Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01ศิลปินแห่งชาติ 2561 S

01ศิลปินแห่งชาติ 2561 S

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-30 21:52:18

Description: 01ศิลปินแห่งชาติ 2561 S

Search

Read the Text Version

ชีวิตปัจจุบัน นอกเหนือจากการผลิตรายการโทรทัศน์ท่ีมีนโยบายสอดแทรกความเป็นไทย อยู่ตลอดเวลาแล้ว นายประภาสยังคงเขียนหนังสือท้ังเป็นเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ท้ังบทความและเรื่องส้ันท่ีกระตุ้นให้คนอ่านรักในแผ่นดินเกิด รักในภาษาไทย รักในธรรมชาติ ช้ีให้เห็นความงามของการแบ่งปันเผื่อแผ่กัน และให้ตระหนักถึง ความมุ่งม่ันรับผิดชอบหน้าที่ของแต่ละคน มากกว่านั้น นายประภาสยังได้ประพันธ์เพลง อันทรงคุณค่าอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเพลงขององค์กรส�ำคัญๆ ของประเทศ เพลง ประจ�ำเทศกาล เพลงนิทานส�ำหรับเด็ก รวมไปถึงเพลงประจ�ำมหกรรมการแสดงส�ำคัญ ตา่ งๆ ของไทยอีกด้วย ทอ่ี ยปู่ ัจจบุ นั เลขที่ ๙๙ หมู่ ๒ ต�ำบลบางพูน อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จงั หวดั ปทุมธานี รหสั ไปรษณยี ์ ๑๒๐๐๐ นายประภาส ชลศรานนท ์ 249

250 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ละครวทิ ยุ - ละครโทรทศั น)์

คำ� ประกาศเกียรติคุณ นางสมสุข กลั ย์จาฤก ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครวิทยุ - ละครโทรทศั น)์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ นางสมสขุ กลั ยจ์ าฤก ปจั จบุ นั อายุ ๙๒ ปี เกดิ เมอื่ วนั ที่ ๑๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๗๐ ทก่ี รงุ เทพมหานคร ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาปรญิ ญาครุ ศุ าสตรบณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ด์ิ จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์ และปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ กติ ตมิ ศักด์ิ จากสถาบนั กนั ตนา ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ในฐานะเป็นปชู นยี บุคคลแหง่ วงการบันเทิง อีกทง้ั ยงั เปน็ ผูน้ ำ�ความรู้ ความสามารถมาใช้ในการบรหิ ารกิจการที่เปน็ ประโยชน์กับสงั คม นางสมสุข กัลย์จาฤก เริ่มทำ�งานโดยเข้ารับราชการที่สำ�นักพระราชวัง กระท่ัง พ.ศ. ๒๔๙๔ ได้ร่วมกับ นายประดิษฐ์ กลั ย์จาฤก ก่อตงั้ คณะละครวิทยุ “กนั ตนา” เป็นผู้รว่ มบุกเบกิ และพัฒนาศลิ ปะการละครวิทยุของไทย มาอยา่ งต่อเนือ่ งและยาวนาน โดยในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ ไดป้ ระพนั ธ์เรื่องและเขยี นบทละครวทิ ยุขนาดยาวข้นึ เป็นคร้งั แรก คือ “หญงิ กม็ ีหัวใจ” ในชว่ ง พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๑๙ ได้น�ำ บทประพนั ธ์จากละครวทิ ยุมาเขียนเปน็ บทภาพยนตรโ์ ทรทัศน์ ออกอากาศทางสถานโี ทรทศั นก์ องทพั บก ชอ่ ง ๕ ไดร้ บั ความนยิ มเปน็ อยา่ งสงู ไดแ้ กเ่ รอ่ื ง เกลด็ มรกต เมยี จ�ำ เปน็ ปมดอ้ ย ใจแม่ ช่างรา้ ยเหลอื ฯลฯ ท้งั ยังไดป้ ระพันธเ์ รือ่ งและเขียนบทละครโทรทศั น์เรอ่ื ง ปะการงั สีด�ำ ออกอากาศทางสถานี โทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง ๓ นอกจากทำ�หน้าท่ีเป็นบรรณาธิการบทละครโทรทัศน์และร่วมสร้างสรรค์ละครในนาม คณะส่งเสริมศิลปิน ซึ่งเป็นคณะผู้ผลิตละครที่นายประดิษฐ์และนางสมสุข กัลย์จาฤก สนับสนุนให้ก่อต้ังขึ้นเพ่ือ เปิดโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ที่มีความรู้ความสนใจด้านละคร ในช่วงเวลาเดียวกันนี้นางสมสุขได้ทำ�หน้าท่ีนักเขียนบท ภาพยนตรโ์ ทรทศั นใ์ หก้ ับบรษิ ัทดาราฟิล์ม เร่อื งท่ีประสบความส�ำ เร็จ อาทิ หอ้ งหุ่น ปอบผีฟ้า มนษุ ยป์ ระหลาด เป็นตน้ ผลงานการประพันธบ์ ทละครของนางสมสขุ กัลย์จาฤก มีหลากหลายแนว ไดแ้ ก่ ผูห้ ญิงกม็ หี วั ใจ บันทึกรัก ของพิมพ์ฉวี แม่นํ้า เปลือกนางบุญ เจ้าซอใจซ่ือ เย้ยฟ้าท้าดิน ทิมมวยไทย ไก่แก่แม่ปลาช่อน ผู้ชายอย่างน้ีก็มีด้วย สาวสองหน้า หมาดำ� เงินปากผี สุสานคนเป็น ห้องหุ่น สุรีรัตน์ล่องหน ฯลฯ ผลงานการประพันธ์บทละครของ นางสมสขุ จงึ นบั เป็นขมุ ทรัพยแ์ หง่ จนิ ตนาการไม่รู้จบ สามารถจดั เก็บบทละครให้เปน็ คูม่ อื เพอื่ การศึกษาไดเ้ ปน็ อย่างดี นับเป็นตัวอย่างของการสร้างสรรค์งานศิลปะแห่งการประพันธ์ชั้นครู และเป็นบุคคลสำ�คัญท่ีอยู่เบ้ืองหลังทุกรางวัล ในฐานะบรรณาธิการบทละคร ระยะเวลากว่า ๖๐ ปีที่บกุ เบิกพฒั นาสรา้ งช่ือเสยี งให้กับประเทศ และเปน็ แบบอยา่ ง การสรา้ งสรรค์ผลงานคุณภาพเผยแพร่ออกสสู่ าธารณชนอย่างแพรห่ ลาย นางสมสขุ กลั ย์จาฤก จึงไดร้ ับการยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติเป็นศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครวทิ ย-ุ ละครโทรทัศน์) พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ นางสมสุข กัลย์จาฤก 251

ปนราะวงัตสิชมวี ติ สแขุละผกลงลั านย์จาฤก ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครวทิ ยุ - ละครโทรทศั น)์ ..คนเราจะทำ� งานอะไรกต็ าม คิดอะไรใหม่ก็ตาม แตต่ ้องจบให้ได้ อันน้สี �ำคัญ ไมใ่ ชค่ ิดไปแลว้ กว็ างมือ คดิ ไปแลว้ กว็ างมือ คดิ ไปแล้วควรจะทบทวนและหนั หยบิ เอาให้จบให้ไดแ้ ล้วจะมคี ณุ คา่ .. 252 ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครวทิ ยุ --ลละะคครรโโททรรททัศศั นน์))์

กุสมุ า สินสุข นางสมสุข กัลย์จาฤก (นามปากกาทคี่ ุณประดิษฐ์ กลั ย์จาฤก เป็นผูต้ งั้ ให้) เกิดเมอ่ื วนั ที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๐ ท่กี รงุ เทพมหานคร ปจั จุบนั อายุ ๙๒ ปี ประวัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๔๘๕ ส�ำเรจ็ การศกึ ษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ โรงเรยี นเขมะสริ อิ นสุ สรณ์ พ.ศ. ๒๔๘๕ เข้าศึกษาต่อชั้นเตรียมอุดม โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แผนก อักษรศาสตร์ แต่เรียนได้เพียงปีเดียวก็ต้องหยุดเรียน เม่ือเกิด สงครามมหาเอเชยี บรู พา ในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้รับพระราชทานปริญญาครุศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา วชิ าการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักด์ิ จากสถาบัน กนั ตนา ได้รับปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑิตกิตตมิ ศกั ด์ิ จากสถาบันกันตนา พ.ศ. ๒๕๕๗ นางสมสุข กัลย์จาฤก 253

ประวตั ิการท�ำ งาน คณะกันตนาน�ำละครวิทยเุ รอื่ ง ส่ิงที่ไดจ้ ากสมรภมู ิ เขา้ ประกวด ได้รับรางวลั ถ้วยทองค�ำชนะเลศิ พ.ศ. ๒๕๐๑ พ.ศ. ๒๔๙๐ เขา้ รบั ราชการในส�ำนกั พระราชวงั ขา้ ราชการในฝา่ ยธรุ การ พ.ศ. ๒๔๙๔ รว่ มกบั ประดษิ ฐ์ กลั ยจ์ าฤก (คชู่ วี ติ ) กอ่ ตง้ั คณะละครวิทยุ “กันตนา” ซ่ึงเป็นหนึ่ง ในละครวิทยุคณะแรกๆ ของประเทศไทย ถือว่าได้ร่วมบุกเบิกและพัฒนาศิลปะ การละครวิทยุของไทยมาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน พ.ศ. ๒๕๐๑ ประพันธ์เร่ืองและเขียนบทละครวิทยุ ขนาดยาวข้ึนเป็นครั้งแรก เรื่อง หญิงก็มี หัวใจ ซึ่งเป็นเร่ืองที่แต่งขึ้นเพ่ือสื่อวิทยุ โดยตรง (Original Radio Play) พ.ศ. ๒๕๐๔ บทละครวทิ ยทุ เี่ ขยี นนอกจากจะออกอากาศ ตามสถานวี ทิ ยใุ นกรงุ เทพฯ แลว้ ยงั มกี าร แสดงละครวทิ ยเุ ปน็ ภาษาทอ้ งถน่ิ ภาคเหนอื และภาคอสี านในนามคณะศลิ ปจาฤก พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๑๙ ประพนั ธเ์ รอื่ งและเขยี นบทภาพยนตร์ โทรทัศน์ให้กับบริษัทรัชฟิล์มออกอากาศ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง ได้แก่ เกล็ดมรกต เมียจ�ำเป็น ปมด้อย ใจแม่ ชา่ งรา้ ยเหลอื หอขวญั ลกู กรอก และอน่ื ๆ และยังได้ประพันธ์และเขียนบทละคร โทรทัศน์ให้กับคณะภัทราวดี ศรีไตรรัตน์ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง ๓ เรื่อง ปะการังสีด�ำ นอกจากน้ี ยงั มอบลขิ สทิ ธบิ์ ทประพนั ธใ์ หค้ ณะสพุ รรณ บูรณะพิมพ์ ผลิตเป็นละครโทรทัศน์ ได้แก่ เรื่อง ลูกชาวสวน อ�ำพรางชีวิต สสุ านคนเปน็ เปน็ ตน้ พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๕๒๒ ประพนั ธเ์ รอื่ งและเขยี นบทภาพยนตร์ โทรทัศน์ให้กับบริษัทดาราฟิล์ม เรื่องที่ ประสบความส�ำเรจ็ อยา่ งสงู อาทิ หอ้ งหนุ่ ปอบผฟี า้ มนษุ ยป์ ระหลาด เปน็ ตน้ 254 ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครวิทยุ - ละครโทรทัศน์)

คุณสมสุข - ประดษิ ฐ์ กัลยจ์ าฤก และนักแสดงละครวิทยุ คณะกันตนา พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๕๒๖ เป็นบรรณาธิการบทละครโทรทัศน์และร่วมสร้างสรรค์ละครในนามของ คณะส่งเสริมศิลปิน ซึ่งเป็นคณะผู้ผลิตละครท่ีประดิษฐ์และสมสุข กัลย์จาฤก สนับสนุนให้ก่อต้ังขึ้น เพ่ือเปิดโอกาสให้กับผู้ร่วมงานหน้าใหม่ที่มีความรู้ความสนใจ ดา้ นละครโทรทศั น์ ไดเ้ ขา้ รว่ มงานผลติ ละครคณุ ภาพแนวสะทอ้ นสงั คมสสู่ ายตาผชู้ ม ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ มีผลงานละครที่โด่งดัง อาทิ บาปบรสิ ทุ ธิ์ ๓๘ ซอย ๒ และอนื่ ๆ พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๕๒ ในด้านบทละคร ได้ท�ำหน้าท่ีบรรณาธิการบทละครต่อมาอย่างต่อเน่ือง ปรับแต่งบทละครให้สมบูรณ์ ให้แนวทาง ค�ำแนะน�ำ และช้ีแนะการเขียนบทละคร ให้แก่นักเขียนบทรุ่นหลังอย่างต่อเน่ือง และไม่เพียงละครโทรทัศน์เท่าน้ัน รวมถึง ดา้ นภาพยนตร์ และการต์ นู แอนเิ มชนั ดว้ ย นบั พนั เรอื่ งของกนั ตนาลว้ นผา่ นการปรกึ ษา หารือ ได้รับค�ำแนะน�ำและตรวจแก้ ปรับแต่งอย่างเต็มก�ำลังของ สมสุข กัลย์จาฤก เพ่ือให้ผลงานบันเทิงคดีเหล่านั้นจรรโลงสังคมและสร้างความร่ืนรมย์แก่ผู้ชม โดยเฉพาะการให้ค�ำปรึกษาของสมสุข กัลย์จาฤก ในการน�ำพงศาวดารว่าด้วย คชลักษณ์ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชมาสร้างสรรค์เป็นภาพยนตร์เรื่อง ก้านกล้วย ซึ่งเป็นภาพยนตร์แอนิเมชันขนาดยาวเรื่องแรกของคนไทยที่ได้รับการ เผยแพรใ่ นวงกวา้ งและมชี อื่ เสยี งเปน็ ทย่ี อมรบั ในระดบั สากล ซง่ึ สะทอ้ นความสามารถ ในด้านการเล่าเรื่องในหลากหลายส่ือและการเล่าเรื่องข้ามส่ือ (Transmedia Storytelling) ของสมสขุ กลั ยจ์ าฤก นางสมสขุ กัลยจ์ าฤก 255

ได้รับเกียรตจิ ากคณุ แก้วฟา้ และคุณถนอม อคั รเสนยี ์ รว่ มแสดงรบั เชิญภาพยนตรเ์ รือ่ ง ลกู กรอก จากบทละครวิทยขุ องคณุ สมสุข กลั ย์จาฤก พ.ศ. ๒๕๑๐ การสร้างสรรค์ผลงาน ผลงานบทละครทเ่ี กดิ จากการสรา้ งสรรคข์ องสมสขุ ๘) ล้ีลับ/สยองขวัญ เช่น เกล็ดมรกต คนตาทิพย์ กัลย์จาฤก น้ันมีหลากหลายแนว โดยสามารถจ�ำแนกได้ เพชรตาแมว หอ้ งหนุ่ ฯลฯ ๙ แนวเร่ืองดว้ ยกนั ดังน้ี ๙) แนวนิยายวิทยาศาสตร์ เช่น แฝดล่องหน ๑) ชีวิตรัก เช่น ผู้หญิงก็มีหัวใจ บันทึกรักของ มนษุ ยป์ ระหลาด สรุ รี ตั นล์ อ่ งหน ฯลฯ พิมพฉ์ วี ถ่ินผ้ดู ี เมยี จ�ำเปน็ อคติ ลกู สาวชาวสวน ฯลฯ เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๕๕ มูลนิธิประดิษฐ์ - สมสุข ๒) ชีวิตสะท้อนสังคม เช่น ผู้หญิงคนหนึ่ง แม่น้�ำ กัลย์จาฤก ได้จัดพิมพ์หนังสือเม่ือเฉลิมฉลองวาระ ๖๐ ปี จดุ เจ็บในดวงใจ ชชู่ ีซ่ งิ ซงิ ผฉู้ าวรกั เปลอื กนางบญุ ฯลฯ ของการก่อต้ัง “กันตนา” โดยน�ำบทประพันธ์คัดสรร ๓) ต�ำนานเพลงพื้นบ้าน ลูกทุ่ง เช่น เจ้าซอใจซ่ือ ของสมสุข กัลย์จาฤก ที่รังสรรค์ข้ึนในนามปากกาต่างๆ ใจแม่ ฯลฯ มาประมวลไว้รวม ๖๐ เรอื่ ง ซงึ่ นบั เป็น “คลังแห่งปญั ญา ๔) บแู๊ อ๊คชั่น เชน่ เย้ยฟา้ ทา้ ดิน ทมิ มวยไทย ฯลฯ และจินตนาการ” ทีผ่ ู้สนใจจะศึกษาค้นคว้าตอ่ ไปได้ ไมว่ า่ ๕) ตลก/เบาสมอง เช่น ไก่แก่แม่ปลาช่อน ผู้ชาย จะเปน็ นกั วชิ าการ นกั วิชาชพี ตลอดจนนักศกึ ษาในแงม่ มุ อยา่ งน้ีกม็ ีดว้ ย ฯลฯ การสรา้ งสรรคแ์ ละในแงม่ มุ เชงิ ประวตั ศิ าสตรบ์ นั เทงิ คดไี ทย ๖) ปมจติ วทิ ยา เชน่ สาวสองหนา้ หมาด�ำ ฯลฯ และประวตั ิศาสตรส์ ังคม ๗) ภตู ผี เชน่ เงนิ ปากผี เจา้ สาวในชุดสีด�ำ ตุก๊ แกผี ปะการงั สีด�ำ สสุ านคนเป็น ฯลฯ 256 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครวทิ ยุ - ละครโทรทศั น์)

นางสมสขุ กัลยจ์ าฤก 257

การสรา้ งสรรคแ์ ละเผยแพรผ่ ลงานตอ่ สาธารณชน พ.ศ. ๒๕๐๓ บทละครวทิ ยขุ องสมสขุ กลั ยจ์ าฤก น�ำไปสรา้ งเปน็ ภาพยนตรห์ ลายเรอ่ื ง เชน่ เรอื่ ง นางแมวผี สรา้ งเปน็ ภาพยนตร์ โดย รตั น์ เศรษฐภกั ดี เรอ่ื ง ตกุ๊ ตาผี ถกู น�ำไปสรา้ งเปน็ ภาพยนตร์ โดย รงั สี ทศั นพยคั ฆ์ สว่ นเรอื่ งผพี ยาบาท สรา้ งในนามกนั ตนาภาพยนตร์ เปน็ ตน้ พ.ศ. ๒๕๐๔ บรษิ ทั สากลภาพยนตร์ขอลิขสิทธิ์บทประพันธล์ ะครวิทยขุ องสมสขุ กลั ย์จาฤก เรอื่ ง สุรีรัตน์ล่องหน ไปสร้างเป็นภาพยนตร์ ๑๖ มม. มี ส.อาสนจินดา ก�ำกับการแสดง เร่ืองนี้ ส่งผลให้สุพรรณ บูรณะพิมพ์ ได้รับตุ๊กตาทองผู้แสดงประกอบหญิง และ ฉลอง ภกั ดวี จิ ติ ร ไดร้ บั รางวลั ตกุ๊ ตาเงนิ ถา่ ยภาพเทคนคิ พ.ศ. ๒๕๐๕ บทประพนั ธล์ ะครวทิ ยุ เรอ่ื ง บนั ทกึ รกั พมิ พฉ์ วี ซง่ึ ไดป้ ระกายความคดิ จากขา่ วฆาตกรรม นวลฉวใี นปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ขา้ มสอ่ื ไปเปน็ ภาพยนตรข์ องศริ จิ นิ ดาภาพยนตร์ นบั เปน็ เรอื่ งแรกในชวี ติ การแสดงของนางเอกยอดนยิ ม เพชรา เชาวราษฎร์ พ.ศ. ๒๕๐๖ สนาน คราประยูร ได้รับลิขสิทธ์ิเรื่อง ชีวิตเถื่อน ไปสร้างเป็นภาพยนตร์โดยเปลี่ยน ชอื่ เรอ่ื งเปน็ นางสมงิ พราย น�ำแสดงโดย มติ ร ชยั บญั ชา และปรยี า รงุ่ เรอื ง พ.ศ. ๒๕๐๗ บทละครวิทยุเร่ือง เย้ยฟ้าท้าดิน ถูกน�ำไปสร้างภาพยนตร์ โดย กันตนาภาพยนตร์ ก�ำกบั การแสดงโดย ประดษิ ฐ์ กลั ยจ์ าฤก พ.ศ.๒๕๑๐ บทละครวิทยุเรื่อง ลูกกรอก ถูกน�ำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ ก�ำกับการแสดงโดย สพุ รรณ บรู ณะพมิ พ์ 258 ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ละครวิทยุ - ละครโทรทัศน์)

พ.ศ.๒๕๑๑ - ๒๕๑๒ บทประพันธ์ละครวิทยุของ สมสุข กัลย์จาฤก อีก ๒ เรื่องท่ีได้รับการสร้าง เปน็ ภาพยนตร์ ไดแ้ ก่ ระฆงั ผี และตกุ๊ แกผี พ.ศ.๒๕๑๒ - ๒๕๑๗ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ในนามพร้อมมิตรภาพยนตร์ น�ำบทละครวิทยุ ของสมสุข กัลย์จาฤก หลายเร่ืองไปสร้างภาพยนตร์ทางโทรทัศน์ ออกอากาศทาง สถานีวิทยโุ ทรทัศนก์ องทพั บกชอ่ ง ๗ เชน่ หญงิ กม็ หี วั ใจ พอ่ บา้ นเมยี เผลอ เปน็ ตน้ พ.ศ.๒๕๑๘ - ๒๕๒๒ มอบลขิ สทิ ธบิ์ ทประพนั ธใ์ หแ้ กส่ พุ รรณ บรู ณะพมิ พ์ ท�ำละครโทรทศั น์ (แสดงสด) ไดแ้ กเ่ รอ่ื ง ลกู สาวชาวสวน อ�ำพรางชวี ติ สสุ านคนเปน็ ฯลฯ และมอบบทประพนั ธ์ และเขียนบทละครโทรทัศน์ให้แก่คณะภัทราวดี ศรีไตรรัตน์ ออกอากาศทางสถานี โทรทศั นช์ อ่ ง ๓ เรอ่ื ง ปะการงั สดี �ำ ในชว่ งนสี้ มสขุ กลั ยจ์ าฤก ไดใ้ ชค้ วามสามารถ ทางศลิ ปะ ขยายการท�ำงานสรา้ งสรรคล์ ะครวทิ ยไุ ปสกู่ ารเขยี นบทละครเพอ่ื เผยแพร่ ทางโทรทัศน์โดยตรง โดยรับหน้าที่เขียนบทภาพยนตร์โทรทัศน์ให้กับบริษัทรัชฟิล์ม ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ ผลงานตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๙ เปน็ ตน้ มา จงึ เกดิ ผลงานบทละครโทรทศั นท์ สี่ รา้ งขนึ้ เพอ่ื สอื่ โทรทศั นโ์ ดยตรงมากมาย นอกจากนช้ี ว่ ง พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๕๒๒ ไดป้ ระพนั ธเ์ รอื่ งและเขยี นบทภาพยนตรโ์ ทรทศั น์ ใหบ้ รษิ ทั ดาราฟลิ ม์ ประสบความส�ำเรจ็ อยา่ งสงู ไดแ้ กเ่ รอ่ื ง หอ้ งหนุ่ ปอบผฟี า้ เปน็ ตน้ นางสมสขุ กลั ยจ์ าฤก 259

260 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ละครวทิ ยุ - ละครโทรทศั น)์

พ.ศ.๒๕๓๐ ยุติการผลิตละครวิทยุในนามของกันตนาทั้งหมด (ประมวลบทละครวิทยุท่ีประพันธ์ ขนึ้ ได้ รว่ ม ๓๐๐ เรอ่ื ง) เพอื่ ทมุ่ เทใหก้ บั งานดา้ นโทรทศั นแ์ ละสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ นื่ พ.ศ.๒๕๓๑ เป็นต้นมา บทประพันธ์ดั้งเดิมที่สมสุข กัลย์จาฤก เขียนเป็นบทวิทยุจ�ำนวนหน่ึง ได้ถูกน�ำมาเขียนบทละครโทรทัศน์ใหม่ โดยนักเขียนบทรุ่นใหม่ อาทิ เรื่อง แม่น้�ำ ผมอาถรรพ์ สรุ รี ตั นล์ อ่ งหน มานวกิ าใจรา้ ย หมาด�ำ เพชรตาแมว จดุ เจบ็ ในดวงใจ ฯลฯ ถูกน�ำมาผลติ ใหม่ เพือ่ ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ ส่วนที่ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่อง ๗ ได้แก่เร่ือง ห้องหุ่น สุสานคนเป็น ปอบผีฟ้า ปะการังสดี �ำ เจา้ สาวในชุดสีด�ำ เป็นตน้ บทละครหลายเรื่องได้ผันสู่การเป็นวรรณกรรมในรูปของหนังสือนวนิยาย อาทิ เรอ่ื ง สสุ านคนเปน็ จดุ เจบ็ ในดวงใจ เพชรตาแมว โดยส�ำนกั พมิ พบ์ รู พาสาสน์ เรอ่ื ง ปะการงั สดี �ำ จดั พมิ พเ์ ปน็ นวนยิ ายโดยส�ำนกั พมิ พ์ ณ บา้ นวรรณกรรม นอกจากบทบาทในฐานะบรรณาธิการบทละครโทรทัศน์แล้ว สมสุข กัลย์จาฤก ยังเป็นที่ปรึกษาการเขียนบทละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ให้กับการผลิตของบริษัท กันตนากรุ๊ป จ�ำกัด ผลงานละครโทรทัศน์ท่ีนับว่าน่าภาคภูมิใจมากก็คือ การผลิต ละครทยี่ งิ่ ใหญแ่ หง่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ คอื เรือ่ ง กษตั ริยา และ เร่ือง มหาราชกแู้ ผน่ ดิน โดยทลู กระหมอ่ มหญงิ อบุ ลรตั นราชกญั ญา สริ วิ ฒั นาพรรณวดี ทรงพระกรณุ าใหเ้ กยี รติ แสดงน�ำ ออกอากาศทางสถานวี ทิ ยุโทรทศั นก์ องทพั บกชอ่ ง ๕ นางสมสขุ กัลย์จาฤก 261

การถ่ายทอดความร้คู วามสามารถดา้ นการแสดง พ.ศ. ๒๕๐๖ ได้ร่วมกับประดิษฐ์ กัลยจ์ าฤก จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมศิลปนิ โดยใช้บ้านทศ่ี รียา่ น เป็นสถานท่ีท�ำการและห้องบันทึกเสียงของคณะกันตนา เป็นโรงเรียนฝึกอบรมทรัพยากรบุคคล ที่เป็นศิลปิน โดยมีก�ำลังท่ีส�ำคัญอีกสองคน คือ สุพรรณ บูรณะพิมพ์ และจ�ำนง บ�ำเพ็ญทรัพย์ หลักสูตรการส่งเสริมความรู้ความสามารถของศิลปิน คือการฝึกอบรมให้เป็นนักแสดงท่ีมี ความสามารถรอบด้าน ท้ังแสดงละครวิทยุ ภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ พากย์หนัง ร้องเพลง เตน้ ร�ำ ตลอดจนรจู้ กั ศิลปะป้องกนั ตัว พ.ศ. ๒๕๑๙ ช่ือ “ส่งเสริมศิลปิน” ได้ใช้อีกคร้ังหนึ่ง ในนามคณะส่งเสริมศิลปิน โดยสนับสนุนให้ ปนดั ดา กัลย์จาฤก ซง่ึ ก�ำลงั ศึกษาทคี่ ณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย กับนิสติ ร่วมสถาบัน อาทิ วรยทุ ธ พชิ ยั ศรทัต ธเนศ เนตโิ พธ์ิ ศุภักษร (ศภุ วฒั น์ จงศิร)ิ ร่วมกบั พี่ชาย คือ สิทธานต์ และจาฤก กัลย์จาฤก จัดด�ำเนินงานละครออกอากาศทางสถานีวิทยุ โทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ เป็นละครสั้นจบในตอน เร่ิมด้วยเรื่อง ทางท่ีไม่ใด้เลือก ตามด้วย เรื่องต่างๆ อีกร่วม ๓๐ เรื่อง เช่น ฝนกลางแดด สุดทางสายเดิม กรรมท่ีจ�ำต้องก่อ ฝัน 262 ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครวทิ ยุ - ละครโทรทัศน์)

คนละทางเดียวกัน ฯลฯ ละครของคณะส่งเสริมศิลปินในช่วงแรก เน้ือหาส่วนใหญ่เป็น แนวละครสะท้อนชีวิตและสังคม ผู้แสดงใช้นักแสดงเป็นนิสิตนักศึกษาซ่ึงต้องฝึกซ้อมเป็นอย่างดี นับเป็นปฐมบทของการแสดงท่ีไม่มีการบอกบทในวงการละครโทรทัศน์ ละครที่คณะส่งเสริม ศิลปินผลิตและได้รับการยกย่องมากในระยะต่อมา เป็นละครท่ีมุ่งส่งเสริมความรักความอบอุ่น ในครอบครัว คือ ละครชุด ๓๘ ซอย ๒ ท่ไี ด้รับการบันทกึ ไว้ในการศึกษาบทละครโทรทัศนไ์ ทยวา่ เรอื่ งน้คี อื family series เรอ่ื งแรกของไทย ละครอีกเร่ืองทป่ี ระสบความส�ำเร็จและมชี ่ือเสยี งมาก ของคณะส่งเสริมศิลปิน คือ บาปบริสุทธิ์ ละครชุดสะท้อนปัญหาของเยาวชน ออกอากาศทาง สถานวี ิทยุโทรทัศน์กองทัพบกชอ่ ง ๕ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ - ๒๕๒๕ ผลงานของคณะสง่ เสรมิ ศลิ ปนิ ได้รับความนิยมยกย่อง เบิกทางให้กันตนาได้เวลาผลิตละครออกอากาศทางช่อง ๗ สี ในนาม บรษิ ทั กนั ตนา วดิ โี อ โปรดกั ชน่ั จ�ำกดั สว่ นชอื่ คณะสง่ เสรมิ ศลิ ปนิ คงใชส้ �ำหรบั การผลติ ออกอากาศ ทางสถานวี ทิ ยุโทรทัศน์กองทพั บกชอ่ ง ๕ จนถึงพ.ศ. ๒๕๓๑ นางสมสขุ กลั ยจ์ าฤก 263

รางวัลและเกียรติคณุ ทไี่ ดร้ ับ พ.ศ.๒๕๑๙ ไดร้ บั พระราชทานเหรยี ญจกั รดพิ รรดมิ าลา พ.ศ.๒๕๒๒ รางวลั ยอดเยยี่ มดา้ นศลิ ปะแหง่ ญปี่ นุ่ จากรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารญป่ี นุ่ ส�ำหรบั บทละครวทิ ยุ เรอื่ งแมน่ ำ้� พ.ศ.๒๕๒๔ ไดร้ บั พระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทเ่ี ชดิ ชยู งิ่ ชา้ งเผอื ก ชน้ั เบญจมาภรณช์ า้ งเผอื ก พ.ศ.๒๕๒๕ รางวลั เมขลา รางวลั บทประพนั ธล์ ะครโทรทศั นด์ เี ดน่ จากเรอื่ ง เจา้ ซอใจซอื่ พ.ศ.๒๕๒๖ รางวลั ดาวเทยี มทองค�ำ บทละครโทรทศั นย์ อดเยยี่ ม จากเรอื่ ง ผหู้ ญงิ คนหนงึ่ พ.ศ.๒๕๒๗ รางวลั ขนั ลงยา รางวลั ดเี ดน่ โทรทศั นส์ ง่ เสรมิ เอกลกั ษณข์ องชาติ ผลงานจากบทประพนั ธเ์ รอื่ ง ทมิ มวยไทย พ.ศ.๒๕๔๒ ไดร้ บั การประกาศเกยี รตคิ ณุ ในฐานะศษิ ยเ์ กา่ ทสี่ รา้ งชอื่ เสยี งกบั โรงเรยี น จากสมาคมศษิ ยเ์ กา่ เขมะสริ อิ นสุ สรณ์ ในงานเชดิ ชคู รู ชนื่ ชมศษิ ย์ ๒๕๔๑ 264 ศิลปินแห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ละครวิทยุ - ละครโทรทศั น์)

พ.ศ.๒๕๕๐ รางวลั นราธปิ จากสมาคมนกั เขยี นแหง่ ประเทศไทย ในฐานะนกั เขยี นอาวโุ ส พ.ศ.๒๕๕๖ ทสี่ รา้ งผลงานมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งยาวนาน และผลงานเปน็ ทยี่ กยอ่ งอยา่ งกวา้ งขวาง พ.ศ.๒๕๕๗ รางวลั โทรทศั นท์ องค�ำ สาขารางวลั เกยี รตยิ ศคนทวี ี จากชมรมสง่ เสรมิ โทรทศั น์ พ.ศ.๒๕๕๙ มลู นธิ จิ �ำนงรงั สกิ ลุ และส�ำนกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ ไดร้ บั พระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทสี่ รรเสรญิ ยง่ิ ดเิ รกคณุ าภรณ์ ชน้ั เหรยี ญเงนิ ดเิ รกคณุ าภรณ์ รางวลั มายามหาชน สาขารางวลั บคุ คลบนั เทงิ เกยี รตยิ ศแหง่ ปี จากมายาอวอรด์ นางสมสขุ กัลย์จาฤก 265

การทำ�คณุ ประโยชนเ์ พือ่ สังคม พ.ศ. ๒๕๓๘ พ.ศ. ๒๕๓๔ ประพันธ์บทละครการกุศล เร่ือง เธอคือแสงแห่งศรัทธา กองทุนประดิษฐ์ - สมสุข กัลย์จาฤก มอบทุนสนับสนุน ใหม้ หาวทิ ยาลัยมหดิ ล ในวาระ ๑๐๐ ปี โรงเรยี นพยาบาล โครงการสื่อสันติภาพ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ผดุงครรภ์และอนามัยศิริราช ออกอากาศทางสถานีวิทยุ มหาวิทยาลัย ผลิตส่ือเสียงโสตลีลาส�ำหรับเด็ก ชุด โทรทศั นก์ องทพั บกชอ่ ง ๕ “แสงดาวแสนดวง” ซง่ึ ได้รวบรวมนักเล่านทิ าน นกั แสดง พ.ศ. ๒๕๓๐ - ปจั จุบนั ละครวทิ ยแุ ละนกั พากยช์ นั้ ครขู องไทย อาทิ ม.ร.ว สายสงิ ห์ มอบทุนกันตนาวิทยานิพนธ์ และทุนประดิษฐ์ - สมสุข ศริ ิบุตร รชั นี จันทรงั ษี วเิ ชียร นีลิกานนท์ จรี ภา ปัญจศีล กัลย์จาฤก แก่นิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก ศิริพร วงศ์สวัสด์ิ มาร่วมกันแสดง อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เพ่ือเชิดชูเกียรติและบริรักษ์ศิลปะการแสดงทางด้านเสียง มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ฯลฯ โดยเป็นทุนการศึกษา และผลงานชนิ้ นไี้ ดร้ ับรางวัล สื่อมวลชนดเี ด่นเพื่อเยาวชน ส�ำหรับระดับปริญญาตรีและเป็นทุนสนับสนุนการวิจัย จากส�ำนักงานส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ ส�ำหรบั ระดับปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก (สยช.) พ.ศ. ๒๕๓๔ 266 ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ละครวิทยุ - ละครโทรทศั น)์

พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๓ มอบทนุ สนบั สนนุ โครงการสอ่ื สนั ตภิ าพ คณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ส�ำหรับการผลิตส่ือทดลองชุด กางเขนนกเพลงอิสระ และการอภปิ รายทางวชิ าการเรอื่ ง นิเทศศาสตร์กับทิศทางการศึกษาเร่ืองเล่าสมัยใหม่ และ จัดพิมพ์งานวิจัยเรื่อง นิเทศศาสตร์กับเรื่องเล่าและ การเล่าเรือ่ ง ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๑ ก่อตั้งกองทุนประดิษฐ์ กัลย์จาฤก เพื่อสนับสนุน การสร้างสรรค์และศึกษาวิจัยด้านส่ือมวลชนและ สาธารณะประโยชนต์ า่ งๆ พ.ศ. ๒๕๔๕ ก่อต้ังมูลนิธิประดิษฐ์-สมสุข กัลย์จาฤก เพื่อส่งเสริม การวิจัยและการศึกษาทางด้านการส่ือสารเชิงสุนทรียะ และบันเทิงคดีใหก้ ับสถาบันอุดมศกึ ษาต่างๆ พ.ศ. ๒๕๕๓ ที่ปรึกษาการก่อตั้งสถาบันกันตนา สถาบันอุดมศึกษา เฉพาะทางท่ีมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตด้านการผลิตภาพยนตร์ และแอนิเมชนั แห่งแรกของประเทศไทย ชวี ิตปัจจุบนั ปัจจุบันผลงานที่นางสมสุข กัลย์จาฤก ได้สร้างสรรค์ขึ้น ในด้านละครวิทยุ กลายเป็นต�ำนานท่ียังก้องกังวานอยู่ใน ความทรงจ�ำของประชาชนที่เคยรับฟัง และเม่ือผันมาสู่ การเป็นละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ก็ได้รับการขานรับ และเสียงชื่นชมจากผู้ชมอย่างกว้างขวาง ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ของกันตนาได้รับความนิยมอย่างต่อเน่ือง โดยมีนางสมสุข กัลย์จาฤก เป็นผู้อยู่เบื้องหลังในฐานะ บรรณาธกิ ารบทละคร ตลอดระยะเวลากวา่ ๖๐ ปี ถอื ไดว้ า่ เป็นผู้บุกเบิกพัฒนาวงการสื่อบันเทิงคดีของไทย สร้าง ชอ่ื เสยี งใหก้ บั ประเทศชาติ และยงั คงอยเู่ คยี งขา้ งคนรนุ่ ใหม่ ในการสรา้ งสรรค์ผลงานคณุ ภาพเผยแพรส่ ่สู าธารณชน นางสมสขุ กลั ยจ์ าฤก 267

268 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ภาพยนตร)์

ค�ำประกาศเกียรติคณุ นางเอก นนั ทนาคร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ นางเอก นันทนาคร มชี ่ือในวงการภาพยนตร์ คอื เพชรา เชาวราษฎร์ ปจั จบุ นั อายุ ๗๗ ปี เกดิ เม่ือวนั ที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๕ ทีจ่ ังหวดั ระยอง เป็นบตุ รของนายอบ และนางสะอ้ิง ชาวราษฎร์ เป็นบตุ รคนท่ี ๔ จากพน่ี อ้ ง ท้งั หมด ๗ คน เมอื่ อายไุ ด้ ๑๕ ปี เขา้ มาศกึ ษาตอ่ ทกี่ รงุ เทพมหานคร ตอ่ มาไดร้ บั การชกั ชวนใหเ้ ขา้ ประกวดเทพธดิ าเมษา-ฮาวาย ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ จดั โดยสำ�นักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ใช้ชอ่ื ในการประกวดวา่ ปทั มา ชาวราษฎร์ ได้ต�ำ แหน่ง ชนะเลิศ จากนั้นได้รับการชักชวนจากศิริ ศิริจินดา และดอกดิน กัญญามาลย์ ให้แสดงภาพยนตร์เรื่อง บันทึกรัก ของพมิ พฉ์ วี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ เปน็ เร่อื งแรก ขณะอายุ ๑๙ ปี แสดงคกู่ ับ มิตร ชัยบญั ชา โดยดอกดนิ กญั ญามาลย์ เป็นผตู้ ง้ั ชือ่ ให้ว่า “เพชรา เชาวราษฎร์” แจ้งเกิดอย่างเตม็ ตวั จากภาพยนตรเ์ รื่องท่สี อง เร่ือง ดอกแก้ว และไดแ้ สดง คกู่ บั มติ ร ชยั บญั ชา รบั บทครู่ กั ในภาพยนตรอ์ กี หลายเรอื่ ง เปน็ ทชี่ น่ื ชอบของแฟนภาพยนตร์ เรยี กวา่ คขู่ วญั มติ ร - เพชรา มีผลงานประมาณ ๓๐๐ เรื่อง ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๕ - ๒๕๒๑ บทบาทการแสดงของเพชรามีความหลากหลาย ไม่ว่าจะแสดงบทบาทใด เพชราก็สร้างความประทับใจให้แก่ผู้ชมทั่วประเทศ รวมทั้งประเทศเพื่อนบ้านได้เสมอมา และยงั ได้รับรางวลั ยอดเยี่ยมด้านการแสดง ซงึ่ เปน็ การพิสูจน์ให้เหน็ ถึงฝมี ือและความสามารถไดอ้ ย่างเดน่ ชดั กระทง่ั เมอื่ ประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๕ เพชราเรมิ่ มปี ญั หาเรอื่ งสายตา เนอื่ งจากในการถา่ ยภาพยนตรต์ อ้ งใชแ้ สงไฟ ท่ีสวา่ งมาก ใช้เวลารักษาเป็นเวลาหลายปี จนกระท่งั ตาบอดสนิททง้ั สองขา้ ง หลังจากน้ันตอ้ งหยดุ งานแสดงเพอ่ื รกั ษา สุขภาพมาโดยตลอด จนเม่อื พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๔๘ ได้ท�ำ งานเป็นนักจัดรายการวิทยคุ ลน่ื ลูกทงุ่ เอฟเอ็ม และเมอื่ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เพชราได้รับงานโฆษณาลิปสติกมิสทีน โดยรายได้จากงานคร้ังน้ี เพชราได้บริจาคให้องค์กร การกศุ ลทั้งหมด ส่วนหนงึ่ มอบให้กับมลู นธิ คิ นตาบอดแหง่ ประเทศไทย ด้วยคุณค่าจากผลงานการแสดงภาพยนตร์ของเพชรา เชาวราษฎร์ สะท้อนถึงความสามารถอันโดดเด่น ของนางเอกอมตะตลอดกาล และเปน็ ตัวอยา่ งท่ีดยี ง่ิ ใหก้ ับนักแสดงรนุ่ ใหม่ อีกทง้ั ยังไดร้ บั เกยี รตจิ ากพิพธิ ภัณฑห์ ุน่ ขี้ผึง้ มาดามทสุ โซ กรงุ เทพมหานคร ในการปน้ั หนุ่ ขผี้ ง้ึ ขนาดเทา่ ตวั จรงิ เพอื่ แสดงรว่ มกบั หนุ่ ของบคุ คลผมู้ ชี อื่ เสยี งระดบั โลก นางเอก นันทนาคร จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์) พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ นางเอก นันทนาคร 269

นปราะวงตั เชิอีวกิตแนละนั ผลทงานนาคร ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ภาพยนตร์) ความสขุ ของผูช้ มภาพยนตร์ คือคา่ แรงของเรา และค่าแรงมหาศาลทไี่ ดร้ บั จากการตรากตร�ำ ทุ่มเทจติ วิญญาณ ใหห้ ล่อหลอมไปกับงาน คอื รางวลั ตำ� แหน่ง “ศลิ ปนิ แหง่ ชาต”ิ ในครัง้ น้ี 22770 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร)์

นางเอก นันทนาคร (เพชรา เชาวราษฎร)์ ปจั จบุ ันอายุ ๗๗ ปี เกิดเมือ่ วนั ท่ี ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๕ ท่ตี �ำบลนำ้� พอก อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง เปน็ บุตรของนายอบ และนางสะอิ้ง ชาวราษฎร์ เปน็ บุตรคนท่ี ๔ จากพีน่ อ้ งทงั้ หมด ๗ คน ประวตั กิ ารศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ โรงเรียนบา้ นเกาะกลอย จงั หวัดระยอง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ โรงเรยี นกวดวชิ ากรงุ เทพมหานคร นางเอก นันทนาคร 271

ประวัตกิ ารทำ� งาน พ.ศ. ๒๕๐๔ เมอื่ อายุ ๑๕ ปี เขา้ มาศกึ ษาตอ่ ที่กรงุ เทพมหานคร พกั อาศัยอยู่ กับพีส่ าว เพชราไดร้ บั การชกั ชวนใหเ้ ข้าประกวดเทพธิดาเมษา - ฮาวาย ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๐๔ จัดโดยส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ใช้ชื่อ ในการประกวดว่า ปัทมา ชาวราษฎร์ ไดต้ �ำแหนง่ ชนะเลศิ พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้รับการชักชวนจากศิริ ศิริจินดา และ ดอกดิน กัญญามาลย์ ให้แสดงภาพยนตร์เรื่อง บันทึกรักของพิมพ์ฉวี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ เป็นเรือ่ งแรก ขณะอายุ ๑๙ ปี แสดงคู่กบั มิตร ชัยบญั ชา โดยดอกดนิ กญั ญามาลย์ เป็นผตู้ งั้ ชื่อใหว้ ่า “เพชรา เชาวราษฎร์” เพชราและชรินทร์ นันทนาคร ร่วมงานกันคร้ังแรกในภาพยนตร์ เรอื่ ง แพนนอ้ ย จนกระทง่ั ไดแ้ สดงภาพยนตรเ์ รอ่ื ง แผน่ ดนิ แม่ จงึ ตดั สนิ ใจ ใช้ชีวิตร่วมกัน เพชราสมรสกับชรินทร์ นันทนาคร (ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๑ สาขาศลิ ปะการแสดง) ไม่มบี ุตรดว้ ยกนั 272 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ภาพยนตร์)

นางเอก นันทนาคร 273

274 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ภาพยนตร)์

พ.ศ. ๒๕๐๘ - ๒๕๑๔ พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระบรม ราชชนนีพนั ปีหลวง มีพระมหากรุณาธคิ ุณเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทอดพระเนตรภาพยนตร์ ทเ่ี พชรา เชาวราษฎร์ แสดงถงึ ๓ เรือ่ ง คือ - ภาพยนตร์ เรอ่ื ง เงนิ เงนิ เงิน ณ โรงภาพยนตรเ์ ฉลิมเขตร์ ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๐๘ - ภาพยนตร์ เร่ือง คนใจบอด ณ โรงภาพยนตรโ์ คลีเซ่ยี ม ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๑๔ - ภาพยนตร์ เรือ่ ง แม่ศรไี พร ณ โรงภาพยนตร์ศาลาเฉลมิ กรุง ๒๘ สงิ หาคม ๒๕๑๔ พ.ศ. ๒๕๐๕ - ๒๕๒๑ เพชรามผี ลงานภาพยนตรป์ ระมาณ ๓๐๐ เรอ่ื ง บทบาทการแสดงมคี วามหลากหลาย บางเรือ่ งแสดงเป็นเจ้าหญิง บางเรือ่ งแสดงเป็นขอทาน บางเรือ่ งเปน็ เดก็ แกน่ แกว้ ตอ่ มาไดผ้ นั ตวั เองมาอยู่เบ้อื งหลัง เปน็ ผอู้ �ำนวยการสรา้ งรว่ มกบั ชรนิ ทร์ นันทนาคร ทงั้ หมด ๑๓ เรอื่ ง อาทิ นำ้� ผง้ึ พระจนั ทร์ (๒๕๑๕) แผน่ ดนิ แม่ (๒๕๑๘) ลกู เจา้ พระยา (๒๕๒๐) เป็นตน้ โดยมีชรินทร์ นนั ทนาคร เป็นผกู้ �ำกับการแสดง นางเอก นันทนาคร 275

พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๔๘ เพชราท�ำงานเป็นนักจัดรายการวิทยุคลื่นลูกทุ่งเอฟเอ็ม หลังจากหยุดงานแสดง ภาพยนตรเ์ พื่อรกั ษาสุขภาพมาหลายปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เดือนกรกฎาคม เพชราได้รับงานโฆษณาลิปสติกมิสทีน โดยรายได้จากงานครั้งนี้ ได้บริจาคให้องค์กรการกุศลทั้งหมด ส่วนหน่ึงมอบให้มูลนิธิคนตาบอดแห่งประเทศไทย โฆษณาเผยแพร่คร้ังแรกเมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ผู้บรรยายโฆษณาคือ นิรตุ ต์ ศิรจิ รรยา และผู้ขบั ร้องเพลงหยาดเพชร เพลงประกอบโฆษณาชิน้ นี้คือ ศกุ ลวฒั น์ คณารศ นบั เป็นผลงานโฆษณาทางโทรทัศน์ชนิ้ แรกในรอบกวา่ ๓๐ ปี ตอ่ มาไดถ้ า่ ยแบบ ให้นติ ยสาร LIPS 276 ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร)์

นางเอก นันทนาคร 277

การสรา้ งสรรค์ผลงาน ผลงานภาพยนตรข์ องเพชรา เชาวราษฎร์ ประมาณ ๓๐๐ เรื่อง ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๕ - ๒๕๒๑ มบี ทบาท การแสดงอนั มีความหลากหลาย ดังนี้ พ.ศ. ๒๕๐๕ บนั ทกึ รกั ของพมิ พฉ์ วี คกู่ บั มติ ร ชยั บญั ชา พ.ศ. ๒๕๐๕ ดอกแกว้ คกู่ ับ ไชยา สุริยนั พ.ศ. ๒๕๐๕ ออ้ มอกสวรรค์ คกู่ ับ มิตร ชยั บัญชา พ.ศ. ๒๕๐๕ ดอกหญา้ พ.ศ. ๒๕๐๕ ม่านน�้ำตา พ.ศ. ๒๕๐๕ แพนนอ้ ย พ.ศ. ๒๕๐๕ เหย่ียวด�ำ พ.ศ. ๒๕๐๖ คมพยาบาท คู่กับ ชนะ ศรีอุบล พ.ศ. ๒๕๐๖ รวงแก้ว คู่กบั มติ ร ชยั บัญชา พ.ศ. ๒๕๐๖ ช่อเพชร คู่กบั มติ ร ชยั บญั ชา พ.ศ. ๒๕๐๖ ใจเพชร คกู่ บั มติ ร ชยั บญั ชา พ.ศ. ๒๕๐๖ อวสานอนิ ทรแี ดง คูก่ ับ มติ ร ชยั บัญชา พ.ศ. ๒๕๐๖ หนึ่งในทรวง พ.ศ. ๒๕๐๖ ฝนแรก พ.ศ. ๒๕๐๗ เก้ามหากาฬ พ.ศ. ๒๕๐๗ มังกรคะนอง พ.ศ. ๒๕๐๗ ภูตพิศวาส พ.ศ. ๒๕๐๗ พนาสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๐๗ รอ้ ยป่า คกู่ บั มิตร ชยั บญั ชา พ.ศ. ๒๕๐๗ พนั ธล์ุ กู หมอ้ พ.ศ. ๒๕๐๗ จา้ วพยคั ฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๗ นกนอ้ ย คู่กบั มติ ร ชยั บัญชา พ.ศ. ๒๕๐๗ สิงห์ล่าสิงห์ พ.ศ. ๒๕๐๗ เทพบตุ ร ๑๒ คม พ.ศ. ๒๕๐๗ พรายด�ำ พ.ศ. ๒๕๐๗ ต�ำหนักเพชร พ.ศ. ๒๕๐๗ เลศิ ชาย พ.ศ. ๒๕๐๗ หัวใจเถือ่ น พ.ศ. ๒๕๐๗ สมงิ บ้านไร่ พ.ศ. ๒๕๐๘ ชาตเิ จา้ พระยา พ.ศ. ๒๕๐๘ พยัคฆ์รา้ ย 278 ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์)

พ.ศ. ๒๕๐๘ มังกรด�ำ พ.ศ. ๒๕๐๘ ถนิ่ ผูด้ ี พ.ศ. ๒๕๐๘ จอมใจ พ.ศ. ๒๕๐๘ นำ้� เพชร พ.ศ. ๒๕๐๘ เลือดนอกอก พ.ศ. ๒๕๐๘ ชน่ื ชวี นั พ.ศ. ๒๕๐๘ หมอกสวาท พ.ศ. ๒๕๐๘ น้องนุช พ.ศ. ๒๕๐๘ แผน่ ดนิ สวรรค์ พ.ศ. ๒๕๐๘ ออ้ มอกดนิ พ.ศ. ๒๕๐๘ ทาสผยอง พ.ศ. ๒๕๐๘ ฉตั รดาว พ.ศ. ๒๕๐๘ เทพบุตรนกั เลง พ.ศ. ๒๕๐๘ นกขมนิ้ พ.ศ. ๒๕๐๘ ลมหวน พ.ศ. ๒๕๐๘ นำ�้ ผึ้งป่า พ.ศ. ๒๕๐๘ สุภาพบรุ ุษนกั เลง พ.ศ. ๒๕๐๘ เพชรน�้ำผ้ึง พ.ศ. ๒๕๐๘ ขวญั ชวี ติ พ.ศ. ๒๕๐๘ ใจฟ้า พ.ศ. ๒๕๐๘ วังเสอื พ.ศ. ๒๕๐๘ ลกู ผู้ชายชอื่ ไอแ้ ผน พ.ศ. ๒๕๐๘ เสือข้ามแดน พ.ศ .๒๕๐๘ อรญั ญกิ พ.ศ. ๒๕๐๘ วรี บุรษุ เมืองใต้ พ.ศ. ๒๕๐๘ ชบาไพร นางเอก นันทนาคร 279

พ.ศ .๒๕๐๘ ชาติฉกรรจ์ พ.ศ. ๒๕๐๙ น้อยใจยา พ.ศ. ๒๕๐๘ หยกแกว้ พ.ศ. ๒๕๐๙ พระอภัยมณี นางผเี ส้อื สมทุ ร พ.ศ. ๒๕๐๘ พระรถ-เมรี พ.ศ. ๒๕๐๙ ลมหนาว พ.ศ. ๒๕๐๘ ลูกของแม่ พ.ศ. ๒๕๐๙ ชมุ ทางหาดใหญ่ พ.ศ. ๒๕๐๘ เงิน เงิน เงนิ คู่กบั มิตร ชยั บญั ชา พ.ศ. ๒๕๐๙ จอมประจัญบาน พ.ศ. ๒๕๐๘ พยคั ฆ์พนั ลาย พ.ศ. ๒๕๐๙ เจ้าแมส่ ร้อยดอกหมาก พ.ศ. ๒๕๐๘ หมอกสวาท พ.ศ. ๒๕๐๙ สายเลอื ดกตญั ญู พ.ศ. ๒๕๐๙ แมย่ อดชีวิต พ.ศ. ๒๕๐๙ พษิ พยศ พ.ศ. ๒๕๐๙ เสือเหลอื ง พ.ศ. ๒๕๐๙ เพชรตัดเพชร พ.ศ. ๒๕๐๙ ชุมทางรัก พ.ศ. ๒๕๐๙ วังไพร พ.ศ. ๒๕๐๙ หงสเ์ หิร พ.ศ. ๒๕๐๙ แสงเทียน พ.ศ. ๒๕๐๙ โสนนอ้ ยเรือนงาม พ.ศ. ๒๕๐๙ เสือสงั่ ถำ�้ 280 ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์)

พ.ศ. ๒๕๐๙ น�้ำคา้ ง พ.ศ. ๒๕๐๙ ตัวต่อตัว พ.ศ. ๒๕๐๙ นกแก้ว พ.ศ. ๒๕๐๙ งผู ี พ.ศ. ๒๕๐๙ นกยงู พ.ศ. ๒๕๐๙ มอื ปืนสิบทิศ พ.ศ. ๒๕๐๙ จามเทวี พ.ศ. ๒๕๐๙ สมิง พ.ศ. ๒๕๐๙ นางนกป่า พ.ศ. ๒๕๐๙ สามเกลอเจอล่องหน พ.ศ. ๒๕๐๙ ปศี าจด�ำ พ.ศ. ๒๕๐๙ ดรณุ ีสเี ลือด พ.ศ. ๒๕๐๙ เพชรสีเลือด พ.ศ. ๒๕๑๐ สุดแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๐๙ เปลวสรุ ยิ า พ.ศ. ๒๕๑๐ ตกั๊ แตน พ.ศ. ๒๕๐๙ มอื นาง พ.ศ. ๒๕๑๐ สายเปล พ.ศ. ๒๕๐๙ นกเอี้ยง พ.ศ. ๒๕๑๐ มนุษย์ทองค�ำ พ.ศ. ๒๕๐๙ เหยี่ยวสังหาร พ.ศ. ๒๕๑๐ ผ้ึงหลวง พ.ศ. ๒๕๐๙ เกิดเปน็ หงส์ คกู่ บั มติ ร ชยั บัญชา พ.ศ. ๒๕๑๐ สงิ หห์ นุม่ พ.ศ. ๒๕๑๐ ปจู า๋ พ.ศ. ๒๕๑๐ ทะเลเงนิ พ.ศ. ๒๕๑๐ เหนอื เกลา้ พ.ศ. ๒๕๑๐ นางพรายตานี พ.ศ. ๒๕๑๐ เสือ พ.ศ. ๒๕๑๐ เทพธิดาบา้ นไร่ พ.ศ. ๒๕๑๐ แก้วกาหลง พ.ศ. ๒๕๑๐ ใจนาง พ.ศ. ๒๕๑๐ เหนือนักเลง พ.ศ. ๒๕๑๐ แหลมหัก พ.ศ. ๒๕๑๐ จันทร์เจา้ พ.ศ. ๒๕๑๐ จุฬาตรคี ณู พ.ศ. ๒๕๑๑ ขวญั เรอื น พ.ศ. ๒๕๑๑ จก๊ั จ่ัน พ.ศ. ๒๕๑๑ สมงิ ดง พ.ศ. ๒๕๑๑ พระลอ พ.ศ. ๒๕๑๑ แสนสงสาร พ.ศ. ๒๕๑๑ สัญชาติชาย พ.ศ. ๒๕๑๑ แทก็ ซี่ พ.ศ. ๒๕๑๑ รกั เอย พ.ศ. ๒๕๑๑ เฟอื่ งฟ้า พ.ศ. ๒๕๑๑ มรกตแดง พ.ศ. ๒๕๑๑ ยอดชวี ิต พ.ศ. ๒๕๑๑ สองฟากฟ้า นางเอก นันทนาคร 281

พ.ศ. ๒๕๑๑ สกลุ กา พ.ศ. ๒๕๑๒ หาดใหญใ่ จสู้ พ.ศ. ๒๕๑๑ ชาตินักสู้ พ.ศ. ๒๕๑๓ เพลงรักแม่น้�ำแคว พ.ศ. ๒๕๑๑ ลูกแมว พ.ศ. ๒๕๑๓ รักนิรันดร์ พ.ศ. ๒๕๑๑ ดอกอ้อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ไทยใหญ่ พ.ศ. ๒๕๑๑ เงินจ๋าเงิน พ.ศ. ๒๕๑๓ ขุนทาส พ.ศ. ๒๕๑๑ พรายพศิ วาส พ.ศ. ๒๕๑๓ ฝนใต้ พ.ศ. ๒๕๑๑ ยอดแก่น พ.ศ. ๒๕๑๓ หวานใจ พ.ศ. ๒๕๑๑ สงิ หล์ า่ สิงห์ พ.ศ. ๒๕๑๓ ไอส้ ู้ พ.ศ. ๒๕๑๑ กบเต้น คูก่ ับ มิตร ชยั บญั ชา พ.ศ. ๒๕๑๓ ท่าจีน พ.ศ. ๒๕๑๑ ดอกบวั พ.ศ. ๒๕๑๓ เงนิ จางนางจร พ.ศ. ๒๕๑๑ ไอ้หนึง่ พ.ศ. ๒๕๑๓ มนต์รกั ลกู ทุ่ง คกู่ ับ มิตร ชัยบญั ชา พ.ศ. ๒๕๑๑ ก�ำพร้า พ.ศ. ๒๕๑๓ เรอื มนษุ ย์ พ.ศ. ๒๕๑๑ แมวไทย พ.ศ. ๒๕๑๓ ไอ้เบี้ยว ค่กู บั มิตร ชัยบญั ชา พ.ศ. ๒๕๑๑ แสนงอน พ.ศ. ๒๕๑๑ นำ�้ อ้อย พ.ศ. ๒๕๑๑ เลือดอาชาไนย พ.ศ. ๒๕๑๑ ลกู ชาติเสอื พ.ศ. ๒๕๑๑ ทรามวัยใจเพชร พ.ศ. ๒๕๑๒ ไกแ่ ก้ว พ.ศ. ๒๕๑๒ เพชรแท้ (๒๕๑๒) พ.ศ. ๒๕๑๒ เศรษฐีข้างถนน พ.ศ. ๒๕๑๒ แมค่ ้า พ.ศ. ๒๕๑๒ วิมานไฟ พ.ศ. ๒๕๑๒ ไพรรกั พ.ศ. ๒๕๑๒ ขวัญหลา้ พ.ศ. ๒๕๑๒ ยอดคนจริง พ.ศ. ๒๕๑๒ สอยดาวสาวเดอื นคกู่ บั มิตร ชยั บัญชา พ.ศ. ๒๕๑๒ ชาตลิ �ำชี พ.ศ. ๒๕๑๒ คฤหาสน์รัก พ.ศ. ๒๕๑๒ ผเี สื้อ พ.ศ. ๒๕๑๒ หล่งั เลือดแดนสงิ ห์ พ.ศ. ๒๕๑๒ เข้ียวพยัคฆ์ พ.ศ. ๒๕๑๒ อภนิ หิ ารอาจารย์ทอง พ.ศ. ๒๕๑๒ ไทยน้อย พ.ศ. ๒๕๑๒ เด็กวดั พ.ศ. ๒๕๑๒ ลกู สาวพระอาทติ ย์ 282 ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ภาพยนตร)์

พ.ศ. ๒๕๑๓ สวรรค์เบี่ยง คกู่ ับ มิตร ชยั บญั ชา พ.ศ. ๒๕๑๓ เสนห่ ล์ ูกทุ่ง พ.ศ. ๒๕๑๓ วิญญาณดอกประดู่ พ.ศ. ๒๕๑๓ ฝนเหนือ พ.ศ. ๒๕๑๓ ลกู หนท้ี เี ดด็ คูก่ ับ มติ ร ชัยบญั ชา พ.ศ. ๒๕๑๔ ไอห้ นุ่มบ้านนา พ.ศ. ๒๕๑๓ มา้ มดื พ.ศ. ๒๕๑๔ นักบุญทรงกลด พ.ศ. ๒๕๑๓ จอมโจรมเหศวร ค่กู บั มิตร ชัยบัญชา พ.ศ. ๒๕๑๔ ดวงใจสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๑๓ เจา้ แมส่ ไบทอง พ.ศ. ๒๕๑๔ เหนอื พญายม พ.ศ. ๒๕๑๓ ก�ำแพงเงินตรา พ.ศ. ๒๕๑๔ เขยตนี โต พ.ศ. ๒๕๑๓ ๗ สงิ หค์ ืนถิ่น พ.ศ. ๒๕๑๔ คีรบี ูน พ.ศ. ๒๕๑๓ ชุมทางนักเลง พ.ศ. ๒๕๑๔ มนตร์ ักป่าซาง พ.ศ. ๒๕๑๓ ล�ำพู รกั เธอเสมอ พ.ศ. ๒๕๑๔ ทโมนไพร พ.ศ. ๒๕๑๓ อัศวนิ ดาบกายสิทธ์ิ ค่กู บั มิตร ชัยบญั ชา พ.ศ. ๒๕๑๔ ไอ้ทยุ พ.ศ. ๒๕๑๓ อนิ ทรที อง คกู่ บั มติ ร ชยั บัญชา พ.ศ. ๒๕๑๔ เสอื ขาว พ.ศ. ๒๕๑๓ บ้านสาวโสด คกู่ ับ มิตร ชยั บญั ชา พ.ศ. ๒๕๑๔ ดาบคสู่ ะทา้ นโลกนั ต์ นางเอก นนั ทนาคร 283

พ.ศ. ๒๕๑๔ อรณุ ร่งุ ฟา้ พ.ศ. ๒๕๑๕ พอ่ ปลาไหล จันทนี พ.ศ. ๒๕๑๔ ย่วั รกั พ.ศ. ๒๕๑๕ กลน่ิ ร�่ำ พ.ศ. ๒๕๑๔ เจา้ จอม พ.ศ. ๒๕๑๕ วิวาห์ลกู ทงุ่ พ.ศ. ๒๕๑๔ เจา้ สาวขค้ี กุ พ.ศ. ๒๕๑๕ จันทร์แรม พ.ศ. ๒๕๑๔ ส่ือกามเทพ พ.ศ. ๒๕๑๕ น�ำ้ ผงึ้ พระจนั ทร์ พ.ศ. ๒๕๑๔ วมิ านสที อง พ.ศ. ๒๕๑๕ ลานสาวกอด ค่กู ับ ครรชิต ขวัญประชา พ.ศ. ๒๕๑๔ ยมบาลเจา้ ขา คู่กับ ขวัญชัย สรุ ยิ า พ.ศ. ๒๕๑๕ กล้าสบิ ทศิ พ.ศ. ๒๕๑๔ ล�ำดวน พ.ศ. ๒๕๑๕ คุม้ นางฟ้า พ.ศ. ๒๕๑๔ สภุ าพบรุ ษุ เสอื ใบ พ.ศ. ๒๕๑๕ มนต์รักดอกค�ำใต้ พ.ศ. ๒๕๑๔ อรี วง พ.ศ. ๒๕๑๕ หัวใจปา่ พ.ศ. ๒๕๑๔ พุดตาล พ.ศ. ๒๕๑๕ สดุ สายป่าน พ.ศ. ๒๕๑๔ ธารรักไทรโยค พ.ศ. ๒๕๑๕ แสนทนง พ.ศ. ๒๕๑๔ คนใจบอด พ.ศ. ๒๕๑๕ รกั คืนเรือน พ.ศ. ๒๕๑๔ ลานพัยหญา้ พ.ศ. ๒๕๑๕ หาดทรายแกว้ พ.ศ. ๒๕๑๔ ยอดต่อยอด พ.ศ. ๒๕๑๖ เจา้ สาวเรือพว่ ง พ.ศ. ๒๕๑๔ ทุ่งเศรษฐี ขวญั ดาว พ.ศ. ๒๕๑๖ ไอ้แดง คูก่ ับ ครรชิต ขวัญประชา พ.ศ. ๒๕๑๖ กุหลาบไฟ พ.ศ. ๒๕๑๔ รกั รอ้ น พ.ศ. ๒๕๑๖ สายฝน พ.ศ. ๒๕๑๔ ลูกยอด พ.ศ. ๒๕๑๖ ไม้ป่า พ.ศ. ๒๕๑๔ ลมรกั ทะเลใต้ พ.ศ. ๒๕๑๖ พยัคฆ์พนั ลาย พ.ศ. ๒๕๑๔ พษิ ผยอง พ.ศ. ๒๕๑๖ เตะฝุ่น ดอนโขมด พ.ศ. ๒๕๑๔ รักจ๋ารกั พ.ศ. ๒๕๑๖ เจ้าปลวิ สงิ ห์สพุ รรณ พ.ศ. ๒๕๑๔ เชงิ ชายชาญ คกู่ บั ยอดชาย เมฆสุวรรณ พ.ศ. ๒๕๑๔ มดตะนอย พ.ศ. ๒๕๑๖ หัวใจหิน พ.ศ. ๒๕๑๔ สุดท่รี ัก พ.ศ. ๒๕๑๖ ปีแหง่ ความหลงั คู่กับ มิตร ชยั บัญชา พ.ศ. ๒๕๑๔ แก้วขนเหล็ก พ.ศ. ๒๕๑๗ อีสาน พ.ศ. ๒๕๑๔ ไก่นา พ.ศ. ๒๕๑๗ แวว่ เสียงลมรกั พ.ศ. ๒๕๑๔ แม่ศรีไพร คู่กับ นาท ภูวนยั พ.ศ. ๒๕๑๗ กงั หนั สวาท พ.ศ. ๒๕๑๔ มนตร์ กั จากใจ พ.ศ. ๒๕๑๗ ดอกคนู เสยี งแคน พ.ศ. ๒๕๑๔ แม่นม พ.ศ. ๒๕๑๘ แผน่ ดินแม่ พ.ศ. ๒๕๑๕ เลือดแม่ พ.ศ. ๒๕๑๙ ชะตาชวี ิต พ.ศ. ๒๕๑๕ หัวใจปรารถนา พ.ศ. ๒๕๑๙ ฉนั ไมอ่ ยากเป็นคุณนาย พ.ศ. ๒๕๑๕ เชียงตงุ พ.ศ. ๒๕๒๐ ลกู เจา้ พระยา พ.ศ. ๒๕๑๕ กวา๊ นพะเยา ระเริงชล พ.ศ. ๒๕๒๑ ไอข้ นุ ทอง ค่กู ับ สมบตั ิ เมทะนี พ.ศ. ๒๕๒๔ พ่อปลาไหล (รับเชญิ ) พ.ศ. ๒๕๑๕ มนตก์ ากี 284 ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร)์

นอกจากบทบาทดา้ นการแสดงแล้ว เพชรา เชาวราษฎร์ ไดผ้ นั ตัวเองมาเปน็ ผูอ้ ยู่ เบื้องหลัง ในฐานะผู้อ�ำนวยการสร้างภาพยนตร์ ร่วมกับชรินทร์ นันทนาคร ท่ีนอกจาก อ�ำนวยการสรา้ งแล้ว ยังท�ำหน้าที่ก�ำกบั การแสดงด้วยโดยมีผลงาน ดงั นี้ พ.ศ. ๒๕๑๕ นำ้� ผ้ึงพระจนั ทร์ พ.ศ. ๒๕๒๗ บ้านสีดอกรกั พ.ศ. ๒๕๑๘ แผน่ ดนิ แม่ พ.ศ. ๒๕๒๘ ผู้การเรือเร่ พ.ศ. ๒๕๒๐ ลกู เจ้าพระยา พ.ศ. ๒๕๒๙ ลูกท่งุ ฮอลลเิ ดย์ พ.ศ. ๒๕๒๑ ไอข้ ุนทอง พ.ศ. ๒๕๓๐ ฟา้ สที อง พ.ศ. ๒๕๒๔ รักข้ามคลอง พ.ศ. ๒๕๓๐ ผู้พนั เรือพว่ ง พ.ศ. ๒๕๒๕ รักมหาสนุก พ.ศ. ๒๕๓๑ คณุ จา่ เรือแจว พ.ศ. ๒๕๒๖ บ้านน้อยกลางดง นางเอก นนั ทนาคร 285

286 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ภาพยนตร)์

รางวลั และเกียรตคิ ุณท่ีได้รบั พ.ศ. ๒๕๐๘ รางวัลพระสุรัสวดี จากเรื่อง นกน้อย จากพระหัตถ์พระบาทสมเด็จ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พ.ศ. ๒๕๐๘ รางวลั คขู่ วญั ดาราทอง จากเรอื่ ง เงนิ เงนิ เงนิ พ.ศ. ๒๕๔๔ รางวลั สรรพศาตรศภุ กจิ พ.ศ. ๒๕๕๒ รางวัลกินรีทองค�ำบุคคลเกียรติยศ เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติกรุงเทพ ครงั้ ท่ี ๗ เมอื่ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ (ชรนิ ทร์ นนั ทนาคร รบั แทน) โล่เกียรติคุณบุคคลแบบอย่างที่ดีในความขยันหม่ันเพียร จากพระเจ้า วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โสมสวลี กรมหมน่ื สทุ ธนารีนาถ (ชรินทร์ นันทนาคร รบั แทน) พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้รับเกียรติในการปั้นหุ่นข้ีผ้ึงขนาดเท่าตัวจริง เป็นนางเอกอมตะ ตลอดกาล เพื่อแสดงร่วมกับคนดังระดับโลก ในพิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผ้ึง มาดามทสุ โซ กรงุ เทพมหานคร ณ ศนู ยก์ ารคา้ สยามดสิ คฟั เวอร่ี ทอ่ี ยู่ปจั จุบนั เลขท่ี ๔๘ ถนนรามค�ำแหง ซอย ๔ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรงุ เทพฯ ๑๐๒๕๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๑๙ ๘๙๙๔-๕ นางเอก นนั ทนาคร 287

ภาคผนวก

ประกาศคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เรือ่ ง ผลการคดั เลือกศลิ ปนิ แห่งชาติ พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ ตามที่ กระทรวงวฒั นธรรม โดยกรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม ได้ด�ำ เนินการสรรหาศิลปนิ ผสู้ รา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะใหเ้ ป็นมรดก อนั ล้าํ คา่ ของแผ่นดนิ เพอ่ื ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตเิ ป็นศลิ ปนิ แห่งชาติ ตงั้ แตพ่ ทุ ธศกั ราช ๒๕๒๘ จนถงึ ปจั จบุ นั นน้ั ส�ำ หรบั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ คณะอนกุ รรมการอ�ำ นวยการคดั เลอื กศลิ ปนิ แหง่ ชาตไิ ดด้ �ำ เนนิ การคดั เลอื กศลิ ปนิ ผมู้ คี วามเปน็ เลศิ และนำ�เสนอคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาตพิ จิ ารณา คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้พิจารณาแล้ว มีมติเห็นชอบให้ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติศิลปินผู้มีความสามารถ เปน็ เลิศและอุทศิ ตนสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะจนโดดเดน่ เป็นท่ปี ระจกั ษช์ ดั ต่อสาธารณชน เป็นศลิ ปนิ แห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๑ จำ�นวน ๑๒ คน ดังนี้ ๑. ศิลปนิ สาขาทัศนศิลป์ ได้แก่ ๑.๒ นายปรญิ ญา ตันตสิ ุข (จิตรกรรม) ๑.๑ นายชิน ประสงค์ (ประตมิ ากรรม) ๑.๔ นายคงศกั ดิ์ ยุกตะเสวี (สถาปตั ยกรรมภายใน) ๑.๓ นางคำ�ปุน ศรีใส (ประณตี ศลิ ป์ - ทอผ้า) ๒. ศลิ ปิน สาขาวรรณศิลป์ ได้แก่ ๒.๒ นายเสน่ห์ สังข์สุข ๒.๑ นายจ�ำ ลอง ฝง่ั ชลจิตร ๓. ศิลปิน สาขาศลิ ปะการแสดง ได้แก่ ๓.๑ นายวิโรจน์ วรี ะวัฒนานนท์ (ลเิ ก) ๓.๒ นางกัน้ เชาวพ้อง (โนรา) ๓.๓ นางสุคนธ์ พรพิรณุ (ผปู้ ระพันธ์เพลงไทยสากล) ๓.๔ นายประภาส ชลศรานนท์ (ผู้สรา้ งสรรคง์ านบนั เทงิ และดนตรีไทยสากล) ๓.๕ นางสมสขุ กลั ย์จาฤก (ละครวทิ ยุ - ละครโทรทศั น)์ ๓.๖ นางเอก นนั ทนาคร (ภาพยนตร์) ท้งั นี้ ตงั้ แตว่ ันที่ ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ประกาศ ณ วนั ที่ ๕ มีนาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ (นายวิษณุ เครอื งาม) รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ 289

กฎกระทรวง ก�ำ หนดสาขา คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวธิ กี ารคัดเลอื ก และประโยชน์ตอบแทนของศิลปินแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ อาศยั อ�ำ นาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหน่งึ และมาตรา ๒๙ วรรคหน่ึง แหง่ พระราชบัญญตั วิ ัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงวฒั นธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ กฎกระทรวงนเ้ี รยี กว่า “กฎกระทรวงก�ำ หนดสาขา คุณสมบตั ิ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารคดั เลือก และประโยชน์ ตอบแทนของศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕” ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงน้ี “ศิลปนิ แหง่ ชาติ” หมายความว่า ศิลปินผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะอนั ทรงคุณค่าและแสดงศักดิ์ศรขี องชาติ “ประโยชนต์ อบแทน” หมายความวา่ เงนิ ตอบแทน คา่ รกั ษาพยาบาล คา่ ชว่ ยเหลอื เมอ่ื ประสบภยั คา่ ของเยยี่ ม ในยามเจ็บป่วยหรอื โอกาสส�ำ คญั ตลอดจนสวสั ดิการและประโยชน์ตอบแทนอืน่ “อธิบดี” หมายความวา่ อธิบดกี รมสง่ เสริมวัฒนธรรม ขอ้ ๓ ศิลปนิ แห่งชาตติ อ้ งเปน็ ผูม้ คี วามรู้ความเชีย่ วชาญด้านศลิ ปะในสาขา ดงั ต่อไปนี้ (๑) สาขาทัศนศิลป์ (๒) สาขาศิลปะการแสดง (๓) สาขาวรรณศิลป์ ขอ้ ๔ การกำ�หนดประเภทผลงานศิลปะในแตล่ ะสาขาตามข้อ ๓ ให้เป็นไปตามท่อี ธบิ ดปี ระกาศก�ำ หนด ขอ้ ๕ ศิลปนิ แห่งชาติต้องมคี ณุ สมบัติ ดังต่อไปน้ี (๑) มสี ัญชาติไทย และยงั มีชวี ติ อยู่ในวนั ประกาศยกย่อง (๒) เปน็ ผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถ มคี วามเชย่ี วชาญ และมผี ลงานดเี ดน่ เปน็ ทย่ี อมรบั ของวงการศลิ ปะในสาขานน้ั (๓) เปน็ ผ้สู รา้ งสรรคแ์ ละพฒั นาศลิ ปะในสาขาท่ไี ดร้ ับการประกาศยกย่อง (๔) เป็นผู้ผดุง ถา่ ยทอด เผยแพร่ หรือเปน็ ต้นแบบศิลปะในสาขาทไ่ี ด้รับการประกาศยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ (๕) เป็นผู้ที่มีคณุ ธรรม ทมุ่ เท และอทุ ิศตนเพ่อื งานศิลปะ (๖) เป็นผู้มีผลงานท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ สงั คมและมนษุ ยชาติ ขอ้ ๖ ผ้ทู มี่ ีสิทธิไดร้ ับการพิจารณายกย่องเชิดชูเกยี รติให้เป็นศิลปนิ แหง่ ชาติจะตอ้ งมผี ลงานทางดา้ นศิลปะตามขอ้ ๔ ดังต่อไปน้ี (๑) เปน็ ผลงานท่ีสือ่ ใหเ้ หน็ ถงึ คณุ คา่ ในความดี ความจรงิ ความงาม อารมณ์ และคณุ คา่ ทางจติ วญิ ญาณ (๒) เป็นผลงานทแ่ี สดงออกถงึ แนวคิด สรา้ งพลังความรู้ และการพัฒนาสตปิ ญั ญาแก่มนษุ ยชาติ (๓) เปน็ ผลงานที่ก่อให้เกดิ ความรสู้ ึกสะเทอื นอารมณ์ และสง่ เสรมิ จินตนาการ (๔) เป็นผลงานทสี่ ร้างสรรค์ มีเอกลกั ษณ์ มีทกั ษะสงู มกี ลวิธีเชงิ สรา้ งสรรค์ ไมแ่ สดงเจตนา หรือจงใจ ในการ คดั ลอกหรอื เลยี นแบบผลงานของผู้อน่ื ท้ังเปดิ เผยและแอบแฝง 290 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พทุ ธศักราช ๒๕๖๑

ข้อ ๗ ผู้ซ่งึ ไดร้ ับเสนอชื่อเป็นศลิ ปนิ แห่งชาติจะต้องเผยแพร่และไดร้ ับการยอมรบั คณุ ค่าผลงาน ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ผลงานได้รับการจัดแสดง ถ่ายทอดหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนอย่างต่อเน่ือง มีหลักฐานอ้างอิง โดยเป็น ผลงานที่แสดงใหเ้ ห็นถึงแนวคิด พัฒนาการทางงานศลิ ปะอยา่ งเด่นชัด (๒) ผลงานไดร้ บั รางวลั หรอื ไดร้ บั การประกาศเกยี รตคิ ณุ ยกยอ่ งในระดบั ภมู ภิ าค ระดบั ชาตหิ รอื ระดบั นานาชาติ ซงึ่ มีกระบวนการพจิ ารณาที่มีมาตรฐานและเปน็ ท่ียอมรับ ขอ้ ๘ ใหส้ ภาวฒั นธรรม องคก์ รวชิ าชพี สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั ทางศลิ ปะ และเครอื ขา่ ยทางวฒั นธรรมทวั่ ประเทศ เสนอรายชอื่ และผลงานของบคุ คลซงึ่ สมควรหรอื เหมาะสมเปน็ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ โดยใหห้ วั หนา้ องคก์ รหรอื หนว่ ยงานเปน็ ผลู้ งนาม เสนอรายชื่อและผลงานต่อกรมส่งเสริมวัฒนธรรมตามแบบเสนอข้อมูลประวัติและผลงาน เพื่อประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติ เปน็ ศลิ ปินแห่งชาตติ ามท่อี ธบิ ดปี ระกาศกำ�หนด บุคคลทัว่ ไปให้เสนอผ่านศิลปินแหง่ ชาติ หรือองค์กรวชิ าชีพ หรือเครือข่ายวัฒนธรรมท่วั ประเทศได้ ระยะเวลาในการยื่นเสนอรายชื่อและผลงานของบุคคลซ่ึงสมควรหรือเหมาะสมเป็นศิลปินแห่งชาติ ให้เป็นไปตามที่ อธิบดปี ระกาศกำ�หนด ข้อ ๙ เมอ่ื กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรมไดร้ บั แบบเสนอขอ้ มลู ประวตั แิ ละผลงานเพอ่ื ประกาศยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตเิ ปน็ ศลิ ปนิ แห่งชาตติ ามข้อ ๘ แล้ว ใหต้ รวจสอบคุณสมบัติ เอกสาร หลักฐานและรายละเอยี ดทเ่ี กย่ี วข้อง หากเห็นว่าไม่ถกู ต้องหรือไม่ ครบถว้ น ใหก้ รมสง่ เสรมิ วฒั นธรรมแจง้ เปน็ หนงั สอื ใหผ้ เู้ สนอแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ จดั สง่ เอกสาร หลกั ฐาน หรอื รายละเอยี ดทเี่ กยี่ วขอ้ ง ใหถ้ ูกตอ้ งและครบถ้วนภายในสามสบิ วนั นับแต่วันทไ่ี ดร้ ับหนังสือแจ้งจากกรมสง่ เสริมวฒั นธรรม ขอ้ ๑๐ ในกรณีท่ีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมตรวจสอบคุณสมบัติ เอกสาร หลักฐานและรายละเอียดที่เก่ียวข้องแล้ว ถา้ เหน็ วา่ ถกู ตอ้ งและครบถว้ น ใหเ้ สนอผลการตรวจสอบ รวมทง้ั เอกสาร หลกั ฐาน และรายละเอยี ดทเ่ี กยี่ วขอ้ งตอ่ คณะกรรมการ เพือ่ พจิ ารณาประกาศยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติเป็นศลิ ปินแหง่ ชาติ ขอ้ ๑๑ ศิลปินแห่งชาติซึ่งได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติต้องมอบผลงานให้กรมส่งเสริมวัฒนธรรมไม่น้อยกว่าหนึ่ง ผลงาน เพ่อื นำ�ไปเผยแพร่เพอ่ื ประโยชน์ทางการศกึ ษา ขอ้ ๑๒ ประโยชน์ตอบแทนของศลิ ปนิ แห่งชาติ ให้จ่ายจากเงินของกองทนุ ขอ้ ๑๓ ให้ศลิ ปนิ แห่งชาติไดร้ บั ประโยชนต์ อบแทน ดังตอ่ ไปน้ี (๑) เงินตอบแทนรายเดือนตลอดระยะเวลาที่มีชีวติ อยู่ ในอัตราตามท่ีอธบิ ดปี ระกาศกำ�หนด (๒) ค่ารักษาพยาบาลเฉพาะตัว เช่นเดียวกับผู้มีสิทธิได้รับค่ารักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย เงินสวสั ดกิ ารเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลโดยอนโุ ลม เว้นแตม่ สี ทิ ธิเบิกจากหนว่ ยงานอ่นื ให้เบกิ จากหน่วยงานนน้ั กอ่ น ถ้าเบกิ จากหนว่ ยงานนนั้ ไดต้ าํ่ กวา่ สทิ ธติ ามพระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาล ใหม้ สี ทิ ธเิ บกิ ในสว่ นทยี่ งั ขาดอยู่ แต่ไมเ่ กนิ หนง่ึ แสนบาทต่อปี (๓) เงินชว่ ยเหลอื ประสบสาธารณภยั เทา่ ที่เสยี หายจรงิ รายละไมเ่ กนิ ห้าหมนื่ บาทตอ่ ครงั้ (๔) ค่าของเยีย่ มในยามเจบ็ ปว่ ยหรือในโอกาสส�ำ คญั เท่าท่จี ่ายจรงิ รายละไม่เกินสามพันบาทตอ่ ครงั้ (๕) เงนิ ชว่ ยเหลือเม่ือเสยี ชวี ติ เพื่อรว่ มบำ�เพ็ญกศุ ลศพ รายละสองหมน่ื บาท (๖) คา่ เครอ่ื งเคารพศพตามประเพณีท่เี หมาะสมเท่าท่จี ่ายจริง รายละไม่เกนิ สามพนั บาท (๗) เงนิ ชว่ ยเหลอื คา่ จดั ท�ำ หนงั สอื เผยแพรผ่ ลงานเมอ่ื เสยี ชวี ติ เทา่ ทจ่ี า่ ยจรงิ รายละไมเ่ กนิ หนง่ึ แสนหา้ หมน่ื บาท ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สกุ ุมล คุณปลืม้ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวฒั นธรรม หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๒๙ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติวัฒนธรรม แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ บญั ญัตใิ หก้ ารกำ�หนดสาขา คุณสมบตั ิ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารคดั เลอื กและประโยชนต์ อบแทนของศลิ ปิน แหง่ ชาติท่จี ะไดร้ ับจากเงนิ กองทุนเปน็ ไปตามทกี่ ำ�หนดในกฎกระทรวงจงึ จ�ำ เปน็ ต้องออกกฎกระทรวงน้ี ศลิ ปนิ แห่งชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ 291

เขม็ ศลิ ปนิ แห่งชาติ ลักษณะของเข็ม เป็นเหรียญกลม ภายในจัดองค์ประกอบเป็นภาพดอกบัวเรียงกันสามดอก มแี พรแถบรองรบั ตอ่ เนอ่ื งออ้ มรดั แถบรวิ้ ธงชาตไิ ทยตามแนวโคง้ ขอบเหรยี ญ ภายในผ้าจารึกค�ำ วา่ “ศิลปนิ แห่งชาติ” และไดอ้ ญั เชิญพระมหาพชิ ัยมงกุฎ เปลง่ รศั มี ประดษิ ฐานไวเ้ หนอื เหรยี ญกลมโดยมผี า้ โบพนั รอบคทาไมช้ ยั พฤกษ์ หัวเมด็ ทรงมณั ฑเ์ ชอื่ มประสานระหว่างกนั ความหมายของเข็ม แสดงถึงความเป็นปราชญ์ในทางความรู้ ความสามารถของศิลปินที่ได้ อุตสาหะอุทิศตนสร้างสรรค์ผลงานในด้านศิลปะไว้มากมาย จนเป็นมรดก อันล้ําค่าทางวัฒนธรรมของชาติทั้งในสาขาทัศนศิลป์ วรรณศิลป์ และศิลปะการแสดง ซ่ึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ โดยได้รับมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศิลปินแห่งชาติเข้ารับพระราชทานเข็ม เพอ่ื ความเปน็ สิรมิ งคลย่งิ แกต่ นเองและวงศต์ ระกูลสืบไป 292 ศิลปนิ แหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑

ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ 293

ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ คำ�ร้อง เนาวรัตน์ พงษไ์ พบลู ย์ ท�ำ นอง ทอ่ น ๑ ทา่ นผหู้ ญงิ พวงรอ้ ย (สนทิ วงศ)์ อภยั วงศ์ ท่อน ๒ สมาน กาญจนะผลิน ท่อน ๓ สง่า อารมั ภรี ทอ่ น ๔ แมนรตั น์ ศรกี รานนท์ ศลิ ปะวฒั นธรรมประจำ�ชาต ิ เอกราช เอกลกั ษณ์ เอกศักด์ิศรี เปน็ “คันฉอ่ ง” สอ่ งความงามและความด ี เปน็ โคมฉายชว่ ยชว้ี ิถชี น สืบสานด้านงานศิลปส์ รา้ ง ไสวสว่างอยูก่ ลางใจคน มือครู ผู้บนั ดล ผบู้ ันดาล งานศิลป์ปวง ศิลปินแหง่ ชาตปิ ระกาศศักด ์ิ จารกึ หลกั ศลิ ปะไทย ยงิ่ ใหญห่ ลวง สบื สาน “อารยธรรม” ดำ�รงดวง มณชี ่วงโชตศิ ลิ ปะชยั ศลิ ปะจรรโลงจนิ ต ์ ศิลปนิ จรรโลงใจ ศิลปินแห่งชาตไิ ทย จรรโลงไทย จรรโลงธรรม 294 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑

หลักเกณฑย์ อ่ ยในการคดั เลือกศิลปินแห่งชาติ ความหมายและขอบข่ายในการคัดเลอื กศิลปินแห่งชาติ ศลิ ปะการแสดงพื้นบ้าน หมายถึง การแสดง การดนตรี ๑. สาขาทัศนศิลป์ และการขับร้องที่เกิดข้ึนตามท้องถิ่น และตามพ้ืนที่ต่างๆ ของ ทัศนศิลป์ หมายถึง ศิลปะท่ีมองเห็นได้ด้วยตา แต่ละภูมิภาคของไทย เป็นการแสดงเพ่ือก่อให้เกิดความ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดังนี้ สนุกสนาน เพลดิ เพลนิ และความบันเทงิ ในรปู แบบตา่ งๆ ซ่งึ จะ ๑) ประเภทวิจติ รศลิ ป์ เชน่ จิตรกรรม ประตมิ ากรรม มีลักษณะแตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศ สังคม วัฒนธรรม ภาพพิมพ์ สื่อประสม ภาพถ่าย ฯลฯ แต่ละท้องถ่ิน โดยอาจมีการพัฒนา ดัดแปลงมาจากการละเล่น ๒) ประเภทประยุกต์ศิลป์ เช่น สถาปัตยกรรมไทย พนื้ เมืองของท้องถิ่นนั้นๆ สถาปตั ยกรรมรว่ มสมยั ภมู สิ ถาปตั ยกรรม สถาปตั ยกรรมผงั เมอื ง ๒) ประเภทดนตรสี ากลและนาฏศลิ ป์สากล สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ ออกแบบอุตสาหกรรม ดนตรีสากล หมายถึง การประพันธ์ การเรียบเรียง ประณตี ศิลป์ ฯลฯ บทเพลง การบรรเลงเคร่ืองดนตรี การขับร้อง และการผลิต เชน่ ดนตรคี ลาสสิก ดนตรไี ทยสากล ดนตรไี ทยลกู ทุง่ ฯลฯ ๒. สาขาวรรณศิลป์ นาฏศิลป์สากล หมายถึง การแสดงนาฏศิลป์สากล วรรณศลิ ป์ หมายถงึ งานประพนั ธท์ ่ีแต่งอยา่ งมีศิลปะ อย่างมีแบบแผน การแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัย รวมถึงการ ทงั้ ประเภทบนั เทงิ คดแี ละสารคดี เชน่ นวนยิ าย เรอ่ื งสนั้ กวนี พิ นธ์ ออกแบบ การผลิตศิลปะการแสดงที่เก่ียวข้อง เช่น บัลเล่ต์ สารคดี และอนื่ ๆ ซง่ึ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ ความรสู้ กึ แจส๊ แดนซ์ ฯลฯ สะเทือนใจ และกลวธิ ีการนำ�เสนออยา่ งมีชนั้ เชิง ๓) ประเภทภาพยนตร์และละคร ภาพยนตร์ หมายถึง งานผลติ ภาพเคล่ือนไหวท่ีสะท้อน ๓. สาขาศิลปะการแสดง เรื่องราวสังคมและวัฒนธรรมที่สร้างขึ้นได้อย่างมาตรฐาน ศลิ ปะการแสดง หมายถงึ ศลิ ปะทส่ี อื่ ผา่ นทางการแสดง ทส่ี ือ่ ผา่ นภาพยนตร์ขา่ ว ภาพยนตร์สารคดี ภาพยนตร์เพือ่ ความ ซ่ึงเป็นได้ท้ังวิจิตรศิลป์ ประยุกต์ศิลป์ รวมทั้งศิลปะพ้ืนบ้าน บนั เทิง โดยเกิดจากการผลติ หรือการแสดง แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ดังนี้ ละครวิทยุโทรทัศน์ หมายถึง งานผลิตละครผ่าน ๑) ประเภทดนตรไี ทยและนาฏศลิ ป์ไทย ช่องทางวิทยุโทรทัศน์ที่สร้างข้ึนได้อย่างมาตรฐานด้วยรูปแบบ ดนตรไี ทย หมายถงึ การประพนั ธ์ การเรยี บเรยี งบทเพลง ของละครวิทยุ ละครโทรทัศน์ ฯลฯ การบรรเลงเคร่ืองดนตรี การขับร้อง และการผลิตท่ีเป็น ละครเวที หมายถึง งานผลิตละครในรูปแบบของการ มาตรฐานกลางของชาติ เชน่ ปี่พาทย์ เคร่อื งสาย มโหรี ดนตรี แสดงสดบนเวทตี อ่ หนา้ ผชู้ มในลกั ษณะของละครพดู ละครเพลง ในพระราชพิธี ฯลฯ ละครส่ือผสม ละครที่สือ่ สารผา่ นลีลารา่ งกาย ฯลฯ นาฏศิลป์ไทย หมายถึง การแสดงนาฏศิลป์ของไทย ทงั้ ทเ่ี ปน็ ของราชส�ำ นกั และการแสดงทวั่ ไป รวมถงึ การออกแบบ ท่ารำ� การผลิตศิลปะการแสดงท่ีเก่ียวข้อง เช่น โขน ละคร ฟ้อนรำ� ฯลฯ ศลิ ปินแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ 295

ทำ�เนยี บศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๘ - ๒๕๖๑ ศิลปินแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๘ ๑๙ ซอยพระพินิจ ถ.สวนพลู แขวงยานนาวา กทม. ๑๐๑๒๐ ๑. พลตรี หมอ่ มราชวงศ์คึกฤทธ์ิ ปราโมช ๘๑ ซอยโสมสอ่ งแสง ถ.พชิ ยั นนั ท์ อ.เมือง จ.นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐ (ถงึ แกอ่ สัญกรรม) ๑๔ ซอยหม่อมแผว้ ซอย ๖ ถ.พระราม ๖ แขวงสามเสนใน ๒. นายมนตรี ตราโมท เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ (ถงึ แก่กรรม) ๘๒/๑ ซอยนาคบ�ำ รุง ถ.บ�ำ รุงเมอื ง แขวงมหานาค ๓. ท่านผ้หู ญงิ แผว้ สนิทวงศ์เสนี เขตป้อมปราบฯ กทม. ๑๐๑๐๐ (ถึงแกก่ รรม) ๔. นายเฟ้อื หริพทิ กั ษ์ ๒๘๓ ถ.สขุ มุ วิท ๗๗ (ซอยออ่ นนุช) แขวงพระโขนงเหนอื (ถงึ แก่กรรม) เขตคลองเตย กทม. ๑๐๒๖๐ ๔๓๔ หมทู่ ี่ ๖ ซอยสขุ สวสั ด์ิ แขวงราษฎรบ์ ูรณะ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๙ เขตราษฎรบ์ รู ณะ กทม. ๑๐๑๔๐ สาขาวรรณศลิ ป์ วดั บา้ นขมนิ้ ต.เหล่า อ.ธวชั บุรี จ.ร้อยเอ็ด ๔๕๑๗๐ ๕. นางกัณหา เคียงศิริ (ก.สรุ างคนางค)์ ๒๑๖ ซอยสารภี ถ.ลาดหญา้ แขวงวงเวียนใหญ่ เขตคลองสาน (นวนิยาย) (ถึงแก่กรรม) กทม. ๑๐๖๐๐ ๖. นายอบ ไชยวสุ (ฮิวเมอริสต์) ๑๘ ถ.อุทัย - โพธาราม ต.ท่าราบ อ.เมือง จ.เพชรบรุ ี ๗๖๐๐๐ (หัสคด)ี (ถงึ แก่กรรม) โทร. ๐ ๒๙๔๐ ๑๘๔๓ ๒๖/๗ ซอยสายลม ถ.พหลโยธนิ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท สาขาทัศนศลิ ป์ กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ ๒๒๗๒ ๖๔๙๓ บ้านไรไ่ ผง่ าม ๑๐๕ หมู่ที่ ๘ ถ.เชียงใหม่ - ฮอด ต.สบเต๊ยี ะ ๗. นายคำ�หมา แสงงาม อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ ๕๐๑๖๐ โทร. ๐ ๕๓๓๖ ๑๒๓๑ (การปนั้ แกะสลัก) (ถึงแกก่ รรม) ๔๑ ซอยศรธี ามา ถ.ราชดำ�เนิน ต.ในเมือง อ.เมอื ง ๘. นายประสงค์ ปทั มานชุ จ.นครศรธี รรมราช ๘๐๐๐๐ โทร. ๐ ๗๕๓๒ ๐๗๑๖ (จติ รกรรม) (ถงึ แก่กรรม) ๙. นายไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ (ประตมิ ากรรม) (ถงึ แก่กรรม) ๑๐. พลเรอื ตรี สมภพ ภริ มย์ (สถาปตั ยกรรม) (ถงึ แก่กรรม) ๑๑. นางแสงดา บันสิทธิ์ (การทอผา้ ) (ถงึ แก่กรรม) ๑๒. นายเหง้ โสภาพงศ์ (เคร่ืองถม) (ถงึ แกก่ รรม) 296 ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๑

สาขาศิลปะการแสดง บา้ นนา้ํ กระจาย ต.พะวิง อ.เมือง จ.สงขลา ๙๐๐๐๐ ๕๖๘/๑ ซอยวชิรธรรมสาธิต ๕๗ ถ.สขุ มุ วทิ ๑๐๑/๑ แขวงบางจาก ๑๓. นายกัน้ ทองหล่อ เขตพระโขนง กทม. ๑๐๒๖๐ โทร. ๐ ๒๓๙๓ ๗๔๙๒ (หนงั ตะลุง) (ถงึ แกก่ รรม) ๑๕๖ หมูท่ ี่ ๕ ต.เมอื งศรีไค อ.วารินชำ�ราบ จ.อบุ ลราชธานี ๓๔๑๙๐ ๑๔. นางชูศรี (ชน้ื ) สกลุ แก้ว โทร. ๐ ๔๕๒๒ ๘๖๑๑ (หนุ่ กระบอก) (ถึงแก่กรรม) ๑/๘๙ สนามมา้ นางเลิง้ แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสติ กทม. ๑๐๓๐๐ ๑๕. นายทองมาก จันทะลือ ๓๒๔/๑ ซอยวดั สุวรรณาราม ถ.จรัญสนิทวงศ์ เขตบางกอกใหญ่ (หมอลำ�) (ถึงแกก่ รรม) กทม. ๑๐๗๐๐ ๑๖. นางท้วม ประสทิ ธกิ ุล ๒๒๙/๔ ถ.เกษตรสมบรู ณ์ ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธ์ุ ๔๖๐๐๐ (คีตศิลป)์ (ถงึ แกก่ รรม) โทร. ๐ ๔๓๘๒ ๐๓๖๖ ๑๗. นางทองหลอ่ ทำ�เลทอง ๘๖/๓ หมู่ที่ ๙ ต.บางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี ๑๑๑๔๐ (เพลงพื้นบา้ น) (ถงึ แก่กรรม) ๒๓ ซอย ๑๖ ถ.สุขมุ วทิ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กทม. ๑๐๑๑๐ ๑๘. นายเปล้อื ง ฉายรศั มี ๘๙๐ ถ.เทศบาลสาย ๑ แขวงวัดกลั ยาณมติ ร เขตธนบุรี กทม. ๑๐๖๐๐ (ดนตรีพ้ืนบ้าน) (ถึงแก่กรรม) ๘/๖๑ หมูท่ ่ี ๑๐ ซอยแก้วประกาศิต ถ.ลาดพร้าว ๕๓ แขวงวงั ทองหลาง ๑๙. นายเฉลมิ บวั ท่ัง เขตบางกะปิ กทม. ๑๐๓๑๐ (ดนตรีไทย) (ถงึ แกก่ รรม) ๒๐. ท่านผหู้ ญิง หม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์ ๑๓๙ ถ.สขุ ุมวทิ ๑๑ (ซอยไชยยศ) แขวงคลองเตย เขตพระโขนง (เพลงไทยสากล) (ถึงแกอ่ นิจกรรม) กทม. ๑๐๑๑๐ ๒๑. คุณหญิงไพฑูรย์ กิตติวรรณ (ดนตรีไทย) (ถึงแกก่ รรม) ๓๖/๔๘ หมทู่ ี่ ๑๓ ซอยยนตย์ อ้ ย โชคชัย ๔ (ซอย ๘๒) ถ.ลาดพร้าว ๒๒. นายรงภักดี (เจียร จารุจรณ) เขตบางกะปิ กทม. ๑๐๒๓๐ โทร. ๐ ๒๕๗๑ ๘๓๖๙ (นาฏศิลป)์ (ถึงแก่กรรม) ๔๐/๑ ซอยวัดร่งุ โรจน์ ถ.บางนา - ตราด กม.๖ ต.บางแกว้ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ๑๐๕๔๐ ศลิ ปนิ แห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๓๐ ๖๙๐/๓ ซอยพหลโยธนิ ๓๐ (อลาดนิ ) ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๐ โทร. ๐ ๒๙๓๙ ๖๗๑๑, ๐๘ ๑๘๔๖ ๔๒๖๗ สาขาวรรณศิลป์ ๗๗/๒ บา้ นพราหมณพ์ นั ธ์ุ ถ.พระราม ๖ คลองประปา แขวงสามเสน เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ ๒๔๑๒ ๘๐๖๘ ๒๓. หมอ่ มหลวงปิ่น มาลากลุ (ถึงแก่อนจิ กรรม) ศลิ ปินแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ 297 สาขาทศั นศลิ ป์ ๒๔. นายชิต เหรยี ญประชา (ประตมิ ากรรม) (ถงึ แก่กรรม) ๒๕. หม่อมราชวงศม์ ติ รารณุ เกษมศรี (สถาปัตยกรรม) (ถงึ แกก่ รรม) ๒๖. นางพยอม สีนะวัฒน์ (ศลิ ปะงานผ้า) (ถึงแก่กรรม) ๒๗. นายโหมด ว่องสวัสดิ์ (จติ รกรรม) (ถึงแก่กรรม)

สาขาศิลปะการแสดง ๖๑ สุขุมวิท ๓๖ (ซอยแสนสบาย) ถ.พระราม ๔ แขวงคลองตัน เขตพระโขนง กทม. ๑๐๑๑๐ โทร. ๐ ๒๖๖๒ ๐๖๕๓ ๒๘. นางเจริญใจ สุนทรวาทิน ๑๐๘/๓ ซอยจนั ทมิ า ๘ ถ.ลาดพรา้ ว ซอย ๘๐ แขวงวงั ทองหลาง (คีตศลิ ป์) (ถึงแก่กรรม) เขตบางกะปิ กทม. ๑๐๓๑๐ ๒๙. คุณหญงิ ชนิ้ ศลิ ปบรรเลง ๒๑๖ อาคารพิบลู ยว์ ัฒนา ถ.พระราม ๖ คลองประปา (ดนตรีไทย) (ถึงแก่กรรม) แขวงสามเสน เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ ๓๐. นายวจิ ติ ร คุณาวุฒิ ๓๘๓ หมทู่ ี่ ๔ ถ.ชายวารี ซอย ๑๖ ราษฎร์บำ�รุง ต.ระโนด (ภาพยนตร์) (ถงึ แก่กรรม) อ.ระโนด จ.สงขลา ๙๐๑๔๐ ๓๑. นายยก ชูบวั ๒๑๑ ถ.ลำ�พู แขวงวดั สามพระยา เขตพระนคร กทม. ๑๐๒๐๐ (โนรา) (ถงึ แก่กรรม) ๓๒. นางเฉลย ศขุ ะวณิช ๘๒/๒ ถ.มหาวงศ์ ต.ในเวียง อ.เมอื ง จ.นา่ น ๕๕๐๐๐ (นาฏศลิ ป์) (ถงึ แกก่ รรม) ๓๓. นายไชยลงั กา เครอื เสน ๒๓ ซอยติวานนท์ ๑๘ แยก ๕ ถ.ตวิ านนท์ (ดนตรพี น้ื เมือง) (ถึงแกก่ รรม) ต.ตลาดขวญั อ.เมอื ง จ.นนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร. ๐ ๒๕๘๘ ๑๔๒๑, ๐ ๒๕๘๘ ๓๐๒๑ ศิลปินแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๑ ๑๐ ถ.ลาดหญา้ ซอย ๑๐ เขตคลองสาน กทม. ๑๐๖๐๐ สาขาวรรณศลิ ป์ โทร. ๐ ๒๔๓๗ ๑๖๘๖ ๑๘๘/๒ ซอยอิสรภาพ ๓๖ ถ.อิสรภาพ แขวงวัดอรณุ ๓๔. นางสกุ ญั ญา ชลศกึ ษ์ (กฤษณา อโศกสิน) เขตบางกอกใหญ่ กทม. ๑๐๖๐๐ โทร. ๐ ๒๔๖๖ ๒๒๙๙ (นวนยิ าย) ๑๐๒ ตรอกวังหลงั แขวงศิริราช เขตบางกอกนอ้ ย กทม. ๑๐๗๐๐ โทร. ๐ ๒๔๑๒ ๓๖๓๗ สาขาทัศนศลิ ป์ ๖ ซอยอนิ ทรานสุ รณ์ ถ.วงศ์สวา่ ง (ซอย ๖) แขวงบางซ่ือ ๓๕. นายเฉลมิ นาครี กั ษ์ เขตบางซ่อื กทม. ๑๐๘๐๐ โทร. ๐ ๒๕๘๗ ๖๗๗๒ (จติ รกรรม) (ถึงแก่กรรม) ๑๓ ซอยศรสี กุ รี ถ.สุขุมวทิ ๗๑ แขวงคลองตนั เขตพระโขนง ๓๖. นายพูน เกษจำ�รัส กทม. ๑๐๑๑๐ (ศิลปะภาพถ่าย) (ถงึ แก่กรรม) ๙/๔๕ - ๔๖ หมทู่ ่ี ๗ หมบู่ ้านรัตนวรรณ ถ.บางกรวย - ไทรน้อย ๓๗. นายพมิ าน มูลประมุข อ.บางกรวย จ.นนทบรุ ี ๑๑๑๓๐ โทร. ๐ ๒๒๒๔ ๑๓๔๔, (ประตมิ ากรรม) (ถงึ แกก่ รรม) ๐๘ ๑๘๕๕ ๑๒๕๗ ๕๔/๖๑ หมูท่ ่ี ๑๓ หมู่บา้ นปัฐวกิ รณ์ ซอย ๑๑/๓ แขวงคลองก่มุ สาขาศลิ ปะการแสดง เขตบึงกุ่ม กทม. ๑๐๒๓๐ ๓๘. นายกรี วรศะรนิ (นาฏศิลป์ - โขน) (ถงึ แก่กรรม) ๓๙. นางสาวจ�ำ เรียง พธุ ประดับ (นาฏศิลป์ - ละคร) (ถงึ แกก่ รรม) ๔๐. นายเสรี หวงั ในธรรม (ศลิ ปะการละคร) (ถึงแกก่ รรม) ๔๑. นายบุญยงค์ เกตคุ ง (ดนตรไี ทย) (ถึงแกก่ รรม) 298 ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook