Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01ศิลปินแห่งชาติ 2561 S

01ศิลปินแห่งชาติ 2561 S

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-30 21:52:18

Description: 01ศิลปินแห่งชาติ 2561 S

Search

Read the Text Version

คำ� ประกาศเกียรตคิ ุณ นายปริญญา ตันติสุข ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาทศั นศิลป์ (จิตรกรรม) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ นายปรญิ ญา ตนั ตสิ ขุ ปจั จบุ นั อายุ ๖๔ ปี เกดิ เมอ่ื วนั ท่ี ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ทก่ี รงุ เทพมหานคร เรม่ิ ตน้ ศกึ ษาศลิ ปะ ท่โี รงเรียนช่างศิลป กรมศิลปากร ศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตท่คี ณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมอ่ื จบการศกึ ษาไดเ้ ขา้ รบั ราชการเปน็ อาจารยส์ อนทว่ี ทิ ยาลยั ชา่ งศลิ ป กรมศลิ ปากร และเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาศลิ ปมหาบณั ฑติ ทม่ี หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดร้ บั ทนุ จากรฐั บาลญป่ี นุ่ ไปศกึ ษาดงู าน ณ ประเทศญป่ี นุ่ เมอ่ื กลบั มาไดโ้ อนยา้ ยเขา้ ท�ำ งานสงั กดั ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ภายหลังได้ดำ�รงตำ�แหน่งศาสตราจารย์ ในสาขาวชิ าทศั นศลิ ป์ และไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ต�ำ แหนง่ ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ นายปรญิ ญา ตนั ตสิ ขุ ไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสมา่ํ เสมอ โดยมจี ติ รกรรมเปน็ งานหลกั ส�ำ คญั นอกเหนอื จาก การคน้ ควา้ สรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะดว้ ยสอ่ื อน่ื ๆ เชน่ วาดเสน้ และสอ่ื ผสม สาระเนอ้ื หาในภาพรวมแสดงออกและสอ่ื สารทศั นคตคิ วามเชอ่ื ทเ่ี กย่ี วกบั คณุ คา่ และความสมั พนั ธข์ องชวี ติ เชน่ ความรกั ในมนษุ ย์ ความศรทั ธาในศาสนา ความหวงั ความสขุ ความเรยี บงา่ ยพอเพยี งของชวี ติ ให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษกับการใช้สีและรูปสัญลักษณ์ ได้พัฒนาผลงานมาตลอดระยะเวลากว่า ๔๐ ปี จำ�แนกเป็นชุดงานได้ดังน้ี ระยะแรกเปน็ งานชดุ “พน้ื ผวิ สี และเครอ่ื งหมาย” (พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๕๒๒) มโี ครงรปู เรขาคณติ เปน็ ใบหนา้ คนทล่ี ดทอนรายละเอยี ด มีลักษณะก่งึ นามธรรม ใช้โครงสีหม่น น้าํ หนักเข้ม และเคร่อื งหมาย เช่น สัญลักษณ์สากลและอักขระโบราณ งานชุด “การ์ตูน” (พ.ศ. ๒๕๒๑ - ๒๕๒๓) ใชเ้ นอ้ื หาและบรบิ ทของการต์ นู เปน็ แรงบนั ดาลใจ ใชโ้ ครงสสี ดใส สวา่ ง แสดงออกเกย่ี วกบั ความสขุ ความยนิ ดี งานชดุ “รปู ทรงแหง่ จนิ ตนาการ” (พ.ศ. ๒๕๒๓ - ๒๕๒๗) คดิ คน้ สรา้ งรปู ทรงใหมจ่ ากรปู การต์ นู ผสมผสานกบั รปู ทรงธรรมชาตเิ ปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทนคา่ สง่ิ ตา่ งๆ ใชโ้ ครงสสี ะอาดนมุ่ นวล แสดงออกเกย่ี วกบั ความรกั ความอบอนุ่ งานชดุ “ครอบครวั ” (พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๔) สะทอ้ นเนอ้ื หาเรอ่ื งราวทแ่ี สดงเชอ้ื ชาตไิ ทย ยกยอ่ งสถาบนั ครอบครวั แสดงความรกั ความผกู พนั ระหวา่ ง พอ่ แม่ ลกู พน่ี อ้ ง ใชส้ ที ส่ี ดใส สวา่ ง นมุ่ นวล สรา้ งพน้ื ผวิ อยา่ งความละเอยี ด ประณตี งานชดุ “สนทนา - ปญั ญา” (พ.ศ. ๒๕๓๔ - ๒๕๓๘) แสดงคณุ คา่ ความหมาย ของการรบั และการใหป้ ญั ญาความรรู้ ะหวา่ งครกู บั ศษิ ย์ ใชร้ ปู ทรงเรขาคณติ เปน็ หลกั โครงสเี ขม้ แสดงความหนกั แนน่ เครง่ ขรมึ งานชดุ “ไตรรตั น”์ (พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๔๑) สอ่ื สารความศรทั ธาในพระรตั นตรยั ใชร้ ปู สามเหลย่ี มเปน็ หลกั เนน้ รปู แบบทเ่ี รยี บงา่ ย สรา้ งบรรยากาศ ทแ่ี สดงความรสู้ กึ ถงึ ความศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ งานชดุ “วฏั ฏะ” (พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๘) เกดิ ความสนใจและแสดงออกเกย่ี วกบั เนอ้ื หาความหมาย ของการเวยี นวา่ ยไมม่ ที ส่ี น้ิ สดุ ความทกุ ขค์ วามสขุ ทส่ี ลบั หมนุ เวยี นในชวี ติ งานชดุ “ทางธรรม” (พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๕๓) คน้ หาสง่ิ ยดึ เหนย่ี ว ใหก้ บั จติ ใจจากเนอ้ื หาค�ำ สอนในพทุ ธศาสนาและของพระอรยิ สงฆ์ แสดงออกเกย่ี วกบั ความหวงั และการพฒั นาชวี ติ งานชดุ “บา้ น” (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ปจั จบุ นั ) เรอ่ื งราวของการด�ำ เนนิ ชวี ติ อยา่ งเรยี บงา่ ยพอเพยี ง พฒั นารปู ทรงจากศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ แสดงออกถงึ คณุ คา่ ของชวี ติ ไทย นายปรญิ ญา ตนั ตสิ ขุ ไดร้ บั รางวลั ตา่ งๆ จากการประกวดครง้ั ส�ำ คญั มากมาย นอกจากการศกึ ษาคน้ ควา้ และพฒั นากระบวน วธิ กี ารสรา้ งสรรคแ์ ละแสดงออกในงานศลิ ปะของตนเองแลว้ ยงั ไดน้ าํ ความรทู้ ไ่ี ดม้ าจากการปฏบิ ตั จิ รงิ ไปสกู่ ารถา่ ยทอดใหค้ วามรแู้ กน่ กั ศกึ ษา และผสู้ นใจดว้ ย นายปรญิ ญา ตนั ตสิ ขุ จงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตเิ ปน็ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จติ รกรรม) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ ศลิ ปนิ แหง่ ชานตาิยพปทุ รธิญศญักราาชตนั๒ต๕สิ๖ุข๑ 49

นปราะวยตั ปชิ ีวริติญแลญะผาลงาตนนั ติสุข ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาทศั นศิลป์ (จติ รกรรม) 50 ศิลปินแห่งชาติ พสาุทขธาศทักัศรนาศชิล๒ป๕์ ๖(จ๑ติ รกรรม)

