายประภาส ชลศรานนท ์ 243
การถ่ายทอดความร้คู วามสามารถดา้ น การแตง่ เพลงและการใช้ความคิดสร้างสรรค์ : เป็นวิทยากรให้กับโครงการโรงบ่มคนดนตรี อบรม Business Creativity : ABC) มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ (ตง้ั แต่ การแต่งเพลงไทยให้กับผู้ที่สนใจทั่วไป (ตั้งแต่ปี พ.ศ. ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จนถงึ ปัจจบุ นั ) ๒๕๓๓ ถงึ ปจั จบุ นั ) : ร่วมเป็นกรรมการในโครงการประกวดประพันธ์เพลง “คุณค่าไทยสู่บทเพลงสมัยนิยม” จัดโดย วิทยาลัย : เป็นวิทยากรในงานการชุมนุมทางความคิดคร้ังยิ่งใหญ่ ดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลยั มหิดล (พ.ศ. ๒๕๕๗) แห่งปี สร้างธุรกิจ เชื่อมความคิดโยงวัฒนธรรม : บรรยายพเิ ศษในหวั ขอ้ “จดุ ประกายพลงั เชงิ บวก” จดั โดย CREATIVITIES UNFOLD, BANGKOK 2008 ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาด Connecting Dots Business : People : Culture หลกั ทรพั ย์ (พ.ศ. ๒๕๕๗) (พ.ศ. ๒๕๕๑) : เป็นวิทยากรเร่ืองการใช้งานศิลปะกับสินค้าไทยให้กับ สมาพนั ธเ์ อสเอม็ อไี ทย (พ.ศ. ๒๕๖๐ จนถึงปจั จุบนั ) : เปน็ วทิ ยากรในหวั ขอ้ “ภาษาไทยกบั สอื่ มวลชน” ในงาน : เปน็ วทิ ยากรใหก้ บั หลกั สตู ร Brand KU ภาควชิ าการตลาด วันภาษาไทยแห่งชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๒ มหาวิทยาลัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ตั้งแต่ปี เกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๖๑ จนถงึ ปัจจุบนั ) : เปน็ วทิ ยากรเรอื่ ง “ความคิดสร้างสรรค์” ใหก้ ับหลักสูตร : เปน็ วทิ ยากรในงานสมั มนาหวั ขอ้ “ความคดิ ในการเขยี น วทิ ยาการประกนั ภยั ระดบั สงู ของส�ำนกั งานคณะกรรมการ เพลง” ของโครงการ ดนตรี กวี คีตา เพ่ือการเรียนรู้ ก�ำกับและส่งเสรมิ การประกอบธุรกิจประกนั ภยั (ตั้งแตป่ ี สู่ปัญญา Triple-H Music (พ.ศ. ๒๕๕๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ จนถึงปจั จบุ ัน) : เป็นวิทยากรบรรยาย เร่ืองความคิดสร้างสรรค์ให้กับ สถาบนั การศกึ ษาต่าง ๆ อาทิ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นต้น (ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ จนถึง ปัจจุบัน) : เปน็ วทิ ยากร โครงการ CREATIVE SPACE WORKSHOP 2012 TCDC Entertainment Creative Space Workshop เปน็ การรวมตวั กนั ของนกั คดิ และนกั ออกแบบ แถวหน้าของแวดวงสร้างสรรค์ไทยที่มาร่วมกันเปิดเวที การเรียนรู้แบบใหม่ด้วยการสัมผัสประสบการณ์จริง (พ.ศ. ๒๕๕๔) : เป็นวิทยากรประจ�ำในโครงการฝึกอบรมของสถาบัน พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ (Academy of 244 ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สรา้ งสรรค์งานบนั เทงิ และดนตรไี ทยสากล)
รางวลั และเกียรตคิ ุณท่ไี ด้รับ : รางวัลผู้เขียนบทโทรทัศน์ยอดเยี่ยม รางวัลเมขลา : รางวลั ก�ำกบั มิวสคิ วดิ โี อดีเดน่ โทรทัศน์ทองค�ำ จากละครเร่อื ง “เทวดาตกสวรรค์” (พ.ศ. ๒๕๒๙) เพลง “เรข่ ายฝัน” วงเฉลยี ง (พ.ศ. ๒๕๓๔) : รางวัลผู้เขียนบทโทรทัศน์ยอดเยี่ยม รางวัลโทรทัศน์ : รางวัลมิวสิควิดีโอยอดเยี่ยม Bangkok Art Directors’ ทองค�ำ จากละครเรอื่ ง “เทวดาตกสวรรค”์ (พ.ศ. ๒๕๒๙) Association Awards เพลงเร่ขายฝัน (พ.ศ. ๒๕๓๔) : ละครยอดเยี่ยม Asian Television Awards 2003 : รางวัลละครชุดยอดเยี่ยม “เทวดาตกสวรรค์” รางวัล ละครเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เรื่องชีวิตท่ีพอเพียง โทรทัศน์ทองค�ำ (พ.ศ. ๒๕๒๙) จากการประกวดผลงานโทรทัศน์ท่ัวเอเชีย ที่ประเทศ : รางวัลเพลงยอดเย่ียมประจ�ำปี สีสันอวอร์ดส์ คร้ังที่ ๓ สงิ คโปร์ (พ.ศ. ๒๕๓๖) เพลงยอดเย่ียม “โลกาโคมา่ ” ศลิ ปินเฉลยี ง ค�ำร้องโดย ประภาส ชลศรานนท์ (พ.ศ. ๒๕๓๓) นายประภาส ชลศรานนท์ 245
246 ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผู้สรา้ งสรรค์งานบนั เทิงและดนตรีไทยสากล)
: ละครยอดเย่ียม แมกซีมิลเลี่ยนอวอร์ด (Maximillion : โล่ประกาศเกียรติคุณ พระราชทานจากสมเด็จ Awards) เรื่อง “ผู้หญิงท่ีอยากกอดตลอดชีวิต” พระบรมราชชนนีพันปีหลวง รายการส่งเสริมสถาบัน นบั เปน็ รางวลั อนั ทรงเกยี รตแิ ละเปน็ ครงั้ แรกในระดบั โลก ครอบครัวดีเด่นในวันแม่แห่งชาติ รายการ “สู้เพ่ือแม่” ที่ประเทศทางฝั่งยุโรปมอบให้ผลงานจากเอเชีย (พ.ศ. จัดโดยสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยฯ (พ.ศ. ๒๕๔๗) ๒๕๔๘) : รางวลั “Life Time Achievement 2005” ทมี่ อบใหก้ บั : รางวัลผู้อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมดีเด่นของกระทรวง บุคคลที่ประสบความส�ำเร็จและมีคุณูปการต่อวงการ วัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๔๙) ดนตรีไทยและเปน็ การเชิดชเู กียรติ จัดโดยคลืน่ ๑๐๔.๕ แฟตเรดโิ อ (พ.ศ. ๒๕๔๘) : รางวัลส่ือมวลชนดีเด่น จัดโดยสื่อมวลชนคาทอลิก ประเทศไทย จากละครชุด “ชัยชนะของแม่” (พ.ศ. : โล่เกียรติยศ รายการท่ีมีคุณค่าต่อสังคม จัดโดย ๒๕๔๙) คณะกรรมาธิการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผแู้ ทนราษฎร (พ.ศ. ๒๕๔๘) นายประภาส ชลศรานนท์ 247
: รางวลั ลกู ทมี่ คี วามกตญั ญกู ตเวทอี ยา่ งสงู ตอ่ แม่ รบั ประทาน : รางวัลชนะเลิศการประพันธ์เพลงดีเด่นด้านภาษาไทย โล่รางวัลจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี ประเภทการประพันธค์ �ำร้องเพลงไทยสากล ไดแ้ กเ่ พลง กรมหมน่ื สทุ ธนารนี าถ (พ.ศ. ๒๕๔๙) “บ้านเราจะเหมือนเดิม” ในงานวันภาษาไทยแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๔) : รางวัลสื่อมวลชนดีเด่น รายการ สารคดีดนตรีเล่าเรื่อง “น้�ำคือชีวิต” จัดโดยสื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย : รางวัลผลงานสร้างสรรค์แห่งปี ไนน์เอ็นเตอร์เทน รบั รางวัล (พ.ศ. ๒๕๕๐) อวอรด์ ส์ จากภาพยนตรแ์ อนเิ มชนั่ “ยกั ษ”์ (พ.ศ. ๒๕๕๖) : รางวัลบคุ คลเบื้องหลงั แห่งปี ไนน์ เอนเตอร์เทน อวอรด์ ส์ : รางวัลชนะเลิศ Best Animated 2014 เรื่อง FEED (พ.ศ. ๒๕๕๒) เทศกาลประกวดภาพยนตร์ ประเภทภาพยนตร์สั้น ซึง่ จดั ขน้ึ ทีร่ ฐั โอไฮโอ สหรัฐอเมรกิ า (พ.ศ. ๒๕๕๗) : รางวลั ผมู้ คี ณุ ธรรมสง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนาจากเจา้ ประคณุ สมเด็จพระพุฒาจารย์ องค์ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าท่ี : รางวัลเพลงละครดีเด่นโทรทัศน์ทองค�ำ ครั้งท่ี ๒๙ สมเดจ็ พระสงั ฆราชฯ เปน็ รางวลั ทม่ี อบใหก้ บั ศลิ ปนิ บคุ คล เพลง “สง่ิ ลกึ ลบั ซบั ซอ้ นในจกั รวาล” จากเรอื่ งรกั ลน้ ครมี ในสงั คมและสอ่ื มวลชนทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งของพทุ ธศาสนกิ ชน (พ.ศ. ๒๕๕๗ ) ทดี่ ี เนือ่ งในวนั มาฆบูชา (พ.ศ. ๒๕๕๒ ) : รางวัลเกียรติยศคนทีวี Lifetime Achievement : รางวัลเพลงยอดเย่ียมประจ�ำปี สีสันอวอร์ดส์ คร้ังท่ี ๒๒ ไดร้ บั จากงานประกาศรางวัลโทรทศั น์ทองค�ำ ครง้ั ที่ ๓๐ “นาฬิกา” ศลิ ปนิ พรี ะพัฒน์ เถรว่อง ค�ำรอ้ งโดย ประภาส จัดโดยชมรมสง่ เสรมิ โทรทัศน์ (พ.ศ. ๒๕๕๘) ชลศรานนท์ (พ.ศ. ๒๕๕๒) : รางวัลชนะเลิศ การประพันธ์เพลงดีเด่นด้านภาษาไทย : รางวัลการประพันธ์เพลงดีเด่นด้านภาษาไทยประเภท ประเภทการประพนั ธค์ �ำรอ้ งเพลงไทยสากล ไดแ้ ก่ เพลง การประพนั ธค์ �ำรอ้ งเพลงไทยสากลในผลงานการประพนั ธ์ “วันพรุ่งนี้” เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ จัดโดย เพลง “ควายไทย” จัดโดยส�ำนักวรรณกรรมและ ส�ำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร ประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร เน่ืองในวันภาษาไทย กระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๕๘) แหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๓) : รางวลั Lifetime Achievement 2016 รางวลั ทมี่ อบให้ : รางวลั Hall of Fame เปน็ รางวัลส�ำหรับศิลปินคณุ ภาพ กบั ผคู้ รำ�่ หวอดในวงการดนตรที งั้ เบอื้ งหนา้ และเบอ้ื งหลงั ระดับต�ำนานที่สร้างผลงานต่อเนื่องประสบความส�ำเร็จ และสร้างคุณูปการให้กับวงการเพลงของไทย ในงาน สูงสดุ และยาวนานและสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหผ้ ้ฟู งั จัดโดย The Guitar Mag Awards 2016 จัดโดย The Guitar คลื่น seed ๙๗.๕ เอฟเอ็ม (พ.ศ. ๒๕๕๔) Mag (พ.ศ. ๒๕๕๙) 248 ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ผู้สรา้ งสรรคง์ านบันเทงิ และดนตรีไทยสากล)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332