นายปรญิ ญา ตันติสขุ เกดิ เม่อื วันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ท่กี รุงเทพมหานคร ปจั จบุ ันอายุ ๖๔ ปี การศึกษาดา้ นศลิ ปะ พ.ศ. ๒๕๒๐ : ศลิ ปบัณฑิต (จิตรกรรม) คณะจติ รกรรมประติมากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ๒๕๒๗ : ประกาศนียบัตร (วิจติ รศิลป)์ บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ชิสโุ อกะ ประเทศญป่ี ่นุ พ.ศ. ๒๕๒๘ : ศลิ ปมหาบัณฑติ (จติ รกรรม) บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ประวัติการรบั ราชการ พ.ศ. ๒๕๒๐ : วทิ ยาลยั ชา่ งศลิ ป กองศิลปศกึ ษา กรมศิลปากร พ.ศ. ๒๕๓๐ : ภาควิชาศลิ ปไทย คณะจติ รกรรมฯ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร พ.ศ. ๒๕๓๕ : หวั หน้าภาควชิ าศลิ ปไทย คณะจิตรกรรมฯ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร พ.ศ. ๒๕๔๒ : รองคณบดฝี า่ ยวิชาการ คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร : รองศาสตราจารย์ สาขาทศั นศลิ ป์ ภาควชิ าศลิ ปไทย คณะจติ รกรรมฯ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร นายปรญิ ญา ตนั ติสุข 51

พ.ศ. ๒๕๕๒ : คณบดีคณะจิตรกรรมฯ ตัวเอง / ME acrylic on canvas, 110x150 cm. 1981 มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ความรกั ๒ / LOVE 2 acrylic on canvas, 150x120 cm. 1982 พ.ศ. ๒๕๕๘ : ศาสตราจารย์ สาขาทัศนศิลป์ ภาควชิ าศลิ ปไทย คณะจติ รกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ๒๕๖๑ : ศาสตราจารย์เกียรตคิ ณุ สาขา ทศั นศลิ ป์ ภาควชิ าศลิ ปไทย คณะจติ รกรรมฯ มหาวิทยาลัย ศลิ ปากร การบริการวชิ าการดา้ นศลิ ปะ พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๖๒ : เป็นกรรมการ และอนุกรรมการในโครงการบริการวิชาการ แกส่ งั คมและโครงการท�ำนุบ�ำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม กรรมการปรับปรุง จัดท�ำร่าง หรือพิจารณา หลักสูตรทางด้านสาขาศิลปะและการออกแบบ ก ร ร ม ก า ร ตั ด สิ น ก า ร ป ร ะ ก ว ด ศิ ล ป ก ร ร ม ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อท�ำหน้าท่ีประเมินผลงาน ทางวิชาการและจริยธรรมและจรรยาบรรณ ทางวิชาการ วิทยากรบรรยายหัวข้อเกี่ยวกับ ศิลปวัฒนธรรมให้กับหน่วยงานและสถาบัน การศึกษา เช่น คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วทิ ยาลยั ชา่ งศิลป ลาดกระบงั คณะศลิ ปวจิ ติ ร สถาบัน บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ กรมศลิ ปากร คณะศลิ ปกรรม ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขต ปัตตานี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ภาควิชา ศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัย เชยี งใหม่ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย กรุงเทพธนบุรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ เปน็ ต้น 52 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จติ รกรรม)

จากบทกลอนกล่อมเด็ก เจา้ นกขมน้ิ / CHILD LULLABY: ORIOLE acrylic on canvas, 110x80 cm. 1986 นายปรญิ ญา ตนั ติสขุ 53

ต้นไมว้ เิ ศษ / THE MAGIC TREE mixed technique on paper, 40x56 cm. 1988 ประวตั ิการสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเผยแพรส่ สู่ าธารณชน นิทรรศการเดี่ยวครง้ั ส�ำคัญ พ.ศ. ๒๕๒๕ : “ปริญญา ตนั ติสขุ ” หอศิลป์ พีระศรี กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๒๘ : “บนั ทกึ จากญป่ี นุ่ ” พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ หอศิลป กรงุ เทพฯ พ.ศ. ๒๕๕๙ : “บ้าน” นิทรรศการศิลปะ โดยปริญญา ตันติสุข พิพิธภัณฑสถาน แหง่ ชาติ หอศลิ ป กรุงเทพฯ นทิ รรศการคู่ พ.ศ. ๒๕๕๘ : นิทรรศการแสดงศิลปกรรมในวาระเชิดชูเกียรติศิลปิน/อาจารย์ ผู้เกษียณอายุราชการ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ รองศาสตราจารย์ปริญญา ตันติสุข และ อาจารย์อ�ำมฤทธิ์ ชูสุวรรณ หอศิลป์คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร กรุงเทพฯ นิทรรศการกลมุ่ พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๖๒ : ร่วมเผยแพร่ผลงานในนิทรรศการศิลปกรรมคร้ังส�ำคัญท้ังในประเทศ และตา่ งประเทศท่ีจดั ขน้ึ โดยหนว่ ยงานรัฐและเอกชนหลายครัง้ 54 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จติ รกรรม)

สนทนา / CONVERSE acrylic and gold-leaf on canvas, 180x120 cm. 1991 นายปริญญา ตันตสิ ขุ 55

สนธยา - สนทนา / DIALOGUE IN TWILIGHT acrylic and gold-leaf on canvas, 185x135 cm. 1991 56 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (จิตรกรรม)

บทสนทนาแห่งปญั ญา / THE INTELLECTUAL DIALOGUE acrylic and gold-leaf on canvas, 185x135 cm. 1991 นายปริญญา ตนั ติสขุ 57

ทวิ ทัศนแ์ หง่ ปัญญา / INTELLECTUAL LANDSCAPE acrylic and gold-leaf on canvas, 135x185 cm. 1991 รางวัลและเกยี รติคุณท่ีไดร้ บั ๒๕๒๓ : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม ๒๕๒๔ แห่งชาติ ครั้งที่ ๒๖ : รางวัลที่ ๓ เหรียญทองแดง ประเภทจิตรกรรมไทยแบบร่วมสมัย การประกวด จิตรกรรมบวั หลวง ครง้ั ท่ี ๕ : รางวลั เกยี รตินยิ มอันดับ ๓ เหรยี ญทองแดง สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม แห่งชาติ ครั้งที่ ๒๗ : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรม การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัยประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๒๔ โดยการสนับสนุนของธนาคารกสกิ รไทย : รางวัลศิลปไทยร่วมสมัย การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัย โดยการสนับสนุนของ ธนาคารแห่งประเทศไทย 58 ศิลปินแห่งชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จติ รกรรม)

หนทางแหง่ ปญั ญา / INTELLECTUAL LANDSCAPE ๒๕๒๕ : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรม การประกวด acrylic and gold-leaf on canvas, 185x135 cm. 1992 ศิลปกรรมรว่ มสมยั ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยการสนับสนนุ ของธนาคารกสกิ รไทย ไตร / TRI acrylic on canvas, 150x150 cm. 1994 ๒๕๒๗ : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม ๒๕๒๘ แห่งชาติ ครง้ั ท่ี ๒๘ : รางวลั ท่ี ๑ เหรยี ญทอง ประเภทจติ รกรรม ๒๕๒๙ ไทยแบบรว่ มสมยั การประกวดจติ รกรรม ๒๕๓๐ บวั หลวง คร้ังท่ี ๖ ๒๕๓๑ : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรม การประกวด ๒๕๓๒ ศลิ ปกรรมรว่ มสมัยประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๒๗ โดยการสนับสนุนของธนาคารกสกิ รไทย : รางวลั เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั ๓เหรยี ญทองแดง สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม แหง่ ชาติ ครง้ั ท่ี ๓๐ : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรม การประกวด ศิลปกรรมร่วมสมัยประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๒๘ โดยการสนบั สนนุ ของธนาคารกสกิ รไทย : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม แหง่ ชาติ คร้ังท่ี ๓๑ : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรม การประกวด ศิลปกรรมรว่ มสมยั ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๒๙ โดยการสนับสนุนของธนาคารกสกิ รไทย : รางวลั เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั ๓เหรยี ญทองแดง สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม แห่งชาติ ครง้ั ท่ี ๓๓ : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรม การประกวด ศลิ ปกรรมร่วมสมัยประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๓๑ โดยการสนับสนุนของธนาคารกสกิ รไทย : รางวัลดีเด่น การประกวดศิลปกรรม “น�ำส่ิงท่ีดีสู่ชีวิต” โดยการสนับสนุนของ บริษทั ในเครือโตชบิ า ประเทศไทย นายปรญิ ญา ตนั ตสิ ุข 59

ไตร / TRI acrylic on canvas, 190x150 cm. 1998 60 ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศิลป์ (จิตรกรรม)

เพศหญิง / FEMALE acrylic and gold-leaf on canvas, 80x60 cm. 2004 นายปริญญา ตันตสิ ขุ 61

ทางไม่สิ้นสดุ / THE NEVER ENDING PATH acrylic and gold-leaf on canvas, 150x150 cm. 2006 62 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (จติ รกรรม)

แสงเดือน / MAGIC BEAMS acrylic on canvas, 80x80 cm. 2007 นายปริญญา ตันตสิ ขุ 63

บา้ น: บวั / HOME: LOTUS acrylic on canvas, 60x60 cm. 2011 64 ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จติ รกรรม)

บ้าน: วิกฤตการเมือง / HOME: POLITICAL CRISIS acrylic on canvas, 195x195 cm. 2014 นายปรญิ ญา ตันตสิ ขุ 65

บา้ น: เทพแหง่ ศลิ ปะ / HOME GODDESS OF ART acrylic on canvas, 70x70 cm. 2015 66 ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จิตรกรรม)

บ้าน: บินไปดวงจันทร์ / HOME: FLY TO THE MOON acrylic on canvas, 100x100 cm. 2015 นายปรญิ ญา ตนั ตสิ ขุ 67

บ้าน: เสน้ ทางชีวติ / HOME TRAVELING LINE acrylic on canvas, 120x100 cm. 2015 68 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จิตรกรรม)

บ้าน: ชีวติ ธรรมดา / HOME: SIMPLE LIFE acrylic on canvas, 120x100 cm. 2015 นายปริญญา ตันตสิ ขุ 69

ธ เสด็จ / THE PASSING OF THE KING acrylic and gold-leaf on canvas, 80x100 cm. 2016 70 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศิลป์ (จิตรกรรม)

ดารารัตน์และดาวเรอื ง / DAFFODIL & MARIGOLD acrylic and gold-leaf on canvas, 80x100 cm. 2017 นายปรญิ ญา ตนั ติสขุ 71

ดารารตั นแ์ ละนกยางขาว / DAFFODIL & WHITE EGRETS acrylic and gold-leaf on canvas, 80x100 cm. 2017 72 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม)

ปรากฏการณ์ถ�้ำหลวงนางนอน / PHENOMENON OF THAM LUANG NANG NON CAVE acrylic on canvas, 170x200 cm. 2018 นายปรญิ ญา ตนั ตสิ ขุ 73

๒๕๓๓ : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรม การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัยประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ๒๕๓๔ โดยการสนบั สนนุ ของธนาคารกสิกรไทย : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรม การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัยประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยการสนับสนนุ ของธนาคารกสิกรไทย ๒๕๓๕ : รางวลั ยอดเยี่ยม การประกวดศิลปกรรม “น�ำส่ิงท่ดี สี ูช่ วี ิต” โดยการสนับสนนุ ของ บริษทั ในเครือโตชิบา ประเทศไทย : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม แหง่ ชาติ ครัง้ ที่ ๓๗ : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรม การประกวดศิลปกรรมร่วมสมัยประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยการสนับสนุนของธนาคารกสิกรไทย : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม แห่งชาติ ครั้งท่ี ๓๘ 74 ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาทศั นศิลป์ (จติ รกรรม)

๒๕๓๖ : รางวัลชนะเลิศศิลปกรรมยอดเย่ียม การประกวดศลิ ปกรรมรว่ มสมยั ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๓๖ โดยการสนับสนุนของ ๒๕๓๗ ธนาคารกสกิ รไทย ๒๕๓๙ : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๔๑ สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม ๒๕๔๙ แห่งชาติ ครัง้ ที่ ๓๙ ๒๕๕๗ : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม แห่งชาติ ครั้งท่ี ๔๐ : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม แหง่ ชาติ ครั้งท่ี ๔๒ : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน สาขาจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรม แหง่ ชาติ คร้ังท่ี ๔๔ : รางวัลสนับสนุนโดยธนาคารกรุงไทย รางวลั ท่ี ๒ การแสดงศลิ ปกรรมแหง่ ชาติ ครั้งท่ี ๕๒ : รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญ ทองแดง สาขาจิตรกรรม การแสดง ศลิ ปกรรมแห่งชาติ ครงั้ ที่ ๖๐ ปจั จุบัน นายปรญิ ญา ตันตสิ ขุ ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์เกียรติคณุ สาขาทัศนศลิ ป์ ภาควชิ าศลิ ปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ท่อี ยู่ปจั จบุ นั เลขที่ ๕๒ พุทธมณฑลสาย ๒ ซอย ๑๐ แขวงบางแคเหนอื เขตบางแค กรุงเทพฯ ๑๐๑๖๐ อเี มล์ [email protected] โทรศพั ท์ ๐๘ ๑๘๐๘ ๘๖๑๑ นายปริญญา ตันตสิ ุข 75



ค�ำประกาศเกยี รตคิ ณุ นางคำ� ปนุ ศรีใส ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (ประณตี ศลิ ป์ - ทอผา้ ) พุทธศักราช ๒๕๖๑ นางค�ำ ปนุ ศรใี ส ปจั จบุ นั อายุ ๘๖ ปี เกดิ เมอื่ วนั ท่ี ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๖ ณ อ�ำ เภอเมอื งยโสธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี (ปัจจบุ ันเปน็ จงั หวัดยโสธร) นางคำ�ปุน ศรีใส ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาและความรักในการทอผ้ามาต้ังแต่เยาว์วัยจากมารดา ซ่ึงเป็นช่าง ทอผา้ ทมี่ ีชอื่ เสียงในทอ้ งถิ่น นอกจากน้ี มารดายังไดป้ ลูกฝังศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนา และน้อมน�ำ เอาความสามารถ ในการทอผ้านี้ไปสร้างสรรค์เป็นสิ่งทอ เพ่ือถวายเป็นพุทธบูชา อาทิ ผ้าสบง จีวร สังฆาฏิไหมพื้นบ้าน รัดประคดไหม เครือ่ งห่ม เครอ่ื งปูลาด อาสนะ และธุงบชู า หล่อหลอมใหน้ างคำ�ปุนเป็นช่างทอผ้าทงี่ ดงามด้วยศรทั ธา สง่ั สมประสบการณ์ และภมู ปิ ญั ญาในการทอผา้ มาถา่ ยทอดเปน็ แบบอยา่ งใหแ้ กค่ นรนุ่ หลงั ตลอดระยะเวลาหลายสบิ ปที ผ่ี า่ นมาเปน็ เครอื่ งพสิ จู น์ ถึงความวริ ยิ ะ อตุ สาหะ และความตัง้ ม่ันในการฝ่าฟนั อปุ สรรค แมใ้ นชว่ งเวลาที่กระแสนยิ มในผ้าทอพน้ื เมอื งไดล้ ดนอ้ ยลง จนเกือบสูญหายไปพร้อมๆ กับจำ�นวนกี่ทอผ้า คงเหลือแต่โรงทอคำ�ปุนเพียงแห่งเดียวในเมืองอุบลราชธานี ท่ียืนหยัด สืบสานมรดกภมู ิปญั ญาในการทอผ้ามาจนถงึ ปจั จุบัน ดว้ ยความรกั อย่างลึกซึ้งตอ่ การทอผ้า นางค�ำ ปนุ จึงสามารถถ่ายทอด ความงดงามลงบนผนื ผ้าชนดิ ตา่ งๆ เชน่ ผา้ ซนิ่ ทวิ ผ้าซน่ิ หมี่ ผ้าซน่ิ หมคี่ นั่ ผา้ ซน่ิ หมข่ี ดิ คา้ํ เผา่ ผา้ ซนิ่ ไหมควบ ผา้ หางกระรอก ผ้าโสร่งไหม และยังได้น�ำ เอาเทคนคิ การทอผ้ามดั หม่ีแบบสามตะกอและสต่ี ะกอมาใชท้ อผา้ เปน็ ครง้ั แรก ถอื ได้วา่ เป็นเพยี ง ผ้เู ดยี วของจงั หวัดอบุ ลราชธานที ่ีสามารถทอผา้ ปูมหรือสมปกั ปมู ซึ่งตอ้ งใชฝ้ มี อื ชน้ั สูง เพราะผา้ น้ีมแี บบแผนและลวดลาย ประณตี ซบั ซ้อน ทัง้ ยังเพื่อรักษาแบบอยา่ งของผ้าทไี่ ดร้ บั ถ่ายทอดมา ด้วยผลงานเป็นทีป่ ระจักษ์จงึ ไดร้ บั การเชิดชเู กียรติ เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม สาขาทัศนศิลป์ (ศิลปหัตถกรรม เคร่ืองถักทอ) ปีพุทธศักราช ๒๕๓๗ นอกจากนี้ ยังฟ้ืนฟูผ้าซิ่นทิวมุกที่เกือบสูญหายไปแล้วให้กลับมาทอขึ้นใหม่ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๓ อีกท้ังยังสร้างรายได้แก่ชุมชน ในการคิดค้นและออกแบบผ้ากาบบัว กระทรวงวัฒนธรรมจึงได้ประกาศข้ึนทะเบียนผ้าเมืองอุบลราชธานีให้เป็นมรดก ภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมของชาติ ในปพี ุทธศกั ราช ๒๕๕๗ นอกจากจะทุ่มเทชวี ติ ให้กับการทอผา้ แล้ว นางคำ�ปนุ ศรใี ส ได้แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ รักและหวงแหนในอัตลักษณ์ของบ้านเกิด ด้วยการเป็นผู้นำ�ในการแต่งกายของชาวเมือง อบุ ลฯ ฟ้ืนฟกู ารนุง่ ซิ่นคัน่ ซน่ิ ลายล่องตนี ตวย ผา้ ซิน่ หัวจกดาว ผ้าซิ่นทิวมุก ผา้ เบ่ียงขิด และผา้ พืน้ เมอื งแบบตา่ งๆ จนเกดิ กระแสนยิ มผ้าทอเมอื งอุบลฯ นบั เป็นคณุ ปู การ ยากจะหาผอู้ น่ื ทดั เทียมได้ นางคำ�ปุน ศรีใส จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประณีตศิลป์ - ทอผ้า) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ นางค�ำ ปุน ศรใี ส 77

ปนราะวงัตคิชำ�วี ิตปแุนละผศลรงาใี นส ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (ประณีตศิลป์ - ทอผา้ ) แมส่ อนไวว้ ่า เฮ็ดกนิ แล้ว ตอ้ งเฮด็ ทานน�ำ หมายถงึ เราท�ำงานเพ่ือทำ� มาหากินแลว้ ตอ้ งท�ำทานดว้ ย 78 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พสาทุ ขธาศทักศั รนาศชิล๒ป๕์ ๖(ป๑ระณีตศลิ ป์ - ทอผ้า)

นางค�ำปุน ศรีใส ปัจจุบันอายุ ๘๖ ปี เกิดเม่ือวนั ที่ ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๖ ท่อี �ำเภอยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี (ปจั จุบนั คอื จังหวัดยโสธร) ประวัตกิ ารศกึ ษา ส�ำเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ ทโี่ รงเรยี นวดั กลาง จงั หวดั ยโสธร และไมไ่ ดศ้ กึ ษาตอ่ ดว้ ยใจรกั เกย่ี วกบั การทอผ้า จึงมาศึกษาการทอผ้าจากมารดา นางน้อย ศรีใส ซึ่งเป็น ช่างทอผ้าที่มีช่ือเสียงในชุมชนใจกลางเมืองยโสธรท่ีเคยเป็นอ�ำเภอหน่ึง ของจงั หวดั อบุ ลราชธานี ดว้ ยความศรทั ธายดึ มนั่ ในพระพทุ ธศาสนาของมารดา ไดห้ ลอ่ หลอม นางค�ำปนุ ใหเ้ ปน็ ผมู้ ศี รทั ธารบั เอาวถิ กี ารทอผา้ เพอื่ อทุ ศิ ถวายในพระศาสนา มาโดยตลอด อีกทั้งยังกล่อมเกลาจิตใจให้รักความสันโดษ และยินดี นางน้อย ศรีใส นางคำ�ปนุ ศรีใส 79

ในวิถีชีวิตชาวไทยอีสานที่มีประเพณีฮีตคองอันเป็นแบบแผนงดงาม รวมไปถึงการแต่งกาย และเครื่องนุ่งห่มเคร่ืองใช้ท่ีถักทอด้วยฝ้ายและไหมต่างๆ คตินิยมชาวอีสานยังให้ความส�ำคัญ กบั การทอผา้ ดงั ค�ำพงั เพยอสี านทวี่ า่ “ตำ�่ หกู บเ่ ปน็ แผน่ กะสอิ ยากมผี วั ” การทอผา้ จงึ เปน็ คณุ สมบตั ิ ท่ีสตรีชาวอีสานจ�ำเป็นต้องมีพร้อมเพ่ือเป็นแม่บ้านแม่เรือนที่ดีต่อไปในอนาคต เมื่อยังเป็น เดก็ หญงิ ทา่ นไดช้ ว่ ยมารดาท�ำงานถกั ทอตา่ งๆ หลายหนา้ ทใี่ นกระบวนการผลติ จงึ เปน็ การสง่ั สม ภมู ปิ ญั ญาจนน�ำมาสบื สานถา่ ยทอดแกค่ นรนุ่ หลงั จนถงึ ปจั จบุ นั ขณะทพ่ี ส่ี าวของทา่ นช�ำนาญในการ มดั หมี่ แตท่ า่ นช�ำนาญการ ‘คน้ เครอื ’ หรอื การจดั เสน้ ยนื มากทส่ี ดุ ในบรรดาสมาชกิ ของครอบครวั ทา่ นสามารถท�ำไดร้ วดเรว็ และไมผ่ ดิ พลาดจงึ ไดร้ บั ความไวว้ างใจจากมารดาเสมอ วิถีชีวิตในการถักทอเส้นไหมเปล่ียนไปเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งท่ี ๒ ท่านต้องหยุดเรียน กลางคันเมื่อช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ ต้องหันมาเข็นฝ้ายหรือปั่นฝ้ายช่วยมารดา เพราะในช่วง สงครามนน้ั ผา้ ผอ่ นแพรพรรณตา่ งๆ ขาดแคลนจนตอ้ งหนั มาใชฝ้ า้ ย ซงึ่ มขี นั้ ตอนการผลติ ทที่ นั ตอ่ ความตอ้ งการมากกวา่ และราคาถกู กวา่ การมคี วามช�ำนาญในเรอื่ งฝา้ ยนท้ี �ำใหน้ างค�ำปนุ เปน็ ผนู้ �ำ ส�ำคญั ท�ำการเขน็ ฝา้ ยในโอกาสตา่ งๆ เชน่ เปน็ ผไู้ ดร้ บั เกยี รตใิ หเ้ ปน็ ประธานเขน็ ฝา้ ยประเดมิ ในงาน จลุ กฐนิ 80 ศิลปินแห่งชาติ สาขาทศั นศิลป์ (ประณีตศลิ ป์ - ทอผา้ )

ประวตั ิการทำ�งาน นางค�ำปุนได้รับการถ่ายทอดกรรมวิธี การทอผา้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ จากมารดาซง่ึ เปน็ ช่างทอผ้าฝีมือดี ได้ทอผ้าส่งขายให้ร้านค้า ในเมืองอุบลราชธานีต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๐ นางค�ำปุนจึงมีความสนใจและชอบทอผ้ามา ตั้งแต่เด็กๆ ผ้าที่ทอในสมัยนั้นเป็นผ้าไหม สธี รรมชาติ (สขี าวและครมี ) และซนิ่ ตา่ งๆ เชน่ ซนิ่ คน่ั ซน่ิ ทวิ และซนิ่ หมี่ ทงั้ หมดเปน็ ผา้ ๒ เขา หรอื ตะกอ เม่ือแต่งงานและย้ายไปอยู่ท่ีบ้าน อ�ำเภอเมืองอุบลฯ ได้ยึดอาชีพค้าขายก่อน ต่อมาด้วยใจรักในการทอผ้าจึงได้เร่ิมต้ังกี่ ทบี่ า้ นถนนผาแดง อ�ำเภอเมอื งอบุ ลฯ เพอื่ ทอผา้ ใชแ้ ละจ�ำหนา่ ย กจิ การด�ำเนนิ ไปดว้ ยดจี งึ ขยาย จ�ำนวนกข่ี นึ้ เรอ่ื ยๆ จนเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ จงึ ได้ รับอนุญาตให้ท�ำสถานที่ท�ำผ้าได้จ�ำนวนไม่เกิน ๑๒ ก่ี ทบ่ี า้ นดงั กลา่ ว ในราวปี พ.ศ. ๒๕๒๐ นางค�ำปนุ ไดเ้ รมิ่ ทอผ้า ๓ ตะกอ นับเป็นจุดเปล่ียนแปลงครั้ง ส�ำคัญในวงการทอผ้าของจังหวัดอุบลราชธานี การทอผา้ เกนิ ๒ ตะกอ (Twill) จะทอเฉพาะ ผ้าห่ม ผ้าคลุมต่างๆ และในช่วงเวลาดังกล่าว บุตรชาย คือ นายมีชัย แต้สุจริยา ได้ริเริ่ม ทอผ้าสมปักปูมตามแบบอย่างผ้าสมปักปูม ของตระกูล เป็นการทอผ้าสมปักปูมโดยวิธี ๓ ตะกอเป็นคร้ังแรกในจังหวัดอุบลราชธานี ท�ำให้โรงทอค�ำปุนเร่ิมผลิตผ้าซิ่นมัดหมี่แบบ ๓ ตะกอและพัฒนาจนถึงแบบ ๔ ตะกอมา โดยล�ำดบั เปน็ นวตั กรรมใหมท่ ไ่ี มเ่ คยมชี าวอบุ ล ท�ำมากอ่ น ในเดือนกรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้รับ อนญุ าตใหท้ �ำสถานทท่ี อผา้ ไดไ้ มเ่ กนิ ๒๔ ก่ี นางค�ำ ปุน ศรใี ส 81

การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน นางค�ำปุน ศรีใส ได้พยายามท่ีจะผลิตผลงานการทอผ้าไหมด้วยการศึกษาเทคนิควิธีท่ีจะ น�ำมาซ่งึ ความสมบรู ณแ์ บบ ทั้งด้านสสี ัน ลวดลาย ความคงทน และความงดงามใหห้ ลอมรวมอยใู่ น เน้ือผ้าทุกชิ้น ทุกสี ที่นางค�ำปุนได้บรรจงสร้างขึ้นตามแนวจินตนาการ โดยเฉพาะด้านการควบคุม ของผ้าทอว่าผ้าท่ีมีคุณภาพดีจะต้องผ่านข้ันตอนและกระบวนการปรับปรุงตามเทคนิคต่างๆ ของ กระบวนการทอผ้า เช่น การคน้ จะไม่ท�ำในวนั ที่ฝนตก การย้อมสีเพม่ิ เวลาในการยอ้ มเพื่อใหส้ ีติดทน และการมัดหมี่จะต้องเพิ่มสีต่างๆ ในผ้ามัดหมี่เพื่อให้สวยงามขึ้น นอกจากนั้น ในแง่ของการอนุรักษ์ มรดกของชาวอุบลราชธานี ยังได้คิดค้นวิธีการทอผ้าลายล่องตามแบบผ้าเก่าของอุบลราชธานี เพ่ือให้ชาวอุบลราชธานีได้ใช้ในโอกาสต่างๆ ทั้งนี้เน่ืองจากจังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือท่ีอยู่ริมน�้ำมูล คนอุบลราชธานีจึงมีลักษณะท่ัวๆ ไปที่คล้ายคลึงกัน น่ันคือ เป็นคนใจเย็น อนุรักษนิยม เคยมีสภาพความเป็นอยู่อย่างไรก็ยังคงสภาพเดิมอย่างไม่เปล่ียนแปลง โดยเฉพาะทางด้านวัฒนธรรมท่ียังคงท�ำให้ชาวอุบลราชธานีภาคภูมิใจที่ยังมีของเก่าเก็บรักษาไว้ที่วัด ในตัวเมอื งเขตเทศบาล ซึ่งนบั เป็นการสัง่ สมวฒั นธรรมทางศาสนาตง้ั แตอ่ ดีตจนกระทั่งปจั จบุ ัน 82 ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (ประณีตศลิ ป์ - ทอผ้า)

ผา้ สะไบไหม พ.ศ. ๒๕๓๗ ทอเพอ่ื ใชเ้ ป็นผา้ คาดเอวของนกั แสดงบทพระนเรศวร ในภาพยนตร์เรอื่ ง ต�ำนานสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช น�ำเอาลายจกดาวด้งั เดมิ ของเมืองอบุ ลฯ มาใช้ พร้อมทัง้ ทอขิดลายเชิงที่ชายผา้ ทง้ั สองด้าน ด้วยลายหนว่ ย ขอนาค และตนี ตวยประดษิ ฐใ์ หม่ (ตีนตวย = กรวยเชงิ ) นางคำ�ปนุ ศรใี ส 83

84 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (ประณตี ศลิ ป์ - ทอผา้ )

นอกจากจะเป็นผู้อนุรักษ์ลวดลายผ้าแบบโบราณของทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว ในบางโอกาสนางค�ำปุนก็ได้พัฒนาลวดลายให้แปลก งดงามไปอีกทางหน่ึง นับเป็นคุณสมบัติ พิเศษเฉพาะบุคคลท่ีลอกเลียนแบบความคิดกันได้ยากมาก รูปแบบการทอผ้าท่ีนางค�ำปุนผลิต อยู่ในปัจจุบัน นอกจากจะมีการทอผ้าฝ้ายแล้วยังเน้นการทอผ้าไหมเป็นส่วนใหญ่ ซ่ึงอาจแบ่ง เป็น ๒ ประเภท คือ ผ้าที่ทอด้วยกรรมวิธีทั่วไป เช่น การทอผ้าพ้ืน ผ้าลายทาง ลายสี่เหล่ียม ลายมัดหม่ี และผ้าลูกแก้ว (ผ้าเหยียบ) ซ่ึงทอด้วยกรรมวิธีเก็บขิด ผ้าที่ทอด้วยกรรมวิธีทั่วไป ของนางค�ำปุนจะโดดเด่นที่ความประณีตของเส้นใย ความหนา (ความมีเนื้อ) การให้สีท่ีผสม กลมกลืนแต่หลากหลาย ซึ่งเคยใช้มากท่ีสุดถึง ๗ สีในผ้ามัดหม่ีผืนเดียว สีไม่ตก และลวดลาย ที่ประณีตงดงาม เป็นที่กล่าวขวัญกันในเชิง “ผ้ามีระดับ” ที่เป็นเช่นน้ีเพราะการคัดเลือกเส้นใย คุณภาพดี การใช้ฟืมฟันเหล็กท่ีละเอียดแต่หน้ากว้างพิเศษ และความประณีตในข้ันตอน การผลิต ในบางคร้ังผ้า ๒ ตะกอจึงดูหนาและแน่นคล้ายผ้า ๓ ตะกอ และอีกรูปแบบคือ การทอผ้าด้วยกรรมวิธีพิเศษ เป็นการน�ำกรรมวิธีมัดหม่ีและการจกมาผสมผสานกันโดย การออกแบบเปน็ ลายมัดหม่ี แตเ่ วลาทอใช้ดน้ิ ทองแทรกลงในลายดว้ ยวิธกี ารจก กรรมวธิ นี ี้ท�ำให้ ผ้ามัดหม่ีดูหรูหราขึ้น เหมาะกับการใช้ในพิธีต่างๆ ขั้นตอนในการทอแบบนี้มีความละเอียด และยากล�ำบาก ดังนน้ั ในแตล่ ะปีจะทอไมม่ ากนกั ปจั จบุ ันโรงทอผ้าของบ้านค�ำปนุ ผลติ ผา้ ไหมหลายชนดิ ซ่ึงอาจจ�ำแนกได้ดังน้ี ๑. ผา้ สีและผ้ามดั หมท่ี ่ีทอแบบสองตะกอ สามตะกอ และสี่ตะกอ ๒. ผ้ายกไหมเงิน ไหมทองและส่ีต่างๆ เพ่ือสืบสานต�ำนาน “ผ้าเยียรบับลาว” ของเมือง อบุ ลราชธานี ๓. ผา้ มดั หม่กี รรมวธิ ีผสม เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของบ้านค�ำปุน ๔. การคิดค้นวิธีอ่ืนๆ เช่น ทอลูกปัดหินเข้าไปในเนื้อผ้ามัดหม่ี การทอผ้ามัดหม่ีผสม เทคนิคยกและจก ซึ่งกรรมวิธีการทอเป็นการจกด้วยไหมสีต่างๆ ตลอดจนไหมเงิน และไหมทองบนผ้าลายมัดหม่ี ท�ำให้ผืนผ้ามีความหรูหราและวิจิตรซับซ้อนย่ิงข้ึน จงึ เป็นทนี่ ิยมน�ำไปใช้ในงานพธิ ีต่างๆ เชน่ งานหมั้น งานแตง่ งาน เปน็ ต้น โรงทอผ้าค�ำปุนจึงท�ำหน้าท่ีอนุรักษ์ สืบสานผ้าของท้องถ่ินหลากหลายชนิดไม่ให้สูญหาย ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี ผ้าซิ่นทิว เป็นผ้าดั้งเดิมชนิดเดียวในอีสานท่ีมีลายริ้วขวางล�ำตัวผู้สวมใส่ แตกต่างไปจาก ซนิ่ สายตระกลู ลา้ นชา้ งอนื่ ๆ ทนี่ ยิ มนงุ่ ‘ลายลอ่ ง’ หรอื รว้ิ ขนานกบั ล�ำตวั ขน้ั ตอนการเตรยี มเสน้ ยนื ในการทอผ้าชนิดนี้คือ เตรียมเส้นยืนเป็นไหมสีขาวทั้งหมดก่อนแล้วค่อยนับเส้นแยกออกให้เป็น กล่มุ ๆ เพอ่ื แยกยอ้ มใหเ้ ปน็ ลายริ้ว (ทิว) ลกั ษณะเชน่ นีจ้ ึงมชี ื่อเรยี กอกี อย่างหนึ่งวา่ ซนิ่ ก่วย (ไขว้) ผา้ ซนิ่ หมี่ (มดั หมี่) คือการมดั ลวดลายบนไหมทจี่ ดั ไว้เป็นกลุ่มๆ เพอ่ื ท�ำเส้นพุง่ สว่ นที่มัด จะเป็นการเก็บสีน้ันไว้ให้เป็นลวดลายและป้องกันไม่ให้สีอื่นซึมเข้ามาติด เมื่อเสร็จกระบวนการ ย้อมแลว้ จึงแก้เชือกมัดออกแลว้ น�ำมากรอทอเรยี งทลี ะเส้นให้ต่อเนอ่ื งกนั ตามล�ำดบั นางคำ�ปุน ศรใี ส 85

ผ้าซ่ินหม่ีคั่น (ซิ่นหมี่ลายล่อง) คือผ้าท่ีทอโดยการน�ำเอาเส้นพุ่งมัดหมี่มาทอให้เกิดลวดลาย สลบั กบั ร้วิ ทท่ี อด้วยไหมสตี ่างๆ และมับไม (เสน้ ไหมปนั่ ตีเกลยี ว ๒ สีที่เรียกว่า หางกระรอก) จงึ เรยี ก ซนิ่ นี้ว่า หมีค่ ั่น แตกต่างจากผ้าซ่ินหม่ที ่ที อต่อเนื่องตลอดผนื (บางครั้งเรียกหมลี่ วด) ผา้ ซ่ินหม่ีขดิ ค�ำ้ เผ่า คือผา้ ซน่ิ หมที่ ่ีมกี ารทอขดิ (ขดิ ไข่ปลา) หรือยก ๑ ไม้มักจะไม่เกนิ ๒ ไม้ ทอกระหนาบลายมัดหม่ี บางครั้งทอขิดด้วยไหมค�ำเพื่อท�ำให้เกิดความหรูหรามากข้ึน อาจน�ำไปต่อ ตนี ซน่ิ ดว้ ยตนี ตวยหรือกรวยเชิงแบบอบุ ล เปน็ ผา้ ทอส�ำหรับสภุ าพสตรีช้นั สูงในเมอื งอุบลฯ ผ้าซ่นิ ไหมควบ คือผ้าซ่ินท่ีมลี ักษณะเป็นลายรวิ้ เลก็ ๆ เกิดจากการทอเสน้ พุ่งไหมสี ๒ สีข้ึนไป สลับกับมับไม (หรือไหมหางกระรอก) เป็นผ้าที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในจังหวัดอุบลราชธานี บางคร้ังตอ่ ตนี ซน่ิ เล็กๆ และหวั ซน่ิ จกดาว ผ้าหางกระรอก (ผา้ วา) เปน็ ผา้ ทีท่ อจากเส้นมับไมที่เกดิ จากการเอาไหมสตี ัดกันสองสมี าป่ัน ตเี กลยี วจนเกิดเป็นเกลียว เม่ือทอตอ่ เน่อื งจะมลี ายคลา้ ยหางกระรอก โดยปกติมีความยาว ๓-๔ หลา ส�ำหรับนงุ่ โจงกระเบน บางทา่ นเรียกว่า ผา้ หาง ผ้าโสร่ง เป็นผ้านุ่งส�ำหรับบุรุษ มีลักษณะเป็นตาค่อนข้างใหญ่ โดยมีการย้อมเส้นยืนเป็น ช่องแล้วทอพุ่งด้วยสีกลมกลืนกัน ส่วนใหญ่ใช้เส้นมับไมหรือไหมหางกระรอกพุ่งเพ่ือให้เกิดลวดลาย สวยงามและมีเนื้อผ้าทิ้งตัวน่าสวมใส่ ผ้าโสร่งอีสานนิยมนุ่งในหมู่บุรุษอีสานทุกกลุ่มชาติพันธุ์ตั้งแต่ อีสานตอนเหนอื เช่น กลุ่มพูดภาษาลาว เขมร ส่วย กูย ภไู ท ในตอนใต้ของอีสาน ถอื ได้ว่าเปน็ มรดก ทางวัฒนธรรมอสี านอย่างแทจ้ ริง ผ้าสมปักปูม (ผ้าปูม) คือผ้าท่ีทอด้วยเทคนิคมัดหม่ี มีลวดลายท่ีมีแบบแผนชัดเจน คือ ประกอบด้วย ท้องผ้า ช่อแทงท้อง สังเวียนผ้า ลายค่ันหน้ากระดานและลายกรวยเชิง เดิมเป็นผ้า ที่ราชส�ำนักไทยส่ังจากเขมรจึงอาจม่ีชื่อกร่อนมาจาก ‘สมพต’ แล้วพระราชทานเสมือนเคร่ืองยศ และเครอ่ื งแบบของขนุ นางชน้ั พระยาพานทองขน้ึ ไป โรงทอของนางค�ำปนุ ศรใี ส จงึ เปน็ เพยี งแหง่ เดยี ว ในจังหวัดท่ีสามารถทอผ้าน้ีได้ และพัฒนาลวดลายให้เป็นผ้าสมปักปูมท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะของ บ้านค�ำปนุ มาจนถงึ ปจั จบุ ัน ผ้ามัดหม่ีสอดไหมค�ำ อาจจะเรียกผ้าน้ีว่า ผ้าค�ำปุน เพราะมีการทอเพียงแห่งเดียว ในประเทศไทยหรือแม้แต่ในเวทีผ้ามัดหม่ีโลกก็ยังไม่พบมีแหล่งทอผ้าอ่ืนทอผ้าเทคนิคผสมผสาน แบบนีอ้ กี การทอผา้ ไหมค�ำหรือเงินและไหมสตี ่างๆ ลงบนลวดลายมัดหม่ีนบั ได้ว่าเปน็ นวตั กรรมใหม่ ไมเ่ คยเกดิ ขึ้นมาก่อนในประวัตศิ าสตรก์ ารทอผา้ ของไทย ผา้ กาบบวั ผา้ กาบเปน็ ผา้ ทคี่ ดิ คน้ ขนึ้ ใหมโ่ ดยบตุ รชายของนางค�ำปนุ ศรใี ส ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ผา้ อตั ลกั ษณแ์ ละเอกลกั ษณข์ องจงั หวดั อบุ ลราชธานี โดยน�ำเอา ๔ เทคนคิ ดงั้ เดมิ ของจงั หวดั อบุ ลราชธานี คอื เสน้ ยืนทวิ และพ่งุ ด้วยมดั หมี่ มับไม (หรอื หางกระรอก) และขิดหรือยก กลายเปน็ ผา้ กาบบวั โดยมนี างค�ำปนุ ศรใี ส เปน็ ทปี่ รกึ ษาตงั้ แตเ่ รม่ิ คดิ คน้ มาจนถงึ ปจั จบุ นั ชอ่ื กาบบวั คอื การน�ำเอา ค�ำจากช่ือเดิมของเมืองอุบลฯ คือ “นครเข่ือนขันธุ์กาบแก้วบัวบาน” และเม่ือกระทรวงวัฒนธรรม ได้ประกาศขน้ึ ทะเบียนผ้ากาบบวั เปน็ ๑ ใน ๑๗ รายการของผา้ เมอื งอบุ ลฯ ใหเ้ ปน็ มรดกภูมิปญั ญา ทางวฒั นธรรมของชาติ จงึ สมควรยกยอ่ ง นางค�ำปนุ ศรใี ส ในฐานะทเี่ ปน็ ผใู้ หก้ ารสนบั สนนุ มอี ปุ การคณุ ตอ่ การสร้างผา้ กาบบวั ต้ังแตเ่ รม่ิ แรก 86 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาทศั นศิลป์ (ประณตี ศลิ ป์ - ทอผา้ )

นางค�ำ ปุน ศรใี ส 87

ผ้าสะไบไหม พ.ศ. ๒๕๓๗ ทอเพ่ือใช้เป็นผา้ คาดเอวของนักแสดงบทพระนเรศวร ในภาพยนตรเ์ ร่ือง ต�ำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช น�ำเอาลายจกดาวดงั้ เดมิ ของเมืองอบุ ลฯ มาใช้ พรอ้ มทัง้ ทอขดิ ลายเชิงทชี่ ายผา้ ทง้ั สองด้าน ด้วยลายหนว่ ย ขอนาค และกรวยเชิงแบบราชส�ำนัก 88 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศิลป์ (ประณีตศิลป์ - ทอผา้ )

ผา้ สะไบไหม จกดาว พ.ศ. ๒๕๓๗ ออกแบบใหม่โดยน�ำลวดลายจกดาว เอกลกั ษณข์ องหวั ซ่นิ จกดาวของซิ่นเมืองอุบลฯ มาทอสลบั ขดิ ไขป่ ลา ชายทั้งสองขา้ งยกทองดว้ ยลวดลายประจ�ำยามก้ามปแู ละกรวยเชิงแบบราชส�ำนัก ลวดลายดอกประจ�ำยามแบบรัตนโกสินทร์ เพื่อใหเ้ กิดการผสานกลมกลืนของลวดลายทอ้ งถน่ิ และราชส�ำนกั ไทย นางค�ำ ปนุ ศรใี ส 89

ผ้าคลมุ ไหลม่ ัดหม่ี สามตะกอลายนาค พ.ศ. ๒๕๓๗ เส้นยนื สลบั มัดหมเ่ี พ่ือให้เกิดลวดลายพิเศษอกี ด้านหน่งึ ของผนื ผา้ 90 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (ประณีตศิลป์ - ทอผา้ )

ผา้ ซ่นิ ลายลอ่ ง พ.ศ. ๒๕๔๐ ทอสลบั มดั หมีข่ ้อ - มับไม (หางกระรอก) และขดิ ไข่ปลา ตนี ซน่ิ ยกทอง ตนี ต�ำแหนะ เปน็ ซิ่นทอขึ้นเพ่อื รักษาความนิยมและความงามแบบอุบลแท้ นางคำ�ปนุ ศรใี ส 91

ผา้ ซิ่นลายล่อง พ.ศ. ๒๕๔๒ ทอสลับ มดั หมข่ี ้อ - มบั ไม (หางกระรอก) และขิด ขอนาค - ไข่ปลา ตีนซิ่นยกทองตีนตวย (ตนี ตวย = กรวยเชงิ ) เปน็ ซน่ิ ทอข้ึนเพอ่ื รกั ษาความนิยมและความงามแบบอุบลแท้ 92 ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (ประณีตศิลป์ - ทอผา้ )

ผ้าซน่ิ ลายล่อง พ.ศ. ๒๕๔๒ ทอสลบั มัดหมี่ขอ้ - มับไม (หางกระรอก) และขดิ ขอนาค - ไข่ปลา ตีนซิ่นยกทองตนี ตวย (ตีนตวย = กรวยเชิง) เปน็ ซนิ่ ทอขึน้ เพอ่ื รกั ษาความนยิ มและความงามแบบอุบลแท้ นางคำ�ปนุ ศรีใส 93

ผ้ากาบบวั จกดาว พ.ศ. ๒๕๔๓ ผา้ ผนื น้ีเปน็ ผา้ กาบบัวชนิดจกดาวผืนทสี่ องทีม่ กี ารคิดคน้ และออกแบบขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ผนื แรกสเี หลอื งน้นั นางค�ำปุน ศรใี ส ไดม้ อบให้มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี จดั แสดงท่พี พิ ธิ ภณั ฑ์ศูนย์ศิลปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ผา้ กาบบัวจกดาวเปน็ การน�ำเอาลวดลายจกดาวมาทอกระจายบนผนื ซิ่นท่มี เี สน้ ยนื ทิวหรอื ร้วิ เปน็ นวตั กรรมใหมข่ องผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ 94 ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (ประณีตศลิ ป์ - ทอผ้า)

ผ้าซนิ่ ทวิ มุกจกดาว พ.ศ. ๒๕๔๓ ทอขึน้ เพอ่ื ฟืน้ ฟูผ้าทอชนั้ สงู ของเมืองอุบลฯ ซ่งึ มีลักษณะพเิ ศษ เปน็ ลายรว้ิ ขวางล�ำตวั เกดิ จากการทอจกมุก เพม่ิ ลวดลายจกดว้ ยไหมสตี ่างๆ ทั่วทง้ั ผืน ผืนสีเขยี วน้ีเป็นการสร้างสรรคส์ ีใหมท่ ดแทนสีด�ำ - แดงที่ทอมาแตเ่ ดมิ เท่านน้ั หัวซน่ิ จกดาวทอไปพรอ้ มกับตวั ซ่นิ เป็นครัง้ แรกในประวัติศาสตรก์ ารทอผา้ อสี านที่ไม่เคยทอตวั และหัวซิน่ พรอ้ มกันมากอ่ น นางค�ำ ปนุ ศรใี ส 95

ผ้าซน่ิ ไหมควบ พ.ศ. ๒๕๔๓ ผ้าซิน่ ทอพ่งุ ด้วยมบั ไม ตัวซนิ่ เปน็ ไหมสามตะกอ ทอพร้อมกับหัวซ่นิ จกดาว โดยปรบั ปรงุ โครงสใี หมจ่ ากสีเขียวหรือน้ำ� เงินสลบั แดง ให้กลมกลนื กบั ตวั ซิ่น ตนี ซ่นิ ประดิษฐ์ดว้ ยเทคนคิ มดั หม่ี เกาะลว้ งดว้ ยไหมค�ำและจกดาว ซึ่งเปน็ เทคนิคทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของผา้ ทอจากบา้ นค�ำปุน เปน็ การคิดคน้ การน�ำมัดหมม่ี าทอเป็นตีนซ่นิ อย่างที่ไม่เคยมกี ารทอมาก่อน 96 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทศั นศิลป์ (ประณีตศิลป์ - ทอผ้า)

ผา้ ซ่นิ สามตะกอลายลอ่ ง พ.ศ. ๒๕๕๕ ออกแบบใหม่โดยการน�ำเอาจกดาวเอกลกั ษณ์ของหวั ซิ่นเมอื งอบุ ลฯ มาใช้ แลว้ ทอตีนซืน่ ในตวั ด้วยการสอดเส้นไหมแบบมกุ และจก และจกดาวเลก็ เป็นตีนซิ่นเล็กๆ แบบอบุ ลดั้งเดิม ถือว่าเปน็ นวัตกรรมที่มีการทอตีนซ่ินพรอ้ มกับการทอตัวผา้ ซิ่นทไ่ี มเ่ คยมีมาในอดีต นางค�ำ ปนุ ศรใี ส 97

ผา้ ซิน่ สามตะกอลายล่อง การสร้างสรรคแ์ ละเผยแพร่ผลงานตอ่ สาธารณชน พ.ศ. ๒๕๓๐ : นิตยสารกินรี ตีพิมพ์ผ้าของนางค�ำปุน พ.ศ. ๒๕๓๘ : สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทับบกช่อง ๕ เป็นปกหน้า และคอลัมน์ไหมไทยสดใส ได้มาสัมภาษณ์เพ่ือออกรายการศิลปิน ในตลาดโลก แผน่ ดนิ ไทย ออกอากาศเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๓๒ : อนุสาร อ.ส.ท. คอลัมน์ ภาพชุด พ.ศ. ๒๕๓๙ : ผ้าผลงานเป็นภาพปกและหน้าแฟช่ัน ศลิ ปหตั ถกรรมไทยผา้ ไหมเครอ่ื งทองเหลอื ง ในนติ ยสารพลอยแกมเพชร ฉบบั ท่ี ๑๐๒ งามอหี ลที เี่ มอื งอบุ ลฯ เดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๕๓๓ : วารสารเมืองโบราณ คอลัมน์ คนอุบล : สมั ภาษณช์ วี ติ และการทอผา้ ไหมหอมแผก คดิ อยา่ งไร ซนิ่ หวานตา่ ง พ.ศ. ๒๕๓๔ : นิตยสารเพื่อนเดินทาง คอลัมน์ ซื้อผ้าดี : แสดงแบบการแต่งกายด้วยผ้าไหม เมอื งอบุ ลฯ เลือนไหมสี มัดหม่ีสวย เพ่ือเผยแพร่ การแตง่ กายดว้ ยผา้ ไหม : นติ ยสารเทย่ี วรอบโลก คอลมั น์ สศู่ ตวรรษ ทสี่ ามของเมอื งอบุ ลราชธานี 98 ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (ประณีตศิลป์ - ทอผ้า)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook